Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๖๓

แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๖๓

Published by weeradech.mapaet, 2021-03-16 02:51:09

Description: แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๖๓

Search

Read the Text Version

แผนปฏิบตั ิการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ เอกสารลาดบั ที่ ๒/๒๕๖๓ โรงเรยี นทบั โพธพิ์ ฒั นวทิ ย์ สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๓๓ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน

กข อนมุ ตั กิ ารใชแ้ ผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปีงบประมาณ 2563 โรงเรียนทบั โพธพ์ิ ัฒนวทิ ย์ แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ เป็นเอกสารคู่มือสาหรับนาไปใช้เป็นแนวทางในการดาเนินการ บริหารปฏิบัตงิ านของโรงเรยี นทับโพธิ์พัฒนวิทย์ ประจาปีงบประมาณ 2563 ได้กาหนดแนวทางจากวิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมารวบรวมโดยให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัดพร้อม รวบรวมข้อมูล ข้อเสนอแนะ แนวทางในการพัฒนาตามนโยบายของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน ยึดหลักธรรมมาภิบาล คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพนื้ ฐานโรงเรยี นทับโพธพ์ิ ัฒนวทิ ย์ ได้พิจารณา แล้วเห็นว่าจะเป็นประโยชน์ และพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ จึงอนุมัติให้ใช้ แผนปฏบิ ัติการประจาปีงบประมาณ 2563 ต่อไป พิทักษ์ พิหสู ตู ร (นายพิทกั ษ์ พิหสู ตู ร) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ผ้อู นุมตั ิ

ขค คำนำ แผนปฏิบตั ิการประจาปงี บประมาณ 2563 ของโรงเรยี นทบั โพธ์พิ ัฒนวิทย์ สังกดั สานักงานเขต พื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 เล่มนี้ จัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็นทิศทางในการบริหารจัดการงบประมาณ ให้ สอดรับและสนองกลยุทธของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ทั้ง 5 กลยุทธ์/พันธกิจและ เป้าประสงค์ โดยมุ่งเน้นการส่งเสริมและการเรียนรู้ของนักเรียนท่ีอยู่ในวัยเรียนทุกคน ตามพระราชบัญญัติ การศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แกไ้ ขปรับปรุง แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2563 ประกอบไปด้วย ข้อมูลพ้ืนฐาน กลยุทธ์การ ดาเนินงาน แผนงาน/โครงการและงบประมาณที่สนับสนุนกลยุทธ์ท่ีเกี่ยวข้องกับการบริหารงานของโรงเรียน ทบั โพธพิ์ ัฒนวิทย์ โดยแยกเป็นกลมุ่ งาน ตามงบประมาณท่ีได้รบั จดั สรรและได้เนน้ โครงการท่สี นองกลยทุ ธ์ของ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานเป็นหลัก วิสัยทัศน์ พันธกิจของโรงเรียนเพ่อื สนองความต้องการ ของผู้มีส่วนร่วม ตลอดจนเพิ่มจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพการเรียนการสอนให้ เพิ่มข้ึนตามเป้าหมายมาตรการเร่งด่วนระยะสั้นและตอบสนองการพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานของ สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน)ประเมินโรงเรียนที่มีคุณภาพและ ผ่านเกณฑ์มาตรฐานทีก่ าหนดตอ่ ไป โรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ ขอขอบคุณคณะทางานและผู้มีส่วนเก่ียวข้องในการจัดทา แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2563 หวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนปฏิบัติการนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการ กาหนดทิศทางการบริหารโรงเรียนให้บรรลุเป้าหมายตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พทุ ธศักราช 2542 แก้ไขปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช 2553 โรงเรียนทับโพธ์ิพัฒนวทิ ย์

คง สารบญั หน้า ก รายการ ข อนมุ ตั กิ ารใชแ้ ผนปฏบิ ัติการประจาปงี บประมาณ 2563 ค คานา สารบญั 1 ส่วนที่ 1 ข้อมลู พนื้ ฐาน 8 10 ขอ้ มูลทัว่ ไป 11 ขอ้ มลู บคุ ลากร 19 ขอ้ มลู นกั เรียน 19 โครงสรา้ งการบรหิ าร 23 สว่ นท่ี 2 นโยบาย/กลยทุ ธ์/จุดเน้นของหน่วยงานทเ่ี กีย่ วข้อง 23 นโยบายรฐั บาลด้านการศกึ ษา 24 ยุทธศาสตรช์ าติ 42 ยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงศึกษาธิการ 44 วิสยั ทัศน์ พนั ธกจิ กลยทุ ธ์ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน 49 วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ กลยทุ ธ์ เขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 33 49 วิสัยทศั น์ พนั ธกจิ กลยทุ ธโ์ รงเรยี นทบั โพธิพ์ ฒั นวิทย์ 50 สว่ นที่ 3 แผนบริหารงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2563 51 - งบประมาณท่ไี ดร้ ับจดั สรร ประจาปงี บประมาณปี 2563 61 - งบอดุ หนุน 64 - การจดั สรรงบประมาณภายในหน่วยงาน 64 - ปฏทิ ินการบรหิ ารงบประมาณรายจา่ ย ประจาปงี บประมาณปี 2563 72 ส่วนที่ 4 รายละเอียดโครงการ 75 กลุ่มบรหิ ารงานวชิ าการ 82 กลมุ่ บริหารงานบคุ คล 88 กล่มุ บรหิ ารงานทว่ั ไป 92 กลมุ่ บรหิ ารงานงบประมาณ โครงการตามนโยบายของรฐั บาล ภาคผนวก

ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 1. ข้อมูลทว่ั ไป 1.1 ชอ่ื สถานศกึ ษา โรงเรียนทับโพธ์พิ ัฒนวทิ ย์ ตาบลทบั ใหญ่ อาเภอรตั นบุรี จังหวดั สุรินทร์ สงั กัด สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 33 สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร 1.2 เปิดสอนตง้ั แตร่ ะดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 ถงึ ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 6 1.3 มีเขตพื้นทบี่ ริการจานวน 3 ตาบลได้แก่ - ตาบลทับใหญ่ - ตาบลหนองบวั ทอง - ตาบลกดุ ขาคีม 1.4 ประวัตโิ รงเรียนโดยยอ่ 1.4.1 ประวตั โิ รงเรียน โรงเรยี นทบั โพธ์ิพัฒนวทิ ย์ เดมิ เป็นโรงเรียนรตั นบรุ ี สาขาตาบลทบั ใหญ่ ไดร้ บั อนุมัติให้จดั ตง้ั จาก กรมสามญั ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เมอื่ วนั ที่ 6 เดอื น พฤษภาคม พุทธศักราช2536 โดยเปิดเรยี นแบบ สหศกึ ษามนี ักเรยี นจานวน 66 คน จัดเป็น 2 ห้องเรยี น และได้ก่อสร้างอาคารเรยี นแบบชัว่ คราวมงุ ดว้ ยหญ้า คาซ่งึ ประชาชนหมู่ที่ 3 และหมทู่ ่ี 10 เป็นผู้จดั สร้างให้ ต้ังอย่ใู นทดี่ ินสาธารณะโนนนา้ คา หมูท่ ่ี 10 ตาบล ทับใหญ่ ในเนอ้ื ท่ปี ระมาณ 50 ไร่ และในปี 2542 สถานีโทรทศั น์ ไอทีวี รายการโรงเรยี นของหนู ได้จัดสรา้ ง อาคารเรยี นชั่วคราวขนาด 4 หอ้ งเรยี น และ ทางราชการได้จัดสรรงบประมาณสรา้ งอาคารเรยี นชว่ั คราว ขนาด 4 ห้องเรียน และบ้านพกั ครูจานวน 3 หลัง ห้องน้า หอ้ งสว้ ม จานวน 1 หลงั สนามบาสเกตบอล และใน ปงี บประมาณ 2550 ไดร้ บั การจดั สรรงบประมาณสรา้ งอาคารเรียน แบบ 216 ล ปรบั ปรงุ 46 จานวน 16 ห้องเรยี น วนั ท่ี 14 เดือน มกราคม พทุ ธศกั ราช 2542 กระทรวงศกึ ษาธกิ ารได้ประกาศจดั ต้งั เปน็ โรงเรียนมัธยมศกึ ษา ชื่อว่า “โรงเรียนทบั โพธ์พิ ฒั นวิทย์” สังกดั กรมสามญั ศกึ ษา โดยมนี ายยนต์ ยงรัมย์ เป็น ผู้บรหิ ารคนแรก วนั ท่ี 7 เดอื นกรกฎาคม พทุ ธศกั ราช 2546 ปรับโครงสรา้ งการบรหิ าร ไปสังกัดสานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาสุรินทร์ เขต 2 สานกั งานคณะกรรมการกรศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตามกฎกระทรวง กาหนดหลักเกณฑก์ ารแบง่ สว่ นราชการภายในสานักงานเขตพืน้ ที่ การศกึ ษา พ.ศ. 2546 วันที่ 9 เดือนมกราคม พทุ ธศกั ราช 2551 นายปยิ ะวฒั น์ ศรไี สว ยา้ ยมาดารงตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียน วนั ท่ี 17 เดอื นสงิ หาคม พทุ ธศกั ราช 2553 กระทรวงศึกษาธิการไดป้ รบั โครงสรา้ ง การบรหิ ารงานไปสังกัดสานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 33 สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา ข้ันพืน้ ฐาน ตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรื่อง กาหนดเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา วนั ท่ี 1 เดอื นพฤศจกิ ายน พุทธศักราช 2561 นายพทิ กั ษ์ ทวีแสง ย้ายมาดารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการโรงเรียนจนถงึ ปัจจุบัน

2 อักษรยอ่ ช่ือโรงเรียน ท.พ. ตราประจาโรงเรยี น เสมาธรรมจกั ร ครอบดว้ ยปรชั ญาโรงเรียน สปี ระจาโรงเรยี น เทา ชมพู สีเทา หมายถึง ความสมดลุ ความเอือ้ เฟอื้ ความรับผดิ ชอบความมวี ินัยความหนักแนน่ สีชมพู หมายถงึ ความร่นื เรงิ ความเบิกบาน ความอ่อนน้อมถ่อมตน คาขวญั ของโรงเรียน ประพฤตดิ ี มีวิชา มารยาทดี กฬี าเด่น เนน้ เทคโนโลยี มปี ระชาธิปไตย เอกลักษณ์ ศลิ ปะดนตรพี ื้นเมือง อัตลักษณ์ ประพฤตดิ ี มีมารยาทงาม คติพจนข์ องโรงเรยี น วริ เิ ยน ทุกฺขมจฺเจต.ิ บคุ คลจะล่วงทุกขไ์ ด้ เพราะความเพยี ร

3 ปรชั ญาโรงเรียน “ คุณธรรม นาความรู้ สวู่ ถิ พี อเพียง” คติพจน์ และปรัชญาของโรงเรียนท่ีไดย้ ดึ ถือเปน็ แนวในการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ของนกั เรียน เพื่อใหม้ ีความดีและความรคู้ วบคู่ไปกบั การพัฒนาทางดา้ นรา่ งกาย อารมณ์สังคม และสตปิ ัญญา เพ่ือฝึกฝนให้ นักเรยี นไดม้ วี นิ ัยในตนเอง มีความมัน่ ใจ เห็นคณุ คา่ ของตนเองเป็นพลเมืองดตี ามระบอบการปกครองแบบ ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ เ์ ปน็ ประมขุ โรงเรยี นทับโพธิ์พฒั นวทิ ย์ เป็นโรงเรียน ขนาดเลก็ จดั การ เรยี นการสอนในระดับมัธยมศกึ ษาโดยใชห้ ลกั สตู ร พทุ ธศักราช 2541 ทั้งได้จัดให้ผู้เรยี นได้เลอื กเรยี นวชิ า ท้องถ่นิ อย่างหลากหลาย และจดั ใหผ้ ้เู รียนเลอื กกจิ กรรมเสริมหลักสูตร ตามความถนัดและความสามารถของ ผู้เรียน สถานศกึ ษามที ศิ ทางในการพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานของสถานศึกษา โดยจดั ทาแผนยทุ ธศาสตร์ การพฒั นาทัง้ ระบบโรงเรยี นมแี ผนปฏิบัตกิ าร เพอื่ เป็นกรอบในการพฒั นาการศกึ ษาให้มคี ุณภาพตาม มาตรฐาน สร้างจติ สานกึ ในการอนรุ ักษศ์ ลิ ปวฒั นธรรมประเพณที อ้ งถ่นิ และพฒั นาสง่ิ แวดลอ้ มรอบสถานศึกษา ใหเ้ ป็นแหลง่ เรียนร้ทู ่ีมีคณุ ภาพ เกดิ ประโยชน์การจดั การศกึ ษาสาหรับผเู้ รยี นในอนาคต ซึ่งสามารถจดั การ เรียนการสอนใหเ้ ปน็ โรงเรียนทม่ี มี าตรฐานสูงและเปน็ ท่ยี อมรบั ของสังคมโดยทวั่ ไป แผนพัฒนาโรงเรยี นในอนาคต โรงเรยี นมุ่งพฒั นาคุณภาพของผู้เรียนใหเ้ ปน็ ผู้ทีม่ คี ณุ ธรรมนาความรู้ โดยจดั กระบวนการเรียนรู้ท่ีหลากหลายครอบคลมุ ในทุกๆดา้ นให้ทกุ ฝา่ ยมสี ่วนร่วมในการบริหารจดั การใช้ โรงเรยี นเปน็ ฐานและจดั ให้มีการพัฒนาฝ่ายงานและกลุ่มสาระการเรยี นรู้ สง่ เสรมิ ให้มกี ารนาเทคโนโลยีมาใช้ พัฒนาการเรยี นการสอน สง่ เสริมสนบั สนุนการพฒั นางานมกี ารจดั ระบบข้อมลู สารสนเทศและมีการ ประชาสัมพนั ธข์ ้อมลู ขา่ วสารของโรงเรยี นพรอ้ มทงั้ นาภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่นมาพัฒนาการศกึ ษาให้สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของชุมชนซึง่ จะนาไปส่กู ารพัฒนาคณุ ภาพของนักเรียนให้เป็นสมาชิกท่ีดีของสังคมอกี ดว้ ย โรงเรียนไดร้ ะดมทรพั ยากรจากบคุ คลท่ีเกี่ยวขอ้ งทกุ ฝ่ายและมสี ่วนรว่ มการวางแผนในการจดั ทาแผนพัฒนา สถานศึกษา และพฒั นาแหล่งเรียนรใู้ ห้เป็นแหล่งเรียนรู้โดยให้ชุมชน คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน คณะกรรมการเครอื ขา่ ยผู้ปกครองมสี ่วนรว่ มสง่ เสรมิ ความสมั พันธก์ บั ชมุ ชนและการให้บรกิ ารสถานศึกษาอย่าง แทจ้ ริง ภาพอนาคต โรงเรยี นมีความมุ่งม่ันทจ่ี ะพฒั นาผู้เรยี นใหเ้ ปน็ บุคคลทม่ี ีคุณลักษณะพงึ ประสงค์ เพือ่ ให้ สามารถอยรู่ ว่ มกบั ผูอ้ ่นื ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ในฐานะเป็นส่วนหนึ่งของ พลเมืองไทย และพลโลก ท้งั 8 ประการ คอื 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 5. อยู่อยา่ งพอเพียง 2. ซอ่ื สัตย์สจุ รติ 6. มงุ่ ม่ันในการทางาน 3. มวี ินัย 7. รกั ความเป็นไทย 4. ใฝ่เรียนรู้ 8. มีจิตสาธารณะ รวมทง้ั จดุ เนน้ อีก 4 ประการ คือ ความร(ู้ พทุ ธศิ กึ ษา) มีความด(ี จรยิ ศกึ ษา) มีทกั ษะความสามารถ(อาชวี ศกึ ษา) และมีความสขุ (สขุ ศึกษา)

4 2. ทตี่ ง้ั สถานศกึ ษา โรงเรยี นทบั โพธพ์ิ ัฒนวิทย์ ต้ังอยู่ท่บี า้ นโพธ์ิ หม่ทู ี่ 10 ตาบลทับใหญ่ อาเภอรตั นบรุ ี จังหวดั สุรินทร์ รหัสไปรษณีย์ 32130 โทร 044-590-128 ,084-936-3758 http://www.thp.ac.th ; e-mail: [email protected]/

5 แผนท่แี สดงเสน้ ทางและท่ีตงั้ สถานศึกษา โรงเรียนทับโพธ์พิ ฒั นวทิ ย์ สังกดั สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 33 3. สภาพทางภูมศิ าสตร์ โรงเรยี นทบั โพธิพ์ ัฒนวิทย์ ตง้ั อยู่ทส่ี าธารณประโยชนโ์ นนน้าคา ซึง่ เป็นทาเลเล้ยี งสัตว์ ตาบลทับใหญ่ อาเภอรตั นบุรี จงั หวดั สรุ ินทร์ มพี นื้ ท่ปี ระมาณ 50 ไร่ ลกั ษณะทว่ั ไปเป็นท่รี าบลุม่ ฤดฝู นจะมีนา้ ทว่ มถงึ บรเิ วณโรงเรียนอยูเ่ ปน็ ประจา การเดนิ ทางจากหมบู่ ้านตา่ งๆ เขา้ สู่โรงเรยี นมเี สน้ ทางหลายลกั ษณะคือ จะมี ถนนลูกรงั บางส่วน อกี บางสว่ นถนนโรยหินคลกุ และ ลาดยาง การเดนิ ทางในชว่ งฤดูฝนคอ่ นข้างลาบาก โรงเรยี นอยู่หา่ งจากตวั อาเภอรัตนบุรี ประมาณ 14 กโิ ลเมตร และอยู่หา่ งจากสานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา มัธยมศกึ ษา เขต 33 จานวน 90 กิโลเมตร อาชพี ของผู้ปกครองนักเรยี นและชุมชนในเขตพ้ืนท่ีบริการ คอื อาชีพเกษตรกรรม และรบั จ้างทั่วไป ผู้ปกครองส่วนมากยากจนมฐี านะยากจน

6 4. สภาพทางสังคมและวัฒนธรรม สภาพทางสังคม สภาพสงั คมส่วนใหญเ่ ปน็ สังคมชนบท อนั เป็นสังคมหลกั ของชาวอสิ าน ภาษาพดู เป็นภาษาอีสาน บางหมบู่ ้านจะมสี าเนียงภาษาคล้ายภาษาสว่ ย ขนบธรรมเนียมประเพณี ยดึ ขนบธรรมเนยี มประเพณแี บบชาวอิสาน คอื ฮตี สิบสองครองสบิ สี่ อันเป็น แนวการปฏิบตั ติ ามความเชือ่ และประเพณีของชาวพทุ ธ คอื 1. เดอื นอ้าย (ธนั วาคม) ปริวาสกรรม 2. เดอื นย่ี (มกราคม) บุญข้าวจ่ี บวชนาค 3. เดือนสาม (กมุ ภาพนั ธ)์ บุญขา้ วคูณลาน 4. เดอื นส่ี (มนี าคม) บุญผะเหวด บวชนาค 5. เดอื นหา้ (เมษายน) เทศกาลสงกรานต์ 6. เดอื นหก (พฤษภาคม) บุญบ้ังไฟ บวชนาค 7. เดือนเจด็ (มิถุนายน) บญุ บัง้ ไฟ 8. เดือนแปด (กรกฎาคม) เข้าพรรษา ถวายเทยี นพรรษา 9. เดือนเกา้ (สงิ หาคม) บญุ ข้าวประดบั ดิน 10. เดือนสิบ (กันยายน) บุญข้าวสาก 11. เดือนสิบเอด็ (ตลุ าคม) บุญออกพรรษา 12. เดือนสบิ สอง (พฤศจิกายน) บุญกฐิน นอกจากประเพณฮี ีตสิบสองครองสบิ สี่แลว้ ยังยดึ ถอื ตามแบบประเพณีสากลดว้ ย เชน่ งานปใี หม่ งาน ลอยกระทง หรอื งานประเพณอี ่นื ๆ สภาพเศรษฐกจิ การเกษตรเป็นท่มี าของรายไดข้ องผปู้ กครองนักเรยี น และชุมชน ส่วนมากจะ ประกอบอาชพี ทานา เป็นอาชพี หลัก และอาชพี เสรมิ คอื การรับจา้ งทั่วไป การจับสัตวน์ า้ การเลยี้ งววั เนอ้ื และววั นม ซง่ึ มีผลต่อการดารงชพี ของประชาชนท้งั ตาบล มขี า้ วหอมมะลิที่ทารายไดม้ ากกวา่ พชื ชนดิ อืน่ ๆ พน้ื ท่หี ลกั ที่สาคญั ในการปลูกข้าวชนิดนีค้ ือ ทุ่งกลุ าร้องไห้ มีอตุ สาหกรรมขนาดเล็กกระจายอยู่ตามหมบู่ ้าน ทั่วไป เช่น โรงสีขา้ วขนาดเลก็ อู่ซ่อมรถยนต์ รถจักรยานยนต์ ผปู้ กครองมีฐานะยากจน นกั เรยี นถกู ทอดทิง้ ให้อยู่ตามลาพังขาดทป่ี รกึ ษา ผปู้ กครองเดินทางไปรับจา้ งตา่ งถิน่ 5. เขตพื้นท่บี รกิ ารของโรงเรียน มีจานวน 3 ตาบล คอื 5.1 ตาบลทับใหญ่ มีโรงเรียนเขตพื้นท่บี รกิ าร จานวน 3 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรยี นบา้ น ทบั โพธ์วิ ทิ ยา โรงเรยี นบ้านทับน้อย และโรงเรยี นบา้ นจาน เขตการปกครอง ตาบลทับใหญแ่ บ่งการปกครองออกเปน็ 10 หมู่บา้ น ดงั น้ี คือ หมู่ที่ 1 บา้ นทบั ใหญ่ หมู่ท่ี 2 บา้ นโนนแคน หมู่ที่ 3 บ้านโพธิ์ หมทู่ ี่ 4 บา้ นโนนคณู หมูท่ ี่ 5 บ้านโนนบาก หมูท่ ่ี 6 บ้านจาน หมู่ที่ 7 บา้ นทบั นอ้ ย หมูท่ ี่ 8 บ้านจาน หมทู่ ่ี 9 บ้านจาน หมู่ท่ี 10 บา้ นโพธิ์

7 5.2 ตาบลหนองบวั ทอง มโี รงเรยี นเขตพน้ื ทบี่ ริการ จานวน 4 โรงเรยี น ได้แก่ โรงเรียนปทุมมาศวิทยา , โรงเรียนบ้านหนองบวั ทอง ,โรงเรยี นบา้ นนาตุ่น, โรงเรยี นบา้ นโคกล่าม เขตการปกครอง ตาบลหนองบวั ทอง แบง่ การปกครองออกเปน็ 9 หมบู่ า้ น ดังนี้ คอื หมู่ที่ 1 บ้านขี้เหล็ก หมูท่ ี่ 2 บ้านอ้อ หมทู่ ่ี 3 บ้านนาตนุ่ หมู่ที่ 4 บา้ นหนองบวั ทอง หมู่ท่ี 5 บ้านหนองเหลก็ หมทู่ ่ี 6 บา้ นโคกล่าม หมู่ที่ 7 บา้ นกดุ หลวง หมทู่ ี่ 8 บ้านโนนยาง หมู่ท่ี 9 บา้ นสาโรง-พมิ าน 5.3 ตาบลกดุ ขาคีม มโี รงเรยี นเขตพืน้ ทบี่ รกิ าร จานวน 4 โรงเรยี น ไดแ้ ก่ โรงเรยี นบ้านลาเพญิ , โรงเรียนบา้ นดงเคง็ , โรงเรยี นดงเปือย(มูลศกึ ษาวทิ ยา), โรงเรยี นบ้านบอน เขตการปกครอง ตาบลกุดขาคมี แบง่ การปกครองออกเปน็ 11 หมู่บ้าน ดงั นี้ คอื หมทู่ ี่ 1 บ้านลาเพิญ หมูท่ ่ี 2 บ้านดง หมทู่ ี่ 3 ดงเปือย หมูท่ ่ี 4 บา้ นตาบอน หมู่ที่ 5 บา้ นกดุ ขาคีม หม่ทู ่ี 6 บ้านเคง็ หมู่ที่ 7 บ้านดงเปือย หมทู่ ี่ 8 บ้านนาสว่าง หมทู่ ี่ 9 บ้านศาลา หมู่ที่ 10 บา้ นดงเปือย หม่ทู ี่ 11 บา้ นเกาะแกว้ 6. ข้อมูลบคุ ลากรครแู ละนักเรียน โรงเรยี นทบั โพธพิ์ ฒั นวิทย์ เป็นโรงเรยี นขนาดเลก็ มีข้อจากดั ดา้ นบคุ ลากร บคุ ลากรทีท่ าการเรยี น การสอนไม่ครบตามเกณฑท์ ี่กาหนด และวชิ าเอกตามสาระของกลมุ่ วิชาไมค่ รบ โรงเรียนได้บริหารจดั การ ตามความร้คู วามสามารถความถนดั ทาให้การจดั การเรยี นการสอนมีประสทิ ธิภาพ และเกิดประสทิ ธผิ ลทาให้ โรงเรียนประสบผลสาเร็จ จากการบรหิ ารจดั การในทุกดา้ น ซง่ึ โรงเรียนมบี ุคลากรทางการศึกษาจานวน 16 คน แยกเปน็ - ขา้ ราชการครู จานวน 11 คน - พนักงานราชการ (ครู) จานวน 1 คน . - พนักงานบริการ ( นกั การภารโรง) จานวน 1 คน - ลกู จ้างชว่ั คราว/พเ่ี ล้ียงเด็กพิการ จานวน 1 คน - ครูผูท้ รงคณุ คา่ แห่งแผ่นดิน จานวน 1 คน - เจา้ หน้าที่ธรุ การ จานวน 1 คน

8 ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2563 ตาแหน่ง/วทิ ยฐานะ อนั ดบั ชาย หญิง รวม ผู้อานวยการชานาญการพเิ ศษ คศ.3 1 0 1 ครูชานาญการพเิ ศษ คศ.3 1 3 4 ครูชานาญการ คศ.2 1 2 3 ครูปฏบิ ตั กิ าร คศ.1 2 0 2 ครผู ูช้ ว่ ย ครผู ู้ชว่ ย 0 1 1 พนักงานราชการ 1 0 1 พนักงานบริการ 1 0 1 ลูกจา้ งชว่ั คราว/พ่ีเล้ยี งเดก็ พกิ าร 1 0 1 ลูกจา้ งตาแหนง่ ครูผ้ทู รงคุณคา่ แห่งแผน่ ดนิ 0 1 1 เจ้าหนา้ ทธี่ ุรการ 0 1 1 8 8 16 รวม ตารางแสดงรายละเอียด จานวนข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ปีการศึกษา 2563 ขา้ ราชการครู ที่ ช่ือ-นามสกุล วฒุ กิ ารศึกษา ตาแหนง่ วิทยฐานะ เลขที่ วนั บรรจุ ตาแหน่ง ผู้อานวย ผอู้ านวยการชานาญ 1 นายพิทักษ์ ทวีแสง ศศ.ม.บริหารการศกึ ษา การ การพเิ ศษ ครู ครชู านาญการพิเศษ 2 นางโฉมยง คนงาม ศศ.ม.บริหารการศกึ ษา ครู ครชู านาญการพเิ ศษ 3079 01/11/2536 ครู ครูชานาญการพิเศษ 131051 06/02/2541 3 นางพัชรนันท์ แพงยา ทษ.บ.พืชศาสตร์(ไม้ผล) ครู ครูชานาญการพิเศษ 39681 22/11/2547 ครู ครชู านาญการ 112844 27/01/2541 4 นางวิภาภรณ์ วเิ ศษวงษา คบ.คณติ ศาสตร์ ครู ครูชานาญการ 2555 01/04/2551 ครู ครชู านาญการ 1382 15/06/2553 5 นายวีรเดช มะแพทย์ ศน.บ.สังคมวิทยา ครู คศ.1 1389 18/05/2554 ครู คศ.1 6 นายธนวิชญ์ แสงราม คบ.ฟสิ ิกส์ ครู ครผู ชู้ ว่ ย ครู ครูผชู้ ่วย 7 นางธญั นนั ท์ ละอองศรี ศษ.ม.บรหิ ารการศึกษา ครู ครูผู้ช่วย 8 นางสาวลาจวน สีงาม ศษ.ม.บริหารการศกึ ษา 9 นายทรัพยท์ วี โพธพิ์ นั ธ์ คบ.คอมพิวเตอร์ 10 นายอนุชา ยอดงาม คบ.เคมี 11 นางสาวอรวรรยา ศรวี งษา ศศ.บ.ภาษาองั กฤษ 12 นายชัยณรงค์ แสงอุทยั คบ. 13 นางสาวศศกิ านต์ ศรศรี คบ.ภาษาไทย

9 ข้อมลู พนกั งานราชการ/พนกั งานบริการ/ลูกจ้าง พนักงานราชการ ท่ี ชอ่ื -นามสกลุ วุฒกิ ารศกึ ษา ตาแหน่ง เลขที่ วันเริม่ ปฏบิ ตั ิ 12 นายสวุ ิศษิ ฏ์ ละอองศรี คบ.ดนตรี ตาแหน่ง หนา้ ที่ พนกั งานราชการ - 16/07/2554 ครพู ีเ่ ลย้ี งเด็กพกิ ารเรียนรว่ ม ท่ี ชื่อ-นามสกลุ วุฒิการศกึ ษา ตาแหนง่ เลขท่ี วันเรมิ่ ปฏบิ ตั ิ 13 นายสงกรานต์ พันคลัง พเ่ี ล้ยี งเด็กพกิ าร ตาแหน่ง หนา้ ที่ รป.บ.รฐั ประศาสน ศาสตร์ - 17/08/2555 ลกู จา้ งชว่ั คราว ที่ ชื่อ-นามสกลุ วฒุ ิการศึกษา ตาแหน่ง เลขท่ี วนั เร่ิมปฏบิ ัติ ตาแหน่ง หน้าท่ี 14 นางพชั รินทร์ จินดาศรี ครผู ทู้ รงคณุ ค่าแหง่ แผ่นดิน - เจ้าหน้าทธี่ รุ การ ที่ ชอื่ -นามสกุล วุฒิการศกึ ษา ตาแหนง่ เลขที่ วนั เรม่ิ ปฏบิ ตั ิ 15 นางสาวชนดิ า สมจติ ร วท.บ. ครูธุรการ ตาแหน่ง หน้าท่ี - พนกั งานบรกิ าร วุฒกิ ารศกึ ษา ตาแหน่ง มัธยมศึกษาปีที่ 6 นักการฯ เลขที่ วนั เร่ิมปฏบิ ัติ ที่ ช่อื -นามสกลุ ตาแหนง่ หน้าที่ 16 นายสมชาย พดุ จบี - 01/05/2537

10 ข้อมูลนกั เรยี น ปกี ารศกึ ษา 2563 ระดบั ชั้น จานวน (คน) ครูทปี่ รกึ ษา ชาย หญิง รวม มัธยมศึกษาปีที่ 1 นางโฉมยง คนงาม , 20 12 32 นายสงกรานต์ พนั คลัง มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 นายสุวศิ ิษฏ์ ละอองศรี , มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 20 11 31 นางธัญนนั ท์ ละอองศรี 14 12 26 นายอนุชา ยอดงาม , นายทรพั ย์ทวี โพธพิ์ ันธ์ รวม 54 35 89 มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 5 9 22 นายวีรเดช มะแพทย,์ นางสาวอรวรรยา ศรีวงษา มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 10 10 20 นางวิภาภรณ์ วเิ ศษวงษา, นางสาวลาจวน สงี าม , มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 12 14 26 นางพัชรนันท์ แพงยา, นายธนวิชญ์ แสงราม รวม 27 33 60 รวมท้งั สิ้น 81 68 149 หมายเหต:ุ ขอ้ มูลนักเรยี น 10 มิถุนายน 2563 7. ข้อมลู นักเรยี นจาแนกเพือ่ การพฒั นา จานวนนกั เรียน จาแนกเพื่อการพัฒนาคณุ ภาพ และกาหนดการจัดการเรยี นรู้ ใหต้ อบสนองความต้องการ และเกดิ ประสทิ ธภิ าพในการจดั การเรยี นการสอน ประจาปีการศกึ ษา 2563 (ขอ้ มูล 10 มถิ ุนายน 2563) 1) จานวนนักเรียนในเขตบริการ จานวน 149 คน รอ้ ยละ 100 2) จานวนนักเรียนนอกเขตบรกิ าร จานวน 0 คน ร้อยละ - 3) จานวนนกั เรยี นทมี่ ีความเป็นเลิศ ความสามารถพเิ ศษ จานวน 124 คน รอ้ ยละ 100 - ด้านวิชาการ จานวน 24 คน ร้อยละ 19.35 - ดา้ นดนตรีและการแสดง จานวน 30 คน ร้อยละ 24.19 - ดา้ นศิลปะ จานวน 30 คน รอ้ ยละ 24.19 - ดา้ นกีฬา จานวน 40 คน ร้อยละ 32.26 - ดา้ นอน่ื ๆ จานวน 00 คน ร้อยละ 00.00 4) จานวนนักเรียนทมี่ ีความบกพร่องเรียนรว่ ม จานวน 25 คน ร้อยละ 16.78 5) จานวนนักเรยี นทตี่ ้องการความชว่ ยเหลอื เปน็ พเิ ศษ จานวน 149 คน ร้อยละ 100 6) จานวนนักเรยี นที่ภาวะทพุ โภชนาการ จานวน 11 คน รอ้ ยละ 7.38 7) จานวนนกั เรียนเฉล่ยี ต่อหอ้ งเรยี น จานวน 1:18.63 คน - 8) จานวนอตั ราสว่ นครู : นักเรยี น จานวน 1:12.42 คน - 9) จานวนนักเรยี นที่ออกกลางคนั จานวน 0 คน ร้อยละ 00

11 8. โครงสร้างการบริหารงาน โครงสรา้ งการบริหารงานโรงเรยี นทบั โพธ์พิ ัฒนวทิ ย์ ปีการศึกษา 2563 สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา นายพทิ กั ษ์ ทวแี สง คณะกรรมการสถานศึกษา มธั ยมศกึ ษา เขต ๓๓ ผู้อานวยการ ขนั้ พื้นฐาน นางโฉมยง พรมโส ผชู้ ว่ ยผอู้ านวยการ กลุม่ บริหาร กล่มุ บริหาร กลุม่ บริหาร กลุ่มบริหาร งานวิชาการ งานบคุ คล งานงบประมาณ งานท่วั ไป นายธนวชิ ญ์ แสงราม นางโฉมยง พรมโส นายวีรเดช มะแพทย์ นางพัชรนันท์ แพงยา  นางวภิ าภรณ์  นายวีรเดช  นางวิภาภรณ์  นางธญั นันท์ วเิ ศษวงษา มะแพทย์ วเิ ศษวงษา ละอองศรี  นางสาวลาจวน  นายธนวชิ ญ์  นายอนชุ า  นางพชั รนิ ทร์ สีงาม แสงราม ยอดงาม จนิ ดาศรี  นายทรัพย์ทวี  น.ส.อรวรรยา  น.ส.อรวรรยา  นายชยั ณรงค์ โพธ์ิพนั ธ์ ศรีวงษา ศรีวงษา แสงอทุ ยั  นายอนชุ า  น.ส.ศศิกานต์  นายสงกรานต์ ยอดงาม ศรศรี พนั คลงั  น.ส.ชนิดา สมจติ ร  นายสมชาย พดุ จบี

12 9. ขอบข่ายภารกจิ ของกลุม่ งานตามโครงสร้างการบรหิ ารงาน กลุ่มบรหิ ารงานวชิ าการ งาน ขอบข่ายงาน 1. งานพัฒนาหลกั สตู ร จัดทาโครงสรา้ งหลกั สตู รและสาระตา่ งๆ ท่ีกาหนดใหม้ ใี นหลกั สตู รสถานศึกษา ทส่ี อดคล้องกับ วสิ ัยทัศน์ เปา้ หมายและคุณลักษณะท่ี พงึ ประสงค์ โดยพยายามบรู ณาการเน้ือหาสาระ ทั้งในกลุม่ สาระการเรยี นรู้เดียวกันและระหว่าง กลุ่มสาระการเรยี นรตู้ ามความเหมาะสม นาหลักสตู รไปใช้ในการจดั การเรยี นการสอน ตดิ ตามและประเมินผลปรบั ปรงุ และพฒั นา หลักสูตรตามความเหมาะสม 2. งานพฒั นา ส่งเสริมใหค้ รูจัดทาแผนการจดั การเรยี นรู้ ตามสาระและหนว่ ยการเรยี นรู้ โดยเน้นผู้เรียน กระบวนการเรยี นรู้ เปน็ สาคญั จัดกิจกรรมให้สอดคล้องกบั ความสนใจ ความถนดั ของผเู้ รียน ฝกึ ทักษะ กระบวนการคดิ การจดั การ การเผชิญสถานการณ์ การประยุกต์ใชค้ วามร้เู พ่ือปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหา การเรยี นรู้จากประสบการณ์จรงิ และการปฏบิ ัติจรงิ การสง่ เสรมิ ใหร้ กั การอา่ น และใฝร่ ู้ใฝเ่ รยี นอยา่ งต่อเน่อื ง 3. วดั ผลประเมินผลและ วัด ประเมินผล เทยี บโอนผลการเรียน จัดทาข้อมูลผลการเรยี น เทียบโอนการเรียน เทียบโอน ผลการเรยี น 4. งานวจิ ัยเพอื่ พัฒนา ส่งเสริมใหค้ รศู กึ ษา วิเคราะห์ วจิ ัย เพ่ือพฒั นาคุณภาพการเรยี นรูใ้ นแตล่ ะกลุ่มสาระการ คณุ ภาพการศกึ ษา เรยี นรู้ ประสานความรว่ มมือในการศกึ ษา วเิ คราะห์ วิจยั ตลอดจนการเผยแพร่ผลงานการ วิจัย หรือพฒั นาคณุ ภาพการเรยี นการสอน และงานวิชาการกับสถานศกึ ษา บุคคล ครอบครัว องคก์ ร หนว่ ยงานและสถาบนั อ่นื 5. งานพัฒนา/บริการสือ่ จัดหา ซอ่ มแซมส่อื วัสดสุ าหรับ ฝึก สอน สอบ บริการทกุ ชน้ั เรยี น สนับสนุนห้องเรยี น ทุกกลมุ่ สาระการเรียนร้ใู ห้เพยี งพอและมีประสิทธิภาพ 6. พัฒนาแหล่งเรยี นรู้ จดั ตั้งและพัฒนาแหลง่ การเรียนรู้และประสานความร่วมมอื จากบคุ คล ครอบครัว องค์กร หน่วยงานอ่นื ทจี่ ัดการศึกษาในการ พัฒนาแหล่งเรียนรู้ทีใ่ ช้รว่ มกัน ส่งเสริม สนับสนุนให้ ครูใช้แหล่งการเรียนรู้ทั้งในและนอกโรงเรียน ในการจดั กระบวนการเรยี นรู้โดยครอบคลุม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 7. งานนเิ ทศการศกึ ษา เสนอแนะแลกเปล่ยี นเรียนรู้ สง่ เสรมิ การจดั ทาผลงาน 8. งานแนะแนว จัดระบบการแนะแนวทางวิชาการและวชิ าชีพภายในสถานศึกษา โดยเชอ่ื มโยงกบั ระบบ ดแู ลช่วยเหลือผเู้ รยี น และกระบวนการเรียนการสอน 9. งานประกันคุณภาพ จัดระบบโครงสรา้ งองค์กรใหร้ องรบั การจดั ระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา การศกึ ษา กาหนดเกณฑก์ ารประเมนิ เป้าหมายความสาเรจ็ ของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา และตวั ชวี้ ดั ของกระทรวง เปา้ หมายความสาเรจ็ ของเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา หลักเกณฑแ์ ละ วธิ ีการประเมนิ ของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา 10. ส่งเสรมิ ความร้แู ก่ บรกิ ารความรทู้ างวิชาการทกุ รูปแบบ เปดิ บา้ นวิชาการ เปิดการแลกเปลย่ี นเรยี นรเู้ พื่อ ชมุ ชน พัฒนารว่ มกัน

13 กลุ่มบริหารงานบุคคล งาน ขอบข่ายงาน 1. งานวางแผน วิเคราะห์ ภารกจิ ความตอ้ งการ วางแผนอัตรากาลังในหนว่ ยงานให้สอดคล้องกับเกณฑ์ อัตรากาลัง ก.ค.ศ. และนาเสนอ อ.ก.ค.ศ เขตพื้นท่ี 2. งานสรรหาและบรรจุ การสอบคดั เลอื กและคดั เลือกในตาแหน่งลูกจา้ งชว่ั คราวครผู ชู้ ว่ ย กรณไี ดร้ บั มอบจาก อ. แตง่ ตง้ั ก.ค.ศ. 3. งานส่งเสริม ศกึ ษาวเิ คราะหค์ วามตอ้ งการในการพัฒนาของบุคลากร จัดหลกั สตู ร ประสทิ ธิภาพในการ สง่ ครูเขา้ รบั การพัฒนา ตดิ ตามประเมนิ ผลการดาเนิน รายงานผลตอ่ หนว่ ยงานต้นสังกดั ปฏิบัตริ าชการ และจดั ระบบสร้างขวญั กาลงั ใจ การพจิ ารณา ความดีความชอบ การเล่ือนวทิ ยฐานะ 4. งานวนิ ัยและการ คาส่งั แต่งตั้ง การลา ทะเบยี นประวัติ งานแต่งตงั้ คณะกรรมการสืบสวน สอบสวนใหไ้ ด้ รกั ษาวินัย ความจรงิ และยตุ ธิ รรมโดยมิชักชา้ กรณีขา้ ราชการถกู กล่าวหาว่ากระทาผดิ วนิ ยั กลุ่มบรหิ ารงานงบประมาณ งาน ขอบขา่ ยงาน 1. งานจดั ทาและเสนอ จัดทาแผนงบประมาณประจาปใี หส้ อดคล้องกบั แผนกลยทุ ธ์ของโรงเรยี น และหน่วยงานตน้ ของบประมาณ สงั กดั และแผนพฒั นาเศรษฐกจิ แหง่ ชาติ 2. การจดั สรร การจดั สรร การอนุมัติ การเบกิ จา่ ย งบประมาณในสถานศกึ ษาให้สอดคล้องกับความ งบประมาณ ต้องการ กรอบและภาระงานท่ีกาหนด 3. งาน ตดิ ตาม ตรวจสอบติดตามประเมินผลการใชง้ บประมาณ ประเมินผลและรายงาน การใช้เงนิ 4. งานระดมทรพั ยากร งานระดมทรัพยากร จดั หารายได้และผลประโยชน์ และการลงทนุ เพอื่ การศกึ ษา 5. งานบริหารการเงนิ การรบั เงนิ การเก็บรกั ษาเงนิ การจา่ ยเงิน การนาสง่ เงนิ การกันเงินไวเ้ บิกเหล่ือมปี 6. งานบริหารบัญชี การจดั ทาบญั ชี การจดั ทารายงานทางการเงนิ และงบการเงินการจดั ทาและจดั หาแบบพิมพ์ บญั ชี ทะเบยี น และรายงาน 7. การบริหารวสั ดแุ ละ การจดั ทาระบบฐานข้อมูลสนิ ทรัพยข์ องสถานศกึ ษาการจดั หาพสั ดุ สินทรัพย์ การกาหนดแบบรปู รายการหรอื คุณลกั ษณะเฉพาะและจดั ซอ้ื จัดจา้ ง การควบคมุ ดแู ล บารงุ รกั ษา และจาหน่ายพัสดุ 8. งานดา้ นงบประมาณ งานดาเนนิ การจดั หาและบริการ เพอ่ื อานวยความสะดวก ความคลอ่ งตัว การปฏบิ ตั ิ อ่นื ทส่ี ถานศึกษากาหนด นโยบายเร่งด่วน หรือเหตอุ นื่ ใดที่เกิดข้ึนโดยมิไดก้ าหนดไวใ้ นแผนปฏบิ ตั ิการประจาปี

14 กลุม่ บริหารงานทั่วไป งาน ขอบข่ายงาน 1. งานธรุ การ ดาเนินการตามระเบียบ กฎหมาย แนวปฏิบตั ิที่เก่ียวข้อง วางแผนออกแบบระบบงานธุรการ ลด ข้นั ตอนการดาเนินงานโดยยดึ หลักความถกู ต้อง รวดเร็ว ประหยัด และคมุ้ ค่า 2. งานเลขานกุ าร รวบรวมประมวลวเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะห์สนับสนุนข้อมูล รับทราบหรือดาเนินการตามมตขิ อง คณะกรรมการ คณะกรรมการสถานศกึ ษา ขั้นพืน้ ฐาน สถานศกึ ษา 3. งานพฒั นาระบบ จัดระบบฐานขอ้ มลู ของสถานศกึ ษา เพ่ือใชใ้ นการบรหิ ารจดั การภายในสถานศกึ ษาให้สอดคลอ้ ง เครือข่ายข้อมลู กับระบบฐานข้อมลู ของเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาพฒั นาบคุ ลากรผรู้ บั ผดิ ชอบระบบเครือข่ายข้อมูล สารสนเทศ สารสนเทศให้มีความรู้ ความสามารถและทักษะในการปฏิบัตภิ ารกิจ 4. งานประสานและ จดั ให้มีระบบการประสานงานและเครือขา่ ยการศกึ ษา ประสานงานกบั เครือข่ายการศกึ ษา พัฒนาเครือข่าย เพอื่ แสวงหาความร่วมมอื ความชว่ ยเหลอื เพ่ือสง่ เสริม สนับสนุนงานการศกึ ษาของ การศกึ ษา สถานศกึ ษา 5. งานจดั ระบบบริหาร วางแผนจดั ระบบโครงสรา้ ง กรอบภาระงาน ศึกษาสภาพความต้องการพฒั นาองคก์ ร และพัฒนาองคก์ ร ดาเนินการพฒั นา รายงานผล 6. งานเทคโนโลยี สารวจขอ้ มลู วางแผน และหาแนวทางการนานวตั กรรมและเทคโนโลยเี พอ่ื การศกึ ษามาใช้ สารสนเทศ ในการบรหิ ารและพัฒนาการศกึ ษาของสถานศกึ ษา 7. งานส่งเสรมิ สนบั สนนุ 4 งาน สารวจปัญหาความตอ้ งการความจาเป็นของด้านวชิ าการ งบประมาณ บคุ ลากรและบรหิ าร ทวั่ ไปจดั ระบบสง่ เสริม สนบั สนนุ และอานวยความสะดวก ในการบรหิ ารงานดา้ นวชิ าการ 8. งานดแู ลอาคาร งบประมาณ บคุ ลากรและบริหารทว่ั ไป สถานท่ีและสิง่ แวดลอ้ ม ดูแลบารุงและพัฒนาอาคารสถานท่ีและสภาพแวดลอ้ มใหอ้ ย่ใู นสภาพท่มี น่ั คง ปลอดภยั เหมาะสมพรอ้ มทีจ่ ะใชป้ ระโยชนแ์ ละตรวจสอบการใชอ้ าคารสถานที่และสภาพแวดล้อม 9. งานจดั ทาสามะโน ของสถานศกึ ษา เพ่อื ให้เกิดความคมุ้ คา่ และเออื้ ประโยชนต์ อ่ การเรยี นรู้ ผู้เรยี น ประสานงานกับชมุ ชนและทอ้ งถิ่นในการสารวจข้อมูล จัดทาสามะโนผู้เรยี น จดั ระบบ 10. งานรับผเู้ รยี น สารสนเทศใหส้ ามารถนาข้อมลู มาใช้ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ กาหนดแผนการรับผเู้ รยี น ดาเนินการรับผูเ้ รยี นตามแผนท่กี าหนดรว่ มมอื กับองคก์ ร 11. งานส่งเสรมิ และ ปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ชมุ ชน ในการตดิ ตามชว่ ยเหลอื ผู้เรียนทีม่ ปี ัญหาในการเขา้ เรยี น ประสานงานการศกึ ษา ประเมินผลและรายงานผลการรบั เด็กเข้าเรยี นใหเ้ ขตพน้ื ท่ีการศกึ ษารบั ทราบ ในระบบ นอกระบบ สารวจความตอ้ งการในการเขา้ รบั บรกิ ารการศกึ ษาทุกรูปแบบทัง้ ในระบบ นอกระบบ และ และตามอัธยาศยั อธั ยาศยั ตามความต้องการของผ้เู รยี นและท้องถิ่นที่สอดคล้องกบั แนวทางของเขตพ้ืนที่ 12. งานส่งเสริมงาน การศกึ ษา กจิ การผ้เู รียน ดาเนินการจัดกจิ กรรมผเู้ รยี นและสง่ เสรมิ สนับสนุนใหผ้ ้เู รียนได้มีส่วนรว่ มในการจดั กิจกรรมอยา่ งหลากหลายตามความถนัดและความสนใจของผู้เรยี น

15 งาน ขอบขา่ ยงาน 13. งานประชาสมั พันธ์ การเผยแพร่ขา่ วสารข้อมูลและผลงานของสถานศกึ ษารวมทงั้ ความต้องการในการไดร้ บั ขา่ วสาร งานการศกึ ษา ขอ้ มูลทางการศึกษาของชมุ ชน 14. ประสานงานการจดั ใหค้ าปรึกษา แนะนา ส่งเสรมิ สนบั สนุน และประสานความร่วมมือในการจดั การศกึ ษารว่ มกบั การศกึ ษาของหน่วยงาน บุคคล ชมุ ชน องค์กร หนว่ ยงาน และสถาบนั สงั คมอ่นื ท่จี ัดการศกึ ษา อื่นๆ 15. งานจดั ระบบการ วิเคราะหส์ ภาพปจั จบุ ัน ปญั หาตามโครงสรา้ งและภารกิจ วเิ คราะห์ความเส่ียงของการดาเนินงาน ควบคมุ ภายใน จัดลาดบั ความเสยี่ ง กาหนดมาตรการ ในการปอ้ งกนั ความเสี่ยง วางแผนการจัดระบบการ หนว่ ยงาน ควบคมุ ดาเนินการควบคมุ ตามหลักเกณฑ์มาตรการและวิธีการที่สานกั งานตรวจเงินแผน่ ดิน กาหนดประเมนิ ผลและรายงานผลการประเมินการควบคมุ ภายใน 16. งานบรกิ าร จดั ใหม้ ีระบบและ ใหบ้ รกิ ารแกส่ าธารณชน ตามความเหมาะสมและศกั ยภาพของสถานศกึ ษา สาธารณะ พฒั นาระบบการให้บรกิ าร ประเมนิ ความ พึงพอใจ นาผลการประเมินมาปรับปรุงแกไ้ ขพัฒนา ตอ่ ไป 17. งานที่ไม่ไดร้ ะบุไวใ้ น จัดใหม้ บี ุคลากร รับผดิ ชอบงานตามความเหมาะสมและศกั ยภาพของผ้ปู ฏิบตั งิ านและให้ผ้ทู ่ี งานอ่ืน รบั ผิดชอบงานวางแผน ปฏบิ ตั ิงาน และรายงานเม่อื เสร็จส้ินตามภารกิจ ทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย 10. ข้อมูลดา้ นอาคารสถานท่ี จานวน ปที ่ีได้ การจดั สรร หมายเหตุ ท่ี รายการ หลัง ห้อง 2543 งบประมาณ ปรบั ปรุงป5ี 5 2550 งบประมาณ ปรบั ปรุงปี55 1 อาคารเรยี นชัว่ คราว 16 2542 บริจาค ชารดุ 2 อาคารเรียน 216 ปรับปรุง 46 1 16 2542 บรจิ าค ชารดุ 3 อาคารโรงเรียนของหนู 15 2543 งบประมาณ ชารดุ 4 อาคารสหกรณ์ 11 2543 งบประมาณ ปรบั ปรุงปี55 5 บ้านพกั ผู้บรหิ าร 12 2543 งบประมาณ ปรับปรงุ ปี55 6 บ้านพักครู 22 2542 งบประมาณ 7 บา้ นพักภารโรง 11 2542 งบประมาณ ปรับปรงุ ป5ี 5 8 เสาธง 1- 2552 งบประมาณ ปรับปรงุ ป5ี 4 9 โรงอาหาร (ชั่วคราว) 1- 2552 งบประมาณ 10 โรงจอดรถครู นักเรยี น 2- 2543 งบประมาณ 11 สนามเปตอง 1- 2543 งบประมาณ 12 สนามบาสเกตบอล 1- 2556 บรจิ าค 13 หอ้ งน้า-หอ้ งส้วม 16 2553 งบประสบอุทกภัย 14 ฐานพระพุทธรปู 11 2550 งบประมาณ 15 สนามฟุตบอล 1- 2555 งบอุดหนุน 16 เรอื นเพาะชา 1- 2553 งบประมาณ 17 น้าพุ 1- 18 ศาลาไทย 3-

16 โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศกึ ษา หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน กาหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรยี น ดังน้ี กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ระดับมธั ยมศึกษา ตอนปลาย ภาษาไทย ม.1 ม.2 ม.3 ม.4-6 คณติ ศาสตร์ 120 120 120 240 (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) (6 นก.) วิทยาศาสตร์ 240 120 120 120 (6 นก.) สังคมศึกษา ศาสนา (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) 320 และวฒั นธรรม (8 นก.) สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 160 160 160 320 (4 นก.) (4 นก.) (4 นก.) (8 นก.) ศลิ ปะ 120 160 160 160 (3นก.) การงานอาชพี และ (4 นก.) (4 นก.) (4 นก.) 120 เทคโนโลยี (3 นก.) ภาษาต่างประเทศ 80 80 80 40 (2นก.) (2 นก.) (2 นก.) (1 นก.) รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) 240 80 80 80 (6 นก.) *กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (2นก.) (2 นก.) (2 นก.) 1,640 * รายวชิ า / กิจกรรมท่ี (41 นก.) สถานศกึ ษาจัดเพมิ่ เตมิ ตาม 40 40 40 360 ความพร้อมและจุดเน้น (1นก.) (1 นก.) (1 นก.) จานวน 1600 ชัว่ โมง รวมเวลาเรยี นทัง้ หมด 120 120 120 รวม 3 ปี ไม่นอ้ ยกวา่ 3,600 ช่วั โมง/ (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) ปี 880 880 880 (22 นก.) (22 นก.) (22 นก.) 120 120 120 ปีละ 200ช่วั โมง ไมน่ ้อยกวา่ 1,200 ชัว่ โมง/ปี

17 โครงสร้างหลักสตู รระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น กลมุ่ สาระการเรยี นรู้/ ม.1 เวลาเรยี น ม.3 กจิ กรรม พน้ื ฐาน เพ่ิมเตมิ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ พน้ื ฐาน เพม่ิ เตมิ รายวิชา ม.2 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ พ้ืนฐาน เพมิ่ เตมิ ภาษาไทย 120(3.0 นก.) 80(2.0 นก.) 120(3.0 นก.) 80(1.0นก.) 120(3.0 นก.) 80(2.0 นก.) คณิตศาสตร์ 120(3.0 นก.) 120(3.0 นก.) 120(3.0 นก.) วทิ ยาศาสตร์ 160(4.0 นก.) 160(4.0 นก.) 160(4.0 นก.) สังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม 120(3.0 นก.) 120(3.0 นก.) 120(3.0 นก.) - ศาสนา ฯ - หนา้ ทพี่ ลเมือง 40(1.0 นก.) 40(1.0 นก.) 40(1.0นก) - เศรษฐศาสตร์ - ภูมิศาสตร์ 80( 2.0 นก.) 40 (1.0นก.) 80( 2.0 นก.) 40 (1.0 นก.) 80( 2.0 นก.) 40 (1.0นก.) - ประวตั ศิ าสตร์ 80( 2.0 นก.) 40 (1.0นก.) 80( 2.0 นก.) 40 (1.0นก.) 80( 2.0 นก.) 40 (1.0นก.) 40 (1.0 นก.) 40 (1.0 นก.) 40 (1.0นก.) 40 (1.0 นก.) - อาเซียน 40(1.0นก.) 40(1.0นก.) - หนา้ ทพ่ี ลเมือง 40(1.0นก.) 40(1.0 นก.) - ปอ้ งกันทุจริตศึกษา 40(1.0นก.) สุขศกึ ษาและพลศึกษา ศิลปะ 120(3.0 นก.) 120(3.0 นก.) 120(3.0 นก.) การงานอาชีพ ภาษาต่างประเทศ 880(22.0นก) 80(2.0นก) 240 O ภาษาอังกฤษ (6.0นก.) O ภาษาท่ีสาม 240 880(22.oนก.) 240(6.0นก.) 880(22.0นก.) (6.0นก.) วชิ า IS1,IS2 รวมเวลาเรียน 40 40 40 กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น 40 40 40 O กจิ กรรมแนะแนว 20 20 20 O กจิ กรรมนักเรียน 20 20 20 - ลกู เสือ-เนตรนารี 120 120 120 - ชมุ นุม 1,240 ชว่ั โมง/ปี 1,240 ช่ัวโมง/ปี 1,240 ชวั่ โมง/ปี O กจิ กรรมเพอื่ สงั คม และสาธารณประโยชน์ ,IS3 กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น รวมเวลาเรียน

18 โครงสร้างเวลาเรียน ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย แผนการเรยี นวทิ ยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการ เวลาเรยี น ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เรียนร้/ู กจิ กรรม ม.5 ม.4 พน้ื ฐาน เพม่ิ เตมิ ม.6 พืน้ ฐาน เพ่ิมเติม รายวชิ า พน้ื ฐาน เพิ่มเตมิ 80(2.0นก.) 120(3.0นก.) 120(3.0นก.) 80(2.0 นก.) ภาษาไทย 80(2.0 นก.) 120(3.0นก.) 360(9.0นก.) 40(1.0 นก.) 160(4.0นก.) 80(2.0 นก.) 80(1.0 นก.) 360(9.0นก.) คณิตศาสตร์ 80(2.0 นก.) 160(4.0นก.) 80(2.0 นก.) วทิ ยาศาสตร์ 120(3.0นก.) 400(10.0นก.) O สังคมศึกษา ศาสนา 80(2.0 นก.) และวฒั นธรรม - ศาสนา ฯ - หนา้ ทีพ่ ลเมืองฯ - เศรษฐศาสตร์ - ภมู ศิ าสตร์ O ประวัตศิ าสตร์ 40(1.0 นก.) 40(1.0นก.) O อาเซียนศกึ ษา 40( 1.0 นก.) 20(0.5 นก.) 40( 1.0 นก.) 40( 1.0 นก.) 40( 1.0 นก.) O หนา้ ทีพ่ ลเมอื ง 20(0.5 นก.) 20 (0.5 นก.) 20(0.5 นก.) 20 (0.5 นก.) 40(1.0 นก.) 80(2.0 นก.) 20(0.5 นก.) 40(1.0 นก.) O ปอ้ งกนั ทจุ ริตศึกษา 20(0.5 นก.) 20(0.5นก.) สุขศกึ ษาและพลศึกษา 40( 1.0 นก.) 80(2.0นก.) ศลิ ปะ 40( 1.0 นก.) การงานอาชพี 20(0.5นก.) ภาษาตา่ งประเทศ O ภาษาอังกฤษ 80(2.0 นก.) 80(2.0 นก.) O ภาษาท่ีสาม IS1 การศกึ ษาคน้ คว้า 40(1.0นก) IS2 การส่ือสาร นาเสนอฯ 40(1.0นก) รวมเวลาเรียน 520(13.0นก.) 640(16.0 นก.) 620(15.5นก.) 540(13.5นก.) 500(12.5 นก.) 660(16.5นก.) กิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น - กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 - กิจกรรมนักเรียน 40 40 40 - ชมุ นมุ 20 20 20 20 - ชมรม 20 -กจิ กรรมธารณะ 20 ประโยชน์ IS3 รวมกิจกรรมพฒั นา 120 120 120 ผเู้ รียน รวมเวลาเรียน 1,280 ช่วั โมง/ปี 1,280 ชั่วโมง/ปี 1,240 ชวั่ โมง/ปี

19 สว่ นที่ 2 ทศิ ทางการพัฒนาการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน นโยบายรัฐบาล นายกรฐั มนตรี (พลเอก ประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา) แถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรตี ่อสภานิติ บัญญัติแห่งชาติ เม่ือวนั ศกุ ร์ท่ี 12 กนั ยายน 2557 จากนโยบายรัฐบาล 11 ด้าน คอื 1) การปกป้องและเชิดชู สถาบันพระมหากษตั รยิ ์ 2) การรกั ษาความมน่ั คงของรัฐและการตา่ งประเทศ 3) การลดความเหลอื่ มล้าของ สังคมและการสรา้ งโอกาสการเขา้ ถงึ บริการของรฐั 4) การศึกษาและเรียนรู้ การทะนบุ ารงุ ศาสนา ศลิ ปะ และวฒั นธรรม 5) การยกระดบั คุณภาพบริการดา้ นสาธารณสุขและสุขภาพของประชาชน 6) การเพิ่ม ศักยภาพทางเศรษฐกจิ ของประเทศ 7) การส่งเสรมิ บทบาทและใช้โอกาสในประชาคมอาเซียน 8) การพัฒนา และส่งเสรมิ การใชป้ ระโยชน์จากวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวจิ ยั และพฒั นา และนวตั กรรม 9) การรักษา ความมั่นคงของฐานทรพั ยากร และการสรา้ งสมดลุ ระหว่างการอนุรกั ษ์ กบั การใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งยงั่ ยนื 10) การส่งเสริมการบริหารราชการแผ่นดินทม่ี ีธรรมาภบิ าล และการปอู งกันปราบปรามการทจุ ริตและประพฤติมิ ชอบในภาครัฐ 11) การปรบั ปรุงกฎหมายและกระบวนการยตุ ธิ รรม โดยมนี โยบายท่เี ก่ยี วข้องกับการศึกษา ดังน้ี ขอ้ 1. การปกป้องและเชดิ ชูสถาบันพระมหากษตั รยิ ์ สถาบนั พระมหากษัตริยเ์ ปน็ องคป์ ระกอบสาคัญของการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยตาม ประเพณกี ารปกครองของไทย รัฐบาลจงึ ถือเปน็ หนา้ ที่สาคัญยิ่งยวดในอันที่จะเชิดชูสถาบนั น้ไี วด้ ว้ ยความ จงรกั ภักดีและปกปูองรกั ษาพระบรมเดชานภุ าพ โดยจะใชม้ าตรการทางกฎหมาย มาตรการ ทางสงั คม จติ วิทยาและมาตรการทางระบบสือ่ สารและเทคโนโลยสี ารสนเทศในการดาเนนิ การกับผู้คะนองปาก ย่ามใจ หรือประสงค์รา้ ย มุ่งสนั่ คลอนสถาบันหลักของชาตโิ ดยไมค่ านงึ ความรสู้ านึกและความผกู พนั ภักดขี องคน อกี เปน็ จานวนมากตลอดจนเผยแพร่ความร้คู วามเข้าใจที่ถกู ตอ้ งและเปน็ จรงิ เกย่ี วกับพระมหากษตั รยิ ์ และพระ ราชกรณยี กิจเพอ่ื ประชาชน ทัง้ จะสนับสนุนโครงการทัง้ หลายอนั เน่อื งมาจากพระราชดาริ ส่งเสรมิ ให้ เจ้าหนา้ ท่ีสถาบันการศึกษา ตลอดจนหน่วยงานทงั้ หลายของรัฐ เรียนรู้เข้าใจหลักการทรงงาน สามารถ นาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาประยุกต์ใชใ้ นการปฏบิ ตั ริ าชการและการพฒั นา ตลอดจนเรง่ ขยายผลตาม โครงการแผนปฏบิ ตั ิการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 และแบบอยา่ งทที่ รงวางรากฐานไว้ให้แพร่หลายเป็น ท่ีประจักษแ์ ละเกิดประโยชนใ์ นวงกวา้ งอันจะช่วยสรา้ งความสมบรู ณพ์ นู สุขแกป่ ระชาชนในที่สุด ขอ้ 3. การลดความเหลอ่ื มลา้ ของสังคมและการสร้างโอกาสการเขา้ ถึงบริการของรฐั 3.5 เตรียมความพรอ้ มเข้าสสู่ งั คมทีม่ ีความหลากหลายเน่อื งจากการเขา้ สูป่ ระชาคมอาเซียนโดย สร้างความเข้มแข็งและความพร้อมแกแ่ รงงานไทยและรว่ มพฒั นาระบบความคมุ้ ครองทางสงั คม ของแรงงาน อาเซยี น 3.6 จดั ระเบียบสงั คม สร้างมาตรฐานด้านคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลใหแ้ ก่เจ้าหน้าท่ี ของรัฐและประชาชนทว่ั ไป โดยใชค้ ่านยิ มหลกั 12 ประการ ตามนโยบายของคณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาตทิ ไ่ี ด้ ประกาศไว้แล้ว

20 ขอ้ 4. การศกึ ษาและการเรียนรู้ การทานบุ ารงุ ศาสนา ศลิ ปะและวัฒนธรรม รัฐบาลจะนาการศกึ ษา ศาสนา ศิลปวฒั นธรรม ความภาคภมู ใิ จในประวัติศาสตร์และความเป็น ไทยมาใช้สร้างสงั คมใหเ้ ขม้ แขง็ อย่างมีคณุ ภาพและคุณธรรมควบคู่กนั ดงั น้ี 4.1 จดั ให้มกี ารปฏริ ูปการศกึ ษาและการเรยี นรู้ โดยใหค้ วามสาคัญทั้งการศึกษาในระบบ และการศกึ ษาทางเลือกไปพรอ้ มกัน เพื่อสรา้ งคณุ ภาพของคนไทยให้สามารถเรยี นรู้ พัฒนาตนได้เตม็ ตาม ศักยภาพ ประกอบอาชพี และดารงชวี ิตไดโ้ ดยมคี วามใฝร่ แู้ ละทักษะที่เหมาะสม เป็นคนดีมีคณุ ธรรม สร้างเสริม คณุ ภาพการเรยี นร้โู ดยเน้นการเรียนรเู้ พ่ือสร้างสมั มาชีพในพ้นื ท่ี ลดความเหล่ือมลา้ และพฒั นากาลงั คน ให้ เปน็ ท่ตี อ้ งการเหมาะสมกับพ้นื ท่ี ทั้งในดา้ นการเกษตร อุตสาหกรรม และธรุ กจิ บรกิ าร 4.2 ในระยะเฉพาะหน้า จะปรบั เปลย่ี นการจัดสรรงบประมาณสนับสนนุ การศึกษา ให้ สอดคลอ้ งกับความจาเป็นของผู้เรยี นและลักษณะพนื้ ทีข่ องสถานศึกษา และปรับปรงุ และบรู ณาการระบบ การ กู้ยมื เงินเพื่อการศกึ ษาใหม้ ปี ระสิทธภิ าพเพอ่ื เพมิ่ โอกาสแกผ่ ู้ยากจนหรือดอ้ ยโอกาส จัดระบบการสนับสนนุ ให้ เยาวชนและประชาชนทวั่ ไปมสี ทิ ธเิ ลอื กรบั บริการการศกึ ษาทง้ั ในระบบโรงเรียนและนอกโรงเรียน โดยจะ พิจารณาจดั ใหม้ ีคูปองการศึกษาเปน็ แนวทางหนง่ึ 4.3 ใหอ้ งค์กรภาคประชาสงั คม ภาคเอกชน องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น และประชาชน ทัว่ ไปมโี อกาสรว่ มจดั การศึกษาทมี่ ีคณุ ภาพและทั่วถึง และรว่ มในการปฏริ ปู การศกึ ษาและการเรยี นรู้ กระจาย อานาจการบริหารจดั การศกึ ษาส่สู ถานศกึ ษา เขตพื้นที่การศึกษา และองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ตาม ศักยภาพและความพรอ้ ม โดยใหส้ ถานศกึ ษาสามารถเป็นนิตบิ ุคคลและบรหิ ารจัดการไดอ้ ย่างอสิ ระ และ คลอ่ งตวั ขึ้น 4.4 พฒั นาคนทกุ ช่วงวัยโดยสง่ เสรมิ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ เพ่อื ใหส้ ามารถมีความรแู้ ละทกั ษะ ใหมท่ สี่ ามารถประกอบอาชีพได้หลากหลายตามแนวโนม้ การจ้างงานในอนาคตปรบั กระบวนการเรยี นร้แู ละ หลักสูตรใหเ้ ช่ือมโยงกบั ภมู ิสงั คม โดยบูรณาการความรู้และคณุ ธรรมเข้าดว้ ยกันเพื่อให้เออ้ื ต่อการพฒั นาผู้เรยี น ในด้านความรู้ ทกั ษะ การใฝเ่ รยี นรู้ การแก้ปญั หาการรบั ฟงั ความเหน็ ผูอ้ ่นื การมีคุณธรรม จรยิ ธรรม และ ความเปน็ พลเมืองดี โดยเน้นความรว่ มมือระหวา่ งผูเ้ กีย่ วข้องท้ังในและนอกโรงเรียน 4.5 ส่งเสรมิ อาชวี ศกึ ษาและการศกึ ษาระดับวทิ ยาลยั ชมุ ชน เพอ่ื สรา้ งแรงงานทีม่ ที ักษะ โดยเฉพาะในทอ้ งถิ่นท่มี คี วามต้องการแรงงาน และพฒั นาคุณภาพมาตรฐานการศกึ ษาให้เช่ือมโยงกบั มาตรฐาน วิชาชพี 4.6 พัฒนาระบบการผลติ และพฒั นาครูที่มคี ณุ ภาพและจติ วิญญาณของความเป็นครู เน้น ครผู สู้ อนให้มีวุฒติ รงตามวิชาทีส่ อน นาเทคโนโลยสี ารสนเทศและเครื่องมอื ที่เหมาะสมมาใชใ้ นการเรียน การ สอน เพ่ือเป็นเครอ่ื งมือช่วยครูหรือเพ่ือการเรยี นรดู้ ว้ ยตวั เอง เช่น การเรยี นทางไกล การเรยี นโดยระบบ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ เป็นต้น รวมทงั้ ปรบั ระบบการประเมินสมรรถนะที่สะท้อนประสทิ ธิภาพการจัดการเรียน การ สอน และการพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียนเปน็ สาคญั 4.7 ทานุบารงุ และอปุ ถัมภพ์ ระพทุ ธศาสนาและศาสนาอืน่ ๆ สนับสนนุ ใหอ้ งคก์ ร ทางศาสนามี บทบาทสาคัญในการปลูกฝังคุณธรรม จรยิ ธรรม ตลอดจนพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ สรา้ งสันติสขุ และ ความ ปรองดองสมานฉนั ท์ในสงั คมไทยอย่างยั่งยืน และมีสว่ นร่วมในการพัฒนาสงั คมตามความพรอ้ ม 4.8 อนรุ ักษ์ ฟนื้ ฟู และเผยแพร่มรดกทางวฒั นธรรม ภาษาไทยและภาษาถน่ิ ภมู ปิ ญั ญา ทอ้ งถิ่นรวมทงั้ ความหลากหลายของศิลปวฒั นธรรมไทย เพื่อการเรยี นรู้สรา้ งความภาคภมู ิใจในประวัตศิ าสตร์ และความเป็นไทย น าไปสู่การสรา้ งความสมั พนั ธอ์ ันดใี นระดับประชาชน ระดบั ชาติ ระดับภมู ิภาค และระดับ นานาชาตติ ลอดจนเพมิ่ มลู คา่ ทางเศรษฐกิจใหแ้ กป่ ระเทศ

21 4.9 สนบั สนุนการเรียนภาษาตา่ งประเทศ วัฒนธรรมของประเทศเพอื่ นบา้ นและวัฒนธรรม สากล และการสรา้ งสรรคง์ านศลิ ปะและวัฒนธรรมทเี่ ป็นสากล เพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มเข้าสู่เสาหลักวัฒนธรรม ของประชาคมอาเซียนและเพื่อการเปน็ สว่ นหนง่ึ ของประชาคมโลก 4.10 ปลกู ฝงั คา่ นิยมและจิตสานึกทดี่ ี รวมท้ังสนบั สนนุ การผลิตสอ่ื คณุ ภาพเพ่อื เปดิ พน้ื ท่ี สาธารณะให้เยาวชนและประชาชนไดม้ โี อกาสแสดงออกอยา่ งสรา้ งสรรค์ ข้อ 5. การยกระดบั คุณภาพบริการด้านสาธารณสุข และสขุ ภาพของประชาชน 5.5 สง่ เสรมิ การกีฬาเพือ่ สขุ ภาพ ใชก้ ีฬาเปน็ สอ่ื ในการพัฒนาลกั ษณะนิสยั เยาวชนให้มนี า้ ใจ นักกีฬา มีวินยั ปฏบิ ัติตามกฎกติกามารยาท และมคี วามสามคั คี อกี ทั้งพฒั นานักกีฬาใหม้ ีศกั ยภาพสามารถ แขง่ ขันในระดับนานาชาติจนสรา้ งช่ือเสียงแกป่ ระเทศชาติ ข้อ 6. การเพ่ิมศกั ยภาพทางเศรษฐกจิ ของประเทศ 6.1 ในระยะเรง่ ดว่ น เรง่ จ่ายงบลงทุนของปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ท่ียังค้างอยู่กอ่ นท่ีจะพน้ กาหนดภายในสิน้ ปนี ี้ และสานตอ่ นโยบายงบประมาณกระตนุ้ เศรษฐกิจตามคณะรกั ษาความสงบแห่งชาติได้ จัดทาไวโ้ ดยตดิ ตามให้มกี ารเบกิ จ่ายอยา่ งคลอ่ งตวั ต้ังแต่ระดับกระทรวงจนถึงระดับท้องถนิ่ รวมทง้ั จะดูแลไม่ให้ มีการใชจ้ า่ ยทส่ี ญู เปลา่ เพื่อช่วยสรา้ งงานและกระตุ้นการบริโภค 6.2 สานตอ่ นโยบายงบประมาณกระตุน้ เศรษฐกจิ ตามทค่ี ณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ ได้ จดั ทาไว้ โดย นาหลักการสาคัญของการจดั ทางบประมาณรายจา่ ยประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2558 ทใ่ี ห้ ความสาคัญในการบูรณาการงบประมาณและความพรอ้ มในการดาเนนิ งานรวมท้ังนาแหล่งเงินอนื่ มา ประกอบการพจิ ารณาดว้ ย เพอ่ื ขับเคล่อื นนโยบายใหเ้ กิดผลอยา่ งเป็นรูปธรรม ประหยดั ไมซ่ ้าซอ้ น และมี ประสทิ ธิภาพ ทบทวนภารกจิ ทม่ี ลี ักษณะไม่ย่งั ยนื หรือสรา้ งภาระหนา้ ท่ีสาธารณะของประเทศเกินความจาเปน็ และแสดงรายการลงทนุ ในระดบั จังหวัดเพือ่ แสดงความโปร่งใสเป็นธรรม และไมเ่ ลอื กปฏบิ ัติ ควบคไู่ ปกับ การ เพิ่มประสิทธภิ าพการเบิกจา่ ยงบประมาณต้ังแตร่ ะดบั กระทรวงจนถึงระดบั ท้องถนิ่ เพื่อชว่ ยสร้างงานและ กระตุน้ การบรโิ ภค โดยจะจัดใหม้ รี ะบบและกลไกในการตดิ ตามตรวจสอบไม่ใหม้ กี ารใชจ้ ่ายทส่ี ญู เปลา่ ขอ้ 10. การสง่ เสรมิ การบริหารราชการแผน่ ดินที่มธี รรมาภิบาลและการปอ้ งกันปราบปราม การทจุ รติ และ ประพฤติมิชอบในภาครัฐ 10.1 ปรับปรุงระบบราชการในด้านองค์กรหรือหน่วยงานภาครัฐท้งั ในระดับประเทศ ภูมิภาค และท้องถิ่น ทบทวนการจัดโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐที่มีอานาจหน้าที่ซ้าซ้อนหรือลักล่ันกันหรือมีเส้น การ ปฏิบัติงานท่ียืดยาว ปรับปรุงวิธีปฏิบัติราชการให้ทันสมัยโดยนาเทคโนโลยีมาใช้ แก้ไขกฎระเบียบให้โปร่งใส ชัดเจน สามารถบริการประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนจัดระบบอัตรากา ลังและปรับปรุง ค่าตอบแทนบุคลากรภาครัฐให้เหมาะสมและเป็นธรรม ยึดหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี การบริหาร จัดการภาครัฐแบบใหม่การตอบสนองความต้องการของประชาชนในฐานะท่ีเป็นศูนย์กลาง และการอานวย ความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการเพ่ือสร้างความเชื่อมั่นวางใจในระบบราชการ ลดต้นทุนดาเนินการของภาคธุรกิจ เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันกับนานาประเทศ และการรักษาบุคลากรภาครัฐท่ีมีประสิทธิภาพไว้ในระบบ ราชการโดยจะดาเนินการตั้งแต่ระยะเฉพาะหน้าไปตามลาดับความจาเป็น และตามที่กฎหมายเอื้อให้สามารถ ดาเนนิ การได้ 10.3 ยกระดับสมรรถนะของหน่วยงานของรัฐให้มีประสิทธิภาพ สามารถให้บริหาร เชิงรุกท้งั ในรูปแบบการเพ่ิมศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์จากประชาชนในต่างจังหวัดโดยไม่ต้องเดินทางเข้ามายังส่วนกลาง ศูนย์บริการสาธารณะแบบครบวงจรท่ีครอบคลุมการให้บริการที่หลากหลายซ่ึงจะจัดตั้งตามที่ชุมชนต่างๆ

22 เพื่อให้ประชาชนสามารถเดินทางไปติดต่อขอรับบริการได้โดยสะดวกการให้บริการถึงตัวบุคคล ผ่านระบบ ศูนย์บริการร่วม ณ จุดเดียว (One Stop Service) และระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ที่สมบูรณ์แบบ พัฒนา หน่วยงานของรฐั ใหเ้ ป็นองคก์ รแห่งการเรียนรู้มีการสรา้ งนวัตกรรมในการทางานอยา่ งประหยดั มีประสิทธิภาพ และระบบบูรณาการ 10.4 เสรมิ สรา้ งระบบคณุ ธรรมในการแตง่ ตัง้ และโยกย้ายบคุ ลากรภาครฐั วางมาตรการปอู ง กันการแทรกแซงจากนักการเมือง และส่งเสรมิ ใหม้ กี ารนาระบบพทิ ักษค์ ุณธรรมมาใชใ้ นการบรหิ ารงานบุคคล ของเจา้ หนา้ ทีฝ่ า่ ยต่างๆ 10.5 ใช้มาตรการทางกฎหมาย การปลูกฝังค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม และจิตสานึก ใน การรักษาศักดิ์ศรีของความเป็นข้าราชการและความซื่อสัตย์สุจริต ควบคู่กับการบริหารจัดการภาครัฐท่ีมี ประสิทธิภาพเพ่ือปูองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่ของรัฐทุกระดับ อย่าง เคร่งครัด ยกเลิกหรือแก้ไขกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ ที่ไม่จาเป็น สร้างภาระแก่ประชาชน เกินควร หรือเปิดช่องโอกาสการทุจริต เช่น ระเบียบการจัดซื้อจัดจ้าง การอนุญาต อนุมัติ และการขอรับบริการของรฐั ซึ่งมขี ัน้ ตอนยดื ยาวใช้เวลานาน ซ้าซ้อน และเสียค่าใชจ้ า่ ยทัง้ ของภาครัฐและประชาชน วสิ ยั ทศั นป์ ระเทศไทย ปี 2558-2563 ประเทศไทยได้ประกาศ วิสัยทัศน์ เพ่อื กาหนดทิศทางการพฒั นาประเทศของรฐั บาล โดยมชี อื่ ว่า “มั่นคง มั่งค่งั ยงั่ ยนื ” เพอ่ื พัฒนาทั้งดา้ นเสถยี รภาพ ความสงบสุข เศรษฐกจิ ท่ีเขม้ แขง็ ดา้ นการใชจ้ า่ ยจัดหา งบประมาณเพอื่ พฒั นาประเทศไทยให้มากขน้ึ แกป้ ญั หาด้านสาธารณปู โภค การดแู ลสุขภาพ และการศกึ ษา วสิ ัยทัศน์ “มั่นคง มั่งคั่ง ยัง่ ยืน” นาไปสกู่ ารพัฒนาให้คนไทยมคี วามสขุ ภายใต้ “ปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง” และสนองตอบผลประโยชน์แหง่ ชาติ อันไดแ้ ก่ การมเี อกราช อธิปไตย และบรู ณภาพแหง่ เขต อานาจรฐั การดารงอยูอ่ ยา่ งม่นั คง ยง่ั ยนื ของสถาบนั หลักของชาติ การดารงอยูอ่ ยา่ งม่นั คงของชาติและ ประชาชนจากภัยคุกคามทุกรปู แบบ การอย่รู ว่ มกนั ในชาติอยา่ งสันติสขุ เป็นปึกแผ่น มคี วามมัน่ คงทางสงั คม ท่ามกลางพหุสังคมและการมเี กยี รตแิ ละศักด์ิศรขี องความเปน็ มนษุ ย์ ความเจริญเตบิ โตของชาติ ความเป็น ธรรม และความอยูด่ มี ีสขุ ของประชาชน ความยงั่ ยนื ของฐานทรัพยากรธรรมชาติ สงิ่ แวดลอ้ มความมัน่ คงทาง พลงั งาน อาหาร ความสามารถในการรกั ษาผลประโยชน์ของชาตภิ ายใต้การเปล่ยี นแปลงของสภาวะแวดล้อม ระหว่างประเทศ และการอยูร่ ว่ มกันอยา่ งสนั ติ ประสานสอดคลอ้ งกนั ดา้ นความมัน่ คงในประชาคมอาเซียน และประชาคมโลกอย่างมีเกียรติและศักดิศ์ รี ความมนั่ คง หมายถึง การมีความมนั่ คงปลอดภัยจากภยั และการเปลี่ยนแปลงทงั้ ภายในประเทศ และภายนอกประเทศในทุกระดบั ทั้งระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครวั เรอื น และปจั เจกบคุ คลและมีความ มัน่ คงในทุกมติ ิ ท้ังมติ ิเศรษฐกจิ สังคม สง่ิ แวดล้อม และการเมือง เชน่ ประเทศมคี วามมนั่ คงในเอกราชและ อธปิ ไตย มสี ถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ทเี่ ขม้ แขง็ เปน็ ศนู ย์กลางและเป็นทย่ี ึดเหนยี่ วจติ ใจของ ประชาชน มรี ะบบการเมืองท่มี ่นั คงเป็นกลไกท่นี าไปสกู่ ารบรหิ ารประเทศท่ตี อ่ เนือ่ ง และโปร่งใสตามหลกั ธรร มาภิบาล สังคมมีความปรองดองและความสามัคคี สามารถผนกึ กาลงั เพ่อื พัฒนาประเทศ ชมุ ชนมคี วามเขม้ แข็ง ครอบครวั มคี วามอบอุ่น มคี วามม่นั คงของอาหารและพลงั งาน ประชาชนมีความม่ันคงในชวี ิต มงี านและรายได้ ทมี่ นั่ คงพอเพยี งกับการดารงชีวติ มีทอ่ี ยู่อาศยั และความปลอดภยั ในชวี ิตทรพั ยส์ ิน มีการออมสาหรบั วยั เกษยี ณ ความมั่งคั่ง หมายถึง ประเทศไทยมกี ารขยายตวั ของเศรษฐกจิ อย่างต่อเนอื่ งจนเขา้ สู่กลุ่มประเทศ รายได้สูง ความเหลอื่ มลา้ ของการพัฒนาลดลง ประชากรไดร้ บั ผลประโยชน์จาการพฒั นาอยา่ งเทา่ เทียมกัน

23 มากข้นึ ไมม่ ปี ระชาชนทอ่ี ยใู่ ตเ้ สน้ ความยากจน เศรษฐกิจมคี วามสามารถในการแขง่ ขันสูง สามารถสร้าง รายไดท้ ้ังจากภายในประเทศและภายนอกประเทศ และเป็นจดุ สาคญั ของการเช่อื มโยงในภมู ิภาคทง้ั การ คมนาคม ขนสง่ การผลติ การคา้ การลงทนุ และการทาธรุ กิจ นอกจากนั้นยังมีความสมบูรณ์ในทนุ ทีจ่ ะ แผนปฏิบตั กิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 2สามารถสร้างการพัฒนาตอ่ เนอ่ื งไป ไดแ้ ก่ ทนุ มนุษย์ ทุนทาง ปัญญา ทุนทางการเงิน ทนุ ท่เี ปน็ เครอื่ งมอื เคร่อื งจกั ร ทนุ ทางสังคม และทุนทางทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ สงิ่ แวดล้อม ความย่ังยืน หมายถึง การพัฒนาที่สามารถสร้างความเจริญ รายได้ และคุณภาพชีวิตของ ประชาชนให้เพ่ิมข้ึนอย่างตอ่ เนื่อง ซ่ึงเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจท่ีไม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติจนเกินพอดี ไม่สร้างมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมจนเกินความสามารถในการรองรับและเยียวยาของระบบนิเวศน์ การผลิตและ การบริโภคเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และสอดคล้องกับกฎระเบียบของประชาคมโลกซึ่งเป็นที่ยอมรับร่วมกัน ทรัพยากรธรรมชาติมีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้น และส่ิงแวดล้อมมีคุณภาพดีข้ึน คนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความเอื้ออาทร เสียสละเพ่ือผลประโยชน์ส่วนรวม รัฐบาลมีนโยบายท่ีมุ่งประโยชน์ส่วนรวมอย่างยั่งยืนและ ให้ความสาคัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชน และทุกภาคส่วนในสังคมยึดถือและปฏิบัติตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งเพ่อื การพฒั นาในระดับอยา่ งสมดุล มีเสถียรภาพ และยงั่ ยนื ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) 1. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นความมนั่ คง 2. ยุทธศาสตร์ดา้ นการสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน 3. ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพคน 4. ยุทธศาสตรด์ า้ นการสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและเทา่ เทียมกนั ทางสงั คม 5. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการสร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ติ ทเี่ ปน็ มติ รกับส่งิ แวดลอ้ ม 6. ยุทธศาสตรด์ ้านการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจดั การภาครฐั ยทุ ธศำสตร์กระทรวงศกึ ษำธิกำร ยทุ ธศาสตร์ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 การจัดการศกึ ษาเพอ่ื ความมั่นคงของชาติ ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การผลติ และพฒั นากาลงั คน รวมทั้งงานวิจัยและนวัตกรรมทส่ี อดคลอ้ งกับความตอ้ งการของ การพฒั นาประเทศ ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 การพฒั นา และเสริมสร้างศักยภาพคนตลอดชว่ งชีวติ ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 การสรา้ งโอกาสทางการศึกษาต่อเนื่องตลอดชวี ติ อยา่ งท่วั ถึงและเทา่ เทียม ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 การจัดการศกึ ษาเพ่อื เสริมสรา้ งคณุ ภาพชวี ติ ท่ีเป็นมติ รกับสงิ่ แวดล้อม ยทุ ธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการให้มปี ระสิทธภิ าพ

24 สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 วิสยั ทัศน์ สร้างคุณภาพทุนมนษุ ย์ สสู่ ังคมอนาคตท่ียง่ั ยืน พันธกิจ 1.จัดการศึกษาเพือ่ เสริมสร้างความมั่นคงของสถาบนั หลกั ของชาติและการปกครองในระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข 2. พฒั นาศกั ยภาพผเู้ รียนเพ่ือเพิม่ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั โดยพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียนใหม้ ีความรู้ ทกั ษะวิชาการ ทกั ษะชีวติ ทกั ษะวชิ าชพี คุณลกั ษณะในศตวรรษที่ 21 3. ส่งเสริมการพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาให้เปน็ มอื อาชพี 4. สรา้ งโอกาส ความเสมอภาคลดความเหล่ือมล้า ใหผ้ ูเ้ รียนทกุ คนไดร้ บั บรกิ ารทางการศึกษาอยา่ ง ท่ัวถงึ และเทา่ เทียม 5. สง่ เสรมิ การจดั การศกึ ษาเพอื่ พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ที่เป็นมิตรกับสงิ่ แวดลอ้ ม ยึดหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง และเป้าหมายโลกเพ่อื การพฒั นาทย่ี ่งั ยืน (SDGs) 6. พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การแบบบูรณาการ และสง่ เสรมิ ให้ทุกภาคสว่ นมสี ว่ นรว่ มในการจัด การศกึ ษา เป้าหมาย 1. ผู้เรยี น เปน็ บคุ คลแห่งการเรียนรู้ คิดริเรม่ิ และสร้างสรรค์นวตั กรรม มคี วามรู้ มที ักษะและ คุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 มีสขุ ภาวะท่เี หมาะสมตามวยั มคี วามสามารถในการพ่ึงพาตนเอง และ ปรับตัวต่อ เปน็ พลเมืองและพลโลกทดี่ ี 2. ผู้เรียนทม่ี ีความต้องการจาเป็นพเิ ศษ กล่มุ ชาตพิ นั ธุ์ กลมุ่ ผูด้ อ้ ยโอกาส และกลมุ่ ที่อยใู่ นพ้ืนที่ หา่ งไกลทุรกันดารไดร้ บั การศกึ ษาอยา่ งทั่วถึง เท่าเทยี ม และมคี ุณภาพ พร้อมก้าวสสู่ ากล ตามหลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง 3. ครู เป็นผเู้ รียนรู้ มจี ิตวิญญาณความเปน็ ครู มีความแมน่ ยาทางวิชาการ และมที ักษะการจดั การ เรียนรู้ทีห่ ลากหลายตอบสนองผูเ้ รียนเป็นรายบคุ คล เป็นผู้สร้างสรรคน์ วัตกรรม และทกั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยี 4. ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา มคี วามเป็นเลิศสว่ นบคุ คล คดิ เชิงกลยุทธแ์ ละนวตั กรรม มภี าวะผ้นู าทาง วชิ าการ มีสานึกความรับผิดชอบ (Accountability) และการบรหิ ารแบบรว่ มมือ 5. สถานศกึ ษา มคี วามเป็นอสิ ระในการบริหารงานและจดั การเรียนรู้ รว่ มมอื กบั ชุมชน ภาคเอกชน และผเู้ กยี่ วข้องในการจดั การศกึ ษาระดบั พนื้ ที่ จดั สภาพแวดลอ้ มในโรงเรยี นเพอื่ การเรียนรใู้ นทกุ มติ ิ เป็น โรงเรยี นนวตั กรรม 6. สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา มกี ารบรหิ ารงานเชิงบรู ณาการ เปน็ สานักงานแหง่ นวตั กรรมยุคใหม่ ใชข้ ้อมูลสารสนเทศและการวจิ ยั และพัฒนาในการขบั เคลอื่ นคุณภาพ กากบั ติดตาม ประเมนิ และรายงานผล อยา่ งเปน็ ระบบ

25 7. สานกั งานสว่ นกลาง ปรับเปล่ียนวัฒนธรรมการทางาน โดย กระจายอานาจการบรหิ ารงานและการ จดั การศึกษาให้สถานศกึ ษา บรหิ ารเชงิ บูรณาการ มรี ะบบขอ้ มูลสารสนเทศทม่ี ปี ระสิทธิภาพ กากับ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และการรายงานผลอยา่ งเปน็ ระบบ ใช้วิจัยและนวัตกรรมในการขบั เคลื่อนคณุ ภาพ นโยบาย สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน นโยบายท่ี 1 จดั การศกึ ษาเพ่ือความมน่ั คง นโยบายที่ 2 พัฒนาคุณภาพผ้เู รยี น นโยบายที่ 3 พฒั นาผบู้ รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา นโยบายท่ี 4 สร้างโอกาสในการเข้าถงึ บริการการศกึ ษาทม่ี ีคณุ ภาพ มีมาตรฐาน และลดความ เหลือ่ ม ล้าทางการศกึ ษา นโยบายที่ 5 เพิม่ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การ กลยุทธ์เชงิ นโยบาย นโยบายท่ี 1 จัดการศกึ ษาเพอื่ ความม่นั คง 1. บทนา การจดั การศึกษาเพอื่ ความม่นั คง จะเน้นการจดั การศึกษาเพ่ือพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี นในเขตพนื้ ทพี่ ิเศษ เฉพาะ ท่ีมีความยากลาบากในการบริหารจัดการ เช่น การจดั ศึกษาของสถานศกึ ษาในเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะ กจิ จังหวดั ชายแดนภาคใต้ และการจดั การศกึ ษาเพอื่ เสรมิ สรา้ งคณุ ภาพของประชากรวยั เรียนกลุ่มชาติพันธ์ุ กล่มุ ทดี่ ้อยโอกาส และกลุ่มท่อี ย่ใู นพื้นทห่ี า่ งไกลทุรกนั ดาร เช่น พ้ืนท่ีสงู ชายแดน ชายฝงั่ ทะเล และเกาะแก่ง เพ่ือสรา้ งความมง่ั คงของประเทศในระยะยาว 2. เปา้ ประสงค์ 1. ผู้เรยี นในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกจิ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ และเขตพน้ื ทพ่ี เิ ศษเฉพาะ ไดร้ บั การบรกิ าร การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานที่มคี ุณภาพเหมาะสมกบั สงั คมพหวุ ฒั นธรรม 2. เสริมสร้างคุณภาพประชากรวยั เรียนกลุม่ ชาตพิ ันธุ์ กลุ่มทด่ี อ้ ยโอกาส และกลมุ่ ท่ีอยู่ในพ้นื ทหี่ ่างไกลสูงในถ่นิ ทรุ กนั ดาร อาทิ พนื้ ที่สูง ชายแดน ชายฝ่ังทะเล และเกาะแกง่ เพ่อื สรา้ งความม่งั คงของประเทศในระยะยาว 3. ประเดน็ กลยทุ ธ์ 3.1 พัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาในเขตพฒั นาพิเศษเฉพาะกจิ จังหวดั ชายแดนภาคใต้ 3.1.1 ตวั ชี้วัด (1) ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นรู้ของผ้เู รียนสงู ข้ึน (2) ร้อยละของสถานศึกษาในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตจ้ ัดการเรียนรใู้ หแ้ ก่ผ้เู รียนโดย การบรู ณาการหลกั สตู รใหส้ อดคลอ้ งกับสังคมวฒั นธรรม และภาษาของทอ้ งถ่ิน (3) ผเู้ รยี นในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกจิ จังหวดั ชายแดนภาคใตไ้ ดร้ ับบริการการศึกษาข้ันพ้นื ฐานทมี่ คี ณุ ภาพ 3.1.2 แนวทางการดาเนินการ ดาเนินการตามยทุ ธศาสตรก์ ารศึกษาเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกิจจงั หวัดชายแดนภาคใต้ (พ.ศ. 2560 -2579) ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 6 ยทุ ธศาสตร์ ไดแ้ ก่ (1) การศึกษาเพอ่ื เสรมิ สร้างความมัน่ คง (2) การผลิตและพัฒนากาลงั คนให้มีสมรรถนะในการแข่งขัน (3) การพฒั นาศกั ยภาพคนทกุ ช่วงวัยและการสรา้ งสงั คมแหง่ การเรียนรู้

26 (4) การสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทยี มกนั ทางการศึกษา (5) การศกึ ษาเพ่ือเสริมสร้างคุณภาพชวี ิตท่เี ป็นมติ รกับส่งิ แวดลอ้ ม (6) การพฒั นาระบบการบริหารจัดการศึกษา ทงั้ นี้ดาเนินการในลกั ษณะบูรณาการรว่ มกันของหน่วยงานกระทรวงศกึ ษาธิการ และหน่วยงานทเ่ี ก่ยี วข้องใน พ้ืนที่จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ 3.2 ส่งเสรมิ และสนบั สนุนใหผ้ ู้เรียนในเขตพื้นทเี่ ฉพาะ กลมุ่ ชาติพนั ธ์ุ กลุม่ ท่ดี ้อยโอกาส และกลมุ่ ทอ่ี ย่ใู นพ้ืนที่ หา่ งไกลทรุ กนั ดาร เชน่ พ้ืนท่สี งู ชายแดน ชายฝง่ั ทะเล และเกาะแกง่ ได้รบั การบรกิ ารด้านการศกึ ษาขั้น พ้ืนฐาน ที่มคี ุณภาพ และเหมาะสมตรงตามความตอ้ งการ 3.2.1 ตัวช้วี ดั (1) จานวนผเู้ รยี นบ้านไกลไดร้ บั โอกาสทางการศกึ ษาจากการได้เขา้ พัก ในโรงเรยี นท่ีมีหอพกั นอน หรือการ สนับสนุนการเดินทางจากบา้ นถงึ โรงเรียนอย่างปลอดภัย (2) จานวนโรงเรยี นไดร้ ับการสนับสนนุ งบประมาณเพือ่ ใช้ในการประกอบอาหาร การพัฒนาทักษะชีวติ และ การพัฒนาสภาพหอพักนอนใหม้ ีคุณภาพทดี่ ี อยา่ งเหมาะสม (3) จานวนผเู้ รียนได้รบั การพฒั นาคณุ ภาพทง้ั ดา้ นทกั ษะวชิ าการ ทกั ษะชีวติ และทกั ษะอาชีพ ทเี่ หมาะสมกับ บริบท (4) จานวนผู้บรหิ าร ครู ในสถานศกึ ษา/ห้องเรียนสาขา และทด่ี แู ลหอพักนอน ทม่ี ีนักเรยี นกล่มุ ชาตพิ นั ธ์ุ กล่มุ ที่ ด้อยโอกาส กลุ่มท่ีอยู่ในพ้นื ทห่ี า่ งไกลทุรกันดาร ไดร้ บั การพฒั นาและสวสั ดกิ ารทีเ่ หมาะสมกบั บรบิ ท (5) จานวนผเู้ รียนกลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุ กลุ่มที่ดอ้ ยโอกาส และกลุม่ ท่ีอยูใ่ นพ้นื ที่ห่างไกลทรุ กนั ดาร ได้รบั การสง่ เสรมิ การเรยี นรทู้ ่ีมีคุณภาพ และเกดิ จติ สานกึ รักในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ (6) การบริหารจัดการศกึ ษาในโรงเรียนที่มผี เู้ รยี นกลุ่มชาตพิ ันธ์ุ กลมุ่ ทด่ี ้อยโอกาส และกลุ่มที่อยใู่ นพื้นท่ี หา่ งไกลทุรกนั ดาร ได้รบั การปรับปรุงและมรี ูปแบบท่มี ปี ระสิทธิภาพ (7) ผเู้ รยี นกลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุ กลมุ่ ท่ดี อ้ ยโอกาส และกลุ่มที่อยู่ในพน้ื ท่ีหา่ งไกลทรุ กนั ดาร มผี ลสมั ฤทธ์ิสูงขึ้น 3.2.2 แนวทางการดาเนนิ การ (1) สนบั สนุนงบประมาณในการพฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษาในพน้ื ท่ีสูง ในถนิ่ ทรุ กนั ดาร ชายแดน ชายฝงั่ ทะเล และเกาะแก่ง ตามความจาเปน็ และ เหมาะสมกับบรบิ ท (2) สนบั สนุนงบประมาณในการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาที่ดแู ลหอพกั นอนตามความจาเปน็ และ เหมาะสมกับบริบท (3) จัดสรรงบประมาณเพ่มิ เติมให้โรงเรียนในกลมุ่ โรงเรยี นพ้ืนทีส่ ูงในถิน่ ทรุ กนั ดาร ชายแดน ชายฝั่งทะเล และ เกาะแกง่ ใหจ้ ดั การเรยี นรทู้ ม่ี ีคุณภาพ และเกดิ จติ สานึกรกั ในสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ (4) สรา้ งเวทีการแลกเปลี่ยนเรยี นรใู้ นประเด็น “การพฒั นาการจดั การศึกษาท่เี หมาะสมกับสภาพบรบิ ทของ พืน้ ทส่ี งู ใน ถ่ินทุรกันดาร ชายแดน ชายฝงั่ ทะเลและ เกาะแกง่ ควรทาอย่างไร” ผา่ นชอ่ งทาง จดั เวทีเสวนา การแสดงนิทรรศการการติดตอ่ สอื่ สารผา่ นชอ่ งทางออนไลน์ ตา่ ง ๆ เช่น การสรา้ ง Website Facebook และ Line เปน็ ตน้ (5) พฒั นารปู แบบและวิธกี ารจดั การเรยี นรู้ สื่อการเรยี นรู้ และการวดั และประเมนิ ผลที่เหมาะสมสาหรับการ พัฒนาศกั ยภาพสูงสุด ผู้เรยี นกลุ่มชาติพนั ธ์ุ กลุ่มทดี่ อ้ ยโอกาส และกลุม่ ทอ่ี ยู่ในพ้ืนทห่ี ่างไกลทรุ กันดาร (6) พัฒนาครใู หม้ ีทกั ษะการสอนภาษาไทยสาหรบั เด็กท่ีใชภ้ าษาไทยเป็นภาษาที่ 2 (7) ส่งเสริมการจดั การเรยี นรูโ้ ดยใชช้ มุ ชนเปน็ ฐาน ในการพัฒนาทกั ษะวชิ าการ ทกั ษะชวี ิต ทักษะอาชีพ และ ภาษาท่ี 3 ที่สอดคล้องและเหมาะสมกับสงั คมพหวุ ัฒนธรรม

27 นโยบายท่ี 2 พฒั นาคณุ ภาพผ้เู รียน 1. บทนา การพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น มงุ่ เนน้ พฒั นาประชากรวยั เรยี นทุกคนและทุกกลุม่ เป้าหมาย ซึ่งหมาย รวมถึง กลุ่มผเู้ รียนที่มีความต้องการจาเปน็ พเิ ศษ กลุ่มชาตพิ ันธ์ุ กลุม่ ผู้ดอ้ ยโอกาส และกลุ่มที่อยใู่ นพน้ื ท่ี ห่างไกลทุรกันดาร ในทุกมิติ โดยมีเป้าหมาย เพอื่ ใหผ้ ูเ้ รยี นมคี วามรกั ในสถาบนั หลกั ของชาติ ยึดม่นั การ ปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุข มีทศั นคติที่ถกู ต้องต่อบา้ นเมอื ง เป็น พลเมืองดขี องชาตแิ ละเปน็ พลโลกท่ดี ี มคี ุณธรรม จริยธรรม มที ักษะทีจ่ าเป็นในศตวรรษที่ 21 มีความเปน็ เลศิ ทางวิชาการ มีทกั ษะวิชาชพี และมีทักษะชวี ิตทเ่ี หมาะสมสอดคลอ้ งกับสังคมปจั จุบัน โดยการพฒั นาระบบการ เรยี นร้ทู ีต่ อบสนองตอ่ การเปล่ียนแปลงในศตวรรษที่ 21 2. เป้าประสงค์ 1. ผเู้ รียนทุกคนมีความรกั ในสถาบันหลกั ของชาติ และยึดมน่ั การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มี พระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ มที ัศนคตทิ ถี่ ูกตอ้ งต่อบ้านเมือง มหี ลักคดิ ท่ถี ูกตอ้ ง และเป็นพลเมืองดีของชาติ และการพลเมืองโลกทด่ี ี (Global Citizen) 2. ผเู้ รยี นทุกคนมคี ณุ ธรรม จริยธรรม มีคา่ นิยมทพี่ งึ ประสงค์ มีจติ สาธารณะ รับผดิ ชอบต่อสงั คมและผอู้ ื่น มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มวี นิ ยั รกั ษาศลี ธรรม 3. ผเู้ รียนทกุ คนได้รับการพฒั นาและสรา้ งเสริมศกั ยภาพในแต่ละชว่ งวยั อย่างมีคณุ ภาพมที ักษะที่จาเป็นใน ศตวรรษที่ 21 มีความเปน็ เลศิ ทางดา้ นวชิ าการ มที กั ษะสอื่ สารภาษาองั กฤษและภาษาท่ี 3 มีนสิ ัยรกั การเรียนรู้ และการพฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เน่อื งตลอดชวี ิต และมที กั ษะอาชพี ตามความต้องการและความถนัด 4. ผู้เรยี นทีม่ คี วามตอ้ งการจาเป็นพิเศษ มพี ัฒนาการตามศักยภาพของแตล่ ะบคุ คล ทง้ั ในด้านทมี่ พี ฒั นาการ ปกติและด้านท่มี ีความบกพรอ่ งหรือความแตกตา่ งทางการเรียนรู้ หรอื ความสามารถพิเศษ ตามทีร่ ะบุไวใ้ น แผนการจัดการศกึ ษาเฉพาะบคุ คลหรอื แผนการให้บริการช่วยเหลอื เฉพาะครอบครัว ซ่งึ จัดทาขน้ึ บนพนื้ ฐาน ความต้องการจาเปน็ เฉพาะของผู้เรยี น 5. ผู้เรียนทมี่ คี วามตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ มคี วามพรอ้ มสามารถเข้าสบู่ ริการช่วงเชอื่ มตอ่ (Transitional Services) หรือการส่งตอ่ (Referral) เข้าสู่การศกึ ษาในระดับเดยี วกันและทสี่ งู ข้นึ หรอื การอาชพี หรือการ ดาเนนิ ชวี ิตในสังคมได้ตามศกั ยภาพของแต่ละบคุ คล 6. ผเู้ รียนทุกคนมีทักษะชวี ติ มสี ุขภาวะที่เหมาะสมตามวัย มคี วามเขม้ แข็ง อดทน และสามารถพ่ึงตนเองไดใ้ น สังคมอนาคตทซี่ ับซ้อนและการปอ้ งกนั ตนเองจากภัยคกุ คามรูปแบบใหม่ สามารถปอ้ งกันตนเองจากปัญหา ยา เสพตดิ ได้ 3. ประเดน็ กลยุทธ์ 3.1 ปรับปรงุ และพฒั นาหลกั สูตรทกุ ระดับการศกึ ษา ให้เออ้ื ต่อการพัฒนาสมรรถนะผู้เรยี นเปน็ รายบคุ คล มี ทกั ษะทีจ่ าเป็นในศตวรรษท่ี 21 นาไปสกู่ ารจดั การศึกษาเพื่อการมีงานทา (Career Education) 3.1.1 ตัวช้วี ัด (1) รอ้ ยละของสถานศึกษาพฒั นาหลักสตู รการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ให้สอดคล้องกบั ทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 โดยเน้นการพฒั นาสมรรถนะผ้เู รยี นเปน็ รายบุคคล เพื่อสง่ เสริมให้ผู้เรียนมหี ลักคดิ ทถี่ ูกตอ้ ง รกั ในสถาบนั หลกั ของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข เป็นพลเมืองดี ของชาติ และพลเมอื งโลกท่ีดี มคี วามเปน็ เลิศทางดา้ นวิชาการ มที ักษะชวี ติ และทักษะอาชีพตามความตอ้ งการ และมที กั ษะในการป้องกนั ตนเองจากภัยคกุ คามรปู แบบใหม่

28 (2) ร้อยละของสถานศึกษาที่มีการพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรยี นและ พื้นท่ี 3.1.2 แนวทางการดาเนนิ การ (1) พฒั นาหลกั สตู รระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ใหส้ อดคลอ้ งกับทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 โดยเนน้ การ พฒั นาสมรรถนะผเู้ รียนเปน็ รายบคุ คล เพอ่ื ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นมีหลกั คดิ ทถี่ กู ตอ้ ง รกั ในสถาบันหลักของชาติ และ ยดึ มัน่ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข และเป็นพลเมอื งดีของชาติ และ พลเมืองโลกทดี ี มคี วามเปน็ เลศิ ทางดา้ นวชิ าการ มที ักษะชีวติ และทกั ษะอาชพี ตามความต้องการได้ และมี ทกั ษะชีวิตในการป้องกนั ตนเองจากภัยคกุ คามรูปแบบใหม่ (2) ปรบั ปรงุ หลกั สูตรปฐมวยั เพอื่ ใหเ้ ด็กไดร้ ับการพฒั นา ทง้ั 4 ด้าน สอดคลอ้ งกบั ทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษ ท่ี 21 (3) ส่งเสริม สนบั สนุนให้สถานศึกษาพัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษาและปรบั เปล่ียนการจดั การเรยี นรู้ให้ ตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการของผู้เรยี นและบริบทของพื้นที่ (4) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศกึ ษา จดั ทาแผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบคุ คลหรอื แผนการให้บรกิ ารชว่ ยเหลอื เฉพาะครอบครัว ซง่ึ จดั ทาขน้ึ บนพืน้ ฐานความตอ้ งการจาเปน็ เฉพาะของผเู้ รียนท่ีมคี วามต้องการจาเป็นพิเศษ หรือความสามารถพเิ ศษ 3.2 พัฒนาผเู้ รยี นทกุ คนใหม้ คี วามรักในสถาบันหลกั ของชาติ และยดึ มั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ มีทศั นคติทด่ี ตี อ่ บ้านเมอื ง มีหลกั คิดทีถ่ ูกตอ้ ง เปน็ พลเมอื งดขี องชาติ และ พลเมืองโลกท่ดี ี มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม 3.2.1 ตัวชว้ี ดั (1) ร้อยละของผ้เู รยี นทีม่ ีพฤตกิ รรมทแี่ สดงออกถึงความรกั ในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ (2) รอ้ ยละของผเู้ รียนท่มี ีพฤติกรรมทแี่ สดงออกถึงการมที ศั นคติท่ีดตี อ่ บ้านเมือง มหี ลกั คิดทถ่ี ูกตอ้ ง เปน็ พลเมอื งดีของชาติ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม (3) รอ้ ยละของสถานศึกษาที่ปรบั ปรงุ หลกั สตู ร จดั บรรยากาศส่ิงแวดล้อม และจัดกิจกรรมการเรียนรใู้ หผ้ เู้ รียน แสดงออกถึงความรกั ในสถาบันหลกั ของชาติ ยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ์ ทรงเป็นประมขุ มที ศั นคติท่ดี ตี อ่ บา้ นเมอื ง มีหลกั คดิ ท่ีถูกตอ้ ง เป็นพลเมอื งดีของชาติ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม (4) ร้อยละของสถานศกึ ษาทนี่ อ้ มนาพระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษาของในหลวงรชั กาลที่ 10 และหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ไปพัฒนาผูเ้ รียนใหม้ คี ณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ตามที่กาหนดได้อยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ 3.2.2 แนวทางการดาเนนิ การ (1) สง่ เสรมิ และสนบั สนุนให้สถานศกึ ษาปรับปรุงหลกั สตู รปรับปรุงหลักสตู ร จดั บรรยากาศส่งิ แวดลอ้ ม และ จัดกจิ กรรมการเรยี นรใู้ หผ้ เู้ รยี นแสดงออกถึงความรกั ในสถาบันหลกั ของชาติ ยดึ มั่นการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข มที ศั นคติทีด่ ตี อ่ บ้านเมือง มีหลักคิดทถ่ี กู ตอ้ ง เปน็ พลเมือง ดีของชาติ และพลเมอื งโลกท่ดี ี มีคณุ ธรรม จริยธรรม (2) สง่ เสรมิ สนับสนุนให้ สถานศึกษาน้อมนาพระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษาของในหลวงรัชกาลท่ี 10 และ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปบูรณาการจดั กจิ กรรมการเรียนรเู้ พอ่ื พัฒนาผเู้ รียนมีคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคต์ ามทกี่ าหนด

29 3.3 พัฒนาคณุ ภาพของผเู้ รียน ใหม้ ที ักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มีความเปน็ เลิศ ด้านวชิ าการ นาไปสู่การ สร้างขดี ความสามารถในการแข่งขัน 3.3.1 ตัวช้วี ัด (1) ดา้ นผเู้ รียน 1) รอ้ ยละของผู้เรียนระดับปฐมวัย ได้รบั การพัฒนาร่างกาย จติ ใจ วินยั อารมณ์ สังคม และสติปญั ญา และมี ความพร้อมทีจ่ ะเขา้ รบั การศกึ ษาในระดับท่ีสูงข้ึน 2) ร้อยละของผู้เรียนระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานได้รบั การพฒั นารา่ งกาย จติ ใจ วินยั อารมณ์ สงั คม และ สตปิ ัญญา มพี ัฒนาการทด่ี รี อบด้าน 3) ร้อยละของผูเ้ รียนที่อา่ นออกเขยี นได้ คิดเลขเป็น และมนี ิสัยรักการอา่ น 4) รอ้ ยละของผู้เรียนที่มีทกั ษะการคิด วิเคราะห์ 5) ร้อยละของผู้เรียนทผ่ี า่ นการประเมนิ สมรรถนะทจ่ี าเปน็ ด้านการร้เู รื่องการอา่ น (Reading Literacy) 6) ร้อยละของผเู้ รยี นทีผ่ า่ นการประเมนิ สมรรถนะทจี่ าเปน็ ดา้ นการร้เู ร่อื งคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) 7) รอ้ ยละของผ้เู รยี นท่ีผา่ นการประเมนิ สมรรถนะทจี่ าเป็นด้านการรู้เร่ืองวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) 8) ร้อยละของผเู้ รยี นท่ีมที กั ษะสอื่ สารองั กฤษ และสือ่ สารภาษาที่ 3 ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ 9) รอ้ ยละของผเู้ รยี นทม่ี ที กั ษะด้าน Digital Literacy ในการเรยี นรูไ้ ดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ 10) ร้อยละของผเู้ รยี นทีม่ คี วามรู้ และทักษะในการปอ้ งกันตนเองจากภัยคุกคามรูปแบบใหม่ 11) รอ้ ยละของผ้เู รยี นท่ีมีคะแนนผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ น้ั พื้นฐาน (O-NET) มากกว่าร้อยละ 50 ในแตล่ ะวิชาเพม่ิ ข้นึ จากปกี ารศกึ ษาทผ่ี า่ นมา 12) ร้อยละ 60 ของผ้เู รียนระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ มีสมรรถนะการเรยี นรู้เรือ่ งการอา่ นตง้ั แตร่ ะดับขั้นพ้นื ฐาน ขึน้ ไป (ระดับ 2) ตามแนวทางการประเมนิ PISA 13) รอ้ ยละ 80 ของผู้เรียนทัง้ หมดไดร้ บั การประเมนิ ทกั ษะการคดิ แกป้ ัญหาตามแนวทางการประเมนิ PISA (2) ดา้ นสถานศึกษา 1) ร้อยละของสถานศึกษาจัดการเรียนรู้ทีใ่ ห้ผเู้ รียนได้เรียนร้ผู ่านกิจกรรม การปฏิบัตจิ รงิ (Active Learning) 2) รอ้ ยละของสถานศกึ ษาที่มกี ารจดั การเรียนรใู้ หผ้ เู้ รียนในลกั ษณะของ STEM ศกึ ษา 3) ร้อยละของสถานศึกษาทก่ี ารจดั การเรยี นรู้ตามกระบวนการ 5 ขน้ั ตอน หรือบันได 5 ขนั้ (IS: Independent Study) 4) รอ้ ยละของสถานศกึ ษาท่ีจดั การเรยี นรู้ และบรรยากาศสิง่ แวดล้อมทส่ี ่งเสริมสนับสนุนใหผ้ ูเ้ รียนไดเ้ รียนรู้ และฝึกทกั ษะด้านภาษาองั กฤษและภาษาที่ 3 ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 3.3.2 แนวทางการดาเนินการ (1) พฒั นาผู้เรียนระดบั ปฐมวยั มคี วามพรอ้ มดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ สังคม สตปิ ัญญา เพอื่ ทจ่ี ะเข้ารบั การ พัฒนาการเรียนรูใ้ นระดบั ท่ีสงู ขึ้น (2) สง่ เสริม สนบั สนนุ ให้สถานศกึ ษาจัดสภาพแวดลอ้ มทง้ั ในและนอกห้องเรยี นให้เออ้ื ต่อการพฒั นาการเรียนรู้ ของเด็กปฐมวยั (3) ส่งเสริม สนับสนนุ ให้สถานศึกษาจัดการเรียนรู้ระดบั ปฐมวัยในรปู แบบทีห่ ลากหลาย (4) ส่งเสรมิ การสรา้ งความรู้ความเขา้ ใจแกพ่ ่อแมผ่ ปู้ กครองเก่ียวกับการเลี้ยงดเู ดก็ ปฐมวยั ที่ถกู ต้องตามหลกั จติ วทิ ยาพฒั นาการ

30 (5) จัดให้มีโรงเรียนต้นแบบการจัดการศึกษาปฐมวยั ให้สามารถพัฒนาเดก็ ก่อนประถมใหม้ พี ัฒนาการความ พรอ้ ม เพอื่ เตรียมตวั ไปสกู่ ารเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 (6) พัฒนาผ้เู รียนสคู่ วามเป็นเลิศทางวชิ าการ โดยเน้นการพัฒนาสมรรถนะท่ีจาเปน็ 3 ดา้ น 1) การรู้เรอ่ื งการอา่ น (Reading Literacy) 2) การรู้เรื่องคณติ ศาสตร์ (Mathematical Literacy) 3) การรเู้ รื่องวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) (7) พฒั นาผ้เู รียนให้มสี มรรถนะด้านดจิ ทิ ลั (Digital Competence) และสมรรถนะดา้ นการสือ่ สาร ภาษาอังกฤษ และภาษาท่ี 3 (8) มคี วามรู้ และทกั ษะในการปอ้ งกนั ตนเองจากภัยคกุ คามรปู แบบใหม่ (9) สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้สถานศกึ ษาจัดการเรยี นรทู้ ีใ่ หผ้ ้เู รยี นไดเ้ รยี นรู้ผา่ นกิจกรรมการปฏิบตั จิ ริง (Active Learning) (10) สง่ เสริม สนับสนุนสถานศึกษาท่มี ีการจดั การเรยี นรูใ้ ห้ผเู้ รยี นในลักษณะของ STEM ศึกษา (11) สง่ เสริม สนบั สนนุ ใหส้ ถานศึกษาจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการ 5 ขั้นตอน หรอื บนั ได 5 ข้ัน (IS: Independent Study) (12) ส่งเสริมให้สถานศกึ ษาจัดการเรียนรู้อยา่ งเปน็ ระบบมุ่งเนน้ การใชฐ้ านความร้แู ละระบบความคิดใน ลักษณะสหวิทยาการ เช่น 1) ความรทู้ างวิทยาศาสตร์และการต้งั คาถาม 2) ความเข้าใจและความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 3) ความร้ทู างวศิ วกรรม และการคดิ เพอื่ หาทางแกป้ ญั หา 4) ความรแู้ ละทกั ษะในดา้ นศิลปะ 5) ความรู้ดา้ นคณติ ศาสตร์ และระบบคดิ ของเหตุผลและการหาความสมั พนั ธ์ (13) ส่งเสริมสนับสนนุ ให้สถานศกึ ษาประเมินสมรรถนะตามแนวทางการประเมนิ PISA ดว้ ยระบบการสอบ แบบ Online ให้กับผู้เรยี นทกุ คนตงั้ แต่ระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย จนถงึ มธั ยมศึกษาตอนตน้ (14) สง่ เสรมิ สร้างความรคู้ วามเข้าใจในทางการประเมินทักษะการคดิ แกป้ ัญหาตามแนวทางการประเมิน PISA ใหแ้ ก่ศึกษานิเทศก์และครูผสู้ อน (15) ใหบ้ รกิ ารเคร่ืองมอื การวดั และประเมนิ องิ สมรรถนะตามแนวทางการประเมนิ ผลผู้เรียนร่วมกบั นานาชาติ (PISA) ดว้ ยระบบ Online Testing (16) ส่งเสรมิ ให้สถานศึกษาจัดหลักสตู รและแผนการเรยี นนาไปสคู่ วามเปน็ เลิศในแต่ละดา้ น (17) ส่งเสรมิ ผู้เรียนท่มี ีความสามารถพิเศษ ด้านศลิ ปะดนตรีและกีฬาโดยจดั เปน็ หอ้ งเรยี นเฉพาะด้าน (18) พัฒนาศกั ยภาพของผู้เรียนตามความถนดั และเปน็ นวัตกรรม ผสู้ รา้ งนวตั กรรม 3.4 พัฒนาผูเ้ รยี นใหม้ ีทกั ษะอาชพี และทกั ษะชวี ติ มีสุขภาวะทด่ี สี ามารถดารงชวี ติ อยใู่ นสังคมไดอ้ ย่างมี ความสขุ 3.4.1 ตวั ชี้วดั (1) ร้อยละของผูเ้ รยี น มี ID plan และ Portfolio เพือ่ การศึกษาต่อและการประกอบอาชพี (2) ร้อยละของสถานศึกษาท่ีจดั การเรียนรู้ และบรรยากาศสิง่ แวดลอ้ มที่เออื้ ต่อการพฒั นาทักษะอาชีพตาม ความถนดั (3) รอ้ ยละของผู้เรียนท่มี ีสุขภาวะที่ดที ุกชว่ งวยั (4) ร้อยละของสถานศึกษาท่มี รี ะบบปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาในสถานศกึ ษา

31 3.4.2 แนวทางการดาเนนิ การ (1) สรา้ งกลไกของระบบแนะแนวทางการศกึ ษาเพอื่ ส่งเสรมิ กระบวนการเรียนรอู้ งิ สมรรถนะและเตรียมความ พรอ้ มสู่การประกอบสัมมาอาชพี (2) พฒั นารายวชิ าทสี่ ่งเสริมการศกึ ษาต่อและการประกอบอาชีพ (3) ส่งเสริมใหส้ ถานศกึ ษาจดั หลกั สตู รทกั ษะอาชพี ควบคกู่ ับวิชาสามัญ เชน่ ทวศิ ึกษาหลกั สูตรระยะสน้ั (4) ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาจดั การเรยี นรูแ้ ก่ผเู้ รียนตามความสนใจในทกั ษะอาชพี ทีต่ นเองถนดั เพอื่ เตรยี มความพรอ้ มกอ่ นเขา้ สตู่ ลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ (5) สง่ เสริมให้นกั เรยี นทุกคนได้รบั ประทานอาหารตามหลกั โภชนาการ และเปน็ ไปตามเกณฑม์ าตรฐานของ อนามัย (6) ส่งเสรมิ การเรียนรแู้ ละพฒั นาด้านอารมณ์และสังคม (Social and Emotional Learning : SEL) ในทุกชว่ ง วัย (7) สถานศกึ ษามีระบบการป้องกันและแกไ้ ขปัญหาในสถานศกึ ษา 3.5 การจดั การศึกษาเพอ่ื การบรรลุเปา้ หมายโลกเพอ่ื การพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื (SDGs) เพ่อื สรา้ งเสรมิ คุณภาพ ชีวติ ที่เปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดล้อม ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 3.5.1 ตวั ชว้ี ดั (1) รอ้ ยละของผู้เรียนทม่ี ีพฤติกรรมแสดงออกถงึ การดาเนนิ ชีวติ ท่ีเป็นมติ รกับสงิ่ แวดล้อม และการประยุกต์ใช้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (2) รอ้ ยละของสถานศึกษาท่ีมีการจดั สภาพแวดล้อมทีส่ อดคล้องกบั มาตรฐานสิ่งแวดลอ้ ม สงั คม และเศรษฐกจิ เพอ่ื การพัฒนาท่ียัง่ ยนื (Environmental Education Sustainable Development: EESD) (3) ทกุ สถานศึกษาจดั การศึกษาเพื่อให้บรรลเุ ปา้ หมายโลก เพ่ือการพฒั นา อยา่ งยงั่ ยืน (Global Goals for Sustainable Development) 3.5.2 แนวทางการดาเนนิ การ (1) ส่งเสริม สนบั สนนุ ให้สถานศึกษาจดั การเรียนรู้เพอื่ พัฒนาผเู้ รยี นตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (2) ส่งเสรมิ สนับสนุนให้สถานศึกษาการจดั การศกึ ษาเป้าหมายโลกเพ่อื การพฒั นาอยา่ งยั่งยนื (Global Goals for Sustainable Development) (3) สง่ เสรมิ สนบั สนุนให้สถานศึกษาและหน่วยงานทุกสังกัดจดั ส่งิ แวดล้อม สงั คม และเศรษฐกจิ ใหส้ อดคล้อง กบั หลกั Zero waste และมาตรฐานสงิ่ แวดลอ้ มเพ่อื การพฒั นาทีย่ ัง่ ยนื (Environmental Education Sustainable Development: EESD) (4) สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้สถานศกึ ษาจดั กจิ กรรมการอนรุ กั ษส์ ิ่งแวดลอ้ ม และการประยุกต์ใชป้ รัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งอยา่ งตอ่ เนือ่ ง 3.6 พัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนทมี่ คี วามต้องการจาเปน็ พเิ ศษ 3.6.1 ตวั ชว้ี ดั (1) รอ้ ยละของผเู้ รยี นที่มคี วามตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ มีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพนื้ ฐานของแต่ละ ระดับ (2) รอ้ ยละของผ้เู รยี นท่มี คี วามต้องการจาเปน็ พิเศษ ได้รบั การพัฒนาด้านทกั ษะอาชพี ทกั ษะการดารงชีวิต มี คุณธรรม จริยธรรม และมจี ิตสาธารณะ (3) รอ้ ยละของผูเ้ รยี นท่ีมคี วามตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ ได้รับการส่งเสริมให้มคี วามสามารถพิเศษดา้ นตา่ ง ๆ อาทิ ดนตรี กีฬา ศิลปะ และเทคโนโลยี เปน็ ต้น

32 3.6.2 แนวทางการดาเนนิ การ (1) ใหบ้ ริการช่วยเหลอื ระยะแรกเรมิ่ (Early Intervention: EI) ท่ีศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ หน่วยบรกิ ารและที่ บา้ นอย่างมีประสิทธิภาพ (2) สง่ เสริม สนบั สนนุ และพฒั นาการจัดการศึกษาสาหรบั ผเู้ รยี นทม่ี คี วามตอ้ งการจาเปน็ พิเศษ ดว้ ยระบบและ รูปแบบทหี่ ลากหลาย (3) ส่งเสรมิ สนับสนุนการจัดการศกึ ษาในโรงเรยี นเรียนรวมและศนู ย์การเรยี นเฉพาะความพกิ าร (4) ปรบั ปรงุ และพฒั นากระบวนการวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (5) สง่ เสริม สนบั สนุนการจัดกจิ กรรมเพ่ือพฒั นาทักษะการอา่ น การเขยี น การส่ือสาร การคดิ คานวณ การคดิ วเิ คราะห์ และการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ (6) ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การจดั การเรยี นการสอนเพือ่ พัฒนาทกั ษะอาชพี ทกั ษะการดารงชีวติ ปลูกฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรม จติ สาธารณะและการดารงชีวิตท่ีเป็นมติ รกบั ส่ิงแวดล้อมตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (7) ส่งเสรมิ การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดารฯิ (8) สง่ เสรมิ สนบั สนุน ใหผ้ ้เู รียนมีทศั นคตทิ ี่ถกู ตอ้ งต่อการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมี พระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ (9) สง่ เสรมิ สนับสนนุ การใชส้ อ่ื เทคโนโลยี สารสนเทศและการสือ่ สารอยา่ งถูกตอ้ ง เหมาะสม และสรา้ งสรรค์ (10) สง่ เสรมิ สนบั สนุน เทคโนโลยี สงิ่ อานวยความสะดวก สอื่ บรกิ าร และความช่วยเหลืออน่ื ใดทางการศึกษา (11) สง่ เสรมิ และพฒั นาผ้เู รยี นทมี่ คี วามตอ้ งการจาเปน็ พเิ ศษ ที่มีความสามารถพเิ ศษในดา้ นวิชาการ ดนตรี กฬี า ศิลปะ และอื่นๆ เพอ่ื ยกระดับสู่ความเป็นเลิศพรอ้ มกา้ วสู่สากล (12) สง่ เสรมิ สนบั สนุนการนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน (13) จดั ให้มรี ะบบการนเิ ทศ กากบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการจดั การศึกษาเชิงบรู ณาการ (14) จัดให้มีกลุ่มงานระบบประกันคณุ ภาพในสานกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษเพอื่ สง่ เสริม สนับสนุนให้ สถานศกึ ษามรี ะบบประกนั คุณภาพภายในท่ีเข้มแขง็ (15) ส่งเสริม สนับสนุนใหห้ นว่ ยงานและสถานศึกษาจดั ทา รวบรวม ผลติ พัฒนา และเผยแพร่ ส่ือ นวัตกรรม งานวจิ ัยทางการศกึ ษา (16) สารวจสภาพอาคารสถานที่ และสิ่งแวดล้อมในสถานศกึ ษา จดั ทาผงั บรเิ วณ จัดทาแบบรปู และรายการ สงิ่ ก่อสร้าง (17) ส่งเสริม สนบั สนุนให้มีแนวทางปฏบิ ตั ิ และมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาอยา่ งมี ประสิทธิภาพ (18) สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้เครอื ขา่ ยส่งเสริมประสทิ ธภิ าพและกลุม่ สถานศกึ ษา ขับเคลื่อนการจดั การศกึ ษาใหม้ ี ประสทิ ธภิ าพ (19) สง่ เสริม สนับสนนุ การดาเนนิ งานของคณะอนกุ รรรมการส่งเสรมิ การจัดการศกึ ษาสาหรบั คนพกิ าร จงั หวดั (20) ส่งเสรมิ สนับสนนุ สถานศกึ ษาร่วมมือกบั ผปู้ กครอง ชมุ ชน และองค์กรปกครองในพน้ื ท่ี พฒั นาระบบการ ดแู ลช่วยเหลือนกั เรียนและระบบแนะแนวให้มปี ระสิทธิภาพ (21) ส่งเสริม สนับสนนุ การจดั สภาพแวดล้อมและแหล่งเรยี นรู้ให้เอ้ือต่อการจดั การศกึ ษา 3.7 สง่ เสริม สนบั สนนุ ให้สถานศกึ ษา นา Digital Technology มาใชใ้ นการจดั การเรยี นรใู้ ห้แกผ่ เู้ รยี นเปน็ รายบคุ คลตามสมรรถนะ ความต้องการ และความถนัด สรา้ งสงั คมฐานความรู้ (Knowledge-Based Society) เพื่อการเรียนรอู้ ยา่ งตอ่ เนือ่ งตลอดชีวติ

33 3.7.1 ตวั ชวี้ ดั (1) ร้อยละของผ้เู รียนทเ่ี รียนรูผ้ า่ น Digital Platform (2) ร้อยละของสถานศกึ ษาทจ่ี ัดการเรยี นร้เู พอื่ ใหพ้ ัฒนาตนเองผา่ น Digital Platform 3.7.2 แนวทางการดาเนินการ (1) พฒั นาระบบคลังข้อมูล องคค์ วามรู้ เพอื่ ใหบ้ ริการ Digital Textbook ตามเนือ้ หาหลกั สตู รทก่ี าหนด สอ่ื วิดีโอ และองคค์ วามรู้ประเภทตา่ ง ๆ และให้บริการแกผ่ ู้เรยี นใหก้ ารพัฒนาตนเองอย่างต่อเนอื่ งตลอดชีวติ (2) พัฒนา Digital Platform เพ่ือตอบสนองตอ่ การพัฒนาการเรียนรู้ของผ้เู รียนเปน็ รายบุคคล (3) สถานศกึ ษาสนับสนุน สง่ เสรมิ ใหผ้ ้เู รยี นเรียนร้ดู ้วยตนเองผา่ น Digital Platform นโยบายที่ 3 พัฒนาผูบ้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา 1. บทนา การปรับเปลีย่ นระบบการผลิตและพัฒนาผ้บู ริหาร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาทุกประเภท ต้ังแต่ การจูงใจ คัดสรร ผมู้ คี วามสามารถสงู ใหเ้ ข้ามาเป็นครูคุณภาพ มรี ะบบการพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะอยา่ ง ตอ่ เนือ่ งครอบคลุมทั้งเงนิ เดอื น เส้นทางสายอาชพี ปรับเปล่ยี นบทบาทครใู หเ้ ปน็ ครยู คุ ใหมท่ ีม่ คี ณุ ภาพ และ ประสทิ ธภิ าพตรงตามความตอ้ งการ เป็นมอื อาชพี มที ักษะวิชาชพี ข้ันสูง โดยปรับบทบาทจาก “ครสู อน” เปน็ “โค้ช” หรือ “ผ้อู านวยการการเรยี นรู้” สรา้ งเครอื ขา่ ยพฒั นาครใู หม้ กี ารแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ระหว่างกัน รวมถึง การพฒั นาครทู ีม่ คี วามเชี่ยวชาญดา้ นการสอนมาเป็นผสู้ รา้ งครรู ุ่นใหม่อยา่ งเปน็ ระบบ และวดั ผลงานจากการ พัฒนาผู้เรียนโดยตรง นอกจากนีม้ ีการออกแบบ วางแผนการผลิตและพฒั นาครูอยา่ งเป็นระบบ ตั้งแต่การ กาหนดมาตรฐานวิชาชพี ขัน้ สูง เงินเดือนคา่ ตอบแทนและสวัสดกิ ารตา่ ง ๆ ให้สามารถจงู ใจบุคคลท่ีเกง่ ดี มี ความรู้ มาเป็นครู มกี ารวางแผนอตั รากาลงั ระยะยาว (20 ป)ี รว่ มมือกบั สถาบนั การศึกษาในการผลติ ครู และมี การวางแผนการพัฒนาครอู ย่างต่อเนื่อง โดยนา Digital Platform มาเปน็ เครอ่ื งมอื ทงั้ การพฒั นา อบรมครู และการจดั ทาฐานขอ้ มลู กาลงั คน เพือ่ เก็บรวบรวมขอ้ มูลประวัติครู ประวตั ิการพฒั นา ฝึกอบรม นาไปสู่การ วเิ คราะห์ วางแผนกาลังคนได้อย่างต่อเนือ่ ง 2. เปา้ ประสงค์ ผบู้ รหิ าร ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาทกุ ประเภท เป็นบุคลากรทม่ี ีคณุ ภาพ มปี ระสทิ ธภิ าพ เปน็ มืออาชพี และมีทกั ษะวิชาชพี ขั้นสงู 3. ประเด็นกลยทุ ธ์ 3.1 สรา้ งเครอื ข่ายความร่วมมอื กับสถาบนั ทางการศึกษาที่ผลติ ครู ในการผลติ และพฒั นาครู ให้ตรงกับสาขาวชิ า และสอดคลอ้ งกบั การพัฒนาในศตวรรษที่ 21 3.1.1 ตัวช้ีวดั (1) สถานศกึ ษามีแผนความต้องการครูระยะ 20 ปี (2) สถานศึกษามีกรอบสมรรถนะครูที่สอดคลอ้ งกบั การพฒั นาในศตวรรษท่ี 21 และสอดคล้องกับบรบิ ทของ พ้นื ที่ (3) สถานศกึ ษาทกุ แหง่ มีจานวนครอู ยา่ งเหมาะสม และพอเพียงตอ่ การพฒั นาคณุ ภาพของผ้เู รียน 3.1.2 แนวทางการดาเนนิ การ (1) ประสานความรว่ มมอื กับสถาบนั การศึกษาในการวิเคราะหค์ วามขาดแคลน และความตอ้ งการครู (2) ประสานความรว่ มมอื กับสถาบันการศึกษาในการกาหนดสมรรถนะครใู ห้สอดคลอ้ งกบั การพัฒนาใน ศตวรรษที่ 21

34 (3) ประสานความรว่ มมอื ในการวางแผนในการผลติ ครูทั้งระบบ (4) สถาบันการศกึ ษาผลติ ครตู ามความตอ้ งการและความขาดแคลนครู ระยะ 20 ปี (5) ประสานความรว่ มมอื ติดตาม ประเมนิ ผล การผลติ ครู 3.2 พฒั นาผบู้ รหิ าร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาทกุ ประเภท ใหม้ สี มรรถนะตามมาตรฐานวชิ าชีพ มี ศกั ยภาพ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 3.2.1 ตัวชวี้ ดั (1) ผบู้ ริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาทกุ ประเภท มศี ักยภาพในการปฏิบตั ิงานครบตามความจาเปน็ ใน การจดั การเรียนรอู้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ (2) ผู้บรหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาสามารถพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา การจดั การเรยี นรู้ และการวดั ประเมนิ ผลอยา่ งมีคณุ ภาพในรูปแบบที่หลากหลาย ตามศกั ยภาพของผเู้ รยี นแตล่ ะบุคคล 3.2.2 แนวทางการดาเนินการ (1) ศกึ ษาวเิ คราะห์ ความต้องการจาเปน็ ในการพฒั นาตนเอง (Need Assessment) ของผู้บรหิ าร ครู และ บคุ ลากรทางการศกึ ษา เพ่อื วางแผนการพัฒนาอย่างเปน็ ระบบและครบวงจร (2) กาหนดกรอบและวเิ คราะหห์ ลักสูตรเพื่อพฒั นาผ้บู รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา ใหเ้ ชอ่ื มโยงกับ ความกา้ วหน้าในวิชาชพี (Career Path) (3) ประสานกบั สถาบนั การศกึ ษา สถาบันครุ ุพฒั นา หรอื หนว่ ยงานอื่น ๆ จดั ทาหลักสตู รทีม่ คี ุณภาพให้ สอดคลอ้ งกบั กรอบหลักสตู รท่ีกาหนด (4) สนับสนุนใหผ้ ู้บรหิ าร ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา วางแผนและเขา้ รบั การพัฒนาตามหลักสตู รที่กาหนดที่ เชอื่ มโยงความกา้ วหน้าในวชิ าชพี (Career Path) (5) ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรในรปู แบบชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community: PLC) (6) สง่ เสริมและพัฒนาครูให้ออกแบบการเรยี นรู้ การจดั การเรยี นรใู้ ห้สอดคล้องกบั การวดั ประเมนิ ผลท่ีเนน้ ทักษะการคิดขน้ั สงู (Higher Order Thinking) ผ่านกิจกรรมการปฏบิ ตั จิ รงิ (Active Learning) (7) สง่ เสริมและพัฒนาผ้บู ริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาทุกประเภท ใหม้ คี วามรู้ทักษะดา้ น Digital Literacy, Digital Pedagogy ทกั ษะส่ือสารภาษาอังกฤษ ทกั ษะส่ือสารภาษาที่ 3 (8) สง่ เสรมิ พัฒนาและยกระดบั ความรู้ภาษาอังกฤษของครูที่สอนภาษาองั กฤษ โดยใชร้ ะดบั การพฒั นาทางดา้ น ภาษา (CEFR) ตามเกณฑท์ ก่ี าหนด (9) ส่งเสรมิ และพฒั นาครใู ห้มคี วามรูแ้ ละทกั ษะในการจดั การเรยี นรสู้ าหรบั ผูเ้ รียนท่มี คี วามแตกตา่ ง (Differentiated Instruction) (10) ส่งเสริมและพัฒนาครูใหม้ คี วามรแู้ ละทักษะในการสรา้ งเคร่อื งมอื การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นร้ดู า้ น ทกั ษะการคิดขน้ั สูง (Higher Order Thinking) (11) สง่ เสริมและพฒั นาครูและผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาโรงเรียนขนาดเล็ก ใหม้ ีความรคู้ วามสามารถจดั การเรียนรู้ เป็นรายบุคคล และการสอนแบบคละชั้น (12) ส่งเสริมและพัฒนาครูในการจดั การเรียนรสู้ าหรับผ้เู รยี นท่มี คี วามต้องการจาเปน็ พิเศษ ตามศกั ยภาพของ ผู้เรียนแต่ละบุคคล และตามสภาพและประเภทของความพกิ าร (13) ส่งเสริมสนับสนุนใหค้ รูพฒั นาตนเองผ่านระบบ Online และแบบ Face-to-Face Training

35 (14) ปรับเปลยี่ นกระบวนการวธิ กี ารประเมนิ ครู โดยเน้นการประเมินสมรรถนะในการจดั การเรยี นการสอนโดย ผลสมั ฤทธข์ิ องผู้เรียนเป็นหลกั และประเมนิ จรรยาบรรณของครู ทกุ ๆ 5 ปี (ประเมิน 360 องศา) 3.3 นา Digital Technology มาใชใ้ นการพฒั นาผบู้ ริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาทุกประเภททั้งระบบ 3.3.1 ตัวชี้วัด (1) สถานศึกษา และหน่วยงานในสังกดั ทุกแหง่ มีระบบฐานข้อมูลผบู้ ริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา เพื่อ วางแผนการผลติ และพัฒนาครทู ้ังระบบ (2) รอ้ ยละของบุคลากรในสงั กัดทพี่ ัฒนาตนเองผา่ นระบบ Digital Technology (3) รอ้ ยละของ Digital Content เก่ียวกบั องคค์ วามรใู้ นสาขาที่ขาดแคลน 3.3.2 แนวทางการดาเนินการ (1) พัฒนา Digital Platform เพื่อใชใ้ นการพัฒนาผบู้ รหิ าร ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาทกุ ประเภททัง้ ระบบ (2) พัฒนา Digital Platform ระบบบริหารจดั การผู้บรหิ าร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาทกุ ประเภทท้ัง ระบบ (3) พฒั นา Digital Content ในองคค์ วามรกู้ ารจดั การศกึ ษาในสาขาที่ขาดแคลน เช่น การพัฒนาทกั ษะการคดิ ขน้ั สูง การจดั การศกึ ษาสาหรับผ้เู รยี นที่มีความตอ้ งการจาเปน็ พเิ ศษ และผู้เรียนทม่ี คี วามแตกตา่ ง เปน็ ตน้ (4) ส่งเสรมิ สนับสนนุ ใหผ้ ู้บรหิ าร ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาทกุ ประเภทพัฒนาตนเองอยา่ งตอ่ เนือ่ งผา่ น ระบบ Digital Technology นโยบายท่ี 4 สรา้ งโอกาสในการเข้าถงึ บรกิ ารการศกึ ษาทีม่ คี ุณภาพ มีมาตรฐาน และลดความ เหลอ่ื มลา้ ทางการศึกษา 1. บทนา การสร้างโอกาสทางการศึกษา เพ่อื ใหป้ ระชากรในวยั เรียนทุกคน และทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย ซึ่งหมาย รวมถึง กลมุ่ ผ้เู รยี นท่ีมีความต้องการจาเปน็ พิเศษ กลุ่มชาตพิ ันธ์ุ กลุ่มผู้ดอ้ ยโอกาส และกล่มุ ที่อยใู่ นพื้นท่ี ห่างไกลทรุ กนั ดาร ไดเ้ ข้าถงึ การบริการการศึกษาทีม่ ีคณุ ภาพ และมีมาตรฐาน โดย 1) เนน้ การสรา้ งความ รว่ มมอื กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และหน่วยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ งระดบั พื้นท่ี เพ่ือวางแผนการจัด การศกึ ษาท้ังระบบตั้งแตก่ ารสามะโนประชากรวัยเรยี น การรบั เด็กเข้าเรยี น การตรวจสอบตดิ ตามการเขา้ เรยี น การตดิ ตามเดก็ นกั เรียนออกกลางคนั ตลอดจนการพฒั นาหลักสตู รให้สอดคล้องกับพ้ืนท่ี และการระดมทนุ เพอื่ พัฒนาการศึกษา 2) ปรับปรงุ พฒั นาสถานศึกษาทกุ แห่งให้มมี าตรฐานในด้านตา่ ง ๆ สอดคล้องกบั บรบิ ทเชงิ พ้ืนท่ี เช่น มาตรฐานดา้ นโครงสรา้ งพนื้ ฐานและสงิ่ อานวยความสะดวก ไดแ้ ก่ อาคารเรยี น อาคารประกอบ หอประชมุ สนามกีฬา หอ้ งเรยี น ห้องพเิ ศษ วสั ดุ ครุภณั ฑ์ เปน็ ตน้ มาตรฐานด้านครูและบคุ ลากรทาง การศกึ ษา มาตรฐานดา้ นการบรหิ ารจดั การ มาตรฐานดา้ นระบบงบประมาณ มาตรฐานดา้ นความปลอดภัย และมาตรฐานดา้ น Digital Technology เป็นต้น 3) สร้างความเขม้ แขง็ ในการบรหิ ารจัดการศึกษาสาหรบั ผเู้ รยี นทม่ี ีความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ 4) ปรับเปล่ียนกระบวนการงบประมาณตง้ั แต่การจดั สรรงบประมาณ อดุ หนนุ ตรงไปยังผเู้ รียนและสถานศกึ ษาโดยตรง และมีความเหมาะสม เพยี งพอ และ 4)นา Digital Technology มาเป็นเครื่องมือในการลดความเหลือ่ มลา้ และสร้างโอกาสในการเขา้ ถึงการบรกิ ารการเรยี นรู้ท่มี ี ประสิทธิภาพ 2. เป้าประสงค์ สร้างโอกาสใหป้ ระชากรวยั เรียนทุกคนเขา้ ถึงการบริการการเรยี นรูท้ ีม่ ีคณุ ภาพ มีมาตรฐานเสมอกนั และลดความเหล่อื มลา้ ดา้ นการศึกษา

36 3. ประเด็นกลยุทธ์ 3.1 รว่ มมอื กบั องค์กรปกครองระดับทอ้ งถน่ิ ภาคเอกชน หน่วยงานทีเ่ ก่ยี วขอ้ งในการจดั การศึกษาให้สอดคลอ้ ง กับบรบิ ทของพน้ื ท่ี 3.1.1 ตวั ชวี้ ดั (1) รอ้ ยละของเดก็ วยั เรยี นที่เข้ารบั การศึกษาในแต่ละระดบั การศกึ ษา (2) รอ้ ยละของนักเรียนออกกลางคัน (3) ร้อยละของสถานศึกษาท่ีมรี ะบบการดแู ลชว่ ยเหลือและค้มุ ครองนักเรยี นและการแนะแนวทม่ี ีประสิทธภิ าพ (4) รอ้ ยละของสถานศึกษาท่มี ีระบบฐานข้อมลู ประชากรวัยเรียนและสามารถนามาใช้ในการวางแผนจัดการ เรียนรูใ้ หแ้ กผ่ ้เู รียนได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 3.1.2 แนวทางการดาเนินการ (1) สถานศกึ ษารว่ มกบั องค์กรปกครองระดบั พนื้ ท่ี ภาคเอกชน และหน่วยงาน ที่เก่ียวข้อง วางแผนการจัดการศึกษาให้สอดคลอ้ งเหมาะสมกบั บรบิ ทของพ้ืนท่ี (2) สถานศกึ ษารว่ มกบั องค์กรปกครองระดับพน้ื ที่ จัดทาสามะโนประชากรวัยเรยี น (0-6 ป)ี (3) สถานศกึ ษาร่วมมือกบั องค์กรปกครอง ชุมชน เอกชน และหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งระดบั พืน้ ท่ี จดั ทาแผนการ นักเรียนทกุ ระดับ (4) สถานศกึ ษาร่วมกับองค์กรปกครองระดบั พน้ื ท่ี ตดิ ตาม ตรวจสอบ เดก็ วัยเรียนไดเ้ ขา้ ถึงการบรกิ ารการ เรียนรู้ไดอ้ ยา่ งทวั่ ถงึ ครบถ้วน (5) สถานศกึ ษาจดั ทาฐานขอ้ มลู ประชากรวัยเรียน เพือ่ เกบ็ รวบรวม เช่อื มโยงขอ้ มลู ศึกษา วิเคราะห์ เพ่อื วาง แผนการจัดบรกิ ารการเรยี นรู้ใหแ้ กผ่ ูเ้ รียน 3.2 ยกระดบั สถานศึกษาในสงั กดั ทุกระดบั และทกุ ประเภท ให้มมี าตรฐานตามบริบทของพน้ื ที่ เพอ่ื ให้พัฒนา ผเู้ รียน มีคุณภาพ มีมาตรฐานเสมอกนั 3.2.1 ตัวช้วี ดั (1) สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษามกี รอบมาตรฐานสถานศกึ ษา (2) ร้อยละของสถานศึกษาท่ผี า่ นการประเมินมาตรฐานสถานศึกษาตามทกี่ าหนด 3.2.2 แนวทางการดาเนินการ (1) จัดทามาตรฐานสถานศกึ ษาโดยพจิ ารณาจากปัจจยั หรือองคป์ ระกอบข้นั พื้นฐาน เพอื่ สร้างโอกาสให้ผเู้ รียน เข้าถงึ บรกิ ารการเรยี นรทู้ จ่ี ะพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียนให้มมี าตรฐานเสมอกนั ตามบริบทเชงิ พื้นท่ี เช่น 1) ปัจจัยดา้ นโครงสรา้ งพ้ืนฐานและสง่ิ อานวยความสะดวก เชน่ อาคารเรยี น อาคารประกอบ หอประชมุ สนามกฬี า หอ้ งเรียน ห้องพิเศษ วสั ดุ ครภุ ณั ฑ์ เป็นต้น 2) ด้านครูและบุคลากรทางการศกึ ษา 3) ด้านการบริหารจัดการ 4) ดา้ นงบประมาณ 5) ด้านความปลอดภัย และ 6) ด้าน Digital Technology (2) ส่งเสริม สนับสนุน ปรับปรงุ พัฒนาสถานศึกษาให้มีมาตรฐานตามทกี่ าหนด 3.3 สรา้ งความเข้มแข็งในการบริหารจัดการศกึ ษาสาหรับผู้เรียนทีม่ ีความต้องการจาเปน็ พิเศษ

37 3.3.1 ตวั ชวี้ ดั (1) มขี อ้ มลู สารสนเทศของการจดั การศกึ ษาพเิ ศษ ท่ีเช่อื มโยงกบั หน่วยงานที่เก่ียวขอ้ งทกุ ระดบั (2) สานกั งานบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษมยี ทุ ธศาสตร์ แผนการดาเนนิ งานและแผนปฏิบัติการที่ตอบสนอง สาหรับผ้เู รยี นทีม่ คี วามตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ ตามศักยภาพของผูเ้ รยี นแต่ละบุคคล และตามสภาพและประเภท ของความพกิ าร (3) ทุกสถานศกึ ษาในสงั กัดมคี วามพร้อมท้งั ระบบ เพื่อสามารถการจดั การศกึ ษาแบบเรียนรวม 3.3.2 แนวทางการดาเนนิ การ (1) จัดทาระบบข้อมลู สารสนเทศของการจดั การศกึ ษาพเิ ศษ ทเ่ี ช่อื มโยงกบั หน่วยงานที่เกีย่ วข้องทุกระดบั และ นามาใช้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ (2) ส่งเสริม สนับสนุน สานักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษจดั ทากลยุทธศาสตร์ แผนการดาเนินงาน และ แผนปฏบิ ัตเิ ชิงรกุ เนน้ การใชน้ วตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการทางานแบบมีส่วนรว่ ม (3) สง่ เสริม สนับสนนุ ระบบการจัดการศกึ ษาพิเศษ ทีผ่ เู้ รียนสามารถเข้าสบู่ ริการชว่ งเชื่อมตอ่ (Transitional Services) หรือการสง่ ตอ่ (Referral) เขา้ สกู่ ารศกึ ษาในระดับเดียวกนั และทสี่ ูงขึ้น หรือการอาชีพ หรอื การ ดาเนนิ ชวี ิตในสงั คมได้ตามศกั ยภาพของแต่ละบคุ คล (4) ส่งเสริม สนับสนนุ ใหท้ กุ สถานศกึ ษาในสงั กัดมคี วามพร้อมทง้ั ระบบ เพอ่ื สามารถการจัดการศกึ ษา แบบเรยี นรวม (5) จดั ใหม้ ีศกึ ษานิเทศกผ์ ู้รบั ผิดชอบการจดั การศกึ ษาพเิ ศษ ในการติดตาม ชว่ ยเหลือ และสนับสนุนให้ สถานศึกษาดาเนินการจดั การศกึ ษาพิเศษไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 3.4 จัดสรรงบประมาณสนบั สนนุ ผู้เรยี น และสถานศึกษาอยา่ งเหมาะสม เพียงพอ 3.4.1 ตัวชว้ี ัด (1) มรี ปู แบบหรือแนวทางในการจดั สรรงบประมาณใหก้ บั ผเู้ รียน และสถานศึกษาโดยตรงอยา่ งเหมาะสม (2) ผ้เู รยี นทกุ คน และสถานศกึ ษาไดร้ ับการจดั สรรงบประมาณสนับสนนุ การเรียนรอู้ ยา่ งเหมาะสมและเพียงพอ ตอ่ การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา (3) จานวนโครงการ/ กิจกรรมท่ีได้รบั ความรว่ มมอื จากกองทุนความเสมอภาคทางการศกึ ษา 3.4.2 แนวทางการดาเนนิ งาน (1) ศึกษา วิเคราะห์ วธิ ีการจดั สรรงบประมาณใหก้ บั ผเู้ รียน และสถานศึกษา ทัง้ ดา้ นความเหมาะสม เพยี งพอ (2) จัดสรรงบประมาณใหผ้ ู้เรยี น และสถานศกึ ษาโดยตรง (3) ประสานความรว่ มมอื กบั กองทุนความเสมอภาคทางการศกึ ษา เพื่อลดความเหล่ือมล้าทางการศกึ ษา เพอื่ สนบั สนนุ งบประมาณเพื่อสนบั สนนุ การจัดการเรยี นรู้ให้แก่ผู้เรียน 3.5 ส่งเสริม สนบั สนุน ให้สถานศกึ ษา หนว่ ยงานทกุ ระดับนา Digital Technology มาใช้เป็นเคร่ืองมือในการ พัฒนาคณุ ภาพของผเู้ รยี น 3.5.1 ตัวช้ีวดั (1) สถานศกึ ษาทุกแห่งมีระบบโครงขา่ ยสอ่ื สารโทรคมนาคมท่สี ามารถเชอื่ มต่อกบั โครงข่ายอินเทอรเ์ น็ตได้ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ และปลอดภัย (2) สถานศึกษามี Digital Device เพอื่ ใช้เปน็ เคร่ืองมือในการเรียนร้ขู องผู้เรียน และเปน็ เคร่ืองมอื ในการ จัดการเรยี นร้ไู ด้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

38 3.5.2 แนวทางการดาเนินงาน (1) สง่ เสรมิ สนับสนุนให้สถานศึกษามโี ครงข่ายสอื่ สารโทรคมนาคมทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพ และปลอดภยั (2) สง่ เสริม สนบั สนนุ ใหส้ ถานศึกษามรี ะบบคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ทใ่ี ช้เป็นเครอ่ื งมือในพัฒนาทกั ษะดา้ น Digital Literacy แก่ผู้เรียน (3) สง่ เสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาปรับปรงุ พฒั นาห้องเรียนใหเ้ ป็นห้องเรียน Digital (4) สง่ เสรมิ สนับสนนุ Digital Device สาหรับผเู้ รยี นทกุ ระดบั อย่างเหมาะสม เพ่ือเป็นเคร่อื งมอื ในการ พฒั นาการเรียนรู้ของตนเอง อย่างต่อเนอ่ื งตลอดชวี ติ (5) สง่ เสริม สนบั สนุน Digital Device และพฒั นา Digital Pedagogy สาหรบั ครอู ย่างเหมาะสม เพื่อเปน็ เครื่องมอื ในการจัดกระบวนการเรยี นร้เู พือ่ พัฒนาผู้เรียนไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ (6) โครงการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาทางไกลผา่ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ (Distance Learning Information Technology: DLIT) (7) โครงการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาดว้ ยเทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม นโยบายท่ี 5 เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจัดการ 1. บทนา การเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การ ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 จะเน้นการพฒั นาหน่วยงานใน สงั กดั ใหเ้ ปน็ หนว่ ยงานท่ีมขี นาดทเ่ี หมาะสมกบั บทบาทภารกิจ สามารถให้บริการได้อยา่ งมีคุณภาพและ ประสิทธภิ าพ แยกแยะบทบาทหน่วยงานแต่ละระดบั อยา่ งชดั เจน เชน่ ระดับปฏิบตั ิ ระดบั ทท่ี าหนา้ ท่ใี นการ กากบั ตดิ ตาม เป็นหนว่ ยงานทีม่ ขี ดี สมรรถนะสูง ยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล และโปร่งใส เปน็ องค์กรท่ีปราศจากการ ทจุ รติ คอรัปช่นั ปรับวฒั นธรรมการทางานให้มุง่ ผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์สว่ นรวม มีความทันสมัย และ พร้อมทจี่ ะปรบั ตัวให้ทนั ต่อการเปล่ยี นแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างยงิ่ การนานวตั กรรม เทคโนโลยีขอ้ มูลขนาดใหญ่ ระบบการทางานทเี่ ปน็ Digital เขา้ มาประยกุ ตใ์ ชอ้ ย่างคุ้มค่า และปฏิบตั ิงานเทียบ ได้กับมาตรฐานสากล รวมท้ังมีลกั ษณะเปดิ กว้าง เชอ่ื มโยงถึงกนั และเปิดโอกาสใหท้ กุ ภาคสว่ นเข้ามามีสว่ นรว่ ม เพ่ือตอบสนองความต้องการของประชาชนไดอ้ ยา่ งสะดวก รวดเรว็ โดยมปี ระเด็นกลยทุ ธ์ ดงั นี้ 1) เพมิ่ ประสิทธภิ าพในการบริหารจดั การศึกษาของสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน สานักงานเขตพ้นื ที่ การศกึ ษา และสถานศกึ ษา 2) สร้างเครือขา่ ยความรว่ มมอื และส่งเสริมใหท้ ุกภาคส่วนของสังคมเขา้ มามสี ว่ น รว่ มบรหิ ารจดั การศกึ ษา 3) ยกระดับการบรหิ ารงานของสถานศกึ ษาใหม้ ีอสิ ระ นาไปสกู่ ารกระจายอานาจ 4 ดา้ น ให้สถานศกึ ษาเปน็ ศูนยก์ ลางในการจดั การศกึ ษาตามบริบทของพน้ื ท่ี 4) ปรบั เปลี่ยนระบบงบประมาณ เพอื่ สนับสนนุ ผเู้ รียนและสถานศกึ ษาอยา่ งเหมาะสม เพียงพอ และ 5) ส่งเสรมิ สนับสนุน ใหส้ ถานศึกษา หน่วยงานทุกระดับนา Digital Technology มาใชใ้ นการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารอยา่ งเป็นระบบ นาไปสู่ การนาเทคโนโลยี Big Data เพอื่ เชื่อมโยงขอ้ มลู ด้าน ตา่ ง ๆ ตงั้ แตข่ อ้ มลู ผู้เรยี น ข้อมูลครู ข้อมูลสถานศึกษา ข้อมูลงบประมาณ และข้อมูลอ่ืน ๆ ทจี่ าเปน็ มาวิเคราะหเ์ พื่อให้สถานศกึ ษา สามารถจดั การเรยี นรเู้ พื่อพัฒนา ผเู้ รียนเป็นรายบคุ คลตามสมรรถนะ และความถนัด และสามารถวิเคราะหเ์ ปน็ ขอ้ มูลในการวางแผนการพัฒนา ทรัพยากรมนุษยข์ องประเทศ ตอ่ ไป 2. เปา้ ประสงค์ สถานศึกษา และหน่วยงานระดับภูมภิ าคมคี วามอสิ ระในการจัดการศึกษา เพือ่ พฒั นาผเู้ รียน ให้มีคุณภาพ มมี าตรฐานสอดคล้องกับบรบิ ทของพื้นที่

39 3. ประเด็นกลยุทธ์ 3.1 เพ่ิมประสทิ ธภิ าพในการบรหิ ารจัดการศึกษาของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน สานกั งาน เขตพ้ืนท่ีการศึกษา และสถานศึกษา 3.1.1 ตวั ชว้ี ัด (1) สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานมีผลการดาเนนิ งานผา่ นเกณฑ์การประเมินสว่ นราชการที่ สานักงานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการกาหนด (2) รอ้ ยละของสานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ คุณภาพมาตรฐานสานกั งานเขตพน้ื ท่ี การศกึ ษา (3) รอ้ ยละของสถานศกึ ษาท่มี ผี ลการประเมินภายนอกในระดับดีขนึ้ ไป (4) ร้อยละของหนว่ ยงานผา่ นการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของหนว่ ยงานภาครฐั (ITA: Integrity & Transparency Assessment) 3.1.2 แนวทางการดาเนินการ (1) กากับ ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผล เพ่ือการบรหิ ารจดั การท่ีมีประสิทธภิ าพ โดยยึดหลกั ธรรมาภิบาล (2) สง่ เสริมระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษาให้เข้มแขง็ (3) ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รตสิ านักงานเขตพื้นที่การศึกษา สานกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ สถานศกึ ษา และองค์ คณะบุคคลท่มี ีผลงานเชิงประจกั ษ์ (4) กาหนดให้หนว่ ยงานในสงั กัดทุกหน่วยงานใชร้ ะบบการบรหิ ารจัดการทมี่ งุ่ เนน้ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสใน การทางานตามหลกั การประเมนิ คณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของหนว่ ยงานภาครฐั (ITA: Integrity & Transparency Assessment) 3.2 สรา้ งเครือข่ายความร่วมมือและส่งเสรมิ ให้ทกุ ภาคส่วนของสงั คมเขา้ มามสี ว่ นรว่ มบริหารจัดการศกึ ษา 3.2.1 ตวั ช้ีวดั ร้อยละของสถานศกึ ษาหนว่ ยงานมกี ารบริหารจดั การแบบมีส่วนร่วม 3.2.2 แนวทางการดาเนนิ งาน (1) ส่งเสรมิ การบรหิ ารจดั การเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาโดยใช้พน้ื ท่ีเปน็ ฐาน (Area-based Management) รปู แบบ การบรหิ ารแบบกระจายอานาจ“CLUSTERs” (2) ส่งเสริม การมีสว่ นรว่ ม จดั ทาแผนบูรณาการจดั การศึกษา ในระดบั พนื้ ที่ (3) สร้างความเข้มแข็งในการยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษารูปแบบเครือขา่ ย เชน่ เครอื ขา่ ยสง่ เสรมิ ประสิทธิภาพ การจดั การศึกษา ศนู ยพ์ ฒั นากลุ่มสาระการเรียนรู้ สหวทิ ยาเขต กลุ่มโรงเรยี น ฯลฯ (4) ส่งเสรมิ ใหท้ กุ ภาคส่วนของสงั คมมสี ว่ นรว่ มในการจดั การศึกษาแบบบูรณาการทต่ี อบสนองความตอ้ งการ ของประชาชนและพื้นท่ี (5) สง่ เสริม สนบั สนุน ผปู้ กครอง ชมุ ชน สงั คม และสาธารณชน ให้มคี วามรู้ความเข้าใจ และ มสี ่วนร่วม รบั ผดิ ชอบ (Accountability) ในการบรหิ ารจดั การศกึ ษา (6) สง่ เสรมิ ให้ทกุ ภาคส่วนของสังคมเข้ามามสี ว่ นร่วมสนับสนุนทรัพยากรเพ่อื การศึกษา 3.3 ยกระดับการบริหารงานของสถานศึกษาให้มอี สิ ระ นาไปสูก่ ารกระจายอานาจ 4 ด้าน ใหส้ ถานศกึ ษาเปน็ ศูนย์กลางในการจดั การศกึ ษาตามบรบิ ทของพนื้ ท่ี 3.3.1 ตัวช้วี ดั (1) มรี ูปแบบและแนวทางในการบรหิ ารจดั การของโรงเรียนใหเ้ กดิ คุณภาพ (2) มีข้อเสนอเชงิ นโยบายในการกระจายอานาจทัง้ ระบบ

40 (3) มรี ูปแบบและแนวทางในการบรหิ ารจดั การโรงเรียนขนาดเล็กให้เกดิ คณุ ภาพ (4) รอ้ ยละของสถานศึกษามคี ุณภาพ และมาตรฐาน (มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน/ปฐมวยั / ศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษ) และพฒั นาสู่ระดบั สากล (5) จานวนโรงเรยี นขนาดเล็กลดลง (6) รอ้ ยละของผู้เรยี นทอ่ี ยูใ่ นโรงเรยี นขนาดเลก็ มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นสงู ข้ึน 3.3.2 แนวทางการดาเนินการ (1) ศกึ ษา วิเคราะห์ ปรบั ปรุง เปลย่ี นแปลง ระบบการบริหารงานของหน่วยงาน บทบาทหน้าทีท่ ง้ั ระดบั ปฏิบตั ิ และรับการกากับตดิ ตาม (2) ศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ และพฒั นารูปแบบการกระจายอานาจการจดั การศกึ ษา 4 ด้าน ใหส้ ถานศกึ ษา โดยในปงี บประมาณ 2562 ใหศ้ กึ ษานารอ่ งรูปแบบการกระจายอานาจ เชน่ 1) เขตพน้ื ท่ีนวัตกรรมการศกึ ษา 2) โรงเรยี นร่วมพัฒนา (Partnership School) 3) Autonomous School (3) ศกึ ษา วิเคราะห์ ออกแบบโครงสรา้ งของสถานศึกษา (Enterprise Architecture) ในฐานหนว่ ยงานระดับ ปฏิบตั ิ และหน่วยงานระดบั กากบั ติดตามให้เหมาะกับบริบทการเปลีย่ นแปลงของโลกปัจจบุ ัน (4) ศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ พัฒนา Digital Technology ใช้ในการจดั การศึกษาท้งั ระบบ (Digital Transformation) (5) สนบั สนุน ส่งเสรมิ ให้สถานศึกษาจดั หาเจา้ หน้าที่เพ่อื ปฏิบัติหน้าทส่ี นับสนนุ การจดั การเรียนรู้ เพ่ือให้ครูสาย ผ้สู อนปฏิบัตหิ น้าทเี่ ฉพาะด้านท่เี กยี่ วขอ้ งกบั การจัดการเรยี นรู้ให้แก่ผูเ้ รยี นเท่าน้ัน (6) ยกระดับสถานศกึ ษาใหเ้ ป็นแหล่งเรียนรตู้ ลอดชวี ิต เปน็ ศูนยก์ ลางในการพัฒนาทกั ษะ และคุณภาพชวี ิตของ ชมุ ชน (7) สรา้ งความเข้มแข็ง และยกระดับคุณภาพสถานศึกษาตามบรบิ ทของพนื้ ที่ เช่น โรงเรยี นมาตรฐานสากล โรงเรยี นนวตั กรรม โรงเรยี นร่วมพัฒนา โรงเรยี นประชารฐั โรงเรียนคุณธรรม โรงเรียนหอ้ งเรยี นกีฬา ฯลฯ (8) นาผลการประกนั คณุ ภาพการศึกษามาใช้ในการวางแผนการปฏิบัติการตรวจสอบตดิ ตามเพอื่ การปรบั ปรงุ พัฒนาสถานศกึ ษาใหม้ คี ณุ ภาพและเปน็ ไปตามมาตรฐานการศึกษา (9) สรา้ งมาตรฐาน และกาหนดแนวทางในการเพิม่ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การโรงเรียนขนาดเลก็ (10) ส่งเสริม สนับสนนุ ให้โรงเรยี นขนาดเล็กมีระบบการบริหารจดั การท่หี ลากหลาย เช่น การบรหิ ารจดั การ แบบกลุ่มโรงเรยี น การสอนแบบคละชน้ั (11) พิจารณาแตง่ ต้ังผู้บริหารทมี่ ีศกั ยภาพในโรงเรยี นขนาดเล็ก พิจารณาคา่ ตอบแทนพิเศษและสวัสดิการอ่นื ๆ สาหรับผปู้ ฏบิ ตั งิ านในโรงเรยี นขนาดเล็ก (12) ปรบั ปรงุ กฎหมายระเบียบขอ้ ปฏิบตั ใิ ห้สอดคล้องกับการกระจายอานาจ (13) สถานศกึ ษามีอสิ ระในการบรหิ ารงาน และจดั การเรียนรู้ เพ่ือพฒั นาผู้เรยี นให้ได้ตามมาตรฐานคณุ ภาพ ผู้เรยี น สอดคลอ้ งกับความต้องการท้องถิ่น นาไปสกู่ ารพฒั นาทกั ษะชวี ิต ทกั ษะอาชพี ของผู้เรยี นได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ 3.4 ปรบั เปล่ยี นระบบงบประมาณเพอื่ สนบั สนุนผเู้ รยี นและสถานศกึ ษาอยา่ งเหมาะสม เพียงพอ 3.4.1 ตัวช้ีวดั (1) มรี ูปแบบหรือแนวทางในการจดั สรรงบประมาณใหก้ บั ผเู้ รยี น และสถานศึกษาโดยตรงอย่างเหมาะสม

41 (2) ผเู้ รยี นทกุ คนและสถานศึกษาไดร้ บั การจัดสรรงบประมาณสนับสนนุ การเรียนร้อู ยา่ งเหมาะสมและเพียงพอ ตอ่ การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (3) จานวนโครงการ/กิจกรรมทไ่ี ด้รบั ความรว่ มมอื จากกองทนุ ความเสมอภาคทางการศกึ ษา 3.4.2 แนวทางการดาเนนิ งาน (1) ศึกษา วิเคราะห์ วธิ ีการจดั สรรงบประมาณใหก้ บั ผู้เรียน และสถานศกึ ษา ท้ังดา้ นความเหมาะสม เพยี งพอ (2) จดั สรรงบประมาณใหผ้ ูเ้ รยี น และสถานศกึ ษาโดยตรง (3) ประสานความรว่ มมอื กับกองทนุ ความเสมอภาคทางการศกึ ษา เพอื่ ลดความเหล่ือมล้าทางการศกึ ษา เพ่อื สนับสนุนงบประมาณเพื่อสนบั สนุนการจดั การเรยี นรู้ให้แกผ่ ูเ้ รียน 3.5 ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศกึ ษา หนว่ ยงานทุกระดบั นา Digital Technology มาใช้ในการเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการบริหารอยา่ งเปน็ ระบบ นาไปสกู่ ารนาเทคโนโลยี Big Data เพื่อเชื่อมโยงขอ้ มูลด้านต่าง ๆ ตั้งแต่ขอ้ มลู ผูเ้ รยี น ขอ้ มลู ครู ข้อมูลสถานศึกษา ข้อมลู งบประมาณ และข้อมูลอน่ื ๆ ทจ่ี าเป็นมาวเิ คราะห์ เพ่ือให้สถานศึกษา สามารถจัดการเรียนร้เู พื่อพัฒนาผ้เู รียนเปน็ รายบคุ คลตามสมรรถนะ และความถนัด และ สามารถวิเคราะห์เปน็ ข้อมลู ในการวางแผนการพฒั นาทรัพยากรมนษุ ยข์ องประเทศตอ่ ไป 3.5.1 ตัวช้วี ัด (1) สถานศกึ ษาทุกแห่งมีระบบข้อมลู สารสนเทศทส่ี ามารถใชใ้ นการวางแผนการจดั การศกึ ษาไดอ้ ยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ (2) สถานศึกษาทกุ แห่งมขี ้อมลู ผเู้ รยี นรายบคุ คลทส่ี ามารถเช่อื มโยงกับขอ้ มลู ตา่ ง ๆ นาไปสกู่ ารวเิ คราะห์เพ่อื วางแผนการจัดการเรียนรูใ้ หผ้ ูเ้ รยี นได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 3.5.2 แนวทางการดาเนนิ งาน (1) พัฒนาระบบฐานข้อมลู ทรัพยากรมนุษยด์ า้ นการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน ทีส่ ามารถเช่อื มโยง และบูรณาการขอ้ มลู ด้านการพฒั นาทรพั ยากรมนุษยร์ ะหวา่ งกระทรวง หนว่ ยงานทเี่ ก่ยี วขอ้ ง โดยการเชอ่ื มโยงขอ้ มลู รายบุคคลท่ี เกีย่ วกับการศกึ ษาการพฒั นาตนเอง สุขภาพและการพัฒนาอาชพี ในตลอดชว่ งชวี ิต เปน็ ฐานขอ้ มูลการพฒั นา ทรพั ยากรมนุษยข์ องประเทศไทยที่มปี ระสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ล สามารถประเมินจุดอ่อน จุดแขง็ และ ศกั ยภาพบคุ คลของประเทศ นาไปสู่การตดั สินใจระดับนโยบายและปฏิบตั ิ (2) พัฒนา Digital Platform ด้านการเรยี นรู้ผเู้ รยี น และบคุ ลากรทางการศกึ ษา เพ่อื ให้สถานศกึ ษา และ หน่วยงานในสังกัดใชใ้ นการปฏบิ ัติงานตามภารกิจ (3) พฒั นา Digital Platform ดา้ นการบริหารงาน เพอ่ื สนองตอบต่อการปฏิบัติงานของบคุ ลากรตามภารกจิ ท่ี รับผิดชอบ นาไปสูก่ ารพฒั นาฐานขอ้ มลู บคุ ลากรท่เี ช่อื มโยงกันทงั้ ระบบตตงั้ แตก่ ารคัดสรร บรรจุแต่งต้งั ตลอดจนเชอื่ มโยงถึงการพฒั นาครู เพ่อื ให้สอดคลอ้ งกบั ความก้าวหน้าในอาชีพ (4) พัฒนา Digital Platform ระบบข้อมลู สารสนเทศของผู้เรียนเปน็ รายบุคคลตั้งแต่ระดับปฐมวยั จนจบ การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน ที่สามารถเช่ือมโยงกับหน่วยงานทเี่ กย่ี วข้อง นาไปสูก่ ารพัฒนาฐานขอ้ มลู ประชากรดา้ น การศกึ ษาของประเทศ (5) พัฒนา Big Data เพือ่ เชอื่ มโยง วเิ คราะหข์ ้อมลู ทุกมิติ นาไปสู่การวางแผนการจดั การเรยี นรใู้ หแ้ ก่ผู้เรียน เปน็ รายบคุ คล

42 สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาเขต 33 วิสยั ทัศน์ “สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 33 เป็นองคก์ รคุณภาพ พฒั นาการศกึ ษา ดว้ ยนวตั กรรมส่คู วามเปน็ เลศิ ที่ย่งั ยืน” พนั ธกิจ 1. สง่ เสรมิ สนับสนุนให้ผ้เู รยี นทุกคนไดร้ บั การศกึ ษาอย่างทั่วถงึ 2. ส่งเสริม พฒั นาผเู้ รยี นใหเ้ ปน็ คนดี มีคณุ ธรรม จริยธรรม เป็นคนเก่งตามหลักพหปุ ัญญา มที กั ษะทจี่ าเปน็ ใน ศตวรรษที่ 21 3. สง่ เสรมิ พัฒนาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษามีสมรรถนะตรงตามสายงาน และมีวัฒนธรรมการ ทางานทมี่ ุ่งเนน้ ผลสมั ฤทธิ์อยา่ งมอื อาชีพ 4. ส่งเสรมิ พฒั นาสถานศกึ ษาให้มีคุณภาพได้มาตรฐานระดับสากล ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 5. ส่งเสริม สนบั สนนุ การใชน้ วตั กรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารมาใช้ในการบริหารจดั การตามแนว ทางการจัดการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 6. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ สถานศกึ ษา ใหม้ กี ารบริหารจดั การทเี่ ป็นเลศิ ตามหลักธรรมาภิบาล 7. การบรหิ ารจัดการสานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 33 ได้ตามมาตรฐานเขตพื้นท่กี ารศึกษา เป้าประสงค์ 1. ผ้เู รียนระดบั มัธยมศกึ ษาทุกคนไดร้ ับโอกาสทางการศกึ ษา อย่างท่วั ถึง มคี ุณภาพ และลดความเหลอ่ื มลา้ 2. ผ้เู รียนทุกคนเปน็ คนดี มีคุณธรรม จรยิ ธรรม เป็นคนเก่งตามหลกั พหุปัญญา มที ักษะทจ่ี าเป็นใน ศตวรรษท่ี 21 3. ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษามีสมรรถนะตรงตามสายงาน และมีวฒั นธรรมการทางานทม่ี ุ่งเน้น ผลสัมฤทธอ์ิ ย่างมืออาชีพ 4. สถานศึกษาในสงั กดั ทกุ แหง่ มคี ุณภาพไดร้ ะดับมาตรฐานสากล ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 5. สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 33 และสถานศึกษาในสังกดั ทุกแห่ง ใชน้ วัตกรรม เทคโนโลยี สารสนเทศและการสอื่ สารในการบรหิ ารจัดการ และการจัดการเรยี นการสอนตามทกั ษะการเรียนรใู้ นศตวรรษ ท่ี 21 6. สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 33 และสถานศึกษาในสังกดั ทกุ แหง่ มีการบรหิ ารจัดการที่มี คุณภาพตามหลักธรรมาภบิ าล กลยุทธ์ กลยทุ ธ์ท่ี 1 จัดการศึกษาเพือ่ ความมั่นคง กลยทุ ธ์ท่ี 2 พัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนส่คู วามเป็นเลศิ กลยทุ ธท์ ่ี 3 ส่งเสรมิ สนับสนนุ การพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา กลยทุ ธ์ที่ 4 ขยายโอกาสการเข้าถึงบรกิ ารทางการศึกษาการเรยี นร้อู ย่างมคี ณุ ภาพและลดความเหลือ่ ม ล้า กลยุทธท์ ี่ 5 จัดการศกึ ษาเพ่ือเสรมิ สรา้ งคณุ ภาพชีวติ ทเ่ี ปน็ มติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ ม กลยทุ ธ์ท่ี 6 พัฒนาระบบบริหารจดั การและส่งเสรมิ การมีสว่ นรว่ ม คา่ นยิ มองค์กร “รบั ผิดชอบ มนี ้าใจ ใหบ้ รกิ าร ประสานงานอย่างกัลยาณมติ ร”

43 วฒั นธรรมองค์กร “รว่ มคดิ ร่วมทา ร่วมรับผดิ ชอบ” นโยบายผู้อานวยการสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 33 “ลึกซ้งึ งานภารกิจ พิชิตงานนโยบาย ใสใ่ จงานเชิงพ้ืนที่” การบริหารและการจดั การศกึ ษาดว้ ยทีม สพม.33 (SMART TEAMS) ประกอบดว้ ย 1. คณุ ลกั ษณะของผ้บู รหิ าร สพม.33 (SMART DIRECTORS) : “CHANGS” C = Change (ผู้นาการ เปลยี่ นแปลง) H = Human Ability (ผู้มีศักยภาพ) A = Achievement (เนน้ ผลสมั ฤทธิ์) N = Nice (ด)ี G = Good Governance (มหี ลกั ธรรมมาภิบาล) S = Service mind (มจี ติ บริการ) 2. คณุ ลกั ษณะของครู สพม.33 (SMART TEACHERS) : “KRUDEE” K = Knowledge (มีความร)ู้ R = Responsibility (มคี วามรบั ผดิ ชอบ) U = Use Innovation (ใชส้ ารสนเทศ สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี) D = Development (มกี ารพฒั นา) E1 = Evaluation (การวัดผล ประเมินผล) E2 = Ethics (คุณธรรม จรยิ ธรรม) 3. คณุ ลกั ษณะของบุคลากร สพม.33 (SMART EDUCATIONAL PERSONNEL) : “PRASAN” P = Personality (บุคลกิ ภาพ) R = Responsibility (ความรบั ผดิ ชอบ) A = Attitude (เจตคติ) S = Service mind (บรกิ ารเปน็ เลศิ ) A = ACHIEVEMENT (มุ่งผลสมั ฤทธิ์) N = Network Building and Participatory (สร้างเครอื ขา่ ยและการมสี ว่ นร่วม) 4. คณุ ลกั ษณะของนกั เรียน สพม.33 (SMART STUDENTS) : “DEKSAREN” D = Democracy(มีความเป็นประชาธปิ ไตย) E = Ethics มีคุณธรรม จรยิ ธรรม K = Knowledge (มคี วามรู้ ใฝเ่ รยี นรู้มที ักษะจาเปน็ ในศตวรรษท่ี 21) S = Sufficiency หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง A = Achievement การม่งุ ผลสมั ฤทธ์ิ R = Responsibility มีความรบั ผิดชอบ E = Enjoy (มคี วามสุข) N = Network(สร้างเครอื ข่าย)

44 วสิ ัยทศั น์ พนั ธกิจ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โรงเรียนทบั โพธ์พิ ฒั นวิทย์ วสิ ัยทัศน์ (VISION) โรงเรียนทับโพธิพ์ ัฒนวิทย์ จัดการศึกษาให้มีคุณภาพมาตรฐานบนพ้ืนฐานของความเป็นไทย และมีสว่ นรวมจากชุมชนทอ้ งถิน่ พนั ธกจิ (MISSION) 1. ประชากรวัยเรียนทุกคนไดร้ บั การประกนั โอกาสทางการศกึ ษา 2. สง่ เสริมสนบั สนุนให้สถานศึกษา บริหารจดั การโดยใชโ้ รงเรียนเป็นฐาน 3. ผู้เรยี นได้รับการพัฒนาเตม็ ตามศักยภาพ และมคี ณุ ภาพตามมาตรฐาน 4. ปลกู ฝงั ผเู้ รียนใหม้ คี ุณธรรม จริยธรรม 5. สง่ เสริมการบริหารจดั การ ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง เป้าประสงค์ (GOALS) 1. ประชากรวยั เรยี นทุกคน ทกุ กลมุ่ ไดร้ บั โอกาสในการศึกษาตามสทิ ธอิ ยา่ งเท่าเทียม และทัว่ ถงึ ตามเอกตั ภาพ 2. ผู้เรียนทุกคนมีคุณธรรม จรยิ ธรรม ตามหลกั ศาสนาและวฒั นธรรม 3. ผู้เรียนทกุ คนได้รบั การศึกษาทม่ี คี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา 4. สถานศึกษาทุกแหง่ มีความเข้มแขง็ บริหารจดั การโดยใชโ้ รงเรยี นเปน็ ฐาน 5. ผบู้ ริหาร ครู บุคลากรทางการศกึ ษาและนกั เรยี นทุกคนดาเนินชีวติ โดยใช้หลักเศรษฐกจิ พอเพียง กลยุทธห์ ลกั ของโรงเรียนทบั โพธพิ์ ัฒนวิทย์ กลยทุ ธ์หลักของโรงเรยี นทับโพธิ์พัฒนวิทย์ กลยุทธห์ ลกั ของโรงเรียนทบั โพธพิ์ ฒั นวิทย์ ปีการศกึ ษา 2560-2564 มี 5 กลยทุ ธ์ ดงั น้ี 1. พฒั นานกั เรยี นให้มศี ักยภาพตามมาตรฐานการศึกษาระดบั ชาติ 2. พฒั นาหลักสตู รและจดั การเรียนการสอนใหม้ คี ุณภาพตามหลกั สตู รแกนกลาง 3. พฒั นาแหล่งเรยี นรู้ โครงสรา้ งพนื้ ฐาน อาคารสถานทีใ่ หเ้ พียงพอ มีสิ่งแวดล้อมทเ่ี อ้ือตอ่ การเรยี นรู้ 4. พัฒนาผู้บรหิ าร ครู และบุคลากรให้มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานวชิ าชพี 5. พัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การแบบมสี ว่ นร่วมตามหลกั ธรรมาภบิ าล

45 แผนกลยทุ ธ์พฒั นาการศึกษาโรงเรียนทบั โพธพิ์ ฒั นวทิ ย์ ปกี ารศกึ ษา 2560-2564 ประเดน็ กลยุทธท์ ่ี 1. พฒั นานักเรียนให้มศี กั ยภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาระดบั ชาติ เปา้ ประสงคเ์ ชงิ กลยุทธ์/ ตัวชี้วดั ความสาเรจ็ ขอ้ มลู ค่าเป้าหมายตวั ชวี้ ัดความสาเร็จ กลยุทธ์ มาตรฐานการศกึ ษา ปีฐาน ปี ปี ปี ปี 2561 2562 2563 2564 1.นักเรียนมคี วามคดิ รเิ รม่ิ รอ้ ยละของนกั เรยี นมีความคิด สรา้ งสรรค์ ศึกษาค้นคว้าดว้ ย รเิ ริ่มสรา้ งสรรค์ ศึกษาคน้ ควา้ 80 83 86 89 92 1 ตนเอง ดว้ ยตนเอง 2.นักเรยี นเห็นความสาคญั ร้อยละของนักเรียนมกี ารศกึ ษา ของการศกึ ษาตอ่ และ ต่อ และประกอบอาชีพ มีทักษะ ประกอบอาชพี มที ักษะ ในการทางานสามารถทางาน 80 83 86 89 92 1 ในการทางานสามารถ รว่ มกับคนอื่นได้หลงั จบหลักสูตร ทางานรว่ มกับคนอ่นื ไดห้ ลัง จบหลักสตู ร 3.นกั เรยี นรู้จักแสวงหาความรู้ ร้อยละของนักเรียนรู้จักแสวงหา ดว้ ยตนเองโดยใชก้ ระบวนการ ความรดู้ ว้ ยตนเองโดยใช้ ทางวทิ ยาศาสตร์และเรยี นรู้ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ โดยใช้โครงงานสามารถนา และเรยี นรูโ้ ดยใช้โครงงาน 80 83 86 89 92 1 กระบวนการทกั ษะชวี ติ ไปใช้ สามารถนากระบวนการทกั ษะ ในการดาเนินชีวติ ชวี ติ ไปใช้ในการดาเนิน ประจาวัน ชวี ติ ประจาวัน ประเด็นกลยุทธท์ ี่ 1. พฒั นานักเรียนให้มศี ักยภาพตามมาตรฐานการศึกษาระดบั ชาติ (ต่อ) เป้าประสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์/ ตวั ชีว้ ดั ความสาเรจ็ ขอ้ มูล คา่ เป้าหมายตัวชวี้ ัดความสาเรจ็ กลยุทธ์ มาตรฐานการศกึ ษา ปีฐาน ปี ปี ปี ปี 2561 2562 2563 2564 4.นกั เรียนมผี ลสมั ฤทธ์ิ รอ้ ยละของนักเรียนมีผลสมั ฤทธิ์ 80 83 86 89 92 1 ทางการเรยี นท่ีสูงขึ้น ทางการเรียนทสี่ งู ขึ้นอยา่ งตอ่ เน่อื ง อย่างต่อเนอ่ื ง 85 88 91 94 97 1 รอ้ ยละของนักเรียนมคี ณุ ลักษณะ 5.นกั เรยี นมคี ณุ ลักษณะ อนั พงึ ประสงค์ อันพึงประสงค์

46 6.นกั เรียนมี ร้อยละนกั เรยี นมีความสามารถใน ความสามารถในการอา่ น การอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขยี นสือ่ 85 88 91 94 97 1 80 83 86 89 92 1 คิดวิเคราะห์ และเขียน ความ 87 90 93 96 99 1 87 90 93 96 99 1 สอ่ื ความ 65 68 71 74 77 1 7.นักเรียนมที กั ษะด้าน รอ้ ยละของนักเรียนมที ักษะดา้ น การส่อื สารภาษาไทย การสือ่ สารภาษาไทย ภาษาตา่ งประเทศ และ ภาษาตา่ งประเทศ และเทคโนโลยี เทคโนโลยี 8.นกั เรยี นมีสขุ ภาพกาย ร้อยละของนักเรยี นมสี ขุ ภาพกาย และสขุ ภาพจติ ทด่ี ี มี และสขุ ภาพจติ ที่ดี มีสนุ ทรยี ภาพ สุนทรียภาพด้านศลิ ปะ ดา้ นศิลปะ ดนตรี และกฬี า ดนตรี และกฬี า 9.นกั เรยี นมีจติ สานกึ ใน รอ้ ยละของนักเรยี นมีจิตสานึกใน การอนรุ ักษ์และพัฒนา การอนรุ กั ษแ์ ละพัฒนาสงิ่ แวดลอ้ ม สิ่งแวดลอ้ ม 10.ส่งเสรมิ ความเป็นเลิศ รอ้ ยละของผลงานทไ่ี ด้รบั รางวัล ใหก้ บั นักเรียนทุกดา้ นใน ระดบั เขต ภมู ิภาค หรือ ทกุ ระดับ ระดบั ประเทศ ประเดน็ กลยทุ ธ์ท่ี 2. พัฒนาหลักสูตรและจัดการเรียนการสอนใหม้ คี ณุ ภาพตามหลักสตู รแกนกลาง คา่ เป้าหมายตัวชี้วดั เปา้ ประสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์/ ตวั ชวี้ ัดความสาเร็จ ข้อมูล ปี ความสาเรจ็ ปี กลยทุ ธ์ มาตรฐานการศึกษา ปีฐาน ปี ปี 2561 2562 2563 2564 1.จัดทาวิจัย และพฒั นา ร้อยละของการจดั ทาวิจยั ทาง 85 88 91 94 97 2 หลกั สูตรสถานศกึ ษาให้ การศกึ ษา ได้มาตรฐาน 88 91 94 97 100 2 2.จดั การเรยี นการสอนท่ี ร้อยละของจัดการเรยี นการสอนที่ 85 88 91 94 97 2 เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั เน้นผเู้ รยี นเป็นสาคญั 3.จัดการเรยี นการสอนท่ี รอ้ ยละของจัดการเรยี นการสอนที่ เน้นคุณธรรมจรยิ ธรรม เนน้ คณุ ธรรมจริยธรรม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook