Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลงานนวัตกรรมการเรียนการสอนระบบทางไกลผ่านดาวเทียม DLTV นายวีรเดช มะแพทย์ 2564

รายงานผลงานนวัตกรรมการเรียนการสอนระบบทางไกลผ่านดาวเทียม DLTV นายวีรเดช มะแพทย์ 2564

Published by weeradech.mapaet, 2021-09-07 00:27:03

Description: รายงานผลงานนวัตกรรมการเรียนการสอนระบบทางไกลผ่านดาวเทียม DLTV นายวีรเดช มะแพทย์ 2564

Keywords: DLTV

Search

Read the Text Version

003184 ประจำปี2563

ก คำ รายงานผลการปฏิบัติงานเพื่อรับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ประจำปี 2563 ประเภทครผู ู้สอนยอดเยี่ยม การจัดการเรียนรู้ทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลายเป็น เอกสารที่จัดทำขึ้นสำหรับการประเมินการคัดเลือกเพื่อขอรับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ.(OBEC AWARDS) นายวีรเดช มะแพทย์ ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ รายละเอียด ประกอบด้วย ข้อมูลทั่วไปของผู้ขอรับการประเมิน คุณสมบัติเบื้องต้น องค์ประกอบเฉพาะด้าน และ องค์ประกอบที่เปน็ ตัวชวี้ ดั ร่วม ซึ่งไดน้ ำเสนอรายละเอียดตามตัวชว้ี ดั ดังปรากฏในเล่ม ขอรบั รองว่าข้อมลู ดงั กล่าวข้างตน้ ถูกต้องและเป็นความจริง และขอรบั รองวา่ นายวีรเดช มะแพทย์ เปน็ ผู้มีคณุ สมบตั ิตรงตามท่กี ำหนดทกุ ประการ และข้อความที่เขยี นไว้ในรายงานพร้อมท้งั เอกสารหลักฐาน ถกู ตอ้ งตามความจริง หากตรวจสอบภายหลังพบว่ามคี ณุ สมบัติไม่เป็นไปตามกำหนด หรอื ยน่ื เอกสารหลักฐาน อันเป็นเท็จ ให้ถือว่าหมดสิทธเิ ข้ารว่ มการประกวด และจะไมเ่ รยี กร้องสิทธิใดๆ ลงช่อื ................. ..............................ผูร้ ายงาน ( นายวีรเดช มะแพทย์) ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู ำนาญการพเิ ศษ จ ่้ ไดต้ รวจสอบและรบั รองวา่ ข้อมูลถกู ต้อง และเปน็ ความจรงิ ลงช่อื ..... ..........................................ผู้รบั รอง ( นายพทิ ักษ์ ทวีแสง ) ตำแหนง่ ผู้อำนวยการโรงเรียนทับโพธพ์ิ ัฒนวทิ ย์ ผู้บังคับบัญชา วนั ท่ี 2 กนั ยายน 2564 (Self report)

ข คำ ำ รายงานผลการปฏิบตั ิงานเพ่ือรับรางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ประจำปี 2563 ประเภทครูผู้สอนยอดเย่ยี ม การจัดการเรยี นรทู้ างไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เปน็ เอกสารที่จัดทำขึ้นสำหรับการประเมินการคดั เลอื กเพ่ือขอรบั รางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ของนายวีรเดช มะแพทย์ ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะครชู ำนาญการพเิ ศษ โรงเรยี นทับโพธ์ิพฒั นวทิ ย์ รายละเอียด ประกอบด้วย ขอ้ มูลท่ัวไปของผ้ขู อรับการประเมิน คุณสมบตั ิเบ้ืองต้น องคป์ ระกอบเฉพาะด้าน และ องคป์ ระกอบทเี่ ป็นตัวชวี้ ัดร่วม ซง่ึ ไดน้ ำเสนอรายละเอยี ดตามตวั ชี้วัด หวังว่าเอกสารเลม่ น้ี จะอำนวยความสะดวกตอ่ การพจิ ารณาของคณะกรรมการประเมินในการ คัดเลือกให้ได้รับรางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ประจำปี 2563 อยา่ งดยี ิง่ คร้ังนี้ จะเปน็ การ สร้างขวัญและกำลงั ใจให้ครมู พี ลังท่ีจะร่วมพฒั นาการศึกษาของชาติให้มีคุณภาพย่งิ ขึน้ ตอ่ ไป (นายวรี เดช มะแพทย์) ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพเิ ศษ โรงเรยี นทบั โพธิพ์ ัฒนวิทย์ (Self report)

ญ ค คำรับรอง หน้า คำนำ สารบญั ก แบบประวัติครูผสู้ อนยอดเย่ียมทเ่ี สนอเพอ่ื รบั การคดั เลอื ก ข รางวัลที่เสนอขอ ค-ง การประเมนิ เฉพาะดา้ น 1 การประเมนิ ตัวชีว้ ัดเฉพาะ 1 15 องคป์ ระกอบที่ 1 คณุ ภาพ 15 1. ความพรอ้ มของอุปกรณ์ 15 2. ลกั ษณะของแผนการจดั การเรยี นรู้ 15 3. ความเป็นกระบวนการจดั การเรียนร้ทู างไกลผ่าดาวเทียม (DLTV) ของนวตั กรรม 16 4. การปฏบิ ัติอยา่ งต่อเนือ่ ง 17 5. มีนวตั กรรม 22 6. คณุ ลักษณะของนวัตกรรม 24 7. คณุ ภาพขององคป์ ระกอบในนวัตกรรม 28 8. การออกแบบนวตั กรรม 31 9. ประสิทธภิ าพของนวตั กรรม 32 10. การได้รบั การยอมรบั ในวงวิชาการ 44 48 องคป์ ระกอบที่ 2 คณุ ประโยชน์ 49 1. ความสามารถในการพฒั นา 49 2. ความเปน็ กระบวนการการจดั การเรยี นร้ทู างไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) ของนวตั กรรม 53 3. ประโยชน์ต่อนกั เรียน 74 4. ประโยชนข์ องนวตั กรรมในการแกป้ ัญหาหรือพฒั นาคุณภาพของกล่มุ เป้าหมาย 76 77 องค์ประกอบที่ 3 ความคิดริเร่ิมสรา้ งสรรค์ 77 1. ความคิดสร้างสรรค์ 77 2. จุดเดน่ ของนวตั กรรม 77 3. ผนู้ ำทางวิชาการ 79 4. การใช้เทคโนโลยี (Self report)

ง ญ( ่ ) การประเมนิ ตวั ช้ีวัดร่วม หนา้ องคป์ ระกอบที่ 1 ผลท่ีเกิดกับผเู้ รียน 83 1. ผลท่ีเกิดกบั ผ้เู รยี น 83 1.1 ดา้ น คณุ ลักษณะ อนั พึงประสงค์ 83 87 1.2 ผลงาน / ชนิ้ งาน / ภาระงาน / ผลการปฏบิ ตั ิงาน 88 1.3 การเผยแพรผ่ ลงานนกั เรียน 89 91 1.4 การได้รบั รางวลั / ยกยอ่ ง เชดิ ชู 91 องค์ประกอบท่ี 2 ผลการพฒั นาตนเอง 91 91 1. เปน็ แบบอยา่ งและเป็นท่ยี อมรับจากบุคคลอื่น ๆ 91 1) พัฒนาตนเองในดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม 2) ปฏบิ ตั ิตนเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ีตามแนวปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 92 92 3) น้อมนำแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการจดั กิจกรรม 92 การเรยี นการสอนจนไดร้ ับการยอมรับหรอื การยกยอ่ งเชดิ ชจู ากหน่วยงาน/ 95 องคก์ รภาครฐั ระดบั เขต/จงั หวัด 96 96 4) นอ้ มนำแนวปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยุกต์ใช้ในการจดั กิจกรรม 96 การเรียนการสอนจนไดร้ ับการยอมรบั หรือการยกยอ่ งเชดิ ชูจาก 96 96 หน่วยงาน/องคก์ รระดับชาติ 96 2. พัฒนาตนเองอย่างต่อเนือ่ ง 96 96 ส่วนท่ี 1 การไดร้ ับการพัฒนา 97 97 สว่ นที่ 2 การพัฒนาตนเอง 98 องค์ประกอบท่ี 3 การดำเนนิ งาน / ผลงานทเี่ ป็นเลศิ 1. การนำองคค์ วามรู้จากการได้รบั การพัฒนา หรอื การพัฒนาตนเองไปใชป้ ระโยชน์ 1) นำไปพฒั นาผ้เู รยี นแบบองค์รวมได้ ความรู้ ทักษะ กระบวนการและเจตคติ 2) นำไปบรู ณาการกับหน่วย/เรื่องอ่นื ๆ ได้ 3) นำไปใชบ้ ูรณาการกบั รายวชิ าอน่ื ๆ ได้ 4) นำไปใชเ้ ป็นต้นแบบเผยแพร่ขยายผลได้ 2. การแกป้ ัญหา /การพัฒนาผเู้ รยี น 1) การแกป้ ญั หา / พัฒนาผ้เู รียนโดยใชก้ ระบวนการวิจัยในช้ันเรยี น 2) การแกป้ ญั หา / พัฒนาผเู้ รยี นโดยใชน้ วตั กรรมทางการเรยี นการสอน 3) การแกป้ ัญหา/พัฒนาผ้เู รยี นโดยใชร้ ะบบดแู ลช่วยเหลือผ้เู รียน การรบั รองของผบู้ ังคับบญั ชา (Self report)

1 รายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน เพอ่ื ขอรับรางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พือ่ การเรียนการสอน ……………………………………… ชอื่ รางวัลที่เสนอขอ ครูผู้สอนยอดเย่ยี ม การจดั การเรยี นร้ทู างไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) ช่ือ นายวีรเดช มะแพทย์ ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ สงั กดั สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสุรินทร์ ประเภท บคุ คลยอดเยีย่ ม  ระดับปฐมวัย สงั กดั  ระดับมธั ยมศกึ ษา ด้าน  ระดบั ขยายโอกาสทางการศึกษา  ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น  ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย  สงั กดั สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา  สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา  ดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพอื่ การเรียนการสอนยอดเยยี่ ม รายงานผลการปฏบิ ัติงานดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พือ่ การเรียนการสอน โดยการจัดการเรียนรู้ ทางไกลผ่านดาวเทียม(DLTV) ของข้าพเจา้ นายวีรเดช มะแพทย์ ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนทบั โพธพิ์ ฒั นวิทย์ สังกัดสำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสุรนิ ทร์ เพ่อื ขอรับรางวัลทรงคณุ ค่า สพฐ.(OBEC AWARDS) ดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพือ่ การเรยี นการสอนยอดเยี่ยม ประเภทครูผสู้ อนยอด เย่ยี ม การจัดการเรยี นรู้ทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ซึ่งขา้ พเจา้ ไดร้ ายงานผล การปฏบิ ัตงิ านทีส่ อดคล้องกบั เกณฑก์ ารประเมนิ ในแตล่ ะองคก์ อบ ดงั ตอ่ ไปน้ี รายงานสรุปผลการปฏิบัติงานของตนเอง (Self report) นายวีรเดช มะแพทย์

2 1.รายงานคุณสมบตั ิเบ้อื งต้น 1. คุณสมบัติเบือ้ งตน้ 1.1 ดำรงตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู ำนาญการพิเศษ โรงเรียนทับโพธ์พิ ฒั นวิทย์ สงั กดั สำนกั งาน คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน 1.2 ปฏิบัติหน้าที่ในการจดั การเรยี นการสอนมาแล้ว 23 ปี (บรรจเุ ขา้ รบั ราชการเมอื่ วนั ที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2541 ณ โรงเรยี นศรปี ทมุ พทิ ยาคม อำเภอท่าตมู จงั หวัดสุรนิ ทร์ 1.3 เปน็ ผู้ไมเ่ คยถูกลงโทษทางวนิ ยั นบั ต้งั แตเ่ ข้ารบั ราชการ ข้อมลู ส่วนตวั ช่ือ นายวีรเดช นามสกุล มะแพทย์ ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนทบั โพธิ์พฒั นวิทย์ ตำบลทบั ใหญ่ อำเภอรัตนบุรี จงั หวดั สรุ นิ ทร์ สังกดั สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษาสุรินทร์ วนั เดือน ปเี กดิ วันที่ 1 เดอื น มถิ นุ ายน พ.ศ. 2508 สญั ชาติ ไทย เชอ้ื ชาติ ไทย ศาสนา พทุ ธ ทอี่ ยู่ บา้ นเลขที่ 156 หมู่ท่ี 3 ตำบลหนองบวั ทอง อำเภอรัตนบรุ ี จงั หวัดสรุ ินทร์ 32130 Tel. 093 –356-9534 e – mail : [email protected] ประวัติการศกึ ษา พ.ศ. 2518 ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4 โรงเรยี นบ้านนาลอ้ ม ตำบลผาขาว อำเภอภกู ระดงึ จังหวัดเลย พ.ศ. 2527 ชั้นระดับ 4 โรงเรียนการศึกษาผู้ใหญ่ วัดจันทร์ประสิทธิ์ อำเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น พ.ศ. 2530 ชน้ั เปรียญธรรมห้าประโยค สำนักเรียนวดั พระพเิ รนทร์ ป้อมปราบศรตั รพู า่ ย วัดชำนิหตั ถการ ถนนพระราม 1 แขวงรองเมือง เขตปทุมวนั กรุงเทพมหานคร (เทียบวุฒิ ม.6 ) จากกรมวิชาการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กรงุ เทพมหานคร พ.ศ. 2534 ประกาศนยี บตั รประโยคครพู ิเศษมัธยม (พ.ม.) กรมการฝึกหดั ครู กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2534 ศาสนศาสตรบัณฑติ ( ศน.บ.) วิชาเอกสังคมวทิ ยา สภาการศกึ ษามหามกุฎราชวิทยาลัย มหาวิทยาลยั มหามกฎุ ราชวิทยาลัย วัดบวรนิเวศ แขวงบางลำพู เขตพระนคร กรงุ เทพฯ ประวตั ิการรับราชการ วนั – เดอื น –ปี ตำแหน่ง สอนช้นั / ระดบั สถานทีท่ ำงาน มัธยมศึกษาปีท่ี 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 27 มกราคม 2541 อาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรยี นศรปี ทมุ พทิ ยาคม มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 ตำบลหนองบัว อำเภอทา่ ตูม (บรรจ)ุ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 จังหวดั สุรนิ ทร์ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 , 2 , 4 , 5 , 6 30 มกราคม 2543 อาจารย์ 1 ระดับ 3 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 , 2 , 4 , 5 , 6 โรงเรียนทับโพธิพ์ ัฒนวิทย์ 12 พฤศจิกายน 2551 ครูชำชาญการ ตำบลทบั ใหญ่ อำเภอรตั นบุรี 6 ธันวาคม 2561 ครชู ำนาญการพเิ ศษ จังหวดั สุรนิ ทร์ ปัจจบุ ัน ครชู ำนาญการพิเศษ รายงานสรุปผลการปฏิบตั งิ านของตนเอง (Self report) นายวรี เดช มะแพทย์

3 ผลงานดเี ดน่ พ.ศ. 2555 เครื่องหมายเชดิ ชูเกียรติ “หนงึ่ แสนครูดี” ประจำปี 2555 ครุ ุสภา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2555 ผ้บู ังคบั บุญชาลกู เสือดีเดน่ จากสำนักงานลูกเสอื แห่งชาติ พ.ศ. 2556 รางวัลครสู อนดีเด่น กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ฯ มอบโดย สพป.สร.2 พ.ศ. 2557 รางวลั เกียรติบตั ร “ครดู ไี ม่มีอบายมุข” ประจำปี 2557 สำนักพัฒนานวตั กรรมการจัดการศกึ ษา (สนก.) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร ถนนราชดำเนนิ นอก เขตดุสิต กรงุ เทพมหานคร 10300 พ.ศ. 2560 รางวัลเกียรตบิ ตั รระดับดเี ยี่ยม การนำเสนอผลงานเร่ืองออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้แบบบรู ณา การเศรษฐกจิ พอเพียง ประจำปี 2560 พ.ศ. 2561 รางวัลครสู อนดีเดน่ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ฯ มอบโดย สพป.สร.2 พ.ศ. 2563 รางวลั ครูสอนดีเดน่ กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ฯ มอบโดย สพป.สร.2 พ.ศ. 2563 รางวัลเสมา ป.ป.ส. ประเภทผลงานดีเด่น ระดบั เงิน โครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติด และอบายมุข ปกี ารศึกษา 2561 พ.ศ. 2563 รางวัลรองชนะเลิศระดับเหรียญทอง รางวลั ทรงคุณคา่ สพฐ.( OBEC AWARDS) ระดบั ภาค คร้ังท่ี 9 ประจำปกี ารศึกษา 2562 รางวัลครูผ้สู อนยอดเยีย่ ม สง่ เสรมิ การใชน้ วตั กรรมการ จัดการเรียนรู้ทางไกลผ่านดาวเทียม(DLTV)ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ด้านนวัตกรรมและ เทคโนโลยเี พ่ือการเรยี นการสอน พ.ศ. 2563 รางวัลรองชนะเลิศระดบั เหรยี ญทอง รางวลั ทรงคุณค่า สพฐ.( OBEC AWARDS) ระดบั ชาติ คร้ังที่ 9 ประจำปกี ารศกึ ษา 2562 รางวลั ครผู สู้ อนยอดเย่ียม ส่งเสริมการใชน้ วัตกรรมการ จดั การเรียนรู้ทางไกลผ่านดาวเทียม(DLTV)ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ด้านนวัตกรรมและ เทคโนโลยเี พอื่ การเรียนการสอน รายงานสรปุ ผลการปฏบิ ัตงิ านของตนเอง (Self report) นายวีรเดช มะแพทย์

4 ผลงานดเี ด่น ประกาศของกศจ.สรุ นิ ทร์ shorturl.asia/t6AxK คิวอาร์โคด้ สำหรบั สืบค้นผลงาน https://pubhtml5.com/bookcase/aatd รายงานสรุปผลการปฏิบตั งิ านของตนเอง (Self report) นายวรี เดช มะแพทย์

5 2. การครองตน (มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมท่ีพงึ ประสงค)์ มีผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการ สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จากการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกรอบสาม(พ.ศ. 2554-2558) ตาม ระดับท่ีขอรับการประเมนิ อยู่ในระดับดีขึ้นไป ในการทำงาน และการดำรงชวี ติ ในสงั คมขา้ พเจา้ ยึดหลกั การในการครองตน ดงั น้ี 1. การพงึ่ ตนเอง ขยนั หม่นั เพยี รและมีความรบั ผดิ ชอบ ขา้ พเจ้ามีการพฒั นาตนเอง ใหม้ คี วามกา้ วหน้า ในวิชาชีพครู ด้วยความขยัน พยายามและอดทน ในงานหน้าที่ความรับผิดชอบมีความ ตั้งใจที่จะทำงานใน หน้าที่ให้ได้รับความสำเร็จด้วยตนเอง สังเกตได้จากการตั้งใจสั่งสอนศิษย์ให้มีความรู้ มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนทีด่ ขี ึ้น มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง อดทนไม่ยอ่ ท้อต่อปัญหาอุปสรรค มีความรบั ผิดชอบต่อหน้าที่ มจี ิตใจมัน่ คงเป็นแบบอย่างท่ีดีแกเ่ พ่ือนรว่ มงานและบุคคลในชุมชน ดูแลทุกขส์ ขุ ของบิดา – มารดาด้วยความ กตญั ญู ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ตอ่ ญาติพี่ นอ้ งและสังคม ตามความเหมาะสม 2. การประหยัดและเก็บออม รู้จักใช้จ่ายตามควรกับฐานะโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง รู้จักใช้ จา่ ยเงินอย่างประหยัด รู้จักใชท้ รพั ยส์ ินท้ังของทางราชการและสว่ นตน ใหเ้ กดิ ประโยชน์สงู สุด และประหยัด ปิดไฟ ปิดพัด ลม ปิดเครื่องคอมพิวเตอร์เมื่อเลิกใช้งาน สอนให้นักเรียนรู้จักรักษาทรัพย์สนิ ของโรงเรียน รู้จักเก็บออมทำให้ไม่ขัดสนทางด้านการเงิน รู้จักดูแล บำรุงและรักษาทรัพย์สินของตนเองและ สว่ นรวม 3. การรักษาระเบยี บวินยั และเคารพกฎหมายขา้ พเจา้ เปน็ ผ้รู ักและปฏิบัติตามระเบยี บและ กฎหมายที่ กำหนดไว้ รกั ษาไว้ซ่งึ วัฒนธรรมขององค์กร ปฏิบตั ติ นตามกฎหมาย ประพฤติและปฏบิ ตั ิตนเป็นตัวอย่างที่ดี แก่บุคคลโดยทั่วไป เป็นแบบอย่างที่ดขี องลูกศิษย์ แต่งกายสะอาดเรยี บร้อยเหมาะสมกบั กาลเทศะ พูดจา ไพเราะ มีมารยาทดี เปน็ แบบอยา่ งความมนี ้ำใจการเสียสละ มคี วาม ประพฤตทิ ี่ดี เชื่อฟงั และใหค้ วามเคารพ ตอ่ ผู้บงั คับบัญชา เป็นผตู้ รงตอ่ เวลามาปฏบิ ตั ิงาน ไม่เคยหนรี าชการ ไม่เคยขาดราชการและไม่เคยได้รบั โทษ ทางวนิ ัยและโทษทางกฎหมาย รายงานสรุปผลการปฏบิ ัติงานของตนเอง (Self report) นายวรี เดช มะแพทย์

6 4. การปฏิบัตติ ามคณุ ธรรมของศาสนา ขา้ พเจา้ เปน็ ผูท้ ่ปี ฏบิ ัติตนตามศีล 5 ละเว้นตอ่ การ ประพฤติชั่ว และไมล่ ุ่มหลงอบายมุขมีความเอ้ือเฟื้อเผ่ือแผ่เสยี สละเหน็ แก่ประโยชน์ส่วนรวมชว่ ยเหลอื บริจาคทรัพย์ให้กับ ทางราชการและงานสว่ นรวมเป็นประจำ เช่น บรจิ าคเงินชว่ ยเหลืองานบุญตา่ งๆมีความ ซอื่ สัตย์สจุ ริตต่อตนเอง และผอู้ ืน่ มคี วามเมตตา กรณุ า โอบออ้ มอารีตอ่ บคุ คลอื่น ร่วมกจิ กรรมเนือ่ งในวัน สำคญั ทางศาสนาทุกคร้ังท่ีมี โอกาส 5. มีความจงรกั ภักดตี ่อชาติ ศาสนา และพระมหากษตั รยิ ์ เปน็ ผูส้ ่งเสริมสนบั สนนุ ระบบประชาธิปไตย และปฏิบัตติ ามนโยบายของทางราชการและรัฐบาลไดเ้ ข้ารว่ มในศาสนกจิ และทำนบุ ำรงุ ศาสนา ปฏิบัตติ นเปน็ พลเมืองดี เช่น ชว่ ยสอดสอ่ งดแู ลผู้ท่ีกระทำผิดกฎหมายเสียภาษี เคารพกฎหมาย มี ความจงรักภกั ดีและ เทดิ ทูนในสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ได้เขา้ รว่ มในพิธีการวันสำคญั ทกุ ครงั้ 6. เอาใจใส่ ถ่ายทอดความรู้ หรือส่งเสริมการแสวงหาความรู้ โดยไม่บิดเบือน ปิดบังหวังสิ่งตอบแทนข้าพเจา้ เป็นผจู้ ดั หรือเปน็ ผู้ส่งเสริมสนับสนุนให้นกั เรยี นไดพ้ ัฒนาตนเอง แสวงหาความรู้อยู่เสมอโดยไม่หวังส่ิงตอบแทน เชน่ การนำนกั เรียนเข้ารว่ มอบรมทงั้ ดา้ นวชิ าการ และด้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรมท่ีหนว่ ยงานหรอื องคก์ รต่าง ๆ ได้ จัดขน้ึ สร้างกิจกรรมให้นักเรยี นสามารถปฏบิ ตั ไิ ด้จรงิ นำวธิ กี ารใหม่ ๆ ใหเ้ กิดการแข่งขนั ในทางการศกึ ษา และ นำความรูท้ ่ไี ดไ้ ปใช้ในชวี ิตประจำวนั นำวธิ ีการและความรู้ใหม่ ๆ ท่ีขา้ พเจ้าได้ศึกษาคน้ คว้าในเรื่องการเรียน การสอนมาถ่ายทอดแก่ผู้เรียนอย่างเต็มความสามารถให้ความเอาใจใส่แก่ผู้เรียนมีการติดตาม ประเมินผล จัดทำเป็นงานวิจยั เพื่อเป็นแนวทางในการชว่ ยเหลือผู้เรยี น และข้าพเจ้ายังได้ใช้เวลาว่างในการศึกษา หาความรู้ การเป็นวิทยากรให้ความรู้แก่เพื่อนครู ชุมชน และนักเรียน โดยไม่บิดเบือน ปิดบัง หรือแสวงหาผลประโยชน์ ในทาง มชิ อบทัง้ ทางตรงและทางอ้อม 7.เอาใจใส่ ช่วยเหลือผู้เรียนและผู้รับบริการ เต็มความสามารถตามหลักวชิ าชีพอย่างสม่ำเสมอเท่า เทยี มกันในการปฏิบตั หิ นา้ ที่ ขา้ พเจ้าไดต้ ระหนักถงึ ความสำคญั ในการปฏิบัติตนต่อผเู้ รียนและผูร้ ับบริการอย่าง เสมอภาคและเทา่ เทยี มกนั โดยใหค้ วามร่วมมือและช่วยเหลือทุกคนเท่าทขี่ ้าพเจ้าสามารถ ทำไดด้ ้วยความเต็มใจ และเต็มความสามารถ ไม่วา่ จะเป็นความรว่ มมือในงานด้านวิชาการหรอื การช่วยงานสังคมและชุมชนในกิจกรรม หรือประเพณีต่าง ๆ คอยให้คำแนะนำ และเป็นที่ปรึกษาแก่นักเรียน เช่น คอยช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหา ด้านการเรียน โดยให้คำปรึกษา ขอ้ เสนอแนะ ผา่ นแบบวเิ คราะห์นกั เรียนเป็นรายบคุ คลและโครงการเยี่ยมบ้าน เพอ่ื ทราบขอ้ มูล สภาพปญั หา ความเป็นอย่ขู องนักเรยี นแล้วนำมาวิเคราะห์ข้อมูลเพอ่ื จัดการเรียนการสอนให้ เหมาะสม 8.การศึกษา คน้ คว้า ริเร่ิม สร้างสรรคค์ วามรู้ใหม่ นวัตกรรมในการพัฒนางานในหนา้ ท่ีข้าพเจา้ ได้ ศกึ ษา คน้ คว้าหาความรู้ รเิ รมิ่ สร้างสรรค์ความรู้ใหม่ให้แกต่ นเองเปน็ ประจำสมำ่ เสมอ เข้ารับการอบรม สมั มนาทุกหนว่ ยงานทง้ั ภาครัฐและเอกชนทเี่ ปน็ ผู้จัด ศกึ ษาหาความร้อู ย่เู ปน็ ประจำ เขา้ ประชุมกบั หนว่ ยงาน ตน้ สงั กดั ทุกครงั้ แล้วนำประสบการณ์และความรู้มาเผยแพรแ่ ก่บุคลากรในโรงเรยี น แลกเปล่ยี นความรู้ซึ่งกันและกนั เพือ่ พฒั นาการเรียนการสอน ข้าพเจา้ ไดน้ ำเทคโนโลยี โปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ไี ด้รบั การอบรมมาพัฒนางานใน หนา้ ท่ขี องตนเองใหม้ ีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน ทั้งการจดั ทำเอกสารประกอบการเรียนการสอนและงานอน่ื ๆ ที่ ไดร้ บั มอบหมาย การใช้เครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ (Internet) มาใช้ประกอบในการเรยี นการสอนโดยบูรณาการเข้า กับกลุ่มสาระอนื่ ๆ สอนใหน้ กั เรียนรูจ้ กั การศกึ ษาค้นควา้ หาความรูจ้ ากระบบคอมพิวเตอร์และรู้จกั ใช้เทคโนโลยี เพ่ือพัฒนาดา้ นการศึกษาดว้ ยตวั เอง รายงานสรุปผลการปฏิบัติงานของตนเอง (Self report) นายวีรเดช มะแพทย์

7 3. การครองคน (ทำงานร่วมกับผูอ้ ื่นได้ดี เป็นทีร่ กั ใคร่ของศษิ ย์ ผู้รว่ มงาน) (ตอ้ งปฏบิ ตั คิ รบทัง้ 3 กจิ กรรมรวมกนั แล้วไม่น้อยกวา่ 10 รายการ/ปกี ารศกึ ษา) 3.1 กิจกรรมที่ทำรว่ มกบั ผรู้ ว่ มงานในโรงเรยี น ร่วมงาน MOU ภาษาท่ี 2 ณ ร.ร.รัตนบรุ ี เปน็ กรรมการจัดกจิ กรรมวันสนุ ทรภทู่ ุกปี เปน็ กรรมการจัดกิจกรรมวนั ครสิ ตมาสทุกปี ร่วมกจิ กรรมกีฬา สพม.33 ปี2562 เป็นครู Model Teacher ร่วม AAR /PLC ทกุ สปั ดาห์ เป็นกรรมการจดั พิธีไหว้ครปู ระจำทุกปี เป็นกรรมการจดั กจิ กรรมกีฬาสีภายในโรงเรียน เป็นกรรมการจัดทัศนศกึ ษาแหลง่ เรยี นรู้ทุกปี รายงานสรปุ ผลการปฏิบตั ิงานของตนเอง (Self report) นายวีรเดช มะแพทย์

8 ร่วมงานแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ของสพม.33 ทุกคร้ัง เปน็ กรรมการจัดงานวันวิทยาศาสตร์ทุกปี 3.2 จดั /ร่วมกจิ กรรมตามระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียน จัดระบบข้อมลู นกั เรียนเปน็ รายบคุ คล รายชั้นเรยี น มีการวิเคราะห์ผเู้ รียนเป็นรายบุคคล วิเคราะห์ ประเมนิ พหปุ ัญญา ประเมิน SDQ คดั กรองนกั เรยี นเป็นกลุ่ม และกิจกรรมเย่ยี มบา้ นนกั เรยี น 100 % จัดหา ทนุ การศึกษาช่วยเหลอื นักเรียนทเี่ รียนดีแต่ยากจน มอบทุนการศึกษาใหน้ ักเรยี นมธั ยมศกึ ษาตอนต้น กิจกรรมรบั -ส่งนกั เรียน ปฏบิ ตั ิทุกวันพุธ มอบทนุ การศกึ ษาให้นักเรยี นมธั ยมศึกษาตอนปลาย โครงการเยยี่ มบ้านนักเรยี น ปฏิบตั ทิ ุกภาคเรยี น รายงานสรปุ ผลการปฏบิ ตั งิ านของตนเอง (Self report) นายวีรเดช มะแพทย์

9 ออกเย่ยี มบา้ นนกั เรียนพรอ้ มด้วยครูทีป่ รึกษา ปฏิบตั เิ ป็นประจำทกุ ภาคเรียน 3.3 รว่ มกจิ กรรมกับชุมชน ทำบุญตักบาตร กิจกรรมบา้ นวดั โรงเรยี น รว่ มปฏิบัติงานบำเพ็ญบญุ ฉลองสมณศักด์พิ ดั ยศ เปน็ ประธานหน่วยเลือกต้งั ในชมุ ชน หมู่ 10 รว่ มกับพระภกิ ษุจดั รายการการศึกษาไทย รายงานสรปุ ผลการปฏบิ ัติงานของตนเอง (Self report) นายวีรเดช มะแพทย์

10 ร่วมปฏิบตั งิ านการเข้าปรวิ าสกรรม รว่ มงานอุปสมทบ โรงเรียนร่วมออกโรงทานงานบุญกฐินสามคั คี รว่ มงานบายศรีสขู่ วัญ ผอ.รพ.สต.ไดย้ า้ ย เดนิ รณรงคโ์ ครงการป้องกันไขเ้ ลือดออก รณรงค์ลดละเลิกเหล้าเข้าพรรษา โครงการแนะแนวการเรยี นต่อ ไหว้พระสวดมนตก์ ิจกรรมวิถีพุทธ รายงานสรุปผลการปฏบิ ัติงานของตนเอง (Self report) นายวีรเดช มะแพทย์

11 4.การครองงาน รบั ผดิ ชอบ ม่งุ มั่น ต้ังใจทำงานตามภารกจิ /ท่ไี ด้รบั มอบหมายอย่างสร้างสรรค์ จนเกิด ความสำเรจ็ ไม่เคยขาดงาน ลากิจไม่เกนิ 2 ครง้ั /ภาคเรียน และไมเ่ กนิ 4 ครงั้ / ปีการศกึ ษา มชี ว่ั โมงสอน ตามเกณฑ์ที่ ก.ค.ศ. กำหนด มีผลงาน ดังนี้ แบบสรุปวนั ลาของนายวรี เดช มะแพทย์ ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 1 พฤศจกิ ายน 2563 รายการลา พ.ศ. ลาป่วย ลากจิ ลาคลอด/ลา ลาเข้ารบั การ ลา ขาด หมายเหตุ อุปสมบท ตรวจเลือก ศกึ ษาตอ่ ราชการ ครั้ง วัน ครั้ง วนั ครั้ง วนั ครั้ง วนั ครง้ั วัน ครงั้ วนั 2541 - - - - - - - - - - - - 2542 - - - - - - - - - - - - 2543 - - - - - - - - - - - - 2544 - - - - - - - - - - - - 2545 - - - - - - - - - - - - 2546 1 1 - - - - - - - - - - 2547 1 8 - - - - - - - - - - 2548 1 4 - - - - - - - - - - 2549 1 1 - - - - - - - - - - 2550 - - - - - - - - - - - - 2551 1 5 - - - - - - - - - - 2552 1 3 - - - - - - - - - - 2553 1 1 - - - - - - - - - - 2554 - - - - - - - - - - - - 2555 - - - - - - - - - - - - 2556 - - - - - - - - - - - - 2557 - - - - - - - - - - - - 2558 - - - - - - - - - - - - 2559 - - - - - - - - - - - - 2560 - - - - - - - - - - - - 2561 - - - - - - - - - - - - 2562 - - - - - - - - - - - - 2563 - - - - - - - - - - - - รายงานสรุปผลการปฏิบัตงิ านของตนเอง (Self report) นายวรี เดช มะแพทย์

12 งานปฏิบัตกิ ารสอน ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 ปฏบิ ตั ิการสอนในรายวชิ าตา่ ง ๆ ดังน้ี ลำดบั ท่ี รายวชิ า ระดบั ช้นั ช.ม./สัปดาห์ 1 ม.1/1 3 2 สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 2 (พื้นฐาน) ม.1/1 1 3 ม.1/1 1 4 ประวัตศิ าสตร์ 1 (พน้ื ฐาน) ม.2/1 1 5 หน้าที่พลเมอื ง 1 (เพิ่มเตมิ ) ม.4/1 2 6 ประวัตศิ าสตร์ 1 (พนื้ ฐาน) ม.5/1 2 7 สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 2 (พน้ื ฐาน) ม.5/1 1 8 สังคมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม 4 (พน้ื ฐาน) ม.6/1 2 9 ประวัตศิ าสตร์สากล 1 (พืน้ ฐาน) ม.6/1 1 10 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 6 (พื้นฐาน) ม.4/1 1 11 ประวตั ศิ าสตร์ไทย 1 (พ้ืนฐาน) ม.4/1 1 12 อาเซียนศึกษา 1 (เพิม่ เตมิ ) ม.5/1 1 13 หน้าทีพ่ ลเมอื ง 1 (เพมิ่ เติม) ม.2/1 1 14 ชมุ นุมเศรษฐกจิ พอเพียง ม.3 , ม.6 3 ลกู เสอื -เนตรนารี 21 แนะแนว /PLC /จติ สาธารณะ รวม ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2562 ปฏบิ ตั กิ ารสอนในรายวิชาตา่ ง ๆ ดังนี้ ลำดับท่ี รายวชิ า ระดบั ชน้ั ช.ม./สัปดาห์ 1 ม.1/1 3 2 สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 2 (พนื้ ฐาน) ม.1/1 1 3 ม.1/1 1 4 ประวตั ิศาสตร์ 2 (พื้นฐาน) ม.2/1 1 5 หน้าท่พี ลเมอื ง 2 (เพม่ิ เตมิ ) ม.4/1 2 6 ประวัตศิ าสตร์ 2 (พ้นื ฐาน) ม.5/1 2 7 สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 2 (พืน้ ฐาน) ม.5/1 1 8 สงั คมศกึ ษาศาสนาและวฒั นธรรม 4 (พ้ืนฐาน) ม.6/1 2 9 ประวัตศิ าสตร์สากล 2 (พน้ื ฐาน) ม.6/1 1 10 สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 6 (พน้ื ฐาน) ม.4/1 1 11 ประวัตศิ าสตร์ไทย 2 (พื้นฐาน) ม.4/1 1 12 อาเซียนศึกษา 1 (เพิม่ เติม) ม.5/1 1 13 หน้าทีพ่ ลเมอื ง 2 (เพิ่มเตมิ ) ม.2/1 1 14 ชมุ นุมเศรษฐกิจพอเพียง ม.3 , ม.6 3 ลูกเสอื -เนตรนารี 21 แนะแนว /PLC /จิตสาธารณะ รวม รายงานสรุปผลการปฏบิ ตั งิ านของตนเอง (Self report) นายวีรเดช มะแพทย์

13 งานที่ได้รับมอบหมายเปน็ งานพเิ ศษ 1) ครทู ี่ปรึกษานกั เรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 มีจำนวนนกั เรยี น 14 คน 2) ปฏบิ ัตหิ น้าที่ครทู ีป่ รึกษาร่วมกบั นางสาวอรวรรยา ศรีวงษา 3) หน้าที่ภายในกลมุ่ สาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม คือ หัวหนา้ กล่มุ สาระ 4) ปฏิบัตหิ นา้ ที่ครผู สู้ อนกลมุ่ สาระการเรยี นรูส้ ังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม 5) หน้าทอ่ี ่นื ๆ ได้แก่ 5.1 รกั ษาราชการแทนผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นทับโพธ์ิพฒั นวทิ ย์ 5.2 คณะกรรมการบริหารหลักสตู ร 5.3 คณะกรรมการเกบ็ รกั ษาเงนิ อดุ หนนุ โรงเรยี น 5.4 คณะกรรมการตรวจสอบบญั ชีการเงนิ /พสั ดุภายใน 5.5 คณะกรรมการกำหนดราคากลาง /จัดทำ ปร.4-5-6 งานกอ่ สร้าง 5.6 คณะกรรมการตรวจรับวัสด/ุ ครภุ ณั ฑ์ งานจัดซือ้ จัดจ้าง 5.7 คณะกรรมการตรวจรบั งานจ้าง ครูจา้ งรายเดือน 5.8 คณะกรรมการประเมินประสิทธภิ าพครูเลอื่ นขั้นเงนิ เดอื น 5.9 คณะกรรมการนเิ ทศภายใน 5.10คณะกรรมการบหิ ารงานวชิ าการ 5.11คณะกรรมการบริหารงานบุคคล 5.12หัวหนา้ ฝา่ ยบรหิ ารงานแผนงานงบประมาณ 5.13คณะกรรมการบริหารงานบริหารท่ัวไป 5.14คณะกรรมการจัดทำแผนปฏิบัตกิ ารประจำปี 5.15คณะกรรมการจัดทำแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา 5.16ทป่ี รกึ ษากิจกรรมสภานกั เรียน 5.17ทปี่ รกึ ษาชมุ นุมธนาคารขยะรีไซเคลิ 5.18ที่ปรกึ ษาชมุ นมุ ผลติ น้ำหมกั ชีวภาพ 5.19หวั หนา้ งานโครงการเศรษฐกิจพอเพยี ง(สวนของพอ่ ) 5.20หวั หน้างานกองกจิ การลกู เสือโรงเรียน 5.21หวั หนา้ เวรรักษาการณ์ 5.22หวั หนา้ งานโครงการโรงเรียนวถิ ีพุทธ 5.23หัวหนา้ งานโรงเรยี นจดั การเรียนการสอนนกั เรียนพกิ ารเรยี นรว่ ม 5.24หัวหนา้ โครงการจดั การเรียนการสอนและสอบธรรมศึกษา รายงานสรุปผลการปฏิบตั ิงานของตนเอง (Self report) นายวรี เดช มะแพทย์

14 มแี ผนการสอนมีแผนการจัดการเรยี นรู้ ทเี่ น้นผ้เู รยี นเปน็ สำคญั มีแผนพฒั นาตนเอง ID Plan รายงานสรุปผลการปฏบิ ัติงานของตนเอง (Self report) นายวรี เดช มะแพทย์

15 2.การประเมนิ เฉพาะดา้ นวตั กรรมและเทคโนโลยี เพ่ือการเรยี นการสอนยอดเยี่ยม โรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์เป็น โรงเรยี นขนาดเล็กและเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำตำบล เป็นโรงเรยี นวิถีพุทธ เป็นสถานศกึ ษาพอเพียง จัดการเรียนการสอนในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 มีความขาดแคลนครูผู้สอนไม่ครบวิชาและผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนของนกั เรยี นอยู่ในระดับที่จะต้องพัฒนายกระดับให้สงู ขึน้ จากบริบททางสังคมประชากรในเขต บรกิ ารของโรงเรียนมีฐานะความเปน็ อยู่ค่อนข้างไม่ดี สบื เนือ่ งจากเกิดอุทกภัยเกอื บทกุ ปีและในฤดูแล้งก็แล้ง ถึงขนาดทางจังหวัดต้องประกาศเป็นภัยแล้ง นักเรียนส่วนหนึ่งมีพัฒนาการทางการศึกษาค่อนข้างช้ามาก จะต้องมีสื่อการเรียนการสอนซ้ำๆ ฉะนั้นทางโรงเรียนจึงได้เข้าโครงการจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมนับตั้งแต่ปีพ.ศ.2544 เป็นต้นมา และมีอุปกรณ์เครื่องรับสัญญาณ 6 เครื่อง จอ 12 เครื่อง โดยมีนายช่างทหารจำนวน 5 คน จากค่ายสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช กองพล ทหารราบท่ี 6 ตำบลโพธสิ์ ัย อำเภอศรีสมเด็จ จังหวัดรอ้ ยเอด็ เข้ามาทำการติดตัง้ ให้และล่วงเลยมาถึงปัจจุบัน ทางโรงเรียนได้เปลี่ยนเคร่ืองอุปกรณ์เหล่านั้นออกจนหมดแล้วเนื่องจากมีระยะเวลาใช้งานยาวนานมากและ เสอื่ มสภาพจนใชง้ านไม่ไดแ้ ลว้ โดยเฉพาะศูนย์การศกึ ษาและระบบโทรคมนาคมไดเ้ ปลยี่ นระบบสัญญาณจาก tv analog มาเปน็ tv digital ทท่ี ันสมัยยงิ่ ขึน้ ในสว่ นทที่ างโรงเรียนได้รับการสนบั สนนุ จากทางศูนยก์ ารศึกษา อย่างต่อเนื่องคือ หนังสือคู่มือครูพระราชทานสอนทางไกลผ่านดาวเทียมครบทุกชั้นและทุกรายวิชาทุกภาค เรียนที่เปิดสอน หนังสือคู่มือฯ นี้เองเป็นเข็มทิศให้ครูและนักเรยี นโรงเรียนทับโพธิพ์ ัฒนวิทย์ได้พบกบั ทักษะ กระบวนการที่สรา้ งความรู้ให้เป็นเครือ่ งมือในการประกอบอาชีพสร้างชีวิตที่ดีงาม สร้างสรรค์สังคมให้เกิดสันติ สุข โดยได้นอ้ มนำเอาหลักปฏบิ ตั ิจากพระราชดำรัสของพอ่ หลวงผู้พระราชทานโครงการการศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทียมมาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน ดังรายละเอียดขั้นตอนปฏิบัติตามหลักทฤษฎีของเดมมิ่ง P-D-C-A ดังต่อไปน้ี 2. การประเมินเฉพาะด้านวตั กรรมและเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนการสอนยอดเย่ียม 2.1 ตัวชวี้ ดั เฉพาะดา้ น จำนวน 3 องคป์ ระกอบ ดงั น้ี องค์ประกอบท่ี 1 คุณภาพ องค์ประกอบท่ี 2 คณุ ประโยชน์ องค์ประกอบที่ 3 ความคิดรเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์ องคป์ ระกอบท่ี 1 คุณภาพ 1. ความพร้อมของอุปกรณ์ 1. ระยะหา่ งระหวา่ งจอโทรทัศน์กบั ทนี่ ่งั นักเรียนในแถวแรก ระหวา่ ง 1.50-2.00 เมตร 2. การติดต้ังจอโทรทัศนส์ ูงเหมาะสมกบั ระดบั สายตาระหว่าง 1.20-1.50 เมตร 3. นักเรยี นทุกคนสามารถมองเห็นจอโทรทัศน์ได้อย่างชดั เจน รายงานสรปุ ผลการปฏบิ ตั ิงานของตนเอง (Self report) นายวีรเดช มะแพทย์

16 2. ลกั ษณะของแผนการจัดการเรียนรู้ 1. มีแผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่มีองค์ประกอบครบถ้วน อยา่ งนอ้ ยหนง่ึ หน่วยการเรียนรู้ 2. มีกำหนดการสอนที่แสดงถงึ วธิ กี ารจดั การเรยี นรทู้ างไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) ทห่ี ลากหลาย 3. รปู แบบการจัดพิมพ์ จดั รปู เลม่ แผนการจดั การเรยี นรู้ การนำเสนอน่าสนใจ มีการจดั เรียงลำดับอย่างเป็น ขนั้ ตอน และบนั ทึกหลงั แผนการสอนท่ีส่งผลถึงผู้เรียน มีแผนการจัดการเรียนรู้ ทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญเปน็ ปัจจุบันและครบช่วั โมงสอน ตลอดปกี ารศกึ ษา ข้าพเจ้าได้ดำเนินการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (พน้ื ฐาน) กลุ่ม สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (พื้นฐาน) ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4 - 6 ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยรวบรวมและเรียบเรียงคัดจากตารางการสอน ออกอากาศสถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม รายวิชาที่สอนออกอากาศในช่อง สศทท.10 ชอ่ ง 195 ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 ช่อง สศทท.11 ชอ่ ง 196 ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 5 ชอ่ ง สศทท.12 ช่อง 197 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนต้นทาง และเน้นเนื้อหาวิชาและจุดประสงค์ที่ต้องการพัฒนายกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้นจากปีการศึกษาที่ผ่านมา โดยนำผลการประเมินระดับชาติ ( O-Net) มา วิเคราะห์รว่ มด้วย รายงานสรปุ ผลการปฏิบัตงิ านของตนเอง (Self report) นายวรี เดช มะแพทย์

17 แผนการจดั การเรียนรู้คัดเลือกจากโรงเรียนต้นทางในหนงั สอื ค่มู ือครูพระราชทานสอนทางไกลผ่านดาวเทยี ม โดยรวบรวมเนือ้ หาสาระการเรยี นรู้ตรงตามครูตน้ ทางกำหนดท่สี อดคล้องกบั เน้ือหาของโรงเรยี นปลายทาง 3. ความเป็นกระบวนการ การจัดการเรยี นรู้ทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) ของนวตั กรรม 1. การสรา้ งวิสัยทัศน์ ความเช่อื และคา่ นยิ ม กระบวนการ การจดั การเรียนร้ทู างไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) 2. ความเป็นผู้นำ และการช้นี ำกระบวนการ การจัดการเรียนรู้ทางไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV) 3. การปฏิบตั ิส่วนบุคคล และการสร้างสิ่งแวดลอ้ มเชิงบวกสกู่ ระบวนการ การจดั การเรยี นรู้ทางไกลผ่าน ดาวเทียม (DLTV) 1. การสร้างวสิ ัยทัศน์ ความเชอื่ และคา่ นยิ ม กระบวนการ การจัดการเรยี นรู้ทางไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV) แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 10 (พ.ศ. 2550–2554) ได้กำหนดแนวทางการพัฒนา มุ่งเตรยี มเด็กและเยาวชนให้มีพ้ืนฐานจิตใจท่ีดีงาม มีจติ สาธารณะ มสี มรรถนะ ทักษะ ความรู้พื้นฐานที่จำเป็น ต่อการดำรงชีวิต ซึ่งความจำเป็นในการเปลี่ยนแปลงจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพคนในสังคมไทยให้เป็น รายงานสรุปผลการปฏิบตั งิ านของตนเอง (Self report) นายวรี เดช มะแพทย์

18 สังคมคุณธรรม มีความรอบรู้อย่างเท่าทัน มีความพร้อมทั้งด้านร่างกาย สติปัญญาอารมณ์ และศีลธรรม สามารถก้าวทันการเปล่ียนแปลงเพื่อนำไปสู่สังคมฐานความรู้ได้อย่างมัน่ คง กระทรวงศึกษาธิการ ได้นำแนวทางดังกล่าวมากำหนดนโยบายพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่โลก ยุคศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม รักความเป็นไทย มีทักษะการคดิ วเิ คราะห์ คิดสร้างสรรค์ มีทักษะดา้ นเทคโนโลยี สามารถทำงานรว่ มกบั ผ้อู ืน่ และอยรู่ ว่ มกบั ผอู้ ื่นในสังคมโลกได้อย่างสนั ตสิ ขุ ซ่งึ นำไปสู่ นโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษทีส่ อง (พ.ศ. 2552 – 2561) มีวิสัยทัศน์ ให้คนไทยได้เรียนรู้ตลอด ชีวติ อย่างมคี ณุ ภาพภายในปี 2562 ทำให้ต้องมีการปฏิรูปการศกึ ษาและจัดการเรยี นรอู้ ยา่ งเป็นระบบเพื่อให้ ครผู ู้สอน ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา เขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา คณะกรรมการการศึกษาทุกระดบั ท่ีเกย่ี วข้อง มีความเขา้ ใจ สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางพัฒนาโดยเฉพาะเรื่องการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การส่งเสริม สนับสนุน การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 ว่าในการจัดกระบวนการเรียนรู้นั้นสถานศึกษา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ดำเนินการ ตามหมวด 4 แนวการจัดการศึกษา มาตรา 24 จัดเนื้อหา สาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของ ผเู้ รยี น โดยคำนึงถงึ ความแตกต่าง ระหว่างบคุ คล ฝึกทักษะ กระบวนการคดิ การจดั การ การเผชิญสถานการณ์และ การประยุกตค์ วามรู้ มาใช้เพือ่ ป้องกันและแก้ไขปัญหา จดั กจิ กรรมให้ผเู้ รียนได้เรียนร้จู ากประสบการณ์จรงิ ฝึกการ ปฏิบัติ ให้ทำได้ คิดเป็น ทำเป็น รักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง จัดการเรียนการสอนโดย ผสมผสาน สาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ไว้ในทุกวิชา ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอำนวย ความสะดวกเพ่ือให้ผู้เรียนเกดิ การเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทงั้ สามารถใช้การวจิ ัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ เรียนรู้ ผู้เรียนและผู้สอนอาจเรียนรู้ไปพร้อม กันจากสื่อการเรียนการสอนและแหล่งวิทยาการประเภทต่าง ๆ จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือบิดามารดา ผู้ปกครอง และบุคคลใน ชมุ ชนทกุ ฝ่าย เพือ่ ร่วมกัน พฒั นาผ้เู รียนตามศักยภาพ แต่ในความเป็นจริงแล้วยังมีผู้สอนจำนวนมากที่ไม่สามารถจัดการเรียนการสอนให้เป็นไป ตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 ตามหมวด 4 แนวการจดั การศึกษา มาตรา 22 การจัดการศึกษาตอ้ งยึดหลักว่า ผ้เู รยี นทกุ คนมคี วามสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้ และถอื วา่ ผู้เรียนมีความสำคัญท่ีสุด กระบวนการจัดการศกึ ษาต้องสง่ เสริมให้ผู้เรียนสามารถ พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพครู ยงั ไมส่ ามารถจัดการเรียนร้ไู ด้อย่างครอบคลุมทุกประเด็นและยังไม่มี คุณภาพที่ดีพอ ด้วยมีข้อจำกัด นานัปการจึงทำให้คุณภาพการศึกษามีความไม่เท่าเทียมกัน ไม่เป็นไปตาม มาตรฐานกำหนด โดยเฉพาะโรงเรียนขนาดเล็กมักถูกต้ังคำถามเร่ืองคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความคุ้มค่าในการ ใช้ ทรพั ยากร ดังท่ีกระทรวงศึกษาธกิ ารมีนโยบายยุบและควบรวมโรงเรียนขนาดเลก็ อยู่เสมอ ซ่ึงถูกวิพากษ์วิจารณ์ ว่า ยิง่ ทำใหเ้ กิดความไมเ่ ปน็ ธรรมและมีความเหลื่อมล้ำในระบบการศกึ ษาสงู ขึน้ สรา้ งภาระและตน้ ทนุ ให้กับผู้มีส่วน ไดส้ ว่ นเสยี ทอ่ี ยใู่ นพ้ืนท่ีด้อยโอกาส ดงั น้ันจึงเปน็ ภาระของสถานศึกษาที่จะต้องใหก้ ารดูแล สนับสนนุ ส่งเสริมและ ช่วยเหลือนักเรียน ในด้านปัจจัยเบื้องต้นในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ด้านบุคลากร งบประมาณ รวมทั้ง โอกาสต่าง ๆ ให้มีมากข้ึน โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ความสามารถของครูในการถ่ายทอดความรู้ให้ผู้เรยี น โรงเรียนขนาด เล็ก จงึ ควรได้รบั ความช่วยเหลือด้านบุคลากรไม่ใช่เฉพาะด้านปริมาณเท่านนั้ แตต่ ้องช่วยในด้านคุณภาพ ของครูไป พร้อมกนั สถาบันวจิ ัยเพ่ือการพัฒนาประเทศไทย (Thailand development research institute: TDRI) ช้ใี ห้เห็น ถงึ การแกป้ ญั หาคุณภาพการศึกษาไทย โดยเฉพาะการศึกษาระดับขน้ั พ้ืนฐานยงั ไม่ สามารถทำใหค้ ุณภาพการศึกษา ของประเทศดีขึ้นได้อย่างทั่วถึง ทั้งหลักสูตรและตำราเรียนของไทย ยังไม่สอดคล้องกับการพัฒนาทักษะแห่ง รายงานสรปุ ผลการปฏิบตั ิงานของตนเอง (Self report) นายวรี เดช มะแพทย์

19 ศตวรรษที่ 21 (21st Century skills) ซึ่งมีผลทำให้การเรียน การสอนตลอดจนการสอบยังคงเน้นการจำเนื้อหา มากกว่าการเรียนเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจอย่าง แท้จริง ทั้งนเี้ ปน็ ผลมาจากการขาดแคลนครู หรือครูไม่ครบชั้น ไม่ครบสาระการเรียนรู้ โดยเฉพาะครู สอนภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ครูมีประสบการณ์หรือทกั ษะ การจัดการเรียนรู้น้อย ขาด สื่ออุปกรณ์ที่ทันสมัยและการเข้าถึงได้ลำบาก ครูมีเวลาจัดการเรียนการสอนน้อย กิจกรรมของ โรงเรียนมีมาก ทรัพยากรที่มีกระจัดกระจายไม่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้อย่างคุ้มค่าและ การ แก้ปัญหาต่าง ๆ ก็ทำได้ในวงจำกัด โรงเรียนในชนบทและโรงเรียนประจำจังหวัดหรือโรงเรียนใน เขต กรุงเทพมหานคร มีความเหลื่อมล้ำ และแตกต่างกันในด้านคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา อันเป็นสิ่งที่บัน่ ทอน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในอนาคต ถือเป็นสิ่งที่สะท้อนความมั่นคงของ ประเทศชาติประการหนึ่ง ซึ่ง สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย ได้เสนอแนะแนวทางการปฏิรูป การศึกษาด้านหลักสูตรสื่อการเรียนการ สอนและเทคโนโลยี โดยสนบั สนุนใหม้ ีการนำระบบ ICT มาใช้ ให้เหมาะสมกบั การพฒั นาการศกึ ษาในศตวรรษที่ 21 (ส ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน. 2558) การแก้ไขปัญหา เรื่องครู ไม่ครบชั้นหรือไม่ครบกลุ่มสาระการเรียนรู้ สถานศึกษาได้นำนวัตกรรม เทคโนโลยกี ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) มาใช้ในการจัดการศึกษา แนวทางสำคัญที่จะช่วยทำให้การจัด การศกึ ษามคี ุณภาพทัดเทียมกัน ผู้เรียนต้องได้เรียนรู้ จากผ้ทู ่ีมีความรู้ความสามารถในวิชาน้นั ๆ โดยเฉพาะ ได้รับ การถ่ายทอด การจัดกระบวนการเรียนรู้ รวมทั้งได้รับสื่อต่าง ๆ ที่ถูกจัดเตรียมไว้อย่างเหมาะสม จึงได้เกิด นวัตกรรมการศึกษาในรูปแบบ การศึกษาทางไกลขึ้น ทำให้ตอบสนองต่อความด้อยโอกาสและความไม่เสมอภาค ของผู้เรียนที่อยู่ห่างไกล เป็นการให้โอกาสทางการศึกษาที่เท่าเทียมกัน อำนวยความสะดวกแก่ผู้เรียนในแง่ของ เวลา และสถานที่ และมคี วามคุ้มค่า ผ้เู รยี นไมจ่ ำเปน็ ต้องเข้าชั้นเรียนอยู่ในหอ้ งส่ีเหลี่ยม แตส่ ามารถ เรียนรู้ผ่าน สื่อต่าง ๆ เช่น สิ่งพิมพ์ โทรทัศน์ อุปกรณ์สื่อสาร ได้ตลอดเวลา เป็นการสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา (ขวัญแก้ว วชั โรทัย. 2549, ดิษฐ์ลดา ปนั คำมา. 2551 และ ประสาท วันทนะ. 2552) การจดั การศึกษาทางไกล และการเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ทำให้ ผเู้ รียนมคี วามพึงพอใจในประสบการณท์ ี่ไดร้ ับ มีความสะดวกสบายใน การเลอื กช่วงเวลาเรียนและมี ค่าใชจ้ า่ ยน้อย การออกแบบการเรียนรู้เป็นแบบเปิดกว้าง มีประโยชนต์ ่อการเรียนรู้ สามารถนำไปใช้จัดกิจกรรมได้จริง ผู้เรียนสามารถเรียนได้โดยไม่กระทบต่องานประจำ มีการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรม ไปในเชิงบวกต่อการเรียนและต่อการทำงาน (Burgess & Russell. 2003, Kutluk & Gulmez. 2012 และ Mays. 2016) หลักการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมเปน็ การถ่ายทอดกระบวนการเรยี นรู้ของ ครูผู้สอน จากหอ้ งเรียนในโรงเรยี นวังไกลกงั วล หรอื “โรงเรียนต้นทาง” สง่ ตรงไปยงั หอ้ งเรียนใน โรงเรียนในพื้นที่ต่าง ๆ หรือ “โรงเรยี นปลายทาง” โดยครูจากโรงเรียนต้นทางจัดการเรียนการสอน ตามตาราง ในขณะที่โรงเรียนปลายทางจะมี การทำกิจกรรมการเรียนการสอนไปพร้อมกัน ในเวลา เดียวกัน มีการถ่ายทอดออกอากาศตลอด 24 ชั่วโมง เป็น ประจำทุกวัน สามารถรับชมทางโทรทัศน์ผ่านระบบ ดาวเทียมได้ทั้ง 15 ช่อง นอกจากนี้ทั้งโรงเรียนปลายทาง และประชาชนทุกกลุ่ม ทุกเพศ ทุกวัย ยังสามารถเข้าถึงการจัดการศึกษาทางไกล และรับชมรายการของมูลนิธิ การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ได้ทางเว็ปไซต์ของมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ซึ่งนอกจากจะรับชม รายการได้เช่นเดียวกับ ระบบการถ่ายทอดผ่านดาวเทียมแล้ว ยังสามารถสืบค้นรายการย้อนหลังได้ตามต้องการ และสามารถดาวน์โหลดแผนการจัดการเรียนรู้ ใบงาน สอื่ การสอน ไดด้ ้วย และยังมหี ้องสนทนา (Web board) ที่ ผู้รับชมปลายทางสามารถตั้งกระทู้สอบถามปัญหาการจัดเรียนการสอน ซึ่งทั้งครูต้นทางและครูปลายทางสามารถ เข้ามาตอบปัญหา และแลกเปล่ียนเรยี นร้ไู ด้ตลอดเวลา (มูลนิธิการศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทยี ม. 2560) การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ได้ทรง ริเริ่มเอาไว้ ต้ังแตป่ ี 2538 มีการปรบั ระบบการออกอากาศจากเดิมท่ีใชร้ ะบบ SD เป็นระบบ HD ท่มี ี ประสทิ ธิภาพสูง มีการ ปรับห้องเรียนต้นทางให้มีการจัดการเรียนการสอนที่น่าสนใจมากยิ่งขึ้น และ โรงเรียนปลายทางสามารถปรับ รายงานสรุปผลการปฏิบัตงิ านของตนเอง (Self report) นายวรี เดช มะแพทย์

20 รปู แบบการรับชมนอกจากชมผ่านทางโทรทัศน์ตามปกติแลว้ ยังสามารถรับชมผ่านระบบอนิ เทอร์เน็ตเวลาไหนก็ได้ มีการจัดทำแอพพลิเคชั่นที่มีเนื้อหาหลากหลายให้ เลือกรับชมย้อนหลังได้ ปรับการถ่ายทอดจากเดิมตั้งแต่ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงช้ันมัธยมศึกษา ปีที่ 6 เป็นตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เนื่องจาก มัธยมศึกษาตอนปลายส่วนใหญ่มี ครูสอนเฉพาะวิชาอยู่แล้วและเด็กโตจะมีช่องทางหาความรู้ในด้านอื่น ๆ ได้ (ดาวพงษ์ รตั นสวุ รรณ. 2561) มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมในพระบรมราชูปถัมภ์ และสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ัน พื้นฐาน ไดจ้ ดั ทำมาตรฐานการจัดการเรียนการสอนโดยใช้การศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทียม เพอ่ื ใหโ้ รงเรียนและผู้ที่ เกยี่ วข้องมีแนวทางในการจัดการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนโดยใช้การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียมได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการดำเนินงานจัดการเรียนการสอนโดยใช้การศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทยี มให้ได้มาตรฐาน ประกอบดว้ ย ฝ่ายปฏบิ ตั ิ ไดแ้ ก่ ผบู้ ริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากร ฝ่ายนเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ ผล ได้แก่ มลู นิธกิ ารศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียมในพระบรมราชปู ถัมภ์ สำนกั งานคณะกรรมการ การศึกษา ขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด เป็นฝ่ายติดตาม ประเมินผล (มูลนิธิ การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม. 2560) การนำเทคโนโลยกี ารศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียมมาชว่ ยแกป้ ัญหาจำนวนครไู ม่เพียงพอ ครูไม่ครบช้ัน ครู จบไม่ตรงสาขาวิชาเอก ครูขาดความรู้เฉพาะเรื่องเฉพาะทางเป็นวิธีการหนึ่งที่เกิด ประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของ ผู้เรียน การจัดการเรียนการสอนของครู การบริหารจัดการของผู้บริหาร และเกิดประโยชน์ต่อชุมชนและ ผ้ปู กครองเป็นอย่างมาก การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ โรงเรียนขนาดเล็กด้วยการบริหารจัดการระบบการศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทียมสามารถช่วยแก้ไขปัญหา การขาดแคลนครูทั้งด้านปริมาณและคุณภาพของครู สร้างความ เสมอภาคในการศึกษา เพิ่มโอกาส การเรียนรู้ให้กับผู้เรียนที่อยู่ห่างไกล ซึ่งสอดรับกับนโยบายการจัดการศึกษา ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน อนึ่ง การนำเอาเทคโนโลยกี ารศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียมมาช่วยแก้ปญั หาการจัดการเรียนการสอนใน สถานการณ์โรคไวรัสโคโรน่า2019 (โควิด19) ระบาดอย่างรุนแรงทำให้รฐั บาลประกาศปิดการจัดการเรียนการสอน ในสถานศึกษา ถงึ โรงเรียนจะหยุดทำการเรียนการสอนแต่การเรียนรูย้ ังจะต้องดำเนินไปทกุ วนั เวลา การนำเอา DLTVและ DLIT มาใช้กับสถานการณ์เช่นน้จี งึ นับว่ามคี วามเหมาะสมตอบสนองความต้องการของผูเ้ รียนไดเ้ ปน็ อย่างดี ซึง่ กระบวนการจัดการเรียนรู้ดงั กล่าวตัวครูผูส้ อนและนักเรียนผู้เรยี นจะส่ือสารปฏสิ ัมพันธก์ นั ทางออนไลน์ หลายช่องทาง และยึดตารางเรยี นตามตารางออกอากาศ DLTV เป็นหลักในการทำกจิ กรรมการเรียนรู้ รายงานสรุปผลการปฏิบตั งิ านของตนเอง (Self report) นายวีรเดช มะแพทย์

21 2. ความเป็นผู้นำ และการชน้ี ำกระบวนการ การจัดการเรียนรทู้ างไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV) โรงเรียทับโพธพิ์ ฒั นวิทย์ สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์ได้นำเอา TPS Model ยทุ ธศาสตร์ 654 ปจั จัยสคู่ วามสำเรจ็ การพฒั นาคณุ ภาพการเรยี นการสอนทางไกล ด้วย DLTV มาใชใ้ น การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา โดยกำหนดกรอบแนวคิด ทิศทางการพัฒนา การติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษาให้สามารถนำไปสกู่ ารปฏิบัติในระดบั สถานศึกษาและลงส่หู อ้ งเรียน ได้อยา่ งมีคุณภาพ 3. การปฏบิ ัติสว่ นบคุ คล และการสร้างสง่ิ แวดลอ้ มเชงิ บวก สกู่ ระบวนการ การจดั การเรยี นรูท้ างไกล ผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) การดำเนินการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาในโรงเรียน โดยการบรหิ ารจดั การระบบการศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทยี ม(DLTV) ผู้รายงานได้ศกึ ษาแนวคิดการบรหิ ารจัดการศกึ ษาโรงเรยี นขนาดเล็ก แนวคิดการศกึ ษา ทางไกลผ่าน ดาวเทียมนำมาดำเนินการตามวงจรคุณภาพเดมมงิ่ ดังน้ี ความเป็นกระบวนการ การจัดการเรียนรู้ทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) ของนวตั กรรม รายงานสรปุ ผลการปฏบิ ัตงิ านของตนเอง (Self report) นายวีรเดช มะแพทย์

22 4. การปฏิบตั อิ ย่างตอ่ เนอื่ ง 1. กระบวนการจัดการเรียนรู้ สอดคลอ้ งกบั การจดั การ เรียนรทู้ างไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) กระบวนการในการจัดการเรียนรเู้ พือ่ พัฒนาคุณภาพผ้เู รียนอย่างต่อเนื่อง มลี ำดับขน้ั ตอนดังน้ี 1.การเตรยี มการ สอนการเรยี นการ สอน 4 การสอนซ่อม กระบวนการจดั การเรยี นรู้ 2.การจดั การเรยี น เสริมเพอื่ พฒั นา สอดคล้องกับการจดั การ การสอนของครู ศกั ยภาพผเู้ รยี น เรียนรทู้ างไกลผา่ น ปลายทางอย่างมี ดาวเทียม (DLTV) ประสิทธิภาพ 3.การวดั ผลและ ประเมินผล ข้นั ที่ 1 การเตรียมการสอนการเรยี นการสอน 1.1 จัดเตรยี มหอ้ งเรียนให้เหมาะสม เอื้อต่อ การเรียนการสอน 1.2 ตรวจสอบสัญญาณการแพร่ภาพการสอนของโรงเรยี นต้นทาง เพือ่ ให้สามารถ ดําเนินการจัดการ เรียนการสอนได้ 1.3 เตรยี มส่ือ อุปกรณ์ ใบงาน และเครือ่ งมือ การวดั ผลและประเมินผล ท่ีสอดคลอ้ งกบั โรงเรยี นต้น ทาง 1.4 มกี ารทาํ ความเขา้ ใจให้กับนักเรยี นในการ เรียนรกู้ บั DLTV ข้นั ท่ี 2 การจัดการเรยี นการสอนของครปู ลายทางอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 2.1 กำกบั ดูแล ช่วยเหลอื และกระต้นุ ให้ นักเรยี นมปี ฏิสมั พนั ธก์ ับกิจกรรมการเรียนที่ สอดคลอ้ งกับ โรงเรยี นตน้ ทาง 2.2 กระตุ้นให้นักเรียนจดบนั ทกึ ความรู้ หรือ เนอื้ หาทีไ่ ด้จากการเรยี นการสอนในแต่ละช่วั โมง 2.3 ร่วมกบั นักเรยี นในการสรุปความรหู้ ลังจบ บทเรียน 2.4 มีการมอบหมายงานเพอ่ื การเรียนในช่วั โมง ตอ่ ไป 2.5 ตรวจผลงาน และเสนอแนะให้นกั เรยี น ปรบั ปรุงแก้ไข 2.6 บนั ทึกผลหลงั สอน ข้ันที่ 3 การวัดผลและประเมนิ ผล 3.1 มกี ารวดั ผลกอ่ นเรียน การวัดผลระหวา่ ง เรียนและการวัดผลหลงั เรยี น 3.2 มีการวัดผลปลายปี 3.3 มีการวัดและประเมินตามสภาพจริงดว้ ย วธิ ีการทีห่ ลากหลาย รายงานสรุปผลการปฏิบัตงิ านของตนเอง (Self report) นายวีรเดช มะแพทย์

23 3.4 มีการวเิ คราะหผลการวดั และประเมนิ ผลเพ่ือนาํ ไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ และ พัฒนาการจดั การเรียน การสอน ขัน้ ที่ 4 การสอนซอ่ มเสรมิ เพื่อพัฒนาศักยภาพผเู้ รียน 4.1 วเิ คราะหข์ อ้ มูลนกั เรยี นเป็นรายบุคคล 4.2 สอนซ่อม นอกตารางออกอากาศเพ่อื ช่วยเหลือนักเรยี นทไี่ มบ่ รรลุจุดประสงค์ การเรยี นรู้ 4.3 สอนเสรมิ หรอื ให้ความรเู้ พม่ิ เติมแก่ นกั เรยี นที่มีความสามารถพเิ ศษ 4.4 บนั ทึกผลการสอนซ่อมเสรมิ 2. มีเนอ้ื หาสาระชัดเจนครอบคลมุ ประเดน็ สามารถนำไปปฏิบัตไิ ดจ้ รงิ 3. มลี ำดบั เน้อื หา เป็นขั้นตอนการปฏิบัตชิ ดั เจน ปฏิบตั อิ ยา่ งต่อเนอ่ื ง รายงานสรุปผลการปฏบิ ัตงิ านของตนเอง (Self report) นายวรี เดช มะแพทย์

24 5. มีนวตั กรรม 5.1 การออกแบบนวตั กรรมที่สอดคลอ้ งกับการจัดการเรยี นรทู้ างไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV) ในการพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา โรงเรียนทับโพธ์ิพัฒนวิทย์ สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 กำหนด กรอบแนวคิดในการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา โดยใช้ TPS Model ยุทธศาสตร์ 654 ปจั จยั ส่คู วามสำเร็จการพฒั นาคณุ ภาพการเรียนการสอนทางไกล ดว้ ย DLTV ดงั น้ี 5.2 เปา้ หมายของนวัตกรรมสอดคลอ้ งกับการจัดการเรยี นรู้ทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) โรงเรยี นมกี ารดำเนินการดงั น้ี ยทุ ธศาสตรส์ ู่ความสำเรจ็ (Key Success Factors) ปัจจยั ทนี่ ำไปสูค่ วามสำเร็จของการพัฒนา คณุ ภาพการจดั การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียม โดยใช้ยุทธศาสตร์ 6 5 4 ขบั เคล่ือนการดำเนนิ งานใน ระดับสถานศึกษา รายละเอยี ดดงั นีด้ งั นีค้ อื ครู 6 ข้อปฏิบัติ ได้แก่ 1. ครตู อ้ งจัดสภาพหอ้ งเรยี นให้เหมาะสม เอ้ือต่อการปฏิบัติกจิ กรรมตามแผนการจัดการเรยี นรู้ 2. ครูต้องเตรยี มการสอนลว่ งหนา้ ทัง้ สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ ใบงาน ใบความรู้ และกจิ กรรมเสรมิ ตามที่ คมู่ ือครูสอนทางไกลผา่ นดาวเทียมกำหนด รวมท้ังมอบหมายงานใหน้ ักเรยี น เตรยี มพรอ้ มในการเรยี นคร้งั ตอ่ ไป 3. ครตู อ้ งรว่ มจัดการเรยี นรูไ้ ปพร้อมกบั ครโู รงเรยี นตน้ ทางและตอ้ งเอาใจใส่ กำกับดแู ล แนะนำ นักเรียนใหป้ ฏบิ ตั ิกิจกรรมการเรียนทกุ ครัง้ 4. ครตู อ้ งสรุป สาระสำคญั ร่วมกับนกั เรยี นหลังจากกจิ กรรมการเรยี นรู้สิ้นสุดลงและ บนั ทึกผลการ จดั การเรียนร้หู ลังสอนทุกครั้ง 5. ครตู อ้ งวัดและประเมินผลเมื่อกิจกรรมการเรยี นรสู้ นิ้ สดุ ในแต่ละครัง้ แต่ละหนว่ ยการเรียนรู้ ทำให้ ทราบวา่ ผลการเรียนร้ขู องนักเรียนบรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้หรือไม่ เพอื่ ปรบั ปรงุ แก้ไขตอ่ ไป 6. ครตู อ้ งจัดกิจกรรมสอนซ่อมเสริมนอกตารางออกอากาศ เพือ่ ชว่ ยเหลอื นกั เรียนทไี่ มบ่ รรลุ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้หรอื ให้ความรู้เพิ่มเติมแก่นกั เรียน (ศูนย์พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาดว้ ยเทคโนโลยี การศกึ ษาทางไกล. 2559) รายงานสรปุ ผลการปฏิบตั ิงานของตนเอง (Self report) นายวีรเดช มะแพทย์

25 ผู้บริหาร 5 ข้อ ไดแ้ ก่ 1. ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาตอ้ งวางแผนการบรหิ ารจดั การอยา่ งเป็นระบบ ส่งเสรมิ สนับสนนุ การ จดั การเรยี นการสอนทางไกลผา่ น ดาวเทียมอย่างจริงจงั และอ านวยความสะดวกให้ การจัดการเรียนการสอน เปน็ ไปอย่างมีประสิทธภิ าพและต่อเนื่อง 2. ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาตอ้ งจดั หาเครอ่ื งรับสัญญาณดาวเทียมและโทรทัศนข์ นาด เหมาะสมกบั ห้องเรยี นและจำนวนนกั เรยี น ติดต้งั โทรทัศนใ์ หม้ ีความสงู เหมาะสมกบั ระดบั สายตานกั เรยี น 3. ผู้บริหารสถานศึกษาต้องจดั หาคมู่ ือครูพระราชทานการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม สำหรบั โรงเรยี นปลายทาง 4. ผบู้ ริหารสถานศึกษาตอ้ งเป็นผนู้ ำดว้ ยความมุง่ มน่ั และนำพาครทู กุ คน ทุกฝ่ายตระหนักเห็น ความสำคัญและให้ความร่วมมอื ดำเนนิ การอย่างจริงจงั ต่อเนื่อง 5. ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาต้องนิเทศ ติดตามการจัดการเรียนการสอนทกุ หอ้ งเรียนอย่างสม่ำเสมอ 4 ขอ้ พน้ื ฐาน ไดแ้ ก่ 1. สภาพแวดลอ้ มของโรงเรยี นและภายในห้องเรยี นต้องสะอาดและเปน็ ระเบยี บ 2. โทรทศั นข์ นาดเหมาะสมกับหอ้ งเรียนและจำนวนนักเรียน ตดิ ตัง้ โทรทศั น์ใหม้ ีความสูง เหมาะสม กบั ระดับสายตานักเรยี น 3. บทบาทของครตู อ้ งเอาใจใสก่ ำกับดูแลช่วยเหลือนักเรียนก่อนเรียน ระหวา่ งเรยี นและหลงั เรยี น 4. นักเรียนตอ้ งมีสว่ นรว่ มกจิ กรรมและตง้ั ใจเรียนรู้ พร้อมกับนกั เรียนโรงเรยี นไกลกังวล จากนวตั กรรม TPS Model ยทุ ธศาสตร์ 654 ปัจจัยสู่ความสำเร็จการพฒั นาคุณภาพการเรยี น การสอนทางไกล ด้วย DLTV โรงเรยี นทับโพธพิ์ ฒั นวทิ ย์สามารถนำไปพฒั นาและปรบั ปรุงใช้ในการพัฒนา นกั เรียนในสถานศกึ ษาของตนเองได้ 5.3 นวตั กรรมมปี ระสทิ ธิภาพ มคี วามสมบรู ณ์ และมคี วามแปลกใหม่ สร้างสรรค์ การดำเนนิ การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาในโรงเรียน โดยการบรหิ ารจดั การระบบการศึกษาทางไกล ผา่ นดาวเทียม(DLTV) ผู้ศกึ ษาไดศ้ กึ ษาแนวคดิ การบรหิ ารจัดการศกึ ษาโรงเรียนขนาดเล็ก แนวคิดการศึกษา ทางไกลผ่าน ดาวเทยี มนำมาดำเนนิ การตามวงจรคณุ ภาพเดมมงิ่ ดงั น้ี รายงานสรปุ ผลการปฏิบตั งิ านของตนเอง (Self report) นายวีรเดช มะแพทย์

26 รายงานการพฒั นาคุณภาพการศึกษาโรงเรยี น โดยการบริหารจัดการระบบการศึกษาทางไกลผา่ น ดาวเทียม (DLTV) มวี ัตถปุ ระสงค์เพือ่ ศึกษาสภาพการจัดการศึกษาของโรงเรยี น และเพื่อพัฒนาคุณภาพ การศึกษาของโรงเรยี นโดยการบรหิ ารจดั การระบบการศกึ ษาทางไกลผ่าน ดาวเทยี ม (DLTV) ผรู้ ายงานได้ ดำเนนิ การตามวงจรคุณภาพเดมม่ิง (Deming Cycle) ประกอบดว้ ย 4 ขั้นตอน คอื การวางแผน (Plan: P) การดำเนินการ (Do: D) การตรวจสอบ (Check: C) และการปรับปรงุ งาน (Action: A) มีรายละเอียดของ การดำเนนิ การในแต่ละขน้ั ตอน ดังนี้ ข้ันตอนท่ี 1 การวางแผน (Plan: P) ผรู้ ายงานไดศ้ กึ ษาสภาพการจัดการศึกษาของ โรงเรยี น ดว้ ย การนเิ ทศ ตรวจสอบเอกสารและการสนทนากลมุ่ PLC เพือ่ ใหไ้ ด้สารสนเทศเกีย่ วกบั สภาพปัจจบุ ัน ปญั หา และความต้องการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของโรงเรยี น และศกึ ษาเอกสารเกี่ยวกับแนวคิดการ บริหารจัด การศึกษาโรงเรยี นขนาดเล็ก เอกสารเกี่ยวกบั การจดั การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม นำมากำหนดทศิ ทางการพฒั นาคุณภาพการศึกษา ในข้ันตอนนีไ้ ดด้ ำเนินการดังน้ี 1.1 กลุม่ เป้าหมายคอื นักเรยี นโรงเรียนทบั โพธิพ์ ฒั นวิทย์ สงั กัดสำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา มัธยมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ ปีการศกึ ษา 2562 จำนวนนักเรยี น 149 คน ครผู ู้สอน 16 คน 1.2 เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในข้นั ตอนนี้ ประกอบไปดว้ ย 1.2.1 แบบสอบถามสภาพปัจจบุ นั ปญั หาและความต้องการในการพัฒนาคณุ ภาพ การศกึ ษาของโรงเรยี น มลี กั ษณะเป็นแบบเตมิ คำในช่องวา่ งและปลายเปิด มี 2 ตอน 1.2.2 แบบบนั ทกึ ผลการสนทนากลมุ่ มีลักษณะเปน็ แบบปลายเปิด จำนวน 1 ประเด็น 1.3 นำเครื่องมือไปใช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 1.4 วเิ คราะห์ขอ้ มูลนำมาสรปุ จดั ทำคมู่ ือพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาโดยใช้การศึกษา ทางไกลผา่ น ดาวเทยี ม (DLTV) ใหไ้ ด้มาตรฐาน เพือ่ นำไปใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาโรงเรียน 1.5 นำเครอ่ื งมอื พฒั นาคุณภาพการศกึ ษาโดยใช้การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ให้ได้ มาตรฐาน ไปตรวจสอบความตรงเชิงเน้อื หาโดยผู้ทรงคณุ วฒุ ิ จำนวน 5 คน และปรับปรุงแก้ไข ค่มู อื ฯ ตามคำแนะนำของผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ ขน้ั ตอนท่ี 2 การดำเนนิ การ (Do: D) 2.1 กลมุ่ เป้าหมายคือนักเรียนโรงเรยี นทับโพธพ์ิ ฒั นวิทย์ สงั กดั สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ ปกี ารศึกษา 2562 นักเรยี นจำนวน 149 คน ครผู ้สู อนจำนวน 16 คน 2.2 เตรียมการอบรมเพ่อื สรา้ งความรู้ความเขา้ ใจให้ครูผสู้ อนในโรงเรียน ในการจัดการเรียนการสอน 2.3 จดั ทำค่มู อื พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาโดยใชก้ ารศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ใหไ้ ด้ มาตรฐาน 2.4 ดำเนินการอบรมครูผ้สู อนในโรงเรียนโดยใชค้ ู่มอื พัฒนาคณุ ภาพการศึกษา โดยใช้การศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) ใหไ้ ดม้ าตรฐานเป็นแนวทางในการขับเคลอื่ น 2.5 โรงเรียนดำเนินการจดั การเรยี นการสอนโดยใชเ้ ทคโนโลยีการศกึ ษาทางไกล ผ่านดาวเทยี มตาม กระบวนการดำเนินการในคมู่ ือพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาโดยใช้การศกึ ษาทางไกล ผ่านดาวเทยี ม (DLTV) ใหไ้ ด้ มาตรฐาน ขน้ั ตอนที่ 3 การตรวจสอบ (Check: C) 3.1 กลุม่ เป้าหมายคอื นักเรียนและครผู ู้สอนโรงเรียนทบั โพธิ์พัฒนวิทย์ สงั กดั สำนักงานเขตพ้ืนที่ การศกึ ษามัธยมศกึ ษาสรุ ินทร์ ปีการศึกษา 2562 นกั เรียนจำนวน 149 คน ครูผู้สอนจำนวน 16 คน รายงานสรุปผลการปฏิบตั ิงานของตนเอง (Self report) นายวรี เดช มะแพทย์

27 3.2 เคร่อื งมือท่ีใช้ในขั้นตอนท่ี 3 ผรู้ ายงานไดส้ รา้ งและพฒั นาเคร่ืองมือในการเกบ็ รวบรวม ข้อมลู โดยศกึ ษาแนวทางการดำเนินการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม ของศูนย์พัฒนาคณุ ภาพ การศกึ ษาดว้ ยเทคโนโลยกี ารศึกษาทางไกล สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ (2559) นำยทุ ธศาสตร์ 6 5 4 ซึ่งประยกุ ตม์ าเปน็ ยุทธศาสตร์ของโรงเรยี น 654 และนำ มาตรฐานการจดั การศกึ ษา ทางไกลผ่านดาวเทยี ม ระดบั สถานศึกษา มาเป็นกรอบในการสรา้ งเคร่ืองมอื เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ตรวจสอบการดำเนนิ การท่ีเปน็ ไปตามมาตรฐาน ดังนี้ 3.2.1 แบบนิเทศติดตามการดำเนินงานของโรงเรยี นขนาดเลก็ ตามมาตรฐานและ ตวั ชีว้ ัด การพัฒนาคุณภาพการศึกษาดว้ ยเทคโนโลยกี ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) มีลักษณะเป็น แบบ ตรวจสอบรายการเพื่อประเมินมาตรฐาน 4 ดา้ น 25 ตัวชี้วดั กำหนดเกณฑ์การพิจารณาและเกณฑ์ การ ประเมิน 3.2.2 แบบบันทกึ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โรงเรยี นทจ่ี ัดการเรยี นการสอนโดยใช้ DLTV มลี กั ษณะเป็นแบบบนั ทกึ ผลการทดสอบระดบั ชาตขิ ้ันพื้นฐาน ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 6 (O-NET) 3.2.3 แบบบนั ทกึ ผลการประเมินการอา่ น คิด วเิ คราะห์ และเขียน โรงเรยี นทจ่ี ดั การ เรียน การสอนโดยใช้ DLTV มีลกั ษณะเปน็ แบบบันทึกข้อมลู ผลการประเมนิ การอา่ นคิด วิเคราะห์ และ เขยี น ช้ัน มธั ยมศึกษาปีที่ 1 – 6 3.2.4 แบบบนั ทึกผลการประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ โรงเรียนทีจ่ ัดการเรียน การ สอนโดยใช้ DLTV มีลักษณะเปน็ แบบบันทกึ ขอ้ มูลผลการประเมนิ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี 1 – 6 3.2.5 แบบรายงานผลงานทเ่ี กิดจากการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน DLTV มี ลกั ษณะ เป็นแบบสอบถามปลายเปิด มีจำนวน 4 ข้อ 3.2.6 แบบรายงานการติดตามการดำเนินงานโครงการพฒั นาคุณภาพการศึกษาด้วย เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม มีลกั ษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (checklist)และแบบตอบสั้น มีทั้งหมด 3 ตอน 3.3 นำเครอื่ งมือทสี่ รา้ งทกุ ชุดไปดำเนินการหาคุณภาพโดยให้ผู้ทรงคณุ วุฒิตรวจสอบ ความตรงเชิง เน้อื หา จำนวน 5 คน 3.4 ปรบั ปรงุ เครื่องมือตามคำแนะนำของผทู้ รงคณุ วุฒิ จดั ทำเครื่องมอื ฉบับทส่ี มบรู ณ์นำไป เก็บ รวบรวมขอ้ มลู จากกลมุ่ เป้าหมาย 3.5 วิเคราะห์ขอ้ มูล หาคา่ สถิติ และวเิ คราะหเ์ นื้อหา ขน้ั ตอนท่ี 4 การปรบั ปรุงงาน (Action: A) 4.1 กลมุ่ เป้าหมายในขั้นตอนที่ 4 มี 2 กลุ่มคอื 4.1.1 ผบู้ ริหารโรงเรียนทบั โพธ์ิพัฒนวิทย์ สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 1 คน 4.1.2 ผ้ทู รงคณุ วฒุ ใิ นการสนทนากลุ่ม จำนวน 4 คน 4.2 เคร่อื งมอื ทใ่ี ช้ในขั้นตอนน้ี โดยผูร้ ายงานต้องการตรวจสอบผลเพื่อตอ่ ยอดการ ดำเนนิ การจงึ ใช้ เครอื่ งมือเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลดังน้ี 4.2.1 แบบรายงานการถอดบทเรยี นโรงเรยี นต้นแบบ DLTV ระดบั เครอื ข่าย ทม่ี ีวธิ ีการ ปฏบิ ตั ิที่เป็นเลศิ มลี กั ษณะเป็นแบบสอบถามปลายเปิด จำนวน 9 ข้อ รายงานสรปุ ผลการปฏิบตั งิ านของตนเอง (Self report) นายวีรเดช มะแพทย์

28 4.2.2 แบบบนั ทึกการสนทนากลมุ่ (focus group) ประกอบไปดว้ ยประเดน็ คำถามหลกั จำนวน 1 ประเดน็ 4.3 เกบ็ รวบรวมข้อมลู ตามแบบรายงานและจากการสนทนากลมุ่ ของผูบ้ รหิ ารโรงเรยี น จำนวน 1 โรงเรยี น 4.4 วเิ คราะหข์ อ้ มูล ขอ้ มูลเชิงปริมาณหาค่าสถิติ และข้อมลู เชงิ คุณภาพนำมาวเิ คราะหเ์ นอื้ หา 6. คุณลักษณะของนวตั กรรม 1. มรี ปู แบบนวตั กรรมถกู ต้อง ครบถ้วนตามกระบวนการจัดการเรยี นร้ทู างไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) รปู แบบทใี่ ช้ในการจดั การเรียนการสอนโดยใช้ DLTV 1.1 ใช้ตามรปู แบบของโรงเรยี นต้นทางทกุ วชิ า ทกุ ระดบั ชนั้ จดั กจิ กรรมการเรยี นรูต้ ามคู่มอื โรงเรียนวังไกล กังวล 1.2 ใช้ตามรปู แบบของโรงเรียนตน้ ทางในบางวชิ า ในบางช้ันเทา่ นั้น 1.3 ใช้สอนเสริมในบางวชิ าเท่านั้น เชน่ คณิตศาสตร์ ภาษาไทย และวิทยาศาสตร์ 1.4 ครูประจำชั้นใช้สอนเฉพาะวิชาท่ีตนเองไม่ถนดั ในบางวิชา 1.5 มกี ารพฒั นาและ นำรปู แบบการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนมาประยุกต์ใชเ้ พ่มิ เติมนอกเหนือจาก กิจกรรมของโรงเรียนตน้ ทางเชน่ กจิ กรรม Active Learning, กิจกรรม Brain Based Learning และ PLC 1.6 โรงเรยี นมีวางแผนการบรหิ ารจัดการเพือ่ ใหก้ ารนา DLTV มาใชใ้ ห้เกิดประสิทธภิ าพ สงู สุด เช่น นำ วงจรคณุ ภาพ PDCA การบริหารแบบรว่ มมือ และการนำ DLIT มาใชร้ ว่ มกบั DLTV 1.7 โรงเรยี นมีการพฒั นานวัตกรรมใหม่ ๆ มาใช้ในโรงเรยี นเพือ่ เพิ่มประสิทธิภาพการนา DLTV มาใช้ให้ ไดผ้ ลเป็นรปู ธรรมมากย่งิ ขน้ึ 1.8 ผลการติดตามการดำเนินงานโครงการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาดว้ ยเทคโนโลยกี ารศกึ ษา ทางไกลผ่าน ดาวเทยี ม 1. นวัตกรรมมีความสอดคลอ้ งกบั ความรคู้ วามสามารถ ประสบการณ์ วุฒิการศึกษา และการปฏบิ ัติงาน ตามหน้าท่ี ครผู ูส้ อนจะตดิ ต่อสอ่ื สารกนั กบั ผเู้ รียน เพื่อแนะนำและควบคุมการเปิดเข้า เรยี นตามชอ่ งรายการDLTV ตลอดท้ัง มอบหมายงานตามครตู ้นทางโดยเฉพาะ ในระดับชนั้ มัธยมศึกษาตอนปลาย สว่ นใหญ่จะเน้นการเข้าเรียนย้อนหลัง ครูผู้สอนจะเข้าไปศกึ ษากอ่ นจะนำมา แจง้ นักเรยี นใหส้ อดคล้องกนั ระหว่าง โรงเรียนตน้ ทางกบั ปลายทาง รายงานสรปุ ผลการปฏิบตั ิงานของตนเอง (Self report) นายวรี เดช มะแพทย์

29 ครผู ู้รับผิดชอบเวรประจำวันพุธ กจิ กรรมขยายผลการจากการพัฒนาตนเอง นำนกั เรยี นเข้ารับรางวัลเยาวชนดเี ด่นแหง่ ชาติ กจิ กรรมเปดิ บ้านวิชาการทบั โพธน์ิ ิทรรศ กจิ กรรมนำนักเรียนเขา้ รับรางวัล รว่ มจัดกจิ กรรมเปิดบา้ นวิชาการทบั โพธิ์ พระราชทานเยาวขนดีเดน่ แห่งชาติ นทิ รรศ ประจำปี 61 กลุม่ สาระการเรียนรู้ รว่ มกจิ กรรมถวายพระพรฯ ระดับอำเภอ กิจกรรมสอบธรรมศึกษาสนามหลวง รายงานสรปุ ผลการปฏบิ ตั ิงานของตนเอง (Self report) นายวรี เดช มะแพทย์

30 วทิ ยากรให้การอบรมแกเ่ ยาวชน เปน็ ตวั แทนของโรงเรยี นเขา้ ประกวด กิจกรรมร้เู ท่าทนั สอ่ื ออนไลน์ BEST PRACTIES ระดับเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา กิจกรรมหอ้ งเรยี นสขี าว กิจกรรมทำบญุ ตักบาตร กจิ กรรมลูกเสือโรงเรยี นทับโพธพิ์ ฒั นวทิ ย์ กจิ กรรมทำ MOU การจดั การเรียนรู้กบั โรงเรียน ประเทศกมั พชู า รายงานสรปุ ผลการปฏิบตั งิ านของตนเอง (Self report) นายวีรเดช มะแพทย์

31 3.รปู แบบการจัดพิมพ์ จัดเล่มนวัตกรรม การนำเสนอน่าสนใจ และการเรยี งลำดบั อย่างเปน็ ขน้ั เป็นตอน 7. คุณภาพขององค์ประกอบในนวตั กรรม 1. ความสมบรู ณ์ในเนื้อหารสาระของนวัตกรรม ครบถว้ น ตามกระบวนการ การจดั การเรียนรูท้ างไกล ผา่ นดาวเทียม (DLTV) การบรหิ ารจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ระดับสำนกั งานเขตพื้นที่ การศึกษา และสถานศกึ ษา การบริหารจัดการศกึ ษาทางไกล มรี ปู แบบการบรหิ ารจดั การทปี่ ระสบความสำเร็จในการ ยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ช่วยแกป้ ญั หาการขาดแคลนครูที่สอนไม่ตรงกับ วชิ าทต่ี นเองถนดั หรือเชีย่ วชาญของโรงเรยี นขนาดเลก็ ไดด้ ำเนินพฒั นาคุณภาพการศึกษาการศกึ ษา โดยใชก้ ารศกึ ษาทางไกล ผ่านดาวเทียม (DLTV) จนประสบความสำเร็จ ดังแผนภาพท่ี 1 ต่อไปน้ี ภาพที่ 1 แผนผงั การบรหิ ารจดั การการศกึ ษาดว้ ยเทคโนโลยกี ารศกึ ษาทางไกลระดับสถานศกึ ษา รายงานสรปุ ผลการปฏบิ ตั ิงานของตนเอง (Self report) นายวีรเดช มะแพทย์

32 2. วตั ถุประสงค์เปา้ หมายของนวัตกรรมสอดคล้องกับการจดั การเรยี นรูท้ างไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV) 1. เพื่อให้การนิเทศ กำกับ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาของโรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ มี ประสทิ ธิภาพ 2. เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนทบั โพธิ์พฒั นวิทย์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศกึ ษาสุรนิ ทร์ โดย TPS Model ยุทธศาสตร์ 654 ปจั จยั ส่คู วามสำเร็จการพฒั นาคุณภาพการเรียนการ สอนทางไกล ดว้ ย DLTV 3. ความถกู ต้องตามหลักวิชาการ นวตั กรรมมกี ารพฒั นาและดาเนนิ การดงั น้ี ขัน้ ตอน กจิ กรรมท่ดี ำเนินการ ข้นั เตรียมการ 1. ศกึ ษาแนวทางการจดั การเรียนรทู้ างไกลและตัวชีว้ ดั มาตรฐานการ ขน้ั ดำเนินการ เรียนรแู้ ละสาระการเรยี นรูท้ ีเ่ กยี่ วข้องเพ่อื กำหนดจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ขั้นประเมินผล วิเคราะหเ์ นื้อหา วิเคราะหแ์ ละจดั ลำดับเนอ้ื หายอ่ ย จดั ลำดบั ของ จดุ ประสงค์การเรียนร้ตู ามลำดับ มีการกำหนดภารกจิ ของผเู้ รยี นใน กระบวนการเรียนรู้ (Task) ท่ีสอดคลอ้ งกับจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 2. ศกึ ษาคน้ ควา้ แนวคดิ หรือทฤษฎีที่เก่ียวข้อง เช่นเทคนิคการสอน คู่มือ การจดั การเรยี นรู้ทางไกล การจดั การเรียนรู้ ใบงาน ใบกิจกรรมการ เรียนรู้ 3. การเขยี นเคา้ โครงการพฒั นาและนำนวัตกรรมไปใช้ เปน็ การวางแผน ทำงานอยา่ งเป็นระบบยงิ่ ขนึ้ 4. ลงมอื สรา้ งและหาประสิทธภิ าพของนวตั กรรม 1. นำไปใชป้ ระกอบการสอนของครู 2. ใชจ้ ัดการเรยี นรแู้ บบศูนยก์ ารเรยี น 3. ใหน้ ักเรยี นศึกษาด้วยตนเอง 4. ใช้สอนซอ่ มเสรมิ ฯลฯ 1. สอบวัดความรู้ความเข้าใจตามจุดประสงค์การเรียนรู้ ตวั ชว้ี ดั และ มาตรฐานการเรยี นรทู้ ่กี ำหนด 2. ประเมนิ เจตคติหรอื ความพงึ พอใจต่อการเรยี นดว้ ยนวัตกรรม 8. การออกแบบนวตั กรรม 1. ใชแ้ นวคิดกระบวนการ การจดั การเรียนรู้ทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) มาสงั เคราะหบ์ รู ณาการ และนำเสนอ องคค์ วามรูอ้ ย่างสมเหตุสมผล ในการพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษา โรงเรียนทับโพธ์ิพัฒนวิทย์ สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา มัธยมศึกษาสุรินทร์ กำหนด กรอบแนวคดิ ในการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา โดยใช้ PTS Model ยทุ ธศาสตร์ 6-5-4 ปจั จยั สคู่ วามสำเร็จการพฒั นาคณุ ภาพการเรียนการสอนทางไกล ด้วย DLTV ดังนี้ รายงานสรปุ ผลการปฏบิ ัตงิ านของตนเอง (Self report) นายวีรเดช มะแพทย์

33 2. กรอบแนวคดิ ในการพฒั นานวตั กรรม เปน็ ไปไดใ้ นการพัฒนาใหเ้ กิดสมั ฤทธผิ์ ล การจดั การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม สืบเนื่องจากการผสมผสานเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีโทรคมนาคมก่อใหเ้ กิด เทคโนโลยี สารสนเทศทางด่วนข้อมูลสารสนเทศ (Information Superhighway) ซึ่งเป็นขอ้ มลู สารสนเทศที่มีปริมาณ มาก และภาวการณ์ขยายตัวอย่างรวดเร็วของประชากรทำให้สถาบันการศึกษาต่าง ๆ ต้องขยายพ้ืนที่การจดั การศึกษาเพิม่ มากข้ึนเพือ่ ตอบสนองต่อการเรียนรู้ ของคนในปัจจบุ ันท่ี ไม่มีขดี จำกัดเหมอื นในอดตี ที่ผ่านมา การศึกษาทางไกลจึงเปน็ นวัตกรรมทางการศึกษาหนึ่งท่ี ตอบสนองความต้องการของสังคมปัจจุบนั เป็นการ เปดิ โอกาสทางการศึกษาไปสปู่ ระชาชนทกุ กลุม่ อย่างทัว่ ถึงกอ่ ให้เกดิ การศึกษาตลอดชวี ิตอย่างกว้างขวาง 1. แนวคดิ เก่ียวกบั การจดั การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในปจั จบุ ันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมี ความก้าวหน้าเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วท้ัง ความเจริญด้านวิทยาการ ด้านการสื่อสารโทรคมนาคม การส่ง สญั ญาณทั้งภาพและเสยี ง สารสนเทศทีม่ อี ำนาจ และขอบข่ายกวา้ งขวาง ครอบคลมุ ทุกพ้นื ทข่ี องโลก ข้อมูล สารสนเทศ สามารถส่งต่อเชื่อมโยงกันได้อย่างรวดเร็ว และมีปริมาณครั้งละมาก ๆ ไม่ว่าจะเกิดเหตุการณ์ ปรากฏการณ์ใดขึ้นในโลกก็สามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารและภาพไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว ความเปลี่ยนแปลง ดังกล่าว ก่อให้เกิดการเชื่อมโยงกันทุกมิติ ทุกภาคส่วนของโลก ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนวิถีชีวิตของสังคมโลกก็เปลี่ยนไปด้วย การศึกษาไม่ได้จำกัดแต่เพียงในห้อง สี่เหลี่ยมเท่านั้น ด้วย อิทธิพลของวิทยาการด้านดาวเทียม ที่สามารถส่งข้อมูลข่าวสารพร้อมภาพและ เสียงไปยังสถานี ต่าง ๆ ท่ัว ภูมิภาคได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ จึงเกิดแนวคิดการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ถ่ายทอด สัญญาณจากโรงเรยี นต้นทางไปยังโรงเรียนปลายทาง เพื่อตอบสนอง ต่อความด้อยโอกาสและความไม่เสมอ ภาคของนกั เรียนและบุคคลทอี่ ยหู่ า่ งไกล การศึกษาทางไกล(Distance Learning) นับเป็นนวัตกรรมการศึกษาในรูปแบบของการศึกษา ทางไกล หรือการศึกษาไร้พรมแดน ที่เป็นผลสืบเนื่องจากการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี การผสมผสาน เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีโทรคมนาคมที่ก่อให้เกิดเทคโนโลยีสารสนเทศ และภาวการณ์ขยาย ตัวอย่างรวดเร็วของประชากร ทำใหส้ ถาบนั การศึกษาต่าง ๆ ต้องขยายพื้นทก่ี ารจดั การศกึ ษาเพ่ิมมากข้ึนเพ่ือ ตอบสนองต่อการเรียนรู้ของคนในปัจจุบันที่ไม่มีขีดจำกัดเหมือนในอดีตที่ผ่านมา การศึกษาทางไกลเป็น นวัตกรรมทางการศึกษาทเี่ กดิ ขน้ึ ในสมยั ศตวรรษที่ 21 เพ่อื สนองความต้องการของสังคมปจั จบุ นั ซ่งึ เป็นสังคม ข้อมูลข่าวสารหรือสังคมแห่งการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม เป็นการเปิดโอกาสทางการศึกษาไปสู่บุคคล รายงานสรปุ ผลการปฏบิ ตั ิงานของตนเอง (Self report) นายวรี เดช มะแพทย์

34 กลุ่มตา่ ง ๆ อยา่ งท่ัวถึง ทำใหเ้ กิด การศกึ ษาตลอดชวี ติ ที่บุคคลสามารถนำไปใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพชีวิตของ ตนเองได้อย่างต่อเนอื่ ง ซ่ึงมีผู้กล่าวถงึ แนวคดิ การจดั การศกึ ษาทางไกล ดังน้ี ขวัญแกว้ วัชโรทยั (2549 : 17) กล่าวว่าการศึกษาของประเทศไทยในอนาคตจะตอ้ งมี ความสมั พันธเ์ ก่ียวโยงกับการศกึ ษาในระดบั นานาชาตโิ ดยผา่ นทางเทคโนโลยีสมัยใหม่และจะเป็นหัวใจสำคัญ ในการจดั การศกึ ษาให้แกป่ ระชาชนด้วยเหตผุ ลสำคัญ 3 ประการคือ ประการแรกเปน็ การใหโ้ อกาสทางการ ศึกษาที่เท่าเทยี มกันแก่ชนทกุ หมทู่ ุกเหล่าทกุ เพศวยั สถานภาพและสภาพรา่ งกายประการทส่ี อง อำนวยความ สะดวกทัง้ ในแง่ของเวลาและสถานท่กี ล่าวคอื ประชาชนสามารถทีจ่ ะเรยี นรไู้ ดไ้ ม่ว่าจะอยู่ในสถานทใี่ ดและเวลา ใดเพราะการศกึ ษาน้ันมไิ ดถ้ กู จำกัดอย่เู พยี งแต่ในห้องเรียนและประการสุดท้าย การศึกษาทางไกลผา่ น ดาวเทยี มมคี วามคมุ้ ค่ามากกวา่ เมอื่ เปรียบเทียบ กบั การที่ต้องก่อสรา้ งโรงเรียนสกั แหง่ และคา่ จา้ งบุคลากร ผูส้ อน มูลนธิ กิ ารศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม มุ่งม่ันที่จะใชป้ ระโยชนจ์ ากเทคโนโลยี ให้สนองตอบต่อการ สร้างโอกาสการเรยี นรู้ตลอดชีวติ ในการถ่ายทอดความรู้ ความถนดั ทางเทคนคิ การทำมาหากนิ จริยธรรมและ พฒั นาการทางดา้ นจิตใจโดย มุ่งสนองตอบต่อความตอ้ งการของผคู้ นสงั คมชุมชนโดยเฉพาะในทอ้ งถิ่น ทุรกนั ดาร กล่มุ ผู้ด้อยโอกาสอย่างคมุ้ คา่ ดิษฐล์ ดา ปนั คำมา (2551 : 23) กล่าววา่ การศกึ ษาทางไกลเปน็ การศึกษาที่เอ้อื อำนวยให้ ผู้เรยี นได้ เรยี นตามความตอ้ งการ โดยไม่จำเป็นตอ้ งเขา้ ชัน้ เรียน แต่อาศัยการสอื่ สารผ่านสื่อการสอน เชน่ ส่ือสง่ิ พิมพ์ โทรทศั น์อปุ กรณก์ ารส่ือสารต่าง ๆ ผ้เู รียนสามารถเรยี นรู้ไดต้ ลอดเวลา ประสาท วนั ทนะ (2552 : 8) กลา่ วถงึ แนวคิดการจัดการศกึ ษาทางไกลวา่ การจดั การศกึ ษาทางไกล น้นั เปน็ การนำเอาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ใหเ้ กิดประโยชนใ์ นการ จดั การศึกษา ทำให้คนที่ ดอ้ ยโอกาสทางการศกึ ษาท่อี ยู่ห่างไกลไดม้ โี อกาสเรยี นรแู้ ละรบั ความรูใ้ หม่ ๆ ไดพ้ ร้อมกันกบั สว่ นกลางหรอื แหล่งทีม่ ีความเจรญิ จงึ นับวา่ เป็นการสรา้ งความเสมอภาคทางการศึกษาให้เกิดขึ้น สรุปไดว้ า่ การจดั การศกึ ษาทางไกลเปน็ การศกึ ษาผา่ นเทคโนโลยีที่ใหโ้ อกาสและความเสมอภาคในการ เรียนรู้ ที่ผูเ้ รยี นสามารถเรยี นูร้ไดท้ กุ ที่ ทุกเวลา มีความคมุ้ ค่าและตอบสนองการเรียนรู้ ตลอดชวี ติ 2. ทฤษฏแี ละหลกั การจัดการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม การจดั การศึกษาทางไกลเกดิ จากการทร่ี ะบบการศึกษาในระบบไม่สามารถตอบสนองตอ่ ความต้องการ ของมนุษย์ท่อี ย่หู า่ งไกลจากห้องเรยี นได้ ทัง้ ที่มีอายุ สภาพร่างกาย เวลา ที่ไม่สามารถมานัง่ เรยี นในห้องเรยี น ปกตริ ว่ มกับครูผู้สอนได้ กอปรกบั วิวฒั นาการด้านเทคโนโลยีการ สอ่ื สารมีความเจรญิ ก้าวหนา้ การ ติดตอ่ ส่ือสารถงึ กนั ระหวา่ งคนทอี่ ยู่ต่างสถานที่กนั สามารถส่ือสาร กันได้อยา่ งรวดเรว็ ไมม่ ขี อ้ จำกดั และการให้ ความสำคัญของรัฐท่จี ะต้องจดั การศึกษา ให้แก่ประชาชนตามหลักสทิ ธิมนุษยชนเพอ่ื ให้ประชาชนสามารถ แสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเองตลอดชีวิต ตามความจำเป็นตอ้ งการของแต่ละบุคคล เพื่อพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต ความเป็นอยู่ทส่ี ามารถดำรงตนอยู่ ได้อย่างปกติสุขตามฐานานุรปู ทฤษฎี และหลักการจัดการศึกษาทางไกล ไดม้ นี ักการศึกษาหลายทา่ นได้กล่าวถึงทฤษฎีและหลกั การการจัดการศึกษาทางไกลไว้ ดงั นี้ พระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพม่ิ เตมิ พ.ศ. 2545 หมวด 9 ว่าด้วยเทคโนโลยี การศึกษา มาตรา 63 รัฐต้องจดั สรรคล่นื ความถี่ สอื่ ตวั นำและโครงสรา้ งพืน้ ฐาน อ่ืนท่ีจำเปน็ ต่อการสง่ วทิ ยกุ ระจายเสยี งวิทยโุ ทรทศั น์ วิทยุโทรคมนาคม และการสอ่ื สารในรปู แบบอืน่ เพือ่ ใชป้ ระโยชนส์ ำหรับ การศึกษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั การทะนุบำรุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ตามความจำเปน็ มวั ร์ (Moore. 1996: 19) ได้พัฒนาทฤษฎกี ารเรียนการสอนอย่างเป็นอิสระข้นึ มาทฤษฎี หน่งึ ซึ่งประกอบดว้ ย 2 มติ ิ คือการจัดการเรียนทางไกลและการเรียนรดู้ ว้ ยตนเองของผเู้ รียน มิติ แรกนน้ั อาจจะรวมความไปถึงการอยู่หา่ งไกลกนั ทางกายภาพและทางภูมิศาสตรร์ ะหว่างผูส้ อน และผูเ้ รียนภายใต้ รายงานสรปุ ผลการปฏิบตั งิ านของตนเอง (Self report) นายวรี เดช มะแพทย์

35 สถานการณ์ของส่ิงแวดลอ้ มทแี่ ยกบคุ คลทง้ั สองออกจากกันและมกี ิจกรรมการเรยี นการ สอนอย่างเป็นพเิ ศษ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งก่อให้เกดิ ชอ่ งว่างทางจิตวิทยาและการส่อื สาร แม้จะเกิดความไมเ่ ข้าใจกันระหว่างผสู้ อนและ ผู้เรียนในเน้อื หาทีเ่ รียนนน้ั นอกจากน้ียงั เชื่อว่าเราสามารถประยกุ ต์ การศกึ ษาทางไกลเข้ากับการเรียนการ สอนแบบดั้งเดมิ ได้เพียงแต่วิธีคดิ และวิธปี ฏิบัตเิ ท่าน้นั ที่ จำเป็นต้องกำหนดใหช้ ัดเจน อีกมติ หิ นึ่งคือการเรยี นรู้ ด้วยตนเอง (Autonomous Learning) ของผ้เู รียนนนั้ ย่อมข้นึ อยกู่ บั ระดับของวุฒภิ าวะของบุคคลแตล่ ะคน ในการที่จะขวนขวายเพื่อการเรยี นรู้ ซง่ึ ทฤษฎีการจัดการศึกษาทางไกลและการเรียนรดู้ ว้ ยตนเองของผ้เู รยี นมี หลกั การสำคัญ ดังนี้ คอื 1) โครงสร้างของการจัดโปรแกรมการเรยี นการสอน 2) การเรยี นรูด้ ้วยตนเองของ ผเู้ รียน 3) การอยู่ห่างไกลกันทางกายภาพระหวา่ งผสู้ อนและผ้เู รียนการเรยี นการสอนทางไกลท่ปี ระยกุ ตเ์ ข้า กบั การ เรียนการสอนแบบดง้ั เดิมได้ โฮลม์ เบริ ก์ (Holmberg. 1977 : 32) กลา่ ววา่ การให้ความสำคัญของการมีปฏสิ มั พนั ธ์กันระหวา่ ง บุคคล (Interpersonalization) วา่ เป็นส่งิ จำเป็นเบ้ืองต้นต่อการกระตุ้นแก่ผเู้ รียน และการเรยี นรซู้ ่ึงในเรื่อง การศึกษาทางไกลน้ันสามารถดำเนินการไดแ้ มว้ ่าจะมกี ารสือ่ สารที่หา่ งไกลจากกนั และกนั และไม่เผชิญหนา้ กนั กต็ ามผเู้ รยี นรายบุคคลมอี สิ ระและเสรีภาพในการเรยี นรู้ เป็นส่ิงจำเปน็ สำหรับแนวคิดการศึกษาทางไกล โดยเฉพาะประเด็นท่วี า่ กิจกรรมการเรียนร้ขู องแตล่ ะบุคคลเกดิ ขนึ้ ไดจ้ ากความตัง้ ใจท่ีเกดิ ขึ้นจากจิตใจของ บุคคลอย่างจรงิ จัง (Internalization Process) การสง่ เสริมการเรยี นรใู้ นลักษณะน้ีจึงเปน็ การเปดิ โอกาสให้ ผู้เรียนไดเ้ รียนรู้อย่างอสิ ระ โดยมหี ลกั การศกึ ษา ทางไกลมีดังน้ี 1. การส่ือสารทางไกลอาศยั การสอ่ื สารที่ไมเ่ ผชิญหน้ากันระหว่างผ้สู อนและผู้เรยี น 2. ผู้เรียนกบั ผู้สอนตดิ ต่อสือ่ สารกนั ไดผ้ า่ นสือ่ สงิ่ พิมพ์ สือ่ เทคโนโลยี หรือส่ืออ่ืนๆ 3. มนษุ ยสมั พนั ธแ์ ละการสร้างแรงกระตุ้นยังจำเปน็ สำหรับผเู้ รียน เช่นเดยี วกบั การให้ ความสำคัญแก่ ผเู้ รยี นรายบคุ คล เสรีภาพในการเรียนรคู้ วามตงั้ ใจท่ีเกิดจากความรูส้ กึ ภายในของ ผเู้ รียน และความยืดหยนุ่ ของกระบวนการเรียนการสอน เจมส์ (James. 2004: 5) ไดก้ ล่าวถึงการศึกษาทางไกลวา่ เปน็ การเขา้ ถึงและ สร้างความ เท่าเทยี มกันของคนในสงั คมทม่ี ีความแตกตา่ งกนั ของประชากรท่ีไม่สามารถเขา้ ถงึ ระบบการศกึ ษา แบบปกติมี 5 กลมุ่ ดังนี้ กลมุ่ แรกพวกทถ่ี กู ปฏิเสธโดยโรงเรียนปกติ กล่มุ ท่ีสองกลมุ่ ประชากรที่ยากจน กลุม่ ทสี่ ามกล่มุ คนที่อยู่ในระบบอุตสาหกรรม กลุ่มทีส่ ่กี ลมุ่ คนทถี่ ูกคุมขงั และกลมุ่ สุดท้าย กลุ่มคนท่ีอาศยั อยู่ ห่างไกลจากสถานศกึ ษา สรปุ ได้ว่า ทฤษฎีและหลักการจัดการศึกษาทางไกล เกิดจากความเจรญิ ทางเทคโนโลยีท่ีสามารถส่ง ถา่ ยขอ้ มลู ที่จัดเก็บทัง้ ภาพและเสยี ง จากสถานทห่ี น่ึงไปยงั อีกสถานท่หี น่ึงซึ่งอยู่ห่างไกลกนั ตอบสนองตอ่ ความต้องการเรยี นรูข้ องบุคคลทุกอาชีพโดยไมม่ ีข้อจำกัด โดยผเู้ รยี นสามารถศึกษาได้ ดว้ ยตนเองจากสอื่ ทัศนูปกรณ์ สื่ออนิ เทอรเ์ นต็ ส่ือประสมอนื่ ๆ ให้เหมาะสมกบั ตนเอง เป็นการสรา้ งโอกาสและความเท่าเทียม กนั ทางการศึกษา 3. ความหมายของการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม การจัดการศกึ ษาทางไกลเป็นนวัตกรรมทางการศกึ ษาทีเ่ กิดข้นึ เพือ่ ตอบสนองความต้องการ ของระบบ การศึกษาในปัจจุบัน ซึ่งเปน็ ยคุ ของเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร รวมถงึ เป็น สงั คมแห่งการเรียนรู้ หรอื สงั คมฐานความรู้ ซ่ึงทุกคนสามารถเขา้ ถึงได้งา่ ย นอกจากน้ียังเป็นการลดช่องวา่ งและเปน็ การเปดิ โอกาส ทางการศกึ ษาให้กับทกุ คนให้ไดร้ บั การศกึ ษาอยา่ งเสมอภาค ได้มีผู้ใหค้ วามหมายของการศึกษาทางไกลไว้ มากมายทัง้ นักการศึกษาในประเทศไทยและต่างประเทศ ดงั นี้ กดิ านนั ท์ มลทิ อง (2543 : 173) กลา่ วว่าการศึกษาทางไกลหมายถึง ระบบการศกึ ษาที่ ผ้เู รียนและ ผสู้ อนอย่ไู กลกนั แต่สามารถทำใหเ้ กิดการเรียนร้ไู ด้โดยอาศยั สอ่ื การสอนในลกั ษณะของสอ่ื ประสมโดยการใช้ รายงานสรุปผลการปฏิบตั ิงานของตนเอง (Self report) นายวีรเดช มะแพทย์

36 สอ่ื ตา่ ง ๆ ร่วมกัน อาทเิ ช่น ตำราเรียน เทปเสยี งแผนภมู ิ คอมพิวเตอร์ หรอื โดย การใชอ้ ปุ กรณ์ โทรคมนาคมและสอื่ มวลชน ประเภทวิทยุโทรทัศน์ เข้ามาช่วยในการแพรก่ ระจาย การศกึ ษาไปยงั ผู้ท่ี ปรารถนาจะเรยี นรูไ้ ดอ้ ย่างกวา้ งขวางท่วั ทุกท้องถิน่ การศึกษา สุรนนั ท์ ศภุ วรรณกิจ (2546 : 7) ได้กลา่ วไวว้ า่ การศกึ ษาทางไกล เป็นอกี รปู แบบของการ เรียนการ สอนที่สามารถเขา้ ถึงกลุม่ เป้าหมายได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพโดยเฉพาะในพืน้ ท่ีหา่ งไกล หรือ ขาดแคลนบุคลากร ผสู้ อน ผสู้ อนจะถา่ ยทอดวชิ าสง่ ผ่านส่อื ในรูปแบบตา่ ง ๆ เชน่ ทางโทรทัศน์เพื่อ การศึกษา วิทยซุ ดี ีรอม เทป รายวิชาต่าง ๆ แม้แตห่ นงั สือประกอบการเรยี นไปยงั ผเู้ รยี น เป็นการเรียนการสอนรบั ส่งดา้ นเดยี วไมม่ กี ารปฎิ สมั พันธ์กนั ระหวา่ งผสู้ อนกับผู้เรยี น จรรยา พลสมัคร (2549 : 24) กลา่ วว่าการศกึ ษาทางไกลหมายถึง การจัดการศึกษาทไี่ มไ่ ดอ้ ยู่ในชน้ั เรยี น อีกทงั้ ผู้เรยี นและผ้สู อนไมไ่ ดพ้ บกนั โดยตรง แต่สามารถทำใหเ้ กิดการเรยี นรู้ โดยอาศัยสอ่ื ประสมและ เทคโนโลยตี ่าง ๆ เชน่ ส่ือส่งิ พิมพ์ วทิ ยุกระจายเสยี ง วทิ ยโุ ทรทัศน์ วีดทิ ัศน์ คอมพวิ เตอร์ ส่อื ทางไปรษณีย์ เทปเสียง หรอื อื่น ๆ ผู้เรียนจะได้เรียนร้ดู ว้ ยตนเอง ได้ พบปะกับกลุม่ และครูผ้สู อนบา้ งในบางครั้ง ซงึ่ จะ เปน็ การพบปะเพื่อทบทวน และซกั ถามประเด็น ปญั หาที่เรยี นดว้ ยตนเองไม่เข้าใจ เกษศิรนิ ทร์ พลจนั ทร์ (2554 : 34) กลา่ ววา่ การศกึ ษาทางไกลหมายถึงการศกึ ษาระบบเปิด มีการ เรียนทง้ั ในระบบและนอกระบบควบคกู่ นั ไปเป็นการจัดการเรียนการสอนที่พยายามให้ถงึ ตัวผูเ้ รยี นมากท่ีสุด เป็นระบบการเรยี นการสอนทเี่ ออ้ื อำนวยให้ผ้เู รยี นสามารถใชเ้ วลาว่างศกึ ษาด้วย ตนเองโดยไม่ตอ้ งเข้าช้นั เรยี น ตามปกติ ไม่จำเป็นต้องมีเวลาเรียนประจำถึงแม้ว่าผู้เรยี นและผู้สอนจะอยู่หา่ งไกลกนั ก็ตามแต่กส็ ามารถทำ กจิ กรรมรว่ มกันได้โดยอาศัยสอื่ การสอนหลายประเภท เชน่ ตำราเรียน สง่ิ พิมพ์ เทปบันทกึ เสยี ง ส่ือมวลชน และอุปกรณ์โทรคมนาคมประเภทต่าง ๆ เปน็ การให้ผู้เรียนไต้เรยี นรู้ด้วยตนเองให้มากท่ีสุด ไกรมส์ (Grimes. 1993 : 6 - 8) ไดใ้ หค้ วามหมายวา่ การศึกษาทางไกลเป็นแนวทางทกุ ๆ แนวทางของการ เรยี นร้จู ากหลักสตู รการเรียนการสอนปกติทีเ่ กิดข้ึน แตใ่ นกระบวนการเรยี นรนู้ ี้ ผสู้ อนและผ้เู รยี นอยู่คนละ สถานท่ีกัน เปน็ การนำบทเรียนไปสผู่ ู้เรยี นโดยใช้เทคโนโลยมี ากกว่าท่ีจะใช้ เทคโนโลยนี ำผเู้ รยี นเขา้ สู่บทเรียน สรปุ ได้ว่า การศกึ ษาทางไกลเป็นการจัดการศึกษาผ่านกระบวนการเรียนรทู้ ่ผี ู้สอนและ ผู้เรียนอยูค่ น ละสถานทีก่ นั โดยอาศัยสอ่ื ประสมและเทคโนโลยี เปน็ ระบบการเรียนการสอนท่ี เอ้ืออำนวยให้ผู้เรยี นสามารถ ใชเ้ วลาว่างศกึ ษาดว้ ยตนเองไดท้ ุกที่ทุกเวลา สามารถจดั ได้ทั้งในระบบ และนอกระบบควบคู่กัน และเข้าถงึ กลุ่มเปา้ หมายไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพโดยเฉพาะในพืน้ ท่ีหา่ งไกล หรือขาดแคลนบุคลากรผู้สอน 4. รปู แบบการจัดการศึกษาทางไกลดาวเทยี ม การจดั การศึกษาทางไกล เป็นการจดั การศกึ ษาอกี รูปแบบหนงึ่ ทก่ี ำลังแพร่หลายในยคุ แหง่ เทคโนโลยี ก้าวหน้า ซึ่งมีหลายรูปแบบที่ใช้การส่งสื่อการเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์ ไปยังผู้เรียน ซึ่งในประเทศไทยมี พฒั นาการจากอดตี จนถงึ ปจั จุบนั ดังนี้ กรมการศกึ ษานอกโรงเรียน (2542 : 37) จากอดีตท่ีผ่านมารัฐบาลทุก รัฐบาลต่างก็ให้ ความสำคัญของการให้การศึกษาแก่ประชาชนของตนทั้งการศึกษาในระบบ และการศึกษา นอกระบบ อย่างต่อเนื่องซึ่งได้พัฒนารูปแบบการให้การศึกษามาเป็นลำดับดังนี้ เดิมทีการศึกษาของไทย เริ่มต้นที่วัดโดยมีพระภิกษุสงฆ์เป็นผู้จัดการเรียนการสอน ต่อมารัฐได้ให้การศึกษาแก่ประชาชนที่เริ่มเป็น ระบบโดยเริม่ ตั้งแต่เปิดโรงเรียนสอนเยาวชนเป็นแห่งแรกที่โรงเรียนวัดมหรรณพาราม การจัดการศึกษาของ ไทยได้พัฒนามาเป็นลำดับมีการประกาศใช้แผนการศึกษาแห่งชาติ การจัดทำหลักสูตร ตลอดถึงการจัดตั้ง หน่วยงานของรัฐให้รับผิดชอบต่อการจัดการศึกษาของชาติ ต่อมาในยุคโลกาภิวัตน์ ความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีทำให้การศึกษาของชาติต้องปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนโดยการ นำสื่อนวัตกรรมและ เทคโนโลยีทท่ี นั สมยั มีประสิทธภิ าพมาใช้ในการเรียนการสอนทง้ั ในระบบโรงเรียน และนอกระบบโรงเรียนและ รายงานสรปุ ผลการปฏิบตั งิ านของตนเอง (Self report) นายวรี เดช มะแพทย์

37 การศึกษาตามอัธยาศัย โดยแรกเริ่มกรมการศึกษานอกโรงเรียน ได้เริ่มระบบการเรียนการสอนทางไกลท่ี เรียกว่า การศึกษาทางไปรษณีย์ เมื่อปีพุทธศักราช 2518 เป็นครั้งแรกนำเอาวิทยุทรานซิสเตอร์มาเป็นส่ือ สำหรบั การเรียนการสอนเพ่ือขยายการเรียนการสอนไปสู่ กลุม่ เป้าหมายให้ทัว่ ถงึ โดยเฉพาะผู้ท่ีขาดโอกาสทาง การศกึ ษาอยู่ในชนบทหา่ งไกล วิทยุกระจายเสยี ง และไปรษณีย์มบี ทบาทสำคญั ทางการเรียนการสอนทางไกล เป็นอย่างมาก วิทยุสามารถรับฟังได้อย่าง ทั่วถึงแม้การคมนาคมจะไม่สะดวกก็ตาม แม้การดำเนินงานจะ ประสบความสำเร็จเป็นที่น่าพอใจแต่ก็ ยังมีประชาชนอีกเป็นจำนวนมากที่ยังขาดโอกาสทางการศึกษาที่ไม่ โอกาสเรียนในระบบโรงเรียน ต่อมารัฐบาลได้มอบหมายให้ กระทรวงศึกษาธิการโดยกรมการศึกษานอก โรงเรียนเป็นผู้บริหาร การดำเนินการและได้รับความร่วมมือจากมูลนิธิไทยคมในการบริจาคช่องสัญญาณ ดาวเทียมในระบบ KU - BAND จำนวน 1 ช่องพร้อมทั้งอุปกรณ์ และได้ทดลองออกอากาศ โครงการจัด การศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทียม ระยะแรก ๆ เป็นเวลา 5 ปี โครงการนี้ไดก้ ่อให้เกิดสถานวี ิทยุโทรทัศน์ เพื่อการศึกษา (Educational Television Station: ETV) แพร่ออกอากาศผ่านดาวเทียมไทยคม ทุกวัน วัน ละ 8 ชัว่ โมง ระหวา่ งเวลา 08.00 - 20.00 น. เป็นสถานีวิทยโุ ทรทศั น์แหง่ แรกของประเทศไทยท่ีแพร่ภาพ ผ่านดาวเทียม ตรงสู่เป้าหมายเพือ่ ยกระดบั การศึกษาของคนในชาติ นอกจากนั้นปจั จุบันประเทศไทยมกี าร พฒั นาทางดา้ นเทคโนโลยีอย่างตอ่ เน่อื งสง่ ผลให้ความกา้ วหน้า ทางเทคโนโลยีทำให้ระบบการศึกษาของไทยมี ความทันสมัยตามระบบของเทคโนโลยนี อกจากการ เรียนการสอนทางไกลผา่ นดาวเทยี มแล้ว สถานศกึ ษาบาง แห่งยังเอาระบบเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาท ทางการเรียนการสอนโดยเฉพาะเรยี กว่า ระบบการเรยี นผา่ นสอื่ อิเล็กทรอนิกส์หรือ e - Learning (Electronic Learning) โดยการเรียนผ่านอินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์ วีดิ ทัศน์ ซีดีรอม การเรียน การสอนทางไกลผ่านดาวเทียมอาจถือได้ว่า เป็นส่วนหนึ่งของ e - Learning ประเทศไทยการ เรยี นรู้ระบบ e - Learning ไดเ้ ข้ามามีบทบาทตอ่ การเรยี นรใู้ นรปู แบบออนไลน์ คณุ ลักษณะ ทีส่ ำคญั ของ e – Leaning มอี ยู่ 3 สว่ นคือ 1. การเรยี นผา่ นระบบเครอื ขา่ ยทำให้สามารถแก้ไขเปลีย่ นแปลงจดั เกบ็ เรียกใชส้ ่งผ่าน และเปลย่ี น ข้อมูลเนอื้ หาไดอ้ ยา่ งรวดเร็วและตลอดเวลาในช่วงระยะเวลาของรายวิชา 2. สง่ ผา่ นถงึ ผ้ใู ชโ้ ดยผา่ นระบบอนิ เทอรเ์ นต็ โดยเว็บบราวเซอร์ 3. สง่ ผา่ นระบบเครอื ข่ายที่มีการเชอื่ มโยงเนอื้ หาได้ถงึ กันทง้ั หมดซึ่งจะช่วยผลกั ดันให้เกิด การเรยี นรู้ อยา่ งกวา้ งขวางทุกพ้ืนท่ี พจมาศ ขุมพลอย (2543 : 14 - 16) ไดศ้ กึ ษาถึงรปู แบบของการจัดการศึกษาดว้ ยรายการโทรทัศน์ และสรปุ ไว้ดังน้ี การจัดการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียมสำหรับการศึกษานอกโรงเรียน เป็นการจดั การศึกษา ทางไกลตามหลักสูตรระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาของกรมการศึกษานอก โรงเรียนโดยมุ่งเน้นขยาย บริการทางการศึกษาให้กับเด็กเยาวชนและประชาชนท่ีขาดโอกาสทาง การศึกษาโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่อย่ใู น ชนบทหา่ งไกลรวมถงึ กลุ่มเป้าหมายเยาวชนท่ตี อ้ งการยกระดบั การศึกษาพ้นื ฐานจาก 6 ปี เปน็ 9 ปี ตาม นโยบายของรัฐบาลและกลุ่มแรงงานความรู้ต่ำ สถานประกอบการและแหล่งพัฒนาอุตสาหกรรมทั่วประเทศ นอกจากนี้ยังสามารถใช้ได้อีกหลายรูปแบบ เช่น การเรียนการสอนของการศึกษาระบบเปิด การฝึกอบรม การสมั มนา การฝึกวิชาชีพ เป็นต้น โดยการทีผ่ ู้สอนหรอื วิทยากรอยู่ในสถาบันการศึกษา หรือศูนยก์ ลางของ การสอนผู้เรียน ผู้เข้ารับการอบรมหรือผู้เข้าร่วมสัมมนาจะอยู่รวมกันในสถานท่ีอีกแห่งหนึ่งหรืออาจจะแยก ย้ายกัน อยูใ่ นสถานที่ หลาย ๆ แห่งกไ็ ด้แตก่ ็จะสามารถทำการเรยี นการสอนฝึกอบรม หรอื สัมมนาร่วมกันได้ โดยอาจใช้ ระบบ ดีบีทีวี หรืออาจจะต่อสายเคเบิ้ลจากสถานีรับสัญญาณดาวเทียมและใช้ร่วมกับเครื่องรบั โทรทศั น์ คอมพิวเตอร์ โทรศพั ท์ ลำโพงและอปุ กรณอ์ ืน่ ดว้ ยการประชุมทางไกลโดยวีดโี อพร้อมกัน ไปด้วย เพื่อให้ทั้งสองฝ่ายได้ร่วมอภิปรายปรึกษาหารือซักถามปัญหาข้องใจร่วมกันได้ การจัดการศึกษาทางไกลของ รายงานสรุปผลการปฏิบตั ิงานของตนเอง (Self report) นายวรี เดช มะแพทย์

38 มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภายใต้ชื่อ โครงการการศึกษาสายสามัญด้วยระบบทางไกลผ่านดาวเทียม อยภู่ ายใตก้ ารรับผดิ ชอบของกรมสามัญศึกษา โดยได้ประกาศเป็นโครงการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวโรกาสปีกาญจนาภิเษก และถวายเป็นพระราชกุศลแด่ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทั้งเป็นการเฉลิมพระเกียรติของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว การ เรียนการสอนในโครงการนี้จะใชโ้ รงเรยี น วังไกลกงั วลเปน็ สถานทีใ่ ช้ในการเรียนการสอนตง้ั แต่ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 6 แบบถ่ายทอดสดผ่านดาวเทียมไปยงั โรงเรยี นเครือขา่ ยท่ัวประเทศ การศึกษา ทางไกลตามหลกั สตู ร ระดับประถมศกึ ษาและมัธยมศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ โดยมุ่งเน้นพฒั นาคุณภาพ และมาตรฐานการเรียนการสอนในวิชาที่ขาดแคลนครู อาจารย์ เช่น คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ การใช้ ดาวเทียมเพื่อการศึกษาในระบบโรงเรยี นจะเป็นการส่งสัญญาณผ่านดาวเทียม เพื่อให้ส่งรายการวิทยุ หรือ โทรทัศน์โดยจะเป็นการสอนในระบบการสื่อสารทางเดียวและการสื่อสารสองทางที่ผู้เรียน สามารถมีการ ตอบสนองไดใ้ นทันที ในการเรียนในระบบการสื่อสารทางเดียวและในการเรียนในระบบ การสื่อสารสองทาง จะเป็นการใช้เทคโนโลยีโทรคมนาคมประเภทต่าง ๆ ร่วมกับอปุ กรณก์ ารประชุม ทางไกลโดยวิดโี อ จึงทำให้ การศึกษาในปัจจุบันได้ชื่อว่าเป็น โทรคมนาคมเพื่อการศึกษา (Educational Telecommunication) ห้องเรียนก็ไม่ใช่ห้องเรียนธรรมดาอีกต่อไป แต่จะเป็นห้องเรียนที่เรียกว่า ห้องเรียนทางไกล ( Tele - Classroom) ห้องเรียนอิเลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Classroom) หรอื หอ้ งเรยี นโทรทัศน์ (TV Classroom) ทั้งนี้เพราะในการสอนจะต้องอาศัยอุปกรณ์ ไฟฟ้าหลายอย่างหลายประเภท โดยเฉพาะอย่างยิ่งเครื่องรับ โทรทัศน์เพอื่ รบั ภาพและเสียงของผูส้ อน เขา้ มาในห้องเรยี นโดยผู้สอนอาจจะมหี รืออาจจะไม่มีโอกาสเห็นภาพ ผู้เรียน แต่ทั้งสองฝ่ายสามารถมี ปฏิสัมพันธ์กันได้โดยการพูดโต้ตอบและส่งข้อมูลระหว่างกันได้ โดยทาง โรงเรยี นหรอื สถาบนั การศึกษาจะต้องต่อสายเคเบิ้ลจากสถานีรับสญั ญาณดาวเทียมมายังโรงเรียนหรือในบาง แห่ง จะมีการรับสัญญาณตรงจากดาวเทียม โดยการมีจานรับสัญญาณดาวเทียมของสถาบันเอง การรับใน รูปแบบของ ดีบที ีวิ (Direct Broadcasting Television: DBTV) ซ่งึ เป็นการนำเอาระบบรบั ตรง จากดาวเทยี ม (DTH) มาใช้กับโทรทัศน์นอกจากเครื่องรับโทรทัศน์แล้วภายในห้องเรียนยังต้องมี เครื่องคอมพิวเตอร์และ โทรศัพทเ์ พือ่ การติดต่อประกอบการเรียนด้วย สรปุ ได้วา่ รูปแบบการการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เป็นการจดั การศึกษาที่ สง่ ผ่านสือ่ การเรียนรูท้ างอิเล็กทรอนกิ ส์ไปยังผู้เรียน มกี ารถา่ ยทอดผ่านดาวเทียมไปยัง โรงเรยี น เครือข่ายทัว่ ประเทศ ทำให้กับเดก็ เยาวชนและประชาชนทขี่ าดโอกาสทางการศึกษาได้เรยี นรู้โดยไม่ ตอ้ งอย่ใู นห้องเรียน 5. แนวทางการจัดการศึกษาทางไกลดาวเทยี ม การจดั การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี มมหี ลากหลายแนวทาง ทง้ั น้ขี ้นึ อยกู่ ับบริบทของแต่ ละ สถานศึกษาตง้ั ความพร้อมด้านส่ือ วสั ดุ อปุ กรณ์ ตลอดจนวัตถปุ ระสงคข์ องการจดั การศกึ ษา ทางไกลผา่ น ดาวเทียม มีผูก้ ล่าวถงึ แนวทางการในการจัดการศึกษาทางไกลไวด้ ังนี้ ขวญั แก้ว วัชโรทัย (2548: 24 - 26) กล่าวว่าแนวทางการจัดการศกึ ษาทางไกลผา่ น ดาวเทียมทีม่ ปี ระสิทธิภาพมแี นวทางดังนี้ 1. การวางแผนการจัดการเรยี นการสอน 1.1 แต่งตั้งคณะทำงานรับผดิ ชอบการจัดการเรยี นการสอน ประกอบด้วยครูทที่ ำงานด้าน วิชาการวดั ผล ครรู ับผิดชอบด้านส่อื และอุปกรณร์ ับสัญญาณ ครูประจำวชิ า หรือครู ท่ีปรึกษา 1.2 ติดตั้งจานรบั สัญญาณและเครือ่ งรับสญั ญาณ โดยพจิ ารณาประกอบกับ สถานที่ เรยี น ของนกั เรียนจำนวนนักเรียน และขนาดของจอภาพต้องเหมาะสมกบั จำนวนนกั เรยี น 1.3 วางแผนการจัดตารางสอนหรือกำหนดตารางเรียนตามตารางสอนของ โรงเรยี นวังไกล กังวล ซ่งึ เป็นโรงเรียนต้นทาง โดยมแี นวทางพิจารณาดังนี้ รายงานสรปุ ผลการปฏิบัตงิ านของตนเอง (Self report) นายวีรเดช มะแพทย์

39 1.3.1 กรณีเปิดสอนด้วยระบบทางไกลครบทุกชัน้ ทกุ ชวั่ โมง และมีอุปกรณ์ รับสง่ สญั ญาณครบตามระบบชน้ั ควรจัดตารางสอนให้ตรงกบั สถานีออกอากาศท้งั หมด 1.3.2 กรณีทเ่ี ลือกรบั รายการสอนบางรายวิชาทีไ่ มม่ ีครูสอนในระดับชน้ั ใดควรจัด ตารางสอนใหต้ รงกบั เวลาออกอากาศในระดบั ช้ันนน้ั 1.3.3 กรณีทต่ี อ้ งการเลอื กรบั รายการสอนบางวิชา เพยี งบางจดุ ประสงคห์ รอื บางเรอ่ื งอาจอดั เทปรายการสอนไว้ แล้วเปิดชมรายการทส่ี นใจได้ตามความต้องการ 1.4 การจัดให้นักเรยี นไดเ้ รยี นรู้จากโทรทศั น์ผา่ นดาวเทียมควรจดั สภาพแวดล้อม ให้ เหมาะสมกับขนาดของกลมุ่ นักเรียน ควรพอเหมาะกับขนาดและปรมิ าณของเครอ่ื งรับโทรทศั น์ และต้องมคี รู ควบคุมดแู ลการดำเนินกจิ กรรมสนับสนุนการเรยี นรูข้ องนกั เรียนทกุ ครง้ั 1.5 ดำเนินการติดตามผล ประเมินผล การจดั การเรียนการสอนเปน็ ระยะ ๆ อยา่ งต่อเนือ่ ง เพ่ือหาทางปรับปรงุ แก้ไข 2. การจดั การเรยี นการสอน 2.1 ครูประจำรายวชิ าหรอื ครูทปี่ รึกษาศกึ ษาจดุ ประสงค์รายวิชาตามหลักสตู ร ศกึ ษา เอกสารคูม่ ือกำหนดการสอนในรายวิชาท่ตี นเองรบั ผดิ ชอบล่วงหน้ากอ่ นออกอากาศ ในกรณีที่ กำหนดการ สอนมไี ม่ครบ หรอื ยงั ไมไ่ ดร้ บั โปรดติดตามจากรายการโทรทศั นท์ แี่ จง้ ตารางออกอากาศ ทั้งน้เี พ่อื เตรยี มการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนใหส้ อดคล้องกับรายการสอน ทงั้ ในแงก่ ารเตรียมสื่อ ใบงาน ใบความรู้ บทเรยี น วัสดุ อปุ กรณ์ และเตรียมตัวนักเรียนให้พรอ้ มทจ่ี ะร่วมกจิ กรรมใน ระหว่างเรียนทมี่ ีการออกอากาศ 2.2 กำหนดประเด็นสำคัญเพื่อการเสริมประสบการณ์การทบทวนและการวดั ผลประเมินผล ไวล้ ว่ งหน้าประเด็นสำคัญในทีน่ ห้ี มายถึง การพิจารณาเพื่อหาจุดประสงค์ ระดับความ ยากง่าย และพืน้ ฐานความรู้ของนกั เรยี น เพราะบางบทเรยี นต้องการความกระจ่างและจำเปน็ ตอ้ ง ฝกึ หัด ฝกึ ปฏิบัติ คน้ ควา้ ทบทวนเพิ่มเตมิ นอกจากเวลาทด่ี โู ทรทัศน์ 3. การดำเนนิ การระหว่างเรียน โดยทัว่ ไปแล้วรายการสอนออกอากาศถงึ แม้จะใชเ้ วลาเตม็ 60 นาที แตก่ ม็ ชี ว่ งเวลาที่ จัดให้ นักเรยี นได้ปฏิบตั ิกิจกรรมท่ังในด้านการเตรียมการเขา้ สบู่ ทเรยี น การฝกึ ปฏิบัติ การทบทวน เปน็ ต้น ดังน้ันบทบาทของครูประจำชั้นท่ีควบคุมช้ันเรียนควรทำหนา้ ทด่ี แู ลเอาใจใส่เสรมิ แรงพฤติกรรมของ นกั เรียนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรยี น และศกั ยภาพของนักเรียนใหไ้ ดเ้ รียนอย่างเต็มที่ ซึง่ โดยหลกั การแล้ว ขอยำ้ วา่ การเรียนทางไกลผา่ นดาวเทียมมใิ ช่การให้นกั เรียนดโู ทรทศั น์ แต่เปน็ การจดั กระบวนการเรยี นร้ทู เี่ น้น การบูรณาการโดยเพอ่ื ประเภทต่าง ๆ และกิจกรรมการเรยี นรูท้ ี่นักเรียนตอ้ งปฏิบัติ ซง่ึ ต้องอาศยั ครูชว่ ย กระตุ้นสง่ เสรมิ เป็นอยา่ งมากจงึ จะบรรลผุ ล นอกจาก บทบาทในการเสริมแรง จัดบรรยากาศในการเรยี นรู้ และกระตนุ้ ความสนใจแลว้ ครูอาจดำเนินการ ไดเ้ ปน็ 2 ลักษณะหรือรูปแบบในชว่ งทม่ี ีการสอนเพิ่มเตมิ เสริม ประสบการณ์นกั เรียนใหบ้ รรลุ วัตถุประสงค์ คือ ลกั ษณะที่ 1 เหมาะสำหรับรายวชิ าท่ไี ม่ตอ้ งใช้ทักษะความสามารถหรอื เทคนคิ ปฏบิ ตั เิ ป็นพเิ ศษ 1.1 ครแู จ้งจุดประสงค์ กระบวนการเรยี นการสอนและกิจกรรมท่ีนกั เรยี นตอ้ งปฏบิ ัติ (ก่อนดู โทรทัศน์ 5 - 10 นาที) 1.2 ใหน้ กั เรียนศกึ ษาจากบทเรยี นในรายการโทรทัศนท์ ่อี อกอากาศผา่ นดาวเทยี ม 1.3 ทดลองสาธติ ฝกึ ปฏิบัติหรือทำแบบฝกึ หัดตามทบี่ ทเรียนกำหนดหรอื ตามท่ี ครเู ห็นว่า สมควรปฏบิ ตั ิเพ่มิ เติม 1.4 อภิปรายประเดน็ และเปดิ โอกาส ให้ชกั ถามปญั หา รายงานสรปุ ผลการปฏบิ ัตงิ านของตนเอง (Self report) นายวรี เดช มะแพทย์

40 1.5 สรุปบทเรียน มอบหมายงาน ทดสอบ กระต้นุ ใหน้ ักเรยี นเตรียมตวั หรอื เช่ือมโยง ความรู้ในครงั้ ต่อไป ลกั ษณะท่ี 2 เหมาะสำหรับเนอื้ หาจุดประสงค์ท่ีเนน้ ขัน้ ตอนทักษะการปฏิบตั ิหรือทำตาม แบบอย่าง เช่น กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศหรอื การฝึกทกั ษะโดยเฉพาะ 2.1 ครูแจง้ จดุ ประสงค์ 2.2 ใหน้ กั เรียนเรียนรู้จากบทเรียน ทางโทรทัศน์ผา่ นดาวเทียมและปฏิบตั ิ กิจกรรม ฝกึ ทกั ษะตามท่ีบทเรยี นหรอื ครูผู้สอนออกอากาศกำหนด 2.3 ซักถามปัญหา ทดสอบความรู้ ความเข้าใจ 2.4 สรุปบทเรียน และใหน้ กั เรียนเตรียมตัวรบั บทเรียนต่อไป 4. ดำเนนิ การหลงั สอน 4.1 ตดิ ตามผลการเรยี นของนกั เรยี นเปน็ รายบุคคลเพอื่ ตรวจสอบ ซอ่ มเสริม เพมิ่ เตมิ ปรบั ปรุงแกไ้ ข 4.2 จดั การวัดผลประเมนิ ผล เป็นระยะๆ ให้สอดคลอ้ งตรงตามจุดประสงคก์ ารเรียนรแู้ ละ เนื้อหาสาระท่นี กั เรียนไดร้ ู้ 4.3 กรณที ่นี ักเรียนมีปญั หาสงสัยระหวา่ งเรยี น และจุดประสงคท์ ี่ครูผสู้ อนออกอากาศ เป็น ผตู้ อบกระทำได้โดยโทรศพั ทห์ รอื โทรสารถามตอบโดยตรงไปยังสถานอี อกอากาศซงึ่ จะได้รบั คำตอบในชั่วโมง นัน้ หรือช่วั โมงถดั ไปของรายวชิ านน้ั หรือจะใหน้ ักเรียนติดตอ่ ผู้สอนโดยตรงโดยใช้จดหมายหรือไปรษณยี บัตรก็ ได้ 4.4 หากมปี ัญหาหรอื ต้องการความรคู้ วามเข้าใจเพม่ิ เตมิ เกีย่ วกับบทเรียนการเรียนการสอน วิชาท่รี บั ผิดชอบ ครูประจำวชิ าสามารถตดิ ตอ่ กับครผู สู้ อนออกอากาศได้โดยผ่านสถานอี อกอากาศหรอื ตวั ผสู้ อนโดยตรง ณ โรงเรียนวังไกลกังวล 5. แนวทางการใช้สอ่ื การเรยี นการสอนทางไกลผา่ นดาวเทยี ม การจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียมเป็นการจัดการเรียนการสอนที่ใช้สื่อรายการ โทรทศั น์โดยตรงหรอื ใช้เปน็ ส่ือเสรมิ ในการเรียนการสอนซ่ึงครูจำเปน็ ตอ้ งร้วู ิธีดำเนนิ การกระบวนการเรียนการ สอนและบทบาทในการดำเนินการสอนทางไกลผ่านดาวเทยี ม เพื่อให้บรรลุเป้าหมายและวัตถปุ ระสงค์ของการ จดั การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม หากดำเนนิ การใช้สอื่ ไดอ้ ย่าง เหมาะสมตามหลักสตู รจะชว่ ยให้การสอนมี ประสิทธภิ าพและมีคณุ ภาพยงิ่ ขน้ึ การเลอื กใชส้ ื่อการสอน ทางไกลผา่ นดาวเทียม ต้องคำนงึ ถึงหลักจิตวิทยา ท่ีวา่ ผเู้ รียนตอ้ งมีปฏสิ ัมพนั ธก์ ับสือ่ อยู่ตลอดเวลาเป็นระยะเวลานาน ๆ ผู้เรยี นจะเกิดอาการเบอื่ หน่าย ย่ิงถ้า สื่อนั้นเป็นสื่อชนิดเดียวกนั หรือเป็นสื่อ ทางวิชาการ ที่ยุ่งยากซับช้อน ทำให้ไม่สนุกแล้วผู้เรียนยิ่งท้อถอย หมดกำลังใจในการเรียนรู้ด้วยตนเอง ดังนั้นสื่อที่ใช้ควรเป็นสื่อเสริมแรงให้กำลังใจ และผู้เรียนสามารถรู้ ความกา้ วหนา้ ของตนเอง เปน็ ระยะ ๆ การใชส้ อ่ื การเรียนแบบนจ้ี ึงควรอยู่ในลกั ษณะ ส่ือประสม โดยมสี ื่อใด ส่อื หน่งึ เป็นสื่อหลกั และสอ่ื ชนิดอืน่ เปน็ สื่อประสม ทั้งน้ีเพราะส่อื แตล่ ะอยา่ งมีท้งั ข้อดแี ละข้อจำกัดในตัวของ ตัวเอง การศกึ ษาจากส่อื เพียงชนิดเดียวอาจจะทำให้ผู้เรียนได้รับความรู้ไม่สมบรู ณ์เท่าที่ควร จึงควรอาศัยสื่อ ชนิดอืน่ ๆ ประกอบเพอ่ื เสรมิ ความรู้ สื่อท่ีใช้ในการสอนทางไกลแบ่งออกเปน็ 2 ชนดิ ดงั นี้ 1. ส่ือหลัก คือ ส่ือที่บรรจุเนอ้ื หารายละเอียดตามประมวลการสอนจองแต่ละวชิ าในหลักสูตร โดย อาจอยูใ่ นรปู สอ่ื ส่งิ พิมพร์ ายการโทรทศั นก์ ารสอน รายการวทิ ยกุ ารสอน หรือวทิ ยโุ รงเรยี น และโปรแกรม บทเรียนการสอนใชค้ อมพิวเตอร์ช่วยสอน ผู้เรยี นต้องศกึ ษาจากสอ่ื หลกั ให้ ครบตามหลกั สตู รของวชิ าจงึ จะ สามารถเรียนรเู้ น้อื หาได้ครบถ้วน รายงานสรุปผลการปฏบิ ตั ิงานของตนเอง (Self report) นายวีรเดช มะแพทย์

41 2. สือ่ เสริม คือสอ่ื ที่ชว่ ยเกบ็ ตก ต่อเติมความรู้ ใหผ้ ู้เรยี นมีความรกู้ ระจา่ งสมบรู ณข์ น้ึ หรือหากใน กรณที ผี่ ้เู รยี นศกึ ษาจากสอ่ื หลกั แล้วยงั ไม่เขา้ ใจ หรือยังเข้าใจไมช่ ัดเจนก็สามารถศกึ ษา เพมิ่ เตมิ จากสอ่ื เสริมได้ สื่อประเภทนอี้ ยู่ในรูปเทปสรุปการเรียน วทิ ยุ เอกสารเสรมิ CAI, E-Book, DVD การสอนเสรมิ การพบกลุ่ม เทปการสอนรายวชิ า หรอื เวบ็ ไซตต์ า่ ง ๆ เป็นต้น (ขวญั แก้ว วชั โรทัย. 2548 : 28) ดิษฐลดา ปันคำมา (2551 : 35 - 36) กลา่ ววา่ แนวทางการจัดการเรยี นการสอนดว้ ย ระบบทางไกล ผา่ นดาวเทียมผูส้ อนควรคำนึงสงิ่ ตอ่ ไปนี้ 1. บรรยากาศการเรียนการสอน ในการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี มการจดั บรรยากาศท่ี เหมาะสมภายในห้องเรยี นจะทำให้การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ บรรยากาศใน หอ้ งเรยี นประกอบดว้ ยเรื่องตอ่ ไปนี้ 1.1 การติดต้ังเครื่องรับโทรทศั น์ ตดิ ตั้งในระดบั พอดกี ับสายตาของผูเ้ รยี นท่ีมองเห็นอยา่ ง ทวั่ ถึงหรอื อยูบ่ นโตะ๊ มลี ้อเลื่อน ถ้าติดต้งั อยา่ งถาวรตอ้ งอยู่ในท่ที ีเ่ หมาะสม แสงสวา่ งไม่กระทบจอรบั ภาพ 1.2 การจดั ที่นง่ั สำหรับผ้เู รียนนัง่ หา่ งจากจอรับภาพในระยะพอควรไมจ่ ัดที่นง่ั หา่ ง เกินไปจน ไม่ได้ยนิ เสียงและเหน็ ภาพไม่ชัดเจน 1.3 สภาพแวดลอ้ มในหอ้ งเรยี นหอ้ งไม่คับแคบเกนิ ไปแสงสวา่ งไมม่ ากหรือนอ้ ยเกนิ ไป อากาศ ถา่ ยเทได้สะดวกไมร่ ้อนอบอา้ ว ไมม่ ีเสยี งรบกวนจากภายนอก 2. บคุ ลิกภาพของครู มีผลตอ่ บรรยากาศการเรยี นการสอน ดงั นัน้ ครูผู้สอนจึงควรมี บคุ ลิกภาพที่ ยม้ิ แย้มแจ่มใส ศรัทธาต่องาน สนใจคน้ ควา้ รว่ มกิจกรรม มนษุ ยสัมพนั ธด์ ี เออื้ เฟือ้ เผ่ือแผ่ ไมน่ ิง่ ดูดาย โลก ทศั น์ไกลคดิ กว้าง สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสพุ รรณบุรี เขต 1 (2558 : 8) กลา่ วถึงแนวทาง การ จัดการศึกษาทางไกลไว้ 3 แนวทาง คอื 1) สือ่ การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (Distance Learning Television: DLTV) 2) สอื่ วดี ิทัศน์ระบบดิจิทลั (Digital Video Disc: DVD) และ 3) สอื่ อิเลก็ ทรอนิกส์ (Electronics Learning : E - Learning) สรุปไดว้ ่า แนวทางการจัดการศกึ ษาทางไกลดาวเทยี ม ประกอบด้วย การวางแผนในการจดั การเรียน การสอน การดำเนนิ การระหว่างเรยี น การดำเนนิ การหลังสอน และแนวทางการใช้ สอื่ การเรยี นการสอน ทางไกลผ่านดาวเทยี ม ซึ่งจะมีประสิทธภิ าพสงู สุดต้องประกอบด้วยบรรยากาศ และบคุ ลกิ ภาพครู เปน็ ปจั จยั ที่ สถานศกึ ษาต้องจัดให้มเี พือ่ ใหก้ ารเรยี นการสอนเกิดคณุ ภาพ 6. มลู นิธกิ ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ก่อตั้งขึ้นเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงาน การ จัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมและสื่ออื่น ๆ ให้ความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาที่ขาด แคลนครู อาจารย์ และสื่อการเรียนรู้ในการจัดการศึกษาสำหรับผู้ด้อยโอกาสและบุคคลที่มีความต้องการพิเศษ ตลอดจนส่งเสรมิ โอกาสการเขา้ ถึงการศกึ ษาของประชาชนทุกกลุม่ ทุกชว่ งวัย พรอ้ มท้งั สง่ เสริมและสนับสนุน ในการเผยแพรอ่ งคค์ วามร้ดู ้านการศกึ ษา การมีงานทำและการเรียนรู้ตลอด ชวี ติ มูลนธิ กิ ารศกึ ษาทางไกลผ่าน ดาวเทียมก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2538 และได้ถ่ายทอดสด ออกอากาศเป็นปฐมฤกษ์ ในวันที่ 5 ธันวาคม 2538 ในหลกั สูตรมัธยมศกึ ษา 6 ช้นั 6 ชอ่ ง และเมือ่ วันที่ 1 พฤศจกิ ายน 2545 ได้ออกอากาศการเรียนการ สอนในระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 1 – 6 ทัง้ นกี้ เ็ พ่อื เฉลิมพระเกียรตพิ ระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอ ดุลยเดชบรมนาถบพิตร เนื่องในโอกาสมหามงคลที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดชบรม นาถบพิตร ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี ในปีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539 โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือ แก้ปัญหา การขาดแคลนครู โดยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชบรมนาถบพิตร ได้ รายงานสรปุ ผลการปฏิบตั ิงานของตนเอง (Self report) นายวีรเดช มะแพทย์

42 พระราชทานทนุ ประเดิม 50 ล้านบาท ท่ีบรษิ ัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) หรอื องคก์ ารโทรศพั ท์ แห่งประเทศ ไทยในขณะนั้น ทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อตั้งมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม และทรงพระกรุณา พระราชทานตรงสัญลักษณ์เฉลิมฉลองสิริราชสมบัติ 50 ปี ให้เป็นตราของมูลนิธิฯ เป็นการพระราชทาน การศึกษาไปสู่ปวงชน โดยมีนายขวัญแก้ว วัชโรทัย รองเลขาธิการพระราชวังฝ่าย กิจกรรมพิเศษ ดำรง ตำแหน่งประธานมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ปัจจุบันสำนักงานมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทียม ตั้งอยู่เลขที่ 139 กระทรวงศึกษาธิการ ถนนราชดำเนินนอก เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทรศัพท์ 0 282 6734 โทรสาร 0 2282 6735 และสถานีวิทยุ โทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ซึ่งทำหน้าที่ถ่ายทอดออกอากาศการเรียนการสอนจาก โรงเรียนวังไกลกังวล ตั้งอยู่ที่ โรงเรียนวังไกลกังวล อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 77110 โทรศัพท์ 032 515 457 - 8 โทรสาร 032 515 951 ถ่ายทอดสด 1 ช่อง 1 ชั้น ป.1 – ม.6 การศึกษาทางไกลครบวงจรตลอดระยะเวลาที่ผ่านมามูลนิธิ การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมได้ จัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม โดยการถ่ายทอดการเรียนการสอน หลักสตู รขัน้ พ้นื ฐานจาก โรงเรยี นวงั ไกลกังวล โรงเรยี นราษฎรข์ องพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอ ดลุ ยเดชบรมนาถบพิตรในรูปแบบ “ถ่ายทอดสด 1 ชอ่ ง 1 ช้ัน” ต้ังแต่ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ถึง มัธยมศึกษา ปีที่ 6 รวม 12 ช่อง 12 ชั้น สอนโดยครคู นเดียวกนั เวลาเดียวกัน คุณภาพเดียวกัน ถ่ายทอดโดยตรง จากโรงเรียนวังไกลกังวล เพื่อเป็นการเปิดโอกาสให้โรงเรยี นต่าง ๆ ที่ขาดแคลนครูโดยเฉพาะ ครูประจำวชิ า สามารถดำเนนิ กจิ กรรมการเรียนการสอนได้เทา่ เทยี มกัน นอกจากนี้ยังมกี ารออกอากาศชอ่ งการอาชพี ชอ่ งอุดมศกึ ษา และรายการนานาชาตอิ กี อยา่ งละ 1 ช่อง รวมทั้งสิน้ 15 ช่อง ออกอากาศตลอด 24 ชวั่ โมงเปน็ ประจำทกุ วัน ซ่ึงนอกจากการถา่ ยทอดและเทป การเรยี นการสอนหลกั สตู รขัน้ พนื้ ฐานแลว้ ยงั มีรายการสอน ภาษาต่างประเทศอาทิ ภาษาอังกฤษ จนี ญป่ี ่นุ ฝรงั่ เศส เยอรมัน รายการสารคดีพระราชทาน “ศึกษาทัศน์” และสารคดตี ่างประเทศ ทำใหส้ ถานี วิทยุโทรทศั น์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม สามารถใหบ้ ริการทางการศกึ ษาครบวงจรโดยไมค่ ิดมูลคา่ ถึง 15 สถานี จากท้งั โรงเรียนวงั ไกลกงั วล วิทยาลัยการอาชพี วงั ไกลกังวล ซง่ึ เปิดสอนวชิ าชีพ อาทิ ทำกบั ข้าว ตดั เยบ็ เสือ้ ผา้ เสริมสวย คอมพิวเตอร์ ซอ่ มเครื่องยนต์ ฯลฯ และมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล รตั นโกสนิ ทร์ วิทยาเขต วงั ไกลกงั วล ทงั้ 3 สถาบนั ใหบ้ ริการการศึกษาครบวงจร ทง้ั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน การศกึ ษาชุมชน และอดุ มศกึ ษา การออกอากาศผา่ นดาวเทยี ม ผู้ทม่ี ีจาน KU Band หรอื เปน็ สมาชิก True Vision จะสามารถชมได้ทั้ง 15 ช่อง ตงั้ แต่ช่อง True 186 ถงึ 199 ซง่ึ เป็น ระบบ DTH (Direct To Home) (http://www.tsdf.or.th/th/royally - initiated - projects/10793 - มลู นิธิ การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม - 2538/ สืบคน้ เมอ่ื 10 ตลุ าคม 2561) การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน การให้การศึกษาแก่ประชาชนของรัฐถอื เป็นหนา้ ท่ีทสี่ าคญั ประการหน่ึงที่รัฐตอ้ งจดั การศึกษาใหแ้ ก่ ประชาชน เพราะการให้การศกึ ษาเปน็ พนื้ ฐานสำคัญของการพัฒนาประเทศ ประเทศไทยไดใ้ ห้ความสำคญั ของการจดั การศึกษาโดยกำหนดไวใ้ นรัฐธรรมนูญซ่งึ เปน็ กฎหมายสงู สดุ ในการปกครองประเทศ และตราเปน็ พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแกไ้ ข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 หมวด 3 ระบบ การศึกษา มาตรา 15 การจัดการศึกษามสี าม รปู แบบ คอื การศกึ ษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบ และ การศึกษาตามอธั ยาศัย การศกึ ษาทางไกล (Distance Learning) นบั เป็นนวัตกรรมการศกึ ษาในรูปแบบของ การศกึ ษาทางไกล หรือการศกึ ษาไร้พรมแดน ทเี่ ป็นผลสืบเนอ่ื งจากการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี การผสมผสานเทคโนโลยีคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยีโทรคมนาคม ทกี่ ่อให้เกิดเทคโนโลยีสารสนเทศของ กระบวนการศึกษานอกระบบ ซ่งึ ช่วยเตมิ เตม็ การศกึ ษาแกผ่ ้เู รยี นที่ไม่สามารถอย่ใู นระบบได้ และยังเปน็ รายงานสรุปผลการปฏบิ ัตงิ านของตนเอง (Self report) นายวีรเดช มะแพทย์

43 ทางเลอื กใหก้ ับโรงเรียนขนาดเลก็ ท่อี ูย่ห่างไกล ขาดแคลนครู มคี รูสอนไม่ครบช้นั ไมต่ รงสาขาวชิ าเอก สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐานไดร้ บั ความอนุเคราะห์จาก มูลนิธกิ ารศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทยี มในพระบรมราชปู ถัมภ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัว รัชกาลที่ 9 ที่ทรงหว่ งใยเรอื่ งการศกึ ษา โดยเฉพาะการจดั การศึกษาให้แกเ่ ด็กและเยาวชนในถนิ่ ทุรกนั ดารและด้อยโอกาสได้มคี วามเสมอภาคทาง การศกึ ษา ซ่ึงได้เรม่ิ ต้นการออกอากาศเฉลมิ พระ เกียรติพระเจา้ อยหู่ วั เปน็ ปฐมฤกษ์ เม่ือวันท่ี 5 ธนั วาคม 2538 และขยายมิตกิ ารใช้ประโยชนท์ าง การศึกษาสโู่ รงเรียนปลายทางท่ัวประเทศ เพอื่ พฒั นาการเรียนการ สอนของโรงเรยี น โดยเฉพาะ อยา่ งยิ่งโรงเรยี นขนาดเลก็ ทขี่ าดแคลนครู นักเรียนไดเ้ รียนรู้สโู่ ลกการศกึ ษาใน มิตใิ หม่ โดยใช้ สือ่ การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียมนบั เปน็ การใหบ้ รกิ ารโทรทศั น์ทางการศกึ ษาแก่นักเรยี น นกั ศึกษา ประชาชน ที่สนใจให้สามารถเข้ารบั ชมการเรยี นรแู้ ละพัฒนาตนเองตามศักยภาพและตามอัธยาศัย ของโลกไรพ้ รมแดน 1. ความเป็นมาของการจดั การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมในโรงเรยี น มูลนิธิการศกึ ษาทางไกล ผา่ นดาวเทียม จัดต้งั ขึ้นในปี พ.ศ. 2538 เพอ่ื รว่ มฉลองใน มหามงคลวโรกาสที่พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว ทรงครองสริ ิราชสมบตั ิครบ 50 ปี พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ พระราชทาน ทรัพย์จำนวน 50 ลา้ นบาท เป็นทนุ ประเดิมกอ่ ต้ังมลู นธิ กิ ารศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียมขนึ้ และหลังจากนั้น องคก์ รตา่ ง ๆ ทัง้ ภาครฐั และเอกชนไดร้ ่วมโดยเสด็จพระราชกุศลอีกจำนวนมาก วันท่ี 7 มีนาคม พ.ศ. 2538 นายสมั พันธ์ ทองสมัคร รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร ได้ ผลักดันโครงการการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม โดยให้อธิบดกี รมสามญั ศกึ ษา พจิ ารณาจัดหางบประมาณ ดำเนนิ โครงการตามท่ีนายขวญั แกว้ วัชโรทัย รองเลขาธิการพระราชวัง ฝ่ายกจิ กรรมพเิ ศษได้เสนอแนะในการ นำเทคโนโลยีมาใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอนผา่ นระบบคมนาคม วันท่ี 11 สงิ หาคม พ.ศ. 2538 นายบรรจง พงศศ์ าสตร์ นายขวญั แก้ว วัชโรทัย ร่วมกับ องค์การโทรศพั ท์แหง่ ประเทศไทย และบรษิ ัทชนิ วัตร แซทเทิลไลท์จำกดั (มหาชน) ไดแ้ ถลง ข่าวรว่ มกับ โครงการการศึกษาสายสามญั ด้วยระบบทางไกลผ่านดาวเทียมมีสาระสำคญั คือ 1. เปน็ โครงการเฉลิมพระเกียรติปกี าญจนาภิเษกพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว และถวายเป็นพระ ราชกุศลแดส่ มเด็จพระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนี 2. โครงการน้ีเปน็ นโยบายของกรมสามญั ศกึ ษาทต่ี ้องการใช้เทคโนโลยีทนั สมยั เพ่อื พฒั นา กระบวนการเรยี นการสอนให้กา้ วหน้าและมีประสทิ ธิภาพ 3. การใชู้ส่อการสอนทางไกลผา่ นดาวเทียมจะช่วยใหโ้ รงเรยี นทข่ี าดแคลนครสู าขาวิชาต่าง ๆ และ โรงเรยี นที่อยู่ห่างไกลไดร้ ับโอกาสเช่นเดียวกับโรงเรยี นในเมือง 4. นักเรียนจะไดเ้ รียนรู ก้ บั ครแู มแ่ บบชัน้ เยี่ยม ทุกสาขาวชิ าทไี่ ดร้ บั การคดั เลือกไวแ้ ลว้ เพอื่ สง่ สัญญาณดาวเทยี มจากโรงเรียนวังไกลกงั วลไปยงั โรงเรียนปลายทาง 5. โรงเรยี นวังไกลกงั วลเปน็ โรงเรยี นแมข่ ่ายส่งสญั ญาณถา่ ยทอดสด รายการสอน ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 1 ถึง ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 และรายการสอนสายอาชีพพรอ้ มกัน 6. โครงการนี้ช่วยประหยัดงบประมาณในการสร้างห้องเรียนและจ้างครูผู้สอน ขวัญแก้ว วัชโรทัย (2547: 2) รองเลขาธิการพระราชวัง ฝ่ายกิจกรรมพิเศษและประธาน กรรมการบริหารมูลนิธิการศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทียม ได้กล่าวว่าวัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทียมเพื่อยกระดับ คุณภาพการศึกษาระดับมัธยมศึกษาในส่วนภูมิภาคชนบทห่างไกล ให้ได้มาตรฐานใกล้เคียงกัน เป็นการ แก้ปัญหาการขาดแคลนครู วัสดุและสื่อการสอน ทั้งเปิดโอกาสให้นักเรียนได้เรียนกับครูสอนคนเดียวกัน ผู้ทรงคุณวุฒิในแต่ละสาขาวิชา สำคัญที่สุดไม่ว่าจะอยู่ในภูมิภาคใดของประเทศล้วนได้รับพระราชทาน รายงานสรุปผลการปฏิบตั งิ านของตนเอง (Self report) นายวีรเดช มะแพทย์

44 การศึกษาจากโรงเรียนของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอูย่หัวฯ เท่าเทียมกันหมด การออกอากาศปฐมฤกษ์ ถ่ายทอดสดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียมไปยังโรงเรียน ปลายทางมีขึ้นในวโรกาสวันมหามงคลวนั เฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั ฯเมอ่ื วนั ท่ี 5 ธนั วาคม พ.ศ. 2538 เปน็ ต้นมา และเมื่อ วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2557 รัฐบาลโดย พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้ให้ความสำคัญกับการศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทียม เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของชาติทุกระดับโดยมุ่งเน้นไปที่การจัดการศึกษาขัน้ พื้นฐานทั้งนี้ได้มอบหมายให้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และเลขาธิการสำนักงาน คณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เปิดโครงการการศึกษาทางไกลผ่าน ดาวเทียมพระราชทาน เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กท่ัว ประเทศ โดยตดิ ตง้ั อุปกรณจ์ านดาวเทยี ม เครื่องรบั โทรทศั น์ ใหค้ รอบคลมุ โรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก ท่วั ประเทศ จำนวน 15,369 โรง ในปกี ารศึกษา 2557 และทำการออกอากาศการจัดการเรียนการสอนท่ัว ประเทศพร้อมกันในภาคเรียนที่ 2/2557 (มูลนธิ กิ ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม. 2558 : 2) 9. ประสิทธิภาพของนวัตกรรม 9.1 กระบวนการหาประสิทธิภาพของนวัตกรรมถูกต้องตามหลักวชิ า การหาประสทิ ธิภาพของนวตั กรรมจากการสัมภาษณผ์ ้ทู รงคุณวุฒิเพ่อื ยนื ยันรปู แบบแสดงผลวิเคราะห์ ความคดิ เห็นจากการสัมภาษณผ์ ู้ทรงคุณวุฒจิ ำนวน 10 คน เพอื่ ยนื ยันรูปแบบการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา โดยใช้ TPS Model ยุทธศาสตร์ 654 ปัจจัยสู่ความสำเรจ็ การพัฒนาคณุ ภาพการเรียนการสอนทางไกล ด้วย DLTV ตาราง 1 แสดงผลวเิ คราะห์ความคิดเหน็ จากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒจิ ำนวน 10 คนเพ่อื ยืนยนั รูปแบบการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยใช้ TPS Model ยุทธศาสตร์ 654 ปจั จยั สู่ความสำเร็จ การพัฒนาคณุ ภาพการเรียนการสอนทางไกล ดว้ ย DLTV รายการทต่ี รวจสอบยืนยัน ความเหมาะสม ความเปน็ ไปได้ (n = 10) (n = 10) 1. การกำหนดองคป์ ระกอบของรูปแบบ X S.D. แปลผล TPS Model ยุทธศาสตร์ 654 ปจั จยั สู่ X S.D. แปลผล 4.20 0.50 มาก ความสำเร็จการพฒั นาคณุ ภาพการเรยี น 4.60 0.70 มากทส่ี ุด การสอนทางไกล ด้วย DLTV 4.30 0.46 มาก 2. ความสมั พนั ธข์ ององค์ประกอบใน 4.80 0.42 มากทีส่ ุด รปู แบบ TPS Model ยุทธศาสตร์ 654 4.00 0.50 มาก ปจั จยั สู่ความสำเรจ็ การพัฒนาคุณภาพการ 4.50 0.30 มากทสี่ ดุ เรยี นการสอนทางไกล ด้วย DLTV 3. รายละเอียดค่มู ือรปู แบบการบรหิ าร แบบ TPS Model ยุทธศาสตร์ 654 ปัจจัยสู่ความสำเรจ็ การพัฒนาคุณภาพการ เรยี นการสอนทางไกล ดว้ ย DLTV รายงานสรุปผลการปฏิบัตงิ านของตนเอง (Self report) นายวีรเดช มะแพทย์

45 รวม 4.63 0.26 มากท่สี ดุ 4.16 0.31 มาก จากตาราง 1 พบวา่ รูปแบบการบริหารแบบ TPS Model ยุทธศาสตร์ 654 ปจั จัยสู่ความสำเร็จ การพัฒนาคณุ ภาพการเรียนการสอนทางไกล ดว้ ย DLTV มคี วามเหมาะสม โดยรวม อยใู่ นระดับมากทส่ี ดุ ( = 4.63 : S.D. = 0.26) และมคี วามเปน็ ไปได้ อยทู่ ่ีระดบั มาก (4.16 : SD = 0.31) 9.2 วธิ กี ารหาประสิทธิภาพของนวตั กรรม ประเมินความตรงเชิงเน้อื หา (Content Validity) และ/หรือ ความตรง เชิงโครงสรา้ ง (Construct Validity ) 1. นำนวัตกรรมไปใหผ้ ู้เช่ียวชาญแสดงความเหน็ ของทา่ นทีม่ ีตอ่ นวตั กรรม โดยใสเ่ คร่อื งหมาย / ลงในช่องทางขวามอื ของรายการที่กำหนด ว่ามคี วามเหมาะสม สอดคลอ้ ง กับแนวทางการแก้ปัญหาท่ีกำหนด ไว้ในวัตถปุ ระสงคก์ ารวจิ ยั หรือไม่ พรอ้ มกับเขยี นขอ้ เสนอแนะขอ้ คิดเหน็ ทีเ่ ป็นประโยชน์ในการวจิ ยั ด้วย 2. นำรายการที่ผู้เชี่ยวชาญแสดงความคดิ เห็นมาใหค้ ่านำ้ หนกั คะแนน ถา้ เหมาะสม ไดค้ ่านำ้ หนัก +1 ถา้ ไม่แนใ่ จ ไดค้ า่ น้ำหนกั 0 และถ้าไมเ่ หมาะสม ไดค้ ่านำ้ หนัก –1 3.บันทึกค่านำ้ หนกั คะแนนแต่ละคน และทำการวิเคราะห์หาคา่ IOC ดงั ตวั อยา่ งแบบบนั ทึก จาก ผเู้ ชยี่ วชาญทกุ คน 9.3 นวตั กรรมมปี ระสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด 1.ผลการนเิ ทศติดตามการดำเนนิ งานของโรงเรยี นขนาดเล็ก ตามมาตรฐานและตวั ชี้วัด การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) ตารางท่ี 2 ผลการนเิ ทศตดิ ตามการดำเนินงานของโรงเรียนขนาดเลก็ ตามมาตรฐานและตวั ชี้วัด การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาดว้ ยเทคโนโลยกี ารศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV) ด้านความพร้อมและ ความเหมาะสมของปัจจยั พน้ื ฐาน กลุ่มเป้าหมาย 149 คน ท่ี รายการประเมิน ผลการประเมิน ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง จน. % จน. % จน. % จน. % ด้านคุณภาพผู้เรยี น 44 34.65 78 61.42 4 3.15 1 0.79 34 26.77 84 66.14 9 7.09 0 0.00 1 พฤติกรรมสำคญั ท่เี กิดจากการ เรยี นการสอนโดยใชก้ ารศกึ ษา 5 25.00 8 40.00 6 30.00 1 5.00 ทางไกลผา่ นดาวเทยี ม 20 15.75 95 74.80 12 9.45 0 0.00 2 ผลการเรยี นรู้ตามหลักสตู ร แกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ด้านการจัดการเรยี น การสอน 3 ผลการทดสอบระดับชาตขิ ้นั พ้นื ฐาน (O-NET) (20คน) 4 การเตรียมการก่อนการเรียนการ สอน รายงานสรปุ ผลการปฏบิ ัตงิ านของตนเอง (Self report) นายวีรเดช มะแพทย์