Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บางปลาม้า

บางปลาม้า

Published by nongrongnfe, 2019-12-26 01:38:44

Description: บางปลาม้า

Search

Read the Text Version

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self – Assessment Report) ปงบประมาณ 2561 ของ ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอบางปลามา อาํ เภอบางปลามา จังหวัดสุพรรณบรุ ี สาํ นกั งาน กศน. สํานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ





ค สารบญั คาํ นาํ หนา สารบัญ ก บทสรปุ สาํ หรบั ผบู ริหาร และขอเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา ค  บทท่ี 1 ขอมูลท่วั ไปของสถานศึกษา ง  บทที่ 2 ทศิ ทางและผลการดําเนินงานของสถานศึกษา 1  บทท่ี 3 ผลการประเมินตนเอง และแนวทางการพัฒนาสถานศึกษา 15 26 ผลการประเมินตนเองตามรายมาตรฐาน 26 มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเ รยี น/ผูรบั บริการ 82 มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัดการศกึ ษา/การใหบริการ 127 มาตรฐานท่ี 3 ประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การการศกึ ษา 140  บทท่ี 4 สรปุ ผลการประเมินตนเอง และแนวทางการพัฒนาสถานศกึ ษา 140 สรุปผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 142 เกณฑระดับคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 143 สรปุ ผลการวิเคราะหตนเองของสถานศกึ ษาเพ่อื การพัฒนา 152 แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา 154 ภาคผนวก 158 ภาคผนวก ก กฎกระทรวง การประกนั คณุ ภาพ พ.ศ.2561 160 ภาคผนวก ข ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอื่ ง มาตรฐานการศึกษาการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย (ฉบบั ที่ 2 ) พ.ศ. 2561 ภาคผนวก ค ขอความเหน็ ชอบคาความสาํ เรจ็ หรอื ระดบั ผลการดาํ เนนิ งานทสี่ ถานศึกษา คาดหวงั วา สามารถทาํ ใหเ กดิ ขน้ึ ได ในมาตรฐานที่ 1 ปงบประมาณ 2561

ง บทสรปุ สําหรบั ผูบริหาร รายงานการประเมินตนเองของศูนยก ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อําเภอ บางปลามาต้ังอยเู ลขท่ี - หมู 5 ตําบล โคกคราม อาํ เภอ บางปลามา จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี สงั กัด สาํ นักงาน สง เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ซง่ึ จัดการศึกษานอกระบบระดับ การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานการศึกษานอกระบบ การศกึ ษาตอเนอ่ื ง และการศกึ ษาตามอัธยาศัย มีบคุ ลากรจาํ นวนทง้ั ส้นิ 27 คน และมผี ูเรยี นจาํ นวน ท้งั สิ้น จํานวน 19,658 คน (การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน 1,674 คน การศึกษาตอ เนื่อง 5,195 คน และการศกึ ษาตามอัธยาศยั 12,784 คน) ท้งั นี้ คณะกรรมการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ไดประเมนิ สถานศึกษา ตั้งแตวนั ที่ 2 กรกฎาคม 2561 ถงึ วันท่ี 30 กนั ยายน 2561 ซึ่งจากการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษา สามารถสรปุ ผลการประเมนิ ได ดงั นี้ ผลการประเมินตนเองในภาพรวม มีคะแนนรวม เทากับ 90.50. คะแนน ซ่งึ อยใู นระดับคณุ ภาพ ดมี าก และเมอื่ พจิ ารณาผลการประเมนิ ตนเองตามรายมาตรฐาน พบวา มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู รียน/ผรู บั บรกิ าร มคี ะแนนรวม เทา กบั 32.00 คะแนน ซงึ่ อยูในระดับคณุ ภาพ ดีมาก มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจดั การศกึ ษา/การใหบ รกิ าร มีคะแนนรวม เทากับ 38.50 คะแนน ซง่ึ อยใู นระดับคุณภาพ ดีมาก มาตรฐานท่ี 3 ประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การการศึกษา มีคะแนนรวม เทา กับ 20 คะแนน ซงึ่ อยใู นระดับคุณภาพ ดมี าก ตามรายละเอยี ด ดังนี้

จ มาตรฐาน นํา้ หนกั ผลการประเมนิ ตนเอง มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู รยี น/ผรู ับบริการ (คะแนน) คะแนนทไ่ี ด ระดับคุณภาพ การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน 32.00 ตวั บงชี้ 1.1 ผเู รียนการศึกษาข้ันพน้ื ฐานมีคณุ ธรรม 35 5 ดมี าก ตัวบง ชี้ 1.2 ผูเ รียนการศึกษาขนั้ พ้นื ฐานมีทกั ษะกระบวนการคิดทักษะ 5 5 ดมี าก 5 การแสวงหาความรู เรียนรอู ยา งตอเนอื่ ง และสามารถนําไป 5 ดมี าก ประยกุ ตใ ชใ นการดํารงชวี ติ 5 4.5 ดมี าก ตัวบง ช้ี 1.3 ผเู รียนการศึกษาขนั้ พ้นื ฐานมีความรพู น้ื ฐาน 5 4 ดี การศกึ ษาตอเน่อื ง 5 4 ดี ตัวบง ช้ี 1.4 ผูเ รยี นหรอื ผเู ขา รบั การอบรมมคี วามรู ความสามารถ 5 และทักษะในการประกอบอาชีพ 4.5 ดมี าก ตวั บงช้ี 1.5 ผเู รยี นหรอื ผเู ขา รับการอบรมปฏบิ ตั ิตนตามหลักปรชั ญา 5 38.50 ของเศรษฐกิจพอเพียง 45 5 ดมี าก ตัวบงชี้ 1.6 ผูเรียนหรอื ผเู ขารับการอบรมสามารถใชเ ทคโนโลยี 5 3.5 ดี ไดอยางเหมาะสม 5 4 ดี การศกึ ษาตามอัธยาศยั 5 5 ดมี าก ตวั บงชี้ 1.7 ผรู ับบรกิ ารไดรับความรแู ละ/หรอื ประสบการณจากการเขารว ม 5 4.5 ดมี าก กจิ กรรม/โครงการการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 5 4 ดี มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศกึ ษา/การใหบ ริการ 5 4 ดี การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน 5 4.5 ดมี าก ตวั บงช้ี 2.1 คณุ ภาพครกู ารศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน 5 4 ดี ตวั บงช้ี 2.2 คณุ ภาพของหลักสูตรสถานศกึ ษา 5 20.00 ดมี าก ตวั บงช้ี 2.3 คณุ ภาพสื่อตามหลกั สตู รสถานศึกษา 20 5 ดมี าก ตวั บงชี้ 2.4 คุณภาพการจดั กระบวนการเรยี นรตู ามหลกั สตู รสถานศกึ ษา 5 5 ดมี าก การศกึ ษาตอเนือ่ ง 5 5 ดมี าก ตวั บง ชี้ 2.5 คุณภาพวทิ ยากรการศกึ ษาตอเนอื่ ง 5 5 ดมี าก ตัวบงช้ี 2.6 คุณภาพของหลกั สูตรและสื่อการศึกษาตอเนื่อง 5 90.50 ตัวบงชี้ 2.7 คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรกู ารศึกษาตอ เนอื่ ง 100 การศกึ ษาตามอัธยาศัย ตวั บงช้ี 2.8 คณุ ภาพผจู ดั กจิ กรรมการศกึ ษาตามอัธยาศัย ตัวบงชี้ 2.9 คุณภาพกระบวนการจดั กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 3 ประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการการศกึ ษา ตัวบงชี้ 3.1 การบรหิ ารสถานศกึ ษาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และหลักธรรมาภบิ าล ตัวบงชี้ 3.2 การสง เสริม สนบั สนนุ การจดั การศกึ ษาของภาคเี ครอื ขา ย ตัวบง ชี้ 3.3 การมสี ว นรว มของคณะกรรมการสถานศกึ ษา ตวั บงชี้ 3.4 การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา รวม

ฉ ทั้งน้ี จากการวิเคราะหผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเพือ่ การพฒั นาการศึกษา สามารถสรปุ ผลไดดังนี้ สรปุ ผลการวเิ คราะหผ ลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาเพ่อื การพัฒนา จุดเดน การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ตวั บงช้ีท่ี 1.1 ผเู รียนการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานมคี ุณธรรม 1.ผูเรยี นมีคณุ ธรรมเปน ไปตามคาเปาหมายทีก่ ําหนด 2.สถานศึกษามกี ารประเมินคุณธรรมผเู รียนอยา งเปน ระบบ 3.สถานศกึ ษามีผลการดําเนินงานเกี่ยวกับการพัฒนาคุณธรรมอยางตอ เนื่อง 4. สถานศกึ ษามีการดําเนนิ งานสอดคลองกบั นโยบายและจดุ เนนของ สาํ นักงาน กศน. /นโยบาย จดุ เนนของกระทรวงศกึ ษาธิการ แผนการศึกษาแหงชาติ สอดคลองกับนโยบายและจุดเนน ของสํานักงาน กศน.ปงบประมาณ 2561 ยทุ ธศาสตรท ี่ 1 ดา นความมัน่ คง ขอ 1.1 สงเสริมการจัดการเรียนรตู ามพระบรม ราโชบายดานการศึกษาของรชั กาลที่ 10 5.สถานศกึ ษามผี เู รยี นทีเ่ ปน ตวั อยา งทด่ี ี หรอื ตน แบบดานคณุ ธรรมเปน ไปตาม คา เปาหมายกาํ หนด จาํ นวน 12 คน ตัวบงชี้ 1.2 ผเู รียนการศกึ ษาขนั้ พื้นฐานมที กั ษะกระบวนการคดิ ทกั ษะการ แสวงหาความรู เรียนรอู ยา งตอ เนอื่ ง 1.ผูเรยี นมคี วามสามารถ มที ักษะกระบวนการคดิ ทักษะการแสวงหาความรู เรียนรูอยางตอ เน่ือง 2. สถานศกึ ษานาํ เสนอวธิ กี ารประเมนิ ความสามารถของผูเรียนตามคาํ อธิบาย ตวั บง ชที้ ี่ 1.2 3. สถานศึกษามีผลการดาํ เนินงานเกี่ยวกบั การพฒั นาผูเรยี นอยางตอ เนอ่ื ง 4. สถานศึกษามีการดาํ เนนิ งานทสี่ อดคลองกับ นโยบายและจดุ เนนของ สาํ นักงาน กศน./นโยบาย จดุ เนนของกระทรวงศึกษาธกิ าร/ยุทธศาสตรและเปาหมาย ของแผนการศึกษาแหง ชาติ 20 ปยทุ ธศาสตรท่ี 2 ดานการพัฒนากําลงั คน การวิจยั และนวตั กรรมเพื่อสรา งขดี ความสามารถในการแขงขันของประเทศขอ 2.2 พัฒนา กําลังคนใหเ ปน “Smart Digital Persons (SDPs)” ท่ีมที กั ษะดา นภาษาและทักษะ ดจิ ิทัลเพอ่ื รองรบั การพัฒนาประเทศ (1) สงเสริมการจัดการเรียนรดู าน Digital เพ่อื ให ประชาชนมีความรูพ ื้นฐาน ดาน Digital และความรเู รือ่ งกฎหมายวาดว ยการกระทํา ความผิดเกยี่ วกบั คอมพิวเตอรสําหรบั การใชป ระโยชนใ นชีวิตประจาํ วัน 5.สถานศกึ ษามผี เู รียนทเ่ี ปนตัวอยา งท่ีดีหรือตน แบบตามคาํ อธบิ าย ตัวบงช้ี 1.2 นกั ศึกษาของสถานศึกษา เปนตัวอยางที่ดดี านทกั ษะกระบวนการคิด ทกั ษะการแสวงหาความรู เปนผูมีจติ อาสาและเขารว มกิจกรรมอยา งตอเนื่อง และ สามารถนําไปประยกุ ตใชในการดํารงชวี ิต จํานวน 5 คน

ช สรุปผลการวิเคราะหต นเองของสถานศึกษาเพ่ือการพัฒนา จุดเดน ตัวบงชี้ 1.3 ผเู รยี นการศกึ ษาข้นั พื้นฐานมีความรูพนื้ ฐาน 1. ผเู รยี นมคี วามรูพืน้ ฐานตามคําอธบิ ายตวั ชี้ 1.3 เปน ไปตามคาเปาหมายทก่ี าํ หนดไว 2. ผเู รยี นนําความรพู ื้นฐานไปใชในการดําเนนิ ชวี ิต การทํางาน หรือการประกอบ อาชีพได เปนไปตามคา เปาหมาย 3. สถานศึกษามีผลการดาํ เนนิ งานเกยี่ วกบั การพฒั นาความรูพื้นฐานของผูเรยี นอยางตอเน่อื ง ไดด ําเนินการจัดกิจกรรมการเรยี นรทู ่หี ลากหลาย และเหมาะสมกับกลุมเปา หมาย เชน มีการแลกเปล่ยี นการเรยี นรู มกี ระบวนการกลุม มกี ารนาํ เสนอหนาชน้ั เรยี นมีการใชส่ือ เทคโนโลยี แบบเรียน แหลงเรยี นรูม กี ารประสานงานโดยตรงกับผเู รยี น มีการดูแล และ ติดตามประเมนิ ผลอยางตอ เน่อื ง โดยดจู าก ใบงาน แบบทดสอบยอย แบบทดสอบกลางภาค แบบทดสอบปลายภาค โครงงาน รายงาน บนั ทึกการเรยี นรู เปน ตน 4. สถานศึกษามีการดําเนนิ งานที่สอดคลอ งกบั นโยบายและจดุ เนนของสาํ นักงาน กศน./ นโยบาย จุดเนน ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร/ยทุ ธศาสตรแ ละเปา หมายของแผนการศกึ ษา แหงชาติ 20 ป โดยการวิเคราะหความสอดคลองของมาตรฐานกบั นโยบายทีเ่ กยี่ วขอ ง สอดคลองกบั แผนการศกึ ษาแหงชาติ 20 ป ยุทธศาสตรท่ี 2 การผลิตและพฒั นา กาํ ลังคน การวจิ ยั และนวัตกรรม เพ่อื สรางขดี ความสามารถในการแขงขันของประเทศขอ 2.1 กําลงั คนมีทักษะทีส่ ําคัญจําเปน และมี สมรรถนะตรงตามความตอ งการของตลาดงานและการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ (9) ประชากรวัยแรงงาน (15– 59 ป) มีจาํ นวนปก ารศึกษาเฉลี่ยเพมิ่ ข้นึ (10) รอยละของ ประชากรวัยแรงงาน (15 - 59 ป) ที่มกี ารศกึ ษาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลายหรือเทียบเทาขน้ึ ไปเพ่ิมขึน้ สถานศกึ ษามกี ารสงเสรมิ สนบั สนนุ การศกึ ษาระดับช้นั มัธยมศึกษาตอนปลายเพมิ่ ขน้ึ ในทกุ ภาคเรียนเพื่อตอบสนองความตอ งการของประชากรวยั แรงงาน 5. สถานศึกษามผี ูเรียนเปนตัวอยางทีด่ ี หรอื ตนแบบในการนาํ ความรไู ปใช/ ประยุกตใชใน การดาํ รงชีวิต เปนไปตามคาเปา หมายท่ีกาํ หนด ในการดาํ เนนิ งานตามตัวบงชี้ 1.3 สถานศึกษามผี ูเรียนเปนตัวอยางที่ดี หรอื ตน แบบใน การนําความรไู ปใช/ ประยกุ ตใชใ นการดํารงชีวติ โดยมีวธิ ีการดําเนินงาน จากการพูดคุย สัมภาษณ สอบถาม การสังเกต และการเยีย่ มบา น ใชหลกั ฐานเชิงประจกั ษ ในภาคเรียน ที่ 2 ปก ารศกึ ษา 2560 สถานศกึ ษา มผี เู รยี นทเ่ี ปน ตัวอยางทดี่ ีหรอื ตน แบบดา นการมี ความรพู ้ืนฐาน จํานวน 6 คน 1. นายประสงค คลา ยสบุ รรณ รางวลั นกั ศึกษาท่ีมีผลการทดสอบระดับชาติดา นการศึกษา นอกระบบโรงเรยี น (N-net) คา เฉลี่ยสูงสุดระดบั ประถมศกึ ษา 2. นางสาวรินรดา สังวาลเพ็ชร รางวัลนักศกึ ษาทม่ี ผี ลการทดสอบระดบั ชาตดิ า น

ซ สรปุ ผลการวเิ คราะหต นเองของสถานศึกษาเพ่ือการพัฒนา จุดเดน การศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N-net) คา เฉลีย่ สงู สุดระดับมัธยมศึกษาตอนตน อนั ดับท่ี 1 3. นางจริ าวรรณ ทับทิมเทศ รางวลั นกั ศกึ ษาทมี่ ผี ลการทดสอบระดับชาติดา นการศกึ ษา นอกระบบโรงเรียน (N-net) คา เฉลี่ยสงู สดุ ระดับมัธยมศึกษาตอนตนอนั ดับที่ 2 4. นางสาวศรสุรางค โพธหิ์ ิรัญ รางวัลนกั ศึกษาที่มผี ลการทดสอบระดับชาตดิ านการศกึ ษา นอกระบบโรงเรยี น (N-net) คา เฉลย่ี สูงสดุ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตนอนั ดับท่ี 3 5. นายฑฆิ มั พร ฮวดหอม รางวลั นักศึกษาท่ีมผี ลการทดสอบระดับชาตดิ านการศึกษานอก ระบบโรงเรยี น (N-net) คา เฉลี่ยสงู สดุ ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลายอันดับที่ 1 6. นางสาวสวุ รรณา หยดยอ ย รางวลั นกั ศึกษาทีม่ ีผลการทดสอบระดับชาติ ดา นการศึกษานอกระบบโรงเรียน ( N-net) คาเฉลี่ยสูงสดุ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย อันดับท่ี 1 ในปง บประมาณ 2561 สถานศกึ ษา มกี ารแตงตั้งคณะกรรมการคัดเลือกผเู รยี นท่ี เปนตวั อยา งที่ดี หรอื ตนแบบในการนําความรูไปใช/ ประยกุ ตใ ชใ นการดาํ รงชวี ิตตอไปอกี ดว ย ตวั บง ช้ี 2.4 คณุ ภาพการจดั กระบวนการเรียนรูตามหลักสตู รสถานศึกษา 1. ครูการศึกษาข้ันพน้ื ฐานมีกระบวนการในการออกแบบและจัดกระบวนการเรียนรรู ายวชิ าหรื หนว ยการเรียนรทู ีใ่ หความสําคัญกับความแตกตางระหวางบคุ คลของผูเรียน สถานศกึ ษาจดั กระบวนการเรียนรรู ายวชิ าหรอื หนว ยการเรยี นรู ท่ใี หค วามสาํ คญั กับความ แตกตา งระหวางบคุ คลของผูเรยี น การจดั การเรยี นรูใหผ ูเรยี นไดค น พบและแสดงออกถงึ ศกั ยภาพของตนเอง ครผู สู อน ตอ งมีขอมลู ของผเู รียนเปน รายบุคคล สําหรับใชในการวาง แผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู และนาํ ไปพัฒนาผูเ รียนใหเ หมาะสมกบั ความแตกตา งของ ผเู รียนแตละคน และไดร วมกันประชมุ จัดทาํ แผนการเรียนรรู ายบคุ คลแบบบรู ณาการโดยครู ไดม กี ารออกแบบกระบวนการเรียนรใู นรายวชิ าบังคับและรายวชิ าเลอื กโดยแยกออกเปน ระดับประถมศึกษา ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย โดยใชเครอื่ งมอื สําหรบั การวิเคราะหและเกบ็ ขอมูลผูเ รียนเปน รายบุคคล มีการวิเคราะหระดบั ความยากงา ย ของเนื้อหาแตละรายวิชาในภาคเรียน แลว นําผลที่ไดม าออกแบบในการจัดทําแผนการเรยี นรู ใหม กี ารสอดคลองตามมาตรฐานตวั ชว้ี ัดและเนอื้ หา ซึ่งในการจดั ทาํ แผนการเรียนรใู นแตล ะ สปั ดาห โดยจัดกจิ กรรมทม่ี ุงสงเสรมิ ทกั ษะกระบวนการเรียนรู 2. ครกู ารศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานทราบไดวา ผูเรยี นมคี วามรู ความสามารถ บรรลตุ ามมาตรฐาน ตัวชว้ี ดั ของรายวิชาหรอื หนว ยการเรยี นรู โดยไดมกี ารวัดผลและประเมนิ ผล จากการท่ีได ออกแบบการจดั การเรยี นรดู ว ยการมอบหมายใบงาน ( job sheet) ใหผเู รียนสามารถเรียนรู ไดอยางเปน ขั้นตอน ผูเรียนทํารายงานในรายวชิ าที่ลงทะเบยี นในภาคเรียนน้ัน ๆ นอกจากนั้น ครไู ดแบงกลุมใหผ ูเ รียนรวมกันทํางาน เปนทมี รว มมือกนั ศกึ ษาคนควาหา

ฌ สรปุ ผลการวเิ คราะหต นเองของสถานศึกษาเพ่อื การพัฒนา จดุ เดน วธิ กี ารแกป ญ หาหรือปฏิบัติกจิ กรรมตามความสามารถ ความถนัด หรือความสนใจ เปน การฝก ใหทํางานรว มกันตามวิถีแหงประชาธิปไตย ศึกษาคน ควาจากสือ่ แบบเรียน อนิ เตอรเนต็ และส่ือ เทคโนโลยี การศกึ ษาคน ควา หาขอมูลในแหลงเรยี นรูในชมุ ชน จากน้นั ใหผเู รยี นนาํ ผลจาก การศึกษาคนความานาํ เสนอหนาหอ งเรยี น และสงครูในรูปแบบใบงานและรปู เลม รายงาน พรอมทัง้ ใหผเู รยี นบนั ทึกผลการเรียนรใู นแตละครง้ั ลงในแบบบันทึกการเรียนรู ซ่งึ ในการน้ี ผูเรยี นจะตอ งนําเอกสารดังกลาวสง ใหครผู สู อนหลังเสร็จสิน้ การเรยี นทกุ คร้ัง ทาํ ใหท ราบไดวา ผเู รยี นมีความรู ความสามารถ บรรลุตามมาตรฐาน ตัวชวี้ ดั ของรายวชิ าหรือหนวยการเรียนรู 3. ครมู ีการทบทวน หรือตดิ ตาม หรือประเมินกระบวนการการออกแบบและจัดกระบวนการ เรยี นรูรายวิชาหรือหนว ยการเรียนรู เพอื่ นาํ ไปปรับปรุงกระบวนการ โดยจากการตรวจใบงานท่ี ใหผ ูเรียนไปศกึ ษาคนควา ในรปู แบบของการศกึ ษาคนควาดว ยตนเอง และใชก ระบวนการกลมุ การศึกษาคน ควาจากแบบเรียน อินเตอรเ น็ต ในการประเมินผลจากแบบทดสอบหลงั เรยี น โดย นาํ ผลคะแนนที่ผเู รียนได นํามาปรบั ปรงุ แกไ ขและพฒั นาผลการติดตาม บนั ทึกหลงั การสอนของ ครเู พ่ือใชเ ปน แนวทางในการแกไข โดยสงั เกตจากการพบกลุมไปตดิ ตามเยี่ยมบา นผเู รยี น เพอ่ื เปนการพัฒนาการจัดกระบวนการเรยี นรูและใหส อดคลองกับการจัดทําวิจัยในชั้นเรยี นนํามา ปรบั ปรงุ ในการจดั กระบวนการเรียน การสอนโดยใหผ เู รยี นไดทําการศึกษาเรยี นรูดว ยตนเอง จากสอ่ื ทีม่ คี ุณภาพท่ีหลากหลาย ซึ่งตรงตามเนอ้ื หาในภาคเรยี น โดยมุง เนน กระบวนการจดั การ เรียนรทู ี่เนนผเู รยี นเปนสําคญั ไดม ีการจดั กระบวนการเรียนรูท ่ผี านสถานีโทรทัศนเพ่อื การศกึ ษา (ETV) จากชุดรบั สญั ญาณดาวเทยี มใน กศน.ตําบลเรียนรจู าการทาํ ใบงาน โครงงาน ดวยการลง มอื ปฏิบัติจริงในลกั ษณะการศกึ ษา สาํ รวจ คนควา ทดลอง ประดิษฐ คิดคน สง่ิ ใหม ๆ เพ่ือให ผเู รยี นไดเตมิ เต็มตามศกั ยภาพของผูเรียนครอบคลมุ ทงั้ ดานความรู ทกั ษะ กระบวนการวัดผล การเรียนรู ตามหลักสตู รมาตรฐานการเรยี นรูไดอ ยา งเหมาะสม 4. สถานศึกษามกี ารดาํ เนนิ งาน ทีส่ อดคลอ งกบั นโยบายและจุดเนน ของสาํ นกั งาน กศน. / นโยบาย จดุ เนนของกระทรวงศึกษาธกิ าร /ยทุ ธศาสตรและเปาหมายของแผนการศกึ ษา แหง ชาติ 20 ป ยทุ ธศาสตรท ี่ ๓ การพัฒนาศกั ยภาพคนทุกชวงวัยและการสรางสงั คมแหง การเรยี นรู ขอ 2.3 สถานศกึ ษาทกุ ระดับการศึกษาสามารถจัดกจิ กรรม/กระบวนการเรียนรตู าม หลักสตู รไดอยางมีคณุ ภาพและมาตรฐาน (3)จํานวนสถานศึกษาในระดบั การศกึ ษาท่ีจดั การศกึ ษาตามหลักสตู รตามที่มุง เนน พัฒนาผเู รียนใหม ีคณุ ลักษณะทกั ษะการเรยี นรูใ นศตวรรษท่ี ๒๑ เพ่ิมขึ้น (6) รอยละของสถานศึกษาขนั้ พื้นฐาน ท่จี ดั กระบวนการเรยี นรูเ ชงิ บูรณาการเพอื่ พฒั นาทักษะการคดิ วเิ คราะหและความคดิ สรา งสรรคเพิม่ ขน้ึ 5. ครูการศึกษาขั้นพน้ื ฐานมีการออกแบบ และจัดกระบวนการเรียนรู รายวิชาหรือหนวยการ เรียนรูท เ่ี ปน ตนแบบ โดยจัดกระบวนการเรียนรรู ายวชิ า หรอื หนวยการเรยี นรใู นรูปแบบของ การจดั กิจกรรมการเรียนการสอน แบบพบกลุม โดยใหผูเรยี นไดเ รยี นรูโดยการทาํ ใบงาน การทํา รายงานและการทําโครงงาน ทส่ี อดคลอ งกบั รายวชิ าที่ลงทะเบยี นเรียนในภาคเรยี นนนั้ ๆ โดยมี

ญ สรุปผลการวิเคราะหต นเองของสถานศึกษาเพ่อื การพฒั นา จดุ เดน การนาํ เสนอผลการจดั ทําโครงงาน สถานศกึ ษาไดม กี ารแตง ตั้งคณะกรรมการประเมนิ ผล โครงงานจากรูปเลม โครงงานผลงานของนกั ศึกษา พบวา โครงงานผลงานดงั กลา วแสดงใหเหน็ วาผูเรียนมที ักษะการคิด วเิ คราะห และความคิดสรางสรรค ในการจดั โครงการคา ยสงเสรมิ การจัดการเรียนการสอนแบบสะเต็มศกึ ษาของสถานศึกษาเพื่อใหผเู รยี นเกดิ กระบวนการคิด เปน มีทกั ษะการคิดวเิ คราะห และออกแบบช้ินงานไดอยา งสรางสรรค โดยใชการบูรณาการ ความรดู า นวทิ ยาศาสตรค วบคูเทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตรแ ละคณติ ศาสตร มาตรฐานที่ 3 ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจัดการการศึกษา ตัวบง ช้ี 3.1 การบรหิ ารสถานศึกษาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและ หลกั ธรรมาภิบาล 1.ผูบริหารมกี ารบรหิ ารงานดา นวิชาการ โดยนอมนาํ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งและหลักธรรมาภบิ าล มาประยกุ ตใชในการดําเนินงาน ได ศกึ ษาวิเคราะหน โยบาย จุดเนนของสํานักงาน กศน. นโยบายและจุดเนน ของกระทรวงศึกษาธิการ ยุทธศาสตรแ ละ เปา หมายของแผนการศกึ ษาแหง ชาติ 20 ป นํามาใชใ นการจดั ทําแผนพฒั นาคณุ ภาพ การศกึ ษา พ.ศ.2561 - 2534 แผนปฏิบัตกิ ารประจาํ ปงบประมาณ 2561 เพือ่ ใหบ คุ ลากร ของสถานศึกษานําไปขับเคลื่อนสูก ารปฏบิ ตั ิ จดั กิจกรรม/โครงการ เพ่อื ใหง านบรรลุเปา หมาย ตามภารกจิ ซง่ึ การ บริหารงานดา นวิชาการเปน ส่ิงสําคญั ทส่ี ถานศกึ ษาตอ งทําใหเ ปน ยอมรับ ของผเู รียน ผรู บั บรกิ าร โดยไดท าํ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษารายวิชาเลอื ก ตามหลกั สูตร การศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พ.ศ.2551 รายวชิ า การใชพ ลังงานไฟฟาใน ชวี ิตประจําวนั ,สุพรรณบานฉัน,ประวตั ิศาสตรช าติไทย, แผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู รายบุคคลแบบบรู ณาการ และแผนการจดั การเรยี นรูห ลักสูตร การศกึ ษา นอกระบบระดบั การศกึ ษาระดับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ.2551การพัฒนาหลกั สูตรการศึกษาตอเนือ่ ง สถานศกึ ษาไดส งบคุ ลากรเขา รบั การพฒั นาดานวิชาการกบั หนว ยงานตน สังกดั และหนว ยงาน อ่นื 2. ผบู รหิ ารสถานศึกษามีการบริหารงานดานงบประมาณ โดยนอมนําหลัก ปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งและหลกั ธรรมาภิบาล มาประยกุ ตใชในการดําเนนิ งาน โดยจดั ใหม กี ารทํา แผนการใชง บประมาณเปนรายไตรมาส ใหสอดคลองกบั แผนปฏบิ ตั ิการประจาํ ป ซ่งึ ผา นการ เห็นชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาและมีการประชุมชี้แจงการใชจา ยเงินงบประมาณกับ บุคลากรของสถานศึกษา มกี ารติดตามตรวจสอบการเบิกจา ยเงนิ งบประมาณ ใหเ กดิ ความ คุมคา และไดรบั ประโยชนสงู สุด โดยมอบหมายใหผูรับผดิ ชอบรายงานการใชจา ยเงิน งบประมาณ เปน รายวัน รายเดือน พรอ มใหก ารจดั ทําหลักฐานท่เี กี่ยวขอ งกบั การใชจา ยเงนิ งบประมาณ เชน แผนการจัดกิจกรรม ทะเบยี นคมุ เงนิ งบประมาณ,ระบบบรหิ ารงบประมาณ E-budget, ทะเบยี นคุมการรบั – จายเงนิ งบประมาณ ,รายงานเงินคงเหลอื ประจาํ วนั ,รายงาน การรับ-จายเงนิ รายไดสถานศึกษา

ฎ สรปุ ผลการวเิ คราะหต นเองของสถานศึกษาเพอ่ื การพัฒนา จุดเดน หลกั ฐานการเบิกจายเงนิ ผูบ ริหารสถานศกึ ษาไดคํานึงถงึ ความโปรง ใสและตรวจสอบไดช ัดเจน โดยใชกฎ ระเบยี บ หรือขอ บงั คับตางๆของ รองรับการ ปฏิบัตงิ าน 3. ผูบรหิ ารสถาน มีการบริหารงานดานการบริหารบุคคล โดย นอ มนํา หลักปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงและหลักธรรมาภิบาล มาประยุกตใชในการดําเนนิ งาน ของการบริหาร บานเมืองที่ดมี าใชในการบริหารงานบคุ คล ใหค วามสําคญั ดบั บุคลากรทุกคน โดยมอบหมาย งานตามโครงสรางสถานศึกษาอยางชัดเจน ใหบ ุคลากรปฏิบัตหิ นา ท่ีตามทไ่ี ดรับมอบหมาย อยางถูกตอง โดยสงเสรมิ ใหบคุ ลากรไดร ับการพฒั นาตนเองในเร่อื งทีเ่ กีย่ วของกบั การปฏิบตั ิใน หนา ทีเ่ ขารบั การพัฒนาในโครงการท่ีสํานกั งาน กศน.จงั หวดั สุพรรณบุรี และหนวยงานอนื่ บคุ ลากรทผ่ี านการฝก อบรมหรือพฒั นา นําความรมู าปรบั ใชในการปฏิบตั งิ าน ใหมี ประสิทธิภาพยง่ิ ขน้ึ มีความเขา ใจตรงกัน ปฏิบตั งิ านไปในทิศทางเดยี วกนั ยดึ มั่นในความ ถูกตองในการปฏิบตั หิ นา ท่ี ๔.ผูบรหิ ารมีการบรหิ ารงานดา นการบรหิ ารทัว่ ไปโดยนอมนาํ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและธรรมาภบิ าลมาประยุกตใ ชในการดาํ เนนิ งาน ในการบรหิ ารจัดการงานท่วั ไป มี การประชมุ วางแผน จดั ทาํ แผนประจําป โดยศึกษานโยบายจุดเนน กศน. เพอ่ื นาํ มาวางแผนใน ดา นตา งๆ เชน งานธรุ การ งานกิจการนักศึกษา งานอาคารสถานท่ี งานภาคเี ครอื ขา ย งาน พัสดุ เพอ่ื ใหป ระหยดั ทงั้ เวลาและงบประมาณ ทําใหการปฏบิ ัตงิ านมีประสทิ ธิภาพและ ประสิทธผิ ล เชน งานธรุ การ มกี ารนําระบบ e-office มาใชในการรบั สงหนงั สือราชการ เพื่อใหเกดิ การประหยัดเวลาและการลดใชกระดาษ งานอาคารสถานที่ มกี ารดูแลตรวจสอบ อาคารสถานทใ่ี หม ีความปลอดภยั มกี ารปรบั ปรุงสถานทใ่ี หเอ้ือตอ การทาํ งาน พัสดมุ ีการ ตรวจสอบครุภัณฑใหพ รอ มใชง าน มกี ารบาํ รงุ รักษาครุภณั ฑเ พือ่ ยืดอายกุ ารใชง าน ๕.สถานศึกษามกี ารดําเนนิ งานท่ีสอดคลองกบั นโยบายจุดเนน สาํ นกั งาน กศน ./นโยบาย จุดเนนสถานศึกษามีการดําเนินงานทสี่ อดคลองกับนโยบาย จุดเนน สํานักงาน กศน . นโยบาย จดุ เนน กระทรวงศกึ ษาธิการ ยุทธศาสตรและเปาหมายของแผนการศึกษาชาติ ๒๐ ป โดย จัดทาํ แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาและแผนปฏบิ ัติการประจําปงบประมาณ ๒๕๖๑ใหม คี วาม สอดคลอ งกับนโยบาย จุดเนน แผนยุทธศาสตร และเปา หมายดงั กลาว เพือ่ ใหบ คุ ลากรนําไป ขับเคล่ือนสกู ารปฏิบัติ จดั กิจกรรมและโครงการตางๆ ใหบ รรลเุ ปาหมายตามภารกิจ โดย มงุ เนนผลสัมฤทธ์ิ มีการใชจ ายงบประมาณอยา งคมุ คา สรา งคา นิยมท่ีดีตอการทาํ งาน และ องคกรมกี ารวางแผนการปฏบิ ตั ิงานโดยคาํ นึงถึงประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ลตอคุณภาพ มาตรฐานการศึกษา มีหลกั ธรรมาภบิ าลในการดําเนนิ งาน ทาํ ใหก ารดําเนินงานบรรลุ วัตถุประสงค ตามนโยบายและจุดเนนของสํานกั งาน กศน. ตวั บง ช้ี 3.2 การสงเสรมิ สนบั สนุนการจดั การศึกษาของภาคีเครือขา ย 1. สถานศึกษามกี ระบวนการในการสง เสรมิ สนบั สนุนการจดั หรอื รวมจัดการศึกษาของภาคี เครอื ขา ย โดยไดด ําเนินการสํารวจขอมูลภาคเี ครอื ขายในพน้ื ท่แี ตล ะประเภท เพือ่

ฏ สรปุ ผลการวิเคราะหตนเองของสถานศกึ ษาเพ่ือการพฒั นา จุดเดน จดั ทาํ ทําเนียบ ภาคเี ครือขายประเภทตางๆ ท้งั ภาครัฐ เอกชน องคก รปกครองสว นทอ งถ่นิ บุคลากรเขา รวมจดั ทําเวทปี ระชาคมและสาํ รวจความตองการของชมุ ชนเพ่อื นําขอ มลู มาวางแผน ในการจดั กจิ กรรมรวมกบั ภาคีเครือขายใหส อดคลอ งกบั บรบิ ทของชมุ ชนมกี ารประสานงานอยา ง เปนทางการและไมเ ปน ทางการ เพอ่ื ขอความรวมมือและสนบั สนุนการจดั กิจกรรม เชน การใช สถานท่ี งบประมาณ บุคลากร วสั ดุอปุ กรณ 2. ภาคเี ครอื ขายจัด หรือรวมจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ในการจดั กิจกรรมการศกึ ษา สถานศกึ ษาไดรบั อนุเคราะหการสนับสนุนจากภาคเี ครือขาย ดานสถานที่ งบประมาณ วสั ดอุ ุปกรณ บคุ ลากร เพื่อใชในการจัดกิจกรรมตางๆ เชน กิจกรรม พฒั นาผูเ รียนหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน เครือขายอนเุ คราะห สถานท่จี ัดคา ยวิชาการตางๆ หรอื วิทยากรทีม่ ีความชํานาญการเฉพาะดาน ในสว นของการจดั กิจกรรมการศึกษาตอ เนือ่ ง เครือขา ยอนุเคราะหใหใชสถานท่ใี นการฝก อบรมทักษะอาชพี ทกั ษะชวี ติ จัดศูนยเ รียนรูเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม การจดั การศึกษาตาม อธั ยาศยั ภาคเี ครือขา ยอนุเคราะหใ หใ ชสถานที่ จดั กจิ กรรมสง เสรมิ การอานบานหนังสอื ชมุ ชน 3. สถานศกึ ษามีการติดตามการจัด หรอื รว มจดั การศึกษาของภาคเี ครอื ขา ยอยา งไรบา ง และนํา ผลการติดตามไปใช โดยสถานศกึ ษาไดแ ตง ตงั้ คณะกรรมการนิเทศ โดยการมสี ว นรว มของ หนว ยงาน ภาคีเครือขา ยและคณะกรรมการสถานศกึ ษา ในการรวมตดิ ตามการจัดกจิ กรรม ของสถานศึกษา สถานศกึ ษาไดจ ดั การประชมุ ชี้แจงการนเิ ทศ การใชเครื่องมอื นิเทศใหแ กผ ูทาํ หนา ทน่ี ิเทศของสถานศกึ ษา เพ่อื ใชในการเขยี นรายงานผลการนเิ ทศติดตาม และนําผลการ นิเทศมารายงานในทปี่ ระชมุ 4. สถานศึกษา มีการทบทวน หรือติดตาม กระบวนการในการ สง เสริม สนับสนนุ การจัด หรือ รว มจัดการศึกษา ของภาคเี ครอื ขา ย เพือ่ นําไปปรับปรงุ กระบวนการ โดยไดวิเคราะหศ กั ยภาพของภาคีเครอื ขา ยในแตล ะประเภท เครือขา ยใดมี ความเหมาะสมและมศี กั ยภาพสนบั สนุนจดั กจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั ดา นใดบา ง ซ่งึ จะชว ยใหก ิจกรรมหรือโครงการบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคท ต่ี งั้ เปาหมายไว 5. สถานศึกษามีกระบวนการในการสงเสริมสนบั สนุนใหภาคีเครือขา ยจัด หรอื รว มจัดการ ศึกษาทเ่ี ปนตน แบบ โดยไดพ ิจารณา เครือขาย ประเภทปราชญทอ งถิ่นท่ีมีศกั ยภาพรว มจัด กิจกรรมการศกึ ษานอกระบบ และมผี ลการดาํ เนินงานเปนทีป่ ระจกั ษใ นระดับอําเภอและ ระดบั จงั หวดั ในเรอื่ งของการทําเกษตรแบบธรรมชาติ เขา รว มเปน คณะกรรมการสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวัดสุพรรณบรุ ี มาตรฐานท่ี 3 ประสิทธิภาพการบริหารจดั การการศกึ ษา ตัวชวี้ ัด 3.4 การประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา 1. สถานศึกษาไดจัดระบบการประเมนิ คณุ ภาพภายใน ที่สง ผลตอคุณภาพผูเ รียน

ฐ สรุปผลการวเิ คราะหต นเองของสถานศกึ ษาเพ่ือการพฒั นา จดุ เดน และผูร ับบริการ โดยไดดําเนินงาน จัดทําแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาป 2558 - 2562 แผนปฏบิ ตั ิการประจาํ ป 2561 แผนพัฒนาฉบบั ปรบั ปรงุ 2561 โดยการดาํ เนนิ งานตาม แผนการปฏบิ ัติงาน ป 2561 การ ดาํ เนนิ งานตามแผน การนิเทศติดตาม ผลการดาํ เนินงาน และการตรวจสอบผลการดาํ เนินงาน โดยใชวงจร PDCA หรือ Deming Cycle ตลอดจนการ นําผลการประเมินมาปรับปรุงพัฒนา ท้งั น้ี ไดดําเนินการเปน ไปตามคาเปาหมายที่ กาํ หนดใน แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา สงผลใหผ ูเ รียนและผูร ับบรกิ ารมคี ณุ ภาพตามวตั ถุประสงคของ โครงการ 2. สถานศกึ ษามีการสรา งความรู ความเขา ใจใหแกบคุ ลากรในการดาํ เนินงานตามระบบการ ประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษาทก่ี าํ หนด ใหบคุ ลากรเกดิ ความตระหนกั ในระบบการ ประกนั คุณภาพ นําสูก ารปฏิบตั ิ โดยในการจัดกจิ กรรมหรือโครงการตา งๆ จะตอ งดําเนนิ การ ใหสอดคลองกบั มาตรฐานและตวั บง ชี้ โดยจะตองกําหนดคาเปา หมายในการพัฒนาคุณภาพ ผเู รียน/ผเู ขารบั การอบรม เพอื่ ใหเ ปน ไปตามศกั ยภาพและบรบิ ทของสถานศกึ ษา นอกจากน้ี สถานศกึ ษา ไดมีการประชุมประจําสัปดาห เพือ่ ใหมกี ารแลกเปลยี่ นเรยี นรแู ละเสนอแนะแนว ทางการดําเนนิ งาน มีการแตง ตงั้ คณะทาํ งานในระบบประกนั คณุ ภาพ ตามตวั บงชี้ นอกจากนน้ั ไดสงบคุ ลากรเขารวมในโครงการช้ีแจงแนวทางการดาํ เนินการการประกนั คณุ ภาพภายในของ กศน. กลุมศูนยท าจีนถิ่นแมก ลอง ระหวางวันท่ี 25 – 28 มิถุนายน 2561 ณ โรงแรม รเิ วอรแ คว จังหวดั กาญจนบุรี และสถานศึกษาไดจ ัดโครงการประชุมเชิงปฏบิ ตั ิการจัดทําแนว ทางการดําเนินงานประกนั คณุ ภาพภายในของ กศน.อําเภอ เพื่อพฒั นาบุคลากรใหค วาม ความรูความเขา ใจ ในระบบประกันคุณภาพการศึกษาในวนั ท่ี 1,3,8,10,15,17,22,24,27 29,31 สิงหาคม 2561ณ หองประชมุ กศน.อําเภอบางปลามา จงั หวัดสุพรรณบรุ ี 3. สถานศึกษามกี ารทบทวน หรือประเมนิ ระบบการประกนั คณุ ภาพภายในท่สี ง ผลตอ คุณภาพผเู รียน และผูรับบรกิ าร โดยจัดทาํ ขอ มูลสารสนเทศและแสดงผลการปฏบิ ัติงานตาม ตัวชี้วัดและมาตรฐาน โดยการรายงานผลการดาํ เนนิ งานทุกกจิ กรรม/โครงการ เชน การ รายงานผลการประเมินตนเอง (Self – Assessment Report) การประชุมประจาํ สปั ดาห การประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาปล ะ 2 คร้ัง เพื่อทราบผลการจดั กจิ กรรม/โครงการ และนาํ ผลมาวเิ คราะห ปรับปรงุ พฒั นา ใหต รงตามความตอ งการของผเู รียนและผรู ับบริการ 4. สถานศกึ ษามกี ารจัดทําแนวทางการดาํ เนนิ งานตามระบบประกนั คุณภาพภายใน สถานศกึ ษา เพื่อใหบุคลากรของสถานศกึ ษาใชเ ปนแนวทางในการดําเนนิ งาน แตง ต้ัง คณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา เพือ่ ประชมุ ทบทวนรายละเอยี ดมาตรฐานตวั บงช้ี ประเดน็ การพิจารณาและการเกณฑการใหคะแนนเพอื่ ใหเ กิดความเขา ใจกอนการ ประเมินตนเองของสถานศึกษา ดําเนนิ การรวบรวมขอ มูล สารสนเทศที่เกีย่ วของกบั การจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษาทีน่ า เชือ่ ถือ โดยใชวิธกี ารทห่ี ลากหลาย เชน ศึกษาเอกสาร สัมภาษณ สังเกต เปน ตน และบนั ทึกขอมลู หลักฐานเพือ่ เปน ขอ มูลสําหรบั การประเมิน ดําเนนิ การประเมินตามมาตรฐานและตวั บง ช้ี รว มกันวิเคราะหผลการประเมินตนเอง

จดุ เดน ฑ จดุ ทค่ี วรพัฒนา วิธปี ฎบิ ตั ทิ ดี่ ี หรือ สรปุ ผลการวิเคราะหต นเองของสถานศกึ ษาเพอื่ การพัฒนา นวัตกรรม หรอื จัดทาํ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา( SAR) เสนอรายงานผลการประเมนิ ตัวอยา งที่ดี หรือ ตนเองของสถานศึกษาใหกบั คณะกรรมการสถานศึกษา สาํ นกั งาน กศน.จังหวดั ตน แบบ สุพรรณบุรีทราบและเผยแพรตอสาธารณชน 5. สถานศึกษาพัฒนาระบบประกนั คุณภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา โดยได จดั ทาํ แนวทางการดาํ เนนิ งานการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา คอื แตงตง้ั คณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา เพอื่ ประชมุ ทบทวนรายละเอยี ด มาตรฐานตัวบงช้ี ประเดน็ การพิจารณาและการเกณฑก ารใหค ะแนนเพ่ือใหเกดิ ความ เขา ใจกอนการประเมินตนเองของสถานศึกษา ตามกรอบมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 3 มาตรฐาน คอื 1 ) มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผูเรยี น/ผรู บั บรกิ าร เปน การใหค วามสําคัญกับผลการ ดําเนินงานทเี่ ปน ผลผลิตหรอื ผลลพั ธข องการจัดการศึกษาและการใหบ รกิ ารของ สถานศกึ ษาท่ีดําเนินการ โดยเฉพาะเกิดกับผเู รียน/ผูเขา รบั การอบรม 2) มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศกึ ษา/การใหบ ริการ เปน การใหค วามสาํ คัญกับ บคุ ลากร กระบวนการจดั การศึกษา ทีท่ ําใหเ กดิ กิจกรรมตามภารกิจ บทบาทและหนาท่ี ของสถานศึกษาทีเ่ นนผเู รียนผรู บั บรกิ ารเปน สาํ คัญ ไดแก ครู วิทยากร ผูจดั กจิ กรรม หลักสตู ร สอ่ื กระบวนการเรียนรู การวัดและการประเมินผล 3 ) มาตรฐานที่ 3 ประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การศึกษาเปนการใหความสาํ คัญกบั ผบู ริหาร ในการใชห ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง หลกั ธรรมาภิบาลในการสง เสริม สนับสนุนบทบาทของคณะกรรมการสถานศกึ ษา ภาคีเครือขา ยสนับสนุนการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา และการดาํ เนินงานดานการประกนั คณุ ภาพ - ตวั บง ช้ี 3.1 การบริหารสถานศกึ ษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ หลกั ธรรมาภิบาล 1.ผูบ ริหารมกี ารบริหารงานดา นวิชาการ โดย นอ มนาํ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและหลกั ธรรมาภบิ าล มาประยกุ ต ใชในการ ดาํ เนินงาน ได ศึกษาวิเคราะห นโยบาย จดุ เนน ของสํานกั งาน กศน. นโยบายและจดุ เนน ของกระทรวงศกึ ษาธิการ ยทุ ธศาสตรแ ละเปาหมายของแผนการศึกษาแหงชาติ 20 ป นํามาใชในการจดั ทาํ แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ.2561 - 2534 แผนปฏิบตั กิ ารประจาํ ป งบประมาณ 2561 เพ่อื ใหบคุ ลากรของสถานศกึ ษานําไปขับเคล่อื นสกู ารปฏบิ ัติ จดั กิจกรรม/โครงการ เพือ่ ใหง านบรรลเุ ปา หมายตามภารกิจ ซึ่งการบรหิ ารงานดา น วชิ าการเปน สง่ิ สาํ คญั ที่สถานศกึ ษาตองทําใหเ ปนยอมรบั ของผเู รียน 2. ผบู ริหารสถานศึกษามีการบรหิ ารงานดานงบประมาณ โดยนอมนําหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งและหลักธรรมาภบิ าล มาประยุกตใชในการดําเนินงาน โดยจัด ใหม ี การทาํ แผนการใชง บประมาณเปนรายไตรมาส ใหสอดคลอ งกบั แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาํ ป

ฒ วิธีปฎิบัติทด่ี ี สรปุ ผลการวิเคราะหตนเองของสถานศกึ ษาเพื่อการพัฒนา หรือ ซึ่งผานการเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาและมกี ารประชุมชี้แจงการใชจายเงินงบประมาณ นวัตกรรม กับบคุ ลากรของสถานศึกษา มีการตดิ ตามตรวจสอบการเบกิ จายเงินงบประมาณ ใหเกดิ ความคมุ คา หรือตวั อยา ง และไดรบั ประโยชนส ูงสดุ โดยมอบหมายใหผรู บั ผดิ ชอบรายงานการใชจ า ยเงินงบประมาณ เปน ท่ดี หี รือ รายวนั รายเดือน พรอมใหก ารจัดทาํ หลักฐานท่เี ก่ียวของกับการใชจ ายเงนิ งบประมาณ เชน แผนการ ตนแบบ จัดกิจกรรม ทะเบียนคุมเงนิ งบประมาณ,ระบบบรหิ ารงบประมาณ E-budget, ทะเบยี นคุมการรบั – จายเงนิ งบประมาณ ,รายงานเงินคงเหลือประจาํ วัน,รายงานการรับ-จา ยเงนิ รายไดส ถานศึกษา, หลกั ฐานการเบกิ จา ยเงิน ผบู รหิ ารสถานศกึ ษาไดคาํ นึงถึงความโปรงใสและตรวจสอบไดชดั เจน โดย ใชกฎ ระเบียบ หรือขอ บังคับตา งๆของ รองรับการปฏิบัตงิ าน 3. ผบู รหิ ารสถานศกึ ษามกี ารบรหิ ารงานดานการบริหารบุคคล โดยนอมนําหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและหลกั ธรรมาภบิ าล มาประยุกตใชในการดาํ เนนิ งาน ของการบรหิ ารบา นเมืองท่ดี มี าใชใน การบริหารงานบุคคล ใหค วามสําคญั กับบคุ ลากรทุกคน โดยมอบหมายงานตามโครงสราง สถานศึกษาอยางชัดเจน ใหบุคลากรปฏบิ ตั ิหนาทต่ี ามทีไ่ ดรบั มอบหมายอยางถกู ตอ ง โดยสง เสรมิ ให บคุ ลากรไดร ับการพัฒนาตนเองในเร่อื งท่ีเกี่ยวของกับการปฏิบัติในหนา ทเี่ ขารบั การพฒั นา เพอ่ื นาํ ความรูม าปรบั ใชในการปฏิบตั งิ าน ใหม ปี ระสิทธภิ าพย่ิงขึ้น มีความเขาใจตรงกัน ปฏบิ ตั งิ านไปใน ทิศทางเดยี วกัน ยึดม่นั ในความถกู ตอ งในการปฏิบัติหนา ท๔่ี . ผบู รหิ ารมกี ารบริหารงานดา นการ บรหิ ารทว่ั ไป โดยนอ มนาํ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและธรรมาภบิ าลมาประยกุ ตใชในการ ดาํ เนินงาน ในการบรหิ ารจัดการงานทวั่ ไป มกี ารประชุมวางแผน จัดทําแผนประจาํ ป โดยศึกษา นโยบายจุดเนน กศน. เพ่ือนํามาวางแผนในดา นตา งๆ เชน งานธุรการ งานกิจการนกั ศึกษา งาน อาคารสถานที่ งานภาคเี ครือขาย งานพสั ดุ เพ่ือใหประหยดั ทงั้ เวลาและงบประมาณ ทาํ ใหก าร ปฏิบตั ิงานมปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผล เชน งานธรุ การ มกี ารนาํ ระบบ e-office มาใชใ นการ รับสงหนังสือราชการ เพ่ือใหเกดิ การประหยัดเวลาและการลดใชก ระดาษ งานอาคารสถานท่ี มกี าร ดแู ลตรวจสอบอาคารสถานท่ีใหมคี วามปลอดภัย มีการปรับปรงุ สถานท่ีใหเ ออื้ ตอ การทาํ งาน พสั ดมุ ี การตรวจสอบครภุ ณั ฑใหพ รอ มใชงาน มกี ารบาํ รงุ รักษาครภุ ัณฑเพอ่ื ยืดอายุการใชงาน ๕.สถานศกึ ษามกี ารดําเนินงานทีส่ อดคลองกบั นโยบายจดุ เนนสาํ นักงาน กศน ./นโยบายจุดเนน สถานศึกษามกี ารดาํ เนินงานท่สี อดคลอ งกบั นโยบาย จุดเนน สาํ นักงาน กศน . นโยบายจุดเนน กระทรวงศกึ ษาธิการ ยุทธศาสตรแ ละเปาหมายของแผนการศกึ ษาชาติ ๒๐ ป โดยจดั ทาํ แผนพัฒนา คณุ ภาพการศึกษาและแผนปฏบิ ัติการประจําปง บประมาณ ๒๕๖๑ใหม ีความสอดคลอ งกับนโยบาย จดุ เนน แผนยุทธศาสตร และเปา หมายดงั กลา ว เพอ่ื ใหบ ุคลากรนําไปขบั เคลอ่ื นสกู ารปฏิบัติ จดั กิจกรรมและโครงการตางๆ ใหบรรลเุ ปา หมายตามภารกจิ โดยมุง เนน ผลสัมฤทธ์ิ มกี ารใชจา ย งบประมาณอยา งคุมคา สรา งคานิยมท่ดี ตี อการทาํ งาน และองคกรมกี ารวางแผนการปฏบิ ัตงิ านโดย

วิธปี ฎบิ ตั ิทด่ี หี รอื ณ นวัตกรรม หรอื ตัวอยางทด่ี ีหรือ สรุปผลการวเิ คราะหตนเองของสถานศึกษาเพื่อการพัฒนา ตนแบบ คํานึงถึงประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ลตอ คุณภาพมาตรฐานการศึกษา มหี ลกั ธรรมาภบิ าล ในการดาํ เนนิ งาน ทาํ ใหก ารดาํ เนินงานบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค ตามนโยบายและจุดเนน ของ สาํ นักงาน กศน. จากจดุ เดน จุดท่คี วรพัฒนา และวิธีปฏิบตั ิทด่ี ี หรอื นวตั กรรม หรือตวั อยางทด่ี ี หรอื ตน แบบของ สถานศึกษา เหน็ ควรใหสถานศกึ ษาจัดโครงการ/กิจกรรมเพอื่ การปรบั ปรงุ หรอื พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา โดยกําหนดแนวทางการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ดงั น้ี จากผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา เหน็ ควรใหสถานศึกษาจัดโครงการ กิจกรรม เพอ่ื การปรับปรงุ หรือพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ดังนี้ 1. พัฒนาปรับปรงุ เคร่ืองมอื ตดิ ตามผลการนําความรูไ ปใชของผูเขารวมกิจกรรม ใหครอบคลุม สอดคลองกับบริบทของกิจกรรมน้ันๆ 2. จัดทําหรือปรับปรงุ พัฒนาเคร่อื งมอื ประเมินคุณภาพสอื่ และหลักสูตรสถานศกึ ษา 

บทที่ ๑ ขอ มูลทวั่ ไปของสถานศึกษา สภาพทวั่ ไปของสถานศกึ ษา ชื่อสถานศกึ ษา : ศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอบางปลามา ที่อยู : ศูนยร าชการอาํ เภอบางปลามา หมทู ี่ ๕ ตําบลโคกคราม อําเภอบางปลามา จงั หวดั สุพรรณบรุ ี เบอรโทรศพั ท : ๐๓๕ ๕๘๖๔๑๕ โทรสาร: ๐๓๕ ๕๘๖๔๑๕ E-mail ติดตอ : E-mail : [email protected] สงั กดั : สํานักสงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวัดสุพรรณบรุ ี สํานักงาน กศน. สาํ นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ประวัตคิ วามเปนมาของสถานศึกษา ประวัติสถานศึกษา ศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อําเภอบางปลามา เปน สถานศึกษาใน ราชการสว นกลาง สงั กัดสาํ นกั งานสงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั (เดมิ คือสาํ นักบริหารงาน การศกึ ษาโรงเรยี นและกรมการศึกษานอกโรงเรียน) ไดร ับจัดตัง้ โดยประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เมอ่ื วนั ท๒่ี ๗ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๓๖ และกรมการศึกษานอกโรงเรยี นไดมคี ําสั่งแตงต้งั นายสมพงษ เคนผาพงษ ตําแหนง อาจารย ๒ ศนู ยการศึกษานอกโรงเรียนจงั หวัดสุพรรณบุรี มาปฏบิ ตั ิราชการในหนาทผ่ี บู ริหาร เปน ตน มา โดยใชอ าคารหอ งสมดุ ประชาชนอําเภอบางปลามา เปนทปี่ ฏิบัติงาน ตอมาในปง บประมาณ ๒๕๔๓ ไดร ับ การจดั สรรงบประมาณกอสรางอาคารอาํ นวยการเปน อาคารคอนกรตี สองช้นั และในป พ.ศ. ๒๕๔๕ ไดมคี าํ ส่งั แตง ตั้ง นายชชู ีพ เปลงอารมณ ดํารงตาํ แหนงผูบรหิ าร จนกระทง่ั ในป พ.ศ.๒๕๔๘ นายมนตรี ศรบี วั ทอง ไดรบั การแตง ต้ังให มาดาํ รงตาํ แหนง ผบู ริหาร จนถึงป พ.ศ.๒๕๕๒ สาํ นกั งาน กศน.ไดม ีการแตง ต้ังโยกยายสบั เปลี่ยนผบู ริหารโดยให นายสมพงษ เคนผาพงษ มาดํารงตําแหนงผบู รหิ ารและเกษียณราชการในเดือนกนั ยายน ๒๕๕๖ ในการน้ีสาํ นกั งาน กศน.ไดม คี าํ ส่งั แตง ตงั้ ใหนายชชู พี เปลง อารมณ ผูอาํ นวยการ กศน.อําเภอเมอื งสพุ รรณบุรี รกั ษาการในตําแหนง ผอู าํ นวยการ กศน.อําเภอบางปลามา จนกระท่ังเมอ่ื วนั ที่ ๑๗ กุมภาพันธ ๒๕๕๗ นางบุญปลกู สจั จะเวทะ ไดรับ การแตงต้ังใหมาดํารงตําแหนง ผบู ริหารถึงปจ จบุ นั สภาพชมุ ชน อาํ เภอบางปลามา มีพืน้ ท่ี 481.3 ตารางกโิ ลเมตร ตงั้ อยูทท่ี ิศใตของจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ระยะทางหาง จากจงั หวัด 10 กโิ ลเมตร ระยะทางหา งจากกรงุ เทพฯ ประมาณ 100 กโิ ลเมตร ตามทางหลวงแผน ดิน สาย 340 ทิศเหนือ ตดิ ตอกบั อาํ เภอเมืองสุพรรณบรุ ี ทศิ ใต ติดตอ กับอาํ เภอสองพ่นี อง จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ทศิ ตะวันออก ติดตอ กับอาํ เภอผักไหและอาํ เภอบางซา ย จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา ทิศตะวนั ตก ตดิ ตอกับอําเภอเมืองสุพรรณบรุ ีและอําเภออทู อง จงั หวัดสุพรรณบรุ ี อาํ เภอบางปลามา แบงการปกครองออกเปน 14 ตาํ บล มีครวั เรอื นทัง้ ส้นิ 21,870 ครัวเรือน ความ หนาแนนของประชากร เฉล่ียตอ พืน้ ที่ 18.7 คน / ตร.กม. ในเขตเทศบาล 655.96 คน / ตร.กม. นอกเขต เทศบาล 165.64 คน / ตร.กม มีประชากร 82,301 คน เปน ชาย 40,130 คน เปน หญงิ 42,171 คน

2 ลักษณะภูมปิ ระเทศ สภาพพ้ืนท่ที ่วั ไปเปน ท่รี าบลมุ ดินดี มีแมน ้าํ ทา จนี ไหลผา น และมีคู คลอง จาํ นวนมาก เหมาะ แกก ารทําการเกษตรกรรม แตใ นระหวา งชวงเดือน กันยายน – ธันวาคม ของทุกปจะมนี ้ําหลาก กลุมชาติพันธุ ประกอบดวย -ชาวไทยเชือ้ สายจีน สวนตงั้ บานเรอื นอยูรมิ ฝง แมนาํ้ ทา จนี -ชาวไทยพวน คือ กลมุ คนไทยกลุมหนึ่ง ซ่งึ สืบเช้อื สายมาจากชาวพวนในเมอื งพวน สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว ชุมชนไทยพวนในอาํ เภอบางปลามา ไดแก ชมุ ชนบา นโพธ์ศิ รี ชมุ ชนบานหมตี่ ะลุม ชมุ ชน บานสตู ร ชมุ ชนวดั โบสถ ชุมชนบา นทาตลาด ชุมชนไทยพวนทม่ี วี ัฒนธรรมเดยี วกัน บา นเรอื นนยิ มปลกู บานทรงไทย จั่วแหลม และทรงปนหยานิยม ดานประกอบอาชพี ของประชาชน - ทาํ นา ประมาณรอยละ 57 - พชื ผลการเกษตร ประมาณรอยละ 3 - เลี้ยงสตั ว ประมาณรอยละ 35 - อาชีพอน่ื ประมาณรอ ยละ 5 การศกึ ษา 1. มสี ถานศกึ ษาระดับมธั ยมศกึ ษา ๓ แหง ไดแ ก โรงเรยี นบางปลามา ”สูงสมุ ารผดุงวทิ ย” / โรงเรยี น หรรษาสุจติ ตวิทยา ๒ / โรงเรยี นบางแมห มา ย “รัฐราษฎรร งั สฤษฏ” นอกจากน้ียงั มสี ถานศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษา ๑ แหง ไดแก มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร วิทยาเขตสุพรรณบรุ ี ๒. โรงเรยี นระดบั ประถมศกึ ษา จํานวน ๕๔ แหง ๓. ศนู ยพัฒนาเด็กเลก็ จาํ นวน ๒๐ แหง ๔. สาํ นกั งานการเกษตร จํานวน ๑ แหง ๕. วัด จํานวน ๗๕ แหง ๖. วดั ราง จาํ นวน ๒๔ แหง ๗. โรงพยาบาลประจําอาํ เภอ ๑ แหง ๘. โรงพยาบาลสงเสรมิ คณุ ภาพ จํานวน ๑๘ แหง การคมนาคม ๑. ทางหลวงแผน ดินสายสพุ รรณ – บางบวั ทอง (สาย ๓๔๐) ๒. ทางหลวงแผน ดนิ สายสุพรรณ – บางล่ี ๓. ทางหลวงแผน ดนิ สายเกา หอ ง - ดอนแจง ๔. ทางหลวงชนบท ๕. ถนนลกู รงั ตดิ ตอ ระหวางตาํ บลและหมูบาน การคมนาคมตดิ ตอ ระหวางอําเภอจังหวดั และจังหวดั ใกลเ คียง รวมท้งั การคมนาคมภายในตําบล และหมูบา น ทางเรือ มบี างหมูบานใชเ รอื พายตดิ ตอ ระหวา งหมบู า น ไมมี ทาเรอื สาํ คญั

ทางอากาศ 3 ไมมี แหลงน้ํา แมน ํ้าทาจนี ไหลผา น จาํ นวน ๑ สาย มีคลองชลประทานจํานวนมาก พชื เศรษฐกจิ ๑. ขา วนาป พ้นื ท่ี ๑๗๑,๗๐๐ ไร ผลผลติ เฉล่ยี ๘๕๐ กก./ไร ๒. ไมผ ล/ไมย ืนตน ๕,๘๑๖ ไร ๓. พชื ผัก ๑,๐๐๖ ไร ๔. ทาํ การเกษตร ๒๑๓,๓๘๑ ไร ๕ ไมด อกไมประดบั ๘๕ ไร เศรษฐกจิ ๑. เกษตรกร ทํานา ประมาณรอ ยละ ๕๗ ๒. พชื ผลการเกษตร ประมาณรอ ยละ ๓ ๓. เลย้ี งสตั ว ประมาณรอ ยละ ๓๕ ๔. อาชีพอื่น ประมาณรอ ยละ ๕ ๕. ธนาคาร มี ๓ ธนาคาร ไดแก ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณเพอื่ การเกษตรธนาคาร ออมสินและธนาคารกรุงศรีอยุธยา ๖. โรงสีขา ว จํานวน ๒๙ แหง ๗. โรงเลอ่ื ยจักร จาํ นวน ๔ แหง ๘. โรงงานอตุ สาหกรรมขนาดเล็ก จาํ นวน ๖ แหง ๙. พื้นทีเ่ พอ่ื การเกษตรกรรม จาํ นวน ๑๘๒,๘๗๒ ไร ๑ ) ดา นการทํานา ปลูกพืช และเกษตรอื่น ๆ ประมาณ ๑๘๐,๕๒๖ ไร ๒ ) การประมง เลย้ี งปลาและเลย้ี งกุงมีมากในเขต ตําบลจรเขใ หญ องครกั ษ สาลี ********************************

โครงสรา งการบรหิ ารของสถานศึกษา 4 ผูอํานวยการ คณะกรรมการสถานศึกษา กลุม อาํ นวยการ กลุมจัดการศึกษานอกระบบฯ กลมุ ภาคีเครือขา ย 1.งานบริหารทั่วไป ๑.งานการศึกษานอกระบบ ๑.งานประชาสัมพนั ธ - ธุรการ /สารบรรณ ๑.๑ งานการศึกษาระดับขั้นพืน้ ฐาน - การเงนิ / บัญชี ๑ ) เผยแพร - พัสดุ / อาคารสถานท่ี - ประถมศกึ ษา ประชาสัมพนั ธ - บคุ ลากร - มัธยมศกึ ษาตอนตน ๒.โครงการพิเศษ ๒. งานแผนงานโครงการและ - มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ๒ )งานฝกอบรม งบประมาณ ๑.๒ งานการศึกษาตอเนอ่ื ง - ลูกเสือ/ยวุ กาชาด - งานสถิตขิ อมลู และรายงาน ๑.๓ งานมาตรฐานการศกึ ษา - คายกพช. - กํากบั ตดิ ตามและประเมินผล - ทะเบยี น /วัดผล /ประเมนิ ผล ๓.งานเครือขา ย ๓. งานประกนั คณุ ภาพ - ตรวจสอบวฒุ ิ / ออกหลักฐาน - งานประสานงาน ๑.๔ งานแนะแนว ๑.๕ งานพฒั นาผูเรยี น ๒. งานการศกึ ษาตามอธั ยาศัย - หอ งสมดุ ประชาชน - ศูนยการเรียนชุมชน ๓. งาน กศน.ตาํ บล หมายเหตุ ใหเ สถานศกึ ษาสามารถ นําเสนอขอมลู โครงสรา งการ บริหารงานของสถานศกึ ษา ท่ตี รงกับ ความเปนจรงิ

5  จาํ นวนผเู รียน ผรู บั บริการ และจํานวนผูสอน (ปปจ จบุ นั ) จาํ นวนผูเรียน (คน) รวม หลักสูตร/ประเภท ชาย หญงิ (คน) จํานวนผสู อน (คน) การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน 66 214 จํานวนครู 21 คน โครงการสงเสริมการรูหนังสอื 280 - ระดบั ประถมศกึ ษา 29 27 56 - ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน 293 224 517 - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 384 442 826 รวมจาํ นวน 772 907 1,679 การศึกษาตอ เนือ่ ง โครงการศนู ยฝกอาชีพชมุ ชน 3 117 จาํ นวนวทิ ยากร 169 คน (อาชีพ 1 อําเภอ 1 อาชีพ) 120 3 คน โครงการศูนยฝ ก อาชีพชุมชน 11 472 483 3 คน (ชัน้ เรยี นวชิ าชพี 31 ชว่ั โมงขึ้นไป) โครงการศนู ยฝกอาชพี ชมุ ชน (หลักสตู รระยะส้นั ) 12 1108 1,120 28 คน โครงการภาษาองั กฤษเพ่อื การสอ่ื สาร 38 82 120 3 คน โครงการ Smart ONIE เพอื่ Smart Farmer 129 101 230 14 คน โครงการจดั การเรยี นรหู ลักปรชั ญา 210 339 549 37 คน ของเศรษฐกิจพอเพยี ง โครงการจัดการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาทักษะชีวิต 130 814 944 22 คน โครงการจัดการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาสงั คมและชมุ ชน 219 621 840 26 คน โครงการสรางเครอื ขา ยศนู ยด ิจิทัลชุมชนระดับตาํ บล 120 370 490 14 คน โครงการเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การ 4 295 299 11 คน ขยะมลู ฝอย รวมจํานวน 876 4319 5,195 การศึกษาตามอธั ยาศัย จาํ นวนผจู ดั กิจกรรม 1 คน โครงการสงเสริมการอา น 4,558 6,836 โครงการพัฒนาศกั ยภาพอาสาสมัครสง เสรมิ การอา น 245 455 11,394 โครงการหอ งสมดุ เคลอ่ื นท่สี ําหรบั ชาวตลาด 280 420 700 ตามพระราชดาํ รขิ องสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ 700 รวมจาํ นวน 5,083 7,701 12,784 รวมผเู รยี นและผูเขา รับบรกิ ารจาํ นวนทัง้ สิน้ 6,731 12,927 19,658

 จํานวนบคุ ลากร (ปป จจบุ นั ) 6 ประเภท/ตาํ แหนง จํานวน (คน) รวม ผบู ริหารสถานศกึ ษา จํานวน ขาราชการครู ต่ํากวา ป.ตรี ป.ตรี ป.โท ป.เอก บคุ ลากรทางการศกึ ษา - 1 ลกู จา งประจาํ - -1 - 3 พนักงานราชการ - 21 - 19 ครศู ูนยก ารเรยี นชมุ ชน 1 -- - 2 อตั ราจาง - -- - 1 - 19 - - 27 รวมจาํ นวน - 2- -  งบประมาณ 1 1- - 24 2 - ประเภทงบประมาณ งบประมาณท่ีไดรับ งบประมาณทใ่ี ช เงนิ งบประมาณ 3,588,672.27 จํานวน (บาท) คดิ เปนรอ ยละ เงินนอกงบประมาณ 43,047.66 3,191,125.61 88.92 --

7  แหลง เรยี นรูและภาคีเครือขา ย ชอ่ื กศน.ตําบล ทีต่ ้งั ผูรบั ผิดชอบ กศน.ตาํ บลโคกคราม ต้ังอยูที่บา นแขก หมู ๖ นางกชกานต บัวบาน กศน.ตําบลมะขามลม ตั้งอยูทีบ่ า นหม่ี – ตะลมุ หมู ๗ นางสาวทัศนยี  ดํารงฤทธ์ิ กศน.ตาํ บลไผก องดิน ตั้งอยูทบ่ี า นสดุ หมู ๓ นางสาวนงลกั ษณ อว มปวน กศน.ตาํ บลวดั ดาว ตั้งอยทู วี่ ัดดาว หมู ๔ นายอภริ กั ษ ขําสวุ รรณ กศน.ตาํ บลตะคา ตั้งอยูท ่วี ัดเจา ขาว หมู ๔ นางสาวลดั ดาวัลย ลาภบงั เกดิ กศน.ตาํ บลกฤษณา ต้งั อยทู ี่บานโคกโพธิ์ หมู ๕ นางสาวยพุ รัตน ศรธี นานนั ท กศน.ตําบลสาลี ตั้งอยูทบ่ี า นสาลี หมู ๒ วา ทีร่ อยตรีหญิงศิรพิ ร ศรหี ิรญั กศน.ตาํ บลองครกั ษ ตงั้ อยูที่บานองครักษ หมู ๑ นางสวุ รรณ เลก็ มาลัย กศน.ตาํ บลวัดโบสถ ตั้งอยูท ี่บานไผเ ดยี่ ว หมู ๙ นางสาวฉตั รตะวัน สนุ ทรวิภาต กศน.ตําบลจรเขใ หญ ตัง้ อยทู บ่ี า นจรเขใ หญ หมู ๒ นางทิพวลั ย จติ สุชน กศน.ตําบลวงั นา้ํ เยน็ ต้ังอยูทว่ี ดั ดอนยอ หมู ๕ นายสุทธิพร สขุ สคุ นธ กศน.ตําบลบางปลามา ตง้ั อยทู วี่ ัดบา นสูตร หมู ๒ นางสาวดจุ ฤดี เจรญิ ผล กศน.ตาํ บลบานแหลม ต้งั อยูท่ีวดั ใหม หมู ๑ นางสาวจันทรจ ริ า ชูศรีเอ่ยี ม กศน.ตําบลบางใหญ ตั้งอยทู บ่ี า นบางแมห มาย หมู ๔ นางสาวนิลาวัณย เยน็ มาก รวมจํานวน 14 แหง แหลง เรียนรูอนื่ ประเภทแหลงเรยี นรู ทต่ี ้งั ๑.โรงเรยี นชาวนา เรยี นรเู รอื่ ง เกษตรธรรมชาตใิ นการลด อยูท่บี านโพธิศ์ รี ตน ทุนการผลติ การทาํ นํา้ หมกั ชีวภาพ ตําบลบางปลามา สูตรตางๆ หลกั การบริหารศตั รูพืช กศน.ตาํ บลมะขามลม ๒.ศูนยเ รียนรเู ศรษฐกิจ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ บานดอนกลาง หมู ๑๐ พอเพียง ตําบลวดั ดาว ๓.โรงเรียนชาวนาบาน เรยี นรเู ร่ือง เกษตรธรรมชาติในการลด บา นบางแมห มาย หมู ๒ ตน ทนุ การผลิต การทํานา้ํ หมกั ชีวภาพ ตําบลบางใหญ สูตรตา งๆ หลักการบรหิ ารศตั รพู ืช ๔.ศูนยเ กษตรอนิ ทรีย การทาํ ปุยอัดเม็ดชีวภาพ ที่อยู บานโพธ์ศิ รี เลขที่ ๒๔ รวมจํานวน 4 แหง หมู ๑๒ ตําบลบางปลามา ภมู ิปญ ญาทองถน่ิ ความรูความสามารถ บา นลําบวั หมู ๙ ๑.นางดารณี วงษจนั ทร จกั สานผลิตภัณฑต างๆ ตําบลโคกคราม ๒.นางลาํ ดวน อภเิ ดช เชน ฝาชี มา นกน้ั หอ ง กระเปา การทาํ ขนมทองมวน การทาํ ขนมหวาน

ภมู ิปญ ญาทอ งถน่ิ 8 ท่อี ยู ๔.นายสมยั ศรที องอินทร ความรูความสามารถ บานบางแมหมาย หมูที่ ๔ ๕.นางทเุ รยี น ศรีเพียงจันทร การทาํ เกษตรอินทรยี  ตาํ บลบางใหญ ๖.นางสาคร เรืองเดช การทาํ เกษตรอินทรีย บา นเลขที่ ๑๓๔/๓ หมทู ่ี ๓ ทาํ เครือ่ งเบญจรงค โดยนาํ ภาชนะ ตาํ บลกฤษณา ๗.นายโชติ นวมใจดี ท่ีขน้ึ รปู แลว มาเขียนลวดลายตาม บานชีปะขาว เลขที่ ๑๐๔ ๘.นางวงเดอื น จันทรกจิ แบบหรอื คิดสรา งสรรคใ หม หมู ๑ ตําบลบา นแหลม ๘.นางวงเดือน จนั ทรกิจ การทาํ ไมกวาดใยมะพราว บา นบางใหญ เลขท่ี ๔๓ หมูท่ี ๙.นางถวลิ ใกลบปุ ผา การทาํ ขนมไทย ๔ ตําบลบางใหญ ๑๐.นายจอม บุญลํา้ การทาํ ขนมไทย บานลาํ บวั บา นเลขที่ ๑๑.นางจนั ทนา วริ ยิ พตั ร การทาํ น้าํ พริก ๖๗ หมูที่ ๓ ตาํ บลจรเขใ หญ ๑๒.นายประสงค บุรุษชาติ การทาํ เกษตรผสมผสาน บานลําบวั บา นเลขท่ี ๑๓.นางสมพศิ กรุดเนยี ม การแปรรูปกงุ ๖๗ หมูที่ ๓ ตาํ บลจรเขใ หญ ๑๔.นางโปรงใจ พันธเ ณร การแปรรูปสมนุ ไพร อยทู ีบ่ า นวัดโบสถ หมทู ่ี ๖ ๑๕.นางมาลี เลก็ จินดา การทําอาหารไทย ตําบลมะขามลม ๑๖.นางสาวสมลกั ษณ จันทรต รี ศิลปะประดิษฐ /หัตถกรรม บา นดอนยอ หมทู ี่ ๕ ๑๗.นางปน เปน ใจชว ย การถนอมอาหาร ตาํ บลวังนํา้ เยน็ ๑๘.นายชวน บุญศรี งานประดษิ ฐด อกไม ๕๔ หมูท่ี ๖ ต.จรเขใ หญ ๑๙.นางละมยั ศรีเสงี่ยม หตั ถกรรม (การจกั สาน) ๑๑๗ หมูท่ี ๙ ต.วัดโบสถ ๒๐.นางกาเหวา เทพณรงค การประดษิ ฐเคร่อื งดนตรีไทย ๑๘๖ หมูที่ ๑ ตาํ บลสาลี ๒๑.นางประจวบ วงษบัณฑติ การทําไมก วาดดอกออ ๙ หมูท่ี ๑๐ ตําบลโคกคราม ๒๒.นางบงั อร ปาละพนั ธ การจกั สานไมไผ /หวาย ๖๕/๔ หมทู ่ี 4 ตาํ บลสาลี การทําขนมกง ๑๓๒ หมูที่ ๕ ตาํ บลไผก องดนิ รวมจาํ นวน การทาํ ไสก รอก – แหนมหมู ๔ หมูท่ี ๓ ตําบลบางปลามา ๑๖๓ หมูท่ี ๑ ตาํ บลองครกั ษ 22 คน หมทู ่ี.๒ ตําบลตะคา ๑๗๐/๑หมูท๑่ี ตาํ บลบา นแหลม ๘๔ หมูที่ ๔ ตาํ บลวงั น้าํ เย็น ๗๖/๑ หมูท่ี ๒ ตาํ บลกฤษณา

ภาคเี ครอื ขาย 9 ทีอ่ ยู/ทตี่ ง้ั ๑. โรงเรยี นวดั ชอ งลม ประเภทภาคีเครือขา ย ตาํ บลไผกองดิน ๒. โรงเรยี นบางแมหมาย “รฐั ราษฏรร งั สฤษดิ์” ตาํ บลบางใหญ ๓.โรงเรยี นหรรษาสจุ ติ ตว ทิ ยา ๒ สถานศกึ ษา ตําบลมะขามลม ๔.โรงเรยี นบรรหารแจมใสวิทยา ๓ สถานศึกษา ตําบลโคกคราม ๕. องคการบริหารสว นตําบลบางใหญ สถานศกึ ษา หมูท่ี ๔ ตาํ บลบางใหญ ๖. องคการบริหารสวนตําบลวดั ดาว สถานศึกษา หมทู ่ี ๓ ตําบลวดั ดาว ๗. องคก ารบริหารสวนตาํ บลวัดโบสถ องคก ารปกครองสวนทอ งถิ่น หมทู ี่ ๙ ตาํ บลวัดโบสถ ๘. องคก ารบริหารสวนตําบลกฤษณา องคการปกครองสวนทองถิ่น หมูท่ี ๕ ตาํ บลกฤษณา ๙.องคก ารบรหิ ารสวนตําบลมะขามลม องคการปกครองสว นทอ งถน่ิ หมูท่ี ๔ ตาํ บลมะขามลม ๑๐.องคการบรหิ ารสว นตําบลวงั น้ําเยน็ องคก ารปกครองสวนทองถิ่น หมูท่ี ๒ ตําบลวงั นา้ํ เยน็ ๑๑.องคการบริหารสวนตําบลจรเขใ หญ องคการปกครองสวนทองถน่ิ หมทู ี่ ๒ ตาํ บลจรเขใหญ ๑๒.องคก ารบริหารสว นตําบลองครกั ษ องคการปกครองสวนทอ งถิน่ หมทู ่ี ๑ ตําบลองครกั ษ ๑๓.องคการบรหิ ารสว นตําบลบางปลามา องคการปกครองสว นทองถน่ิ หมทู ่ี ๕ ตําบลบางปลามา ๑๔.องคก ารบริหารสวนตาํ บลไผกองดนิ องคการปกครองสวนทองถิ่น หมทู ี่ ๑ ตาํ บลไผกองดิน ๑๕.องคการบรหิ ารสว นตาํ บลสาลี องคการปกครองสว นทองถิ่น หมทู ่ี ๒ ตําบลสาลี ๑๖.เทศบาลตําบลตนคราม องคการปกครองสวนทองถน่ิ หมูที่ ๒ ตาํ บลโคกคราม ๑๗.เทศบาลตาํ บลโคกคราม องคก ารปกครองสวนทอ งถิ่น หมทู ี่ ๕ ตําบลโคกคราม ๑๘.เทศบาลตําบลไผก องดนิ องคก ารปกครองสวนทองถนิ่ หมูที่ ๓ ตาํ บลไผก องดนิ ๑๙.เทศบาลตาํ บลบางปลามา องคก ารปกครองสว นทอ งถิ่น หมทู ี่ ๗ ตาํ บลบางปลามา ๒๐.เทศบาลตาํ บลบานแหลมพัฒนา องคก ารปกครองสวนทองถิ่น หมทู ่ี ๑ ตําบลบา นแหลม ๒๑.เทศบาลตาํ บลตะคา องคการปกครองสวนทองถน่ิ หมทู ี่ ๒ ตําบลตะคา ๒๒. วดั ดอกบวั องคการปกครองสว นทอ งถิ่น ตาํ บลโคกคราม ๒๓.วัดเจาขาว องคการปกครองสวนทองถน่ิ ตําบลตะคา ๒๔.วดั ใหมพ ิณสุวรรณ ศาสนสถาน ตําบลบา นแหลม ๒๕.วัดบา นดาน ศาสนสถาน หมทู ี่ ๔ ตาํ บลบางปลามา ๒๖.วัดบานสูตร ศาสนสถาน หมูท่ี ๒ ตําบลบางปลามา ๒๗.วดั กลาง ศาสนสถาน หมูที่ ๖ ตาํ บลโคกคราม ๒๘.สถานีตํารวจภูธร ศาสนสถาน หมูท่ี ๕ อําเภอบางปลามา ๒๙.สาํ นักงานสาธารณสขุ อําเภอบางปลามา ศาสนสถาน หมทู ี่ ๕ อาํ เภอบางปลามา ๓๐.วัดดาว ศาสนสถาน หมูท่ี ๔ ตาํ บลวดั ดาว ๓๑.โรงพยาบาลสุขเสริมสขุ ภาพตําบลบางใหญ สวนราชการ หมูท่ี ๒ ตําบลบางใหญ ๓๒.โรงพยาบาลสขุ เสริมสขุ ภาพบา นดอนขาด ศาสนสถาน หมทู ่ี๓ ตาํ บลวดั โบสถ ๓๓.โรงพยาบาลสขุ เสริมสขุ ภาพตําบลกฤษณา สาธารณสุข หมทู ่ี ๓ ตําบลกฤษณา สาธารณสุข รวม สาธารณสขุ 33 แหง

10 เกยี รติยศ ชอื่ เสียง และผลงาน/โครงการดีเดน ของสถานศึกษา 1. สถานศึกษาเปนสถานศึกษาทสี่ ํานกั งาน กศน.ใชเ ปนสถานท่ใี นฝก ประสบการณในสถานศกึ ษา ตนแบบ ตามโครงการพัฒนาขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษากอ นแตงตง้ั ใหดาํ รงตาํ แหนงรองผอู ํานวยการ สถานศกึ ษาและผูอ าํ นวยการสถานศกึ ษา โดยมหี นาท่ี วางแผนและดาํ เนนิ การนิเทศ ตดิ ตาม ใหค าํ ปรึกษาและกํากบั ดแู ลผูเขา รบั การพฒั นาในระหวางการฝกประสบการณใ นสถานศกึ ษา ตั้งแตว ันท่ี 17 – 23 กนั ยายน 2561 ให สําเร็จลลุ ว ง ตามวตั ถปุ ระสงคของหลกั สูตรการพฒั นา ตามท่ี ก.ค.ศ.กําหนด 2. สถานศึกษามีผลงานในสวนของการเปนคณะกรรมการจดั ทาํ มาตรฐานการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย ของศนู ยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอ และศูนยก ารศกึ ษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยเขต ประกอบดว ย 3 มาตรฐาน 20 ตวั บงชี้ ตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ลงวันท่ี 22 พฤศจิกายน 2560 3. สถานศึกษามผี ลงานดา นวทิ ยากร การจัดทําแผนจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ หลกั สตู รการศกึ ษา นอกระบบ ระดบั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พ.ศ.2551 โดยเปน วิทยากรหลัก ในการจัดทําแผนการเรียนรแู บบบูรณาการ ทกุ ภาคเรียน 4. สถานศึกษาเปน สถานที่ศกึ ษาดูงานจากสถานศึกษาอ่ืนในสงั กดั สาํ นกั งาน กศน. ***********************************************

11  ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายใน ทผี่ านมา 1.ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ปง บประมาณทผี่ านมา น้ําหนกั ผลการประเมนิ ตนเอง มาตรฐาน (คะแนน) คะแนนท่ีได ระดบั คณุ ภาพ ๓๒.๔๗ ดมี าก มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพผูเ รียน/ผูร ับบรกิ าร ๓๕ ๓.๐๐ ดมี าก ตวั บง ชี้ท่ี ๑.๑ ผูเ รียนมีสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ทีด่ ี ๓ ๒.๙๗ ดมี าก ตัวบง ชีท้ ่ี ๑.๒ ผูเรยี นมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และคณุ ลักษณะ ๓ ๒.๙๐ ดีมาก ทีพ่ ึงประสงค ๓.๐๐ ดมี าก ตวั บงชท้ี ่ี ๑.๓ ผูเรยี นมีความใฝรู และเรียนรูอยา งตอเนอ่ื ง ๓ ๗.๖๐ ดี ตัวบงชี้ท่ี ๑.๔ ผเู รยี น คดิ เปนทาํ เปน ๓ ๕.๐๐ ดีมาก ตัวบงชี้ท่ี ๑.๕ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของผเู รียนการศกึ ษา ๑๐ ๕.๐๐ ดมี าก นอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ตวั บง ชท้ี ี่ ๑.๖ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของผูเ รยี น ๕ การศกึ ษาตอเนื่อง ตวั บง ชท้ี ี่ ๑. ๗ ผูเรียนมงี านทําหรอื มีรายไดเสริม มีทักษะ ๕ ในการทาํ งาน สามารถทางานรว มกับผูอื่นได และมีเจตคตทิ ่ดี ตี อ อาชพี สจุ ริต ตวั บง ชที้ ี่ ๑.๘ ความพึงพอใจตอ การใหบ ริการการศกึ ษา ๓ ๓.๐๐ ดีมาก ตามอธั ยาศัย ๒๓.๗๓ ดีมาก มาตรฐานท่ี ๒ คณุ ภาพการจัดการศึกษา/การใหบรกิ าร ๒๕ ๓.๒๐ ดี ตัวบง ชท้ี ่ี ๒.๑ คุณภาพของหลกั สูตร ๔ ๔.๐๐ ดมี าก ตัวบง ชี้ท่ี ๒.๒ คุณภาพของครู ๔ ๓.๘๓ ดีมาก ตัวบงชท้ี ่ี ๒.๓ คณุ ภาพการจัดการเรยี นการสอนของครู ๔ ๒.๗๐ ดีมาก และผูสอนที่เนนผูเ รยี นเปนสําคญั ๓.๐๐ ดีมาก ตัวบง ชี้ท่ี ๒.๔ คุณภาพผสู อน/วิทยากร การศกึ ษาตอ เนอ่ื ง ๓ ๔.๐๐ ดมี าก ตวั บง ชท้ี ี่ ๒.๕ คณุ ภาพสื่อท่เี อื้อตอ การเรียนรูข องผูเรยี น ๓ ๓.๐๐ ดมี าก และผูรบั บริการ ๑๐.๐๐ ดีมาก ตวั บงชี้ท่ี ๒.๖ คณุ ภาพการจัดการศกึ ษาตามอัธยาศยั ๔ ๒.๐๐ ดีมาก ตัวบงชท้ี ี่ ๒.๗ การสรางสังคมแหง การเรยี นรู ๓ ๒.๐๐ ดมี าก มาตรฐานที่ ๓ การบรหิ ารการศกึ ษา ๑๐ ๒.๐๐ ดีมาก ตัวบงช้ที ี่ ๓.๑ คณุ ภาพของการบรหิ ารสถานศกึ ษา ๒ ๒.๐๐ ดมี าก ตัวบง ชี้ที่ ๓.๒ ระบบฐานขอ มูลเพือ่ การบริหารจดั การ ๒ ตวั บง ชท้ี ่ี ๓.๓ ผลการบริหารความเส่ียง ๒ ตัวบงชี้ท่ี ๓.๔ ผลการปฏิบัตหิ นาที่ของผบู ริหารสถานศกึ ษา ๒

12 มาตรฐาน น้ําหนกั ผลการประเมินตนเอง มาตรฐานท่ี ๔ การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา (คะแนน) คะแนนท่ไี ด ระดับคณุ ภาพ ตัวบงช้ีท่ี ๔.๑ การประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา ๑๐ ๘.๗๐ ดมี าก ตัวบงชท้ี ่ี ๔.๒ การประเมินคุณภาพสถานศกึ ษาโดยตน สังกัด ๕ ๔.๐๐ ดี มาตรฐานท่ี ๕ อัตลักษณข องสถานศกึ ษา ๕ ๔.๗๐ ดมี าก ตัวบงชี้ที่ ๕.๑ ผลการพฒั นาใหบ รรลุเปา หมายตามปรชั ญา ๑๐ ๑๐.๐๐ ดมี าก พันธกจิ และวัตถุประสงคก ารจดั ตงั้ สถานศึกษา ๕ ๕.๐๐ ดมี าก ตวั บง ชท้ี ี่ ๕.๒ ผลการพฒั นาตามจุดเนน และจดุ เดนท่สี ะทอน เอกลักษณข องสถานศึกษา ๕ ๕.๐๐ ดมี าก มาตรฐานที่ ๖ มาตรการสง เสริม ตัวบง ชี้ท่ี ๖.๑ ผลการสงเสริมพฒั นาสถานศกึ ษาเพื่อยกระดับ ๑๐ ๑๐.๐๐ ดมี าก มาตรฐาน รักษามาตรฐานและพฒั นาสูความยงั่ ยืน เพอื่ ให ๕ ๕.๐๐ ดี สอดคลอ งกบั นโยบาย ทางศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ตัวบง ชที้ ่ี ๖.๒ ผลทเ่ี กิดจากการสง เสริมการจัดการศกึ ษานอก ๕ ๕.๐๐ ดีมาก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในชมุ ชน ๑๐๐ ๙๔.๙๐ ดีมาก รวม 2.ผลการประเมินคุณภาพสถานศกึ ษาโดยตนสังกัด ครง้ั ลาสุด ผลการประเมนิ ตนเอง (๒) การประเมินคณุ ภาพสถานศกึ ษาโดยตนสงั กดั คะแนนท่ีได ระดบั คุณภาพ มาตรฐาน **คาน้าํ หนกั ๓.๓๓ พอใช มาตรฐานที่ ๑ ปรชั ญา วสิ ัยทศั น พนั ธกจิ เปาหมาย - ๓.๑๙ พอใช วตั ถปุ ระสงค กลยุทธแ ละ แผนพัฒนาคุณภาพ ๓.๔๐ พอใช การศกึ ษา - ๔.๐๐ ดี - ๓.๓๓ พอใช มาตรฐานท่ี ๒ การจัดการศกึ ษานอกระบบ - ๔.๐๐ ดี ระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐาน - ๓.๕๔ ดี - มาตรฐานท่ี ๓ การจดั การศึกษานอกระบบ - ประเภทการศึกษาตอเนอ่ื ง มาตรฐานท่ี ๔ การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ ๕ การบรหิ ารจัดการ มาตรฐานท่ี ๖ การทาํ งานรวมกบั ภาคีเครือขา ย รวมคะแนนโดยภาพรวมของสถานศึกษา

13  ขอเสนอแนะเพ่อื การพฒั นาจากผลการประเมินตนเอง ครัง้ ลา สุด ๑. จดั กจิ กรรมพัฒนาผูเรยี นเพือ่ เพม่ิ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นในรายวิชาหลกั ไดแก คณิตศาสตร วิทยาศาสตร และภาษาองั กฤษ ๒. จัดกจิ กรรมทส่ี รางจิตสาํ นึกใหแกผ เู รียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรม มีจิตสาํ นกึ สาธารณะ คาํ นึงถึง ผลประโยชนข องสว นรว มเปน สําคญั ๓. บรหิ ารจดั การใหผ ูเรียนเขาสอบวัดผลปลายภาคใหไดม ากทส่ี ุด  ขอ เสนอแนะเพื่อการพฒั นาจากผลการประเมนิ สถานศึกษาโดยตนสังกดั คร้งั ลาสุด 1.พฒั นาระบบนิเทศโดยใหทกุ ภาคสวนมสี ว นรว ม 2.ควรใหความสําคัญกบั การพฒั นาหลกั สูตร 3.พฒั นาครูการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐานใหม ที กั ษะการจัดทาํ แผนการสอน 4.ใหมกี ารวัดผลประเมนิ ผลทชี่ ดั เจนทกุ กจิ กรรม  ขอเสนอแนะเพอื่ การพัฒนาจากผลการประเมินคณุ ภาพภายนอก ๑) สถานศกึ ษาควรมกี ารกําหนดกิจกรรมบําเพ็ญประโยชนในกจิ กรรม กพช. ใหผูเรียนปฏิบัติทั้งในและ นอกสถานศึกษาใหเปน ระบบ โดยกําหนดเปน รายชั่วโมงใหช ัดเจน ในการบาํ เพ็ญประโยชน ในและนอกสถานศกึ ษา เชน ในและนอกสถานศกึ ษาเฉลีย่ แลว ๕๐ ชั่วโมง เทาๆ กนั เปน ตน ๒) ผูเรียนควรไดรบั การสง เสริม ใหเขา รว มกจิ กรรม การอานตามแผนงานของหองสมดุ ประชาชน เชน เดียวกับผใู ชบรกิ ารอืน่ ๆ โดยครคู วรมกี ารกําหนดเกณฑใ หผ เู รียน ไดม กี ารอานและบนั ทกึ การอา น ใหเปน ระบบ ชดั เจน รวมท้ังสงเสริมใหผเู รียนนําสิ่งท่ีไดเ รียนรูท้ังจากการบันทกึ การอาน การเรียนรจู ากแหลงเรียนรูแ ละภูมปิ ญ ญา ทอ งถิ่น มาสรปุ เปน ประเดน็ ท่ีสามารถพัฒนาการคิดวเิ คราะหใหต อเนอ่ื ง และมกี ารบรู ณาการสรา งองคค วามรจู น เกิดเปน ช้นิ งานที่ชัดเจนและหลากหลาย ๓) ผเู รยี นควรไดร ับการสงเสริมใหไดเรยี นรเู พมิ่ เติมจากสื่อใบงานใหครอบคลุมทกุ กลมสาระการเรยี นรู ที่ สามารถสะทอนทกั ษะการคิดวเิ คราะห คิดสังเคราะหทช่ี ดั เจนและตอเนอื่ ง โดยสนบั สนุนใหมีการสรางใบงานและ แบบฝก ทสี่ ามารถใชป ระกอบการเรยี นการสอนไดอยางเหมาะสม ๔) ผเู รียนควรไดร ับการพฒั นาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นทุกสาระการเรียนรสู งู ข้นึ โดยการจัดกิจกรรมการ สอนเสริมทีต่ อเนื่อง และอาจเชิญวิทยากรท่ีมคี วามรมู าชว ยสอนบางเปนระยะๆ เพอื่ ใหผ ูเรยี นไดรับการพฒั นาอยาง ตอ เนอ่ื ง ๕) ครคู วรทาํ การศึกษาคน ควาวิจยั เพ่อื พฒั นาสอื่ และกระบวนการจัดการเรยี นรูท่ีเนนผเู รยี นเปน สําคัญ อยา งนอยภาคเรียนละ ๑ ผลงานวจิ ัย และควรสรางแรงจงู ใจใหผเู รียนมกี ารพบกลุมสม่าํ เสมอ เชน ใหรางวัลหรอื คาํ ยกยองชมเชยกบั ผูเ รียนที่มาพบกลมุ อยางสม่าํ เสมอเปน ไปตามเกณฑของการจบหลักสตู รในแตล ะระดบั ขน้ั การศึกษา ข้นั พืน้ ฐาน ๖) คณะกรรรมการสถานศึกษาควรดาํ เนนิ การแตง ตงั้ คณะกรรมการที่ปรึกษา และ/หรืออนุกรรมการเพือ่ ดาํ เนินการตามระเบียบตอ ไป ๗) สถานศึกษาควรจัดใหม กี ารรวบรวมขอมลู ในการปฏิบัติงานตามโครงการ กิจกรรม หรือแผนงานท่ี กระจัดกระจายอยูท ่ี กศน.ตําบล ท้ัง ๑๔ แหง จัดทําเปนรายงานสรปุ ในเชงิ สารสนเทศท่ีชัดเจนนํามาสรปุ เปน ขอ มูล สารสนเทศของ สถานศึกษาทส่ี ามารถนาํ มาใชเ พื่อการตรวจสอบ ประเมนิ แกป ญหาและพัฒนาการดําเนินงานของ สถานศกึ ษาอยางฉบั ไวและมีประสิทธิภาพ

14 ๘) สถานศกึ ษาควรมีการสง เสริมใหบุคลากรทุกคนไดมีความเขา ใจในระบบการบริหารงานคณุ ภาพ ( PDCA) ในทุกขน้ั ตอนและนาํ ไปใชในการดําเนินงานใหเปนระบบ โดยเฉพาะการประเมินและสรปุ ผลการดาํ เนินงานและการ นาํ ผลไปใชพัฒนางานที่ชดั เจนและตอ เนอ่ื งอยางเปน รูปธรรม 

บทที่ 2 ทศิ ทางและผลการดาํ เนินงานของสถานศกึ ษา ศูนยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาํ เภอบางปลามา ไดกําหนดทิศทางการดาํ เนินงาน ตาม แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา และแผนปฏบิ ตั ิการประจําป โดยมีรายละเอยี ด ดังน้ี ทศิ ทางการดําเนินงานของสถานศกึ ษา ปรัชญา เรียนรตู ลอดชีวติ คิดเปน  วิสยั ทศั น ศูนยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอําเภอบางปลามา มุงเนน พัฒนาผูเรียนใหมี ความรู มวี นิ ยั คดิ เปน ทาํ เปนและสามารถดํารงชีวติ อยูในสังคมไดอยางมีความสขุ  พันธกิจของสถานศกึ ษา ๑.จัดและสงเสริมการเรียนรตู ลอดชีวิตใหกบั ประชาชนกลุมเปาหมาย ๒.สรา งโอกาสและจัดการศกึ ษาในรปู แบบการจดั กระบวนการเรียนรใู หก บั ประชาชน กลมุ เปาหมายมีคุณธรรม และใหมีทกั ษะการดาํ เนินชวี ติ บนพ้ืนฐานปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๓.พฒั นาสถานศกึ ษาใหส ามารถจัดการศกึ ษา ใหเปน ไปตามความตองการของชุมชน และทองถนิ่ สง เสริมและพัฒนาใหเ กิดการเรียนรตู ลอดชวี ิต ๔.รวมกับภาคเี ครอื ขาย จดั การความรดู ว ยการระดมทรัพยากร องคความรู และรวมจดั การศึกษาใหกับชมุ ชน  กลยทุ ธ ยุทธศาสตรท ี่ ๑ พัฒนา กศน.ตําบล ใหเปน กลไกการขบั เคล่อื นการจดั การศกึ ษาและสง เสริมภาคี เครือขา ยในการจัดการศึกษาเพ่อื สรางและกระจายโอกาสในการเรียนรู ตลอดชวี ติ ในชมุ ชน ยทุ ธศาสตรท ี่ ๒ ลดความเหล่ือมลํา้ สรางโอกาสและยกระดับคุณภาพการศกึ ษา ยทุ ธศาสตรท ี่ ๓ สรา งอดุ มการณรกั ชาติศาสนกษัตริยแ ละสรางคานยิ มท่พี งึ ประสงค ยุทธศาสตรท ี่ ๔ จดั การศึกษาเพ่อื สง เสรมิ การเรียนรูทุกชว งวยั และพัฒนาคณุ ภาพชีวติ

16 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา เปาประสงค กลยทุ ธ โครงการ/กจิ กรรม 2559 เปา หมาย 2562 ตวั ชว้ี ัดความสาํ เรจ็ ประชาชนไดร ับ เขา ถงึ 1.การจัดการเรยี นการ 1,874 2560 2561 1,874 1. ผูเรียนผา นการ โอกาสทาง กลุมเปา หมาย สอนขั้นพืน้ ฐาน คน 1,874 1,874 ประเมนิ ผลการเรียน การศึกษาและ ที่หลากหลาย เพือ่ ยกระดับการ คน ตามหลกั เกณฑ การประกอบ และทว่ั ถึง ศกึ ษาอยา งมีคณุ ภาพ คน คน 490 2. ผูเรยี นมคี ณุ ลกั ษณะ อาชีพอยา งทว่ั ถึง 490 490 คน อนั พึงประสงค ดวยวธิ ี 2.การจดั การศึกษา 490 คน คน 1.ผูเรียนผา นการ หลากหลาย เพือ่ สง เสริมผูไ มร ู คน 1,204 ประเมินผล การเรยี น หนังสอื คน ตามหลักเกณฑ 520 2.ผเู รยี นมีทักษะการ 3.การจัดการศกึ ษา 1,204 1,204 1,204 คน เรยี นรูในเร่ืองการอา น เพ่อื พฒั นาอาชพี คน คน คน 534 นาํ ไปใชใน สงเสริมศนู ยฝกอาชีพ คน ชวี ติ ประจาํ วัน ชุมชน 1.ผเู รยี นผานการ 4,700 ประเมนิ ผลการเรียน ประชาชนไดร ับ เขาถึง 4.การจัดการศกึ ษา 520 520 520 คน ตามเกณฑท ก่ี าํ หนด โอกาสทาง กลมุ เปา หมาย เพอื่ พฒั นาทกั ษะชีวติ คน คน คน 2.ผูเ รยี นนําความรไู ปใช การศกึ ษาและ ทหี่ ลากหลาย ประโยชน การประกอบ และทว่ั ถึง 1.ผูเรียนผา นการ อาชพี อยางทัว่ ถึง ประเมนิ ผลการเรียน ดวยวิธี ตามเกณฑท ี่กําหนด หลากหลาย 5.การจดั การศึกษา 534 534 534 2.ผูเรยี นนําความรูไปใช หลกั สูตรระยะสั้นเพ่ือ คน คน คน ประโยชนใ นการพัฒนา พัฒนาสังคมและ ตนเอง ครอบครวั ชุมชน ชมุ ชน 1.ผูเ รยี นผานการ ประเมนิ ผลการเรียน 6.การจดั การศกึ ษา 4,200 4,300 4,500 ตามเกณฑท ่กี ําหนด ตามอัธยาศยั คน คน คน 2.ผเู รยี นนาํ ความรูไปใช ประโยชนใ นการพัฒนา ตนเอง ครอบครวั ชุมชน 1.ผูรบั บรกิ ารมีความพึง พอใจอยูในระดับดี 2.สื่อและกจิ กรรมตรง กับความตองการของ ผรู ับบรกิ าร

17 เปาประสงค กลยุทธ โครงการ/ เปาหมาย 2562 ตัวชี้วดั ความสําเร็จ กจิ กรรม 2559 2560 2561 ประชาชนไดรบั เขาถึง 7.การจัด 224 224 224 224 1.ผเู ขา รว มกจิ กรรม โอกาสทาง กลุมเปาหมาย กระบวนการ คน คน คน คน ผา นการอบรมตาม การศกึ ษาและ ที่หลากหลาย เรียนรูหลกั เกณฑ การประกอบ และทว่ั ถงึ ปรัชญาของ 2.ผผู านการอบรมนํา อาชพี อยา งท่ัวถงึ เศรษฐกจิ พอเพียง ความรูไปใชใ นการ ดวยวิธี ดาํ เนินชีวิตตาม หลากหลาย ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เพ่มิ ประสิทธภิ าพ บรหิ ารและจัด 8.การพัฒนา 26 26 26 26 1.บคุ ลากรไดร บั การ บุคลากรและการ การศกึ ษา ศกั ยภาพ คน คน คน คน พัฒนาตามหลกั เกณฑ บรหิ ารจัดการใหมี สูคณุ ภาพ ทรัพยากร ทก่ี ําหนด สมรรถนะในการ บุคคล 2.บุคลากรมีความรูใน จัดการศึกษา การปฏิบัติงานและมี คณุ ธรรมจรยิ ธรรม 9.การประกนั 1 1 1 1 1.บุคลากรสามารถ คณุ ภาพการศึกษา แหง แหง แหง แหง ตรวจสอบ และพัฒนาคณุ ภาพ การศึกษา 2.สถานศึกษามผี ล การประเมิน คณุ ภาพทกุ ป 10.การนิเทศ 14 14 14 14 1.มกี ารกาํ หนด ติดตามประเมนิ ตาํ บล ตําบล ตาํ บล ตาํ บล มาตรฐาน จดั ทํา และรายงานผล แผนการนิเทศ การ 2.มีการนเิ ทศตามแผน จดั การศกึ ษา และราย งานผลการนิเทศ พฒั นาส่อื ขยายโอกาส 11.การพฒั นา 1,934 1,934 1,934 1,934 1.จํานวนนักศึกษา หลกั สูตร และชอ ง คณุ ภาพผเู รียน คน คน คน คน ท่เี ขารวมกิจกรรม กิจกรรมและนํา ทางการเรียนรู การจัดการศึกษา พัฒนาคณุ ภาพ เทคโนโลยี ขั้นพ้ืนฐาน 2.นักศกึ ษา สมยั ใหม มีคุณลกั ษณะที่พ่งึ มาใชใ นการจัด ประสงค และบรกิ ารทาง การศกึ ษา

18 แผนปฏบิ ัติการประจําป โครงการ/ วัตถปุ ระสงค กลมุ เปา หมาย จํานวน พน้ื ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ กิจกรรม ผูดอ ยโอกาส เปาหมาย พื้นท่ี ๑๔ ต.ค.๖๐ - 1,445,602 - โครงการ จดั การศกึ ษา พลาดโอกาส ๑. ผเู รยี น ตําบลของ ก.ย.๖๑ บาท พัฒนาคุณภาพ นอกระบบ และขาดโอกาส ระดับประถม อําเภอ ผเู รียนการจัด ระดบั ทางการศึกษา ศกึ ษา บางปลามา ต.ค.60-มิ.ย. 396,700.- การศึกษาขั้น การศกึ ษาขนั้ จากในระบบ จํานวน 61 บาท พน้ื ฐาน พนื้ ฐานอยางมี โรงเรียน 62 คน 1.ศูนยI CT โครงการ คณุ ภาพ และ ๒. ผเู รียน ชมุ ชนตาํ บล พฒั นาคุณภาพ ยกระดับ นักศกึ ษา กศน. ระดับ โคกคราม ผูเ รียนการจัด การศึกษา อาํ เภอ มธั ยมศกึ ษา 2.แคมป การศึกษาขน้ั ใหกับ บางปลามา ตอนตน อูทองสักทอง พื้นฐาน ประชากรวัย จาํ นวน อําเภออูทอง แรงงานทยี่ งั ไม 514 คน 3.กศน.ตําบล จบการศึกษา ๓. ผูเรียน 14 แหง และ ขน้ั พืน้ ฐาน ระดับ กศน.อําเภอ โดยเฉพาะ มธั ยมศึกษา บางปลามา ผดู อยโอกาส ตอนปลาย ทางการศกึ ษา จํานวน กลมุ ตา ง ๆ 824 คน พัฒนาคณุ ภาพ รวมท้งั สิน้ ผเู รียน สราง 1,400 คน โอกาสในการ 1,366 คน สงเสริมการ เรยี นรขู อง ผูเรียนดว ย วธิ กี ารที่ หลากหลาย สอดคลองกบั ความ ตอ งการ ตามศักยภาพ และความ พรอ มของ ผเู รยี น

19 โครงการ/ วตั ถปุ ระสงค กลุม เปา หมาย จาํ นวน พืน้ ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ กิจกรรม เพื่อใหกลุม เปาหมายนําความรู ประชาชนทั่วไป เปา หมาย กศน.ตาํ บล ต.ค.60- 377,100.- โครงการศูนย ไปการประกอบอาชีพ สามารถ 419 คน 14 ตาํ บล มิ.ย.61 บาท ฝกอาชพี ชุมชน จดั ทําผลิตภัณฑเ พอื่ การ ประชาชนทว่ั ไป ต.ค.60- 371,700.- ชัน้ เรยี นวิชาชีพ จาํ หนา ยได ประชาชนทว่ั ไป 531 คน กศน.ตําบล ก.ค.61 บาท ( ๓๑ ช่วั โมง 14 ตําบล ม.ค.-มิ.ย. 124,000.- ข้ึนไป) เพื่อใหก ลุมเปา หมายพฒั นา ประชาชนทั่วไป 61 บาท โครงการศูนย อาชีพทีม่ ีอยู และพัฒนาตอ ยอด 120 คน กศน.ตาํ บล ม.ค.- ส.ค. ๒๑๒,๘๐๐.- ฝกอาชพี ชุมชน สอู าชพี ใหม สามารถทาํ - ครูอาสาสมัคร 14 ตาํ บล 61 บาท หลักสูตร ผลิตภัณฑเ พอ่ื การจาํ หนา ยได - ครู กศน.ตาํ บล ระยะสน้ั เพอ่ื ใหก ลุมเปาหมายทผ่ี า นการ - ครศู รช. ๑๔๐ คน กศน.ตําบล ต.ค.60- 30,000.- โครงการ อบรมภาษาองั กฤษเพอื่ การ บุคลากร กศน. 14 ตาํ บล ก.ย.61 บาท ภาษาองั กฤษ สอ่ื สาร สามารถนําความรทู ี่ อาํ เภอ ต.ค.60 - 30,000.- เพอื่ การสอ่ื สาร ไดร บั ไปใชไ ดอยา งเหมาะสมกับ บางปลามา กจิ กรรม 14 ตาํ บล ก.ย.๖1 บาท ดานอาชีพ อาชพี ของตนเอง กศน. ของอาํ เภอ ม.ค.-มิ.ย. 41,800 .- โครงการ เพื่อใหกลุมเปาหมายมคี วามรู ผไู มรูหนงั สือ ทกุ กิจกรรม บางปลามา บาท Smart ONIE ความเขาใจ เรื่องการใช ๒๗ คน กศน. อาํ เภอ 61 เพอื่ สรา ง เทคโนโลยีสารสนเทศและ Smart Farmer นวตั กรรมในการจดั กระบวนการ บางปลามา เรียนรดู านเกษตรกรรม และเพมิ่ โครงการนเิ ทศ มลู คา สินคาทางการเกษตรสราง ๗๖ คน 14 ตาํ บล ภายใน ชองทางการจําหนา ยสนิ คาผา น ของอาํ เภอ สถานศึกษา ชอ งทางตา งๆ ไดมากขน้ึ บางปลามา โครงการการ เพอ่ื ตดิ ตามการดําเนินงานให ประกันคุณภาพ เปนไปตามนโยบายและจุดเนน สถานศึกษา ของสาํ นกั งาน กศน.และ โครงการ เสนอแนะแนวทางการพฒั นา สงเสรมิ ปรบั ปรงุ การดาํ เนนิ งาน การรหู นังสอื เพื่อใหก ารจดั กิจกรรมการศกึ ษา ของสถานศกึ ษาเปนไปตาม มาตรฐาน ตวั บงช้ี การศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั เพื่อจดั การเรยี นการสอนใหกบั กลุมเปา หมายผไู มรูหนงั สอื ไดม ี ความรู อานออก เขียนได

20 โครงการ/ วัตถปุ ระสงค กลุม เปาหมาย จาํ นวน พนื้ ที่ ระยะเวลา งบประมาณ กิจกรรม เปา หมาย กศน. ตําบล ม.ค.-มิ.ย.61 84,400.- โครงการจัดการ เพอื่ ให เพอ่ื ให ๒11 คน 14 ตําบล บาท เรียนรูห ลกั กลุม เปา หมายความ กลุมเปา หมาย ปรัชญาของ มคี วามรคู วามเขา ใจ ความมคี วามรู กศน.ตาํ บล พ.ย.60 - ๘๐,๕๐๐.- เศรษฐกิจพอเพยี ง ในหลักปรชั ญาของ ความเขา ใจ ใน 14 ตาํ บล มิ.ย.61 บาท เศรษฐกจิ พอเพียง หลักปรชั ญาของ กศน.ตาํ บล ม.ค.-ก.ค.60 186,800.- และนําปรบั ใชใน เศรษฐกจิ 14 ตําบล บาท การดําเนนิ ชวี ิตได พอเพยี ง และนํา อยา งเหมาะสม ปรับใชใ นการ กศน.ตําบล ต.ค.60-ก.ย. 34,440.- ดําเนินชวี ิตได 14 แหง 61 บาท อยา งเหมาะสม โครงการจัด เพื่อให ประชาชนทวั่ ไป ๗5๐ คน การศึกษาเพอ่ื กลมุ เปาหมาย มี พฒั นาทักษะชีวติ ความรู และทักษะท่ี จาํ เปนในการ ดาํ รงชีวิตประจาํ วัน โครงการ เพื่อให ประชาชนทั่วไป 467 คน จัดการศกึ ษา กลมุ เปา หมายมี เพ่อื พฒั นาสังคม ความรูความเขา ใจ และชมุ ชน ในการบรหิ ารจดั การ ขยะในครัวเรือน และชมุ ชนทีอ่ ยู อาศัย สามารถทํา ผลิตภัณฑทเี่ ปน มิตร กบั ส่ิงแวดลอม โครงการจดั สราง เพื่อสงเสริม กศน.ตาํ บล 14 แหง แหลง เรยี นรู กระบวนการเรียนรู ชมุ ชนในตาํ บล ในการแกป ญหาและ (นสพ. กศน. พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ตําบล) และเสรมิ สรางความ เขมแขง็ ใหก บั ชุมชน โดยมแี หลงเรียนรูใ น ชุมชนเปน กลไกใน การจัดการเรยี นรู

21 โครงการ/ วตั ถุประสงค กลมุ เปา หมาย จาํ นวน พน้ื ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ กิจกรรม เปาหมาย หองสมดุ ต.ค.60 - 79,780.-บาท โครงการ เพื่อใหป ระชาชน ๑.นกั ศกึ ษา กศน. 11,500คน ประชาชนอําเภอ ก.ย.61 สง เสรมิ มีนิสยั รกั ๒.ประชาชนท่วั ไป ๑4,000 บางปลามา ต.ค.60 - การอา น การอา น เลม ๑.บา นหนงั สือ -ก.ย.61 โครงการบรรณ เพื่อ บา นหนงั สือชุมชน ชมุ ชน ๑๔ แหง - สญั จร (Book ประชาสัมพันธ ไดร ับบรจิ าค 2,100 คน ๒.หองสมดุ ต.ค.60 Voyage II) รณรงค เชญิ ชวน หนงั สือ 700 คน ประชาชนอําเภอ -ก.ย.61 - ใหมาบริจาค บา นหนังสอื โครงการ หนังสอื และสอื่ 700 คน ชุมชน ๑๔ แหง ม.ค.-ก.ย.61 - สงเสรมิ สง เสรมิ การอาน ตําบล การอาน ใหก ับบา น โคกคราม ต.ค.60 บานหนงั สอื หนังสือชุมชน -ก.ย.๖1 ชมุ ชน และหองสมุด 14 ตําบลของ โครงการ ประชาชน อําเภอ หองสมุด เพอ่ื ใหเปนแหลง ประชาชนทัว่ ไป บางปลามา เคลือ่ นท่ี การอานท่ใี กลตวั สาํ หรบั ในชุมชน ชาวตลาดตาม และเปน พระราชดาํ ริ ศนู ยกลางการ สมเด็จพระเทพ แลกเปลยี่ น รตั นราชสดุ า ฯ เรียนรใู นชุมชน สยามบรมราช แบบมีสว นรวม กุมารี กลุมเปา หมายใน ชาวตลาด โครงการพฒั นา พนื้ ทตี่ ลาดไดร ับ ศักยภาพ บรกิ าร การ อาสาสมัคร สงเสริมการอา น สงเสรมิ การอา น เพื่อให ประชาชนทั่วไป อาสาสมัคร กศน.เปน กลไก ในการขบั เคลื่อน กิจกรรมสง เสรมิ การอา นในระดับ พืน้ ที่

22 โครงการ/ วัตถุประสงค กลุม เปาหมาย จํานวน พนื้ ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ กจิ กรรม เพอื่ พฒั นา กศน.ตาํ บล เปา หมาย กศน.ตําบล ม.ค.- ก.พ.61 - โครงการการ ปรับปรงุ สภาพ 14 แหง 3,360คน 14 ขับเคลอื่ นการ ทว่ั ไปภายใน (จาํ นวน 14 เม.ย.-มิ.ย.61 ๑๒6,0๐๐.- ดําเนนิ งาน และภายนอก กลมุ เปา หมาย แหงๆละ 280 ก.ค.-ก.ย. กศน.ตําบล อาคาร กศน. ผเู ขารับบรกิ าร คน) 61 ๒๘,๐๐๐.-บาท 4 ศูนยเรียนรู ตาํ บล เปน 4 ตําบลละ โครงการสรา ง ศนู ย ๓๒ คน รวมทัง้ สิ้น กศน. ตําบล ม.ค.-ก.ค.61 เครือขา ยศูนย การเรยี นรู ๔๔๘ คน ๑๔ แหง ดิจิทัลชมุ ชน และเปน ประชาชนท่วั ไป ระดับตาํ บล แหลง เรียนรู ตําบลละ รวมทัง้ สิน้ กศน.ตําบล โครงการเพ่ิม ตลอดชีวิต ๒๐ คน ๒๘๐ คน 14 แหง ประสิทธิภาพ สําหรับ การบรหิ าร ประชาชนใน จดั การขยะ ตําบล มลู ฝอย เพอ่ื ให ผรู ับบริการมี ความสามารถใช เทคโนโลยีสราง มลู คาเพิม่ ใหก บั สนิ คา และ ชองทางการ เผยแพร และ จาํ หนา ย ผลติ ภัณฑข อง วสิ าหกิจชมุ ชน ใหเปนระบบ ครบวงจร เพื่อใหม ีความรู ความเขา ใจใน การจดั การขยะ มลู ฝอย

23 เพอื่ ใหก ารดาํ เนินการประกันคุณภาพเปนไปดวยความเรียบรอย สถานศึกษาจึงไดรว มกันกาํ หนด คา เปา หมาย ซึ่งเปน คาความสําเรจ็ หรอื ระดับผลการดาํ เนินงานทสี่ ถานศกึ ษาคาดหวังวา สามารถทําใหเ กิดข้ึนได ในมาตรฐานที่ 1 ดังน้ี ประเด็น คา เปาหมาย (จํานวน หรือ รอยละ) การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ตัวบงชี้ 1.1 ผูเรียนการศึกษาข้ันพนื้ ฐานมคี ุณธรรม ประเด็นท่ี 1 ผูเรียนมีคณุ ธรรม รอยละ 98 ประเด็นที่ 5 ผูเรียนที่เปน ตัวอยางทด่ี ี หรือตนแบบดานคณุ ธรรม จํานวน 9 คน ตวั บง ช้ี 1.2 ผูเรยี นการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานมีทกั ษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหา ความรู เรยี นรูอ ยางตอเนื่อง และสามารถนําไปประยกุ ตใ ชใ น การดํารงชวี ติ ประเด็นท่ี 1 ผเู รยี นมีทักษะกระบวนการคิด ทกั ษะการแสวงหาความรู เรยี นรู อยางตอเนื่อง และสามารถนาํ ไปประยกุ ตใ ชในการดํารงชีวติ รอยละ 54.26 ประเด็นที่ 5 ผูเรียนทเ่ี ปนตวั อยางที่ดี หรอื ตนแบบดานทกั ษะกระบวนการคดิ ทกั ษะการแสวงหาความรู เรยี นรอู ยา งตอเน่อื ง และสามารถ นาํ ไป จํานวน 3 คน ประยกุ ตใชในการดํารงชวี ิต ตัวบงชี้ 1.3 ผูเรียนการศึกษาขน้ั พืน้ ฐานมคี วามรูพื้นฐาน ประเด็นท่ี 1 ผเู รียนมคี วามรพู ้ืนฐาน 40.75 คะแนน ประเด็นท่ี 2 ผเู รียนนําความรูพน้ื ฐานไปใชใ นการดาํ เนินชีวติ การทาํ งาน จํานวน 376 คน หรอื การประกอบอาชพี ประเด็นท่ี 5 ผเู รียนท่ีเปน ตวั อยางท่ดี ี หรือตนแบบในการนาํ ความรไู ปใช/ จํานวน 5 คน ประยุกตในการดาํ รงชีวิต การศึกษาตอ เนือ่ ง ตัวบงช้ี 1.4 ผเู รียนหรือผูเขา รบั การอบรมมคี วามรู ความสามารถ และทักษะ ในการประกอบอาชพี ประเด็นที่ 1 ผเู รยี นมีความรู ความสามารถตามวตั ถปุ ระสงคข องหลักสูตร รอ ยละ 100 ประเด็นที่ 2 ผเู รียนนาํ ความรไู ปใชใ นการลดรายจา ย หรือเพิม่ รายได หรือประกอบ อาชพี หรอื พัฒนาตอยอดอาชพี หรอื การเพ่มิ มูลคา ของสนิ คา หรือบริ รอ ยละ 100 ประเดน็ ที่ 5 ผเู รยี นเปนตวั อยางที่ดี หรือตน แบบในการนําความรูไปใช รอยละ 100 ตัวบง ชี้ 1.5 ผูเรียนหรือผูเ ขารับการอบรมปฏบิ ตั ิตนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง ประเด็นที่ 1 ผูเรียนหรือผูเขารับการอบรมมคี วามรู ความเขาใจ ในหลกั ปรัชญา รอ ยละ 100 ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

24 ประเดน็ คาเปาหมาย (จํานวน หรอื รอยละ) ประเดน็ ที่ 2 ผเู รยี นหรือผเู ขารบั การอบรมปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ประเด็นท่ี 5 ผเู รียนเปนตัวอยางท่ดี ี หรือตนแบบในการปฏิบตั ิตนตามหลกั ปรัชญา รอ ยละ 100 ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตัวบง ชี้ 1.6 ผเู รยี นหรอื ผเู ขา รบั การอบรมสามารถใชเ ทคโนโลยีไดอยา งเหมาะสม จาํ นวน 2 คน ประเดน็ ที่ 1 ผเู รยี นหรือผเู ขา รับการอบรมมีความรู ความเขา ใจและมคี วามสามารถ ในการใชเทคโนโลยี รอ ยละ 100 ประเดน็ ที่ 2 ผเู รยี นหรอื ผูเ ขารับการอบรมสามารถนําความรูไปใชใ นการแกป ญหา และพัฒนาการดํารงชีวิต หรอื ประกอบอาชีพไดอ ยา งเหมาะสม รอยละ 100 ประเด็นท่ี 5 ผูเ รียนเปน ตวั อยา งทด่ี ี หรือตนแบบในการใชเ ทคโนโลยี ไดอยา งเหมาะสม จาํ นวน 1 คน การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ตวั บง ช้ี 1.7 ผูร บั บรกิ ารไดร ับความรูแ ละ/หรอื ประสบการณจ ากการเขารวม กิจกรรม/โครงการการศกึ ษาตามอัธยาศยั ประเด็นท่ี 1 ผูรบั บริการเขารว มกจิ กรรม/โครงการการศกึ ษาตามอัธยาศยั จาํ นวน 15,000 คน ประเดน็ ที่ 2 ผูร ับบรกิ ารทไ่ี ดรับความรูแ ละ/หรอื ประสบการณจ ากการเขารว ม กิจกรรม/โครงการการศกึ ษาตามอัธยาศยั รอยละ 100 ประเด็นท่ี 5 ผรู บั บริการเปน ตวั อยางทดี่ ี หรือตน แบบในการนาํ ความรู รอยละ 100 จากการเขา รว มกิจกรรม/โครงการการศกึ ษาตามอัธยาศยั ไปใช

25 ผลการดําเนินงาน ประจาํ ปงบประมาณ 2561 โครงการ/กิจกรรม จํานวนเปาหมาย ผลการดําเนนิ งาน โครงการพัฒนาคณุ ภาพผเู รียน ๑. ผูเรียนระดับประถมศึกษา ๑. ผเู รยี นระดับประถมศกึ ษา จดั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน โครงการพัฒนาคณุ ภาพผูเ รยี นการจดั การศึกษาข้นั พื้นฐาน จํานวน 62 คน จาํ นวน 56 คน โครงการศนู ยฝกอาชีพชมุ ชน ชัน้ เรียนวชิ าชพี ๒. ผูเ รียนระดับมัธยมศกึ ษา ๒. ผเู รียนระดับมัธยมศึกษา ( ๓๑ ชั่วโมงขนึ้ ไป) โครงการศูนยฝ กอาชีพชุมชน หลกั สูตรระยะสั้น ตอนตน จํานวน 514 คน ตอนตน จํานวน 517 คน โครงการภาษาองั กฤษเพ่ือการสอื่ สารดา นอาชีพ ๓. ผูเรยี นระดับมธั ยมศึกษา ๓. ผูเ รยี นระดับมธั ยมศกึ ษา โครงการ Smart ONIE เพอ่ื สรา ง Smart Farmer โครงการนิเทศ ภายในสถานศกึ ษา ตอนปลาย จาํ นวน824 คน ตอนปลาย จํานวน 826 คน โครงการการประกันคุณภาพสถานศึกษา รวมทัง้ สน้ิ 1,400 คน รวมทง้ั ส้นิ 1,399 คน โครงการสง เสรมิ การรูห นังสือ 1,366 คน 1,366 คน โครงการจัดการเรยี นรหู ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 419 คน 483 คน โครงการจัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาทกั ษะชีวิต โครงการ จัดการศึกษาเพ่อื พัฒนาสงั คมสงั คมและชุมชน 531 คน 1,120 คน โครงการจัดสรางแหลงเรยี นรูชุมชนในตําบล 120 คน 120 คน (นสพ.กศน.ตําบล) ๑๔๐ คน 210 คน โครงการสง เสรมิ การอาน 14 ตําบล 14 ตําบล โครงการบรรณสญั จร (Book Voyage II ๒๗ คน 27 คน โครงการสง เสรมิ การอานบานหนงั สอื ชมุ ชน ๗๖ คน 560 คน โครงการหองสมดุ เคล่ือนทส่ี าํ หรบั ชาวตลาดตาม ๒11 คน 549 คน พระราชดาํ ริ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ ๗5๐ คน 944 คน สยามบรมราชกมุ ารี 467 คน 840 คน โครงการพฒั นาศกั ยภาพอาสาสมัครสง เสริมการอาน 14 แหง 14 แหง โครงการการขบั เคลื่อนการดาํ เนนิ งาน กศน.ตาํ บล 4 ศูนยเรยี นรู 11,500คน 11,394 คน โครงการสรา งเครอื ขายศูนยด จิ ทิ ลั ชุมชนระดับตาํ บล ๑4,000 เลม 14,000 เลม โครงการเพ่มิ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจัด 2,100 คน 2,100 คน การขยะมลู ฝอย 700 คน 700 คน 700 คน 700 คน 3,360 คน 3,360 คน (จาํ นวน 14แหงๆละ 280คน) (จาํ นวน 14แหงๆละ 280คน) รวมทง้ั ส้นิ ๔๔๘ คน 490 คน รวมท้ังส้ิน ๒๘๐ คน 299 คน 

บทท่ี 3 ผลการประเมนิ ตนเอง ศนู ยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาํ เภอบางปลามา ไดดาํ เนินการประเมนิ ตนเอง ประจําป ซึ่งเปน ไปตามกฎกระทรวง กําหนดระบบ หลักเกณฑ และวิธกี ารประกันคณุ ภาพภายใน สําหรบั สถานศกึ ษา ท่ีจดั การศกึ ษานอกระบบ พ.ศ. 2555 ที่อาศยั อํานาจตามความในมาตรา 20วรรคสาม และมาตรา 25 วรรคหนึง่ แหง พระราชบญั ญตั ิสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 สถานศึกษาไดดําเนินการประเมินตนเองตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอ่ื งมาตรฐานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2560 ประกอบดวย 3 มาตรฐาน 20 ตัวบงชี้ ดังรายละเอียด ผลการประเมิน ดังตอ ไปน้ี ผลการประเมนิ ตนเองตามรายมาตรฐาน มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู รยี น/ผูร บั บรกิ าร จากการดําเนนิ งานของสถานศึกษาทีส่ อดคลองกับมาตรฐานท่ี 1 สามารถนาํ เสนอผลการดําเนนิ งานตาม รายตัวบงชี้ ไดดังนี้ การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน ตวั บงชี้ 1.1 ผเู รยี นการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานมคี ณุ ธรรม ผลการดําเนนิ งานเชงิ คุณภาพ การประเมินคุณภาพของผเู รยี น/ผรู บั บริการ การจดั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน การศกึ ษาตอเนอ่ื งและการศกึ ษา ตามอัธยาศัยมผี ลการประเมนิ ดงั น้ี ตวั บง ชี้ท่ี 1.1 ผเู รียนการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานมคี ุณธรรม 1. ผเู รยี นมีคณุ ธรรมเปน ไปตามคา เปา หมายที่กาํ หนด ตารางท่ี 1 การกําหนดคา เปาหมายของสถานศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี 2/2559 คาเปา หมายที่ ภาคเรยี นท่ี 1/2560 สถานศึกษากาํ หนด ป พ.ศ. 2561 ระดับ จํานวน รอยละ จาํ นวน รอยละ ผูเรยี น พอใช ดี ดมี าก ระดับดี ผเู รยี น พอใ ดี ดีมาก ระดับดี รอ ยละ ทัง้ หมด มาก ท้ังหมด ช ระดับดมี าก มาก ประถม 40 - - 40 100 37 - - 36 97 99 ม.ตน 321 - - 292 91 310 - - 307 99 95 ม. 479 - - 472 99 493 - - 488 99 99 ปลาย เฉลีย่ 96 เฉลีย่ 98 98

27 ตารางท่ี 2 การเปรยี บเทียบคา เปาหมายตามที่สถานศกึ ษากาํ หนด คา เปา หมาย ภาคเรยี นท่ี 2/2560 ภาคเรียนท่ี 1/2561 ที่ ระดับ สถานศึกษา จาํ นวน ดี รอย จํานวน พอใช ดี ดี รอยละ คา เฉลย่ี มาก ละ ผูเรียน มาก ระดับ ระดับ กําหนด ผเู รยี น พอใช ดี ระดับ ทั้งหมด ดมี าก (สูง/ตํา่ ) ป พ.ศ. ทงั้ หมด ดีมาก 2561 ประถม 99 31 - - 29 94 25 - - 25 100 สูงกวา ม.ตน 95 258 - - 232 90 259 - - 256 98.84 สูงกวา ม.ปลาย 99 411 - - 380 92 416 - - 411 98.80 สูงกวา รวม 700 - - 641 92 700 - - 692 99.28 สูงกวา จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในตัวบงช้ีที่ 1.1 พบวาสถานศกึ ษาบรรลตุ ามเปาหมาย ความสาํ เร็จ ของตัวบงช้ที ี่ 1.1 ที่กาํ หนดไวได 5 คะแนน จากคะแนนเตม็ 5 คะแนน ดว ยการดําเนนิ งานของ สถานศกึ ษา ดังน้ี 1 .สถานศกึ ษาประเมินคณุ ธรรมของนกั ศึกษาทล่ี งทะเบียนในภาคเรยี นท่ี 2/2560 และภาคเรียนท่ี 1/2561 พบวานักศกึ ษามพี ฤติกรรมตามตัวบงช้ีที่อยูในระดับดมี าก ซ่งึ เปนไปตามคา เปาหมายท่ีกําหนด เนอ่ื งจาก ในปงบประมาณ 2561 สถานศึกษามีการจดั กิจกรรมทีเ่ นนสง เสรมิ ความรูดานคณุ ธรรม จริยธรรม ใหกบั นกั ศึกษา ขั้นพน้ื ฐานและมกี ารประเมนิ คณุ ธรรมของนกั ศกึ ษาตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ในทุกภาคเรียน โดยใชแบบประเมินคณุ ธรรม สมุดภมู จิ ริยธรรม เปน เครอ่ื งมือในการประเมินและ สมุดบันทึกการทํากิจกรรมของนักศกึ ษาและภาคเรียนที่ 2 / 2560 สถานศกึ ษาไดจัดโครงการคายลกู เสอื ดี มี คณุ ธรรม นําความรู ใหก ับนักศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ซง่ึ เปนคายคา งคนื จาํ นวน 2 คนื 3 วัน จํานวน 140 คน มเี นื้อหาใน การอบรม ท่ีปลกู ฝง เกย่ี วกบั คณุ ธรรม จริยธรรมใหกบั นกั ศกึ ษาทางดา นความสะอาด สุภาพ กตญั กู ตเวที ขยนั ประหยัด ซื่อสัตย สามคั คี มนี าํ้ ใจ มวี นิ ัยและมคี วามรกั ชาติศาสนก ษตั ริย มีความเปน ประชาธปิ ไตย โครงการศาสตร พระราชาสูการพฒั นาอยางยง่ั ยนื จํานวน 2 วัน มผี ูเขา รับการอบรมจาํ นวน 208 คน โครงการเสรมิ สรา งความรูการ ปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย จํานวน 2 วัน มีผเู ขา รว มอบรม จาํ นวน 183 คน และโครงการแลกเปล่ียนการ เรียนรกู ารนอ มนาํ ศาสตรพระราชาสูก ารพัฒนาอยา งยัง่ ยืน เปน การเรียนรูจากแหลง เรียนรทู างเศรษฐกิจพอเพยี งและ ศูนยเรยี นรูทางประวตั ศิ าสตร มผี ูเขารว มโครงการจาํ นวน 140 คน โดยโครงการทีท่ างสถานศกึ ษาไดจ ัดใหแ ก นักศึกษานเ้ี ปนการปลูกฝงใหนกั ศึกษาเปนผมู ีคุณธรรม ทางดานการรักชาติศาสนกษตั รยิ  มีความเปนประชาธปิ ไตย มี ความขยนั และประหยดั นอกจากน้ียงั ไดมีการจดั กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ที่ปลกู ฝงคณุ ธรรมใหก บั นกั ศึกษาหลาย กิจกรรมไดแ ก กิจกรรม กศน.รว มใจบรจิ าคโลหิต จาํ นวน 156 คน เปน กิจกรรมทป่ี ลูกฝง คุณธรรมใหกับนักศึกษา ทางดานการมีนํ้าใจ กจิ กรรมรรู ับ รจู าย รไู ด รูเก็บ กิจกรรมการเรยี นรหู ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดว ย กระบวนการบญั ชคี รวั เรอื น จาํ นวน 69 คน เปนกจิ กรรมทปี่ ลูกฝง เกีย่ วกับคุณธรรมดานการประหยดั ไดวดั ผลจาก สมุดรายรับรายจายที่นักศึกษาไดบ ันทึก กิจกรรมปรับภมู ิทศั นเพ่อื พลิกโฉม กศน.ตําบลสู กศน.ตําบล 4G กิจกรรม บําเพญ็ สาธารณประโยชน พัฒนา กศน.ตําบล กจิ กรรมพัฒนา กศน.ตาํ บลใหเ ปน ศูนยเรยี นรูต ลอดชีวติ ในชุมชน

28 มีโครงการฝก เยาวชนอาสารักษาดินแดนตานภยั ยาเสพตดิ เปนการเขา คายคา งคืน จาํ นวน 2 คนื 3 วนั ซึง่ มีเนอื้ หาใน การอบรมที่เกยี่ วกับการปลูกฝง คณุ ธรรมดานความสามัคคี การมีวนิ ัยและความรกั ชาตศิ าสนกษัตริยและมคี วามเปน ประชาธิปไตย และในภาคเรยี นที่ 1/2561 สถานศกึ ษาไดจดั โครงการไหวค ร/ู ปฐมนิเทศนกั ศึกษาการศึกษาขั้น พืน้ ฐาน ภาคเรียนที่ 1/ 2561 จํานวน 264 คน ซึง่ เปนการปลกู ฝง เก่ยี วกับคณุ ธรรมดา นความเปน ผมู ีความ กตัญูกตเวที และมคี วามสภุ าพ ใหกบั นักศึกษา มีการจัดโครงการคา ยคณุ ธรรม จริยธรรม หา งไกลยาเสพตดิ ชีวิต รุงเร่ือง เปน คา ยพักคางคนื จาํ นวน 2 วัน 1 คืน จํานวน 140 คน ซึง่ เปน การปลกู ฝงคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ใหแก นักศึกษาทางดา นความสะอาด สภุ าพ กตัญกู ตเวที ซอ่ื สัตย สามัคคแี ละมนี าํ้ ใจโดยการวดั ผลจากสมดุ บันทกึ การเขา รวมกิจกรรม โครงการคายอาสายุวกาชาด กศน. เปน คายคางคนื จํานวน 2 คืน 3 วนั มผี ูเขารว มกจิ กรรมจาํ นวน 134 คน มีหลักสูตรการอบรมทม่ี เี น้ือหาปลกู ฝงเกย่ี วกับคณุ ธรรม จรยิ ธรรมใหกับนักศึกษาทางดา นความสะอาด สภุ าพ กตัญูกตเวที ขยัน ประหยัด ซ่ือสัตย สามัคคี มนี ํ้าใจ มวี ินยั และมคี วามรกั ชาตศิ าสนก ษัตรยิ  มคี วามเปน ประชาธิปไตยนอกจากน้ียังมีการจัดกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู รียนเพื่อเปนการปลูกฝง คุณธรรมใหกับนักศกึ ษาไดแก กจิ กรรม กศน.รวมใจบริจาคโลหติ จํานวน 181 คน เปนการปลกู ฝง ใหน กั ศึกษา มีคณุ ธรรมดา นการมนี าํ้ ใจ กิจกรรม รณรงคตอตานยาเสพติด จํานวน 140 คน มผี ลใหผ ูเรยี นมีคณุ ธรรมดา นความสามัคคี มนี ้ําใจ กจิ กรรมรูรบั รูจา ย รูไ ด รเู ก็บเพื่อชวี ีมีสขุ จํานวน 15 คน โดยประเมินผลจากสมดุ บันทึกรายรับ รายจา ยของนกั ศกึ ษา นอกจากนีย้ ังมีการ ตรวจสุขภาพของนักศึกษาในทุกภาคเรยี นอกี ดวย มกี ารตดิ ตามผลหลังจากทีน่ กั ศกึ ษาไดผ า นการอบรมและการทาํ กิจกรรม โดยการประเมนิ ผลจากการทีน่ กั ศึกษาบนั ทกึ กิจกรรมท่ีตนเองไดท ําประโยชนใ หกบั ครอบครัวชมุ ชนและ สงั คม ลงในสมดุ ภูมจิ ริยธรรมอยางตอเนื่อง โดยครูผูสอนไดมกี ารเยยี่ มบา น เพอ่ื สงั เกต สอบถามขอมลู ของนักศึกษา จากผปู กครอง เพ่อื นบานและผูน าํ ชมุ ชน เพอ่ื เปนขอมูลประกอบการประเมินผล ทั้งน้ี สถานศกึ ษาไดกาํ หนดเปาหมาย ใหนักศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีคณุ ธรรม รอ ยละ 98 ของนกั ศึกษา ทีล่ งทะเบยี น มคี ุณธรรมในระดับดีมาก ซงึ่ ผลการดําเนนิ งานของสถานศกึ ษาในปง บประมาณ 2561 พบวา นกั ศึกษามคี ณุ ธรรมระดับดมี าก รอยละ 99.28 ซ่งึ ผเู รียนมคี ณุ ธรรมสงู กวา คา เปา หมาย ท่กี ําหนด ดงั รายละเอียดตอไปนี้ ผลการประเมินคุณธรรม กลุม คุณธรรม 2/2560 1/2561 รวมจาํ นวน รวมจํานวน รอ ยละ คณุ ธรรม จํานวนผู จํานวนผูเขา จาํ นวนผู จํานวนผเู ขา ผลู งทะเบยี น ผูเ ขา 99.79 ลงทะเบียน ประเมนิ ลงทะเบียน ประเมนิ 99.79 700 697 1,400 ประเมนิ การ 99.79 คณุ ธรรม 1.สะอาด 700 641 700 697 1,400 ประเมิน 99.79 เพอ่ื พัฒนา 2.สภุ าพ 700 641 700 697 1,400 1,397 99.79 3.ความกตญั ูกตเวที 700 641 1,397 99.79 ตนเอง รวม 700 641 1,397 700 641 คุณธรรม 1.ขยนั 700 641 700 697 1,400 1,397 เพือ่ การ 2.ประหยัด 700 697 1,400 1,397 ทาํ งาน 3.ความซอ่ื สัตยสุจริต 700 697 1,400 1,397

29 ผลการประเมนิ คณุ ธรรม (ตอ) กลมุ คณุ ธรรม 2/2560 1/2561 รวมจํานวน รวมจํานวน รอยละ คณุ ธรรม จํานวนผู จาํ นวนผเู ขา จาํ นวนผู จํานวนผเู ขา ผูลงทะเบียน ผูเขา 99.79 ลงทะเบียน ประเมนิ ลงทะเบยี น ประเมนิ 99.79 คุณธรรม 1.ความสามัคคี 700 641 700 697 1,400 ประเมินการ 99.79 เพือ่ การ 2.ความมนี าํ้ ใจ 700 641 700 697 1,400 ประเมนิ 299.37 พฒั นา 3.ความมีวินยั 700 641 700 697 1,400 1,397 99.79 สงั คม 1.รักชาตศิ าสน 700 641 700 697 1,397 กษัตริย รวม 1,397 2.มคี วามเปน 1,400 1,397 ประชาธิปไตย 700 641 700 697 1,400 1,397 99.76 รวม 199.58 เฉล่ีย 99.79 จํานวนผเู ขาประเมนิ คณุ ธรรม และผลการประเมนิ คณุ ธรรม ภาคเรยี น จาํ นวนผเู ขา ประเมิน ผลการประเมนิ คุณธรรมระดับ ดีมาก ขนึ้ ไป 2/2560 700 จํานวน รอยละ 1/2561 641 92 697 (นกั ศึกษาเสียชวี ติ 3 คน) 692 99.28 รวม 1,397 1,333 95.64

30 2. สถานศกึ ษาประเมินคุณธรรมนกั ศึกษา กศน.เปน รายบคุ คล มีรูปแบบเอกสารการประเมินที่ ชดั เจน ไดแก แบบประเมินคุณธรรมรายบคุ คล โดยใชว ิธีการสมั ภาษณ สอบถาม สงั เกต พฤตกิ รรม เวลานกั ศกึ ษา มาพบกลุม หรอื เขา รวมกิจกรรมทที่ างสถานศกึ ษาจดั ข้นึ โดยเฉพาะการเขาสอบ ทน่ี กั ศึกษาตอ งเขา สอบใหตรงเวลา และแตง กายสะอาดเรียบรอย นอกจากน้นั ครจู ะมกี ารเย่ยี มบา นนักศึกษา โดยการใชการสอบถาม การสมั ภาษณจาก ผปู กครอง เพื่อนบาน และผนู าํ ชมุ ชน เกย่ี วกบั การทํากิจกรรมชว ยเหลอื ครอบครัว ชุมชน สังคม วา นักศึกษามีสว น รว มในการชว ยเหลืออยางไร และทาํ การบนั ทึกในสมดุ ภมู จิ ริยธรรมของแตล ะบคุ คลและเมอ่ื จบภาคเรียน ครูจะมีการ ตรวจผลงาน รายงาน/ชิน้ งานของนกั ศึกษาท่ีไดร บั มอบหมายจากครูผูส อน วา นักศกึ ษาสง งานตรงตามเวลาทกี่ ําหนด ไวห รอื ไม การศึกษาคนควา ขอมูลเพอ่ื นาํ มาทําผลงานจากแหลง ไหนบาง ซึง่ จะชใี้ หเหน็ วานกั ศกึ ษา แตล ะคนมีความ รบั ผิดชอบและความใฝร ใู ฝเรียนมากนอยเพียงใด และครจู ะทําการสรปุ ผลการประเมนิ จากสมดุ ภมู จิ รยิ ธรรมของ นกั ศกึ ษา ตามท่ีสถานศกึ ษากาํ หนด ซ่ึงการดําเนินการการประเมนิ คณุ ธรรมของนกั ศึกษาน้ัน ครจู ะทําการชีแ้ จงใหกับนักศกึ ษาในวัน ปฐมนเิ ทศและใหนักศึกษารว มออกแบบกจิ กรรมท่จี ะจัดในภาคเรยี นนั้นๆ จะมกี ารเนนยํา้ ในเรือ่ งการบนั ทึกการทํา กจิ กรรมทุกคร้ังทพี่ บกลุม และการเขารวมกจิ กรรมตางๆ ทีท่ างสถานศึกษาจดั ขึ้น เชน โครงการคา ยลูกเสือดี มีคุณธรรม นําความรู โครงการคา ยคณุ ธรรม จริยธรรม หางไกลยาเสพติด ชีวิตรงุ เรือง โครงการคา ยอาสายวุ กาชาด กศน. มกี ารตดิ ตามผลหลังจากเขา รว มกิจกรรมและมกี ารบันทึกการเขารว มกิจกรรมในสมุดบันทกึ ทกุ ครัง้ ซ่ึงนกั ศกึ ษา จะมกี ารจดบนั ทกึ ลงในสมดุ บันทึกกิจกรรม ทกุ คร้งั ในการเขา รว มกิจกรรมโดยครแู ละนักศกึ ษาไดท ําความเขา ใจและ ขอ ตกลงรว มกันในการเขา คา ย นอกจากนี้นกั ศึกษายังไดทํากิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ เชน กิจกรรมรูรับรูจา ย รูได รเู ก็บ กิจกรรมการเรยี นรูห ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงดว ยกระบวนการบัญชีครัวเรอื น เปน กจิ กรรมท่ีมุง สูการ เปนผูรจู กั การใชจ า ยอยา งประหยัด ซึง่ ครไู ดใ หน ักศึกษาบันทกึ รายรบั รายจา ยของตนเองในแตละวันลงในสมดุ บนั ทกึ รายรบั -รายจาย ครไู ดมกี ารตรวจและเซน็ รบั รองการบนั ทกึ ของนักศกึ ษาในแตละเดือน กิจกรรมพฒั นา กศน.ตําบล ใหเปนศนู ยการเรียนรูต ลอดชีวติ ในชมุ ชน กจิ กรรมพัฒนาปรบั ปรุงปรับภมู ิทศั น กศน.ตาํ บล พลิกโฉม กศน.ตาํ บลสู กศน.ตาํ บล4 G กจิ กรรมพัฒนาบาํ เพ็ญสาธารณะประโยชนพ ฒั นาตาํ บล เปน กิจกรรมท่ีปลกู ฝงใหนักศึกษามีคณุ ธรรม ดา นการรักความสะอาด ขยนั มวี นิ ัยและทํางานรวมกับผูอืน่ ดวยความสามคั คีและมีนาํ้ ใจ โดยครแู ละนกั ศกึ ษาไดมี ขอ ตกลงรว มกันในการทาํ กิจกรรม มีการประเมนิ มีใบเซ็นช่ือและมีภาพถายในการรวมกันทาํ กจิ กรรมของนักศึกษา ซ่ึงในการจัดกิจกรรมใหน ักศกึ ษาจะมกี ารประเมินผลการปฏบิ ัติโครงการกิจกรรมพฒั นาคุณภาพชีวติ และครูไดสรุป รายงานผลการทํากจิ กรรมของนักศกึ ษาใหแกผบู รหิ ารรบั ทราบในทกุ กิจกรรม และนอกเหนือจากกจิ กรรมท่ี สถานศึกษาจดั ใหแ ลว ครูไดม กี ารตรวจเยี่ยมบานนักศึกษาเพ่อื สงั เกต สอบถามขอมลู ของนักศึกษาในการประพฤติ ปฏบิ ตั ติ นจากผูปกครอง เพือ่ นบา น โดยใชแ บบตรวจเยีย่ มซ่งึ เซ็นรับรองโดยผูป กครองนักศกึ ษานั้นๆ ครูรวบรวบ ขอ มลู และทําสรุปรายงานผลการเย่ียมบานนกั ศกึ ษาในทุกภาคเรียนนอกจากนค้ี รยู งั ใหผ ูเรยี นบนั ทึกการประพฤติ ปฏบิ ัติตนลงสมดุ ภมู ิจรยิ ธรรมทม่ี งุ สูการเปน เยาวชนคนดศี รีสุพรรณทม่ี ีคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค 11 เปาหมาย ไดแ ก รกั ษาความสะอาดรางกาย บา นเรือนและชมุ ชน มจี ติ สํานึกรวมกนั อนรุ ักษส่ิงแวดลอ ม มปี ระชาธปิ ไตย เปนผู ประหยัด ออมและนิยมไทย ปฏบิ ตั ิตามหลกั เบญจศลี เบญจธรรม เปนผมู ีมารยาทแบบไทย มีวินัยจราจร เปน คนตรง ตอ เวลา ปฏบิ ัติตนในการเขา แถวเรยี งลาํ ดับกอ นหลังในการเขารับบริการตางๆ ปฏบิ ตั ิตามกฎระเบียบขอบงั คบั ของ สถานศึกษาและกลุม โดยเครงครดั และไมพวั พนั ยาเสพติด โดยครูไดมขี อตกลงกบั นักศกึ ษาโดยใหน ักศกึ ษาบนั ทึกการ ประพฤตปิ ฏิบตั ติ นลงสมุดภมู จิ ริยธรรมในทกุ ภาคเรียน เมอ่ื สนิ้ สดุ ในแตละภาคเรียนครูไดร วบรวมสมดุ ภมู จิ ริยธรรม

31 เพือ่ ตรวจสอบแตละภาคเรียนครูไดร วบรวมสมุดภูมิจริยธรรมเพ่ือตรวจสอบและลงชอ่ื รับรอง เน่ืองจากในภาคเรียน สดุ ทายสาํ หรบั นกั ศึกษาที่คาดวาจะจบจะตอ งนาํ สมดุ ภมู ิจรยิ ธรรม สง ใหกบั งานทะเบียนและวัดผลเพื่อลงขอมลู ใน ระบบ ITW ของสถานศกึ ษาเพอื่ ประเมินพฤติกรรมตามตัวบง ช้ีดานคุณธรรม ตามท่สี ถานศกึ ษากาํ หนด 3. สถานศกึ ษาไดพฒั นาผเู รียนใหมคี ุณธรรม โดยสถานศึกษาสรา งความเขา ใจกับครูและผเู กี่ยวของ ถึงความสาํ คญั ของการประเมนิ คณุ ธรรมนกั ศึกษา กศน. ดงั น้ี สถานศกึ ษา จดั ทาํ แนวทางการประเมินคุณธรรม โดย ใหค รูและผูเกีย่ วขอ งปฏิบัติเปนแนวเดียวกัน โดยมแี ผนงานโครงการและกจิ กรรมทีส่ ง เสรมิ คุณธรรมกบั ผเู รยี นในทุกปงบประมาณ ซง่ึ เปนการพัฒนาคุณธรรมใหก บั ผูเรียนอยา งตอ เนือ่ ง ตามโครงการ/กจิ กรรมในปงบประมาณ 2561 ดังตอไปนี้ ตารางโครงการ/กจิ กรรมสง เสริมคุณธรรม ปง บประมาณ 2561 กศน.อําเภอบางปลามา ที่ โครงการ/กจิ กรรม เปา หมาย ผล รอยละ พฤติกรรมตามตวั บง ชี้ ในแตล ะคุณธรรม 1 โครงการไหวค ร/ู ปฐมนิเทศนักศึกษา 250 264 100 - สภุ าพ - กตัญูกตเวที การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ภาคเรียนที่ 1/2561 2 โครงการลกู เสือดี มคี ุณธรรม 140 140 100 - สะอาด - ซื่อสตั ย - สุภาพ นาํ ความรู - สามัคคี - กตญั กู ตเวที- มีน้ําใจ - ขยัน - มวี ินัย- ประหยดั - ความรกั ชาตศิ าสนก ษัตรยิ  - ความเปนประชาธปิ ไตย 3 กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพชีวิต 140 140 100 - มีนํา้ ใจ “กศน.รวมใจบรจิ าคโลหติ ” 4 กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต 45 31 69 - ประหยัด - ซือ่ สตั ย “กิจกรรม รูรบั รจู า ย รไู ด รเู กบ็ ” 5 กิจกรรมการเรียนรหู ลักปรชั ญาของ 50 38 76 - ประหยดั - ซื่อสัตย เศรษฐกิจพอเพียงดว ยกระบวนการบญั ชี ครวั เรอื น 6 กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพชีวติ “โครงการ 12 12 100 - สามคั คี - มวี ินยั ปลูกฝง จิตสาํ นึกรกั สามคั คแี ละเสริมสรา ง -มีนํา้ ใจ -ความรกั ชาตศิ าสน ความปรองดองสมานฉนั ท” กษัตรยิ  - ความเปน ประชาธิปไตย 7 กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ “โครงการฝก 11 11 100 - สามคั คี - มวี ินยั - มีน้ําใจ เยาวชนอาสารักษาดินแดนตา นภัย - ความรักชาตศิ าสนกษัตรยิ  ยาเสพตดิ ” - ความเปน ประชาธปิ ไตย 8 โครงการศาสตรพ ระราชาสูการพฒั นาอยา ง 208 208 100 - ประหยดั - ซือ่ สัตย ย่ังยนื - ขยัน - สามัคคี - ความรักชาตศิ าสนกษัตริย 9 กิจกรรมปรับภมู ิทศั นเ พือ่ พลกิ โฉม 55 25 45 - สะอาด - สามัคคี กศน.ตําบล สู กศน. 4 G - มนี าํ้ ใจ - ขยัน - มวี ินัย

32 ที่ โครงการ/กิจกรรม เปาหมาย ผล รอยละ พฤติกรรมตามตวั บง ชี้ ในแตละคุณธรรม 10 กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพชีวติ “ กจิ กรรม 34 34 100 - สะอาด - สามัคคี บําเพ็ญสาธารณประโยชนพ ัฒนาตาํ บล - มนี ้ําใจ - ขยนั ตะคา ” 183 183 - มวี นิ ัย 140 140 100 - ความรกั ชาติศาสนก ษัตริย 11 โครงการเสริมสรา งความรูการปกครองใน - ความเปนประชาธิปไตย ระบอบประชาธปิ ไตย 29 29 100 - ประหยดั - ซ่ือสัตย - ขยนั - สามคั คี 12 โครงการแลกเปลยี่ นเรยี นรูการนอมนํา 30 30 - ความรักชาติศาสนกษตั ริย ศาสตรพ ระราชาสูการพฒั นาท่ียง่ั ยืน 100 - สะอาด - สามัคคี 140 140 - มีนา้ํ ใจ - ขยนั 13 กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวิต “ กิจกรรม - มีวนิ ัย พัฒนากศน.ตาํ บลใหเ ปนศูนยก ารเรยี นรู 100 - สะอาด - สามัคคี ตลอดชวี ติ ในชมุ ชน” - มนี ํา้ ใจ - ขยัน - มวี นิ ยั 14 กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพชีวติ “ กจิ กรรม 100 - สะอาด - ซื่อสตั ย พฒั นาปรบั ปรุงภมู ทิ ศั น กศน.ตาํ บลสาลี - สุภาพ - สามคั คี พลกิ โฉม กศน.ตําบลสู กศน.ตาํ บล4 G” - กตัญกู ตเวที - มนี ้ําใจ - ขยัน - มวี ินัย- ประหยัด 15 โครงการคา ยคุณธรรม จริยธรรม หา งไกล - ความรักชาตศิ าสนกษตั ริย ยาเสพติด ชีวิตรุงเรอื ง - ความเปนประชาธปิ ไตย 16 โครงการคา ยอาสายุวกาชาด กศน. 130 134 100 -สะอาด - ซอื่ สัตย- สภุ าพ - สามัคค-ี กตญั ูกตเวที 17 กจิ กรรมการรณรงคต อตานยาเสพติด 140 140 - มนี าํ้ ใจ- ขยัน – มวี ินยั - ประหยัด- ความรกั ชาติ 18 กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวติ “กิจกรรม รรู บั รู 16 ศาสนกษัตริย - ความเปน จา ย รไู ด รูเกบ็ เพื่อชวี ีมีสุข” ประชาธปิ ไตย 100 - สามคั คี - มนี ้ําใจ - ความรักชาติศาสนก ษัตรยิ  - ประหยดั - ซอ่ื สัตย

33 นอกจากนน้ั สถานศกึ ษาไดส ง เสริมใหน กั ศึกษาท่ไี มไดเขารวมโครงการ/กจิ กรรม ท่ีทางสถานศึกษาจัดข้นึ แตนกั ศกึ ษาสามารถทํากิจกรรม ภายในชมุ ชนตนเองแลว นาํ มาบนั ทึกในสมุดภูมจิ ริยธรรม เชน การเขารว มกิจกรรม ในวันสาํ คัญทางศาสนา การบาํ เพ็ญประโยชน กิจกรรมรณรงคป ระชาธปิ ไตย กจิ กรรมอื่นๆ ท่ีรว มจัดกบั ภาคีเครอื ขา ย และกิจกรรมทีภ่ าคีเครือขา ยจดั ข้ึน เชน กจิ กรรมในวันสงกรานต นอกจากน้ดี าน ครู กศน.ไดเนนการสรา งความเขาใจ ใหน กั ศึกษาเกย่ี วกับคานิยมหลกั ของคนไทย ท่นี กั ศึกษาจะตอ งนําไปปฏิบัติ การจัดการเรยี นการสอน ครจู ะบรู ณาการพฒั นาคณุ ธรรมเขา ไปในการจดั กระบวนการเรยี นรู ครไู ดมีการสอดแทรกกระบวนการฝก ฝนใหผ ูเรยี น เกิดคุณธรรม ในเรือ่ งความสะอาด ความกตัญู สภุ าพ ขยนั ประหยัด ซือ่ สัตย สามัคคี มีน้าํ ใจ มีวินัย และมี คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค ยดึ มัน่ ในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษตั ริยทรงเปนประมุข และกระตุน ให นกั ศึกษาเขารว มกิจกรรมท่สี ถานศึกษาจัดอยา งตอเน่ือง สงผลใหน กั ศึกษาอยรู ว มกันในครอบครัว ชมุ ชน สังคม อยา ง มคี วามสขุ และมีคณุ ภาพชีวิตท่ดี ี 4. สถานศกึ ษามกี ารดําเนนิ งานสอดคลองกับนโยบายและจุดเนนของสาํ นักงาน กศน. /นโยบาย จุดเนนของกระทรวงศึกษาธิการ แผนการศึกษาแหงชาติ สอดคลองกับนโยบายและจุดเนน ของสาํ นักงาน กศน. ปงบประมาณ 2561 ยุทธศาสตรที่ 1 ดานความม่ันคง ขอ 1.1 สงเสริมการจดั การเรียนรตู ามพระบรม ราโชบายดานการศกึ ษาของรชั กาลท่ี 10 (1) เสรมิ สรา งความรคู วามเขา ใจท่ีถกู ตอ งในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริยทรง เปน ประมขุ มคี วามเปนพลเมอื งดี เคารพความคิดของผูอนื่ ยอมรบั ความแตกตางและหลากหลายทางความคดิ และ อดุ มการณ รวมทั้งสังคมพหวุ ัฒนธรรม อาทิเชน โครงการเสริมสรางความรูการปกครองในระบอบประชาธิปไตย เปน การสง เสรมิ ปลูกฝง ใหน ักศึกษา มสี ว นรว มในการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษตั ริยทรงเปน ประมุข โครงการศาสตรพระราชาสูการพัฒนาอยา งย่ังยืน โครงการแลกเปลย่ี นเรียนรูการนอ มนาํ ศาสตรพระราชาสู การพฒั นาอยา งยั่งยืน ซงึ่ เปนการสงเสรมิ ใหนักศึกษานําความรู ทักษะในศาสตรพ ระราชาและโครงการอันสบื เน่ืองมาจากพระราชดํารขิ องในหลวงไปปรบั ใชในชวี ิตประจําวนั กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ไดแ ก คา ยโครงการ ปลูกฝงสํานกึ รกั สามัคคีและเสริมสรางความปรองดองสมานฉันท จงั หวัดสุพรรณบรุ แี ละโครงการคา ยฝกเยาวชนอาสา รักษาดินแดนตา นภัยยาเสพติด เปน การสรา งความปรองดองสมานฉันท ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มี พระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมขุ สงเสริมใหเยาวชนเปนคนดี คนเกง มคี วามรู สามารถนําไปปฏบิ ัติใหเ ปนประโยชนตอ สงั คมได 2) สง เสริมการจดั กจิ กรรมการเรียนรูที่ปลกู ฝง คณุ ธรรม สรางวนิ ัย จิตสาธารณะ และอุดมการณความยดึ ม่นั ในสถาบนั หลักของชาติ รวมทัง้ การมจี ิตอาสา ผานกจิ กรรมลูกเสือดี มีคุณธรรม นาํ ความรู โครงการคายอาสายวุ กาชาด กศน. โครงการคา ยคณุ ธรรม จรยิ ธรรม หา งไกลยาเสพติด ชีวิตรงุ เรอื ง และกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผูเรยี น ท่ี สนับสนุนเพือ่ ปลกู ฝง คณุ ธรรม จรยิ ธรรมใหแ กน กั ศกึ ษา ไดแ ก กจิ กรรม กศน.รวมใจบรจิ าคโลหติ กิจกรรมบําเพ็ญ ประโยชนพฒั นาตําบล กจิ กรรมพฒั นา กศน.ตําบลใหเปน ศูนยการเรียนรตู ลอดชวี ิตในชุมชนและกจิ กรรมพัฒนา ปรบั ปรุงภูมิทศั น กศน.ตาํ บลพลกิ โฉม กศน.ตาํ บลสู กศน.ตาํ บล 4G สอดคลองกับนโยบายและจุดเนน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปงบประมาณ 2561 ขอ 1 จุดเนน ดานความมน่ั คง การเสริมสรางความม่ันคงของสถาบนั หลักของชาติ ไดแกโครงการศาสตร พระราชาสกู ารพฒั นาอยา งย่งั ยืน โครงการเสรมิ สรางความรูการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย โครงการ แลกเปล่ยี นเรยี นรูการนอ มนาํ ศาสตรพ ระราชาสูก ารพฒั นาอยางยง่ั ยนื และกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวิต ไดแก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook