Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อจท. พระพุทธศาสนา ม.2

อจท. พระพุทธศาสนา ม.2

Published by sunisa.sombunma, 2020-07-01 23:33:38

Description: อจท. พระพุทธศาสนา ม.2

Search

Read the Text Version

พระพทุ ธศาสนากล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ ๒

สารบัญ ๑หน่วยการเรียนรู้ท่ี ประวตั ิและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา พุทธประวตั ิ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก ๒หน่วยการเรียนรู้ท่ี หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา ๓หน่วยการเรียนรู้ที่ พระไตรปิ ฎกและพุทธศาสนสุภาษติ ๔หน่วยการเรียนรู้ท่ี หน้าทชี่ าวพุทธและมารยาทชาวพุทธ ๕หน่วยการเรียนรู้ที่ วนั สาคญั ทางพระพุทธศาสนาและศาสนพธิ ี ๖หน่วยการเรียนรู้ที่ การบริหารจติ และการเจริญปัญญา ๗หน่วยการเรียนรู้ที่ การปฏบิ ัตติ นตามหลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา ๘หน่วยการเรียนรู้ท่ี

๑หน่วยการเรียนรู้ท่ี ประวตั ิและความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา พระพทุ ธศาสนาไดเ้ ผยแผเ่ ขา้ มาในภูมิภาคเอเชีย ตะวนั ออกเฉียงใตเ้ ป็นเวลาชา้ นาน จนกลายเป็นศาสนาที่สาคญั ของหลายประเทศ และเป็นที่มาของวฒั นธรรม ประเพณีที่ สาคญั ต่างๆ มากมาย การเรียนรู้เก่ียวกบั พระพทุ ธศาสนาในประเทศ เพ่อื นบา้ นของไทย จะช่วยใหเ้ ราเขา้ ใจ และเห็นภาพ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งพระพทุ ธศาสนากบั สภาพสงั คม และวฒั นธรรมของประเทศเพอ่ื นบา้ นไดช้ ดั เจนยง่ิ ข้ึน

๑. การเผยแผ่และการนับถือพระพทุ ธศาสนาในประเทศเพ่ือนบ้าน หลงั จากเสร็จสิ้นการสงั คายนาพระไตรปิ ฎกคร้ังท่ี ๓ พระเจา้ อโศกมหาราชไดจ้ ดั ส่ง สมณทูตไปเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในดินแดนต่างๆ ซ่ึงในดินแดนเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตม้ ี พระโสณเถระ และพระอุตตรเถระ เป็นผเู้ ดินทางเขา้ มาเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา จนฝังรากลึก และกลายเป็นศาสนาสาคญั ของหลายประเทศมาจวบจนปัจจุบนั

พระพุทธศาสนาในประเทศเมยี นมาร์ แบ่งออกเป็นช่วงเวลาได้ ดงั น้ี • ช่วงแรก พระพทุ ธศาสนาที่เขา้ สู่ประเทศพม่าในระยะแรกเป็นนิกายเถรวาท โดยผา่ นเขา้ มาทาง เมืองสุธรรมวดี หรือสะเทิม ซ่ึงเป็นเมืองของชาวมอญ • สมยั พระเจ้าอนุรุทธมหาราช (อโนรธามังช่อ) รวบรวมพม่าใหเ้ ป็น สถาปนาพกุ าม ส่งราชสาสนไ์ ปขอพระไตรปิ ฎก จากเมืองสุธรรมวดี แผน่ ดินเดียวกนั เป็ นราชธานี พกุ ามชนะ จึงนาพระสงฆม์ อญ เกิดการสู้รบระหวา่ ง ผคู้ รองเมืองสุธรรมวดี และพระไตรปิ ฎกกลบั มาที่พกุ าม สุธรรมวดี กบั พกุ าม ปฏิเสธ

• สมยั พระเจ้านรปติสิทธุ ทรงทราบวา่ ที่ลงั กา อาราธนาพระอุตรา- คณะสมณทูตนา มีการทาสงั คายนา ชีวะนาคณะสงฆ์ พระพทุ ธศาสนา เดินทางไปสืบ นิกายเถรวาท พระไตรปิ ฎก พระพทุ ธศาสนา ลงั กาวงศม์ าเผยแผ่ คร้ังที่ ๖ ท่ีลงั กา ในพม่า • สมยั พระเจ้าธรรมเจดยี ์ศรีปิ ฎกธร ทรงริเริ่มฟ้ื นฟูพระพทุ ธศาสนาในเมืองมอญ และโปรดฯ ใหค้ ณะสงฆเ์ ดินทางไป อุปสมบทใหม่ที่ลงั กา เม่ือเดินทางกลบั มาท่ีหงสาวดี กโ็ ปรดฯ ใหภ้ ิกษุท้งั ปวงลาสิกขา และรับการอุปสมบทใหม่ท้งั แผน่ ดิน

• สมัยพระเจ้ามินดง ทรงเป็นองคอ์ ุปถมั ภกในการสงั คายนาพระไตรปิ ฎกคร้ังท่ี ๕ ณ เมืองมณั ฑะเลย์ และโปรดฯ ใหจ้ ารึกพระไตรปิ ฎกลงบนแผน่ หินอ่อน และทาสถูปครอบไว้ จานวน ท้งั สิ้น ๔๕๐ องค์ • สมัยตกเป็ นอาณานิคมของอังกฤษ ➢ สถาบนั พระมหากษตั ริยถ์ ูกโค่นลม้ ➢ พระพุทธศาสนาถูกละเลย และขาด การทานุบารุง ➢ พุทธศาสนิกชนชาวพม่ายงั คงยึดมั่น ศรัทธาในพระพุทธศาสนา และคอย ประคับประคองพระพุทธศาสนาให้ ดารงอยตู่ ลอดมา

• สมัยได้รับเอกราชถงึ ปัจจบุ นั ➢ พ.ศ. ๒๔๙๑ พม่าไดร้ ับเอกราชจากองั กฤษ และตกอยภู่ ายใตก้ ารนาของรัฐบาล ทหาร ➢ พ.ศ. ๒๔๙๗ ได้จัดให้มีการสังคายนาพระไตรปิ ฎกคร้ังที่ ๖ เพ่ือฟ้ื นฟู พระพทุ ธศาสนาในพม่า ➢ พ.ศ. ๒๕๐๔ รัฐบาลพม่าไดต้ รากฎหมายรับรองวา่ พระพุทธศาสนาเป็นศาสนา ประจาชาติ ➢ พ.ศ. ๒๕๕๐ มีการก่อต้งั สมาคมพระพุทธศาสนาเถรวาทนานาชาติ และจดั ประชุมคร้ังแรกที่เมืองย่างกุ้ง คร้ังที่สองที่เมืองสะกาย โดยมีคณะสงฆ์และ นกั วชิ าการทางศาสนาจากทวั่ โลกเขา้ ร่วมประชุม ➢ ปัจจุบนั พระพุทธศาสนาในเมียนมาร์ ไดร้ ับการฟ้ื นฟูให้กลบั มาเจริญรุ่งเรือง มากข้ึนอยา่ งต่อเนื่อง โดยชาวเมียนมาร์กวา่ ร้อยละ ๘๕ นบั ถือพระพทุ ธศาสนา

พระเจดียช์ เวดากอง ประเทศเมียนมาร์ พทุ ธศาสนสถานอนั งดงามและยง่ิ ใหญ่ เป็นศูนยร์ วมใจ ของพทุ ธศาสนิกชนชาวเมียนมาร์มาอยา่ งยาวนาน

พระพทุ ธศาสนาในประเทศอนิ โดนีเซีย แบ่งออกเป็นช่วงเวลาได้ ดงั น้ี • ช่วงพุทธศตวรรษท่ี ๓ พระพทุ ธศาสนาเร่ิมเผยแผเ่ ขา้ สู่ดินแดนอินโดนีเซีย • ช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๒ เกิดอาณาจกั ร “ศรีวชิ ยั ” พระพทุ ธศาสนานิกายมหายานมีความเจริญรุ่งเรือง เพราะ ไดร้ ับการนบั ถืออยา่ งแพร่หลาย • ช่วงกลางพุทธศตวรรษท่ี ๑๓ - ๑๕ ราชวงศไ์ ศเลนทร์เขา้ มามีบทบาท และไดม้ ีการติดต่อสมั พนั ธก์ บั ราชวงศป์ าละ แห่งเบงกอล ทาใหเ้ กิดการแลกเปล่ียนวฒั นธรรมและศิลปะทางพระพทุ ธศาสนา

• ช่วงพุทธศตวรรษท่ี ๑๙ ➢ พระพทุ ธศาสนาเส่ือมโทรมตามอาณาจกั รศรีวชิ ยั ท่ีเร่ิมเส่ือมลง ➢ อาณาจกั รมชั ปาหิตข้ึนมามีอานาจแทนที่ มีกษตั ริยอ์ งคห์ น่ึงทรงมีพระนามวา่ “ระเด่นปาทา” ทรงเลื่อมใสศรัทธาในศาสนาอิสลาม จึงประกาศหา้ มเผยแผ่ พระพทุ ธศาสนา ส่งผลใหศ้ าสนาอิสลามรุ่งเรืองมาจนถึงปัจจุบนั • ปัจจบุ นั ➢ ชาวอินโดนีเซียส่วนหน่ึงนบั ถือพระพทุ ธศาสนานิกายมหายาน ซ่ึงส่วนใหญจ่ ะอยู่ บนเกาะบาหลี ➢ รัฐบาลอินโดนีเซียใหก้ ารรับรองวา่ พระพทุ ธศาสนาเป็นศาสนาหน่ึงของชาว อินโดนีเซีย ➢ มีการจดั ต้งั สมาคม เพอ่ื สอนพระพทุ ธศาสนาแก่เยาวชนของอินโดนีเซีย ดว้ ยการ บรรยายธรรม การปฏิบตั ิสมาธิ การออกวารสารเก่ียวกบั พระพทุ ธศาสนา เป็นตน้

พระเจดียบ์ ุโรพทุ โธ พทุ ธศาสนสถานที่สะทอ้ นความรุ่งเรืองและความศรัทธา ในพระพทุ ธศาสนาของชาวอินโดนีเซียในอดีต

พระพทุ ธศาสนาในประเทศมาเลเซีย แบ่งออกเป็นช่วงเวลาได้ ดงั น้ี • ช่วงพุทธศตวรรษที่ ๓ พระพทุ ธศาสนานิกายเถรวาทเริ่มเผยแผเ่ ขา้ สู่ดินแดนมาเลเซียในปัจจบุ นั แต่มีผนู้ บั ถือ ไม่มากนกั • ช่วงพุทธศตวรรษท่ี ๑๒ เกิดอาณาจกั ร “ศรีวชิ ยั ” พระพทุ ธศาสนานิกายมหายานเริ่มแพร่หลาย • สมยั สุโขทยั พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราชไดข้ ยายอาณาเขตลงมาถึงหวั เมืองมลายู ทาให้ พระพทุ ธศาสนานิกายเถรวาทไดร้ ับการเผยแผเ่ ขา้ มาดว้ ย แต่เนื่องจากประชาชนนบั ถือ นิกายมหายานมาเป็นเวลานาน นิกายเถรวาทจึงไม่ค่อยมีอิทธิพลต่อประชาชนในมลายู

• สมยั พระเจ้าปรเมศวร พระเจา้ ปรเมศวรแห่งอาณาจกั รมะละกา ไดล้ ะทิ้งพระพทุ ธศาสนาไปนบั ถือศาสนา อิสลาม แต่ประชาชนส่วนใหญ่ยงั คงนบั ถือพระพทุ ธศาสนา • สมัยสุลต่านมลั โมชาห์ ทรงมีศรัทธาในศาสนาอิสลามมาก จึงสง่ั ใหร้ าษฎรหนั มานบั ถือศาสนาอิสลามแทน พระพทุ ธศาสนา ทาใหอ้ ิทธิพลของพระพทุ ธศาสนาในมาเลเซียสิ้นสุดลง • สมยั ตกเป็ นอาณานิคมของอังกฤษ ชาวจีนนาพระพทุ ธศาสนานิกายมหายานจากจีนเขา้ มาเผยแผ่ แต่ไม่ประสบ ความสาเร็จมากนกั

• สมัยได้รับเอกราชถงึ ปัจจบุ นั ➢ มาเลเซียไดร้ ับเอกราชใน พ.ศ. ๒๕๐๐ มีคณะสมณทูตจากหลายประเทศเขา้ มา เผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนานิกายเถรวาทในมาเลเซีย ซ่ึงช่วยใหพ้ ระพทุ ธศาสนา ไดร้ ับการฟ้ื นฟขู ้ึนมาบา้ ง ➢ ปัจจุบนั พระพทุ ธศาสนาในมาเลเซียมีบทบาทในหมู่ชาวจีน ไทย และเมียนมาร์ ซ่ึงมีอตั ราพทุ ธศาสนิกชนอยใู่ นมาเลเซียประมาณร้อยละ ๑๙ ➢ มีการก่อต้งั สมาคมเก่ียวกบั พระพทุ ธศาสนาหลายสมาคม เช่น สมาคมผสู้ อน พระพทุ ธศาสนา ยวุ พทุ ธิกสมาคมแห่งมาเลเซีย สมาคมชาวพทุ ธแห่งมาเลเซีย เป็ นตน้ ➢ มีการสร้างวดั ใหม่ๆ โดยมีวดั ไทยสาคญั เช่น วดั เชตวนั วดั ไชยมงั คลาราม วดั ถานเซียง ประเทศมาเลเซีย เป็นตน้

วดั พทุ ธไทยเชตวนั รัฐสลงั งอร์ ประเทศมาเลเซีย

พระพทุ ธศาสนาในประเทศสิงคโปร์ สิงคโปร์เป็นประเทศที่แยกตวั ออกมาจากมาเลเซีย การเขา้ มาและการเผยแผ่ พระพทุ ธศาสนาในสิงคโปร์จึงมีลกั ษณะเช่นเดียวกบั มาเลเซีย แต่จะมีความรุ่งเรืองและ มนั่ คงมากกวา่ เน่ืองดว้ ยเหตุผลสาคญั ดงั น้ี ➢ พลเมืองสิงคโปร์ส่วนใหญเ่ ป็นชาวจีนท่ีนบั ถือนิกายมหายาน ➢ การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในสิงคโปร์ดาเนินไปอยา่ งจริงจงั

ปัจจุบนั พระพทุ ธศาสนาในสิงคโปร์ไดร้ ับความสนใจจากพทุ ธศาสนิกชน ในการเขา้ มาร่วมกิจกรรมต่างๆ โดยมีการจดั ต้งั หน่วยงานและสมาคม เพอื่ เผยแผ่ พระพทุ ธศาสนาที่สาคญั เช่น ➢ สหพนั ธ์พทุ ธศาสนิกชนชาวสิงคโปร์ ➢ สหภาพพทุ ธศาสนิกชน ➢ สถาบนั สตรีชาวพทุ ธสิงคโปร์ ➢ สมาคมพทุ ธศาสนาแห่งสิงคโปร์ ➢ องคก์ ารยวุ พทุ ธแห่งสิงคโปร์ ➢ องคก์ ารพทุ ธยานแห่งสิงคโปร์

วดั ศากยมุนีคยา ประเทศสิงคโปร์ เป็นวดั ในนิกายเถรวาท

พระพทุ ธศาสนาในประเทศลาว แบ่งออกเป็นช่วงเวลาได้ ดงั น้ี • สมยั พระเจ้าฟ้าง้มุ พระเจา้ ฟ้างุม้ เป็นกษตั ริยแ์ ห่งอาณาจกั รลา้ นชา้ ง ผทู้ รงสถาปนาพระพทุ ธศาสนานิกาย เถรวาทในลาว โดยการอาราธนาพระสงฆจ์ ากอาณาจกั รกมั พชู าเขา้ มาเผยแผ่ พระพทุ ธศาสนาในลาว • สมัยพระเจ้าสามแสนไทยไตรภูวนาถ พระพทุ ธศาสนาไดร้ ับการทานุบารุงเป็นอยา่ งดี โดยโปรดฯ ใหม้ ีการสร้างวดั และ สถานที่ต่างๆ ทางพระพทุ ธศาสนา เช่น วดั มโนรมย์ วดั อุโบสถ หอสมุดสาหรับที่ศึกษา คน้ ควา้ พระไตรปิ ฎก โรงเรียนปริยตั ิธรรม เป็นตน้

• สมยั พระเจ้าโพธิสาร มีพระราชโองการหา้ มการประกอบพธิ ีทรงเจา้ เขา้ ผที ว่ั ราชอาณาจกั ร และใหช้ าวลาว เลิกนบั ถือบูชาลทั ธิผสี างเทวดา และใหม้ านบั ถือพระพทุ ธศาสนาแทน • สมัยพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช พระพทุ ธศาสนามีความเจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุด มีการสร้างวดั พระธาตุ และพระพทุ ธรูป ที่สาคญั เช่น ➢ วดั ป่ ารือศรีสิงขร ➢ วดั ศรีเมือง ➢ วดั พระแกว้ ➢ พระธาตุบงั พวน ➢ พระธาตุศรีโคตรบูร ➢ พระเสริม พระสุก พระใส พระองคต์ ้ือ เป็นตน้

• สมยั ตกเป็ นอาณานิคมของฝร่ังเศส พระพทุ ธศาสนาเส่ือมโทรม เพราะขาดการทานุบารุง แต่ประชาชนยงั คงยดึ ถือศรัทธา และยกยอ่ งใหเ้ ป็นศาสนาประจาชาติเสมอมา • สมยั คอมมวิ นสิ ต์ พระพทุ ธศาสนาเสื่อมโทรมมาก เพราะ รัฐบาลคอมมิวนิสตล์ ดความสาคญั ของ พระพทุ ธศาสนาทุกวถิ ีทาง เช่น หา้ ม ชาวบา้ นทาบุญตกั บาตร ไม่ใหม้ ีการบวช พระภิกษแุ ละสามเณรเพิม่ ไม่ใหศ้ ึกษา เล่าเรียนพระปริยตั ิธรรม เป็นตน้

• สมยั ปัจจบุ นั ➢ หลงั เหตุการณ์ทางการเมืองเริ่มผอ่ นคลายใน พ.ศ. ๒๕๓๐ พระพทุ ธศาสนาใน ลาวไดร้ ับการฟ้ื นฟใู หก้ ลบั มาเจริญรุ่งเรืองอีกคร้ัง ➢ พระพทุ ธศาสนาเป็นศาสนาประจาชาติลาว โดยประชาชนลาวกวา่ ร้อยละ ๙๐ นบั ถือพระพทุ ธศาสนา ➢ วดั และพระสงฆม์ ีบทบาทในการเป็นศูนยร์ วมใจ และช่วยเหลือประชาชนในดา้ น ต่างๆ ➢ มีการจดั ต้งั สถาบนั การศึกษาพระพทุ ธศาสนา หรือวทิ ยาลยั สงฆข์ ้ึนที่นครหลวง เวยี งจนั ทน์ ➢ มีการสร้างวดั ข้ึนหลายแห่งในต่างประเทศ เช่น ที่สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส ออสเตรเลีย เป็นตน้

พระธาตุหลวง ประเทศลาว สร้างข้ึนในสมยั พระเจา้ ไชยเชษฐาธิราช

พระพทุ ธศาสนาในประเทศกมั พชู า แบ่งออกเป็นช่วงเวลาได้ ดงั น้ี • ช่วงพุทธศตวรรษที่ ๘ พระพทุ ธศาสนานิกายมหายานจากจีนเริ่มเผยแผเ่ ขา้ สู่ อาณาจกั รฟนู นั ซ่ึงอยทู่ างทิศใตข้ องประเทศกมั พชู าใน ปัจจุบนั • สมยั พระเจ้าชัยวรมันท่ี ๗ พระพทุ ธศาสนาท้งั นิกายมหายานและนิกายเถรวาทไดร้ บั การทานุบารุงใหม้ ีความเจริญรุ่งเรือง มีการสรา้ งวดั ทวั่ ราชอาณาจกั ร โปรดฯ ใหส้ ร้างพระพทุ ธรูป “ชยั พทุ ธมหา- นาถ” จานวน ๒๓ องค์ เพ่อื นาไปประดิษฐานยงั วหิ ารต่างๆ ทว่ั ราชอาณาจกั ร

ปราสาทบายน ประเทศกมั พชู า สลกั พระพกั ตร์พระโพธิสตั วอ์ วโลกิเตศวร ตามคติความเช่ือ ในพระพทุ ธศาสนานิกายมหายาน ซ่ึงเจริญรุ่งเรืองในสมยั พระเจา้ ชยั วรมนั ที่ ๗

• สมัยหลังเมืองพระนคร พระพทุ ธศาสนาขาดการทานุบารุง เพราะเกิดสงครามกบั อาณาจกั รอ่ืนๆ บ่อยคร้ัง และ เกิดการสูร้ บแยง่ ชิงราชสมบตั ิกนั เอง • สมัยพระเจ้าหริรักษ์รามาธิบดี (นักองด้วง) มีการฟ้ื นฟูพระพทุ ธศาสนา โดยการจดั ต้งั โรงเรียนสอนพระปริยตั ิธรรมช้นั สูง ในกรุงพนมเปญ มีชื่อวา่ “ศาลาบาลีช้นั สูง” และมีการนาเอานิกายธรรมยตุ จากไทย เขา้ ไปประดิษฐานในกมั พชู าเป็นคร้ังแรก • สมยั คอมมิวนิสต์ (เขมรแดง) กลุ่มเขมรแดงไดป้ ราบปรามชาวพทุ ธ และพระสงฆท์ ่ีไม่เห็นดว้ ยกบั ระบอบการปกครอง ของตน มีการร้ือทาลายวดั ประกาศหา้ มประชาชนทาบุญตกั บาตร และประกอบ พิธีกรรมทางศาสนา ทาใหพ้ ระพทุ ธศาสนาเส่ือมโทรมลงอีกคร้ัง

• สมยั รัฐบาลนายเฮงสัมริน มีการออกนโยบายไม่ใหป้ ระชาชนนบั ถือศาสนา การเทศนาสง่ั สอนประชาชนถือเป็น การกระทาผดิ กฎหมาย หา้ มทาบุญตกั บาตร หนงั สือและคมั ภีร์ทางพระพทุ ธศาสนาต่างๆ ถูกเผาทาลาย มีการดดั แปลงวดั เป็นท่ีต้งั กองทหาร ทาใหถ้ ูกโจมตีและไดร้ ับความ เสียหายอยา่ งมาก • สมัยปัจจบุ นั ➢ หลงั สงครามกลางเมืองสงบใน พ.ศ. ๒๕๓๔ พระพทุ ธศาสนาไดร้ ับการฟ้ื นฟู อีกคร้ังในฐานะศาสนาประจาชาติ ซ่ึงมีประชาชนกวา่ ร้อยละ ๙๕ นบั ถือ พระพทุ ธศาสนา ➢ รัฐบาลกมั พชู าส่งเสริมใหช้ าวกมั พชู าอุปสมบท เขา้ ร่วมพิธีกรรมทางศาสนา และ ปฏิสงั ขรณ์วดั วาอารามต่างๆ

➢ มีการจดั ต้งั โรงเรียน และองคก์ รทางพระพทุ ธศาสนาท่ีสอนเฉพาะพระธรรมวนิ ยั แก่ พระภิกษุ และสามเณร ซ่ึงมีอยทู่ วั่ ประเทศ เช่น มหาวทิ ยาลยั สงฆพ์ ทุ ธศาสนาพระ- สีหนุราช ➢ คณะสงฆใ์ นกมั พชู าแบ่งออกเป็น ๒ นิกาย คือ มหานิกาย และธรรมยตุ ิกนิกาย โดยมี สมเดจ็ พระสงั ฆราชนิกายละ ๑ พระองค์

พระพทุ ธศาสนาในประเทศเวยี ดนาม แบ่งออกเป็นช่วงเวลาได้ ดงั น้ี • ช่วงพุทธศตวรรษที่ ๘ คณะธรรมทูตจากจีนเขา้ มาเผยแผแ่ ละประดิษฐาน พระพทุ ธศาสนานิกายมหายานในเวยี ดนาม • สมยั ราชวงศ์ดนิ ห์ ราชวงศ์เล (ตอนต้น) และราชวงศ์ลี พระพทุ ธศาสนามีความรุ่งเรืองเป็นอยา่ งมาก เพราะ พระมหากษตั ริยท์ รงเอาใจใส่ทานุบารุงพระพทุ ธศาสนา เป็นอยา่ งดี ประกอบกบั พระภิกษุที่มีความรู้และเชี่ยวชาญ ในศาสตร์หลายดา้ น ทาใหเ้ ป็นที่เคารพศรัทธาของ ประชาชน

• สมัยราชวงศ์ตรัน พระพทุ ธศาสนานิกายมหายานเริ่มเสื่อมลง เนื่องจากตกเป็นเมืองข้ึนของจีน และจีน สนบั สนุนใหม้ ีการเผยแผล่ ทั ธิขงจ๊ือ และลทั ธิเต๋าในเวยี ดนาม อีกท้งั ขา้ ราชการจีนยงั ขดั ขวางการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาดว้ ยวธิ ีการต่างๆ • สมัยราชวงศ์เล (ตอนปลาย) พระพทุ ธศาสนาเส่ือมลงมากข้ึน เนื่องจากพระภิกษุเขา้ ไปมีบทบาททางการเมือง ทาให้ เอาใจใส่การศึกษาพระธรรม และการบาเพญ็ เพียรนอ้ ยลง กษตั ริยก์ ม็ ิไดใ้ ส่ใจในการทานุ บารุงพระพทุ ธศาสนา ประชาชนจึงคลายความศรัทธาท่ีมีต่อพระพทุ ธศาสนาลง • สมยั ราชวงศ์ตรินห์ และราชวงศ์เหงียน มีการสนบั สนุนพระพทุ ธศาสนาที่ไม่บริสุทธ์ิใหแ้ พร่หลาย เพราะตอ้ งการดึงชาวพทุ ธให้ เขา้ มาเป็นฐานกาลงั ของแต่ละฝ่ าย พระพทุ ธศาสนาในยคุ น้ีจึงเป็นเร่ืองเวทมนตร์คาถา และอภินิหารต่างๆ

• สมัยตกเป็ นอาณานิคมของฝรั่งเศส ➢ พระพทุ ธศาสนาไดร้ ับความกระทบกระเทือนอยา่ งหนกั เพราะชาวพทุ ธไดร้ ่วมกนั จดั ต้งั ขบวนการชาตินิยมเพื่อทาสงครามกบั ฝร่ังเศส รัฐบาลฝรั่งเศสจึงเขา้ ควบคุมการ เผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาอยา่ งใกลช้ ิด ➢ มีการทาลายหนงั สือ และคมั ภีร์ทางพระพทุ ธศาสนาจานวนมาก ➢ ชาวเวยี ดนามที่สมคั รทางานกบั รัฐบาลฝรั่งเศส ตอ้ งโอนสญั ชาติเป็นชาวฝรั่งเศส และ เปลี่ยนไปนบั ถือศาสนาคริสต์ นิกายโรมนั คาทอลิก • สมัยหลังสงครามเวยี ดนาม เวยี ดนามเหนือและเวยี ดนามใตร้ วมกนั เป็นหน่ึงเดียวในชื่อ “สาธารณรัฐสงั คมนิยม เวยี ดนาม” พระพทุ ธศาสนาถูกเหล่าคอมมิวนิสตท์ าใหเ้ สื่อมโทรมลงมากข้ึน ประชาชน ถูกจากดั สิทธิในการนบั ถือศาสนา หา้ มมิใหม้ ีการเผยแผศ่ าสนาทุกศาสนา วดั และ พระสงฆถ์ ูกทาร้าย พระสงฆแ์ ละชาวพทุ ธบางส่วนตอ้ งอพยพล้ีภยั

• สมยั ปัจจบุ นั ➢ หลงั จากสิ้นสุดสงครามอินโดจีนใน พ.ศ. ๒๕๓๐ พระพทุ ธศาสนาในเวยี ดนามได้ ฟ้ื นตวั ข้ึนอีกคร้ัง ➢ รัฐบาลเวยี ดนามใหส้ ิทธิและเสรีภาพประชาชนในการนบั ถือศาสนามากข้ึน ➢ มีการปฏิสงั ขรณ์วดั วาอารามต่างๆ ที่ไดร้ ับความเสียหายจากสงคราม ➢ รัฐบาลสนบั สนุนใหม้ ีการอบรมและเผยแผธ่ รรมะ มีการกาหนดหลกั สูตร พระพทุ ธศาสนาใหอ้ ยใู่ นหลกั สูตรการเรียนการสอนของประเทศ และสนบั สนุนการ แลกเปลี่ยนสมณทูตกบั ประเทศใกลเ้ คียง ➢ มีการจดั ต้งั “ชุมชนชาวพทุ ธแห่งเวยี ดนาม” เพอื่ ร่วมฟ้ื นฟูพระพทุ ธศาสนา ภายใต้ คาขวญั วา่ “ธรรมะ-ชาติ-สงั คมนิยม” ➢ มีการแปลและพิมพพ์ ระไตรปิ ฎกเป็นภาษาเวยี ดนาม

ท่านติช นทั ฮนั ห์ พระภิกษชุ าวเวยี ดนาม ซ่ึงไดล้ ้ีภยั คอมมิวนิสตไ์ ปพานกั ในประเทศฝร่ังเศส และเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาอยใู่ นหมู่บา้ นพลมั ประเทศฝร่ังเศส

๒. วเิ คราะห์ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา พระพุทธศาสนาช่วยสร้างความเข้าใจอนั ดกี บั ประเทศเพื่อนบ้าน พระพทุ ธศาสนาเป็นศาสนาแห่งสนั ติ ซ่ึงมีหลกั ธรรมหลายประการที่เอ้ือต่อ การนาไปประยกุ ตใ์ ช้ เพ่อื เสริมสร้างความเขา้ ใจอนั ดีระหวา่ งประเทศเพื่อนบา้ น ซ่ึง ขอยกตวั อยา่ งแนวทางการสร้างสมั พนั ธไมตรีระหวา่ งประเทศเพอื่ นบา้ น ๒ แนวทาง ไดแ้ ก่ • การสร้างสัมพนั ธไมตรี • การสร้างสัมพนั ธไมตรี ตามแนวทางของ ตามหลกั สาราณยี ธรรม พระเจ้าอโศกมหาราช

การสร้าง แนวทางของพระเจา้ อโศกมหาราช มีชื่อเรียกวา่ “ธรรมวชิ ยั ” สัมพนั ธไมตรีตาม หมายถึง ชนะดว้ ยธรรม ซ่ึงมีแนวทาง ดงั น้ี แนวทางของ พระเจ้าอโศกมหาราช • ใหส้ ิทธิเสรีภาพในการนบั ถือศาสนา และตอ้ งไม่ขดั ขวางหรือ ดูหม่ินศาสนาอ่ืน • ใหค้ วามเอ้ือเฟ้ื อแก่ลทั ธิศาสนาอื่นที่เผยแผเ่ ขา้ มาสู่ประเทศของเรา ตามสมควรแก่กาละและเทศะ • ยนิ ดีรับฟังความคิดเห็น และขอ้ เสนอแนะของมิตรประเทศ รูจ้ กั เสียสละ และประสานประโยชนซ์ ่ึงกนั และกนั • พยายามละเวน้ ขอ้ พพิ าท การทาสงคราม ควรแข่งขนั หรือเอาชนะ กนั ดว้ ยธรรมะ

การสร้าง สาราณียธรรม มีแก่นแท้ คือ ความปรารถนาดีต่อกนั เอ้ือเฟ้ื อเก้ือกลู สัมพนั ธไมตรีตาม ต่อกนั ซ่ึงสามารถนามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการสร้างสมั พนั ธอ์ นั ดีต่อกนั ได้ หลักสาราณยี ธรรม • เมตตากายกรรม คือ แสดงออกซ่ึงความเป็นมิตรทางกายต่อ ประเทศเพอ่ื นบา้ น เช่น ช่วยเหลือมิตรประเทศที่ประสบภยั พิบตั ิต่างๆ • เมตตาวจีกรรม คือ มีการกระทาทางวาจาท่ีแสดงออกถึงความ ปรารถนาดีต่อมิตรประเทศ เช่น ไม่กล่าวติเตียน ใหร้ ้ายกนั • เมตตามโนกรรม คือ มีจิตใจปรารถนาดีต่อมิตรประเทศ เช่น ไม่ชกั จูงมิตรประเทศดาเนินนโยบายก่อสงคราม

การสร้าง • แบ่งปันผลประโยชน์ที่เกดิ ขนึ้ หรือได้มาโดยชอบธรรมแก่มติ ร สัมพนั ธไมตรีตาม ประเทศ เช่น ไม่สร้างเข่ือนก้นั น้าหรือเปลี่ยนเส้นทางของกระแสน้า หลักสาราณยี ธรรม ท่ีประเทศเพื่อนบา้ นร่วมใชป้ ระโยชนด์ ว้ ย (ต่อ) • มหี ลกั ความประพฤติ (ศีล) เสมอกบั มิตรประเทศ และไม่ทาตนให้ เป็ นทรี่ ังเกยี จของประเทศอื่น เช่น ไม่ใหป้ ระเทศตนเป็นท่ีซ่องสุมของ ผกู้ ่อการร้าย • มคี วามคดิ เห็นตรงกบั ประเทศอื่น เช่น ยอมรับกติกา หรือกฎเกณฑ์ ที่นานาชาติกาหนดไว้

พระพทุ ธศาสนาเป็ นรากฐานของวฒั นธรรมไทย ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนาในฐานะท่ีเป็นรากฐานของวถิ ีชีวติ และวฒั นธรรม ไทย สามารถสรุปได้ ดงั น้ี ด้านวงจรชีวติ ของบุคคล เช่น ต้งั ชื่อ เกิด โกนผมไฟ บวช ทาบุญ ข้ึนบา้ นใหม่ แต่งงาน พธิ ีศพ เป็นตน้ ด้านวงจรกาลเวลาของสังคมและชุมชน เช่น การจดั งานประเพณี วสิ าขบูชา เขา้ พรรษา ทอดกฐิน สงกรานต์ ลอยกระทง เป็นตน้

ด้านภาษา เช่น การนาภาษาบาลีและภาษาสนั สกฤต มาใชร้ ่วมกบั ภาษาไทย เป็นตน้ ด้านศิลปะและดนตรี เช่น จิตรกรรม ประติมากรรม และ สถาปัตยกรรมต่างๆ ท่ีสร้างข้ึนจากแรงบนั ดาลใจและศรัทธาใน พระพทุ ธศาสนา

พระพุทธศาสนาเป็ นเอกลกั ษณ์และมรดกของสังคมไทย พระพทุ ธศาสนาเป็นเอกลกั ษณ์และมรดกของสงั คมไทย ซ่ึงสามารถแบ่งได้ ดงั น้ี ในแง่เอกลกั ษณ์ ในแง่มรดก • ความเมตตากรุณา • มรดกทางรูปธรรม เช่น โบราณสถาน • ความเป็นคนใจกวา้ ง โบราณวตั ถุต่างๆ เป็นตน้ ไม่เห็นแก่ตวั • มรดกทางนามธรรม เช่น คาสอน • ความเป็นคนไม่ยดึ มนั่ เกินไป ท่ีกล่อมเกลาคนไทยใหม้ ีความ อ่อนนอ้ ม โอบออ้ มอารี เป็นตน้

พระพุทธศาสนากบั การพฒั นาชุมชน พระพทุ ธศาสนามีบทบาทในการพฒั นาชุมชน ดงั น้ี การพฒั นาด้านวตั ถุ เช่น การท่ีพระสงฆร์ ่วมกบั ชาวบา้ นสร้าง ถนนในชุมชน การก่อต้งั มูลนิธิของพระสงฆ์ เพ่อื ช่วยเหลือ เดก็ ยากไร้ เป็นตน้ การพฒั นาด้านจิตใจ เช่น การสอนใหค้ นในชุมชนมี ระเบียบวนิ ยั มีความซื่อสตั ย์ มีความไม่ประมาท มีความพอดี เดินทางสายกลาง เป็นตน้

หลกั อธิปไตย ๓ ในการทางานร่วมกนั ในชุมชน อตั ตาธิปไตย โลกาธิปไตย การที่จะทาอะไรดว้ ยกนั คือ ถือตนเอง คือ ถือโลก กต็ าม ตอ้ งถือเอาความ เป็ นใหญ่ ถูกตอ้ งตามธรรมเป็น เป็ นใหญ่ ตวั ตดั สิน มิใช่เอาความเห็น ของตน หรือเอาความเห็น ธัมมาธิปไตย คือ ของชาวโลกเป็ นใหญ่ ถือความถูกตอ้ ง เป็ นใหญ่

พระพุทธศาสนากบั การจัดระเบยี บสังคม พระพทุ ธศาสนาใชว้ ธิ ีการในการจดั ระเบียบสงั คมใหส้ งบสุข ดงั น้ี • อบรมปลูกฝังคนในสงั คมใหม้ ีจิตสานึกวา่ อะไรดี อะไรไม่ดี อะไรควรทา อะไร ไม่ควรทา • สอนใหค้ นรู้จกั เคารพตนเอง มีความละอายในบาป และไม่ทาความผดิ

๒หน่วยการเรียนรู้ที่ พุทธประวตั ิ พระสาวก ศาสนิกชนตวั อย่าง และชาดก การศึกษาพทุ ธประวตั ิ ประวตั ิพทุ ธสาวก พทุ ธสาวกิ า ชาวพทุ ธตวั อยา่ ง และชาดก นอกจากจะทาใหเ้ ห็น คุณค่าของคาสอนทางพระพทุ ธศาสนา อนั เป็นประโยชนต์ ่อ การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาแลว้ ยงั สามารถนาจริยาวตั รของ พระศาสดาและพระสาวกเหล่าน้นั มาประยกุ ตใ์ ชเ้ ป็นแนวทาง ปฏิบตั ิ เพ่ือใหส้ ามารถดารงชีวติ อยใู่ นสงั คมอยา่ งมีความสุข

๑. พทุ ธประวตั ิ ผจญมาร ภาพพระสิทธตั ถะผจญมาร ที่มา : http://www.luangpoothon.com/lp_dhamma_detail.php?dhamma_id=2

➢ เหตกุ ารณ์ ขณะท่ีพระสิทธตั ถะกาลงั นง่ั สมาธิ เพ่อื แสวงหาหนทางดบั ทุกข์ พญามารนามวสวตั ดี มาปรากฏตวั พร้อมเสนามาร ร้องบอกใหพ้ ระองค์ ลุกจากอาสนะ พระองคท์ รงแยง้ วา่ บลั ลงั กเ์ ป็นของพระองค์ จากน้นั เหยยี ด พระดรรชนีลงยงั พ้นื ดินและตรัสวา่ “ขอใหว้ สุนธราจงเป็นพยาน” ทนั ใดน้นั พระแม่ธรณีผดุ ข้ึนจากพ้นื ดิน และบีบมวยผม บนั ดาลใหม้ ีกระแสน้ามาท่วมกองทพั พญามารจนแตกพา่ ย ไปในที่สุด พระพทุ ธรูปปางมารวชิ ยั สร้างข้ึนเพื่อจาลองเหตุการณ์ พทุ ธประวตั ิตอนผจญมาร

➢ วเิ คราะห์เหตุการณ์ พญามาร หมายถึง กิเลสท่ีมารบกวนพระทยั ของพระสิทธตั ถะในขณะนง่ั สมาธิ อนั ไดแ้ ก่ โลภะ โทสะ และโมหะ ดงั น้ัน การผจญมาร กค็ ือการต่อสู้กบั อานาจของกเิ ลส พระแม่ธรณี หมายถึง บารมีท้งั ๑๐ ที่ทรงบาเพญ็ มา ดงั น้ัน การอ้างถงึ พระแม่ธรณี กค็ ือทรงอ้างถึงคุณความดที ท่ี รงบาเพญ็ มา เพ่ือใช้ เป็ นกาลงั ใจในการต่อสู้กบั กเิ ลสท้งั ปวง จนสามารถเอาชนะกเิ ลสและตรัสรู้ในทส่ี ุด

การตรัสรู้ ภาพพระสิทธตั ถะตรัสรู้เป็นองคพ์ ระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ท่ีมา : http://rjdigiart.blogspot.com/2010/04/blog-post.html

➢ ขน้ั ตอนการค้นคว้าทางพ้นทุกข์ของพระสิทธัตถะ ขัน้ ท่ี ๑ ทรงฝึ กปฏิบตั ิโยคะ ขั้นท่ี ๒ ทรงบาเพญ็ ตบะ ขนั้ ท่ี ๓ ทรงบาเพญ็ ทุกกรกริ ิยา • ข้นั ที่ ๑ กดั ฟัน • ข้นั ท่ี ๒ กล้นั ลมหายใจ • ข้นั ท่ี ๓ อดอาหาร ขนั้ ท่ี ๔ ทรงบาเพญ็ เพยี รทางจติ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook