Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประวัติศาสตร์ ม.1

ประวัติศาสตร์ ม.1

Published by sunisa.sombunma, 2020-05-17 05:47:14

Description: ประวัติศาสตร์ ม.1

Search

Read the Text Version

รายวิชาพ้นื ฐาน กลุม่ สาระการเรียนรู้ สงั คมศึกษา วิชา ประวตั ิศาสตร์ ม.1

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เวลาและการแบ่งยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร์

เวลาและการแบ่งยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตร์ • เวลาและช่วงเวลา • การนบั และการเทียบศกั ราช • การแบ่งยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร์



เวลาและช่วงเวลาในประวตั ศิ าสตร์ เวลาในประวตั ศิ าสตร์ นิยมบอกเป็นปี ถา้ ตอ้ งการใหร้ ู้ชดั เจนมากข้ึน เพราะมีความสาคญั มาก จะบอกเป็น วนั เดือน ปี ช่วงเวลาในประวตั ศิ าสตร์ บอกใหร้ ู้เวลาที่ชดั เจนเกี่ยวกบั บุคคลหรือเหตุการณ์ทางประวตั ิศาสตร์

ความสาคญั ของเวลาและช่วงเวลา • บอกใหร้ ู้วา่ เหตุการณ์ต่างๆ เกิดข้ึนและสิ้นสุดเวลาใด • บอกใหร้ ู้วา่ เหตุการณ์ต่างๆ เกิดข้ึนมานานเท่าใด • บอกใหร้ ู้วา่ เหตุการณ์ต่างๆ เหตุการณ์ใดเกิดข้ึนก่อนหรือหลงั เม่ือเปรียบเทียบกบั เหตุการณ์อื่นๆ • บอกใหร้ ู้ถึงความสมั พนั ธห์ รือเกี่ยวขอ้ งของเหตุการณ์ประวตั ิศาสตร์ • ทาใหเ้ ขา้ ใจและวเิ คราะห์เหตุการณ์ต่างๆ ในประวตั ิศาสตร์ไดด้ ีข้ึน

ตวั อย่างเวลาและช่วงเวลาในประวตั ศิ าสตร์ พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช ทรงครองราชยร์ ะหวา่ ง พ.ศ. 1822- 1841 ซ่ึงเป็นเวลาใกลเ้ คียงกบุ ไลข่าน (ภาพเลก็ ) พ.ศ. 1803-1837 ข่านของ มองโกลท่ีมีอานาจปกครองจีน ในสมยั น้นั



การนับศักราชแบบสากล คริสต์ศักราช (ค.ศ.) คริสตศ์ กั ราชที่ 1 เร่ิมนบั ต้งั แต่ปี ที่ พระเยซูคริสตป์ ระสูติ ตรงกบั พ.ศ. 544 ฮิจเราะห์ศักราช (ฮ.ศ.) ฮิจเราะห์ศกั ราช ท่ี 1 ยดึ ปี ที่ท่านนบีมุฮมั มดั อพยพจาก เมืองเมกกะไปเมืองเมดินะ ตรงกบั พ.ศ. 1165

การนับศักราชแบบไทย มหาศักราช (ม.ศ.) เร่ิมภายหลงั พทุ ธศกั ราช พุทธศักราช (พ.ศ.) 621 ปี พบมากในจารึก ไทยเร่ิมนบั พทุ ธศกั ราชท่ี 1 สุโขทยั เม่ือพระพทุ ธเจา้ เสดจ็ ดบั ขนั ธ์ปรินิพพานไปแลว้ รัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ.) 1 ปี เริ่มนบั ปี ที่รัชกาลที่ 1 ทรง สถาปนากรุงเทพมหานคร จุลศักราช (จ.ศ.) ข้ึนเป็ นราชธานี เริ่มภายหลงั พทุ ธศกั ราช 1181 ปี พบมากในศิลาจารึก และพงศาวดารของลา้ นนา สุโขทยั อยธุ ยา และรัตนโกสินทร์

หลกั เกณฑ์การเทยี บศักราช พ.ศ. - 621 = ม.ศ. พ.ศ. - 1181 = จ.ศ. ม.ศ. + 621 = พ.ศ. พ.ศ. - 2324 = ร.ศ. จ.ศ. + 1181 = พ.ศ. พ.ศ. - 543 = ค.ศ. ร.ศ. + 2324 = พ.ศ. พ.ศ. - 1122 = ฮ.ศ. ค.ศ. + 543 = พ.ศ. ฮ.ศ. + 1122 = พ.ศ.

ตัวอย่างศักราชในหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ “1205 ศก ปี มะแม พ่อขุนรามคาแหง หาใคร่ใจในใจ แล่ใส่ลายสือไทยนี.้ .. ” ปี 1205 เป็ นการนับแบบมหาศักราช เม่ือเทยี บเป็ น พ.ศ. ให้บวกด้วย 621 = พ.ศ. 1826 เป็ นปี ทพ่ี ่อขุนรามคาแหงมหาราชประดษิ ฐ์อกั ษรไทย ที่มา : ศิลาจารึกพอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช ดา้ นที่ 4



สมยั ก่อนประวตั ศิ าสตร์ ประเภท แบ่งตามเทคโนโลยี ช่วงระยะเวลา ลกั ษณะการดาเนินชีวติ ของยคุ เคร่ืองมือเครื่องใช้ โดยประมาณ ล่าสตั ว์ อาศยั อยใู่ นถ้า ใชเ้ ครื่องมือ ยคุ หิน ยคุ หินเก่า 2,500,000 - 10,000 ปี หินขดั แบบหยาบๆ รู้จกั เขียนภาพ ล่วงมาแลว้ ยคุ หินกลาง ตามผนงั 10,000 - 8,000 ปี ยคุ หินใหม่ ล่วงมาแลว้ รู้จกั ทาเครื่องมือหินท่ีประณีตข้ึน รู้จกั ทาเคร่ืองป้ันดินเผาผวิ เรียบมนั 8,000 - 4,000 ปี ล่วงมาแลว้ รู้จกั ทาการเพาะปลูก ต้งั หลกั แหล่ง ถาวร ทาเครื่องมือหินขดั เครื่องป้ันดินเผา เคร่ืองประดบั

ประเภท แบ่งตามเทคโนโลยี ช่วงระยะเวลา ลกั ษณะการดาเนินชีวติ ของยุค เครื่องมือเครื่องใช้ โดยประมาณ อาศยั เป็นชุมชนใหญ่ข้ึน ยคุ โลหะ ยคุ สาริด 4,000 - 3,000 ปี รู้จกั เพาะปลูก เล้ียงสัตว์ ยคุ เหลก็ ล่วงมาแลว้ และรู้จกั ใชส้ าริดทาเคร่ืองประดบั 3,000 - 1,500 ปี มีการติดต่อคา้ ขาย รับอารยธรรม ล่วงมาแลว้ จากต่างแดน มีการนาเหลก็ มาเป็น เคร่ืองมือ

สมยั ประวตั ิศาสตร์ สมยั โบราณ ร่วม สมัย สมยั สมยั ประวตั ศิ าสตร์ กลาง สมยั ใหม่



การแบ่งตามยุคสมยั ช่ือเรียกสมยั ชื่อเรียกยุค การแบ่งยุคย่อย ช่วงระยะเวลา ยคุ หิน ยคุ หินเก่า 700,000 - 10,000 ปี ล่วงมาแลว้ สมยั ก่อน ยคุ โลหะ ยคุ หินกลาง 10,000 - 4,300 ปี ล่วงมาแลว้ ประวตั ิศาสตร์ ยคุ หินใหม่ 4,300 - 3,500 ปี ล่วงมาแลว้ สมยั ยคุ สาริด 3,500 - 2,500 ปี ล่วงมาแลว้ ประวตั ิศาสตร์ ยคุ เหลก็ มีวธิ ีการแบ่ง 2,500 ปี ล่วงมาแลว้ ที่หลากหลาย ดินแดนไทยเขา้ สู่สมยั ประวตั ิศาสตร์ เมื่อประมาณพทุ ธศตวรรษท่ี 12

การแบ่งตามอาณาจักร ช่ือเรียกยคุ สมยั อาณาจกั รหรือแคว้น ช่วงระยะเวลา (ประมาณพทุ ธศตวรรษ) สมยั ทวารวดี ทวารวดี สมยั ละโว้ ละโว้ 11 - 16 สมยั ศรีวชิ ยั ศรีวชิ ยั สมยั ตามพรลิงค์ ตามพรลิงค์ 12 - 18 13 - 18 13 - 18

การแบ่งตามราชธานี ช่ือเรียกยคุ สมยั ราชธานี ช่วงระยะเวลาของราชวงศ์ สมยั สุโขทยั สุโขทยั พ.ศ. 1792 - 2006 สมยั อยธุ ยา พ.ศ. 1893 - 2310 สมยั ธนบุรี กรุงศรีอยธุ ยา พ.ศ. 2310 - 2325 สมยั รัตนโกสินทร์ กรุงธนบุรี พ.ศ. 2325 - ปัจจุบนั กรุงเทพฯ หรือกรุงรัตนโกสินทร์

การแบ่งตามรัชกาล ช่ือเรียกยคุ สมยั ช่วงระยะเวลา ยุคสมยั ราชวงศ์ ยคุ สมยั ตามราชธานี สมยั ราชวงศ์ สมยั สุโขทยั สมยั พอ่ ขนุ รามคาแหง พ.ศ. 1822 - 1841 สมยั อยธุ ยา มหาราช พระร่วง สมยั ราชวงศ์ สมยั รัตนโกสินทร์ สมยั สมเดจ็ พระนารายณ์ พ.ศ. 2199 - 2231 ปราสาททอง มหาราช สมยั ราชวงศจ์ กั รี สมยั พระบาทสมเดจ็ พ.ศ. 2411 - 2453 พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั นอกจากน้ีในสมยั รัตนโกสินทร์ ไดน้ าเอาลาดบั ของรัชกาลมาเป็นเกณฑใ์ นการแบ่งดว้ ย

การแบ่งตามการเปลย่ี นแปลงทางการเมือง ชื่อเรียกยุคสมยั ช่วงระยะเวลา ต้งั แต่เร่ิมแรกถึงเม่ือมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย สมยั สมบูรณาญาสิทธิราชย์ 24 มิถุนายน 2475 สมยั ประชาธิปไตย หรือสมยั รัฐธรรมนูญ 24 มิถุนายน 2475 - ปัจจุบนั

การแบ่งตามการเปลยี่ นแปลงทางวฒั นธรรม ชื่อเรียกยุคสมยั ช่วงระยะเวลา สมยั โบราณ สมยั เร่ิมตน้ ประวตั ิศาสตร์ไทย - สมยั เริ่มรับวฒั นธรรมตะวนั ตก สมยั ใหม่ (ในช่วงรัชกาลที่ 4) สมยั เริ่มรับวฒั นธรรมตะวนั ตก - ปัจจุบนั

การแบ่งตามรัฐบาลบริหารประเทศ ช่วงระยะเวลา กมุ ภาพนั ธ์ 2502 - ธนั วาคม 2506 ช่ือเรียกยุคสมยั มีนาคม 2523 - สิงหาคม 2531 สมยั รัฐบาลจอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต์ ธนั วาคม 2551 - สิงหาคม 2554 สมยั รัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ สมยั รัฐบาลนายอภิสิทธ์ิ เวชชาชีวะ สิงหาคม 2554 - ปัจจุบนั สมยั รัฐบาลนางสาวยง่ิ ลกั ษณ์ ชินวตั ร

ตวั อย่างเวลา ช่วงเวลา และยุคสมยั ในหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ไทย “เมื่อชั่วพ่อกู กูบาเรอแก่พ่อกู กบู าเรอแก่แม่กู กไู ด้ตวั เนื้อตวั ปลา กเู อามาแก่พ่อกู กูได้หมากส้มหมากหวาน อนั ใดกนิ อร่อยกนิ ดี กูเอามาแก่พ่อกู...” ขอ้ ความขา้ งตน้ กล่าวถึง ช่วงเวลา หรือสมยั คาวา่ “เม่ือชว่ั พอ่ ก”ู คือ เมื่อคร้ังหรือสมยั พระราชบิดาของพอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช (เมื่อชว่ั = เมื่อคร้ัง, เม่ือรัชสมยั ) คือ พอ่ ขนุ ศรี อินทราทิตย์ พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราชทรงปรนนิบตั ิต่อพระราชบิดา ไดเ้ น้ือ (สัตวบ์ ก) ไดป้ ลา (สตั วน์ ้า) ไดผ้ ลไมเ้ ปร้ียวหวานท่ีอร่อย กเ็ อามาถวาย

ความสัมพนั ธ์ของอดตี ทมี่ ตี ่อปัจจุบันและอนาคต อดตี กาหนดปัจจุบนั • ประวตั ิศาสตร์มีความต่อเน่ือง ความเจริญหรือความเส่ือมจากอดีตยอ่ มมีผลตอ่ เนื่องถึง ปัจจุบนั อดตี ให้บทเรียนกบั ปัจจุบนั • อดีตทาใหเ้ กิดบทเรียน เป็นตวั อยา่ งใหก้ บั คนรุ่นปัจจุบนั ท้งั ในเร่ืองดี และไมด่ ี ปัจจุบนั ส่องทางแก่อนาคต • สภาพปัจจุบนั จะบอกใหเ้ รารู้ไดว้ า่ อนาคตจะเป็นอยา่ งไร

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 วธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ วธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์

วธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ • ความหมายและความสาคญั ของประวตั ิศาสตร์ • วธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ • ลกั ษณะ ประเภท และท่ีมาของหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ไทย • ตวั อยา่ งการนาวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ไปใชใ้ นการศึกษาประวตั ิศาสตร์ทอ้ งิ่ิน • ตวั อยา่ งการนาหลกั ฐานไปใชใ้ นการศึกษาประวตั ิศาสตร์สุโขทยั



ความหมายของประวตั ิศาสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ เป็นการศึกษาเรื่องราวประสบการณ์ ของมนุษยใ์ นอดีต จากหลกั ฐานท่ีมีการจดบนั ทึกไวห้ รือ จากหลกั ฐานที่เป็นลายลกั ษณ์อกั ษร ประวตั ิศาสตร์ของมนุษยเ์ มื่อมีการบนั ทึกลายลกั ษณ์ อกั ษร เรียกวา่ สมยั ประวตั ิศาสตร์ มนุษยเ์ ริ่มมีตวั หนงั สือ และจดบนั ทึกเม่ือราว 5,000 - 6,000 ปี ล่วงมาแลว้ อกั ษรคูนิฟอร์ม หรืออกั ษรล่ิม

• ประวตั ิศาสตร์ • โบราณคดี ศึกษาเร่ืองราวของมนุษย์ ศึกษาเร่ืองราวและ จากหลกั ฐานท่ีเป็นลาย พฤติกรรมของมนุษย์ ในอดีตจากการวเิ คราะห์ ลกั ษณ์อกั ษร และ วจิ ยั และแปลความ หลกั ฐานประเภทคา โบราณวตั ิุ โบราณสิาน บอกเล่า รวมไปิึงการ โดยใชร้ ะเบียบวธิ ีการศึกษา วเิ คราะห์ ตีความ จากวตั ิุ กระบวนการศึกษาต่างๆ ประจกั ษพ์ ยานต่างๆ

ความสาคญั ของประวตั ศิ าสตร์ 1. ให้ความรู้เกย่ี วกบั ความเป็ นมาของมนุษย์ทุกเร่ือง 2. เป็ นรากฐานความเจริญของมนุษย์ในปัจจุบัน 3. ทาให้มนุษย์มคี วามเฉลยี วฉลาด มเี หตุผล มคี วามคดิ ทด่ี ี 4. ให้บทเรียนทางจริยธรรม 5. สอนให้เข้าใจความแตกต่างทางวฒั นธรรม 6. ทาให้มนุษย์มคี วามละเอยี ดรอบคอบในการศึกษาค้นคว้า โดยใช้วธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์



ความหมายและความสาคญั ของวธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์ • เป็นข้นั ตอน หรือวธิ ีการท่ีนกั ประวตั ิศาสตร์หรือผทู้ ี่ศึกษาทางดา้ นประวตั ิศาสตร์ใชเ้ พ่อื ศึกษา คน้ ควา้ และเรียบเรียงเหตุการณ์ทางประวตั ิศาสตร์จากหลกั ฐานต่างๆ เพ่อื ใหไ้ ดข้ อ้ มูลที่มี ความิูกตอ้ งและชดั เจนมากที่สุด • การเลือกใชห้ ลกั ฐานตอ้ งมีการตรวจสอบ วเิ คราะห์อยา่ งรอบคอบ เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ มูลท่ีน่าเช่ือิือ

ข้ันตอนของวธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์ การกาหนดหวั เร่ืองทจี่ ะศึกษา การรวบรวมหลกั ฐาน การประเมนิ คุณค่าของหลกั ฐาน การวเิ คราะห์ สังเคราะห์ และจดั หมวดหมู่ข้อมูล การเรียบเรียงหรือการนาเสนอ



ลกั ษณะของหลกั ฐาน • หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ไทยท่ีเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรโดยทวั่ ไปไมค่ ่อยสมบูรณ์ เพราะคนไทยไม่ชอบจดบนั ทึก • หลกั ฐานบางอยา่ งยงั ิูกทาลายไปในสงคราม • อากาศท่ีร้อนช้ืนทาใหห้ ลกั ฐานเสียหายเร็ว • การไมม่ ีระบบการพมิ พท์ าใหต้ อ้ งคดั ลอกขอ้ มูลดว้ ยลายมือ • การศึกษาประวตั ิศาสตร์โบราณจึงตอ้ งมีการสนั นิษฐานกนั มาก

หลกั ฐานท่ีเป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร ตานาน เร่ืองเล่าต่อๆ กนั มาดว้ ยวาจา มีการจดบนั ทึก และพิมพเ์ ผยแพร่ในภายหลงั มีการกล่าวิึงกาลเวลา อยา่ งกวา้ งๆ ตานานมีประโยชนใ์ นการศึกษา ประวตั ิศาสตร์ไทยอยมู่ าก แต่ตอ้ งใชอ้ ยา่ งระมดั ระวงั และตรวจสอบกบั หลกั ฐานอ่ืนๆ ดว้ ย

หลกั ฐานท่เี ป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร จารึก ทาข้ึนเพ่ือใชอ้ ธิบายเรื่องราวท่ีเกิดในสังคม โดยมีจุดมุ่งหมายอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง เป็นเอกสาร ช้นั ตน้ ที่มีความน่าเชื่อิือ เพราะเขียนข้ึนคร้ังเดียว ไมม่ ีการคดั ลอก เป็นหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ ท่ีมีความสาคญั มาก โดยเฉพาะในสมยั สุโขทยั ศิลาจารึกวดั ศรีชุม หรือศิลาจารึกสุโขทยั หลกั ที่ 2

หลกั ฐานทีเ่ ป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร พงศาวดาร เป็นการบนั ทึกเร่ืองราว ในอดีตภายใตก้ ารอุปิมั ภ์ ของราชสานกั เนน้ เกี่ยวกบั อาณาจกั ร และกษตั ริย์ ที่ปกครองอาณาจกั รน้นั ๆ พระราชพงศาวดารฉบบั หลวงประเสริฐฯ

หลกั ฐานทเี่ ป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร แผนที่กรุงศรีอยธุ ยาในจดหมายเหตุลาลูแบร์ บันทึกของชาวต่างชาติ ชาวต่างชาติท่ีเดินทางเขา้ มาใน ดินแดนประเทศไทยสมยั ต่างๆ ได้ บนั ทึกเรื่องราวต่างๆ ไว้ อยา่ งไรกต็ าม เนื่องจากชาวต่างชาติที่พ้นื ฐานทาง ความคิดและวฒั นธรรมที่แตกต่างจาก คนไทย จึงอาจทาใหเ้ ขา้ ใจวฒั นธรรม ไทยผดิ ในบางเรื่อง จึงตอ้ งระมดั ระวงั ในการศึกษาประเดน็ เหล่าน้ี

หลกั ฐานทเ่ี ป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร จดหมายเหตุ เป็นหลกั ฐานประเภทพงศาวดารต่างกนั ตรงท่ี จดหมายเหตุเป็นบนั ทึกร่วมสมยั เด่นในเร่ืองการให้ รายละเอียด และความิูกตอ้ งในเร่ืองเวลา หนงั สือจดหมายเหตุบางกอกรีคอร์เดอร์

หลกั ฐานท่เี ป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร เอกสารทางราชการ เป็นเอกสารที่เกี่ยวขอ้ งกบั การบริหารราชการและการปกครอง ที่รัฐบาลมีต่อขา้ ราชการ ท้งั ส่วนกลางและส่วนภูมิภาค



การศึกษาประวตั ิศาสตร์บ้านเชียง การกาหนดหัวเร่ืองทจี่ ะศึกษา “วิิ ีชีวติ และวฒั นธรรมชุมชนโบราณบา้ นเชียงสมยั ก่อน ประวตั ิศาสตร์” การรวบรวมหลกั ฐาน พจิ ารณาจากหลกั ฐานทางโบราณคดี เช่น โครงกระดูก เครื่องมือ หิน ภาชนะดินเผา เครื่องประดบั เอกสารผลงานวิจยั ของนกั ประวตั ิศาสตร์ การประเมนิ คุณค่าหลกั ฐาน จากหลกั ฐานที่รวบรวมมาใหเ้ ลือกใชห้ ลกั ฐานที่เก่ียวกบั บา้ นเชียงโดยตรง

การศึกษาประวตั ศิ าสตร์บ้านเชียง การวเิ คราะห์ สังเคราะห์ และจัดหมวดหมู่ข้อมูล นาหลกั ฐานท้งั หมดมาตีความวา่ ใหข้ อ้ มลู อะไรแก่เราบา้ ง ควรตรวจทานกบั หลกั ฐานช้นั รองท่ีนกั ประวตั ิศาสตร์ไดน้ าเสนอ มาแลว้ วา่ เหมือนหรือต่างกนั อยา่ งไร การเรียบเรียงหรือการนาเสนอ เรียบเรียงขอ้ มูลจากการตีความอยา่ งเป็นเหตุเป็นผล ตวั อยา่ งเช่น ชุมชนบา้ นเชียงมีวิิ ีชีวติ แบบวฒั นธรรมเกษตรกรรม เนื่องจากมีรอ่ งรอยของ ววิ ฒั นาการของเครื่องมือเครื่องใชใ้ นช้นั ดินแต่ละระดบั เป็นตน้

หลกั ฐานช้ันต้นท่ีใช้ศึกษาประวตั ศิ าสตร์สุโขทยั ศิลาจารึกหลกั ท่ี 1 เจดยี ์ทรงดอกบัวตูม • เป็นหลกั ฐานท่ีใหข้ อ้ มูลของอาณาจกั ร • แสดงใหเ้ ห็นิึงความเจริญรุ่งเรืองของ สุโขทยั ในหลายๆ ดา้ น พระพทุ ธศาสนาในสมยั สุโขทยั

หลกั ฐานช้ันต้นทีใ่ ช้ศึกษาประวตั ศิ าสตร์สุโขทยั สารนิพนธ์ ประเสริฐ ณ นคร สุโขทยั เมืองพระร่วง • รวบรวมบทความเก่ียวกบั การตน้ ควา้ • จดั ทาโดยกรมศิลปากร มีเน้ือหาเกย่ี วกบั ประวตั ิศาสตร์สุโขทยั ของศาสตราจารย์ สุโขทยั พร้อมภาพประกอบ ดร. ประเสริฐ ณ นคร

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 สมยั ก่อนสุโขทยั ในดนิ แดนไทย

สมยั ก่อนสุโขทยั ในดนิ แดนไทย • ชุมชนโบราณในดินแดนไทย • อาณาจกั รโบราณในดินแดนไทย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook