Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ ครูอาภาภรณ์ (รายวิชาประวัติศาสตร์ ม.5)

แผนการจัดการเรียนรู้ ครูอาภาภรณ์ (รายวิชาประวัติศาสตร์ ม.5)

Published by Arpaporn Sonprasert, 2021-03-30 09:09:14

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ ครูอาภาภรณ์ (รายวิชาประวัติศาสตร์ ม.5)

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ประวตั ิศาสตร์ รหสั วิชา ส32102 ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 5 นางสาวอาภาภรณ์ สอนประเสริฐ พนักงานราชการ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จังหวัดเชียงใหม่ สานกั บริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 1 เร่ือง เวลาและยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตร์ แผนจัดการเรยี นรู้ที่ 1 เร่อื ง เวลากับประวัตศิ าสตร์ รายวิชา ประวตั ศิ าสตร์ รหัสวิชา ส 32102 ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 นา้ หนกั เวลาเรียน 0.5 (นน./นก.) เวลาเรยี น 1 ช่วั โมง/สัปดาห์ เวลาท่ใี ช้ในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 1 ช่ัวโมง ....................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชี้วดั ช้ันปี/ผลการเรยี นร/ู้ เปา้ หมายการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ ส 4.1 เขา้ ใจความหมาย ความสาคญั ของเวลาและยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตร์ สามารถใช้ วิธีการทางประวตั ิศาสตรม์ าวเิ คราะห์เหตุการณต์ ่าง ๆ อยา่ งเป็นระบบ ตัวช้ีวดั /ผลการเรยี นรู้ ส 4.1 ม.4-6/1 ตระหนักถึงความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตรท์ แ่ี สดงถงึ การ เปลย่ี นแปลงของมนษุ ยชาติ 2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายถึงความสาคญั ของเวลาและยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร์ 2.2 ลาดบั เปรยี บเทยี บเชื่อมโยงเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ 2.3 ตระหนกั ถึงความสาคญั ของเวลาและยุคสมยั ทางประวัตศิ าสตร์ท่ีแสดงใหเ้ หน็ ถงึ การเปล่ยี นแปลง ของมนษุ ย์ 3. สาระสาคญั กาลเวลามอี ทิ ธิพลต่อการดารงชีวติ ของมนุษย์ นกั ประวตั ศิ าสตรไ์ ด้กาหนดเวลาเพื่อบอกเลา่ เหตกุ ารณ์ ในประวัติศาสตร์ เพอ่ื ศกึ ษาลาดับเหตุการณ์และวิวฒั นาการความเป็นมาของมนุษยชาติ 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ความสาคัญของเวลาในการศกึ ษาประวัติศาสตร์ 4.2 เวลากับหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ 5. คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ ตัวช้ีวดั ที่ 4.2 แสวงหาความรู้จากแหลง่ เรยี นรตู้ ่าง ๆ ท้งั ภายในและภายนอกโรงเรยี นด้วยการเลอื กใช้ ส่ืออยา่ งเหมาะสม บนั ทึกความรู้ วิเคราะห์ สรปุ เป็นองคค์ วามรูส้ ามารถนาไปใช้ใน ชวี ิตประจาวันได้

6. สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น 6.1 ความสามารถในการส่ือสาร 6.2 ความสามารถในการคดิ 6.3 ความสามารถในการแก้ปญั หา 6.4 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต 6.5 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 7. ช้ินงานหรอื ภาระงาน 7.1 แผนภาพ เวลากบั หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ 8. การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 8.1 ครูและนักเรียนรว่ มกันสนทนาเกี่ยวกับการใชเ้ วลาเพื่อบอกเลา่ เหตุการณ์ในชีวติ ประจาวัน แลว้ ให้ นักเรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ โดยครใู ช้คาถาม ดังนี้  นกั เรยี นใชเ้ วลาเพื่อบอกเลา่ เหตุการณ์อะไรบ้าง (ตัวอยา่ งคาตอบ บอกเล่าการเพ่ิม-ลดของ ผลการเรียน บอกเล่าเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ขณะเดินทาง)  การบอกเลา่ เหตุการณโ์ ดยกาหนดช่วงเวลากับการบอกเล่าเหตกุ ารณโ์ ดยไมก่ าหนดช่วงเวลาแตกต่าง กันอย่างไร (ตัวอย่างคาตอบ แตกตา่ งกันที่การกาหนดช่วงเวลาสามารถลาดับเหตุการณไ์ ดแ้ ม่นยา สว่ น การบอกเลา่ โดยไมก่ าหนดช่วงเวลาจะทาใหค้ วามจริงของเหตุการณ์คลาดเคลอ่ื น ลาดับเหตกุ ารณ์ไม่ ถูกตอ้ ง)  การบอกเล่าเหตกุ ารณ์แบบใดมีความชดั เจนมากกว่า เพราะเหตใุ ด (ตวั อย่างคาตอบ การบอกเลา่ แบบกาหนดช่วงเวลา เพราะเป็นการเล่าโดยระบุและลาดับเหตุการณ์ไดแ้ ม่นยา)  การบอกเล่าเหตุการณโ์ ดยกาหนดชว่ งเวลามีความสาคญั อย่างไร (ตัวอย่างคาตอบ ทาให้เข้าใจ เหตุการณ์ต่าง ๆ ไดต้ ามลาดับ และสามารถนาเหตุการณใ์ นช่วงเวลาเดียวกนั มาเปรียบเทยี บศึกษาได้)  การบอกเล่าเหตุการณโ์ ดยกาหนดช่วงเวลามขี อ้ ดี-ข้อเสียอย่างไร (ตัวอย่างคาตอบ ข้อดีคอื ทาใหเ้ ป็นพฒั นาการและปจจ จัยทีท่ าให้เกิดเหตุการณ์ไดช้ ัดเจน ขอ้ เสียคอื วิธีการนบั เวลาจะแตกต่าง และเป็นลกั ษณะเฉพาะของดินแดน)  ถ้าการบอกเล่าเหตุการณ์ไม่มีการกาหนดชว่ งเวลาจะเกิดผลอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ ส่งผลใหไ้ ม่ สามารถเชอื่ มโยงอดีตกับปจจ จุบนั ได้ ไมเ่ ข้าใจความสาคญั ของเหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ ทเี่ กิดขน้ึ ) โดยครใู หน้ ักเรยี นตอบคาถามตามความคิดหรือประสบการณข์ องตนเอง 8.2 ครเู ขียนคาวา่ คริสตศ์ ักราช พทุ ธศกั ราช ฮจิ เราะห์ศกั ราช แล้วใหน้ กั เรยี นอภิปรายวา่ เกย่ี วขอ้ งกบั ประวตั ิศาสตรอ์ ย่างไร และครูอธิบายสรปุ เพิม่ เติม 8.3 ครใู ห้นักเรียนสบื ค้นการใชศ้ กั ราชตา่ ง ๆ ในประเทศไทย เชน่ มหาศักราช (ม.ศ.) จุลศักราช (จ.ศ.) รตั นโกสนิ ทรศ์ ก (ร.ศ.) ว่าเกยี่ วขอ้ งกับประวัตศิ าสตร์ไทย อย่างไร สรุปบันทกึ นาเสนอครูและครูอธิบายสรุปเพ่ิมเติม จากน้นั ครูใหน้ ักเรยี นร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นโดยครูใชค้ าถาม ดังน้ี  ประเทศไทยประกาศใช้พทุ ธศกั ราชอย่างเป็นทางการเม่ือใด (พ.ศ. 2455)

 การลาดับเหตุการณใ์ นประวัตศิ าสตรส์ ากลใชศ้ ักราชใด และหากจะใชป้ ระวัตศิ าสตรไ์ ทยเทยี บกับ ศักราชสากลมีวิธกี ารอย่างไร (ประวตั ิศาสตร์สากลใชค้ รสิ ต์ศกั ราช หากจะใช้ประวัตศิ าสตร์รว่ มกับ สากลโดยการใช้วธิ ีเทยี บศกั ราช คือ พ.ศ = ค.ศ. + 543) 8.4 ครใู หน้ ักเรยี นรว่ มกันแสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกบั เวลาทางประวัตศิ าสตรโ์ ดยครูตัง้ คาถามใหน้ ักเรียน ร่วมกันสบื คน้ และตอบคาถาม ดังนี้  การลาดับเหตุการณ์ในประวตั ศิ าสตร์สากลมีหลักการวธิ กี ารอยา่ งไร (ตัวอยา่ งคาตอบ เหตุการณ์ทาง ประวตั ศิ าสตร์ไม่ว่าจะเกดิ ในยคุ ใด ชาตใิ ด เวลาใด สมัยใด สามารถลาดบั เหตกุ ารณ์ทางประวัตศิ าสตร์ ใหเ้ ป็นแบบสากลได้ โดยการเทียบศักราช)  การเชอื่ มโยงอดีตกบั ปัจจุบันในทางประวัตศิ าสตร์มีอะไรเปน็ ตวั เชือ่ ม (ตัวอย่างคาตอบ เวลาทปี่ รากฏ ในหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ ทั้งทเ่ี ปน็ ลายลักษณ์อักษรและหลกั ฐานทางโบราณคดี)  การสร้างความต่อเนื่องของเหตกุ ารณ์ในอดีตทางประวตั ิศาสตร์มวี ิธีการอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ ใช้ ข้อมูลท่พี บในหลักฐานประวัติศาสตรช์ ว่ งเวลาต่าง ๆ มาลาดบั ใหเ้ กิดความเชื่อมโยงกัน)  การเปรยี บเทียบเหตกุ ารณ์ร่วมสมยั ในประวัตศิ าสตร์ มีความสาคัญอยา่ งไร (ตวั อยา่ งคาตอบ เหน็ ความหลากหลายทางด้านความเจรญิ ทางอารยธรรมต่าง ๆ โดยไม่แบง่ แยกเช้ือ ชาติ เห็นภมู ปิ ญจ ญาทม่ี นุษยชาติในอดตี ไดส้ ร้างสรรคผ์ ลงานซ่ึงกลายเปน็ รากฐานความเจริญเชื่อมถงึ ยุค ปจจ จบุ ัน) 8.5 ครใู หน้ กั เรยี นร่วมกนั ศกึ ษาเกย่ี วกบั เวลากบั หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ โดยครกู าหนดหัวขอ้ ให้ นักเรียนแบ่งกลุ่มสบื ค้น และสรปุ ความรูเ้ พ่ืออภิปรายนาเสนอหน้าชน้ั เรยี น ดงั นี้ 1 การสบื ค้นข้อมูลเกย่ี วกับเวลาจากหลักฐานประเภทลายลักษณ์ 2 การสบื ค้นขอ้ มูลเกย่ี วกบั เวลาจากหลักฐานทางโบราณคดี เมือ่ จบการอภปิ รายหรือนาเสนอของนกั เรียนใหค้ รอู ธบิ ายสรปุ เพ่มิ เติมโดยเขยี นแผนภาพอธบิ ายบน กระดาน ดังตัวอย่าง กจาารกสหืบ9ล.คกัน้ ฐขา้อนมทลู าเงกโีย่ บวรกาบัณเควลดาี การสืบคน้ ขอ้ มลู เกี่ยวกบั เวลา จากหลักฐานประเภทลายลกั ษณ์  ประเภทหลกั ฐาน  ประเภทหลักฐาน  ศลิ าจารกึ  โบราณสถาน  จดหมายเหตุ  พงศาวดาร  ศาสนสถาน  บนั ทกึ สว่ นบคุ คล  กฎหมาย  กาแพงเมือง เวลากบั หลกั ฐาน  ราชกิจจานุเบกษา ฯลฯ  สสุ านโบราณ  การสืบค้นเกย่ี วกบั อายขุ องหลกั ฐาน  โครงกระดูก ทางประวัติศาสตร์ การวเิ คราะหจ์ ากชอื่ บคุ คลหรือสถานที่  โบราณวตั ถุ ฯลฯ การศึกษาเปรยี บเทียบขอ้ มลู เกย่ี วกบั ประเพณี หรอื พธิ ีกรรม  การสืบคน้ เก่ียวกบั อายขุ องหลกั ฐาน การวเิ คราะหส์ านวนภาษาทบ่ี นั ทกึ ในหลักฐาน การวิเคราะห์ทางด้านนริ กุ ตศิ าสตร์ เปน็ การวเิ คราะห์ การใชว้ ธิ ีทางวทิ ยาศาสตร์ จากคาศัพทต์ ่าง ๆ ทปี่ รากฏในหลกั ฐานประวัตศิ าสตร์ - วิเคราะหท์ างธรณีวิทยา - ทดสอบทางเคมี การใชว้ ธิ ีปะตมิ านวทิ ยา - การเปรียบเทยี บลกั ษณะของรปู แบบศลิ ปะร่วมสมัย - การเปรยี บเทียบวสั ดุทใี่ ชก้ ่อสร้าง

8.6 ให้นักเรียนรว่ มกันสรปุ ความรู้ ดังน้ี  กาลเวลามีอทิ ธพิ ลต่อการดารงชวี ติ ของมนุษย์ นักประวัติศาสตร์ได้กาหนดเวลาเพื่อ บอกเล่าเหตุการณใ์ นประวัติศาสตร์ เพ่ือศึกษาลาดบั เหตุการณแ์ ละววิ ฒั นาการความเป็นมาของมนุษยชาติ 8.7 ให้นักเรียนรว่ มกนั แสดงความคดิ เห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย ดงั น้ี  นักเรียนได้อะไรจากการศึกษาประวัติศาสตร์ 9. ส่ือการเรยี นการสอน / แหล่งเรยี นรู้ 9.1 แผนภาพเวลากับหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ 10. การวัดผลและประเมินผล 10.1 วิธกี ารวัดและประเมนิ ผล 10.1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในการเข้าร่วมกจิ กรรม 10.1.2 สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุม่ 10.2 เครอ่ื งมือ 10.2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรม 10.2.2 แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่ 10.3 เกณฑ์การประเมิน 10.3.1 การประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรม ผ่านตัง้ แต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผา่ น 1 รายการ ถือวา่ ไมผ่ า่ น 10.3.2 การประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คะแนน 9-10 ระดับ ดมี าก คะแนน 7-8 ระดับ ดี คะแนน 5-6 ระดับ พอใช้ คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรบั ปรงุ

บันทึกหลังการสอน ผลการจดั การเรยี นการสอน ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ปจญหา/อุปสรรค ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ แนวทางแกไ้ ข ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ลงช่ือ_________________________ (ผบู้ นั ทกึ ) (นางสาวอาภาภรณ์ สอนประเสริฐ) _____/_____/_____

แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 เรือ่ ง เวลาและยุคสมัยทางประวัตศิ าสตร์ แผนจดั การเรียนรู้ที่ 2 เรือ่ ง ยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์:การแบง่ ยุคสมัยในประวตั ิศาสตร์ รายวชิ า ประวตั ศิ าสตร์ รหัสวิชา ส 32102 ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 นา้ หนักเวลาเรียน 0.5 (นน./นก.) เวลาเรียน 1 ช่ัวโมง/สัปดาห์ เวลาทใี่ ชใ้ นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 1 ชัว่ โมง ....................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้วี ดั ชน้ั ป/ี ผลการเรยี นร/ู้ เป้าหมายการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสาคญั ของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้ วธิ ีการทางประวัตศิ าสตรม์ าวิเคราะหเ์ หตุการณ์ต่าง ๆ อยา่ งเปน็ ระบบ ตัวชี้วัด/ผลการเรยี นรู้ ส 4.1 ม.4-6/1 ตระหนกั ถึงความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการ เปลย่ี นแปลงของมนุษยชาติ 2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 2.1 อธบิ ายการแบ่งยคุ สมยั ในประวัตศิ าสตร์ 2.2 จาแนกการค้นหาการแบ่งยคุ ประวตั ศิ าสตร์ทงั้ สมัยก่อนประวตั ิศาสตร์และสมยั ประวตั ศิ าสตร์ 2.3 เหน็ ความสาคัญในการศึกษาทาความเข้าใจความเปน็ มาของประวตั ิศาสตร์เพอ่ื ใช้เปน็ ฐานข้อมลู ทางด้านการศึกษาและการดาเนินชวี ติ 3. สาระสาคัญ การแบง่ ยุคสมยั ทางประวัติศาสตร์สามารถแบง่ ได้โดยการกาหนดหลักเกณฑ์ในการจาแนก คอื การแบง่ ยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร์ของมนุษยชาติ แบ่งออกเป็น 2 สมัย ได้แก่ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เป็นยุคท่ียังไม่มีการคิด ประดิษฐ์อักษร และสมัยประวัติศาสตร์ เป็นยุคที่มีการประดิษฐ์อักษรเพ่ือจดบันทึก และการแบ่งยุคสมัยทาง ประวัติศาสตร์แบบสากล เป็นการแบ่งที่เป็นลักษณะเฉพาะของดินแดนต่าง ๆ โดยใช้หลักเกณฑ์ที่สอดคล้องกับ เหตกุ ารณส์ าคัญหรอื ปรากฏการณส์ าคัญของสังคม 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 การแบง่ ยคุ สมัยในประวตั ิศาสตรข์ องมนุษยชาติ 4.2 การศึกษาประวตั ิศาสตร์มนุษยชาติ โดยเปรียบเทียบกับยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตรส์ ากล 5. คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ ตัวชีว้ ดั ท่ี 4.2 แสวงหาความรจู้ ากแหล่งเรียนรตู้ ่าง ๆ ทงั้ ภายในและภายนอกโรงเรียนดว้ ยการเลือกใช้ ส่อื อย่างเหมาะสม บนั ทกึ ความรู้ วเิ คราะห์ สรุปเป็นองคค์ วามรสู้ ามารถนาไปใชใ้ น ชีวิตประจาวนั ได้

6. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น 6.1 ความสามารถในการคดิ 6.2 ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต 7. ชนิ้ งานหรือภาระงาน 7.1 ตาราง การแบง่ ยุคสมยั ทางประวัตศิ าสตร์ 7.2 แผนภาพเสน้ เวลาเปรยี บเทียบยคุ สมยั ของประวตั ิศาสตรส์ ากลกบั ประวัตศิ าสตรไ์ ทย 8. การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ครูใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั ศกึ ษาขอ้ มูลเกีย่ วกับการแบง่ ยคุ สมัยในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ โดยครู ถามคาถามกระตนุ้ เพ่ือนาเข้าสู่บทเรียน ดงั นี้  การศึกษาพฒั นาการความเจริญของมนษุ ย์ในเวลาหลายลา้ นปีทาให้นักประวัติศาสตร์แบ่ง ชว่ งเวลาในการศึกษาประวัติศาสตรเ์ อาไวอ้ ย่างไร (ตวั อย่างคาตอบ โดยทั่วไปนักประวัตศิ าสตร์แบง่ ยุคสมยั ประวตั ิศาสตรอ์ อกเป็น 2 ช่วงเวลา คอื สมยั กอ่ นประวัติศาสตร์กบั สมยั ประวัตศิ าสตร์) 2. ครแู บ่งนักเรียนออกเป็น 2 กลมุ่ เพ่อื ร่วมกนั ศึกษาและสืบค้นขอ้ มลู การแบง่ ยุคประวตั ิศาสตร์ เพือ่ อภปิ รายนาเสนอความรหู้ น้าช้ันเรยี นดงั นี้ 1 สมัยก่อนประวตั ิศาสตร์ 2 สมัยประวตั ิศาสตร์ เม่อื จบการนาเสนอของนักเรียน ครสู รปุ เป็นตารางความรูเ้ พมิ่ เติมดังตวั อย่าง 11 พัฒนาการของสังคมมนุษย์ในยคุ กอ่ นประวัตศิ าสตร์ ยคุ สมยั ช่วงระยะเวลา พัฒนาการของสังคมมนุษย์ ยคุ หิน (500,000 ถึง (มนษุ ยร์ ู้จกั ใช้เคร่อื งมือทาดว้ ยหนิ แบบหยาบ ๆ มีขนาดใหญ่เทอะทะ  ยุคหนิ เก่า 10,000 ปี ล่าสตั ว์ และหาอาหารจากปา่ ) มาแล้ว)  ยุคหนิ กลาง (10,000 ถึง (มนษุ ยร์ จู้ กั ฝึกหัดสัตว์บางชนิดไว้ใช้งาน รจู้ ักใช้เครื่องมอื หนิ ท่มี ีความ 8,000 ปี ประณีตมากขึ้น) มาแล้ว)  ยุคหนิ ใหม่ (8,000 ถงึ (มนุษย์ร้จู กั การเพาะปลูกและเลยี้ งสตั ว์ รู้จักทาเคร่อื งใชจ้ ากกระดูก 6,000 ปี และเขาสัตว์ เปลอื กหอย และภาชนะดนิ ) มาแล้ว) ยคุ โลหะ (6,000 ปี (มนุษย์คน้ พบการหลอมโลหะทองแดงกบั ดีบุกเปน็ สาริด ซึ่งมีความ มาแล้ว) ทนทานมากกว่าทองแดง และในเวลาต่อมา มนษุ ย์รูจ้ ักการถลงุ แร่ เหลก็ ทม่ี คี วามทนทานมากกวา่ สารดิ )

21 สมัยและช่วงเวลา การแบง่ ยุคสมยั ประวัติศาสตร์สากล เหตุการณ์สาคัญ 1. ประวตั ิศาสตรส์ มยั โบราณ ดนิ แดนตา่ ง ๆ ซึ่งฝัง่ ตะวันออกและตะวันตกพัฒนาอารยธรรมของตนเอง (ประมาณ 4,000 ปี ก่อน ให้เจริญและกลายเปน็ รากฐานอารยธรรมของโลก อารยธรรมสาคญั คริสตศ์ กั ราช - ครสิ ต์ศตวรรษท่ี 5) เช่น อารยธรรมเมโสโปเตเมยี มกี ารคิดค้นตวั อกั ษรลม่ิ หรือคนู ฟิ อรม์ ข้นึ ใช้ อารยธรรมกรีกและโบราณพัฒนาความเจรญิ ทางศลิ ปะวทิ ยา และ การปกครองท่เี ปน็ ระบบ 2. ประวัติศาสตรส์ มยั กลาง เปน็ ยุคสมยั ที่ลทั ธแิ ละศาสนาตา่ ง ๆ มบี ทบาทและอทิ ธิพลตอ่ การ (ประมาณพุทธศตวรรษท่ี 11-21 พัฒนาความเจรญิ ในด้านตา่ ง ๆ ของสังคมโดยเกดิ จากการทล่ี ทั ธแิ ละ หรอื ครสิ ต์ศตวรรษท่ี 6-15) ศาสนาแผ่ขยายเขา้ ไปในดินแดนตา่ ง ๆ ทาให้เกดิ การรบั และ แลกเปลยี่ นวฒั นธรรมระหวา่ งกัน เช่น ศาสนาพราหมณ-์ ฮนิ ดู ขยาย อิทธพิ ลเขา้ ไปในดนิ แดนเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ 3. ประวตั ศิ าสตรส์ มยั ใหม่ (ประมาณ เปน็ ยุคสมยั ท่ปี ระเทศต่าง ๆ ในยโุ รปให้ความสาคญั กบั การสารวจ พทุ ธศตวรรษท่ี 21-24 หรอื ดินแดนตา่ ง ๆ ทั่วโลก เพื่อเผยแผ่ศาสนา และแสวงหา คริสต์ศตวรรษที่ 16 - ค.ศ. 1945) ทรพั ยากรธรรมชาติ จึงเป็นสมัยทเี่ กดิ การรบั รู้ถงึ สงั คมและวฒั นธรรม ตา่ ง ๆ ที่อยคู่ นละซกี โลก เหตุการณส์ าคญั คือ การปฏวิ ตั ิวิทยาศาสตร์ การปฏิวัตอิ ตุ สาหกรรม ซึง่ นาไปสกู่ ารแขง่ ขนั ขยายดินแดน เกิดเปน็ ลัทธลิ ่าอาณานิคม ซึ่งสรา้ งความขัดแยง้ และสง่ ผลใหเ้ กดิ สงครามโลกคร้ัง ท่ี 1 (ค.ศ. 1914-1918) และสงครามโลกคร้ังที่ 2 (ค.ศ. 1939-1945) 4. ประวัติศาสตรส์ มยั ปจั จุบนั เริม่ ต้นเข้าสสู่ มัยปัจจุบนั เม่อื ส้ินสดุ สงครามโลกคร้งั ท่ี 2 จนถึงปัจจบุ ัน (ประมาณพทุ ธศตวรรษท่ี 25 เปน็ สมยั ท่ีเทคโนโลยใี นดินแดนตา่ ง ๆ ถึงปจั จุบนั หรอื ค.ศ. 1945 - ปจั จุบัน) มีความเจริญก้าวหนา้ ประชาชนในทกุ ภูมิภาคสามารถรับรูแ้ ละติดตอ่ ระหว่างกันไดอ้ ย่างไรพ้ รมแดน หรอื เรยี กกันว่า “ยุคโลกาภิวตั น์” แต่ สภาพสังคมทไี่ ร้ขอบเขตกลับทาให้สงครามและปญั หาตา่ ง ๆ ขยายตัว มากข้ึน เหตุการณส์ าคัญภายหลังสงครามโลกคร้ังที่ 2 เชน่ สงคราม เย็น สงครามการกอ่ การร้าย และความขดั แยง้ ในภูมภิ าคต่าง ๆ ท่ัว โลก 3. ให้นักเรยี นศกึ ษาการศกึ ษาประวัตศิ าสตร์มนุษยชาติโดยเปรียบเทยี บกับยุคสมัยของประวัตศิ าสตร์ สากล โดยครตู ้งั คาถามเพอื่ ทดสอบความเข้าใจโดยยกตัวอยา่ งการแบ่งประวัตศิ าสตร์ไทย ดงั น้ี  การแบ่งตามสมยั ของอาณาจกั รที่เป็นศูนย์กลางการปกครอง  การแบ่งตามราชวงศ์ท่ีปกครองประเทศ

 การแบ่งตามสมัยกษตั รยิ ์ที่ปกครองประเทศ  การแบง่ ตามสมยั รัฐบาลในระบบประชาธิปไตย  การแบ่งตามพัฒนาการทางเศรษฐกจิ โดยครูให้นักเรยี นศึกษาแลว้ สุ่มตัวอยา่ งนักเรยี น 5 คน ตามจานวนหวั ขอ้ ใหอ้ อกมาแสดง ความคดิ เหน็ ให้เพ่ือนฟังหน้าชน้ั เรยี น เมื่อจบการแสดงความคิดเห็น เขียนเส้นเวลาเปรียบเทียบยุค สมัยของประวตั ศิ าสตรส์ ากลกบั ประวัตศิ าสตร์ไทยเป็นความร้เู พิ่มเติมบนกระดาน ประวตั ิศาสตรส์ ากล ยคุ โบราณ ยคุ กลาง ยคุ ใหม่ ยคุ ปัจจบุ นั (ชว่ งเวลา) 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 พทุ ธศตวรรษที่ สมยั ก่อนสโุ ขทยั สมยั อยธุ ยา สมยั ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย สมยั สโุ ขทยั สมรยั ตั ธนนโบกรุสี ินทร์ 4. ใหน้ ักเรียนรว่ มกนั สรุปความรู้ ดังน้ี  การแบ่งยุคสมยั ทางประวัตศิ าสตรเ์ พื่อศึกษาพัฒนาการของมนุษย์ สามารถแบง่ ได้ 2 รูปแบบ คอื การแบง่ ยุคสมยั ทางประวัตศิ าสตร์ของมนุษยชาติ โดยแบ่งออกเปน็ ชว่ งเวลากวา้ ง ๆ 2 สมัย ไดแ้ ก่ สมยั กอ่ นประวตั ิศาสตร์ เป็นยุคทยี่ ังไมม่ ีการประดิษฐ์อักษร และสมัยประวตั ิศาสตร์เปน็ ยุคที่มีการ ประดษิ ฐอ์ ักษรเพื่อจดบนั ทึกต่าง ๆ แตเ่ นอ่ื งจากพฒั นาการทางประวัติศาสตรใ์ นแต่ละดินแดนไม่ได้เกดิ ขน้ึ พร้อมกนั จึงมีการแบ่งในรปู แบบทสี่ องคือ การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์แบบสากล เป็นการแบ่งตาม ลักษณะเฉพาะของดินแดน ใช้หลกั เกณฑ์ที่แตกตา่ งกันโดยหลักเกณฑน์ ้ันจะสอดคล้องกับเหตุการณส์ าคัญ หรือปรากฏการณส์ าคญั ของสังคม 5. ใหน้ กั เรียนรว่ มกนั แสดงความคดิ เห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั นี้  เหตกุ ารณท์ างด้านประวตั ศิ าสตร์สอนอะไรมนุษยใ์ นยคุ ปจั จบุ นั บา้ ง 9. สือ่ การเรยี นการสอน / แหล่งเรยี นรู้ 9.1 ตารางแสดงการแบ่งยคุ สมัยทางประวัตศิ าสตร์ 9.2 แผนภาพเส้นเวลาเปรยี บเทยี บยคุ สมยั ของประวตั ศิ าสตร์สากลกบั ประวตั ิศาสตรไ์ ทย 10. การวดั ผลและประเมนิ ผล 10.1 วิธีการวัดและประเมินผล 10.1.1 สังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ ร่วมกจิ กรรม 10.1.2 สังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม 10.2 เครื่องมอื 10.2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม 10.2.2 แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่

10.3 เกณฑ์การประเมิน 10.3.1 การประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรม ผ่านตงั้ แต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผา่ น 1 รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน 10.3.2 การประเมินพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่ม คะแนน 9-10 ระดับ ดมี าก คะแนน 7-8 ระดบั ดี คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้ คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรบั ปรุง

บันทึกหลังการสอน ผลการจัดการเรียนการสอน ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ปจญหา/อุปสรรค ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ แนวทางแกไ้ ข ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ลงช่ือ_________________________ (ผบู้ นั ทกึ ) (นางสาวอาภาภรณ์ สอนประเสริฐ) _____/_____/_____

แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 เรือ่ ง เวลาและยคุ สมยั ทางประวัติศาสตร์ แผนจัดการเรียนรู้ที่ 3 เร่ือง ยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์: หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ท่ีเกยี่ วกับยคุ สมัยทางประวตั ศิ าสตร์ (1) รายวิชา ประวตั ศิ าสตร์ รหัสวชิ า ส 32102 ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 5 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 นา้ หนกั เวลาเรียน 0.5 (นน./นก.) เวลาเรียน 1 ชวั่ โมง/สัปดาห์ เวลาที่ใช้ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1 ชั่วโมง ....................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วัดชนั้ ป/ี ผลการเรียนรู/้ เปา้ หมายการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมยั ทางประวัตศิ าสตร์ สามารถใช้วธิ กี ารทาง ประวตั ิศาสตรม์ าวิเคราะหเ์ หตุการณต์ ่าง ๆ อย่างเปน็ ระบบ ตวั ชีว้ ดั /ผลการเรียนรู้ ส 4.1 ม.4-6/1 ตระหนกั ถึงความสาคญั ของเวลาและยุคสมัยทางประวัตศิ าสตร์ทแี่ สดงถงึ การ เปล่ยี นแปลงของมนุษยชาติ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธบิ ายหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรท์ เ่ี ก่ยี วกับยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร์ 2.2 จาแนกหลกั ฐานทางโบราณคดีท้งั ประวัติศาสตร์สากล และประวตั ิศาสตรไ์ ทยท้งั สมัยกอ่ น ประวัติศาสตร์ และสมัยประวัติศาสตร์ 2.3 เห็นความสาคญั ในการศึกษาเรียนรูท้ าความเขา้ ใจหลักฐานทางประวัติศาสตรใ์ นยคุ ก่อนและยคุ สมัย ประวัตศิ าสตร์ เพอ่ื ประโยชน์ทางด้านการศึกษาทั้งในปัจจุบันและอนาคต 3. สาระสาคญั มนษุ ยชาตมิ ีพฒั นาการมายาวนาน นกั ประวตั ศิ าสตร์ จึงใชห้ ลักฐานทางประวัติศาสตร์ ประเภทลายลกั ษณ์ และหลักฐานทางโบราณคดมี าเป็นเคร่ืองมือกาหนดในการแบ่งยุคประวตั ศิ าสตร์ 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 หลกั ฐานทางโบราณคดเี กี่ยวกบั ยคุ สมยั ในประวตั ิศาสตร์สากล 4.2 หลกั ฐานทางโบราณคดีเกีย่ วกับยุคสมัยในประวัตศิ าสตร์ไทย 5. คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ ตัวช้วี ัดที่ 4.2 แสวงหาความร้จู ากแหล่งเรยี นรู้ตา่ ง ๆ ทัง้ ภายในและภายนอกโรงเรียนด้วยการเลือกใช้ สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้สามารถนาไปใช้ใน ชวี ิตประจาวันได้

6. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น 6.1 ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต 7. ชนิ้ งานหรือภาระงาน 7.3 แผนภาพ หลกั ฐานทางโบราณคดปี ระวตั ิศาสตรส์ ากล - ไทย 8. การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั สนทนาเกยี่ วกับหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตรส์ ากลและไทย แล้วใหน้ กั เรียน ร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ โดยครูใช้คาถาม ดงั นี้  นกั ประวัติศาสตรส์ ามารถทราบความเปน็ มาจากอดีตได้อยา่ งไร (ตวั อยา่ งคาตอบ ศึกษาจาก หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร)์  หลักฐานทางประวตั ศิ าสตรม์ ีความสาคัญอย่างไร (ตัวอยา่ งคาตอบ เป็นรอ่ งรอยท่ีแสดง เร่อื งราวและพัฒนาการของบรรพบรุ ษุ เป็นประโยชนใ์ นการศึกษาประวัติศาสตร)์  การจาแนกหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ออกเปน็ ประเภทมีประโยชน์อย่างไร (ตัวอยา่ งคาตอบ ทาให้ สะดวกและง่ายต่อการศกึ ษาประวัตศิ าสตรใ์ นสมัยตา่ ง ๆ) ครูให้นักเรียนตอบคาถามตามพน้ื ฐานความรู้ประสบการณ์ของตนเองและใหค้ รูอธบิ ายเพ่ิมเติม 2. ครใู หน้ ักเรยี นร่วมกันศึกษาเกีย่ วกับหลักฐานทางโบราณคดี โดยการสืบค้นข้อมลู จากหนังสือ ประวตั ิศาสตร์ทัง้ สากลและไทย สรปุ ข้อมลู เพ่ือนาเสนอตามหัวข้อที่ครูกาหนดให้ ดงั นี้ 1 หลกั ฐานทางโบราณคดเี ก่ียวกบั ยคุ สมัยในประวัตศิ าสตรส์ ากล  สมยั ก่อนประวัติศาสตร์  สมยั ประวัตศิ าสตร์ 2 หลักฐานทางโบราณคดเี ก่ียวกับยุคสมยั ในประวตั ิศาสตร์ไทย  สมยั ก่อนประวัติศาสตร์  สมัยประวตั ิศาสตร์ 3. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั สรุปความรหู้ ลักฐานทางโบราณคดเี กย่ี วกบั ยุคสมัยในประวตั ิศาสตรส์ ากล และประวตั ิศาสตร์ไทยเป็นแผนภาพความคิด

ประวตั ิศาสตรส์ ากล สมยั กอ่ นประวตั ิศาสตร์ หลกั ฐานทางโบราณคดี ซากเมอื งโบราณในเขตทะเลทราย พบในจีนและเมืองโบราณบรเิ วณลมุ่ นา้ ภสานิ พธุเขียนพบในถา้ แถบแอฟรกิ าและ ฝร่งั เศส โครงกระดกู เครอ่ื งปั้นดนิ เผาพบอยทู่ ่วั ไป ทงั้ แอฟรกิ า จีน อนิ เดีย ตะวนั ออกกลาง และเอเชียไมเนอร์ สมยั ประวตั ศิ าสตร์ แหลง่ อารยธรรมโบราณตา่ ง ๆ ของโลก โบราณคดอี ารยธรรมในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ลาตินอเมรกิ าและยโุ รป สมยั ก่อนประวตั ศิ าสตร์ ประวตั ิศาสตรไ์ ทย โครงกระดกู ซากเรอื โบราณ เครอื่ งปั้นดนิ เผา ภาพเขียนผนงั ถา้ แถบจงั หวดั กระบ่ี กาญจนบรุ ี เชียงใหม่ อบุ ลราชธานี อดุ รธานี นครราชสมี า สมยั ประวตั ศิ าสตร์ อทุ ยานประวตั ิศาสตรส์ โุ ขทยั อทุ ยานประวตั ิศาสตรพ์ ระนครศรอี ยธุ ยา พระราชวงั และวดั ท่ีกอ่ สรา้ งสมยั ธนบรุ แี ละ 4. ใหน้ ักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ ดงั นี้ รตั นโกสนิ ทร์  มนุษยชาติมีพฒั นาการมายาวนาน นักประวตั ศิ าสตรจ์ งึ ใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ประเภท ลายลกั ษณแ์ ละหลกั ฐานทางโบราณคดมี าเปน็ เครื่องมือกาหนดในการแบ่งยุคประวตั ศิ าสตร์ 5. ให้นักเรียนรว่ มกันแสดงความคดิ เห็น โดยครใู ช้คาถามท้าทาย ดงั น้ี  หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์นอกจากจะแสดงความเป็นมาของมนษุ ย์ยงั มีคุณคา่ ทางดา้ นใดอกี บา้ ง

9. สื่อการเรียนการสอน / แหลง่ เรียนรู้ 9.1 หนงั สอื ประวัติศาสตร์ไทยและสากล 9.2 แผนภาพหลักฐานทางโบราณคดี 10. การวัดผลและประเมนิ ผล 10.1 วิธีการวัดและประเมินผล 10.1.1 สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในการเขา้ ร่วมกจิ กรรม 10.2 เครื่องมอื 10.2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรม 10.3 เกณฑ์การประเมนิ 10.3.1 การประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรม ผ่านตง้ั แต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1 รายการ ถอื วา่ ไมผ่ ่าน

บันทึกหลังการสอน ผลการจัดการเรยี นการสอน ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ปจญหา/อปุ สรรค ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ แนวทางแกไ้ ข ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ลงชื่อ_________________________ (ผบู้ ันทกึ ) (นางสาวอาภาภรณ์ สอนประเสรฐิ ) _____/_____/_____

แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรอื่ ง เวลาและยคุ สมยั ทางประวัตศิ าสตร์ แผนจัดการเรยี นรู้ท่ี 4 เร่ือง ยคุ สมัยทางประวตั ศิ าสตร์: หลักฐานทางประวตั ิศาสตรท์ ี่เกย่ี วกบั ยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตร์ (2) รายวิชา ประวัตศิ าสตร์ รหัสวิชา ส 32102 ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 น้าหนกั เวลาเรียน 0.5 (นน./นก.) เวลาเรยี น 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์ เวลาทใ่ี ชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 1 ชว่ั โมง ....................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วัดชน้ั ปี/ผลการเรยี นร้/ู เปา้ หมายการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมยั ทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธกี ารทาง ประวตั ศิ าสตรม์ าวเิ คราะห์เหตุการณต์ า่ ง ๆ อยา่ งเป็นระบบ ตวั ชี้วดั /ผลการเรียนรู้ ส 4.1 ม.4-6/1 ตระหนกั ถึงความสาคญั ของเวลาและยุคสมัยทางประวตั ศิ าสตรท์ แ่ี สดงถงึ การ เปลี่ยนแปลงของมนุษยชาติ 2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 2.1 อธบิ ายหลกั ฐานประเภทลายลกั ษณท์ ีเ่ ก่ยี วกับยุคสมัยทางประวัตศิ าสตร์ 2.2 จาแนกหลักฐานประเภทลายลักษณ์ทั้งประวตั ศิ าสตรส์ ากลและไทย 2.3 เหน็ ความสาคัญในการศึกษาเรยี นรูท้ าความเขา้ ใจหลักฐานตา่ ง ๆ ทางประวัติศาสตรส์ ากลและไทยเพ่อื ประโยชน์ทางด้านการศกึ ษาท้ังในปจั จบุ นั และอนาคต 3. สาระสาคัญ หลักฐานประเภทลายลักษณ์เกิดจากการประดิษฐ์ตัวอักษรเพ่ือใช้ในการบันทึกสิ่งต่าง ๆ การใช้ประโยชน์ จากหลักฐานประเภทลายลักษณ์ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญทางภาษาในการอ่านหลักฐานและการวิเคราะห์ ความหมายของนักประวัติศาสตร์ ในการศึกษาประวัติศาสตร์จะต้องใช้หลักฐานทางโบราณคดี และหลักฐาน ประเภทลายลกั ษณ์มาประกอบกนั เพอ่ื ให้เหตุการณท์ างประวตั ศิ าสตรม์ คี วามชดั เจนมากขึน้ 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 หลักฐานประเภทลายลักษณใ์ นประวัติศาสตรส์ ากล 4.2 หลกั ฐานประเภทลายลกั ษณใ์ นประวตั ิศาสตร์ไทย 5. คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ ใฝเ่ รียนรู้ ตวั ชีว้ ัดที่ 4.2 แสวงหาความรู้จากแหลง่ เรยี นรูต้ า่ ง ๆ ท้ังภายในและภายนอกโรงเรียนดว้ ยการเลอื กใช้ สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้สามารถนาไปใช้ใน ชวี ิตประจาวนั ได้

6. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น 6.2 ความสามารถในการสอ่ื สาร 6.3 ความสามารถในการคิด 6.4 ความสามารถในการแก้ปัญหา 6.5 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ 6.6 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 7. ช้ินงานหรือภาระงาน 7.1 ตาราง สรุปหลักฐานประเภทลายลกั ษณป์ ระวตั ิศาสตร์สากล 7.2 แผนภาพ หลักฐานประเภทลายลกั ษณป์ ระวตั ิศาสตรไ์ ทย 7.3 ชิน้ งานท่ี 1 เรือ่ ง เวลาและยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร์ 8. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ใหน้ ักเรียนวเิ คราะหล์ ักษณะของหลักฐานทีเ่ ป็นลายลกั ษณ์อักษร โดยครูใชค้ าถาม ดังน้ี  หลกั ฐานทเี่ ปน็ ลายลักษณ์อกั ษรกบั หลกั ฐานที่ไมเ่ ป็นลายลกั ษณอ์ กั ษรมีลกั ษณะแตกต่างกันอย่างไร (ตัวอย่าง คาตอบ หลกั ฐานทเี่ ป็นลายลกั ษณอ์ ักษร เปน็ หลักฐานที่มีการบันทกึ เปน็ ลายลักษณ์อกั ษรเพือ่ บอกเล่าเร่ืองราวต่าง ๆ ส่วน หลกั ฐานทีไ่ ม่เป็นลายลักษณ์อักษรเป็นหลักฐาน ซึ่งผู้ศึกษาประวัติศาสตร์อาจนามาวิเคราะห์ด้วยตนเองหรือต้องอาศัย การตีความจากนกั วิชาการสาขาอ่ืน ๆ)  หลักฐานที่มนุษย์ตั้งใจสร้างข้ึนกับหลักฐานท่ีมิได้เป็นผลผลิตท่ีมนุษย์สร้างข้ึนมีลักษณะแตกต่างกันอย่างไร (ตัวอย่างคาตอบ หลักฐานที่มนุษย์ต้ังใจสร้างข้ึน คือ หลักฐานที่มนุษย์สร้างข้ึนเพื่อใช้ในการดารงชีวิตหรือตามความเชื่อ ของตนเอง ส่วนหลักฐานทมี่ ไิ ดเ้ ปน็ ผลผลิตท่ีมนุษย์สร้างขึ้น คือ หลักฐานท่ีเกิดจากร่องรอยการอาศัยอยู่ของมนุษย์ ซึ่งไม่ได้ เกิดจากความตั้งใจสร้างขนึ้ มา เชน่ โครงกระดกู คูคลอง สถานทีท่ ีม่ นุษยเ์ คยอาศยั อยู่) 2. ครูให้นกั เรยี นร่วมกันศกึ ษาเกี่ยวกับหลักฐานประเภทลายลักษณ์ทางประวัติศาสตร์ โดยการสืบค้นข้อมูลจาก หนังสอื สารานุกรมประวัติศาสตร์ไทยและประวตั ิศาสตร์สากล เพ่ือนาเสนอผลการศกึ ษาตามหวั ขอ้ ทค่ี รกู าหนดให้ ดังน้ี 1 หลักฐานประเภทลายลกั ษณ์ในประวัติศาสตร์สากล 2 หลักฐานประเภทลายลักษณใ์ นประวตั ิศาสตร์ไทย โดยใหค้ รูสมุ่ ตัวอยา่ งผลการศกึ ษาของนักเรยี นจานวน 2 คน ออกมานาเสนอผลการศกึ ษาของตนเองให้เพอื่ นฟงั หนา้ ชน้ั เรียน 3. ครทู บทวนความร้ขู องนักเรียน โดยตั้งคาถามใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั แสดงความคดิ เห็นและสรปุ คาตอบ ดงั น้ี  หลกั ฐานประเภทลายลกั ษณใ์ นประวตั ิศาสตร์สากลมกี ารจัดแบง่ ตามยคุ สมัยอยา่ งไร และแตล่ ะยคุ มีหลกั ฐาน อะไรบา้ ง ครูสรปุ คาตอบของนักเรยี นเขียนเป็นตาราง อธบิ ายบนกระดานดังตวั อย่าง

ยคุ สมยั หลกั ฐานประเภทลายลกั ษณใ์ นยคุ สมยั ประวัตศิ าสตรส์ ากล สมัยโบราณ  มหากาพย์ Iliad ของโฮเมอร์ มชี ีวิตอยใู่ นชว่ งครสิ ต์ศตวรรษที่ 10-8 เป็นเอกสาร สมยั กลาง ประเภทตานานเลา่ เรือ่ งสงครามเมอื งทรอย สมยั ใหม่  หนงั สอื ประวตั ิศาสตร์ Historia ของ เฮโรโดตสั นกั ประวัตศิ าสตร์ สมัยปจจ จุบัน ชาวกรีก มีชวี ิตอยู่ในชว่ ง 484 ปกี ่อนครสิ ตศ์ ักราช เป็นข้อมูลเกยี่ วกบั อียปิ ตแ์ ละ ดินแดนตะวันออกกลางสมยั โบราณ  Shi ji ของซือ หมา่ เชียน นักประวัติศาสตรช์ าวจนี ซ่ึงมีชวี ิตอยู่ในช่วง 145-85 ปี ก่อนครสิ ตศ์ กั ราช เป็นหลกั ฐานพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของจนี สมัยโบราณ  มหากาพย์ มหาภารตะ และรามายณะ 1,500 ปกี อ่ นครสิ ตศ์ ักราช เปน็ วรรณกรรมท่ี ให้ความรู้เกีย่ วกบั ความเชื่อและสถาบันต่าง ๆ ของอนิ เดียโบราณ  พระไตรปฎิ ก 500 ปกี อ่ นคริสตศ์ กั ราช เป็นคัมภรี ์ทางศาสนาใหข้ อ้ มลู สภาพสงั คม การปกครอง เศรษฐกิจ และวถิ ชี วี ิตก่อนผคู้ นในยคุ น้นั  พงศาวดารชอื่ Greater Chronicle ของแมททิว ปารสี นกั บวชชาวอังกฤษ บนั ทึก เร่อื งราวอาณาจักรของสนั ตะปาปา กรุงคอนสแตนตโิ นเปลิ และรัสเซยี บนั ทกึ ในชว่ ง คริสตศ์ ตวรรษที่ 13  บันทกึ ราชวงศ์จนี เปน็ การรวบรวมหลกั ฐานเกี่ยวกับเหตุการณป์ ระจารชั กาลใน ราชวงศ์ตา่ ง ๆ  หนังสือ The Age of Louis XIV เรอื่ งราวพระเจ้าหลยุ ส์ท่ี 14 (ค.ศ. 1643-1715) ของ วอลแตร์ ชาวฝรัง่ เศส  หนงั สือ History of England ของเดวดิ ฮูม ชาวองั กฤษ พมิ พ์เผยแพรใ่ นช่วง ค.ศ. 1754-1762 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 หลักฐานทางประวัตศิ าสตรม์ ีจานวนมากมาย เชน่ เอกสารทาง ราชการของประเทศตา่ ง ๆ งานวจิ ยั บทความ และส่อื ส่งิ พมิ พ์ เมอ่ื จบการอธบิ ายเป็นแผนภาพตารางครถู ามคาถามต่อดงั น้ี  หลกั ฐานประเภทลายลักษณใ์ นประวตั ศิ าสตรไ์ ทยทรี่ ู้จักกนั และเปน็ หลักฐานสาคญั มอี ะไรบ้าง

ครูเขียนและสรุปคาตอบของนักเรยี นเปน็ แผนภาพ ดังตัวอย่าง จารกึ พงศาวดาร แผน่ ศิลา หลกั ฐานประเภท พระราชพงศาวดารกรงุ เกา่ ใบลาน ลายลกั ษณ์ในยุค ฉบบั หลวงประเสรฐิ อักษรนติ ์ิ ใบเสมา ประวัติศาสตร์ไทย พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี กระเบือ้ งดินเผา ฉบับจันทนุมาศ (เจิม) ตำนำน พระราชพงศาวดารกรุงรตั นโกสนิ ทร์ พระราช- หัตถเลขา บนั ทกึ ของชาว ตา่ งประเทศ ประชมุ พระราชหัตถเลขาในรชั กาลที่ 5 พระราชนพิ นธ์ไกลบา้ น หนังสอื ประวตั ศิ าสตร์ The Kingdom and people of Siam ของ เซอรจ์ อห์น เบาวร์ ิง จามเทววี งศ์ จดหมายเหตเุ ลา่ เรอ่ื งเมืองสยามของสงั ฆราชปาเลอกวั ซ์ ตานานพระแก้วมรกต ตานานเมอื งเชียงใหม่ 4. ใหน้ ักเรยี นทาชิ้นงานที่ 1 เร่อื ง เวลาและยคุ สมัยทางประวตั ศิ าสตร์ 5. ให้นักเรยี นร่วมกนั สรปุ ความรู้ ดงั น้ี  หลักฐานประเภทลายลักษณ์เกดิ ข้นึ จากความสามารถในการประดษิ ฐ์และพัฒนาตวั อักษรเพื่อใชใ้ นการจด บันทกึ สิ่งต่าง ๆ ของมนุษย์ เป็นหลักฐานท่ีกลา่ วถึงตานาน บทประพันธห์ รือเปน็ การเขยี นประวตั ิศาสตรโ์ ดยตรง การใชป้ ระโยชน์ จากหลักฐานประเภทลายลกั ษณต์ อ้ งอาศยั ผู้เชย่ี วชาญทางภาษาโบราณในการอา่ นหลักฐานและการวเิ คราะหค์ วามหมายโดยนกั ประวัติศาสตร์ ดงั นน้ั ในการศกึ ษาประวัติศาสตร์ จะต้องอาศยั หลกั ฐานท้งั หลกั ฐานทางโบราณคดีและหลกั ฐานประเภทลาย ลกั ษณป์ ระกอบกนั เพ่อื ใหเ้ หตกุ ารณ์ทางประวตั ิศาสตร์มคี วามชัดเจนมากขน้ึ 6. ใหน้ กั เรียนรว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ โดยครูใช้คาถามทา้ ทาย ดงั น้ี  หลักฐานประเภทลายลกั ษณ์มจี ดุ เดน่ แตกตา่ งจากหลกั ฐานทางโบราณคดอี ย่างไร 7. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน (Post - Test) เพื่อประเมินผลการเรยี น หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 9. สอื่ การเรยี นการสอน / แหลง่ เรยี นรู้ 9.1 หนังสือสารานุกรมประวตั ิศาสตร์ไทยและประวัติศาสตร์สากล 9.2 ตารางแสดงหลกั ฐานประเภทลายลกั ษณ์ในประวัติศาสตร์สากล 9.3 แผนภาพหลักฐานประเภทลายลกั ษณ์ในประวตั ิศาสตร์ไทย 9.4 ชน้ิ งานที่ 1 เรื่อง เวลาและยคุ สมยั ทางประวัติศาสตร์

10. การวดั ผลและประเมินผล 10.1 วธิ ีการวัดและประเมนิ ผล 10.1.1 สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในการเข้าร่วมกิจกรรม 10.2 เครือ่ งมอื 10.2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรม 10.3 เกณฑก์ ารประเมนิ 10.3.1 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรม ผา่ นตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1 รายการ ถอื วา่ ไมผ่ า่ น

ชิน้ งานท่ี 1 เรื่อง เวลาและยคุ สมัยทางประวัติศาสตร์ ใหน้ ักเรยี นสร้างแผนภาพเสน้ เวลาแสดงลาดับเหตกุ ารณท์ างประวตั ิศาสตรข์ องประเทศท่ีนักเรียน สนใจมา 1 ประเทศ และตอบคาถามท่ีกาหนดให้ ดังน้ี  ในการศึกษาเหตุการณ์ทางประวัตศิ าสตรข์ องประเทศดงั กล่าว นกั เรยี นใช้หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ ประเภทใดบ้าง  หลักฐานทางประวัติศาสตรม์ ีความสาคญั ต่อการศกึ ษาประวตั ิศาสตรอ์ ยา่ งไร  เวลามคี วามสาคัญต่อการศกึ ษาประวตั ศิ าสตร์อย่างไร

บนั ทกึ หลังการสอน ผลการจดั การเรยี นการสอน ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ปจญหา/อุปสรรค ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ แนวทางแกไ้ ข ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ลงชื่อ_________________________ (ผูบ้ นั ทกึ ) (นางสาวอาภาภรณ์ สอนประเสริฐ) _____/_____/_____

แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 2 เรือ่ ง การสรา้ งองคค์ วามร้ดู ้วยวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์ แผนจัดการเรียนรู้ที่ 5 เร่ือง องคค์ วามรู้ทางประวัตศิ าสตร์ รายวิชา ประวัตศิ าสตร์ รหัสวิชา ส 32102 ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 นา้ หนักเวลาเรียน 0.5 (นน./นก.) เวลาเรียน 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์ เวลาทีใ่ ช้ในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 1 ชั่วโมง ....................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวช้ีวัดชั้นป/ี ผลการเรยี นรู้/เป้าหมายการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วธิ ีการทาง ประวัตศิ าสตรม์ าวเิ คราะห์เหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ อย่างเป็นระบบ ตัวชีว้ ดั /ผลการเรียนรู้ ส 4.1 ม.4-6/2 สรา้ งองค์ความรใู้ หม่ทางประวตั ศิ าสตร์ โดยใชว้ ธิ ีการทางประวัติศาสตร์อยา่ งเป็นระบบ 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 2.1 อธิบายองคค์ วามรทู้ างประวตั ศิ าสตร์ 2.2 จาแนกความสาคัญผู้สรา้ งองค์ความรูแ้ ละประโยชน์ขององค์ความร้ทู างประวตั ิศาสตร์ 2.3 เหน็ คุณคา่ และความสาคัญที่เกดิ จากการเรยี นร้แู ละทาความเขา้ ใจประวัตศิ าสตร์ 3. สาระสาคัญ องค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์เกิดจากการสืบค้นวิเคราะห์ข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ แล้วสรุป เป็นความร้ทู ่ที าใหเ้ ข้าใจและสามารถเชือ่ มโยงความสาคญั ของเร่ืองราวในอดีตกับปัจจุบัน การสร้างองค์ความรู้ ทางประวัติศาสตร์ จึงเป็นประโยชน์ต่อการเพ่ิมเติมความรู้ในการศึกษา และช่วยสร้างความรู้สึกตระหนักและ เห็นคุณค่าของอดีตแกค่ นสงั คมยุคปัจจบุ นั 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 ความสาคัญขององคค์ วามรูท้ างประวัตศิ าสตร์ 4.2 ประโยชนข์ องการสรา้ งองคค์ วามรู้ทางประวตั ิศาสตร์ 5. คณุ ลักษณะท่พี ึงประสงค์ ม่งุ ม่ันในการทางาน ตวั ชีว้ ดั ที่ 6.1 ตง้ั ใจและรับผดิ ชอบในการปฏิบัตหิ นา้ ท่กี ารงาน รกั ความเปน็ ไทย ตวั ชี้วัดท่ี 7.1 ภาคภมู ใิ จในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วฒั นธรรมไทย และมคี วามกตัญญูกตเวที

6. สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น 6.1 ความสามารถในการสื่อสาร 6.2 ความสามารถในการคดิ 6.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา 7 ชิ้นงานหรอื ภาระงาน 7.1 แผนภาพ คณุ สมบัติของนกั ประวตั ศิ าสตร์ 7.2 แผนภาพ ประโยชน์ของการสรา้ งองค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์ 8. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั สนทนาเกี่ยวกบั องค์ความรู้ทางประวตั ศิ าสตร์ แล้วให้นกั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้ าถาม ดงั นี้  องคค์ วามรทู้ างประวตั ิศาสตร์ หมายถงึ อะไร (ตัวอยา่ งคาตอบ สง่ิ ทไ่ี ดจ้ ากการสืบค้นและวเิ คราะห์เรื่องราว ทางประวตั ศิ าสตร์)  นักเรยี นคิดวา่ องคค์ วามรู้ทางประวัตศิ าสตร์มปี ระโยชนอ์ ย่างไร (ตัวอย่างคาตอบ ทาให้เกดิ ความรู้เก่ยี วกับเร่อื งราวในอดตี ทาใหเ้ กิดความภาคภูมใิ จในบรรพบรุ ุษ) เมอ่ื จบการแสดงความคดิ เห็นของนกั เรยี นให้ครอู ธบิ ายสรปุ เพ่มิ เตมิ ดังน้ี องคค์ วามรูท้ างประวัตศิ าสตร์เกดิ จากการสืบคน้ ขอ้ มลู ทีป่ รากฏในหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตรโ์ ดยนกั ประวัตศิ าสตร์ หรอื ผสู้ ร้างองคค์ วามรซู้ ่งึ ไดป้ ระมวลเรอ่ื งราวท่ีเกดิ ขึ้นในอดตี เป็นองคค์ วามรเู้ พื่อช่วยให้มนุษยชาตทิ ราบถึงพฒั นาการทาง ประวัตศิ าสตรแ์ ละเหตุการณ์ที่เกิดขนึ้ อนึง่ ความถูกต้องนา่ เชอ่ื ถือขององคค์ วามรู้กม็ คี วามสมั พันธ์กับการไดม้ าซ่งึ องคค์ วามรู้ หรอื วธิ ีการสรา้ งความร้ดู ้วย 2. ครูให้นกั เรยี นรว่ มกันศกึ ษาองคค์ วามร้ทู างประวตั ศิ าสตร์ โดยครูกาหนดหัวข้อใหน้ กั เรยี นแบง่ กลมุ่ สรุปความรเู้ พ่อื อภิปรายนาเสนอความรหู้ นา้ ชั้นเรยี นดังนี้ 1 ความสาคญั ขององค์ความรทู้ างประวตั ศิ าสตร์ 2 ผูส้ รา้ งองคค์ วามรู้ทางประวตั ศิ าสตร/์ คณุ สมบตั ขิ องนักประวตั ศิ าสตร์ 3 ประโยชน์ของการสรา้ งองคค์ วามร้ทู างประวตั ิศาสตร์ 3. จบการนาเสนอหรอื อภิปรายของทกุ กลมุ่ ใหค้ รูตง้ั คาถามเพอื่ ทบทวนความร้เู ก่ียวกับ องคค์ วามรู้ทางประวัตศิ าสตรใ์ หน้ กั เรียนแสดงความคดิ เห็นและตอบคาถาม ดงั นี้  องคค์ วามรูท้ างประวตั ศิ าสตรม์ ีความสาคญั อยา่ งไร (ตวั อย่างคาตอบ ทาให้เข้าใจเกย่ี วกบั เรื่องราววิถกี าร ดาเนินชีวติ ของคนในอดีต และสามารถเชื่อมโยงเหตกุ ารณจ์ ากอดตี -ปจจจุบนั ได้ เพ่ือพัฒนาตอ่ ยอดใหป้ จจ จุบนั เกิดความ สมบรู ณ์ยงิ่ ขน้ึ )

 ผสู้ ร้างองค์ความรทู้ างประวัตศิ าสตรห์ มายถึงบุคคลใด (ตวั อยา่ งคาตอบ ใครกไ็ ด้ ไมจ่ าเป็นตอ้ งเปน็ นักประวัตศิ าสตร์เสมอไป หากมคี ณุ สมบัตขิ องนักประวัตศิ าสตรก์ ส็ ามารถเป็นผู้สร้างองค์ความรู้ทาง ประวัตศิ าสตร์ได้) 4. ครใู หน้ กั เรียนแบ่งกลมุ่ จากนนั้ ครูแจกบัตรคาเกี่ยวกบั คุณสมบตั ขิ องนกั ประวัติศาสตร์กลุ่มละ 1 บตั รคา จากนน้ั ใหแ้ ต่ละกลุ่มศึกษาคณุ สมบัติของนักประวตั ิศาสตร์แล้วส่งตัวแทนออกมานาเสนอข้อมลู หน้าชนั้ เรยี น แล้วสรปุ เปน็ แผนภาพ ความคดิ ดังตัวอยา่ ง ครูให้นักเรยี นร่วมกนั จาแนกคณุ สมบตั ิของนกั ประวตั ิศาสตรล์ งในแผนภาพ ดังตวั อยา่ ง(โดยใหอ้ สิ ระนกั เรยี นแสดง ความคิดเห็น และครูอธิบายเพมิ่ เติม) มีความถูกต้อง มคี วามคดิ ท่ี มลี าดบั การทางาน เป็นเหตเุ ปน็ ผล คุณสมบตั ิของ นักประวตั ิศาสตร์ มคี วามซื่อสตั ย์ มคี วามระมัดระวงั ในการแสวงหา ในการใช้หลักฐาน

5. ให้นกั เรียนช่วยกันบอกประโยชนข์ องการสร้างองคค์ วามรูท้ างประวัติศาสตร์มาคนละ 1 ขอ้ หรอื 1 ความคดิ และครสู รปุ เปน็ แผนภาพ ดังตวั อย่าง การขยายพรมแดนแหง่ ความรู้ การตระหนักถึงคุณคา่ ของอดตี ● การคน้ พบภูมปิ ัญญาของคนในอดตี ● เห็นคณุ ค่าความสาคญั ทางประวตั ศิ าสตร์ ● วถิ ีชีวติ ด้ังเดิม ฯลฯ ● อนุรักษเ์ อาไว้ใหเ้ ป็นสมบตั ิของมนุษยชาติ ประโยชน์ของ การสร้างความภมู ิใจในอดตี การสร้างองค์ความรู้ ● เห็นคุณคา่ มรดกทางวัฒนธรรมของ ทางประวตั ศิ าสตร์ บรรพบรุ ุษ การสรา้ งคุณลกั ษณะของปญั ญาชน ● เกดิ ความภาคภูมใิ จในชาตแิ ละทอ้ งถ่ินตนเอง ● ทาใหเ้ กิดการสรา้ งสรรค์ทางปญั ญา ● ต่อยอดความรู้ แขนงวิชาอ่นื 6. ให้นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ ดังน้ี  องค์ความรทู้ างประวัติศาสตร์เกดิ จากการสืบคน้ วเิ คราะหข์ อ้ มูลจากหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ โดยนกั ประวตั ศิ าสตร์หรอื ผู้สนใจ แลว้ สรปุ เป็นความร้ทู ี่ทาให้เขา้ ใจและสามารถเชอื่ มโยงความสาคัญของเรื่องราวในอดีตกบั ปจั จุบัน ได้ การสร้างองค์ความรู้ทางประวตั ศิ าสตร์ จึงเป็นประโยชนต์ ่อการเพม่ิ พูนความรู้ในการศึกษา ทาใหต้ ระหนกั คณุ คา่ ของอดีต สร้างความภาคภมู ิใจในอดตี แลว้ ชว่ ย เสรมิ สร้างคุณลักษณะ ทกั ษะความสามารถของปญั ญาชน 7. ใหน้ ักเรยี นร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น โดยครใู ช้คาถามท้าทาย ดงั นี้  ประวัติศาสตรใ์ ห้ข้อคดิ การดาเนินชวี ิตอะไรบา้ งแก่นักเรยี น 9. สื่อการเรียนการสอน / แหลง่ เรยี นรู้ 9.1 บตั รคาเก่ยี วกบั คณุ สมบัติของนักประวัตศิ าสตร์ 9.2 แผนภาพประโยชน์ของการสร้างองค์ความรทู้ างประวัติศาสตร์

10. การวดั ผลและประเมินผล 10.1 วธิ ีการวดั และประเมนิ ผล 10.1.1 สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในการเขา้ ร่วมกิจกรรม 10.1.2 สังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ 10.2 เครอื่ งมือ 10.2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรม 10.2.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลุ่ม 10.3 เกณฑก์ ารประเมิน 10.3.1 การประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรม ผา่ นตง้ั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน ผา่ น 1 รายการ ถอื ว่า ไมผ่ า่ น 10.3.2 การประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่ คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก คะแนน 7-8 ระดบั ดี คะแนน 5-6 ระดับ พอใช้ คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรบั ปรงุ

บนั ทึกหลังการสอน ผลการจดั การเรยี นการสอน ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ปจญหา/อุปสรรค ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ แนวทางแกไ้ ข ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ลงชอ่ื _________________________ (ผบู้ ันทกึ ) (นางสาวอาภาภรณ์ สอนประเสริฐ) _____/_____/_____

แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 เร่อื ง การสรา้ งองค์ความรูด้ ้วยวิธีการทางประวัตศิ าสตร์ แผนจดั การเรียนรทู้ ่ี 6 เรอ่ื ง การใช้วธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์สร้างองคค์ วามรูท้ างประวตั ิศาสตร์ (1) รายวชิ า ประวัตศิ าสตร์ รหัสวิชา ส 32102 ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563 น้าหนักเวลาเรียน 0.5 (นน./นก.) เวลาเรยี น 1 ชัว่ โมง/สัปดาห์ เวลาทใ่ี ชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 1 ชัว่ โมง ....................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวช้วี ัดชน้ั ปี/ผลการเรยี นรู/้ เป้าหมายการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสาคญั ของเวลาและยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทาง ประวตั ิศาสตรม์ าวเิ คราะห์เหตุการณต์ ่าง ๆ อยา่ งเป็นระบบ ตวั ช้วี ดั /ผลการเรียนรู้ ส 4.1 ม.4-6/2 สรา้ งองค์ความรู้ใหมท่ างประวตั ศิ าสตร์ โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์อย่างเปน็ ระบบ 2. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 2.1 อธบิ ายการใชว้ ิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์สรา้ งองค์ความรทู้ างประวัติศาสตร์ 2.2 จาแนกองค์ประกอบของวธิ ีการทางประวัติศาสตร์ 2.3 เห็นประโยชน์และความสาคญั ของการสร้างองคค์ วามรู้ทางประวัติศาสตร์ดว้ ยวธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์ 3. สาระสาคญั วิธีการทางประวัติศาสตร์เป็นขั้นตอนในการศึกษาประวัติศาสตร์ เพื่อแสวงหาความรู้และหาคาตอบให้กับ เรอ่ื งราวในอดตี ประกอบดว้ ยขั้นตอนในการกาหนดประเด็นที่ต้องการศึกษาและการต้ังสมมุติฐานของคาตอบ จากน้ันเก็บรวบรวมและคัดเลือกหลักฐาน เพ่ือนามาวิเคราะห์แล้วเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของหลักฐาน เพ่ือ เรยี บเรียงเปน็ องค์ความรู้ทางประวตั ิศาสตร์ 4. สาระการเรียนรู้ 4.3 องค์ประกอบของวิธีการทางประวัตศิ าสตร์ 5. คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ มุง่ มน่ั ในการทางาน ตวั ชีว้ ดั ท่ี 6.1 ตั้งใจและรบั ผดิ ชอบในการปฏิบัติหน้าท่กี ารงาน รักความเป็นไทย ตัวชีว้ ัดที่ 7.1 ภาคภมู ใิ จในขนบธรรมเนยี มประเพณี ศิลปะ วฒั นธรรมไทย และมีความกตญั ญูกตเวที 6. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น 6.1 ความสามารถในการคดิ 6.2 ความสามารถในการแก้ปัญหา

7. ชน้ิ งานหรือภาระงาน 7.1 แผนภาพ ข้ันตอนของวิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์ 8. การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั สนทนาเกีย่ วกบั วธิ ีการทางประวัติศาสตร์ แลว้ ให้นักเรยี นรว่ มกนั แสดงความ คดิ เหน็ โดยครูใชค้ าถาม ดงั น้ี  นกั เรียนคิดวา่ องคค์ วามรู้ทางประวตั ิศาสตร์เกิดขน้ึ ได้อย่างไร (ตัวอย่างคาตอบ เกดิ ขึ้นจาก ความสนใจของนกั ประวัตศิ าสตรห์ รือผ้สู นใจศึกษา)  การสรา้ งองค์ความรู้ทางประวตั ศิ าสตร์มขี ั้นตอนอย่างไร (ตวั อย่างคาตอบ กาหนดเร่ืองราวท่ี ต้องการศึกษา สืบค้นและวเิ คราะห์หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์เพือ่ สรปุ ผลการศกึ ษาด้วยตนเอง)  นักเรียนคิดว่าการสร้างองคค์ วามรู้ทางประวัติศาสตร์ ผ้ศู ึกษาควรคานึงถึงอะไรบ้าง (ตวั อยา่ ง คาตอบ ความถูกต้อง ความน่าเช่ือถือของหลักฐาน และความมีเหตุผลในการอธิบาย องค์ความรู้ทางประวตั ศิ าสตร์) 2. ครูให้นักเรยี นศึกษาการใช้วธิ กี ารทางประวัตศิ าสตรส์ ร้างองค์ความรู้ทางประวัตศิ าสตร์ แลว้ สุ่ม นกั เรียนออกมาอธิบายวิธีการทางประวัติศาสตรใ์ นแต่ละข้นั ตอน ดังน้ี 1 การกาหนดประเดน็ /การตัง้ สมมตุ ิฐาน 2 การรวบรวมหลักฐาน 3 การคัดเลอื กหลักฐาน 4 การวิเคราะห์/ตคี วาม/ประเมินหลกั ฐาน 5 การเช่อื มโยงความสัมพันธข์ องหลกั ฐาน 6 การนาเสนอข้อเทจ็ จริง/การนาเสนอองค์ความรู้ 3. ครูอธิบายสรปุ เกย่ี วกับวธิ ีการทางประวตั ิศาสตรเ์ ปน็ แผนภาพบนกระดาน การนาเสนอข้อเทจ็ จรงิ /การนาเสนอองค์ความรู้ 6  การเรยี บเรยี งข้อเท็จจรงิ จากการศกึ ษา แล้วอธบิ ายดว้ ยหลกั ฐานอยา่ ง มีเหตผุ ลดว้ ยสานวนของตนเอง 5 การเชอื่ มโยงความสมั พันธข์ องหลกั ฐาน  การนาหลกั ฐานทม่ี มี าเชอ่ื มโยง และวิเคราะหค์ วามเกีย่ วข้องสมั พนั ธ์กนั การวิเคราะห/์ ตีความ/ประเมินหลักฐาน 4  การแยกประเภทของหลกั ฐานช้ันต้น หลักฐานช้ันรอง เพอ่ื วเิ คราะหแ์ ละประเมินความ น่าเช่ือถือ ตีความจดุ ประสงค์ของหลกั ฐาน  3 การคดั เลอื กหลกั ฐาน  การตรวจสอบและเลอื กหลกั ฐานอย่างรอบคอบ เป็นกลาง มปี ระโยชน์ต่อการศึกษา 2 การรวบรวมหลกั ฐาน  การรวบรวมหลกั ฐานทเี่ กยี่ วข้องใหไ้ ด้มากทีส่ ดุ การกาหนดประเดน็ การศกึ ษา/การตั้งสมมุตฐิ าน ทาไม (Why) อยา่ งไร (How) 1  ใช้การตงั้ คาถามเพื่อกาหนดขอบเขตของการศึกษา คาถามทใี่ ชค้ ืออะไร (What) เมอ่ื ไร (When) ทไี่ หน (Where) องค์ประกอบของวธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์

4. ให้นกั เรยี นร่วมกนั สรุปความรู้ ดังน้ี  วิธีการทางประวตั ศิ าสตร์เป็นขนั้ ตอนในการศึกษาประวัตศิ าสตร์ เพื่อแสวงหาความรู้และ แสวงหาคาตอบให้กับเรื่องราวในอดีต วิธกี รทางประวตั ิศาสตร์ประกอบดว้ ยข้ันตอนต่าง ๆ คอื การกาหนดประเด็นทต่ี ้องการศึกษา และตัง้ สมมุติฐานของคาตอบ เพอ่ื สรา้ งขอบเขตการศึกษา จากนัน้ เปน็ ขน้ั ตอนการเก็บรวบรวมและคดั เลอื กหลกั ฐานที่เกี่ยวข้อง มีประโยชนต์ ่อการศกึ ษา แลว้ นาหลักฐานมาวเิ คราะห์ ตคี วาม เพื่อใหไ้ ดข้ ้อมลู และหลักฐานทนี่ า่ เช่ือถือ ก่อนจะนาข้อมลู จากหลักฐานแต่ ละชั้นมาเชือ่ มโยงเข้าด้วยกัน เรยี บเรียงผลการศกึ ษาเปน็ องค์ความรู้ทางประวัตศิ าสตร์ในข้ันตอนการนาเสนอ ขอ้ เทจ็ จรงิ 5. ให้นกั เรยี นร่วมกันแสดงความคิดเหน็ โดยครใู ชค้ าถามท้าทาย ดงั นี้  วธิ ีการทางด้านประวตั ิศาสตร์สามารถนาไปบรู ณาการการศึกษาวชิ าใดได้อีกบ้าง 9. ส่ือการเรยี นการสอน / แหลง่ เรียนรู้ 9.1 แผนภาพข้ันตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ 10. การวดั ผลและประเมินผล 10.1 วิธีการวดั และประเมินผล 10.1.1 สังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการเขา้ รว่ มกิจกรรม 10.2 เคร่อื งมอื 10.2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรม 10.3 เกณฑก์ ารประเมิน 10.3.1 การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผา่ น 1 รายการ ถอื ว่า ไมผ่ า่ น

บันทึกหลังการสอน ผลการจัดการเรยี นการสอน ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ปจญหา/อปุ สรรค ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ แนวทางแก้ไข ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ลงช่อื _________________________ (ผ้บู นั ทกึ ) (นางสาวอาภาภรณ์ สอนประเสริฐ) _____/_____/_____

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 เรอื่ ง การสร้างองค์ความรูด้ ้วยวธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์ แผนจัดการเรียนรทู้ ี่ 7 เร่ือง การใชว้ ธิ ีการทางประวตั ิศาสตรส์ ร้างองค์ความรทู้ างประวัติศาสตร์ (2) รายวชิ า ประวัตศิ าสตร์ รหัสวิชา ส 32102 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 น้าหนกั เวลาเรยี น 0.5 (นน./นก.) เวลาเรยี น 1 ช่วั โมง/สัปดาห์ เวลาท่ใี ชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 1 ช่ัวโมง ....................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชีว้ ดั ชั้นป/ี ผลการเรยี นร/ู้ เปา้ หมายการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ ส 4.1 เขา้ ใจความหมาย ความสาคญั ของเวลาและยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์ สามารถใช้วธิ กี ารทาง ประวัติศาสตรม์ าวิเคราะห์เหตกุ ารณต์ ่าง ๆ อยา่ งเปน็ ระบบ ตวั ชว้ี ัด/ผลการเรยี นรู้ ส 4.1 ม.4-6/2 สร้างองค์ความรใู้ หมท่ างประวตั ศิ าสตร์ โดยใชว้ ิธีการทางประวัตศิ าสตร์อยา่ งเปน็ ระบบ 2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 2.1 อธบิ ายการใช้วธิ กี ารทางประวตั ิศาสตรส์ ร้างองค์ความรทู้ างประวัติศาสตร์ 2.2 จาแนกองคป์ ระกอบของวิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์ 2.3 เหน็ ประโยชน์และความสาคญั ของการสร้างองค์ความรู้ทางประวัติศาสตรด์ ว้ ยวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์ 3. สาระสาคัญ การสรา้ งองค์ความรูท้ างประวตั ศิ าสตร์ ควรใชว้ ิธีการทางประวัตศิ าสตรใ์ นการสรา้ งองคค์ วามรูเ้ พื่อใช้ กาหนดขอบเขตแนวทางในการศึกษา การวิเคราะห์และเลือกใช้หลักฐานอย่างมีเหตุผล ทาให้องค์ความรู้ทาง ประวัตศิ าสตรจ์ ากการศกึ ษามคี วามถกู ต้อง น่าเชือ่ ถอื และช่วยเพ่ิมความรู้ทางประวัตศิ าสตรใ์ ห้กับสังคม 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 องค์ประกอบของวิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์ 5. คณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ มุ่งมัน่ ในการทางาน ตวั ชวี้ ัดที่ 6.1 ต้ังใจและรบั ผิดชอบในการปฏิบัติหนา้ ที่การงาน รักความเป็นไทย ตัวช้วี ัดที่ 7.1 ภาคภมู ใิ จในขนบธรรมเนียมประเพณี ศลิ ปะ วัฒนธรรมไทย และมีความกตัญญูกตเวที

6. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน 6.1 ความสามารถในการสอ่ื สาร 6.2 ความสามารถในการคิด 6.3 ความสามารถในการแก้ปญั หา 6.4 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ 6.5 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 7. ชิน้ งานหรอื ภาระงาน 7.1 ตารางการวางแผนสรา้ งองค์ความรทู้ างประวัติศาสตร์ โดยใช้วธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์ 7.2 ชนิ้ งานที่ 2 เรือ่ ง การสรา้ งองค์ความรทู้ างประวัติศาสตร์ดว้ ยวธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์ 8. การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั สนทนาเกี่ยวกับการสรา้ งองค์ความร้ดู ้วยวิธกี ารทางประวัติศาสตร์ แล้วร่วมกัน แสดงความคดิ เห็น โดยครูใชค้ าถาม ดงั น้ี  การตั้งคาถามในวิธีการทางประวัติศาสตร์มีความสาคัญอย่างไร (ตัวอย่างคาตอบ ช่วยจากัด ขอบเขตการศกึ ษา คน้ ควา้ หลักฐาน ใหส้ ามารถตอบคาตอบและสร้างองคค์ วามรู้ทเี่ หมาะสมได้)  การรวบรวมหลกั ฐานและการคัดเลอื กหลักฐาน มคี วามแตกต่างกนั อย่างไร (ตัวอย่างคาตอบ การรวบรวมหลักฐานเป็นการรวบรวมข้อมูลหลักฐานท่ีเกี่ยวข้องให้ได้มากที่สุด ส่วนการ คัดเลือกหลักฐานเป็นการเลือกใช้หลักฐาน โดยประเมินคุณค่าความน่าเช่ือถือ ความจาเป็นต่อการศึกษา การคดั เลอื กหลักฐานจงึ เปน็ ขนั้ ตอนท่ตี ่อเนือ่ งจากการรวบรวมหลักฐาน)  หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรแ์ บง่ ออกเป็นกีป่ ระเภท มีประเภทใดบา้ ง (แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ หลักฐานช้นั ต้น และหลกั ฐานช้นั รอง)  เพราะเหตุใดจงึ ตอ้ งมีการวิเคราะห์ หรอื ตคี วามหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ (ตัวอยา่ งคาตอบ เพื่อให้ได้ข้อมูลทถ่ี กู ต้องที่สดุ )  การเชือ่ มโยงความสมั พันธข์ องหลักฐาน มวี ธิ ีการอย่างไร (ตัวอย่างคาตอบ เป็นการนาหลักฐาน ทไี่ ด้มาเชอื่ มโยงเขา้ ด้วยกัน) 2. ครูให้นักเรียนศึกษาการใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์สร้างองค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์ จากนั้น แบง่ กลุม่ เลือกหัวขอ้ ประวตั ิศาสตรท์ สี่ นใจมา 1 หวั ขอ้ แลว้ วางแผนการสร้างองค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์ด้วย วิธีการทางประวัตศิ าสตร์ แล้วออกมานาเสนอหนา้ ช้ันเรยี น ดงั นี้ 1 การกาหนดประเดน็ /การตั้งสมมุตฐิ าน 2 การรวบรวมหลักฐาน 3 การคัดเลอื กหลกั ฐาน 4 การวิเคราะห์/ตีความ/ประเมนิ หลักฐาน 5 การเช่อื มโยงความสัมพันธข์ องหลักฐาน 6 การนาเสนอขอ้ เท็จจรงิ /การนาเสนอองคค์ วามรู้

ตัวอย่างตารางการวางแผนการสร้างองค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์ โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ เร่ือง สนธิสัญญาเบาว์รงิ วิธีการทางประวตั ิศาสตร์ วธิ ีการดาเนนิ งาน 1. การกาหนดประเดน็ /การตง้ั สมมุตฐิ าน คาถามทใ่ี ชใ้ นการศึกษา ต้งั คาถามเพื่อกาหนดขอบเขตการศึกษา - สนธสิ ัญญาเบาวร์ ิงคอื อะไร - ทาไมรฐั บาลไทยในสมัยรชั กาลที่ 4 จึงตอ้ งทาสนธิสัญญาเบาว์ริงกับ องั กฤษและประเทศอนื่ ๆ - สนธิสญั ญาเบาวร์ ิงกอ่ ใหเ้ กดิ ผลกระทบทส่ี าคญั อยา่ งไร - วกิ ฤตการณ์ รศ. 112 เกดิ ขน้ึ ท่ไี หน เก่ยี วขอ้ งกับสนธิสญั ญาเบาว์รงิ อยา่ งไร - รฐั บาลไทยแกไ้ ขปัญหาสทิ ธิสภาพนอกอาณาเขตอย่างไร 2. การรวบรวมหลักฐาน ตัวอย่างหลกั ฐานทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง รวบรวมหลักฐานทีเ่ กี่ยวข้องให้มากท่สี ดุ - พระราชหัตถเลขารชั กาลท่ี 5 - พระราชพงศาวดารกรุงรตั นโกสนิ ทรส์ มัยรัชกาลท่ี 5 - งานวิจัยเรื่อง การต่างประเทศกับเอกราชและอธิปไตยของไทย (ต้ังแตส่ มยั รัชกาลท่ี 5 ถึงสิ้นสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม โดย เพ็ญ ศรี ดุก๊ ) - ปริญญานิพนธ์เร่ือง สิทธิสภาพนอกอาณาเขตกับประเทศ มหาอานาจในรัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยหู่ วั โดยทรงศรี อาจอรณุ - ราชอาณาจักรและราษฎรสยามของ เซอรจ์ อห์น เบาวร์ งิ 3. การคัดเลือกหลกั ฐาน คดั เลอื กโดยใช้ 3 วิธี ดงั น้ี ตรวจสอบและรวบรวมหลกั ฐาน - วธิ แี รก หลกั ฐานทน่ี าเสนอประเด็นใกลเ้ คียงกนั อยา่ งรอบคอบ เป็นกลาง - วิธที ่ีสอง หลักฐานท่นี า่ เชอ่ื ถอื มากท่ีสุด - วธิ ที ่สี าม หลกั ฐานที่ได้วจิ ยั เรือ่ งที่เราต้องการศึกษา 4. การวเิ คราะห/์ ตคี วาม/ประเมนิ หลักฐาน หลกั ฐานช้นั ต้น แยกประเภทของหลกั ฐานแล้วประเมนิ - พระราชหตั ถเลขารชั กาลที่ 5 หลักฐานทง้ั ภายนอกและภายใน - พระราชพงศาวดาร กรุงรัตนโกสินทร์สมยั รชั กาลที่ 5 - เอกสารเรอ่ื ง ราชพงศาวดารสมัยรัชกาลท่ี 5 หลกั ฐานชน้ั รอง - งานวจิ ยั - ปรญิ ญานพิ นธ์

วธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร์ วิธีการดาเนนิ งาน 5. การเชอื่ มโยงความสัมพันธข์ องหลักฐาน ผูศ้ ึกษานาหลกั ฐานมาเชื่อมโยงใหเ้ หน็ ภาพรวมของข้อมูล เช่น นาหลกั ฐานท่มี ีมาเชอ่ื มโยงและวิเคราะห์ นาสาระของสนธิสัญญาเบาว์ริงไปเช่ือมโยงกับพระราชดาริของ ความเกยี่ วขอ้ งสัมพนั ธ์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในการปฏิรูปการปกครอง เพอ่ื ตอบคาถามว่าทาไมไทยจงึ ต้องปฏริ ูปประเทศ 6. การนาเสนอองค์ความรู้ นาข้อมูลจากการศึกษามาเรียบเรียงเป็นองค์ความรู้เรื่อง สนธิสัญญา การเรียบเรียงข้อเท็จจรงิ จากการศกึ ษา เบาว์ริงตามกรอบประเด็นศกึ ษาของโครงงาน ดงั ต่อไปนี้ แลว้ อธบิ ายดว้ ยหลักฐานอยา่ งมีเหตผุ ล 1) มลู เหตขุ องการทาสนธิสัญญาเบาว์ริง ด้วยจานวนของตนเอง 2) ผลทีเ่ กดิ จากการทาสนธสิ ญั ญาเบาว์ริง 3) การแก้ปญั หาทเ่ี กิดจากสนธิสัญญาเบาว์รงิ 4) ผลกระทบจากการแก้ปัญหาทีเ่ กิดจากสนธิสญั ญาเบาวร์ ิง : การเสยี ดนิ แดน 5) สรุป-วิเคราะหผ์ ลของสนธิสญั ญาเบาวร์ ิงในภาพรวมแสดง ความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะของนักเรยี น 3. ใหน้ ักเรยี นร่วมกันสรุปความรู้ ดงั นี้  การสรา้ งองค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์ ควรใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการสร้างองค์ความรู้ เนื่องจากหลักฐานมีความหลากหลาย มีจานวนมากและข้อมูลอาจจะขัดแย้งกัน ควรใช้วิธีการทาง ประวัติศาสตร์ จึงเป็นการกาหนดขอบเขต แนวทางในการศึกษา การวิเคราะห์และเลือกใช้หลักฐานอย่างมี เหตผุ ล เพ่ือให้องค์ความรู้ที่ได้รบั จากการศึกษา มีความถูกตอ้ ง นา่ เชอื่ ถอื และมปี ระโยชน์ในการเพิ่มพูนความรู้ ให้กบั สงั คม 4. ให้นกั เรียนรว่ มกนั แสดงความคดิ เห็น โดยครูใช้คาถามทา้ ทาย ดังน้ี  วิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์สามารถนาไปบูรณาการกบั การดาเนินชีวติ ได้อย่างไร 5. ให้นักเรียนทาชิ้นงานที่ 2 เรื่อง การสร้างองค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์ด้ วยวิธีการทาง ประวตั ศิ าสตร์ 9. ส่ือการเรยี นการสอน / แหลง่ เรียนรู้ 9.1 ตวั อย่างตารางการวางแผนการสร้างองค์ความรู้ทางประวัตศิ าสตร์โดยใช้วธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ เรอ่ื ง สนธิสัญญาเบาว์ริง 9.2 ชนิ้ งานท่ี 2 เรอื่ ง การสรา้ งองค์ความรู้ทางประวัติศาสตรด์ ้วยวิธีการทางประวตั ศิ าสตร์

10. การวดั ผลและประเมนิ ผล 10.1 วธิ ีการวดั และประเมนิ ผล 10.1.1 สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในการเขา้ รว่ มกิจกรรม 10.1.2 สงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่ 10.2 เครื่องมอื 10.2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรม 10.2.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่ 10.3 เกณฑ์การประเมิน 10.3.1 การประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรม ผา่ นตงั้ แต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1 รายการ ถือวา่ ไม่ผา่ น 10.3.2 การประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่ คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก คะแนน 7-8 ระดบั ดี คะแนน 5-6 ระดับ พอใช้ คะแนน 0-4 ระดบั ควรปรบั ปรงุ

ช้นิ งานท่ี 2 เรื่อง การสรา้ งองค์ความรู้ทางประวตั ิศาสตรด์ ว้ ยวิธีการทางประวัติศาสตร์ ให้นักเรียนสร้างแผนภาพความคิดโดยนาองค์ประกอบของวิธีการทางประวัติศาสตร์มาสร้างองค์ ความรทู้ างประวตั ศิ าสตร์ในประเดน็ ท่ีนักเรียนสนใจมา 1 ประเด็น และวิเคราะห์ถึงประโยชน์และความสาคัญ ของการสรา้ งองค์ความรทู้ างประวัติศาสตร์

บันทกึ หลังการสอน ผลการจัดการเรียนการสอน ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ปญจ หา/อปุ สรรค ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ แนวทางแก้ไข ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ลงชอ่ื _________________________ (ผูบ้ นั ทกึ ) (นางสาวอาภาภรณ์ สอนประเสริฐ) _____/_____/_____

แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 เรอ่ื ง ประเดน็ สาคัญในประวัตศิ าสตรไ์ ทย แผนจัดการเรยี นร้ทู ี่ 8 เร่ือง ความเป็นมาของชนชาตไิ ทย : พัฒนาการการศึกษาความเป็นมาของชนชาตไิ ท รายวิชา ประวตั ิศาสตร์ รหัสวชิ า ส 32102 ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 น้าหนักเวลาเรยี น 0.5 (นน./นก.) เวลาเรียน 1 ช่วั โมง/สัปดาห์ เวลาท่ใี ช้ในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 1 ช่ัวโมง ....................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วดั ช้นั ป/ี ผลการเรยี นร/ู้ เปา้ หมายการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ และธารง ความเป็นไทย ตวั ช้ีวัด/ผลการเรียนรู้ ส 4.3 ม.4-6/1 วิเคราะห์ประเด็นสาคัญของประวัติศาสตร์ไทย ส 4.3 ม.4-6/2 วิเคราะห์ความสาคญั ของสถาบันพระมหากษตั ริยต์ ่อชาติไทย ส 4.3 ม.4-6/4 วิเคราะห์ผลงานของบุคคลสาคัญท้ังชาวไทยและต่างประเทศท่มี สี ่วนสร้างสรรค์ วัฒนธรรมไทยและประวัติศาสตร์ไทย 2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 2.1 อธบิ ายความเปน็ มาของชนชาตไิ ทย 2.2 จาแนกหรอื ค้นหาพฒั นาการการศึกษาความเป็นมาของชนชาตไิ ทย 2.3 เหน็ ความสาคัญของการศกึ ษาถิ่นกาเนิดของชนชาตไิ ทยในดนิ แดนประเทศไทย 3. สาระสาคญั ความเป็นมาของชนชาติไทย เป็นประเด็นการศึกษาที่ยังไม่มีข้อสรุปชัดเจน โ ดยท่ัวไปนักวิชาการ ประวัติศาสตร์สรุปความเป็นมาของชนชาติไทยเป็น 3 แนวทาง คือ ชนชาติไทยมีถ่ินกาเนิดอยู่บริเวณมณฑล เสฉวน ชนชาติไทยมีถ่ินกาเนิดอยู่บริเวณตอนใต้ของจีนและแคว้นอัสสัม และแนวคิดท่ีว่าชนชาติไทยมีถ่ิน กาเนดิ อยู่บรเิ วณประเทศไทยปจั จุบนั 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 พฒั นาการการศึกษาความเป็นมาของชนชาติไท 5. คณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ รักความเปน็ ไทย ตวั ช้ีวัดท่ี 7.1 ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศลิ ปะ วัฒนธรรมไทย และมีความกตัญญูกตเวที

6. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น 6.1 ความสามารถในการสอ่ื สาร 6.2 ความสามารถในการคดิ 7. ชน้ิ งานหรือภาระงาน 7.1 รายงานการศึกษาแนวคดิ เร่อื งถิน่ กาเนดิ ของชนชาตไิ ทย 8. การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. ให้นกั เรยี นศึกษาเนือ้ หาเกี่ยวกบั พัฒนาการการศึกษาความเป็นมาของชนชาตไิ ทย แล้วรว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ โดยครูใชค้ าถาม ดงั น้ี  แนวคิดเรอ่ื งถน่ิ กาเนดิ ของชนชาติไทยมกี ี่แนวคิด อะไรบ้าง (3 แนวคิด ไดแ้ ก่ 1. ชนชาตไิ ทยมีถิ่นกาเนิดอยู่บรเิ วณมณฑลเสฉวน 2. ชนชาติไทยมถี นิ่ กาเนดิ อยู่บรเิ วณตอนใตข้ องจนี และแควน้ อัสสัม 3. ชนชาติไทยมถี นิ่ กาเนิดอยู่บริเวณประเทศไทยปจจ จบุ นั )  แนวคดิ เร่ืองถิน่ กาเนดิ ของชนชาติไทยมคี วามสาคัญในการศกึ ษาความเป็นมาของ ชนชาตไิ ทยอยา่ งไร (ตัวอยา่ งคาตอบ ทาให้ทราบขอ้ มูลเบ้ืองต้นของชนชาติไทย ทีพ่ ัฒนาความ เจรญิ รุง่ เรอื งสืบทอดมาจนถึงปจจ จบุ ัน) ให้นักเรยี นตอบคาถามและแสดงความคดิ เหน็ ตามพ้ืนฐานความร้ปู ระสบการณ์ของตนเอง 2. ให้นักเรียนแบง่ กลุ่ม และร่วมกนั ศกึ ษาแนวคดิ เร่ืองถ่ินกาเนิดของชนชาติไทย โดยเลอื กเพียงกลุ่ม ละ 1 แนวคิด จากหัวขอ้ ดงั ต่อไปน้ี  การศึกษาคน้ คว้าในระยะแรกของนกั วชิ าการชาวตะวันตก  ผลงานการศึกษาในระยะแรกเริม่ ของไทย - พงศาวดารและเอกสารเก่า - แนวคดิ กระแสหลักของนักวิชาการไทย  การศึกษาคน้ คว้าของนักวิชาการจีนในสมัยสาธารณรัฐประชาชนจนี  กลมุ่ นกั วชิ าการไทยปัจจบุ ัน โดยให้แต่ละกลุ่มศกึ ษาค้นควา้ แลว้ สรปุ ผลเป็นรายงานการศกึ ษานาออกเสนอหนา้ ชน้ั เรียนจนครบทกุ กลุ่ม

3. ครูนาแผนทแี่ สดงแนวคิดเรือ่ งถ่นิ กาเนิดชนชาติไทยของนักวชิ าการไทยและ นกั วิชาการจีนมาอธบิ ายเพมิ่ เตมิ ดงั ตัวอยา่ งแผนที่ แผนทแ่ี สดงแนวคิดเร่อื งถิ่นกาเนดิ ชนชาตไิ ทยของนักวชิ าการไทยและนกั วชิ าการจนี

4. ให้นกั เรียนรว่ มกันสรุปความรู้ ดงั นี้  ความเปน็ มาของชนชาติไทย เปน็ ประเด็นทางประวัติศาสตร์ประเดน็ หนึ่งของไทย ท่ียังไม่มขี ้อสรปุ ท่ชี ัดเจน โดยทว่ั ไปนักวิชาการประวตั ิศาสตรเ์ สนอแนวคิดเรื่องถ่นิ กาเนิดของชนชาติไทยเป็น 3 แนวทาง คือ 1. ชนชาตไิ ทยมีถ่นิ กาเนิดอยบู่ ริเวณมณฑลเสฉวน 2. ชนชาตไิ ทยมีถน่ิ กาเนดิ อยูบ่ รเิ วณตอนใตข้ องจีนและแควน้ อัสสัม 3. ชนชาตไิ ทยมถี ิ่นกาเนิดอยบู่ ริเวณประเทศไทยปัจจุบัน 5. ให้นกั เรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ โดยครใู ช้คาถามทา้ ทาย ดังน้ี  นกั เรยี นคิดว่าชนชาตไิ ทยจรงิ ๆ แลว้ มถี ิน่ กาเนดิ มาจากท่ใี ด เพราะอะไร 9. สื่อการเรยี นการสอน / แหล่งเรียนรู้ 9.1 แผนทแี่ สดงแนวคิดเร่ืองถ่ินกาเนดิ ชนชาตไิ ทยของนักวิชาการไทยและนักวชิ าการจีน 10. การวดั ผลและประเมนิ ผล 10.1 วธิ กี ารวัดและประเมินผล 10.1.1 สงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้ารว่ มกจิ กรรม 10.1.2 สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม 10.2 เครื่องมือ 10.2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม 10.2.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม 10.3 เกณฑ์การประเมนิ 10.3.1 การประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรม ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1 รายการ ถอื ว่า ไม่ผา่ น 10.3.2 การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกล่มุ คะแนน 9-10 ระดบั ดีมาก คะแนน 7-8 ระดับ ดี คะแนน 5-6 ระดบั พอใช้ คะแนน 0-4 ระดับ ควรปรับปรุง

บนั ทึกหลังการสอน ผลการจัดการเรยี นการสอน ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ปจญหา/อปุ สรรค ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ แนวทางแกไ้ ข ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________ ลงชื่อ_________________________ (ผ้บู ันทกึ ) (นางสาวอาภาภรณ์ สอนประเสรฐิ ) _____/_____/_____

แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 3 เรือ่ ง ประเด็นสาคัญในประวตั ิศาสตร์ไทย แผนจดั การเรียนรทู้ ่ี 9 เร่ือง ความเป็นมาของชนชาตไิ ทย : หลักฐานและเกณฑ์ทใี่ ช้วิเคราะหค์ วามเป็นคนไท/ความเป็นไทย รายวชิ า ประวัตศิ าสตร์ รหัสวชิ า ส 32102 ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 น้าหนักเวลาเรียน 0.5 (นน./นก.) เวลาเรียน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลาท่ใี ชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 1 ช่วั โมง ....................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชีว้ ัดชัน้ ปี/ผลการเรยี นรู้/เป้าหมายการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ และธารง ความเป็นไทย ตวั ช้วี ดั /ผลการเรยี นรู้ ส 4.3 ม.4-6/1 วเิ คราะหป์ ระเดน็ สาคัญของประวตั ศิ าสตรไ์ ทย ส 4.3 ม.4-6/2 วิเคราะหค์ วามสาคัญของสถาบันพระมหากษัตรยิ ์ต่อชาติไทย ส 4.3 ม.4-6/4 วเิ คราะห์ผลงานของบุคคลสาคัญทั้งชาวไทยและต่างประเทศที่มสี ว่ นสรา้ งสรรค์ วฒั นธรรมไทยและประวัติศาสตร์ไทย 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 2.1 อธิบายหลกั ฐานและเกณฑ์ทใ่ี ชว้ เิ คราะหค์ วามเปน็ คนไท/ความเปน็ ไทย 2.2 จาแนกหลักฐานทางดา้ นเอกสาร โบราณคดี ภาษาและวัฒนธรรม ท่ีอธิบายความเป็นไทย 2.3 เห็นความสาคัญ และคุณคา่ ความเปน็ มาของประวัตศิ าสตร์ไทย 3. สาระสาคญั หลกั ฐานที่แสดงความเป็นมาของความเป็นคนไทย ประกอบดว้ ยเอกสารทั้งในและนอกอาณาจกั ร หลกั ฐาน ทางโบราณคดี กลุม่ เชื้อชาติและชวี พันธุวศิ วกรรม ภาษาและวัฒนธรรม 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 หลกั ฐานและเกณฑ์ที่ใชว้ ิเคราะหค์ วามเป็นคนไท/ความเปน็ ไทย 5. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ รักความเปน็ ไทย ตวั ช้ีวัดที่ 7.1 ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนยี มประเพณี ศิลปะ วฒั นธรรมไทย และมีความกตัญญูกตเวที 6. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน 6.1 ความสามารถในการส่ือสาร 6.2 ความสามารถในการคดิ

7. ชิ้นงานหรือภาระงาน 7.1 แผนภาพหลกั ฐานและเกณฑ์ท่ีใช้วเิ คราะห์ความเป็นคนไท/ความเป็นไทย 8. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ให้นักเรียนศึกษาค้นควา้ และวิเคราะห์เก่ยี วกับหลกั ฐานและเกณฑ์ที่ใช้วเิ คราะห์ ความเป็นคนไท/ความเป็นไทย รว่ มกันสนทนาแสดงความคดิ เห็น โดยครใู ชค้ าถาม ดังน้ี  หลักฐานประเภทใดบ้างที่ใชศ้ กึ ษาวิเคราะห์ความเปน็ มาของไทย (ตัวอยา่ งคาตอบ หลักฐาน ประเภทเอกสาร หลักฐานด้านโบราณคดี)  นกั วชิ าการประวัติศาสตรใ์ ช้หลักเกณฑ์ใดบา้ งในการวิเคราะหค์ วามเป็นคนไท/ ความเป็นไทย (ตวั อย่างคาตอบ มีตานานพ้นื ถ่นิ ท่ีคลา้ ยคลงึ กัน มีวัฒนธรรมและโบราณวัตถทุ ี่มีรูปรา่ ง หรือ จุดประสงคใ์ นการใช้งานคล้ายคลงึ กัน)  หลักฐานและเกณฑ์ทใ่ี ชว้ ิเคราะหค์ วามเป็นคนไท/ความเปน็ ไทย มีความสาคญั อย่างไร (ตวั อย่าง คาตอบ ช่วยสนับสนนุ แนวคิดเรอื่ งถน่ิ กาเนดิ ของชนชาติไทยอย่างมเี หตุผล นา่ เช่ือถอื ) 2. ใหน้ ักเรยี นศกึ ษาสบื คน้ ประวตั ิความเป็นมาของความเป็นไท/ไทย จากหลักฐานตา่ ง ๆ ดังน้ี 1 ระบุหลกั ฐานประเภทเอกสาร 2 หลักฐานดา้ นโบราณคดี 3 เชื้อชาติ และชวี พันธวุ ศิ วกรรม 4 หลักฐานดา้ นภาษา 5 หลกั ฐานดา้ นวัฒนธรรม โดยใหน้ กั เรียนสืบค้นจากหนงั สือสารานกุ รมประวัติศาสตร์ไทยหรอื จากแหล่งเรียนรอู้ น่ื ๆ วิเคราะห์ หลกั ฐานแต่ละชนดิ ว่าแสดงความเป็นมาของความเป็นไทยเอาไว้อย่างไรบ้าง จากนนั้ ใหค้ รสู ุม่ ตวั อยา่ งนกั เรียน จานวน 5 คนออกมานาเสนอผลการศึกษาของตนเองคนละ 1 หวั ขอ้ ตามลาดบั 3. จบการนาเสนอผลงานของนกั เรยี น ครอู ธิบายสรุปเพิม่ เติมโดยเขียนเป็นตารางอธิบายบนกระดาน หรอื นาเสนอรูปแบบ PowerPoint และเอกสารตามความเหมาะสม ดังตวั อย่าง

หลักฐานและเกณฑ์ท่ใี ชว้ ิเคราะห์ความเปน็ คนไท/ความเปน็ ไทย ประเภทของหลักฐาน ความสาคญั ของหลกั ฐาน ผลการวเิ คราะห์ 1. หลักฐานประเภทเอกสาร - เป็นหลักฐานเอกสารท่ีนามาใช้ - เอกสารของจีนแสดงให้เห็นถึงความเปน็ รัฐไทย - เอกสารของจีน เปรยี บเทยี บกับของไทย เพอ่ื เสริม มาตั้งแตอ่ ดตี - เอกสารของชาติตะวนั ตก เนือ้ หาส่วนท่ีขาดหาย - เอกสารของชาติตะวนั ตกสว่ นใหญเ่ กย่ี วกบั - ตานาน/พงศาวดาร - ตานานใชเ้ ปรียบเทียบกบั ไทยเพอื่ เหตกุ ารณ์ทผี่ ูบ้ นั ทึกประสบ พจิ ารณาความเก่ียวขอ้ งของความเชอ่ื - ตานานน้าเตา้ ปุงและเรอ่ื งพญาแถน มลี กั ษณะ สอดคลอ้ งกนั อาจจะมบี รรพบุรษุ รว่ มกนั 2. หลักฐานด้านโบราณคดี ใช้หลกั การของศาสตรส์ าขาต่าง ๆ การต้งั ถ่นิ ฐานของมนษุ ยใ์ นดินแดนไทยมีมาตงั้ แต่ - แหล่งโบราณคดบี า้ นเก่า วิเคราะห์พฒั นาการของมนุษย์ในไทย ยุคหินเก่า และค่อย ๆ พฒั นาเป็นชุมชน เมือง - แหลง่ โบราณคดีบา้ นเชียง และเป็นรัฐสยาม 3. หลักเกณฑ์ด้านเช้อื ชาติ และ ใช้ในการเปรยี บเทียบลกั ษณะ - คนไทยตอนบนมเี ชอื้ สายพนั ธุกรรมคลา้ ยกับ ชีวพนั ธุวิศวกรรม ความสัมพนั ธ์ทางเชื้อสาย และ กลุ่มจนี -ทเิ บต คนไทจดั อยใู่ นกลมุ่ เชอื้ ชาติ องคป์ ระกอบทางพนั ธุกรรม - คนไทยตอนกลางมเี ชอื้ สายพนั ธกุ รรมคล้ายกับ มองโกลอยด์ สาขาเอเชียตะวันออก กลุ่มประเทศในเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ เฉียงใต้ - ไทยตอนบนและกลางมีเชอ้ื สายพันธกุ รรม ตา่ งกนั แต่รว่ มกนั ดา้ นวัฒนธรรม 4. หลกั ฐานดา้ นภาษา ใช้ภาษาถ่นิ ในบริเวณพน้ื ที่ใกลเ้ คยี ง ภาษาเปน็ สิ่งทผ่ี ันแปรตามกาลเวลา เรียนรไู้ ดโ้ ดย นักภาษาศาสตรช์ าวจนี แบง่ กลมุ่ ภาษา ประเทศไทย มาเปรียบเทยี บเพอื่ หา ไม่จาเป็นตอ้ งเก่ยี วโยงกับเรอื่ งเชอื้ ชาติ การใช้ ถิน่ ในตระกูลไท เป็น 3 กลมุ่ คือ ความคล้ายคลงึ ในการใช้ภาษา เกณฑภ์ าษาเพียงอยา่ งเดยี ว จะไดผ้ ลไมส่ มบรู ณ์ 1. กลุม่ เหนือและกลาง 2. กลุ่มตะวนั ออกเฉียงใต้ 3. กลุม่ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของ พม่าและอสั สมั 5. หลกั ฐานด้านวัฒนธรรม วฒั นธรรมเป็นสัญลกั ษณ์และหลักฐาน คนไทยมวี ฒั นธรรมดั้งเดิมร่วมกนั เชน่ วถิ ีชีวิต 1. วัฒนธรรมดั้งเดิม ทีแ่ สดงถึงความเป็นไทย วัฒนธรรมจงึ ทางการเกษตร มพี ธิ ีกรรมความเชอื่ การนบั ถือ 2. วัฒนธรรมผสมผสาน ใช้ในการศกึ ษาลกั ษณะทเ่ี หมอื นหรือ ธรรมชาติและมบี รรพบรุ ษุ คลา้ ยคลึงกันของคนไท 4. ใหน้ ักเรียนรว่ มกันสรปุ ความรู้ ดงั นี้  หลักฐานท่ีแสดงความเปน็ มาของความเป็นคนไทยประกอบด้วยเอกสารท้ังในและนอก อาณาจักร หลกั ฐานทางโบราณคดี กลมุ่ เชื้อชาติและชวี พันธุวิศวกรรม ภาษาและวัฒนธรรม 5. ให้นกั เรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ โดยครูใชค้ าถามท้าทาย ดังนี้  นักเรียนคดิ ว่ากลุ่มชนชาตพิ นั ธ์ไุ ทแท้ ๆ ในปจั จบุ นั ทไ่ี มม่ ีการผสมหรือปะปนทางสายเลอื ดยงั มี อยู่หรือไม่ 9. สื่อการเรียนการสอน / แหล่งเรยี นรู้ 9.1 หนงั สือสารานกุ รมประวัติศาสตรไ์ ทย 9.2 ตารางแสดงหลักฐานและเกณฑ์ท่ีใชว้ ิเคราะห์ความเปน็ คนไท/ความเป็นไทย

10. การวดั ผลและประเมินผล 10.1 วธิ ีการวัดและประเมนิ ผล 10.1.1 สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในการเข้าร่วมกิจกรรม 10.2 เครือ่ งมอื 10.2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรม 10.3 เกณฑก์ ารประเมนิ 10.3.1 การประเมินพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรม ผา่ นตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1 รายการ ถอื วา่ ไมผ่ า่ น