Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัย Photoscape

วิจัย Photoscape

Published by Krusurichai, 2018-06-09 02:43:20

Description: วิจัย Photoscape

Search

Read the Text Version

ก กติ ติกรรมประกาศ รายงานการวิจัยเรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน รายวิชาคอมพิวเตอร์หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 สาเร็จลงได้ด้วยความกรณุ าและความช่วยเหลือจากบุคลากรหลายฝ่าย ซง่ึ ผู้ศึกษาใคร่ขอขอบคุณดังต่อไปน้ี ขอขอบพระคุณผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. กนิษฐกานต์ ปันแก้ว ตาแหน่งรองคณบดฝี า่ ยกจิ การนกั ศึกษา คณะครศุ าสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง และอาจารย์กิตติยา ปลอดแก้ว อาจารย์ประจาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง ผู้ให้ความกรุณารับเป็นท่ีปรึกษาให้คาแนะนา ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะส่งผลให้การศึกษาสาเร็จลุล่วงลงได้ด้วยดี ผู้วิจัยจึงขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมาณ ท่ีน้ี ขอขอบคุณคณะผู้เชี่ยวชาญ อาจารย์ เบญจมาศ พุทธิมา ตาแหน่งอาจารย์สาขาวิชาการวัดประเมินและวิจัยทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง และผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ฟิสิกส์ ฌอน บัวกนก ตาแหน่งอาจารย์ประจาสาขาคอมพิวเตอร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง ท่ีได้กรุณาตรวจสอบเครื่องมือ อีกทั้งให้ข้อเสนอแนะอันเป็นประโยชน์ยิ่งต่อการศกึ ษาวจิ ยั ในคร้งั นี้ ขอขอบพระคุณคณะผู้บริหารและครูศูนย์การเรียนรวมโรงเรียนบ้านแม่ตาท่ีให้ความอนุเคราะห์สถานที่ในการทดลองใช้เคร่ืองมือและขอบใจนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 ปีการศึกษา 2558ท่ีใหค้ วามรว่ มมอื ด้วยดใี นการศึกษาคร้งั น้ี ซ่งึ ไดข้ อ้ มลู ทเี่ ปน็ ประโยชนย์ งิ่ สุดท้ายน้ี ขอกราบขอบพระคุณ คุณแม่ ที่คอยช่วยเหลือและเป็นกาลังใจ ตลอดจนขอขอบคุณเพื่อนๆ ทุกคนท่ีคอยให้ความช่วยเหลือ ให้คาแนะนา และเป็นกาลังใจเสมอมา จนการศึกษาวิจัยในคร้ังนี้ สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี หากการศึกษาวิจัยฉบับน้ีมีความผิดพลาดประการใด ผู้วิจัยก็ขออภัยมา ณ ท่นี ้ีดว้ ย สรุ ิฉาย เปน็ เอก 29 เมษายน 2559

ขชื่อเร่อื ง การพัฒนาบทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน รายวชิ าคอมพิวเตอร์ หนว่ ยการเรียนรู้ ตกแตง่ ภาพหรรษา (PhotoScape) ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 4ช่อื ผวู้ จิ ัย นางสาวสุริฉาย เป็นเอกพ.ศ 2558 บทคดั ยอ่ การวิจัยเร่ืองการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน รายวิชาคอมพิวเตอร์ หน่วยการเรียนรู้ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) คร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างและหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) ศึกษาดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนหน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หน่วยการเรียนรู้ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) และ 4) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4ที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มเป้าหมายคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2558 ศูนย์การเรียนรวมโรงเรียนบ้านแม่ตา จานวน 18 คน โดยใช้แบบแผนการทดลองแบบกลุ่มเดียววัดผลก่อนทดลองและหลงั การทดลองมีการทดลองก่อนเรยี นและหลังเรียน เครื่องมือที่ใช้มี 3 ประเภท คือ 1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หน่วยการเรียนรู้ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 ใช้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ 3 แผน2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เป็นแบบปรนัยชนิด 4 ตัวเลือก จานวน 20 ข้อ และ3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปที ี่ 4 ท่ีมีตอ่ การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สถิติพื้นฐานได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉล่ีย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ ที่ใช้ในการวิเคราะห์คุณภาพของเครื่องมือ ได้แก่ ดัชนีความสอดคล้อง IOC และคา่ ประสิทธภิ าพ ผลการวิจยั พบวา่ 1. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape)มีคุณภาพอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.82 และบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีประสิทธิภาพแบบหนึ่งต่อหน่ึง แบบกลุ่มเล็ก และแบบภาคสนาม เท่ากับ 80.00/86.67 78.89/83.33 และ84.20/85.56 ตามลาดับ ซ่ึงเปน็ ไปตามเกณฑม์ าตรฐานท่ีกาหนด 2. ดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา(PhotoScape) มคี ่าเท่ากับ 0.53 คิดเป็นรอ้ ยละ 53.00 แสดงวา่ ผเู้ รียนมกี ารเรยี นรู้ที่กา้ วหนา้ ข้ึน 3. นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 ที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หน่วยการเรียนรู้ตกแตง่ ภาพหรรษา (PhotoScape) มผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรยี นสงู กว่าก่อนเรยี น 4. นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 มีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยภาพรวมอยู่ในระดบั มาก มีคา่ เฉลยี่ เท่ากับ 2.75

คสารบัญ หน้ากติ ติกรรมประกาศ…………………………………………………………………………………………….………….. กบทคัดย่อ…………………………………………………………………………………………………………….……….. ขสารบญั ……………………………………………………………………………………………………………………….. คสารบัญตาราง………………………………………………………………………………………………………………. จสารบญั ภาพ…………………………………………………………………………………………………………………. ชบทท่ี 1 บทนา 1 ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา………………………………………………………………….. 4 คาถามของการวิจยั ……………………………………………………………………………………………….. 4 วัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย……………………………………………………………………………………….. 5 สมมตฐิ านของการวจิ ัย…………………………………………………………………………………………… 5 ขอบเขตของการวิจยั ……………………………………………………………………………………………… 6 ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ……………………………………………………………………………………… 6 นยิ ามศพั ท์เฉพาะ……………………………………………………………………………………………………บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกยี่ วข้อง 8 หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 กลมุ่ สารการงานอาชีพและ 10 เทคโนโลยี…………………………………………………………………………………………………………….. 15 เอกสารท่ีเกย่ี วกบั บทเรยี นคอมพิวเตอร์ช่วยสอน……………………………………………………….. 18 เอกสาร่ีเกีย่ วกบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน……………………………………………………………......... 18 เอกสารที่เกยี่ วกบั ดชั นปี ระสิทธผิ ล…………………………………………………………………………… 19 เอกสารท่เี กี่ยวกบั ความพงึ พอใจ………………………………………………………………………………. 23 เอกสารท่เี กย่ี วกบั ทฤษฏกี ารเรียนรู้…………………………………………………………………………… 27 งานวจิ ยั ท่ีเกย่ี วข้อง…………………………………………………………………………………………………. กรอบแนวคิดในการวจิ ยั …………………………………………………………………………………………..

งสารบญั (ตอ่ ) หน้าบทท่ี 3 วิธีดาเนินการวิจัย กลมุ่ เปา้ หมาย………………………………………………………………………………………………………… 28 แบบแผนที่ใชใ้ นการวจิ ยั ………………………………………………………………………………………….. 28 เครือ่ งมอื ท่ีใช้ในการวจิ ยั …………………………………………………………………………………………... 29 การสรา้ งและหาคุณภาพเครื่องมือท่ีใชใ้ นการวจิ ัย……………………………………………………….. 29 การรวบรวมข้อมูลในการวจิ ยั ……………………………………………………………………………………. 37 การวิเคราะห์ข้อมูล………………………………………………………………………………………………….. 38 สถิตทิ ใ่ี ชใ้ นการวิจัย………………………………………………………………………………………………….. 38บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล ผลการวิเคราะห์ข้อมลู …………………………………………………………………………………………….. 41บทที่ 5 สรปุ อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ สรุปผลการศึกษา…………………………………………………………………………………………………….. 51 อภปิ รายผลการศกึ ษา………………………………………………………………………………………………. 52 ข้อเสนอแนะ…………………………………………………………………………………………………………… 55บรรณานกุ รม………………………………………………………………………………………………………………….. 53ภาคผนวก ภาคผนวก ก ………………………………………………………………………………………………………….. 57 ภาคผนวก ข ………………………………………………………………………………………………………….. 60 ภาคผนวก ค ………………………………………………………………………………………………………….. 83 ภาคผนวก ง ………………………………………………………………………………………………………….. 93 ภาคผนวก จ ………………………………………………………………………………………………………….. 119ประวตั ิผูด้ าเนินการวจิ ยั …………………………………………………………………………………………………… 149

จ สารบัญตาราง หน้าตาราง1 แสดงผลการประเมินเหมาะสมสอดคล้องในองคป์ ระกอบต่างๆ ได้แก่ ดา้ นเนื้อหา ด้านสอื่ และนวตั กรรม และด้านการวดั และประเมนิ ผล ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ ชว่ ยสอน หนว่ ยการเรยี นรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ……………………………. 422 แสดงผลการหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน หนว่ ยการเรยี นรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ตามเกณฑ์ 80/80 กับนักเรยี นจานวน 3 คน (แบบหนึง่ ต่อหนงึ่ ) ……………………………………………………………………………………………. 433 แสดงผลการหาประสิทธภิ าพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน หนว่ ยการเรยี นรู้ ตกแตง่ ภาพหรรษา (PhotoScape) ตามเกณฑ์ 80/80 กับนักเรียนจานวน 6 คน (แบบกล่มุ เล็ก) …………………………………………………………………………………………………. 444 แสดงผลการหาประสิทธภิ าพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หนว่ ยการเรียนรู้ ตกแตง่ ภาพหรรษา (PhotoScape) ตามเกณฑ์ 80/80 กับนกั เรยี นจานวน 27 คน (แบบภาคสนาม) ……………………………………………………………………………………….......... 445 แสดงผลการหาดชั นปี ระสทิ ธิผลบทเรียนคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน หนว่ ยการเรียนรู้ ตกแตง่ ภาพหรรษา (PhotoScape) ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4 ……………………………........ 456 แสดงผลการวิเคราะหเ์ ปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนกอ่ นเรียนและหลงั เรยี น ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ………………………………………………………………………………………………… 467 แสดงความพึงพอใจของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 ทมี่ ีตอ่ บทเรียนคอมพวิ เตอร์ ช่วยสอน หนว่ ยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ………………………....... 468 แสดงผลพจิ ารณาความเหมาะสมสอดคล้องในองคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ของแผนการจัด การเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นรู้ ตกแต่งภาพหรรษา(PhotoScape) ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 4 โดยใช้มาตราสว่ นประมาณคา่ ( Rating scale) โดยผ้เู ช่ียวชาญ ……………………………. 849 แสดงผลพิจารณาความเหมาะสมสอดคล้องในองคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ของ บทเรยี น คอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน หนว่ ยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้มาตราส่วนประมาณค่า ( Rating scale) โดยผ้เู ชย่ี วชาญ ………………………………………………………………………………………………… 85

ฉ สารบญั ตาราง (ตอ่ ) หนา้ตาราง10 แสดงผลพิจารณาความเหมาะสมสอดคลอ้ งข้อคาถามกับจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ของ แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใชด้ ัชนคี วามสอดคล้อง (IOC) โดย ผู้เชย่ี วชาญ……………………………………………………………………………………………………….. 8611 แสดงผลพจิ ารณาผลการประเมนิ ความเหมาะสมสอดคล้องขอ้ คาถามของแบบสอบถาม ความพึงพอใจ โดยใช้ดชั นคี วามสอดคล้อง (IOC) โดยผู้เชย่ี วชาญ ………………………… 8712 แสดงผลการหาประสิทธภิ าพของบทเรียนคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน หนว่ ยการเรยี นรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ตามเกณฑ์ 80/80 จาการนาไปทดลองใช้กับ นักเรยี นโรงเรียนอนบุ าลแจ้ห่ม ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2558 (แบบหนึ่งต่อหนงึ่ ) จานวน 3 คน ……………………………………………………………………….. 8813 แสดงผลการหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน หน่วยการเรียนรู้ ตกแตง่ ภาพหรรษา (PhotoScape) ตามเกณฑ์ 80/80 จาการนาไปทดลองใช้กบั นักเรยี นโรงเรยี นอนุบาลแจ้ห่ม ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2558 (แบบกล่มุ เล็ก) จานวน 6 คน …………………………………………………………………………….. 8814 แสดงผลการหาประสิทธภิ าพของบทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน หนว่ ยการเรยี นรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ตามเกณฑ์ 80/80 จาการนาไปทดลองใช้กับ นักเรยี นโรงเรยี นอนบุ าลแจ้ห่ม ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 (แบบภาคสนาม) จานวน 27 คน ……………………………………………………………………….. 8915 แสดงผลตา่ งของคะแนนวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นก่อนเรียนและหลงั เรยี นด้วย บทเรียนคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน ………………………………………………………………………… 9116 แสดงผลการประเมนิ ความพึงพอใจของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 ทม่ี ีตอ่ กิจกรรมการเรียนการสอนดว้ ยบทเรียนคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน หน่วยการเรยี นรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) …………………………………………………………………… 92

ช สารบญั ภาพ หน้าภาพที่1 กรอบแนวคิดการวิจัยการพฒั นาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายวชิ าคอมพิวเตอร์ หน่วยการเรียนรูต้ กแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 4 …………….. 27

1 บทท่ี 1 บทนำ1. ควำมเป็นมำและควำมสำคญั ของปญั หำ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ 2542 หมวด 4 ว่าด้วยแนวการจัดการศึกษา มาตรา24(5) ได้กล่าวว่า การส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียนและอานวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถ ใช้การวิจัยเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากส่ือการเรียนการสอนและแหล่งวิทยาการประเภทต่างๆ และในหมวด 9 ว่าด้วยเทคโนโลยีการศึกษา มาตรา 64กล่าวว่ารัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิต และพัฒนาแบบเรียน ตารา หนังสือทางวิชาการสือ่ สิ่งพมิ พอ์ ่นื วัสดอุ ุปกรณ์ และเทคโนโลยีการศึกษาอ่นื โดยเร่งรัดพฒั นาขีดความสามารถในการผลิตจัดให้มีเงินสนับสนุนการผลิตและมีการให้แรงจูงใจ แก่ผู้ผลิต และพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา(กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2542) การศึกษาจึงเป็นหัวใจสาคัญของการพัฒนาประเทศ ซึ่งในปี พ.ศ 2558 ประเทศไทยก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ซึ่งในกลุ่มประชาคมอาเซียนมีจุดมุ่งหมายสาคัญในการร่วมแบ่งปันทรัพยากรในการศึกษาระหว่างกัน จึงนาไปสู่การขยายโอกาสทางการศึกษา ประเทศไทยจงึ มีความจาเป็นท่ีจะต้องเตรียมพร้อมเด็กในวัยเรียนให้มีทักษะเพื่อการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ซ่ึงหมายถึงการเรียนรู้เพื่อให้ได้วิชาและแนวคิดสาคัญในศตวรรษที่ 21 ซึ่งต้องให้ได้ทั้งสาระวิชาและได้ทักษะ 3 ด้าน คือทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ ส่ือและเทคโนโลยี และทักษะชีวิตและอาชีพ เพ่ือความสาเรจ็ ท้ังดา้ นการทางานและการดาเนนิ ชวี ิต (วิจารณ์ พาณิช, 2555) การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จึงเป็นแนวทางในการปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนการสอนจากกระบวนการเรียนรู้โดยการอ่าน ฟังบรรยาย ยึดเน้ือหาจากหนังสือและตารา ครูพยายามบอกทุกสิ่งทุกอย่างในหนังสือตารา ให้นักเรียนจดบันทึกแล้วนาไปสอบเก็บเป็นคะแนนความรู้ ยึดครูเป็นศูนย์กลาง มาเป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้ ท่ีคณะครูร่วมกันออกแบบกิจกรรมให้นักเรียนใช้เป็นเคร่ืองมือไปเรียนรู้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ครูเป็นผู้อานวยความสะดวก และเสนอแนะเครื่องมือการเข้าถึงองค์ความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ โดยผ่านเทคโนโลยี ให้เข้าถึงความรู้ได้อย่างรวดเร็วและกว้างขวาง เรียกกระบวนการเรียนแบบนี้ว่า นักเรียนเป็นศูนย์กลาง ดังที่วิจารณ์ พาณิช (2555) ได้กล่าวถึงทักษะเพื่อการดารงชีวิตในศตวรรษท่ี 21 ว่า สาระวิชามีความสาคัญแต่ไม่เพียงพอสาหรับการเรียนรู้ ปัจจุบันการเรียนรู้สาระวิชาควรเป็นการเรียนจากการค้นคว้าเองของนักเรียน โดยครูช่วยแนะนา และช่วยออกแบบกิจกรรมท่ีช่วยให้นักเรียนแต่ละคนสามารถประเมินความก้าวหน้าของการเรียนรู้ของตนเองได้ โดยการส่งเสริมความเข้าใจในเนื้อหา วิชาแกนหลัก และสอดแทรก

2ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เข้าไปในทุกวิชาแกนหลัก ดังนี้ ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ได้แก่ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา การส่ือสารและการร่วมมอื ทกั ษะดา้ นสารสนเทศ สอื่ และเทคโนโลยี ได้แก่ ความร้ดู ้านสารสนเทศ ความรู้เกี่ยวกบั ส่ือและความรดู้ ้านเทคโนโลยี รวมถงึ ทกั ษะดา้ นชีวิตและอาชีพ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เป็นสื่อประเภทหน่ึงที่สนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 และได้รับการยอมรับโดยท่ัวกันว่าสามารถช่วยให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงข้ึนได้ ซึ่งบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมายถึง สื่อการเรียนการสอนทางคอมพิวเตอร์แบบหนึ่งซึ่งใช้ความสามารถของคอมพิวเตอร์ในการนาเสนอสื่อประสมอันได้แก่ ข้อความ ภาพน่ิง กราฟิกแผนภูมิ กราฟ วิดิทัศน์ ภาพเคลื่อนไหว และเสียง เพื่อถ่ายทอดเนื้อหาบทเรียน หรือองค์ความรู้ในลักษณะที่ใกล้เคียงกับการสอนจริงในห้องเรียนมากที่สุดโดยมีเป้าหมายท่ีสาคัญก็คือ สามารถดึงดูดความสนใจของผู้เรียน และกระตุ้นให้เกิดความต้องการท่ีจะเรียนรู้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นตัวอย่างที่ดีของสื่อการศึกษาในลักษณะตัวตอ่ ตวั ซ่ึงผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากการมีปฏิสมั พนั ธ์หรือการโต้ตอบพร้อมทั้งการได้รับผลป้อนกลับ (Feedback) นอกจากนี้ยังเป็นสื่อที่สามารถตอบสนองความแตกต่างระหว่างผู้เรียนได้เป็นอย่างดี รวมทั้งสามารถที่จะประเมิน และตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียนไดต้ ลอดเวลา (สปุ รชี า สอนสาระ, 2555) ดงั น้นั บทเรยี นคอมพวิ เตอร์ช่วยสอนจึงเปน็ เคร่ืองมือที่มีประสิทธิภาพและสามารถนามาใช้ในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนได้ ซึ่งมีผูว้ ิจยั ทีไ่ ดศ้ ึกษาเก่ียวกับประสิทธิภาพ ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ไว้มากมาย เช่น สุวิศิษฎ์ ก้ันหยั่นทอง (2552) ได้ศึกษาการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน เรื่องโปรแกรม Microsoft Office PowerPoint 2003 สาหรับนักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4พบว่า ประสิทธิภาพของบทเรียน เม่ือคิดจากคะแนนเฉลี่ยของการทาแบบทดสอบย่อยหลังบทเรียนและแบบทดสอบรวมหลังบทเรียน มีประสิทธิภาพ 88/82.43 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้คือ 80/80และระดับความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับดี และ ทองชัย ภูตะลุน (2552) ได้ศึกษาการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องระบบคอมพิวเตอร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 พบว่าประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเมื่อคิดจากคะแนนการปฏิบัติกิจกรรมระหว่างเรียน แบบทดสอบระหว่างเรียนและคะแนนจากการทดสอบหลังเรียน มีประสิทธิภาพ 85.80/83.91 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานท่ีต้ังไว้ 80/80 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซ่ึงสอดคล้องกับสมมติฐานที่ต้ังไว้ และดัชนีประสิทธิผลของการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีค่าเท่ากับ 0.69 คิดเป็นร้อยละ 69.00 ซ่ึงสูงกว่าค่าดัชนีประสิทธิผลท่ีตั้งไว้คอื ร้อยละ 60

3 จากที่ผู้วิจัยได้ไปทาการศึกษาสังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ศูนย์การเรียนรวมโรงเรยี นบ้านแม่ตา เปน็ เวลา 2 อาทิตย์ พบวา่ ศูนย์การเรียนรวมโรงเรียนบา้ นแม่ตา ใช้รปู แบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์ กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี แบบเดิมคือการสอนแบบบรรยายโดยสื่อการสอนท่ีใช้ประกอบการเรียนการสอนในปัจจุบันคือหนังสือเรียน และคู่มือการใช้งานท่ีผู้สอนได้จัดทาข้ึนตามแนวการสอนของแต่ละคน ผู้เรียนต้องปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเองตามแบบฝึกหัดท่ีผู้สอนจัดทาขึ้น และในการจัดการเรียนการสอนผู้สอนจะทาการสาธิตการใช้งานโปรแกรมให้นักเรียนดูและคาดว่าผู้เรียนจะปฏิบัติเองได้ แต่ในการปฏิบัติจริงเกิดปัญหาคือผู้เรียนไม่สามารถทาเองได้ ผู้สอนต้องควบคุมการปฏิบัติเป็นรายบุคคล ซึ่งผู้สอนไม่สามารถทาได้เนื่องจากผู้เรียนมีจานวนมากและมีความแตกต่างกัน ทาให้ผู้เรียนเกิดความเบื่อหน่าย ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนไม่ผ่านเกณฑท์ ่ีสถานศกึ ษากาหนด หากมีการพัฒนาหรือสร้างสื่อการสอนใหมๆ่ ขนึ้ คงเป็นวธิ ีแก้ปัญหาที่ดไี ด้ การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ส่อื บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน จึงเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาคอมพิวเตอร์ เนื่องจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นส่ือกลางระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน เปน็ สื่อที่ทาให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรดู้ ้วยตนเองบทเรยี นคอมพิวเตอร์ช่วยสอน จึงเป็นสื่อการเรียนการสอนที่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์ เช่นเดียวกับการเรียนการสอนระหว่างครูกับนักเรียนในห้องเรียนปกติ แต่การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนจะช่วยสร้างให้ผู้เรียนเกิดความสนใจและช่วยเพิ่มทักษะในการเรียนรู้ด้วยตัวเองได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนยังเป็นส่ือมัลติมีเดียที่รวมเอาภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหว เสียงดนตรี เสียงบรรยาย และข้อความเข้าไว้ด้วยกันแล้วสามารถกระตุ้นให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ง่าย ดึงดูดความสนใจ และเกิดความต้องการที่จะเรียนรู้ อีกท้ังยังเป็นส่ือท่ีสามารถสนองความแตกต่างระหว่างผู้เรียนได้เป็นอย่างดี รวมทั้ง สามารถประเมินและตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนได้ตลอดเวลา ซ่ึงมีผู้วิจัยได้ให้ประโยชน์ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไว้มากมาย เช่น กิดานันท์ มลิทอง (2552) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ช่วยเพ่ิมแรงจูงใจในการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน เนื่องจากการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นประสบการณ์ที่แปลกและใหม่ เป็นการช่วยให้ผู้เรียนท่ีเรียนช้าสามารถเรียนได้ตามความสามารถของตนเองโดยสะดวกไม่รีบเร่งโดยไม่ต้องอายผู้อ่ืน และไม่ต้องอายเคร่ืองเมื่อตอบคาถามผิด นอกจากน้ียังเป็นการขยายขีดความสามารถของผู้สอน ในการควบคุมผู้เรียนได้อย่างใกล้ชิด เนื่องจากสามารถบรรจุข้อมูลได้ง่ายและสะดวกในการนามาใช้

4 จากความสาคัญที่กล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาการสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์ หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4โดยเห็นความสาคัญของการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ และเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง ตลอดจนความต้องการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่นามาเป็นสื่อในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยแบ่งเน้ือหาวิชาออกเป็นหน่วยย่อย และจัดเรียงเน้ือหาจากง่ายไปหายาก ผู้เรียนจะเรียนได้ด้วยตนเองตามความสามารถที่มีอยู่ และคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ผู้เรียนสามารถทบทวนความรู้โดยการเรียนซ้าๆ ได้ด้วยตนเอง มีการเพ่ิมแรงจูงใจในการเรียนรู้แก่ผู้เรียน โดยการนาเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ท่ีดึงดูดความสนใจมีการใส่ภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหว ข้อความและเสียงประกอบบทเรียน ดังน้ันการจัดทาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน รายวิชาคอมพิวเตอร์ จึงเป็นแนวทางในการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น ตลอดจนลดความแตกต่างระหว่างผู้เรียน เพ่ือให้ผู้เรียนมีโอกาสได้เรียนรู้ตามความสามารถอยา่ งเตม็ ศักยภาพ2. คำถำมของกำรวิจยั 2.1 ประสทิ ธภิ าพของบทเรียนคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน รายวิชาคอมพวิ เตอร์ หนว่ ยการเรยี นรู้ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4 เปน็ อย่างไร 2.2 ดัชนีประสทิ ธิผลของบทเรยี นคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน รายวชิ าคอมพวิ เตอร์ หน่วยการเรยี นรู้ตกแตง่ ภาพหรรษา (PhotoScape) ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 มีคา่ เท่าไหร่ 2.3 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนท่ีเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ช่วยสอนแตกต่างกนั อย่างไร 2.4 ความพึงพอใจของนกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 4 ทีเ่ รียนด้วยบทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอนรายวชิ าคอมพิวเตอร์ หนว่ ยการเรียนรู้ ตกแตง่ ภาพหรรษา (PhotoScape) ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4มีความพึงพอใจอยู่ในระดบั ใด3. วัตถปุ ระสงค์ของกำรวจิ ัย 3.1 เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน รายวิชาคอมพิวเตอร์หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 3.2 เพ่ือศึกษาดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน รายวิชาคอมพิวเตอร์หนว่ ยการเรยี นรู้ ตกแตง่ ภาพหรรษา (PhotoScape)

5 3.3 เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนท่ีเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน รายวิชาคอมพิวเตอร์ หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา(PhotoScape) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 3.4 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 ที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน รายวิชาคอมพิวเตอร์ หนว่ ยการเรยี นรู้ ตกแตง่ ภาพหรรษา (PhotoScape)4. สมมตฐิ ำนกำรวิจยั 4.1 บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์ หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา(PhotoScape) ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4 มปี ระสทิ ธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 4.2 บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์ หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา(PhotoScape) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 มีค่าดัชนีประสิทธิผล 0.50 ขึ้นไป 4.3 นั ก เรีย น ช้ั น ป ระถ ม ศึ ก ษ าปี ท่ี 4 ท่ี เรียน ด้ ว ยบ ท เรียน ค อม พิ วเต อ ร์ช่ วย ส อ นมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นหลงั เรียนสูงกวา่ ก่อนเรยี น 4.4 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ท่ีเรียนด้วยบทเรียนคอมพวิ เตอร์ช่วยสอนมีความพึงพอใจต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนอยู่ในระดบั มาก5. ขอบเขตของกำรวจิ ยั 5.1 ขอบเขตด้ำนประชำกร กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 จานวน 18 คนศูนย์การเรยี นรวมโรงเรียนบ้านแม่ตา ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2558 5.2 ขอบเขตด้ำนตวั แปร 5.2.1 ตัวแปรอิสระ คือ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน วิชาคอมพิวเตอร์ หน่วยการเรียนรู้ตกแตง่ ภาพหรรษา (PhotoScape) 5.2.2 ตวั แปรตาม 5.2.2.1 ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน 5.2.2.2 ดัชนีประสทิ ธผิ ล 5.2.2.3 ความพึงพอใจ 5.3 ขอบเขตด้ำนเน้อื หำ เน้ือหาท่ีใช้ในการศึกษาเป็นเนื้อหาในรายวิ ชาคอมพิวเตอร์ หน่วยการเรียนรู้ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาท่ี 4 ซึ่งใช้บทเรียนจานวน 3 เรอื่ ง ประกอบดว้ ย

6 บทท่ี 1 แหล่งขอ้ มูลภาพ บทที่ 2 เทคนิคการตกแต่งรูปภาพ1 บทที่ 3 เทคนคิ การตกแต่งรูปภาพ2 5.4 ขอบเขตด้ำนระยะเวลำ การนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ไปใช้กับกลุ่มเป้าหมายทาการศึกษาในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2558 โดยใช้เวลาในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จานวน 3 สัปดาห์รวม 3 ชั่วโมง6. ประโยชน์ที่คำดว่ำจะไดร้ บั 6.1 เป็นแนวทางในการพัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนและพัฒนาบทเรยี นคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวชิ าคอมพวิ เตอร์ หนว่ ยการเรียนรู้ ตกแตง่ ภาพหรรษา (PhotoScape) ให้สูงขน้ึ 6.2 ได้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาคอมพิวเตอร์ หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา(PhotoScape) ทม่ี ีประสทิ ธิภาพ 6.3 ได้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาคอมพิวเตอร์ หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา(PhotoScape) ท่ีมปี ระสิทธิผล 6.4 เพ่อื เป็นแนวทางในการพฒั นาบทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ว่ ยในรายวชิ าอืน่ ต่อไป7. นิยำมศพั ทเ์ ฉพำะ กำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอน หมำยถึง กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้สอนจัดขึ้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง โดยเรียนรู้จากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 ซ่ึงผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตลอดเวลาและค้นพบองคค์ วามรู้ใหม่ของตนเอง บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมำยถึง สื่อการเรียนการสอนทางคอมพิวเตอร์ รายวิชาคอมพิวเตอร์ หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 ท่ีใช้ความสามารถของคอมพิวเตอร์ในการถา่ ยทอดเนอื้ หาบทเรียนโดยเรียงลาดับของเนอื้ หา และนาเสนอสื่อประสม ได้แก่ มีตัวอักษร ภาพกราฟิก ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง เพ่ือกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสนใจในการเรียนมากขึ้น และส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองได้อย่างเต็มศักยภาพโดยจะนาเสนอเน้ือหาทีละจอภาพ รวมทั้งมีการประเมินและตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียนได้ด้วยแบบฝึกหดั ท้ายบท และแบบทดสอบหลงั เรยี น ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ หมำยถึง ทฤษฏีการเรียนรู้ ที่เช่ือมโยงความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิมของนักเรียนและความรู้ใหม่ มาสร้างเป็นความเข้าใจของนักเรียนเอง หรือเรียกว่า โครงสร้างทางปัญญา ซึ่งจะนามาใช้ในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน รายวิชาคอมพิวเตอร์ หน่วยการเรียนรู้ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 โดยมีการสร้างสถานการณ์ปัญหา เพ่ือให้นักเรียนเสียสมดุลทางปัญญา จากนั้นให้นักเรียนเริ่มทาภารกิจ ถ้านักเรียนทาภารกิจไม่ได้ให้นักเรียนศึกษาเพมิ่ เติมจากฐานความชว่ ยเหลือ และแหล่งการเรียนร้เู พมิ่ เติม

7 ประสิทธิภำพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมำยถึง คุณภาพของบทเรียนซึ่งมีผลต่อกระบวนการเรียนรู้และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 จากการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน รายวิชาคอมพิวเตอร์ หน่วยการเรียนรู้ตกแต่งภาพหรรษา(PhotoScape) ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 ตามเกณฑ์ E1/E2 โดยกาหนดเกณฑ์ 80/80 ตัวเลข 80 ตัวแรก หมายถึง ค่าร้อยละของคะแนนที่นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4ได้จากการทาแบบฝกึ หัดระหวา่ งเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทุกเร่ืองรวมกัน (เร่ืองละ 10คะแนน) ไดค้ ะแนนเฉล่ยี ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80 ตัวเลข 80 ตัวหลัง หมายถึง ค่าร้อยละของคะแนนที่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4ท่ไี ด้จากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเสรจ็ ส้ินการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนด้วยบทเรยี นคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ไดค้ ะแนนเฉลย่ี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ดัชนีประสิทธิผล หมำยถึง ค่าแสดงความก้าวหน้าของการเรียนด้วย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน รายวิชาคอมพวิ เตอร์ หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 ของผเู้ รียน โดยดชั นีประสิทธผิ ลมคี า่ 0.50 ขึ้นไป ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียน หมำยถึง ความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถ และทักษะท่ีนักเรียนได้รับจากการเรียนรู้ด้วยตนเองจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน รายวิชาคอมพิวเตอร์หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 โดยอาศัยความสามารถเฉพาะบุคคล ซงึ่ สามารถวัดเป็นคะแนนท่ีได้จากการวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นที่ผู้วิจยั สร้างขึน้ ควำมพึงพอใจ หมำยถึง ความรู้สึกในทางบวกของนักเรียนท่ีมีต่อการเรียนโดยใช้ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน รายวิชาคอมพิวเตอร์ หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape)ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 ซงึ่ มีลักษณะเปน็ มาตราสว่ นประมาณค่า ( Rating scale) 3 ระดับ โดยมเี กณฑ์การให้คะแนนดังนี้ 3 คือมีความพึงพอใจมาก 2 คือมีความพึงพอใจปานกลาง 1 คือ มีความพึงพอใจนอ้ ย

8 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ท่เี กี่ยวข้อง ในการศึกษาวิจัยการพัฒ นาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน รายวิชาคอมพิวเตอร์หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 ศูนย์การเรียนรวมโรงเรียนบ้านแม่ตา ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพ่ือเป็นฐานสาหรับการดาเนินการวจิ ัย ดงั นี้ 1. หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการงานอาชีพและ เทคโนโลยี 2. เอกสารทเ่ี กย่ี วกับบทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน 3. เอกสารท่ีเกยี่ วกับผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น 4. เอกสารที่เกยี่ วกบั ดัชนปี ระสิทธิผล 5. เอกสารท่เี กยี่ วกับความพงึ พอใจ 6. เอกสารทเ่ี กี่ยวกบั ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ 7. งานวจิ ัยท่เี กี่ยวข้อง 8. กรอบแนวคิดในการวจิ ยั1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี 1.1 ทาไมต้องเรยี นการงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เป็นกลุ่มสาระท่ีช่วยพัฒนาให้เรียนรู้มคี วามรู้ความเข้าใจ มีทักษะพื้นฐานท่จี าเป็นต่อการดารงชีวติ และรเู้ ท่าทันการเปลย่ี นแปลง สามารถนาความรู้เก่ียวกับการดารงชีวติ การอาชีพและเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในการทางานอยา่ งมคี วามคิดสร้างสรรค์ และแข่งขันในสังคมไทยและสากลเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ รักการทางาน และมีเจตคตทิ ีด่ ีต่อการทางาน สามารถดารงชวี ติ อยู่ในสงั คมได้อยา่ งพอเพียงและมีความสุข 1.2 เรยี นรู้อะไรในการงานอาชพี และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี มุ่งพัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวมเพื่อให้มีความรู้ความสามารถ มีทักษะในการทางาน เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ และการศึกษาต่อได้อย่างมีประสิทธภิ าพ โดยมีสาระสาคญั ดงั นี้

9 1.2.1 การดารงชีวิตและครอบครัว เป็นสาระเก่ียวกับการทางานในชีวิตประจาวันการช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และสังคมได้ในสภาพเศรษฐกิจที่พอเพียงไม่ทาลายส่ิงแวดล้อมเน้นการปฏิบัติจริงจนเกิดความม่ันใจและภูมิใจในผลสาเร็จของงาน เพื่อให้ค้นพบความสามารถความถนัด และความสนใจของตนเอง 1.2.2 การออกแบบเทคโนโลยี เป็นสาระเก่ียวกับการพัฒนาความสามารถของมนุษย์อย่างสร้างสรรค์ โดยนาความรู้มาใช้กับกระบวนการเทคโนโลยี สร้างส่ิงของเคร่ืองใช้ วิธีการหรือเพิม่ ประสทิ ธิภาพในการดารงชวี ิต 1.2.3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร เป็นสาระเกี่ยวกับกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ การติดต่อสื่อสาร การค้นหาข้อมูล การใช้ข้อมูลและสารสนเทศ การแก้ปัญหาหรือการสรา้ งงาน คุณคา่ และผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร 1.2.4 การอาชพี เปน็ สาระเกย่ี วกับทกั ษะ เห็นความสาคัญของคุณธรรม จริยธรรมและเจตคติที่ดีต่ออาชีพ ใช้เทคโนโลยีได้เหมาะสม เห็นคุณค่าของอาชีพสุจริต และเห็นแนวทางในการประกอบอาชพี 1.3 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 1 การดารงชีวติ และครอบครัว มาตรฐาน ง 1.1 เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทางาน ทักษะการจัดการทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการทางาน มีจิตสานึกในการใช้ พลังงาน ทรัพยากรและสง่ิ แวดลอ้ ม เพื่อการดารงชีวติ และครอบครวั สาระท่ี 2 การออกแบบและเทคโนโลยี มาตรฐาน ง 2.1 เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสร้างส่ิงของเครื่องใช้ หรือวิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เลือกใช้เทคโนโลยีในทางสรา้ งสรรคต์ ่อชวี ติ สังคม สิ่งแวดล้อม และมสี ว่ นร่วมในการจดั การเทคโนโลยีทยี่ ่ังยืน สาระที่ 3 เทคโนโลยสี ารสนทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง 3.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทางาน และอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพประสิทธผิ ล และมคี ุณธรรม สาระที่ 4 การอาชีพ มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ มีทักษะทีจ่ าเป็น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพใช้เทคโนโลยีเพ่ือพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมเี จตคติท่ดี ีตอ่ อาชพี

10 1.4 คณุ ภาพผู้เรยี น จบชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 1. เข้าใจการทางานและปรับปรุงการทางานแต่ละขั้นตอน มีทักษะการจัดการทักษะการทางานรว่ มกัน ทางานอย่างเป็นระบบและมีความคดิ สร้างสรรค์ มีลักษณะนิสัยการทางานที่ขยัน อดทน รับผดิ ชอบ ซอื่ สตั ย์ มมี ารยาทและมีจิตสานกึ ในการใช้นา้ ไฟฟา้ อยา่ งประหยัด และคมุ้ ค่า 2. เข้าใจความหมาย วิวัฒนาการของเทคโนโลยี และส่วนประกอบของระบบเทคโนโลยี มีความคิดในการแก้ปัญหา หรือสนองความต้องการอย่างหลากกหลาย นาความรู้และทักษะการสร้างชิ้นงานไปประยุกต์ในการสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามความสนใจอย่างปลอดภัย โดยใช้กระบวนการเทคโนโลยี ได้แก่ กาหนดปญั หาหรอื ความต้องการ รวบรวมข้อมลู ออกแบบโดยถา่ ยทอดความคิดเป็นภาพร่าง 3 มิติ หรือแผนท่ีความคิด ลงมือสร้าง และประเมินผลเลือกใช้เทคโนโลยีในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม และมีการจัดการเทคโนโลยีด้วยการแปรรูปแล้วนากลบั มาใชใ้ หม่ 3. เข้าใจหลักการแก้ปญั หาเบ้ืองต้น มที ักษะการใช้คอมพิวเตอร์ในการค้นหาข้อมูลเก็บรักษาข้อมูล สร้างภาพกราฟิก สร้างงานเอกสาร นาเสนอข้อมูล และสร้างช้ินงานอย่างมีจิตสานึกและรบั ผดิ ชอบ 4. รู้และเข้าใจเก่ียวกับอาชีพ รวมทั้งมีความรู้ความสามารถ และคุณธรรมที่สัมพันธ์กบั อาชพี2. เอกสารท่ีเก่ียวกบั บทเรียนบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน 2.1 ความหมายของบทเรียนคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน ความหมายของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีผู้ให้ความหมายของคาว่าคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน ไวห้ ลายทา่ น ดงั นี้ วิชัย จันทร์ส่อง (2553) ได้ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน คือการนาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเครื่องช่วยครูในการจัดกระบวนการเรียนการสอน ในรายวิชาต่าง ๆ ด้วยวิธีการเขียนโปรแกรม ซ่ึงโปรแกรมประกอบด้วย บทเรียนและฝึกทักษะการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีรูปแบบตัวหนังสือ สีและภาพกราฟิกสวยงาม โดยผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองตามคาแนะนาในการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผ้เู รียนมีปฏิสัมพนั ธก์ ับคอมพิวเตอร์คือการโต้ตอบกันระหว่างนักเรียนคอมพิวเตอร์และสามารถ ทราบผลการเรียนของนักเรียนว่าบรรลุถึงเกณฑท์ ีต่ ้งั หรือไม่ รวมท้งั มกี ารเสรมิ แรงจงู ใจในการเรียนใหก้ บั ผ้เู รียน สุปรีชา สอนสาระ (2555) ได้กล่าวถึง บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) หมายถึงสื่อการเรียนการสอนทางคอมพิวเตอร์รูปแบบหน่ึง ซึ่งใช้ความสามารถของคอมพิวเตอร์ในการนาเสนอส่ือประสมอันได้แก่ ข้อความ ภาพนิ่ง กราฟิก แผนภูมิ กราฟ วิดิทัศน์ ภาพเคลื่อนไหว เสียง

11เพื่อถ่ายทอดเน้ือหาบทเรียน หรือองค์ความรู้ในลักษณะที่ใกล้เคียงกับการสอนจริงในห้องเรียนมากท่สี ดุ โดยมีเป้าหมายทีส่ าคัญคือ สามารถดึงดูดความสนใจของผเู้ รียน และกระตุ้น ใหเ้ กดิ ความต้องการท่ีจะเรียนรู้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นตัวอย่างที่ดีของส่ือการศึกษาในลักษณะตัวต่อตัว ซ่ึงผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์ หรือการโต้ตอบมาพร้อมท้ังการได้รับผลป้อนกลับ (Feedback)นอกจากนี้ยังเป็นส่ือ ท่ีสามารถตอบสนองความแตกต่างระหว่างผู้เรียน ได้เป็นอย่างดี รวมท้ังสามารถทจ่ี ะประเมินและตรวจสอบความเขา้ ใจของผเู้ รียนได้ตลอดเวลา จากความหมายข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมายถึงสื่อการเรียนรู้ทางคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ความสามารถของคอมพิวเตอร์ในการถ่ายทอดเน้ือหาบทเรียนโดยเรียงลาดับของเนื้อหา และนาเสนอส่ือประสม ได้แก่ มีตัวอักษร ภาพกราฟิก ภาพนิ่งภาพเคล่ือนไหว และเสียง เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสนใจในการเรียนมากข้ึน และส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองได้อย่างเต็มศักยภาพ โดยจะนาเสนอเน้ือหาทีละจอภาพ ซึ่งสามารถแบ่งไดห้ ลายประเภทตามประเภทของบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน 2.2 ประเภทของบทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน สุรีย์พร ชุมแสง (2550) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสามารถนามาใช้ในการเรียนการสอน ได้หลายรูปแบบข้ึนอยู่กับวัตถุประสงค์ของผู้ออกแบบบทเรียนที่จะนาเสนอเนื้อหาอย่างไรซ่ึงการใช้คอมพิวเตอร์ในการเรียนการสอนแบ่งได้ 2 กรณี คือ คอมพิวเตอร์ช่วยจัดการสอน ซึ่งเป็นการแลกเปล่ียนข้อมูลระหว่างครูกับเครื่องคอมพิวเตอร์และคอมพิวเตอร์ช่วยการเรียนซ่ึงเป็นการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับเคร่ืองคอมพิวเตอร์เป็นการนาเสนอเนื้อหาให้กับผู้เรียนไม่ว่าจะเป็นเนื้อหาใหม่ หรือการทบทวนบทเรียนตามที่ผู้ออกแบบกาหนดไว้ ซ่ึงแบ่งเป็นประเภทต่างๆ ได้ดังนี้1) คอมพิวเตอร์ช่วยสอนประเภทสอนเนื้อหารายละเอียด (tutorial instruction) นับว่าเป็นบทเรยี นขั้นพื้นฐานของการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนท่ีเสนอบทเรียนในรูปแบบบทเรียนที่สามารถใช้สอนได้ทุกสาขาวิชามีการนาเสนอเน้ือหาข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับข้อเท็จจริงท่ีเหมาะสม เป็นโปรแกรมท่ีทาการพฒั นาในลกั ษณะบทเรยี นซ่ึงประกอบด้วยบทนา คาอธบิ าย ทฤษฎี กฎเกณฑ์ เม่ือผู้เรียนได้ศึกษาแล้วจะมีแบบทดสอบ หรือแบบฝึกหัดเพื่อใช้ในการตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียน มีการแสดงผลยอ้ นกลับ สามารถย้อนกลับไปบทเรียนเดิมหรือข้ามบทเรยี นท่ีรู้แล้ว นอกจากน้ียังสามารถบันทึกการเรียนของผู้เรียนเพ่ือให้ผู้สอนมขี ้อมูลในการเสริมความรู้ให้กับผ้เู รียนบางคน 2) คอมพิวเตอรช์ ่วยสอนประเภทการฝึกทักษะ (drill and practice) เปน็ โปรแกรมท่คี รผู ู้สอนใช้สอนเสริมเม่ือได้สอนบทเรียนบางอย่างไปแล้ว และให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดกับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ เพ่ือวัดระดับหรือให้นักเรียนฝึกทาแบบฝึกหัดจนเข้าใจในเน้ือหาในบทเรียนน้ันๆ ผู้เรียนที่เรียนอ่อนหรือเรียนไม่ทันเพ่ือนในห้องเรียน สามารถทาความเข้าใจบทเรียนแต่ละบทได้ด้วยตนเอง บทเรียนประเภทน้ีประกอบด้วยคาถามคาตอบที่จะให้นักเรียนฝึกและปฏิบัติ อาจจะต้องใช้จิตวิทยาเพื่อทาให้ผู้เรียนอยากทาและต่ืนเต้นกับการทาแบบฝึกหัดนั้นๆ เช่น คาพูดโต้ตอบ รูปภาพเคลื่อนไหว เสียงต่าง ๆ 3) คอมพิวเตอร์ช่วยสอนประเภทการจาลองสถานการณ์ (simulation) เป็นบทเรียนทางคอมพิวเตอร์ท่ีนาเสนอ

12ในรูปแบบของการจาลองสถานการณ์ท่ีเหมือนจริงโดยมีเหตุการณ์ต่างๆ อยู่ในโปรแกรมและผู้เรียนสามารถที่จะเปลย่ี นแปลงหรอื จัดกระทาได้ มีการโต้ตอบ มีตวั แปรหรือทางเลอื กหลายๆ ทางซ่ึงผู้เรยี นจะต้องตัดสินใจแก้ปัญหาโดยบทเรียนจะมีคาแนะนาเพ่ือช่วยในการตัดสินใจของนักเรียน และแสดงผลลัพธ์ในการตัดสินใจเพ่ือให้ผู้เรียนได้ศึกษาผลที่เกิดขึ้นจากทางเลือกเหล่าน้ัน 4) คอมพิวเตอร์ช่วยสอนประเภทเกมการศึกษา (education game) เป็นเกมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการเรียนการสอนเป็นส่ิงทจ่ี ูงใจผู้เรียนไดเ้ ป็นอย่างดี มุ่งใหผ้ ู้เรยี นมีความสนกุ สนาน เพลิดเพลินจนลืมไปวา่ กาลงั เรียนอยู่ช่วยเพิ่มบรรยากาศในการเรียนรู้ให้ดียิ่งข้ึน โปรแกรมประเภทนี้ เป็นแบบพิเศษของแบบจาลองสถานการณ์ โดยเหตุการณ์ท่ีมีการแข่งขันซ่ึงสามารถที่จะเล่นได้ โดยนักเรียนคนเดียวหรือหลายคนมีการให้คะแนน มีการแพ้ชนะ 5) คอมพิวเตอร์ช่วยสอนประเภทการแก้ปัญหา (Problem Solving)เป็นโปรแกรมท่ีเน้นให้ฝึกคิด การตัดสินใจ โดยมีการกาหนดเกณฑ์ให้แล้ว ให้ผู้เรียนพิจารณาไปตามเกณฑ์มีการให้คะแนนหรือน้าหนักกับเกณฑ์แต่ละข้อ 6) คอมพิวเตอร์ช่วยสอนประเภทแบบทดสอบ (testing) เปน็ การใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ในการสร้างแบบทดสอบการตรวจให้คะแนนการคานวณผลสอบทาให้ผู้เรียนได้ผลป้อนกลับทันที ซึ่งเป็นการวัดผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียน โดยผู้ทาต้องคานึงถงึ หลักการตา่ งๆ คือการสรา้ งข้อสอบ การจดั การข้อสอบ การตรวจให้คะแนน การวิเคราะห์ข้อสอบเป็นรายข้อ การสร้างคลังข้อสอบ และการจัดให้ผู้สอบสุ่มเลือกข้อสอบได้เอง 7) คอมพิวเตอร์ช่วยสอนประเภทการสนทนา (Dialogue) เป็นการเลียนแบบการสอนในห้องเรียน คือ เน้นการพูดคุยระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แต่แทนที่เสียง ด้วยตัวอักษรบนจอภาพแล้วมีการสอนด้วยการต้ังคาถามลักษณะในการใช้แบบสอบถาม ก็เป็นการแก้ปัญหาอย่างหนึ่ง 8) คอมพิวเตอร์ช่วยสอนประเภทการไต่ถาม (Inquiry) เป็นการพัฒนาโปรแกรมท่ีสามารถใช้ในการค้นหาข้อเท็จจริง ความคิดรวบยอดหรือข่าวสารที่เป็นประโยชน์ ในแบบให้ข้อมูลข่าวสารเหล่าน้ี ซึ่งมีแหล่งเก็บข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์สามารถแสดงผลได้ทันทีเมื่อผู้เรียนต้องการด้วยระบบง่ายๆ ที่ผูเ้ รียนสามารถทาแค่เพียงกดหมายเลขของผู้เรียน คอมพิวเตอร์ก็จะแสดงข้อมูลท่ีเป็นคาตอบที่ผู้เรียนต้องการ 9) คอมพิวเตอร์ช่วยสอนประเภทแบบค้นพบ (Discovery) ผู้เรียนทาการเรียนรู้ด้วยตนเองโดยผู้สอนเพียงแค่นาโปแกรมการเรียนมาให้กับผู้เรียนได้ทาการศึกษา แล้วผเู้ รยี นจะเป็นผู้สัง่ ให้คอมพิวเตอร์ทางานด้วยตนเอง ไม่มีคาตอบทีแ่ นน่ อนลว่ งหน้า เช่น การสอนภาษาคอมพิวเตอร์ตา่ งๆ ให้กับผู้เรียนแล้วผ้เู รียนเลอื กใชค้ าสั่งที่เรียนผ่านไปแล้ว มาสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานตามความต้องการ และ 10) คอมพิวเตอร์ช่วยสอนประเภทแบบรวมวิธีการต่างๆ (Combination) รวบรวมวิธีการสอนหลายแบบเข้าด้วยกัน ซ่ึงเป็นไปตามธรรมชาติของการเรียนการสอนซงึ่ ความต้องการวิธกี ารสอนหลายแบบความต้องการนีต้ อ้ งมาจากการกาหนดวัตถุประสงค์ในการเรียนการสอนผู้เรียน และองค์ประกอบหรือภารกิจต่างๆ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนหนึ่งๆ อาจมีท้ังลักษณะท่ีเป็นการสอน เกมเพ่ือการสอน การไต่ถามให้ข้อมูลรวมทงั้ ประสบการณท์ างการแกป้ ญั หา จากข้อความข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า การออกแบบรูปแบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมาใช้ในการเรียนการสอน ข้ึนอยู่กับจุดประสงค์ของผู้ใช้ว่าต้องการให้เป็นอย่างไร ซึ่งมีอยู่หลายประเภทตามที่กล่าวถึง การท่ีจะบอกว่าคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นรูปแบบ ใดน้ันขึ้นอยู่กับความโดดเด่นของโปรแกรม ไม่จาเป็นต้องเป็นแบบใดแบบหน่ึงเสมอไป นอกจากนี้ยังข้ึนอยู่กับการออกแบบลักษณะของบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน

13 2.3 ลักษณะของบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน บ้านมหา ดอทคอม (2552) ลักษณะท่ีเป็นองค์ประกอบสาคัญของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมี 4 ประการ ได้แก่ 1) สารสนเทศ (Information) หมายถึง เนื้อหาสาระท่ีได้รับการเรียบเรียงทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ หรือได้รับทักษะอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่ผู้สร้างได้กาหนดวัตถุประสงค์ไว้การนาเสนออาจเป็นไปในลักษณะทางตรง หรือทางอ้อมก็ได้ ทางตรง ได้แก่ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนประเภทติวเตอร์ เช่น การอ่าน จา ทาความเข้าใจ ฝึกฝน ตัวอย่าง การนาเสนอในทางอ้อม ได้แก่คอมพิวเตอร์ช่วยสอนประเภทเกมและจาลอง 2) ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individualization)การตอบสนองความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล คือ ลักษณะสาคญั ของคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน บคุ คลแต่ละบุคคลมีความแตกต่างกันทางการเรียนรู้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นสื่อประเภทหน่ึงจึงต้องได้รับการออกแบบให้มีลักษณะที่ตอบสนองต่อความแตกต่างระหว่างบุคคลให้มากที่สุด 3) การโต้ตอบ(Interaction) คือการมีปฏิสัมพันธ์กันระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การเรียนการสอนรูปแบบท่ีดีท่ีสุด คือ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนได้มากท่ีสุด และ 4) การให้ผลป้อนกลับโดยทันที (Immediate feedback) ผลป้อนกลับหรือการให้คาตอบเป็นการเสริมแรงอย่างหนึ่ง การให้ผลป้อนกลับแก่ผู้เรียนในทันทีหมายรวมถึงการที่คอมพิวเตอร์ช่วยสอนท่ีสมบูรณ์จะต้องมีการทดสอบหรือประเมินความเข้าใจของผู้เรียนในเนื้อหาหรือทักษะต่างๆ ตามวัตถุประสงค์ทกี่ าหนดไว้ สุทิน ทองไสว (2552) ได้กล่าวถึงลักษณะของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ดังน้ีคอมพิวเตอร์ช่วยสอนจะมีลักษณะการนาเสนอเป็นเรื่อง ๆ ที่เรียกว่าเฟรม หรือกรอบเรียงลาดับไปเร่ือยๆ เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถศึกษาด้วยตนเองและมีปุ่มควบคุมหรือรายการควบคุม การทางานเพ่ือให้ผู้เรียนสามารถโต้ตอบกับคอมพิวเตอร์ได้ เช่น ส่วนที่เป็นบททบทวน แบบฝึกปฏิบัติ หรือแบบทดสอบ สาหรับการตอบสนองต่อการตอบคาถาม ควรมีเสียงหรือคาบรรยายภาพกราฟิกเพ่ือสร้างแรงจูงใจในกรณีท่ีนักเรียนตอบคาถามผิดไม่ควรข้ามเนื้อหา โดยไม่ช้ีแนะแนวทางท่ีถูกต้องในการจัดทาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนั้นเราจะต้องคานึงถึงขั้นตอนและส่วนประกอบในการจัดทาสื่อ กระบวนการจัดทาท่ีถูกต้องเหมาะสม โดยศึกษาให้เข้าใจว่ามีข้ันตอนการดาเนินงานอยา่ งไรบ้าง ซึ่งพอสรปุ ได้ดงั น้ี 1. บทนาเรอื่ ง (Title) 2. คาช้แี จงบทเรยี น (Instruction) 3. วตั ถปุ ระสงคข์ องบทเรียน (Objective) 4. รายการเมนหู ลัก (Main Menu) 5. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre-test)

14 6. เนอื้ หาบทเรยี น (Information) 7. แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post-test) 8. บทสรปุ และการนาไปใช้ (Summary Application) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นส่ือทางการศึกษาท่ีมีประโยชน์ในการใช้ ประกอบการสอนวิชาอ่ืนๆ ได้เป็นอย่างดี รวมท้ังยังช่วยทาให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนดีข้ึน ด้วยเหตุน้ีจึงควรมีการนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเข้ามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียนให้มากที่สุดโดยคานึงถึงประโยชน์ของผู้เรียนเป็นสาคัญและประโยชน์ต่อกระบวน การเรียนการสอนในปัจจุบันได้เป็นอย่างดี ส่ิงสาคัญอีกประการหนึ่งก็คือ การเลือกส่ือและวิธีการนาเสนอสื่ออย่างเหมาะสม จะเป็นการกระตุ้นความสนใจของผู้เรียนได้เป็นอย่างดี รวมท้ังยังสามารถถ่ายทอดความรู้ตา่ งๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จากข้อความข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า ลักษณะสาคัญของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนจะประกอบด้วย บทนาเร่ือง คาช้ีแจงบทเรียน วัตถุประสงค์ของบทเรียน รายการเมนูหลักแบบทดสอบก่อนเรียน เน้ือหาบทเรียนแบบทดสอบหลังเรียน บทสรุปและการนาไปใช้งานและเน้ือหาท่เี สนอต้องคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล มีการตอบโต้หรือมีปฏิสัมพันธ์กับนักเรยี น และให้ผลป้อนกลับทันท่ี บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนจะเป็นประโยชน์อย่างมากหากนามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียน ซ่ึงประโยชน์ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีอยู่มากมายหลายด้าน 2.4 ประโยชน์ของบทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นสื่อที่จะช่วยให้ครูจักการเรียนรู้ได้บรรลุจุดหมายของหลักสูตรโดยมผี ้กู ลา่ วถงึ ประโยชน์ของคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน ดังนี้ สุทิน ทองไสว (2552) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ดังนี้1) ผู้เรียนได้เรียนตามความสามารถของตนเอง และสามารถเรียนตามลาพังด้วยตนเอง 2) ด้านภาพเสยี ง และสสี ัน เป็นสิ่งดึงดูดความสนใจของผู้เรียน ให้สนใจในบทเรียน 3) เป็นการเสริมแรงแก่ผเู้ รยี นได้รวดเร็วในระหว่างที่เรียน ทาให้ผู้เรียนเกิดความตื่นเต้นไม่เบื่อหน่ายและเม่ือทาผิดพลาดก็สามารถแกไ้ ขได้ทันที 4) ผู้เรียนได้เรียนตามลาดบั ขนั้ ตอนจากงา่ ยไปยาก หรือเลือกที่จะเรียนในหัวข้อท่ีตนเองสนใจก่อนได้ 5) ผู้เรียนสามารถทบทวนเน้ือหาหรือบทเรียนที่เคยเรียนไปแล้วซ้าได้อีก ตามความต้องการ 6) ผู้สอนใช้เวลาในการสอนน้อยลง และมีเวลาในการเตรียมบทเรียนอื่นๆ ได้มากข้ึน7) ผสู้ อนมีเวลาในการสร้างสรรค์ และพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ 8) ชว่ ยแก้ปัญหาการขาดแคลนบุคลากรและ 9) ชว่ ยฝึกให้ผู้เรยี นคดิ อยา่ งมีเหตผุ ลเพราะตอ้ งแก้ปญั หาตลอดเวลา

15 อรอุมา แก้ววงษา (2552) กล่าวถึง บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีประโยชน์ต่อการเรียนการสอน ดังน้ี 1) สร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้ 2) ดึงดูดความสนใจ โดยใช้เทคนิคการนาเสนอด้วยกราฟิก ภาพเคล่ือนไหว แสง สี เสียง สวยงาม และเหมือนจริง 3) ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และสามารถเข้าใจเนื้อหาได้เร็วด้วยวิธีที่ง่ายๆ 4) ผู้เรียนมีการโต้ตอบ มีปฏิสัมพันธ์กับคอมพิวเตอร์และบทเรียนฯ มีโอกาสเลือกตัดสินใจ และได้รับการเสริมแรงจากการได้รับข้อมูลย้อนกลับทันที5) ช่วยให้ผู้เรียนมีความคงทนในการเรียนรู้สูง เพราะมีโอกาสปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง ซ่ึงจะเรียนรู้ได้จากข้ันตอนทง่ี ่ายไปหายากตามลาดบั 6) ผเู้ รียนสามารถเรยี นรู้ได้ตามความสนใจและความสามารถของตนเอง บทเรียนมีความยืดหยุ่น สามารถเรียนซ้าได้ตามที่ต้องการ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบต่อคนเอง ต้องควบคุมการเรียนด้วยตนเอง มีการแก้ปัญหาและฝึกคิดอย่างมีเหตุผล7) สร้างความพึงพอใจแก่ผู้เรียน เกิดทัศนคติที่ดีต่อการเรียน 8) สามารถรับรูผ้ ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนได้อย่างรวดเร็วเป็นการท้าทายผู้เรียนและเสริมแรงให้อยากเรียนต่อ 9) ให้ครูมีเวลามากข้ึนที่จะช่วยเหลือผู้เรียนในการเสริมความรู้ หรือช่วยผู้เรียนคนอื่นท่ีเรียนก่อน 10) ประหยัดเวลาและงบประมาณในการจัดการเรียนการสอนโดยลดความจาเป็นท่ีจะต้องใช้ครูท่ีมีประสบการณ์สูง หรือเคร่ืองมือราคาแพง เคร่ืองมืออันตราย และ 11) ลดช่องว่างการเรียนรู้ระหว่างโรงเรียนในเมืองและชนบท เพราะสามารถส่งบทเรยี นฯ ไปยังโรงเรียนชนบทใหเ้ รยี นรูไ้ ด้ด้วย จากข้อความข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า ประโยชน์ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน คือช่วยผู้เรียนอ่อนได้ศึกษาหาความรู้ด้วยตนเองทั้งในและนอกเวลาเรียน ทั้งในและนอกสถานศึกษาผเู้ รยี นมีความสนุกสนานและสามารถทบทวนบทเรยี นได้ตลอดเวลา3. เอกสารทเี่ ก่ียวกบั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน 3.1 ความหมายของผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ยทุ ธนา ปัญญาดี (2553) ได้ให้ความหมายของ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความรู้ความเข้าใจ ทักษะ และทัศนคติอันเกิดจากการเรียนรู้ ซึ่งอาจวัดได้จากการทดสอบระหว่างหรือหลังการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ด้วยการทดสอบหรือวิธีการอื่นๆ นอกจากผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนจะบอกคุณภาพของผู้เรียนแล้วยังแสดงให้เห็นถึงคุณค่าของหลักสูตร คุณภาพของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ตลอดจนความร้คู วามสามารถของครูผู้สอนและผ้บู ริหารอีกดว้ ย ธวัชชัย ศุภดิษฐ์ (2556) ได้กล่าวว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถหรือความสาเร็จของนักศึกษาที่ได้จากการเรียนการสอน ซึ่งวัดผลความสาเร็จหรือระดับความรู้ความสามารถของนกั ศกึ ษาว่ามคี วามรมู้ ากน้อย จากผลของคะแนนสอบในแต่ละวชิ าและประเมนิ ผลออกมาในรปู ของเกรดเฉล่ยี สะสม

16 สุมาลี เอกพลและคณะ (2557) ได้ให้ความหมายของผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึงผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง ความรู้ ความสามารถและทักษะท่ีได้รับจากการเรียนรู้ด้วยตนเองหรือการเรียนรู้ในชั้นเรียนในรายวิชาต่าง ๆ โดยอาศัยความสามารถเฉพาะบุคคล ซ่ึงสามารถวัดเป็นคะแนนทไ่ี ด้จากการทดสอบ หรอื เกรดท่ไี ด้จากการเรยี น จากความหมายข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความรู้ความเข้าใจ ความสามารถ และทักษะที่นักเรียนได้รับจากการเรียนรู้ด้วยตนเองหรือการเรียนรู้ในชั้นเรียน โดยอาศัยความสามารถเฉพาะบุคคล ซ่ึงสามารถวัดเป็นคะแนนที่ได้จากการทดสอบหรอื เกรดท่ีไดจ้ ากการวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น 3.2 การวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น ยุทธนา ปัญญาดี (2553) ได้ให้ความหมายของ การวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึงกระบวนการวัดผลการศึกษาเล่าเรียนว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้มากน้อยเพียงใดหลังจากเรียนในเรื่องนัน้ ๆ วนิดา ดีแป้น (2553) ได้กล่าวว่า การวัดและการประเมินผลการเรียน คือกระบวนการตรวจสอบผู้เรียนว่าได้พัฒนาไปถึงจุดหมายปลายทางของหลักสูตรและมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์เป็นไปตามท่ีกาหนดหรือไม่ รวมท้ังเป็นส่ิงที่ทาให้ทราบว่าผู้เรียนเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด โดยการวัดและการประเมินผลการเรียนมีจุดประสงค์ คือ การจัดตาแหน่งเพ่ือเป็นการวัดว่าผู้เรียนแต่ละคนมีความรู้หรือทักษะเพียงพอหรือไม่ ซึ่งจะทาให้ทราบจุดเด่นจุดด้อยของผเู้ รียนเป็นการประเมินพฒั นาการของเด็ก แล้วนาไปทานายเพ่ือเป็นการแนะแนวทางในการประกอบอาชพี หรือศึกษาตอ่ นาไปประเมนิ ค่าซ่ึงจะกระทาเม่ือการสอนสนิ้ สุดลง สุมาลี เอกพลและคณะ (2557) การวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน สามารถทดสอบโดยใช้แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ หรือได้จากกระบวนการที่ไม่ต้องใช้แบบทดสอบ เช่น การสังเกต การตรวจการบ้านที่ได้รับมอบหมาย หรืออาจอยู่ในรูปของผลการเรียนหรือเกรดท่ีได้จากการเรียนในรายวิชานั้น ๆ จะพบว่าการวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนท่ีนิยมใช้กันท่ัวไปมักอยู่ในรูปแบบของคะแนน หรือเกรดท่ไี ดจ้ ากการเรยี น จากความหมายข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึงกระบวนการตรวจสอบความก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรยี นหลังจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้มากน้อยเพียงใด โดยสามารถวัดได้จากคะแนนการทาแบบฝึกหัด และคะแนนจากการทาแบบทดสอบหลังเรียน ซ่ึงนักเรียนแต่ละคนจะมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่แตกต่างกนั ขนึ้ อยูก่ ับปัจจัยทม่ี ีผลตอ่ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น

17 3.3 ปจั จัยทม่ี ผี ลต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน กรรณิการ์ ภิรมย์รัตน์ (2554) อ้างถึงใน (สุรัตน์ เตียวเจริญ, 2543) กล่าวถึง ปัจจัยที่เป็นสาเหตทุ ี่เกี่ยวเน่ืองถึงผลสัมฤทธิท์ างการเรียน 3 ด้าน ได้แก่ ปัจจัยด้านสถานศึกษา ปัจจัยด้านส่วนตัวของนักเรยี น และปัจจัยดา้ นครอบครวั โดยมีรายละเอียด ดงั นี้ 1) ปัจจัยด้านสถานศึกษาเป็นสง่ิ สาคัญเพราะเวลาส่วนใหญ่ นักเรยี นจะอยู่ทโี่ รงเรียน โรงเรียนมีหน้าท่ีให้การศึกษาแก่เด็ก รวมถึงการจัดการด้านบริหาร ด้านวิชาการ และการบริการตลอดจนการจัดกิจกรรมต่างๆ อุปกรณ์การเรียนการสอนการกีฬา รวมถึงสภาพแวดลอ้ มท่ีจะสง่ เสรมิ ให้เดก็ มีโอกาสพฒั นาสว่ นตัวอย่างเต็มท่ี 2) ปจั จัยทางด้านส่วนตัวของนักเรียน (2.1) บุคลิกภาพ ซึ่งเป็นส่ิงท่ีได้รับการกล่อมเกลาและหล่อหลอมมาจากครอบครัวและรับการขัดเกลาจากโรงเรียนก่อให้เกิดปัญหาในการปกครองและเป็นผลกระทบต่อการเรียน เช่น นิสัยก้าวร้าว ชอบทาลายส่ิงของ อวดดี เลินเล่อ ฝ่าฝืนระเบียบ ชอบทาตัวเด่น เป็นคนขี้อาย (2.2) สุขภาพ หากเด็กมีโรคประจาตัวก็จะเป็นอุปสรรคต่อการเรียนและอาจทาให้เด็กเกิดปมด้อย เกิดความท้อถอยในการเรียนได้ (2.3) การปรับตัวให้เข้ากับระบบต่างๆ ของโรงเรียน เช่นระบบการเรียนการสอนใหม่ ๆ เพื่อน ครูผู้สอน (2.4) การวางแผนการเรียน เด็กค้นหาความชอบของส่วนตัวยังไม่เจอ จะเรียนอะไรดี เพ่ือจะนาไปใช้ในการประกอบอาชีพ ยังไม่มีเป้าหมายชีวิตอย่างไร(2.5) การเปล่ียนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม ส่ิงย่ัวยุต่าง ๆ ในสังคมปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นสื่อทางโทรทศั น์ ทางอินเตอรเ์ น็ต (2.6) การคบเพื่อนหรอื กลุ่มเพ่ือน กลุ่มเพ่ือนมีผลต่อเจตคติและพฤตกิ รรมการเรียนการสอนตามลักษณะของกลุ่มเพ่ือน เช่น การเลือกวิชาเรียน และแผนการเรียน (2.7) นิสัยในการเรียนและทัศนคติต่อการเรียน และการปรับตัวทางการเรียนมีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ 3) ปัจจัยด้านครอบครัว โดยปัญหาท่ีจะพบอยู่เสมอ ได้แก่ (3.1) ปัญหาความสัมพันธ์ในครอบครัว หากพ่อแม่แยกกนั อยู่หรือทะเลาะกัน พ่อแมล่ มุ่ หลงในอบายมุข ยอ่ มมีส่วนทาให้เด็กขาดความอบอุ่น (3.2) พื้นความรู้ของพ่อแม่ พ่อแม่บางคนขาดความเข้าใจนักเรียน ขาดความรู้เร่ืองจิตวิทยาก็อาจทาให้เด็กเกิดความคับข้องใจได้ (3.3) ฐานะทางเศรษฐกิจ ครอบครัวท่ียากจนไมส่ ามารถจัดหาอปุ กรณ์การเรยี นที่จาเป็นให้แก่เด็ก บางครอบครวั ท่ีร่ารวยอาจส่งเสรมิ ให้เด็กทาในทางที่ผิดทาให้มนี ิสัยฟ้งุ เฟ้อ ธวัชชัย ศุภดิษฐ์ (2556) อ้างถึงใน (อริยา คูหา และบัญญัติ ยงย่วน, 2547) กล่าวถึงองค์ประกอบท่ีมีผลต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ประกอบด้วย 5 ด้าน คือ 1) ความพร้อมด้านสติปัญญา หรือความรู้ ทักษะพ้ืนฐาน 2) บุคลิกภาพหรือจิตลักษณะ เช่น แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์อัตมโนทัศน์ 3) พฤติกรรมการเรียน เช่น วิธีการเรียน การผัดวันประกันพรุ่ง 4) บรรยากาศในการเรียน เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียน วิธีการสอนของครู 5) ตัวแปรทางประชากร เช่นอายุ เพศ สถานภาพทางเศรษฐกิจและสงั คม การศกึ ษาของบดิ ามารดา เป็นต้น

18 จากข้อความข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า ปัจจัยที่มีผลต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน มีอยู่ 4 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยด้านตัวนักเรียน ปัจจัยด้านครอบครัว ปัจจัยด้านครู และปัจจัยด้านสถานศกึ ษา นักเรียนจะเรียนรู้ได้ดหี รือไมข่ ึ้นอยกู่ ับปัจจัยดังกล่าว ซ่ึงผู้สอนต้องจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนใหเ้ หมาะสมกับกลุ่มผเู้ รยี น เพอ่ื ให้ผเู้ รียนมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นที่สงู ข้ึนได้4. เอกสารทเ่ี กย่ี วกบั ดชั นีประสทิ ธผิ ล กรมวิชาการ (2545) กล่าวว่าดัชนีประสิทธิผล (E.I.) เป็นค่าแสดงความก้าวหน้าของผู้เรียนดชั นีประสทิ ธผิ ลควรมคี ่า 0.5 ขน้ึ บุญชม ศรีสะอาด (2546) กล่าวว่าในการวิเคราะห์หาประสิทธิผลของส่ือ วิธีสอน หรือนวัตกรรม ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นและพัฒนาขึ้นว่ามีประสิทธิผล (effectiveness) เพียงใด ก็จะนาส่ือท่ีพัฒนาขึ้นไปทดลองใช้กับผู้เรียนที่อยู่ในระดับมากเหมาะสม แล้วนาผลการทดลองมาวิเคราะห์หาดัชนีประสิทธผิ ล ไชยยศ เรืองสุวรรณ (2546) ได้กล่าวถึงดัชนีประสิทธิผลไว้ว่า ค่าที่คานวณจะได้เป็นทศนิยมซึ่งค่าทศนิยมที่ได้ถ้ามีค่าใกล้ 1 มากเพียงใดยิ่งแสดงว่าส่ือนั้นมีประสิทธิภาพมาก ข้อมูลที่นามาใช้ในการคานวณ มาจากคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ท้ังการทดสอบก่อนเรียน และการทดสอบหลังเรียน จากข้อความข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า ค่าดัชนีประสิทธิผล คือค่าแสดงความก้าวหน้าของการเรียนด้วยบท เรียนคอมพิ วเตอร์ช่วยสอน รายวิชาคอมพิ วเตอร์ หน่วยการเรียน รู้ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 ของผู้เรียน โดยค่าดัชนีประสิทธิผลมีค่าตงั้ แต่ 0.5 ขนึ้ ไป5. เอกสารทีเ่ กีย่ วกบั ความพึงพอใจ กชกร เป้าสุวรรณ (2550) ความพึงพอใจ หมายถึง ส่ิงท่ีควรจะเป็นไปตาม ความต้องการความพึงพอใจเป็นผลของการแสดงออกของทัศนคติของบุคคลอีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งเป็นความรู้สึกเอนเอยี งของจิตใจท่ีมีประสบการณที่มนุษย์เราได้รับอาจจะมากหรือน้อยก็ได้และเป็นความรสู ึกที่มีต่อส่ิงใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งเป็นไปได้ท้ังทางบวกและทางลบ แต่ก็เมื่อใดสิ่งนั้นสามารถ ตอบสนองความต้องการหรือทาให้บรรลุจุดมุ่งหมายได้ก็จะเกิดความรู้สึกบวก เป็นความรู้สึก ท่ีพึงพอใจ แต่ในทางตรงกันข้ามถ้าสง่ิ นน้ั สร้างความรู้สึกผดิ หวัง กจ็ ะทาให้เกิดความรู้สึกทางลบ เป็นความรู้สกึ ไมพ่ ึงพอใจ บุษยมาศ แสงเงิน (2557) จากทฤษฎีแรงจูงใจ ตามลาดับขั้นของ Maslow กล่าวว่า \"มนุษย์มีความต้องการความปรารถนาและได้รับสิง่ ท่ีมคี วามหมายตอ่ ตนเอง ความต้องการเหล่าน้ีจะเรยี งลาดับขั้นของความต้องการ ตั้งแต่ข้ันแรกไปสู่ความต้องการข้ันสูงข้ึนไปตามลาดับ\" ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 5 ข้ันดังนี้ 1) ความต้องการทางร่างกาย (physiological needs) เป็นความต้องการขั้นพ้ืนฐานของมนุษย์เพ่ือความอยู่รอด เช่น อาหาร เคร่ืองนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค อากาศ น้าดื่ม การพักผ่อน ฯลฯ

192) ความต้องการความปลอดภัยและมั่นคง (security or safety needs) เมื่อมนุษย์สามารถตอบสนองความต้องการทางร่างกายได้แล้ว มนุษย์ก็จะเพ่ิมความต้องการในระดับที่สูงข้ึนต่อไป เช่นความตอ้ งการความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยส์ ิน ความต้องการความม่ันคงในชีวิตและหน้าทก่ี ารงาน3) ความต้องการความผูกพันหรือการยอมรับ ความต้องการทางสังคม (affiliation or acceptanceneeds) เป็นความต้องการส่วนหนึ่งของสงั คมซง่ึ เป็นธรรมชาติอย่างหน่ึงของมนษุ ย์ เช่นความต้องการให้และได้รับซ่ึงความรัก ความต้องการเป็นส่วนหน่ึงของหมู่คณะ ความต้องการได้รับการยอมรับการต้องการได้รับคาช่ืนชมจากผู้อื่น ฯลฯ 4) ความต้องการการยกย่อง (esteem needs) หรือความภาคภูมิใจในตนเอง เป็นความต้องการการได้รับการยกย่องนับถือและสถานะจากสังคม เช่น ความต้องการได้รับการเคารพนับถือความต้องการมีความรู้ความสามารถฯลฯ 5) ความตอ้ งการความสาเร็จในชีวิต (self - actualization) เป็นความต้องการสูงสุดของแต่ละบุคคล เช่น ความต้องการที่จะทาทุกส่ิงทุกอย่างให้สาเร็จ ความต้องการทาทกุ อย่างเพื่อตอบสนองความต้องการของตนเอง ฯลฯ จากความหมายข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกในของนักเรยี นท่ีมีต่อการเรียนโดยใช้บทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน รายวิชาคอมพิวเตอร์ หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 4 ซึ่งมีลกั ษณะเปน็ มาตราส่วนประมาณคา่ 3 ระดับ โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนดังน้ี 3 คือมีความพึงพอใจระดับมาก 2 คือมีความพึงพอใจระดับปานกลาง 1คือมีความพงึ พอใจระดบั น้อย6. เอกสารทเ่ี ก่ยี วกับทฤษฏกี ารเรยี นรู้ 6.1 ทฤษฎีการเรยี นรู้กลมุ่ พฤตกิ รรมนิยมของสกนิ เนอร์ ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม คือ ธรรมชาติของมนุษย์ ในลักษณะท่ีเป็นกลางคือ ไม่ดี – ไม่เลว การกระทาต่าง ๆ ของมนุษย์เกิดจากอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมภายนอกพฤติกรรมของมนุษย์เกิดจากการตอบสนองต่อส่ิงเร้า การเรียนรู้เกิดจากการเช่ือมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง กลุ่มพฤติกรรมนิยมให้ความสนใจกับพฤติกรรมมากเพราะ พฤติกรรมเป็นส่ิงท่ีเห็นได้ชัดสามารถวดั และทดสอบได้ ทฤษฎีการวางเงอื่ นไขแบบโอเปอรแ์ รนต์ (Operant Condition-ing) ของ สกินเนอร์ ทิศนา แขมมณี (2550) สกินเนอร์ (Skinner) ได้ทาการทดลอง ซึ่งสามารถสรุปเป็นกฎการเรียนร้ไู ดด้ ังน้ี 6.1.1 ทฤษฏีการเรียนรู้ 6.1.1.1 การกระทาใดๆ ถา้ ไดร้ ับการเสริมแรง จะมแี นวโนม้ ทจ่ี ะเกิดข้ึนอีกส่วนการกระทาที่ไม่มีการเสริมแรง แนวโน้มท่ีความถ่ีของการกระทาน้ันจะลดลงและหายไปในที่สุด (จากการทดลองโดยนาหนูที่หิวจัดใส่กล่อง ภายใจมีคานบังคับให้อาหารตกลงไปในกล่องได้ ตอนแรกหนูจะว่ิงชนโน่นชนน่ี เม่ือชนคานจะมีอาหารตกมาใหก้ ิน ทาหลายๆคร้ังพบว่าหนูจะกดคานทาให้อาหารตกลงไปได้เรว็ ข้ึน)

20 6.1.1.2 การเสริมแรงที่แปรเลี่ยนทาให้การตอบสนองคงทนกว่าการเสริมแรงที่ตายตัว (จากการทดลองโดยเปรียบเทียบหนทู ่ีหวิ จดั 2 ตัว ตัวหน่ึงกดคานจะได้อาหารทกุ คร้ัง อีกตัวหน่ึงเม่ือกดคาน บางทีก็ได้อาหาร บางทีก็ไม่ได้อาหารแล้วหยุดให้อาหารตัวแรกจะเลิกกดคานทันทีตวั ที่ 2 จะยังกดต่อไปอกี นานกว่าตัวแรก) 6.1.1.3 การลงโทษทาให้เรียนรู้ได้เร็วและลืมเร็ว (จากการทดลองโดยนาหนูที่หิวจัดใส่กรง แล้ว ช็อตด้วยไฟฟ้า หนูจะว่ิงพล่านจนออกมาได้ เมื่อจับหนูใส่เข้าไปใหม่มันจะวิ่งพล่านอีกจาไมไ่ ดว้ ่าทางไหนคือทางอออก) 6.1.1.4 การให้แรงเสริมหรือให้รางวัลเม่ืออินทรีย์กระทาพฤติกรรมท่ีต้องการสามารถชว่ ยปรับหรือปลูกฝังนิสัยที่ตอ้ งการได้ (จาการทดลองโดยสอนให้หนุเล่นบาสเกตบอล เริม่ จากการให้อาหารเม่ือหนูจับลูกบาสเกตบอล จากน้ันเมื่อมันโยนจึงให้อาหารต่อมาเม่ือโยนสูงขึ้นจึงให้อาหาร ในท่ีสุดต้องโยนเข้าห่วงจึงให้อาหาร การทดลองนี้เป็นการกาหนดให้หนูแสดงพฤติกรรมตามท่ตี อ้ งการก่อนจงึ ให้แรงเสริม วธิ ีน้ีสามารถดดั นสิ ยั หรือปรับเปลีย่ นพฤตกิ รรมได้) 6.1.2 หลกั การจัดการศกึ ษา/การสอน 6.1.2.1 ในการสอนการให้เสริมแรงหลังการตอบสนอง ที่เหมาะสมของเด็กจะช่วยเพ่มิ อตั ราการตอบสนองทเ่ี หมาะสมนั้น 6.1.2.2 การเว้นระยะการเสริมแรงอย่างไม่เป็นระบบ หรือเปล่ียนรูปแบบการเสริมแรงจะช่วยให้การตอบสนองของผู้เรียนคงทนถาวร เช่น ถ้าครูชมว่า “ดี” ทุกคร้ังท่ีนักเรียนตอบถูก อย่างสม่าเสมอ นักเรียนจะเห็นความสาคัญของแรงเสริมน้อยลง ครูควรเปลี่ยนแปลงแรงเสริมแบบอืน่ บา้ ง เชน่ ยิม้ พยกั หนา้ หรอื บางครั้งอาจไม่ใหแ้ รงเสรมิ 6.1.2.3 การลงโทษที่รนุ แรงเกินไปมีผลเสียมาก ผู้เรียนอาจไม่ได้เรียนรู้หรอื จาส่ิงท่ีเรียนได้เลย ควรใช้วีการงดการเสริมแรงเมื่อนักเรียนมีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ เช่น เมื่อนักเรียนใช้ถ้อยคาไม่สุภาพ แม้ได้บอกและตักเตือนแล้วก็ยังใช้อีก ครูควรงดการตอบสนองต่อพฤติกรรมนั้น เม่ือไมม่ ีใครตอบสนอง ผู้เรียนจะหยดุ พฤตกิ รมนน้ั ในท่ีสุด 6.1.2.4 หากต้องการปรับเปล่ียนพฤติกรรมหรือปลูกฝังนิสัยให้แก่ผู้เรียนการแยกแยะขั้นตอนของปฏิกิริยาตอบสนองออกเป็นลาดบั ข้ัน โดยพิจารณาให้เหมาะสมกบั ความสามารถของผู้เรียน เช่น หากต้องการปลูกฝังนิสัยในการรักษาความสะอาดห้องปฏิบัติการและเคร่ืองมือ ส่ิงสาคัญประการแรกคือ ต้องนาพฤติกรรมท่ีต้องการจาแนกเป็นพฤติกรรมย่อยให้ชัดเจน เช่น การเก็บการกวาด การเช็ดถู การล้าง การจัดเรียง เป็นต้น ต่อไปจึงพิจารณาแรงเสริมที่จะให้แก่ผู้เรียน เช่นคะแนน คาชมเชย การให้เกียรติ การให้โอกาสแสดงตัว เป็นต้น เมื่อนักเรียนแสดงพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์กใ็ หก้ ารเสริมแรงท่ีเหมาะสมในทันที

21 ทฤษฎกี ารวางเงื่อนไขแบบเปอร์แรนต์ พฤติกรรมการตอบสนองจะขึ้นอยู่กบั การเสริมแรงเป็นสาคัญ พฤตกิ รรมการเสรมิ แรงจะดาเนินไปอย่างซา้ ๆ สม่าเสมอ จึงทาใหไ้ ด้ บทเรยี นคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน ซ่ึงมีองค์ประกอบดังนี้คือ คาแนะนาสาหรบั นักเรยี น, วัตถุประสงค์การเรียนรู้, แบบทดสอบกอ่ นเรียน, เน้ือหาการเรยี นรู้, แบบฝกึ หัด และแบบทดสอบหลังเรยี น 6.2 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปญั ญานิยมของบรเู นอร์ นรู ุลอินซาน กอระ (2555) บรูเนอร์ (Bruner) เป็นนักจิตวทิ ยาที่สนใจและศึกษาเรื่องของพัฒนาการทางสติปัญญาต่อเนือ่ งจากเพียเจต์ เขาเช่อื ว่ามนุษย์เลือกทจ่ี ะรับรู้ส่ิงที่ตนเองสนใจและการเรียนรเู้ กดิ จากกระบวนการคน้ พบดว้ ยตัวเอง 6.2.1 ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ ตามแนวความคดิ ของบรูเนอร์ 6.2.1.1 การจัดโครงสร้างของความรู้ให้มีความสัมพันธ์และสอดคล้องกับพฒั นาการทางสตปิ ญั ญาของเด็ก มผี ลต่อการเรียนรขู้ องเดก็ 6.2.1.2 การจัดหลักสูตรและการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับระดับความพร้อมของผู้เรียน และสอดคล้องกับพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียนจะช่วยให้การเรียนรู้เกิดประสิทธภิ าพ 6.2.1.3 การคิดแบบหยั่งรู้ (intuition) เป็นการคิดหาเหตุผลอย่างอิสระทสี่ ามารถช่วยพฒั นาความคดิ ริเร่มิ สรา้ งสรรคไ์ ด้ 6.2.1.4 แรงจูงใจภายในเป็นปัจจยั สาคญั ที่จะช่วยใหผ้ เู้ รียนประสบผลสาเร็จในการเรยี นรู้ 6.2.1.5 ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของมนุษย์แบ่งได้เป็น 3 ข้ันใหญ่ๆคือ ข้ันการเรยี นรู้จากการกระทา (Enactive Stage) คอื ข้ันของการเรียนรู้จากการใช้ประสาทสมั ผัสรับรู้สิ่งต่าง ๆ การลงมือกระทาช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้ดี การเรียนรู้เกิดจากการกระทา ขั้นการเรียนรู้จากความคิด (Iconic Stage) เป็นขั้นท่ีเด็กสามารถสร้างมโนภาพในใจได้ และสามารถเรียนรู้จากภาพแทนของจริงได้ ข้ันการเรียนรู้สัญลักษณ์และนามธรรม (Symbolic Stage) เป็นขั้นการเรียนรสู้ ิง่ ท่ีซบั ซ้อนและเป็นนามธรรมได้ 6.2.1.6 การเรยี นรเู้ กิดขึ้นได้จากการที่คนเราสามารถสร้างความคดิ รวบยอดหรอื สามารถจัดประเภทของส่ิงต่างๆ ได้อยา่ งเหมาะสม 6.2.1.7 การเรียนรู้ท่ีได้ผลดีที่สุด คือ การให้ผู้เรียนค้นพบการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (discovery learning)

22 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม เน้นกระบวนการทางปัญญาหรือความคิด การเรียนรู้ของมนุษย์ไม่ใช่เรื่องของพฤติกรรมที่เกิดจากกระบวนการตอบสนองต่อสิ่งเร้าเพียงเท่าน้ัน การเรียนรู้ของมนุษย์มีความซับซ้อนยิ่งไปกว่านั้น การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิดที่เกิดจากการสะสมข้อมูล การสร้างความหมายและความสมั พันธ์ของข้อมูลและการดงึ ข้อมูลออกมาใชใ้ นกากระทาและแก้ปัญหาต่างๆ การเรยี นร้เู ป็นกระบวนการทางสติปัญญาของมนุษย์ในการท่ีจะสร้างความรู้ความเข้าใจให้แกต่ นเองมนุษยเ์ ลอื กท่ีจะรบั รูส้ ง่ิ ท่ีตนเองสนใจและการเรยี นรเู้ กดิ จากกระบวนการค้นพบด้วยตนเอง 6.3 ทฤษฎีการเรียนรู้คอนสตรัคติวสิ ต์ของเพียเจต์ อนุชา โสมาบุตร (2556) ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ เชื่อว่า การเรียนรู้ หรอื การสร้างความรู้เป็นกระบวนการท่ีเกิดข้ึนภายในของผู้เรียน โดยท่ีผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ โดยการนาประสบการณ์หรือสิ่งที่พบเห็นในสิ่งแวดล้อมหรือสารสนเทศใหม่ที่ได้รับมาเช่ือมโยงกับ ความรู้ความเข้าใจ ท่ีมีอยู่เดิมมาสร้างเป็นความเข้าใจของตนเอง หรือเรียกว่า โครงสร้างทางปัญญา ซ่ึงน่ันคือความรู้แต่บุคคลอาจสรา้ งความหมายที่แตกตา่ งกัน เพราะมีประสบการณ์ หรอื ความรู้ความเข้าใจเดมิ ทแ่ี ตกตา่ งกัน กลุ่มแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) เชื่อว่า การเรียนรู้ เป็นกระบวนการสร้างมากกว่า การรับความรู้ ดังน้ัน เป้าหมายของการจัดการเรียนการสอนจะสนับสนุนการสร้างมากกว่าความพยายามในการถ่ายทอดความรู้ ดังนนั้ กลุ่มแนวคดิ คอนสตรัคติวิสต์ จะม่งุ เน้นการสรา้ งความรู้ใหม่อย่างเหมาะสมของแต่ละบุคคล และเชื่อว่าส่ิงแวดล้อมมีความสาคัญ ในการสร้างความหมายตามความเปน็ จรงิ (Duffy and Cunningham, 1996) กลุ่มแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญา มีรากฐานทางปรัชญาของทฤษฎี มาจากความพยายามท่ีจะเช่ือมโยงประสบการณ์เดิมกับประสบการณ์ใหม่ ด้วยกระบวนการที่พิสจู น์อยา่ งมีเหตุผลเป็นความรู้ ที่เกิดจากการไตร่ตรอง ซึ่งถือเป็นปรัชญาปฏิบัตินิยม ประกอบกับรากฐานทางจิตวิทยาการเรียนรู้ท่ีมีอทิ ธิพลต่อพนื้ ฐานแนวคิดน้ี นักจติ วิทยาพัฒนาการชาวสวิส คือ เพียเจต์ (Jean Piaget)ทฤษฏีของเพียเจต์ จะแบ่งได้เป็น 2 ส่วน คือ ช่วงอายุ (Ages) และลาดับขั้น (Stages) ซ่ึงท้ังสององค์ประกอบน้ีจะทานายว่าเด็กจะสามารถหรือไม่สามารถเข้าใจสิ่งหน่ึงสิ่งใด เม่ือมีอายุแตกต่างกันและทฤษฏีเก่ียวกับด้านพัฒนาการท่ีจะอธิบายว่าผู้เรียนจะพัฒนาความสามารถทางการรู้คิด(Cognitive abilities) ทฤษฏีพัฒนาการท่ีจะเน้นจุดดังกล่าวเพราะว่าเป็นพ้ืนฐานหลักสาหรับวิธีการของ คอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญา โดยด้านการจัดการเรียนรู้น้ันมีแนวคิดว่ามนุษย์เราต้อง “สร้าง”ความรู้ด้วยตนเองโดยผ่านทางประสบการณ์ ซ่ึงประสบการณ์เหล่าน้ีจะกระตุ้นให้ผู้เรียนสร้างโครงสร้างทางปัญญา หรือเรียกว่า สกีมา รูปแบบการทาความเข้าใจในสมอง สกีมาเหล่าน้ีสามารถ

23เปลี่ยนแปลงได้ (Change) ขยาย (Enlarge) และซับซ้อนข้ึนได้โดยผ่านทางกระบวนการ การดูดซึม(Assimilation) และการปรับเปลย่ี น (Accommodation) สิ่งสาคัญทีส่ ามารถสรุปอ้างอิงทฤษฎีของเพียเจต์ กค็ ือ บทบาทของครูผู้สอนในห้องเรียนตามแนวคิดเพียเจต์ บทบาทที่สาคัญคือ การจัดเตรียมส่ิงแวดล้อมที่ให้ผู้เรียนได้สารวจคน้ หาตามธรรมชาตหิ ้องเรียนควรเติมสิ่งท่ีนา่ สนใจที่จะกระตุ้นให้ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ด้วยตนเองอยา่ งตื่นตวั โดยการขยายสกมี า ผ่านทางประสบการณด์ ว้ ยวธิ ีการดูดซึม และการปรับเปลี่ยน ซึ่งเช่ือว่าการเรียนรู้เกิดจากการปรับเข้าสู่สภาวะสมดุลระหว่างอินทรีย์และสิ่งแวดล้อม โดยมีกระบวนการดังน้ี 1) การดูดซึมเข้าสู่โครงสร้างทางปัญญา (Assimilation) เป็นการตีความหรือรับข้อมูลจากส่ิงแวดล้อมมาปรับเข้ากับโครงสร้างทางปัญ ญ า และ 2) การปรับโครงสร้างทางปัญ ญ า(Accommodation) เป็นความสามารถในการปรับโครงสร้างทางปัญญาใหเ้ ข้ากับส่ิงแวดล้อมโดยการเชอื่ มโยงระหว่างความรูเ้ ดิมและส่งิ ทีต่ ้องเรียนใหม่7. งานวิจยั ที่เกย่ี วขอ้ ง ปิยาภรณ์ เสนา (2550) ได้ทาการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องการใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เอก็ เซล ของนักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 โรงเรียนอนบุ าลพรเจรญิ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาหนองคาย เขต 3 มีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เร่ืองการใช้โปรแกรมไมโครซอฟเอ็กเซล ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 และศึกษาดัชนีประสิทธิผลบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเร่ืองการใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เอ็กเซล ของนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6 ท่สี ร้างขนึ้ รวมทงั้ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิท์ างการเรียนหลงั เรียนจากบทเรียนคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน และการเรียนโดยวิธีการสอนแบบปกติ และศึกษาความพึงพอใจในการเรียนของนักเรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ตลอดจนศึกษาความคงทนในการเรียนของนักเรียนท่ีเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผลการวิจัยพบว่า 1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเร่ืองการใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เอ็กเซล ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 86.86/82.14 ซ่ึงสูงกว่าเกณฑ์ท่ีตั้งไว้ 2) ดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องการใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เอ็กเซลของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นมคี ะแนนเพม่ิ ขึ้นร้อยละ 69 3) ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน พจิ ารณาจากความกา้ วหน้าทางการเรียนของนักเรียนท่ีเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเปรียบเทียบกับการเรียนโดยวิธีการสอนแบบปกติผลการทดลองพบว่า นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเฉลี่ย ( x̄ = 28.75 ) สูงกว่าคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน (x̄ = 23.75 ) ของนักเรียนที่เรียนโดยวิธีการสอนแบบปกติ เมื่อนาคะแนนเฉล่ียไปทดสอบค่า t-test ปรากฏว่าคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธ์ิของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สูงกว่าคะแนน คะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธ์ิของนักเรียนที่เรียนโดยวิธีการสอนแบบปกติอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 4) ผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องการใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เอ็กเซลของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 โดยรวมมีความพึงพอใจในระดับมากท่ีสุด ( x̄ = 4.64,S.D. = 0.54 ) และ 5) ความคงทนในการเรียนของนกั เรยี นท่ีเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนคิดเป็นร้อยละ 96.86 ค่าเฉล่ียความคงทนลดลงคิดเป็นรอ้ ยละ 3.14

24 ทองชัย ภูตะลุน (2552) ได้ทาการวิจัย การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องระบบคอมพิวเตอร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและประเมินคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เร่ืองระบบคอมพิวเตอร์ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของผู้เรียนหลังได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ศึกษาดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนท่ีพัฒนา ศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนหลังได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรยี นคอมพิวเตอร์ช่วยสอน และศึกษาความคงทนของการเรียนรู้ของผู้เรียนหลังได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนท่ีพัฒนาข้ึน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2551 โรงเรียนบ้านหนองไฮ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามหาสารคาม เขต 2 จานวน 23 คน ผลการวิจัยพบว่า ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเมอ่ื คิดจากคะแนนการปฏิบัติกิจกรรมระหว่างเรียน แบบทดสอบระหว่างเรียนและคะแนนจากการทดสอบหลังเรียน มีประสิทธภิ าพ 85.80/83.91 ซึง่ สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานท่ีตั้งไว้80/80 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั สมมติฐานทตี่ ้งั ไว้ และดชั นีประสทิ ธิผลของการเรียนรู้ดว้ ยบทเรียนคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอนมคี า่ เทา่ กับ 0.69 คิดเป็นรอ้ ยละ 69.00 ซ่ึงสูงกว่าค่าดัชนปี ระสิทธิผลทต่ี ัง้ ไว้ คือร้อยละ 60 ความพึงพอใจของนกั เรียนทีม่ ตี ่อบทเรยี น อยู่ในระดบั มากทสี่ ดุ นักเรียนมีความคงทนการเรียนร้อู ยูใ่ นเกณฑ์ สุวิศิษฎ์ กั้นหย่ันทอง (2552) ได้ทาการวิจัย การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องโปรแกรม Microsoft Office Power point 2003 สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 42 จังหวัดสตูล การวิจยั ในครง้ั น้ีมีวัตถปุ ระสงค์เพอ่ื พัฒนาบทเรยี นคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนและศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนที่เรียนรู้จากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ดาเนินการวิจัยแบบกึ่งทดลอง เครื่องมือที่ใช้ ในการทดลอง คือ 1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนเรอ่ื ง โปรแกรม Microsoft Office Powerpoint 2003 สาหรับนกั เรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 42 จังหวัดสตูล 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และ3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผลการวิจัยพบว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเร่ือง โปรแกรม Microsoft Office Powerpoint 2003 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 42 จังหวัดสตูล มีประสิทธิภาพ สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีความรู้เพิ่มขึ้นและความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อบทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ่วยสอนอยู่ในระดบั มาก บุญญาพร สาฆ้อง (2557) ได้ทาการวิจัย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เร่ือง เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนอุดร-พิชัยรักษ์พิทยามวี ตั ถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) ค่าดัชนีประสิทธิผลตามเกณฑ์ที่กาหนด3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียน 4) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ผลการศึกษาพบว่า 1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรือ่ ง เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร สาหรับนกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 4 มีประสทิ ธิภาพ

25เท่ากับ 83.65/85.00 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ท่ีกาหนดคือ 80/80 2) ค่าดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เร่ือง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี4 เท่ากับ 0.6995 แสดงว่าผู้เรียนได้รับการพัฒนามีความก้าวหน้าเพ่ิมข้ึน คิดเป็นร้อยละ 69.95 3)ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนเม่ือเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เร่ือง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร สาหรับนกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 4 สูงกว่าก่อนเรยี นอย่างมีนยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดับ .01 4) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โดยรวมอยู่ในระดบั มาก อาพรรัตน์ สุพรรณ์ (2557) ได้ทาการวิจัย การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม เร่ือง การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office PowerPoint 2007กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 การวิจัยในคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) สร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชา คอมพิวเตอร์เพิ่มเติม เร่ืองการใช้งานโป รแกรม Microsoft Office PowerPoint 2007 ชั้นป ระถมศึกษ าปี ที่ 5 ให้ มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน เมื่อเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชา คอมพิวเตอร์เพ่ิมเติม เรื่อง การใช้งานโปรแกรมMicrosoft Office PowerPoint 2007 ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 3) หาค่าดชั นีประสิทธิผลของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชา คอมพิวเตอร์เพ่ิมเติม เรื่อง การใช้งานโปรแกรม Microsoft OfficePowerPoint 2007 ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 4) ศึกษาความพงึ พอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชา คอมพิวเตอร์เพิ่มเติม เรื่อง การใช้งานโปรแกรม MicrosoftOffice PowerPoint 2007 ช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/1 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนทีโอเอวิทยา (เทศบาล 1) สังกัดกองการศึกษาเทศบาลเมืองนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ จานวน 38 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชา คอมพิวเตอร์เพ่ิมเติม เรื่อง การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office PowerPoint2007 ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 85.40 / 86.32 ซ่ึงสูงกว่าเกณฑ์ 80/80เป็นไปตามสมมุติฐานที่ต้ังไว้ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน เม่ือเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชา คอมพิวเตอร์เพิ่มเติม เร่ือง การใช้งานโปรแกรม MicrosoftOffice PowerPoint 2007 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ที่ระดบั .01 เป็นไปตามสมมตุ ิฐานท่ีตัง้ ไว้ 3) ดัชนีประสทิ ธผิ ลของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม เรื่อง การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office PowerPoint 2007ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 ท่ีผู้วิจัยสร้างขึ้น ในภาพรวม มีค่าเท่ากับ 0.7966 คิดเป็นร้อยละ 79.66แสดงว่า นักเรียนมีความรู้เพ่ิมข้ึน จากเดิมร้อยละ 79.66 เป็นไปตามสมมุติฐานที่ต้ังไว้4) ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาคอมพิวเตอร์เพ่ิมเติม เร่ือง การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office PowerPoint 2007 ช้ันประถมศึกษาปีที่ 5โดยรวมอยู่ในระดบั มาก ( = 4.49) เปน็ ไปตามสมมุติฐานทตี่ ้งั ไว้

26 จากเอกสารและงานวิจัยท่ีกล่าวมาข้างต้น จะเห็นว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนท่ีผ่านการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญ ผ่านการทดลองใช้และได้พัฒนาให้มีประสิทธิภาพสูงข้ึนตามเกณฑ์ที่กาหนดแล้ว การจัดการเรียนการสอนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทาให้ผู้เรียนเกิดความสนุกสนานเกิดความสนใจในการเรียนมากข้ึนส่งผลให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูงข้ึนเม่ือเทียบกับการจัดการเรียนการสอนแบบบรรยายโดยใช้หนังสือเรยี นประกอบและการเรยี นโดยบทเรยี นคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สามารถทาใหน้ ักเรียนมคี วามคงทนในการเรียนรู้ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้เองตามลาพังและสามารถเรียนรู้ไดเ้ องทุกทีทกุ เวลา นอกจากนี้ยงั ส่งผลให้ผ้เู รียนมีทัศนคตทิ ่ีดีต่อวิชาที่เรียนไดเ้ ป็นอยา่ งดี

278. กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั กลมุ่ เป้าหมายปัจจัยทเี่ ก่ยี วข้อง นั ก เรีย น ชั้ น ป ระถ ม ศึ ก ษ าปี ที่ 41. ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ ศูนย์การเรียนรวมโรงเรียนบ้านแม่ตา - ทฤษฎีการเรยี นรกู้ ล่มุ พฤตกิ รรมนยิ มของสกนิ เนอร์ จานวน 18 คน - ทฤษฎีการเรยี นรกู้ ลมุ่ พุทธิปญั ญานยิ มของบรูเนอร์ - ทฤษฎีการเรยี นรคู้ อนสตรัคติวิสต์ของเพียเจต์2. แนวคดิ การออกแบบ ADDIE Model3. เอกสารที่เกย่ี วข้องกับบทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน4. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551กลุ่มสาระการงานอาชพี และเทคโนโลยี5. เน้ือหาเกี่ยวกับการใชง้ านโปรแกรม PhotoScapeบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน กระบวนการศึกษา รายวิชาคอมพวิ เตอร์ 1. ศึกษาหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานหนว่ ยการเรยี นรู้ ตกแตง่ ภาพ อาชีพและเทคโนโลยี หรรษา (PhotoScape) 2. ศกึ ษาเน้ือหาขอ้ มูลและเอกสารทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 4 3. ศึกษาวิธีการหาประสิทธิภาพและดัชนี ทีม่ ีประสิทธภิ าพ ประสิทธิผลของบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน 4. สร้างบทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน 5. นาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไปให้ ผู้เชี่ยวชาญประเมินและปรับปรุงแก้ไขตาม ขอ้ เสนอแนะ 6. นาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไปทดลอง ใช้กับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียน อนุบาลแจห้ ม่ผลการศึกษา1. ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นของนักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 42. ดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน รายวิชาคอมพิวเตอร์ หน่วยการเรียนรู้ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 43. ความพงึ พอใจของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4ภาพท่ี 1 กรอบแนวคิดการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์ หน่วยการเรียนรู้ตกแต่งภาพหรรษา(PhotoScape) ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4

28 บทที่ 3 วิธดี ำเนนิ กำรวิจัย การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape)ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 ผูว้ จิ ัยไดด้ าเนินการ ตามลาดบั ขัน้ ตอน ดังมรี ายละเอยี ดต่อไปนี้ 1. กล่มุ เป้าหมาย 2. แบบแผนที่ใช้ในการวจิ ัย 3. เครือ่ งมือท่ีใช้ในการวจิ ยั 4. การสรา้ งและหาประสทิ ธิภาพเครอื่ งมอื ทีใ่ ช้ในการวจิ ัย 5. การรวบรวมข้อมูลในการวิจยั 6. การวเิ คราะห์ข้อมลู 7. สถติ ิทีใ่ ชใ้ นการวิจยั1. กลุ่มเป้ำหมำย กลุ่มเป้าหมายท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังน้ี คือ นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 ที่เรียนในภาคเรียนที่ 2ปีการศึกษา 2558 ศูนย์การเรียนรวมโรงเรยี นบ้านแม่ตา จานวน 18 คน ชาย 6 คน หญงิ 12 คน2. แบบแผนทใี่ ชใ้ นกำรวิจยั ผู้วิจัยใช้แบบแผนการทดลองแบบกลุ่มเดียววัดผลก่อนทดลองและหลังการทดลอง One GroupPretest – Posttest Design (สิรมิ า ภิญโญอนันตพงษ์, 2550)แบบแผนการทดลองแบบ One Group Pretest – Posttest Designทดสอบก่อนเรียน ตวั แปรต้น ทดสอบหลังเรียน T2T1 XT1 แทน การทดสอบก่อนเรยี นโดยใช้แบบทดสอบกอ่ นเรยี นX แทน การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้โดยใชบ้ ทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน หน่วยการเรียนร้ตู กแตง่ ภาพหรรษา (PhotoScape) ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4T2 แทน การทดสอบหลงั เรยี นโดยใช้แบบทดสอบหลังเรยี น

293. เครื่องมอื ท่ีใชใ้ นกำรวจิ ยั เครือ่ งมือที่ใช้ในกำรวิจัย ไดแ้ ก่ 3.1 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) สาหรับนักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 4 จานวน 3 แผน 3.2 บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน รายวิชาคอมพิวเตอร์ หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 3.3 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา(PhotoScape) จานวน 20 ขอ้ 3.4 แบบสอบถามความพงึ พอใจของนกั เรยี น จานวน 15 ข้อ4. กำรสร้ำงและหำคณุ ภำพเครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นกำรวจิ ยั การสร้างและการหาประสิทธิภาพของเครื่องมือผู้ศึกษาได้ประยุกต์ใช้รูปแบบของ ADDIEModel ตามขั้นตอนดังน้ี 4.1 ขัน้ วเิ คราะห์ (Analysis) 4.2 ขั้นออกแบบ (Design) 4.3 ข้ันพฒั นา (Development) 4.4 ขน้ั นาไปทดลองใช้ (Implementation) 4.5 ข้ันการประเมินผล (Evaluation) 4.1 ขั้นวิเครำะห์ (Analysis) 4.1.1 ศึกษาเอกสาร แนวคิด และทฤษฏีการเรียนรู้ท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา(PhotoScape) ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4 4.1.2 ศึกษาเอกสารประกอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551และคู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 4.1.3 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เพื่อนามาเป็นแนวทางในการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนให้สอดคล้องกับกิจกรรม ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape)ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4

30 4.1.4 ศึกษาและวิเคราะห์เนื้อหาในหน่วยการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape)ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4 4.1.5 ศึกษาวธิ กี ารเขียนแผนการจดั การเรียนรู้ จากตารา และเอกสารทเี่ กยี่ วขอ้ ง 4.1.6 ศึกษาวิธีการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน จากตารา เอกสาร และงานวจิ ัย ทเี่ กย่ี วข้อง 4.1.7 ศึกษาเอกสาร งานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจจากตารา เอกสาร และงานวจิ ยั ที่เกีย่ วขอ้ ง 4.2 ขนั้ ออกแบบ (Design) 4.2.1 กำรสรำ้ งแผนกำรจัดกจิ กรรมกำรเรียนรู้ 4.2.1.1 กาหนดขอบเขตและเนื้อหาท่ีต้องการ โดยนาข้อมูลท่ีได้จากข้ันตอนการวิเคราะห์มาใช้กาหนดขอบเขตของเน้ือหา ซ่ึงได้เน้ือหาในหน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา(PhotoScape) ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 4.2.1.2 เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ จานวน 3 แผน ซ่ึงแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ ใช้เวลาจัดกิจกรรมการเรียนรู้แผนละ 1 ช่ัวโมง โดยแผนการจัดการเรียนรู้แต่ละแผนประกอบด้วย มาตรฐานสาระการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระสาคัญ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ กระบวนการวัดผลประเมินผล กิจกรรมเสนอแนะ รวมทงั้ แบบประเมนิ ในด้านต่าง ๆ ซึ่งแผนการจดั การเรียนรู้ท้ัง 3 แผนประกอบดว้ ย แผนท่ี 1 เรื่อง แหล่งขอ้ มลู ภาพ แผนท่ี 2 เรื่อง เทคนคิ การแตง่ รปู ภาพ1 แผนท่ี 3 เรอ่ื ง เทคนิคการแตง่ รปู ภาพ2 4.2.2 กำรสรำ้ งบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน 4.2.2.1 นาข้อมูลที่ได้จากขั้นตอนการวิเคราะห์ มาพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน 4.2.2.2 สร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 จานวน 3เร่ือง ใช้จัดกิจกรรมประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีสร้างข้ึน ซึ่งบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนประกอบดว้ ย

31 1) คาแนะนาสาหรับนักเรียน เป็นรายละเอียดข้อแนะนาสาหรับนักเรียนในการเรียนด้วยบทเรยี นคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผู้เรยี นต้องปฏบิ ตั ิตามขั้นตอนของกจิ กรรม 2) แบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อใช้ทดสอบวัดความรู้พื้นฐานของนักเรียนทมี่ ีต่อเรือ่ งท่กี าลังจะเรยี น 3) จุดประสงค์การเรียนรู้เพ่ือให้นักเรียนได้รู้ว่าเม่ือเรียนเรื่องนั้น ๆ แล้วนักเรยี นจะไดอ้ ะไรบา้ งจากกจิ กรรมการเรียนรู้ 4) สถานการณ์ปัญหา เป็นสถานการณ์ท่ีสร้างข้ึนเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนเกิดการเสยี สมดลุ ทางปัญญา โดยใช้ปัญหาเพอ่ื ใหเ้ กดิ การสรา้ งความรแู้ ละกระบวนการแกป้ ัญหา 5) ภารกจิ เป็นภารกิจท่ีนักเรยี นต้องทาจากสถานการณ์ปญั หาท่ีกาหนดให้ 6) ฐานความช่วยเหลือ เป็นฐานความช่วยเหลือกรณีที่นักเรียนไม่สามารถทาภารกิจได้ 7) แหล่งการเรียนรู้เพิ่มเติม เป็นแหล่งการเรียนรู้ที่นักเรียนสามารถศึกษาเรยี นรู้เพมิ่ เตมิ ได้นอกเหนือจากการเรยี นจากบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน 8) เน้ื อห า เป็ น เนื้ อห าใน ห น่ วยก ารเรียน รู้ ตก แต่ งภ าพ ห รรษ า(PhotoScape) ท่ีจาแนกเป็นหัวข้อย่อยๆ ซ่ึงบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแต่ละบทจะมีเน้ือหาเพ่ือให้นักเรียนได้ศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองไปตามลาดับข้ัน ซึ่งในเนื้อหาจะมีทั้งภาพและเสียงประกอบเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจและช่วยให้ผู้เรียนได้เชื่อมโยงความคิดของตนเองไปสู่การแก้ปญั หาทถ่ี ูกต้องได้ 9) แบบฝึกหัดท้ายบท เป็นกิจกรรมที่นักเรียนต้องปฏิบัติ ซ่ึงแบบฝึกหัดในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแต่ละบทมี 1 แบบฝึกหัด (แบบฝึกหัดละ 10 คะแนนรวม 30คะแนน) ซง่ึ นักเรยี นตอ้ งปฏบิ ตั ิกิจกรรมทงั้ หมดให้เสร็จภายในชว่ั โมงเรียน 10) แบบทดสอบหลังเรียน เป็นแบบทดสอบที่ใช้วัดความรู้ของนักเรียนหลังจากที่จัดกิจกรรมด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนครบทุกเร่ืองแล้ว มีคะแนนรวม 10 คะแนนเป็นแบบปรนยั 4 ตัวเลือกจานวน 20 ข้อ (แบบทดสอบหลังเรียนท้ายบทเรียนคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน) 4.2.3 กำรสร้ำงแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิท์ ำงกำรเรียน นาข้อมูลที่ได้จากขั้นการวิเคราะห์มาสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 เป็นชนิดเลือกตอบ 4ตัวเลือก จานวน 20 ข้อ โดยมีเกณฑ์ให้คะแนน ตอบถูกต้องได้ 0.5 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนนเพ่ือเตรียมนาเสนอผูเ้ ชย่ี วชาญตรวจสอบความเหมาะสม สอดคลอ้ ง ของข้อสอบในขน้ั พฒั นาตอ่ ไป

32 4.2.4 กำรสร้ำงแบบสอบถำมควำมพงึ พอใจ แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 ที่มีต่อการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) เป็นแบบสอบถามประมาณค่า ( Rating Scale ) 3 ระดบั มขี น้ั ตอนการสร้าง ดังนี้ 4.2.4.1 ศึกษาเทคนิคและวิธีการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ จากหลักการและทฤษฎี เพ่อื เป็นแนวทางในการสร้างแบบสอบถามความพงึ พอใจ 4.2.4.2 สร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4จานวน 10 ข้อ เพ่ือเตรียมนาเสนอผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความเหมาะสม สอดคล้องในขั้นพัฒนาต่อไปซึ่งแบบสอบถามความพึงพอใจเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า ( Rating scale) 3 ระดับ มีเกณฑ์การใหค้ ะแนน (ชวลิต ชูกาแพง, 2550) ดังน้ี 3 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจอยใู่ นระดับมาก 2 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจอย่ใู นระดบั ปานกลาง 1 หมายถงึ มีความพงึ พอใจอยใู่ นระดับน้อย และมเี กณฑก์ ารแปลความหมาย ดังน้ี 2.51 – 3.00 หมายถงึ พึงพอใจในระดับมาก 1.51 – 2.50 หมายถึง พึงพอใจในระดับปานกลาง 1.00 – 1.50 หมายถงึ พึงพอใจในระดับนอ้ ย 4.3 ข้นั พฒั นำ (Development) 4.3.1 แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ นาแผนการจัดการเรียนรู้ เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกต้องของเน้ือหาและพิจารณาให้ข้อคิดเห็น แล้วนาข้อบกพร่องมาปรับปรุงแก้ไข ผู้เช่ียวชาญตรวจสอบคุณภาพมจี านวน 3 ทา่ น ได้แก่ 1) ผศ.ดร กนษิ ฐ์กานต์ ปันแก้ว ตาแหน่งรองคณบดีฝา่ ยกิจการนักศกึ ษาคณะครุศาสตร์ 2) อ. เบญจมาศ พทุ ธิมา ตาแหนง่ อาจารยส์ าขาวิชาการวัดประเมินและวิจยั ทางการศึกษา 3) อ. กิตติยา ปลอดแก้ว ตาแหนง่ อาจารยป์ ระจาสาขาคอมพวิ เตอร์

33เกณฑ์การประเมนิ คณุ ภาพแผนการจัดการเรียนรู้ 5 หมายถึง แผนการจดั การเรียนรู้มีความเหมาะสมในระดบั มากทีส่ ดุ 4 หมายถึง แผนการจัดการเรียนรู้มีความเหมาะสมในระดับ มาก 3 หมายถึง แผนการจดั การเรียนรู้มคี วามเหมาะสมในระดับ ปานกลาง 2 หมายถึง แผนการจดั การเรียนรู้มีความเหมาะสมในระดับ นอ้ ย 1 หมายถึง แผนการจัดการเรยี นรู้มีความเหมาะสมในระดับ น้อยทีส่ ุด ผลการประเมินความเหมาะสมสอดคล้องในองค์ประกอบต่างๆ ของแผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 ตามความคดิ เหน็ ของผเู้ ชีย่ วชาญ โดยภาพรวมมคี วามเหมาะสมสอดคลอ้ ง อยใู่ นระดบั มาก 4.3.2 บทเรยี นคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน 4.3.2.1 นาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกต้องของเน้ือหา และพิจารณาให้ข้อคิดเห็น แล้วนาข้อบกพร่องมาปรับปรุงแก้ไข ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบคุณภาพ มีจานวน 3 ทา่ น ไดแ้ ก่ 1) ผศ.ดร กนิษฐ์กานต์ ปันแก้ว ตาแหนง่ รองคณบดีฝ่ายกจิ การนักศึกษา คณะครุศาสตร์ 2) ผศ.ดร. ฟสิ กิ ส์ ฌอน บัวกนก ตาแหนง่ อาจารย์ประจาสาขาคอมพิวเตอร์ 3) อ. เบญจมาศ พทุ ธิมา ตาแหน่งอาจารยส์ าขาวชิ าการวดั ประเมินและวิจัยทางการศกึ ษาเกณฑ์การประเมินคณุ ภาพบทเรียนคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน 5 หมายถงึ บทเรียนคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอนมคี วามเหมาะสมในระดับ มากทสี่ ุด 4 หมายถงึ บทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ่วยสอนมมี ีความเหมาะสมในระดับ มาก 3 หมายถงึ บทเรยี นคอมพวิ เตอร์ช่วยสอนมมี ีความเหมาะสมในระดับ ปานกลาง 2 หมายถึง บทเรียนคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอนมีมีความเหมาะสมในระดบั น้อย 1 หมายถึง บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมมี คี วามเหมาะสมในระดบั น้อยทีส่ ดุ ผลการประเมินความเหมาะสมสอดคล้องในองค์ประกอบต่าง ๆ ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4ตามความคดิ เหน็ ของผูเ้ ชย่ี วชาญ โดยภาพรวมมีความเหมาะสมสอดคลอ้ งอยใู่ นระดับ มาก 4.3.2.2 นาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนท่ีผ่านการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญไปทดลองใช้เพื่อหาคุณภาพกับนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนอนุบาลแจ้ห่ม ซ่ึงเป็นโรงเรียนท่ีมีบริบทผู้เรียนใกล้เคียงกับนักเรียนกลุ่มเป้าหมายโดยทาการทดลองในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา2558 (แบบหน่ึงต่อหนึ่ง แบบกลุ่มเล็ก และแบบภาคสนาม) จานวน 36 คน โดยแบ่งนักเรียนเป็น 3กลุม่ คอื กล่มุ เก่ง ปานกลาง และกลุ่มอ่อน จากนัน้ ทาการทดลอง ดงั นี้

34 ครั้งท่ี 1 การทดลองแบบหนึ่งต่อหน่ึง (One-to-One Testing) เป็นการทดลองใช้เพื่อปรับปรุงบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนอนุบาลแจ้ห่ม จานวน 3 คน โดยสุ่มเลือกจากนักเรียนกลุ่มเก่ง กลุ่มปานกลาง และกลุ่มอ่อน กลุ่มละ1 คน (สุ่มอย่างง่ายโดยวิธีการจับฉลาก) เพ่ือดูความเหมาะสมของกิจกรรม ตรวจสอบความชัดเจนของภาษา คาสงั่ เวลาทใ่ี ช้ และความเข้าใจของนักเรยี น ผลการทดลองพบว่า นักเรียนท้ัง 3 คน ทาแบบทดสอบระหว่างเรียนได้ถูกต้อง ร้อยละ 80.00 และทาแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนได้ถูกต้องร้อยละ 86.67 ซงึ่ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีประสทิ ธิภาพ 80.00/86.67 คร้ังที่ 2 การทดลองแบบกลุ่มเล็ก (Small Group Testing) เป็นการทดลองใช้เพื่อหาประสิทธิภาพกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอนุบาลแจ้ห่ม จานวน 6คน โดยสุ่มเลือกจากนักเรียนจากกลุ่มเก่ง กลุ่มปานกลาง และกลุ่มอ่อน กลุ่มละ 2 คน (สุ่มอย่างง่ายโดยวิธีการจับฉลากโดยไม่ซ้ากับนักเรียนท่ีทดลองในครั้งท่ี 1) ทาการทดลองเพื่อให้แน่ใจว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สร้างขึ้นช่วยให้นักเรียนสามารถทาความเข้าใจและเรียนรู้ได้โดยให้นักเรียนเรียนด้วยบทเรียนคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน ทป่ี รับปรุงจากการทดลองครั้งท่ี 1 ผลการทดลองพบว่า นักเรียนทั้ง 6 คน ทาแบบทดสอบระหว่างเรียนได้ถูกต้อง ร้อยละ 78.89 และทาแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนได้ถูกต้อง ร้อยละ83.33 ซ่ึงบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมปี ระสิทธิภาพ 78.89/83.33 ครั้งที่ 3 การทดลองแบบภาคสนาม (Field Trial) เป็นการทดลองใช้เพ่ือหาประสิทธิภาพกับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนอนุบาลแจ้ห่ม จานวน 27 คน ซ่ึงเป็นนักเรียนจากกลุ่มเก่ง กลุ่มปานกลาง และกลุ่มอ่อน กลุ่มละ 9 คน ทาการทดลองเพื่อให้แน่ใจว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนท่ีสร้างขึ้น พฒั นากระบวนการเรียนรูข้ องผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนที่สูงข้ึนได้ โดยให้นักเรียนเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนท่ีปรับปรุงจากการทดลองคร้งั ที่ 2 ผลการทดลองพบว่า นักเรียนทั้ง 27 คน ทาแบบทดสอบระหว่างเรียนได้ถูกต้อง ร้อยละ 84.20 และทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนได้ถูกต้อง ร้อยละ85.56 ซ่งึ บทเรยี นคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนมปี ระสทิ ธิภาพ 84.20/85.56 4.3.2.3 ปรับปรุงแก้ไขบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนให้สมบูรณ์ก่อนนาไปใชจ้ ริงกับกลุ่มเป้าหมายคอื นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 ศนู ย์การเรียนรวมโรงเรยี นบ้านแม่ตาตอ่ ไป

35 4.3.3. แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธทิ์ ำงกำรเรยี น 4.3.3.1 นาแบบทดสอบท่ีสร้างข้ึนเสนอผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความเหมาะสมของข้อคาถามและตัวเลือก แล้วปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง ผู้เช่ียวชาญตรวจสอบความเหมาะสมของขอ้ สอบ มจี านวน 3 ท่าน ไดแ้ ก่ 1) ผศ.ดร. กนิษฐ์กานต์ ปนั แก้ว ตาแหนง่ รองคณบดีฝา่ ยกจิ การนกั ศกึ ษาคณะครุศาสตร์ 2) อ. เบญจมาศ พุทธมิ า ตาแหน่งอาจารยส์ าขาวิชาการวดั ประเมนิ และวิจยั ทางการศกึ ษา 3) อ. กิตติยา ปลอดแก้ว ตาแหนง่ อาจารยป์ ระจาสาขาคอมพวิ เตอร์โดยกาหนดระดบั คะแนนความคิดเห็นดงั น้ี +1 หมายถงึ เม่ือแน่ใจวา่ ขอ้ คาถามมคี วามสอดคล้องกบั จดุ ประสงค์ 0 หมายถึง เม่อื ไม่แน่ใจวา่ ขอ้ คาถามมีความสอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์ -1 หมายถงึ เมอื่ แนใ่ จว่าขอ้ คาถามไม่มีความสอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์ ผลการประเมินความเหมาะสมสอดคล้องข้อคาถามกับจุดประสงค์การเรียนรู้ ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape)ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 ตามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งพบว่า มีความเหมาะสมสอดคล้องของขอ้ คาถามและตัวเลอื ก เทา่ กับ 0.86 4.3.3.2 คัดเลือกข้อสอบที่มีดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์การเรียนรู้ (IOC) ตั้งแต่ 0.5 ขึ้นไป 4.3.3.3 จัดพิมพ์ข้อสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4จานวน 20 ขอ้ เพ่อื นาไปใชจ้ รงิ กับกลุม่ เป้าหมาย 4.3.4 แบบสอบถำมควำมพงึ พอใจ 4.3.4.1 นาแบบสอบถามความพึงพอใจท่ีสร้างข้ึน เสนอต่อผู้เช่ียวชาญเพื่อพิจารณาความสอดคล้องระหว่างเนื้อหาและข้อคาถาม (IOC) ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความสอดคล้องมจี านวน 3 ท่าน ได้แก่ 1) ผศ.ดร กนิษฐ์กานต์ ปันแกว้ ตาแหน่งรองคณบดฝี า่ ยกจิ การนักศกึ ษาคณะครุศาสตร์ 2) อ. เบญจมาศ พุทธิมา ตาแหนง่ อาจารยส์ าขาวิชาการวัดประเมินและวิจัยทางการศึกษา 3) อ. กติ ตยิ า ปลอดแก้ว ตาแหน่งอาจารยป์ ระจาสาขาคอมพวิ เตอร์

36โดยมเี กณฑก์ ารใหค้ ะแนน ดงั น้ี +1 หมายถึง เมอ่ื แนใ่ จวา่ ข้อคาถามมีความสอดคล้องกับลักษณะที่ต้องการวดั 0 หมายถงึ เมือ่ ไมแ่ น่ใจวา่ ข้อคาถามมีความสอดคลอ้ งกบั ลักษณะทีต่ ้องการวดั -1 หมายถึง เมอื่ แน่ใจวา่ ข้อคาถามไมม่ คี วามสอดคลอ้ งกบั ลกั ษณะท่ีต้องการวัด ผลการประเมินความเหมาะสมสอดคล้องข้อคาถาม ของแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 ที่มีต่อการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนหน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ตามความคิดเห็นของผู้เช่ียวชาญ ซึ่งพบวา่ มคี วามเหมาะสมสอดคล้อง เทา่ กับ 0.89 4.3.4.2 นาคะแนนท่ีได้จากแบบประเมินของผ้เู ชีย่ วชาญมาหาดัชนีความสอดคลอ้ งระหวา่ งขอ้ คาถามกับลกั ษณะเฉพาะกลมุ่ พฤติกรรม 4.3.4.3 จัดพิมพ์แบบสอบถามความพึงพอใจฉบับจริง ซึ่งมีคาถามจานวน 15 ข้อเพ่ือนาไปใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลกบั กล่มุ เปา้ หมายต่อไป 4.4 ขนั้ นำไปใช้ (Implementation) เป็นข้ันตอนท่ีผู้ศึกษานาเครื่องมือทุกชนิด ประกอบด้วย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนจานวน 3 เร่ืองประกอบกับแผนการจัดการเรียนรู้ จานวน 3 แผน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจ ไปใช้จริงกับกลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4ศูนย์การเรียนรมโรเรียนบ้านแม่ตา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 จานวน 18 คน จาแนกเป็นนักเรียนชาย จานวน 6 คน และนักเรียนหญิง จานวน 12 คน ท้ังน้ีข้อมูลท่ีได้จากข้ันนาไปใช้น้ี คือข้อมูลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน และข้อมูลความพึงพอใจของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 ที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนและในข้ันนี้ผู้ศึกษาดาเนินการดงั นี้ 4.4.1 ก่อนเร่ิมกิจกรรมการเรียนการสอนผู้ศึกษาได้ทดสอบก่อนเรียน เพ่ือวัดความรู้พ้นื ฐานของผ้เู รยี น (ชว่ั โมงที่ 1 แผนการจดั การเรียนรู้ เร่ืองแหลง่ ขอ้ มูลภาพ) 4.4.2 ดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนจานวน 3 เรอื่ งตามแผนการจัดการเรียนรู้ 4.4.3 เม่ือดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอนเสร็จแล้วให้นักเรียนทาการสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (ช่ัวโมงที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง เทคนิคการตกแต่งรูปภาพ2)และตอบแบบสอบถามความพงึ พอใจ 4.4.4 รวบรวมข้อมูลที่ได้จากผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและแบบสอบถ ามความพึงพอใจ เพื่อทาการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ตอ่ ไป

37 4.5 ขั้นประเมินผล (Evaluation) เป็ นการป ระเมิ นผ ล การเรียนรู้ของผู้ เรียนห ลั งจากใช้ บท เรียนคอมพิ วเตอร์ช่ว ยส อนที่พัฒนาขึ้นว่าบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้หรือไม่ โดยนาคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนที่ได้จากการใช้จริงกับกลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ศูนย์การเรียนรวมโรงเรียนบ้านแม่ตา จานวน 18 คน มาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน และหาค่าดัชนีประสิทธิผลเพ่ือดูความก้าวหน้าของการเรียน และนาผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีต่อการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมาทาการวิเคราะห์หาค่าเฉล่ียเพื่อตรวจสอบว่านักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape)ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 อยใู่ นระดับใด5. กำรรวบรวมขอ้ มูลในกำวจิ ยั 5.1 คัดเลือกนักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่จะทาการวิจัย ครูช้ีแจงทาความเข้าใจและอธิบายสิ่งที่กาลงั จะดาเนนิ กจิ กรรมใหน้ ักเรียนทราบ 5.2 ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 20 ข้อ โดยใช้แบบทดสอบท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึนก่อนการทากิจกรรม โดยใช้เวลา 15 นาที แล้วนามาตรวจให้คะแนน บันทึกผลเพื่อใช้เป็นคะแนนกอ่ นเรียน (Pretest) 5.3 ผวู้ ิจัยดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ด้วยบทเรียนคอมพวิ เตอร์ช่วยสอนที่สรา้ งขึ้นจานวน 3 กิจกรรม ซ่ึงในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบ่งออกเป็น 3 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 1 ชั่วโมงโดยให้นักเรยี นไดเ้ รียนรแู้ บบเรียงตามลาดบั ของกิจกรรมใหค้ รบถ้วน 5.4 บันทึกผลหลังการจัดกิจรรม โดยผู้วิจัยเขียนรายงาน และให้คะแนนผลงานของนักเรียนที่ทาขึ้นเพื่อพัฒนา บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยบันทึกข้อมูลลงในแบบประเมินผลงานของนกั เรยี น ทผ่ี ู้วจิ ยั สรา้ งขน้ึ 5.5 เมอื่ ดาเนินกจิ กรรมจนครบเสร็จส้ิน ผู้วิจยั ไดใ้ หน้ ักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 20ขอ้ โดยใช้แบบทดสอบท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึนชุดเดิมอีกคร้ัง โดยใช้เวลา 20 นาที แล้วนามาตรวจให้คะแนนดว้ ยวธิ เี ดียวกับการทดสอบคร้งั แรก และบนั ทึกผลเพื่อใชเ้ ป็นคะแนนหลังเรียน (Posttest) 5.6 นาผลคะแนนที่ได้จากการทาแบบทดสอบก่อนและหลังการจัดกิจกรรมไปวิเคราะห์เปรียบเทียบผลพร้อมท้ังหาค่าดัชนีประสิทธิผล โดยแปลผลในรูปแบบตารางและการบรรยาย และสรปุ ผล

386. กำรวิเครำะห์ข้อมูล 6.1 วิเคราะห์หาคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 โดยใช้ IOC (สมบตั ิ ท้ายเรือคา, 2551) 6.2 วิเคราะห์หาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4ตามเกณฑ์ 80/80 โดยใช้สตู ร E1/E2 (พสิ ทุ ธา อารีราษฎร์, 2551) 6.3 วิเคราะห์หาดชั นปี ระสิทธิผลของของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนกลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ ตกแตง่ ภาพหรรษา (PhotoScape) ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 4โดยใช้สูตร EI (เผชิญ กิจระการ, 2545) สาหรับเกณฑ์ที่ยอมรับได้ว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีประสทิ ธผิ ลชว่ ยใหผ้ ู้เรยี นเกดิ ประสบการณ์การเรยี นรูไ้ ด้จริง คอื มีค่าต้ังแต่ 0.50 ขึน้ ไป 6.4 วิเคราะห์หาระดับความพึงพอใจของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 ท่ีมีต่อการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) โดยหาค่าเฉลี่ย (������) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (σ) โดยรวมคะแนนแล้ววิเคราะห์หาค่าเฉล่ีย แล้วนาไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์ ซ่ึงแบบสอบถามความพึงพอใจเปน็ แบบมาตราสว่ นประมาณคา่ (Rating Scale) (ชวลิต ชูกาแพง, 2550) 6.5 หาค่าสถิติพ้ืนฐาน ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของคะแนนท่ีได้จากทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน7. สถติ ทิ ่ใี ชใ้ นกำรวิจัย 7.1 สถิติพื้นฐำนได้แก่ 7.1.1 รอ้ ยละ (สมบัติ ท้ายเรือคา, 2551)P = F x 100 NP แทน ค่ารอ้ ยละF แทน ความถท่ี ีต่ ้องการแปลงเปน็ ร้อยละN แทน จานวนความถี่ทั้งหมด

39 7.1.2 คา่ เฉล่ยี (ศริ ชิ ัย กาญจนวาสี, 2550) µ = ∑ ������ ������เมื่อ ������ แทน ตวั กลางเลขคณิตของกลมุ่ ประชากร ∑ ������ แทน ผลรวมทง้ั หมดของข้อมูล N แทน จานวนขอ้ มลู ทั้งหมดของกล่มุ ประชากร 7.1.3 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (บุญชม ศรสี ะอาด, 2545)   N  X 2  ( X )2 N (N  1)เม่อื  แทน ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด X แทน ผลรวมของคะแนนแตล่ ะตวั ยกกาลังสอง X2 แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดยกกาลังสอง ( X )2 แทน จานวนคนของประชากร N 7.2 สถติ ทิ ี่ใชใ้ นกำรวิเครำะห์คุณภำพของเครอื่ งมือ 7.2.1 การวิเคราะหห์ าคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ค่าความเที่ยงตรงของเนื้อหา และแบบสอบถามความพงึ พอใจ เป็นการหาค่าดัชนี ความสอดคลอ้ งระหว่างข้อคาถามกบั ลักษณะเฉพาะกลมุ่ ใชส้ ูตรดชั นคี วามสอดคลอ้ ง IOC (สมบตั ิ ท้ายเรอื คา, 2551) IOC   R NIOC แทน ดัชนีความสอดคล้อง R แทน ผลรวมคะแนนความคิดเหน็ ในแต่ละข้อของผเู้ ชี่ยวชาญN แทน จานวนผ้เู ชี่ยวชาญท้ังหมด

40 7.2.2 วเิ คราะห์หาคา่ ประสทิ ธภิ าพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ตามเกณฑ์ 80/80โดยใชส้ ตู ร E1/E2 (พสิ ุทธา อารีราษฎร์, 2551) XE1  N  100 AE1 แทน คะแนนเฉล่ียท่ีนักเรยี นทาแบบฝึกได้ถูกต้องคิดเป็นร้อยละ X แทน คะแนนรวมทนี่ ักเรียนทาแบบฝกึ ได้ถูกต้องA แทน คะแนนเต็มของแบบฝึกทักษะการเขยี นสื่อความN แทน จานวนนกั เรียน FE2  N  100 B E2 แทน คะแนนเฉล่ียทีน่ ักเรียนทาแบบทดสอบได้ถูกต้องคิดเป็นรอ้ ยละ  F แทน คะแนนรวมทนี่ กั เรยี นทาแบบทดสอบไดถ้ กู ต้อง B แทน คะแนนเต็มของแบบวัดผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน N แทน จานวนนกั เรยี น 7.2.3 การวเิ คราะหห์ าค่าประสทิ ธผิ ลของบทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน โดยใช้สูตร EI(เผชญิ กจิ ระการ, 2545) ดชั นปี ระสิทธิผล (EI) = ผลรวมของคะแนนหลงั เรยี นทกุ คน – ผลรวมของคะแนนก่อนเรียนทุกคน (จานวนนกั เรียน x คะแนนเตม็ ) – ผลรวมของคะแนนกอ่ นเรยี นทกุ คน

41 บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู การศึกษาคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์ เพ่ือ 1) สร้างและหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอ น รายวิช าค อ ม พิ วเต อ ร์ ห น่ วยก ารเรียน รู้ต กแ ต่ งภ าพ ห รรษ า ( PhotoScape)ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) ศึกษาดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน รายวิชาคอมพิวเตอร์ หน่วยการเรียนรู้ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape)3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน รายวิชาคอมพิวเตอร์ หน่วยการเรียนรู้ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape)ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 และ 4) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 ที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน รายวิชาคอมพิวเตอร์ หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา(PhotoScape) ซง่ึ ผู้วิจยั ได้นาเสนอผลการวิจัย ดังต่อไปนี้ 1. ผลการสร้างและหาประสทิ ธิภาพของบทเรียนคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน รายวชิ าคอมพวิ เตอร์หน่วยการเรียนรู้ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. ผลการศึกษาดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน รายวิชาคอมพิวเตอร์หน่วยการเรยี นรู้ ตกแตง่ ภาพหรรษา (PhotoScape) 3. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน รายวิชาคอมพิวเตอร์ หน่วยการเรี ยนรู้ตกแต่งภาพหรรษา(PhotoScape) ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 4. ผลการศึกษาความพงึ พอใจของนักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 ทเี่ รียนด้วยบทเรียนคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน รายวชิ าคอมพิวเตอร์ หนว่ ยการเรยี นรู้ตกแตง่ ภาพหรรษา (PhotoScape)สัญลกั ษณ์ในการวเิ คราะห์ข้อมูล การวเิ คราะห์ข้อมลู ผศู้ กึ ษาไดก้ าหนดความหมายของสัญลักษณ์ต่าง ๆ ดงั นี้ P แทน ค่ารอ้ ยละ ������ แทน ตวั กลางเลขคณิตของกลมุ่ ประชากร  แทน สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน IOC แทน ดัชนีความสอดคล้อง E1 แทน คะแนนเฉลยี่ ทน่ี ักเรยี นทาแบบฝกึ ได้ถูกต้องคดิ เป็นร้อยละ E2 แทน คะแนนเฉลี่ยทนี่ ักเรยี นทาแบบทดสอบได้ถกู ต้องคิดเป็นร้อยละ

421. ผลการสรา้ งและหาประสทิ ธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน รายวิชาคอมพวิ เตอร์หน่วยการเรียนรู้ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 1.1 ผลการตรวจสอบความเหมาะสมสอดคล้องในองค์ประกอบต่างๆ ได้แก่ ด้านเนื้อหา ด้านสื่อและนวัตกรรม และด้านการวัดและประเมินผล ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หน่วยการเรียนรู้ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) โดยผ้เู ชี่ยวชาญนาเสนอ ดังตาราง 1ตาราง 1 แสดงผลการประเมนิ เหมาะสมสอดคลอ้ งในองคป์ ระกอบต่างๆ ไดแ้ ก่ ด้านเนอ้ื หา ด้านส่ือ และนวตั กรรม และด้านการวัดและประเมนิ ผล ของบทเรียนคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน หน่วยการเรียนรู้ ตกแตง่ ภาพหรรษา (PhotoScape) ท่ี รายการประเมิน ������ n=3 ������ แปลความ ดา้ นเนือ้ หา 4 1 เนอ้ื หามีความสอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์การเรยี นรู้ 4 0 มากทีส่ ุด 2 เนอ้ื หามีความเหมาะสมกบั ระดับชนั้ ของนักเรียน 3.33 0 มากทส่ี ุด 3 การจดั ลาดับของเน้ือหามีความเหมาะสม 4 0.58 ปานกลาง 4 ความยากง่ายของเน้อื หามีความเหมาะสมกบั 0 มากที่สุด 3.67 ผู้เรียน 3.8 0.58 มาก 5 เนือ้ หามีความถกู ต้อง ชดั เจน เข้าใจง่าย 0.23 มากรวมเฉล่ีย 4 3.67 1 มากทสี่ ดุ ด้านสื่อและนวัตกรรม 0.58 มาก 6 มีความทันสมัย แปลกใหม่ เร้าความสนใจ 4 7 มีความเหมาะสมของภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหวที่ใช้ 3.67 1 มากที่สดุ 3.67 0.58 มาก ประกอบบทเรยี น 3.8 0.58 มาก 8 ความชดั เจนในการแนะนาบทเรียน 0.75 มาก 9 ปุ่มควบคมุ บทเรยี นใช้งา่ ยและมีความชัดเจน 10 มปี ฏิสัมพนั ธร์ ะหว่างผเู้ รยี นกบั บทเรยี นรวมเฉลยี่

43ตารางที่ 1 (ตอ่ ) ที่ รายการประเมิน ������ n=3 ������ แปลความ ดา้ นการวดั และประเมินผล 4 11 วิธีการวัดและเครื่องมือมีความสอดคล้องกับ 0 มากทีส่ ดุ 4 จดุ ประสงค์ 4 0 มากท่สี ุด 12 แบบทดสอบมคี วามสอดคลอ้ งกบั เนื้อหา 4 0 มากทส่ี ดุ 13 ความเหมาะสมของจานวนข้อในแบบทดสอบ 3.33 0 มากทส่ี ุด 14 ความยากงา่ ยของแบบทดสอบ 3.87 0.58 ปานกลาง 15 เกณฑก์ ารประเมนิ ผลชัดเจน 3.82 0.12 มากรวมเฉลี่ย 0.36 มาก รวมเฉล่ยี ทกุ รายการ จากตาราง 1 พบว่า ผลการประเมนิ ความเหมาะสมสอดคลอ้ งในองค์ประกอบต่างๆ ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4ตามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ โดยภาพรวมมีความเหมาะสมสอดคล้อง ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.82 เมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่มีความเหมาะสมสูงสุด คือ ด้านการวัดและประเมินผล มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.87 รองลงมา คือ ด้านเน้ือหา และด้านสื่อและนวัตกรรม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.8 1.2 ผลการหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หน่วยการเรียนรู้ ตกแต่งภาพหรรษา (PhotoScape) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 ตามเกณฑ์ 80/80 นาเสนอผลดังตาราง 2 ตาราง 3และตาราง 4ตาราง 2 แสดงผลการหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน หนว่ ยการเรยี นรู้ ตกแตง่ ภาพหรรษา (PhotoScape) ตามเกณฑ์ 80/80 กับนักเรยี นจานวน 3 คน (แบบหนึ่งต่อหนึง่ )N ระหว่างเรียน หลังเรยี น คา่ ประสทิ ธภิ าพ E1 / E2 A ∑ ������ E1 B ∑ ������ E2 80.00 / 86.673 30 72 80.00 10 26 86.67


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook