194118974 6. การประเมนิ ผลรวบยอด ช้ินงานหรอื ภาระงาน ช้นิ งานหรือภาระงานและเกณฑก์ ารประเมินแบบ rubric แบบประเมินการอ่านบทรอ้ ยกรอง คาช้ีแจง ครูประเมนิ พฤติกรรมของนักเรียนในการอา่ นออกเสียง (บทร้อยกรอง) และให้คะแนนลงในช่องท่ีตรงกับ พฤติกรรมของนักเรยี น เลขท่ี ชอื่ - สกุล ่อานออกเสียง ร ล และคาควบก ้ลา ร ล ว ถูกต้อง รวม สรปุ ผล การเ ้อือน การออกเ ีสยงถูก ้ตองตามประเภทของคา การประเมิน ประ ัพนธ์ การเว้นวรรคตอน น้าเสียงไพเราะ สละสลวย และ ีลลาท่าทางในการ ่อาน เหมาะสม ไ ่ม ่อาน ้ขาม ่อานเพิ่ม ู่ตคา ความค ่ลองแค ่ลวและแ ่มนยา ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๘ ผ่าน ไมผ่ ่าน เกณฑ์การประเมิน รอ้ ยละ ๘๐ ข้ึนไป (๑๕ คะแนนขึ้นไป) ๑๗ – ๑๘ คะแนน ระดับ ดมี าก ๑๕ – ๑๖ คะแนน ระดบั ดี ๑๓ – ๑๔ คะแนน ระดบั พอใช้ ๐ – ๑๒ คะแนน ระดบั ปรับปรุง ลงชอ่ื ................................................ผปู้ ระเมนิ ( ...............................................)
119955111989585 เเกกณณฑฑก์ ์กาารรใใหหค้ ้คะะแแนนนนแแบบบบปปรระะเเมมนิ ินกกาารรออ่า่านนบบททรรอ้ อ้ ยยกกรรอองง ปปรระะเเดดน็ ็นกกาารรปปรระะเเมมินนิ เเกกณณฑฑก์ ์กาารรใใหหค้ ้คะะแแนนนน ๑๑..ออ่าา่ นนออออกกเเสสยี ยี งงรรลล ๓๓((ดด)ี )ี ๒๒((พพออใใชช้)้) ๑๑((ปปรรบั ับปปรรุงุง)) แแลละะคคาาคคววบบกกลลา้ ้ารร ออา่ า่ นนออออกกเเสสยี ยี งงรรลลแแลละะ ลลวว ถถกู กู ตต้อ้องง คคาาคคววบบกกลล้า้ารรลลวว ออา่ า่ นนออออกกเเสสียยี งงรรลลแแลละะคคาา ออา่ า่ นนออออกกเเสสียียงงรรลลแแลละะ ถถกู กู ตต้อ้องงชชดั ัดเเจจนน คคววบบกกลลา้ ้ารรลลววไไมมถ่ ถ่ กู กู ตต้อ้องง๒๒ คคาาคคววบบกกลล้าา้ รรลลววไไมม่ ่ คครรงั้ ัง้ ถถูกกู ตต้อ้องงเเกกนิ นิ ๒๒คครร้ัง้ัง ๒๒..กกาารรเเออื้อ้ือนน กกาารรเเออ้ือื้อนนกกาารรททออดดเเสสยี ียงง กกาารรเเออ้ือื้อนนกกาารรททออดดเเสสยี ียงงหหรรือือ กกาารรเเออื้อ้ือนนกกาารรททออดดเเสสียียงง กกาารรททออดดเเสสยี ยี งง ถถูกูกตต้อ้องงตตาามมจจังังหหววะะ จจงั ังหหววะะททาานนอองงตตาามมปปรระะเเภภทท หหรรอื อื จจังังหหววะะททาานนอองงตตาามม ขขอองงคคาาปปรระะพพนั นั ธธ์ ์ ผผิดดิ ๒๒คครรง้ั ้งั ปปรระะเเภภททขขอองงคคาาปปรระะพพนั นั ธธ์ ์ ถถกู ูกตตอ้ ้องงตตาามมปปรระะเเภภทท ททาานนอองงถถูกกู ตต้อ้องงตตาามม ผผิดดิ เเกกนิ นิ ๒๒คครรง้ั ้งั ขขอองงคคาาปปรระะพพนั นั ธธ์ ์ ปปรระะเเภภททขขอองงคคาาปปรระะพพันันธธ์ ์ ๓๓..กกาารรเเววน้ น้ ววรรรรคคตตออนน ออา่ ่านนเเววน้ ้นววรรรรคคตตออนนไไดด้ ้ ออ่า่านนเเวว้น้นววรรรรคคตตออนนไไมมถ่ ่ถูกูกตต้อ้องง ออา่ า่ นนเเววน้ ้นววรรรรคคตตออนนไไมม่ ่ ถถกู ูกตต้อ้องงชชดั ัดเเจจนน ๒๒คครร้ังัง้ ถถกู กู ตต้อ้องงเเกกนิ นิ ๒๒คครร้ังงั้ ถถกู ูกตตอ้ ้องง ๔๔..นน้า้าเเสสยี ียงงไไพพเเรราาะะ ออา่ ่านนเเสสยี ยี งงดดงั งัชชัดัดเเจจนน ออา่ ่านนเเสสียียงงดดังังชชัดัดเเจจนนนน้า้าเเสสียียงง ออา่ ่านนเเสสยี ยี งงไไมมช่ ช่ ดั ดั เเจจนน สสลละะสสลลววยยแแลละะลลลี ลี าา นน้าา้ เเสสยี ียงงแแลละะลลีลลี าา แแตตล่ ่ลลี ีลาาทท่า่าททาางงไไมม่เ่เหหมมาาะะสสมม นน้าา้ เเสสียียงงแแลละะลลลี ลี าาทท่าา่ ททาางง ทท่า่าททาางงใในนกกาารรออ่าา่ นน เเหหมมาาะะสสมมกกบั บั กกับบั บบททรรอ้ ้อยยกกรรอองงทท่ีอ่ีอ่า่านน ไไมม่เเ่หหมมาาะะสสมม เเหหมมาาะะสสมม บบททรรอ้ อ้ ยยกกรรอองงทท่ีอี่อา่ ่านน ๕๕..ไไมมอ่ อ่ ่า่านนขข้า้ามม//ออ่า่านนเเพพิ่มิ่ม ออ่าา่ นนออออกกเเสสยี ียงงไไดด้ถ้ถกู กู ตต้อ้องง ออ่า่านนออออกกเเสสียียงงไไมม่ถ่ถูกูกตต้อ้องง ออา่ ่านนออออกกเเสสียียงงไไมม่ถ่ถูกกู ตต้อ้องง //ตตู่คคู่ าา ชชดั ัดเเจจนนททุกุกคคาาททุกุกขข้อ้อคคววาามม ชชัดัดเเจจนนมมกี ีกาารรออา่ า่ นนตตู่คู่คาา ชชัดดั เเจจนนมมกี ีกาารรออ่า่านนตตู่คู่คาา ททกุ ุกปปรระะโโยยคค หหรรือือเเพพิม่ มิ่ คคาา๒๒คคาา แแลละะเเพพ่ิม่ิมคคาาเเกกนิ ิน ๒๒คคาา ๖๖..คคววาามมคคลล่อ่องงแแคคลล่วว่ ออ่า่านนออออกกเเสสียยี งงบบทท ออา่ ่านนออออกกเเสสียียงงบบททรร้ออ้ ยยกกรรอองง ออ่า่านนออออกกเเสสียยี งง แแลละะแแมม่น่นยยาา รร้ออ้ ยยกกรรอองงดด้วว้ ยยคคววาามม ไไมมค่ ค่ ลล่อ่องงแแคคลลว่ ่วไไมมแ่ แ่ มม่นน่ ยยาา บบททรร้อ้อยยกกรรอองงไไมม่ ่ คคลล่อ่องงแแคคลลว่ ว่ แแลละะ ขขาาดดคคววาามมมมนั่ ่ันใใจจ๒๒คครร้ัง้ัง คคลล่ออ่ งงแแคคลล่ว่วแแลละะไไมม่ ่ แแมม่น่นยยาามมคี คี ววาามมมม่นั ั่นใใจจสสูงูง แแมมน่ น่ ยยาาไไมม่ม่มีคคี ววาามมมม่นั ่นั ใใจจ
196118996 แบบประเมินพฤตกิ รรมการทางานกลุ่มของนักเรียน ความถกู ต้อง การมี ความคิด การตรงต่อ รวม ชดั เจนของ ส่วนรว่ ม สรา้ งสรรค์ใน เวลา เลขท่ี ชอื่ -สกลุ สร้างสรรค์ การนาเสนอ เนือ้ หา งานกลุ่ม 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 12 ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติม : ...................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................... เกณฑก์ ารประเมิน ระดับคณุ ภาพ 3 หมายถงึ ดี 9 – 12 คะแนน = ดี 2 หมายถึง พอใช้ 5 – 8 คะแนน = พอใช้ 1 หมายถึง ปรับปรุง 1– 4 คะแนน = ปรบั ปรุง
11990 7197 รายละเอยี ดเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบประเมนิ พฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ ประเดน็ การประเมนิ 3 เกณฑก์ ารให้คะแนน 1 ความถูกตอ้ ง ชัดเจน เน้ือหาที่นาเสนอมคี วาม 2 เน้ือหาท่ีนาเสนอขาดความ ของเน้อื หาที่นาเสนอ ถูกตอ้ ง ชัดเจน ในทกุ ถูกต้อง ชัดเจน และมี ประเดน็ มีรายละเอยี ด เนือ้ หาท่ีนาเสนอมคี วาม ขอ้ ผิดพลาด 3 ประเดน็ ขนึ้ ครบถว้ น ถกู ตอ้ ง ชัดเจน แตม่ ี ไป ขอ้ ผดิ พลาดบา้ ง 1-2 ประเด็น การมสี ว่ นร่วม สมาชกิ มสี ว่ นร่วมในการ สมาชกิ ส่วนใหญ่ มีส่วนร่วม สมาชิกสว่ นใหญ่ มีส่วนรว่ ม สร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์งานกลมุ่ โดย ในการสร้างสรรคง์ านกล่มุ ในการสร้างสรรคง์ านกล่มุ งานกลุ่ม ยอมรบั ฟังความคดิ เห็น แต่มสี มาชิกในกลุม่ ทีไ่ มม่ ี แต่มีสมาชกิ ในกล่มุ ท่ไี มม่ ี ความคดิ สร้างสรรค์ ของผู้อืน่ และแสดงความ ส่วนร่วมสรา้ งสรรค์งานบา้ ง ส่วนร่วมสร้างสรรค์งาน 3 ในการนาเสนอ คดิ เห็นทุกคร้งั 1–2 คน คนขน้ึ ไป มคี วามคดิ สร้างสรรค์ใน ขาดความคิดสรา้ งสรรคใ์ น ขาดความคดิ สรา้ งสรรคใ์ น การนาเสนอผลงานที่ การนาเสนอผลงาน แตเ่ ป็น การนาเสนอผลงาน และ แปลกใหม่ นา่ สนใจ และ ผลงานที่มีคณุ ค่า ผลงานไม่มคี ณุ ค่า มีคุณค่า การตรงตอ่ เวลา งานของกลุ่มเสรจ็ ตาม งานของกลุม่ เสรจ็ ตาม งานของกลุ่มเสรจ็ ไม่ กาหนดเวลาและงานมี กาหนดเวลาแต่งานไมม่ ี ทนั เวลาท่ีกาหนดและงาน คณุ ภาพดี คณุ ภาพ ไม่มีคณุ ภาพ
๑1๙9๔8119981 เลขทเี่ ลข แแบบบบสสงั ังเกเกตตพพฤฤตตกิ กิ รรรรมการเรยี นของนกักเเรรียียนนรราายยบบุคคุ คคลล คุณธรรมใน ที่ กครวะาตมอืคสรวนือาใรมจ้นสนใจกาใรนมกสี ราก่วว่รานมทรรใำมว่นสี มก่วานร ความรรบั บัคผผวิดาิดชมชออบบ เกชคา่นุณรเคธรวรียรานมม รวรวม ชอ่ื -สกลุ ในกากรรเระยีตนือรอื ร้น กิจกทรารกมิจกรรม ต่องานท่ี ข๓ยันมซจี ่ือ๒ิตสัตย๑์ ม ๑๒ ชื่อ-สกุล ๓ ใ๒นกา๑รเรียน๓ เ๒ชค่นาถตา๑อมบ ๓ มอ๒ไบดหร้ ับมา๑ย สาธารณะ 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 12 ขอ้ ขเอ้สเนสอนแอนแะนเะพเพม่ิ เ่มิ ตเติมิม: : ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ เ32กเ๓ณกณฑฑ์กา์กหหราหมมปรมาาปรยยาะรยถถเะมถงึงึเมนิงึ นิ ดพดีอี ใช้ ร๙ร95ะะด–ด––ับ๑บั ค18๒คุณ2ณุ คภคคภะาะะแพาแแนพนนนนน === ดดพีีอใช้ 1๒ หหมมายายถถงึ งึ ปพรอับใปชร้ งุ ๕1––๘4 คคะะแแนนนน = พปอรใบั ชป้ รุง ๑ หมายถงึ ปรับปรงุ ๑ – ๔ คะแนน = ปรบั ปรุง
199119929 แบบประเมนิ ความสามารถในการเขยี นแผนภาพความคิด ความถกู ตอ้ งของเนื้อหา การจดั ระบบในการนาเสนอ ความมรี ะเบียบในการทางาน รวม เลขที่ ชอ่ื -สกุล 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 12 ขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เติม : ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................................................................................................................ เกณฑก์ ารประเมนิ ดมี าก ระดบั คณุ ภาพ 4 หมายถึง ดี 9 – 12 คะแนน = ดี 3 หมายถึง พอใช้ 5 – 8 คะแนน = พอใช้ 2 หมายถงึ ปรบั ปรุง 1– 4 คะแนน = ปรับปรงุ 1 หมายถงึ
200210903 รายละเอยี ดเกณฑ์การใหค้ ะแนนแบบประเมนิ ความสามารถในการเขียนแผนภาพความคิด ประเด็นการประเมนิ 4 เกณฑ์การใหค้ ะแนน 1 32 สรปุ ความรผู้ ดิ 1. ความถูกตอ้ ง สรุปความรไู้ ด้ครบถว้ น สามารถสรุปความรู้ได้ สรุปความรูไ้ ดต้ รง มากกวา่ 3 ประเด็น ครบถว้ นของเน้ือหา ตรงประเดน็ และ ครบ ตรงประเดน็ ประเด็น ผดิ ไม่เกิน ถูกต้อง ผิดไมเ่ กนิ 3 ประเด็น 1-2 ประเด็น 2. การนาเสนอ นาเสนอเนื้อหาโดย นาเสนอเนือ้ หาโดย นาเสนอเน้ือหาโดย นาเสนอเนอื้ หาโดย ความรไู้ ดถ้ กู ตอ้ ง แสดงตามลาดับของ แสดงตามลาดับของ แสดงตามลาดบั ของ แสดงตามลาดับของ ตามลาดบั ขั้น ความคดิ หลกั และ ความคิดหลกั และ ความคดิ หลกั และ ความคิดหลักและ ความสมั พันธ์ ความคดิ ย่อยได้ถูกต้อง ความคดิ ย่อยผดิ ความคดิ ย่อยผดิ ความคดิ ย่อยผดิ 3. ความมรี ะเบียบ ครบถว้ นตามลาดับ 1-2 ตาแหนง่ 3 ตาแหน่ง 3 ตาแหน่งขึ้นไป ในการทางาน ความสมั พันธ์ แผนภาพความคิดค่อน แผนภาพความคิด ขา้ งเป็นระเบียบ ขาดความเป็น แผนภาพความคิดเป็น แผนภาพความคิดเป็น เรียบร้อย สวยงาม ระเบยี บเรียบร้อย ระเบียบเรียบร้อย ระเบยี บเรียบร้อย มีรอ่ งรอยการแกไ้ ข ขาดความสวยงาม สวยงามและสะอาด สวยงาม แตม่ รี อ่ งรอย ไม่เกนิ 3 ตาแหน่ง มีร่องรอยการแกไ้ ข การแก้ไข มากกวา่ 3 ตาแหนง่ 1-2 ตาแหนง่ ข้นึ ไป
201219041 แบบประเมนิ การเขียนแสดงความคิดเหน็ เลขที่ ชื่อ-สกลุ การใชภ้ าษา การใช้เหตผุ ล การแสดง ความสะอาด รวม ร้อยละ ความ ความคดิ เหน็ ในการทางาน น่าเช่ือถือ 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 12 ๑๐๐ ขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เติม : ............................................................................................................................. ....................................................... เกณฑ์การประเมิน ดี ระดับคณุ ภาพ 3 หมายถงึ พอใช้ 9 – 12 คะแนน = ดี 2 หมายถงึ ปรับปรงุ 5 – 8 คะแนน = พอใช้ 1 หมายถงึ 1 – 4 คะแนน = ปรบั ปรงุ
202210925 แบบประเมินช้ินงานการเขียนแสดงความคดิ เห็น ประเดน็ ดี พอใช้ ต้องปรบั ปรงุ ๒ ๑ เกณฑ์ ๓ งานเขียนมีที่มาของ ๑. ท่มี าเรื่องราว งานเขียนมที ี่มาของแสดง แสดงถงึ ความจาเปน็ ที่ ไมม่ ีทม่ี าของแสดงถึงความ ความเปน็ มา ถงึ ความจาเปน็ ทแ่ี สดง แสดงความคิดเหน็ จาเปน็ ท่แี สดงความ ความคิดเหน็ บางส่วน คดิ เห็น ๒. ขอ้ สนับสนนุ มีข้อสนับสนุนเป็น มีขอ้ สนับสนุนเป็น ไมม่ ีขอ้ สนับสนนุ เป็น หลกั การ กฎเกณฑ์ หลักการ และกฎเกณฑ์ที่ หลกั การ และกฎเกณฑ์ หลักการ และกฎเกณฑท์ ่ี ที่เป็นเหตุเป็นผล เป็นเหตุเป็นผลส่วนใหญ่ ที่เป็นเหตเุ ปน็ ผล เป็นเหตุเปน็ ผลครบถ้วน บางส่วน ๓. ขอ้ สรุป มขี อ้ สรปุ บ้าง มขี อ้ สรุปบางสว่ น ไม่มีข้อสรุป สลบั ท่กี ัน สว่ นใหญ่ ตามความส�ำ คัญ ก่อน - หลงั มีการใช้ภาษา มกี ารใช้ภาษา การใชภ้ าษายงั วกวนมีการ ท่ถี กู ต้องชัดเจน เขา้ ใจ ทถี่ ูกต้องชัดเจน เข้าใจ แสดงความคิดเห็นส่วนตัว ๔. ภาษาทใ่ี ช้ งา่ ย และใชถ้ ้อยคาสภุ าพ ง่าย ยงั ไมต่ รงประเดน็ ในลกั ษณะการใช้อารมณ์ สลับทีก่ นั สมเหตสุ มผลตรงประเดน็ บางเรือ่ ง ความรสู้ กึ ตามความสำ�คญั ส่วนใหญ่ กอ่ น - หลัง
203210936 แบบประเมินการพูดแสดงความคิดเหน็ การใชภ้ าษา การใชเ้ หตผุ ล การแสดง บุคลกิ ทา่ ทาง รวม ความ ความคิดเหน็ เลขท่ี ชอ่ื -สกลุ นา่ เชอื่ ถอื 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 12 ข้อเสนอแนะเพ่มิ เติม : ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................................................................................................................ เกณฑ์การประเมิน ดี ระดบั คุณภาพ 3 หมายถึง พอใช้ 9 – 12 คะแนน = ดี 2 หมายถงึ ปรับปรงุ 5 – 8 คะแนน = พอใช้ 1 หมายถึง 1 – 4 คะแนน = ปรบั ปรุง
204219074 เกณฑก์ ารประเมินการพูดแสดงความคิดเหน็ ประเด็นการประเมิน 3 (ด)ี เกณฑ์การประเมิน 1 (ปรับปรุง) 2 (พอใช้) ใชภ้ าษาไม่เหมาะสม ผดิ ๑. การใช้ภาษา ใช้ภาษาได้ถูกต้อง ใช้ภาษาได้ถูกต้อง ตั้งแต่ ๓ ตาแหน่งข้ึนไป สละสลวย ถูกตอ้ ง สละสลวย ผดิ ไดไ้ ม่เกนิ ๒ พูดโดยมเี หตผุ ล หลักฐาน ตาแหน่ง แต่เชอ่ื ถือไดน้ ้อย ๒. การใชเ้ หตผุ ล พดู โดยมีเหตุผล พูดโดยมเี หตุผล หลักฐาน แสดงความคดิ เห็นไม่ ความน่าเชอ่ื ถือ หลกั ฐานชดั เจน คอ่ นข้างเชื่อถือได้ ชดั เจนและไมส่ อดคล้อง สามารถเช่อื ถือได้ กับประเดน็ ๓. การแสดงความ แสดงความคดิ เหน็ แสดงความคิดเหน็ ไม่ บคุ ลกิ ทา่ ทางในการพูดไม่ คิดเหน็ ชัดเจน โดยแสดงเหตุ ชัดเจนแต่สอดคล้องกบั คอ่ ยเหมาะสม ไมม่ ีการ และผลได้สอดคลอ้ งกบั ประเด็น ทกั ทายผู้ฟัง สายตาไมม่ อง ประเดน็ ผฟู้ ัง ๔. บุคลกิ ท่าทาง บุคลกิ ท่าทางในการพดู บุคลิกท่าทางในการพดู เหมาะสม มีการ คอ่ นข้างเหมาะสม มีการ ทกั ทายผู้ฟัง กวาด ทกั ทายผู้ฟงั กวาดสายตา สายตามองผู้ฟงั อยา่ ง มองผู้ฟังเล็กน้อย ทว่ั ถึง
221900855 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๓ พินิจพิจารณ์ รหัสวชิ า ท๒๑๑๐๑ รายวิชาพน้ื ฐานภาษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ เวลา ๑๒ ชว่ั โมง ชอ่ื ...............................................นามสกลุ .......................................ชน้ั ................................เลขท่ี.................. ………………………………………………………………………………………….........................................………………………..... ๑. ความรู้ท่ีนักเรียนไดร้ ับ ………………………………………………………………………………………….........................................………………………..... ………………………………………………………………………………………….........................................………………………..... ………………………………………………………………………………………….........................................………………………..... ………………………………………………………………………………………….........................................………………………..... ………………………………………………………………………………………….........................................………………………..... ………………………………………………………………………………………….........................................………………………..... ………………………………………………………………………………………….........................................………………………..... ๒. เรื่องทน่ี กั เรยี นชอบและมคี วามเข้าใจ ………………………………………………………………………………………….........................................………………………..... ………………………………………………………………………………………….........................................………………………..... ………………………………………………………………………………………….........................................………………………..... ………………………………………………………………………………………….........................................………………………..... ………………………………………………………………………………………….........................................………………………..... ๓. เรอ่ื งทน่ี กั เรยี นไม่ชอบหรือไมเ่ ขา้ ใจ.................................................................................................................. ………………………………………………………………………………………….........................................………………………..... ………………………………………………………………………………………….........................................………………………..... ๔. เร่ืองที่นักเรยี นสามารนาไปประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจาวันได.้ ............................................................................. ………………………………………………………………………………………….........................................………………………..... ………………………………………………………………………………………….........................................………………………..... ………………………………………………………………………………………….........................................………………………..... ………………………………………………………………………………………….........................................……………………….....
206 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๓ เรอ่ื ง พนิ ิจพิจารณ์ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 เวลา ๑ ชั่วโมง กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย เร่ือง การอา่ นออกเสียงบทรอ้ ยกรองประเภทกลอนสภุ าพ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ ขอบเขตเนือ้ หา รายวิชาพ้ืนฐานภาษาไทย หลักการอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ ส่อื /แหล่งเรียนรู้ ดา้ นความรู้ ข้ันนา 1. บทอ่านร้อยกรองประเภทกลอนสภุ าพ 1. ครูให้นักเรียนดูบทร้อยกรองประเภทกลอนสุภาพ เร่ืองนิราศภูเขาทอง ๒. ใบความรู้เร่อื ง การอา่ นออกเสยี ง อธิบายหลักการอา่ นออกเสียง ซง่ึ มเี นอ้ื หาดังน้ี บทร้อยกรอง บทรอ้ ยกรอง มาถงึ บางธรณีทวโี ศก ยามวโิ ยคยากใจให้สะอน้ื ๓. แผน่ บันทกึ เสยี งการอ่านออกเสยี ง ด้านทกั ษะและกระบวนการ โอ้สุธาหนาแนน่ เป็นแผ่นพน้ื ถึงสี่หมื่นสองแสนท้งั แดนไตร บทร้อยกรอง (บทอาขยานจากเรื่อง เมือ่ เคราะหร์ า้ ยกายเราก็เท่านี้ ไม่มีท่ีพสุธาจะอาศยั นริ าศภูเขาทอง) อา่ นออกเสียงบทร้อยกรองประเภท ลว้ นหนามเหน็บเจบ็ แสบคับแคบใจ เหมอื นนกไร้รงั เร่อยู่เอกา ภาระงาน/ชิน้ งาน กลอนสุภาพได้ถูกตอ้ ง ถึงเกรด็ ยา่ นบ้านมอญแตก่ ่อนเก่า ผู้หญิงเกลา้ มวยงามตามภาษา การฝึกอ่านออกเสยี งบทร้อยกรอง ดา้ นคุณลกั ษณะ เดี๋ยวน้มี อญถอนไรจุกเหมือนตุ๊กตา ทัง้ ผดั หน้าจบั เขม่าเหมือนชาวไทย โอ้สามญั ผันแปรไม่แท้เทีย่ ง เหมอื นอย่างเยีย่ งชายหญงิ ทง้ิ วิสยั ๑. มวี ินยั นีห่ รอื จิตคิดหมายมีหลายใจ ท่ีจติ ใครจะเป็นหน่งึ อยา่ พงึ คิด ๒. ใฝเ่ รยี นรู้ ถงึ บางพูดพูดดเี ปน็ ศรศี ักด์ิ มีคนรักรสถ้อยอรอ่ ยจิต ๓. มงุ่ ม่ันในการทางาน แมพ้ ูดชวั่ ตัวตายทาลายมติ ร จะชอบผิดในมนษุ ย์เพราะพดู จา ๔. รกั ความเป็นไทย ครูซักถามนักเรียนเก่ียวกับบทอาขยานข้างต้นว่าเป็นบทร้อยกรองประเภท ใด และมวี ธิ กี ารแบง่ วรรคตอนในการอ่านทถ่ี กู ต้องอย่างไร 2. ครูให้นักเรียนอ่านบทอาขยานข้างต้นพร้อมกัน จากน้ันครูเช่ือมโยงถึง ความร้เู ร่ือง การอ่านออกเสียงร้อยกรองประเภทกลอนสภุ าพ ขน้ั สอน 1. ครสู ุ่มนกั เรียน ๑ - ๒ คน ออกมาช่วยกันแบง่ วรรคตอนในการอา่ นบท อาขยานจากเร่ือง นิราศภเู ขาทองใหถ้ ูกตอ้ ง ครจู ึงเฉลยคาตอบทถ่ี กู ตอ้ ง 219069
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๓ เรื่อง พินจิ พิจารณ์ แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 1 207 กลุม่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย เร่ือง การอ่านออกเสียงบทรอ้ ยกรองประเภทกลอนสุภาพ เวลา ๑ ชั่วโมง ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ รายวิชาพ้ืนฐานภาษาไทย กิจกรรมการเรยี นรู้ ขัน้ สอน มาถงึ บาง/ธรณี/ทวโี ศก ยามวโิ ยค/ยากใจ/ใหส้ ะอื้น โอส้ ธุ า/หนาแน่น/เป็นแผน่ พ้ืน ถึงสีห่ มื่น/สองแสน/ท้งั แดนไตร เมอ่ื เคราะหร์ ้าย/กายเรา/ก็เทา่ นี้ ไม่มที ่ี/พสุธา/จะอาศัย ลว้ นหนามเหนบ็ /เจ็บแสบ/คับแคบใจ เหมอื นนกไร/้ รงั เร่/อยู่เอกา ถึงเกรด็ ยา่ น/บ้านมอญ/แตก่ อ่ นเก่า ผหู้ ญิงเกล้า/มวยงาม/ตามภาษา เดี๋ยวน้ีมอญ/ถอนไรจกุ /เหมือนตุก๊ ตา ทั้งผัดหน้า/จับเขมา่ /เหมอื นชาวไทย โอ้สามัญ/ผนั แปร/ไมแ่ ท้เท่ยี ง เหมอื นอย่างเยี่ยง/ชายหญิง/ทิ้งวิสยั นห่ี รอื จติ /คดิ หมาย/มหี ลายใจ ที่จติ ใคร/จะเปน็ หน่ึง/อย่าพึงคิด ถึงบางพดู /พูดด/ี เป็นศรศี กั ดิ์ มคี นรัก/รสถอ้ ย/อร่อยจติ แมพ้ ดู ชั่ว/ตัวตาย/ทาลายมติ ร จะชอบผดิ /ในมนุษย์/เพราะพูดจา 2. นักเรียนแบ่งกลุ่มละ ๔ คน จากน้ันให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษา ใบความรู้เร่ือง การอ่านออกเสียงบทร้อยกรองประเภทกลอน แลว้ บันทึกสรุป ความรู้ลงในสมุดบันทึกของนักเรียน เม่ือแต่ละกลุ่มศึกษาใบความรู้เรียบร้อย แล้วใหน้ กั เรียนกลับเข้าทนี่ ั่งเดิมของตน 3. ครูเปิดแผ่นดีวีดีการออกเสียงบทร้อยกรองประเภทกลอนสุภาพให้ นักเรียนฟัง (บทอาขยานเรื่อง นิราศภูเขาทอง) จากน้ันให้นักเรียนฝึกอ่าน พร้อมกนั ทัง้ ห้อง ๔. บทร้อยกรองให้เพ่ือนในห้องฟังเป็นตัวอย่าง โดยครูเป็นผู้แนะนาแก้ไข ให้นักเรียนอ่านให้ถูกตอ้ ง 220070
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๓ เรื่อง พินจิ พิจารณ์ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 208 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง การอ่านออกเสียงบทร้อยกรองประเภทกลอนสุภาพ เวลา ๑ ชั่วโมง ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ รายวิชาพนื้ ฐานภาษาไทย ขนั้ สรุป ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั สรุปความรู้และหลกั ในการอา่ นออกเสียง บทร้อยกรองประเภทกลอนสุภาพ และนัดหมายเพื่อประเมินผลการอ่านออก เสยี งบทร้อยกรองเปน็ รายบคุ คล 201
209220029 การวดั และประเมินผล สิ่งทตี่ ้องการวัด/ประเมิน วธิ กี าร เครื่องมือทใี่ ช้ เกณฑ์ ด้านความรู้ ๑. ความหมายการอ่าน สงั เกต แบบสงั เกตพฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ การเรียน ร้อยละ ๘๐ ข้นึ ไป ออกเสยี งบทร้อยกรอง ๒. หลักการอ่านออกเสยี ง อ่านบทร้อยกรอง ดา้ นทักษะและกระบวนการ อ่านออกเสยี งบทร้อยกรอง ๑.ประเมินการอา่ นออก ๑.แบบประเมินการอา่ นออก ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ประเภทกลอนได้ เสียงบทร้อยกรอง เสียงบทรอ้ ยกรอง รอ้ ยละ ๘๐ ขึน้ ไป ๒.สงั เกตพฤติกรรมการ ๒.แบบสังเกตพฤตกิ รรมการ ทางานกลุ่ม ทางานกลมุ่ ดา้ นคุณลักษณะ 1. มีวนิ ยั ประเมินจากคณุ ลักษณะ แบบประเมินคณุ ลักษณะ ผ่านเกณฑ์คุณภาพ 2. ใฝ่เรียนรู้ ระดบั ๒ 3. มงุ่ ม่ันในการทางาน ๔. รกั ความเปน็ ไทย ๘. บนั ทึกผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ....................................................... ปญั หาและอุปสรรค ............................................................................................................................. ....................................................... ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................................................................................................. ....... ลงชื่อ...................................................ผสู้ อน (.................................................................) วนั ท.่ี ............เดือน...............พ.ศ…………. ๙. ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะของผ้บู ริหารหรอื ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ............................................................................................................................. ....................................................... .............................................................................................................................................. ...................................... ลงช่อื ...................................................ผู้ตรวจ (.................................................................) วนั ท่.ี ............เดอื น...............พ.ศ………….
210220130 ใบความรู้ เรอื่ ง การอ่านออกเสยี งบทร้อยกรอง หน่วยที่ ๓ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๑ เรื่อง การอ่านออกเสยี งบทรอ้ ยกรองประเภทกลอนสุภาพ รายวิชาภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ การอ่านออกเสียงบทรอ้ ยกรอง การอ่านออกเสียงบทรอ้ ยกรอง เป็นการอ่านทม่ี งุ่ ให้เกดิ ความเพลดิ เพลนิ ซาบซึง้ ในรสของบทประพนั ธ์ ซง่ึ ต้องอา่ นอย่างมีจังหวะ ลีลา และท่วงทานองตามลกั ษณะคาประพันธแ์ ต่ละชนิด มวี ิธีออกเสียงได้ ๒ อยา่ ง คือ ออกเสียงการอ่านร้อยแกว้ และทานองเสนาะ ๑. การอา่ นออกเสียงการอ่านร้อยแกว้ ต้องคานงึ ถึงวรรคและจังหวะคาภายในวรรคของคาประพนั ธ์แตล่ ะ ชนดิ ๒. การอา่ นออกเสยี งร้อยกรองทานองเสนาะ มีหลกั เกณฑ์ ดังนี้ ๑) ใชท้ านองตามชนิดของคาประพนั ธ์ ๒) ออกเสียงตามแผนบงั คับของคาประพนั ธแ์ ต่ละชนิด บางครง้ั ต้องรวบคาหลายพยางคใ์ ห้ส้นั ลงให้ พอดีกบั จานวนคาตามแผนบังคบั ๓) คาท้ายบาทและทา้ ยบทท่ีเปน็ เสียงจตั วาเอ้ือนเสยี งสูงเป็นพเิ ศษ หลกั การอ่านออกเสยี งรอ้ ยกรอง หลักเกณฑ์ท่ัวไปในการอ่านออกเสียงร้อยกรอง (ฟองจันทร์ สุขย่ิง และคณะ,2554:6, วาสนาบุญสม, 2541: 26) มดี งั นี้ ๑. ศึกษาลกั ษณะบังคับของคาประพนั ธ์ท่ีจะอา่ น เชน่ จานวนคา สัมผัส เสยี งวรรณยกุ ต์ เสยี งหนกั เบา รจู้ ักการแบง่ วรรคตอน อา่ นตามจงั หวะทานองเสนาะ โดยอา่ นให้ชัดเจนและใส่อารมณต์ ามใจความนนั้ ๒. อา่ นเนน้ คาในตาแหน่งสมั ผัสนอก ๓. อา่ นเอือ้ สัมผัสในเพ่ือเพม่ิ ความไพเราะเชน่ อนั รกั ษาศลี สตั ยก์ ตเวที อา่ นวา่ กดั -ตะ-เวที เพ่ือให้ สัมผสั กับ สัตย์ ๔. อา่ นถกู ต้องตามท่วงทานองเสนาะของคาประพนั ธแ์ ตล่ ะชนิด ๕. อ่านออกเสียงคาให้ชัดเจน ถูกตอ้ ง โดยเฉพาะคาท่ีออกเสียง ร ล และ คาควบกล้า ๖. อ่านเสยี งดงั พอสมควรท่ผี ู้ฟังจะไดย้ ินทวั่ ถงึ ไมด่ งั หรอื คอ่ ยจนเกนิ ไป ๗. อ่านมีจังหวะ วรรคตอน รจู้ ักทอดจงั หวะ เอ้อื นเสยี ง หรือหลบเสียง ๘. คาท่มี พี ยางคเ์ กนิ ใหอ้ ่านเรว็ และเบา เพื่อใหเ้ สยี งไปตกอยพู่ ยางคท์ ่ีต้องการ ๙. มีศลิ ปะในการใชเ้ สียง รจู้ ักเออ้ื นเสยี งใหเ้ กิดความไพเราะ และใชเ้ สียงแสดงความรู้สึกใหเ้ หมาะ
211221041 กับข้อความเพ่ือรักษาบรรยากาศของเรื่องท่ีอ่าน เมื่ออ่านถึงตอนจะจบต้องเอ้ือนเสียงและทอดจังหวะให้ช้าลง จนกระท่งั จบบท การเตรียมตัวกอ่ นการอา่ นออกเสยี ง การเตรียมตัวกอ่ นการอา่ นออกเสยี ง (จไุ รรตั น์ ลกั ษณะศริ ิและบาหยัน อิ่มสาราญ, 2547: 26) มีดังนี้ 1) อ่านบทให้เข้าใจการอ่านให้ผู้อื่นฟัง มีวัตถุประสงค์สาคัญเพ่ือให้ผู้ฟังรับรู้และเข้าใจตรงตาม เนื้อหาสาระท่ีอ่าน ฉะน้ันผ่านจึงต้องเข้าใจข้อความนั้นเสียก่อนเพ่ือความม่ันใจ และเพื่อความเข้าใจท่ีตรงกัน ระหวา่ งผสู้ ่งสารและผรู้ ับสาร ข้อความใดทอี ่านไม่เขา้ ใจหรอื สงสยั ว่าจะผดิ พลาด ต้องตรวจสอบเสยี กอ่ น 2) ทาเครื่องหมายแสดงจังหวะการอ่าน ในการอ่านเราควรทาเคร่ืองหมายลงในบทว่าตอนใดควร หยุด คาใดควรเน้น และคาใดควรทอดจังหวะ การทาเคร่ืองหมายในบทในมีกฎเกณฑ์ตายตัว แต่โดยทางที่นิยม ปฏบิ ัติกัน มักทาเคร่อื งหมายง่าย ๆ ดังนี้ ก. เคร่ืองหมายขีดเฉียงขีดเดยี ว ( / ) ขดี ระหว่างคา แสดงการหยุดเว้นนิดหนึง่ เพราะมีคาหรือ ขอ้ ความอืน่ ต่อไปอีก การอ่านตรงคาทีม่ ีเครอ่ื งหมายนีจ้ ึงไม่ควรลงเสียงหนกั เพราะยงั ไม่จบประโยค ข. เคร่อื งหมายขดี เฉียงสองขีด ( // ) ขดี หลังประโยคหรือระหวา่ งคาเพ่ือแสดงใหร้ วู้ ่าให้หยุดเว้น นานหนอ่ ย ค. เครือ่ งหมายวงกลมลอ้ มคา เพ่ือบอกว่าเปน็ คาท่สี งสยั หรอื ไม่แน่ใจวา่ อา่ นอยา่ งไร ง. คาทีต่ อ้ งการเน้นให้ขีดเส้นใต้ที่คานัน้ จ. คาใดที่ทอดจังหวะ ให้ทาเส้นโค้งท่ีส่วนบนของคาน้ัน ( ⌒ ) ฉ. เครือ่ งหมายมุมคว่าหรือหมวกเจ๊กคว่า ( ^ ) แสดงวา่ ขอ้ ความนน้ั จะเน้นเสยี งขึ้นสงู และมมุ หงายหรือหมวกเจ๊กหงาย (v) แสดงการเน้นเสยี งลงต่า ๓) ซ้อมอา่ นให้คล่อง หลงั อ่านบทจนเข้าใจและทาเครอื่ งหมายแสดงจงั หวะการอ่านแล้ว ควรซอ้ ม อ่านใหค้ ล่องโดยใช้ไมโครโฟนเพอื่ ให้ผู้อื่นช่วยสังเกต หรอื บันทกึ เสยี งไวใ้ นเทปเพอื่ ฟงั และแก้ไขขอ้ บกพร่องของ ตวั เอง อาจต้องซ้อมหลายครง้ั จนกวา่ จะแก้ไขไดเ้ ป็นทนี่ ่าพอใจ การอา่ นกลอนสุภาพ กลอนสภุ าพ หรือกลอนแปด เป็นคาประพันธ์ประเภทหน่งึ ทม่ี จี านวนคาแต่ละวรรคประมาณ ๗ - ๙ คา แต่ท่ีนิยมคอื ๘ คา การอา่ นกลอนสภุ าพนิยมอา่ นเสียงสูง ๒ วรรค และเสยี งต่า ๒ วรรค การอ่านแบง่ จังหวะวรรคในการอ่านแบ่งดงั น้ี วรรคละ ๗ คา อา่ น ๒ / ๒ / ๓/ OO /OO/OOO วรรคละ ๘ คา อ่าน ๓ / ๒ / ๓/ OOO /OO/OOO วรรคละ ๙ คา อา่ น ๓ / ๓ / ๓/ OOO /OOO/OOO
212221025 บทอ่านร้อยกรองประเภทกลอนสุภาพ เร่ือง นริ าศภูเขาทอง หนว่ ยท่ี ๓ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑ เรอ่ื ง การอ่านออกเสียงบทรอ้ ยกรองประเภทกลอนสภุ าพ รายวชิ าภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ มาถงึ บางธรณีทวโี ศก ยามวิโยคยากใจใหส้ ะอน้ื โอส้ ุธาหนาแนน่ เป็นแผ่นพน้ื ถงึ สห่ี มื่นสองแสนทั้งแดนไตร เมอ่ื เคราะห์รา้ ยกายเราก็เท่านี้ ไมม่ ีที่พสุธาจะอาศัย ล้วนหนามเหนบ็ เจบ็ แสบคับแคบใจ เหมอื นนกไร้รงั เรอ่ ยเู่ อกา ถงึ เกร็ดยา่ นบา้ นมอญแตก่ อ่ นเก่า ผหู้ ญงิ เกล้ามวยงามตามภาษา เดีย๋ วนม้ี อญถอนไรจกุ เหมอื นตกุ๊ ตา ทง้ั ผัดหน้าจบั เขมา่ เหมือนชาวไทย โอ้สามญั ผันแปรไมแ่ ทเ้ ทย่ี ง เหมือนอยา่ งเย่ียงชายหญงิ ท้งิ วิสยั นหี่ รือจติ คิดหมายมีหลายใจ ทจ่ี ิตใครจะเปน็ หนึง่ อย่าพึงคิด ถงึ บางพดู พดู ดีเป็นศรศี กั ด์ิ มคี นรักรสถ้อยอร่อยจิต แมพ้ ดู ชัว่ ตวั ตายทาลายมิตร จะชอบผิดในมนษุ ยเ์ พราะพูดจา (นิราศภูเขาทอง : สนุ ทรภ)ู่
213221036 แบบประเมนิ การอา่ นบทรอ้ ยกรอง 213213 คาชแ้ี จง ครปู ระเมนิ พฤติกรรมของนักเรียนในการอา่ นออกเสยี ง (บทรอ้ ยกรอง) และให้คะแนนลงในชอ่ งที่ตรงกับ พฤติกรรมของนกั เรยี น แบบประเมินการอา่ นบทรอ้ ยกรอง คาชแี้ จง ครปู ระเมนิ พฤติกรรมของนักเรียนในการอ่านออกเสียง (บทรอ้ ยกรอง) และให้คะแนนลงในชอ่ งทต่ี รงกบั พฤติกรรมของนักเรยี น ่อานออกเสีย่องานรอลอกแเลีสะยคงารควลบแกล ้ละาคราคลววบก ูถ ้ลกา ้ตรองล ว ถูก ้ตอง เลขที่ ช่อื - สกุล การเ ้อือน กกาารรอเอื้กอเนสียกงา ูถรกอต้ออกเง ีสตยางม ูถปกร ้ตะเอภงทตาขมองปคราะเภทของคา รวม สรุปผล เลขที่ ชือ่ - สกลุ ประพันธ์ ประพันธ์ การประเมนิ การเว้นวรรกคาตรเอ ้วนนวรรคตอน น้าเสียงไพเรน้าเะสีสยงลไะพสเลรวายะ แสละ ีลสลาวท่ยาแทลาะงใีลนลากาท่รา ่อทาานงในการ ่อาน รวม สรปุ ผล เหมาะสม เหมาะสม การประเมนิ ไ ่ม ่อาน ้ขามไม่อา่อานเนพิ่ข้มามตู่ค่อานเ ิ่พม ตู่คา ความค ่ลองคแวคาล่มวคแล่ลอะงแแ ่มคน ่ลยวาและแ ่มนยา ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๘ ผ่าน ไม่ผ่าน ไมผ่ ่าน ๑ ๒ ๕๖๗๓๑๒๓๔๔๕ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๘ ผ่าน เ๖กณฑก์ ารประเมนิ รอ้ ยละ ๘๐ ข้ึนไป (๑๕ คะแนนขึน้ ไป) ๗ ๑๗ – ๑๘ คะแนน ระดับ ดมี าก เกณฑ์การประเมนิ ร้อย๑๑๑๑ล๐ะ๓๕๕๗ ๘–––––๐๑๑๑๑๑ข๒๖๔๖๘ึ้นไคคคคคปะะะะะแแแแแ(๑นนนนน๕นนนนน คะแรรรรรนะะะะะนดดดดดขบบัับัับับึ้นไป)ดพปดดีีมีรอับาใชกป้ รงุ ๑๓ – ๑๔ คะแนน รระะดดบับั ลงชปพือ่ .รอ(..ับใ...ช.ป....้..ร....ุง.............................................................................ผ.)้ปู ระเมนิ ๐ – ๑๒ คะแนน ลงช่ือ................................................ผู้ประเมิน ( ...............................................)
214221074 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบประเมินการอ่านบทร้อยกรอง ประเด็นการประเมนิ เกณฑ์การใหค้ ะแนน ๑. อา่ นออกเสียง ร ล ๓ (ด)ี ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง) และ คาควบกลา้ ร อา่ นออกเสยี ง ร ล และ ล ว ถูกต้อง คาควบกล้า ร ล ว อา่ นออกเสยี ง ร ล และคา อา่ นออกเสียง ร ล และ ถูกต้องชัดเจน ควบกล้า ร ล ว ไมถ่ กู ต้อง ๒ คาควบกล้า ร ล ว ไม่ ครัง้ ถกู ต้องเกนิ ๒ ครง้ั ๒. การเอ้อื น การเอื้อน การทอดเสียง การเอื้อน การทอดเสยี งหรือ การเอ้ือน การทอดเสียง การทอดเสยี ง ถกู ต้องตามจังหวะ จังหวะทานองตามประเภท หรือ จงั หวะทานองตาม ถกู ตอ้ งตามประเภท ทานองถูกต้อง ตาม ของคาประพันธ์ ผดิ ๒ ครั้ง ประเภทของคาประพนั ธ์ ของคาประพันธ์ ประเภทของคาประพนั ธ์ ผิดเกิน ๒ ครง้ั ๓. การเวน้ วรรคตอน อา่ นเวน้ วรรคตอนได้ อ่านเว้นวรรคตอนไม่ถูกต้อง อ่านเว้นวรรคตอนไม่ ถกู ต้อง ถกู ต้องชัดเจน ๒ ครัง้ ถกู ต้องเกนิ ๒ ครั้ง ๔. น้าเสียง ไพเราะ อ่านเสียงดงั ชัดเจน อ่านเสียงดงั ชดั เจน น้าเสียง อ่านเสียง ไมช่ ดั เจน สละสลวยและลีลา นา้ เสียงและลลี า แต่ลีลาท่าทางไม่เหมาะสม นา้ เสยี ง และลีลาทา่ ทาง ท่าทางในการอ่าน เหมาะสมกับ กับบทรอ้ ยกรองที่อา่ น ไม่เหมาะสม เหมาะสม บทรอ้ ยกรองท่ีอา่ น ๕. ไมอ่ า่ นข้าม/อ่านเพ่ิม อ่านออกเสยี งได้ถกู ต้อง อา่ นออกเสียงไม่ถกู ต้อง อา่ นออกเสียงไม่ถูกต้อง /ตคู่ า ชดั เจนทกุ คา ทุกข้อความ ชัดเจน มกี ารอา่ นตู่คา ชดั เจน มกี ารอ่านตู่คา ทกุ ประโยค หรือเพิ่มคา ๒ คา และเพ่ิมคา เกิน ๒ คา ๖. ความคลอ่ งแคล่ว อ่านออกเสยี งบท อา่ นออกเสียงบทร้อยกรอง อา่ นออกเสยี ง และแม่นยา ร้อยกรองด้วยความ ไมค่ ล่องแคล่ว ไมแ่ มน่ ยา บทรอ้ ยกรองไม่ คล่องแคลว่ และ ขาดความม่นั ใจ ๒ คร้ัง คลอ่ งแคลว่ และไม่ แมน่ ยา มีความม่ันใจสูง แมน่ ยา ไม่มีความมั่นใจ
215 หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ๓ เรือ่ ง พนิ จิ พจิ ารณ์ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๒ เวลา ๑ ชัว่ โมง กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย เรอ่ื ง นิราศภเู ขาทอง ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๑ ขอบเขตเน้อื หา รายวชิ าพืน้ ฐานภาษาไทย หลักการสรปุ เนือ้ หาวรรณคดแี ละวรรณกรรม จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สื่อ/แหลง่ เรยี นรู้ ด้านความรู้ ข้ันนา 1. ภาพสนุ ทรภู่ 1. ครูให้นักเรียนดูรูปเจดีย์ภูเขาทองจากจังหวัดอยุธยา แล้ว 2. ภาพเจดยี ภ์ เู ขาทอง ๑. มีความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกบั ทีม่ าและ สนทนาว่านักเรียนรู้จักสถานที่ในภาพหรือไม่ และเพราะเหตุใด 3. ใบความร้เู ร่ือง นริ าศภูเขาทอง จดุ ประสงคใ์ นการแต่งนิราศภูเขาทอง นกั เรียนจึงร้จู ัก (ซองนักปราชญ์) 2. ครูกล่าวเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียนว่า สถานท่ีในภาพคือ เจดีย์ ๔. ใบงานเรอ่ื ง การสรปุ ความรู้เบือ้ งต้นเรื่อง ๒. บอกชวี ประวตั ิของปผแู้ระตว่งัตไดิส้ ุนทรภู่ ได้ ภูเขาทอง ที่ต้ังอยู่ในวัดภูเขาทอง เป็นวัดโบราณในจังหวัด นิราศภูเขาทอง ๓. บอกลักษณะคาประพนั ธข์ องนริ าศ เนื้อหา พระนครศรีอยุธยา เก่ียวข้องกับวรรณคดีนิราศที่มีชื่อเสียงของ ภาระงาน/ชนิ้ งาน และเรอื่ งย่อนิราศภูเขาทองได้ สุนทรภ่กู ็คอื นิราศภูเขาทอง (ภาพสุนทรภ)ู่ ครมู อบหมายใหน้ กั เรียนอา่ นวรรณคดี ด้านทกั ษะและกระบวนการ ขนั้ สอน เรือ่ งนริ าศภูเขาทองฉบับสมบูรณ์ สรปุ เนอ้ื หาวรรณคดเี ร่ืองนิราศภูเขาทองได้ 1. แบ่งกลุม่ นักเรียนเป็น 4 กลุม่ ส่งตวั แทนออกมาจับสลาก ดา้ นคณุ ลักษณะ เลอื กเรื่องเพื่อศึกษาใบความรู้เรอ่ื ง นิราศภเู ขาทอง 1. มวี ินัย (ซองนักปราชญ์) ตามลาดบั ต่อไปน้ี 2. ใฝ่เรยี นรู้ 1) ทีม่ าและจดุ ประสงคใ์ นการแตง่ นริ าศภเู ขาทอง 3. มุ่งม่ันในการทางาน 2) ประวัติสุนทรภู่ ๔. รกั ความเปน็ ไทย 3) ลกั ษณะคาประพันธ์ 4) เนอ้ื หาและเรือ่ งยอ่ นริ าศภูเขาทอง เมื่อนกั เรยี นศึกษาใบความรู้เรื่อง นิราศภูเขาทอง (ซองนักปราชญ์) แลว้ ใหเ้ ขียนสรปุ ความรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการศึกษาขอ้ มูล ลงในกระดาษที่ครแู จกให้ จากนน้ั ให้นกั เรยี นเปลีย่ นซองกับเพ่ือน กล่มุ อนื่ เพอื่ ศึกษาความรเู้ รื่องต่อไปจนครบทุกเรอ่ื ง และเขียน 221085
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๓ เรอื่ ง พนิ จิ พจิ ารณ์ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๒ 216 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย เรื่อง นิราศภเู ขาทอง เวลา ๑ ช่วั โมง ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ รายวชิ าพ้ืนฐานภาษาไทย กิจกรรมการเรยี นรู้ สรุปความรทู้ ่ีไดจ้ ากการศกึ ษาโดยกาหนดเวลาในการสรุปความรู้ แต่ละกลมุ่ ครัง้ ละ 5 – 7 นาที 2. แตล่ ะกลมุ่ สง่ ตัวแทนออกมานาเสนอผลการศึกษาใบความรู้ เร่ือง นริ าศภูเขาทอง (ซองนกั ปราชญ์) 3. นักเรยี นทาใบงานเร่อื ง การสรุปความรูเ้ บื้องตน้ เร่ืองนิราศ ภเู ขาทอง ขน้ั สรปุ ครูใช้คาถามเพ่ืออภิปรายสรุปความรู้เก่ียวกับนิราศภูเขาทอง ที่มาจุดประสงค์ในการแต่งนิราศภูเขาทอง ประวัติผู้แต่ง ลักษณะ คาประพันธ์ เนื้อหาและเร่ืองย่อนิราศภูเขาทองและประโยชน์ท่ี ไดร้ บั จากการเรยี น 209
217 221170 การวดั และประเมนิ ผล วธิ ีการ เครื่องมอื ท่ีใช้ เกณฑ์ สิ่งทตี่ ้องการวดั /ประเมิน สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสังเกตพฤติกรรมการ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ การทางานกลมุ่ ทางานกล่มุ ร้อยละ ๘๐ ขนึ้ ไป ด้านความรู้ ๑. มีความร้คู วามเข้าใจเก่ียวกับท่ีมาและ ตรวจใบงาน ใบงานเรือ่ ง การสรปุ ความรู้ ผา่ นเกณฑ์การประเมิน จุดประสงคใ์ นการแต่งนิราศภูเขาทอง ประเมินจาก เบื้องตน้ เรื่องนิราศภูเขาทอง รอ้ ยละ ๘๐ ขน้ึ ไป ๒. บอกชีวประวตั ิของประวัติสุนทรภู่ ได้ คณุ ลักษณะ แบบประเมนิ คุณลักษณะ ผา่ นเกณฑ์คุณภาพ ๓. บอกลักษณะคาประพันธข์ องนริ าศ ระดบั ๒ เน้อื หาและเร่ืองย่อนิราศภเู ขาทองได้ ดา้ นทักษะและกระบวนการ สรปุ เนอ้ื หาวรรณคดีเรื่องนริ าศภเู ขาทอง ได้ ดา้ นคณุ ลักษณะ 1. มีวินยั 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. ม่งุ มัน่ ในการทางาน ๔. รกั ความเปน็ ไทย ๘. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ....................................................... ปัญหาและอปุ สรรค ............................................................................................................................. ....................................................... ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................................................................................................... ..... ลงชื่อ...................................................ผสู้ อน (.................................................................) วันท่ี.............เดอื น.....................พ.ศ……….. ๙. ความคิดเหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผู้บรหิ ารหรือผู้ท่ีไดร้ บั มอบหมาย ............................................................................................................................. ....................................................... ลงชอ่ื ...................................................ผสู้ อน (.................................................................) วันท่.ี ............เดือน.....................พ.ศ………..
218221181 ใบความรู้เร่อื ง นิราศภเู ขาทอง (ขซองนักปราชญ)์ หน่วยท่ี ๓ แผนการจัดการเรยี นรู้ ๒ เรื่อง นิราศภเู ขาทอง รายวิชาภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ทีม่ าและจุดประสงค์ในการแตง่ นริ าศภเู ขาทอง สุนทรภู่แต่งเร่ืองนิราศภูเขาทองเมื่อปี 2373 หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเสด็จ สวรรคตไปแล้ว 6 ปี (สวรรคตปี 2367) เพื่อเล่าเรื่องการเดินทางจากวัดราชบุรณ ะหรือวัดเลียบ ไปนมสั การพระเจดียภ์ ูเขาทองทีจ่ ังหวัดพระนครศรีอยุธยาหลังจากออกพรรษาแล้ว (กระทรวงศึกษาธิการ, 2554: 13) ประวัติสนุ ทรภ่โู ดยสังเขป สุนทรภู่เป็นกวีเอกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ซึ่งได้รับการยกย่องจากองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และ วัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization) หรือ ยูเนสโก (UNESCO) ให้เปน็ บุคคลท่ีมผี ลงานดเี ดน่ ดา้ นวรรณกรรม ประวัติของทา่ นโดยสงั เขป มีดงั นี้ (ชลดา เรืองรักษล์ ขิ ิต, 2551) สุนทรภเู่ ปน็ กวที ี่มชี ่วงชีวิตอยู่ในสมัยรัตนโกสินทรต์ อนต้นต้ังแต่รัชกาลที่ 1 ถึงรชั กาลที่ 4 ทา่ นเปน็ สามัญ ชน แต่มชี ีวติ ท่ีเขา้ ไปเกยี่ วขอ้ งกับราชสานักตง้ั แตป่ ฐมวยั จนถงึ ปจั ฉิมวยั ชื่อ สุนทรภู่ เป็นชื่อทคี่ นท่ัวไปเรียกกวีท่าน นี้ โดยนาคา สุนทร จากบรรดาศักดิ์ \"ขุนสุนทรโวหาร\" \"หลวงสุนทรโวหาร\" และ \"พระสุนทรโวหาร\" ทที่ ่านได้รับพระราชทานในรัชกาลท่ี 2 และรัชกาลท่ี 4 มารวมกับคาว่า ภู่ ซึ่งเป็นชื่อเดิม และเรียกมาแตค่ ร้ังท่าน ยังมชี วี ติ อยู่ สนุ ทรภู่เกิดเมื่อวันจันทร์ท่ี 26 มิถุนายน พ.ศ. 2329 ที่บา้ นของบิดามารดาริมคลองบางกอกน้อย ธนบุรี ใกล้บริเวณพระราชวังหลัง (ปัจจุบันสถานท่ีบริเวณพระราชวังหลัง คือ บริเวณท่ีเป็นสถานีรถไฟบางกอกน้อย โรงพยาบาลศิริราช และบริเวณใกล้เคียง) ท่านมีใจรักด้านกาพย์กลอนมาตั้งแต่วัยเด็ก เมื่อเติบโตข้ึนก็ได้รับการ ถา่ ยทอดวิชาวรรณคดีและการประพันธจ์ ากพระภิกษุที่เป็นอาจารย์ ท้ังน้ีท่านยงั ศึกษาและเพ่ิมพูนประสบการณ์ใน การประพันธ์ โดยการรับจ้างแต่งเพลงยาวและบทดอกสรอ้ ยสักวา ดว้ ยลีลากลอนที่มีลักษณะเฉพาะตัวและคารมที่ คมคาย จงึ ทาใหส้ ุนทรภ่เู รม่ิ เป็นทรี่ ูจ้ ักในวงกวี ช่วงชีวิตที่ รุ่งเรืองขอ งสุน ท รภู่ คื อ ใน รัช สมั ยพ ระบ าท สม เด็จพ ระพุ ท ธเลิศ ห ล้าน ภ าลั ย เม่อื พระองคโ์ ปรดเกล้าฯ ให้เข้ารับราชการในกรมพระอาลกั ษณ์ สุนทรภไู่ ด้แสดงความสามารถในเชิงกลอน จนเป็น ที่พอพระราชหฤทัยหลายคร้ัง ด้วยความดีความชอบดังกล่าว สุนทรภู่จึงได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นขุน สนุ ทรโวหาร มหี น้าท่เี ป็นกวที ี่ทรงปรกึ ษาในการทรงพระราชนพิ นธบ์ ทกวีเร่ืองต่าง ๆ และโปรดเกลา้ ฯ ใหต้ ามเสด็จ อย่างใกล้ชิด แต่ด้วยนิสัยท่ีชอบดื่มสุราอยู่เป็นนิจจึงทาให้ชีวิตบางช่วงตกต่าและชีวิตครอบครัวไม่ราบร่ืน เช่น คร้ังหนึ่งสุนทรภู่เมาสุรา แล้วไปทาร้ายญาติผู้ใหญ่ของภรรยา จึงถูกนาตัวไปขังคุก แต่ไม่นานก็พ้นโทษ และตอนปลายรชั กาลสุนทรภู่ไดเ้ ล่ือนบรรดาศักด์เิ ป็นหลวงสุนทรโวหาร ด้วยพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทาให้สุนทรภู่จงรักภักดี เทิดทูน และราลึกถึงพระองค์อยู่เสมอ ดังป รากฏในงานนิพนธ์หลายเรื่องของท่าน ทั้งโดยตรงและโดยอ้อม เช่น ในนิราศพระประธม นิราศภูเขาทอง ตอนผ่านตาบลสามโคก และในเร่ืองพระอภัยมณี โดยกาหนดให้
219221129 วันสวรรคตของท้าวสทุ ัศน์ และพระมเหสี ซ่ึงเป็นพระบิดาและพระมารดา ของพระอภัยมณีและศรีสุวรรณ ตรงกับ วันสวรรคตของ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย อีกท้ังยังได้บรรยายความโศกสลดของพระอภัยมณี ไวอ้ ย่างสะเทอื นใจ เม่ือพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเสด็จสวรรคต และพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว เสดจ็ ข้ึนครองราชย์ ชีวติ ราชการของสุนทรภู่ในฐานะกวีที่ทรงปรกึ ษาก็ส้ินสุดลง สุนทรภู่ออกจากราชการและออก บวช ด้วยเห็นว่าตนไม่มีที่พึ่งและเกรง \"ราชภัย\" จากพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องจากสุนทรภู่เคย ท้วงติงและแก้กลอนพระราชนิพนธ์ พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อคร้ังดารงพระราชอิสริยยศ เป็นสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอกรมหม่ืนเจษฎาบดินทร์ ในที่ประชุมกวีราชสานัก จนทาให้ไม่พอพระราชหฤทัย ในรชั กาลท่ี 3 เป็นชว่ งที่สุนทรภู่ออกบวช และลาสกิ ขา แลว้ ออกบวชอีกคร้ังหน่ึง ซึ่งได้รับการอุปการะจากเจ้านาย หลายพระองค์จนกระทงั่ ถึงแกก่ รรมใน พ.ศ. 2398 ขณะมีอายุ 69 ปี ความเป็นนิราศ นิราศ ตามความหมายจากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ หมายถึง ไปจากระเหระหน ปราศจากและเรื่องราวทีพ่ รรณนาถึงการจากกันหรือจากทอี่ ยู่ไปในที่ตา่ งๆ เป็นต้น มักแต่งเป็นกลอนหรือโคลง เช่น นิราศนรนิ ทร์ นริ าศเมอื งแกลง นิราศเป็นวรรณกรรมที่นิยมแต่งมาต้ังแต่สมัยอยุธยา เดิมนิยมแต่งเป็นโคลง ต่อมาในสมัยรัตนโกสินทร์ นิยมแต่งเป็นกลอน ลักษณะเด่นของนิราศอยู่ท่ี “การพรากจากคนรัก” ซ่ึงอาจจะจากกันจริงหรือสมมุติขึ้นก็ได้ และมี “การครา่ ครวญ” รวมทั้ง “การเดินทาง” การตั้งช่ือเร่ืองนิราศ มักตามผู้แต่ง เช่น นิราศนรินทร์ หรือตั้งตามสถานที่ท่ีเป็นจุดหมายปลายทาง เช่น “นิราศลอนดอน” นิราศเมืองแกลง เป็นต้น หรือเรียกตามเน้ือหาที่พรรณนา เช่น นิราศอิเหนา นิราศเดือน (พรรณนาตามเดอื นต่าง ๆ)เป็นตน้ ลกั ษณะคาประพนั ธ์ ลักษณ ะคาประพันธ์ในนิราศภูเขาทองคือ กลอนนิราศ ซ่ึงก็คือกลอนสุภาพ หากแต่ต่างกัน ที่กลอนนิราศจะขึ้นต้นด้วยวรรคท่ีสอง แล้วแต่งไปเรื่อยๆ จนจบบท วรรคสุดท้ายจะลงท้ายด้วยคาว่า “เอย” มักบรรยายและพรรณนาถึงสถานที่ อารมณ์รัก และคร่าครวญถึงสตรีอันเป็นท่ีรัก โดยเอาไปผูกพัน กบั ธรรมชาตหิ รือสถานทที่ ่ีพบเหน็ เรือ่ งยอ่ นิราศภูเขาทองมีความยาว 176 คากลอน เป็นนิราศเรื่องที่ส้ันท่ีสุดของสุนทรภู่ เร่ิมเร่ืองด้วยการปรารภ ถึงสาเหตุท่ีต้องออกจากวัดราชบุรณะและการเดินทางโดยเรือพร้อมหนูพัดซ่ึงเป็นบุตรชาย ล่องไปตามลาน้า เจ้าพระยาผ่านพระบรมมหาราชวัง จนมาถึงวัดประโคนปัก ผ่านโรงเหล้า บางจาก บางพลู บางพลัด บางโพ บา้ นญวน วัดเขมา ตลาดแก้ว ตลาดขวัญ บางธรณี เกาะเกรด็ บางพูด บางเดื่อ บางหลวงเชิงราก สามโคก บ้านง้ิว เกาะราชคราม จนถึงกรุงเก่าเมื่อเวลาเย็น โดยจอดเรือพักทีท่าน้าวัดพระเมรุ ครั้นรุ่งเช้าจึงไปนมัสการเจดีย์ภูเขา ทอง ส่วนขากลับสุนทรภู่กล่าวแต่เพียงว่า เม่ือถึงกรุงเทพได้จอดเรือเทียบที่ท่าน้าหน้าวัดอรุณราชวรรามร าช วรมหาวหิ าร (ฟองจนั ทร์ สขุ ยิ่ง และคณะ, 2554: 6)
220221230 คณุ ค่าท่ีปรากฏ 1) คณุ ค่าดา้ นเนื้อหา เนื้ อ ห าท่ี ป ราก ฏ ใน นิ ร าศ ภู เข าท อ ง แ ส ด งให้ เห็ น ถึ งค ว าม ร อ บ รู้แ ล ะ ค ว าม ช่ างสั งเก ต ของสุนทรภู่ได้เป็นอย่างดี เน่ืองจากสุนทรภู่ได้บันทึกเร่ืองราวและเหตุการณ์ต่างๆ ที่ตนได้พบเห็นตลอดเส้นทาง ตั้งแต่ออกจากวัดราชบุรณะจนถึงจังหวัด ซ่ึงสะท้อนสภาพบ้านเมืองและสังคมของวิถีชีวิตผู้คนริมฝั่งแม่น้า เจา้ พระยาในช่วงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น อาทิ การตดิ ต่อค้าขาย การต้งั บ้านเรอื น ชุมชนชาวตา่ งชาติ การละเล่น และงานมหรสพเป็นต้นทั้งยังแทรกตานานสถานที่ ความเชือ่ ของคนไทย และแง่คดิ เกยี่ วกบั ความจรงิ ของชวี ติ 2) คณุ คา่ ด้านวรรณศลิ ป์ นิราศภภูเู ขาาททอองงมมีคคี ววาามมดดีเดีเด่น่นททาางวงวรรณรณศศิลลิปป์อย์อ่ายง่างงดงงดางมามแมแ้สมุน้สทุนรทภรู่จภะจู่ใชะ้ถใช้อ้ถย้อคยาธคร�ำ รธมรดรามสดาามสัญามในญั กใานร กปารระปพรันะธพ์ ันแตธ์่ทแวต่าท่ กว็ม่าคี กว็มาคี มวลาึกมซลึ้งกซสงึ้ะเสทะอื เทนอื นารอมาณรม์ ณแล์ แะลสะรส้างรจา้ งินจตินภตาภพาไพดไ้อดยอ้ า่ ยง่าชงัดชเัดจเนจนท้ังทกง้ั ากราเรลเ่นล่นเสเสียยีงสงสัมัมผผัสัส การใช้ ความเปรียบกนิ ใจ การใช้คาเพอ่ื สร้างจินตภาพ แผนที่การเดินทางเรอ่ื งนริ าศภูเขาทอง
221222141 ใบงานเร่อื ง การสรปุ ความรเู้ บอื้ งต้นเร่ืองนิราศภูเขาทอง หน่วยที่ ๓ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๒ เรอื่ ง นริ าศภูเขาทอง รายวชิ าภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ คาชแี้ จง ใหน้ ักเรยี นสรปุ ความรู้เบ้ืองตน้ จากเร่ืองนริ าศภูเขาทอง ๑๒ ท่ีมาและจุดประสงค์ในการแต่ง ประวตั สิ ุนทรภู่ นิราศภเู ขาทอง ……………………………………………… …………………………………………… ……………………………………………… …………………………………………… ……………………………………………… …………………………………………… ……………………………………………… …………………………………………… ……………………………………………… …………………………………………… ……………………………………………… …………………………………………… ……………………………………………… …………………………………………… ……………………………………………… …………………………………………… ……………………………………………… …………………………………………… ……………………………………………… …………………………………………… ……………………………………………… …………………………………………… นริ าศภูเขาทอ……ง………………………………………………………………………………………… …………………………………………… ……………………………………………๔… …๓………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………ค…………………………………………………ว………………………า………….……………ม…………………………เ………………………ป..………………………็น………………………น………………………………………………ิรา………………………………………………ศ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………ล…………………ัก………………………………………ษ…………………ณ…………………ะ……………………………………ค…………………า…………………ป……………………………………ระ……………………………………พ…………………นั …………………ธ…………………์……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… ……………………………………………
222 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี ๓ เรอื่ ง พินจิ พจิ ารณ์ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๓ เวลา ๑ ชวั่ โมง กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย เรื่อง นริ าศภเู ขาทอง ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๑ ขอบเขตเนือ้ หา หลกั การอธิบายคุณคา่ ของวรรณกรรมและ รายวชิ าพน้ื ฐานภาษาไทย วรรณคดี จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ดา้ นความรู้ ข้นั นา ๑. หนังสอื เรยี นวรรณคดวี ิจักษ์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 อธิบายคณุ คา่ ของวรรณคดีและวรรณกรรม ครูซกั ถามนักเรยี นเกย่ี วกับสถานทที่ สี่ ุนทรภ่เู ดนิ ทางผ่านเมื่อ ๒. ใบงานเรอ่ื ง วิเคราะห์คุณค่าจากเร่อื งนิราศ เรือ่ งนริ าศภเู ขาทองได้ ครงั้ เดนิ ทางไปนมสั การเจดีย์ภเู ขาทอง จากน้นั เชอ่ื มโยงเข้าสู่ ภเู ขาทอง ด้านทักษะและกระบวนการ บทเรยี นเกี่ยวกับเน้ือเร่ืองและคณุ ค่าท่ไี ด้รบั จากการอา่ นเรื่อง ๓. แบบทดสอบเรื่อง นริ าศภเู ขาทอง วเิ คราะหค์ ุณค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรม นิราศภูเขาทอง โดยถามนักเรียนว่าเรอ่ื งนิราศภูเขาทองมคี ุณคา่ เร่ืองนริ าศภเู ขาทองได้ เร่อื งใดบ้าง ภาระงาน/ชน้ิ งาน ด้านคณุ ลักษณะ ขน้ั สอน สรุปความรู้เกี่ยวกบั เรื่องนิราศภูเขาทองในรปู แบบ 1. ครูเลา่ เรอื่ งย่อนริ าศภูเขาทองให้นกั เรยี นฟงั จากนั้นร่วมกนั ของแผนภาพความคิด 1. มีวนิ ยั อภิปรายถงึ เส้นทางการเดนิ ทางทีส่ นุ ทรภใู่ ชเ้ ดนิ ทางไปยังเจดยี ์ 2. ใฝเ่ รยี นรู้ ภูเขาทองโดยนักเรียนใชห้ นงั สือเรียนวรรณคดีวิจกั ษ์ 3. มุ่งมนั่ ในการทางาน ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ประกอบ ๔. รกั ความเปน็ ไทย 2. แบง่ กลุม่ นกั เรียน กลุ่มละ ๔ คน เพื่อร่วมกนั ศึกษาเน้ือหา วรรณคดีเร่ือง นริ าศภเู ขาทองจากหนงั สือเรียนและทาใบงาน เร่อื ง วิเคราะห์คุณคา่ จากเรื่องนริ าศภเู ขาทอง ๓. ครใู หต้ ัวแทนนักเรยี น ๑ - ๒ กลุ่ม ออกมานาเสนอผลงาน การทาใบงานเรือ่ ง วิเคราะห์คุณค่าจากเรอื่ งนริ าศภูเขาทอง จากนั้นครูใหข้ ้อเสนอแนะทถี่ ูกตอ้ ง ๓. นักเรยี นทาแบบทดสอบเรอื่ ง นริ าศภูเขาทอง 222125
จากน้ันครูให้ข้อเสนอแนะทถี่ ูกต้อง ๓. นักเรยี นทาแบบทดสอบเรอื่ ง นริ าศภูเขาทอง หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี ๓ เรอ่ื ง พินิจพจิ ารณ์ แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ ๓ 223 กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย เรื่อง นิราศภูเขาทอง เวลา ๑ ชว่ั โมง ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ รายวิชาพ้ืนฐานภาษาไทย กิจกรรมการเรยี นรู้ ขั้นสรปุ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับคุณค่าท่ีได้รับจาก เร่ืองนิราศภูเขาทอง จากนั้นมอบหมายงานให้นักเรียนสรุป ความรู้เกี่ย วกับ เร่ือ งนิ ร าศภู เขาท องใน รู ปแบ บ ของแผ น ภ าพ ความคดิ 216
224222174 การวัดและประเมินผล สง่ิ ทีต่ ้องการวดั /ประเมิน วธิ ีการ เครือ่ งมือทใ่ี ช้ เกณฑ์ ดา้ นความรู้ แบบสังเกตพฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ อธบิ ายคุณค่าของวรรณคดี สังเกตพฤติกรรมการ การทางานกลมุ่ ร้อยละ ๘๐ ข้นึ ไป เรื่องนิราศภูเขาทองได้ ทางานกลุ่ม ดา้ นทักษะและกระบวนการ ๑. ตรวจใบงาน ๑. ใบงานเรื่อง วเิ คราะห์ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ วเิ คราะห์คุณคา่ ของ วรรณคดีเร่ืองนริ าศ ๒. ตรวจแบบทดสอบ คณุ ค่าจากเร่ืองนิราศ ร้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป ภูเขาทองได้ ๓. ประเมนิ ความสามารถ ภูเขาทอง ในการเขยี นแผนภาพ ๒. แบบทดสอบเรื่อง ความคดิ นิราศภเู ขาทอง ๓. แบบประเมิน ความสามารถในการเขียน แผนภาพความคิด ด้านคุณลักษณะ 1. มีวินยั ประเมนิ จากคุณลักษณะ แบบประเมนิ คณุ ลักษณะ ผา่ นเกณฑ์คุณภาพ 2. ใฝ่เรียนรู้ ระดับ ๒ 3. มงุ่ มนั่ ในการทางาน ๔. รักความเป็นไทย ๘. บนั ทกึ ผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ....................................................... ปญั หาและอปุ สรรค .................................................................................................................................................................................... ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................................. ....................................................................... ลงชื่อ...................................................ผสู้ อน (.................................................................) วนั ที่.............เดอื น....................พ.ศ…….. ๙. ความคดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ทไี่ ด้รบั มอบหมาย ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงช่อื ...................................................ผสู้ อน (.................................................................) วนั ท.่ี ............เดือน....................พ.ศ……..
225222185 ใบงานเรอื่ ง วิเคราะห์คุณคา่ จากเรื่องนริ าศภเู ขาทอง หนว่ ยที่ ๓ แผนการจดั การเรยี นรู้ ๓ เร่อื ง นริ าศภเู ขาทอง รายวชิ าภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ตอนท่ี ๑ ให้นกั เรยี นอ่านบทประพันธ์ท่กี าหนด แล้วตอบคาถาม ๑. ถงึ บางพดู พดู ดีเปน็ ศรศี กั ด์ิ มีคนรกั รสถอ้ ยอรอ่ ยจติ แม้นพูดชว่ั ตัวตายทาลายมิตร จะชอบผิดในมนุษย์เพราะพูดจา นักเรยี นเหน็ ดว้ ยกบั บทประพันธน์ ห้ี รือไม่ อย่างไร ๒. มาจอดทา่ หน้าวดั พระเมรุข้าม ริมอารามเรือเรยี งเคียงขนาน บา้ งข้นึ ล่องรอ้ งราเลน่ สาราญ ทั้งเพลงการเก้ยี วแก้กันแซ่เซง็ บ้างฉลองผา้ ป่าเสภาขบั ระนาดรับรัวคลา้ ยกับนายเส็ง มโี คมรายแลอรา่ มเหมอื นสามเพ็ง เมอื่ คราวเครง่ ก็มิใคร่จะไดด้ ู บทประพนั ธ์น้ีสะท้อนให้เหน็ สภาพสงั คมเปน็ อย่างไร ๓. ถงึ หนา้ วงั ดังหนง่ึ ใจจะขาด คิดถึงบาทบพิตรอดศิ ร โอ้ผ่านเกลา้ เจา้ ประคณุ ของสุนทร แต่ปางก่อนเคยเฝ้าทกุ เชา้ เย็น พระนพิ พานปานประหนง่ึ ศรี ษะขาด ด้วยไรญ้ าติยากแค้นถงึ แสนเขญ็ ท้งั โรคซ้ากรรมซัดวิบัติเป็น ไมเ่ ล็งเหน็ ที่ซึง่ จะพึ่งพา บทประพนั ธน์ ก้ี ลา่ วถึงบคุ คลใด อยา่ งไร
226222196 ตอนท่ี ๒ ใหน้ ักเรียนวิเคราะห์และอธิบายคุณค่าด้านวรรณศลิ ปจ์ ากวรรณคดเี ร่ือง นริ าศภเู ขาทอง ๑. ถงึ บางเด่ือโอ้มะเดื่อเหลอื ประหลาด บังเกิดชาติแมลงหวมี่ ีในไส้ เหมือนคนพาลหวานนอกยอ่ มขมใน อุปไมยเหมือนมะเดอ่ื เหลือระอา ๒. ดนู า้ วงิ่ กลง้ิ เชี่ยวเป็นเกลยี วกรอก กลบั กระฉอกฉาดฉัดฉวดั เฉวยี น บ้างพลุ่งพลุง่ วุ้งวงเหมอื นกงเกวียน ดเู วยี นเวยี นควา้ งคว้างเปน็ หว่างวน ๓. เหน็ โศกใหญ่ใกล้นา้ ระกาแฝง ทงั้ รักแซมแซงสวาทประหลาดเหลือ เหมือนโศกพ่ที ี่ระกาก็ชา้ เจือ เพราะรักเรอื้ แรมสวาทมาคลาดคลาย ๔. ไมเ่ หน็ คลองต้องค้างอยู่กลางท่งุ พอหยดุ ยงุ ฉู่ชมุ มารุมกดั เปน็ กลุ่มกลมุ่ กลุ้มกายเหมอื นทรายซัด ตอ้ งนง่ั ปัดแปะไปมิได้นอน ๕. ถึงบา้ นงว้ิ เห็นแต่ง้ิวละลิ่วสงู ไมม่ ฝี ูงสัตว์สิงกิ่งพฤกษา ด้วยหนามดกรกดาษระดะตา นกึ กน็ ่ากลัวหนามขามขามใจ งิว้ นรกสิบหกองคลุ แี หลม ดงั ขวากแซมเสย้ี มแทรกแตกไสว ใครทาชู้ค่ทู ่านคร้นั บรรลยั กต็ ้องไปปนี ต้นน่าขนพอง ความรทู้ ่ีได้รบั จากบทประพันธ์ ขอ้ คิดทีไ่ ด้รับ แนวทางในการนาความรู้และขอ้ คิดไปใช้ในชีวติ ประจาวัน
227222270 เฉลยใบงาน เร่ือง วิเคราะห์คณุ ค่าจากเรอ่ื งนิราศภเู ขาทอง หน่วยที่ ๑ แผนการจัดการเรยี นรู้ ๓ เรื่อง นริ าศภเู ขาทอง รายวชิ าภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ตอนท่ี ๑ ใหน้ ักเรียนอ่านบทประพันธ์ที่กาหนดให้ แล้วตอบคาถาม ๑. ถึงบางพดู พดู ดีเปน็ ศรศี ักดิ์ มีคนรักรสถ้อยอรอ่ ยจติ แม้นพูดช่วั ตวั ตายทาลายมิตร จะชอบผิดในมนุษยเ์ พราะพดู จ นกั เรียนเห็นดว้ ยกับบทประพนั ธ์นี้หรือไม่ อย่างไร ......................................................................................... เหน็ ดว้ ย เพราะการพดู สามารถใหค้ ุณและโทษแก่ผู้พูดได้ ซึ่งถา้ รู้จกั พูด พูดแตส่ งิ่ ดจี ะทาใหเ้ กดิ มงคลแก่ตน มีแต่คนรกั และปรารถนาดี แตถ่ ้าหากพูดไม่ดีก็จะเป็นการสรา้ งศัตรูได้ ๒. มาจอดทา่ หนา้ วดั พระเมรขุ า้ ม ริมอารามเรอื เรียงเคียงขนาน บ้างขน้ึ ล่องร้องราเลน่ สาราญ ทงั้ เพลงการเกี้ยวแก้กันแซ่เซ็ง บา้ งฉลองผ้าป่าเสภาขับ ระนาดรับรัวคล้ายกับนายเสง็ มโี คมรายแลอร่ามเหมือนสามเพ็ง เมื่อคราวเครง่ ก็มใิ ครจ่ ะไดด้ ู บทประพนั ธน์ ้ีสะท้อนให้เหน็ สภาพสังคมเป็นอยา่ งไร สะทอ้ นใหเ้ หน็ วถิ ชี วี ิตของคนท่ีอาศัยอยู่รมิ แมน่ า และการละเลน่ เพ่ือเปน็ การเฉลิมฉลองงานผา้ ปา่ ทีจ่ ดั ขึนในท้องถ่ินทมี่ ีการประดับประดาโคมไฟอยา่ งสวยงาม ๓. ถงึ หนา้ วังดังหนึ่งใจจะขาด คดิ ถงึ บาทบพติ รอดศิ ร โอ้ผ่านเกล้าเจ้าประคุณของสนุ ทร แต่ปางกอ่ นเคยเฝ้าทกุ เช้าเย็น พระนพิ พานปานประหน่ึงศีรษะขาด ดว้ ยไรญ้ าติยากแค้นถงึ แสนเข็ญ ทัง้ โรคซ้ากรรมซัดวบิ ตั ิเป็น ไม่เล็งเหน็ ทซี่ ึง่ จะพ่ึงพา บทประพนั ธน์ ีก้ ลา่ วถึงบุคคลใด อยา่ งไร กล่าวถึงพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หล้านภาลัย ซ่ึงพระองคเ์ ปน็ ผ้ทู ่ีมพี ระคุณต่อสุนทรภู่ เมอ่ื สนิ พระองค์ไปแลว้ ทาให้ชีวติ ของสนุ ทรภตู่ ้องตกยาก
228222281 ตอนท่ี ๒ ใหน้ กั เรียนวเิ คราะหแ์ ละอธิบายคณุ ค่าดา้ นวรรณศลิ ปจ์ ากวรรณคดีเรื่อง นิราศภเู ขาทอง ๑. ถงึ บางเดื่อโอ้มะเดื่อเหลอื ประหลาด บังเกดิ ชาตแิ มลงหวม่ี ีในไส้ เหมือนคนพาลหวานนอกย่อมขมใน อุปไมยเหมือนมะเดอ่ื เหลือระอา มคี วามดีเดน่ ด้านการใชค้ วามเปรียบท่ีลกึ ซงึ กนิ ใจ เขา้ ใจง่าย โดยเปรยี บเทียบให้เหน็ ถงึ คนท่ีมจี ิตใจไม่ดี เปรยี บไดก้ ับผลมะเด่ือทภ่ี ายนอกมีสสี ันสวยงาม แต่ขา้ งในกลับเต็มไปด้วยแมลงหวี่ทช่ี อนไชอย่ขู ้างใน ๒. ดูน้าวิ่งกลิ้งเช่ียวเปน็ เกลียวกรอก กลบั กระฉอกฉาดฉัดฉวัดเฉวยี น บ้างพลงุ่ พลงุ่ วงุ้ วงเหมอื นกงเกวยี น ดเู วียนเวียนคว้างคว้างเป็นหวา่ งวน มีความดเี ดน่ ด้านการเลน่ เสียง โดยเฉพาะการเลน่ เสยี งสมั ผัสในวรรค เชน่ วง่ิ -กลงิ เชย่ี ว-เกลยี ว ฉอก-ฉาด-ฉดั -ฉวัด-เฉวียน ๓. เห็นโศกใหญ่ใกล้นา้ ระกาแฝง ทงั้ รักแซมแซงสวาทประหลาดเหลอื เหมือนโศกพี่ที่ระกากช็ ้าเจือ เพราะรักเรอ้ื แรมสวาทมาคลาดคลาย ความดเี ดน่ เรื่องการ เล่นคา คือคาว่า โศก รัก และระกา ซง่ึ หมายถงึ ตน้ ไม้ และความร้สู ึก ๔. ไมเ่ ห็นคลองต้องคา้ งอยู่กลางท่งุ พอหยดุ ยุงฉู่ชมุ มารุมกดั เปน็ กลมุ่ กลุม่ กลุ้มกายเหมอื นทรายซดั ตอ้ งนัง่ ปดั แปะไปมิได้นอน ความดเี ดน่ ด้านการเลยี นเสยี งธรรมชาติ (สัทพจน)์ เสียงยงุ ฉู่ เสียงปัดยงุ แปะ ๕. ถงึ บา้ นงิ้วเหน็ แต่งว้ิ ละล่วิ สงู ไม่มฝี งู สัตว์สงิ กิ่งพฤกษา ด้วยหนามดกรกดาษระดะตา นกึ กน็ า่ กลัวหนามขามขามใจ งวิ้ นรกสบิ หกองคลุ ีแหลม ดงั ขวากแซมเสยี้ มแทรกแตกไสว ใครทาชคู้ ่ทู ่านครนั้ บรรลยั ก็ตอ้ งไปปีนตน้ น่าขนพอง ความรู้ทไี่ ด้รบั จากบทประพนั ธ์ ความเช่อื เรือ่ งต้นงวิ ในนรกภูมิ ขอ้ คิดทไ่ี ดร้ ับ ไมม่ ักมากในกาม แนวทางในการนาความรู้และขอ้ คิดไปใชใ้ นชีวิตประจาวัน ใหเ้ ปน็ ผู้มศี ลี ธรรม
229222229 แบบทดสอบเรอื่ ง นิราศภเู ขาทอง หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี ๓ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๓ เร่ือง นิราศภเู ขาทอง รายวิชาภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ๑. ขอ้ ใดกล่าวถกู ต้องเก่ียวกับนิราศ ก. ครา่ ครวญถึงพ่อแมท่ ี่ต้องเดนิ ทางจากมา ข. ใชเ้ หก่ ล่อมเจา้ นายเพ่ือให้ข้อคิด คติเตือนใจ ค. มจี ดุ มุง่ หมายในการยอพระเกียรติของกษัตริย์ ง. นิยมแต่งเพ่ือพรรณนาการเดนิ ทางพร้อมราพึงถึงการจากหรือการพลัดพราก ๒. ขอ้ ใดมีความหมายเหมือนกับบทประพนั ธท์ ก่ี าหนด ถึงบางพูดพูดดเี ปน็ ศรีศักด์ิ มคี นรักรสถ้อยอร่อยจิต แมน้ พดู ชว่ั ตวั ตายทาลายมติ ร จะชอบผิดในมนุษย์เพราะพูดจา ก. พดู จนลิงหลบั ข. พดู ดเี ปน็ ศรีแกป่ าก ค. นา้ ทว่ มทงุ่ ผกั บุง้ โหรงเหรง ง. พดู ไปสองไพเบย้ี นงิ่ เสยี ตาลึงทอง ๓. ขอ้ ใดแสดงให้เห็นถึงการประกอบอาชพี ประมง ก. มีพ่วงแพแพรพรรณเขาค้าขาย ข. ตรงหนา้ โรงโพงพางเขาวางราย ค. ถึงโรงเหล้าเตากลั่นควันโขมง ง. ทั้งของสวนล้วนเรอื อยู่เรียงราย ๔. เพราะเหตุใดพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย จึงต้ังช่ือวา่ เมอื งปทุมธานี ตามบทประพันธ์ “ถงึ สามโคกโศกถวิลถึงปนิ่ เกล้า พระพทุ ธเจ้าหลวงบารุงซึ่งกรุงศรี ประทานนามสามโคกเปน็ เมอื งตรี ช่อื ปทุมธานเี พราะมบี ัว” ก. เพราะมดี อกบัวขน้ึ อยู่มาก ข. เพราะเปน็ ตลาดคา้ บวั ขนาดใหญ่ ค. เพราะเจา้ เมอื งท่ีปกครองช่อื เจ้าบวั ง. เพราะเป็นเมืองท่ีแห้งแล้งมาก่อนจงึ ตั้งแก้เคล็ด ๕. คาในข้อใดมคี วามหมายว่า ดอกบัว ทุกคา ข. บษุ บนั บษุ บา บุษกร ก. บุษบา บุบผา กชกร ค. ปทุม มาลี กชกร ง. อบุ ล บษุ กร ปทมุ ๖. การอธิษฐานในข้อใดใหป้ ระโยชน์สูงสุดแกช่ วี ิต ก. ท้ังทกุ ข์โศกโรคภยั อยา่ ใกล้กราย แสนสบายบริบรู ณป์ ระยรู วงศ์ ข. ทงั้ โลโภโทโสและโมหะ ให้ชนะใจได้อยา่ ใหลหลง ค. ขอฟุ้งเฟ่ืองเรืองวิชาปัญญายง ท้งั ใหท้ รงศลี ขันธใ์ นสนั ดาน ง. อกี สองส่ิงหญิงร้ายและชายช่ัว อย่าเมามัวหมายรักสมัครสมาน ๗. ขอ้ ความใดชใี้ ห้เห็นสภาพสังคมไทยสมัยก่อนได้ชัดเจนท่สี ดุ
222330230 ก. ไปพน้ วดั ทัศนารมิ ท่านา้ แพประจาจอดรายเขาขายของ ข. ขอเดชะอานุภาพพระทศพล ใหผ้ อ่ งพน้ ภัยพาลสาราญกาย ค. สามฤดูอย่ดู ีไม่มีภยั มาจาไกลอารามเมื่อยามเย็น ง. อายุยืนหม่ืนเทา่ เสาศิลา อย่คู ู่ฟ้าดินได้ดงั ใจปอง ๘. ข้อความใดมีสมั ผัสอกั ษรมากท่ีสุด ข. มพี ่วงแพแพรพรรณเขาคา้ ขาย ก. ครรไลล่องเลยทางมากลางหน ง. แม้นมอดมว้ ยกลับชาตวิ าสนา ค. กลับกระฉอกฉาดฉัดฉวดั เฉวียน ข. โอร้ ินรนิ กล่ินดอกไม้ใกลค้ งคา ๙. ขอ้ ความใดเปรียบเทยี บให้รจู้ ักคน ง.เหมือนคนพานหวานนอกย่อมขมใน ก. โอส้ ามัญผนั แปรไม่แท้เทีย่ ง ค. เด๋ยี วนม้ี อญถอนไรจุกเหมือนตุ๊กตา กลับกระฉอกฉาดฉัดฉวัดเฉวียน ๑๐. “ดนู า้ ว่ิงกลิ้งเช่ียวเป็นเกลยี วกลอก ดเู วียนเวยี นควา้ งคว้างเป็นหว่างวน” บา้ งพลงุ่ พลงุ่ วุง้ วงเหมอื นกงเกวียน ข. เลน่ สัมผัสสระ ลักษณะใดไม่ปรากฏในคาประพันธ์นี้ ง. มกี ารเลน่ คาพ้องเสียง ก. เล่นสมั ผัสอักษร ค. มีการซา้ คา
231 222341 เฉลยแบบทดสอบเร่ืองนริ าศภเู ขาทอง หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๓ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๓ นริ าศภเู ขาทอง รายวิชาภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ ๑. ง ๒. ง ๓. ข ๔. ก ๕. ง ๖. ค ๗. ก ๘. ค ๙. ง ๑๐. ค
232223225 แบบประเมนิ ความสามารถในการเขยี นแผนภาพความคิด ความถกู ตอ้ งของเนื้อหา การจดั ระบบในการนาเสนอ ความมรี ะเบียบในการทางาน รวม เลขที่ ชอ่ื -สกุล 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 12 ขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เติม : ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................................................................................................................ เกณฑก์ ารประเมนิ ดมี าก ระดบั คณุ ภาพ 4 หมายถึง ดี 9 – 12 คะแนน = ดี 3 หมายถึง พอใช้ 5 – 8 คะแนน = พอใช้ 2 หมายถงึ ปรบั ปรุง 1– 4 คะแนน = ปรับปรงุ 1 หมายถงึ
233223236 รายละเอยี ดเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินความสามารถในการเขียนแผนภาพความคดิ ประเด็นการประเมนิ 4 เกณฑ์การให้คะแนน 1 32 สรปุ ความรผู้ ิด 1. ความถกู ต้อง สรปุ ความรู้ได้ครบถว้ น สราปุมคารวถาสมรรปุ ไู้ ดคค้วารมบรถู้ไ้วดน้ สรปุ ความรู้ได้ตรง มากกว่า 3 ประเด็น ครบถ้วนของเนอ้ื หา ตรงประเดน็ และ ตครงบปตรระงเดปน็ระเดน็ ประเด็น ผดิ ไมเ่ กิน ถกู ต้อง ผดิ ไมเ่ กิน 3 ประเด็น ๑1--2๒ปประรเะดเน็ ดน็ 2. การนาเสนอ นาเสนอเนอื้ หาโดย นาเสนอเนื้อหาโดย นาเสนอเน้ือหาโดย นาเสนอเน้ือหาโดย ความรู้ได้ถูกต้อง แสดงตามลาดับของ แสดงตามลาดบั ของ แสดงตามลาดับของ แสดงตามลาดบั ของ ตามลาดับขั้น ความคิดหลกั และ ความคิดหลักและ ความคดิ หลกั และ ความคิดหลกั และ ความสัมพันธ์ ความคดิ ย่อยได้ถูกต้อง ความคิดย่อยผิด ความคิดย่อยผดิ ความคดิ ย่อยผดิ 3. ความมีระเบียบ ครบถว้ นตามลาดบั 1-2 ตาแหน่ง 3 ตาแหนง่ 3 ตาแหน่งขน้ึ ไป ในการทางาน ความสัมพนั ธ์ แผนภาพความคิดค่อน แผนภาพความคิด ขา้ งเปน็ ระเบยี บ ขาดความเป็น แผนภาพความคิดเป็น แผนภาพความคิดเปน็ เรยี บร้อย สวยงาม ระเบียบเรียบร้อย ระเบียบเรยี บร้อย ระเบยี บเรยี บร้อย มีรอ่ งรอยการแกไ้ ข ขาดความสวยงาม สวยงามและสะอาด สวยงาม แต่มรี อ่ งรอย ไมเ่ กนิ 3 ตาแหน่ง มีร่องรอยการแกไ้ ข การแก้ไข มากกวา่ 3 ตาแหน่ง 1-2 ตาแหนง่ ข้ึนไป
๒๒๙ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๔ หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๓ เรอ่ื ง พินิจพิจารณ์ เร่ือง หลกั การเขยี นแสดงความคิดเห็น เวลา ๑ ชวั่ โมง กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย รายวิชาพ้นื ฐานภาษาไทย ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ขอบเขตเนื้อหา ความหมายการเขยี นแสดงความคิดเห็น กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่อื /แหล่งเรียนรู้ หลกั การแสดงความคิดเห็น ขน้ั นำ ๑. ใบความรูเ้ รือ่ ง การเขียนแสดงความคิดเห็น จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ ครูซกั ถา มกระตนุ้ ควา มสนใจนกั เรียนเรื่องกา รเขียนแสดงความ ๒. หนังสืออา่ นนอกเวลาชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ๑. อธบิ ายความหมายการเขียนความคดิ เหน็ ได้ ๒. อธิบายหลกั การเขียนแสดงการคิดเหน็ ได้ คิดเหน็ โดยถามความหมาย หลกั การและมารยาทในการเขียน ภาระงาน/ชน้ิ งาน ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ เขยี นแสดงความคิดเหน็ ได้ถกู ตอ้ งตามหลกั นักเรียนตอบคำถามครูอธบิ ายเพ่มิ เตมิ ผลงานการเขยี นแสดงความเหน็ จากบทความ การเขยี นและมีมารยาทในการเขียน ด้านคณุ ลักษณะ ข้นั สอน 1. มวี นิ ัย 2. ใฝ่เรยี นรู้ ๑. ครูแจกใบความรูเ้ ร่อื ง การเขยี นแสดงความคดิ เห็น นักเรียน 3. ม่งุ มั่นในการทำงาน ศกึ ษาใบความรู้ แลว้ ครอู ธิบายสรุปความรู้ นกั เรยี นจดบันทึกลงสมุด ๒. ครูแบง่ กลมุ่ นกั เรียนออกเป็น ๔ กลมุ่ ใหน้ ักเรยี นเขยี นแสดง ควา มคิดเห็น จากหนงั สืออา่ นนอกเวลา ช้นั มัธยมศกึ ษา ปีที่ ๑ โดยให้นักเรยี นทุกคนเขยี นแสดงความคิดเห็นตามหลกั การเขียนแสดง ความคดิ เห็น แล้วนำเสนอภายในกล่มุ ของตนเอง ครสู งั เกต แล้ววพิ ากษ์ ผลงานร่วมกนั ๓. ครูมอบหมา ยใหน้ ักเรียนทกุ คนเขยี นแสดงควา มคิดเห็น บทความทน่ี ักเรยี นสนใจ สง่ ครตู ามกำหนด ขั้นสรปุ ๑. ครูและนักเรยี นสรุปหลกั กา รเขยี นแสดงควา มคดิ เหน็ แล้ว บันทึกลงสมดุ 227
235222385 การวัดและประเมินผล สิง่ ท่ตี ้องการวดั /ประเมิน วิธกี าร เครือ่ งมือท่ีใช้ เกณฑ์ ด้านความรู้ แบบสังเกตพฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ๑. ความหมายการเขยี นแสดง สังเกตพฤติกรรม การทางานกลุ่ม ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป ความคิดเห็น การทางานกลมุ่ ๒. หลกั การแสดงความ คดิ เห็น ด้านทกั ษะและกระบวนการ ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ๑. อธิบายความหมายการ ตรวจผลงาน แบบประเมินการเขยี นแสดง รอ้ ยละ ๘๐ ขนึ้ ไป เขียนความคิดเห็นได้ ความคิดเห็น ๒. อธบิ ายหลกั การเขียน แสดงการคิดเห็นได้ ดา้ นคณุ ลักษณะ 1. มีวนิ ยั ประเมนิ จาก แบบประเมินคุณลักษณะ ผ่านเกณฑ์คณุ ภาพ 2. ใฝเ่ รียนรู้ คณุ ลกั ษณะ ระดบั ๒ 3. มงุ่ มน่ั ในการทางาน ๘. บันทึกผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ....................................................... ปญั หาและอปุ สรรค .................................................................................................................................................................................... ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................................ ........................................................................ ลงช่ือ...................................................ผสู้ อน (.................................................................) วันที่.............เดอื น......................พ.ศ……… ๙. ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผบู้ รหิ ารหรือผู้ทไี่ ด้รบั มอบหมาย ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงช่อื ...................................................ผสู้ อน (.................................................................) วันที่.............เดือน......................พ.ศ………
236222369 แบบประเมินการเขยี นแสดงความคิดเห็น เลขที่ ชื่อ-สกลุ การใชภ้ าษา การใช้เหตผุ ล การแสดง ความสะอาด รวม รอ้ ยละ ความ ความคดิ เห็น ในการทางาน น่าเช่ือถือ 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 12 ๑๐๐ ขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เติม : ............................................................................................................................. ....................................................... เกณฑก์ ารประเมนิ ดี ระดับคณุ ภาพ 3 หมายถึง พอใช้ 9 – 12 คะแนน = ดี 2 หมายถงึ ปรับปรงุ 5 – 8 คะแนน = พอใช้ 1 หมายถงึ 1 – 4 คะแนน = ปรับปรงุ
237223370 ใบความรูเ้ รื่อง การเขียนแสดงความคิดเหน็ หนว่ ยที่ ๓ แผนการจัดการเรยี นรู้ ๔ เร่ือง การเขียนแสดงความคดิ เหน็ รายวิชาภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ การเขยี นแสดงความคิดเห็น ความหมายการเขียนแสดงความคิดเห็น คือ การเขียนท่ีประกอบด้วยข้อมูลเป็นข้อเท็จจริงกับการแสดง ความคิดเห็นต่อเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง ความคิดเห็นควรจะมีเหตุผลและเป็นไปในทางสร้างสรรค์ ผู้รับสารเร่ืองเดียวกัน ไม่จาเป็นต้องมีความเห็นเหมือนกัน เป็นการมองต่างมุมและเป็นความคิดเห็นเฉพาะบุคคล การแสดงความคิดเห็น มกั ปรากฏในรปู ของบทความส่อื สิ่งพิมพ์ตา่ ง ๆ เชน่ หนงั สือพิมพ์ วารสาร นติ ยสาร เป็นตน้ หลักการเขียนแสดงความคดิ เห็น ๑. การเลอื กเร่อื ง ผู้เขียนควรเลือกเร่ืองท่ีเป็นท่ีสนใจของสังคมหรือเป็นเร่ืองที่ทันสมัยอาจเก่ียวกับ เหตุการณ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปะ วิทยาศาสตร์ หรือข่าวเหตุการณ์ประจาวัน ท้ังนี้ผู้เขียน ต้องมีความรแู้ ละเข้าใจเรอื่ งที่ตนจะแสดงความคดิ เห็นเป็นอย่างดี เพอ่ื จะแสดงความคดิ เห็นอย่างลกึ ซึง้ ๒. การให้ข้อเท็จจริง ข้อมูลที่เลือกมาน้ันจะต้องมีรายละเอียดต่าง ๆ ที่มาของเรื่อง ความสาคัญและ เหตุการณ์ เป็นต้น ดังนั้นควรศึกษาเรื่องท่ีจะเขียนอย่างละเอียด จับใจความสาคัญของเรื่องได้ และศึกษาเร่ืองที่ เกี่ยวข้องจากแหล่งความรู้อ่ืน ๆ ประกอบ จากนั้นจึงพิจารณาข้อเด่นข้อด้อย พร้อมท้ังยกเหตุผลประกอบ ขอ้ คิดเหน็ ๓. การแสดงความคดิ เหน็ ผเู้ ขยี นอาจแสดงความคิดเหน็ ต่อเร่อื งได้ ๓ ลักษณะ ดงั น้ี คือ ๑) การแสดงความคิดเห็นเพือ่ ตั้งขอ้ สงั เกต เชน่ การเติบโตของธุรกิจอนิ เตอรเ์ น็ต ความนิยมรบั ประทาน อาหารเสริมสุขภาพ ๒) การแสดงความคิดเห็นเพ่ือโตแ้ ยง้ ขอ้ เท็จจริง เชน่ หวั ขอ้ เรื่องการกินยาลดความอว้ นของวยั รุน่ การเปดิ เสรกี ารค้านา้ เมาของภมู ิปัญญาชาวบ้าน ๓) การแสดงความคดิ เห็นเพื่อประเมนิ ค่า เชน่ หวั ขอ้ เรื่องการวจิ ารณ์เรื่องส้นั ท่ีได้รับรางวลั วรรณกรรม ยอดเยยี่ มแห่งอาเซยี นหรือรางวลั ซีไรต์ ๔. การเรยี บเรยี ง ๑) การตั้งช่ือ ควรตง้ั ช่ือเรื่องให้เรา้ ความสนใจผู้อา่ นและสอดคล้องกับเนื้อหาทจี่ ะเขียน เพราะช่ือเร่ือง เป็นส่วนทผ่ี อู้ า่ นจะต้องอา่ นเป็นอันดบั แรก และเปน็ การบอกขอบเขตของเรื่องด้วย ๒) การเปิดเรือ่ ง ใชห้ ลกั การเขียนเช่นเดียวกนั กับคานาและควรเปิดเรอื่ งใหน้ า่ สนใจ ชวนให้ผูอ้ ่าน ตดิ ตามเรือ่ งต่อไป ๓) การลาดับ ควรลาดับเรือ่ งใหม้ ีความต่อเน่อื งสอดคล้องกนั ตงั้ แต่ตน้ จนจบ ไม่ควรเขียนวกไปวนมา เพราะผู้อา่ นจะเกดิ ความสับสนจนไม่สามารถแยกแยะได้วา่ ส่วนใดเปน็ ข้อเท็จจรงิ และส่วนใดเปน็ การแสดง ความคดิ เห็น
238223381 ๔) การปดิ เรื่อง ใช้หลกั การเชน่ เดียวกับการสรุปและควรปดิ เรอ่ื งใหผ้ ู้อา่ นประทับใจ ๕ การใช้ภาษาอยา่ งสละสลวย ชัดเจน ไม่เย่ินเยอ้ มีการใช้สานวนโวหารเหมาะสมกับเรอ่ื ง นอกจากน้ันยัง ต้องใช้ถ้อยคาท่ีส่ือความหมายได้ตรงตามอารมณ์และความรู้สึกของผู้เขียน ท้ังน้ีควรเขียนอย่างเป็นกลาง และ หลีกเลี่ยงการใช้ถ้อยคาที่แสดงอารมณร์ ุนแรง ซึง่ อาจกอ่ ใหเ้ กดิ ความขดั แย้งอย่างรนุ แรง Wcp1.blogspot.com
๒๓๔ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๕ หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ๓ เร่ือง พินิจพจิ ารณ์ เรอ่ื ง การเขียนแสดงความคิดเหน็ เวลา ๑ ชั่วโมง กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย รายวิชาพน้ื ฐานภาษาไทย ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ขอบเขตเนอ้ื หา ความหมายการเขียนแสดงความคิดเห็น กิจกรรมการเรยี นรู้ สือ่ /แหลง่ เรยี นรู้ หลักการแสดงความคดิ เหน็ ขั้นนำ 1. ตัวอย่างงานเขยี นแสดงความคดิ เหน็ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ดา้ นความรู้ ครูและนักเรยี นสนทนาถึงงานเขียนการแสดงความคดิ เหน็ เกี่ยวกบั คติธรรม ๑. อธิบายความหมายการเขียนความคิดเห็นได้ ๒. อธิบายหลักการเขียนแสดงการคิดเห็นได้ โดยยกตวั อย่างงานเขียนเกีย่ วกบั คตธิ รรมมาอ่านใหน้ ักเรยี นฟงั ๒. ใบความรู้ เรอ่ื งการเขยี นแสดงความคิดเหน็ ด้านทกั ษะและกระบวนการ เขียนแสดงความคิดเห็นไดถ้ กู ต้องตาม แล้วใหน้ กั เรยี นวพิ ากษ์งานเขียน ภาระงาน/ชิ้นงาน หลกั การเขยี นและมมี ารยาทในการเขยี น ด้านคณุ ลักษณะ ข้ันสอน ศกึ ษาค้นคว้างานเขียน ๑. มวี นิ ยั ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๑. ครใู หน้ กั เรียนสนทนาแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกับสถานการณ์ เกยี่ วกบั การแสดงความคิดเห็น ๓. มุ่งม่ันในการทำงาน ๔. มีมารยาทในการเขียน “โรคอว้ น” “ของขวญั วนั ปีใหม่” จากการแสดงความคิดเห็นให้ นักเรยี นถ่ายทอดและส่อื สารเปน็ ภาษาเขียน ๒. ครูให้นกั เรียนศกึ ษาใบความรเู้ รื่อง การเขียนแสดงความคดิ เห็น แล้วซักถามอภปิ ราย ๓. นกั เรยี นเขยี นแสดงความคดิ เหน็ เรอ่ื ง “สมุนไพรรกั ษาโรค” ลงในสมดุ ขั้นสรุป ครแู ละนกั เรียนสรปุ หลกั การเขียนแสดงความคดิ เหน็ ร่วมกัน 232
240223430 การวดั และประเมนิ ผล วิธีการ เครือ่ งมอื ท่ีใช้ เกณฑ์ ส่งิ ท่ีตอ้ งการวดั /ประเมิน สังเกตจากการเรยี น แบบสงั เกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์การประเมนิ และการตอบคาถาม การเรียนรายบคุ คล ร้อยละ ๘๐ ขนึ้ ไป ด้านความรู้ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ๑. อธบิ ายความหมายการ ประเมินจากการเขียน แบบประเมนิ ช้ินงาน ร้อยละ ๘๐ ข้นึ ไป เขยี นความคิดเห็นได้ แสดงความคิดเห็น การเขียนแสดงความคิดเห็น ๒. อธิบายหลกั การเขยี น ประเมนิ จาก แบบประเมินคณุ ลักษณะ ผ่านเกณฑ์คุณภาพ แสดงการคิดเหน็ ได้ คณุ ลักษณะ ระดับ ๒ ด้านทกั ษะและกระบวนการ เขยี นแสดงความคิดเหน็ ได้ ถูกต้องตามหลักการเขยี น และมมี ารยาทในการเขยี น ด้านคุณลักษณะ 1. มีวินัย 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มงุ่ ม่ันในการทางาน ๘. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ....................................................... ปญั หาและอปุ สรรค ......................................................................................................................................................... ........................... ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข .................................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ...................................................ผสู้ อน (.................................................................) วนั ท่ี.............เดอื น......................พ.ศ……… ๙. ความคดิ เหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผูบ้ รหิ ารหรอื ผู้ที่ไดร้ บั มอบหมาย ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชอื่ ...................................................ผสู้ อน (.................................................................) วันท่ี.............เดอื น......................พ.ศ………
241 223441 ตัวอย่างงานเขยี นแสดงความคิดเห็นเก่ยี วกับคตธิ รรม หนว่ ยท่ี ๓ แผนการจัดการเรยี นรู้ ๕ เรอ่ื ง การเขียนแสดงความคดิ เหน็ รายวชิ าภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ธรรมเป็นปัจจัยท่ีห้าของชีวิต แต่เราสนใจกันเพียงปัจจัยสี่ทางวัตถุสาหรับร่างกาย ชีวิตท่ีขาดปัจจัยท่ีห้า นัน้ เป็นชีวติ ท่ตี ายแล้ว และเปน็ ความสูญเสียย่ิงไปกวา่ การตายทางร่างกายเพราะขาดปจั จัยสี่, อย่างที่จะเปรียบกัน ไม่ได้เลย ความมีชีวิตที่ปราศจากธรรมะนั้น เป็นความทุกข์ของแต่ละคน และจะทาอันตรายแก่กันและกัน จนกระทัง้ ถึงระดับมิคสญั ญเี ปน็ ทส่ี ุด (คาปรารภการจัดพิมพ์หนังสือชดุ หนนุ ลอ้ ธรรมจักรของพทุ ธทาสภิกข)ุ ย่อหน้านี้มีลักษณะของการใช้ภาษาเพ่ือแสดงทรรศนะ คือ แสดงความคิดเห็นที่ประกอบด้วยเหตุผล โดยท่านพุทธทาสได้สร้างศัพท์ข้ันใหม่ว่าธรรมะนั้นคือ “ปัจจัยท่ีห้า” หากสังเกตจะพบว่า ข้อความที่ขีดเส้นใต้น้ัน เป็นคาสาคัญท่ีท่านพุทธทาสต้องการเน้นย้า เป็นวิธีทาให้ผู้อ่านจดจาคาสอนได้ง่ายข้ึน ความหมายของข้อความ ทขี่ ีดเสน้ ใต้คือเน้ือความในสว่ นต้นของประโยค ดงั น้ี ปจั จัยทห่ี า้ หมายถึง ธรรมะ จากประโยคว่า ธรรมะ เปน็ ปัจจยั ที่ห้าของชวี ติ ชีวิตที่ตายแล้ว หมายถึง ชีวิตที่ขาดปัจจัยท่ีห้าหรือขาดธรรมะ (จากประโยคว่า ชีวิตที่ขาดปัจจัยที่ห้าน้ัน เป็นชีวติ ท่ตี ายแลว้ ) ความทุกข์ของแต่ละคน หมายถึง ความมีชีวิตท่ีปราศจากธรรมะ (จากประโยคท่ีว่าความมีชีวิต ท่ีปราศจากธรรมะนน้ั เป็นความทุกข์ของแตล่ ะคน) อนั ตรายแก่กันและกัน หมายถงึ ความมีชีวิตท่ีปราศจากธรรมะ (จากประโยคท่ีว่าความมีชวี ิตที่ปราศจาก ธรรมะนน้ั จะทาอนั ตรายแก่กนั และกนั ) หลกั ภาษาและการใช้ภาษาเพื่อการส่ือสาร ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๖. หนงั สือเรยี นรายวชิ าพนื้ ฐานภาษาไทย.
242224325 ใบความรู้ เรื่อง การเขียนแสดงความคดิ เห็น หน่วยท่ี ๓ แผนการจัดการเรยี นรู้ ๕ เรอื่ ง การเขียนแสดงความคิดเห็น รายวิชาภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี ๑ การเขียนแสดงความคิดเห็น คือการแสดงอารมณ์ ความรู้สึก ความคิด และข้อสันนิษฐานน้ันออกมาให้ ผู้อ่านได้รับรู้ การเขียนแสดงความคิดเห็นนั้น จาเป็นต้องเขียนด้วยข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริง มีเหตุและมีผล และ เป็นไปในทางท่ีสร้างสรรค์ ผู้เขียนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่จะแสดงความคิดเห็นเป็นอย่างดี เพื่อที่จะ แสดงความคดิ เหน็ ไดอ้ ย่างเขา้ ใจและตรงประเด็น หลักในการเขียนแสดงความคิดเห็น - การแสดงความคิดเห็นเพอ่ื ตง้ั ข้อสังเกตในเร่ืองน้ัน ๆ - การแสดงความคดิ เหน็ เพือ่ สนับสนนุ ขอ้ เท็จจริง - การแสดงความคดิ เห็นเพอ่ื ประเมินคา่ การแสดงความคดิ เหน็ ประกอบดว้ ยส่วนลาดบั ๓ ส่วน คอื ๑. ทมี่ า คอื เรอื่ งราวท่ีช้ีใหเ้ ห็นถึงความจาเป็นท่ีต้องแสดงความคิดเหน็ นั้น ๆ ทาใหผ้ ู้รับสารเกิดความเขา้ ใจ พรอ้ มรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ตอ่ ไป ๒. ข้อสนับสนุน คือ ข้อเท็จจริง หลักการ กฎเกณฑ์ ความคิด และมติท่ีนามาใช้ประกอบให้เป็นเหตุที่ใช้ สนบั สนนุ ข้อสรปุ ๓. ข้อสรุป คือ ส่วนที่สาคัญที่สุดของการแสดงความคิดเห็น อาจเป็นข้อเสนอแนะ ข้อวินิจฉัย หรือข้อ สนั นิษฐานเพ่ือประเมินค่า เพ่ือให้ผู้อ่านพิจารณายอมรับหรือนาไปปฏิบัติและแก้ไขได้ และหลักสาคัญในการเขียน แสดงความคดิ เหน็ ประการสุดทา้ ยท่สี าคัญ คอื มารยาทในการแสดงความคิดเหน็ * ภาษาทใี่ ช้ต้องชดั เจน เขา้ ใจง่าย และใชถ้ อ้ ยคาสุภาพ สมเหตุสมผลตรงประเด็นไปออกนอกเรอื่ ง * ขอ้ มลู และหลักฐานทนี่ ามาใช้ประกอบตอ้ งเป็นเรือ่ งจรงิ ไมใ่ ชข่ อ้ มลู เทจ็ หรือมจี ดุ ประสงคเ์ พอ่ื หลอกลวง * ไม่แสดงความคิดเห็นส่วนตัวในลักษณะการใช้อารมณ์ความรู้สึกท้ังหมด โดยปราศจากเหตุผลหรือ ขอ้ เท็จจริง * ใชค้ าและภาษาท่สี ุภาพให้เกียรติผู้เขียน ไมก่ า้ วรา้ ว หยาบคาย หรือใช้คาท่คี ะนองเปน็ ตน้ JANTHAI Blog Blog.janthai.com
2๒๔4๐3224336 แแบบบบปปรระะเมเมนิ นิ ชชิน้ ิ้นงงาานนกกาารรเขเขียียนนแแสสดดงงคคววาามมคคิดิดเหเห็นน็ ประเด็นประเด็น ดเี ยีย่ มดีเย่ยี ม ดี ดี พพออใใชช้ ้ ต้อตงอ้ ปงรปับรปบั รปงุ รงุ เกณฑ์ เกณฑ์ ๔ ๔ ๓๓ ๒๒ ๑๑ ๑. ทีม่ า๑เร.อ่ื ทงีม่ราเวร่อื งราวงานเขยี นงามนีทเมี่ขยีานมที ี่มาของานเขงาียนเมขทีย่มีนามีท่ีมาของ งางนาเนขเยี ขนยี มนที ม่ีมีทา่ีมาของ ไไมมม่ ่มีทีทม่ี ่มี าาขขอองงแเรส่ือดงราว ความเปคน็ วมามาเป็นมา เคทรวี่แือ่ าสงมรดคางวดิคแททเวสหีแ่ แ่ีาดส็นมสงดดคถงงิดงึคเควหวาน็ ามมคจดิ าเเหปทเค็นรน็ ว่ีแ่ือาสงมรดทแคางส่ีแวิดคดสทเวหงดแ่ีาถ็นงมสึงคดคควงดิวาเามหมค็นจดิ าเเหปน็ น็ บทเครวา่ีแื่อบทแางสงสา่แีสมรดงดสว่คางสงนดวิดคว่ถทงเวนึงหคแ่ีาคว็นมสวาบคดามางดิมคงเจดิสหาเว่็นเหปนน็ น็ ถงึ ความจาเป็นที่ แสดงความคดิ เห็น ๒. ขอ้ สนับสนนุ มขี อ้ สนบั สนุนเป็น มขี ้อสนบั สนุนเปน็ มขี อ้ สนบั สนุนเป็น ไม่มีขอ้ สนบั สนุนเปน็ ๒. ขอ้ สหนลบั ักสกนาุนร กฎเกณมีขฑ้อ์ สนบัหสลนักนุกาเปร็นและ มขี อ้ สหนลบั ักสกนารนุ เแปล็นะ มีขหอ้ ลสักนกบั าสรนแุนลเะป็น หไมล่มกั ขีก้อารสนแับละสนนุ เป็น หลักกาทรีเ่ กปฎ็นเกหณตเุฑป์ น็ ผลหลกั การกฎเกณฑท์ ีเ่ ปน็ เหตหุ ลกั กกาฎรเกณฑท์ ่เี ปน็ เหตุ หลกกั ฎกเากรณฑ์ท่ีเปน็ เหตุ กหฎลเกั กณาฑร์ท่ีเปน็ เหตุ ท่เี ป็นเหตเุ ปน็ ผล และกฎเเกปณ็นฑผลท์ คเี่ ปรบน็ ถว้ น และกเฎปเน็ กผณลฑสว่ท์ นี่เปให็นญ่ แลเะปกน็ ฎผเลกบณาฑงส์ทว่ ่ีเนปน็ เแปลน็ ะผกลฎคเรกบณถฑว้ น์ท่ีเปน็ เห เหตเุ ป็นผลครบถว้ น เหตเุ ป็นผลสว่ นใหญ่ เหตุเปน็ ผลบางสว่ น เตหุเปตเุ็นปผน็ ลผล ๓. ข้อสรุป มขี อ้ สรุปครบถ้วน มขี ้อสรุปบ้าง มขี อ้ สรุปบางสว่ น ไม่มีขอ้ สรปุ ๓. ขอ้ สรปุ สมบูรณ์ ส่วนใหญ่ มขี อ้ สรุปบางส่วน ไม่มขี ้อสรปุ มขี อ้ สรปุ ครบถว้ น มีขอ้ สรปุ บ้าง ๔. ภาษาทีใ่ ช้ สมบูรณม์ กี ารใชภ้ าษา ส่วนใมหกี ญา่รใช้ภาษา มกี ารใช้ภาษา การใช้ภาษายงั วกวน ทถี่ กู ต้องชัดเจน ทีถ่ ูกต้องชดั เจน ที่ถกู ต้องชัดเจน มกี ารแสดงความ มีการใชถเภ้ ขอ้า้ายษใคจางาา่สยภุ าแพละใช้ มกี ารถเใขชอ้ ้าภ้ยใคจาษงา่าสายภุ าแพละใช้ มกี ปเาขรรา้ ะใใชเจด้ภง็นา่ ายบษาายงงัเรไมื่อต่งรง คลกักิดาษเรหใณช็นะภ้สกว่าาษนรตาใยวัชงัใ้ นวกวน ๔. ภาษาทใ่ี ช้ ทีถ่ ูกตอ้ งชัดเจน อมาีกรามรณแส์คดวางมรสู้ กึ เขา้ ใจง่าย ความคิดเหน็ ส่วนตัว ท่ีถกู ตอ้ งสชมดั เหเจตนสุ มผลตรง ท่ถี กู ตสอ้ มงเชหัดตเุสจมนผลตรง เขา้ ใจง่าปยระเดน็ เข้าใจปงรา่ ะยเดน็ ส่วนใหญ่ และใชถ้ อ้ ยคำสภุ าพ และใช้ถอ้ ยคำสุภาพ ยังไมต่ รงประเด็น ในลกั ษณะการใช้ สมเหตุสมผลตรง สมเหตสุ มผลตรง บางเร่อื ง อารมณ์ความรู้สกึ ประเด็น ประเดน็ ส่วนใหญ่
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 509
Pages: