Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือและแผนการเรียนรู้_ม.1-07061623

คู่มือและแผนการเรียนรู้_ม.1-07061623

Description: คู่มือและแผนการเรียนรู้_ม.1-07061623

Search

Read the Text Version

344 33474 เฉลยใบงานเรือ่ ง เลือกสรรคาสนั ธาน หน่วยท่ี ๔ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๓ เร่ือง สันธานเร่งจดจา รายวชิ าภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ ตอนที่ ๑ คาชแ้ี จง จงเติมคาสนั ธานทเ่ี หมาะสมในช่องว่าง ๑. ฉันชวนเขาแลว้ แต่ เขาไม่ไป ๒. ทง้ั สภุ า และ สุรภี เป็นไขห้ วดั ใหญ่ ๓. แม้ เขาจะยากจน เขา ก็ ไม่โกงใคร ๔. เพราะ เขาประมาท เขา จงึ ขบั รถชนเด็ก ๕. เขาไว้ใจให้เราทาเรื่องน้ใี ห้เสรจ็ ดงั นนั้ เราจะเหลวไหลไม่ได้ ๖. เธอจะไปรบั เงนิ เอง หรอื เธอจะมอบฉันทะให้ใครไปแทน ๗. พอ รถของเราไปถงึ บางแสน ฝน ก็ ตก ๘. สดุ าตอ้ งทางานหนกั มิฉะนน้ั เธอจะไมม่ ีเงนิ พอใช้ ๙. ทุกคนยืนทาความเคารพท่านประธาน แต่ คุณสิรพิ รรณเธอน่ังเฉย ๑๐. ท้ัง เธอ และ เขาตา่ งกข็ ยนั เรยี น ตอนที่ ๒ คาช้ีแจง ใหน้ ักเรยี นใชส้ นั ธานเชอื่ มประโยตต่อไปน้ใี ห้ถูกตอ้ งเหมาะสม และบอกชนดิ ของสนั ธาน ๑. ฉันชอบกินขนมครกทส่ี ุด แหววกินขนมครกทีส่ ุด ฉันกับแหววชอบกินขนมครกทส่ี ดุ กบั ชนิดของสันธาน ทเ่ี ชื่อมใจความคลอ้ ยตามกนั ๒. เขาเรียนเกง่ เขาสอบเข้ามหาวิทยาลัยได้ เพราะเขาเรยี นเกง่ เขาจงึ สอบเข้ามหาวทิ ยาลัยได้ เพราะ .... จึง ชนดิ ของสันธาน ทเี่ ช่อื มใจความเปน็ เหตุเป็นผลกนั ๓. พอ่ พาลูกไปเดนิ เล่นรมิ ทะเล แมพ่ าลูกไปเดนิ เล่นรมิ ทะเล พ่อและพาลกู ไปเดนิ เล่นรมิ ทะเล และ ชนิดของสันธาน ทเ่ี ชื่อมใจความคลอ้ ยตามกนั ๔. เธอจะกินแกงเผด็ เธอจะกนิ แกงจดื เธอจะกนิ แกงเผด็ หรือแกงจืด หรอื ชนดิ ของสันธาน ที่เช่อื มใจความให้เลอื กอยา่ งใดอย่างหนึง่ ๕. คุณพอ่ ไปทางาน คณุ แม่อยู่บ้าน คุณพ่อไปทางาน ส่วน คณุ แม่อยูบ่ า้ นชนิดของสนั ธาน สว่ น ชนดิ ของสันธานทีเ่ ชื่อมใจความขัดแย้งกัน

345 333485 แบบทดสอบเรอ่ื ง เลือกสรรคาสันธาน หน่วยที่ ๔ แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี ๓ เรือ่ ง สันธานเรง่ จดจา รายวชิ าภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ คาชแี้ จง ให้นกั เรยี น ทาเคร่ืองหมาย X ทบั ตัวอกั ษรที่ถูกต้อง ๑. ขอ้ ใดใช้คาสนั ธานเชื่อมประโยคทขี่ ดั แย้งกนั ได้ถูกต้อง ก. ถงึ เขาจะเปน็ นักมวยฉันก็ไม่กลวั เขา ข. เพราะเขาอยากมเี งินแตเ่ ขาก็ต้องทางาน ค. ใบไมร้ ่วงเพราะฉะน้ันสนามจงึ สกปรก ง. ถ้าเขามีความสุขฉนั ก็ยนิ ดีกบั เขาดว้ ย ๒. ข้อใดมคี าสันธานแสดงความขดั แย้ง ก. เขามาโรงเรยี นแตเ่ ชา้ ข. แต่ชา้ แตเ่ ขาแห่ยายมา ค. แตก่ ่อนแตไ่ รเธอไมส่ นใจ ง. หมากบาดเจ็บแต่ณเดชณ์ปลอดภยั ๓. คาสนั ธานในขอ้ ใดวางอยู่หนา้ ประโยค ก. เขาทางานหนักจงึ สร้างตวั ขึน้ ได้ ข. ทง้ั ๆ ท่ีฉันรูว้ ่าเขาร้ายกาจก็ยังรกั เขา ค. โปรดอยา่ ถามวา่ ฉันเป็นใครและฉนั รกั ใคร ง. เขาจะเป็นคนดีกต็ าม คนร้ายก็ตาม ลกู อยา่ ไปคบหาเขา ๔. ควรใช้สันธานในขอ้ ใดเช่ือมประโยคต่อไปน้ีใหม้ คี วามคล้อยตามกัน “……………..ทาการบ้านเสรจ็ ฉัน……………..ร้สู ึกโลง่ ใจ” ก. เมื่อ……………..จงึ ข. พอ……………..ก็ ค. เพราะ……………..จงึ ง. แล้ว……………..ก็ ๕. ประโยคในขอ้ ใดมีคาสนั ธาน ก. อ้ายเสริมเอ็งกะขา้ มาสกู้ นั ด้วยเกียรตยิ ศของผชู้ ายสกู้ นั ด้วยหมัด ข. เสือแกว่นจะสู้เสือดว้ ยมือเปลา่ ค. ยนื ข้ึนมาอา้ ยเสริม ง. ถา้ เอง็ เปน็ ลกู ผูช้ าย เอ็งต้องยนื ข้นึ สู้กับข้า

333469 346 ๕. “เธอจะซ้ือตั๋วชั้นท่ีหน่งึ หรือช้ันทีส่ อง” ประโยคนี้มีคาใดเปน็ สนั ธาน ก. จะ ข. ท่ี ค. ชน้ั ที่ ง. หรือ ๖. .ข้อใดใช้คาสันธานไม่ถูกต้อง ก. ดาเป็นตอตะโก ข. เสียงดงั ราวกบั เสียงระฆัง ค. บริสทุ ธ์ิเหมือนหยาดนา้ ค้าง ง. แห้งแลง้ เหมือนทะเลทราย ๗. จงเติมคาเชอื่ มลงในช่องว่างประโยคที่กาหนดให้ ข้อใดมีใจความขดั แยง้ กนั ก. ปอไปห้องสมุด...........ต้อยไปร้านอาหาร ข. ............เคนกลับถึงบ้านฝน............ตกทนั ที ค. .........ไฟฟา้ ดับ ก้อย..........ไม่ไดท้ าการบ้าน ง. นภาขยันเรยี นมาก .........สอบเข้าเรยี นชนั้ ม.๑ ได้ ๘. ขอ้ ใดไมใ่ ชค่ าสนั ธาน ก. เขาร้องไห้เพราะเธอทอดท้ิง ข. นาทว่ มเพราะฝนตกหนัก ค. เพราะอยากได้คะแนนดิฉนั จงึ ขยนั ง. นกตวั น้ันร้องเพลงเพราะเสียนกี่ ระไร ๙. ขอ้ ใดมสี นั ธานมีหนา้ ทเ่ี ช่ือมคากับคา ก. ฝนตกแต่แดดออก ข. เขาพบครแู ละนักเรียน ค. เธอจะอยบู่ า้ นหรือจะไปเท่ยี ว ง. เพราะเขาขยันเขาจงึ สอบไลไ่ ด้ ๑๐. ขอ้ ใดมีสันธานมีหนา้ ท่เี ช่ือมประโยคกับประโยค ก. ฉนั เหน็ นายดาและนายแดง ข. นายดากับนายแดงเป็นเพ่ือนกนั ค. แม่ครวั ไปตลาดซื้อผกั กับเน้อื หมู ง. นกั เรียนมาหาครูและผปู้ กครองก็มาด้วย เฉลย ข้อ ๑ ก. ขอ้ ๒ ง. ข้อ ๓ ข. ขอ้ ๔ ข. ขอ้ ๕ ง. ข้อ ๖ ง. ข้อ ๗ ข. ขอ้ ๘ ง. ข้อ ๙ ข. ข้อ ๑๐ ง.

347 หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี ๔ เรอื่ ง นิทานสารพัน แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ ๖ เวลา ๑ ชั่วโมง กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย เร่อื ง คาอทุ านควรทราบ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ขอบเขตเน้ือหา รายวชิ าพน้ื ฐานภาษาไทย ส่ือ/แหลง่ เรยี นรู้ ชนิดและหน้าที่ของคา กิจกรรมการเรยี นรู้ ๑. แถบประโยค จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ข้ันนา ๒. ใบความรู้ เร่ือง คาอทุ าน ด้านความรู้ นักเรยี นอา่ นออกเสยี งแถบประโยคท่ีมีและไม่มี ๓. ใบงาน เรื่อง คาอุทาน คาอทุ านโดยใสอ่ ารมณใ์ หเ้ ข้ากบั เนอ้ื หา จากนั้นรว่ มกนั ๔. แบบทดสอบ เรอื่ งคาอทุ าน ๑. บอกความหมายของคาอทุ านได้ อภิปรายถึงลกั ษณะการส่ือความของประโยค ภาระงาน/ชนิ้ งาน ๒. บอกชนิดและหน้าทข่ี องคาอทุ านได้ ข้ันสอน ครูมอบหมายให้นักเรียนรวบรวมคาอุทานแลว้ ดา้ นทักษะและกระบวนการ มดี บาด โอ๊ย! มีดบาด วาดภาพประกอบคาอุทาน ส่งครูตามเวลาท่ี ๑. วิเคราะห์ชนิดและหนา้ ทขี่ องคาอุทานได้ ผ้ชู ายคนนัน้ หลอ่ จัง อุ๊ย! ผชู้ ายคนนัน้ กาหนด ๒. เลอื กใชค้ าอทุ านในการสอ่ื สารไดถ้ ูกต้อง เหมาะสม หลอ่ จงั ดา้ นคณุ ลกั ษณะ น่าสงสารหมาตวั นัน้ จงั โถ! นา่ สงสารหมาตวั ๑. มีวนิ ัย ๒. ใฝเ่ รยี นรู้ นนั้ จัง ๓. มงุ่ มนั่ ในการทางาน ๑. นักเรียนสังเกตคาอุทานจากแถบประโยคต่อไปนี้ ๔. มีจิตสาธารณะ แล้วช่วยกันบอกลักษณะพร้อมทั้งจัดหมวดหมู่ เอะ๊ ! แถวนีม้ คี นหนา้ ตาดกี ว่าครูอีกเหรอ ปปรระะหหลลาาดดใใจจ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ออ๋ ! สตู รลบั คดิ เลขเร็วเป็นอย่างนี้น่ีเอง 334470

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ๔ เรื่อง นทิ านสารพนั แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๖ 348 กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย เร่ือง คาอุทานควรทราบ เวลา ๑ ช่ัวโมง รายวชิ าพนื้ ฐานภาษาไทย ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ รบั รู้ เข้าใจ ว้าย! นกึ วา่ ผหี ลอก ตกใจ อนิจจา! จงฮยอนกาลงั โด่งดังไม่น่าคดิ ส้นั เลย สงสาร เหน็ ใจ อ๊ยุ ! เขม็ ตามือจนได้ เจ็บปวด เฮ!้ ญาญ่า พวกเราอยนู่ ่ี ร้องเรียก 334481

หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ ๔ เรื่อง นทิ านสารพัน แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี ๖ 349 กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย เรือ่ ง คาอุทานควรทราบ เวลา ๑ ช่ัวโมง รายวิชาพน้ื ฐานภาษาไทย ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ แหม! กนิ พซิ ซา่ ไมเ่ รียกกันเลยนะ โกรธเคอื ง ๒. นักเรยี นชว่ ยกนั ยกตวั อย่างคาอุทานแตล่ ะหมวดหมู่ เพ่ิมเติม ๓. นักเรยี นศึกษาใบความรู้ เรอ่ื ง คาอุทานแล้ว รว่ มกนั อภปิ รายเรอื่ งชนดิ และหนา้ ท่ขี องคาอุทาน ๔. นักเรียนแบง่ กลุ่มออกเป็น ๒ กล่มุ ใหญ่ เลน่ เกม “อทุ านกนั หนอ่ ย” โดยผลดั กันคดิ ข้อความแล้ว ให้อีกฝา่ ยเติมคาอทุ านในเวลาจากัด ๕. นกั เรียนทาใบงาน เรื่อง คาอทุ าน ครแู ละนักเรียน ร่วมกันเฉลยใบงาน ๖. นกั เรยี นทาแบบทดสอบ เรอ่ื ง คาอุทาน และ ร่วมกนั เฉลยแบบทดสอบอย่างละเอยี ด ขัน้ สรปุ ครูและนักเรียนร่วมกนั สรุปความรู้เร่อื ง คาอุทาน และให้นักเรยี นบันทึกลงสมุด 334429

350 334530 การวัดและประเมินผล ส่งิ ทต่ี ้องการวัด/ประเมิน วิธีการ เคร่อื งมอื ทใี่ ช้ เกณฑ์ ดา้ นความรู้ ๑. ใบงาน ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ๑. บอกความหมายของคา ๑. ตรวจใบงาน ๒. แบบทดสอบ ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป อทุ านได้ ๒. ตรวจแบบทดสอบ ๒. บอกชนดิ และหนา้ ท่ีของคา อทุ านได้ ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ ๑. ใบงาน ๑. วิเคราะห์ชนิดและหน้าท่ี ๑. ตรวจใบงาน ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ของคาอุทานได้ ๒. ตรวจแบบทดสอบ ๒. แบบทดสอบ รอ้ ยละ ๘๐ ขน้ึ ไป ๒. เลอื กใช้คาอทุ าน ในการสอื่ สารไดถ้ ูกต้อง เหมาะสม ด้านคุณลักษณะ ๑. มวี ินัย ประเมนิ คุณลกั ษณะ แบบประเมนิ คุณลักษณะ ผ่านเกณฑ์คุณภาพ ๒. ใฝเ่ รยี นรู้ ระดับ ๒ ๓. ม่งุ มั่นในการทางาน ๔. มีจติ สาธารณะ ๘. บันทึกผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ....................................................... ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................................... ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................................ ........................................................................ ลงชอ่ื ...................................................ผสู้ อน (.................................................................) วนั ท.่ี ............เดือน...............พ.ศ........... ๙. ความคดิ เหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผูบ้ ริหารหรอื ผู้ที่ไดร้ ับมอบหมาย ............................................................................................................................. ....................................................... ลงชื่อ...................................................ผ้ตู รวจ (.................................................................) วนั ท่.ี ............เดือน...............พ.ศ...........

351 334541 ใบความรู้ เร่อื ง คาอุทาน หน่วยท่ี ๔ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๖ นทิ านสารพนั รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๑ ความหมายของคาอุทาน คาอทุ าน หมายถึง คาทีแ่ สดงอารมณ์ของผู้พดู ในขณะทต่ี กใจ ดใี จ เสียใจ ประหลาดใจ หรอื อาจจะเปน็ คาทใี่ ช้เสรมิ คาพูด เช่นคาว่า อุ๊ย เอ๊ะ ว้าย โธ่ อนจิ จา ออ๋ เป็นต้น เช่น เฮ้อ ! ค่อยยงั ชัว่ ท่เี ขาปลอดภยั เม่ือไรเธอจะตดั ผมตัดเผ้าเสยี ทจี ะได้ดเู รยี บร้อย ชนิดของคาอุทาน คาอทุ านแบ่งเป็น ๒ ชนิด ดังนี้ ๑. คาอุทานบอกอาการ เป็นคาอุทานทแ่ี สดงอารมณ์ และความรูส้ กึ ของผู้พดู เวลาเขียนมัก นิยมใชเ้ ครือ่ งหมายอศั เจรีย์ ( ! ) กากับไวห้ ลังคานน้ั เช่น ตกใจ ใชค้ าวา่ ว้ยุ วา้ ย แหม ตายจรงิ ประหลาดใจ ใชค้ าวา่ เอะ๊ หือ หา รับรู้ เข้าใจ ใชค้ าว่า เออ อ้อ อ๋อ เจบ็ ปวด ใชค้ าวา่ โอ๊ย โอย อุ๊ย สงสาร เห็นใจ ใชค้ าวา่ โธ๋ โถ พทุ โธ่ อนิจจา ร้องเรียก ใช้คาว่า เฮ้ย เฮ้ นี่ โลง่ ใจ ใช้คาวา่ เฮอ เฮ้อ โกรธเคือง ใช้คาวา่ ชชิ ะ แหม ๒ คำอทุ ำนเสริมบท ไม่ใสเ่ คร่ืองหมายอัศเจรีย์ ( ! ) กากับข้างทา้ ย ใชเ้ สรมิ คาอ่ืนเพ่ือให้คลอ้ งจอง กนั ถว่ งเสยี งของคา หรือใชเ้ ป็นคาสร้อยในคาประพันธ์บางชนิด ๒.๑ คาทก่ี ลา่ วเสริมขึ้นเพ่ือใหค้ ล้องจอง หรือมคี วามหมายในการพูดดีข้ึน คาเสริมอาจอยู่ ข้างหนา้ ข้างหลงั หรือกลางคาก็ได้ เช่น หนงั สอื หนังหำ,ลืมหลู ืมตา ,กำงกงุ้ กางเกง วดั วำ รถรำ ผูห้ ลกั ผใู้ หญ่ หัวหลกั หวั ตอ สับประดี้สปี ระดนฯลฯ ทาเสร็จเสียทีจะไดห้ มดเรอ่ื งหมดรำวกันไป เมื่อไรเธอจะหำงงหางานทาเสยี ที เธอเห็นฉนั เปน็ หัวหลกั หวั ตอหรอื อยา่ งไร ๒.๒ คาที่แทรกลงในระหว่างคาประพันธ์ เพ่ือใหเ้ กิดความสละสลวยและใหม้ ีคาครบถ้วนตาม ต้องการในคาประพนั ธ์นั้น ๆ คาอุทานชนิดนี้ใช้ เฉพาะในคาประพันธ์ ไมน่ ามาใชใ้ นการพดู สนทนา เช่น แล, นา , ฤา , แฮ, เอย ,เฮย ฯลฯ เสยี งเพลงไพเราะคร้ืน คลอซอ พอ่ ฮำ รักศกั ดิ์สงวนสจั ธรรม เทดิ เกยี รติ พ่อเฮย

335425 352 หนา้ ทีข่ องคาอุทาน มีดงั น้ีคอื ๑. ทาหนา้ ทีแ่ สดงความรู้สึกของผู้พูด เชน่ - ตายจรงิ ! ฉันลมื เอากระเปา๋ สตางค์มา - โธ่ ! เธอคงจะหนาวมากละซิ - เอะ๊ ! ใครกนั ทน่ี าดอกไม้มาวางไวท้ โ่ี ต๊ะของฉนั ๒. ทาหน้าที่เพิ่มนา้ หนักของคา ซง่ึ ไดแ้ กค่ าอทุ านเสรมิ บท เช่น - ทาเสรจ็ เสยี ทีจะได้หมดเร่ืองหมดราวกนั ไป - เมื่อไรเธอจะหางงหางานทาเสียที - เธอเห็นฉนั เป็นหัวหลักหัวตอหรืออย่างไร ๓. ทาหน้าที่ประกอบข้อความในคาประพันธ์ เช่น - แมวเอ๋ยแมวเหมยี ว - มดเอ๋ยมดแดง - กอ เอ๋ย กอไก่ *************************

353 353 346 ใบงาน เรอื่ ง คาอทุ าน หนว่ ยท่ี ๔ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๖ นิทานสารพัน รายวชิ าภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ ตอนท่ี ๑ คำชแี้ จง ใหน้ ักเรียนนำตัวเลขหนำ้ ขอ้ ควำมทำงขวำมือใส่ลงในช่องว่ำงทำงซ้ำยมือท่ีบอกอำกำร ................... โอ๊ย ! มีดบาดมอื ๑. ตกใจ ................... อนจิ จา ! ไมน่ ่าเลย ๒. สงสยั ................... นแี่ นะ ! พวกเราฟังทางนี้ ๓. สงสาร ................... โอ้โฮ ! ทาไมใหญโ่ ตขนาดน้ี ๔. โลง่ ใจ ................... ฮึ ! ทาไมมาช้าอยา่ งน้ี ๕. บอกให้รู้ตวั ................... ดซู ิ ! ทาไมเป็นเด็กดอ้ื อย่างน้ี ๖. ประหลาดใจ ................... อุ๊ย ! มดกดั ๗. หงุดหงิด ................... เฮ้อ ! เหมอื นยกภูเขาออกจากอก ๘. เจบ็ ปวด ................... อา้ ว ! ไมใ่ ชอ่ ย่างนน้ั หรือ ๙. ไมพ่ อใจ ................... ไชโย ! ฉนั สอบผ่านแลว้ ๑๐. ดใี จ ตอนท่ี ๒ คำช้ีแจง ใหน้ ักเรียนขีดเส้นใต้คาอทุ านเสริมบทในประโยคต่อไปน้ี ๑. ของมันใชไ้ ม่ได้แลว้ อย่าไปเสยี ดมเสยี ดายมันเลย ๒. อยา่ ใช้จา่ ยมากนัก สตงุ้ สตางคย์ งิ่ หายากอยู่ ๓. เอะอะมะเทิ่งไปได้ ประเดี๋ยวคุณครูดเุ อาหรอก ๔. อยา่ เสียอกเสียใจไปเลย ถึงคราวเคราะห์หามยามร้ายก็หลีกเล่ียงไม่ได้ ๕. เรยี นอะไรกนั หนงั สือหนังหาไม่ร้จู กั เอามา ๖. นี่! เธอเปน็ ลูกเตา้ เหลา่ ใคร ๗. เธออาบนา้ อาบท่าหรือยัง ๘. งานใหญ่โตอาหงอาหารมีพอกินกนั หรือเปล่า ๙. เปน็ เดก็ เป็นเล็กไม่ร้จู ักเคารพผู้ใหญ่ ๑๐. สองเขอื พห่ี ลบั ใหล ลืมต่ืน ฤาพี่

354 334574 เฉลยใบงาน เรือ่ ง คาอุทาน หน่วยท่ี ๔ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๖ นิทานสารพัน รายวชิ าภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ ตอนท่ี ๑ คำช้ีแจง ให้นักเรยี นนาตวั เลขหน้าข้อความทางขวามือใสล่ งในช่องวา่ งทางซ้ายมอื ทีบ่ อกอาการ ๘. เจบ็ ปวด โอ๊ย! มดี บาดมือ ๑. ตกใจ ๓. สงสำร อนิจจา ! ไม่นา่ เลย ๒. สงสยั ๕. บอกให้รตู้ ัว นแ่ี นะ ! พวกเราฟงั ทางนี้ ๓. สงสาร ๔. โล่งใจ ๖. ประหลำดใจ โอ้โฮ ! ทาไมใหญโ่ ตขนาดนี้ ๕. บอกให้ร้ตู วั ๙. ไมพ่ อใจ ฮึ ! ทาไมมาชา้ อย่างนี้ ๖. ประหลาดใจ ๗. หงดุ หงดิ ดซู ิ ! ทาไมเปน็ เด็กดื้ออย่างน้ี ๗. หงดุ หงิด ๑. ตกใจ อุ๊ย ! มดกัด ๘. เจบ็ ปวด ๔. โลง่ ใจ เฮอ้ ! เหมอื นยกภเู ขาออกจากอก ๙. ไมพ่ อใจ ๒. สงสยั อ้าว ! ไม่ใชอ่ ยา่ งนนั้ หรือ ๑๐. ดีใจ ๑๐. ดีใจ ไชโย ! ฉันสอบผา่ นแลว้ ตอนที่ ๒ คำชี้แจง ใหน้ ักเรียนขีดเสน้ ใตค้ ำอุทำนเสริมบทในประโยคตอ่ ไปน้ี ๑. ของมันใช้ไม่ได้แลว้ อยา่ ไปเสยี ดมเสยี ดายมันเลย ๒. อยา่ ใช้จา่ ยมากนัก สตงุ้ สตางคย์ ่ิงหายากอยู่ ๓. เอะอะมะเท่ิงไปได้ ประเด๋ียวคณุ ครูดุเอาหรอก ๔. อยา่ เสยี อกเสยี ใจไปเลย ถึงคราวเคราะห์หามยามรา้ ยก็หลีกเล่ยี งไม่ได้ ๕. เรยี นอะไรกัน หนงั สือหนังหาไม่รจู้ กั เอามา ๖. นี่! เธอเปน็ ลกู เตา้ เหล่าใคร ๗. เธออาบน้าอาบทา่ หรือยัง ๘. งานใหญ่โตอาหงอาหารมีพอกินกนั หรือเปลา่ ๙. เป็นเดก็ เปน็ เลก็ ไมร่ ูจ้ ักเคารพผู้ใหญ่ ๑๐. สองเขอื พี่หลบั ใหล ลืมตน่ื ฤาพ่ี

355 334585 ใบทดสอบ เรอ่ื ง คาอทุ าน หนว่ ยที่ ๔ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๖ นิทานสารพัน รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนทาเคร่ืองหมาย X ทบั ตัวอกั ษรที่ถกู ตอ้ ง ๑. ขอ้ ใดใชค้ าอทุ านไดถ้ ูกต้อง ก. อนจิ จงั ! ทาไมสวยเหลอื เกิน ข. ห้อื หือ ! เธอรีบมาทางนเี้ รว็ ๆดว้ ยนะ ค. ไชโย ! ทมี ฟตุ บอลไทยทาไมไปไม่ถึงดวงดาว ง. โอ๊ย ! ทาไมเขาจึงได้รบั ความเจ็บปวดมากขนาดนน้ั ๒. ข้อใดใชค้ าอุทานเพื่อแสดงความราพึง ราพนั ได้ถูกต้อง ก. โอ้ว่า ! รักหนอรกั นหี้ นกั จิต บางคราวคดิ ว่าสนกุ เปน็ สขุ ี ข. เฮ้ย ! รกั หนอรกั นหี้ นกั จิต บางคราวคิดวา่ สนุกเป็นสุขี ค. เอ๊ะ ! รักหนอรักนีห้ นักจิต บางคราวคิดวา่ สนุกเปน็ สขุ ี ง. แหม ! รกั หนอรกั นี้หนักจิต บางคราวคิดวา่ สนกุ เป็นสุขี ๓. ขอ้ ใดใช้คาอุทานบอกอาการได้ถูกตอ้ ง ก. กบ เอย ทาไมจึงร้อง ข. อ้าอรณุ แอร่มระเรื่อรุจี ค. ฉนั ไม่รู้ ฉันไมช่ ้ี อะไรเลย ง. พุทโธ่ ! เขาตายเสียแลว้ หรอื ? ๔. ขอ้ ใดไมถ่ กู ตอ้ ง ก. ดูแลบา้ นช่องใหด้ ี ข. ฟา้ ผ่าเสยี งดงั เปร้ยี ง ! ค. เอ๊ะ ! ใครทาพ้นื เลอะเทอะ ง. อเุ หม่ ! น่าสงสารลกู นกตวั น้ัน ๕. ขอ้ ใดถูกต้อง ก. โอ๊ย ! ฟ้ารอ้ ง ข. ว้าย ! กอ้ ยหกลม้ ค. อ๋อ ! นา่ อิจฉาเหลือเกิน ง. คณุ พระชว่ ย ! ไมร่ อกันเลยนะ ๖. ข้อใดเปน็ กลุ่มคาท่ีทาหนา้ ท่เี หมือนคาอุทานทงั้ หมด ก. โอย๊ ตายแลว้ น่าเกลยี ดนา่ กลวั ข. พทุ โธเอ๋ย ! ใหญ่โตมโหฬาร ค. คุณพระช่วย อุ๊ยตาเถร ง. โถเวรกรรม โถสว้ มแตก

334596 356 ๗. แก้มบุม๋ รู้ว่าหนดู ีไม่พอใจ เม่อื หนูดีอุทานคาใดออกมา ขอ้ ๕ ข. ก. เอ๊ะ ! ข้อ ๑๐ ค. ข. ตายจรงิ ! ค. อ้าว ! ง. วา้ ย ! ๘. ขอ้ ใดใช้คาอุทานสอดคล้องกบั อาการของผู้พูด ก. เสยี งกลองตีดังเพล้ง ! ข. เออ ! ไม่นา่ อายสุ ้นั เลย ค. คุณพระ ! หันมานห่ี น่อย ง. หา ! มนั เป็นอยา่ งนีไ้ ด้อย่างไร ๙. คาประพันธใ์ นข้อใดมีคาอุทานเสริมบท ก. ใดใดในโลกลว้ น อนจิ จัง ข. จากมามาล่ิวล้า ลาบาง ค. ถงึ กรรมจกั อยู่ได้ ฉันใด พระเอย ง. เร่อื ยเรื่อยเรยี มคอยแก้ว คลับคล้ายเรยี มเหลยี ว ๑๐. ข้อใดไมม่ ีคาอุทานเสรมิ บท ก. ทาไมลาบากลาบนอย่างน้ี ข. ทายากทาเยน็ เหลือเกิน ค. เร่อื งหยุมหยมิ อยา่ งนี้หรือ ง. เป็นพระเปน็ เจ้าย่อมสารวม ************************* เฉลย ข้อ ๑ ง. ข้อ ๒ ก. ขอ้ ๓ ง. ข้อ ๔ ง. ข้อ ๖ ค. ข้อ ๗ ง. ขอ้ ๘ ก. ขอ้ ๙ ง.

357 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๔ เรื่อง นทิ านสารพัน แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๗ เวลา ๑ ชั่วโมง กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย เร่ือง คตอิ ุดมนิทานไทย ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ ขอบเขตเนื้อหา รายวชิ าพืน้ ฐานภาษาไทย สือ่ /แหลง่ เรียนรู้ ๑. วดี ทิ ัศนก์ าร์ตูนนิทานชาดก สรุปเนือ้ หาวรรณคดแี ละวรรณกรรม กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๒. ใบความรู้ เร่ือง นิทานชาดก จุดประสงค์การเรียนรู้ ขัน้ นา ภาระงาน/ชนิ้ งาน ดา้ นความรู้ นกั เรียนทารายงาน เรื่อง นทิ านชาดก ครูใหน้ กั เรยี นดูวีดทิ ศั น์การ์ตูนนิทานชาดก ประมาณ อธบิ ายความเปน็ มา ประเภทและ ๓ - ๕ นาที แลว้ สนทนาซักถามเกยี่ วกบั นิทานชาดกท่ี องค์ประกอบของนิทานชาดก นักเรยี นเคยไดฟ้ งั มา ดา้ นทักษะและกระบวนการ ขน้ั สอน วสเิรคุปรเานะอ้ื หห์เานน้ือทิ หาานนชิทาาดนกชไดาด้ กได้ ๑. นกั เรียนแบ่งกลมุ่ ออกเป็น ๕ กลุ่ม ศกึ ษาใบความรู้ ดา้ นคุณลกั ษณะ เร่อื ง นิทานชาดก ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ๒. มีวินยั ๒. นกั เรยี นส่งตัวแทนกลมุ่ ออกมาสรปุ ให้เพ่ือนฟัง ๓. ใฝเ่ รยี นรู้ เกย่ี วกบับคคววาามมเเปปน็ น็ มมาาปปรระะเภเภททอองงคคป์ ์ปรระะกกออบบขขอองนงนทิ ิทานาน ๔. มุ่งมัน่ ในการทางาน ชาดกและยกตตวั วั ออยยา่ า่ งงนนทิ ิทาานนชชาาดดกก“พรอ้ มทง้ั ฝกึ วเิ คราะห์ นทิ ๓าน. คชราดอู กธิบ”ายความรู้เพิม่ เติมจากการท่นี กั เรยี นศึกษา ใบ๓ค.วคามรอูรู้ธเบิร่อืายงคนวิทามานรเู้ชพาม่ิ ดเกตมิ จากการทน่ี กั เรยี นศกึ ษา ใขนคนขนนบรน้ทกัิันั้ัิกท๔คแค๔ูเสาเสารวรล.รน.นรยีราียูแนะปนุชุปนชมนลนกัาักาจรจะกัเดดเ้รูดนดรเเกยีกรรบียบกัอย่นีื นันเันนงครทคทสนีย้นกึ้นกึรนคทิลคปุลสวางวคาง้รนสา้สเวปุมชพเามพคดุาม่ิมดุ ดิม่วเรตากเเู้ตมกมิ ิมย่ีรเพู้เเวกพอ่ืกี่ยอ่ืทบั วท�ำนกราทิ ับารายานนงยทิ ชางานาานดนเชกรเาอ่ื รดงื่อกง 350 357

358 335518 การวัดและประเมินผล สง่ิ ทต่ี ้องการวดั /ประเมิน วิธกี าร เครื่องมือทีใ่ ช้ เกณฑ์ ด้านความรู้ ประเมินจากพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ๑. อธบิ ายความเปน็ มา การทางานกลุ่ม การทางานกลุม่ รอ้ ยละ ๘๐ ขึน้ ไป ประเภท และองค์ประกอบ ของนิทานชาดกได้ ด้านทกั ษะและ กระบวนการ ประเมินการนาเสนอ แบบประเมนิ การนาเสนอ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ สรปุ เนอื้ หานิทานชาดก ผลงาน ผลงาน ร้อยละ ๘๐ ขึน้ ไป ได้ แบบประเมนิ คุณลักษณะ ผ่านเกณฑ์คุณภาพ ดา้ นคุณลกั ษณะ ๑. รัก ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ประเมินคุณลกั ษณะ ระดบั ๒ ๒. มวี นิ ัย ๓. ใฝ่เรยี นรู้ ๔. มุ่งม่ันในการทางาน ๘. บันทึกผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ....................................................... ปัญหาและอปุ สรรค .................................................................................................................................................................................... ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข .............................................................................................................. ...................................................................... ลงช่อื ...................................................ผสู้ อน (.................................................................) วันท.ี่ ............เดอื น...............พ.ศ........... ๙. ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผบู้ รหิ ารหรอื ผู้ทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ............................................................................................................................. ....................................................... ลงชื่อ...................................................ผู้ตรวจ (.................................................................) วนั ท่ี.............เดอื น...............พ.ศ...........

359 335529 ใบความรู้ เร่อื ง นทิ านชาดก หนว่ ยท่ี ๔ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๖ คตอิ ดุ มนิทานไทย รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ชาดก เป็นเร่ืองท่ีมีมาก่อนพุทธกาล เป็นเร่ืองท่ีเกี่ยวกับพระโพธิสัตว์ หรือ เป็นชีวประวัติในชาติก่อนของ พระพุทธเจา้ คอื สมยั ที่พระองคเ์ ป็นพระโพธิสตั วบ์ าเพ็ญบารมีเพื่อตรสั รู้นั้นเอง นิทานชาดก ชาดก เป็นเร่ืองเล่าคล้ายนิทาน บางครั้งจึงเรียกว่า นิทานชาดก แต่มีความหมายแตกต่างจากนิทานท่ี เลา่ กันทั่วไป คอื ชาดกเปน็ เร่อื งที่เกิดขน้ึ จริง แต่นิทานเป็นเร่อื งท่แี ต่งขน้ึ ชาดกท่ีทรงเล่าน้ันมีนับพันเรื่อง หมายถึง พระองค์ได้เสวยพระชาติเป็นพระโพธิสัตว์นับพันชาติ โดยทรง เกิดเป็นมนุษย์บ้าง เป็นสัตว์บ้าง แต่ท่ีรู้จักกันโดยทั่วไป คือ ๑๐ ชาติสุดท้ายที่เรียกว่า ทศชาติชาดก และ ชาติสุดท้ายทีส่ ดุ ท่ที รงเกดิ เปน็ พระเวสสันดร จงึ เรียกเรอื่ งพระเวสสันดรนวี้ า่ เวสสันดรชาดก ประเภทของชาดก ชาดกมี ๒ ประเภท คือ ๑. นิบาตชาดก เป็นชาดกในพระไตรปิฎกมี ๕๐๐ เร่อื ง แบ่งออกเป็นหมวด ๆ ตามจานวนคาถา นับต้ังแต่ ๑ คาถาถึง ๘๐ คาถา ชาดกที่มี ๑ คาถาเรยี กวา่ เอกนิบาตชาดก ๒ คาถาเรยี กว่า ทุกนิบาตชาดก ๓ คาถาเรียกว่า ตักนิบาตชาดก ๔ คาถาเรียกว่า จตุคนิบาตชาดก ๕ คาถาเรียกว่า ปัญจกนิบาตชาดก ชาดกท่ีมีเกิน ๘๐ คาถา ขึน้ ไปเรยี กว่า มหานิบาตชาดก ซึง่ มี ๑๐ เรอื่ ง เรียก ทศชาติ หรือ พระเจา้ สิบชาติ ๒. ปญั ญาสชาติชาดก เป็นชาดกที่แต่งข้ึนจากนิทานพ้ืนเมืองไมม่ ใี นพระไตรปฎิ ก หรอื เรียกว่า ชาดกนบิ าต มี ๕๐ เร่ือง พระภิกษุชาวเชียงใหม่แต่งข้ึนเม่ือประมาณ พ.ศ. ๒๐๐๐-๒๒๐๐ เป็นภาษามคธ โดยเลียนแบบนิบาต ชาดก ครั้นเม่ือ พ.ศ. ๒๔๔๓-๒๔๔๘ พระบรมวงศ์เธอกรมพระสมมตอมรพันธ์ ดารงตาแหน่งองค์สภานายก หอพระสมดุ สาหรบั พระนคร ไดท้ รงแปลเป็นภาษาไทย เร่ืองปญั ญสชาดกจงึ แพร่หลาย องคป์ ระกอบของชาดก ชาดกทุกเรอื่ งจะมีองคป์ ระกอบ ๓ ประเภท คือ ๑. ปรารภเร่ือง คือบทนาเรื่องหรือ อุบัติเหตุ จะกล่าวถึงมูลเหตุหรือที่มาของชาดกเร่ืองนั้น เช่น มหาเวสสันดกชาดก ๒. อดีตนิทาน หรือ ชาดก หมายถึงเรื่องราวนิทานท่พี ระพทุ ธองคต์ รสั เลา่ ๓. ประชมุ ชาดก ประมวลชาดก เป็นเนื้อความสดุ ท้ายของชาดกกล่าวถงึ บุคคลในชาดก คือผู้ใดท่ีกลับชาติ เปน็ ใครบ้างในปัจจุบนั

335630 360 ทศบารมี ทศบารมี คอื บารมีทีพ่ ระโพธสิ ัตวไ์ ดท้ รงบาเพญ็ ๑๐ ประการในชาติตา่ ง ๆ คือ ๑. พระเตมีย์ บาเพ็ญ เมตตาบารมี ๒. พระมหาชนก บาเพ็ญ วริ ิยะบารมี ๓. พระสวุ รรณสาม บาเพญ็ เมตตาบารมี ๔. พระเนมรี าช บาเพ็ญ อธษิ ฐานบารมี ๕. พระมโหสถ บาเพญ็ ปัญญาบารมี ๖. พระภรู ิทตั บาเพญ็ ศีลบารมี ๗. พระจนั ทกุมาร บาเพญ็ ขันติบารมี ๘. พระนารทะ บาเพญ็ อุเบกขาบารมี ๙. พระวิทูร บาเพญ็ สัจจะบารมี ๑๐. พระเวสสันดร บาเพ็ญ ทานบารมี

361 หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ ๔ เรือ่ ง นทิ านสารพัน แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๘ เวลา ๑ ชวั่ โมง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง นทิ านพน้ื บ้าน ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ขอบเขตเน้ือหา สือ่ /แหล่งเรียนรู้ รายวชิ าพื้นฐานภาษาไทย ๑.ห้องสมดุ หลักการสรุปเนอื้ หาวรรณคดีและวรรณกรรม กจิ กรรมการเรียนรู้ ๒.อนิ เทอร์เน็ต จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ขั้นนา ภาระงาน/ชนิ้ งาน ด้านความรู้ สมดุ เลม่ เล็ก “นิทานพ้ืนบา้ น สืบสาน ๑. ครูสนทนากับนกั เรยี นเกย่ี วกบั นทิ านพืน้ บ้าน และ รักษ์ไทย” ๑. มีความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกบั ในเร่ืองนิทาน ยกตวั อย่างช่อื นิทาน ทีน่ ักเรยี นเคยฟงั หรืออา่ น พืน้ บา้ นภาคตา่ ง ๆ ๒. ครตู ้ังคาถามเก่ียวกับนิทานพนื้ บ้าน เช่น นทิ านเรื่อง ๒. อธบิ ายสาระสาคัญเกีย่ วกับนทิ านพ้นื บ้านได้ ปลาบ่ทู อง เกาะหนูเกาะแมว อษุ าบารส เชยี งดาว เปน็ ดา้ น๓ท. สักรษปุ ะนกิทระาบนวพน้ื กฐานรตามภาคต่าง ๆ ได้ นิทานท่ีเลา่ สืบต่อกันมาทางภูมิภาคใด เปน็ ตน้ ด้า๑น. ทวักเิ คษระากะรหะน์ บิทวานนกพา้ืนรฐานตามภาคต่าง ๆ ได้ ขน้ั สอน ๒๑. วสเิรคุปรนาิทะหาน์ พิท้ืนานฐาพน้นื ตฐามนภตาคมตภ่าางคๆตา่ ไงดๆ้ ได้ ดา้ นคุณลกั ษณะ ๑. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น ๕ กลุ่มจบั ฉลากเลอื ก ศกึ ษานิทานพนื้ บา้ นภาคต่าง ๆ ดังนี้ ๑. มวี นิ ัย ๒. ใฝเ่ รยี นรู้ กลมุ่ ท่ี ๑ นิทานภาคเหนือ ๓. มุ่งมั่นในการท�ำางาน กลมุ่ ท่ี ๒ นทิ านภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ๔. รักความเปน็ ไทย กลุ่มท่ี ๓ นิทานภาคกลาง กล่มุ ที่ ๔ นทิ านภาคตะวันออก กลุ่มที่ ๕ นิทานภาคใต้ ๒. นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ศกึ ษาคน้ คว้าข้อมลู เก่ยี วกบั นิทานพ้ืนบ้านภาคทไี่ ดร้ บั มอบหมายจากห้องสมุดหรือสือ่ อนิ เทอร์เนต็ ในหัวข้อต่อไปน้ี ๑) ลกั ษณะเฉพาะของนิทานพืน้ บา้ นภาคนน้ั ๆ ๒) ชือ่ เรอื่ งนิทานทเ่ี ปน็ ทรี่ ู้จักแพร่หลาย ๓) ความสาคัญของนิทานพ้นื บา้ น ๔) เลอื กนทิ านที่กลุ่มสนใจทส่ี ุด ๑ เร่อื ง 335641

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี ๔ เรอื่ ง นทิ านสารพนั แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ ๘ 362 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย เรื่อง นิทานพ้นื บ้าน เวลา ๑ ชวั่ โมง ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ รายวิชาพ้ืนฐานภาษาไทย สรปุ ประเด็นการศึกษา ดังน้ี ประเดน็ ที่ ๑ ชือ่ เร่ือง ประเภทของนิทาน ประเดน็ ท่ี ๒ เนอื้ หาโดยสรุป ประเด็นท่ี ๓ ข้อคิดทีไ่ ดจ้ ากเร่อื ง บันทึกผลการศึกษาลงในแบบบนั ทึก ๓. นักเรยี นแตล่ ะกล่มุ สง่ ตวั แทนนาเสนอผลการศกึ ษา หนา้ ช้นั เรียน ๔. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ จัดเตรยี มอุปกรณ์เพ่ือจดั ทาสมดุ เล่มเลก็ “นทิ านพน้ื บ้าน สืบสานรกั ษ์ไทย” ในช่วั โมงถัดไป ขั้นสรุป ๑. ครแู ละนักเรียนซักถามและร่วมแสดงความคิดเห็น เสนอแนะขอ้ ควรปรับปรงุ แก้ไข ๒. นกั เรียนจดบนั ทกึ ข้อมลู ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าลง สมุด 355

363 336536 การวัดและประเมนิ ผล ส่ิงทต่ี ้องการวดั /ประเมิน วธิ ีการ เครื่องมือทใี่ ช้ เกณฑ์ ดา้ นความรู้ ๑. มคี วามร้คู วามเขา้ ใจ ประเมินพฤติกรรมการ แบบประเมิน ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ เก่ยี วกบั ในเร่ืองนิทาน ทางานกล่มุ พฤติกรรมการทางานกลุ่ม รอ้ ยละ ๘๐ ขึ้นไป พนื้ บ้านภาคตา่ ง ๆ ๒. อธบิ ายสาระสาคญั เกย่ี วกบั นทิ านพ้นื บ้านได้ ดา้ นทกั ษะและ กระบวนการ ประเมนิ จากการนาเสนอ แบบประเมนิ การ ผ่านเกณฑ์การประเมิน ๑. วเิ คราะหน์ ิทานพืน้ บา้ น ผลงานการศึกษาหน้าช้นั นาเสนอผลงาน รอ้ ยละ ๘๐ ขน้ึ ไป ตามภาคต่าง ๆ ได้ เรียน ๒. สรปุ นทิ านพน้ื บ้านตาม ภาคตา่ ง ๆ ได้ ด้านคุณลกั ษณะ ๑. มีวินยั ประเมินคุณลักษณะ แบบประเมนิ คุณลักษณะ ผ่านเกณฑ์คณุ ภาพ ๒. ใฝเ่ รยี นรู้ ระดบั ๒ ๓. มงุ่ มัน่ ในการทางาน ๔. รักความเป็นไทย ๘. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ....................................................... ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................................... ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข .............................................................................................................. ...................................................................... ลงช่ือ...................................................ผสู้ อน (.................................................................) วันท.่ี ............เดือน...............พ.ศ........... ๙. ความคดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะของผบู้ รหิ ารหรือผู้ทีไ่ ด้รับมอบหมาย ............................................................................................................................. ....................................................... ลงชื่อ...................................................ผตู้ รวจ (.................................................................) วนั ท่ี.............เดือน...............พ.ศ..........

335674 364 แบบประเมินการนาเสนอผลงาน คาชี้แจง : ให้ ผู้สอน ประเมินการนาเสนอผลงานของนกั เรียนตามรายการที่กาหนด แลว้ ขีด ✓ ลงในช่อง ทีต่ รงกับระดบั คะแนน ลาดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดับคะแนน ๔๓๒๑ ๑ เนือ้ หาละเอยี ดชัดเจน ๒ ความถูกต้องของเนื้อหา ๓ ภาษาท่ใี ช้เขา้ ใจงา่ ย ๔ ประโยชนท์ ไี่ ดจ้ ากการนาเสนอ ๕ วธิ ีการนาเสนอผลงาน รวม เกณฑ์การให้คะแนน ลงชื่อ...................................................ผปู้ ระเมิน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสมบรู ณช์ ดั เจน ............../.................../................ ผลงานหรือพฤติกรรมมขี ้อบกพรอ่ งบางส่วน ให้ ๔ คะแนน ให้ ๓ คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมมีข้อบกพร่องเป็นส่วนใหญ่ ให้ ๒ คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมมขี ้อบกพร่องมาก ให้ ๑ คะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ระดบั คุณภาพ ชว่ งคะแนน ดีมาก ๑๘ – ๒๐ ดี พอใช้ ๑๔ – ๑๗ ปรบั ปรุง ๑๐ – ๑๓ ต่ากว่า ๑๐

365 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๔ เรื่อง นิทานสารพัน แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๙ เวลา ๑ ชวั่ โมง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรือ่ ง คณุ คา่ ทวีสรรค์รกั ษไ์ ทย ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๑ ขอบเขตเนื้อหา รายวชิ าพื้นฐานภาษาไทย สอื่ /แหลง่ เรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ ๑. หนังสือวรรณคดวี ิจกั ษ์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ หลกั การวิเคราะหค์ ุณคา่ และข้อคดิ วรรณคดแี ละ ขน้ั นา ๒. ใบงาน เรอ่ื ง การวิเคราะห์นิทานพน้ื บา้ น วรรณกรรม ๑. ครูตงั้ คาถามวา่ นทิ านพื้นบ้านมีความสาคัญ ๓. ใบงาน เรอื่ ง ฝกึ คิด พชิ ิตคาตอบ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ อย่างไร ภาระงาน/ชิน้ งาน ดา้ นความรู้ ๒. ครูให้นักเรยี นยกตวั อย่างนทิ านพื้นบ้านท่ี สมุดภาพนทิ านพ้นื บ้าน นกั เรยี นรจู้ ักมาคนละหนึง่ เร่ือง แลว้ พูดสรปุ ยอ่ ๆ วเิ คราะหค์ ณุ ค่าจากนทิ านพื้นบ้านได้ เกย่ี วกบั นิทานพนื้ บ้าน ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ขั้นสอน ๑. นกั เรยี นวเิ คราะหค์ ุณคา่ และความสาคญั ของ ๑. วเิ คราะหป์ ระเภทของนิทานทว่ั ไปกบั นิทาน นิทานพน้ื บา้ นจากเร่ืองนทิ านพื้นบา้ น จากหนังสือ พ้ืนบา้ นได้ วรรณคดีวิจักษ์ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๑ ๒. นกั เรยี นแบ่งกลมุ่ วิเคราะห์ความแตกตา่ ง ๒. วเิ คราะหค์ ุณค่าและข้อคดิ ทปี่ รากฏในนิทาน ระหว่างนิทานพนื้ บา้ นกบั นิทานทัว่ ไป พ้นื บ้านได้ ๓. นกั เรียนวเิ คราะหค์ ุณค่านิทานพนื้ บา้ นจาก ด้านคุณลักษณะ ใบงานเรอ่ื ง การวิเคราะห์นิทานพ้ืนบา้ น ๔. ตวั แทนกล่มุ นาเสนอผลงานการวิเคราะห์ ๑. มีวินัย ๕. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั สรุปผลการนาเสนอ ๒. ใฝ่เรยี นรู้ ๖. นกั เรยี นทาใบงานเรื่อง ฝกึ คดิ พชิ ิตคาตอบ ๓. มุ่งมั่นในการทางาน ขน้ั สรุป ๔. รกั ความเป็นไทย ครูสรุปลกั ษณะสาคัญของนิทานพืน้ บา้ น ประโยชนท์ ่ีได้รบั จากนัน้ มอบหมายใหน้ กั เรยี น จัดทาสมดุ นิทานพ้ืนบา้ นพรอ้ มวาดภาพประกอบ 335685

366 335696 การวัดและประเมินผล สิ่งทต่ี ้องการวดั /ประเมิน วธิ ีการ เครอ่ื งมอื ทีใ่ ช้ เกณฑ์ ดา้ นความรู้ นาเสนอผลงาน วิเคราะห์คุณค่าจากนิทาน แบบนาเสนอผลงาน ผา่ นเกณฑ์การประเมิน พน้ื บา้ นได้ รอ้ ยละ ๘๐ ขึ้นไป ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ๑. ใบงานเรอ่ื ง ๑. วเิ คราะหป์ ระเภทของ ๑. ตรวจใบงาน การวิเคราะหน์ ิทาน ผ่านเกณฑ์การประเมิน นทิ านท่วั ไปกับนทิ าน ๒. ประเมินผลงาน สมุดภาพ พนื้ บ้าน ร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป พน้ื บา้ น นิทานพื้นบา้ น ๒. ใบงานเรอื่ ง ฝึกคิ ผ่านเกณฑ์คณุ ภาพ ๒. วิเคราะห์คุณค่าและ พิชติ คาตอบ ระดับ ๒ ข้อคตทิ ี่ปรากฏในนิทาน ๓. แบบประเมินผล พ้ืนบ้านได้ งานนกั เรียน แบบประเมนิ ดา้ นคณุ ลกั ษณะ ประเมนิ คุณลกั ษณะ คณุ ลกั ษณะ ๑. มวี ินัย ๒. ใฝเ่ รียนรู้ ๓. มุ่งมนั่ ในการทางาน ๔. รักความเป็นไทย ๘. บนั ทกึ ผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ....................................................... ปญั หาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................................... ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข .............................................................................................................. ...................................................................... ลงช่ือ...................................................ผสู้ อน (.................................................................) วนั ท่ี.............เดอื น...............พ.ศ........... ๙. ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผ้บู รหิ ารหรอื ผู้ท่ไี ด้รับมอบหมาย ............................................................................................................................. ....................................................... ลงช่ือ...................................................ผ้ตู รวจ (.................................................................) วันท่.ี ............เดอื น...............พ.ศ...........

367 336670 ใบงานเร่ือง การวเิ คราะหน์ ิทานพน้ื บ้าน หน่วยที่ ๔ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๓ เร่ือง คณุ คา่ ทวสี รรค์รักษไ์ ทย รายวชิ าภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ นทิ านพ้นื บา้ นเรื่อง………………………………………………………………………………. เน้ือหา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ภาพสังคม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. วรรณศิลป์ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ข้อคิด คตสิ อนใจ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

368 336681 ใบงานเรอ่ื ง ฝึกคิด พิชิตคาตอบ หน่วยท่ี ๔ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓ เรอื่ ง คุณค่าทวสี รรค์รักษ์ไทย รายวชิ าภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ ตอนที่ ๑ ให้นกั เรียนระบุวา่ ลักษณะนทิ านพ้ืนบ้านหรอื นิทานพน้ื บ้านเร่อื งตอ่ ไปน้ีเปน็ ของภาคใด ...............................๑. เนื้อเรอื่ งกลา่ วถงึ ความแหง้ แล้ง การขอฝนและบทบาทของแถน ...............................๒. เนือ้ เรอื่ งเกย่ี วกับแมน่ า้ ลาคลองหรือตานานของสถานทีส่ าคัญ ...............................๓. เนื้อเรอ่ื งเก่ียวกับพระพุทธเจ้าหรือความเป็นมาของสถานทีท่ ่ีเกย่ี วกบั พระพุทธเจ้า ...............................๔. เนอื้ เรอื่ งเก่ียวกับทม่ี าของเกาะและสิ่งท่ีเก่ียวกับทะเล ...............................๕. เนอ้ื เรอ่ื งเกย่ี วกับทม่ี าของภูเขา เกาะ และชายหาด ................................๖. เนือ้ เร่อื งเกี่ยวกบั ทม่ี าของช่ือเมือง การสรา้ งพระธาตุเจดีย์ ................................๗. เรอื่ งพญาคันคาก ................................๘. เรื่องพญากงพญาพาน .................................๙. เรื่องไกรทอง ................................๑๐. เรอ่ื งตามอ่ งลา่ ย ................................๑๑. เรื่องเจ้าแม่ลิม้ กอเหน่ียว ................................๑๒. เรือ่ งเกาะหนู เกาะแมว ................................๑๓. เรอ่ื งความเป็นมาของช่ือคลองสองพ่นี อ้ งและบ้านแม่หม้าย ................................๑๔. เรอื่ งกา่ กาดา ................................๑๕. เรอื่ งสังข์ทอง ตอนที่ ๒ จากนิทานพ้ืนบา้ นท่ีนกั เรียนเลอื กอา่ นจงเขียนอธิบายตามประเดน็ ต่อไปน้ี ๑. นิทานพืน้ บา้ นท่ีนกั เรยี นอ่านมชี อ่ื ว่าอะไร ............................................................................................................................. ........................................ ๒. จงกล่าวถงึ เนอ้ื หาโดยสรุปของนิทาน ............................................................................................................................. ....................................... ..................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ........................................ ๓. ตวั เอกของเรื่องมบี ุคลิกอย่างไร ............................................................................................................................. ....................................... ๔. ขอ้ คิดที่ไดจ้ ากนิทาน คืออะไร ............................................................................................................................. ........................................

369 336629 เฉลยใบงานเรอ่ื ง ฝึกคิด พิชิตคาตอบ หน่วยที่ ๔ แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ ๓ เร่อื ง คณุ ค่าทวีสรรคร์ กั ษไ์ ทย รายวิชาภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ ตอนท่ี ๑ ใหน กั เรียนระบวุ าลกั ษณะนทิ านพนื้ บา นหรือนทิ านพืน้ บา นเรื่องตอไปน้เี ปนของภาคใด ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ๑. เนอ้ื เรอื่ งกลา วถงึ ความแหง แลง การขอฝนและบทบาทของแถน ภาคกลาง ๒. เน้อื เร่ืองเกีย่ วกบั แมน่ ้าลาคลองหรือตานานของสถานที่สาคญั ภาคเหนือ ๓. เนื้อเร่อื งเกี่ยวกับพระพุทธเจ้าหรอื ความเปน็ มาของสถานท่ีที่เก่ียวกับพระพุทธเจ้า ภาคใต้ ๔. เนื้อเร่ืองเกี่ยวกบั ทมี่ าของเกาะและสิ่งทีเ่ กยี่ วกับทะเล ภาคตะวนั ออก ๕. เนอ้ื เรือ่ งเกี่ยวกับทม่ี าของภเู ขา เกาะ และชายหาด ภาคกลาง ๖. เนื้อเรอื่ งเกีย่ วกบั ทม่ี าของชอ่ื เมอื ง การสร้างพระธาตเุ จดีย์ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ๗. เรื่องพญาคนั คาก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๘. เร่ืองพญากงพญาพาน ภาคกลาง ๙. เร่ืองไกรทอง ภาคตะวนั ออก ๑๐. เร่อื งตาม่องลา่ ย ภาคใต้ ๑๑. เรอื่ งเจา้ แม่ล้มิ กอเหนี่ยว ภาคตะวันออก ๑๒. เรือ่ งเกาะหนู เกาะแมว ภาคกลาง ๑๓. เรอื่ งความเป็นมาของชื่อคลองสองพนี่ อ้ งและบ้านแม่หมา้ ย ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ๑๔. เรื่องกา่ํ กาดํา ภาคกลาง ๑๕. เรื่องสงั ข์ทอง ตอนท่ี ๒ จากนิทานพืน้ บ้านที่นกั เรยี นเลอื กอา่ นจงเขียนอธิบายตามประเด็นต่อไปน้ี แนวทางการใหค้ ะแนน นกั เรียนตอบไดถ้ ูกต้อง ชัดเจน ขอ้ ละ ๑ คะแนน

370 370 แผนการแจผัดนกกาารรเรจยี ดั นกราทู้ รเี่ ร๑ีย๐นร้ทู ี่ ๑๐ หนว่ ยกาหรนเรว่ ยี ยนกราูท้ รเี่ ร๔ียนเรอืู่้ทง่ี ๔นทิ เราอื่นงสานริทพานั นสารพนั เร่อื ง อา่ เนร่ือสงรุปอ่าคนดิ สวริเคุปรคาะิดหว์เิ คราะห์ เวลา ๑ เชวั่วลโาม๑ง ชวั่ โมง กลุ่มสารกะลกมุ่าสรเารรียะนกราู้ภราเรษยี านไรทู้ภยาษาไทย รายวิชารพาืน้ ยฐวาิชนาภพา้ืนษฐาาไนทภยาษาไทย ชน้ั มัธยมชศ้ันึกมษัธายปมีทศ่ีึก๑ษาปที ่ี ๑ ขอบเขตขเนอือ้บหเขาตเนอ้ื หา กจิ กรรมกกจิ ากรรเรรียมนกราู้ รเรียนรู้ สอ่ื /แหลส่งอ่ืเร/ียแนหรลู้ ง่ เรยี นรู้ หลกั การหวลเิ คกั รกาาะรหว์คเิ คุณรคา่าะแหล์คะุณขค้อา่คแดิ ลวะรขร้อณคคิดดวี รรณข้นัคดนีา ขน้ั นา ๑. หนังส๑ือ.เรหียนนังรสาอื ยเรวยีิชนาพรานื้ ยฐวาชินาภพา้นื ษฐาาไนทภยาษาไทย และวรรณแลกะรวรรมรณกรรม ครูนาภาคพรเูนงาาะภตาัวพลเะงาคะรตเอัวกละเรคื่อรงเอสกงั ขเร์ทื่อองงสมงั าขใท์ หอ้นงักมเรายี ใหนน้ดูักเรยี นวรดรู ณคดวีวริจรักณษค์ ดีวชิจน้ั ักมษธั ์ยมชศน้ั ึกมษัธายปมีทศี่ กึ๑ษาปีที่ ๑ จุดประสจงุดคปก์ ราะรสเรงยี คนก์ ราู้ รเรยี นรู้ แลว้ สนททแนนลา้วาซสซักนักถทถาานมมาเกซเกี่ยกั ี่ยวถกวาบักมับเนกเยี่้ือนวเื้อรกอื่เับรงื่อเนคงื้อวคเารวม่อื าเงปม็นคเปมว็นามขมเอาปงข็นเอรมอื่งาเงขรื่คอรงเู รื่อง๒ค.รใู บงาน๒.เรใบื่องากนาเรรว่ือเิ คงรกาาะรหว์นิเคทิ ราานะห์นทิ าน ด้านควาดม้ารนู้ ความรู้ คอรภูอปิ ภริปายรอเาสภยรปิ เิมสรขรา้อมิยมเสลู รใิมนขร้อายมลู ะในเอรยี าดยละเอยี ด มีความรมู้เกีค่ียววากมบั รนูเ้ กิท่ียาวนกพับ้นื บทิ ้านเพรอื่้นงบสา้ งั นขเ์ทรอื่ งสงั ขข์ทน้ั อสงอนขั้นสอน ภาระงานภ/าชรนิ้ะงาน/ชิน้ งาน ดา้ นทกั ษดะ้ากนรทะักบษวะนกกราะรบวนการ ๑. สงั ข์ท๑อ.งสนังบขเ์ทปอน็ งนนิทบั าเนปพ็น้ืนบิท้านทพีม่ ้ืนีคบนา้ รนู้จทักม่ี มคี านกรทูจ้ ่ีสักุดมเรา่ือกงทส่ี ดุ เรอ่ื๑ง. แผนภ๑า.พแคผวนาภมาคพิดคเกว่ยีามวกคบัดิ เก่ยี วกบั ๑. วิเครา๑ะ.หว์ เิ แคยรกาะแหยะ์ แปยรกะแเภยทะปขรอะงนเภิททาขนองนิทาหนนึง่ ครูใหหนน้ ง่ึ ักคเรรียใู หนน้ทักุ เครนยี ศนกึทษุกาคเนรื่อศงกึ สษังาขเ์ทรือ่ งสจังาขกท์หอนงั จสาอื กเรหียนนังสือเรนียทินานพืน้ บทิ ้านเพร่ือ้นงบสา้ งั นขเ์ทรื่องสังขท์ อง ทว่ั ไป นิทา่ัวนไปชานดทิ กานทิชาดนกพน้ื บิทา้ นไพดื้น้ บ้านได้ วรรณคดวีวรจิ รกัณษคแ์ ดลวี ว้ จิ ตกั อษบแ์ คลา้วถตาอมบคคราู ถามครู ๒. ตารา๒งว.ิเตคารราาะงหว์ริเคะหราวะา่ หงน์ระิทหานว่าทงัว่ นไิทปานทั่วไป ๒. สามา๒รถ. นสามขา้อรคถิดนคาขต้อสิ คอิดนใคจตไปิสปอนรบัใจใชไปใ้ นปรับใช้ใ๒น. ครนู า๒น.ักคเรยีูนนานสนักทเรนียานถสงึ นขทอ้ นคาิดถจงึาขก้อนคิทิดาจนาพก้นื บิท้านพเรนื้ อื่ บง้าน เร่อืนงิทานชานดิทกานทิชาดนกพื้นบทิ ้านพืน้ บ้าน ชีวิตประชจีวาติวันปไรดะ้จาวันได้ สงั ขท์ องสทงัาขงท์ภอาคงทกาลงาภงาภคากคลใาตง้ แภลาะคภใตาค้ แอลื่นะภๆาสค่วอนืน่ ใหๆญสม่ ่วุ่งนใใหห้ ญ่มุ่งให้ ด้านคุณดล้าักนษคณุณะลกั ษณะ ขอ้ คิดในขทอ้ าคนิดอใงนเดทียาวนกอันงเดนียักวเรกียนั นนยกั ตเรัวียอนยย่ากงนตัวิทอายน่าพงนื้ บิทา้ นเพร่ือ้นงบ้านเรอ่ื ง ๑. มวี ินยั ๑. มีวินยั อืน่ ๆ แลอ้วนื่จดๆบแันลทว้ กึจลดงบสนั มทุดกึ ลงสมุด ๒. ใฝเ่ รีย๒น.รใู้ ฝเ่ รยี นรู้ ๓. นักเร๓ยี น. นทักาใเบรยีงนานทาเรใบ่อื งากนาเรรว่ือิเคงรกาาะรหวน์ เิ คทิ ราานะห์นทิ าน ๓. มงุ่ ม่นั ๓ใ.นมกุ่งามรทนั่ าในงากนารทางาน ๔. ครใู ห๔้น.ักคเรรยี ใู หน้นวเิักคเราียะนหวเ์ ิเปครยีาบะหเทเ์ ปียรบียรบะหเทวีย่าบงนระทิ หานวา่ทงว่ั นไทิปานท่ัวไป ๔. รักคว๔า.มรเปัก็นคไวทายมเปน็ ไทย นิทานชานดทิ กานิทชาดนกพนื้ บทิ ้านพค้นืรมูบอ้านบหคมรามู ยองบาหนมใหาน้ยักงาเรนียใหน้นจดักทเรายี นจดั ทา แผนภาพแคผวนาภมาคพิดคเวราื่อมงคสิดงั ขเร์ทอื่ องงสงั ข์ทอง ขัน้ สรุป ข้นั สรุป ครแู ละนคักรเรแู ยีลนะนรว่กั มเรกียันนสรรว่ ุปมลกักนั ษสณรปุะนลักทิ ษานณพะ้ืนบิท้านพคื้นุณบคา้ ่าน คุณค่า ข้อคิดขอขง้อนคทิ ิดาขนอพง้นื บทิ า้ นแพลื้นะบนา้ านไปแลปะรนบั าใชไปใ้ นปชรีวับติ ใชป้ใรนะชจวีาิตวันประจาวนั 370 363 370

337641 371 การวดั และประเมินผล สง่ิ ท่ีต้องการวดั /ประเมนิ วธิ กี าร เคร่อื งมอื ทใ่ี ช้ เกณฑ์ ด้านความรู้ สังเกตพฤตกิ รรมการเรียน มีความรเู้ ก่ยี วกับนทิ านพ้นื บา้ น รายบุคคล แบบสังเกต ผ่านเกณฑ์การประเมิน เรอื่ ง สงั ข์ทอง พฤติกรรมการเรยี น ร้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป รายบคุ คล ด้านทกั ษะกระบวนการ ๑. วิเคราะห์ แยกแยะ ๑. ตรวจใบงาน ๑.ใบงาน เร่อื ง ผ่านเกณฑ์การประเมิน ประเภทของนทิ านท่ัวไป นทิ าน ๒. ประเมินแผนภาพ การวิเคราะหน์ ิทาน รอ้ ยละ ๘๐ ขึน้ ไป ชาดก นิทานพ้นื บ้าน ความคิด ๑. แบบประเมนิ ๒. สามารถนาข้อคดิ คติ ความสามารถในการ สอนใจไปปรบั ใชใ้ น กจดัารทจาดั แทผนำ�แภผานพภาพ ชวี ติ ประจาวันได้ ความคดิ ด้านคณุ ลักษณะ ๑. มีวนิ ยั ประเมินคุณลกั ษณะ แบบประเมิน ผา่ นเกณฑ์คุณภาพ ๒. ใฝ่เรียนรู้ คณุ ลกั ษณะ ระดบั ๒ ๓. มุ่งม่นั ในการทางาน ๔. รักความเปน็ ไทย ๘. บนั ทึกผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ....................................................... ปัญหาและอปุ สรรค ........................................................................................................................................................................... ......... ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. ....................................................... ลงชอื่ ...................................................ผสู้ อน (.................................................................) วันท.่ี ............เดอื น...............พ.ศ........... ๙. ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะของผบู้ รหิ ารหรอื ผู้ที่ไดร้ ับมอบหมาย .................................................................................................................................................................................... ลงช่ือ...................................................ผู้ตรวจ (.................................................................) วันที่.............เดือน...............พ.ศ..........

372 337625 ใบงานเรื่อง การวเิ คราะห์นทิ าน หน่วยที่ ๔ แผนใกบางราจนัดกเราื่อรงเรกยี านรรวทู้ ิเคี่ ๑ร๐าะเหร์นือ่ ิทงาอน่าน สรุป วิเคราะห์ รายวิชาภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ประเด็น ประเภทนทิ าน/เร่อื ง นทิ านพื้นบา้ น/เรื่อง ความเปน็ มา นิทานทั่วไป/เรอ่ื ง นทิ านชาดก/เรือ่ ง ……………………………………… ……………………………………… …………………………………. ……………………………………… ……………………………………… …………………………………. ……………………………………… ……………………………………… ………………………………… ……………………………………… ……………………………………… …………………………………. ……………………………………… ……………………………………… …………………………………. ……………………………………… ……………………………………… ………………………………… เน้อื เรือ่ ง ……………………………………… ……………………………………… …………………………………. ……………………………………… ……………………………………… …………………………………. ……………………………………… ……………………………………… ………………………………… ……………………………………… ……………………………………… …………………………………. ……………………………………… ……………………………………… …………………………………. ……………………………………… ……………………………………… ………………………………… ข้อคิดคติสอนใจ ……………………………………… ……………………………………… …………………………………. ……………………………………… ……………………………………… …………………………………. ………………………………………… ……………………………………… ………………………………… ……………………………………… ……………………………………… …………………………………. ……………………………………… ……………………………………… …………………………………. ……………………………………… ……………………………………… ………………………………… การนาไปประยกุ ต์ใช้ ……………………………………… ……………………………………… …………………………………. ในการดาเนนิ ชวี ติ ……………………………………… ……………………………………… …………………………………. ……………………………………… ………………………………… ……………………………………… ……………………………………… …………………………………. ……………………………………… ……………………………………… …………………………………. ……………………………………… …………………………………… ………………………………… ………………………………………

373 หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๔ เร่อื ง นทิ านสารพนั แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๑๑ เวลา ๑ ชวั่ โมง กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย เรื่อง สืบเสาะรู้หลกั การ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ขอบเขตเน้ือหา รายวิชาพนื้ ฐานภาษาไทย สอ่ื /แหล่งเรยี นรู้ ๑. ความหมายการย่อความ ๑. งานเขียน เร่ือง เพราะผืนแผน่ ดินไทย…จึงทา ๒. หลักการเขยี นย่อความ กจิ กรรมการเรียนรู้ ใหม้ วี ันน้ี จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ขนั้ นา ๒. ใบความรู้ เรือ่ ง การย่อความ ดา้ นความรู้ ครูนางานเขยี นเรื่อง เพราะผืนแผ่นดินไทย…จงึ ๓. งานเขียน เร่อื ง ความจนของประหยดั มีความร้คู วามเข้าใจหลักการเขียนย่อความ ทาใหม้ วี ันน้ี ให้นักเรยี นอา่ น แล้วสนทนาซกั ถาม ภาระงาน/ชิ้นงาน ด้านทักษะกระบวนการ นกั เรยี น วา่ ถ้าเราจะทาใหเ้ รื่องนมี้ ีใจความสั้นลง ครูมอบหมายให้นักเรียนจดบนั ทึก เขยี นยอ่ ความจากเรื่องที่อ่านและฟังได้ แตเ่ น้อื หายงั ส่ือความคงเดมิ เราจะทาอยา่ งไร ดา้ นคุณลกั ษณะ ข้นั สอน ๑. มวี นิ ยั ๑. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น ๔ กล่มุ ศกึ ษา ๒. ใฝ่เรียนรู้ ใบความรู้ เร่ือง การยอ่ ความ จากนน้ั ครูให้ ๓. ม่งุ มัน่ ในการทางาน นกั เรยี นฝึกยอ่ ความ จากเร่ืองความจนของ ๔. มมี ารยาทในการเขียน ประหยดั นักเรยี นฝึกย่อความโดยมคี าสาคญั ดังน้ี ๑) ใคร ทาอะไร ท่ีไหน อย่างไร ๒) ใจความสาคัญของเรื่องคือข้อความใด นักเรียนตอบคาถามแลว้ จดบันทึกลงสมดุ ๒. ครตู รวจสอบผลงานนกั เรียนและอธิบาย เพิม่ เติม ขน้ั สรปุ ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั สรปุ หลกั การยอ่ ความ นักเรยี นจดบันทกึ ลงสมดุ 366373

374 337674 การวดั และประเมนิ ผล ส่งิ ทตี่ ้องการวดั /ประเมิน วิธีการ เคร่ืองมือท่ใี ช้ เกณฑ์ ด้านความรู้ แบบสงั เกตพฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ มีความรู้ความเข้าใจ สังเกตพฤตกิ รรมการ การเรยี นรายบุคคล รอ้ ยละ ๘๐ ความหมายและหลักการ เรียนรายบคุ คล เขยี นยอ่ ความ แบบประเมนิ การเขยี น ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ดา้ นทักษะกระบวนการ ยอ่ ความ รอ้ ยละ ๘๐ เขยี นย่อความจากเร่ือง ท่ี ประเมนิ เขียนย่อความ อ่านและฟังได้ ดา้ นคณุ ลกั ษณะ ประเมินคุณลักษณะ แบบประเมินคณุ ลักษณะ ผ่านเกณฑ์คณุ ภาพ ๑. มีวินัย ๒. ใฝ่เรยี นรู้ ระดบั ๒ ๓. มงุ่ ม่ันในการทางาน ๘. บันทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................. ปัญหาและอปุ สรรค .............................................................................................................................................................................. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ......................................................................................................................... ..................................................... ลงช่อื ......................................ผู้สอน (.......................................................) วนั ท.ี่ .........เดือน..................................พ.ศ…...…. ๙. ความคิดเหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผู้บรหิ ารหรือผู้ท่ีได้รบั มอบหมาย ............................................................................................................................. ................................................. ลงช่อื ......................................ผู้ตรวจ (.........................................................) วนั ที.่ .........เดอื น..................................พ.ศ…...….

375 337685 บทความ เรอ่ื ง เพราะผนื แผ่นดนิ ไทย…จึงทาให้มีวันนี้ หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๒ เรื่องบทอาขยาน รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ สวัสดีค่ะ หนูช่ือเด็กหญิงมาชม อุส่าห์ อายุ ๑๔ ปี ตอนน้ีกาลัง ศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนอนุบาลบางสะพานน้อย สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต ๑ หนู เป็นลูกสาวคนโตของพ่อแม่ชาวเมียนมาที่อพยพมาอยู่ท่ีประเทศไทย ตั้งแต่แม่เริ่มต้ังครรภ์ แม่คลอดหนูท่ีโ รงพยาบาลในจั งห วั ด ประจวบคีรีขันธ์ครอบครัวของหนูเริ่มต้นชีวิตใหม่ที่อาเภอบางสะพาน น้อย ในหมู่บ้านหินปิด พ่อแม่ของหนูออกมาทางานรับจ้างทั่วไป จนกระท่ังพบกับเถ้าแก่สวนยางและภรรยา ท่านทั้งสองรับพ่อกับแม่ไป ทางานทบี่ ้าน ทา่ นสนิทกบั หนูมาก แรกๆ หนไู ม่กล้าทจ่ี ะสนทิ ด้วย เพราะ กลัวว่าจะถกู รังแกหรือทารา้ ย แตผ่ า่ นไปไม่นานหนูก็เริ่มสนิทด้วย เพราะท่านทั้งสองชอบมาน่งั หยอกนั่งเล่น นง่ั คุย กบั หนู เมื่อหนูมีอายุครบ ๔ ขวบ พ่อก็ได้พาหนูมาสมัครเรียนท่ีโรงเรียนแห่งนี้ เพราะว่าอยู่ใกล้บ้านพัก วันแรก ที่มาโรงเรียนหนูรู้สึกกลัว ร้องไห้ เพราะคิดว่าจะไม่มีใครเล่นและคุยกับหนู แต่ความคิดน้ันก็หายไป เพราะเพื่อนๆ ทุกคนตา่ งกอ็ ยากรจู้ ัก อยากคยุ อยากเลน่ ดว้ ย หนูเรยี นท่ีนี่จนสามารถพดู เขยี น อ่านภาษาไทยได้อย่างคล่องแคล่ว และสามารถส่ือสารกับคนอ่ืนๆ ไดอ้ ย่างสบาย หนูมีโอกาสได้เรียนในโรงเรียนแห่งนี้ หนูได้เรียนรู้วิชาการต่างๆ ที่คุณครูถ่ายทอด สั่งสนให้หนูเป็นคนดี พูดดี ทาดี รู้จักคิด เพื่อประโยชน์ของส่วนรวมเป็นท่ีต้ัง หนูยึดถือและปฏิบัติตนตามค่านิยมธรรมเนียม จารีต ประเพณี ตามที่คนไทยพึงปฏิบัติ และยึดหลักธรรมคาสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทาให้ผลการเรี ยน ของหนูมีพัฒนาการดีข้ึนเร่ือยๆ จนกระทั้งหนูจบการศึกษาช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ ด้วยเกรดเฉลี่ย ๓.๑๗ เป็นที่ ภาคภูมิใจของพ่อแม่และเถ้าแก่เช่นกัน หนูคิดว่าแม้เกรดเฉล่ียจะได้น้อยแต่หนูก็ทาด้วยความสามารถของหนู และภาคภูมใิ จในผลงานของตนเอง แมบ้ างครง้ั อาจจะโดนเพ่อื นลอ้ ตา่ งๆ นานา เช่น เด็กพม่า เปน็ ต้น

376 337696 พ่อของหนูมีอาชีพรับจ้างกรีดยางในสวนของเถ้าแก่ เม่ือพ่อได้รับเงินค่าจ้าง พ่อจะพาหนูกับแม่ไปเที่ยว ทะเลเป็นประจา ครั้งแรกที่ได้ไปทะเลนั้น หนูมีความรู้สึกว่าท่ีน่ีมันสวยมาก เมืองไทยน้ีดี มองไปทางไหนก็เป็น แหล่งท่องเท่ียว ส่วนแม่ของหนูมีอาชีพเล้ียงหมูของเถ้าแก่ เม่ือเถ้าแก่ขายได้ก็จะแบ่งเงินให้แม่หนูด้วย เถ้าแก่ ของหนูไม่เพียงแต่ให้เงิน แต่ยังให้ที่พักพิงอาศัยไว้หลบแดดหลบฝน หนูชอบรอยย้ิมของทุกคน เพราะคนไทย เปน็ คนยิ้มสวย มนี า้ ใจเอื้อเฟื้อเผือ่ แผ่ อีกประการหน่ึงที่ทาให้หนูและครอบครัวมีความสุขและรักในแผ่นดินน้ีก็คือในหลวงรัชกาลที่ ๙ พระองค์ ท่านเป็นต้นแบบและเป็นแบบอย่างที่ดีในการดาเนินชีวิตของคนทุกคนบนแผ่นดินนี้ ซ่ึงรวมถึงหนูและครอบครัว ท่ีเดินตามแนวพระราชดาริของพระองค์ท่าน หนูไม่เคยอับอายเลยสักนิดท่ีหนูเป็นลูกของคนงานชาวเมียนมา เพราะหนูและครอบครัวต่างก็มีความสุขทุกคืนวนั เพราะได้อย่ใู ต้รม่ พระบารมีของพระมหากษัตรยิ ์แหง่ ราชวงศ์จักรี แม้ในหลวงรัชกาลท่ี ๙ จะเสด็จสวรรคตไปแล้ว ทาให้ทุกคนโศกเศร้าเสียใจ แต่ทุกคนก็จะยึดเอแนวพระราชดาริ ตา่ งๆ มาปรบั ใชก้ ับชีวิตประจาวันตลอดไป หนจู ะทดแทนบญุ คุณแผน่ ดินไทย ไม่ว่าจะดว้ ยการตั้งใจศึกษาเล่าเรียน นาความรทู้ ่ีได้รับการถา่ ยทอด การปลกู ฝงั จากครบู าอาจารย์มาประกอบอาชพี สุจรติ ขอบพระคุณผู้มีพระคณุ แกห่ นแู ละครอบครัวทุกทา่ น ไม่วา่ จะเปน็ เถา้ แก่ โรงเรยี น หนูสญั ญาวา่ จะเป็นคนดแี ละจะทดแทนพระคุณจนกว่าหนูจะส้ินลมหายใจ เด็กหญิงมาชม อุสา่ ห์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ โรงเรยี นอนบุ าลบางสะพานน้อย อาเภอบางสะพานน้อย จงั หวัดประจวบครี ีขันธ์

377 337770 ใบความรู้ เร่ือง การยอ่ ความ หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๒ เร่ืองบทอาขยาน รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ความหมายของการย่อความ พจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ความหมายของการยอ่ ความ เปน็ การจดข้อความใหส้ ั้นลงหรือเลก็ ลง พระยาอุปกิตศลิ ปะสาร (๒๕๕๑:๓๓๓) กลา่ วถงึ การยอ่ ความวา่ เปน็ การนาเอาเรื่องท่ีมเี นอื้ หามากมาแต่ง เสียใหม่ใหส้ ั้นกว่าเดิม แต่บรรลุเนอ้ื ความให้ได้มากเท่าใดกย็ ิ่งดีดลุ กัน การยอ่ น้ีไมม่ ีขอบเขตว่ายอ่ ลงไปเทา่ ไรจึงจะเหมาะเพราะเรื่องบางเรื่องมีพลความมาก ก็ย่อลงไปได้มาก สรปุ ไดว้ า่ การยอ่ ความเปน็ การเก็บสาระสาคัญของเนอื้ เร่อื งให้ครบถว้ น แล้วจงึ นาข้อความดงั กล่าวที่ยัง ไม่ได้จัดเป็นระเบียบ มาเรียบเรียงใหมใ่ หส้ น้ั กะทัดรดั มีใจความสาคญั ครบทั้งนเี้ พ่ือให้ผู้อ่านเข้าใจ หลักการย่อความและสรุปความ หลักสาคัญของการยอ่ ความและการสรปุ ความ มีขนั้ ตอนสาคัญ ๆ ดงั นี้ ๑. พจิ ารณาเร่ืองที่จะย่อและเรือ่ งทีจ่ ะสรปุ ความวา่ เป็นงานเขียนประเภทใด เช่น บทความ ความเรยี ง และเรอ่ื งเล่า ฯลฯ ถา้ เรือ่ งที่จะยอ่ หรือสรุปความไม่มชี ่ือเร่อื ง ตอ้ งตง้ั ชื่อเรอื่ งขึ้นเองใหม่ ถ้าเรอ่ื งทจี่ ะยอ่ หรือ สรุปความเป็นบทร้อยกรองต้องเปลย่ี นเป็นบทร้อยแกว้ ๒. อา่ นเรือ่ งที่จะย่อหรือสรปุ ให้ละเอียด ๒ รอบเพ่ือพิจารณาใจความแต่ละตอน แลว้ จบั ใจความรวม ของเรื่องนน้ั ให้ได้ว่าเรอ่ื งน้นั เนน้ ความคดิ สาคัญ คอื ประเด็นหลกั ของเร่ือง บันทึกไว้ ๓. อา่ นทบทวนอีกครัง้ แลว้ ตั้งคาถามเพื่อหาคาตอบใหไ้ ด้ว่า เร่ืองอะไร ใคร ทาอะไร ทีไ่ หน เม่ือไร และอย่างไร บันทึกไว้ สาหรับการสรุปความนน้ั จะนาคาตอบจากคาถามมาเรยี บเรยี งใหม่ให้สละสลวย กะทดั รัด ชดั เจน ไดใ้ จความสาคัญครบถว้ น ๔. แยกข้อความออกเปน็ เร่ืองย่อย ๆ พยายามทาความเข้าใจใหม่ เมอ่ื อา่ นจนเข้าใจดีแลว้ จงึ จับใจความ ของเรื่องย่อย ๆ ให้ไดว้ ่า เรื่องแต่ละตอนเปน็ เรอ่ื งราวเกีย่ วกับอะไร และมีความสมั พันธ์กับประเด็นหลักของเรื่อง อยา่ งไร การอ่านอยา่ งละเอยี ดเชน่ น้ี จะชว่ ยให้จบั ใจความของเร่ืองแตล่ ะเรือ่ งได้ถูกต้องชดั เจน ๕. นาใจความจากประเด็นหลักข้อ ๒ และใจความคาตอบข้อ ๓ – ๔ มาเรยี บเรยี งใหม่ เพื่อการย่อความ โดยยึดหลกั ดังน้ี ๕.๑ ลาดบั เรือ่ ง อาจสบั เปลี่ยนการวางหัวขอ้ สาคญั ในขั้นตอนการลาดับเร่ืองก็ได้ ไม่จาเป็นตอ้ ง ตรงตามแบบเดิมเสมอไป การลาดบั เรอ่ื งใหมน่ ั้นยอ่ มแลว้ แต่ผยู้ ่อจะเห็นเหมาะสมว่า การลาดับเรื่องใดก่อนหลงั สาคัญหรอื ไม่สาคัญ ควรจะทาให้ผ้อู ่านเข้าใจง่ายขนึ้ แตก่ ็ยังคงต้องถูกตอ้ งตรงความหมายเดิมทุกประการ ๕.๒ ใชส้ านวนการเขียนของผยู้ ่อเอง คอื นาใจความสาคญั ทไ่ี ด้มาเรยี บเรียงใหม่ด้วยสานวนของผู้ ยอ่ ไม่ควรดงึ ข้อความแตล่ ะประเดน็ มาเรยี งตดิ ตอ่ กนั แต่ควรจะเขียนใหม่ให้มกี ารลาดบั ความและเชื่อมความอยา่ ง สละสลวย

337781 378 ๕.๓ ข้อความท่ีไดจ้ ากการย่อ จะเปน็ ข้อความที่เขยี นอธิบาย หรอื เรอ่ื งเลา่ หา้ มมขี ้อความอยู่ใน เครือ่ งหมายอญั ประกาศ ไม่ใช้สรรพบรุ ุษที่ ๑ และท่ี ๒ ปะปนอยู่ในข้อความทีย่ อ่ แลว้ ใหใ้ ชไ้ ดเ้ ฉพาะสรรพนาม บุรษุ ท่ี ๓ ในกรณีทีม่ คี วามจาเปน็ ตอ้ งเอย่ ถึงตัวผู้เกย่ี วข้องในเรอื่ งนน้ั ให้ใช้ชอ่ื โดยตรง ๕.๔ การใชร้ าชาศัพท์ ถา้ ขอ้ ความเดิมใช้ราชาศัพท์ เม่ือยอ่ แลว้ ยงั คงต้องใชร้ าชาศัพทน์ นั้ ไวด้ งั เดมิ จะเปลยี่ นเปน็ ภาษาร้อยแกว้ ธรรมดาไม่ได้ ๕.๕ การใช้อักษรย่อ ไม่ควรใชพ้ รา่ เพร่ือ ยกเวน้ อักษรย่อที่คนทัว่ ไปรูจ้ กั กนั ดี เช่น พ.ศ. ค.ศ. กทม. ส.ค.ส. เป็นตน้ ในกรณที ีช่ ่อื เต็มยาวมาก ก็ให้ช้าเต็มไว้ในการเขียนครงั้ แรก พร้อมระบุตัวอักษรย่อไวด้ ้วย เมอ่ื ใช้ครง้ั ตอ่ ไปก็ใชเ้ พยี งอักษรยอ่ เทา่ น้นั เชน่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน (สพฐ.) ๕.๖ ขอ้ ความทเ่ี ปน็ พลความ รายละเอียดต่าง ๆ ตัวอยา่ งที่อ้างอิงถ้อยคาทีฟ่ ุ่มเฟือย เยิ่นเย้อ ให้ตัดทง้ิ ไป ๕.๗ การใช้ประโยคและคาเช่อื ม การใช้ประโยคที่ดี ควรใชป้ ระโยคสัน้ ความหมายตรง เต็มความ ชัดเจน กะทดั รดั ใจความเด่นชัด ส่วนคาเชอ่ื มควรใชบ้ ุพบท หรอื สันธาน เพอื่ ให้ความชดั เจน สละสลวย ตรงตาม จุดมุ่งหมายของเร่ืองท่ีตอ้ งการย่อ ๕.๘ ใจความทยี่ อ่ แล้วควรเขียนตดิ ต่อเป็นย่อหน้าเดยี วกัน ไม่ต้องยอ่ หนา้ ตามข้อความเดมิ นอกจากความเดิมที่จะย่อเป็นเรอ่ื งต่างๆ กนั ไป ไมเ่ กยี่ วขอ้ งกัน และแยกจากกนั เป็นตอนๆ ไว้แลว้ ๖. ความยาวของเรื่องทย่ี ่อนัน้ ไม่จากัดความยาวหรือขนาด เพ่อื ดูวา่ เรื่องทีย่ ่อมีเนื้อหาสาระของเรื่อง ทจี่ ะนามาย่อ ๗. เมือ่ เรยี บเรียงเร่ืองย่อเสร็จแลว้ โปรดทบทวนอีกครง้ั เพ่ือดวู า่ เร่อื งทยี่ ่อมเี นอื้ ความต่อเน่อื งกันดหี รือไม่ มีข้อความสาคัญตอนใดท่ตี กหลน่ หรือมีขอ้ ความตอนใดที่ผดิ เพ้ยี นไปจากเร่อื งเดมิ จะได้แก้ไขให้ถูกต้อง ย่อความทีด่ คี วรมเี น้อื หาสาระสาคญั ของเร่อื งเดิม และเป็นไปตามหลกั การย่อความดงั นี้

337729 379 ๑. การยอ่ ความต้องเก็บใจความ ๒. การเกบ็ ใจความสาคญั ของเร่ืองจะต้อง สาคัญของเรือ่ งใหค้ รบ และเรียบเรยี ง คานงึ ถงึ สาระต่อไปน้ี ใคร ทาอะไร ทไี่ หน โดยใชส้ านวนภาษาที่ถูกต้อง เมือ่ ใด อย่างไร ใจความสาคญั คืออะไร แล้วนามาเขียนเป็นสานวนของตนเอง เนน้ การใชค้ าท่ีมคี วามหมายกระชับ ตรงไปตรงมาและไม่ใช้อักษรย่อ ๖. การยอ่ จดหมายซึ่งมี หลักการยอ่ ความ ๓. ขอ้ ความที่มีเนอ้ื หาเปน็ รายละเอยี ดอยทู่ ี่ ขอ้ ๆ ต้องเรยี บเรยี งใหเ้ ปน็ ขอ้ ความที่เร่ิมต้นแลว้ ความเรยี ง ให้ย่อแต่ใจความของ เน้ือหาจดหมาย ๕. คาศัพทห์ รือคาศัพท์เฉพาะทาง ๔. เปลยี่ นสรรพนามในเรือ่ ง เชน่ วิชาการ ควรเปลยี่ นเปน็ คา ฉัน ผม ขา้ พเจา้ คณุ เธอ ธรรมดาท่ีทุกคนเข้าใจยกเว้นคา เปลี่ยนเป็น พระองค์ ท่าน เขา ราชาศัพท์ ฯลฯ

380 337830 บทความ เร่ือง ความจนของประหยดั หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๑ แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี ๒ เรอ่ื งบทอาขยาน รายวชิ าภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ถ้าถามว่าใครรู้จักความจนบ้าง ผมขอตอบเลยครับว่า ผม เด็กชายประหยัด คนนี้ รู้จักความจนดี ทว่าความจนสาหรับผมไม่ได้ทาให้ผมลาบากอะไรเลย แต่กลับสอนให้ผมรู้จักคุณค่าของทุกๆ อย่าง และเรียนรู้ ที่จะนามาใช้ประโยชน์ได้อย่างสูงสุด ผมปรับตัวตามความจน และนั้นทาให้ผมกับความจนเป็นเพื่อนที่ดีต่อกันไป แล้วครับ ผมจะเล่าถึงบ้านหลังเล็กๆ ท่ีมุงด้วยจากของผม บ้านแห่งนี้มีผมกับยายสองคน ได้ยินคาว่ายายแล้ว อย่า เพิ่งคิดว่าท่านแกจนทาอะไรไม่ได้นะครับ ยายของผมท่านแข็งแรงดีทีเดียว ท่ีบ้านของผมไม่มีโทรทัศน์ โทรศัพท์ หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าอื่นๆ แต่ผมก็ไม่ได้คิดว่าผมจะไม่ทันโลกแตอ่ ย่างใด เพราะห้องสมุดของโรงเรียนก็มีให้อ่าน และ ยังเป็นการชว่ ยประหยัดไฟฟ้าด้วย โชคดีขอผมท่ีแม้บ้านจะหลังเล็ก แต่พ้ืนที่ก็ไม่ได้เล็กตามไปด้วย ยังมีพื้นท่ีรอบๆ บ้านใหผ้ มกบั ยายได้ปลกู ผักไวห้ ลายอย่าง เช่น ผักสวนครัว พชื สมนุ ไพร หรอื แม้แตต่ ามแนวรว้ั ผมกับยายก็ยังปลูก ผกั เป็นแนวไวท้ าอาหารอยเู่ สมอ แมใ้ นยามขาดแคลนเงนิ ทอง ผมก็เช่อื วา่ ผมกบั ยายสามารถอยู่ได้อย่างสบาย ทกุ ๆ เชา้ ผมจะปั่นจกั รยานไปโรงเรยี น พร้อมปิ่นโตสองช้นั ที่ยายเตรยี มไว้ในตะกร้ารถจักรยานของผม และเช้าวนั นี้ก็เกิด เร่ืองน่ายินดีขึ้นที่ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๕/๒ ของผม มีนักเรียนย้ายเข้ามาใหม่ชื่อว่า เกริก เกริกเป็นเด็กชายผิวขาว ซึ่งต่างกับผมอย่างลิบลับ เมื่อเกริกแนะนาตัวเสร็จเขาก็มานั่งคู่กับผม ผมชวนเขาคุยตามปกติ จนถึงช่วงเวลาพัก เที่ยง เกริกก็มีอาการลุกล้ีลุกลนพอผมถามก็ไม่ตอบ จนท้ายที่สุดผมก็คาดค้ันจนได้คาตอบวา่ “ฉันลืมเอาเงินมานะ นี่ก็ใกล้จะพักเที่ยงแล้ว ข้าวก็ไม่ได้ห่อมา ถ้ากินข้าวไม่ตรงเวลา โรคกระเพราะคงต้องกาเริบแน่ๆ” โดยปกติ ผมนา เงินมาโรงเรียนแคว่ ันละสิบบาท คงไมพ่ อสาหรบั ซ้อื ข้าวทโ่ี รงอาหารแนน่ อน “เอาอยา่ งน้แี ล้วกนั วันน้ีนายมากินข้าว กับฉนั กแ็ ล้วกัน” ผมชวน เมื่อเหน็ ท่าทางเกรงอกเกรงใจของเกริก ผมจึงพยายามรบเร้าตอ่ อกี จนกระทง้ั เกรกิ ตกลง พอพักกลางวันผมจึงชวนเกริกมาน่ังใต้รม่ ไม้ของโรงเรยี น ผมแบ่งข้าวของผมออกเป็นสองส่วน โดยแบ่งให้ เกรกิ มากกวา่ เพราะเขามีโรคประจาตัว “อร่อยมากเลยนะ น่ีเรียกว่าอะไรหรือ” เกริกถาม “ผดั ผกั รวมน่ะ ฉนั ชว่ ย ยายทาด้วยนะ” ผมยืดอกภูมิใจ ก่อนจะเล่าต่อว่า “บ้านฉันน่ะ มีผักเยอะแยะ ฉันชอบ ‘ร้ัวกินได้’ มากเลยล่ะ” เกริกทาหน้าไม่เข้าใจ ผมจึงอธิบายต่อ “ร้ัวกินได้ คือ การปลูกพืชผักให้ขึ้นตามร้ัวและมันก็จะแตกยอดให้เรากับ เพื่อนบ้านช่วยกันเก็บไปทาอาหารได้” “ฉันชักอยากจะเห็นแล้วสิ” เม่ือเกริกพูดอย่างนั้น ผมจึงชวนเขาไปเท่ียว ท่ีบา้ นในตอนเย็น

381 337841 หลังเลิกเรียนผมป่ันจักรยานไปส่งเกริกท่ีบ้าน และขออนุญาตคุณแม่ของเขาพาเกริกไปท่ีบ้านของผม ผมนาจกั รยานจอดไว้ขา้ งๆ บา้ น ส่วนเกรกิ ยืนนิ่ง “อย่างกับสวนพฤกษศาสตร์” เกริกวา่ ผมหัวเราะล่ันจนยายท่ีนั่ง ตาหมากอยู่บนชานบ้านต้องชะโงกหน้าออกมาดู เกริกและผมยกมือไหว้ยาย ยายย้ิมรับก่อนจะให้ผมกับเกริก ไปเกบ็ ผักสาหรบั เปน็ เคร่ืองเคียงนา้ พริกของยาย ผมกับเกริกเก็บผักอย่างสนุกสนาน และดูเหมือนเกริกจะชอบไม่น้อย เพราะพืชผักต่างๆ ท่ีเราปลูกเอง ท่ีบ้านนั้นปลอดสารเคมี แตกต่างจากผักท่ีขายในตลาด เย็นนั้น ยายกับผมจึงขอให้เกริกอยู่กินอาหารเย็นด้วยกัน ก่อนจะกลบั ยายยังหอ่ ผกั สดและอาหารที่ปรงุ จากผักริมร้ัวใหเ้ กริกนากลับบ้านไปด้วย คุณคิดว่าความจนของผมเป็นเช่นไร สาหรบั ผมความจนของผมไม่ได้เลวรา้ ยเลย ทวา่ ความจนของผมกลับ ทาให้ผมภูมิใจ สอนให้ผมรู้จักประหยัดอดออม เอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่ และประการสาคัญยังทาให้ผมได้รู้จักคาว่า “พอเพยี ง” นางสาวหลาว ลุงแสง ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๕ โรงเรยี นเวยี งแหงวทิ ยาคม อาเภอเวยี งแหง จังหวดั เชียงใหม่

338725 382 คาทเ่ี ก่ยี วข้องกับการย่อความ การเขียนย่อความ ผู้เขียนจะต้องไตร่ตรองให้รอบคอบก่อนว่าข้อความท่ีนามาย่อน้ันเป็นข้อความที่นามา จากหนังสือประเภทใด เจตนาของผู้เขียนต้องการถ่ายทอดสารใดสู่ผู้อ่าน ผู้ย่อความอาจต้ังเป้าหมายในการย่อความ วา่ จะเกบ็ สาระใดบ้างเพื่อจะยอ่ อาจเกบ็ เฉพาะขอ้ เทจ็ จริง ข้อคิดเหน็ ไม่เก็บความรสู้ กึ ท้งั นต้ี อ้ งแลว้ แต่ความสาคัญ ของข้อความเหลา่ น้ัน ว่ามีมากนอ้ ยเพยี งใด ผยู้ ่อต้องคิดพิจารณาตดั สนิ ใจอย่างรอบคอบจึงจะทาให้การย่อความน้ัน มปี ระสทิ ธภิ าพ คาท่ีเก่ียวข้องกบั การยอ่ ความ คือ ใจความ พลความ ขอ้ เท็จจริง ข้อคดิ เห็นและความรสู้ ึก ใจความ คือ ข้อความของย่อหน้า ถ้าตัดข้อความสาคัญน้ีออกไปจะทาให้ไม่ได้ใจความท่ีดี ความจะ เปลี่ยนไปทาใหอ้ า่ นหรอื ฟังไมเ่ ข้าใจหรือเข้าใจผิดไปได้ นอกจากนน้ั ย่อหนา้ บางยอ่ หน้าจะขาดใจความหรือข้อความ ลาดับไปเพราะเป็นเพียงย่อหนา้ เชือ่ มขอ้ ความจากย่อหน้าเดิมกบั ย่อหนา้ ต่อไปเทา่ นั้น ข้อความเหล่าน้ีตัดทิง้ ไปได้ พลความ คอื ขอ้ ความรอง สาคัญนอ้ ยกว่าใจความ ทาหน้าทใี่ ห้รายละเอียด ขยายใจความในข้อความหรือ ยอ่ หน้าน้ันใหช้ ัดเจนยิ่งขนึ้ ถ้าตดั พลความท้ิงไป สารนนั้ ยงั คงใจความตรงตามจุดประสงคข์ องผูส้ ่งสาร ข้อเท็จจริง เป็นข้อความ เรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่มีท่ีเป็นมา หรือท่ีเป็นอยู่ตามจริง ข้อเท็จจริงน้ันมี ชว่ งเวลาเปน็ เง่อื นไขสาคัญ ขอ้ ความอาจคลาดเคล่อื นเปล่ียนไป เม่อื เวลาเปลี่ยนไป ข้อคิดเห็น เป็นข้อความท่ีผู้อ่าน ผู้ฟัง ผู้เล่า ผู้เขียนแสดงความคิดจากความรู้ ความเข้าใจ ความเชื่อ ผู้ทีก่ ล่าวมีต่อบุคคลใดบคุ คลหนึง่ หรือส่งิ ใดสง่ิ หนึง่ อาจเหน็ ด้วย หรือมคี วามเห็นแตกตา่ งไป ความรู้สึกหรือข้อความท่ีแสดงอารมณ์ เป็นข้อความท่ีผู้รับสารแล้วเกิดรู้ได้ว่าผู้ส่งสารหรือสารน้ัน ให้อารมณ์ ให้ความรู้สึกอย่างไรออกมาต่อผู้อ่าน ผู้ฟัง อาจเป็นความพอใจ ไม่พอใจ ช่ืนชม เศร้าหมอง ขุ่นเคือง ข้อความดังกลา่ วเปน็ ข้อความแสดงอารมณ์หรือให้ความรู้สกึ แกผ่ ้รู บั สาร ทม่ี า : สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน ๒๕๕๑ : ๗๑-๗๒

383 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๔ เรอื่ ง นทิ านสารพัน แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๑๒ เรอื่ ง เช่ยี วชาญเขียนย่อความ เวลา ๑ ชว่ั โมง กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย รายวชิ าพื้นฐานภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ ขอบเขตเนอ้ื หา กิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือ/แหลง่ เรยี นรู้ หลกั การเขียนย่อความ ขน้ั นา ๑. ใบความรู้ เรอื่ ง แบบของการเขยี นย่อความ แบบของการเขยี นย่อความ ครนู านกั เรยี นสนทนา เรอ่ื ง หลักการย่อความ ๒. แบบทดสอบ เรื่อง การเขียนย่อความ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ มีการยอ่ ความจากส่อื ตา่ ง ๆ หลายประเภท เช่น ดา้ นความรู้ บทกลอน จดหมาย ความเรยี ง โอวาท เปน็ ตน้ ภาระงาน/ชิ้นงาน มคี วามรคู้ วามเข้าใจหลักการเขยี นยอ่ ความและ ข้ันสอน หมายเหตุ แบบของการเขียนยอ่ ความ ๑. ครใู หน้ ักเรยี นศึกษาใบความรู้ เรอ่ื ง แบบของ สาหรับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ครผู ู้สอนอาจเลือก ด้านทักษะกระบวนการ การเขียนย่อความ ครูอธบิ ายเพมิ่ เตมิ การย่อความและตวั อยา่ งในการฝึกทกั ษะให้แก่ เขียนยอ่ ความจากเรอื่ งทอ่ี า่ นได้ ๒. ครูใหน้ กั เรยี นนาผลงานการยอ่ ความเรอื่ ง ผเู้ รยี นตามความเหมาะสม ด้านคุณลักษณะ ความจนของประหยดั มาเรยี งใหม่ใหน้ ักเรียนเพิ่ม ๑. มีวนิ ัย ส่วนคานาของการเขียนย่อความตามด้วยเน้ือหา ๒. ใฝ่เรียนรู้ ทย่ี ่อ ให้ครบองคป์ ระกอบ ๓. มงุ่ มั่นในการทางาน ๓. ครตู รวจผลงานนักเรยี นแล้วอธิบายเพ่ิมเติม ๔. ครูให้นกั เรยี นทาแบบทดสอบ เรอ่ื ง การเขยี น ย่อความ ขั้นสรุป ครสู รุปการเขียนย่อความจาเปน็ ต้องมีรูปแบบใน การย่อความอย่างถูกตอ้ งและผู้เขยี นควรมีมารยาท ในการเขยี น จากน้ันนักเรียนจดบนั ทกึ ลงสมดุ 376 383

384 337874 การวัดและประเมินผล สิ่งทีต่ ้องการวัด/ประเมนิ วิธกี าร เครอื่ งมือที่ใช้ เกณฑ์ ด้านความรู้ แบบสงั เกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์การประเมนิ มคี วามร้คู วามเขา้ ใจ สงั เกตพฤตกิ รรมนักเรียน นกั เรียนรายบุคคล ร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป หลกั การเขียนย่อความและ รายบุคคล คานาการเขยี นยอ่ ความ ดา้ นทักษะกระบวนการ ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบ เรื่อง การ ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ เขียนย่อความจากเร่ืองท่ี ประเมินคุณลกั ษณะ เขยี นยอ่ ความ ร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป อ่านได้ ด้านคณุ ลักษณะ แบบประเมินคุณลักษณะ ผ่านเกณฑ์คณุ ภาพ ๑. มวี ินัย ระดบั ๒ ๒. ใฝเ่ รยี นรู้ ๓. มุ่งม่ันในการทางาน ๘. บนั ทกึ ผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ....................................................... ปญั หาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................................... ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข .................................................................................................... ................................................................................ ลงช่ือ...................................................ผสู้ อน (.................................................................) วันท.ี่ ............เดือน...............พ.ศ........... ๙. ความคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะของผบู้ ริหารหรือผู้ทไ่ี ด้รับมอบหมาย ............................................................................................................................. ....................................................... ลงชือ่ ...................................................ผู้ตรวจ (.................................................................) วันท.ี่ ............เดือน...............พ.ศ...........

385 337885 385 385 ใบความร้เู รอ่ื ง แบบของการเขียนย่อความ หน่วยที่ ๔ แผใบนคกวาารมจรดั ูเ้กราอ่ื รงเรแยี บนบรขู้ทอี่ ๓งกเารรื่อเงขียเชนี่ยยว่อชคาวญามเขียนย่อความ รายวชิ าภาษหานไว่ ทยยทรี่ ๔หัสแผทน๒ก๑า๑รจ๐ดั๑การเรียนรภทู้ า่ี ค๓เรเรยี ่ือนงท่ีเช๑ี่ยวชาญเขียนชยนั้ อ่ มคธั วยามมศึกษาปีที่ ๑ รายวชิ าภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ แบบของการเขยี นย่อความ แบบของแกบาบรเขขอียงนกยาร่อเคขวยี านมยอ่ ความ โดยทัว่ ไปประกอบด้วยส่วนสาคัญ ๒ สว่ น คอื แ๑บ. บสว่ขนอทงก่ีเปารน็ เคขายี นนาย่อหครวอื าสมว่ นโดทยเ่ี ปท็นั่วกไปาปรขรึน้ะกตอ้นบยด่อ้วคยวสาม่วนสส่วานคนญั จ้ี ะ๒เขสยี ่วนนนคาเอื ป็นย่อหน้าแรกเพอื่ ชแ้ี จงใหท้ ราบ วา่ ข้อคว๑าม. ทส่วยี น่อทนีเ่น้ั ปเน็ปค็นางนานาเหขียรือนสป่วรนะทเภเ่ี ปทน็ใดกามรีเขน้นึอื ตห้นาอยย่อ่าคงวไารมมสใี คว่ นรบน้าีจงะเทขายี อนะนไราเปทน็ไ่ี หยน่อหแนล้าะแเมร่ือกไเพร อื่ นชอแ้ี กจจงาใกหนท้ น้ั ราบ วย่าังใขห้อผคูอ้ วา่ านมททร่ยีา่อบนทั้นี่มเาปขน็ องาเรนือ่ เขงยี ถนา้ ปผรู้อะา่ เนภเทกใดิ ดควมาีเมนสอื้ นหใาจอเยนา่ ื้องเไรรื่อมงทีใคงั้ รหบม้าดง กทส็ าาอมะาไรถทจีไ่ะหไปนศแึกลษะาเคมน้อ่ื ไครวา้นเอพก่ิมจเตากิมนจ้ันาก ยตงัน้ ใฉหบ้ผับู้อไ่าดน้ ทราบทม่ี าของเรอ่ื ง ถ้าผอู้ า่ นเกิดความสนใจเนื้อเร่ืองท้งั หมด ก็สามารถจะไปศึกษาคน้ ควา้ เพ่ิมเตมิ จาก ตน้ ฉบบั ได้ ๑.๑ หลกั ในการข้ึนต้นย่อความสว่ นท่ีเปน็ คานางานเขียนรอ้ ยกรอง เชน่ โครง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน ฯลฯ เม่ือนามายอ่ ๑ค.ว๑ามหแลลัก้วใจนะกตา้อรงขบ้ึนอตกน้ ปยร่อะคเภวาทมขสอว่ งนคทาป่เี ปร็นะคพานั นธา์ งชาอ่ื นเรเขื่อียงนชรื่ออ้ ผยแู้ กตร่งองทีม่เชาน่ ขอโคงครางปฉรันะทพ์ นักธา์นพั้นยๆ์ กวล่าอมนา จฯาลกฯหเนมัง่อื สนอื าเมลา่มยใอ่ดคหวนาม้าใแดล้วมจีแะบตบอ้ ดงังบนอี้ กประเภทของคาประพนั ธ์ ชือ่ เรือ่ ง ชอ่ื ผ้แู ต่ง ทม่ี าของคาประพนั ธ์น้นั ๆ ว่ามา จากหนังสอื เลม่ ใด หน้าใด มีแบบดงั น้ี แบบของการเขยี นย่อความ ย่อคาประพนั ธ์ประเภท……….…แเรบือ่ บงข…อ…ง…ก…ารขเอขงีย…น…ย…่อค.…วตาอมน……...จาก…..…..หนังสือ….…หน้า…… ความว่า ย่อคาประพนั ธป์ ระเภท……….…เร่ือง…………ของ……….…ตอน……...จาก…..…..หนังสือ….…หนา้ …… ความว่า เนอ้ื ความท่ีย่อ……………………………………………………………………………………………………………………. ……………เ…นอ้ื…ค…ว…าม…ท…่ีย…อ่ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………ต…ัว…อ…ยา่…ง…………………………………………………………………………………………………………………………….. ตย่อัวกอลยอา่ งนเพลงยาว เร่อื ง อิศรญาณภาษิต ของหม่อมเจา้ อศิ รญาณ จากหนังสือเรยี นสาระการ เรียนร้พู น้ื ยฐอ่ ากนลอวรนรเณพลคงดยีวาิจวักเษร์ือ่ ชง้นั อมิศธั รยญมศาณกึ ษภาาปษีทิตี่ ๑ของหม่อมเจ้าอิศรญาณ จากหนงั สือเรียนสาระการ เรยี นรูพ้ ื้นเนฐาื้อนคววารมรทณยี่ คอ่ ด…ีว…จิ กั…ษ…์ …ช้ัน…ม…ธั …ย…มศ…ึก…ษ…า…ปีท…่ี…๑……………………………………………………………………………. ……………เ…นื้อ…ค…ว…าม…ท…ย่ี …่อ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

386 338769 ๑.๒ หลักการขึ้นตน้ ย่อความส่วนท่ีเป็นคานางานเขียนร้อยแกว้ จะต้องขึน้ ต้นด้วย ยอ่ เรอ่ื งอะไร ใครแตง่ จากหนังสืออะไร หน้าท่เี ท่าไร ความวา่ ๑.๒.๑ ย่องานเขยี นร้อยแก้วที่เป็นความเรยี ง ตานาน ประวัติ บทความ เรื่องสั้น จะขึ้นตน้ ดังนี้ แบบของการเขียนย่อความ ย่อคาประพนั ธป์ ระเภท……….…ของ……….…จาก…..…..หนา้ ……ความว่า เนอื้ ความทย่ี อ่ ……………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ตวั อยา่ ง ยอ่ ความเร่ือง เพ่ือนกัน ของชมยั ภร แสงกระจ่าง จากหนงั สือเรียนสาระการเรียนรู้พ้ืนฐาน วิวิธภาษา ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ ความว่า เนอ้ื ความทย่ี ่อ……………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

387 338870 แบบทดสอบเร่อื ง การเขียนย่อความ หนว่ ยที่ ๔ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๓ เรอื่ ง เช่ียวชาญเขียนยอ่ ความ รายวิชาภาษาไทย รหัสแทบ๒บ๑ท๑ด๐ส๑อบ เร่อื ง กภาราเคขเยีรนียนย่อทคี่ ๑วาม ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรียน ทาเคร่อื งหมาย X ทับตัวอกั ษรทถี่ กู ตอ้ ง ๑. ขอ้ ใดไมใ่ ช่หลักเกณฑ์การยอ่ ความ ก. คงคาราชาศัพท์ไว้ ข. ใชค้ าสรรพนามเดิม ค. ใชส้ านวนภาษาของผยู้ อ่ เอง ง. ถา้ เป็นรอ้ ยกรองต้องถอดคาประพันธ์ก่อน ๒. ข้อใดกล่าวถงึ การย่อความถูกต้องที่สดุ ก. การนาข้อความเดิมมาตัดต่อใหส้ น้ั ลง ข. การนาประโยคสาคัญของเรอื่ งมาเรยี งต่อกนั ค. การสรุปสาระสาคญั ด้วยสานวนภาษาของผู้ย่อความ ง. การนาสาระสาคญั ของเร่อื งเดมิ มาอธิบายขยายความใหม่ ๓. ข้อความใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. ใจความที่ย่อแล้วจะเป็นกีย่ ่อหน้าก็ได้ ข. ถ้าเป็นรอ้ ยกรองใหเ้ ปลย่ี นเป็นภาษาธรรมดา ค. ถา้ ไม่มชี ื่อเรอื่ งใหใ้ ช้ใจความสาคญั ตั้งชื่อเรอื่ ง ง. ถา้ เปน็ บทสนทนาต้องเปลี่ยนเปน็ แบบเล่าเรือ่ ง ๔. “ถา้ เอาออกจากบทเขียน หรือบทพดู กจ็ ะเปล่ยี นแปลงสารทงั้ หมด และขอ้ ความท่ีเหลืออยู่อาจเขา้ กันไมไ่ ด้” ขอ้ ความน้ีกล่าวถงึ ลักษณะของสิง่ ใด ก. ใจความ ข. พลความ ค. ข้อคิดเห็น ง. ข้อความแสดงอารมณ์ ๕. ข้อใดเปน็ คานาของยอ่ ความประเภทจดหมาย ก. จดหมายของ……ถงึ ….ลงวันท่ี……ความว่า ข. จดหมายของ…….ถงึ ……ความวา่ ค. จดหมายของ……ลงวันที่…..ถงึ ……ความวา่ ง. จดหมายของ…ถึง….ส่งวันท่ี……ความว่า ๖. การเขียนยอ่ ความควรใชว้ ธิ ีเขียนอยา่ งไรจงึ จะดีทสี่ ุด ก. อ่านวเิ คราะห์ไปพรอ้ มกบั เขียนย่อไป ข. ตคี วามแตล่ ะย่อหน้าแล้วนามาเขียนเรียงลาดับด้วยสานวนของตนเอง ค. อ่านจบั ใจความสาคัญแล้วจึงเรยี บเรียงเป็นข้อความดว้ ยสานวนตนเอง ง. ขีดเสน้ ใต้ขอ้ ความท่ีเป็นใจความสาคัญแล้วนามาเรียบเรียงเขยี นใหต้ ่อเนอื่ งกนั

388 338881 ๗. ขอ้ ควรทาในการเรยี บเรียงยอ่ ความคอื ข้อใด ก. เรียงใหส้ ัมพันธต์ อ่ เน่ืองกนั ข. เรียงใหก้ ลับกนั กับเรื่องเดมิ ค. เรยี งลาดับตามความพอใจขอผยู้ อ่ ง. เรียงลาดับเรื่องตามแบบเร่ืองเดมิ เสมอ ๘. ย่อความควรมกี ย่ี ่อหน้า ก. ย่อหน้าเดยี ว ข. เท่าจานวนยอ่ หนา้ ของเน้ือเรอ่ื งเดิม ค. สามย่อหน้า คือ คานา เนื้อเร่ือง สรุป ง. สองยอ่ หนา้ คือ ย่อหนา้ คานา และย่อหน้าเน้ือความซึ่งมกั ย่อเหลือเพยี งยอ่ หนา้ เดียว ๙. ข้อความใดไม่ใชป่ ระโยชน์ของการยอ่ ความ ก. การเขยี นคาตอบขอ้ สอบ ข. การตคี วามบทร้อยกรอง ค. การบันทึกรายงานการประชมุ ง. การย่อความรจู้ ากหนงั สือเรียน ๑๐. ขอ้ ใดสรปุ ความต่อไปน้ีไดเ้ หมาะสมที่สุด \"ความเคารพความอ่อนน้อมน้ีถ้าจะพิจารณากันในแง่สังคมก็มีความสาคัญอยู่ไม่น้อย เพราะเป็นระเบียบวินัย ท่ีดีงามของคนเรา เป็นเครื่องร้อยรัดให้คนรวมกันเป็นหมู่เป็นคณะ ก่อให้เกิดความสามัคคีและรักษาสามัคคีไว้ได้ เพราะเป็นเหตุให้รักใคร่เมตตากรุณาต่อกัน ข้อสาคัญอยู่ท่ีว่าการแสดงความเคารพอ่อนน้อมต่อกันนั้นต้องแสดง ด้วยความบรสิ ุทธใ์ิ จจึงจะบงั เกดิ ผลดี\" ก. ความเคารพความอ่อนน้อมกอ่ ใหเ้ กดิ ความสามัคคีในหมู่คณะ ข. ความเคารพความอ่อนน้อมสาคญั สาหรบั การอยรู่ ว่ มกันในสังคม ค. ความเคารพความอ่อนน้อมเป็นเคร่ืองรอ้ ยรัดให้คนรวมกนั เป็นหม่คู ณะ ง. ความเคารพความอ่อนน้อมท่แี สดงดว้ ยความบรสิ ทุ ธ์ใิ จจะบงั เกดิ ผลดีต่อสังคม เฉลย ข้อ ๑ ข. ข้อ ๒ ค. ขอ้ ๓ ก. ขอ้ ๔ ก. ข้อ ๕ ก. ขอ้ ๖ ค ขอ้ ๗ ก ขอ้ ๘ ง ขอ้ ๙ ก ขอ้ ๑๐ ง

389 338829 หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ ชือ่ หนว่ ยการเรยี นรู้ สรา้ งสรรค์บทกวี รหัสวชิ า ท๒๑๑๐๑ รายวชิ า ภาษาไทย กล่มุ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ เวลา ๑๒ ชว่ั โมง จานวน ๑.๕ หนว่ ยกติ ..................................................................................................................................................... ...................... ๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชีว้ ดั มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสรา้ งความรู้และความคิด เพ่ือนาไปใชต้ ัดสนิ ใจ แกป้ ัญหาในการดาเนนิ ชวี ติ และมนี ิสัยรกั การอ่าน ตวั ชว้ี ัด ท ๑.๑ ม. ๑/๑ อ่านออกเสยี งรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรองได้ถกู ต้องเหมาะสม กับเรอ่ื งทีอ่ า่ น มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขียนเขยี นส่อื สาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานขอ้ มูลสารสนเทศ และรายงานการศึกษาค้นคว้า อย่างมีประสิทธภิ าพ ตวั ช้วี ดั ท ๒.๑ ม. ๑/๖ เขยี นแสดงความคิดเหน็ เก่ยี วกับสาระจากส่ือทไี่ ดร้ บั ท ๒.๑ ม. ๑/๙ มมี ารยาทในการเขยี น มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟงั และดอู ยา่ งมวี จิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ และความรูส้ กึ ในโอกาสต่าง ๆ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์ ตัวชี้วดั ท ๓.๑ ม. ๑/๓ พดู แสดงความคิดเห็นอยา่ งสร้างสรรค์เกย่ี วกบั เรื่องที่ฟังและดู ท ๓.๑ ม. ๑/๖ มีมารยาทในการฟัง การดแู ละการพดู มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษา และพลังของภาษาภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ ตัวชวี้ ัด ท ๔.๑ ม. ๑/๕ แตง่ บทรอ้ ยกรอง มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคดิ เห็น วิจารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทย อย่างเห็นคุณคา่ และนามาประยุกต์ใช้ในชวี ติ จรงิ ตัวชี้วัด ท ๕.๑ ม.๑/๑ สรปุ เนอื้ หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมทอ่ี ่าน

390 338930 ๒. สาระสําคญั /ความคิดรวบยอด อา นออกเสยี งบทรอ ยกรองเรอื่ งกาพยพ ระไชยสรุ ิยา สรุปเนอื้ หาวรรณคดี เรอ่ื ง กาพยพ ระไชยสรุ ยิ า ฉนั ทลักษณ ของคําำ�ประะพพนั ันธธป ์ปรระะเภเภททกกาาพพยย ์ยานานี ๑ี ๑๑แลแะลแะตแงคตาํ่งปครำ�ะปพรันะพธปันรธะ์ปเภระทเกภาทพกยายพายน์ยี ๑าน๑ี เ๑ข๑ียนเขจียดนหมจาดยกหิจมธาุรยะกิเจขธียุรนะ เแขนียะนนแาํ นสะถนานำ�สทถ่ีสาํ นคทญั ่ีสำ�เขคียัญนแเขสียดนงคแวสาดมงคิดวเาหมน็คจิดาเหกส็น่อืจใานกชสีว่ือติ ใปนชระีวจิตําปวรนั ะจแำ�ลวะันหนแลงั สะอืหนอังกสือเนวอลกาไเวดลถากู ไตดอ้ถงูกตตา้อมงหตลาักม หกาลรักเขกยีานรเรขะียบนุขรอ ะสบงั ุขเก้อตสแังลเะกคตวแาลมะสคมวเาหมตสุสมมเผหลตขุสอมงผสลารของพสูดาแรลพะูดแเขลียะนเขแียสนดแงคสวดางมควาคมิดคเหิด็นเหอ็นยาองยส่ารงา สงรส้ารงรสครจราคก์ จเรา่อื กงเทรีฟ่ือง หทรี่ฟอื ังดหู รือดู ๓. สาระการเรียนรู ความรู้ ๑. หลกั การอ่านออกเสียงร้อยแกว้ ๒. หลักการอา่ นออกเสียงร้อยกรอง ๓. เนอื้ หาวรรณคดี เรอื่ ง กาพย์พระไชยสุรยิ า ๔. ฉันทลกั ษณ์กาพย์ยานี ๑๑ ๕. หลักการแตง่ คาประพันธป์ ระเภทกาพย์ยานี ๑๑ ๖. หลกั การเขยี นจดหมายกิจธรุ ะ ๗. หลกั การเขยี นแนะนาสถานทส่ี าคญั ๘. หลักการเขียนแสดงความคิดเห็นจากส่อื ในชีวติ ประจาวัน ๙. หลกั การเขียนแสดงความคิดเหน็ จากหนังสือนอกเวลา ๑๐. หลักการพดู แสดงความคิดเหน็ เชงิ สรา้ งสรรค์ ๑๑. หลกั การเขยี นเคา้ โครงโครงงาน ๑๒. หลักการเขยี นรายงานโครงงาน ทกั ษะ/กระบวนการ ๑. อา่ นออกเสยี งร้อยแกว้ ได้ถูกต้อง ๒. อา่ นออกเสียงรอ้ ยกรองได้ถูกต้อง ๓. สรุปเน้ือหาวรรณคดี เรอ่ื ง กาพย์พระไชยสรุ ิยา ๔. เขยี นแผนผงั ของฉนั ทลกั ษณ์ประเภทกาพยย์ านี ๑๑ ได้ถูกต้อง ๕. แตง่ คาประพันธป์ ระเภทกาพย์ยานี ๑๑ ไดถ้ ูกต้อง ๖. เขียนจดหมายกิจธุระได้ถกู ต้อง ๗. เขยี นแนะนาสถานทสี่ าคัญไดถ้ ูกต้อง ๘. เขยี นแสดงความคิดเห็นจากส่ือในชีวติ ประจาวนั ไดถ้ ูกต้อง

391 338941 ๙. เขียนแสดงความคิดเห็นจากหนังสือนอกเวลาได้ถูกต้อง ๑๐. เขียนแสดงความคิดเหน็ เชิงสร้างสรรคไ์ ดถ้ ูกต้อง ๑๑. เขยี นเค้าโครงโครงงานได้ถูกต้อง ๑๒. เขยี นรายงานโครงงานได้ถกู ต้อง ๔. สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียน ๑. ความสามารถในการส่ือสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๕. คณุ ลักษณะองั พงึ ประสงค์ ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ๒. ซ่ือสัตยส์ ุจรติ ๓. มวี ินยั ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๕. อย่อู ย่างพอเพยี ง ๖. ม่งุ ม่นั ในการทางาน ๗. รักความเปน็ ไทย ๘. มจี ิตสาธารณะ ๖. การประเมินผลรวบยอด ช้ินงานหรือภาระงาน ชิน้ งานหรอื ภาระงานใช้เกณฑ์การประเมินแบบ Rubrics

392 338925 แบบประเมนิ การแอบา่ นบออปกเรสียะงเรม้อยินแกกว้ ารอา่ นออกเสียงรอ้ ยแกว้ คาคชาช้แี แ้ี จจงงครคปู รระปู เมรินะพฤเตมิกนิ รรพมขฤองตนิกักเรรียรนมในขกอารงอ่านนักออเกรเสยี ียนงบใทนร้อกยาแกรว้ อแล่าะนใหอ้คะอแกนนเลสงียในงชบอ่ งทที่ ร้อยแกว้ และให ตรตงรกงกับบั พพฤฤติกตรรกิ มรขอรงมนักขเรอียนงนกั เรียน เลลำ�ดเขลบั ขททที่ ่ี ชื่อ–สกลุ ชอื่ –สกลุ ัอกขรวิ ีธ รวม สรปุ ผล น้าเ ีสยง-อารม ์ณ การประเมิน ความ ูถก ้ตองในการ ่อาน บุค ิลกท่าทาง ัอกขรวิ ีธ น้าเ ีสยง-อารม ์ณ ความถูกต้องในการ ่อาน บุค ิลกท่าทาง ๔ ๔ ๔ ๔ ๑๖๔ ผ่าน ๔ไม่ผ่าน ๔ ๔ เกเณกณฑฑก์กาารตรดั ตสนิดั รสอ้ ินยละร๘อ้ ๐ยขลน้ึ ไะป ๘(๑๓๐คขะแนึ้นนไ)ป (๑๓ คะแนน) คคะแะนแน น๑๓น-๑๖๑๓-๑๖ หมายถงึ ดมี าหก มายถึง ดมี าก คคะแะนแน น๙-น๑๒๙-๑๒ หมายถึง ดี หมายถงึ ดี คคะแะนแน น๕-น๘ ๕-๘ หมายถงึ พอใหช้ มายถึง พอใช้ คคะแะนแน น๐-น๔ ๐-๔ หมายถึง ปรับหปรมุง ายถึง ปรบั ปรงุ ลงชอื่ ................................ล....ง...ช....ื่อ...ผ.ปู้ .ร..ะ.เ.ม.ิน............................... (...........................................(................).................................... ................./............................./.........................../............................/

394 394386 แบบประเมนิ การอา่ นออกเสียงรอ้ ยกรอง คาชแี้ จง ครปู ระเมินพฤติกรรมของนกั เรยี นในการอ่านออกเสียงรอ้ ยกรองและให้คะแนนลงในช่องท่ตี รงกับ พฤติกรรมของนักเรียน เลขที่ ชอื่ – สกลุ ัอกขรวิ ีธ รวม สรุปผล น้าเ ีสยง-อารม ์ณ การประเมิน ความถูก ้ตองในการ ่อาน บุค ิลกท่าทาง ๔ ๔ ๔ ๔ ๑๖ ผ่าน ไมผ่ ่าน เกณฑ์การตดั สิน รอ้ ยละ ๘๐ ข้ึนไป (๑๓ คะแนน) ดีมาก คะแนน ๑๓ – ๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙ – ๑๒ หมายถงึ พอใช้ คะแนน ๕ – ๘ หมายถึง ปรบั ปรงุ คะแนน ๐ – ๔ หมายถงึ ลงชือ่ ......................................................ผู้ประเมนิ (.........................................................) ................./............................/....................