244 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๓ เร่อื ง พินจิ พิจารณ์ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๖ เวลา ๑ ช่ัวโมง กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรอ่ื ง การพดู แสดงความคิดเหน็ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ ขอบเขตเนอื้ หา รายวิชาพ้ืนฐานภาษาไทย ความหมายการพดู แสดงความคิดเหน็ หลกั การพดู แสดงความคดิ เหน็ กิจกรรมการเรียนรู้ ส่อื /แหล่งเรียนรู้ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ขน้ั นา 1. นิทาน เร่ือง กบหหู นวก ด้านความรู้ 1. ครเู ล่านทิ านเรอ่ื ง กบหูหนวก จากน้ันครสู มุ่ ถามนกั เรียน 2. นทิ านชาดก เรือ่ ง กกณั ฏกชาดก วา่ ดว้ ยกิง้ กา่ ๑. อธิบายความหมายการพูดแสดงความ เก่ยี วกับเน้อื หาและขอ้ คดิ ท่ีได้จากการชมวดี ิทัศน์ และสอบถาม ไดท้ รัพย์ คดิ เหน็ นกั เรยี นว่าวดี ิทัศน์ท่ชี มไปดีหรอื ไม่ดอี ยา่ งไรบา้ ง จากนน้ั ครูเชอื่ มโยง ๓. ใบความรู้ เร่อื ง การพดู แสดงความคดิ เห็น ๒. อธิบายหลักการพูดแสดงความคดิ เห็น เขา้ สู่เรอื่ งการพูดแสดงความคิดเหน็ ๔. ใบงาน เรื่อง การพูดแสดงความคดิ เห็น ดา้ นทักษะและกระบวนการ ขน้ั สอน ภาระงาน/ชิน้ งาน พูดแสดงความคิดเห็นจากส่ือทไ่ี ดร้ ับได้ ๑. นักเรียนศึกษาใบความรู้ เรื่อง การพูดแสดงความคดิ เหน็ นักเรยี นศกึ ษาข้อมูลเกย่ี วกบั หลกั เกณฑ์ทางภาษา มมี ารยาทในการฟงั การดู ครูอธิบายเพิ่มเตมิ การพดู ลักษณะตา่ งๆ ดแลา้ นะกคาณุ รพลกัูดษณะ ๒. นักเรียนศึกษาใบงานนิทานชาดก เรอื่ ง กกัณฏกชาดก ว่าด้วย ดา้ ๑น.คมณุ ีวลนิ ักยษณะ กง้ิ กา่ ไดท้ รัพย์ โดยมีการสนทนาแลกเปล่ยี นความคิดเหน็ จากเน้อื หา ๒1. ใมฝีว่เินรียั นรู้ ของนิทานในเชงิ สรา้ งสรรค์ ๓2. มใฝุง่ เ่มรั่นยี ในนรกู้ ารทำ�งาน ๓. ครูใหน้ ักเรยี นทุกคนเขยี นแสดงความคดิ เหน็ จากการอ่าน ๔3. มีมุง่ มา่นัรยในาทกใานรทการงาพนดู นิทานชาดกเรื่อง กกัณฏกชาดก วา่ ด้วยกิ้งก่าได้ทรัพย์ ลงใน ใบงานเรื่อง การพูดแสดงความคิดเห็น ๔. ครูสุ่มนักเรียน ๑ - ๒ คนออกมาพดู แสดงความคิดเห็นจาก นิทานชาดกเรือ่ ง กกัณฏกชาดก ท่ีได้ดูหนา้ ชั้นเรียน เพ่อื เป็น ตวั อย่างใหเ้ พ่ือนๆ ในช้นั เรยี นได้เหน็ หลกั และวธิ กี ารพดู แสดงความ คดิ เห็น โดยครเู ปน็ ผู้ให้ข้อเสนอแนะในสิง่ ท่ถี ูกต้อง 223474
ตัวอยา่ งให้เพอ่ื นๆ ในชัน้ เรยี นได้เห็นหลกั และวธิ ีการพูดแสดงความ คดิ เหน็ โดยครเู ป็นผู้ใหข้ ้อเสนอแนะในสิง่ ทถี่ ูกต้อง หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ เรอ่ื ง พนิ จิ พจิ ารณ์ แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ ๖ 245 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรือ่ ง การพูดแสดงความคดิ เหน็ เวลา ๑ ชวั่ โมง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ รายวิชาพน้ื ฐานภาษาไทย กิจกรรมการเรียนรู้ ขน้ั สรุป ครูและนกั เรียนรว่ มกนั สรุปความรู้ เร่ือง การพูดแสดงความ คดิ เห็น และนัดหมายนกั เรยี นทเ่ี หลอื พดู แสดงความคิดเหน็ นอก เวลาเรยี นเพื่อเก็บเป็นคะแนน 238
246223469 การวดั และประเมินผล สงิ่ ทตี่ ้องการวัด/ประเมิน วิธีการ เครอ่ื งมอื ที่ใช้ เกณฑ์ ด้านความรู้ แบบสงั เกตพฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ๑. บอกความหมายการพูด สงั เกตจากการเรียน การเรียนรายบุคคล ร้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป แสดงความคิดเห็น และการตอบคาถาม ๒. บอกหลกั การพูดแสดง ความคิดเหน็ ดา้ นทักษะและกระบวนการ พดู แสดงความคิดเห็นจาก ๑. ประเมนิ การพูด ๑. แบบประเมินการพดู ผ่านเกณฑ์การประเมิน สอ่ื ทไี่ ด้รบั ไดห้ ลักเกณฑท์ าง แสดงความคดิ เห็น แสดงความคิดเห็น ร้อยละ ๘๐ ขึน้ ไป ภาษา มมี ารยาทในการฟงั ๒. ตรวจใบงาน ๒. ใบงานเรอ่ื ง การพดู การดูและการพูด แสดงความคดิ เหน็ ด้านคุณลักษณะ 1. มวี ินัย ประเมินจาก แบบประเมนิ คณุ ลักษณะ ผา่ นเกณฑ์คณุ ภาพ 2. ใฝ่เรียนรู้ คุณลกั ษณะ ระดับ ๒ 3. มุง่ มน่ั ในการทางาน ๘. บันทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ....................................................... ปัญหาและอุปสรรค ............................................................................................................................. ....................................................... ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................................................................................................... ..... ลงช่อื ...................................................ผสู้ อน (.................................................................) วนั ที่.............เดอื น..................พ.ศ………. ๙. ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผบู้ ริหารหรือผู้ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย .............................................................................................................................. ...................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ...................................................ผสู้ อน (.................................................................) วันที.่ ............เดือน..................พ.ศ……….
247224470 นิทาน เรอื่ ง กบหูหนวก หนว่ ยท่ี ๓ แผนการจัดการเรยี นรู้ ๖ เรือ่ ง การพูดแสดงความคิดเหน็ รายวิชาภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ครั้งหนง่ึ .. มกี ลุ่มของลูกกบตัวเล็กๆกลุม่ หนึ่ง ได้มาจัดการแขง่ ขนั เพ่ือจะปีนข้นึ ไปยอดเสา ไฟฟ้าแรงสงู มกี ลุม่ ชนชาวกบมากมาย มารอชม และเชียร์การแขง่ ขันครั้งน้ี การแขง่ ขันเรมิ่ ข้ึน พูดอย่างตรงไปตรงมา ไม่มีชนชาวกบตัวใด จะเช่อื ว่ากบตัวเล็ก ๆ เหล่านจ้ี ะปนี ขึ้น ไปจนถงึ ยอดได้ มีเสยี งพูดลอยมาให้ไดย้ นิ เป็นต้นว่า “เขาไม่มีทางจะขนึ้ ไปถึงยอดหรอก มันยากลาบากขนาดน้ัน” หรอื “เขาไม่มโี อกาสจะประสบความสาเรจ็ หรอก เสามนั สงู ขนาดนน้ั ” เจ้ากบตัวนอ้ ยๆ เหล่านี้ ก็เรม่ิ ทจี่ ะร่วงหลน่ ลงไปทีละตวั ๆ ยกเวน้ เจ้าตัวหน่ึงซ่ึงยังปนี อย่างมงุ่ มน่ั สูงขน้ึ และสูงข้นึ ฝงู กบกเ็ รม่ิ ส่งเสยี งรอ้ งตะโกน “มันยากเกินไป ไมม่ ีใครทาได้หรอก” กบสว่ นใหญเ่ ริ่มเหน่ือย และยอมแพ้ แตม่ ีกบตัวหนงึ่ ทีย่ ังต้งั หน้าตั้งตาปีนสูงขึ้น สูงข้ึน เจ้าตัวนไี้ ม่ ยอมแพ้ เมอื่ ส้ินสุดการแข่งขัน กบตวั อ่นื ๆ ต่างยอมแพท้ ี่จะปีนส่ยู อดเสาจนหมดสนิ้ ยกเวน้ กบตวั เลก็ ๆตัวหนง่ึ ด้วยความพยายามสดุ กาลัง มันก็สามารถปนี ข้ึนสยู่ อดเสา ได้ กบทกุ ๆ ตัวอยากรวู้ า่ เจา้ กบตัวเล็ก ๆ ตวั นีท้ าไดอ้ ย่างไร กบคู่แขง่ ขนั ต่างอยากรู้วา่ เจา้ กบตัวเล็ก ๆ ตวั นีม้ พี ลังปนี ขึ้นสยู่ อดเสาอันเป็นเปา้ หมายจนประสบความสาเรจ็ ไดอ้ ย่าง ไร เรอื่ งกลับกลายเปน็ ว่า… กบผู้ชนะตัวน้ันหหู นวก!!!! เรอื่ งนบี้ อกใหร้ วู้ ่า อย่าฟังคาพดู ในดา้ นลบ หรือการมองในแง่ลบจากคนอืน่ เพราะเขาเหล่าน้นั จะดงึ ความฝัน ความปรารถนาในหัวใจคณุ ออกไป ให้ระวังในพลังของคาพูดเสมอ เพราะทุกสิ่งท่ีคุณไดย้ นิ และได้อา่ นมัน จะส่งผลต่อการกระทาของคุณ เพราะฉะน้นั ตลอดเวลาขอให้เป็นคนคิดบวก และเหนอื จากนัน้ จงทาเปน็ หูหนวกตอ่ คาพดู ที่บอกว่า คุณไม่สามารถทาความฝนั ของคุณให้เป็นจริงได้ ให้คิดเสมอว่า คณุ สามารถทาได้ กระตุน้ เตือนตวั เองอยา่ งน้ี ตลอดเวลา (นทิ านนา้ ใจไมตรี ๐๖๙)
248224481 นิทานชาดก เร่อื ง กกัณฏกชาดก ว่าด้วยกิ้งกา่ ได้ทรพั ย์ หนว่ ยที่ ๓ แผนการจดั การเรยี นรู้ ๖ เร่ือง การพดู แสดงความคดิ เหน็ รายวชิ าภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ ความนา พระพทุ ธเจา้ ทรงอาศยั พระนครสาวตั ถี ประทับอยู่ ณ วดั พระเชตวันมหาวหิ าร ทรงปรารภพระปัญญา บารมีของพระองค์ในอดตี ชาติ ได้ตรสั พระธรรมเทศนาคอื คาถาท่ีปรากฏ ณ เบ้อื งต้น ปัจจุบนั ชาติ มีเรือ่ งย่อเล่าว่า วันหนึง่ พวกภิกษไุ ดน้ ่ังคุยกันในโรงธรรมสภา เมือ่ จะสรรเสริญ พระปัญญาบารมีของ พระผมู้ ีพระภาคเจา้ ได้สรรเสริญพระคุณดงั นวี้ ่า “ดกู ่อนอาวโุ สท้ังหลาย พระตถาคตเจ้านัน้ ช่างเปน็ ผ้ทู ท่ี รงมีพระปัญญาทยี่ ่ิงใหญ่เหลอื เกิน พระองค์ สามารถท่ีจะปราบวาทะของผู้อ่นื ได้ ทาคนเหล่านั้นใหส้ ิน้ พยศและไดป้ ระทานบรรพชาให้ตง้ั อยู่ในมรรคผล ทัง้ นี้ก็ เพราะพระองคท์ รงมีพระปัญญาที่ลึกซงึ้ นั้นเอง” ในขณะนน้ั พระพทุ ธเจา้ เสดจ็ ผ่านมาถึง เมื่อทรงทราบเร่อื งจึงตรสั ว่า “ดกู ่อนภกิ ษทุ งั้ หลาย มิใช่แต่ใน บัดนี้เท่านั้นนะ ทตี่ ถาคตมีปญั ญา แม้ในอดีตกาลเม่อื ญาณยังไม่แก่กล้า ขณะทีก่ าลงั บาเพ็ญบุรพจริยาเพ่ือพระ โพธญิ าณอยู่ เราก็เปน็ ผู้มีปัญญามาแลว้ เหมือนกัน” ครัน้ ตรัสเสร็จแลว้ พระพุทธองคท์ รงประทบั นงิ่ อยู่ เหล่าภิกษุท้งั หลายจงึ กราบทูลวงิ วอนใหท้ รง ประกาศเรื่องราวแตห่ นหลัง จงึ ทรงนาอดีตนิทานมาแสดงตอ่ ไปน้ี อดตี ชาตเิ นือ้ หาชาดก ในอดีตกาล มพี ระราชาพระนามวา่ วิเทหะ เสวยราชสมบตั อิ ยใู่ นกรุงมถิ ิลา ในแควน้ วเิ ทหะ พระเทวี ของพระองคม์ ีพระนามวา่ อทุ ุมพรเทวี ตอ่ มา พระองค์ไดม้ โหสถมารบั ราชการ เขาเป็นอามาตย์ที่ทรงโปรดปราน มาก วนั หนงึ่ เมื่อพระเจ้าวิเทหราชเสดจ็ ไปพระราชอุทยานกับมโหสถบณั ฑติ ในขณะนัน้ มกี ง่ิ ก่าตวั หน่งึ อยบู่ น ปลายเสาค่าย มนั เห็นพระราชาเสด็จมาก็ลงจากเสาคา่ ยมาหมอบที่แผน่ ดินแลว้ ทาการผงกหัวอย่ไู ปมา พระราชา ทอดพระเนตรเห็นกริ ิยาของมันแลว้ จงึ ตรสั ถามว่า “แนะ่ บัณฑติ กง้ิ ก่ากาลงั ทาอะไรของมนั ” มโหสถจงึ กราบทูลว่า “ก้ิงก่ากาลงั ถวายตวั แดพ่ ระองค์อยู่ พระเจ้าขา้ ” พระราชาทรงพอพระทยั จงึ มีรบั สงั่ ว่า “เมื่อมนั ถวายตัว ก็จงให้ ทรพั ย์แก่มันเถิด” มโหสถจงึ กราบทูลใหท้ รงทราบว่า “ขอเดชะ กงิ้ กา่ ไม่ต้องการทรัพย์ ขอเพยี งพระราชทานแค่ เนือ้ กเ็ พยี งพอแล้ว” จึงมีรบั สั่งโปรดใหร้ าชบุรุษซ้ือเน้ือใหแ้ กม่ ันวันละก่ึงมาสก ต่อมาวนั หนงึ่ เป็นวนั อุโบสถซง่ึ ในวนั นจ้ี ะไมม่ ีการฆ่าสตั ว์ ราชบุรุษหาเนอื้ ไมไ่ ด้จงึ เอาเหรยี ญกง่ึ มาสก นั้นมาเจาะรแู ลว้ เอาด้ายร้อยผกู เปน็ เคร่ืองประดับท่คี อมัน
249224429 ตง้ั แต่น้นั มา มนั ก็เกดิ มานะความถอื ตวั จดั เพราะอาศัยทรัพย์ท่หี ้อยคอน่ันเอง ถดั มาอกี หนึง่ วัน เมื่อมันได้พบพระราชาอีกครง้ั ในพระราชอุทยาน มันก็ทาตนเสมอพระราชาดว้ ย เข้าใจวา่ ตนเองมที รัพยเ์ สมอกับพระราชา จึงไม่ยอมลงมาจากเสาคา่ ยได้แตห่ มอบยกหัวรอ่ นไปมาบนปลายเสาคา่ ย พระเจ้าวเิ ทหราชไดท้ อดพระเนตรเหน็ กริ ิยาของมนั ทรงแปลกพระทยั ในกิริยาทีแ่ ปลกไปของมัน จึง ตรสั ถามถึงสาเหตุกะมโหสถด้วยคาถาท่ี ๑ ว่า กิ้งก่าน้ีไมล่ งจากปลายเสาค่ายหมอบเหมือนในกอ่ น เจา้ ร้หู รือไม่ว่าเพราะเหตไุ ร เจ้าก้ิงกา่ ตัวนจี้ งึ กระด้างถือตวั ลาดับน้นั มโหสถบณั ฑติ เมื่อตรวจพิจารณาด้วยปญั ญาจงึ ร้วู า่ วันน้ีเปน็ วนั อุโบสถ โดยปกตใิ นวันน้ีจะ ไม่มีการฆา่ สตั วก์ นั ราชบรุ ุษเม่อื หาเน้ือไมไ่ ด้จึงเอาทรพั ย์ก่ึงมาสกซ่งึ เปน็ ค่าอาหารมาผูกคอใหม้ ันแทน เพราะอาศยั ทรพั ย์นีเ่ องจงึ ทาใหก้ ิ้งก่าเกิดความความถือตวั จึงกราบทูลใหท้ ราบดว้ ยคาถาท่สี องน้วี ่า กงิ้ ก่าได้ทรัพย์ก่ึงมาสกซง่ึ ไม่เคยได้มาก่อน ตวั มันจึงทาการดูหม่ินพระเจา้ วิเทหราช ผทู้ รงทาการ สงเคราะห์ชาวกรงุ มิถิลา ความหมายของคาถา พระราชาทรงแปลกพระทยั ที่ไมท่ รงเห็นมนั ลงมาจากปลายเสาค่ายเหมือนอย่างแตก่ ่อนจึงมรี บั ส่ัง ถามมโหสถถึงเหตุปจั จยั ทที่ าใหม้ ันเกดิ อาการกระด้างกระเด่อื ง ไม่อ้อนน้อมถ่อมตนเหมือนอยา่ งแต่ก่อนดว้ ยคาถา ท่ี ๑ ฝา่ ยมโหสถจงึ กราบทูลให้ทราบถงึ เหตทุ ่ีทาให้มันยกตนข่มทา่ นเพราะทรัพย์ทีร่ าชบุรุษเจาะร้อยคอให้มันแค่ เพยี งกึ่งมาสกจึงได้กราบทูลให้ทรงทราบด้วยคาถาที่ ๒ พระราชาได้ฟงั คากราบทูลเชน่ นนั้ จึงมีรับสั่งใหเ้ รียกราช บุรุษมาสอบสวน จึงได้ทราบความจรงิ เหมอื นอยา่ งที่มโหสถได้กราบทูลใหท้ รงทราบ ทรงมคี วามเลอื่ มใสต่อมโหสถ ยงิ่ นักท่ีรแู้ มก้ ระทั่งนสิ ัยของสัตวเ์ ดรจั ฉานอยา่ งกง้ิ ก่าไม่ตา่ งอะไรกบั พระสัพพัญญูพุทธเจ้าท่ที รงรู้อธั ยาศยั ของปวง สัตว์โลก จึงพระราชทานสว่ ยทปี่ ระตทู ้ัง ๔ แกม่ โหสถ ทรงมีรบั ส่งั ใหฆ้ า่ กงิ้ ก่าตัวนั้นเสีย แต่มโหสถได้ทลู ทัดทานไว้ โดยกราบทูลวา่ “ธรรมดาว่าสัตวเ์ ดรัจฉานย่อมไม่มีปัญญาเป็นเร่ืองธรรมดา ขอพระองค์ไดโ้ ปรดพระราชทานอภยั โทษ แก่มันด้วยเถิด พระเจ้าขา้ ” คนโงเ่ ขลา เยอ่ หยิ่ง เพราะทรัพย์ ซงึ่ ไม่ได้มีคณุ คา่ อย่างแทจ้ รงิ (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗)
250224530 ใบความรู้ เรือ่ ง การพูดแสดงความคิดเหน็ หน่วยที่ ๓ แผนการจัดการเรยี นรู้ ๖ เรอื่ ง การพดู แสดงความคดิ เหน็ รายวชิ าภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ การพูดแสดงความคิดเห็น หมายถึง การพูดเพื่อแสดงความรู้สึก หรือแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเรื่องใด เรื่องหนึ่งอย่างมีเหตุผล มีความสอดคล้องกับเร่ืองท่ีพูด ในการพูดแสดงความคิดเห็น ผู้พูดอาจแสดงความคิดเห็น ที่เกี่ยวกับเรื่องทางวิชาการ เศรษฐกิจหรือสังคมก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับโอกาสในการพูด เช่น การให้สัมภาษณ์ การประชมุ การสมั มนา การอภปิ ราย การบรรยาย ลกั ษณะของการพดู แสดงความคิดเหน็ ท่ีดี ๑. ผพู้ ดู จะต้องมีความรูใ้ นเรือ่ งทจ่ี ะแสดงความคดิ เหน็ เป็นอยา่ งดี ๒. การแสดงความคิดเห็นเร่ืองใดเรอ่ื งหนึง่ ควรมีหลกั การแสดงความคิดเห็นในเชงิ ขัดแยง้ และเชงิ วิจารณ์ ๓. ใช้ภาษาสุภาพเหมาะสมกับโอกาสโดยเฉพาะการแสดงความคิดเห็นในเชิงขัดแย้งและเชิงวิจารณ์เพื่อ รักษาความสมั พนั ธท์ ด่ี ีตอ่ ผพู้ ูดและผู้ฟัง ๔. การแสดงความคิดเห็นใดๆ ก็ตาม ควรแสดงความคิดเห็นในเชิงสร้างสรรค์และเป็นประโยชน์ต่อ สว่ นรวม https://my.dek-d.com
251224541 ใบงาน เร่อื ง การพูดแสดงความคิดเหน็ หนว่ ยท่ี ๓ แผนการจัดการเรยี นรู้ ๖ เร่อื ง การพูดแสดงความคดิ เห็น รายวชิ าภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรยี นอ่านทานชาดกเรือ่ ง กกณั ฏกชาดก ว่าด้วยกิง้ ก่าได้ทรัพย์ แลว้ เขยี นแสดงความคดิ เห็น ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................................................................. ....... ............................................................................................................................ ........................................................ ............................................................................................................................. ....................................................... ................................................................................................................................................. ................................... ................................................................................................ .................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ..................................................................................................................................................................... ............... .................................................................................................................... ................................................................ ............................................................................................................................. ....................................................... ......................................................................................................................................... ........................................... ........................................................................................ ............................................................................................
252225425 แบบประเมนิ การพดู แสดงความคิดเหน็ การใชภ้ าษา การใช้เหตุผล การแสดง บคุ ลิกทา่ ทาง รวม ความ ความคิดเหน็ เลขท่ี ชื่อ-สกลุ น่าเชือ่ ถอื 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 12 ข้อเสนอแนะเพ่มิ เติม : ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................ ............................................................................................ ............ เกณฑก์ ารประเมิน ดี ระดบั คุณภาพ 3 หมายถงึ พอใช้ 9 – 12 คะแนน = ดี 2 หมายถงึ ปรับปรุง 5 – 8 คะแนน = พอใช้ 1 หมายถงึ 1 – 4 คะแนน = ปรบั ปรุง
253225436 เกเณกณฑฑก์ า์กราปรรปะรเะมเนิมกนิ ากราพรูดพแูดสแดสงดคงวคาวมาคมดิ คเิดหเ็นหน็ ประเด็นปกราะรเปดร็นะกเมารินประเมนิ 3 (ด3ี) (ด)ี เเกกณณฑฑ์ก์กาารรปปรระะเเมมินิน 1 (1ปร(ับปปรับรปุง)รุง) 22(พ(พออใชใช้) ้) ใช้ภาษาไมเ่ หมาะสม ผดิ ๑. การใชภ้ ๑า.ษกาารใช้ภาษา ใช้ภาษใชาไภ้ ดา้ถษกู าตได้อถ้งูกต้อง ใชภ้ใชาภ้ษาษไดาถ้ ไดูกถ้ตูกอ้ ตง้อง ตตงั้้ังแแตต่่ ๓๓ ตตาำแแหหนนง่่งขข้ึนึ้นไไปป สละสลสวลยะสลวย ถูกตอ้ ง พสตลำดู ตพคสแะมหลา่อสดูเี แหะนลนโดหสตวข่งยยลนผุ้ามวงล่งผเยีเชหิดหอ่ืผไตลดถดิผุัก้ไือไลฐมดไาเ่ดไ้หกนม้ ลิน่เักก๒ฐนิ า๒น ค่อนขา้ งเช่อื ถอื ได้ แพพตดูดู เ่โมชดีเือ่ ยหถมตือีเผุ หไลดตน้ หุผ้อลลยกั หฐลาักนฐาน ๒คว. ากมานรใ่าชเชเ้ ๒คหอ่ื ว.ตถากผุือมาลนรใา่ ชเชเ้ ห่อื ตถผุือล หพลูดักมฐเี หสพหานตาลดู มุผชกัโดาลดัฐรยเาจถมนนเีเชชหดัอ่ื ตเถจุผือนลได้ แต่ไมน่ า่ เชื่อถอื ๓. การแสดงความสามารแถสเดชงือ่ คถวือาไมดค้ ดิ เหน็ แสดงความคดิ เหน็ ไม่ แสดงความคิดเหน็ ไม่ ๓. การแสคดดิงคเหวน็าม แสดงคชวดั าเมจนคดิ โเดหย็นแสดงเหตุ แสชดัดงคเจวนามแตค่สดิ อเหดน็ คไลม้อ่ งกบั ชแัดสเดจงนคแวลามะไคมดิ ่สเหอด็นคไมล่้อง แปชบลัดรคุ ะะเลจเผกิ ดนลเบทแปท็นหไลคุรักโา่ ดมดะะททล้สายเผิกาาดะอแลงยทส็นดสใไผ่ามนดคดู้ฟทก้สลงมังาเาออ้ หงีกรกดงใาตพกนวครุดูับากลดาอ้ รงพกดูับบชปแลัดุครคปทบะะเลจ่อเผุครักิกดนะนลทลท็นเไขิกาา่ดดบโย้าททดน็้สางผ่าายงอเู้ฟทงหสแดใงัา่วสมนคงนดากกลใะงนวา้อเสรากหงมพดกาตสบัูดรุมพาีกยดู าตรา กชับดั ปเจรนะแเดล็นะไม่สอดคล้อง คิดเห็น บกคุบั ลปกิรทะเา่ ดท็นางในการพูดไม่ ๔. บุคลิกท่าทาง คทบ่อักคุ ยทลเาิกหยทมผ่าาู้ฟทะงัาสงมสในาไยกมตา่มารีกไพามดู ร่มอง ผไม้ฟู ่เงัหมาะสม ไมม่ กี าร ๔. บคุ ลิกทา่ ทาง ทักทายผฟู้ ัง สายตาไมม่ อง ผฟู้ งั เหมาะสสามยตมากี มาอรงผู้ฟังอยา่ ง ค่อมนอขง้าผงู้เฟหงั มเลา็กะสนม้อยมีการ ทักทาทยผว่ั ถู้ฟงึ ัง ทักทายผฟู้ งั กวาดสายตา กวาดสายตามองผู้ฟัง มองผฟู้ งั เลก็ นอ้ ย อยา่ งทัว่ ถึง
254 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๓ เรอื่ ง พินจิ พิจารณ์ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๗ เวลา ๑ ชวั่ โมง กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย เรือ่ ง คานาม ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๑ ขอบเขตเนือ้ หา รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ชนิดและหนา้ ทขี่ องคา จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหลง่ เรียนรู้ ดา้ นความรู้ ข้ันนา 1. บตั รคา จานวน ๓ คา ได้แก่ คาวา่ ลงิ บ้าน 1. ครูขออาสาสมัครนักเรียน ๑ คนเพ่ือออกมาหน้าช้ันเรียน และหม้อขา้ ว อธบิ ายความหมายและชนดิ ของคานามได้ จากน้ันให้นักเรียนใบ้คาจากบัตรคาจานวน ๓ คา ได้แก่ คาว่า ลิง 2. ใบความรู้เรอ่ื ง คานาม ด้านทกั ษะและกระบวนการ บ้าน และหม้อข้าว เมื่อเพ่ือนในห้องทายคาจนครบ ครูเขียนคาท้ัง ๓. เกม “รวบรวมคานาม” สามคาไว้บนกระดานแล้วถามนักเรียนว่าท้ังสามคามีลักษณะ ภาระงาน/ช้นิ งาน วิเคราะห์ชนิดของคานามได้ เหมอื นกนั อยา่ งไร เพอื่ เชอื่ มโยงเข้าสู่เร่ืองคานาม นักเรียนจดั ทาสมดุ รวบรวมคานามประกอบ ดา้ นคุณลักษณะ ขนั้ สอน ภาพ 1. ครูซักถามนักเรียนว่าเรื่องความหมายของคานาม ควรมี 1. มวี นิ ัย ลักษณะอย่างไร ครูประมวลคาตอบแล้วสรุปความหมายของ 2. ใฝเ่ รยี นรู้ คานาม นักเรยี นจดบนั ทึก 3. มุ่งม่นั ในการทางาน 2. นักเรียนแบ่งกลุ่ม จานวน ๕ กลุ่ม แล้วจับสลากศึกษาใบ ความรู้ เรอื่ ง ชนดิ ของคานามดงั น้ี กลุม่ ท่ี ๑ ศกึ ษาเรอื่ งคาสามานยนาม กลุ่มท่ี ๒ ศึกษาเรื่องคาวสิ ามานยนาม กลุ่มท่ี ๓ ศกึ ษาเรื่องคาสมุหนาม กลุ่มที่ ๔ ศึกษาเรอ่ื งคาลกั ษณะนาม กล่มุ ท่ี ๕ ศกึ ษาเร่ืองคาอาการนาม เม่ือแต่ละกลุ่มศึกษาชนิดของคาแต่ละชนิดแล้วให้นาเสนอ ความรขู้ องกลมุ่ ตนเองใหเ้ พ่ือนฟัง 224574
กกหหลลนน่มุุ่ม่่ววสสยยาากกรราาะะรรกกเเรราายีียรรนนเเรรรรยียี ทูู้ท้ นน่ี่ี รร๓๓้ภูู้ภาาเเษษรรื่ออื่าางงไไททพพยยินนิ ิจจิ พพิิจจาารรณณ์์ รรแแาาผผยยนนววกกิิชชาาาาเเรรรรพพจจ่อืือ่ ื้นนื้ดัดั งงฐฐกกคคาาาานนรราาเเนนภภรราาาายีียมมษษนนาารรไไูทู้้ททที่ี่ ยย๗๗ 225555 ๕๕ตคสตสคคขตตคคอขอคแแถค ่่ธธรระะาาาางงันน้ั้ลลูกนนว 4433รรคคนนตตบิิบววนนแแ๔ตาสสะะเเออจจรรัั....นนววาาอาาาามอ้รรอถถ.บบแูแู สสมมยยนนแแมมนนนนงปุุปถููงงงกกนลลออเเปปรททกัักแแััจกกรรู((พพกตตักะะบบคคู้รรจลลเเะู้นนเเจจตม่มิ่ิรร้้นนเออรระะาาคคัเะะกัรออกกยยีี ปเเ้ีีอนนยยกกัักกงงววคคตตีใยออนนใใ็นเเอองจจนนาาหาารรมมิินรรหหกกลลคมมมมบบกะะููมมนน้ไยียีคคล้้มมะะไไททำถถ�ดลภภเเออนนาาววดดกกะปปาาทููกกงั้งัุ้่้มมาาเเบบาารร้้หหลลกมมสส็็ ตตนนพพีมมท่่่านวว๕๕หหุุ่่มมลนนนน้้าาออกรรมมกกี่ไักมมเเุ่ม้้กกดูู้้งงาาออชชกกทลลลลเาาคคชชเ้คนนรททคคัันน่น่นุุ่่ี่มมยยสลาา้ั้ันนีะยิดิดวว่่ีีสสเเสสภภุด่ททททนกกแเเนาา))รรุุ ดดรราาใีี่่่ี่ีนนเมมไไนมมุปุปรรเนกีียยรรดดใใขัักกนออรรคคะะม““เนนนน้้ คคีเเยูู้้วททบบววงงรรรรเเเะะลนาาาาีี่่“ลลียียมตตววเเววพพแแนนมมาบบะะรนนื่อนนลล กรรนน่ื่ืใใออวรรเเค๓ไไาา๓๓หหู้เ้เูลขขบววแแดดนนรรร๐้้ีียยนน๐๐ุ่มมมขข่ื่ื้้ออบรศศ๓๓นนัักกคคเเว่่ใงงงงึึกกววว๐๐มมด๕คคเเขขาามษษกกิิินนรรนื่่ื นนออเััววนนคีียยขลลาาราาาววาาาาคคกกำ�ททนนุุ่่มมอีมมทิิยมมนนมมรรัันนนีีบใใจจนาาีหห””าาแแบบดดารรโััททดดจไมมททตตดเเมววโโดททึงีีขขลลาาดด๕๕่ลล่ีียบบ”ส้มีียยาายยะะโโยยะะครรรสสนนแแดดากกโรรจจรรุปววรมมดกลลไไออลลยยะะออมมูตคดดุุดดะะทยบบุุ่่เเมมคคบบคคระลล้้มมชชรรเีนน่สวรรแาาจจล่่นนาาววนนโโัักกููจุนนดเเกกนึึดดงง่นบบททดิิดปปเเสสสททแาานยยรร้ัั้รรเงงขข็็ นนกอมมลสสียียีี่่รรสสคคววออุุบมทท้ิ้ปปิมมนนนนุุะดดผผรรงงูู่ีีูู่้้ ชช้ั้ันนมมเเธััธววยยลลมมาาศศ๑๑ึกึกษษชชาาว่ัั่วปปโโีทีทมมงง่ีี่ ๑๑ 248
256225496 การวดั และประเมนิ ผล วธิ ีการ เคร่อื งมอื ที่ใช้ เกณฑ์ สิ่งทีต่ ้องการวดั /ประเมนิ สงั เกตจากการเรียน แบบสังเกตพฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ การเรียน ร้อยละ ๘๐ข้นึ ไป ด้านความรู้ บอกความหมายและชนดิ ของคานามได้ ด้านทักษะและกระบวนการ สงั เกตพฤติกรรมการ แบบสังเกตพฤติกรรมการ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ วเิ คราะห์ชนดิ ของคานามได้ ทการงทานำ�กงาลนมุ่ กลุ่ม กทารงทานำ�งกาลน่มุ กลมุ่ ร้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป ด้านคุณลักษณะ 1. มีวนิ ัย ประเมนิ จากคณุ ลักษณะ แบบประเมนิ คุณลักษณะ ผ่านเกณฑ์คุณภาพ 2. ใฝ่เรยี นรู้ ระดบั ๒ 3. มงุ่ ม่ันในการทางาน ๘. บนั ทกึ ผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ....................................................... ปญั หาและอปุ สรรค .................................................................................................................................................................................... ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................................. ....................................................................... ลงชือ่ ...................................................ผสู้ อน (.................................................................) วันที่.............เดอื น.....................พ.ศ……. ๙. ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะของผบู้ รหิ ารหรือผู้ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงช่อื ...................................................ผสู้ อน (.................................................................) วันที่.............เดอื น.....................พ.ศ…….
257225570 ใบความรู้ เรื่อง คานาม หนว่ ยท่ี ๓ แผนการจดั การเรียนรู้ ๗ เร่อื ง คานาม รายวิชาภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ คานาม คือ คาที่ใช้เรียกชื่อสิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต ทั้งรูปธรรมและนามธรรม เช่น คน สัตว์ พืช ส่ิงของ สถานท่ี อารมณ์ ความรสู้ ึก ฯลฯ คานามแบ่งออกเป็น 5 ชนดิ คอื 1) สามานยนาม คือ คาที่ใช้เรียกชื่อนามทั่วๆไป ไม่เจาะจง ระบุความหมายกว้างๆ เช่น คน สัตว์ พืช หมา แมว ต้นไม้ ดอกไม้ วัด โรงเรียน กวี นักวทิ ยาศาสตร์ นักกฬี า ทหาร นักร้อง ฯลฯ 2๒) วิสสาามมาานนยยนนาามมคคือือคคาทำ�ที่ใชี่ใ้เชร้เียรกียชก่ือชนื่อานมาทม่ีเฉทพี่เฉาพะเาจะาเะจจางะจรงะบรุคะวบาุคมวหามมาหยแมคาบยแลคะบชแ้ีเลฉะพชาี้ะเฉเชพ่นาะนเชาย่น นจนัายหจนั วหดนเขวี้ยดวเขีย้เจว้าตเินจา้ตตินนิ (สตุนินขั (ส) ุนมัขา)ดอมนาดนอ่าน(น่าักร(น้องัก)รอ้ เงต)รียเมตอรยีุดมอศดุึกมษศากึ (ษโรางเ(รโรียงนเร)ยี สนุน) ทสรุนภทู่ รบภลิู่ คบลลิ นิ ตคันลินบตโี ธัน บเฟีโนธ เฟลนโี อนลาโี โอดนดาโาดวนิ ดซาีวินซทีกั ษทณิ ักษชณิ นิ วตัชรินวัตชรวนชหวลนกี ภหยัลีกภัย 3) สมุหนาม คือ คาทีใ่ ช้เรยี กชื่อนามท่ีเป็นหมวดหมู่ บ่งบอกจานวนมาก เช่น คณะ ฝูง กอง นิกาย บริษัท สารับ ก๊ก เหล่า ชุด กลมุ่ โขลง หมู่ ฯลฯ 4) ลักษณนาม คือ คาที่ใช้บอกลักษณะรูปพรรณสัณฐานของสามานยนาม ลักษณนามเป็นเอกลักษณ์ ของภาษาไทยประการหนง่ึ แสดงให้เหน็ ถงึ ความละเอียดลออในการใช้ภาษา ลกั ษณนามแบง่ ออกเป็น 6 กลุ่มดงั น้ี 4.1) บอกชนดิ เชน่ พระภิกษ,ุ สามเณร,บาทหลวง - รปู ยกั ษ,์ ฤาษี - ตน ชา้ งป่า - ตวั ช้างบา้ น - เชือก 4.2) บอกอาการ เชน่ บุหรี่ - มวน พลู - จีบ ไต้ - มัด ขนมจนี - จบี ,หัว ผา้ - พับ คมั ภีร์ใบลาน - ผกู 4.3) บอกรูปร่าง เชน่ รถ - คัน บา้ น, เปยี โน, จักร – หลงั ดินสอ - แท่ง ปากกา - ดา้ ม กลว้ ย - เครือ,หวี,ลูก 4.4) บอกหมวดหมู่ เช่น ฟืน - กอง ทหาร - หมวด พระ - นิกาย นักเรียน - คณะ ละคร - โรง กับขา้ ว - สารบั 4.5) บอกจานวน มาตรา เช่น ตะเกยี บ - คู่ ดินสอ – โหล เงนิ , ทอง - บาท ผ้า - เมตร ท่ดี นิ - ไร่, งาน, ตารางวา 4.6) ซา้ คานามข้างหน้า เช่น วัด - วัด โรงเรียน - โรง คะแนน - คะแนน คน - คน อาเภอ - อาเภอ จงั หวดั - จังหวัด 5) อาการนาม คือ คานามท่ีบอกกิริยาอาการ อารมณ์ความรู้สึก สภาวะในจิตใจท่ีเป็นนามธรรมใช้ การ และความนาหน้าคากริยาและวิเศษณ์ เช่น การว่ิง การเดิน การนอน การอ่านหนังสือ การออกกาลังกาย ความดี ความชั่ว ความงว่ ง ความงาม ความสะอาด ความสขุ * ขอ้ สงั เกต ถ้าการและความตามดว้ ยคานาม ถือว่าเป็นคาประสม ซึง่ จะจัดเป็น สามานยนาม เช่น การบา้ น การเมือง การไฟฟ้า การรถไฟ การทางพิเศษ ความแพ่ง ความอาญา
258225581 หนา้ ทีข่ องคานาม 1. คานามทาหนา้ ทเี่ ปน็ ประธานของประโยค เช่น มนษุ ย์ ทกุ คนต้องการความสขุ โรงเรียนของฉันอยู่ในกรงุ เทพ นกั การเมอื ง คนนีไ้ มร่ ักษาสญั ญาทใี่ ห้ไว้กับประชาชน พอ่ แม่ ทางานหนักเพ่ือลกู ๆ 2. คานามทาหน้าทเี่ ป็นกรรมหรือผถู้ กู กระทา เช่น ครูสอนนักเรยี น แมวกินปลา ฉันดทู วี ี พ่อตีนอ้ ง 3. คานามทาหนา้ ทเ่ี ป็นบทขยายนามอนื่ เพื่อให้ใจความชัดเจนยงิ่ ขนึ้ เช่น ภราดร ศรชี าพันธุ์นักเทนนิสมือหนึ่งของไทย นกั เรยี นโรงเรียนเตรยี มอดุ มศกึ ษา 4. คานามทาหน้าท่ีขยายกริยา และใชต้ ามหลงั คาบุพบท เพอ่ื บอกสถานที่ เชน่ ฉนั วง่ิ ออกกาลงั กายท่ีสนามหญ้า คณะกรรมการนัดพบกันในห้องประชมุ ครทู ุ่มเททางานเพื่อนกั เรยี น เขากลบั ตัวไดเ้ พราะคาสอนของครู 5. คานามทาหน้าทีข่ ยายกริยาหรือคานามอื่น โดยใช้บอกเวลา ฉนั ชอบอา่ นหนังสอื ตอนเช้าๆ ร้านตดั ผมปิดวันพธุ ขา่ วเทย่ี งวนั ได้รบั ความนิยมมาก เขาลดความอ้วนโดยอดอาหารเยน็ 6. คานามใช้เปน็ คาเรยี กขาน เพ่อื เนน้ หรอื บอกความรูส้ ึก เชน่ พระคุณเจา้ นมิ นต์ทางนค้ี รับ นักเรียน เงยี บๆหน่อยไดไ้ หม เด็ก ๆ ทาการบ้านเสร็จแล้วหรอื ยัง ต๊กิ จะไปดหู นังกบั เราไหม
259 หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๓ เรอื่ ง พนิ จิ พิจารณ์ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๘ เวลา ๑ ชวั่ โมง กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย เรื่อง คานาม ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ ขอบเขตเนอื้ หา รายวชิ าพนื้ ฐานภาษาไทย ชนิดและหนา้ ทข่ี องคานาม จุดประสงค์การเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่อื /แหล่งเรียนรู้ ด้านความรู้ ขัน้ นา ๑. เกม “บงิ โกคานาม” ๑. ครูให้นักเรียนเล่นเกม “บิงโกคานาม” พร้อมเฉลยคาที่เป็น ๒. ใบงาน เรอ่ื ง ชนดิ และหน้าทข่ี องคานาม อธิบายหนา้ ท่ีของคานามได้ คานาม ๓. แบบทดสอบ เร่อื ง คานาม ดา้ นทักษะและกระบวนการ ๒. ครูสรปุ อธบิ ายหาคาท่เี ปน็ คานามเพิ่มเติม ภาระงาน/ชิน้ งาน ข้นั สอน สรปุ ความร้เู รื่องชนิดและหนา้ ทขี่ องคานามใน ๑. วิเคราะห์ชนิดและหน้าท่ีของคานามได้ 1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๓ คน จากน้ันครูกาหนด รปู แบบแผนภาพความคิด ๒. ใช้คานามในประโยคได้ถกู ต้อง คานามจานวน ๓ คา บนกระดาน ได้แก่ คาว่า ตารวจ โรงงาน ดา้ นคณุ ลักษณะ นายสมชาย จากนนั้ ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกนั แต่งประโยค โดย 1. มีวินัย ให้มีคาท่ีกาหนดให้อยู่ในประโยค ประโยคละ ๑ คา ซึ่งคาท่ี 2. ใฝเ่ รยี นรู้ กาหนดจะตอ้ งไม่อยใู่ นตาแหนง่ เดียวกันในประโยค 3. มุ่งม่ันในการทางาน 2. ครูให้นักเรียน จานวน ๒ กลุ่ม นาเสนอประโยคที่นักเรียน แต่งมาให้เพ่ือน ดู จากน้ันให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์ว่า คาที่ กาหนดให้อยู่ในตาแหน่งใดในประโยคและทาหน้าท่ีใด จากน้ันครู ใหน้ ักเรยี นให้คาจากัดความ เรอ่ื ง หนา้ ทขี่ องคานาม 3. ครูอธบิ าย เรื่อง หน้าทข่ี องคานาม เพ่ิมเตมิ โดยยกตวั อย่าง ประกอบ บันทึกความรูล้ งในสมุดบันทกึ 4. นักเรียนทาใบงาน เรื่อง ชนิดและหน้าที่ของคานาม จากน้ัน ครูเฉลยคาตอบทถ่ี ูกต้อง ๕. นกั เรยี นทาแบบทดสอบ เรื่อง คานาม 259 252
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๓ เร่ือง พนิ ิจพจิ ารณ์ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๘ 260 กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย เร่ือง คานาม เวลา ๑ ชว่ั โมง ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ รายวิชาพืน้ ฐานภาษาไทย กิจกรรมการเรียนรู้ ขน้ั สรปุ ครูซักถามนักเรียนเกี่ยวกับความรู้ เรื่อง ชนิดและหน้าท่ีของ คานามเพ่ือเป็นการสรุปความรู้ จากน้ันมอบหมายงานให้นักเรียน แต่ละคนไปสรุปความรู้เร่ืองชนิดและหน้าท่ีของคานามในรูปแบบ แผนภาพความคดิ แลว้ นาส่งครู ตามที่ครูกาหนด 253
261225614 การวัดและประเมนิ ผล วิธีการ เครอ่ื งมอื ท่ีใช้ เกณฑ์ ส่ิงท่ตี ้องการวดั /ประเมนิ ๑. สังเกตจากการเรยี น และการทางานกลุ่ม ๑. แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ผ่านเกณฑ์การ ด้านความรู้ ๒. ประเมนิ การทางานกล่มุ กปารระปเมรินะรเม้อนิ ยรล้อะยละ อธบิ ายหนา้ ท่ขี องคานาม แผนภาพความคิด ๒. แบบประเมนิ ๘๐ขึ้นไป ความสามารถในการเขยี น ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ แผนภาพความคิด ๑. วเิ คราะหช์ นดิ และหนา้ ท่ี คานามได้ ๑. ตรวจใบงาน ๑. ใบงาน เร่ือง ชนิดและ ผ่านเกณฑ์การ ๒. ใชค้ านามในประโยคได้ ๒. ตรวจแบบทดสอบ หนา้ ทข่ี องคานาม กปารระปเมรนิะรเม้อนิ ยรล้อะยละ ถกู ต้อง ๒. แบบทดสอบ เร่อื ง ๘๐ ข้นึ ไป คานาม ด้านคุณลกั ษณะ 1. มวี ินยั ประเมินจากคณุ ลักษณะ แบบประเมินคณุ ลักษณะ ผ่านเกณฑ์คุณภาพ 2. ใฝเ่ รยี นรู้ ระดับ ๒ 3. มุ่งมน่ั ในการทางาน ๘. บนั ทกึ ผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ....................................................... ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................................... ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................................ ........................................................................ ลงชอื่ ...................................................ผสู้ อน (.................................................................) วนั ท่.ี ............เดอื น................พ.ศ…..…… ๙. ความคดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะของผู้บริหารหรอื ผู้ทไ่ี ด้รับมอบหมาย ............................................................................................................................. ....................................................... ลงชอ่ื ...................................................ผสู้ อน (.................................................................) วันท.ี่ ............เดอื น................พ.ศ…..……
262226525 ใบงาน เร่อื ง ชนดิ และหนาท่ีของคํานาม หนวยท่ี ๓ แผนการจดั การเรียนรู ๘ เรื่อง คาํ นาม รายวชิ าภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชนั้ มธั ยมศึกษาปท ี่ ๑ ตอนท่ี ๑ คาํ ช้แี จง จงบอกคําที่เปน ตวั ทึบเปน คาํ นามชนดิ ใดและทาํ หนาทีใ่ นประโยค ๑. จอมขวัญปลูกกล้วยไม้สชี มพู จอมขวญั เป็น............................................... ทำหน้ำท่ี................................................................... ๒. แมซ่ อื้ หมากพลูมำฝำกยำย หมำกพลู เป็น............................................... ทำหน้ำท.่ี .................................................................. ๓. เสอื ไฟมีรูปร่ำงคล้ำยแมว แมว เปน็ ............................................... ทำหนำ้ ที.่ ................................................................. ๔. นภำวรรณเขยี นบทควำม ๑ เร่อื ง เรอ่ื ง เปน็ ............................................... ทำหน้ำที่.................................................................. ๕. ความรกั ทำใหค้ นตำบอด ควำมรัก เปน็ ............................................... ทำหนำ้ ท่.ี ................................................................. ๖. กอ้ ยให้อำหำรสตั วเ์ ล้ยี งก่อนออกจำกบ้ำน สตั ว์เล้ียง เปน็ ............................................... ทำหน้ำท.ี่ ................................................................. ๗. สมควรยามรักษาการณ์เปน็ คนมีวินัย ยำมรกั ษำกำรณ์ เปน็ ............................................... ทำหน้ำท่.ี ................................................................. ๘. แม่ไปตลาด ตลำด เป็น............................................... ทำหน้ำท่ี................................................................... ๙. นายช่างครับรถผมเสีย นำยช่ำง เป็น............................................... ทำหน้ำท.ี่ .................................................................. ๑๐. เรำอยบู่ า้ นทกุ วนั บ้ำน เป็น................................................ ทำหนำ้ ท่ี...................................................................
263226536 ตอนท่ี ๒ คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรยี นนาคานามที่กาหนดใหเ้ ตมิ ลงประโยคใหถ้ ูกต้อง ตลาด แมว คณะลิเก ผักและผลไม้ ผู้ใหญบ่ ้าน เดก็ ๆ ขนม โรงเรียน คุณครู สนุ ัข ๑. ..................พากันว่ิงเล่นบนสนามหญ้าหนา้ หม่บู ้าน ๒. คุณพ่อไปประชุมท่ีศาลากลางหมูบ่ ้านตามท่ี...........................นดั หมาย ๓. ในวนั หยดุ คุณแมจ่ ะต่นื แตเ่ ชา้ เพ่ือไปซอื้ ของที่..................... ๔. เดก็ ๆ ต้องทาการบ้านมิฉะนั้นจะถกู ...................ลงโทษ ๕. คุณยายและคุณย่าชวนกนั ไปด.ู .....................แสดงที่งานประจาปขี องวัด ๖. ...................เปน็ สตั ว์ท่รี กั สงบ ไม่ชอบยุ่งกบั คน ๗. หลังจากทีข่ โมยขึน้ บา้ น คุณพ่อจึงอยากได้.................พนั ธ์ุดีมาเฝา้ บ้าน ๘. เนื้อสัตว์ แป้งนม ไข่ และ ............................ เปน็ อาหารท่ีเหมาะสาหรับเด็กวัยรนุ่ ๙. การเลอื กรับประทาน......................ควรเลอื กท่มี ีคุณค่าทางอาหารและให้พลงั งานท่เี หมาะสม ๑๐. ...................... เปน็ สถานทท่ี ่ีใหค้ วามรู้และอบรมบม่ นสิ ัย เฉลย ผู้ใหญ่บ้าน ตลาด คณุ ครู คณะลิเก เด็กๆ สุนขั ผกั และผลไม้ ขนม โรงเรียน แมว
264225674 แบบทดสอบ เร่ือง คํานาม หนวยท่ี ๓ แผนการจัดการ เรยี นรู ๘ เร่อื ง คํานาม รายวชิ าภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั มัธยมศึกษาปท่ี ๑ คาํ ชี้แจง : ใหน ักเรียนเลือกคําตอบท่ถี กู ตองท่ีสุดเพียงขอ เดยี วเทา นั้น ๑. ขอ ใดอธบิ ายความหมายของคํานามถูกตองทสี่ ุด ก. ที่ใช้เรียกชอื่ คน สัตว์ สิ่งของ ข. คำที่ใชเ้ รียกชอื่ คน สตั ว์ สงิ่ ของทัง้ ทีเ่ ปน็ รปู ธรรมและนำมธรรม ค. คำท่ีใช้เรียกช่ือสถำนที่ อำคำร สภำพ และลักษณะทงั้ ส่ิง มีชีวติ และไมม่ ชี วี ิต ง. คำท่ีใช้เรยี กช่อื คน สตั ว์ สงิ่ ของ สถำนที่ อำคำร สภำพและลกั ษณะ ทั้งสง่ิ มีชวี ติ และไม่มชี วี ติ ทัง้ ท่เี ปน็ รูปธรรมและนำมธรรม ๒. คำนำมจำแนกออกเป็นชนิดย่อย ๆ มอี ะไรบำ้ ง ก. สำมำนยนำม วิสำมำนยนำม ลกั ษณนำม สมหุ นำม และอำกำรนำม ข. สำมำนยนำม วิสำมำนยนำม สรรพนำม สมุหนำม และอำกำรนำม ค. สำมำนยนำม วิสำมำนยนำม สรรพนำม สมหุ นำม และลักษณนำม ง. สำมำนยนำม วิสำมำนยนำม สรรพนำม ลักษณนำม และสมหุ นำม ๓. คำ \"ขัน\" ในข้อใดเป็นคำนำม ข. ขนั เชอื กใหแ้ น่น ก. ไกข่ นั ตอนเช้ำ ง. เขำช่วยกันทำงำนอย่ำงแข็งขัน ค. หยบิ ขันตักนำ้ มำลำ้ งหน้ำ ๔. ข้อใดมนี ำมเฉพำะ (วลิ ำมำนยนำม) ข. มะละกอสุกมรี สหวำน ก. คนครวั หงุ ข้ำวใหเ้ รำ ง. นิรำศภูเขำทองเป็นผลงำนของชนิ้ เอกสนุ ทรภู่ ค. ลกู เสอื ต้องมีควำมซ่ือสตั ย์ ๕. ขอ้ ใดมีสมหุ นำม ข. เสือ้ ผ้ำกองนี้ซกั แล้ว ก. ผักแปลงใหญง่ ำมดี ง. ข้ำวหลำมกระบอกนี้มนั มำก ค. คณะนักแสดงพรอ้ มข้ึนเวที ๖. ประโยคใดมที ั้งกรรมตรงและกรรมรอง ข. วรรณคดีเป็นหนังสือที่แตง่ ดี ก. ฉันชอบควำมคดิ ของเธอ ง. เรำซ้อื ขำ้ วหลำมหนองมนมำฝำกเพ่ือน ค. ฉันบริจำคเสือ้ ผ้ำใหเ้ ด็กกำพรำ้
258 265265 ๗. คำนำมท่ีพิมพ์ตวั หนำในข้อใดทำหน้ำทขี่ ยำยคำนำมอนื่ ก. เรำคอื คนไทยทัง้ แทง่ ข. พระสงฆ์ทำวัตรเวลาเยน็ ค. เดก็ ๆ ควรมีความประพฤติเรียบรอ้ ย ง. ประเทศไทยผลิตรถยนต์พลังงานไฟฟา้ ได้สำเรจ็ ๘. ขอ้ ใดคำนำมทำหนำ้ ท่ีเป็นประธำนของประโยค ข. เธอคอื ครขู องฉัน ก. ผู้รำ้ ยถูกตำรวจจับ ง. ฉนั ซ้ือก๋วยเต๋ียวแห้งมำฝำกเธอ ค. วชิ ำเป็นทรัพย์อันประเสริฐ ๙. “ฉันไปทำบุญทว่ี ดั ในวันเข้าพรรษา” คำที่พมิ พต์ ัวหนำทำหน้ำทต่ี รงกบั ขอ้ ใด ก. กรรมตรง ข. กรรมรอง ค. ขยำยกริยำ (บอกเวลำ) ง. ขยำยกริยำ (บอกสถำนท)ี่ ๑๐. “อนงค์สวยเหมือนแม่” คำทพ่ี ิมพ์ตัวหนำทำหนำ้ ท่ีตรงกบั ข้อใด ก. กรรมตรง ข. กรรมรอง ค. สว่ นเตมิ เต็ม ง. ขยำยคำนำม เฉลย ๑. ง ๒. ก ๓. ค ๔. ง ๕. ค ๖. ง ๗. ง ๘. ค ๙. ค ๑๐. ก
262652966 แบบประเมินความสามารถในการเขยี นแผนภาพความคิด เลขที่ ชอื่ -สกุล ความถกู ตอ้ งของเน้ือหา การจดั ระบบในการนาเสนอ ความมีระเบยี บในการทางาน รวม 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 12 ข้อเสนอแนะเพ่มิ เติม : ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................................................................................................................ เกณฑ์การประเมิน ดีมาก ระดบั คณุ ภาพ 4 หมายถงึ ดี 9 – 12 คะแนน = ดี 3 หมายถงึ พอใช้ 5 – 8 คะแนน = พอใช้ 2 หมายถึง ปรับปรงุ 1 – 4 คะแนน = ปรบั ปรุง 1 หมายถงึ
267267 260 รายละเอียดเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบประเมนิ ความสามารถในการเขียนแผนภาพความคิด ประเด็นการประเมนิ 4 เกณฑ์การใหค้ ะแนน 1 32 สรุปความรผู้ ดิ 1. ความถูกต้อง สรปุ ความรไู้ ดค้ รบถ้วน สามารถสรปุ ความรู้ได้ สรุปความรู้ได้ตรง มากกว่า 3 ประเด็น ครบถ้วนของเน้อื หา ตรงประเดน็ และ ครบ ตรงประเด็น ประเดน็ ผิดไมเ่ กนิ ถูกต้อง ผิดไมเ่ กิน 3 ประเดน็ 1-2 ประเด็น 2. การนาเสนอ นาเสนอเนื้อหาโดย นาเสนอเนื้อหาโดย นาเสนอเนอื้ หาโดย นาเสนอเนอื้ หาโดย ความรไู้ ด้ถกู ต้อง แสดงตามลาดับของ แสดงตามลาดับของ แสดงตามลาดับของ แสดงตามลาดับของ ตามลาดบั ขั้น ความคิดหลกั และ ความคดิ หลักและ ความคิดหลกั และ ความคดิ หลักและ ความสัมพนั ธ์ ความคดิ ย่อยได้ถูกต้อง ความคิดย่อยผิด ความคิดย่อยผิด ความคิดย่อยผดิ 3. ความมรี ะเบียบ ครบถว้ นตามลาดับ 1-2 ตาแหนง่ 3 ตาแหน่ง 3 ตาแหน่งขึน้ ไป ในการทางาน ความสมั พนั ธ์ แผนภาพความคิดค่อน แผนภาพความคิด ขา้ งเปน็ ระเบยี บ ขาดความเปน็ แผนภาพความคิดเปน็ แผนภาพความคิดเปน็ เรียบรอ้ ย สวยงาม ระเบยี บเรยี บร้อย ระเบยี บเรียบรอ้ ย ระเบียบเรียบรอ้ ย มรี ่องรอยการแกไ้ ข ขาดความสวยงาม สวยงามและสะอาด สวยงาม แต่มีรอ่ งรอย ไม่เกิน 3 ตาแหน่ง มีรอ่ งรอยการแกไ้ ข การแก้ไข มากกว่า 3 ตาแหน่ง 1-2 ตาแหนง่ ขน้ึ ไป
268 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๓ เรื่อง พนิ ิจพจิ ารณ์ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๙ เวลา ๑ ช่ัวโมง กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย เร่ือง คาสรรพนาม ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ขอบเขตเนอ้ื หา รายวิชาพนื้ ฐานภาษาไทย ชนดิ และหน้าทขี่ องคาสรรพนาม จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่ือ/แหล่งเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ ขน้ั นา ๑. ใบความรู้ เรอื่ ง คาสรรพนาม ครูซักถามนักเรียนวา่ ในชีวิตประจาวันนักเรียนสนทนากับเพื่อน ๒. ใบงาน เร่อื ง คาสรรพนาม ๑. อธิบายความหมายของคาสรรพนามได้ และคนในครอบครัวนักเรียนใช้คาแทนตนเองว่าอย่างไรบ้าง ภาระงาน/ชน้ิ งาน ๒. อธิบายชนิดของคาสรรพนามได้ และใช้คาแทนบุคคลอ่นื ๆ อยา่ งไรเพ่ือเชอ่ื มโยงเขา้ สู่ เรอ่ื ง ครมู อบหมายใหน้ กั เรียนรวบรวม ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ คาสรรพนาม จาแนกชนดิ ของคาสรรพนามได้ ขัน้ สอน คำ�สรรพนามลงสมุด ด้านคุณลักษณะ 1. มวี ินยั 1. ครซู กั ถามเกี่ยวกบั ความหมายของคาสรรพนาม นกั เรียน 2. ใฝ่เรยี นรู้ ตอบคาถามครูอธิบายให้นักเรียนเขา้ ใจว่าคาที่ใช้แทนตัวบุคคลใน 3. มงุ่ มัน่ ในการทางาน การสนทนา เรยี กวา่ คาสรรพนาม 2. ครูมอบหมายให้นกั เรยี นช่วยกันรวบรวมคาทใ่ี ช้เรียกแทนตัว บุคคลให้ได้มากที่สุด โดยเขียนลงบนกระดาน ครูและนักเรียน ช่วยกันตรวจสอบความถกู ต้องของคา 3. นักเรียนช่วยกันจัดหมวดหมู่ของคาแทนตัวบุคคลที่ปรากฏ บนกระดาน โดยแบ่งเป็น คาที่ใช้แทนผู้พูด ผู้ฟัง และผู้ท่ีถูก กล่าวถงึ (สรรพนามบรุ ษุ ท่ี ๑ ๒ และ ๓) 4. ครูอธบิ ายเพมิ่ เตมิ เกยี่ วกบั ความหมายและชนดิ ของ คาสรรพนาม ว่านอกจากคาที่ใช้แทนตัวผู้พูด ผู้ฟัง ผู้ถูกกล่าวถึง แล้ว นอกจากนี้ยังมีคาสรรพนามชนิดอ่ืนอกี โดยให้นักเรียนศึกษา เนือ้ หาเพ่ิมเตมิ รวมถงึ ตวั อย่างประกอบจากใบความรู้ เรือ่ ง คาสรรพนาม 268 261
คาสรรพนาม ว่านอกจากคาที่ใช้แทนตัวผู้พูด ผู้ฟัง ผู้ถูกกล่าวถึง แล้ว นอกจากน้ียังมีคาสรรพนามชนิดอ่ืนอกี โดยใหน้ ักเรียนศึกษา เน้อื หาเพิ่มเติมรวมถงึ ตวั อยา่ งประกอบจากใบความรู้ เร่อื ง คาสรรพนาม หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี ๓ เรือ่ ง พนิ ิจพจิ ารณ์ แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ ๙ 269 กลุม่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย เรื่อง คาสรรพนาม เวลา ๑ ชั่วโมง ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ๕. นกั เรียนทาใบงาน เรือ่ ง คาสรรพนาม และนดั หมายนามาใช้ ในคาบต่อไป ขนั้ สรุป ครูสรุปความรู้ด้วยการสุ่มถามนักเรียนเป็นรายบุคคลเกี่ยวกับ ความหมายของคาสรรพนามและชนดิ ของคาสรรพนาม 262
270 226730 การวดั และประเมนิ ผล วิธีการ เครอื่ งมอื ท่ใี ช้ เกณฑ์ สงิ่ ท่ตี ้องการวัด/ประเมนิ สงั เกตพฤติกรรมการ แบบสงั เกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์การประเมนิ เรยี น การเรียน ร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป ดา้ นความรู้ ๑. บอกความหมายของคา ตรวจใบงาน ใบงานเรื่อง คาสรรพนาม ผา่ นเกณฑ์การประเมิน สรรพนามได้ ร้อยละ ๘๐ ขนึ้ ไป ๒. บอกชนดิ ของคาสรรพนามได้ ด้านทกั ษะและกระบวนการ ประเมนิ จากคุณลักษณะ แบบประเมินคุณลักษณะ ผา่ นเกณฑ์คณุ ภาพ จาแนกชนิดของคาสรรพนามได้ ระดบั ๒ ด้านคณุ ลกั ษณะ 1. มวี ินยั 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. ม่งุ ม่ันในการทางาน ๘. บนั ทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ....................................................... ปญั หาและอปุ สรรค .................................................................................................................................................................................... ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. ....................................................... ลงชื่อ...................................................ผสู้ อน (.................................................................) วันท่ี.............เดือน......................พ.ศ…….. ๙. ความคิดเหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผบู้ รหิ ารหรือผู้ทีไ่ ด้รับมอบหมาย ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................................... ..................................... ลงชอื่ ...................................................ผสู้ อน (.................................................................) วันที่.............เดอื น......................พ.ศ……..
271227641 ใบความรู้ เรอ่ื ง คาสรรพนาม หน่วยท่ี ๓ แผนการจัดการเรยี นรู้ ๙ เร่อื ง คาสรรพนาม รายวิชาภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๑ คาสรรพนาม คือ คาที่ใชเ้ รยี กแทนคานามในประโยคสื่อสาร เราใชค้ ้าสรรพนามเพ่ือไม่ต้องกล่าวค้านามซา้ ๆ คาสรรพนามแบง่ ออกเปน็ 6 ชนดิ คือ 1) บรุ ุษสรรพนาม เปน็ สรรพนามทใี่ ชแ้ ทนบุคคล ซงึ่ เปน็ ผู้พดู ผฟู้ งั และผูถ้ กู กลา่ วถึง แบ่งออกเป็น บุรษุ ท่ี 1 ท่ี 2 ที่ 3 เช่น บรุ ุษท่ี 1 เช่น กู ตู ฉนั ผม กระผม ดิฉนั เรา ข้าพเจ้า อาตมา ขา้ พระพทุ ธเจา้ กระหม่อม บุรุษที่ 2 เช่น มงึ สู เธอ คุณ ท่าน ใตเ้ ทา้ ใต้ฝา่ ละอองธุลีพระบาท ฝา่ พระบาท เจ้า บรุ ษุ ท่ี 3 เช่น เขา ท่าน พวกเขา มนั พระองค์ 2) ประพนั ธสรรพนาม เปน็ สรรพนามทใี่ ชเ้ ชือ่ มประโยคย่อย ทาหน้าท่ีแทนคานามหรือสรรพนามที่ อยู่ขา้ งหน้า ได้แก่คาว่า ท่ี ซึ่ง อัน ผู้ เชน่ คนที่เป็นครูตอ้ งมีความอดทน นายกรัฐมนตรีไปเยยี่ มโรงเรียนท่อี ยใู่ นถิ่นทุรกันดาร 3) วิภาคสรรพนาม เป็นสรรพนามที่ใชแ้ ยกส่วนคานามหรอื สรรพนามที่อยู่ข้างหนา้ นกั เรยี นต่างก็ทาการบา้ นของตน เดก็ ๆบา้ งก็หลบั บา้ งกค็ ุยขณะครูสอน ไมว่ ่าผหู้ ญงิ หรอื ผู้ชายตา่ งก็มสี ิทธิเทา่ เทียมกัน เหน็ รถชนกัน 4) นิยมสรรพนาม เปน็ สรรพนามทใ่ี ชแ้ ทนนามช้ีเฉพาะเจาะจง หรอื ชีบ้ อกระยะ เชน่ น่ี น้ี นน่ั น้นั โนน่ โน้น อย่างนี้ อย่างนั้น เช่นนนั้ เช่น น่ี คือความสาเรจ็ ของพวกเราทุกคน นี้ เปน็ ขอ้ คิดทด่ี มี าก นนั่ เป็นเร่อื งของคณุ ไม่เกยี่ วกับผม นั้น เปน็ มติของคณะกรรมการ ทุกคนจงไปรวมตัวที่น่ัน 5) อนิยมสรรพนาม เปน็ สรรพนามท่ีใช้แทนนามทัว่ ๆไป ไม่ชี้เฉพาะเจาะจง เช่น ใคร อะไร ไหน ผูใ้ ด ใครๆ อะไรๆ ไหนๆ ใดๆ เชน่ ใคร จะไปเที่ยวก็ไปได้ ฉนั ไม่ทราบว่าอะไรเปน็ อะไรแล้ว ใดๆ ในโลกล้วนอนิจจัง อะไรๆ ฉนั ก็กนิ ได้ ผูใ้ ด พากเพียรวนั นี้ ผนู้ น้ั สบายวนั หลัง ไหนๆ ฉนั นอนได้ 6) ปฤจฉาสรรพนาม เปน็ สรรพนามใชแ้ ทนนามที่มีเนื้อความเป็นคาถาม เชน่ ใคร อะไร ผ้ใู ด ไหน ใคร จะไปเทย่ี วเชยี งใหม่บา้ ง อะไร อย่ใู นห้อง ผใู้ ด บังอาจมากระตกุ หนวดเสือ ไหน แมวตวั ใหมข่ องเธอ
272227625 ใบงาน เร่อื ง คาสรรพนาม หน่วยที่ ๓ แผนการจดั การเรียนรู้ ๑๐ เร่ือง คาสรรพนาม รายวชิ าภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ คาชีแ้ จง จงเตมิ สรรพนามลงในช่องในประโยคตอ่ ไปน้ีให้เหมาะแกค่ วาม ๑) แมอ่ ย่าโกรธ....................เลยนะจ๊ะ ...............................ส้านกึ ผิดแล้ว ๒) ....................................ขอขอบคุณ........................ทงั หลายท่ีมาแสดงน้าใจในวนั นี ๓) คน .....................เปน็ ครูตอ้ งมีความอดทน ๔) เขาบูชาความรกั ................ทา้ ใหต้ าบอด ๕) แปรงสฟี ัน ...............ซอื เมือ่ วานนเี ปน็ ของโรงเรียน ๖) สมเดจ็ พระศรสี ุรโิ ยทัย.................ทรงเสียสละเพื่อชาติทรงควรได้รบั การยกย่อง ๗) ไม่ว่าเด็กหรือผู้ใหญ่..................กม็ งี านทงั สนิ ๘) นกั มวยชก................ ๙) ...................ผู้ประดิษฐอ์ กั ษรไทยเป็นคนแรก ๑๐) ไมม่ ี ....................ท่เี ราท้าไม่ได้
273227636 เฉลยใบงานเร่อื ง คาสรรพนาม หน่วยท่ี ๓ แผนการจัดการเรยี นรู้ ๑๐ เรอ่ื ง คาสรรพนาม รายวชิ าภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๑ คาชแ้ี จง จงเติมสรรพนามลงในช่องในประโยคตอ่ ไปน้ใี ห้เหมาะแกค่ วาม ๑) แม่อย่าโกรธ หนู เลยนะจ๊ะ หนู่ ส้านกึ ผิดแล้ว ๒) ข้าพเจ้า ขอขอบคุณ ทา่ น ทังหลายที่มาแสดงนา้ ใจในวันนี ๓) คน ที่ เปน็ ครูต้องมีความอดทน ๔) เขาบชู าความรกั ซ่ึง ทา้ ใหต้ าบอด ๕) แปรงสฟี ัน อนั ซอื เม่ือวานนเี ป็นของโรงเรยี น ๖) สมเด็จพระศรสี รุ ิโยทยั ผู้ ทรงเสยี สละเพ่ือชาติทรงควรไดร้ บั การยกย่อง ๗) ไม่วา่ เด็กหรือผูใ้ หญ่ ต่าง กม็ งี านทังสิน ๘) นกั มวยชก กนั ๙) ใคร ผูป้ ระดิษฐ์อักษรไทยเปน็ คนแรก ๑๐) ไมม่ ี อะไร ทเ่ี ราทา้ ไม่ได้
274 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๓ เรอื่ ง พินิจพิจารณ์ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1๐ เวลา ๑ ชั่วโมง กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย เรื่อง หน้าท่ขี องคาสรรพนาม ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ขอบเขตเนื้อหา รายวิชาพ้ืนฐานภาษาไทย ชนดิ และหนา้ ท่ีของคา จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ ส่ือ/แหล่งเรียนรู้ ดา้ นความรู้ ขนั้ นา ๑. ใบความรู้ เรอื่ ง คาสรรพนาม ครูสนทนากับนักเรียนเร่ืองคาท่ีแทนตัวบุคคล นักเรียนตอบคาถาม ๒. ใบงาน เรือ่ ง หน้าทีข่ องคาสรรพนาม อธบิ ายหนา้ ท่ขี องคาสรรพนามได้ เป็นรายบุคคล ๓. แบบทดสอบ เรอ่ื ง คาสรรพนาม ดา้ นทักษะและกระบวนการ ขั้นสอน ภาระงาน/ชิ้นงาน 1. ครูสนทนากับนักเรียนเก่ียวกับความหลากหลายของคาสรรพนาม สรุปความรเู้ ร่ืองคาสรรพนามในรปู แบบ ๑. วเิ คราะหช์ นดิ และหนา้ ท่ีของ จากนั้นเชือ่ มโยงเขา้ สหู่ นา้ ทีข่ องคาสรรพนาม แผนภาพความคิด คาสรรพนามได้ 2. นักเรียนศกึ ษาใบความรเู้ กยี่ วกับหนา้ ที่ของคาสรรพนาม ครูอธิบาย ความรูเ้ พิม่ เตมิ ๒. ใช้คาสรรพนามไดถ้ กู ต้อง 3. นักเรียนทาใบงาน เร่ือง หนา้ ทีค่ าสรรพนาม ด้านคุณลกั ษณะ ๔. นักเรียนทาแบบทดสอบ เร่ือง คาสรรพนาม ขั้นสรปุ 1. มีวนิ ัย ครูใหน้ กั เรียนสรปุ ความรู้ เรื่อง คาสรรพนาม โดยการสรุปลงแผนภาพ 2. ใฝ่เรียนรู้ ความคิดให้ครอบคลุมเนื้อหาสาระท่ีเก่ียวข้องกับคานาม นาส่งในชั่วโมง 3. มงุ่ มน่ั ในการทางาน ตอ่ ไป 267 27
275272568 การวดั และประเมินผล วิธีการ เคร่อื งมือทใ่ี ช้ เกณฑ์ สงิ่ ทต่ี ้องการวัด/ประเมิน ๑. สังเกตจากการเรยี น และการตอบคาถาม ๑. แบบสังเกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์การประเมิน ดา้ นความรู้ ๒. ประเมินแผนภาพ การเรียน รอ้ ยละ ๘๐ ขน้ึ ไป หน้าทข่ี องคาสรรพนาม ความคิด ๒. แบบประเมิน ความสามารถการ ด้านทกั ษะและกระบวนการ แผนภาพความคิด ๑. วิเคราะหช์ นดิ และหน้าที่ ๑. ตรวจใบงาน ๑. ใบงาน เร่อื ง หน้าทขี่ อง ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ของคาสรรพนามได้ ๒. ตรวจแบบทดสอบ คาสรรพนาม รอ้ ยละ ๘๐ ขึ้นไป ๒. ใช้คาสรรพนามได้ ๒. แบบทดสอบ เรอ่ื ง คา ถกู ต้อง สรรพนาม ดา้ นคุณลักษณะ 1. มีวนิ ยั ประเมินจากคุณลักษณะ แบบประเมินคุณลักษณะ ผ่านเกณฑ์คณุ ภาพ 2. ใฝเ่ รยี นรู้ ระดับ ๒ 3. ม่งุ มั่นในการทางาน ๘. บนั ทกึ ผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ....................................................... ปัญหาและอปุ สรรค .................................................................................................................................................................................... ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................................ ........................................................................ ลงชอื่ ...................................................ผสู้ อน (.................................................................) วนั ท.ี่ ............เดอื น..................พ.ศ………. ๙. ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผ้บู ริหารหรือผู้ท่ไี ด้รับมอบหมาย ............................................................................................................................. ....................................................... ลงช่อื ...................................................ผสู้ อน (.................................................................) วนั ที่.............เดอื น..................พ.ศ……….
276272669 ใบความรู้ เรอื่ ง หน้าท่ีของคาสรรพนาม หนว่ ยที่ ๓ แผนการจดั การเรียนรู้ ๑๐ เรือ่ ง หน้าท่ีของคาสรรพนาม รายวิชาภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ หนา้ ท่ีของสรรพนาม 1) ใชเ้ ป็นประธานของประโยค เชน่ เขา เตรยี มตวั สอบไล่ ใคร ไมม่ บี ตั รไม่มสี ทิ ธ์ิ ทา่ นท้งั หลาย จงก้าวเดนิ ไปพร้อมกบั เรา ไหน เป็นบ้านของเธอ 2) ใช้เปน็ กรรมของประโยค เชน่ ชว่ั โมงน้ีนกั เรียนอยากทาอะไรๆก็ทาไปเถดิ คุณครดู ุพวกเรา ฉนั ไม่โทษเธอหรอก ฉนั ผิดเอง น่ันฉนั ทาเอง 3) ใช้เปน็ ผรู้ ับใช้ของประธาน เชน่ พอ่ ใหฉ้ ันลา้ งรถ แม่ให้เราไปซื้อกับขา้ วทีต่ ลาด 4) ใชเ้ ปน็ ส่วนเติมเต็ม เช่น คุณเป็นใคร หวั หนา้ หอ้ งคนใหม่คือใคร 5) ใชเ้ ช่อื มประโยค เชน่ ฉนั อยากไปสถานท่ีทย่ี ิ่งใหญ่ในประวตั ศิ าสตร์ เขาเสนอโครงการซึ่งไม่มีทางทาสาเรจ็ 6) ใชข้ ยายนามที่ทาหน้าทเ่ี ปน็ ประธานหรือกรรมของประโยค เพื่อเน้นความรสู้ ึก เช่น คณุ ครู ทา่ น ตักเตือนเราให้พากเพียรอยู่เสมอ เจา้ ตนิ ตนิ มนั ชอบกระโดดเขา้ ใส่ผมตอนผมกลบั บ้าน
277277 270 ใบงาน เรือ่ ง หน้าที่ของคาสรรพนาม หนว่ ยท่ี ๓ แผนการจัดการเรียนรู้ ๑๐ เร่ือง หนา้ ทข่ี องคาสรรพนาม รายวิชาภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ คาช้ีแจง ให้นกั เรยี นบอกชนิดและหนา้ ที่ของคาสรรพนามของประโยคต่อไปน้ี ๑) นี่ คอื หนังสือท่ีฉนั ชอบ ชนิด.............................................. หนา้ ที่เป็น .......................ของประโยค ๒) ฉนั รับประทานอะไรก็ได้ ชนิด.............................................. หนา้ ท่ีเป็น .......................ของประโยค ๓) ฉันจะตแี กทุกวัน ชนดิ .............................................. หนา้ ที่เป็น .......................ของประโยค ๔) ฉนั ชอบรถคนั สีแดงทโ่ี ชว์ไว้หนา้ รา้ น ชนิด....................................... หน้าที่เป็น .......................ของประโยค ๕) อะไรอยใู่ นกระเป๋า ชนิด.............................................. หน้าที่เป็น .......................ของประโยค ๖) เธอหยบิ น่นั ซิ ชนิด.............................................. หนา้ ที่เป็น .......................ของประโยค ๗) ผใู้ ดอยู่ในหอ้ ง ชนดิ .............................................. หนา้ ที่เป็น .......................ของประโยค ๘) ของซึ่งวางอยใู่ นห้องหายไปไหน ชนิด.............................................. หน้าที่เป็น .......................ของประโยค ๙) เธอจะกลบั บา้ นหรือยัง ชนิด.............................................. หนา้ ที่เป็น .......................ของประโยค ๑๐) หลวงตาทา่ นไมอ่ ยู่ ชนดิ .............................................. หน้าท่ีเป็น .......................ของประโยค
278227781 เฉลยใบงาน เรือ่ ง หนา้ ท่ขี องคาสรรพนาม หนว่ ยท่ี ๓ แผนการจดั การเรยี นรู้ ๑๐ เร่ือง หนา้ ท่ีของคาสรรพนาม รายวิชาภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรยี นบอกชนดิ และหน้าที่ของคาสรรพนามของประโยคต่อไปน้ี ๑) น่ี คือหนงั สือที่ฉันชอบ ชนิดสรรพนามช้เี ฉพาะ หรอื ช้ีระยะ(นิยมสรรพนาม) หน้าที่เป็น กรรม ของประโยค หนา้ ทเี่ ป็น กรรม ของประโยค ๒) ฉนั รับประทานอะไรก็ได้ ชนดิ อนยิ มสรรพนาม ๓) ฉนั จะตแี กทุกวัน ชนิด บุรุษสรรพนาม หนา้ ทเี่ ปน็ ประธานของประโยค ๔) ฉันชอบรถคันสแี ดงทโ่ี ชว์ไวห้ นา้ ร้าน ชนิด ประพนั ธสรรพนาม หน้าที่เชื่อมประโยค ๕) อะไรอยใู่ นกระเป๋า ชนิด ปฤจฉาสรรพนาม หนา้ ทีเ่ ป็นประธานของประโยค หนา้ ทเ่ี ป็น กรรม ของประโยค ๖) เธอหยบิ นั่นซิ ชนิด นยิ มสรรพนาม ๗) ผูใ้ ดอยู่ในห้อง ชนดิ ปฤจฉาสรรพนาม หน้าทเ่ี ป็นประธานของประโยค ๘) ของซ่ึงวางอยูใ่ นห้องหายไปไหน ชนิด ประพนั ธสรรพนาม หน้าทเ่ี ช่อื มประโยค ๙) เธอจะกลบั บ้านหรือยัง ชนิด บรุ ุษสรรพนาม หน้าท่ีเปน็ ประธานของประโยค ๑๐) หลวงตาท่านไมอ่ ยู่ ชนิด คาสรรพนามท่ีใชเ้ นน้ นามข้างหนา้ หน้าที่ บอกความร้สู กึ
279 272 279 แบบทดสอบ เร่ือง คาสรรพนาม คาช้แี จง ใหน้ กั เรยี นเลือกคาตอบที่ถกู ต้องทสี่ ดุ เพยี งคาตอบเดยี ว ๑. “เขา” ข้อใดเป็นคาสรรพนาม ก. ลงุ ทานาทีห่ ลงั เขา ข. เขามนั แหลมมาก ค. เขานี้สงู มาก ง. เขาไมแ่ ขง็ แรง ๒. “หนมู าหาใครจ้ะ” คาว่า “หนู” เปน็ สรรพนามชนดิ ใด ก. อนยิ มสรรพนาม ข.นิยมสรรพนาม ค. วิภาคสรรพนาม ง. บรุ ุษสรรพนาม ๓. “แก” ในข้อใดไม่ใชส่ รรพนามบรุ ษุ ท่ี ๒ ก. ฉนั วา่ แกทาอย่างนีไ้ ม่ถกู ข. ตามแี กขบ้ี น่ เหลือเกนิ ค. แกจะไปดผู ลสอบกบั ฉนั ไหม ง. เพราะแกทเี ดียว เรื่องถึงเปน็ แบบนี้ ๔. ขอ้ ใดใช้วิภาคสรรพนาม “ตา่ ง”ไม่ถูกต้อง ก. คนเราต่างจิตต่างใจ ข. มดดาตา่ งก็ขนไขห่ นีฝน ค. นกั เรยี นต่างขะมักเขมน้ อ่านหนังสือเตรียมสอบ ง. ชาวสวนตา่ งก็ดายหญ้าในสวนเปน็ การใหญ่ ๕. “เมื่อวานน้ี เขา(๑(๑)เ)จเอจคอุณคณุ กมกมลทลทบ่ี บ่ีา้ น้านพพี่ทที่ศั นัศนาาเขเาข(า๒)(๒พู)ดถพึงูดตถวั ึงดต้ววั ยด้วเยขาเ(ข๒า)ย(งั๒บ)อยกงั เบลอยกวเา่ ลอยยวา่ากอรยูจ้ ากั กรูจ้ กั มานานแลว้ ” คาว่า“เขา” ในข้อใดจดั เป็นสรรพนามบุรุษท่ี ๑ ก.เขา (๑) ข. เขา(๒(๒)) ค. เขา(๓(๓)) ง. เขา(๒(๒)แ) ลแะลเะขาเข(๓า)(๓) ๖. “ใคร” ในขอ้ ใดเป็นอนยิ มสรรพนาม ก. ใครจะเป็นคนช่วยแมท่ าอาหารจ๊ะ ข. ใคร ๆก็อยากรวยดว้ ยกันท้ังนัน้ ค. เพ่อื นสนิทของเธอเป็นใคร ง. ใครอยใู่ นหอ้ งน้า
280227830 ๗. สรรพนามในข้อใดจัดเป็นปฤจฉาสรรพนาม ข. อะไร ๆกด็ ูรกหรู กตาไปหมด ก. นั่นคอื บ้านหลังใหม่ของฉัน ง. เธอเรียนอยู่โรงเรยี นอะไร ค. ทาอะไรกส็ ทู้ าบญุ ไมไ่ ด้ ๘. ขอ้ ใดไมใ่ ช่สรรพนามบุรุษที่ ๑ ข. ดิฉันตอ้ งการทราบรายละเอียดเก่ียวกับโครงการน้ี ก. ฉนั จะไปเท่ียวภหู นิ รอ่ งกลา้ ง. เราตอ้ งรบี ไป ค. เธอจะไปด้วยกนั ไหม ๙. “ท”่ี ในขอ้ ใดจดั เปน็ ประพันธสรรพนาม ข. สวุ นันท์เรียนทโี่ รงเรยี นน้ี ก. ฉันสอบได้ทีห่ นง่ึ ง. คนทเี่ ดนิ อยู่น้ันพักข้างบา้ นฉนั เอง ค. ฉันทนาสนทิ กบั ราตรีมากท่สี ดุ ๑๐. “ครูถามนกั เรียนทน่ี ัง่ หลงั ห้อง”ขอ้ ใดคือสรรพนามใชเ้ ช่อื มประโยค ก. ท่ี ข. ถาม ค. นัง่ ง.หลงั ๑๑. ขอ้ ใดมีสรรพนามมากทสี่ ุด ก. น่เี ธอ อะไรเปน็ คนที่ทาใหเ้ รอ่ื งมันยุ่งใครกไ็ ด้มาช่วยกัน ข. นักเรียนทกุ คนต่างกต็ ั้งใจเรยี น ไมม่ ีใครเหลวไหลบา้ งเลย ค. เพ่อื น ๆ ใครจะไปเท่ียวกับเราบา้ ง วนั พรุ่งน้ีรถออกเจด็ โมง ง. คณุ แมห่ อ่ ข้าวมาให้พวกเราท่ีมาทางาน มากินกันนะ ๑๒. “อะไร” ในข้อใดเปน็ คาสรรพนามใช้ถาม และทาหนา้ ที่เป็นประธานในประโยค ก. อะไรอยู่บนโต๊ะ ข. ขนมอะไรอรอ่ ยดี ค. ใครทาอะไรที่ห้องน้า ง. อะไร ๆ ฉนั ก็กนิ ได้ ๑๓. ประโยคในขอ้ ใช้สรรพนามเชือ่ มประโยคใหร้ วมกนั ก. ทน่ี เ่ี ป็นบา้ นของฉนั ข. ทไี่ หนก็ไมเ่ หมือนที่นี่ ค. งทู ี่ตายกัดสุนัข ง. แดงไปหาเขาทีบ่ ้าน ๑๔. “ต่าง” ในข้อใดเป็นสรรพนาม (วภิ าคสรรพนาม) ข. ลูกเสือตา่ งบาเพญ็ ประโยค ก. แมวต่างจากสุนัข ค. ต่างไม่พดู จากัน ง. คนเรายอ่ มแตกตา่ งกัน ๑๕. ขอ้ ใดมสี รรพนามใชช้ ี้ระยะ(นิยมสรรพนาม)ทาหน้าที่เปน็ ประธานในประโยค ก. เสอื้ สีนส้ี วยมาก ข. ไหนเสื้อเธอล่ะ ค. นัน่ คือบ้านของสมชาย ง. เวลาน้นั เกิดพายพุ ัดอ้ืออึง เฉลย ๑. ง ๒. ง ๓. ข ๔. ก ๕. ก ๖. ข ๗. ง ๘. ค ๙. ง ๑๐. ก ๑๑. ก ๑๒. ก ๑๓. ค ๑๔. ข ๑๕. ค
281227841 แบบประเมินความสามารถในการเขยี นแผนภาพความคิด ความถกู ต้องของเน้อื หา การจดั ระบบในการนาเสนอ ความมีระเบียบในการทางาน รวม เลขท่ี ช่ือ-สกลุ 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 12 ขอ้ เสนอแนะเพิม่ เติม : ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................................................................................................................ เกณฑ์การประเมิน ดมี าก ระดบั คุณภาพ 4 หมายถึง ดี 9 – 12 คะแนน = ดี 3 หมายถึง พอใช้ 5 – 8 คะแนน = พอใช้ 2 หมายถึง ปรบั ปรงุ 1 – 4 คะแนน = ปรับปรงุ 1 หมายถงึ
282 หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ เรือ่ ง พนิ จิ พิจารณ์ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 1๑ เวลา ๑ ช่ัวโมง กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย เร่ือง คากริยา ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ ขอบเขตเนื้อหา ชนิดและหนา้ ทข่ี องคากริยา รายวิชาพนื้ ฐานภาษาไทย จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่อื /แหลง่ เรียนรู้ ขัน้ นา ๑. ภาพสติกเกอร์ ๑. อธบิ ายความหมายคากริยาได้ ครูให้นักเรียนดูภาพสติกเกอร์ใบหน้าในรูปแบบลักษณะต่าง ๆ ๒. ใบความรู้ เรื่อง คากริยา ๒. อธบิ ายชนิดของคากริยาได้ ได้แก่ ใบหน้ายิ้ม ร้องไห้ หัวเราะ แล้วให้นักเรียนฝึกสังเกตสีหน้า ๓. ใบงาน เรอ่ื ง คากริยา ด้านทกั ษะและกระบวนการ ซ่ึงแสดงถึงอารมณ์ ความรู้สึก จากนั้นเชื่อมโยงเข้าสู่ เรื่อง ภาระงาน/ชน้ิ งาน จาแนกชนดิ ของคากรยิ าได้ คากริยา นักเรยี นทำ�หนังสือเล่มเลก็ ด้านคุณลกั ษณะ 1. มีวินยั รวบรวมค�ำ กริยา 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. ม่งุ มัน่ ในการทางาน ขัน้ สอน 1. นักเรียนแบ่งกลุ่ม จานวน ๔ กลุ่ม จากน้ันศึกษาใบความรู้ เร่ือง คากรยิ า 2. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันรวบรวมคากริยาให้ได้มาก ทส่ี ุดในเวลา ๒ นาที โดยเขยี นลงในกระดาษที่ครแู จกให้ เมื่อหมด เวลาให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมาเขียนคากริยาบน กระดาน 3. ครูและนักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้องของคากริยา ที่ช่วยกันรวบรวมมาทีละกลุ่ม กลุ่มท่ีรวบรวมคากริยาได้มากและ ถกู ต้องท่ีสุดเปน็ ผู้ชนะ 282 275
ที่ช่วยกันรวบรวมมาทีละกลุ่ม กลุ่มที่รวบรวมคากริยาได้มากและ ถกู ตอ้ งที่สุดเป็นผู้ชนะ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๓ เร่อื ง พนิ จิ พิจารณ์ แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 1๑ 283 กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย เร่ือง คากริยา เวลา ๑ ชั่วโมง ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๑ รายวิชาพืน้ ฐานภาษาไทย ๔. นักเรียนทาใบงาน เร่ือง คากริยา เม่ือเสร็จแล้วครูเฉลยและ อธิบายคาตอบ ขั้นสรปุ คครรูซูซักักถถามานมักนเักรีเยรนียเนป็เนปร็นายรบายุคบคลุคเคกล่ียเวกกี่ยับวคกวับามครวู้ทาี่ไมดร้รู้ทับใี่ไนดก้ราับร ใเรนียกนารเรเร่ือียงนคเราื่อกงริยคาำ�กนรักิยเาร ียนนักตเรอียบนคตาอถบาคมำ�ถคารมูอธคิบราูอยธเิบพาิ่มยเตพิมิ่มเพต่ือิม เพปอ่ื็นเกปาน็ รกสารรุปสครวปุ าคมวราอู้ มีกรคู้อรีกัง้ คนร้งักเนรักยี เนรจียดนบจดันบทนักึ ทลงกึ สลมงสดุ มุด 276
284227874 การวดั และประเมนิ ผล วธิ ีการ เคร่ืองมือท่ใี ช้ เกณฑ์ สิ่งทตี่ ้องการวดั /ประเมิน สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสังเกตพฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์การประเมิน การเรยี น การเรยี น ร้อยละ ๘๐ ขนึ้ ไป ดา้ นความรู้ ๑. ความหมายคากรยิ า ๒. ชนิดของคากรยิ า ด้านทักษะและกระบวนการ ใบงาน เรอ่ื ง คากริยา ผ่านเกณฑ์การประเมิน จาแนกชนดิ ของคากรยิ า ตรวจใบงาน ร้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป ด้านคุณลกั ษณะ ประเมินจาก แบบประเมินคุณลักษณะ ผ่านเกณฑ์คณุ ภาพ 1. มีวนิ ยั คณุ ลักษณะ ระดับ ๒ 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งม่นั ในการทางาน ๘. บนั ทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ .................................................................................................................. .................................................................. ปญั หาและอปุ สรรค ...................................................................................................................... .............................................................. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. ....................................................... ลงช่ือ...................................................ผสู้ อน (.................................................................) วนั ท.่ี ............เดือน....................พ.ศ…….… ๙. ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะของผบู้ ริหารหรอื ผู้ทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ............................................................................................................................. ....................................................... ลงช่อื ...................................................ผสู้ อน (.................................................................) วันที.่ ............เดือน....................พ.ศ…….…
285227885 ใบความรู้ เร่อื ง คากริยา หนว่ ยท่ี ๓ แผนการจดั การเรียนรู้ ๑๑ เร่อื ง คำกรยิ ำ รำยวิชำภำษำไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภำคเรียนที่ ๑ ชั้นมธั ยมศกึ ษำปีท่ี ๑ คากริยา คอื คาที่แสดงกริ ยิ าอาการหรือสภาพของคานามและสรรพนาม คากริยาแบ่งเป็น 5 ชนดิ คือ 1) สกรรมกริยา คือ กริยาท่ตี อ้ งมีกรรมมารบั จงึ จะได้ใจความสมบรู ณ์ เชน่ ม้ากินหญา้ หมูกนิ รา แมต่ ีนอ้ ง นอ้ งเตะฟุตบอล แมวจบั หนู แมถ่ วายภัตตาหารแดภ่ กิ ษสุ งฆ์ (ภัตตาหาร-กรรมตรง,ภกิ ษุสงฆ์-กรรมรอง) ผสู้ มัครส.ส.แจกเงินแกช่ าวบา้ น (เงนิ -กรรมตรง,ชาวบ้าน-กรรมรอง) 2) อกรรมกริยา คอื กริยาท่ไี มต่ ้องมกี รรมมารับ ก็สามารถทาให้ประโยคมใี จความสมบูรณ์ เช่น กบร้อง ฝนตก น้าทว่ ม ฟ้ารอ้ ง รถตดิ ฉันยม้ิ ครูหวั เราะ ไกข่ นั 3) วิกตรรถกริยา คือ กริยาที่ตอ้ งอาศัยสว่ นเตมิ เต็ม เพื่อประกอบประโยคให้มใี จความสมบูรณ์ เนื่องจากเปน็ กรยิ าที่ไม่ได้แสดงความเป็นผู้กระทา ดังนนั้ จึงไม่ ต้องอาศัยกรรม คือ ผถู้ ูกกระทา แต่อาศัยส่วนเติม เต็มมาชว่ ยให้ประโยคสมบูรณ์แทน เชน่ เธอคอื แม่พระของเดก็ ๆแห่งขนุ เขา เขาเปน็ กาลังสาคัญของครอบครวั ผมเหมอื นพ่อมาก น้องคลา้ ยแมม่ ากกวา่ พ่อ น้าหนกั ของเธอเทา่ นา้ หนักของพ่ี ไถงแปลวา่ พระอาทิตย์ 4) กรยิ านุเคราะห์ คือ กริยาที่ทาหนา้ ที่ช่วยกรยิ าอื่นท่ีตามมา ทาหนา้ ท่ชี ว่ ยบอกกาลหรือการกระทา เพ่อื ทาใหป้ ระโยคมใี จความที่สมบรู ณ์ เช่น ฉันย่อมทาในสิ่งท่ฉี ันพอใจ นักเรยี นถกู ครูดุเปน็ เวลานาน เขากาลงั สรา้ งต้นแบบหุน่ ยนตค์ อมพิวเตอรต์ ัวแรกของเมืองไทย ผมคงจะอธิบายให้เธอฟงั ถ้าเธอเข้าประชุม พ่ขี องฉันจะไปเรียนต่อท่สี หรัฐอเมริกาเดือนหนา้ ประชาชนตอ้ งคอยจบั ตาดกู ารทางานของรัฐบาล เขาได้ตกลงใจอุทิศตนแก่พระศาสนาโดยจะบวชไม่สกึ คณุ อาจจะเขา้ ใจเขาผิดก็ได้ 5) กริยาสภาวมาลา คือ กรยิ าทที่ าหนา้ ท่เี ปน็ คานาม อาจเปน็ ประธานหรือกรรม หรอื บทขยาย ของประโยคก็ได้ เช่น ออกกาลงั กายอยา่ งสม่าเสมอมปี ระโยชนต์ ่อร่างกาย เขาชอบวา่ ยนา้ อา่ นในใจทาใหจ้ าแมน่ เธอฝกึ รอ้ งเพลงทุกวัน เขาวิ่งทุกเช้าเพื่อออกกาลังกาย เขาสรา้ งคอกสาหรบั ขังหมู
286228769 ใบงำน เรอ่ื ง คำกริยำ หนว่ ยที่ ๓ แผนการจดั การเรยี นรู้ ๑๑ เรื่อง คำกริยำ รำยวิชำภำษำไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภำคเรยี นที่ ๑ ชน้ั มัธยมศึกษำปที ่ี ๑ คำสงั่ ใหน้ กั เรียนเขียนชนิดของคำกริยำลงในช่องวำ่ งให้ถูกตอ้ งตำมคำกรยิ ำทีข่ ีดเส้นใต้ (๑๐คะแนน) ๑. คุณพ่อไปโรงงำนชว่ งบ่ำย ๒. เธอสวยรำวกบั นำงฟำ้ ๓. คณุ ตำชอบไม้ดอกไมป้ ระดับ ๔. เดก็ นกั เรยี นรอ้ งไห้ ๕. โปรดอยำ่ เดนิ ลัดสนำม ๖. นภพเปน็ เดก็ เกเร ๗. เมื่อคืนฉันเห็นดำวตก ๘. เดก็ ๆ กอ่ กองทรำย ๙. นกเกำะอยูบ่ นตน้ ไม้ ๑๐. เธอควรต้ังอำ่ นหนังสือสอบ เฉลย สกรรมกริยา ๑. วกิ ตรรถกริยา ๒. สกรรมกริยา ๓. อกรรมกริยา ๔. กรยิ านเุ คราะห์ ๕. วิกตรรถกริยา ๖. สกรรมกริยา ๗. อกรรมกริยา ๘. อกรรมกรยิ า ๙. กรยิ านุเคราะห์ ๑๐.
287 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี ๓ เร่อื ง พินิจพิจารณ์ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1๒ เวลา ๑ ช่วั โมง กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรอื่ ง หนา้ ท่ีของคากรยิ า ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ขอบเขตเนื้อหา รายวิชาพ้นื ฐานภาษาไทย ชนดิ และหนา้ ทข่ี องคากริยา จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สอ่ื /แหลง่ เรยี นรู้ ดา้ นความรู้ ขัน้ นา ๑. ใบความรู้ เรอื่ ง หน้าทข่ี องคากรยิ า ครูสนทนากับนักเรียนเร่ือง คากริยา นอกจากท่ีนักเรียนค้นคว้า ๒. ใบงาน เร่ือง หน้าท่ขี องคากริยา อธิบายหน้าทีข่ องคากรยิ าได้ มามีคาท่ีเกิดขึ้นใหม่อีกหรือไม่ นักเรียนตอบคาถามครูอธิบาย ๓. แบบทดสอบ เรอ่ื ง คากรยิ า ด้านทกั ษะและกระบวนการ เพม่ิ เติม จากน้ันครูเช่ือมโยงเข้าส่เู รื่องหน้าท่ขี องคากริยา ภาระงาน/ช้ินงาน ๑. วิเคราะห์ชนิดและหน้าท่ีของ ขัน้ สอน แผนภาพความคดิ เรอ่ื งหน้าทขี่ องคำ�กรยิ า คากรยิ าได้ 1. นักเรียนศึกษาใบความรู้ เรื่อง หน้าที่ของคากริยา โดยมีครู ๒. ใช้คากริยาได้ถูกต้อง เปน็ ผอู้ ธิบายเนื้อหาความรู้เพมิ่ เติม ด้านคณุ ลกั ษณะ 2. นักเรียนทาใบงาน เรื่อง หน้าที่ของคากริยา จากนั้นครูและ 1. มีวนิ ยั นักเรียนร่วมกันเฉลยคาตอบพร้อมกัน นักเรียนฝึกสังเกตหน้าที่ 2. ใฝ่เรยี นรู้ ของคากริยากับคาท่ีได้เรียนมาแล้วศึกษาความแตกต่างครูและ 3. มุ่งมั่นในการทางาน นักเรยี นสรุปเปน็ ความรู้ นักเรียนบันทกึ ลงสมุด ๓. นักเรยี นทาแบบทดสอบ เรื่อง คากรยิ า ขั้นสรุป ครูใหน้ ักเรียนสรปุ ความรู้ เรอื่ ง หน้าทีข่ องคากรยิ า โดยการสรุป ลงแผนภาพความคิดให้ครอบคลุมชนิดและหน้าที่ของคากริยา นาส่งตามทีค่ รูกาหนด 287 280
288 228818 การวัดและประเมนิ ผล วิธีการ เคร่อื งมือทใ่ี ช้ เกณฑ์ สงิ่ ทต่ี ้องการวดั /ประเมนิ ๑. สงั เกตจากการเรยี น ๑. แบบสังเกตพฤตกิ รรม ผ่านเกณฑ์การประเมนิ และการตอบคาถาม การเรยี น ร้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป ด้านความรู้ ๒. ประเมนิ แผนภาพ ๒. แบบประเมิน อธบิ ายหนา้ ท่ขี องคากรยิ าได้ ความคดิ ความสามารถการทา ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ แผนภาพความคิด รอ้ ยละ ๘๐ ขึน้ ไป ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ ๑. ใบงานเรอื่ ง หน้าทข่ี อง ๑. วเิ คราะหช์ นดิ และหนา้ ท่ี ๑. ตรวจใบงาน คากรยิ า ผา่ นเกณฑ์คณุ ภาพ ของคากรยิ าได้ ๒. ตรวจแบบทดสอบ ๒. แบบทดสอบ เรอื่ ง ระดับ ๒ ๒. ใช้คากริยาไดถ้ ูกต้อง คากริยา แบบประเมนิ คุณลักษณะ ดา้ นคุณลกั ษณะ ประเมนิ จากคุณลักษณะ 1. มวี นิ ัย 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มงุ่ ม่นั ในการทางาน ๘. บันทึกผลหลังสอน ผลการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ....................................................... ปญั หาและอปุ สรรค .................................................................................................................................................................................... ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................................. ....................................................................... ลงชือ่ ...................................................ผสู้ อน (.................................................................) วนั ที่.............เดอื น.................พ.ศ…………. ๙. ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะของผ้บู รหิ ารหรอื ผู้ทีไ่ ด้รับมอบหมาย .............................................................................................. ...................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ลงชอ่ื ...................................................ผสู้ อน (.................................................................) วันท่ี.............เดือน.................พ.ศ………….
289 228829 ใบความรู้ เรอื่ ง หนา้ ท่ขี องคากริยา หน่วยที่ ๓ แผนการจดั การเรยี นรู้ ๑๑ เร่อื ง หน้าที่ของคากรยิ า รายวชิ าภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ หน้าทขี่ องคากริยา 1) ทาหนา้ ทีเ่ ปน็ ตัวแสดงของประโยค เช่น เด็กกาลงั เลน่ อย่างสนุกสนาน ครสู อนวิชาภาษาไทยมาหลายปแี ลว้ เกดิ แผ่นดินไหวทจี่ งั หวัดเชยี งราย (แผ่นดินไหวเกดิ ท่ีจงั หวัดเชยี งราย) มีขนมอยใู่ นตู้ (ขนมมอี ยู่ในตู)้ 2) ทาหน้าที่เป็นสว่ นขยายนาม เช่น เด็กเร่รอ่ น ถกู ตารวจจบั ตารวจยิงมอื ปืนปล้นแบงก์ตาย ทีน่ ่ีรบั สมัครเด็กลา้ งจานสองคน คนเกบ็ ขยะไปตั้งแตเ่ ชา้ พนกั งานขายของหายไปไหนหมด คนทาสวนกาลังจัดสวนใหม่ 3) ทาหน้าทเี่ ปน็ กริยาสภาวมาลา เป็นประธาน กรรม หรอื บทขยาย เชน่ อ่านหนังสอื หม่ืนเลม่ ไมเ่ ทา่ เดนิ ทางพนั ลี้ กนิ มากทาใหอ้ ว้ น เขาชอบตกปลา 4) ทาหน้าทีช่ ่วยประกอบกริยาให้มคี วามหมายชัดเจนขึ้น เช่น อริ กั ถกู สหรัฐอเมรกิ ายดึ ครอง คุณจะไปดว้ ยก็ได้ เธอต้องต้งั ใจมากกว่าน้ี เขาทาการบา้ นเสร็จแล้ว
290 228930 ใบงาน เรือ่ ง หนา้ ทข่ี องคากริยา หนว่ ยที่ ๓ แผนการจัดการเรยี นรู้ ๑๒ เร่อื ง หนา้ ท่ีของคากริยา รายวิชาภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๑ คาสั่ง ใหน้ กั เรียนบอกหน้าท่ีของคากริยาตามคากริยาทีข่ ดี เสน้ ใต้ในประโยค (๑๐ คะแนน) ๑. คณุ พ่อปลกู ต้นไม้ ................................................................................ ๒. น้องชายออมเงนิ เพื่อซ้ือรถบังคับ ................................................................................ ๓. ทอ่ งเทีย่ วเป็นการเปดิ โลกการเรียนรู้ ................................................................................ ๔. คุณยายไปวัด ................................................................................ ๕. ฉันมปี ฉดี น้า ................................................................................ ๖. คุณตาอา่ นหนงั สอื พิมพ์ ................................................................................ ๗. วันนไ้ี ม่ใช่วนั หยดุ ................................................................................ ๘. นอนหลบั เปน็ การพักผอ่ นที่ดี ................................................................................ ๙. สมชายขับรถเรว็ ................................................................................ ๑๐. คณุ ครชู อบเล้ยี งนกแก้ว ................................................................................ เฉลย คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนบอกหนา้ ท่ีของคากรยิ าตามคากรยิ าทขี่ ีดเสน้ ใตใ้ นประโยค (๑๐ คะแนน) ๑. ภาคแสดง (สกรรมกริยา) ๒. กริยาสภาวมาลา ๓. กรยิ าสภาวมาลา ๔. ภาคแสดง (อกรรมกรยิ า) ๕. ขยายคานาม ๖. ภาคแสดง (สกรรมกรยิ า) ๗. ขยายนาม ๘. กรยิ าสภาวมาลา ๙. ภาคแสดง (สกรรมกริยา) ๑๐. ขยายคานาม
291 228941 แบบทดสอบ เร่อื ง คากรยิ า หน่วยที่ ๓ แผนการจดั การเรยี นรู้ ๑๒ เรื่อง คากรยิ า รายวิชาภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๑ คาชแี้ จง จงเลอื กคาตอบทถี่ ูกที่สุด ๑. ขอ้ ใดคือลักษณะของคำกริยำ ๖. ข้อใดเปน็ กริยำนเุ ครำะห์ หรือกรยิ ำชว่ ย ก. คำแสดงอำกำรของนำม ก. ของรำคำถูก ข. คำแสดงอำกำรของนำมและสรรพนำม ข. เสอ้ื ถกู นำ้ หมึก ค. คำแสดงอำกำรของลักษณะนำม ค. คนร้ำยถูกจบั ง. คำแสดงอำกำรและสภำพของนำมและสรรพนำม ง. เขำทำถกู แล้ว ๒. \"ลกู คือดวงใจของพ่อแม่ คำว่ำ คือ เป็นคำกริยำ ๗. คำว่ำ \"ปิด\" ในข้อใดเปน็ กรยิ ำไม่มีกรรม ชนดิ ใด ก. ประตูปดิ แล้ว ก. อกรรมกริยำ ข. เขำปิดประกำศ ข. สกรรมกริยำ ค. อยำ่ ปดิ ประตเู ลน่ ค. กรยิ ำนุเครำะห์ ง. พนกั งำนปดิ โรงงำน ง. วกิ ตรรถกรยิ ำ ๘. ประโยคใดมคี ำกริยำท่ีทำหน้ำท่ีขยำยคำนำม ๓. ประโยคใดมคี ำกรยิ ำท่ีไม่ต้องกำรกรรม ก. สมทรงเขียนจดหมำย ก. คนรมุ ซ้อื ดอกกุหลำบ ข. วนั เดินทำงของเขำคือวนั พรุ่งน้ี ข. กหุ ลำบแดงบำนแล้ว ค. ธีระอ่ำนหนงั สอื ค. มำลีปกั กุหลำบลงในแจกัน ง. บนั ลอื ชอบเรยี นภำษำไทย ง. หนอนกดั ดอกกหุ ลำบ ๙. “เจ้ำเกง่ ถกู นักเรียนรังแก”คำใดเปน็ คำช่วยกริยำ ๔. ขอ้ ใดมสี กรรมกรยิ ำ ก. เกง่ ก. อะไรอย่บู นโตะ๊ ข. ถกู ข. ฉันเสียใจท่ีเข้ำใจผดิ ค. นักเรยี น ค. เด็ก ๆ ชอบว่งิ เล่นแถวนี้ ง. รังแก ง. ตำรวจจับผูร้ ้ำยไดแ้ ล้ว ๑๐. ข้อใดมกี ริยำทำหนำ้ ทเี่ หมอื นคำนำม ๕. ข้อใดเปน็ คำกรยิ ำ ก. เขำกนิ เร็วมำก ก. เหงือ่ ไหลไคลยอ้ ย ข. เขำกินไอศกรีม ข. ไดห้ น้ำลมื หลงั ค. ท่บี ำ้ นมกี นิ เลยี้ งกัน ค. ลูกผีลูกคน ง. ออกกำลังกำยทกุ วนั ทำใหร้ ่ำงกำยแขง็ แรง ง. กลำ้ หำญชำญชัย เฉลย ๑. ง ๒. ง ๓. ข ๔. ก ๕. ก ๖. ค ๗. ก ๘. ข ๙. ข ๑๐. ค
292 28925 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ ๔ ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ นิทานสารพัน รหสั วชิ า ท๒๑๑๐๑ รายวชิ า ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ เวลา ๑๒ ชวั่ โมง จานวน ๑.๕ หน่วยกติ ........................................................................................................................................................................... ๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชวี้ ัด มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความร้แู ละความคิดเพอื่ นาไปใช้ตดั สนิ ใจ แก้ปัญหา ในการดาเนินชวี ิต และมนี สิ ยั รกั การอ่าน ตัวชว้ี ดั ท ๑.๑ ม.๑/๒ จับใจความสาคญั จากเร่ืองท่ีอ่าน ท ๑.๑ ม.๑/๓ ระบุเหตแุ ละผลและข้อเทจ็ จรงิ กบั ข้อคิดเหน็ จากเร่อื งทีอ่ ่าน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขียนเขียนสือ่ สาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และ เขียนเร่อื งราวในรปู แบบต่าง ๆ เขยี นรายงานข้อมลู สารสนเทศ และรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมี ประสทิ ธิภาพ ตวั ช้วี ดั ท ๒.๑ ม.๑/๕ เขียนยอ่ ความจากเรอื่ งทอี่ ่าน ท ๒.๑ ม.๑/๙ มีมารยาทในการเขียน มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สกึ ในโอกาสตา่ ง ๆ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ และสรา้ งสรรค์ ตวั ช้ีวดั ท ๓.๑ ม.๑/๕ พดู รายงานเร่ืองหรอื ประเดน็ ที่ศกึ ษาคน้ คว้าจากการฟัง การดแู ละ การสนทนา ท ๓.๑ ม.๑/๖ มีมารยาทในการฟัง การดู การพูด มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของ ภาษาและพลังของภาษา ภมู ปิ ัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบัตขิ องชาติ ตวั ชวี้ ัด ท ๔.๑ ม.๑/๓ ชนดิ และหน้าทข่ี องคา มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคดิ เห็น วจิ ารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอย่าง เห็นคุณค่า และนามาประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตจรงิ ตัวชี้วดั ท ๕.๑ ม.๑/๑ สรปุ เนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน ท ๕.๑ ม.๑/๓ อธิบายคุณคา่ ของวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่อี า่ น
293 229836 ๒. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด การจับใจความสาคัญจากเรื่องที่อ่าน ระบุเหตุผลและข้อเท็จจริงกับข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน เขียนย่อ ความจาากกเเรรื่อื่องงทที่อี่อ่า่านนมมีมีมาารรยยาาททในในกการาเรขเียขนียนพูดพรูดารยางยางนาเนรื่อเรงื่อปงรปะรเดะ็นเดท็น่ีศทึกี่ศษึกาคษ้นาคว้น้าคจวา้ากจกาากรกฟาังรกฟาังรกดูแารลดะูแกลาระ สกานรทสนนาทมนีมาามรีมยาารทยใานทกใานรกฟาังรฟกงั ารกดาูรกดาู รกพารูดพมดู ีคมวีคาวมารมู้ครวูค้ าวมาเมขเ้าขใ้าจใชจนชิดนดิแแลละะหหนน้า้าทที่ข่ีขอองงคคาำ�แแลละะสสรรุปุปเเนน้ือื้อหหาาววรรณคดี และวรรณกรรมที่อา่ น อธิบายคณุ ค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรมที่อ่าน ๓. สาระการเรยี นรู้ ความรู้ ๑. คาวเิ ศษณ์ ๒. คาบพุ บท ๓. คาสนั ธาน ๔. คาอุทาน ๕. วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยหรือวรรณกรรมทอ้ งถน่ิ ๖. การเขียนยอ่ ความ ทกั ษะ/กระบวนการ 1. ทักษะการคิด 2. ทกั ษะการอ่าน 3. ทักษะการสอื่ สาร ๔. ทกั ษะกระบวนการกลุม่ เจตคติ 1. มีวนิ ยั 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มงุ่ ม่นั ในการทางาน ๔. รกั ความเป็นไทย ๕. มมี ารยาทในการเขยี น การฟัง การดแู ละการพูด ๖. มนี สิ ยั รักการอา่ น ๔. สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น ๑. ความสามารถในการส่ือสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา ๔. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต ๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 509
Pages: