Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เฉลย มมฐ. ภาษาไทย ป.4

เฉลย มมฐ. ภาษาไทย ป.4

Description: เฉลย มมฐ. ภาษาไทย ป.4

Search

Read the Text Version

ขอบขา ยสาระการเรยี นรูแ กนกลาง รายวชิ า ภาษาไทย ชั้น ป.๔ ตวั ช้ีวัด สาระพื้นฐาน ความรฝู งแนนตดิ ตวั ผเู รียน มฐ.ท ๑.๑ - วรรณกรรม เร่อื ง สดุ สาครผจญภยั - วรรณคดเี รอ่ื งพระอภยั มณี แตง โดย ๑. อา นออกเสยี งบทรอ ยแกว (วรรณคดี เร่ือง พระอภัยมณ)ี สนุ ทรภู ซง่ึ แตงเปน นทิ านคำกลอน (กลอนแปด) และบทรอยกรองไดถ กู ตอ ง ๒. อธบิ ายความหมายของคำ ประโยค และสำนวนจากเร่อื งท่อี า น ๓. อานเรอื่ งส้นั ๆ ตามเวลาทีก่ ำหนด และตอบคำถามจากเรื่องท่อี า น มฐ.ท ๒.๑ - การเขยี นแผนภาพโครงเร่อื ง - การเขยี นแผนภาพโครงเรือ่ ง เปนการ ๓. เขยี นแผนภาพโครงเรือ่ ง และ เขยี นเพือ่ แสดงใหเ ห็นโครงเร่อื ง โดยรวมทั้งเรื่อง แผนภาพความคดิ เพอ่ื ใชพฒั นา งานเขียน มฐ.ท ๔.๑ - คำกรยิ า - คำกริยาเปน คำทแี่ สดงการกระทำ ๒. ระบชุ นดิ และหนาทีข่ องคำ - คำวิเศษณ คำวิเศษณเปนคำทีใ่ ชป ระกอบคำอน่ื - คำประสม เฉลยสวนคำประสมเปน คำที่เกดิ จากการ ในประโยค นำคำชนิดตา งๆ มารวมกันเปน คำใหม ฉบับ มฐ.ท ๕.๑ - บทอาขยาน พระอภยั มณี - บทอาขยานพระอภยั มณี ตอน สดุ สาคร ๔. ทอ งจำบทอาขยานตามทก่ี ำหนด ตอน สุดสาครเขาเมืองการะเวก เขาเมอื งการะเวก เปนบทอาขยาน บทหลกั ทีม่ คี วามไพเราะ และบทรอ ยกรองทีม่ ีคุณคา ตาม ความสนใจ ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ¡‹ ÒÃàÃÕ¹ หาคำมาเติมในชอ งกลาง เพ่ือใหเ กดิ คำใหมส องคำท่มี ีความหมายตามที่กำหนด ใหร ายผูอน่ื สี..................................... สง่ิ ท่ีใชเขยี นและระบายภาพ ปา ย ปายสี................................... กา..................................... สนี ้ำ................................... นำ้ ๑) เคร่อื งเขยี นชนิดหนง่ึ กาง..................................... เครือ่ งดืม่ ชนิดหน่ึง ปาก ปากกา................................... ใจ..................................... กาแฟ................................... แฟ ๒) ตนไมท่ีขึ้นบรเิ วณปา ชายเลน โกง โกงกาง................................... เครื่องแตง กายสำหรับสวมปกปด ขา ๓) ความเอื้อเฟอ กางเกง................................... เกง น้ำ นำ้ ใจ................................... เห็นแกตัว ดำ ๘๓ ใจดำ................................... ÀÒÉÒä·Â ô

เรียนรหู ลักภาษา คำกริยา และคำวิเศษณ ¤Ó·èºÕ Í¡ãË·Œ ÃÒºÇ‹Ò »Ãиҹ¢Í§»ÃÐ⤡ÓÅѧ·ÓÍÐäÃÍ‹٠áÅФӷèªÕ ‹ÇÂãËѤÓÍè×¹æ Á¤Õ ÇÒÁËÁÒª´Ñ ਹÂÔ§è ¢Öé¹ à»š¹¤Óª¹´Ô ã´ ã¤Ãúٌ ŒÒ§¤Ð ๑. คำกริยา หมายถงึ คำทแ่ี สดงการกระทำ หรืออาการของคำนามและ คำสรรพนาม คำกริยาแบงออกเปน ๔ ประเภท ดงั น้ี ๑) กรยิ าไมต องมีกรรม หรืออกรรมกริยา เปน คำกรยิ าท่ีมคี วามหมายสมบรู ณอ ยูในตัวแลว เชน นกบิน น้ำไหล เฉฉบลับย ๒) กริยาท่ีตอ งมีกรรม หรือสกรรมกรยิ า คำกริยา เปนคำกริยาท่ีตองมีกรรมมารับ จึงจะไดใจความสมบูรณ เชน นกจิกหนอน (หนอน เปนกรรม) ๓) กริยาอาศัยสว นเตมิ เตม็ หรือวิกตรรถกรยิ า (ว-ิ กะ-ตัด-ถะ-กะ-ร-ิ ยา) เปนกริยาที่ตองอาศัยคำนาม คำสรรพนาม หรือคำวิเศษณ มาขยาย จึงจะมีความหมาย ไดแกคำวา เปน ดุจ เหมือน คลาย ราวกับ เพียง คือ เทา เชน เขาเหมือนพอ แมวคลายเสือ ปญญาประดุจอาวุธ ๔) กริยาชวย หรอื กริยานเุ คราะห เปนคำกรยิ าทีท่ ำหนา ท่ีชวยคำกริยาอ่ืน เพ่อื ใหมคี วามหมายชัดเจนข้นึ ไดแ กค ำวา จะ อาจ ตอ ง ควร จง หรอก เถอะ แลว เชน น้ำอาจทวม ฝนตกแลว เธอควรต้ังใจเรยี น ๘๔ ÀÒÉÒä·Â ô

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ·Õè ñ ๑. บอกประเภทของคำกริยาทพ่ี ิมพต วั สีฟาจากขอความท่ีกำหนด ๑) นักเรียนไปโรงเรียนตอนเชา สกรรมกริยา➠ .......................................................................... ๒) เธองดงามประดจุ นางฟา มาจากสวรรค วิกตรรถกริยา➠ .......................................................................... สกรรมกรยิ า➠ .......................................................................... ๓) ผหู ญิงชอบดอกไมท ี่มีกลิน่ หอม ๔) คุณแมปรงุ อาหารอยูในครัวหลงั บา น สกรรมกริยา➠ .......................................................................... กรยิ านเุ คราะห➠ .......................................................................... ๕) โปรดมาเร็วๆ หนอยนะ วิกตรรถกรยิ า➠ .......................................................................... ๖) สมพลคลา ยแมข องเขามาก อกรรมกรยิ า➠ .......................................................................... ๗) เด็กนกั เรียนรองไห เฉฉบลับย อกรรมกรยิ า➠ .......................................................................... ๘) หมานอนอยูใกลกระถางตน ไม สกรรมกริยา➠ .......................................................................... ๙) เมอื่ คืนนฉ้ี นั เหน็ ดาวตก อกรรมกรยิ า➠ .......................................................................... ๑๐) นำ้ กำลงั ไหลจากท่ีสงู ลงสทู ีต่ ำ่ อกรรมกรยิ า➠ .......................................................................... ๑๑) ชลติ ใชพกู นั ระบายสี ๑๒) ชลุ ปี ลูกตน มะลขิ า งๆ กระถางกหุ ลาบ สกรรมกริยา➠ .......................................................................... วกิ ตรรถกริยา➠ .......................................................................... ๑๓) ผิวของเธอขาวราวกบั สำลี วิกตรรถกรยิ า➠ .......................................................................... ๑๔) นิดาเปนเดก็ ขยัน สกรรมกรยิ า➠ .......................................................................... ๑๕) ใครซ้ือผลไมม ามากมาย ๒. แตงประโยคจากคำกรยิ าท่ีกำหนดใหลงในสมุด ข้ึนอยกู ับดุลยพนิ จิ ของผูสอน ๑) ดู ๒) ยม้ิ ๓) เหมอื น ๔) ตอ ง ๕) ให ÀÒÉÒä·Â ô ๘๕

๒. คำวิเศษณ หมายถึง คำที่ใชประกอบคำอ่ืนใหมีความหมายชัดเจน ย่งิ ขึ้น คำวิเศษณ แบงออกเปน ชนดิ ยอยๆ ได ดังนี้ ๑) คำวิเศษณบอกลักษณะ เปนคำท่ีบอกลักษณะของคน สัตว ส่ิงของ ไดแกคำวา สูง เตี้ย ใหญ เบา กวาง ยาว แคบ กลม แบน นุม ผอม หอม อว น ดำ ขาว ฯลฯ เชน เขาตัวสูง แมใสเ สื้อใหม แมวสขี าว ๒) คำวิเศษณบ อกอาการ เปนคำทีบ่ อกอาการของคน ธรรมชาติ หรือสัตว ไดแ กค ำวา ชา เรว็ วอ งไว ฯลฯ เชน ฝนตกหนกั นดิ วิ่งเรว็ เตาเดนิ ชา เฉฉบลับย คำวเิ ศษณ ๓) คำวเิ ศษณบอกจำนวน เปนคำท่ีบอกจำนวนของสิ่งตางๆ ไดแกคำวา มาก นอย ทั้งหมด บาง ฯลฯ เชน บางคน ชอบกินมาก สมทง้ั หมดเปนของพวกเรา ๔) คำวเิ ศษณบอกเวลา เปนคำที่บอกเวลาในประโยค ไดแกคำวา เชา สาย บาย เย็น กอ น แลว ฯลฯ เชน ฝายไปโรงเรียนแตเ ชา มดเขานอนกอนนอ งๆ ๕) คำวิเศษณบ อกสถานท่ี เปนคำท่ีบอกสถานที่ ไดแกคำวา บน หนา หลัง ใกล ไกล เหนือ ใต ลาง ฯลฯ เชน เดย่ี วเดนิ อยูขา งหนา กอ ง นกเกาะบนตน ไม ๘๖ ÀÒÉÒä·Â ô

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ·Õè ò ๑. เขียนจำแนกชนดิ ของคำวิเศษณทก่ี ำหนดใหล งในสม(ุดดใเูหฉถลกู ยตใอนงหนาพเิ ศษทายเลม ) เตีย้ ดำ มาก เชา หนา ไกล บน บาง ฉนุ สูง กลม ใต นอ ย เรว็ ชา เสีย ใกล วองไว หอม ดี กอน ท้งั หมด บาย หลัง บาง ๒. วงรอบคำวิเศษณในประโยคตอไปนี้ แลวเขยี นชนิดของคำวิเศษณล งในชอ งวาง ▲ บา นของฉนั อยูทางภาคใต คำวิเศษณบอกสถานที่............................................................................. ๑) เขาอา นหนังสืออยา งรวดเร็ว คำวเิ ศษณบอกอาการ............................................................................. เฉฉบลับย ๒) ฉนั มาถึงตลาดกอนเธอ คำวิเศษณบ อกเวลา............................................................................. ๓) แมวนอนอยูบนหลังคา คำวเิ ศษณบ อกสถานที่............................................................................. ๔) ทองฟา สดี ำ คำวเิ ศษณบอกลักษณะ............................................................................. ๕) แมมีเงนิ มากกวา ปา คำวเิ ศษณบ อกจำนวน............................................................................. ๓. แตง ประโยคจากคำวิเศษณท ก่ี ำหนดใหล งในสมุด ขน้ึ อยูก บั ดุลยพนิ ิจของผสู อน ๑) บา ง ๒) หลัง ๓) กอ น ๔) ชา ๕) สวย ÀÒÉÒä·Â ô ๘๗

คำประสม ¡ÒùӤӪ¹´Ô µÒ‹ §æ µ§Ñé ᵋ ò ¤Ó¢Ö¹é ä»ÁÒÃÇÁ¡¹Ñ ¨Ðä´¤Œ Óª¹Ô´ã´ ã¤ÃÃÙŒºÒŒ §¤Ð คำประสม เปนคำท่ีเกิดจากการนำคำชนิดตางๆ ตั้งแต ๒ คำขึ้นไป มารวมกนั แลวเกดิ เปนคำใหมทม่ี คี วามหมายใหม โดยอาจมีเคา ความหมายเดมิ หรือมีความหมายเปล่ยี นไปจากเดิมก็ได คำประสม แบงเปน ๔ ประเภท ดงั น้ี ๑) คำประสมทเี่ กิดความหมายใหม แตมเี คา ความหมายเดมิ เฉฉบลับย เชน รถ + ไฟ = รถไฟ หมายถงึ รถท่ีใชไฟเปนพลงั งานในการขบั เคล่ือน คำประสม ๒) คำประสมทเ่ี กดิ ความหมายใหมเปลย่ี นไปจากเดิม เชน ขาย + หนา = ขายหนา หมายถึง รูส ึกอบั อาย ๓) คำประสมทเ่ี กดิ จากคำไทยแทกับคำไทยแท เชน ดนิ ปน หางเสอื ยางลบ ฯลฯ ๔) คำประสมทเ่ี กิดจากคำไทยแทกบั คำทีม่ าจากภาษาตา งประเทศ เชน เรยี งเบอร เกงจนี ฯลฯ ๘๘ ÀÒÉÒä·Â ô

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹Ì٠·Õè ó ๑. นำคำทกี่ ำหนดจากกรอบท่ี ๑ และกรอบท่ี ๒ อยา งละ ๑ คำ มารวมกนั ใหเ ปน คำประสมท่ถี ูกตอง รถ หู ของ นำ้ บน เลน ไม เทา ๑ เลน ตน มา ๒ ขยะ มืด พริก เบา รอง พิมพ แก งาน ดดี คำประสมที่ได รถขยะ หเู บา ของเลน น้ำพรกิ เลน งาน➠ .............................................................................................................................................................................. ตน ไม มามดื รองเทา พมิ พด ีด แกบ น.................................................................................................................................................................................................................................................................. ๒. เขียนคำประสมจากคำทีก่ ำหนด โดยพจิ ารณาความหมายในวงเล็บ ๑) หมาก (การละเลน ของเด็กไทย) หมากเก็บ เฉลย➠ ฉบับ............................................................. ๒) บอก (แนะดว ยอบุ าย) ๓) เบ้ยี บอกใบ➠ ............................................................. ๔) ผิด ๕) ยา (เสียเปรียบ, เปนรอง) เบยี้ ลา ง➠ ............................................................. ๖) ฟน ๗) ปาก (หมางใจกนั ) ผดิ ใจ➠ ............................................................ ๘) เขา ๙) กอ (เปน ท่ีชืน่ ใจ) ยาใจ➠ ............................................................. ๑๐) เข็ม (ทำใหก ลับเจรญิ งอกงาม) ฟน ฟู➠ ............................................................. (เครอ่ื งสำหรบั ขดี เขียนชนิดหนึง่ ) ปากกา➠ ............................................................. (มที า ทางด,ี เหมาะสม) เขา ทา➠ ............................................................. (ทำใหเกิดความรำคาญ) กอกวน➠ ............................................................. (เครื่องคาดเอวชนิดหนึง่ ) เขม็ ขัด➠ ............................................................. ÀÒÉÒä·Â ô ๘๙

เบิกฟา วรรณกรรม สุดสาครผจญภัย วันน้ีเม่ือกลับถึงบานแลว เด็ดเด่ียวนัดแนะกับดวงดาวนองสาวของเขา วาใหรบี ทำการบานใหเ รยี บรอ ย แลว ทำกิจวัตรประจำวนั ใหเ สร็จ เดด็ เดี่ยวจะได อา นเร่อื งพระอภยั มณีใหด วงดาวฟง ตอ จากเมือ่ คืนวาน ´ÒÇ...ÃºÕ ·Ó ¡ÒúŒÒ¹¹ÐÇ¹Ñ ¹éÕ ·ÓäÁàËÃÍ ¾àÕè ´ÕèÂÇ ÍŽÍ! ä´ŒàÅ ¡¨ç Ðä´ŒÃÕºÁÒÍ‹Ò¹ àÃè×ͧ¾ÃÐÍÀÑÂÁ³Õ เฉฉบลับย ¡Ñ¹µ‹Í¹‹ÐÊÔ เมื่อเด็กท้ังสองทำการบานและทำกิจวัตรประจำวันของตนเสร็จเรียบรอย เด็ดเดย่ี วกห็ ยิบหนงั สอื พระอภัยมณอี อกมาจากหอ งของเขา แลว ชักชวนดวงดาว ใหออกมานงั่ ตรงระเบยี งบา น เพอ่ื ที่จะไดไมรบกวนคุณพอและคณุ แมที่พักผอน อยูในหอ งนงั่ เลน “เด่ียวๆ” เสียงคุณแมเรียกเด็ดเดี่ยว “เดี่ยวจุดยากันยุงไปดวยสิจะลูก ยุงจะไดไมมากวน” เดด็ เด่ยี วรบั คำคุณแม แลว จุดยากันยุงออกมาวางตรงมุมหน่งึ ของระเบียง ดวงดาวใชผาหมที่ถือติดมือมาปูบนพ้ืน แลวเธอก็นอนพังพาบรอฟงเด็ดเด่ียว เลาเรื่องพระอภัยมณีอยางสบายใจ เด็ดเด่ียวเห็นนองรอฟงอยูแลวก็เปด หนังสือไปยังหนาที่เขาใชที่ค่ันหนังสือค่ันไวเม่ือคืนวาน แลวเริ่มตนอานเรื่อง พระอภัยมณตี อ วา... ๙๐ ÀÒÉÒä·Â ô

๏ ถงึ เมืองลม จมสมุทรมนุษยมวย ประกอบดว ยยักขินีพวกผีดิบ เฉฉบลับย เห็นมนษุ ยสุดอยากปากยบิ ยบิ เสยี งซุบซิบเสแสรงจำแลงกาย เปน ถน่ิ ฐานบา นเมอื งเรืองอราม ท้ังตึกรามเรอื นเรอื ดูเหลอื หลาย ตลาดนำ้ เรอื สัญจรเที่ยวคอนพาย บางรองขายขาวของท่ตี องการ สดุ สาครออนแอคร้นั แลเห็น คิดวา เปนปถ พนิ ทถี่ น่ิ ฐาน ทง้ั แลเห็นเตน รำนา สำราญ เขาเรยี กขานขบั มา เขา ธานี เขา ประตดู กู ำแพงตะแคงควำ่ อยูในนำ้ เกาแกเห็นแตผ ี เปนเงาเงาเขา กลมุ รุมราวี กมุ ารตีดว ยไมเทาพระเจาตา ถูกเนอ้ื ตัวหัวขาดลงกลาดเกลือ่ น ยงั พวกเพื่อนคกึ คักมาหนักหนา บางอยากกินล้ินแลบแปลบแปลบมา กมุ ารกลากลอกกลับเขารับรบ มา มงั กรถอนถบี กบี สะบดั เอาหางรดั ราวกับนาคท้ังปากขบ สังหารผรี พ้ี ลอยจู นพลบ เหน็ เพลงิ คบลอ มรอบขอบกำแพง พวกผีดบิ สบิ โกฏมิ ันโลดไล จะเขาใกลก ลัวมนตขนแสยง แตหลอนหลอกออกอัดสกดั สแกง ดว ยมนั แกลง จะใหว นอยูจนตาย กุมารมา ทรงเฝาหลงรบ เทย่ี วตลบไลผ ไี มห นีหาย ถึงเจ็ดวันมันไมแ ตกไมแยกยาย จนมา วายน้ำเวียนจะเจียนจม ท้งั ตวั สดุ สาครกอ็ อ นจติ รำลกึ คิดถงึ เจาตาทอี่ าศรม พอเสียงดงั หง่งั หงา งมากลางลม ปศาจจมหายวับไปลบั ตา เห็นโยคขี ่ีเมฆมาเสกเวท จงึ อาเพศพวกผีหนีคาถา ขน้ึ หยุดยงั้ นง่ั บนใบเสมา ไหวเจาตาทูลถามดตู ามแคลง มาถงึ น่ีผพี รอ มเขา ลอ มหลาน คดิ วา บา นถ่นิ ประเทศเปน เขตแขวง เขา หกั หาญราญรอนจนออ นแรง นีก่ ำแพงเมืองตง้ั แตครงั้ ไร ฯ ๏ โยคคี รผู เู ฒาจงึ เลาเรื่อง น่คี อื เมืองทา วปกกาภาษาไสย เพราะพรากพระโคดมจึงจมไป เหน็ แตใบเสมาอยชู า นาน เม่ือแรกลมสมเพชพวกมนษุ ย มามวยมุดมรณาหนกั หนาหลาน พลไพรไมน อ ยสักรอ ยลา น อดอาหารหวิ ตายจงึ รา ยแรง แมนเรือซดั พลัดเขามาเหลาน้ี เปน เหยอ่ื ผพี วกมนั ลว นขนั แขง็ อยารอรั้งบงั อาจจะพลาดแพลง ออกกำแพงไปเสยี เจยี วประเด๋ยี วน้ี ไปขางหนาถาพบมนั รบอีก จงเล่ยี งหลกี เลยไปในวิถี มนั เขา ใกลไมถ อื ท่ีมอื ตี พระมุนีแนะอุบายแลวหายไป ฯ ÀÒÉÒä·Â ô ๙๑

๏ สงสารหนอ บพิตรอิศเรศ ไดท ราบเหตุครูแจง แถลงไข พอลบั หนาดาบสสลดใจ ลงจากใบเสมาขึ้นพาชี มงั กรกลายวายนำ้ เหมอื นเดนิ บก พอเดือนตกตัดทางกลางวถิ ี เหมือนสำเภาเขาแลน เม่อื ลมตี เรอื่ ยเรอ่ื ยรเ่ี ร็วมาในสาคร ครน้ั รุงเชา เขาเกาะขึน้ เสาะหา ผลผลาปรางปริงริมสงิ ขร กำดัดแดดแผดหนกั กพ็ กั นอน มา มังกรกินปลาประสาใจ ครนั้ ฟนองคทรงนลิ สินธพ มาไมพ บเกาะแกง ตำแหนงไหน สันโดษเดยี วเปล่ยี วกายคลา ยคลา ยไป กำหนดไดเ ดือนเศษถึงเขตคน ฯ ๏ จะกลา วความพราหมณแ ขกซึ่งแปลกเพศ อยเู มอื งเทศแรมทางท่ีกลางหน คร้ันเสียเรือเหลอื ตายไมวายชนม ขึน้ อยูบนเกาะพนมในยมนา ไมนุงหม สมเพชเหมือนเปรตเปลา เปนคนเจา เลหสดุ แสนมสุ า ทำเปนทีช่ ีเปลือยเฉอื่ ยเฉือ่ ยชา ไมกนิ ปลากนิ ขาวกินเตา แตง พวกสำเภาเลากาก็พาซอื่ ชวนกันถอื ผวู ิเศษทกุ เขตแขวง คดิ วา ขาดปรารถนาศรทั ธาแรง ไมต กแตงแตคิดอนิจจัง เฉฉบลับย ใครขดั สนบนบานการสำเร็จ เม่ือแทเ ทจ็ ถอื วาวิชาขลัง คนมาขอกอกฏุ ์ิใหหยุดยงั้ นับถอื ทัง้ ธรณเี รียกชีเปลอื ย สวนชายปลอมพรอมหมดไมอ ดอยาก มีโยมมากเหมือนหมายสบายเรื่อย จนหนวดงอกออกขาวดยู าวเฟอ ย ทั้งผมเล้อื ยลากสน อยูคนเดยี ว ฯ ๏ กุมารามา ทรงมาตรงเกาะ เห็นละเมาะไมพ ุมชอุมเขยี ว ทีเ่ ง้ือมเขาเสาหงสใสธงเทยี ว กุฎเี ดียวดูหลงั คาชอฟาเฟอ ย สำคัญวาดาบสปรากฏกลา จะแวะหาใหส บายพอหายเหนอ่ื ย จึงขบั มามากฎุ ีเห็นชเี ปลือย ยังหลับเรื่อยรูปรางโครงครางครนั ไมน งุ ผาคากรองครองหนังเสือ ประหลาดเหลือโลง โตง โมง โคงขัน นาเหยี นรากปากมีแตข้ฟี น กรนสน่ันนอนรา ยเหมอื นปา ยปน ประหลาดใจไยหนอไมน ุงผา จะเปน บา ไปหรือวา ถอื ศลี หนวดถึงเขา เคราถึงนมผมถึงตนี ฝรั่งจีนแขกไทยก็ใชท ี หัวรอ พลางทางคดิ ผดิ ประหลาด หรือปศ าจยมทตู อายภตู ผี จงึ รอ งปลุกลุกข้ึนหวาตาคนนี้ ผาไมม หี รอื ไมนงุ ดูรุงรัง ฯ ๏ ฝา ยชเี ปลือยเมื่อยมอยไปหนอ ยหน่ึง ลกุ ทะลง่ึ แลหาขางหนา หลงั เหน็ ฤๅษีกระจริ ิดใหค ดิ ชงั ขม่ี า มังกรหางเหมอื นอยางงู ๙๒ ÀÒÉÒä·Â ô

ใหคดิ ครามถามวา มาแตไหน ธรุ ะไรหรือฤๅษมี นุ หี นู อา ยท่ีข่ีน่ีอะไรจะใครรู เขมน ดเู ดอื ดใจอยูในที กุมาราวา ทานบอกเราออกกอ น ไยมานอนแกผานาบดั สี หรอื ผา ผอนทอ นสไบนั้นไมม ี ไมขดู ข้ฟี นบา งเปน อยางไร ฯ ๏ ชเี ปลือยฟง นั่งขดั สมาธ์พิ ับ แสนสับปลบั ปลิ้นปลอกบอกนิสัย เราตัดขาดปรารถนาไมอ าลยั ดว ยเห็นภัยวปิ รติ อนิจจัง อนั รา งกายหมายเหมือนหน่ึงเรือนโรค แสนโสโครกคืออายุกเปนทุกขัง เครอ่ื งสำหรบั ยับยุบอสุภัง จะปดบงั เวทนาไววา ไร เราถือศลี จินตนาศวิ าโมกข สละโลกรปู นามตามวิสยั บงั เกิดเปน เบญจขันธม าฉนั ใด กท็ ิง้ ไวเชนนน้ั จนฉนั นี้ ไมรักรูปรา งกายเสยี ดายชาติ อารมณม าดมงุ หมายจะหนา ยหนี นีต่ ัวทานการธรุ ะอะไรมี มาเด๋ยี วนจ้ี ะไปหนตำบลใด ฯ ๏ พระหนอนอยพลอยเห็นเหมอื นเชนวา โมทนานอมองคไมสงสยั ลงจากหลงั มงั กรวอนอภยั พระอยาไดถอื โทษจงโปรดปราน อนั ขา น้ีขม่ี า มาในน้ำ จะแวะสำนกั หาผลาหาร เฉฉบลับย แลว เลา ความตามเรื่องเคอื งรำคาญ จะไปบา นเมอื งคิดถงึ บิดา ไดย ินเขาเลา ลือบา งหรือไม พระอภยั บติ ุเรศกบั เชษฐา จงโปรดเกลาเลา แถลงแจง กิจจา ใหน ัดดาทราบความจะตามไป ฯ ๏ สว นชีเปลือยเฉือ่ ยชาหลบั ตาคดิ มนั เรืองฤทธิร์ เู วทวิเศษไฉน จำจะลวงหนว งถามถึงความใน เห็นจะไดดอกเดก็ เล็กเทานี้ ถาเดินน้ำทำเปน เชนอา ยหนู จะลอื กูเฟอ งฟุงทั้งกรงุ ศรี ดำรพิ ลางทางลวงดทู วงที เปน ไรมเี รากร็ ูอยูแกใจ แตแถวทางขา งหนานัน้ ปรากฏ มนี ำ้ กรดลึกเหลวเปนเปลวไหล ตอ มมี นตกลเวทวเิ ศษไป จงึ ขา มไดโดยงายไมวายชนม นต่ี วั เจาเลาเรียนมาแลวหรอื จะดงึ ดือ้ ไปแลว เห็นไมเ ปนผล ซ่งึ เดินนำ้ รำ่ มาในสาชล ดว ยเวทมนตรเชีย่ วชาญประการใด ฯ ๏ สุดสาครออนศักดิ์ไมห นักหนวง ถกู ลมลวงเลาแจง แถลงไข ทคี่ วามรคู รสู อนแตก อนไร รำพันใหแจงจติ ไมป ด บงั แตแ กก รดบทนยี้ ังมริ ู จะขออยศู ึกษาวิชาขลัง เหมือนลูกเตาเจาประคุณการุณัง จงชวยส่ังสอนใหไดไคลคลา ฯ ÀÒÉÒä·Â ô ๙๓

๏ สว นผเู ฒาเจา อบุ ายกระตา ยแก รกู ระแสสมมาดปรารถนา แมน ลวงไดไมเ ทาทีถ่ อื มา จะข่มี า มังกรไดด งั ใจจง จะจำหลอกบอกมนตกันบนเขา ใหเรยี นเลาเสยี เชิงละเลงิ หลง ถึงตวั ดมี ีครจู ะอยูค ง ผลกั มันลงท่ีในเหวกเ็ หลวไป จงึ ตอบคำทำทอี ารีรัก ไมยากนักดอกจะแจง แถลงไข จะเรียนร่ำตำราทานวา ไว ใหขนึ้ ไปบอกมนตก ันบนเนิน ถา แมนเจาเลา จำไดส ำเรจ็ ไมเหนือ่ ยเหนด็ นั่งหัวเราะเหมอื นเหาะเหนิ แกลงพูดลอพอใหน้ำใจเพลนิ แลว พาเดินดัดด้นั ขึ้นบรรพต ถึงปากปลอ งชอ งเหวเปน เปลวโปรง ตลอดโลงลึกล้ำเหลอื กำหนด บอกใหนั่งตัง้ ประนมพรหมพรต วางไมเทา ดาบสไวริมกาย เห็นไดทีชีเมียงเขาเคยี งขา ง กระซบิ พลางผลกั ตกหัวหกหาย กระทบหนิ สิ้นแรงพลิว้ แพงกาย ทรวงทลายลม ซบสลบไป ฯ เฉฉบลับย เด็ดเด่ียวหยุดอานเพราะรูสึกตื่นเตนมาก ดวงดาวก็เชนกัน นอกจากนี้ ดวงดาวยังรสู ึกเปน หวงสดุ สาครวาจะเปนอะไร แตเด็ดเดี่ยวปลอบวา คนดยี อ ม ตกนำ้ ไมไหล ตกไฟไมไหม จากน้นั เด็ดเดย่ี วก็เรม่ิ อา นตอ ซงึ่ เนื้อเร่ืองตอ จากน้ี เปนการบรรยายเหตุการณที่ชีเปลือยขโมยไมเทาและข่ีมานิลมังกรเขาไปใน เมืองการะเวก เพ่ือหลอกชาวเมืองวาตนเปนผูวิเศษ จนพระสุริโยไทยเจาเมือง การะเวกทราบขาวจึงใหเหลาเสนาอำมาตยไปเชิญชีเปลือยเขามาในวัง เมื่อไป ถึงวัง ชีเปลือยลงจากหลังมานิลมังกร มานิลมังกรสบโอกาสจึงหนีชีเปลือยมา เพ่ือตามหาสดุ สาคร ๏ ฝายพาชีหนไี ดมาในนำ้ พอพลบค่ำควบหนกั ดังจกั รผนั ท้งั หลงั เปลาเบาแรงยงิ่ แขง็ ครนั พอไกข ันขึน้ ละเมาะเกาะพนม เทยี่ วหานายหลายตลบไมพบเหน็ แลว โผนเผน เขา ไปหาในอาศรม ดว ยรกั ใครใจมา ตองอารมณ เที่ยวเดินดมกลิน่ รอยรอยรอ ยมา ถึงเหวหองปลองหนิ ไดก ลิน่ หนัก แจงประจักษวา เจา อยูในคหู า ชะโงกมองรองเรยี กประสามา ไมเ หน็ หนา เจา นายวุน วายใจ ๙๔ ÀÒÉÒä·Â ô

แตห นั เหยี นเวียนมองแลว รองเรียก สุดสำเหนียกมงิ่ มา นำ้ ตาไหล เฉฉบลับย เฝา นงั่ ดูคูหาดวยอาลัย ไมไปไกลปากปลองนองน้ำตา ฯ ๏ สงสารสุดสาครยงั ออนศกั ด์ิ ชีเปลือยผลักตกอยูในคหู า เดชะมนตทนคงทรงวชิ า ไมมรณาน่งิ ซบสลบไป ไดส ามคืนช่ืนฉำ่ ดวยนำ้ หิน ในดวงวิญญาณแ ยมคอ ยแจม ใส ระริกริกพลิกองคทรงฤทยั ในดวงใจเจบ็ ช้ำแทบทำลาย นิ่งรำลึกตรึกภาวนาเวท ศกั ดาเดชราวฉานบนั ดาลหาย แตหิวโหยโดยอดระทดกาย จะปน ปา ยไปไมไดดงั ใจจง จงึ คิดวาตาเฒานีเ้ จาเลห เราซวดเซเสยี เชงิ ละเลิงหลง โอน าท่ชี วี ิตจะปลดิ ปลง ไหนจะคงคืนรอดตลอดไป กมุ าราอาดูรพูนเทวษ ชลเนตรแดงเดือดดังเลือดไหล สะอ้ืนรำ่ พร่ำวา ประสาใจ ไหนจะไดพบปะพระบิดร โอเ จา ตาอาจารยของหลานเอย พระองคเคยคำ่ เชาเฝาส่งั สอน มาครงั้ นีช้ ีวาตมจะขาดรอน พระอาจารยมารดรไมเ หน็ ใจ เม่อื ตอตีผีดบิ สกั สบิ โกฏิ พระมาโปรดหลานรักไมต กั ษยั โอค ร้ังนม้ี ิรูดว ยอยูไกล ไมมีใครบอกเลา พระเจา ตา สงสารแตแ มเงอื กของลกู นอ ย จะหลงคอยคดิ ถึงคะนงึ หา ลูกอยากนมสมเด็จพระมารดา แมนไดมากลำ้ กลนื จะชนื่ ใจ โอแ มค ุณทลู กระหมอมถนอมลูก ไมตองถูกหนักหนาอชั ฌาสัย ไดส ามปชวี นั จะบรรลัย มิทนั ไดแทนคณุ กรุณา สะอ้นื ร่ำนำ้ พระเนตรลงพรากพราก ดว ยอดอยากนมแมช ะแงห า เสยี งมารองกอ งกรรณหวั่นวญิ ญาณ พมี่ าขาฉนั ขนึ้ ไปไมไดแ ลว ไปบอกตามาชวยฉนั ดวยเถดิ เหมือนพเ่ี กดิ รวมทองกับนองแกว รองเรยี กรำ่ นำ้ พระเนตรลงนองแนว สลบแลวคืนเลาเฝา โศกา ฯ สุดสาครไมเปน อะไรมากอยางทด่ี วงดาวนึกหวง แตส ดุ สาครก็ขน้ึ จากเหว ไมได มานลิ มงั กรจะชว ยไดไหมนะ ดวงดาวคิดมาถึงตรงนี้กพ็ อดีกบั ที่เด็ดเดีย่ ว อานวา ... ÀÒÉÒä·Â ô ๙๕

๏ บัดเดย๋ี วดังหงั่งเหงงวังเวงแวว สะดุงแลว เหลียวแลชะแงห า เห็นโยคีขี่รงุ พุงออกมา ประคองพาข้นึ ไปจนบนบรรพต แลว สอนวา อยา ไวใจมนษุ ย มนั แสนสดุ ลึกลำ้ เหลอื กำหนด ถงึ เถาวัลยพ ันเกี่ยวทเ่ี ล้ียวลด ก็ไมคดเหมือนหนึ่งในนำ้ ใจคน มนุษยนท้ี ี่รกั อยสู องสถาน บดิ ามารดารักมกั เปน ผล ทีพ่ ่งึ หน่ึงพงึ่ ไดแ ตก ายตน เกดิ เปน คนคดิ เห็นจงึ เจรจา แมนใครรักรักม่งั ชงั ชงั ตอบ ใหรอบคอบคดิ อา นนะหลานหนา รูส ิง่ ไรไมส รู ูว ชิ า รรู ักษาตวั รอดเปน ยอดดี จงคิดตามไปเอาไมเทาเถดิ จะประเสริฐสมรักเปน ศักดศ์ิ รี พอเสรจ็ คำสำแดงแจง คดี รูปโยคีหายวบั ไปกบั ตา ฯ* เม่ืออานมาถึงตรงนี้ คุณพอคุณแมก็เดินมาตามสองคนพี่นองใหไปนอน เพราะดึกแลว กอนจะนอนเดด็ เดย่ี วแอบกระซิบกับดวงดาววา คืนพรงุ นีค้ อยไป รวมผจญภัยกับสุดสาครและมานิลมังกรกันใหม จากนั้นเด็กท้ังสองก็ปดไฟ เฉฉบลับย แลวลม ตวั ลงนอนอยา งมคี วามสุข ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ·Õè ô ๑. ฝก อา นออกเสยี งบทอา นจนอานไดคลอ ง และหาความหมายของคำและสำนวน ตอไปน้ี สมุทร ปถ พิน โกฏิ พาชี ผา คากรอง เบญจขันธ บิตุเรศ เชษฐา เทวษ ต๒อฝ๑าอก))ดบทนถรูคอ ากั ำงนเถบบรักาียทรเแมรนรอมพยีจคานานขตดิ กเยใวปคเาารคนรนอื่ นรคสพงักดำดุทรรสีตสะักอ่ี อกอาามนคภนขนั่งขึน้รยัำ้ชอไมดังนมงยงัณชักพไูกนังหเีับรี้ตรตละดยีออเนุลบจตนยาจกตพะไสเานิฟชุดทิจใไอ่ืสบ่ีหขมชาออรไคีเงอกหปรผบสมลเสูขคดุอื อาอสยนเาบมหคคือรรืองิดวกไอามาา รนเะนพเวะรกหาะลเเาปหนน ตหทใุ ดนำานองเสนาะ ๒. ๓. รูสง่ิ ไรไมส ูรูวิชา รูร ักษาตัวรอดเปน ยอดดี เหมาะสมทจ่ี ะนำมาใชเปน แนวทางในการดำเนนิ ชีวิตปจจุบันหรือไม อยา งไร * บทอาขยานบทหลกั (พระอภัยมณี ตอน สดุ สาครเขา เมอื งการะเวก) ๙๖ ÀÒÉÒä·Â ô

จดจำการใชภ าษา การเขียนแผนภาพโครงเร่ือง ¡ÒÃà¢Õ¹ἹÀÒ¾â¤Ã§àÃÍ×è § ໹š ¡ÒÃà¢Õ¹ÊÃ»Ø àÃÍè× §ÃÒÇ ËÃÍ× à»š¹¡ÒÃÇÒ´ÀÒ¾»ÃСͺàÃÍ×è §¹Ð ã¤ÃÃÙŒºŒÒ§¤ÃºÑ การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง เปนการเขียนเพื่อแสดงใหเห็นโครงเร่ือง โดยรวมท้ังเรื่อง ทำใหจับใจความสำคัญของเร่ืองท่ีอานไดดียิ่งข้ึน การเขียน แผนภาพโครงเร่ืองตองอาศัยการต้ังคำถามและตอบคำถามจากเร่ืองที่อานวา ตัวละครในเรอื่ งมีใครบาง สถานทีเ่ กิดเหตกุ ารณในเรื่องคอื ที่ใด มีเหตกุ ารณอะไร เกิดข้นึ และผลของเหตุการณนั้นคืออะไร แลวจึงเขียนเปนแผนภาพโครงเรอื่ ง ตัวอยาง การเขยี นแผนภาพโครงเรอื่ งของนทิ านคำกลอนเร่อื ง พระอภยั มณี เฉฉบลับย ตอน กำเนิดสุดสาคร และสดุ สาครเขา เมอื งการะเวก ตวั ละคร สุดสาคร ชีเปลือย พระโยคี และมา นลิ มังกร สถานท่ี เกาะแหง หนึง่ ใกลกับเมอื งการะเวก เหตกุ ารณท เี่ กดิ สุดสาครสูกับพวกผีดิบกำลังจะเสียที พอดีพระโยคี มาชวยไวไดทัน สุดสาครกับมานิลมังกรจึงออกเดินทางตอ จนเขาเขตเกาะแหงหนึ่งใกลกับเมืองการะเวก ไปพบกับ ชีเปลือย โดยหลงเชื่อวาชีเปลือยเปนผูมีเวทมนตรและจะ สอนเวทมนตรให เลยโดนชีเปลือยหลอกผลักตกเขา แลว ขโมยไมเทาและขม่ี านลิ มงั กรหนีเขา เมอื งไป ÀÒÉÒä·Â ô ๙๗

ผลของเหตกุ ารณ ฝายสุดสาครสลบไปสามวันจึงฟนขึ้นมา แตก็ปน ขึ้นมาไมได จึงรองไหคร่ำครวญ จนกระทั่งพระโยคีมา ชว ยข้นึ มาได สุดสาครตอ งไปตดิ ตามเอาไมเทาคนื จากชีเปลอื ย ¹Ô·Ò¹¤Ó¡Å͹àÃ×èͧ ¾ÃÐÍÀÂÑ Á³Õ µÍ¹ ¡Óà¹Ô´Ê´Ø ÊҤà áÅÐÊ´Ø ÊÒ¤Ãà¢ÒŒ àÁ×ͧ¡ÒÃÐàÇ¡ ¹éÕ Ê͹ãˌÌÇÙ Ò‹ ...................................................................................................................... ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹Ì٠·Õè õ เฉฉบลับย เขียนแผนภาพโครงเรอื่ งจากนทิ านท่ีกำหนด(ลดงตู ในวั อสมยุดา งเฉลยในหนา พเิ ศษทายเลม) นิทานชาดก เรอื่ ง “สวุ ณั ณสาม” สุวัณณสามเปนบุตรของเศรษฐี เม่ือบิดามารดาซึ่งตาบอดทั้งสองขาง ออกบวชอยูในปา สุวัณณสามจึงตามไปปรนนิบัติบิดามารดา โดยหาผลไมมาให รับประทาน และตักน้ำจากลำธารมาใหอาบกิน สุวัณณสามปรนนิบัติเชนนี้ จนตนเองอายไุ ด ๑๖ ป สุวัณณสามเปนผูมีความเมตตากรุณามาก บรรดาสัตวปาท้ังหลายตางก็ รกั สุวัณณสาม เวลาเขาเดินไปทางไหนสัตวป าก็จะรมุ ลอมเดนิ ตามไปดวย วนั หนึง่ ขณะที่สวุ ัณณสามถอื หมอ นำ้ จากลำธารจะกลบั ไปยังที่พกั ยกั ษตนหนงึ่ เหน็ สตั วปา ตางๆ ท่ีรุมลอมสุวัณณสามจึงยิงสัตวดวยธนูอาบยาพิษ แตกลับโดนสุวัณณสาม กอนตายสุวัณณสามไดขอรองใหยักษชวยดูแลบิดามารดาแทนตน ยักษเห็นวา สุวัณณสามไมมีความโกรธเคือง และมีความกตัญูตอบิดามารดา จึงรับหนาที่ แทนสวุ ัณณสาม ดวยความดีของสุวัณณสาม เทพยดาจึงดลบันดาลใหเขาฟนขึ้นมาอีก และดวงตาของบิดามารดาของสุวัณณสามก็สามารถมองเห็นไดเปนปกติ สวนยักษ ก็กลบั ตัวกลับใจ ประพฤตติ นอยูในศลี ธรรม ทุกคนจงึ อยรู วมกันอยางมีความสขุ ๙๘ ÀÒÉÒä·Â ô

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡Òä´Ô ๑. จำแนกคำลงในชองวางตามชนิดของคำใหถ ูกตอง มทฐ4./.ต1วั ช(2วี้ )ัด ยม้ิ ใกล สาย เหมือน จกิ อาจ ไหล กลม ตก บาง เปน แดง สูง น้ัน คลาย คำกริยา ยม้ิ เหมือน จกิ อาจ ไหล ตก เปน คลา ย.................................................................................................................................................................................... คำวเิ ศษณ ใกล สาย กลม บาง แดง สงู นน้ั.................................................................................................................................................................................... เฉฉบลับย ๒. แตง ประโยคจากคำในขอ ๑. ลงในสมดุ ขน้ึ อยูกบั ดลุ ยพนิ จิ ของผูสอน ๓. ขดี เสน ใตคำท่ไี มใ ชค ำประสม มทฐ4./.ต1ัวช(2ว้ี )ัด ๑) ผงขาว ผงชูรส ผงซักฟอก ผงฟู ผงเขาตา มฐ./ตัวช้ีวดั ท4.1 (2) ๒) เมาดิบ เมายศ เมาอำนาจ เมามนั เมามาย ๓) ต่นื นอน ต่นื ตวั ต่นื ตา ตนื่ แลว ตน่ื ใจ ๔) ตาเจบ็ ตาลกุ ตาปลา ตาขาย ตาแดง ๕) ลกู ชา ง ลกู ขาง ลูกคิด ลูกหมา ลกู หลง ๖) ตนไม ตนขวั้ ตน ทุน ตน เรอ่ื ง ตนอะไร ๗) เชิดฉ่งิ เชิดหนงั เชิดชู เชดิ หนุ เชดิ หนาชูตา ๘) ขนึ้ หมอ ขึน้ ช่ือ ขึน้ ไปหา ขึน้ เสยี ง ข้ึนใจ ๙) เดินขบวน เดนิ เรว็ เดินโตะ เดนิ ตลาด เดนิ สะพัด ๑๐) หนามืด หนามา หนา ไหม หนา เลอื ด หนาจืด ÀÒÉÒä·Â ô ๙๙

๔. เขียนแผนภาพโครงเร่อื งของนิทานท่ีกำหนด มฐ./ตัวชี้วดั (ดูตวั อยา งเฉลยในหนา พิเศษทายเลม ) ท2.1 (3) ลกู โปง สวรรค เชาวันหน่ึง ขณะท่ีลูกสัตวมากมายกำลังเดินทางไปโรงเรียนอยูนั้น ลูกแมวเหมียวตัวหน่ึงกลับปนปายข้ึนไปน่ังในตะกราลูกโปงสวรรค แลวปลดเชือก ออก ลูกโปงสวรรคหลากสีสันลอยสูงข้ึนจากพื้นดินอยางชาๆ สูทองฟากวาง ตะกราลูกโปงสวรรคลอยผานฝูงนก ลูกแมวเหมียวก็ถามหานางฟา นกทุกตัวตาง สายหนาและตอบวา ไมเ คยพบ ผานหมเู มฆ ลกู แมวเหมยี วกถ็ ามหานางฟา เมฆ ทุกกอนก็ตอบวาไมเคยเห็น ผานดวงอาทิตย ลูกแมวเหมียวถามหานางฟา ดวงอาทิตยบอกวา อยูมาหลายลานปถามีนางฟาขาตองเห็น ดวงอาทิตยสงสัย ท่ีลูกแมวเหมียวถามหานางฟา ลูกแมวเหมียวจึงอธิบายวา ตัวเองเรียนหนังสือ ไมเกง เลยอยากใหนางฟา ชว ยเหลอื ดวงอาทิตยห วั เราะ แลวบอกวาอยาเสียเวลา หานางฟาอยูเลย กลับบานไปดูคนที่เรียนเกงๆ วาเขาเรียนกันอยางไร แลวจง เฉฉบลับย ทดลองปฏบิ ัตติ าม ตะกราลูกโปงสวรรคคลอยต่ำลงผานบานลูกหมาท่ีเรียนเกง เห็นกำลัง ทำการบาน ผานบานลูกหมีผูเรียนดีเห็นกำลังอานหนังสือ เม่ือลูกแมวเหมียว กลับถึงบาน จึงเร่ิมเปนคนขยันและต้ังใจเรียน เพียงไมนาน ลูกแมวเหมียวก็ เรยี นเกงเหมอื นเพือ่ นๆ เด๋ียวน้ี ลูกแมวเหมียวไมคิดพ่ึงนางฟาอีกแลว แตลูกแมวเหมียวคิดวา ตนเปนท่พี ง่ึ แหงตน คือ พึ่งตนเองเทา นั้น ลูกแมวเหมยี วก็เรยี นเกง เหมอื นเพ่อื นๆ อำนาจ เยน็ สบาย ¡¨Ô ¡ÃÃÁºÙóҡÒÃÊÃÒŒ §ÊÃä คิดแลวเขียนคำกริยา คำวิเศษณ และคำประสมประเภทตางๆ แลวนำคำเหลานั้นมา แตงนิทานส้ันๆ ๑ เรอ่ื ง พรอมวาดรปู ประกอบนทิ านใหสวยงาม ๑๐๐ ÀÒÉÒä·Â ô

แบบทดสอบที่ ๕ กา ✗ คำตอบท่ถี กู ท่สี ุด ขอ ๑-๒ ขอใดเปนคำกริยาทุกคำ ๗. ประโยคใดมคี ำวกิ ตรรถกรยิ า ก. นำ้ ทว มบา นเรอื นเสียหาย ๑. ก. ควร สวย ✗ข. ประดุจ ยม้ิ ✗ข. เด็กตัวขาวเหมือนสำลี ค. เหา อว น ง. เพียง เธอ ๒. ก. มอง ของ ข. ถอื น้ำตก ค. ดอกไมส ีแดงสวยงาม ง. นกจกิ หนอนตัวอวน ค. ทอ ง เพลง ✗ง. เปน ตอ ง ๘. ประโยคใดมคี ำวเิ ศษณบอก ขอ ๓-๔ ขอใดเปนคำวเิ ศษณทกุ คำ อาการ ก. ตลาดอยูทางซา ยของบา นฉนั ๓. ก. เบา ใจ ข. หลัง เขา ข. ครูเลานิทานใหน กั เรยี นฟง เฉฉบลับย ✗ค. เขาเดนิ อยางกระฉับกระเฉง ✗ค. เชา หนา ง. เรว็ ลวด ๔. ✗ก. แขง็ นอย ข. กลม ลบ ง. ดอกกหุ ลาบมีกลิน่ หอม ค. กอ น ใคร ง. บาง บา ง ๙. คำถามใดไมจำเปน ในการเขยี น ๕. ขอ ใดเปน คำประสมทง้ั หมด แผนภาพโครงเร่ือง ก. สมตำ บำรุง ข. กาเหวา กานำ้ ก. ใคร ข. ทำอะไร ✗ค. เทาใด ง. ที่ใด ค. นำ้ หวาน ดำเนิน ๑๐. ขอ ใดเปน ประโยชนที่ไดร ับจาก ✗ง. ด้ือยา ปากแขง็ การเขยี นแผนภาพโครงเร่ือง ๖. คำประสมในขอ ใดทมี่ คี วามหมาย ก. ทำใหเร่อื งมีรายละเอียดมากขึน้ ใหมเ ปลย่ี นไปจากเดมิ ✗ข. จบั ใจความสำคัญของเร่อื งได ✗ก. กลว ยไม ข. เตารดี ค. กรอบรปู ง. เจานาย ค. สามารถแสดงความคดิ เห็นได ง. ทำใหเ นือ้ เรือ่ งสมบรู ณ ÀÒÉÒä·Â ô ๑๐๑

๒ตาราง Ẻº¹Ñ ·Ö¡¼Å¡ÒÃàÃÂÕ ¹»ÃШÓ˹‹Ç รายการวัดประเมนิ ผลตามเปา หมายการเรยี นรู ประจำหนว ยท่ี ๕ คำชแ้ี จง : ๑. ครูกำหนดคะแนนเต็มของกจิ กรรมท่ตี อ งการวัดผลเพอ่ื เกบ็ สะสม ๒. ครนู ำคะแนนจากการวดั ผลดา นความรู (K) / ทกั ษะกระบวนการ (P) / คณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค (A) ของนกั เรยี น แตล ะคนกรอกลงในตาราง และสรุปผลการประเมนิ ๓. ชน้ิ งานทมี่ เี ครอ่ื งหมาย * กำกบั ใหใ ชป ระกอบการประเมนิ การอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี นสอื่ ความ รายการประเมนิ คะแนนรวมดา น รายการเครอ่ื งมอื วดั และประเมนิ ผลการเรียนรขู องนกั เรียน ดา นความรู (K) ดา นทกั ษะ / กระบวนการ (P) ดา นคณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงค (A) K/P/A ตวั ชว้ี ดั ชน้ั ป.๔ หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เตม็ ได หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เตม็ ได หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เตม็ ได เต็ม ได ประเมนิ ผลสัมฤทธดิ์ า น K / P / A มฐ.ท ๑.๑(๑) - การอา นวรรณกรรม - แบบประเมินทักษะ - แบบประเมนิ คุณลักษณะ อานออกเสยี ง เรอ่ื ง สดุ สาครผจญภยั การอานออกเสียง ทพี่ งึ ประสงค บทรอยแกวและ (วรรณคดีเรื่อง บทรอยกรองไดถูกตอ ง พระอภัยมณ)ี - แบบประเมนิ ทกั ษะ - แบบประเมินคุณลักษณะ มฐ.ท ๑.๑(๒) แลว ตอบคำถาม การเขียน ทพ่ี งึ ประสงค อธิบายความหมาย ของคำ ประโยคและ - แบบประเมินทักษะ - แบบประเมนิ คณุ ลักษณะ สำนวนจากเรื่องทอี่ าน การเขยี น ทพี่ ึงประสงค มฐ.ท ๑.๑(๓) อา นเรือ่ งส้ันๆ ตาม - แบบประเมนิ ทกั ษะ - แบบประเมินคุณลกั ษณะ เวลาท่ีกำหนดและ การอานออกเสยี ง ที่พงึ ประสงค ตอบคำถามจากเรือ่ ง ท่อี าน มฐ.ท ๒.๑ (๓) - ก. พฒั นาการคดิ * เขียนแผนภาพ ขอ ๔ การเขียน โครงเรอ่ื งและแผนภาพ แผนภาพโครงเร่ือง เฉฉบลับย ความคดิ เพือ่ ใชพ ฒั นา งานเขยี น - ก. พัฒนาการคดิ * มฐ.ท ๔.๑ (๒) ขอ ๑ การจำแนกคำ ระบชุ นิดและหนา ท่ี ของคำในประโยค - ก. พัฒนาการคิด ขอ ๒ การแตง ประโยค - ก. พัฒนาการคิด* ขอ ๓ การจำแนกคำ มฐ.ท ๕.๑(๔) - การอานบทอาขยาน ทอ งจำบทอาขยาน พระอภยั มณี ตอน ตามทก่ี ำหนดและ สดุ สาครเขา เมือง บทรอยกรองทมี่ คี ุณคา การะเวก ตามความสนใจ สวนท่ี ๑ คะแนนจากการประเมินดา นผลการเรยี นตามตัวชวี้ ัด สว นที่ ๒ คะแนนจากการประเมนิ ตนเองของนักเรยี น ผลงานกจิ กรรมบูรณาการฯ ทนี่ กั เรียนปฏิบัติ ชอ่ื งาน การแตง นิทานจากคำทคี่ ิด สวนท่ี ๓ คะแนนจากการทดสอบสมั ฤทธผิ ลประจำหนวย การทำแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิประจำหนวยท่ี ๑-๕ สรุปผลการประเมนิ พัฒนาการเรยี นรปู ระจำหนว ย ขอเสนอแนะ ………………………………………………………….. ผาน ไมผ า น ………………………………………………………………………………. ระดับคณุ ภาพ ๔ ดมี าก ๓ ดี ๒ พอใช ๑ ควรปรับปรุง ➠ ซอมเสรมิ แลว ➠ ผานเกณฑป ระเมนิ ลงช่อื ………………………………………………………. ผูประเมนิ …………….. / …………….. / ……………. ☞ หมายเหตุ ครูสามารถใชแบบบันทึกนี้เพื่อบันทึกผลการเรียนแตละหนวยของนักเรียนเปนรายบุคคล หรือบันทึกลงในแบบบันทึกอื่น ที่ครูหรือสถานศึกษาจัดทำขึ้นก็ได ๑๐๒ ÀÒÉÒä·Â ô

๑-๕แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ ประจำหนว ยการเรียนรทู ่ี นน ไ ดคะแ นนเต็ม ตอนที่ ๑ (๗๐ คะแนน) ๑๐๐ คะแ ๑. เขยี นแยกสว นประกอบของคำที่กำหนด ลงในตารางใหถ กู ตอ ง (๑๐ คะแนน) คำทีก่ ำหนด คา ง ฤๅษี กระดาษ รุงรงั กอ นเมฆ มทฐ4./.ต1วั ช(1ี้ว)ัด เสอ้ื ผา การบาน นิยาย สาวสวย กว ยจบั๊ คำ สวนประกอบของคำ วรรณยกุ ต รปู เสียง คา ง....................................... พยญั ชนะตน สระ ตัวสะกด ฤๅษี....................................... - โท..................... ..................... กระดาษ....................................... ค....................................... -า....................................... ง....................................... - สามญั..................... ..................... รงุ รงั....................................... -....................................... ฤๅ....................................... -....................................... -- จเัตอกวา ฉบับ..................... ..................... กอ นเมฆ....................................... ษ....................................... -ี....................................... -....................................... เสือ้ ผา....................................... กร....................................... -ะ....................................... -....................................... ..................... ..................... การบา น....................................... ด....................................... -า....................................... ษ....................................... นยิ าย....................................... ร....................................... -ุ....................................... ง....................................... - เอก เฉลย..................... ..................... สาวสวย....................................... ร....................................... -ะ....................................... ง....................................... กวยจบ๊ั....................................... ก....................................... -อ....................................... น....................................... - สามญั..................... ..................... ม....................................... เ-....................................... ฆ....................................... - สามญั..................... ..................... ส....................................... เ-อื....................................... -....................................... - โท..................... ..................... ผ....................................... -า....................................... -....................................... - โท..................... ..................... ก....................................... -า....................................... ร....................................... - โท..................... ..................... บ....................................... -า....................................... น....................................... - โท..................... ..................... น....................................... -ิ....................................... -....................................... - สามญั..................... ..................... ย....................................... -า....................................... ย....................................... - โท..................... ..................... ส....................................... -า....................................... ว....................................... - ตรี..................... ..................... ส....................................... -ัว....................................... ย....................................... - สามญั..................... ..................... ก....................................... -ัว....................................... ย....................................... - จตั วา..................... ..................... จ....................................... -ะ....................................... บ....................................... - จัตวา..................... ..................... - จัตวา..................... ..................... - ตรี..................... ..................... ÀÒÉÒä·Â ô ๑๐๓

มฐ./ตวั ชีว้ ัด ๒. (อดา เูนฉลแลยวทเขหี่ ียนนา จพำแิเศนษกทคำา ตยาเมลมมา)ตราตวั สะกดลงในสมุด (๑๕ คะแนน) ท4.1 (1) วฒั นา กางเกง คุยเขย่ี รปู ภาพ จำเลย เคารพ พรรคพวก มนุษย ลยุ ทราย อพยพ เมฆ ชายครุย โครงสรา ง เขย เภสัช ประเทศ กลางทาง จกั รี อนญุ าต ปาดง มลี าภ หายาก คบั แคบ รอ งเพลง อคั คี วงั เวง สมัคร ปรากฏ ทัพพี บาป ๓. เขียนบอกรปู และเสยี งวรรณยกุ ตของคำท่กี ำหนด (๑๐ คะแนน) มทฐ4./.ต1ัวช(1ว้ี )ดั คำ รปู วรรณยกุ ตท่ีใช เสยี งวรรณยุกต ▲ นารกั เอก / -................................................................................ โท / ตรี............................................................................... โท / เอก................................................................................ ตรี / โท............................................................................... เฉฉบลับย ๑) โนต ยอ - / ตรี................................................................................ จัตวา / ตรี............................................................................... ๒) เฉากว ย โท / โท................................................................................ ตรี / โท............................................................................... ๓) ชอ นสอ ม - / -................................................................................ จัตวา / สามัญ............................................................................... ๔) ฝาชี โท / เอก................................................................................ ตรี / โท............................................................................... ๕) มาน่ัง โท / โท................................................................................ โท / โท............................................................................... ๖) เกาอ้ี - / -................................................................................ สามัญ / ตรี............................................................................... ๗) บันทึก โท / -................................................................................ โท / สามัญ............................................................................... ๘) ตูเพลง เอก / โท................................................................................ โท / ตรี............................................................................... ๙) ย่ัวเยา โท / โท................................................................................ โท / โท............................................................................... ๑๐) เฝา ไข ๔. เติมคำลงในชองวา งใหเ ปน ประโยคท่ถี กู ตอง (๕ คะแนน) บาน บา น๑) มฐ./ตัวชีว้ ดั หนา ตา ง สขี าวอยูทางหลัง.......................... .......................... บาน บาน เส้อื เสอื๒) นิดใส .......................... ตวั ใหมไปดู .......................... ทส่ี วนสตั ว เสอื เส้อื ท4.1 (1) ปา ปา ขา ว ขาว ปา ปา๓) เตรยี มตัวไปเทีย่ ว กบั ลุง.......................... ยา ยา .......................... ขา ว ขาว๔) ปยุ กนิ .......................... แลวจึงไปอาน .......................... ในหนงั สือพิมพ ยา ยา๕) คณุ รบั ประทาน สมุนไพร.......................... .......................... ๑๐๔ ÀÒÉÒä·Â ô

๕. อา นบทความ แลวเขยี นตอบคำถามลงในสมดุ (๑๐ คะแนน) สตั วแพทยบ อกวา หมาทเ่ี กบ็ ไดโดยไมรูว ามาจากไหน เรยี กวา “หมาจรจัด” มทฐ1./.ต1วั ช(3้วี )ัด เพราะมันพลัดหลงมาโดยไมมีเจาของ ความจริงแลวไมควรเก็บมาเลี้ยง ถายิ่ง มีอาการไขดวยย่ิงอันตราย เพราะอาจมีเช้ือบาได ถาเปนเชนนั้น เช้ือโรคท่ีอยูใน นำ้ ลายของมนั กจ็ ะตดิ ตอ สูคนได (ดูเฉลยท่ีหนาพิเศษทายเลม ) เฉฉบลับย ๑) เราควรนำสุนัขจรจดั มาเลยี้ งหรอื ไม เพราะเหตุใด มทฐ1./.ต1ัวช(3้ีว)ัด ๒) ถา เราพบสนุ ขั บา ควรทำอยา งไร ๓) สุนัขบามีอาการอยางไร ๔) สุนัขบาจะนำเชื้อโรคมาสูคนเราไดอยางไร ๕) บทความน้ีใหประโยชนอยางไรบา ง ๖. อานบทรอ ยกรอง แลว เขยี นตอบคำถามลงในสมุด (๑๐ คะแนน) ถึงบางพดู พูดดีเปน ศรศี กั ดิ์ มคี นรักรสถอ ยอรอ ยจิต แมพดู ชว่ั ตวั ตายทำลายมิตร จะชอบผดิ ในมนุษยเพราะพูดจา ถึงบา นใหมใจจิตกค็ ดิ อา น จะหาบานใหมม าดเหมอื นปรารถนา ขอใหสมคะเนเถิดเทวา จะไดผ าสุขสวัสดิจ์ ำกดั ภัย สนุ ทรภู (ดูเฉลยทีห่ นาพเิ ศษทายเลม ) ๑) บทรอ ยกรองนี้ กลา วถงึ เรอื่ งอะไร ๒) ใครเปน ผูแตงบทรอยกรองนี้ ๓) นักเรียนคิดวา การพูดที่ดคี วรปฏิบตั ิอยางไร ๔) คำวา รสถอ ย หมายความวาอยางไร ๕) “แมพดู ชั่วตัวตายทำลายมติ ร” หมายความวาอยา งไร ÀÒÉÒä·Â ô ๑๐๕

๗. อานนิทาน แลวสรุปใจความสำคัญ และเขียนแผนภาพโครงเรอ่ื งลงในสมดุ (๑๐ คะแนน) (ดเู ฉลยทหี่ นาพเิ ศษทายเลม ) มฐ./ตัวชี้วดั ท1.1 (6) ท2.1 (3) มากับลาย ภายในปาใหญแหงหน่ึง ชางและสิงโตเดินมาแจงขาวใหสัตวตัวอื่นๆ ทราบ ทั้งสองประกาศวา “เพื่อนๆ สัตวปาทั้งหลายจงฟงใหดี หนึ่งอาทิตยนับจาก วันน้ีพวกเราจะจัดงานประกวดความงามของสัตวปาข้ึน งานนี้ยินดีตอนรับ สตั วปาสเี่ ทาทุกชนดิ ” ขาวนี้ทำใหสัตวปาส่ีเทาทั้งหลายพากันตื่นเตนและตางก็ยินดีท่ีจะเขารวม ในงานประกวดครง้ั น้ีดวย ในสมัยนั้น มาลายยังไมมีลายเหมือนทุกวันนี้ มันมีตัวสีขาวลวน มันก็อยาก เขาประกวดในงานน้ีดวย มันรำพึงกับตัวเองวา “ฉันจะเอาชนะการประกวด เฉฉบลับย ไดอ ยา งไร ในเม่ือตวั ฉนั เล็กและยังว่ิงไดช า กวามา ทั่วๆ ไป” ดังน้ัน มาลายจึงเดินเขาไปในปาใหญ มันมองเห็นเสือโครงตัวหน่ึง มันพูด ขนึ้ วา “เสือโครง ชางงามสงา เหลือเกนิ ” เมื่อกลับมาในถ้ำของตน มาลายก็วาดเสนแถบสีดำเพื่อประดับรางกายของ มัน แลวพูดวา “คราวน้ีฉันมีความงามสงาเหมือนเสือโครงแลว” และมันก็ใส ขนตาปลอม เพอื่ ใหมีลูกนัยนตาที่สวยงามเหมือนอยางยรี าฟ เมื่อวันงานประกวดมาถึง ฝูงสัตวปาพากันมายังสนามประกวด ทุกตัวตาง เตรียมตัวกันมาอยางสวยงาม และมาลายก็เปนผูประกวดท่ีโดดเดนที่สุด เหลา คณะกรรมการตดั สินจงึ พูดวา “เราตองนำมา ลายไปเปรยี บเทยี บกับสตั วป าตวั อืน่ ๆ” มาลายจงึ ตองวิ่งแขงกับมา และมาก็เปน ผูชนะ เม่อื มาลายตอ สูก ับเสือ เสือ ก็เปนผูชนะ และมันยังไมสามารถมองเห็นไดไกลๆ เหมือนยีราฟอีกดวย มาลาย เลยเปนผูแพในการประกวด มันเสียใจมาก ตั้งแตนั้นมามาลายจึงอยูอยางเงียบๆ ตลอดชวี ิต นิทานอสี ป ๑๐๖ ÀÒÉÒä·Â ô

ตอนท่ี ๒ (๓๐ คะแนน) กา ✗ คำตอบที่ถูกทส่ี ดุ ๑. ขอใดเปนคำใน แม ก กา ๗. แหลง......................สุมโจรราย ก. เลย ข. ตาล ควรเติมคำใดลงในชอ งวา ง ✗ค. เปย ง. มด ✗ก. ซอ ง ข. สอ ง ๒. ขอ ใดเขียนผดิ ค. สอ ง ง. ซอง ✗ก. สัญญาน ข. ทมฬิ ๘. ตี รอ ง...................... ...................... ค. สำคัญ ง. หลักเกณฑ ควรเตมิ คำใดลงในชองวาง ๓. ขอ ใดเขียนถกู ตอ ง ก. คอง / ปา ว ก. รืน่ รมณ ข. เพลงเพลาะ ✗ข. ฆอ ง / ปาว ✗ค. อัฒจนั ทร ง. สงั เกตุ ค. คอง / เปลา เฉฉบลับย ๔. ขอ ใดเขยี นผดิ ง. ฆอ ง / เปลา ก. เผชญิ ✗ข. โอกาศ ๙. ผง้ึ กำลังตอมดอกชม...................... ค. สามารถ ง. ฉะนัน้ ควรเติมคำใดลงในชองวา ง ๕. ขอ ใดเขียนผดิ ก. ผู ข. ภู ก. ภาพยนตร ✗ค. พู ง. ภู ข. อนรุ กั ษ ๑๐. สมยั ...................... ค. อัศจรรย ควรเตมิ คำใดลงในชองวา ง ✗ง. สัมพันธุ ก. โบราล ข. โบราน ๖. รูปพรรณ...................... ค. โบราญ ✗ง. โบราณ ควรเติมคำใดลงในชอ งวา ง ๑๑. ขอใดไมม ีตัวสะกด ก. สันฐาน ข. สฑั ฐาน ก. พรรณ ✗ข. เพลีย ค. สญั ฐาน ✗ง. สัณฐาน ค. ยอม ง. ราด ÀÒÉÒä·Â ô ๑๐๗

๑๒. ขอ ใดอา นออกเสยี งตัวสะกด ๑๖. ขอใดเขยี นผดิ เหมอื นคำวา สามารถ ก. รัฐสภา ข. รัฐบาล ✗ก. มหาธาตุ ข. ธรรมดา ค. สญู หาย ง. ภาคภมู ิ ค. รัฐประหาร ✗ง. รฐั กมุ ๑๓. คำวา พรรค อา นอยางไร ก. พนั ข. พนั - คะ ๑๗. ขอใดเขยี นผิด ✗ค. พัก ง. พอน - รก ๑๔. คำวา บรรพบรุ ุษ มีก่ีพยางค ✗ก. อนุญาติ ข. ชาตินิยม ก. ๒ พยางค ข. ๓ พยางค ค. ญาติวงศ ง. ยาตรา ✗ค. ๔ พยางค ๑๘. ขอใดเขยี นถูกตอง ง. ๕ พยางค เฉฉบลับย ๑๕. ขอใดเขียนผดิ ก. นาตา ข. หมน้ั ใจ ก. โอรส ข. โสฬส ✗ค. ค้ำจนุ ง. สืบพันธ ค. รสชาติ ✗ง. รถยนตร ๑๙. ขอ ใดเขยี นถูกตอ ง ✗ก. มนั เทศ ข. ฟง เทศ ค. ขะโมย ง. ประกาส ๒๐. ขอใดเขยี นถูกตอ ง ก. โอกาศ ✗ข. พาณิชย ค. บุรศุ ง. สาหดั อา นบทความทกี่ ำหนดให แลวตอบคำถาม ขอ ๒๑ - ๓๐ ปจจัยสำคัญท่ีจะเปนพื้นฐาน และสงเสริมใหเกิดความสามารถน้ันก็คือ ความสุจริตเปนระเบียบ ซ่ึงประกอบดวยความสุจริตเปนระเบียบในทางความ ประพฤติ หรือในทางกายอยางหน่ึง ความสุจริตเปนระเบียบในความนึกคิด หรือ ในทางใจอีกอยางหนึ่ง ทั้งสองประการตางอาศัยและเกื้อกูลกันอยูตลอดเวลา จึง จำเปนตองอบรมบำรุงใหเจริญม่ันคงขึ้นดวยกัน เมื่อจัดระเบียบในการกระทำและ ความนึกคิดไดเท่ียงตรงแนนอนแลว ปญญาหรือความรูความเขาใจอันถูกตอง ถอ งแทและตรงจดุ ก็จะเกดิ ขึ้น พระบรมราโชวาทในพระบาทสมเด็จพระเจาอยหู ัว รชั กาลปจ จบุ นั ๑๐๘ ÀÒÉÒä·Â ô

๒๑. ปจ จยั ท่ีสง เสรมิ ใหเ กดิ ๒๖. ส่งิ ใดจะตองอยูคูกันตลอดเวลา ความสามารถคอื อะไร ✗ก. ความคิดและการกระทำ ก. ความขยัน ข. ความอดทน ข. ความรแู ละการอา น ค. ความใฝรู ✗ง. ความสุจริต ค. เงนิ และเกยี รติยศ ๒๒. คำวา พระบรมราโชวาท ง. หนมุ และสาว หมายความวา อยางไร ๒๗. ขอ ใดไมเ กี่ยวขอ งกับบทความนี้ ก. คำพูดของพระราชา ก. ความรู ข. ความคิด ข. คำเตือนของพระราชา ค. สตปิ ญ ญา ✗ง. ความรัก ค. ขอ หามของพระราชา ๒๘. ใครมคี วามสจุ ริตในความประพฤติ ✗ง. คำสง่ั สอนของพระราชา ก. กุงชอบขอขนมเพ่ือน ๒๓. จากบทความ เราสามารถวัดความ ข. แมวลอกการบานเพื่อน ประพฤตขิ องคนทางใดไดม ากทส่ี ดุ ✗ค. หนอ ยคนื เงนิ ท่แี มคา ทอนเกิน นกแกลง ปวยเพราะอยากพัก เฉฉบลับย ✗ก. กาย ข. วาจา ง. ค. ใจ ง. ความคิด ๒๙. พระบรมราโชวาทนเ้ี ปน ของ ๒๔. ขอใดคือการมคี วามสุจริตทางใจ รัชกาลใด ✗ก. ปฏิบัติตนเปนคนดีตลอดเวลา ก. ร. ๖ ข. ร. ๗ ข. แสดงความรสู กึ ใหผูอื่นรบั รู ค. ร. ๘ ✗ง. ร. ๙ ค. บรรยายความรูในที่ตางๆ ๓๐. ความเขาใจอนั ถอ งแทจ ะเกดิ ขึ้นได ง. แสดงออกทางสีหนา เมือ่ มกี ารจดั ระเบียบในขอใด ๒๕. ถาเราจดั ระเบียบในการกระทำ ✗ก. การกระทำและความคดิ และความคิดถูกตอ ง จะเกดิ สิ่งใด ข. ความรกั และความผกู พนั ก. ความคิด ข. ความขยัน ค. ความนึกคิดและความรูสกึ ✗ค. ปญญา ง. ความเพยี ร ง. การกระทำและการแสดงออก ÀÒÉÒä·Â ô ๑๐๙

ปปรระะโโยยคคถถอ ยอ คยำคสำหนำวยกสานรเรียนำวรทู ี่ นน๖วน เปาหมายการเรยี นรูประจำหนวยการเรยี นรทู ี่ ๖ ÅÁ¾´Ñ ¹¡ºÔ¹ เมอื่ เรยี นจบหนวยนี้ ผูเรียนจะมคี วามรคู วามสามารถตอไปนี้ Êٺ˺Ҍ ÁËØ ÃèÕ ½¹µ¡ ๑. อา นออกเสียงบทรอยแกว และบทรอยกรองไดถ กู ตอง ๒. อธิบายความหมายของคำ ประโยค และสำนวน áÁ‹ 仵ÅÒ´ แลว ตอบคำถามจากเรอ่ื งท่อี า นได ๓. แตงประโยคไดถ ูกตอ งตามหลกั ภาษา ๔. บอกความหมายของสำนวนที่กำหนดได ๕. รองเพลงพืน้ บา นตามที่กำหนดได คุณภาพทพ่ี งึ ประสงคข องผเู รียน ๑. อา นไดค ลอ ง และอา นไดเร็วขนึ้ ๒. เขาใจความหมายของคำ สำนวนโวหารจากเร่อื งที่อาน เฉลยฉบับ ๓. ทองจำบทรอยกรองท่ไี พเราะ และมคี ุณคา ทางความคิด และนำไปใชใ นชวี ติ ประจำวนั แผนผังความคิด ประจำหนว ยการเรียนรูท่ี ๖ 㤻ÃÃàФµÒÙÐ สาระ เรียนรูหลกั ภาษา การเรยี นรู ประโยค ถอ ยคำสำนวนไทย เบกิ ฟา วรรณกรรม สืบสานตำนาน เพลงพ้ืนบานไทย จดจำการใชภาษา เพลงพ้นื บานไทย

ขอบขายสาระการเรียนรแู กนกลาง รายวิชา ภาษาไทย ช้นั ป.๔ ตัวชี้วดั สาระพ้ืนฐาน ความรูฝงแนน ติดตัวผูเ รยี น มฐ.ท ๑.๑ - วรรณกรรม เรอ่ื ง สบื สานตำนาน - วรรณกรรม เรอ่ื ง สืบสานตำนาน ๑. อา นออกเสียงบทรอยแกว เพลงพ้นื บา นไทย เพลงพนื้ บานไทย เปนเรือ่ งเกย่ี วกบั ประวัตคิ วามเปนมาของเพลงลำตดั และบทรอยกรองไดถกู ตอง ๒. อธิบายความหมายของคำ ประโยค และสำนวนจากเร่อื งท่ีอาน ๓. อา นเรือ่ งสนั้ ๆ ตามเวลาทกี่ ำหนด และตอบคำถามจากเรือ่ งท่อี าน มฐ.ท ๔.๑ - ประโยค - ประโยค เปน ถอยคำที่เรียงกันอยาง ๔. แตง ประโยคไดถกู ตองตาม - ถอยคำสำนวนไทย เปนระเบยี บ ใชสื่อสารไดเขา ใจ มใี จความชัดเจนวาใคร ทำอะไร ฯลฯ หลกั ภาษา ๖. บอกความหมายของสำนวน - สำนวน เปน การนำคำมาผูกตอ รอ ยเรียงกัน เพื่อใชเ ปนขอ คิดแกผฟู ง และผอู า นในดา นตางๆ มฐ.ท ๕.๑ - เพลงพนื้ บา นไทย เฉลย- เพลงพนื้ บาน เปน เพลงที่เกดิ จากคน ฉบับ ๓. รอ งเพลงพ้ืนบา น ในทอ งถิ่นตางๆ ท่ีคดิ รูปแบบและ ทำนองในการรอ งขน้ึ ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹ เรียงคำที่กำหนดใหเ ปน ประโยคใหถ ูกตอ ง เจาปยุ อยากเลนลูกบอล.......................................................................................... อยาก ลกู บอล เจา ปยุ เลน ทำไมเธอจงึ มาชา.......................................................................................... จงึ ชา เธอ มา ทำไม ฉนั และเพื่อนๆ ไปวา ยน้ำ.......................................................................................... และ ไป ฉนั เพอ่ื นๆ วา ยนำ้ คณุ พอ ไมส บู บุหร่ี.......................................................................................... ไม บหุ ร่ี สบู คณุ พอ อะไรอยใู นกลองใบนี้.......................................................................................... ใบ น้ี อะไร ใน อยู กลอ ง ๑๑๑ ÀÒÉÒä·Â ô

เรียนรูหลักภาษา ประโยค ¶ÍŒ ¤ӷÕàè ÃÒ㪌¾´Ù ÊÍè× ÊÒáѹ·¡Ø Ç¹Ñ ¹éÕ àÃÂÕ ¡ÇÒ‹ ÍÐäà ã¤ÃÃÙŒºŒÒ§¤ÃºÑ ประโยค หมายถึง ถอยคำทเ่ี รียงตอ กันอยา งเปนระเบียบ มคี วามหมาย ชดั เจนวา ใคร ทำอะไร ท่ีไหน เมือ่ ใด อยางไร มีใจความสมบูรณ ใชส ่ือสารได เขา ใจ ในประโยคหนงึ่ ๆ จะประกอบไปดว ยสว นที่สำคญั ๒ สว น คอื ๑. ภาคประธาน หรอื บทประธาน เปนสวนทีเ่ ปนผแู สดงกรยิ าหรอื อาการ ๒. ภาคแสดง หรอื บทกรยิ า เปนสว นทแี่ สดงกริยาหรืออาการของ เฉฉบลับย บทประธาน เชน บทประธาน บทกริยา สนุ ขั เหา นอง นอน ลม พดั สว นทเี่ ปน บทประธาน หรือบทกรยิ า อาจมีคำอื่นมาประกอบได โดยคำ ท่ีมาประกอบบทประธาน เรียกวา “บทขยายประธาน” สวนคำที่มาประกอบ บทกรยิ า เรยี กวา “บทขยายกริยา” บทประธาน บทขยายประธาน บทกรยิ า บทขยายกรยิ า สุนัข สีดำ เหา - สนุ ขั - เหา เสยี งดัง สุนขั สีดำ เหา เสยี งดงั ๑๑๒ ÀÒÉÒä·Â ô

ประโยคแบงออกเปน ๒ ชนิด ตามกริยาทปี่ ระธานกระทำ ไดแ ก ๑. ประโยคสองสวน คือ ประโยคที่ประธานแสดงหรือกระทำกริยา ท่ีเขาใจชัดเจน และไมตองมีคำอ่ืนมาขยาย (อกรรมกริยา) จะประกอบไปดวย บทประธาน และบทกริยา (อาจมีบทขยายประธาน หรือบทขยายกริยาดวย ก็ได) เชน นกบนิ นก เปน บทประธาน บิน เปน บทกรยิ า พ่ขี องฉนั วิ่งเรว็ พ่ี เปน บทประธาน ของฉัน เปน บทขยายประธาน วิ่ง เปน บทกรยิ า เรว็ เปน บทขยายกริยา ๒. ประโยคสามสวน คือ ประโยคท่ีประธานแสดงหรือกระทำกริยาท่ีไม เฉฉบลับย ชัดเจน ตองมีคำอ่ืนมาขยาย (สกรรมกริยา) จึงจำเปนตองมีสวนที่ถูกประธาน กระทำ หรือเรียกวา “บทกรรม” มาตอทายบทกริยานี้ดวย จะประกอบไปดวย บทประธาน บทกริยา และบทกรรม (อาจมีบทขยายประธาน บทขยายกริยา หรอื บทขยายกรรมดว ยก็ได) เชน ไป เปน บทกริยา คุณแม เปน บทประธาน คุณแมไ ปตลาด ตลาด เปน บทกรรม ฉนั เปน บทประธาน ทบทวน เปน บทกริยา ฉันทบทวนบทเรยี นทุกวนั บทเรยี น เปน บทกรรม ทุกวนั เปน บทขยายกริยา ÀÒÉÒä·Â ô ๑๑๓

เขา เปน บทประธาน คนน้นั เปน บทขยายประธาน เขาคนนนั้ เก็บดินสอของเธอได เก็บ เปน บทกรยิ า ได เปน บทขยายกริยา ดนิ สอ เปน บทกรรม ของเธอ เปน บทขยายกรรม º·¢ÂÒ·ÓãË㌠¨¤ÇÒÁ¢Í§»ÃÐâ¤Á¤Õ ÇÒÁª´Ñ ਹ ÁÒ¡¢¹Öé áÅÐÁÑ¡Çҧ͋ªÙ Ô´¤Ó·¶Õè ¡Ù ¢ÂÒ¤‹Ð เฉฉบลับย ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ·Õè ñ ๑. อานประโยค แลวเขียนบอกจำนวนสว นของประโยคทีก่ ำหนด ▲ ฝนตกหนกั เปนประโยค ๒.................. สว น ๑) นกั เรยี นเรยี นวชิ าศิลปะ เปนประโยค ๓.................. สวน ๒) พ่ีเดนิ เลน ในสวน เปนประโยค ๒.................. สวน ๓) รา นปดวนั อาทิตย เปนประโยค ๒.................. สวน ๔) คุณครูสอนวิธีทำขนมงายๆ เปน ประโยค ๓.................. สว น ๕) คณุ พอ ขับรถเกง เปนประโยค ๓.................. สว น ๖) ลมพดั แรงมาก เปนประโยค ๒.................. สว น ๗) เกดดคู อนเสิรต เปน ประโยค ๓.................. สว น ๑๑๔ ÀÒÉÒä·Â ô

๒. เขียนบอกหนา ทีข่ องคำในประโยคท่กี ำหนดใหล งในสมุด เฉฉบลับย (ดูเฉลยในหนาพเิ ศษทายเลม) ๑) นดิ จดั หนังสือ ๒) ฝนตกหนักมาก ๓) แมวตัวอว นเดนิ อดื อาด ๔) คุณแมซอ้ื ปลาทตู ัวใหญ ๕) พ่กี มลเคีย้ วอาหารเสียงดัง ๖) มดเตน ระบำประกอบเพลง ๗) เด็ดเด่ียวทำงานอยา งตัง้ ใจ ๘) คุณปาของฉันทำอาหารญีป่ ุนเกง ๙) นักทอ งเที่ยวเลน นำ้ ทะเลทห่ี ัวหิน ๑๐) นกั เรียนโรงเรยี นวทิ ยานสุ รณร องเพลงชาติอยางพรอมเพรียง ๓. ขดี ✓ ลงใน ❑ หนาประโยคตามท่ีกำหนด ประโยคท่ีไมม กี รรม ประโยคท่มี สี วนขยาย ❑ ๑) แมเ ย็บผา มา นสฟี า ❑✓ ๑) ลงุ ของฉนั ใจดี ❑✓ ๒) ยายหวั เราะเสยี งดัง ❑ ๒) เชิงขวัญถือไวโอลนิ ❑ ๓) ลุงสอยมะมวง ❑✓ ๓) กอ งภพพูดเบาๆ ❑✓ ๔) นกกระจบิ บนิ ต่ำ ❑✓ ๕) หนงิ ว่ิงเร็วมาก ❑ ๔) ไพลินกินราดหนา ❑✓ ๕) เด็กคนนัน้ นา รกั ❑ ๖) เดด็ เดี่ยวสวมเส้อื สีฟา ❑✓ ๖) แมวตัวอวนจับหนู ❑✓ ๗) หมาเหา เสียงดงั ❑ ๗) แมป ลกู ผักสวนครัว ÀÒÉÒä·Â ô ๑๑๕

เราใชประโยคเพื่อส่ือความหมายใหผูฟง หรือผูอานเขาใจ ซ่ึงเรา สามารถแบง ประโยคไดเปน ๔ ชนิด ไดแก ๑. ประโยคบอกเลา เปนประโยคที่มีเน้อื ความบอกเลา เร่อื งราว อธิบาย หรือแสดงความคิดเห็นของผูเขียน หรือผูพูดวา ประธานของประโยคทำอะไร เปนอยางไร เชน ฉันชอบบา นหลงั นี้ ไดโนเสารมหี ลายพนั ธุ ๒. ประโยคปฏเิ สธ เปนประโยคทม่ี ีเนอื้ ความไมรบั หรอื ไมย อมรบั มกั มี คำวา “ไม” อยูในประโยค พ่ีไมช อบรับประทานผกั นองทำเลขขอ นี้ไมได ๓. ประโยคคำถาม เปนประโยคท่มี เี นอ้ื ความเปนคำถามที่ตองการคำตอบ จากผูฟง หรือผอู าน มกั มคี ำวา ใคร อะไร ท่ีไหน อยา งไร ทำไม เมือ่ ใด เฉฉบลับย หรือยงั อยูในประโยค เชน ใครทำแกว แตก ทำไมนอ งไมไปโรงเรยี น ๔. ประโยคคำส่ังและขอรอง เปนประโยคท่ีละประธานไวในฐานที่เขาใจ จะมีแตภ าคแสดง มกั มคี ำวา อยา จง กรณุ า หา ม อยูในประโยค เชน หา มสูบบุหรี่ในเขตนี้ กรุณาถอดรองเทาดวย การเรยี งคำในประโยค สามารถเรยี งไดหลายลักษณะ ดงั น้ี ๑. ประธาน + กริยา ๒. ประธาน + กริยา + กรรม »ÃÐâ¤໹š ʧèÔ ··Õè ÓãËàŒ ÃÒÊ×èÍÊÒà ๓. ประธาน + สวนขยาย + กรยิ า ¡Ñº¤¹Í×è¹ä´Œ àÃÒ¨Ö§µÍŒ §àÃÂÕ ºàÃÕ§¤Ó áÅÐ㪻Œ ÃÐâ¤ã˶Œ ¡Ù µÍŒ §¹Ð¤ÃºÑ ๔. ประธาน + สวนขยาย + กรยิ า + สว นขยาย ๕. ประธาน + สว นขยาย + กริยา + กรรม + สวนขยาย ๖. ประธาน + สว นขยาย + กรยิ า + สว นขยาย + กรรม + สวนขยาย ๑๑๖ ÀÒÉÒä·Â ô

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹Ì٠·Õè ò ๑. เรียงคำใหเ ปน ประโยค พรอมบอกชนิดของประโยคท่ีเรยี งได ๑) สมาชิก หลายคน มี ของเรา บาน เรียงประโยค บา นของเรามสี มาชกิ หลายคน เปนประโยค บอกเลา......................................................................................................... ..................................... ๒) คนไหน เธอ เพื่อน ตอ ดี เรียงประโยค เพอ่ื นคนไหนดตี อ เธอ เปน ประโยค คำถาม......................................................................................................... ..................................... ๓) บา ง ใคร วา ยน้ำ เปน ไม เรยี งประโยค ใครวายน้ำไมเ ปน บาง เปน ประโยค คำถาม......................................................................................................... ..................................... ๔) ได ไม เขา ผรู า ย เปน ๕) เรนีย้ี งปขราะดโยคเลมเขาไสมมไดุดเ ปนผูราย เปน ประโยค ปฏเิ สธ เฉลย......................................................................................................... ฉบับ..................................... เรยี งประโยค สมดุ เลม นข้ี าด เปนประโยค บอกเลา......................................................................................................... ..................................... ๒. อา นประโยค แลว เขียนจำแนกประโยคตามที่กำหนด เขยี น บ หนาประโยคบอกเลา เขยี น ป หนาประโยคปฏเิ สธ เขียน ถ หนา ประโยคคำถาม ถ................. ๑) คุณปา อยูไหมคะ บ................. ๖) ฉนั รีดเสื้อผา ฝาย ป................. ๒) นิดไมไดม าท่ีนีจ่ ะ บ................. ๗) คณุ ครเู รียกเธอนะ ถ................. ๓) เธอพบชาลีท่ีไหน ถ................. ๘) ทำไมอรจึงรอ งไห บ................. ๔) ไฟกำลงั ไหมต ลาด ป................. ๙) เขาไมใชค นกอ เรอ่ื ง ป................. ๕) แกวไมอา นหนงั สอื การตูน บ................. ๑๐) กลา ชอบอานหนงั สอื เรยี น ÀÒÉÒä·Â ô ๑๑๗

ถอยคำสำนวนไทย ¶ÍŒ ¤ӷÕè¾´Ù ËÃ×Íà¢ÂÕ ¹ÍÂÒ‹ §Ê¹éÑ æ ¡Ð·´Ñ ÃÑ´ à¾Íè× à»š¹¢ÍŒ ¤Ô´ ¤µÊÔ Í¹ã¨¼Ù¿Œ ˜§ àÃÂÕ ¡Ç‹ÒÍÐäà ã¤ÃÃŒºÙ ŒÒ§¤Ð สำนวน เปนการนำคำหรือถอยคำมาผูกตอรอยเรียงกัน ซ่ึงอาจมีสัมผัส คลองจอง หรอื ไมมกี ็ได เพ่อื เปนขอ คดิ คตสิ อนใจผฟู งหรอื ผอู านในเรื่องตา งๆ สำนวน แบงออกเปน ๔ ประเภท ดงั นี้ ๑. คำพงั เพย เปนสำนวนท่ีใชเปรียบเทียบ เพื่อใหเขาใจเรอื่ งท่พี ดู โดย แฝงขอคดิ ตา งๆ เชน เฉฉบลับย เงยหนาอา ปาก หมายถงึ มีฐานะดีข้ึนกวาเดมิ พอทดั เทียมเพ่อื น ๒. สุภาษติ เปน สำนวนท่ีใชเ ปรยี บเทียบ เพอื่ สอนเรื่องตางๆ เชน ตามใจปากมากหน้ี หมายถึง เหน็ แกกนิ ยอ มส้นิ เปลอื งมาก ๓. สำนวนท่ีเปนความหมายเปรยี บเทยี บหรอื ความหมายแฝง เปน สำนวน ที่ไมไดม คี วามหมายตรงตามความหมายของคำเดมิ เชน ชักใย หมายถงึ มีผูบงการอยเู บื้องหลงั ๔. ปริศนาคำทาย เปนสำนวนท่ีใชเลนทายเพ่ือใหเกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน และฝกเชาวปญ ญา เชน อะไรเอย สงู เยยี่ มเทยี มฟา ดูไปดมู า ตำ่ กวา หญานดิ เดยี ว (ภเู ขา) http://www.aksorn.com/lib/p/tha_04 (เร่อื ง สำนวนสภุ าษติ ) ๑๑๘ ÀÒÉÒä·Â ô

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹Ì٠·Õè ó ๑. นำสำนวนท่กี ำหนดให เติมลงในชอ งวางใหถ ูกตอ ง ขมเหมือนบอระเพด็ สยู ิบตา ชกั แมนำ้ ทั้งหา มะนาวไมมนี ำ้ เขยี นเสอื ใหว วั กลวั ดินพอกหางหมู ๑) เธอไมยอมทำงาน เก็บสะสมไวจนเปน ดินพอกหางหมู....................................................................... เฉฉบลับย ๒) เธอไมต องพดู ชักแมน ำ้ ท้ังหา....................................................................... หรอก อยา งไรฉนั ก็ไมเ ช่ือเธอ ๓) ฉันไมชอบกินยานี้เลย เพราะมนั มีรส ขมเหมอื นบอระเพด็....................................................................... ๔) ฉนั แคขูเขาเพ่อื เขียนเสอื ใหว วั กลวั....................................................................... เทานั้นเอง ๕) แมคา คนน้ีเปน คนพดู จา มะนาวไมมีนำ้....................................................................... จนไมม ีลูกคา ๒. เติมตัวอกั ษรลงในชอ งวา งใหเปน สำนวนตามความหมายที่กำหนด ▲ หาความเดอื ดรอนใหต นเอง ➠ ห า เ ห า ใ ส หั ว ๑) ประเด๋ยี วดีประเด๋ียวรา ย ๒) มโี อกาสดี ควรรบี ทำ ➠ ผี เ ข า ผี อ อ ก ➠ น ำ ขึ้ น ใ ห รี บ ตั ก ๓) เม่อื หมดอำนาจ ➠ นํ  า ล ด ต อ ผุ ด ความช่ัวที่ทำไวก็ปรากฏ ไ ม เ อ า ถ า น ๔) ไมไดเ รอ่ื ง ➠ ใ จ ดี สู เ สื อ ๕) ทำใจกลา บังคับใจไมใหหวนั่ ไหว ➠ ๓. นำสำนวนทีไ่ ดจากกจิ กรรมพั​ฒนาการเรียนรทู ี่ ๓ ขอ ๒. มาแตงประโยคลงในสมุด ขึน้ อยกู บั ดลุ ยพนิ จิ ของผูสอน ÀÒÉÒä·Â ô ๑๑๙

เบิกฟา วรรณกรรม เพสลืบงพสื้นานบตาำนนไทานย (สรอย) ลำตัดโบราณ เราสืบสานกันดวยใจ รวมกันอนุรักษคุณคาศิลปะนานา ตามประสาเด็กไทย ประนมหตั ถกาพยกลอน กลาวสุนทรวาที รวมอนุรกั ษข องดี ท่ีเรามีมากมาย เปนศิลปะการรอง ตามทำนองลำตัด เด็กรุน ใหมควรหัด ใหสนั ทัดของไทย เฉฉบลับย ปจ จุบันเดยี๋ วน้ี ทั้งดนตรีหรือก็มาก บอกลำตดั ฟง ยาก วากนั ปากเปน ไฟ เยาวชนหลงใหล เอาของใหมเ ขา มา การละเลน ของยายตา ก็จะพากันสูญไป ถา ลำตัดสูญส้ิน ไปจากถนิ่ ขวานทอง บรรพบรุ ษุ ทเี่ คยรอง ทานคงหมองหมน ใจ ทา นคงนึกเสียใจ วา ของไทยเราแทๆ ยังขาดคนเหลียวแล ไมแ ยแสความหมาย ขอเชิญเยาวชน มาชว ยกันดน กลอนสด เปนลำตัดตามแบบบท ไปตามกฎครรไล รวมอนุรกั ษข องไทย เอาไวใหล กู หลาน วาคนไทยนเี้ ช่ยี วชาญ ชวยกนั สบื สานศลิ ปไทย (สรอย) ๑๒๐ ÀÒÉÒä·Â ô

เสียงรอ งลำตัดของนักเรียนชนั้ ป. ๔ จบลงพรอมกบั เสยี งปรบมอื ชืน่ ชม ในความสามารถของผูแสดง วนั นเ้ี ปนเปนวันเปดโลกการเรยี นรขู องโรงเรียนท่เี ดด็ เดี่ยว กองภพ ไพลนิ และเชิงขวัญเรียนอยู เด็กๆ แตละช้ันจะตองเตรียมการแสดงช้ันละ ๑ อยาง โดยเดก็ เลก็ ๆ คุณครจู ะเปน ผคู ิดและชวยฝก ซอมการแสดง สว นเดก็ โตคุณครูให ชวยกันคิดเองวาจะแสดงอะไร และชวยกันฝกซอม ซ่ึงนักเรียนช้ัน ป. ๔ ท้ัง สามหองตกลงกันวาจะแสดงลำตัด เพราะเพ่ือนคนหนึ่งมีคุณปาเปนแมเพลง ลำตดั สามารถมาชวยฝกซอ มและใหคำแนะนำแกเ ด็กๆ ได เดด็ เดยี่ วกบั เชงิ ขวญั ไดร บั เลือกเปนตวั แทนของหอ ง ป. ๔/๑ ใหไปแสดง ลำตัดรวมกับเพื่อนหองอ่ืนๆ ซึ่งระหวางที่เด็ดเดี่ยวกับเชิงขวัญไปซอมแสดง ลำตัด คุณครูทิฆัมพรก็จะคอยถามไถอยูเสมอ วันหน่ึงหลังจากที่เด็ดเดี่ยวกับ เชิงขวัญซอมแสดงลำตัดได ๒ ครั้ง กองภพก็ถามคุณครูทิฆัมพรเก่ียวกับการเฉฉบลับย แสดงลำตดั äÁ‹ãª‹¹Ð¤Ð ¤Ø³¤ÃÙ¤ÃºÑ ¡ÒÃáÊ´§ ÅÓµ´Ñ ¤Ð‹ äÁ‹ãªÃ‹ ӵѴ ÅӵѴ¹èÕ µÍŒ §ÃÓ仵Ѵä»ËÃ×Í¤ÃºÑ ÍÒŒ Ç! ¼Á¡ç¹¡Ö ÇÒ‹ ÃӵѴ คุณครูทิฆัมพรเห็นวาเด็กๆ ยังขาดความเขาใจเกี่ยวกับการแสดงลำตัด จงึ อธบิ ายขอมูลของการแสดงลำตดั ใหนักเรยี นฟงวา ... ÀÒÉÒä·Â ô ๑๒๑

ลำตัด เปนเพลงพ้ืนบานชนิดหน่ึงของไทย ซึ่งนิยมรองกันในเขตภาคกลาง โดย คำวา ลำ หมายถงึ เพลง สว นตัด หมายถงึ การนำเอาเพลงพนื้ บา นอืน่ ๆ อกี หลายชนดิ ตัดรวมเขาเปนบทเพลง เพื่อแสดงลำตดั เชน ตัดเอาเพลงเก่ยี วขาว เพลงฉอย เพลงเรือ เพลงพวงมาลัย และเพลงอีแซว มาเลน ลำตดั ลำตัดมีท่ีมาจาก “ลิเกบันตน” ของชาวมลายูในชวงตนสมัยของรัชกาลท่ี ๕ โดย ลิเกบันตนมีรูปแบบการแสดงแยกออกเปน ๒ ลักษณะ ลักษณะหนึ่งเรียกวา “ฮันดาเลาะ” สวนอีกลักษณะหนึ่งเรียกวา “ลากูเยา” ซึ่งลิเกบันตนลากูเยามีลักษณะการแสดงเปนการ วา กลอนสดแกก ันโดยมลี กู คคู อยรบั เม่ือคนรอ งนำรอ งจบ ซ่ึงพอคนไทยนำรปู แบบการแสดง ลิเกบนั ตนลากูเยาน้ีมาเลน โดยรองเปน ภาษาไทย ก็เปลย่ี นช่ือมาเปน “ลเิ กลำตัด” แตตอ มา กเ็ รียกสัน้ ๆ เพยี ง “ลำตัด” และเรยี กมาจนถึงทุกวันนเี้ พราะเรยี กงาย และช่ือก็มีความหมาย เขาใจไดดอี ีกดว ย เฉฉบลับย “ออ! อยางน้ีน่ีเอง ผมก็หลงคิดไปวา เด็ดเด่ียวกับเชิงขวัญคงตองฝก รำไปตัดกระดาษหรอื ตัดผา ไปดวยซะอีก” กองภพพดู “เด๋ยี วน้ีเวลาดูโทรทศั น หรือฟงเพลงตามวิทยุ หนูไมเหน็ เคยไดย ินเพลง ลำตัดเลยคะคุณครู เขาเลิกรองกันแลวหรือคะ” ไพลินถามข้ึน คุณครูทิฆัมพร เห็นเปนโอกาสดีท่ีจะปลูกฝงเรื่องการอนุรักษและสืบสานเพลงพื้นบานไทยกับ เด็กๆ จึงพูดใหนกั เรียนฟง วา “ทน่ี กั เรียนไมเ คยไดย ินเพลงลำตัดกเ็ ปนเพราะวา ปจจบุ ันน้ี เหลา พอ เพลง แมเพลงหรือคนรองนำเพลงลำตัดอายุมากกันแลว จึงไมคอยออกแสดงมาก เหมือนแตกอน ประกอบกับเดี๋ยวน้ีผูคนหันมาสนใจการแสดงอ่ืนๆ เชน ละคร ภาพยนตร หรือสนใจฟงเพลงสากลกันมากข้ึน จึงหลงลืมเพลงพ้ืนบานของ ไทยไป คราวนี้ก็ตองเปนหนาที่ของนักเรียนซึ่งเปนเด็กรุนใหมแลวละคะ ท่ีจะ ตองชวยกันอนุรักษ ฟนฟูเพลงพ้ืนบานไทยใหกลับมารุงเรืองเปนเอกลักษณ ของชาติ ไมถูกกลืนจากการแสดงของชาวตะวันตก มิฉะนั้น นองๆ หรือเด็ก รุนหลงั จากนักเรียนก็คงจะไมร จู กั เพลงพืน้ บา นไทยแนเลยทีเดียว” ๑๒๒ ÀÒÉÒä·Â ô

¤Ð‹ ¤ÃѺ ¤ÃѺ ¤‹Ð หลังจากคุณครูทิฆัมพรพูดจบ เหลานักเรียนก็พากันขานรับวา “คะ” “ครับ” กันเซง็ แซ เด็กๆ ตา งคดิ และคยุ กนั วา จะตอ งชวยกันอนุรักษเพลงพ้ืนบานไทย ไวใหจ งได โดยถา พวกเขารวมมือกนั อะไรกค็ งไมยากเกนิ ไปแนน อน ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ·Õè ô เฉฉบลับย ๑. ฝกอานออกเสยี งบทอา นจนอานไดค ลอง และหาความหมายของคำตอไปน้ี วาที ขวานทอง ดน ครรไล แมเพลง พอ เพลง เพลงพนื้ บาน อนุรักษ สบื สาน ชาวตะวนั ตก เซง็ แซ ๒. ต๑๒๓อ))) บถนนอคยากัักำนาเเถรรงกั าียียไเมรนนรียจมคนาิดวี กมิธวเกีาโีรอเาอื่ พกรงลอาทสงนี่อพไุราดกัื้นนไษบปดแขาช้ึนนลังมนอะมกฟยี้ปี าูกนรรับะฟแดโสเูยลุพดชยลงนพเงพตนิพอลิจนื้ ชงขบพอีวางิต้นื นผปบูสอรา ยอะนนจาไงำทไวรยันบขนา องกั งเนรยีกั นเรจียะนไปหหรือรไือมไม  เพราะเหตุใด ๓. แบง กลมุ ใหแตล ะกลุม ฝก รอ งเพลงลำตดั ทอ่ี ยใู นบทอาน และผลดั กันออกมาแสดง ใหเพอ่ื นชม ÀÒÉÒä·Â ô ๑๒๓

จดจำการใชภ าษา เพลงพ้ืนบาน à¾Å§¾¹é× ºŒÒ¹¡Ñºà¾Å§·àÕè ÃÒÌͧËÃ×Íä´ÂŒ ¹Ô Í‹ٷ¡Ø Çѹ¹éÕ ÁÅÕ Ñ¡É³ÐàËÁÍ× ¹ËÃ×ÍᵡµÒ‹ §¡Ñ¹Í‹ҧäà ã¤ÃÃÙŒºÒŒ §¤ÃºÑ เพลงพื้นบา น เปนเพลงซ่ึงเกิดจากกลมุ คนในทองถน่ิ ตา งๆ ท่คี ิดรูปแบบ การรอง การเลนขึ้นเปนบทเพลงที่มีทวงทำนองภาษาเรียบงายไมซับซอน เพื่อใหเกิดความสนุกสนานรื่นเริง ใชเลนกันในโอกาสตางๆ เชน สงกรานต ลอยกระทง หรือโอกาสท่ีไดม ารว มกันทำงาน เชน เกี่ยวขา ว นวดขาว เปน ตน เพลงพื้นบา นแบง ตามลกั ษณะของผเู ลนได ๒ ประเภทใหญๆ ดังนี้ เฉฉบลับย ๑. เพลงเดก็ เพลงรอ งประกอบการละเลน เพลงพืน้ บา น เพลงหยอกลอ ขู หรอื ปลอบใจ ๒. เพลงผูใหญ เพลงกลอ มเดก็ เพลงรองเลน เพลงปฏิพากย เปนเพลงที่รองโตกัน เพลงประกอบพธิ กี ารตา งๆ ซ่ึงตองใชปฏิภาณไหวพริบระหวาง เชน เพลงประกอบการทำขวัญนาค ผรู อ ง เชน เพลงฉอย เพลงเรือ เพลง เพลงประกอบการแหน างแมว อีแซว เพลงลำตดั ฯลฯ ฯลฯ ๑๒๔ ÀÒÉÒä·Â ô

๑. เพลงเด็ก หมายถึง เพลงที่เด็กรองเลนกันเองหรือเพลงท่ีผูใหญรอง ใหเด็กฟง เพ่ือจุดประสงคอยางใดอยางหนึ่ง เชน ประกอบการละเลน หยอก ลอกนั หรอื รองเพอ่ื ฝกฝนทักษะการออกเสียง การพดู โดยเพลงเด็กจะมีเน้ือหา สัมพนั ธก บั วฒั นธรรมของแตล ะทองถ่นิ ในดา นความเชือ่ ประเพณี และพิธกี รรม ตัวอยาง เพลงเดก็ ทง้ั ๔ ชนิด เพลงหยอกลอ ขู หรือปลอบใจ “เพลงหยอกลอ” เพลงรอ งประกอบการละเลน “แมงมุม” ผมเปย มาเลยี ใบตอง พระตีกลอง ตะลุมตุมมง แมงมมุ ขยมุ หลังคา แมวกินปลา “เพลงขู หรือปลอบใจ” หมากัดกระพงุ กน แตชาแต เขาแหย ายมา พอถงึ ศาลา เฉฉบลับย (ใชร องประกอบการละเลน แมงมุม) เขาก็วางยายลง เพลงกลอมเด็ก เพลงรอ งเลน “เจาเน้อื ออ น” “เพลงโยกเยก” เจา เน้อื ออ นเอย โยกเยกเอย ออนแมจ ะกินนม น้ำทว มเมฆ แมจะอมุ เจาออกชม กระตา ยลอยคอ กินนมแลวนอนเปลเอย หมาหางงอลอยคอโยกเยก ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹Ì٠·Õè õ ฝก รองเพลงเด็กทั้ง ๔ ชนิด ตามตวั อยางทก่ี ำหนด และผลัดกันออกมารอ งใหเพ่อื นฟง ÀÒÉÒä·Â ô ๑๒๕

๒. เพลงผูใหญ หมายถึง เพลงที่ผูใหญรองเน่ืองในโอกาสตางๆ เชน รองประกอบการเลน รองประกอบพิธีการ โดยเน้ือหาของเพลงจะสัมพันธกับ วฒั นธรรมของแตล ะทองถ่นิ ในดา นความเช่ือ ประเพณี และพธิ ีกรรม ตัวอยางเพลงผูใหญ เพลงเตนกำรำเคยี ว “เพลงมา” ชาย มาเถิดเอย เอยมาแมมา มาหรือมาแมมา มาเตนกำย่ำหญา ท่ีใน นาน้เี อย (ลกู ค)ู เออเอย วงเอย มาเตน กำยำ่ หญา ที่ในนาน้เี อย หญิง มาเถิดเอย พ่ีเรียกนองก็อยาเนิ่น พ่ีเชิญนองก็อยาชา จวนเวไลได เวลา ใหล กุ ขนึ้ มาวงเอย เฉฉบลับย (ลูกค)ู เออ เอยวงเอย จวนเวไลไดเวลา ใหลุกขึ้นมาวงเอย ชาย มาเถิดเอย เอย มาแมม า ถวนจบกระไรครบสาม ขอเชิญแมง ามลุก ขึ้นมา พที่ อดสมอรอทา ใหล กุ ขน้ึ มาวงเอย หญิง มาแลวเอย เอยมาพอ มา มาหรือมาพอ มา พอ ผมดกนกกระทา นอ งก็มาแลวเอย (ลูกค)ู เออเอยวงเอย พอผมดกนกกระทา ตัวนอ งก็มาแลว เอย ผูร อ ง นายเจริญ - นางทองคำ ทองขาว เกร็ดความรู เตนกำรำเคียว เปนการแสดงพ้ืนเมืองของชาวบานในภาคกลาง แถบจังหวัดนครสวรรค ซงึ่ สวนมากมีอาชีพทำนา และดวยนิสัยรกั สนกุ จงึ ไดเกิดการเตน กำรำเคยี วข้ึน โดยในเน้อื เพลงจะสะทอ น ใหเห็นสภาพความเปนอยูของชาวบาน ลักษณะการรำ จะมีทั้งเตนและรำควบคูกันไป ในมือของผูรำ ขางหนงึ่ จะถือเคียว อีกขางหนง่ึ ถือขา วที่เก่ยี วแลว จงึ เรียกการแสดงน้วี า “เตนกำรำเคยี ว” โดยจะเลน กัน ในฤดูเกย่ี วขา ว ๑๒๖ ÀÒÉÒä·Â ô

คณุ คา ของเพลงพื้นบาน เพลงพ้นื บา นมคี ณุ คา หลายประการ ไดแก ใหค วามสนุกสนาน กอใหเกิด ความรักและสามัคคีกัน สะทอนวัฒนธรรมประเพณี นอกจากน้ีการฝกรองและ เรยี นรูเพลงพนื้ บาน ยังเปนการชว ยใหนกั เรียนมีคณุ สมบตั ิตา งๆ ดังนี้ ๑. มสี ตปิ ญ ญาเฉลียวฉลาด มีไหวพรบิ ปฏภิ าณดีในการแกปญหา ๒. รูจกั การปฏบิ ัติตนท่เี หมาะสมกบั สว นรวม ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ·Õè ö ๑. ฝกรองเพลงผูใหญ เพลงเตน กำรำเคียว “เพลงมา” ตามตวั อยางท่ีกำหนด ๒. สบื คน ขอ มูลเรอื่ งเพลงพ้ืนบานเกี่ยวกบั เพลงผูใหญเ พมิ่ เตมิ แลว บนั ทกึ ขอ มลู (ตัวอยา ง)................................................................................................................................................................................................................................................ เฉฉบลับย เพลงเรอื................................................................................................................................................................................................................................................ เปนเพลงพื้นบานของชาวภาคกลางท่ีอยูตามริมน้ำ เชน สุพรรณบุรี................................................................................................................................................................................................................................................ อางทอง ฯลฯ นยิ มเลน กันในหนา น้ำ ราวเดอื น ๑๑-๑๒ (ตลุ าคม-พฤศจิกายน)................................................................................................................................................................................................................................................ อปุ กรณใ นการเลน เพลงเรือ คอื เรอื ของพอ เพลงลำหนึ่ง และเรอื ของแมเพลง................................................................................................................................................................................................................................................ ลำหน่งึ กรบั ธรมดา หรือกรบั พวง และฉิง่ ถาเลนกลางคืนจะตองมีตะเกียงไว................................................................................................................................................................................................................................................ กลางลำเรอื................................................................................................................................................................................................................................................ เม่ือเรือของท้ังสองฝายมาพบกัน พอเพลงก็จะพายเรือเขาไปเทียบเกาะ................................................................................................................................................................................................................................................ เรอื แมเ พลง เรม่ิ ดวยเพลงปลอบหรือเพลงเกริ่น บางคณะจะเริ่มดว ยบทไหวค รู................................................................................................................................................................................................................................................ กอน แมเ พลงก็จะรองประโตตอบ เรียกวา บทประ แลวตอดว ยชดุ ลักหาพาหนี................................................................................................................................................................................................................................................ หรือนัดหมายสูขอ ถาเปนมืออาชีพก็จะตอดวยเพลงชุดชิงชู และเพลง................................................................................................................................................................................................................................................ ตหี มากผวั เมื่อจะเลกิ เพลง กจ็ ะมีเพลงจาก แสดงความอาวรณ................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................ แหลงท่ีมาของขอ มลู www.krongkrang.org......................................................................................................................................................................... http://www.aksorn.com/lib/p/tha_05 (เรอ่ื ง เพลงพนื้ บานไทย) ÀÒÉÒä·Â ô ๑๒๗

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒäԴ ๑. เขยี นจำแนกสวนประกอบของประโยคท่ีกำหนดลงในตาราง มทฐ4./.ต1ัวช(4้วี )ัด ประโยค การจำแนกสว นประกอบ ๑) นกั เรยี นชนั้ ป.๔/๑ บทประธาน บทขยายประธาน....น....ัก....เ..ร...ยี....น.................... .ช...น้ั........ป......๔..../...๑........ อานหนงั สอื การตูน อยา งสนกุ สนาน บทกรยิ า บทขยายกริยาอา น.................................................. .อ....ย...า ...ง...ส....น....ุก....ส....น....า...น... ๒) กวินทรต ีระนาดเอก บทกรรม บทขยายกรรม............ห....น....ัง...ส.....ือ..................... .ก....า..ร....ต ....ูน......................... ๓) เตาเดินชา ๆ บทประธาน บทขยายประธาน....ก....ว...นิ ....ท....ร.... .................. -................................ เฉฉบลับย ๔) ตำรวจจบั โจร บทกรยิ า บทขยายกรยิ าตี.................................................. -........................................ ปลนรา นทอง บทกรรม บทขยายกรรม............ร...ะ...น....า...ด....เ..อ...ก............... -........................................ ๕) คุณพอหลบั สนทิ บทประธาน บทขยายประธานเตา......................................... -................................ บทกรยิ า บทขยายกริยาเดิน.................................................. ชา ๆ........................................ บทกรรม บทขยายกรรม-................................................. -........................................ บทประธาน บทขยายประธานตำรวจ......................................... -................................ บทกริยา บทขยายกริยาจับ.................................................. -........................................ บทกรรม บทขยายกรรมโจร................................................. .ป...ล....น.....ร...า...น.....ท....อ...ง......... บทประธาน บทขยายประธาน....ค....ุณ.....พ....อ........................ -................................ บทกรยิ า บทขยายกริยาหลบั.................................................. สนทิ........................................ บทกรรม บทขยายกรรม-................................................. -........................................ ๒. แตงประโยคจากคำที่กำหนดลงในสมุด พรอมท้งั เขยี นวเิ คราะหวา เปน ประโยคกี่สว น มทฐ4./.ต1ัวช(4้วี )ัด ตามตัวอยาง ข้นึ อยูกบั ดลุ ยพนิ จิ ของผูสอน คำทีก่ ำหนด ยาแกไอ ราคา แตก แปรงสฟี น ตก แมว อว น อมุ คนสวย เกง ตัวอยาง แมว แมวกินปลา - เปน ประโยค ๓ สว น เพราะมีทัง้▲ บทประธาน บทกริยา และบทกรรม▲ แมว เปน บทประธาน กิน เปน บทกริยา ปลา เปน บทกรรม ๑๒๘ ÀÒÉÒä·Â ô

๓. สบื คนความหมายของสำนวนที่กำหนด แลวแตง ประโยคจากสำนวนลงในสมุด (ดเู ฉลยหนา พเิ ศษทายเลม) ตตี นกอ นไข แมส ายบัวแตง ตัวคา ง กอรา งสรางตวั วัวหายลอ มคอก มทฐ4./.ต1วั ช(6้วี )ัด น้ำขึ้นใหรีบตกั ปดทองหลงั พระ เอานำ้ ลูบทอง เจาไมม ีศาล หามรุงหามคำ่ หมาเหา ใบตองแหง ตวั อยา ง เอานำ้ ลูบทอ ง หมายถงึ อดทนในยามยากโดยกนิ น้ำแทนขา ว▲▲ ครอบครัวเขายากจน ยามไมมีเงินก็ตอ งเอานำ้ ลบู ทอ งไปวนั ๆ ๔. เลือกคำหรอื สำนวนทก่ี ำหนด เตมิ ลงในชอ งวางใหถ กู ตอ ง มฐ./ตัวชี้วัด ๑) นิดเปนคน แข็งแกรง................................... ไมก ลวั ความลำบากใดๆ แข็งแกรง แข็งกลา ท4.1 (6) ๒) สะพานนี้ ไปมากทรุดโทรม.......................................... ทรุดโทรม เสอื่ มโทรม เฉฉบลับย ๓) คุณปา ทะนุถนอมนองเหมือนกับ ไขในหนิ.......................................... กาฟกไข ไขในหนิ ๔) เร่ืองนเี้ ปน เร่อื งรา ยแรงชนดิ คอขาดบาดตาย....................................................................... เลยทีเดียว คอขาดบาดตาย ตดั เปนตดั ตาย ๕) เราควรวางตวั ใหด ี ไมให เส่อื มเสีย.......................................... ไปถึงวงศต ระกลู เสอื่ มโทรม เส่อื มเสีย ¡Ô¨¡ÃÃÁºÙóҡÒÃÊÃÒŒ §ÊÃä คิดแลวเขียนสำนวนตางๆ ๓ สำนวน แลวแตงเร่ืองส้ันๆ ๑ เรื่อง โดยใชสำนวนที่คิด ประกอบ พรอ มทง้ั วาดรปู ประกอบเรือ่ งใหส วยงาม ÀÒÉÒä·Â ô ๑๒๙

แบบทดสอบท่ี ๖ กา ✗ คำตอบทถี่ ูกท่สี ุด ขอ ๑-๒ ขอ ใดเปนประโยค ๒ สว น ๕. ประโยคในขอใดตา งจากพวก ✗ก. พ่วี ่งิ แขง ๑. ก. นอ งด่มื นำ้ ข. ครถู อื กระเปา ข. ปาพายเรอื ค. แมวกนิ ปลา ค. ติก๊ เหลาดนิ สอ ง. นักเรียนเขยี นหนงั สอื ✗ง. น้ำไหลแรง ๖. สำนวนใดมคี วามหมายคลา ยกนั ๒. ✗ก. มาวิ่งเร็วมาก ข. เด็กเลน บอล ก. คอเปนเอน็ - คอทองแดง ข. นกสองหวั - จบั ปลาสองมอื เฉฉบลับย ค. ววั ลายกนิ หญา ง. แจวเดินไปตลาด ✗ค. คางคกข้ึนวอ - กิ้งกา ไดท อง ง. นำ้ ตาเปน เผาเตา - น้ำตา ขอ ๓-๔ ขอใดเปนประโยค ๓ สวน ตกใน ๓. ก. ฝนตกหนกั มาก ๗. สำนวนใดสอนเรอ่ื งการปรบั ตัว ✗ข. ชา งกินออย ก. เขากนั เปน ปเ ปนขลุย ค. นกบนิ เร็ว ข. เขา เถอ่ื นอยาลมื พรา ง. มดกัดเจบ็ ๔. ก. ปจู องมองอยา งตงั้ ใจ ค. เขาตามตรอก ออกตามประตู ข. เปด วา ยน้ำในคลอง ✗ง. เขาเมอื งตาหลวิ่ ตองหลิว่ ตาตาม ✗ค. ปลาใหญกินปลาเลก็ ง. นองเลน คนเดียว ๑๓๐ ÀÒÉÒä·Â ô

๘. เร่ืองมนั ผา นมานานแลว จะ ............................ อีกทำไม ควรเติมสำนวนใด เฉฉบลับย ก. งมเขม็ ในมหาสมุทร ข. ตบหวั แลวลูบหลัง ✗ค. ฟนฝอยหาตะเขบ็ ง. สีซอใหควายฟง ๙. เพลงพน้ื บานในขอ ใดไมเขา พวก ก. เพลงฉอย ข. เพลงลำตดั ✗ค. เพลงทำขวัญนาค ง. เพลงเตน กำรำเคยี ว ๑๐. “นางแมวเอย ขอฟา ขอฝน ขอน้ำมนตรดหัวนางแมว..” ควรเปน เพลงพืน้ บา นตามขอใด ก. เพลงเด็ก - เพลงรอ งเลน ข. เพลงเด็ก - เพลงกลอ มเดก็ ค. เพลงผูใหญ - เพลงปฏพิ ากย ✗ง. เพลงผูใหญ - เพลงประกอบพธิ กี ารตางๆ Ẻ·´ÊͺÂÒ¡äËÁ¤Ðà´ç¡æ §‹ÒÂàËÁÍ× ¹»Í¡¡ÅÇŒ  ࢌһҡàÅÂ¤ÃºÑ ÀÒÉÒä·Â ô ๑๓๑

๒ตาราง ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒÃàÃÕ¹»ÃШÓ˹‹Ç รายการวัดประเมนิ ผลตามเปา หมายการเรียนรู ประจำหนวยท่ี ๖ คำช้แี จง : ๑. ครูกำหนดคะแนนเตม็ ของกจิ กรรมที่ตองการวดั ผลเพ่อื เก็บสะสม ๒. ครนู ำคะแนนจากการวดั ผลดา นความรู (K) / ทกั ษะกระบวนการ (P) / คณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค (A) ของนกั เรยี น แตล ะคนกรอกลงในตาราง และสรปุ ผลการประเมิน ๓. ชน้ิ งานทมี่ เี ครอ่ื งหมาย * กำกบั ใหใ ชป ระกอบการประเมนิ การอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี นสอื่ ความ รายการประเมนิ คะแนนรวมดาน รายการเครอื่ งมอื วดั และประเมนิ ผลการเรียนรูของนกั เรียน ดา นความรู (K) ดา นทกั ษะ / กระบวนการ (P) ดา นคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค (A) K/P/A ตวั ชว้ี ดั ชน้ั ป.๔ หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เตม็ ได หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เต็ม ได หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เตม็ ได เตม็ ได ประเมินผลสัมฤทธิ์ดาน K / P / A มฐ.ท ๑.๑(๑) - การอา นวรรณกรรม - แบบประเมนิ ทกั ษะ - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ อา นออกเสียง เรอื่ ง สบื สานตำนาน การอา นออกเสียง ทีพ่ ึงประสงค บทรอ ยแกว และ เพลงพ้นื บานไทย บทรอยกรองไดถ ูกตอ ง แลว ตอบคำถาม - แบบประเมนิ ทกั ษะ - แบบประเมินคณุ ลกั ษณะ มฐ.ท ๑.๑ (๒) การเขียน ท่ีพงึ ประสงค อธบิ ายความหมาย - ก. พฒั นาการคดิ ขอ ๑* ของคำ ประโยค และ การจำแนกสว นประกอบ - แบบประเมนิ ทักษะ - แบบประเมินคุณลักษณะ สำนวนจากเร่อื งทอ่ี า น ของประโยค การเขยี น ทพี่ ึงประสงค มฐ.ท ๑.๑(๓) อานเร่อื งส้ันๆ ตาม - ก. พฒั นาการคิด ขอ ๒ - แบบประเมินทักษะ - แบบประเมินคณุ ลกั ษณะ เวลาทกี่ ำหนดและ การแตงประโยค การเขยี น ที่พงึ ประสงค ตอบคำถามจากเรือ่ ง ทอ่ี าน - ก. พัฒนาการคดิ ขอ ๓ - แบบประเมินทักษะ - แบบประเมนิ คุณลกั ษณะ มฐ.ท ๔.๑ (๔) การแตงประโยคจาก การเขยี น ที่พึงประสงค แตงประโยคไดถูกตอ ง สำนวน ตามหลกั ภาษา - แบบประเมนิ ทักษะ - แบบประเมนิ คณุ ลักษณะ - ก. พฒั นาการคิด* ขอ ๔ การอา นออกเสียง ที่พึงประสงค เฉลยฉบับ การเตมิ สำนวนลงใน มฐ.ท ๔.๑ (๖) ชองวาง บอกความหมายของ สำนวน - การรอ งเพลงลำตัด ในวรรณกรรม เร่ือง มฐ.ท ๕.๑(๓) สบื สานตำนาน รอ งเพลงพน้ื บา น เพลงพ้นื บา นไทย สว นที่ ๑ คะแนนจากการประเมนิ ดานผลการเรยี นตามตวั ช้ีวดั สวนที่ ๒ คะแนนจากการประเมนิ ตนเองของนกั เรียน ผลงานกิจกรรมบูรณาการฯ ทน่ี กั เรียนปฏิบตั ิ ชอ่ื งาน การแตงนทิ านจากสำนวนตา งๆ สวนที่ ๓ คะแนนจากการทดสอบสัมฤทธผิ ลประจำหนว ย การทำแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ประจำหนว ยที่ ๖-๑๐ สรุปผลการประเมนิ พัฒนาการเรียนรูประจำหนว ย ขอเสนอแนะ ………………………………………………………….. ผา น ไมผา น ………………………………………………………………………………. ระดบั คุณภาพ ๔ ดีมาก ๓ ดี ๒ พอใช ๑ ควรปรบั ปรุง ➠ ซอมเสรมิ แลว ➠ ผานเกณฑป ระเมิน ลงชื่อ ………………………………………………………. ผปู ระเมนิ …………….. / …………….. / ……………. ☞ หมายเหตุ ครูสามารถใชแบบบันทึกนี้เพื่อบันทึกผลการเรียนแตละหนวยของนักเรียนเปนรายบุคคล หรือบันทึกลงในแบบบันทึกอื่น ที่ครหู รือสถานศึกษาจัดทำขึ้นก็ได ๑๓๒ ÀÒÉÒä·Â ô


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook