Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เฉลย มมฐ. ภาษาไทย ป.4

เฉลย มมฐ. ภาษาไทย ป.4

Description: เฉลย มมฐ. ภาษาไทย ป.4

Search

Read the Text Version

เเคครรื่ออ่ื งงหหมมายาวยรวรรครตหนควอยการตนเรียนรูทอ่ี ๗น เปา หมายการเรียนรูประจำหนวยการเรียนรทู ่ี ๗ ÍÑÈà¨ÃՏ ! เมอื่ เรียนจบหนว ยนี้ ผเู รียนจะมคี วามรูความสามารถตอ ไปนี้ ๑. อา นและเขยี นอักษรยอ และคำหรอื ประโยค ÁË¾Ñ ÀÒ¤ ¹ÒÌ¡ Ò à´¡ç ËÞÔ§ ¹. เฉฉบลับย ท่มี เี ครอื่ งหมายวรรคตอนไดถกู ตอง ➡ ๒. อา นออกเสยี งเร่อื งทีก่ ำหนดไดถกู ตอง ➡ ตอบคำถาม และบอกขอ คดิ จากเรื่องทอี่ านได ๓. จำแนกขอเทจ็ จรงิ และขอคิดเห็น แลว พูดหรอื เขียน แสดงความคดิ เหน็ จากเร่ืองที่อาน ฟง หรอื ดูได คุณภาพท่พี งึ ประสงคของผูเรยี น ๑. อา นไดค ลอ ง และอานไดเร็วขนึ้ ๒. แยกขอเทจ็ จรงิ และขอคิดเห็น และแสดง ความคดิ เหน็ จากการอาน ฟง และดู แผนผงั ความคดิ ประจำหนวยการเรียนรทู ี่ ๗ เรยี นรูหลกั ภาษา ´.Þ. เคร่อื งหมายวรรคตอน สาระ การเรยี นรู อกั ษรยอ เบกิ ฟา วรรณกรรม อา นแลวคิด พนิ ิจพิจารณา จดจำการใชภาษา การแสดงความ คิดเหน็ เชงิ วจิ ารณ

ขอบขายสาระการเรยี นรแู กนกลาง รายวิชา ภาษาไทย ช้นั ป.๔ ตวั ชว้ี ัด สาระพื้นฐาน ความรฝู ง แนนตดิ ตวั ผูเรียน มฐ.ท ๑.๑ - วรรณกรรม เร่อื ง อา นแลว คิด - วรรณกรรมเรอ่ื ง อานแลว คิด พินิจ ๑. อานออกเสียงบทรอยแกว พินจิ พิจารณา พิจารณา เปนเร่อื งเก่ยี วกบั การคดิ ไตรต รองใหดี กอนจะเชอ่ื ส่งิ ตางๆ และบทรอยกรองไดถูกตอ ง - เครื่องหมายวรรคตอน ๓. อา นเร่ืองสนั้ ๆ ตามเวลาทก่ี ำหนด - เคร่ืองหมายวรรคตอนเปนเครอ่ื งหมาย ที่ชว ยใหเ หน็ วรรคตอนของขอความ และตอบคำถามจากเรือ่ งทีอ่ า น หรือประโยค - อกั ษรยอ - อักษรยอ หมายถึง ตวั อักษรท่ใี ชเขยี น ยอคำใหสนั้ ลง ๔. แยกขอ เทจ็ จริงและขอคดิ เหน็ - การแสดงความคดิ เหน็ เชิงวิจารณ จากเรอื่ งทอ่ี า น - การแสดงความคดิ เห็นเชิงวจิ ารณ เปน การแสดงความคดิ เห็นตอสิง่ ใด มฐ.ท ๓.๑ สงิ่ หน่งึ ดวยการพดู หรือเขียน ๑. จำแนกขอเทจ็ จรงิ และขอ คิดเห็น - การแสดงความคิดเหน็ เชงิ วจิ ารณ จากเรือ่ งท่ฟี งและดู - การแสดงความคิดเห็นเชิงวิจารณ ๓. พดู แสดงความรู ความคดิ เห็น และ เปน การแสดงความคดิ เหน็ ตอ สิง่ ใด ความรูสึกเกี่ยวกบั เร่อื งทฟี่ ง และดู สง่ิ หนง่ึ ดว ยการพดู หรือเขยี น เฉลยฉบับ มฐ.ท ๕.๑ ๒. อธิบายขอ คดิ จากการอา นเพื่อนำไป - วรรณกรรม เรอ่ื ง อานแลว คดิ - วรรณกรรมเรอ่ื ง อานแลว คดิ พนิ ิจ ใชใ นชีวิตจริง พนิ ิจพิจารณา พจิ ารณา เปนเรอื่ งเก่ยี วกับการคดิ ไตรต รองใหดี กอ นจะเชือ่ สง่ิ ตา งๆ ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ¡‹ ÒÃàÃÕ¹ หาช่ือเครื่องหมายวรรคตอนท่ซี อนอยใู นตารางทงั้ แนวต้ังและแนวนอน แลว เขียนช่ือ และรปู เครื่องหมายลงในชอ งวาง ท รั พ ย อั ศ เ จ รี ย ชื่อเครือ่ งหมาย รปู ก ร ะ โ ญ ล ก า ภิ ณ จุ ด ไ ข ป ล า แ ม ว อศั เจรยี ...................................................... !............................. ล า ท อ ร า ข ยั ต ร อญั ประกาศ...................................................... “ ”............................. ภ หั พ ภ ะ ค า ติ วั ง จุดไขป ลา...................................................... ...................................... า ช ะ เ ก น ย ภั ฒ น มหพั ภาค...................................................... .............................. ม หั พ ภ า ค โ ง ก รู ยตั ิภงั ค...................................................... -............................. อ ร า ก ศ า ป ค อ ป ๑๓๔ ÀÒÉÒä·Â ô

เรียนรหู ลกั ภาษา เครื่องหมายวรรคตอน ÊÞÑ Å¡Ñ É³ËÃÍ× à¤ÃÍ×è §ËÁÒµҋ §æ ·ÍÕè ‹Ù㹢͌ ¤ÇÒÁËÃÍ× »ÃÐ⤵ҋ §æ àÃÕ¡NjÒÍÐäà ã¤ÃúŒÙ ŒÒ§¤Ð เครื่องหมายวรรคตอน หมายถึง รูปสัญลักษณหรือเคร่ืองหมายที่เขียน เพ่อื ทำใหเ หน็ วรรคตอนของขอ ความหรอื ประโยค และทำใหข อ ความหรอื ประโยค นั้นเดน ชัดข้ึน และทำใหอา นไดอยา งถกู ตองชัดเจน เครื่องหมายวรรคตอนทนี่ ักเรยี นควรรูจกั ไดแก .๑. เครือ่ งหมายมหพั ภาค หรอื จุด เฉฉบลับย เคร่ืองหมาย ๒. เคร่อื งหมายอัศเจรีย หรือเคร่ืองหมายตกใจ ! วรรคตอน ๓. เครื่องหมายยตั ิภังค หรอื ขีดส้ัน - ๔. เคร่อื งหมายจดุ ไขป ลา หรือเสน ปรุ .... ๕. เครอื่ งหมายอญั ประกาศ หรือเครือ่ งหมายคำพดู “ ” http://www.aksorn.com/lib/p/tha_01 (เรอื่ ง เครื่องหมายวรรคตอน) ÀÒÉÒä·Â ô ๑๓๕

๑. เครื่องหมายมหพั ภาค หรือจุด เปนเคร่ืองหมายท่ีใชเขยี นหลงั คำยอ อักษรยอ หรอื ใชเ ขียนหลงั ตวั เลขขอ หรือตัวกำกับขอยอย เชน เขยี นไวหลงั อักษรยอ พ.ศ. (ยอมาจาก พุทธศกั ราช) ม.ค. (ยอ มาจาก มกราคม) เขียนไวหลังตวั เลขขอหรือตัวกำกับยอย ก. ข. ค. ง. ๑. ๒. ๓. ๔. ๒. เครือ่ งหมายอัศเจรยี  หรอื เครื่องหมายตกใจ เปนเคร่ืองหมายที่เขียน ไวหลงั คำอทุ าน หรอื ขอความทแี่ สดงถึงอาการตา งๆ ไดแก ตกใจ เสยี ใจ ดีใจ เศราใจ แปลกใจ สงสยั เปนตน เชน ªªÇ‹ ‹Ç¼´ÁÇŒ´ÂÇŒ ! โอโห! เสอ้ื สวยจงั เฉฉบลับย เอะ ! เสยี งอะไร โอย! เจบ็ จงั เลย ชวยดว ย! เด็กตกน้ำ ๓. เครื่องหมายยตั ภิ งั ค หรอื เครอื่ งหมายขดี สั้น เปน เคร่ืองหมายทเ่ี ขยี น ไวระหวางคำท่ีเขียนแยกพยางคกัน หรือเขียนไวเพื่อใชแยกการบอกคำอาน ของคำ หรือเขียนละตัวอักษร เชน เขียนระหวา งคำทแ่ี ยกพยางค การอา นออกเสียงคำท่มี ตี วั ควบ- เขียนแยกคำอานของคำ เขียนละตวั อักษร กล้ำจะตอง... ราชการ อา นวา ราด-ชะ-กาน ราษฎร อา นวา ราด-สะ-ดอน ก-ฮ ๑-๕๐ ๑๓๖ ÀÒÉÒä·Â ô

๔. เครื่องหมายจุดไขปลา หรือเสนปรุ เปนเคร่ืองหมายท่ีเขียนเพ่ือใช เปน ชอ งวา งสำหรับเติมคำ หรือเพื่อบอกใหทราบวา ขอความท่ียกมาน้ันตดั ตอน มาจากขอ ความอืน่ หรือละขอ ความทีเ่ ขียนไมจบ เชน เขียนเปน ชอ งวา ง มณฑป อานวา ............................................ เขียนกอ นหรอื หลงั ขอความ .... ปลาที่ใสในบอ น้นั ควรเปนปลา ชนิดเดยี วกัน .... ๕. เครื่องหมายอญั ประกาศ หรือเครื่องหมายคำพดู เปน เครื่องหมายที่ ใชเขียนครอ มคำ ขอ ความ เพื่อเนน ใหสงั เกตเหน็ หรือใชเ ขียนไวต รงสว นทีเ่ ปน บทสนทนา เขียนครอ มคำ ขอ ความ เธอไดร ับสมญาวา “สาวนอ ยมหัศจรรย” เฉฉบลับย เขยี นครอ มบทสนทนา สชุ ัญญา มชี ื่อเลนวา “เหมยี ว” คณุ ครสู มศรีถามวา “สายใจคะ ทราบ ไหมคะวา ทำไมวนั นี้นิดาจงึ ไมม าโรงเรียน” สายใจตอบวา “นิดาเปนไขหวดั คะ กเ็ ลย ไมม าเรยี นคะ ” ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹Ì٠·Õè ñ ๑. เตมิ ชือ่ เครือ่ งหมายวรรคตอน แลว โยงเสนจับคชู อื่ กับรปู เคร่อื งหมายใหถกู ตอง ๑) ยั ติ ภั ง ค ...!.. ๒) จุ ด ไ ข ป ล า ๓) ม หั พ ภ า ค - ๔) อ ั ศ เ จ รี ย ๕) อ ั ญ ป ร ะ ก า ศ “” ÀÒÉÒä·Â ô ๑๓๗

๒. เติมเคร่ืองหมายวรรคตอนลงในขอ ความใหถกู ตอง แลว ฝก อา นออกเสียงขอความ ๑) โครม! เสียงรถชนกนั ดงั สน่ัน ๒) พระไตรปฎก อา นวา พระ - ไตร - ป - ดก ๓) “ ใครจะไปตลาดกับฉนั บาง” หนูนิดถามเพ่อื นๆ “ ฉนั ไปดวยจะ” หนอยบอกหนูนดิ ๔) อุย ! ใครปากระดาษมานะ ๕) ลงชอ่ื (ผปู ระเมนิ ).................................................................. ๖) คำวา “รัฐมนตรี ” ใชอกั ษรยอ วา รมต. ๗) อาว! ทำไมเธอทำอยา งนี้ละ ๘) สุขศกึ ษา อานวา .................................................................. ๙) ก. ๒๑ ข. ๒๒ ค. ๒๓ ง. ๒๔ เฉฉบลับย ๑๐) ตรึ.....ตรอง เกล้ยี .....เกลา โวหา..... ควรเตมิ ตวั อกั ษรใด ๑๑) จำรญู อานวา จำ - รนู ๑๒) โธเอย ! ชา งนา สงสารเธอจรงิ ๆ ๑๓) วนั น้ีวนั ท่ี ๑๕ ต.ค. พ.ศ. ๒๕๕๒ ๑๔) คำราชาศัพท หมายถึง .................................................................. ๑๕) .....ถาพระองคทรงรบั สัง่ ดว ย หรอื ทรงรบั ส่ังกอ นในฐานะบคุ คลทีค่ นุ พระราชอัธยาศยั แลว ไมต องใชค ำนำในการกราบบงั คมทูล ..... ๑๖) แมวของหนหู นอ ย ช่ือ “หนุงหนงิ ” ๑๗) “คุณแมไปไหนมาคะ” หนนู ุน ถามคุณแม ๑๘) คณุ ครสู ่ังใหทำการบา น ขอ ๑ - ๓ ๑๙) ขอ ง​. เปน คำตอบทถ่ี ูกตอ ง ๒๐) นักเรียนชอบอา นหนงั สอื ประเภท ............................ เพราะ ............................ ๑๓๘ ÀÒÉÒä·Â ô

การเขียนและอานอักษรยอ à¤Ã×èͧËÁÒÂÇÃäµÍ¹·Õèà¾è×͹æ ä´ŒàÃÂÕ ¹ÃŒÙä»áŌǹéѹ ÁÕà¤ÃÍè× §ËÁÒÂ˹Ö觷èÕãªàŒ ¢ÂÕ ¹µÒÁËÅ§Ñ ÍÑ¡ÉÃÂ‹Í à¤Ã×èͧËÁÒ¹¹éÑ ¤×Íà¤ÃÍè× §ËÁÒÂÍÐäÃ¤ÃºÑ ¡ÒÃà¢ÂÕ ¹áÅÐÍÒ‹ ¹ÍÑ¡ÉÃÂ‹Í ÁÕËÅѡࡳ±ÍÂÒ‹ §äà ã¤ÃúŒÙ ÒŒ §¤ÃѺ อักษรยอ หมายถึง ตัวอักษรท่ีใชเขียนยอคำใหสั้นลง เพื่อความสะดวก ในการเขียน โดยการเขยี นอกั ษรยอ จะตอ งใสเ คร่อื งหมายมหพั ภาค หรอื จุด (.) กำกบั ไวทา ยอกั ษรยอทุกครั้ง การเขียนและอา นอกั ษรยอ มหี ลกั เกณฑ ดังนี้ ๑. หลกั เกณฑในการเขยี นอกั ษรยอ เฉฉบลับย ๑) ใชพ ยญั ชนะตน ของพยางคแรกของคำเปนตัวยอ (๑) ถาเปนคำคำเดียวใหใชอักษรยอตัวเดียว แมวาคำคำน้ันจะมี หลายพยางคกต็ าม เชน วา ใชอ ักษรยอ ว. ตำบล ใชอ กั ษรยอ ต. จังหวัด ใชอักษรยอ จ. นาฬกา ใชอักษรยอ น. ศาสตราจารย ใชอักษรยอ ศ. ÀÒÉÒä·Â ô ๑๓๙

(๒) ถาใชตัวยอเพียงตัวเดียว แลวทำใหเกิดความสับสน และ อาจซ้ำกนั ใหใชพ ยญั ชนะตน ของพยางคห รอื คำถัดไป เปน อกั ษรยอดวย เชน ตำรวจ ใชอกั ษรยอ ตร. เด็กชาย ใชอกั ษรยอ ด.ช. นักเรียน ใชอักษรยอ นร. โรงเรยี น ใชอ กั ษรยอ ร.ร. พระราชบัญญัติ ใชอ ักษรยอ พ.ร.บ. เฉฉบลับย เชน หญ ๒) ถาคำที่จะนำพยญั ชนะตนมาใชเปน อักษรยอ มี ห เปน อกั ษรนำ หล หน ใหใชพ ยัญชนะที่อยหู ลงั ห เปนอักษรยอ เชน เด็กหญงิ ใชอกั ษรยอ ด.ญ. สารวตั รใหญ ใชอกั ษรยอ สวญ. หนงั สือพมิ พ ใชอกั ษรยอ นสพ. ๓) คำทพ่ี ยัญชนะตน เปน อกั ษรนำ (ท่ีไมใช ห นำ) หรอื คำควบกล้ำ ใหใชอักษรตวั หนาตวั เดยี ว เชน ถนน ใชอักษรยอ ถ. ประถมศกึ ษา ใชอ กั ษรยอ ป. ๑๔๐ ÀÒÉÒä·Â ô

๔) เวลาเขียนอักษรยอรวมกับประโยคหรือขอความอ่ืนๆ ใหเขียน เวนวรรคหนา และหลังอกั ษรยอทุกครัง้ เชน จ. ประวตั ขิ อง จ. พระนครศรีอยธุ ยา กทม. มีขาวจาก กทม. วา... ๕) เวลาเขยี นอกั ษรยอรวมกนั หลายๆ คำ ใหเขยี นเวน วรรคระหวาง กลุมของอักษรยอ เชน ❍✗ ศ.นพ. ❍✓ ศ. นพ. ❍✗ ศ.ดร. ❍✓ ศ. ดร. ๒. หลักเกณฑการอานออกเสยี งอักษรยอ โดย เฉฉบลับย การอานออกเสียงอักษรยอจะตองอานคำเต็มของอักษรยอนั้นๆ หามอานตัวยอเฉยๆ เพื่อใหเกิดความเขาใจท่ีตรงกันระหวางผูสงสาร และผู รับสาร เชน การเขยี น ➠ ✎ แมวตัวนีห้ นกั ๔.๕ กก. การอา น ➠ ❍✓ แมว-ตวั -น้ี-หนกั -ส่-ี จดุ -หา-ก-ิ โล-กรัม ❍✗ แมว-ตัว-น-ี้ หนัก-ส่-ี จุด-หา -กอ-กอ Í¡Ñ ÉËÍÁÕ»ÃÐ⪹ã¹¡ÒÃà¢ÂÕ ¹¤Ó ·ÓãËŒ»ÃÐËÂÑ´à¹Íé× ·ãèÕ ¹¡ÒÃà¢Õ¹ áµÊ‹ ÓËÃѺ¡ÒÃÍÒ‹ ¹ËÃÍ× ¾Ù´ µŒÍ§ÍÒ‹ ¹ËÃÍ× ¾Ù´¤ÓàµçÁà·Ò‹ ¹¹Ñé ¹Ð¤ÃºÑ http://www.aksorn.com/lib/p/tha_01 (เรือ่ ง อกั ษรยอนารู) ÀÒÉÒä·Â ô ๑๔๑

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹Ì٠·Õè ò ๑. เขยี นอักษรยอ หรอื คำเต็มของอกั ษรยอจากคำที่กำหนด ๑) ช่ัวโมง = ชม............................ ๗) มกราคม.................................................................. = ม.ค. ๒) เดก็ ชาย = ด.ช............................ ๘) ประถมศกึ ษา.................................................................. = ป. ๓) โรงพยาบาล = รพ............................ ๙) จังหวดั.................................................................. = จ. ๔) นาฬกา = น............................ ๑๐) พทุ ธศักราช.................................................................. = พ.ศ. ๕) กิโลเมตร = กม............................ ๑๑) มิถนุ ายน.................................................................. = ม.ิ ย. ๖) ศาสตราจารย = ศ............................ ๑๒) เซนติเมตร.................................................................. = ซม. ๒. เขยี นคำเต็มของอกั ษรยอ ท่กี ำหนด แลว นำคำมาแตง ประโยค (ตัวอยา งประโยค) เฉฉบลับย ๑) เม.ย. คำเต็มคือ เมษายน................................................................................................................................................... เปนประโยค วันสงกรานตต รงกบั วันที่ ๑๓ เมษายนของทุกป.................................................................................................................................................................................... ▲▲ ▲ ▲ ▲ ๒) ด.ช. คำเตม็ คือ เด็กชาย................................................................................................................................................... เปนประโยค เด็กชายมานะกำลังกนิ ขนม.................................................................................................................................................................................... ๓) น. คำเต็มคอื นาฬก า................................................................................................................................................... เปน ประโยค พอ เขางานเวลา ๘ นาฬกา.................................................................................................................................................................................... ๔) จ. คำเต็มคือ จงั หวัด................................................................................................................................................... เปนประโยค พี่ไปเที่ยวทจี่ งั หวดั นครปฐม.................................................................................................................................................................................... ๕) นสพ. คำเตม็ คอื หนังสือพิมพ................................................................................................................................................... เปนประโยค ลุงของฉนั อา นหนงั สอื พิมพท กุ เชา.................................................................................................................................................................................... ๑๔๒ ÀÒÉÒä·Â ô

เบิกฟาวรรณกรรม อานแลวคิด พินิจพิจารณา วันนี้หลังจากรับประทานอาหารเที่ยงแลว เด็ดเด่ียวชวนเพ่ือนๆ ไปอาน หนงั สอื ในหอ งสมุด พอไปถึงหองสมุด เด็กๆ กแ็ ยกยายกันไปเลอื กอานหนังสือ ที่ตนเองชอบ โดยกองภพเลือกอานหนังสือพิมพ แตพออานไปไดสักพักเขา ก็รีบผลุนผลันออกไปจากหองสมุดโดยไมไดบอกใคร เด็ดเดี่ยว ไพลิน และ เชิงขวัญเห็นกองภพรีบออกจากหองสมุดก็พากันเก็บหนังสือเขาที่แลวตามกองภพ ออกมา ¡ÍŒ §ä»ä˹¹Ð‹ ÍŒÒÇ! ¹Ñè¹ä§¡ÍŒ § ¹¹Ñè ÊÔ ÃºÕ ÍÍ¡ÁÒ เฉฉบลับย äÁ‹ºÍ¡¾Ç¡àÃÒàÅ ¶ÒŒ ÍÂÒ‹ §¹éѹ ¾Ç¡àÃÒ ·ÓäÁ¡ÍŒ § ÃºÕ µÒÁ¡ŒÍ§ä»´¡Õ Ç‹Ò ¹èѧ˹ŒÒàÈÌҨ§Ñ เด็ดเดี่ยว ไพลิน และเชิงขวัญ เดินมาเจอกองภพนั่งหนาเศรา ทาทาง ทกุ ขใจอยูทเ่ี กา อี้หนิ ออนบรเิ วณหนาตกึ เรียน พวกเขาจงึ รบี เขาไปถาม “กอง เปน อะไรไปนะ อยูด ๆี ก็ผลุนผลนั ออกมา” เดด็ เด่ียวถาม “นั่นสิ แลวทำไมถงึ มานัง่ ทำหนาเศราอยา งนล้ี ะ เปน อะไรหรือเปลา จะ” เชงิ ขวัญถามดว ยความเปนหว ง “ตอนน้ีฉันยังไมเปนอะไรหรอก แตอีกไมนานก็คงเปน” กองภพตอบ แบบกำกวม ทำใหเพ่อื นๆ สงสยั มาก พากันซักถามอีก ÀÒÉÒä·Â ô ๑๔๓

“แลว นายจะเปน อะไรละ นายรูลว งหนา เหรอ” เดด็ เดย่ี วถาม “ใชๆ ตอนน้ีเธอก็แข็งแรงดีน่ี แลวจะเปนอะไรไปไดอยางไร” ไพลินพูด ขึ้นมาบาง “ตอนน้ีฉันแข็งแรงดีอยูก็ใช แตอีก ๒-๓ วันนี่สิ ฉันจะประสบอุบัติเหตุ รายแรงอาจถึงข้ันพิการเลยก็ได โธ! แลวฉันจะมาเรียนไดอยางไรละ ย่ิงใกล สอบแลวดวย” กองภพตอบยืดยาว แลวก็ทำหนาเศราพรอมกับถอนหายใจ เสียงดงั “นก่ี อง เธอรูไดอยางไรวา เธอจะประสบอุบัตเิ หตุนะ ” เชิงขวญั ถามขึน้ “ก็ฉันอานจากหนังสือพิมพนะสิ” กองภพตอบ แตพอเห็นเพื่อนๆ ทำ หนาไมเชื่อ เขาจึงเลา ใหเ พ่ือนๆ ฟงวา เขาอา นหนังสอื พิมพโดยอา นไปเรอ่ื ยๆ ตั้งแตขาวตางๆ บทความวิจารณตางๆ และเขาก็อานการทำนายดวงชะตา ประจำวัน กองภพเกิดวันศุกรเขาจึงอานดวงชะตาของคนท่ีเกิดวันศุกร ซ่ึง เฉฉบลับย หมอดูทำนายวา ....ทานที่เกิดวันศุกร วันนี้จะพบกับปญหายุงยากใจ ท้ังปญหาของตนเอง และปญหา จากคนใกลตวั เดินทางไปไหนมาไหนชว ง ๒-๓ วนั น้ี ใหร ะวงั อุบตั ิเหตุใหญ อาจของหาย หรอื เจบ็ ไข ประสบเคราะหห นักถงึ ขนั้ พกิ าร เงนิ ทองชว งนีก้ ็ฝดเคือง การงานหรือการเรียน ก็ติดขัด ทำอะไรก็ไมสะดวก ยากจะแกไขได ตอ งทนรับกรรมไป... “โอย ! กอง นีเ่ ธอเชอื่ อะไรกับการทำนายดวงชะตาน่ี ดซู ิ มาน่งั หนาเศรา ทาทางทุกขหนัก ไอเราก็นึกวาไมสบายปวดหัว หรือมีใครเปนอะไร ท่ีไหนได โธ! กอ งเอย กอ ง” ไพลินพดู ยาวเปนชุด แลวสา ยหวั อยางระอา “มดนะไมเชอื่ แลวทำไมตองวา ฉนั ดว ยละ ฉนั กำลงั เครียดนะนี่ พรงุ นฉ้ี ัน จะเปนอะไรบางก็ไมรู” กอ งภพบน ๑๔๔ ÀÒÉÒä·Â ô

“เธอจะเปน อะไร เธอก็เปน กอ งภพนะสิ” เชิงขวัญพูด “พวกเธอน่ี ทำไมไมเ ห็นใจฉันบางเลยนะ เสยี แรงทเ่ี ปนเพอื่ นกัน” กอ งภพคร่ำครวญ “ก็เพราะเปนเพอ่ื นกนั นะ สิ พวกเราถึงบอกอยางนี้ เชอ่ื พวกเราเถอะกอง นายไมเ ปน อะไรหรอก” เดด็ เดี่ยวพยายามโนมนาวใจเพอ่ื น “ไม...” กอ งภพยังคงยนื กรานที่จะเชือ่ การทำนายดวงชะตาตอไป คุณครทู ิฆมั พรทกั พรอมกับเดนิ เขา มาหาเด็กทั้งส่คี น ¾Ç¡à´ç¡æ ô ¤¹¹èÕ ·ÓäÁÂѧäÁà‹ µÃÂÕ ÁµÑÇࢌÒËÍŒ §àÃÕ¹ Í¡Õ ¨Ð ã¡Å¨Œ кҋ ÂâÁ§áÅÇŒ ¹Ð เฉฉบลับย “กพ็ วกนส้ี คิ รับคุณครู ไมยอมเขา ใจผมเลย” กอ งภพรบี บอกคณุ ครู “โธ! คุณครูคะ ก็กองภพสิคะ เช่ือเร่ืองดวงอะไรก็ไมรู” ไพลินพูดบาง แลว เลา รายละเอียดของเร่อื งท้งั หมดใหค ุณครูฟง “ใชคะ พออานแลวก็มานั่งเศรา กลัวอะไรก็ไมรู” เชิงขวัญบอกคุณครู เมือ่ ไพลนิ เลาจบแลว “ครูวาที่เพอ่ื นๆ เธอพูดกถ็ ูกนะกอ งภพ เราไมค วรเช่ืออะไรงายๆ เพราะ มันจะกลายเปนเคร่ืองมือของคนท่ีไมหวังดีไปได ครูก็เคยอานดวงพวกน้ีนะ บางทีก็ทำนายวาครูจะโชคดีมาก ซ่ึงมันก็ไมมีอะไรเกิดข้ึน บางทีก็ทำนายวา ประสบเคราะหหนัก ไมม ที างแกไข แตครกู ็ดำเนินชีวิตไปตามปกติ ไมประมาท ครูกอ็ ยูรอดมาจนถงึ ทกุ วันนี้อยางไรละ ” “จริงหรือครับคุณครู งนั้ ผมก็ไมสนใจดวงละ นะ” กองภพพูด ÀÒÉÒä·Â ô ๑๔๕

“ดีแลว ละ จะ คนเราไมควรหลงเชอ่ื อะไรงายๆ ถา เราไมประมาท เราก็จะ อยรู อดปลอดภัย ถาเราทำความดี ส่ิงดๆี ก็จะเกดิ ขน้ึ กับเราเสมอ การหวังอะไร ลมๆ แลงๆ หรือหลงเชือ่ อะไรงา ยๆ จะทำใหเราขาดความม่นั ใจในตัวเอง พอจะ ทำอะไรก็มัวแตกลัว แลวก็ไมประสบความสำเร็จ แตถาเรามั่นใจ และต้ังใจจะ ทำอะไร เรายอมทำสิ่งน้ันๆ สำเร็จแนนอน เชน ถานักเรียนต้ังใจเรียน หมั่น ทบทวนบทเรียนใหเขาใจ นักเรียนก็ยอมสอบได แตถานักเรียนสนใจแตเร่ือง อ่นื ๆ ไมต ง้ั ใจเรียน แลวจะสอบไดอยา งไร จรงิ ไหมคะ” คณุ ครูทิฆมั พรพูด “ครับคุณครู ผมจะจำเอาไว และจะไมหลงเช่ืออะไรงายๆ อีก” กองภพ เงยหนาขึ้นบอกคณุ ครดู ว ยทา ทางมุงมน่ั “ครูอยากเห็นนักเรียนของครูเปนคนท่ีมีเหตุผล การจะเช่ืออะไรก็ควร ใครค รวญคดิ พินจิ พจิ ารณาใหถ ี่ถวน คอ ยๆ คิดหาเหตุผลกอ นตัดสินใจวา จะเชือ่ หรือไมเช่ือ ไมใชสักแตวาใครบอกอะไรก็หลงเช่ือตามเขาไป แลวก็มาเสียใจ เฉฉบลับย ทหี ลังนะคะ” “คะ คุณครู พวกเราจะจำ และจะทำตามท่คี ณุ ครูสอนคะ” ไพลนิ กลา ว “ถา อยา งนน้ั ก็ไปเขาเรียนไดแลวจะเด็กๆ” คุณครูทิฆมั พรบอก “ครับ” “คะ ” เดก็ ๆ ทัง้ สต่ี อบพรอ มกนั ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ·Õè ó ๑. ฝก อานออกเสยี งบทอานจนอา นไดค ลอง และหาความหมายของคำตอ ไปนี้ ๒. ตผ๒ฝ๑อ)ดล) บุนเถจวคคผระาือำลรรนงถณูสนั ักากึ กเมอรรรียจยระกนาามอำกงอานกไเา รเ้ีรวนปอ่ืมดแนเงควลทเรรงะอ่ี อ่ืียพชจางดะะกินรทตาาาำรดวขขอปังเนึ้ อกยนรองายี่ะวี้ ยตงมวิจูกไนกาารบัทเับรตอดณอองลุ ะไ ยไปแลรพลมหนิ วแๆมจิหลอขแมะอดใลองหูงดผขๆูสูทอทอำคำนแนิดนลาใายะดยพวบาินา ดจิงวดงวไงมชดะีตนาักเรยีเคนราะห ๑๔๖ ÀÒÉÒä·Â ô

จดจำการใชภาษา การแสดงความคิดเห็นเชิงวิจารณ ¶ÒŒ àÃÒÍÂÒ¡áÊ´§¤ÇÒÁ¤Ô´àË繵͋ ÊÔ§è µ‹Ò§æ ·äèÕ ´ŒÍ‹Ò¹ ä´Œ¿˜§ ËÃ×Í´ÁÙ Ò àÃÒ¤Çû¯ºÔ ѵÔÍ‹ҧäè֧¨ÐàËÁÒÐÊÁ ã¤ÃÌٺҌ §¤ÃѺ การแสดงความคิดเห็นเชิงวิจารณ เปนการแสดงความคิดเห็นท่ีมีตอ สิ่งใดสิ่งหน่ึงจากการอาน ฟง หรือดู ดวยการพูดหรือการเขียน ซึ่งควร พิจารณาอยางรอบคอบและมีเหตุผลสนับสนุนอยางหนักแนน โดยขอควร ปฏิบตั ิในการแสดงความคิดเหน็ เชงิ วิจารณ มีดังน้ี ๑. ทำความเขาใจเกี่ยวกับเร่ืองที่จะวิจารณ จนมีความรูความเขาใจเปน อยา งดี ซึ่งเรื่องราวตา งๆ โดยทว่ั ไป จะประกอบดว ยสวนประกอบ ๒ สว น คอื เฉฉบลับย ขอเท็จจริง และขอคิดเห็น ซึ่งการรูจักแยกแยะวาอะไรเปนขอเท็จจริง อะไร เปน ขอ คดิ เหน็ จะชว ยทำใหแสดงความคดิ เหน็ ไดอ ยา งถูกตอ งและเหมาะสม ๒. หาเหตุผล และขอมูลตางๆ มาประกอบการวิจารณ โดยไมลำเอียง เขา ขา งฝา ยใดฝา ยหน่งึ ๓. คิดตรติ รองใหดกี อ นพูดหรือเขยี นวิจารณ ๔. ลำดับข้ันตอนในการพูดหรือเขยี นใหดี ไมว กวนสบั สน ๕. ใชถ อ ยคำและเนอ้ื ความเปนไปในทางสรา งสรรค ๖. หลกี เลี่ยงการวิจารณเ รอื่ งสวนตวั ทงั้ ของตนเองและผอู น่ื การแสดงความคิดเห็นเชิงวิจารณในเรื่องเดียวกัน ไมจำเปนวาทุกคน ตองมีความคิดเห็นแตกตางกัน ขึ้นอยูกับวาใครมีความคิดเห็นอยางไร และมี เหตุผลอยา งไรมากกวา ÀÒÉÒä·Â ô ๑๔๗

ตัวอยาง การแสดงความคดิ เห็นเชิงวจิ ารณต วั ละครจากวรรณกรรม เรอื่ ง อา นแลว คิด พนิ ิจพิจารณา ขอ เทจ็ จริง ขอ คดิ เห็น ๑. กองภพเชือ่ การทำนายดวงชะตา ๑. กอ งภพไมควรเชอ่ื อะไรท่ีไมม เี หตุผล ทอี่ านพบในหนงั สือพิมพ ไมส ามารถพสิ ูจนได ๒. เพอื่ นๆ ของกอ งภพและคณุ ครู ๒. เพือ่ นๆ ของกอ งภพและคุณครู ทิฆมั พรไมเช่อื คำทำนาย ทิฆัมพรเปนคนมีเหตผุ ล ไมเ ชือ่ อะไรงายๆ เฉฉบลับย การแสดงความคดิ เหน็ กองภพเปนคนหัวออน เม่ืออานดวงชะตาท่ีหมอดูทำนายวาจะมี เคราะหหนักก็เชื่อทันทีและหวาดกลัวไปลวงหนา แมเพื่อนๆ พยายาม ทัดทานก็ยังไมฟง จนกระทั่งคุณครูทิฆัมพรเลาใหฟงวา เคยอานดวงที่มีการ ทำนายอยางนี้เชนกัน แตก็ไมเกิดอะไรขึ้น เพราะคุณครูไมดำเนินชีวิตอยาง ประมาท นอกจากนี้คุณครูยังใหขอคิดวา จะเชื่ออะไรตองคิดใหรอบคอบ เสียกอน กองภพกเ็ ชอื่ คุณครู จงึ กลาวไดว า กอ งภพเปนเดก็ ดี เพราะเชอ่ื ฟง คำสงั่ สอนของครูอาจารย ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹Ì٠·Õè ó อานนทิ านทส่ี นใจแลวเขยี นจำแนกขอ เท็จจริงและขอ คิดเหน็ แลวเขียนแสดง ความคดิ เห็นเชิงวิจารณลงในสมดุ ขน้ึ อยูกบั ดุลยพนิ จิ ของผูสอน ๑๔๘ ÀÒÉÒä·Â ô

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒäԴ ๑. แตง นทิ านสั้นๆ ตามจินตนาการลงในสมดุ โดยใชเ คร่อื งหมายวรรคตอนที่กำหนด ประกอบ ข้ึนอยกู บั ดลุ ยพินิจของผูสอน มทฐ1./.ต1ัวช(1ี้ว)ัด . ! “” ๒. สบื คนอักษรยอ และคำเต็มของอักษรยอ ทเี่ กี่ยวของกับวชิ าสงั คมศกึ ษาฯ มา ๕ คำ แลวเขียนลงในกรอบ และนำคำเต็มมาแตงประโยค (ตัวอยาง) มทฐ1./.ต1วั ช(1้วี )ัด ๑) อบต. องคก ารบริหารสวนตำบล ประโยค ▲ ▲▲ ▲ ▲ พอ ของฉันเปน สมาชิกองคก ารบริหารสวนตำบล เฉลยฉบับ................................................................................................................................................................................................. ๒) ผวจ. ผูวาราชการจังหวัด ประโยค ผูว าราชการจังหวัดนครปฐมไปรว มงานแสดงสนิ คา................................................................................................................................................................................................. ๓) ส.ว. สมาชิกวฒุ สิ ภา ประโยค รสนา โตสติ ระกูล เปน สมาชกิ วุฒิสภาของกรุงเทพฯ................................................................................................................................................................................................. ๔) ส.ส. สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎร ประโยค ประชาชนควรเลือกคนดีมาทำหนา ท่สี มาชกิ สภาผูแทนราษฎร................................................................................................................................................................................................. ๕) อบจ. องคก ารบริหารสว นจงั หวดั ประโยค องคการบรหิ ารสว นจังหวัดเปนหนวยงานบริหารสวนทองถิ่น................................................................................................................................................................................................. ÀÒÉÒä·Â ô ๑๔๙

๓. จำแนกขอ เทจ็ จริงและขอคดิ เห็นจากเรอื่ งที่กำหนด แลวผลดั กันออกมาพดู แสดง มฐ./ตัวช้วี ดั ความคิดเห็นเชิงวิจารณ (ดตู ัวอยา งเฉลยในหนาพเิ ศษทายเลม ) ท1.1 (4) ท3.1 (1) ท3.1 (3) เอาอยาง วิถีชีวิตคนตะวันตกที่คนไทยบางคนช่ืนชมนักหนาน้ัน ความจริงเปนเพียงการมอง อยา งผวิ เผนิ เทาน้ัน ไมเคยเขาไปในบานของเขาและเขาใจความเปน อยขู องเขาอยางจรงิ จัง คนอเมริกันและคนองั กฤษที่มีการศึกษา จะไมเปดโทรทศั นเอาไวท ัง้ วนั ทงั้ คนื ครอบครวั ปกติของคนทีม่ ีการศึกษานน้ั เขาไมใหล ูกหลานในบา นดูโทรทัศนพรำ่ เพรอ่ื ไมใชวาใครเดิน เขา บานแลว ไมรูจะทำอะไร กเ็ ปด โทรทศั นและนั่งจองโทรทศั นไมเปน อันทำอะไรกัน แตเ ขา ดูรายการที่ตองการดูจริงๆ เทาน้ัน เด็กๆ จะไดรับอนุญาตใหดูรายการสารคดีที่เปนความรู หรอื ขาวสารที่เปน ประโยชน ถึงเวลากเ็ ปด และหมดเวลาของรายการนั้นกป็ ด เหตุผลที่ตองเลือกดูรายการโทรทัศนตามท่ีเห็นควรน้ัน เพราะเขารูวาการดูโทรทัศน เปนการสื่อสารทางเดียว และคนยิ่งอยูหนาจอโทรทัศนนาน ดูรายการ “ไรกึ๋น” มากเทาไร กย็ ่งิ จะทำใหส มองไมพ ัฒนาเทา นั้น เขาจงึ ส่ังสอนลกู หลานไมใหกลายเปนเหยื่อของโทรทัศน เฉฉบลับย โดยไมจำเปน ถาหากจะดูตองเปนเนื้อหาสาระหรือแมเปนรายการบันเทิงก็ควรตองเคารพ ความคิดความอานของคนดู ไมใชปลอยใหเปนรายการน้ำเนาต้ังแตเชายันค่ำ เศรษฐีจริงๆ ของฝร่ังเขาเปนคนประหยัด รูคุณคาของเงิน และไม “โออวด” ตอท่ีสาธารณะวาฉันเปน คนรวย คนตะวันตกนนั้ เขามองคนทว่ี ิง่ แจน เขาไปซื้อ “สนิ คา ยห่ี อ ” วา เปนคนไรร าก ไรส ำนกึ และไรวัฒนธรรม และถาลูกหลานเขาทำอยางน้ี เขาจะสั่งสอนใหเ ลกิ ทำทันที คนไทยควรจะหันมาสนใจเร่ือง “เศรษฐกิจแบบชาวพุทธ” ท่ีเนนเรื่องติดดิน วิถีชีวิต เรยี บงา ย การไมท ำอะไรเกินตัว และไมเ หอ เหมิ คานยิ มไรรากกันเสยี ที จาก นติ ยสารชวี จิต คอลัมนไมเ กาหลัง ของ กาแฟดำ ¡Ô¨¡ÃÃÁºÙóҡÒÃÊÌҧÊÃä แตงนิทานสั้นๆ โดยใชเครื่องหมายวรรคตอนที่เรียนมาประกอบอยางนอย ๒ ชนิด แลววาดภาพประกอบใหส วยงาม ๑๕๐ ÀÒÉÒä·Â ô

แบบทดสอบท่ี ๗ กา ✗ คำตอบท่ีถกู ท่สี ุด ขอ ๑-๒ ขอใดใชเครือ่ งหมาย ๖. ขอใดไมม เี ครอ่ื งหมายวรรคตอน วรรคตอนถูกตอ ง ✗ก. คำตอบของ ๓ - ๒ คือขอ ใด ข. ขอ ๑. ๕ + ๖ = ๑. ✗ก. ออกไปใหพนนะ! ค. พเิ ศษ อานวา ...... ง. โอ! ใชเ ธอจริงๆ ดวย ข. เธอจะไปไหน - นดิ ถามนอ ย ๗. พ.ร.บ. มคี ำเตม็ วา อยา งไร ค. จ....นครปฐม ก. พระราชบนั ทึก ง. คุณลุงจะไปไหนคะ! ๒. ก. ต!ค! ยอ มาจาก ตุลาคม ข. ทำไมถงึ ทำกับฉนั ได. ข. พระราชบคุ คล ค. ราชครู อานวา - - - ค. พระราชบรรยาย เฉฉบลับย ✗ง. กินนร อานวา กนิ -นอน ✗ง. พระราชบัญญตั ิ ๓. นดิ บอกวา ยาจะมาหาฉนั วันนี้ ๘. กทม. อา นอยา งไร ควรใชเคร่ืองหมายวรรคตอนใด ก. กรุง-เทบ-เมอื ง-หลวง ก. อศั เจรีย ✗ข. อัญประกาศ ✗ข. กรุง-เทบ-มะ-หา-นะ-คอน ค. มหัพภาค ง. จดุ ไขปลา ค. กรุง-เทบ-เมือง-ใหญ ง. กอ-ทอ-มอ-จดุ ๔. เคร่ืองหมายวรรคตอนใด ๙. ศาสตราจารย เขยี นยอ วา อยา งไร ใชเขียนกำกับอักษรยอ ก. ยัตภิ ังค ข. จุดไขปลา ก. ศตจ. ข. ศตร. ค. ศจ. ✗ง. ศ. ✗ค. มหพั ภาค ง. อัศเจรยี  ๑๐. ประถมศึกษา เขยี นยอวา อยางไร ๕. น. มคี ำเตม็ วาอยา งไร ก. นอ ข. นาที ✗ก. ป. ข. ป.ศ. ✗ค. นาฬก า ง. นามบัญญัติ ค. ปถศ. ง. ปศษ. ÀÒÉÒä·Â ô ๑๕๑

๒ตาราง ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒÃàÃÂÕ ¹»ÃШÓ˹Nj  รายการวดั ประเมินผลตามเปาหมายการเรยี นรู ประจำหนวยที่ ๗ คำช้แี จง : ๑. ครกู ำหนดคะแนนเต็มของกิจกรรมที่ตอ งการวดั ผลเพื่อเกบ็ สะสม ๒. ครนู ำคะแนนจากการวดั ผลดา นความรู (K) / ทกั ษะกระบวนการ (P) / คณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค (A) ของนกั เรยี น แตละคนกรอกลงในตาราง และสรปุ ผลการประเมิน ๓. ชน้ิ งานทม่ี เี ครอื่ งหมาย * กำกบั ใหใ ชป ระกอบการประเมนิ การอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี นสอ่ื ความ รายการประเมนิ คะแนนรวมดาน รายการเคร่อื งมอื วดั และประเมินผลการเรียนรขู องนักเรียน ดา นความรู (K) ดา นทกั ษะ / กระบวนการ (P) ดา นคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค (A) K/P/A ตวั ชว้ี ดั ชน้ั ป.๔ หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เตม็ ได หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เต็ม ได หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เตม็ ได เตม็ ได ประเมนิ ผลสมั ฤทธด์ิ า น K / P / A มฐ.ท ๑.๑(๑) - การอา นวรรณกรรม - แบบประเมนิ ทกั ษะ - แบบประเมนิ คุณลกั ษณะ อานออกเสียง เรอ่ื ง อานแลว คิด การอา นออกเสียง ทพ่ี งึ ประสงค บทรอยแกว และ พนิ ิจพจิ ารณา แลว บทรอ ยกรองไดถ กู ตอ ง ตอบคำถาม และหา - แบบประเมนิ ทกั ษะ - แบบประเมนิ คุณลกั ษณะ มฐ.ท ๑.๑(๓) ขอคดิ จากการอาน การเขยี น ทพ่ี ึงประสงค อา นเรอ่ื งส้นั ๆ ตาม เวลาที่กำหนดและตอบ - แบบประเมนิ ทักษะ - แบบประเมนิ คุณลกั ษณะ คำถามจากเรอื่ งทอ่ี าน การเขยี น ทีพ่ ึงประสงค มฐ.ท ๕.๑(๒) อธิบายขอ คิดจากการ - แบบประเมนิ ทักษะ - แบบประเมนิ คณุ ลักษณะ อานเพอื่ นำไปใชในชีวติ การอา นในใจ ที่พึงประสงค จรงิ - แบบประเมนิ ทกั ษะ มฐ.ท ๑.๑(๑) - พัฒนาการคดิ ขอ ๑ การพดู อา นออกเสยี ง การแตงนทิ านโดยใช บทรอยแกว และ เครอ่ื งหมายวรรคตอน บทรอยกรองไดถกู ตอง ทกี่ ำหนดประกอบ - พฒั นาการคิด ขอ ๒ การสืบคน อกั ษรยอ เฉลยฉบับ มฐ.ท ๑.๑ (๔) และคำเต็ม แยกขอ เทจ็ จริงและ - ก. พัฒนาการคดิ * ขอ ๓ การจำแนก ขอ คดิ เหน็ จากเรอ่ื ง ขอ เท็จจรงิ และ ที่อาน ขอคดิ เห็น แลว พดู มฐ.ท ๓.๑ (๑) แสดงความคิดเห็น จำแนกขอเท็จจรงิ และ ขอ คิดเหน็ จากเรื่องที่ ฟงและดู มฐ.ท ๓.๑ (๓) พดู แสดงความรู ความ คดิ เหน็ และความรสู กึ เกีย่ วกบั เร่ืองทฟี่ งและดู สว นท่ี ๑ คะแนนจากการประเมินดานผลการเรียนตามตวั ช้ีวดั สว นที่ ๒ คะแนนจากการประเมนิ ตนเองของนักเรียน ผลงานกจิ กรรมบรู ณาการฯ ทน่ี ักเรยี นปฏบิ ัติ ชือ่ งาน การแตง นทิ านโดยใชเ ครอ่ื งหมายวรรคตอน สว นท่ี ๓ คะแนนจากการทดสอบสัมฤทธผิ ลประจำหนวย การทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธป์ิ ระจำหนว ยที่ ๖-๑๐ สรปุ ผลการประเมนิ พฒั นาการเรียนรปู ระจำหนวย ผา น ไมผาน ๒ พอใช ขอ เสนอแนะ ………………………………………………………….. ระดับคณุ ภาพ ๔ ดมี าก ๓ ดี ผานเกณฑป ระเมิน ๑ ควรปรับปรุง ➠ ซอมเสรมิ แลว ➠ ………………………………………………………………………………. ลงชือ่ ………………………………………………………. ผปู ระเมิน …………….. / …………….. / ……………. ☞ หมายเหตุ ครูสามารถใชแบบบันทึกนี้เพื่อบันทึกผลการเรียนแตละหนวยของนักเรียนเปนรายบุคคล หรือบันทึกลงในแบบบันทึกอื่น ที่ครหู รือสถานศึกษาจัดทำขึ้นก็ได ๑๕๒ ÀÒÉÒä·Â ô

คคาํำพพอ องง ๘หนว ยการเรียนรูท่ี เปาหมายการเรียนรูประจำหนว ยการเรียนรูที่ ๘ à¢ÕéÂÇ ÈØ¡ÊÃØ¢ Ê¡Ø à¤ÕèÂÇ ÀÊÒÊÃÉÃÐÐÒ¹ãä·¹ÓéเฉÂฉบลับย เมอ่ื เรียนจบหนว ยนี้ ผูเรียนจะมีความรูความสามารถตอ ไปนี้ ๑. อา นและเขียนคำพองชนดิ ตางๆ ไดถ ูกตอ ง ๒. ใชพ จนานุกรมคนหาความหมายของคำได ๓. อานออกเสียงเรอ่ื งที่กำหนดไดถูกตอ ง และตอบคำถาม จากเรอื่ งท่ีอา นได ๔. เขยี นยอ ความจากเร่อื งสนั้ ๆ ที่กำหนดได คณุ ภาพทพี่ ึงประสงคของผูเรียน ๑. อานไดคลอ ง และอา นไดเ รว็ ขึ้น ๒. เขียนยอ ความจากเร่อื งทอี่ า นไดอ ยางเปนระบบ แผนผังความคิด ประจำหนว ยการเรยี นรูท ่ี ๘ สาระ เรียนรูหลักภาษา การเรียนรู คำพอง การใชพ จนานุกรม เบกิ ฟา วรรณกรรม เทยี่ วเมืองกรงุ เกา จดจำการใชภ าษา การยอ ความ

ขอบขา ยสาระการเรยี นรแู กนกลาง รายวชิ า ภาษาไทย ชัน้ ป.๔ ตวั ชวี้ ัด สาระพื้นฐาน ความรฝู งแนน ตดิ ตัวผเู รียน มฐ.ท ๑.๑ - วรรณกรรม เรอ่ื ง เที่ยวเมืองกรุงเกา - วรรณกรรมเร่อื ง เทีย่ วเมอื งกรงุ เกา ๑. อา นออกเสียงบทรอยแกว เปนเรอ่ื งเกีย่ วกบั การไปทศั นศกึ ษา ที่จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา หรือ และบทรอ ยกรองไดถกู ตอง ที่เรียกกนั วา เมืองกรงุ เกา ๒. อธิบายความหมายของคำ ประโยค และสำนวนจากเร่ืองท่อี าน ๓. อา นเร่ืองสั้นๆ ตามเวลาทกี่ ำหนด และตอบคำถามจากเรอื่ งท่อี าน มฐ.ท ๒.๑ - การยอความ - การยอความ เปน การเขียนสรุป ๔. เขยี นยอ ความจากเรอ่ื งส้ันๆ ใจความสำคัญของเรือ่ งที่อา น มฐ.ท ๔.๑ ๑. สะกดคำและบอกความหมาย - คำพอง - คำพอง แบงเปน คำพอ งรปู คำพอ ง ของคำในบริบทตา งๆ เสียง และคำพองทง้ั รูปและเสยี ง ๓. ใชพจนานกุ รมคนหาความหมาย - การใชพจนานกุ รม ของคำ - การใชพจนานกุ รม ตองรวู ธิ เี รียงลำดับ เฉฉบลับย คำ จงึ จะใชหาความหมายของคำได ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ¡‹ ÒÃàÃÕ¹ จับคคู ำพอ งที่ออกเสียงเหมือนกันใหถกู ตอ ง ระหดั ใน ผลติ ภัณฑ นางทาส พรรค พกั พันธุไม แรธ าตุ รหัส นัยน ๑๕๔ พักตร ผกู พนั ÀÒÉÒä·Â ô

เรียนรูหลกั ภาษา คำพอง ¤ÓºÒ§¤Óà¢ÂÕ ¹àËÁÍ× ¹¡¹Ñ Í‹Ò¹àËÁÍ× ¹¡Ñ¹ áµÁ‹ ¤Õ ÇÒÁËÁÒ µÒ‹ §¡Ñ¹ ¤ÓàËÅ‹Ò¹àéÕ ÃÕ¡ÇÒ‹ ÍÐäà ã¤Ã·ÃÒººŒÒ§¤Ð คำพอ ง หมายถงึ คำทม่ี ลี ักษณะเหมือนกนั หรอื ซ้ำกนั คำพองแบง ไดเ ปน ๓ ชนดิ ดังนี้ ๑. คำพองรูป เปน คำทเ่ี ขยี นเหมอื นกนั แตอ อกเสียงตา งกนั และมี ความหมายตา งกนั เชน ปก เปา อา นวา ปก -กะ-เปา หมายถึง ช่อื ปลาชนิดหนึ่ง สระ อา นวา ปก -เปา หมายถงึ ช่อื วา วชนดิ หนึ่ง เฉฉบลับย สะ หมายถงึ แองน้ำขนาดใหญ, ชำระลาง สะ-หระ หมายถงึ อกั ษรแทนเสยี งสระ ๒. คำพองเสียง เปนคำที่เขียนไมเหมือนกัน และมีความหมายตางกัน แตอ อกเสียงเหมือนกนั เชน เข้ยี วงู เคีย่ วเข็ญ อา นวา เขยี้ ว ซอ มแซม ชอนสอม อา นวา สอม สตั วเ ลี้ยง ซ่ือสัตย อา นวา สัด ๓. คำพองรูปและเสียง เปน คำที่เขยี นเหมือนกนั ออกเสียงเหมือนกัน แตมคี วามหมายตา งกัน จงึ เรียกอีกอยางหนงึ่ วา คำหลายความหมาย เชน แกะ อา นวา แกะ หมายถงึ สัตว ๔ เทาประเภทหนง่ึ เอาเล็บมอื คอยๆ แคะเพอ่ื ใหห ลดุ ออก ÀÒÉÒä·Â ô ๑๕๕

ตวั อยาง การใชค ำพอ งรูป เขาน่ังขดั สมาธิ (สะ-หมาด) แลวทำสมาธิ (สะ-มา-ทิ) สำรวมจติ ใจ ใหแ นว แน เพอ่ื ชำระกิเลส นักเรียนเรยี นเร่ืองสระ (สะ-หระ) พยัญชนะ วรรณยกุ ต แลวไปนัง่ ทีร่ มิ สระนำ้ (สะ) เพื่อทบทวนความรู ตัวอยา ง การใชค ำพอ งเสียง คุณยา น่งั ถอนหญาอยูห ลังบาน เขาใชท่ีคั่นหนงั สือค่นั หนาทีก่ ลา วถึงขัน้ ตอนการเขยี น เขาซอ มหลงั คาเสร็จแลว จงึ เตรียมจาน ชอน สอ มมารับประทาน อาหาร พระภกิ ษุอุมบาตรเดินไปตามบาทวถิ ีเพอื่ รบั บณิ ฑบาต เธอโชครายท่ีตกนำ้ จนตวั เปยกโชก เฉฉบลับย เขาสานเสอ่ื เพือ่ เอาไปแลกกบั ขาวสาร นิดกนิ มะมว งสกุ อยา งมีความสขุ ตอนเยน็ วันศุกร ตัวอยาง การใชคำพองทงั้ รปู และเสยี ง คุณแมหา มไมใหหนูนิดมากวน ขณะท่ีคณุ แมกำลงั กวนมะมว ง พวกเลนงวิ้ กนิ ขนมจนี นำ้ เงี้ยวท่ีใสดอกง้ิว พิมคอนขอดเพื่อนทท่ี ำงานผิดพลาดครง่ึ คอ นหนา ชางพังลากซุงริมตลิ่งทำใหด ินถลม พังลงมา à¾Í×è ãˌ͋ҹáÅÐà¢Õ¹¤Óä´¶Œ ¡Ù µÍŒ § à¾Íè× ¹æ ¨ÐµŒÍ§à¢ÒŒ 㨠¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧ¤ÓáµÅ‹ ФӴŒÇÂÇÒ‹ ÁÕ¤ÇÒÁËÁÒÂÍÂÒ‹ §äà â´Â੾ÒФӾŒÍ§·§Ñé ó ª¹´Ô ¹Ð¤ÃºÑ ๑๕๖ ÀÒÉÒä·Â ô

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹Ì٠·Õè ñ ๑. เติมตัวอกั ษรลงในคำทีก่ ำหนดให แลวเขยี นคำอา นของคำ ๑) บา.ต.....ร.....พระ บิณฑบา.ต.......... เงนิ บา.ท.......... มดี บาด........... อานวา บาด............................................................................................................................................................................................................... ๒) วันจั นทร.................. ลกู จันทน.................. อศั จรรย............... น้ำจั ณฑ................ อานวา จัน............................................................................................................................................................................................................... ๓) กา ร งาน........... กา..ล.........เวลา เหตกุ า.ร.....ณ....... กา ฬ โรค........... อานวา กาน............................................................................................................................................................................................................... ฉบับ เฉลยรปู พ รรณ.................... ๔) ผลิตภั ณฑ.................. พั นธุ พืช................. ผูกพั น........... อา นวา พัน............................................................................................................................................................................................................... ๒. เขียนคำอานของคำทีพ่ ิมพตวั สฟี า ลงในชอ งวา ง ๑) นุชสระผมสัปดาหละ ๓-๔ ครง้ั สะ................................................................................................................................. ๒) สระในภาษาไทย มี ๓๒ เสียง สะ-หระ...................................................................................................................................... ๓) พช่ี ายนัง่ ขดั สมาธิอยูหนาโทรทศั น สะ-หมาด........................................................................................................................ ๔) พระน่ังสมาธิอยูในโบสถ สะ-มา-ทิ........................................................................................................................................................ ๕) เพลารถเขน็ ของคณุ ลงุ หัก เพลา.................................................................................................................................................. ๖) เพลาน้ีมขี า ศกึ ศตั รูมาประชดิ เมืองแลว เพ-ลา.......................................................................................................... ๓. รวบรวมคำพองท้ังรปู และเสียงจากสื่อตางๆ ใหไ ดอ ยา งนอย ๑๐ คำ แลว หา ความหมายของคำ และแตงประโยคจากคำลงในสมดุ ข้นึ อยกู ับดุลยพินิจของผสู อน ÀÒÉÒä·Â ô ๑๕๗

การใชพจนานุกรม ¶ŒÒµÍŒ §¡ÒÃËÒ¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧ¤Ó¾ÍŒ §·§Ñé û٠áÅÐàÊÕ§¤ÓÇ‹Ò “¢Ñ¹” àÃÒ¨ÐËÒ¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧ¤Ó¨Ò¡·èäÕ Ë¹ ã¤ÃÃŒºÙ ŒÒ§¤ÃºÑ เม่ือตองการคนหาความหมายของคำตางๆ เราสามารถคนหาไดจาก พจนานุกรม เพราะพจนานุกรมเปนหนังสือที่รวบรวมคำตางๆ ที่ใชอยูในภาษา พจนานุกรมของภาษาใดก็รวบรวมคำที่มีใชในภาษาน้ันๆ โดยพจนานุกรมจะ บอกความหมายของคำแตละคำ คำอา น และชนิดของคำ พรอ มทง้ั ยกตัวอยา ง การใชคำนน้ั ๆ และบอกท่มี าของคำ ดว ย เชน คำวา ขัน มีความหมายวา เฉฉบลับย ขัน ๑ น. ภาชนะสำหรบั ตักหรือใสน ำ้ มีหลายชนดิ . ขัน ๒ ก. ทำใหตึงหรือใหแนนดวยวิธีหมุนกวดเรงเขาไป เชน ขันชะเนาะ ขันเกลียว. ว. แข็งแรง, กลา หาญ, เชน กูน้ีขัน. (สมทุ รโฆษ). ขันกวา น [-กวฺ า น] ก. ฉุดดวยกวา น. ขันชะเนาะ ก. บดิ ลกู ชะเนาะใหตงึ . ขันตอ ก. กลาตอ. (กฎ) น. การตอ รองซงึ่ ไดเสียกนั โดยอาศัยเหตุการณในอนาคตท่ีไมแนนอนเปนขอแพชนะ. ขันสมอ [-สะหฺมอ] ก. หมุน เครอื่ งเอาสมอข้นึ . ขนั สู ก. แขง เขาส,ู กลา ส.ู ขนั ๓ ก. อาการรอ งเปน เสียงอยา งหนง่ึ ของไกหรอื นกบางชนดิ เชน นกเขา. ขนั ๔ ก. หวั เราะ, นึกอยากหัวเราะ. ว. นา หวั เราะ, ชวนหวั เราะ. การใชพจนานกุ รม มวี ิธีการ ดงั นี้ ๑. คนหาคำตามลำดบั พยัญชนะ ก-ร, ฤ ฤๅ ล ฦ ฦๅ และ ว-ฮ ๒. คำในพจนานุกรมจะไมเรียงลำดับตามเสียงอาน แตจะเรียงตามรูป พยัญชนะ เชน ถาจะหาความหมายของคำวา หญิง หลัง หงาย ตองคนใน หมวดอกั ษร ห ๓. คำที่ไมม ีรปู สระจะมากอนคำที่มรี ูปสระ เชน คำวา ของ มากอ นคำ วา ขาย ๑๕๘ ÀÒÉÒä·Â ô

๔. คำแตล ะคำจะเรียงลำดบั ตามรูปสระ ดงั น้ี -ะ -ุ เ-ื (เสอื ) -ั (กนั ) -ู เ-ะื (เกือะ) -ัะ (ผัวะ) เ- แ- -า เ-ะ (เกะ) แ-ะ (แพะ) -ำ เ-า (เขา) โ- -ิ เ-าะ (เจาะ) โ-ะ (โปะ) -ี เ-ิ (เกิน) ใ- -ึ เ-ี (เสยี ) ไ- -ื เ-ะี (เดยี ะ) เฉฉบลับย ʋǹµÑÇ Â Ç Í ¹ºÑ ÅÓ´ºÑ ÍÂã‹Ù ¹¾ÂÞÑ ª¹Ð¹Ð¤ÃѺ ๕. คำท่ีใชพ ยญั ชนะตน สระ และตวั สะกดเดียวกนั จะเริ่มจากคำที่ไมม ี รูปวรรณยุกตกอ น แลวเรียงตามรปู วรรณยกุ ต เชน ขาว ขา ว ขาว ปา ปา ปา ปา ปา ๖. คำทีม่ ี -็ (ไมไตค )ู จะจดั ลำดับอยกู อ นวรรณยกุ ต เชน แข็ง แขง แขง ประโยชนของพจนานุกรม มดี ังน้ี ๑. ใชตรวจสอบการเขียนสะกดคำตางๆ ใหถูกตอง ๒. ชวยใหร วู าคำใดอานออกเสียงอยา งไรจงึ จะถูกตอง ๓. ชว ยใหร คู วามหมายของคำ และสำนวนตางๆ ๔. ทำใหร ูวา คำแตล ะคำเปนคำชนดิ ใด และเปน คำในภาษาอะไร ▲ ▲ ▲ ▲ ▲ ▲ ▲ ▲ ÀÒÉÒä·Â ô ๑๕๙

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹Ì٠·Õè ò เขยี นช่อื ภาพลงในชองวา ง จากน้ันเรียงลำดับคำตามพจนานกุ รม โดยนำตวั เลขขอ มาใสใน ใหถ ูกตอ ง แลวหาความหมายของคำและเขียนลงในสมุด (ดเู ฉลยในหนาพิเศษทา ยเลม ) ๑) ๒) ๓) ๔) ๕) ๖) ๗) เฉฉบลับย ๘) ๙) ๑๐) ๑) ยา............................................. ๒) แกว ๓) ววั............................................. ๔) ถ่วั............................................. ๕) มือ............................................. ............................................. ๘) โบ............................................. ๙) กวยเตีย๋ ว............................................. ๖) หนู ๗) เส้ือ............................................. ............................................. ๑๐) ฮกู............................................. ๙ ๒ ๔ ๘ ๕ ๑ ๓ ๗ ๖ ๑๐ ๑๖๐ ÀÒÉÒä·Â ô

เบิกฟา วรรณกรรม เที่ยวเมืองกรุงเกา เชาวันเสารวนั หน่ึง เดด็ เดย่ี วตืน่ เชากวา ปกติ เขารบี ทำกิจวตั รประจำวนั ใหเรียบรอย แลวหยิบชุดพละมาสวม จากน้ันก็หยิบกระเปาเปที่บรรจุขวดน้ำ ผาเช็ดหนา หมวก สมุด ดนิ สอ และยางลบ ขึน้ สะพายหลงั ใสถ ุงเทา รองเทา แลว รบี รุดออกจากบา นไปโรงเรียนตั้งแตเ ชา ตรู โดยมคี ุณแมออกมาสง ระหวางทาง เด็ดเด่ียวและคุณแมพบไพลินและคุณพอที่มาสงไพลิน เหมือนกัน ทุกคนจึงเดินไปพรอมๆ กัน เมื่อมาถึงโรงเรียนพอของไพลินและ แมของเด็ดเด่ียวพาเด็กทั้งคูไปหาคุณครูทิฆัมพร เด็ดเด่ียวกับไพลินสวัสดี คุณครู แลวหันมาหาพอและแมของตน เฉฉบลับย áÁ‹¡ÅѺºÒŒ ¹¡‹Í¹¹Ð¨Ð áÅŒÇàÂç¹æ ¨ÐÁÒÃºÑ à·èÂÕ Çãˌʹ¡Ø ÅЋ ʤÇسÑÊ´¾Õ¤‹Í‹Ð ¢Íº¤Ø³¤ÃѺ ÊÇÊÑ ´Õ¤ÃѺ¤Ø³áÁ‹ คุณครูทิฆัมพรรอจนเด็ดเด่ียวและไพลินร่ำลาคุณแมและคุณพอเสร็จแลว จึงพาเด็กทัง้ สองไปรวมตัวกับเด็กคนอืน่ ๆ ในสนาม และเมื่อเดก็ ๆ ในระดับช้นั ป. ๔-๖ มากันครบทุกคนแลว คุณครูก็พานักเรียนข้ึนรถโดยสารขนาดใหญ เพ่อื ออกเดนิ ทางตอไป ÀÒÉÒä·Â ô ๑๖๑

วันน้เี ดก็ ๆ ในระดบั ชัน้ ป. ๔-๖ ของโรงเรยี นท่เี ด็ดเดย่ี ว กองภพ ไพลนิ และเชิงขวัญเรียนอยู จัดทัศนศึกษาไปท่ีจังหวัดพระนครศรีอยุธยาแบบเชาไป เย็นกลับ เพ่ือใหนักเรียนไดเรียนรูจากแหลงการเรียนรูที่มีอยูในทองถิ่น ซึ่ง เปน การเรียนรจู ากสถานท่จี ริง ทำใหน ักเรียนเกดิ การเรียนรูจ ากประสบการณจ ริง ซงึ่ ดีกวา การเรียนรูจากหนังสือเพียงอยา งเดยี ว ขณะที่รถกำลังวิ่งอยู คุณครูทิฆัมพรและคุณครูสายใจซึ่งเปนคุณครู ประจำชั้น ป. ๔/๒ ก็ชวยกันนำขนมปงและนมมาแจกใหเด็กๆ ไดรับประทาน เปนอาหารเชา จากน้นั คุณครทู ิฆมั พรกเ็ ลาประวตั ิของจังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา ใหน กั เรยี นฟง โดยยอ วา เฉฉบลับย พระนครศรีอยุธยา หรือท่ีเรียกวา เมืองกรุงเกา เคยเปนราชธานีของไทยที่มี ประวัติศาสตรยาวนานถึง ๔๑๗ ป มีพระมหากษัตริยปกครองสืบตอกันมาถึง ๕ ราชวงศ ซึ่งกษัตริยทุกพระองคตางทรงทะนุบำรุงบานเมืองทั้งดานการปกครอง สังคม เศรษฐกิจ การตางประเทศ การทหาร ตลอดจนศิลปวัฒนธรรมอยางตอเนื่อง กรุงศรีอยุธยาจึงเปน ราชธานีท่ีใหญโตม่ังคั่ง อุดมสมบูรณ มีวัดวาอาราม และปราสาทราชวังอันสวยงาม และ เปน ศนู ยกลางการคา ในสมัยน้นั ดวย กรุงศรีอยุธยามีความม่ันคงไมมีนครใดในแหลมทองเทียมได ทำใหขาศึกหมายปอง อยากได จึงยกทัพมาตีเพ่ือทำลายบานเมืองแลวเก็บทรัพยสิน และกวาดตอนผูคนไปเปน เชลยอยูต ลอดเวลา พระมหากษตั รยิ จ ึงตอ งทำสงครามไมต ำ่ กวา ๙๐ คร้ัง ซ่งึ กรงุ ศรีอยธุ ยา แพ ๒ ครั้ง และถูกปลนทรัพยสมบัติท่ีบรรพบุรุษสรางไวดวยความเหนื่อยยากไปจนหมด ปราสาทราชวัง วัดวาอารามตางๆ ก็ถูกขาศึกเผาทำลายจนหมดส้ิน เหลือไวเพียงแตซาก ปรักหักพงั ใหล กู หลานรุน หลังไดด มู าจนถงึ ทุกวนั น้ี จังหวัดพระนครศรีอยุธยาไดรับยกยองจากองคการศึกษาวิทยาศาสตร และวัฒนธรรม แหง สหประชาชาติ หรือองคการยเู นสโก (UNESCO) ใหเปนมรดกโลก เมื่อป พ.ศ. ๒๕๓๔ ๑๖๒ ÀÒÉÒä·Â ô

¹¡Ñ àÃÕ¹¤Ð ʶҹ·Õè¹é¤Õ Í× ÇËÔ ÒþÃÐÁ§¤Åº¾ÔµÃ ¹Ð¤Ð เม่ือมาถึงจงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา สถานทแ่ี รกท่คี ุณครพู าเด็กๆ ไปชม เฉฉบลับย คือ วิหารพระมงคลบพิตร ซึ่งเปนวิหารที่ประดิษฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย องคใหญที่สุดองคหน่ึงในประเทศไทย คุณครูและพวกเด็กๆ ไดกราบนมัสการ พระมงคลบพติ ร แลว จึงพากนั เดนิ เขา ไปชมวดั พระศรสี รรเพชญ ซงึ่ อยูในบริเวณ ใกลๆ กนั นั่นเอง ขณะท่ีเด็ดเดี่ยวและกองภพกำลังเดินเพลินๆ อยูนั่นเอง เด็ดเดี่ยวก็หัน ไปเห็นเด็กชายกลุมหนึ่งกำลังเก็บกอนอิฐที่เปนเศษซากปรักหักพังบริเวณวัด พระศรีสรรเพชญมาปาเลนอยางสนุกสนาน และท้ิงขยะท่ีเปนถุงบรรจุขนมไว เลอะเทอะเกล่ือนกลาด เด็ดเดี่ยวจึงไปบอกใหเด็กกลุมน้ันใหท้ิงขยะลงในถัง ใหเรียบรอย แตเด็กกลุมนั้นไมยอมเก็บ แถมยังวิ่งหนีไปอีกดวย เด็ดเด่ียวกับ กอ งภพและเพอื่ นๆ อีก ๓-๔ คน จงึ ชวยกนั เก็บขยะไปท้งิ ในถงั ขยะ เมื่อคณุ ครู ทฆิ มั พรทราบเรือ่ งกช็ มเชยเดด็ เดยี่ วและเพื่อน แลว บอกเด็กๆ วา ÀÒÉÒä·Â ô ๑๖๓

¹Ñ¡àÃÂÕ ¹¤Ð ·Õ蹤èÕ Í× ÇÑ´¾ÃÐÈÃÊÕ ÃÃྪޏ¤Ð‹ เฉฉบลับย “ไมว า เราจะไปสถานที่ใดกต็ าม อฐิ หิน หรอื ส่ิงใดๆ ที่อยูในสถานที่นน้ั ๆ เราไมควรทำลายหรือนำมาขวางปาเลน เพราะสิ่งเหลานั้นถือวาเปนสมบัติของ คนทั้งชาติ ฉะนั้นเราจึงควรชวยกันอนุรักษไวใหคนรุนหลังไดดู นอกจากนี้ เราไมควรท้ิงขยะเร่ียราดดวยนะจะ เด็กๆ” จากนั้นคุณครูทิฆัมพรก็เลาประวัติ ของวัดพระศรสี รรเพชญใหเด็กๆ ฟง วา สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถโปรดเกลา ฯ ใหสรา งวหิ ารหลวงข้นึ ในป พ.ศ. ๒๐๔๒ โปรดใหหลอพระพุทธรูปยืนขึ้น โดยใชทองหลอพระถึง ๕๘,๐๐๐ ชั่ง และใชท องหุมหนัก ๒๘๖ ชง่ั เพอื่ ประดษิ ฐานในวหิ ารหลวง แลวพระราชทานนาม วา “พระศรีสรรเพชญ” ในวัดพระศรีสรรเพชญไมมีพระสงฆจำพรรษา แตใช เปนท่ีประกอบพระราชพิธีตางๆ อาทิ พระราชพิธีถือน้ำพิพัฒนสัตยา เปนตน ซ่ึงในปจจุบัน วัดพระศรีสรรเพชญก็เหลือเพียงแคซากปรักหักพังที่พอมองออก วาเปน วหิ าร หรอื เจดยี เ กา ๆ เทา นน้ั ๑๖๔ ÀÒÉÒä·Â ô

ระหวางที่คุณครเู ลา เด็กๆ หลายคนกจ็ ดบันทึกความรลู งในสมดุ บางคน ก็ถายภาพดวยกลองดิจิทัลไวเปนที่ระลึก ซึ่งเด็กๆ ทุกคนตางก็ปฏิบัติตาม คำสอนของคุณครูทิฆัมพรอยางเครงครัด คือไมเก็บส่ิงใดติดตัวไปเปนสมบัติ สวนตัว แตเก็บไวเพียงความรู ความทรงจำตา งๆ และภาพถายเทา น้ัน เพ่อื ให โบราณสถานแหงน้ีอยูใหช นรนุ หลังไดด ูกันตอไป หลังจากรับประทานอาหารกลางวันเสร็จเรียบรอยแลว คุณครูก็พาเด็กๆ ไปเท่ียวท่ีศูนยศิลปาชีพบางไทร ซ่ึงเปนสถานท่ีท่ีรวมงานฝมือของทุกภาค ในประเทศ และเปนแหลงอนุรักษสัตวและพืชพรรณตางๆ ที่นาสนใจ คุณครู พาเด็กๆ เขาไปในวังปลาท่ีทำเปนตูปลาขนาดใหญติดกับผนัง ซ่ึงมีปลาน้ำจืด มากมายหลายชนิด นอกจากนี้ยังมีนกชนิดตางๆ ใหชมในสวนนกที่รมร่ืน ไปดวยตน ไมอ ีกดว ย เดก็ ๆ ทกุ คนรูสึกมคี วามสุขมาก เพราะไดทง้ั ความรูและไดทองเที่ยวดวย กองภพถึงกับต้ังปณิธานไววา จะตองกลับมาเท่ียวที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เฉฉบลับย อกี ครั้งใหไดเ ลยทเี ดียว ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ·Õè ó ๑. ฝกอา นออกเสียงบทอานจนอานไดค ลอ ง และหาความหมายของคำตอไปนี้ ๒. ทตป๒๑อ)รศั)ักบนกปสคศถารำกึประาถเกษนรตาะาาทรมดศี่ียใจิษใดมปหาฐบตกรเาาปะวันเงรวนไใ่ือัตปมนงิศชเรปททา่งัดรสีอ่ี่ยกะตวา เพโนทรลครขศกะวน้ึดไรมรังทอาเรนยตยชดกูี้ทรพกับยี ่ีไิธดมดถี ุลทปตอื ยะัวรนพนะอำ้กนิุบยพาาำิจิพศงรขเไงุัฒอปรงนนผจอสมสู งึาัตอรจรยดนะาากทมโอลงกกเเทลทอแยี ่ียงลมวดะไิจทดเิทำอชไลัยลมายจงวึงคังตบมุ ปอ รคลงราาพบุรุษ ๓) ขอ ควรปฏบิ ตั ิตนและมารยาทที่ดีในการเดินทางทองเทย่ี วมีอะไรบา ง ÀÒÉÒä·Â ô ๑๖๕

จดจำการใชภ าษา การยอความ ¶ÒŒ àÃÒµŒÍ§¡ÒÃࡺç 㨤ÇÒÁÊÓ¤ÞÑ ¢Í§àÃ×èͧ·ÍèÕ ‹Ò¹ àÃÒ¤Çû¯ÔºµÑ ÍÔ ÂÒ‹ §ääРการยอ ความ คือ การเก็บใจความสำคัญของเร่อื งทีอ่ า น แลวนำมาเขียน เรยี บเรียงใหมใหไดใจความโดยใชภาษาท่กี ระชับ การเขียนยอ ความ มีหลักในการปฏบิ ัติ ดังนี้ เฉฉบลับย การเขียน ๑. อานเนื้อเรื่องทั้งหมด แลว ยอความ ทำความเขาใจเร่ืองทอ่ี าน ๓. เขียนสรุปสาระสำคัญของเรื่องท่ี ๒. สรปุ สาระสำคญั ของ อานเปนสำนวนของตนเอง โดย เรื่องท่ีอา น วาใคร เขียนข้ึนตนยอความตามรูปแบบ ทำอะไร ท่ีไหน ของเร่ืองนั้นๆ และไมเขยี นยอ ความ อยา งไร โดยใชอักษรยอ หรือใชสรรพนาม บรุ ุษท่ี ๑ และ ๒ แตจ ะใชส รรพนาม บุรุษท่ี ๓ http://www.aksorn.com/lib/p/tha_02 (เร่ือง การเขียนเรอื่ งยอ ) ÀÒÉÒä·Â ô ๑๖๖

รูปแบบการเขียนยอ ความ มดี ังน้ี ➠ ถา เรื่องที่จะยอ ความเปนนิทาน นยิ าย ตำนาน เรอื่ งสัน้ ฯลฯ ใชร ปู แบบการเขยี น ดงั น้ี ยอนิทานเร่อื ง (ช่ือเร่ือง) ของ (ชอ่ื ผแู ตง, ผเู ลา)................................................................................ ................................................................................... จาก (แหลง ทมี่ า) ความวา............................................................................... ................................................................................................................... ➠ ถา เรือ่ งที่จะยอความเปนคำบรรยาย โอวาท ปาฐกถา สนุ ทรพจน คำปราศรยั ฯลฯ ใชร ปู แบบการเขยี น ดังนี้ ยอ โอวาทของ เรื่อง แก ที่ (สถานท่ี)............................. ................................. ........................... .............................................. เมื่อ (วนั เดือน ป) ความวา................................................................ ................................................................................................................................... เฉฉบลับย ➠ ถาเรื่องท่จี ะยอ ความเปนขา ว ใชรปู แบบการเขียน ดงั นี้ ยอขา วเรอ่ื ง จาก (แหลง ทีม่ า)................................................................................................... ......................................................................... ความวา ..................................................................................................................................................................................................................... ➠ ถาเร่ืองที่จะยอเปนบทรอยกรอง เชน กลอนส่ีสุภาพ กลอนบทละคร กาพยยานี ๑๑ ฯลฯ ใหถอดคำประพนั ธเ ปนรอยแกวกอน แลว จึงเขียนยอ ความ โดยใชรปู แบบการเขียน ดังน้ี ยอ เรอ่ื ง ของ จาก.................................................................. .................................................. .................................................. ความวา ..................................................................................................................................................................................................................... ÀÒÉÒä·Â ô ๑๖๗

ตวั อยา ง การเขียนยอความ ยอ เรอ่ื งสัน้ เรื่อง เทย่ี วเมืองกรงุ เกา (ไมม ชี ่อื ผูแตง) จาก หนังสอื เรยี น แมบทมาตรฐาน ภาษาไทย ป. ๔ ความวา โรงเรียนทเี่ ดด็ เดี่ยว กอ งภพ ไพลิน และเชิงขวัญเรียนอยู พานักเรียนระดับช้ัน ป. ๔-๖ ไปทัศนศึกษาท่ีจังหวัด พระนครศรีอยุธยา ซึ่งคุณครูก็พาเด็กๆ ไปเที่ยวท่ีวิหารพระมงคลบพิตร วัดพระศรีสรรเพชญ และศูนยศิลปาชีพบางไทร ซึ่งเด็กๆ รูสึกมีความสุขมาก เพราะไดท้งั ความรู ขอ คดิ ดๆี และไดไปเท่ยี วชมสถานทีต่ างๆ อกี ดว ย ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ·Õè ô เขยี นยอ ความจากนิทานทกี่ ำหนดลงในชอ งวา ง เฉฉบลับย กวางกบั เสอื กวางตัวหน่ึงหากนิ ตามชายปา และเล็มหญา เหลือบเห็นนายพรานใหญ ถอื หนา ไมเดนิ ดอ มมาแตไกล ก็ตกใจโดดหนีรเ่ี ขาดง พรานสะกดรอยรกุ ไมละลด กวางเหน็ หมดชอ งหวงั ดงั ประสงค กห็ ลบเขา ถำ้ เสอื ดงั จำนง เสอื หมอบลงไมใหก วางเหน็ ตัว ปลอ ยใหเ ขากนถ้ำกระโจนจบั ปากงบั คอฟดสะบัดหวั กอ นสิน้ ใจกวางรองเสียงระรวั “อนั ตรายยอ มมีทั่วทุกแหง ไป เราหนีคนพนแลว ปะเสืออีก สุดเล่ยี งหลีกจึงชวี ติ ปลิดตักษัย” ของ ฉลอง ศภุ การ จาก หนังสือนทิ านอสี ปคำกลอน (ตวั อยา ง) ยอเรอ่ื ง กวางกบั เสือ ของ ฉลอง ศุภการ จาก หนงั สอื นทิ านอีสป✎......................................................................................................................................................................................................................................... คำกลอน ความวา กวางตัวหนึ่งหนีนายพรานโดยเขาไปหลบอยูในถ้ำ............................................................................................................................................................................................................................................................... ของเสอื จงึ ถูกเสือจบั กินเปน อาหาร............................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................................... ๑๖๘ ÀÒÉÒä·Â ô

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒäԴ ๑. เตมิ คำพอ งลงในประโยคใหถ ูกตอ ง และเขยี นคำอานของคำพอ ง แลวบอกวา มทฐ4./.ต1วั ช(1ว้ี )ัด คำที่เติมเปนคำพองรูปหรือพองเสียง ▲ คณุ ยา........................... ใหหลานชายถอน หญา........................... ที่อยูหนาบาน คุน-ยา / ยา...................................................................................................................................................................................................................... คำที่เติมเปน ❑ คำพองรปู ❑✓ คำพองเสียง ๑. คณุ พอ ตกั นำ้ ใน สระ........................... ไปรดตนไม แลวจึงสอนลูกอาน สระ........................... ในภาษาไทย สะ / สะ-หระ...................................................................................................................................................................................................................... คำทเ่ี ตมิ เปน ❑✓ คำพอ งรูป ❑ คำพอ งเสยี ง ๒. คณุ ลงุ ลมื ไซ ดักปลา ไวท ี่ใตตน ไทร........................... ฉบับ ไซ / ไซ เฉลย...................................................................................................................................................................................................................... ........................... คำทเี่ ตมิ เปน ❑ คำพองรปู ❑✓ คำพอ งเสยี ง ๓. นกั โบราณคดีขุดโบราณสถานที่ ปรัก........................... หักพงั แลว พบ ปรัก........................... ๓ กำปน ปะ-หรัก / ปรกั...................................................................................................................................................................................................................... คำท่เี ตมิ เปน ❑✓ คำพอ งรูป ❑ คำพองเสยี ง ๔. กาล เวลา ทำใหเ หตุ การณ เปลี่ยนไป........................... ........................... กาน / กาน...................................................................................................................................................................................................................... คำที่เตมิ เปน ❑ คำพองรปู ❑✓ คำพอ งเสียง ๕. เธอ โชค รา ย ท่ีตกนำ้ จนตวั เปยก โชก........................... ........................... โชก / โชก...................................................................................................................................................................................................................... คำทเ่ี ติมเปน ❑ คำพอ งรูป ❑✓ คำพองเสียง ÀÒÉÒä·Â ô ๑๖๙

๒. หาความหมายของคำพองทั้งรูปและเสียงที่กำหนดให แลวเขียนลงในสมุด▲ มฐ./ตัวชี้วัด จากนน้ั แตงประโยคจากคำ ท4.1 (1) ขัน หมายถึง ๑) ภาชนะสำหรบั ตกั หรอื ใสน้ำ.............................................................................................................................................. ๒) อาการรอ งเปนเสียงอยางหนึ่งของไก.............................................................................................................................................. ประโยค เขาตกใจทไ่ี ดย ินไกขันเสียงดงั➠ .............................................................................................................................................. จนทำขนั ตักน้ำตกบนพ้นื.............................................................................................................................................. ๑) กาก ๒) แกะ ๓) ฉัน ๔) ชา ๕) พัก ขน้ึ อยกู บั ดุลยพนิ จิ ของผสู อน ๓. เรียงลำดับคำที่กำหนดใหตามพจนานกุ รม แลวหาความหมาย และเขียนลงในสมุด มฐ./ตวั ชว้ี ัด (ดูเฉลยในหนา พเิ ศษทายเลม) ท4.1 (3) ปฏกั ราชสมบัติ พนัน กาลเทศะ กหาปณะ ทนู เขง เอ็นดู เฉฉบลับย สารพัด กา ย ลำ่ สัน รำพงึ โอวาท ชาดก เทียมเกวียน ๔. อานขา วท่ีสนใจจากหนังสอื พมิ พ แลว เขยี นยอความจากขา วท่อี า นลงในสมดุ มฐ./ตวั ชี้วัด ขนึ้ อยูกบั ดลุ ยพินจิ ของผูสอน ท2.1 (4) ¡¨Ô ¡ÃÃÁºÙóҡÒÃÊÃÒŒ §ÊÃä คดิ และเขียนคำพองท้ัง ๓ ชนดิ ๆ ละ ๕ คำ แลว แตงนทิ านสน้ั ๆ โดยใชคำทีค่ ิดประกอบ จากนัน้ วาดรปู ประกอบใหสวยงาม ๑๗๐ ÀÒÉÒä·Â ô

แบบทดสอบที่ ๘ กา ✗ คำตอบทถ่ี ูกท่สี ดุ ๑. คำในขอใดเปน คำพอ งเสยี ง ๕. คำวา ขนั ในประโยคใด หมายถงึ ก. สมาธิ ข. ปก เปา อาการนึกอยากหวั เราะ ค. สระน้ำ ✗ง. บิณฑบาต ✗ก. พอ่ี านการต นู แลวรสู ึกขัน ๒. คำในขอ ใดเปน คำพอ งรปู ข. นกเขาขนั ตอนเชา ก. ขา ทาส ข. ความทุกข ค. เขาตักน้ำใสขนั ง. พอขันนอต ✗ค. พยาธิ ง. พอเฒา ๖. นกั โบราณคดขี ดุ โบราณสถาน ท่ปี รกั หกั พัง พบปรัก ๓ กำปน ๓. คำในขอใดเปน คำพองทงั้ รปู และเสียง คำท่ีพิมพตวั หนา อานอยางไร เฉฉบลับย ก. กากมะพราว ก. ปะ-หรัก / ปะ-หรกั ✗ข. ขนั ใสนำ้ ✗ข. ปะ-หรัก / ปรกั ค. วนอทุ ยาน ง. ปรักหกั พัง ค. ปรัก / ปะ-หรกั ๔. ขอ ใดใชคำพองตางจากพวก ง. ปรกั / ปรัก ก. พออายุเทากับเถาแก ๗. ..........ชางใชมือ..........หาขอชางท่ีตกน้ำ ข. มเี สยี งโจษจันวาเขาตอ ง ควรเตมิ คำใดลงในชอ งวาง ก. ควาญ - ควาณ ไปเปนโจทก ข. ควาณ - ควาน ค. ควาน - ควาญ ✗ค. นองวาดรูปปลาปก เปา ลงบน ✗ง. ควาญ - ควาน วาวปกเปา ง. คุณครูบอกลูกศษิ ยว า ทกุ คน มีสิทธเิ์ ทา เทยี มกัน ÀÒÉÒä·Â ô ๑๗๑

ขอ ๘-๑๐ ขอใดเรยี งลำดับคำตามพจนานกุ รมไดถกู ตอง ๘. ก. แกะ แพะ แมว เตา ✗ข. กา ไก ควาย ชาง ค. กง้ิ กา สุนัข ปลาดุก นก ง. กวาง กบ ปลา งู ๙. ✗ก. สอน สั่ง สะสม สาน ข. รัก รอด โรย รีบ ง. กะป กระดาษ กัด กด ค. ปอด ประตู เป ปลงิ ข. ตลาด เด็ก ถงุ ผา ๑๐. ก. เลือก รัด วุน จริง ง. ฤๅษี โรง ยาม จอ ย ✗ค. บาน ปลอม ฝง มุง ขอ ๑๑-๑๓ เรียงลำดับคำตอ ไปนีต้ ามพจนานกุ รมใหถ กู ตอง ๑๑. ๑) กากหมู ๒) กลอง ๓) กดั ๔) กะป ก. ๑) ๒) ๓) ๔) ✗ข. ๒) ๓) ๔) ๑) ค. ๔) ๓) ๒) ๑) ง. ๓) ๒) ๔) ๑) เฉฉบลับย ๑๒. ๑) ตูม ๒) เตน ๓) เตม็ ๔) โตนด ✗ก. ๑) ๒) ๓) ๔) ข. ๔) ๓) ๒) ๑) ค. ๑) ๓) ๒) ๔) ง. ๒) ๓) ๑) ๔) ๑๓. ๑) นก ๒) แนน ๓) นอน ๔) นั่ง ก. ๑) ๔) ๓) ๒) ข. ๑) ๒) ๓) ๔) ✗ค. ๑) ๓) ๔) ๒) ง. ๑) ๓) ๒) ๔) ๑๔. คำในขอ ใดไมป รากฏในรปู แบบการเขยี นยอความของตำนาน ✗ก. เม่อื ข. จาก ค. ของ ง. ความวา ๑๕. ขอ ใดไมควรปฏบิ ัติในการเขยี นยอ ความ ก. ทำความเขา ใจเน้อื เร่ืองทีอ่ าน ข. สรปุ สาระสำคัญของเรื่องทอ่ี าน ✗ค. เขียนยอ ความโดยใชอ กั ษรยอ ง. เขยี นยอความโดยใชส รรพนามบรุ ษุ ท่ี ๓ ๑๗๒ ÀÒÉÒä·Â ô

๒ตาราง ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒÃàÃÕ¹»ÃШÓ˹Nj  รายการวดั ประเมินผลตามเปา หมายการเรยี นรู ประจำหนวยที่ ๘ คำชี้แจง : ๑. ครูกำหนดคะแนนเตม็ ของกิจกรรมทตี่ อ งการวัดผลเพอ่ื เก็บสะสม ๒. ครนู ำคะแนนจากการวดั ผลดา นความรู (K) / ทกั ษะกระบวนการ (P) / คณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค (A) ของนกั เรยี น แตละคนกรอกลงในตาราง และสรปุ ผลการประเมนิ ๓. ชน้ิ งานทม่ี เี ครอ่ื งหมาย * กำกบั ใหใ ชป ระกอบการประเมนิ การอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี นสอ่ื ความ รายการประเมนิ คะแนนรวมดาน รายการเคร่ืองมอื วดั และประเมินผลการเรยี นรูของนักเรยี น ดา นความรู (K) ดา นทกั ษะ / กระบวนการ (P) ดานคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค (A) K/P/A ตวั ชว้ี ดั ชน้ั ป.๔ หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เตม็ ได หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เตม็ ได หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เต็ม ได เต็ม ได ประเมินผลสัมฤทธิด์ าน K / P / A มฐ.ท ๑.๑(๑) - การอานออกเสยี ง - แบบประเมนิ ทักษะ - แบบประเมินคุณลักษณะ อา นออกเสียง วรรณกรรม เรื่อง การอา นออกเสียง ทีพ่ งึ ประสงค บทรอยแกว และ เทีย่ วเมอื งกรงุ เกา บทรอ ยกรองไดถกู ตอ ง แลวหาความหมาย - แบบประเมินทกั ษะ - แบบประเมนิ คุณลกั ษณะ มฐ.ท ๑.๑(๒) ของคำ และตอบคำถาม การยอเรอ่ื งที่อา น ที่พงึ ประสงค อธิบายความหมายของ คำ ประโยค และ - แบบประเมนิ ทักษะ - แบบประเมนิ คณุ ลักษณะ สำนวนจากเรอื่ งทอี่ าน การเขียน ทพี่ งึ ประสงค มฐ.ท ๑.๑(๓) อานเรื่องส้ันๆ ตามเวลา - แบบประเมินทกั ษะ - แบบประเมินคณุ ลักษณะ ทก่ี ำหนดและตอบ การเขยี น ที่พึงประสงค คำถามจากเร่ืองทอี่ า น - แบบประเมินทกั ษะ - แบบประเมินคุณลกั ษณะ มฐ.ท ๒.๑(๔) - ก. พัฒนาการคิด ขอ ๔ การเขยี น ทีพ่ งึ ประสงค เขยี นยอความจาก การเขียนยอความ เรอื่ งสน้ั ๆ จากขาว - แบบประเมินทักษะ การเขียน มฐ.ท ๔.๑ (๑) - ก. พฒั นาการคิด* ขอ ๑ เฉฉบลับย สะกดคำและบอก การเตมิ คำพองลงใน ความหมายของคำ ชอ งวา ง ในบริบทตา งๆ มฐ.ท ๔.๑(๓) - ก. พฒั นาการคิด ขอ ๒ ใชพจนานกุ รมคนหา การแตงประโยคจาก ความหมายของคำ คำพอง - ก. พัฒนาการคดิ ขอ ๑ การเรยี งลำดับคำตาม พจนานกุ รม สว นท่ี ๑ คะแนนจากการประเมนิ ดา นผลการเรยี นตามตัวชี้วัด สว นที่ ๒ คะแนนจากการประเมนิ ตนเองของนกั เรียน ผลงานกจิ กรรมบรู ณาการฯ ทนี่ กั เรียนปฏบิ ตั ิ ชื่องาน การแตงนิทานจากคำพอ ง สว นที่ ๓ คะแนนจากการทดสอบสัมฤทธิผลประจำหนว ย การทำแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิป์ ระจำหนวยที่ ๖-๑๐ สรุปผลการประเมนิ พฒั นาการเรียนรปู ระจำหนว ย ขอเสนอแนะ ………………………………………………………….. ผาน ไมผาน ………………………………………………………………………………. ระดบั คุณภาพ ๔ ดมี าก ๓ ดี ๒ พอใช ๑ ควรปรับปรงุ ➠ ซอ มเสรมิ แลว ➠ ผานเกณฑป ระเมนิ ลงช่ือ ………………………………………………………. ผูประเมนิ …………….. / …………….. / ……………. ☞ หมายเหตุ ครสู ามารถใชแบบบันทึกนี้เพื่อบันทึกผลการเรียนแตละหนวยของนักเรียนเปนรายบุคคล หรือบันทึกลงในแบบบันทึกอื่น ที่ครูหรือสถานศึกษาจัดทำขึ้นก็ได ÀÒÉÒä·Â ô ๑๗๓

คคาํำขขววญั ัญ ๙หนวยการเรยี นรทู ่ี เปา หมายการเรยี นรูป ระจำหนวยการเรยี นรูท ี่ ๙ ¡Å͹ÊèÕ àª´Ò¡çµ©Ôà¨ÅÃÒÞÔ ´ เมื่อเรียนจบหนวยนี้ ผูเ รียนจะมคี วามรูความสามารถตอ ไปนี้ ¨Ôêºà¾Í×è ¹ÃÑ¡ ÂÒàʾµ´Ô ๑. อานเรอื่ งสนั้ ๆ ตามเวลาที่กำหนด และตอบคำถาม ໚¹Àѵ‹ÍªÕÇµÔ à»š¹¾Ôɵ͋ จากเรอ่ื งทอ่ี า น ๒. เขยี นจดหมายถงึ เพ่ือนและญาตผิ ใู หญได 椄 ¤Á ๓. เขียนเรือ่ งตามจินตนาการได ๔. แตง คำขวญั และบทรอยกรองประเภทกลอนสี่ได คณุ ภาพทพ่ี ึงประสงคข องผูเรยี น ๑. อา นไดค ลอ ง และอานไดเรว็ ขึน้ ๒. เขยี นเรอื่ งราวจากจินตนาการได เฉลยฉบับ ๓. แตงบทรอยกรองงา ยๆ ได แผนผังความคดิ ประจำหนวยการเรยี นรทู ่ี ๙ สาระ เรียนรูหลักภาษา การเรยี นรู คำขวัญ กลอนส่ี เบกิ ฟา วรรณกรรม จดหมายจากเพื่อน จดจำการใชภ าษา การเขียนจดหมายสวนตัว การเขียนเร่อื ง ตามจินตนาการ

ขอบขา ยสาระการเรยี นรแู กนกลาง รายวชิ า ภาษาไทย ชน้ั ป.๔ ตวั ช้ีวดั สาระพน้ื ฐาน ความรฝู ง แนนตดิ ตัวผูเรยี น มฐ.ท ๑.๑ - วรรณกรรม เรอื่ ง จดหมายจากเพอื่ น - วรรณกรรมเรอ่ื ง จดหมายจากเพื่อน ๓. อานเรื่องสั้นๆ ตามเวลาที่กำหนด เปนเรอ่ื งเกี่ยวกบั การเขยี นจดหมาย สวนตวั จากเพ่อื นเกาของเชิงขวญั และตอบคำถามจากเรอ่ื งที่อาน มฐ.ท ๒.๑ - คำขวญั - คำขวัญ เปนถอ ยคำ หรือคำคลองจอง ๒. เขียนสือ่ สารโดยใชค ำไดถ ูกตอ ง - การเขยี นจดหมายสว นตวั เพ่อื เตือนใจ หรือแสดงเอกลักษณ ชดั เจน และเหมาะสม - การเขียนเรอื่ งตามจินตนาการ - การเขยี นจดหมายสวนตวั เปนการ ๕. เขียนจดหมายถึงเพ่อื นและบดิ า เขยี นจดหมายเพอื่ สอ่ื สารกับเพ่อื นหรอื ญาติพี่นอ ง เพอ่ื แจงเรอื่ งราวตา งๆ มารดา ๗. เขยี นเรอ่ื งตามจินตนาการ - การเขยี นเรือ่ งตามจินตนาการ เปนการเขียนเรอ่ื งราวตา งๆ ตาม จนิ ตนาการหรอื ความคดิ ของผเู ขยี น มฐ.ท ๔.๑ คำขวญั เปน ถอ ยคำ หรือคำคลอ งจอง ๕. แตงบทรอยกรองและคำขวัญ เพอื่ เตอื นใจ หรือแสดงเอกลักษณ - คำขวัญ เฉลย- ฉบับ - กลอน ๔ - กลอน ๔ เปนคำประพันธประเภท กลอนชนิดหนึ่ง ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹ เรียงลำดับขอ ความท่ีกำหนดใหเ ปนกลอน ๔ ท่ถี กู ตอง แลว ขดี เสนโยงสมั ผสั พืชผกั ขา วปลา ชาวไรช าวสวน ทด่ี นิ พฒั นา ทกุ คนเรงิ รา ชวนกนั เรว็ รี่ เขาสูหนาฝน สุขสมบรู ณดี เพาะกลา มากมี เขาสูหนาฝน ทุกคนเริงรา................................................................................................................................................................................................................................................ พชื ผักขา วปลา สขุ สมบรู ณด ี................................................................................................................................................................................................................................................ ชาวไรช าวสวน ชวนกันเร็วร่ี................................................................................................................................................................................................................................................ เพาะกลา มากมี ทดี่ นิ พฒั นา................................................................................................................................................................................................................................................ ÀÒÉÒä·Â ô ๑๗๕

เรยี นรูหลักภาษา คำขวัญ Êè§Ô ·Õ¹è Ò¡ÃÑ°Á¹µÃÕÁͺãËጠ¡‹à´¡ç æ ·¡Ø »‚ ã¹Çѹà´ç¡¤×ÍÍÐäà ã¤Ã·ÃÒººŒÒ§¤Ð คำขวัญ หมายถึง ถอยคำ ขอความ คำคลองจอง หรือบทกลอนสั้นๆ โดยแบงไดเปน ๒ ประเภท ดังนี้ ๑. ถอยคำหรือขอความท่ีแตงขึ้นเพ่ือเปนเคร่ืองเตือนใจ แสดงอุดมคติ หรือเปาหมายของกลุมหรือองคกรน้ันๆ เชน คำขวัญวันเด็ก คำขวัญประจำ โรงเรยี น เปนตน ๒. ถอยคำหรือขอความท่ีแตงข้ึนมาเพ่ือบงบอกถึงเอกลักษณ คุณสมบัติ เฉฉบลับย ความโดดเดน เชน คำขวัญประจำจังหวดั นอกจากนี้ เราสามารถใชคำคม หรอื พทุ ธพจน มาเปน คำขวัญก็ได เชน “อตฺตานํ ทมยนฺติ ปณฺฑิตา” (อานวา อัด-ตา-นัง/ทะ-มะ-ยัน-ติ/ปน-ทิ-ตา หมายถึง บัณฑิตยอมฝกตน), “รกฺเขยฺย อตฺตโนสาธุงฺ ลวณํ โลนตํ ยถา” (อานวา รัก-เขย-ยะ/อัด-ตะ-โน-สา-ทุง/ละ-วะ-นัง/โล-นะ-ตัง/ยะ-ถา หมายถึง พงึ รักษาความดไี วด ุจเกลือรักษาความเค็ม) ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹Ì٠·Õè ñ ๑. ฝเแดสลลบืวกอื ยะคแกเตตนขคัวงคยี ำบคำนขรำขบวรขวัญอจวัญงกัญจคจเาหรรากณึง่ตกกบผุแรจิ รหงลกรคทลรทกง่ีชรัดาขมขอรึน้อขบเมอลอ ยลูกิ กู๑ตสับ.าบู ดงทบๆลุ ่ชีุหยอรใพหี่มบนิ ไามดจิ า๑ขม อ๑าคงกผำคทสูขำ่สี อวขดุนญั วัญแลแว ลเขวยีวนาดลรงปูในปสรมะกุดอบคำขวัญ ๒. ๓. ๑๗๖ ÀÒÉÒä·Â ô

กลอนส่ี à¾ÃÒÐà˵Øã´¡Å͹ ô ¨Ö§ä´ªŒ è×ÍÇ‹Ò ¡Å͹ ô ã¤Ã·ÃÒººŒÒ§¤ÃѺ กลอน ๔ เปนคำประพนั ธป ระเภทกลอน ใน ๑ บท มี ๒ บาท ๑ บาท มี ๒ วรรค แตล ะวรรคมี ๔ คำ จงึ เรยี กวา กลอน ๔ แผนผงั กลอน ๔ วรรคที่ ๑ วรรคที่ ๒ ๑ บท วรรคที่ ๓ วรรคที่ ๔ เฉฉบลับย ๑ บท หมายเหตุ : - กำหนดให แทนคำ ๑ คำ - เสน แสดงถึงตำแหนง ของคำที่สมั ผัสคลองจองกัน - เสน แสดงถึงตำแหนงของคำท่ีผอ นผันใหสมั ผสั คลอ งจองกัน สมั ผสั บงั คบั ของกลอน ๔ มี ๔ แหง ดงั นี้ ๑. คำสุดทายวรรคแรก สัมผัสคลองจองกับคำแรกหรือคำท่ี ๒ ของ วรรคที่ ๒ ๒. คำสดุ ทา ยของวรรคท่ี ๒ สมั ผัสคลองจองกับคำสดุ ทา ยของวรรคท่ี ๓ ๓. คำสุดทา ยของวรรคท่ี ๓ สัมผัสคลองจองกบั คำแรกของวรรคที่ ๔ ๔. คำสุดทา ยของวรรคที่ ๔ ของบทแรก สมั ผสั คลองจองกบั คำสดุ ทาย ของวรรคท่ี ๒ ของบทถัดไป ÀÒÉÒä·Â ô ๑๗๗

ตวั อยาง กลอน ๔ ดวงจนั ทรวันเพญ็ ลอยเดน บนฟา แสงนวลเย็นตา พาใจหฤหรรษ ชกั ชวนเพ่ือนยา มาเลนรวมกนั เดก็ นอ ยสุขสนั ต บันเทิงเรงิ ใจ นารรี ัตน บญุ สม àÁÍè× àÃÂÕ ¹ÃÙÅŒ ѡɳФӻÃо¹Ñ ¸» ÃÐàÀ·¡Å͹ ô áÅŒÇ ¤ÃÒǹéÕàÃÒÁÒàÃÕ¹ÃÙÇŒ ¸Ô ¡Õ ÒÃᵋ§¤Ó»Ãо¹Ñ ¸¡ ¹Ñ ¹Ð¤ÃѺ เฉฉบลับย คำประพันธ หมายถึง ถอยคำท่ีแตงและเรียบเรียงใหเปนบทรอยกรอง ไดแก โคลง ฉันท กาพย กลอน และรา ย การแตง คำประพันธ มีหลกั ในการปฏิบตั ิ ดงั นี้ ๑. กำหนดวาจะแตงคำประพันธเกี่ยวกับเรื่องอะไร และใชคำประพันธ ประเภทใด เชน กำหนดวาจะแตงคำประพันธ เรอ่ื ง ชาวนา โดยใชค ำประพันธ ประเภทกลอน ๔ เปนตน ๒. กำหนดโครงเรอื่ งของคำประพันธท ่ีจะแตง ๓. เขียนเรยี บเรียงเร่ืองเปนรอ ยแกว ๔. แตง คำประพันธต ามเร่อื งทเ่ี ขียนเรยี บเรียงไว ๕. อานทบทวนคำประพันธท่ีแตงอีกครั้ง แลวแกไขในจุดท่ีบกพรองให สมบรู ณ http://www.aksorn.com/lib/p/tha_04 (เรอื่ ง เคล็ดลับการเขียนกลอน) ๑๗๘ ÀÒÉÒä·Â ô

ตวั อยา ง การแตงคำประพันธ ประเภทกลอน ๔ เร่อื ง ชาวนา กำหนดเรื่อง เรอ่ื ง ชาวนา กำหนดโครงเร่อื ง ✸ ชาวนาทำนาในฤดฝู น ✸ ชาวนาตอ งอดทนในการทำนา เพื่อปลูกขาวใหผ คู นกนิ ✸ เมอื่ ตนขาวโตแลว กเ็ กีย่ วขา ว และนำขา วไปสีที่โรงสี ✸ ชาวนามีพระคณุ กับเรามาก เรยี บเรยี งเน้อื หา ชาวนาทำนาในฤดูฝน ซึ่งชาวนาตองอดทนในการทำนา เพ่ือปลูกขาวใหผูคนกิน เมื่อตนขาวโตไดที่ ชาวนาจะ เก่ียวขาวแลวนำไปสีที่โรงสี ชาวนาจึงเปนผูที่มีพระคุณ ตอเรามาก เฉฉบลับย แตง คำประพันธจากเนื้อหาทเ่ี รียบเรียงแลว ฝนตกอีกคราว ชาวนาทำนา ลำบากหนักหนา กวาจะเหน็ ผล ไถพรวนหวา นกลา มานะอดทน สูฟาสฝู น เพอื่ คนทง้ั ผอง ยามถงึ คราวเกย่ี ว เคยี วนอยคอยคลอง เกี่ยวขา วรวงทอง สูโรงสีพลัน พระคุณชาวนา มากเพียงใดนั้น กินขาวทกุ วนั หมัน่ คดิ เตอื นใจ ชูวงศ กล่นิ เลขา ÀÒÉÒä·Â ô ๑๗๙

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ·Õè ò ๑. นำคำทกี่ ำหนดใหเตมิ ลงในชองวา งใหเปนกลอน ๔ ทีถ่ ูกตอง แลวขีดเสนโยงสัมผสั ตะเภา ดำ ตา ยิ่งใหญ ผาน สงกรานต ไว พกั ผอน ไทย กฬี า สำราญ อุรา เขา สูหนารอน อยบู านพกั ผอน.......................... ทำบุญ สงกรานต................................. ยามเดอื นเมษา เฉลย รดน้ำ หวัดำฉบับ .......................... ขอพรยาย ตา.......................... เลนนำ้ สงกรานต ช่ืนฉำ่ อุรา.......................... ไมเ คยเงียบเหงา ลม ตะเภา พัด ผา น.......................... .......................... แสนสขุ สำราญ.......................... เชิญเลนวา ว ไทย.......................... ปก เปา จฬุ า กฬี า ชงิ ชยั.......................... เสรมิ สงคง คูเมอื งไว ย่ิงใหญ.......................... .......................... ชูวงศ กลิน่ เลขา ๒. ฝกแตงกลอน ๔ หัวขอ “บานของฉนั ” จำนวน ๒ บท ลงในสมดุ แลว ขีดเสนโยง สัมผสั และวาดรปู ประกอบใหสวยงาม ข้นึ อยูกับดลุ ยพนิ ิจของผูสอน ๑๘๐ ÀÒÉÒä·Â ô

เบิกฟาวรรณกรรม จดหมายจากเพื่อน ๑๓๕/๖๘ หมบู า นมณียา ซ.๘ ถ.รัตนาธิเบศร อ.เมอื ง จ.นนทบรุ ี ๑๑๐๐๐ ๑๙ มนี าคม ๒๕๕๒ จิ๊บ เพือ่ นรกั สวัสดีจะจ๊ิบ นานแลวนะท่ีเราสองคนไมไดคุยกันเลย หลังจากท่ีเธอ ยา ยโรงเรยี นไปเมอื่ ปท ่ีแลว เธอสบายดีหรอื เปลา แลวมีเพอ่ื นใหมม ากไหม แตคนนิสยั ดีมนี ำ้ ใจอยา งเธอนา จะหาเพอ่ื นไดไมย ากหรอก จรงิ ไหมจะ น่ีก็ใกลจะปดเทอมแลว คุณพอและคุณแมมีโครงการจะพาฉัน เฉฉบลับย ไปเที่ยวท่ีหาดชะอำ จ.เพชรบุรี ไปเชา-เย็นกลับ ทานอนุญาตใหฉันพา เพื่อนไปดวย ฉันจึงชวนกุกไกกับนิด ซึ่งทั้งสองคนก็ขออนุญาตผูปกครอง เรียบรอยแลว และฉันก็นึกถึงเธอวา ถาชวนเธออีกคนก็คงจะสนุกยิ่งข้ึน กลุมของเราจะไดมาเจอกนั พรอ มหนาพรอ มตาอกี ครั้ง คุณพอคุณแมของฉันบอกวาจะพาฉันไปเท่ียวประมาณปลายเดือน เมษายนละ ถาเธอไมติดธุระอะไร และขออนุญาตคุณพอคุณแมเรียบรอย แลว ขอใหเธอตอบจดหมายฉันดวยนะจะ (แตฉันคิดวาคุณพอและคุณแม ของเธอคงอนุญาตแนนอนเลยละ) ออ! ฝากบอกคุณลุงกับคุณปาดวยวา ไมตองเปนหวงเรื่องการเดินทางนะจะ เพราะคุณพอของฉันบอกแลว วาถาเธอไปดวย คุณพอจะแวะไปรับเธอที่บานเอง และขากลับก็จะสงให ถึงบา นเลยละ จะ สบายใจได ÀÒÉÒä·Â ô ๑๘๑

ฉันยังมีเร่ืองสนุกอีกมากท่ีอยากจะเลา แตขอเก็บไวเลาเม่ือเราได พบกนั ดีกวา นะ ตอนนค้ี ุณแมเ รียกฉนั ไปกนิ ขา วเย็นแลว ฉันคงตอ งไปกอ น ฝากสวัสดีคุณลุงคุณปาดวย ออ! ฝากลูบหัวเจาจ๋ิวหลิวแมวเหมียวตัวยุง ของเธอดวยนะ ไมไดเ ห็นตงั้ นานคงไมจ๋วิ หลิวแลวม้งั ฉนั เขา ใจถูกไหมจะ รักและคดิ ถงึ เสมอ สมโอ เชิงขวัญอานจดหมายของสมโอหรือชาริณีเพ่ือนที่เคยเรียนดวยกันจบ ก็พับจดหมายใสซองแลวน่ังยิ้มนอยยิ้มใหญอยูคนเดียว เชิงขวัญดีใจมากที่ เพื่อนๆ ท่ีโรงเรียนเกายังคงคิดถึงเธออยู และเธอก็อยากไปทะเลกับสมโอมาก เชิงขวัญคิดวาเธอจะขออนุญาตคุณพอและคุณแมหลังจากรับประทานอาหารเย็น เฉฉบลับย เสร็จแลว แตพ อดีคณุ แมเ ดนิ เขามาหาเชิงขวัญเสียกอน “ยิ้มอะไรจะ จิบ๊ อานจดหมายแลว ก็ย้ิม จดหมายใครหรือลูก” คุณแมถาม “จดหมายจากสม โอคะ คณุ แมจ ำสมโอไดไหมคะ” เชิงขวัญตอบแลว ถาม คณุ แมกลบั “สม โอ... จำไดจ ะ ลูก สม โอเขาวา อยา งไรบางละ” “ก็ไมวาอยางไรหรอกคะ แตสมโอเขาชวนหนูไปเที่ยวตอนปดเทอมใหญ นะคะ คุณแมจ ะวาอยา งไรบา งคะ” เชิงขวญั ถามเสียงออดออ น “แมก ็ไมวาอยา งไรหรอก แตแมก ็ตอ งดกู อ นวา พวกหนูจะไปเที่ยวท่ีไหน ไปกบั ใครบาง ไปอยา งไร และไปนานแคไหนจะ ” “ไปหาดชะอำ จังหวัดเพชรบุรีคะคุณแม ไปชวงปลายเดือนเมษายน คุณพอและคุณแมของสมโอเปนคนพาไปคะ สมโอบอกวา ถาหนูตกลงใจไป ดวย คุณพอเขาจะขับรถมารับที่บาน และก็แวะมาสงดวย สวนไปนานแคไหน ก็ไปเชา เย็นกลับคะ” ๑๘๒ ÀÒÉÒä·Â ô


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook