Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เฉลย มมฐ. ภาษาไทย ป.4

เฉลย มมฐ. ภาษาไทย ป.4

Description: เฉลย มมฐ. ภาษาไทย ป.4

Search

Read the Text Version

๑. กำหนดหัวขอเร่ือง ควรกำหนดเรื่องท่ีผูเขียนรายงานสนใจ หรือ ผูอานสนใจ และควรกำหนดหัวขอยอยของหัวขอเรื่องน้ันๆ ดวย เพ่ือความ สะดวกในการศกึ ษาคนควา เชน หวั ขอเร่ือง การรีไซเคิล ความหมาย หัวขอ ยอ ย วธิ ีการ ประโยชน ๒. วางแผนเขยี นรายงาน ควรวางแผนวา จะใชเวลาในการเขยี นรายงาน นานเทา ใด จะสืบคน ขอ มูลจากท่ีใด เพือ่ สะดวกในการเขยี นรายงาน ๓. รวบรวมขอ มูล สบื คน ขอ มูลตามหวั ขอเรื่อง หรอื หัวขอ ยอยท่ีกำหนด ๔. เขียนรายงาน โดยมวี ธิ ีการปฏิบตั ิ ดงั น้ี เฉฉบลับย ๑) นำขอมูลที่ศึกษาคนความาเขียนเรียบเรียงใหมเปนภาษาของ ตนเองตามหัวขอยอ ยทีก่ ำหนด โดยใชภาษาท่ีอา นเขาใจงา ย ๒) จดั ทำรปู เลม รายงานใหสมบรู ณ ซ่งึ สวนประกอบของรายงาน มีดังน้ี (๑) ปกหนา (๔) เนอ้ื หา (๒) คำนำ (๕) บรรณานกุ รม (๓) สารบัญ (๖) ปกหลัง ÀÒÉÒä·Â ô ๓๓

(๑) ปกหนา ควรเขยี นรายละเอยี ดตา งๆ ตามตวั อยาง เพื่อบอก ใหผูอานรายงานทราบวาเปนรายงานเร่ืองอะไร ใครเปนคนเขียน และควรใช กระดาษสีออนๆ ไมม ลี วดลาย (๒) คำนำ ควรเขียนบอกจุดประสงคของการเขียนรายงาน วิธีการคนควา ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ และอาจเขียนขอบคุณผูที่ใหความ ชวยเหลือในการทำรายงานน้ีดวยก็ได (๓) สารบัญ เขียนชื่อเรื่องหรือหัวขอที่นำเสนอ และเลขหนา ของเร่ืองหรอื หัวขอนน้ั ๆ (๔) เนื้อเรื่อง ควรประกอบดวยสวนประกอบหลัก ๓ สวน คือ ความนำ เน้ือเรื่อง และสรุป โดยอาจแสดงขอคิดเห็นท่ีเปนประโยชน หรือใส ภาพประกอบดว ยก็ได ·ÓÍÐäù‹Ð¡ÍŒ § ¡ÍŒ §äÁ‹¤ÇÃÅÍ¡¢ŒÍ¤ÇÒÁ ¡ÓÅѧÅÍ¡¢ŒÍÁÅÙ ÁҨҡ˹ѧÊ×͹Рเฉฉบลับย ·ÓÃÒ§ҹÍ‹ٹЋ ÊÔ àËÃÍ ·ÓäÁÅЋ ในการเขียนเนื้อเรื่องน้ัน ไมควรลอกขอความจากหนังสืออื่น หรอื นำขอความจากหนงั สือหลายๆ เลม มารวมกนั จนดเู ปน สำนวนของตนเอง แตถา จำเปน ตองลอกขอความสำคัญ ตอ งเขยี นบอกวามาจากหนงั สอื อะไร และ ตองระบชุ อื่ ผแู ตงเสมอ เพราะถอื เปน มารยาททดี่ ีในการเขยี น (๕) บรรณานกุ รม เปนรายชื่อหนังสอื ที่ใชค น ควา และนำมาเปน ขอมูลในการเขยี นรายงาน โดยตองเขียนรายละเอยี ดตางๆ ดงั นี้ ชอื่ ผแู ตง. ชื่อหนงั สือ. ชื่อจงั หวดั ทพี่ มิ พหนังสือ : ชอ่ื สำนกั พิมพ, ปที่พมิ พ. ๓๔ ÀÒÉÒä·Â ô

¶ŒÒàÃÒÁËÕ ¹§Ñ ÊÍ× ·ãèÕ ªŒ¤Œ¹¤ÇÒŒ ÁÒ¡¡Ç‹Ò ñ àÅÁ‹ àÇÅÒà¢ÂÕ ¹ºÃóҹءÃÁµÍŒ §à¢ÂÕ ¹àÃÕ§ÅÓ´ºÑ ªÍè× ¼àŒÙ ¢ÂÕ ¹ µÒÁÅÓ´ºÑ µÇÑ ÍÑ¡ÉÃã¹¾¨¹Ò¹Ø¡ÃÁ´ŒÇÂ¹Ð¤ÃºÑ (๖) ปกหลัง เปนกระดาษเปลาๆ ลักษณะเดียวกับปกหนา แตไมตอ งเขยี นอะไร ๕. ตรวจทานและปรับปรุงใหสมบูรณ นำรายงานที่เขียนเสร็จเรียบรอย มาตรวจทานอีกคร้ัง โดยพิจารณาเน้ือหา และตรวจการเขียนสะกดคำ วามี ขอผดิ หรอื ไม ถาผดิ ใหแ กไขใหถูกตอ ง แลว เยบ็ เลมรายงานใหเ รยี บรอ ย äªâÂ! à¢ÂÕ ¹ÃÒ§ҹ ¶àµÒŒ ÍÃÂÕÂÒ‹Á§µ¹ÑǹéÑ ¾¡Ù´µç ¹ÍŒ Ч ¾Ù´ÍÐäÃÍÕ¡àËÃÍ ¡ç¾Ù´ÃÒ§ҹàÃ×Íè §·èàÕ ¢ÂÕ ¹ àÊÃç¨áÅŒÇ ÍÂÒ‹ §äÃÅЋ เฉฉบลับย เม่อื ทำรายงานเสร็จแลว หากตองพูดนำเสนอรายงานนั้นดวย ควรปฏิบตั ิ ดังน้ี ๑. แบงเวลาในการพูดรายงานแตละหัวขอใหเหมาะสม และใชเวลาใน การพูดรายงานไมน อ ยหรอื มากจนเกินไป ๒. ใชภาษาในการพูดท่ีสุภาพ และพูดใหถูกตองชัดเจน แตไมควร เครง เครยี ดจนเกินไป เพอื่ ใหเ กดิ บรรยากาศท่ดี ีในการพดู ๓. ควรมสี ือ่ ประกอบการพดู รายงานอยา งหลากหลายและเหมาะสม เพอ่ื ใหก ารพดู ดนู า สนใจ ๔. มกี ารสรปุ ความรู เมื่อพดู รายงานจบ ๕. ควรเปดโอกาสใหผฟู งซกั ถามขอ สงสยั ในชวงทายของการพดู รายงาน ÀÒÉÒä·Â ô ๓๕

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹Ì٠·Õè ó แบงกลุม กลมุ ละ ๕-๖ คน ใหแตละกลมุ สืบคนขอมูลและเขียนรายงานในหวั ขอ “การรีไซเคลิ ” แลวออกมานำเสนอผลงานท่หี นาชน้ั เรียน ข้ึนอยกู ับดุลยพนิ ิจของผูสอน ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒäԴ ๑. คิดแลวเขียนคำที่มีตัวสะกดในมาตราตางๆ ตามหมวดหมูท่ีกำหนดใหไดมากท่ีสุด มทฐ4./.ต1ัวช(1วี้ )ัด ลงในสมุด และเขียนอธิบายตามตัวอยา ง ขึน้ อยูกบั ดุลยพนิ จิ ของผูสอน เครอื ญาติ สัตว อวยั วะ เฉฉบลับย เชน สงิ่ ของเครอ่ื งใช อาหาร หมวดเครอื ญาติ : ลุง มีตวั สะกดในมาตราแมก ง ยาย มีตวั สะกดในมาตราแมเกย ๒. เขยี นรายงานในหัวขอที่ตนเองสนใจ แลวออกมาพดู นำเสนอผลงานทหี่ นา ช้ันเรยี น มฐ./ตัวชว้ี ดั ขน้ึ อยกู ับดุลยพินิจของผสู อน ทท22..11 ((68)) ท3.1 (5) ¡¨Ô ¡ÃÃÁºÙóҡÒÃÊÌҧÊÃä แบงกลุม กลุมละ ๓ คน ชวยกันคิดประดิษฐของเลนจากกระดาษท่ีเปนวัสดุเหลือใช และเขยี นเปน รายงาน จากน้นั นำเสนอผลงานท่หี นา ชนั้ เรยี น ๓๖ ÀÒÉÒä·Â ô

แบบทดสอบท่ี ๒ กา ✗ คำตอบทถี่ กู ที่สุด ๑. “.............รองอบๆ” ควรเติมคำทมี่ ี ๗. ประโยคใดมคี ำทมี่ ตี ัวสะกด ตัวสะกดในมาตราแมกบคำใด ในมาตราแมกบ ก. วรากรไปฝากเงินทีธ่ นาคาร ก. รูปภาพ ✗ข. กบ ✗ข. เขาอพยพไปอยูตา งจังหวดั ค. ปลาวาฬวายนำ้ ค. กลบ ง. ยรี าฟ ง. ฉันเลน ฟตุ บอล ๒. โชคลาภ สะกดดวยมาตราอะไร ๘. ประโยคใดมีคำทีม่ ตี ัวสะกด ในมาตราแมก ด ก. แมเกย ข. แมก น ก. วณี าซื้อกุหลาบสีแดง เฉฉบลับย ข. วนั นท้ี ะเลมีคลน่ื สูง ✗ค. แมกบ ง. แมก ง ค. นกนอยรองเพลง ✗ง. เชา วนั นี้อากาศดี ๓. คำใดมีตัวสะกดในมาตราแมก น ขอ ๙-๑๐ ควรเติมตวั สะกดตวั ใด ✗ก. สหกรณ ข. โชคดีนะ ๙. ปริ นา........ ✗ข. ศ ค. กราฟ ง. สวัสดี ก. ษ ๔. คำใดมตี ัวสะกดมาตราเดียวกับ ค. ส ง. ถ ข. ค คำวา คลาย ๑๐. ประมุ........ งฆ ก. เขี่ย ข. เสียง ✗ก. ข ค. ตลาด ✗ง. ลุย ค. ก ๕. ขอ ใดไมเ ขาพวก ✗ก. พรรค ข. ปลาวาฬ ค. พยาบาล ง. บุญคุณ ๖. ขอใดไมเขาพวก ก. นอยนดิ ข. นุม นิ่ม ✗ค. นัวเนยี ง. นมเนย ÀÒÉÒä·Â ô ๓๗

๒ตาราง ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒÃàÃÕ¹»ÃШÓ˹‹Ç รายการวดั ประเมินผลตามเปา หมายการเรียนรู ประจำหนวยท่ี ๒ คำช้แี จง : ๑. ครกู ำหนดคะแนนเต็มของกจิ กรรมท่ีตองการวดั ผลเพื่อเกบ็ สะสม ๒. ครนู ำคะแนนจากการวดั ผลดา นความรู (K) / ทกั ษะกระบวนการ (P) / คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค (A) ของนักเรยี น แตล ะคนกรอกลงในตาราง และสรปุ ผลการประเมิน ๓. ชน้ิ งานทมี่ เี ครอ่ื งหมาย * กำกบั ใหใ ชป ระกอบการประเมนิ การอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี นสอ่ื ความ รายการประเมนิ รายการเครื่องมือวดั และประเมินผลการเรยี นรขู องนกั เรียน คะแนนรวมดา น ดานความรู (K) ดา นทกั ษะ / กระบวนการ (P) ดานคณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค (A) K/P/A ตวั ชว้ี ดั ชน้ั ป.๔ หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เต็ม ได หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เตม็ ได หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เต็ม ได เต็ม ได ประเมินผลสัมฤทธ์ดิ า น K / P / A มฐ.ท ๑.๑(๑) - การอา นวรรณกรรม - แบบประเมนิ ทักษะ - แบบประเมนิ คณุ ลักษณะ อา นออกเสยี ง เร่ือง กระดาษนมี้ ีท่ีมา การอานออกเสียง ท่พี งึ ประสงค บทรอยแกวและ แลวตอบคำถาม บทรอ ยกรองไดถ ูกตอง - แบบประเมินทกั ษะ - แบบประเมนิ คณุ ลักษณะ มฐ.ท ๑.๑(๒) การเขยี น ทีพ่ ึงประสงค อธิบายความหมาย ของคำ ประโยค และ - แบบประเมนิ ทกั ษะ - แบบประเมินคุณลกั ษณะ สำนวนจากเรอ่ื งทอี่ า น การพูด ทพ่ี งึ ประสงค มฐ.ท ๑.๑(๓) อานเรอ่ื งสน้ั ๆ ตามเวลา - แบบประเมนิ ทกั ษะ ท่กี ำหนดและตอบ การเขยี น คำถามจากเรอ่ื งท่อี าน มฐ.ท ๑.๑(๖) สรุปความรแู ละขอคดิ จากเร่ืองท่อี าน เพื่อนำ ไปใชในชวี ติ ประจำวนั เฉฉบลับย มฐ.ท ๒.๑ (๖) - ก. พฒั นาการคดิ * เขยี นบนั ทกึ และเขยี น ขอ ๒ การเขียน รายงานจากการศกึ ษา รายงานและพดู คนควา รายงาน มฐ.ท ๒.๑ (๘) มีมารยาทในการเขียน มฐ.ท ๓.๑ (๕) รายงานเร่ืองหรอื ประเดน็ ทีศ่ ึกษา คนควา จากการฟง การดู และการสนทนา มฐ.ท ๔.๑ (๑) - ก. พฒั นาการคดิ สะกดคำและบอก ขอ ๑ การคดิ และ ความหมายของคำ การเขยี นคำตาม ในบรบิ ทตางๆ หมวดหมทู กี่ ำหนด สวนที่ ๑ คะแนนจากการประเมินดานผลการเรยี นตามตวั ชว้ี ัด สว นที่ ๒ คะแนนจากการประเมนิ ตนเองของนกั เรยี น ผลงานกจิ กรรมบูรณาการฯ ทีน่ กั เรยี นปฏบิ ตั ิ ชอ่ื งาน การเขียนรายงานจากการคดิ ประดิษฐข องเลน สว นที่ ๓ คะแนนจากการทดสอบสมั ฤทธิผลประจำหนว ย การทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธป์ิ ระจำหนว ยท่ี ๑-๕ สรุปผลการประเมนิ พัฒนาการเรียนรปู ระจำหนวย ขอ เสนอแนะ ………………………………………………………….. ผาน ไมผ าน ………………………………………………………………………………. ระดับคณุ ภาพ ๔ ดีมาก ๓ ดี ๒ พอใช ๑ ควรปรบั ปรุง ➠ ซอ มเสริมแลว ➠ ผานเกณฑป ระเมนิ ลงช่ือ ………………………………………………………. ผปู ระเมิน …………….. / …………….. / ……………. ☞ หมายเหตุ ครูสามารถใชแบบบันทึกนี้เพื่อบันทึกผลการเรียนแตละหนวยของนักเรียนเปนรายบุคคล หรือบันทึกลงในแบบบันทึกอื่น ที่ครหู รือสถานศึกษาจัดทำขึ้นก็ได ๓๘ ÀÒÉÒä·Â ô

กการผันอกั ษรารผนั อกั ษร ๓หนว ยการเรียนรทู ี่ เปา หมายการเรียนรูป ระจำหนวยการเรียนรูท ี่ ๓ ¡¡ÒŒÒ--¡¡¡ÒŽ ‹ÒÒ-- ‹  Ž Œ¤Ò-¤¤ŒÒÒ‹ - เม่ือเรยี นจบหนวยน้ี ผูเรียนจะมคี วามรูความสามารถตอไปนี้ เฉฉบลับย ๑. อา นและเขยี นคำที่มีรปู และเสียงวรรณยุกตตา งๆ ไดถ ูกตอง ¢Ò-¢¢ÒŒ ‹Ò- ๒. อานออกเสยี งเร่ืองท่กี ำหนดไดถ ูกตอง ๓. บอกความหมายของคำ และตอบคำถามจากเร่ืองทีอ่ านได ๔. ตั้งคำถามและตอบคำถามจากเร่ืองท่อี า น ฟง และดู และสรุปสาระสำคัญของเรอื่ งได ๕. อา นเรื่องตางๆ อยางมมี ารยาท คุณภาพทพ่ี งึ ประสงคข องผูเรยี น ๑. อา นไดคลอ ง และอา นไดเรว็ ขน้ึ ๒. จบั ประเด็นสำคัญจากเรอ่ื งทีอ่ า น ฟง และดไู ด ๓. มีมารยาทในการอา น แผนผงั ความคดิ ประจำหนว ยการเรียนรูท่ี ๓ เรียนรหู ลักภาษา การผนั อักษร สาระ เบกิ ฟา วรรณกรรม การเรียนรู สุนทรภู กวีศรีรัตนโกสนิ ทร จดจำการใชภ าษา การตั้งคำถาม และการตอบคำถาม

ขอบขายสาระการเรียนรูแ กนกลาง รายวชิ า ภาษาไทย ช้ัน ป.๔ ตวั ช้ีวดั สาระพ้นื ฐาน ความรฝู งแนนติดตวั ผูเ รียน มฐ.ท ๑.๑ - วรรณกรรม เรื่อง สุนทรภู - วรรณกรรม เร่อื ง สุนทรภู ๑. อา นออกเสยี งบทรอยแกว กวีศรีรัตนโกสนิ ทร กวีศรรี ัตนโกสินทร เปน เรื่องราว เก่ยี วกบั ชวี ประวตั ิของสุนทรภู และบทรอยกรองไดถกู ตอ ง กวีเอกของไทย ๒. อธิบายความหมายของคำ ประโยค และสำนวนจากเรือ่ งทีอ่ า น ๓. อา นเร่อื งส้นั ๆ ตามเวลาท่กี ำหนด และตอบคำถามจากเรือ่ งทอี่ าน ๘. มีมารยาทในการอา น มฐ.ท ๓.๑ - การต้ังคำถามและตอบคำถาม - ในการอาน ฟง หรอื ดูเรือ่ งราวตางๆ ๒. พดู สรุปความจากการฟง และดู เราควรฝก ต้ังคำถามและตอบคำถาม ๔. ตงั้ คำถามและตอบคำถามเชิง เพ่ือเปน การทบทวนและสรุปความรู เหตุผลจากเร่อื งท่ฟี งและดู มฐ.ท ๔.๑ - การผันอักษร - การผนั อักษร เปน การเปล่ยี นเสียง ๑. สะกดคำ และบอกความหมาย ของคำใหสงู -ตำ่ ไปตามรปู วรรณยุกต ทีก่ ำกับอยู เฉลยฉบับ ของคำในบรบิ ทตางๆ ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ¡‹ ÒÃàÃÕ¹ ระบายสฟี องอากาศตามทกี่ ำหนด สแี ดง = คำทม่ี เี สยี งวรรณยกุ ตส ามญั = ด สเี ขยี ว = คำทมี่ เี สยี งวรรณยกุ ตเ อก = ข สฟี า = คำทมี่ เี สยี งวรรณยกุ ตโ ท = ฟ สสี ม = คำทมี่ เี สยี งวรรณยกุ ตต รี = ส สชี มพู = คำทม่ี เี สยี งวรรณยกุ ตจ ตั วา = ช ส ด ข ดส ฟ ชามเปล ส นอ ง ชา งนอ ย ปลาทู หนุ ตน กลา เกยี๊ วนำ้ ฟ ช ลอ ง กว ยเตย๋ี ว ฟ ด ส ช ชข นนุ ลำไย นำ้ รอ น ขงิ หมขี าว ประดู ฟ ช ด ส ข เกา อ้ี ขาขวา เรยี นดี ทงิ้ แลว อา นขา ว ๔๐ ÀÒÉÒä·Â ô

เรียนรูหลักภาษา การผันอักษร ¡ÒÃà»ÅÂÕè ¹àÊÂÕ §¢Í§¤Ó áŌǷÓãˤŒ ÇÒÁËÁÒ ¢Í§¤Óà»ÅèÂÕ ¹ä» àÃÂÕ ¡ÇÒ‹ ÍÐäùРã¤ÃÃÙŒºŒÒ§àÍ‹Â การผนั อกั ษร คือ การเปล่ยี นเสียงของคำใหส งู -ต่ำ ไปตามรปู วรรณยุกต ทกี่ ำกบั อยู ซ่งึ การเปล่ยี นเสียงจะทำใหความหมายของคำเปลย่ี นไป เชน ปา ปา ปา ปา ปา ซดั ไปดวยอาการ ทท่ี ่ีมตี น ไมต า งๆ พ่สี าวของ คำเรียกแทน คำเรียกแทน ยกแขนข้นึ สูง ขนึ้ มาก พอหรอื แม คำวาพอ คำวา พอ แลว เอ้ยี วตัว เฉฉบลับย กอ นเรียนการผนั อักษร ตองเรียนรแู ละทำความเขา ใจความหมายของคำ ตอ ไปนก้ี อน คือ ๑. ไตรยางศ เปนการแบง หมูเสยี งพยญั ชนะออกเปน ๓ หมู ไดแ ก อักษรสงู อกั ษรกลาง อกั ษรตำ่ มี ๑๑ ตัว มี ๙ ตวั มี ๒๔ ตัว ขฃฉฐถ กจฎฏด ค ฅฆง ช ผฝศษส ตบปอ ซฌญฑฒ ห ณท ธ นพ ฟภมย ร ลวฬฮ ÀÒÉÒä·Â ô ๔๑

๒. คำเปน คำตาย คำเปน มลี กั ษณะ ดงั นี้ ๑. คำทป่ี ระสมสระเสียงยาวและไมม ีตัวสะกด เชน มา รู โต ๒. คำท่ีมตี วั สะกดในมาตราแมกง กน กม เกย เกอว โดยประสม สระเสยี งสน้ั หรอื ยาวก็ได เชน นาง กิน ปม นาย หวิ ๓. คำทป่ี ระสมกบั สระ -ำ ไ- ใ- เ-า เพราะมีเสยี งเหมือนสะกดดวย มาตราแมก ม เกย และเกอว เชน ใจ ดำ ไหล คำตาย มีลกั ษณะ ดงั นี้ ๑. คำทป่ี ระสมสระเสยี งสั้นและไมมตี ัวสะกด เชน ปะ ติ ฉุ ๒. คำท่ีมตี ัวสะกดในมาตราแมก ก กด กบ โดยประสมสระเสียงส้นั หรือยาวก็ได เชน นก มดี รับ ฝาก เฉฉบลับย คำเปนเปนเชนอยา งนี้ สระยาว อา อี อู เอ อือ แอ อัว เออ แมกง กน กม นะเธอ สะกดอยาเผลอ สระยาวส้นั ยอ มได อำ ใอ ไอ เอา ก็ใช จดจำใสใจ คอื คำเปนแทแนนอน คำตายจำไวเ นอ้ื ออน เสยี งส้ันสงั วร อะ อิ อุ เอะ เอาะ แอะ แมกก กด กบ น่นั แหละ ครขู อชีแ้ นะ คำตายหมายจดหมายจำ ๓. คำพ้ืนเสยี ง หมายถงึ คำที่ไมม ีรูปวรรณยุกต (แตมเี สียงวรรณยกุ ต) เชน นก เปา เสอื ขาว ราย เปนตน ๔๒ ÀÒÉÒä·Â ô

¤ÃÒǹéÕàÃÒÁÒàÃÕ¹ÌÙÇ¸Ô Õ¡Òü¹Ñ Í¡Ñ Éáѹ¹Ð¤ÃѺ การผนั วรรณยุกตก บั อกั ษรกลาง อกั ษรกลางคำเปน พนื้ เสยี งเปน เสียงสามญั เชน กา จน เตย กลอง ผนั ดวย ไมเ อก เปน เสียง เอก เชน กา จน เตย กลอง ผนั ดว ย ไมโท เปน เสียง โท เชน กา จน เตย กลอ ง ผนั ดว ย ไมต รี เปน เสยี ง ตรี เชน กา จน เตย กลอ ง ผนั ดวย ไมจตั วา เปน เสียง จัตวา เชน กา จน เตย กลอ ง จะเห็นวา อักษรกลางคำเปน ผันไดครบ ๕ เสียง และเสียงกับ รปู วรรณยุกตต รงกัน เฉฉบลับย อักษรกลางคำตาย พ้ืนเสยี งเปนเสยี งเอก เชน ปะ กาก จด โบก ผันดว ย ไมโท เปน เสยี ง โท เชน ปะ กาก จด โบก ผันดวย ไมต รี เปน เสียง ตรี เชน ปะ กา ก จด โบก ผันดวย ไมจตั วา เปนเสียง จัตวา เชน ปะ กา ก จด โบก การผันวรรณยุกตกับอกั ษรต่ำ เชน คา ซน วาว เชย อักษรต่ำคำเปน เชน คา ซน วา ว เชย พื้นเสียงเปนเสียงสามัญ เชน คา ซน วาว เชย ผนั ดวย ไมเ อก เปน เสียง โท ผนั ดว ย ไมโท เปน เสยี ง ตรี จะเหน็ วา อกั ษรตำ่ คำเปน ผนั ไดเพียง ๓ เสียง คอื สามัญ โท และตรี ÀÒÉÒä·Â ô ๔๓

อักษรต่ำคำตาย สระเสียงส้นั พื้นเสยี งเปน เสียงตรี เชน คะ นัด รัก ผนั ดวย ไมเอก เปนเสยี ง โท เชน คะ นัด่ ร่กั สระเสียงยาว พืน้ เสยี งเปน เสียงโท เชน มาก เชติ โนต ผนั ดวย ไมโท เปน เสยี ง ตรี เชน มา ก เช้ิต โนต จะเห็นวา อักษรต่ำคำตาย ผนั ไดเพยี ง ๒ เสียง คอื โท และตรี การผนั วรรณยกุ ตกับอกั ษรสงู เฉฉบลับย อักษรสูงคำเปน เชน ขา ผง เขย พ้นื เสียงเปน เสียงจตั วา ผันดวย ไมเ อก เปน เสยี ง เอก เชน ขา ผง เขย ผันดวย ไมโท เปน เสยี ง โท เชน ขา ผง เขย อกั ษรสูงคำตาย พน้ื เสียงเปน เสียงเอก เชน สะ ฝาก ขดู ผันดว ย ไมโท เปนเสยี ง โท แตคำทีผ่ ันไดไมม ีใช หรอื ไมม ีความหมาย จึงมิไดแสดงไว อักษรคู อักษรเด่ยี ว อักษรต่ำ ๒๔ ตัว แบงออกเปน ๒ พวก คือ ๑. อกั ษรคู คอื อักษรตำ่ ทม่ี อี กั ษรสูงเปนคู มี ๑๔ ตวั ไดแก ค ฅ ฆ ช ซ ฌ ฑ ฒ ท ธ พ ฟ ภ ฮ จับคูกับอักษรสูงได ๗ คู ดังน้ี ๔๔ ÀÒÉÒä·Â ô

ค ฅ ฆ คูกับ ขฃ àÃÒ໚¹¤¡‹Ù ѹ¨ÐŒ ช ฌ คกู บั ฉ ซ คกู บั ศษส ฑ ฒ ท ธ คกู ับ ฐถ พ ภ คูกับ ผ ฟ คูกบั ฝ ฮ คูกบั ห อักษรคูเหลาน้ี เมื่อนำอักษรสูงท่ีเปนคูมาผันรวมกันระหวางคูของตน จะผนั วรรณยกุ ตไดครบท้งั ๕ เสยี ง เชน สามญั เอก โท ตรี จัตวา คา ขา คา คา ขา เฉฉบลับย ขา ชา ฉา ฉา ชา ฉา ชา ๒. อักษรเด่ียว คือ พยัญชนะที่ไมมีอักษรสูงเปนคู มี ๑๐ ตัว ไดแก ง ญ ณ น ม ย ร ล ว ฬ หากตอ งการจะผันใหค รบทัง้ ๕ เสียง ตองใช ห นำ เชน สามญั เอก โท ตรี จตั วา งอ หงอ งอ งอ หงอ หงอ มอ หมอ มอ มอ หมอ หมอ ÀÒÉÒä·Â ô ๔๕

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ·Õè ñ ๑. เขยี นชอ่ื ตนเองและเพอ่ื นลงในสมุด แลววิเคราะหค ำอา นของแตละพยางค วาเปนคำเปน หรอื คำตาย ข้ึนอยกู บั ดลุ ยพินิจของผูสอน ๒. ผนั เสียงวรรณยุกตข องคำทกี่ ำหนดใหครบ ๕ เสียง แลวเขยี นลงในชอ งวาง คำ เสยี งวรรณยุกต จตั วา สามัญ เอก โท ตรี ๑) ไก ไก ไก ไก ไก ไก...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... คา ขา ขา / คา คา ขา...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ๒) คา ฮวง หว ง ฮวง / หว ง ฮว ง หวง...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ๓) หวง ๔) ฆอ ง ฆอง ขอ ง ของ / ฆอ ง ฆอง ของ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... เงา เหงา เงา / เหงา เงา เหงา...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ๕) เหงา เฉฉบลับย ๓. คดิ แลวเตมิ คำคูท ี่ประสมดวยพยัญชนะเดียวกัน เสยี งวรรณยุกตเหมือนกนั แตตา งสระกนั แลว เขยี นบอกรูปและเสยี งวรรณยุกต (ตัวอยาง) สระท่กี ำหนด คำ รปู วรรณยกุ ต เสยี งวรรณยุกต ๑) อู- อี คน จูจ ี้................................... โท................................................... โท................................................... ๒) ออ- แอ แกง ฉฉู ี่................................ เอก................................................... เอก................................................... ๓) โอ- เอ ผคู น จอแจ.............................. -................................................... สามญั................................................... ๔) อึ- อะ เสยี ง ออแอ............................. โท................................................... โท................................................... ๕) อุ- อิ อยามัว โอเอ....................... โท................................................... โท................................................... กระทอม โยเ ย................... โท................................................... ตรี................................................... พูด อกึ อัก................................... -................................................... เอก................................................... ทาทาง คกึ คัก....................... -................................................... ตรี................................................... ทำ งุบงบิ.................................... -................................................... ตรี................................................... หมอ บุบบิบ.............................. -................................................... เอก................................................... ๔๖ ÀÒÉÒä·Â ô

เบกิ ฟาวรรณกรรม สุนทรภู กวีศรีรัตนโกสินทร บายวันหน่ึงขณะท่ีเด็กนักเรียนชั้น ป. ๔/๑ กำลังเรียนภาษาไทยอยู อากาศรอ นอบอาวเหมือนฝนจะตก เดก็ ๆ หลายคนนัง่ หาว คณุ ครทู ฆิ มั พรเหน็ เด็กๆ มีทาทางเบื่อและงวง จึงบอกเด็กนักเรียนวา ชวงนี้ใกลจะถึงวันสุนทรภู ซึ่งตรงกบั วนั ท่ี ๒๖ มิถุนายนแลว จากนนั้ คณุ ครูกช็ กั ชวนใหเดก็ ๆ คดิ วางแผน วา จะทำอะไรบางเพือ่ เปนการรำลกึ ถงึ สุนทรภกู วเี อกของไทย เด็กๆ รูสึกหายงวงทันที ทุกคนตางชวยกันคิด และบอกคุณครูวาอยาก ทำอะไรบาง ระหวางท่ีเพ่ือนๆ กำลังชวยกันระดมความคิดอยูน้ัน กองภพ กแ็ อบสะกิดแลว เรยี กเดด็ เดย่ี วเบาๆ à»Å‹ÒËÃÍ¡ Âѧ¤Ô´äÁ‹ÍÍ¡ เฉฉบลับย à´èÂÕ Çæ ÍÐäÃàËÃÍ¡ÍŒ § ËÃÍ¡ àÃÒ处 äÁ‹ÃŒÙàÅÂÇÒ‹ ¤´Ô ÍÐäÃä´ŒàËÃÍ ÍŒÒÇ! Ê¹Ø ·ÃÀÙ‹¡ç¤¹·Õáè µ§‹ àÃèÍ× § Ê¹Ø ·ÃÀ‹àÙ »š¹ã¤Ã ¾ÃÐÍÀÂÑ Á³Õ ÍÂÒ‹ §äÃÅ‹Ð เด็ดเด่ียวเห็นวากองภพยังไมรูจักสุนทรภู เลยไดความคิดวา ควรจัดทำ ปายนิเทศแสดงชีวประวัติของสุนทรภูใหเพ่ือนๆ คนอื่นท่ียังไมรูจักสุนทรภูได อาน เด็ดเด่ียวจงึ เสนอคณุ ครทู ฆิ มั พร ซึง่ คุณครกู เ็ ห็นดวย และนอกจากจะจัดทำ ปายนิเทศแสดงชีวประวัติของสุนทรภูแลว เด็กๆ หอง ป. ๔/๑ ยังตกลงกันวา จะแสดงบทบาทสมมตุ ิเรอื่ งพระอภัยมณอี กี อยา งหนงึ่ ดวย ÀÒÉÒä·Â ô ๔๗

ระยะน้ี เด็ดเดี่ยว กองภพ ไพลนิ และเชงิ ขวัญ ตางขะมักเขมน กบั การ คนหาขอ มลู ชวี ประวตั ขิ องสนุ ทรภอู ยูท ่หี องสมุด เพราะทงั้ สี่เปน ฝายหาขอมูล à¨ÍáÅÇŒ æ ¹èäÕ § ˹§Ñ Ê×Í àÃÒÁÒª‹Ç¡¹Ñ ªÕÇ»ÃÐÇµÑ Ô¢Í§Êع·ÃÀÙ‹ ÊÃ»Ø ¤ÇÒÁáŒÙ ѹ¹Ð àÍÒÊÔ แลว เดก็ ทัง้ สี่ก็ชวยกันสรุปชวี ประวตั ิของสุนทรภูได ดงั น้ี สุนทรภู (พระสุนทรโวหาร) สุนทรภเู กดิ เมอ่ื วันจนั ทรที่ ๒๖ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๓๒๙ บดิ ากับมารดาของสนุ ทรภู เฉฉบลับย ไดแยกทางกันตั้งแตสุนทรภูยังเล็ก บิดาไดไปบวชที่บานกร่ำ อำเภอแกลง จังหวัดระยอง สว นสุนทรภอู ยูก บั มารดา ซงึ่ ไดถวายตวั เปนขาในกรมพระราชวังหลัง สุนทรภูเรียนหนังสือท่ีวัดชีปะขาว (ศรีสุดาราม) ริมคลองบางกอกนอย รูหนังสือ จนทำงานเปนเสมียนได สุนทรภูมีนิสัยเปนคนเจาบทเจากลอนแตครั้งเรียนหนังสือ เมื่อ โตขึ้นไปชอบพอกับหญิงในวังหลังท่ีช่ือจัน (บางครั้งเขียน จันทร) จนถูกกร้ิว ตองโทษ จองจำ แตติดอยูไมนาน เพราะกรมพระราชวังหลังทิวงคต ขณะนั้นสุนทรภูอายุ ๒๑ ป จึงไดเ ดินทางไปหาบิดาท่เี มอื งแกลง และไดเ ขียนนิราศเรอื่ งแรก คอื นริ าศเมืองแกลง ๔๘ ÀÒÉÒä·Â ô

ในสมัยรัชกาลท่ี ๒ สุนทรภูไดรับราชการเปนอาลักษณและเปนที่โปรดปรานของ เฉฉบลับย รัชกาลท่ี ๒ มาก จึงเปน ระยะท่สี นุ ทรภูมีชีวิตรุงโรจนมากท่สี ุด แตพ อถึงรชั กาลท่ี ๓ ชีวิต ของสุนทรภูก็ตกอับจนตองออกบวช ซ่ึงในขณะท่ีบวชนี้ สุนทรภูไดเดินทางไปนมัสการ เจดียภูเขาทอง ไปหาลายแทงยาอายุวัฒนะท่ีวัดเจาฟาอากาศนารถนรินทร และไปหาแร ทองคำท่จี ังหวัดสพุ รรณบรุ ี ซ่ึงทง้ั ๓ แหงนี้ สุนทรภูไดเ ขียนนริ าศพรรณนาการเดินทางไว ดวย ชีวิตของสุนทรภูเริ่มมารุงเรืองอีกคร้ังในสมัยรัชกาลท่ี ๔ เมื่อกรมขุนอิศเรศรังสรรค ไดเฉลมิ พระยศเปนพระบาทสมเด็จพระปนเกลา เจาอยูหัว และโปรดเกลา ฯ ใหส นุ ทรภูเปน เจา กรมอาลักษณ มีบรรดาศกั ดิเ์ ปนพระสุนทรโวหาร สุนทรภูไดสรางผลงานท่ีประพันธดวยกลอนแปดไว หลายเรื่อง เชน พระอภัยมณี โคบุตร ลักษณวงศ จนคน รนุ หลังยกยองใหท า นเปน “เอกในดานกลอนแปด” พระอภัยมณี เปน นิทานคำกลอนท่มี คี วามยาวมากเรือ่ ง หนึ่ง สุนทรภูไดแตงข้ึนตามจินตนาการ และประสบการณของ ตนเอง มที งั้ เร่ืองท่ีเกี่ยวกับความรกั การผจญภยั เคราะหก รรม มีท้ังเรื่องแปลกประหลาดนาพิศวง สถานที่ และเวลาหางไกล จากความเปนจริงในชีวิตปจจุบัน ซ่ึงสันนิษฐานวาสุนทรภูเร่ิม แตง เรื่องน้ขี ณะตองโทษจำคกุ ในสมยั รัชกาลที่ ๒ ตวั อยาง เรื่อง พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณเี ปา ปห ามทพั ฝา ยองคพระอภัยตกใจวบั เห็นศึกกลับโอบออมเขาลอ มหลัง ขางพวกเขาเผาเรอื เหลือกำลงั ฝายฝรงั่ รบรุกมาทกุ ที ดูทัพหนา ขวาซายหายไปหมด เขาลอมรถทรงไวมิใหหนี ตกพระทยั ในอารมณไมสมประดี จึงทรงเปาปหา มปรามณรงค วิเวกหวีดกรดี เสียงสำเนียงสนนั่ คนขย้นั ยนื ขงึ ตะลงึ หลง ใหห ววิ วาบซาบทรวงตางงว งงง ลมื ณรงคร บสเู ง่ียหฟู ง พระโหยหวนครวญเพลงวงั เวงจิต ใหค นคดิ ถึงถน่ิ ถวลิ หวัง วา จากเรือนเหมอื นนกมาจากรงั อยูขา งหลงั กจ็ ะแลชะแงค อย ถึงยามค่ำย่ำฆอ งจะรอ งไห ร่ำพไิ รรัญจวนหวนละหอย โอย ามดกึ ดาวเคลอ่ื นเดอื นกค็ ลอ ย น้ำคางยอ ยเยน็ ฉำ่ ทอ่ี ัมพร ÀÒÉÒä·Â ô ๔๙

หนาวอารมณลมเรื่อยเฉอ่ื ยเฉือ่ ยช่นื ระรวยร่นื รนิ รินกลนิ่ เกสร แสนสงสารบานเรอื นเพอื่ นทน่ี อน จะอาวรณอา งวา งอยวู งั เวง วเิ วกแวว แจว เสยี งสำเนียงป พวกโยธที ง้ิ ทวนชนวนเขนง ลงนัง่ โยกโงกหงับทบั กนั เอง เสนาะเพลงเพลินหลบั ระงับไป จังหรดี หร่งิ สิงสตั วส งัดเงียบ เยน็ ยะเยยี บหยอมหญาพฤกษาไสว น้ำคา งพรมลมสงัดไมกวัดไกว ทงั้ เพลิงไฟโซมซาบไมวาบวู ฯ พระอภัยมณีเปน เรอ่ื งทีอ่ านสนุกและเพลิดเพลนิ มกี ารพรรณนาบทตา งๆ ไวอ ยาง ไพเราะ เชน บทชมโฉม บทชมปา บทชมเมือง บทรัก และบทตัดพอตอวา เปนตน นอกจากนั้นยังมภี าษติ เตอื นใจในการดำเนินชวี ติ อกี มาก ผลงานของสุนทรภูไดนำไปแปลเปนภาษาตางประเทศมากมายจนแพรหลายไป ทั่วโลก องคการศึกษาวิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ (ยูเนสโก) จึงได ประกาศเกียรติคุณยกยอ งทา นเปนกวีเอกของโลก เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๙ รัฐบาลไทยจึงไดสรางอนุสาวรียสุนทรภูขึ้นเพื่อเปนเกียรติแกทานท่ีตำบลบานกร่ำ เฉฉบลับย อำเภอแกลง จังหวัดระยอง เด็กท้ังส่ีรูสึกภาคภูมิใจท่ีบรรพบุรุษไทยมีช่ือเสียงขจรขจายไปท่ัวโลก เด็ดเดี่ยว กองภพ ไพลิน และเชิงขวัญ จึงตั้งใจท่ีจะทำปายนิเทศแสดง ชวี ประวัตขิ องสุนทรภูใหด ที ส่ี ดุ เพือ่ ทเ่ี ดก็ ไทยคนอน่ื ๆ จะไดร ูจ ักสุนทรภเู หมอื น อยางทพ่ี วกเขาทั้งสี่คนรจู ัก ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ·Õè ò ๑. ตจฝ๑๒รำออ)ก)ลงบอนนกึจคา กักัำนำเเถอรราอยียี มนนกทรจเรคะิวสาจูดดิ งยีกกัมวคงเผาครตจล่อืวนสงางอนุามทานทคอ่ีนวนรดิา ไรภิรนดขราูมน้ึณคศดีคอลคังวยอนดาูกชงเีมี้ับรีวแสอ่ืดปลำงุลรลคะอะยาหญัวนื่พยตัาๆนิตแคิ อทจิ วขปขงาออมรงงะหสผเเทมูสุนจยาศาอทายบนไรอทขทภาอยเหูยจองุวราคยฒัอืกำาไลนวงมาอไะรนอะไรบการงวิ้ ๒. ๕๐ ÀÒÉÒä·Â ô

จดจำการใชภ าษา การตั้งคำถามและตอบคำถาม àÁÍè× àÃÒÍ‹Ò¹ ¿§˜ ËÃÍ× ´ÙàÃ×Íè §ÃÒǨҡáËŧ‹ ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃÙµŒ Ò‹ §æ áÅŒÇ àÃÒ¤Ç÷ÓÍÂÒ‹ §äõ͋ à¾×Íè ·¨Õè Ðä´ÃŒ Ѻ¤ÇÒÁÃÊŒÙ Ù§Ê´Ø ในการอาน ฟง หรือดูเรื่องราวความรูตางๆ เราควรฝกต้ังคำถามและ ตอบคำถามจากเร่ืองที่อาน ฟง หรือดู เพื่อใหไดรับความรูสูงสุด และได ทบทวนความรูดวย การตง้ั คำถาม ควรมคี ำทแ่ี สดงการถามใหชดั เจน ไดแ ก ใคร เฉฉบลับย ทำอะไร ที่ไหน ÊÓËÃѺ¡Òõͺ¤Ó¶ÒÁ àÃÒ¤Çõͺã˵Œ ç»ÃÐà´ç¹ áÅÐ䴌㨤ÇÒÁ¹Ð¤ÃѺ อยางไร เม่อื ใด ทำไม เชน เชิงขวัญ และไพลินไปคนควาชีวประวัติของสุนทรภูจากหนังสือ ในหองสมุดไดขอมูลมามากมาย เด็กทั้งคูจึงต้ังคำถามและตอบคำถามจาก ชวี ประวัตขิ องสนุ ทรภู เพอ่ื จะไดนำขอ มลู ท่ีไดไปเขียนสรุปแลวทำรายงานตอไป ÀÒÉÒä·Â ô ๕๑

ตัวอยา ง การตง้ั คำถาม และการตอบคำถามจากชวี ประวตั ิของสนุ ทรภู : สุนทรภูเ กิดเมือ่ ใด : สนุ ทรภู เกิดเม่ือวันจันทร เดือน ๘ ข้นึ ๑ คำ่ ปม ะเมีย ตรงกับวันท่ี ๒๖ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๓๒๙ : สนุ ทรภูเรียนหนังสือจากท่ีใด : สุนทรภเู รียนหนงั สือท่วี ดั ชปี ะขาว (ศรสี ุดาราม) รมิ คลองบางกอกนอย : ชวี ติ คูข องสุนทรภเู ปน อยา งไรบา ง : สุนทรภูรักใครชอบพอกับสาวชาววังช่อื จนั กรมพระราชวังหลงั จึงสั่งให จองจำ ครัน้ พน โทษจึงไดแ ตง งานกัน มีบตุ รชายสองคน แตต อ มาสุนทรภู และภรรยาก็เลิกรากันไป เฉฉบลับย : สนุ ทรภูทำงานอะไรบาง : แรกเรม่ิ ทเี ดียว สนุ ทรภทู ำงานเปน เสมียน แตไมน านกล็ าออก เพราะชอบ ทางดานการแตงกลอนมากกวา ตอมาจงึ ไดเขา รบั ราชการกบั พระบาทสมเด็จ พระพุทธเลศิ หลานภาลัย เปน ท่ีโปรดปรานมาก แตพ อส้นิ รัชกาลที่ ๒ สุนทรภกู ็ออกจากราชการ เพราะไมเ ปน ที่โปรดปรานของพระบาทสมเด็จ พระน่ังเกลาเจาอยหู ัว จากนัน้ จงึ ไปบวชและแตงวรรณคดีเรื่อยไป กอ นจะ กลบั เขารบั ราชการอีกครง้ั ในสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจา อยหู ัว เปน เจากรมอาลกั ษณ มีบรรดาศักดิเ์ ปน พระสุนทรโวหาร โดยรับราชการ เปน เวลา ๕ ป กถ็ งึ แกก รรมเมอ่ื พ.ศ. ๒๓๙๘ : ผลงานของสุนทรภมู ีอะไรบา ง : สุนทรภมู ีผลงานหลายเรือ่ ง และหลายประเภท เชน นิราศบทเหก ลอม บทละคร บทเสภา และนทิ าน ซง่ึ ผลงานทีม่ ชี ่อื เสยี งมากท่สี ดุ คอื นทิ าน คำกลอน เรือ่ ง พระอภยั มณี ๕๒ ÀÒÉÒä·Â ô

เม่ือตั้งคำถามและตอบคำถามจากเรื่องท่ีอาน ฟง หรือดูแลว ควรสรุป สาระสำคัญของเรื่องดังกลาว คือนำความคิดหลัก หรือประเด็นสำคัญของเร่ือง มากลาวใหไดใจความที่กระชับ ชัดเจน โดยเรียบเรียงขอมูลจากคำถามและ คำตอบท่ีได ซึ่งอาจจะเพิ่มเติมสาระสำคัญบางประการเขาไปดวยก็ได เพ่ือให เนือ้ หาทส่ี รปุ มีความสมบูรณมากยิ่งขึน้ ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹Ì٠·Õè ó จับคูกับเพอื่ น แลว ฝกตั้งคำถาม และตอบคำถามจากเร่ืองที่ฟง อา น และดู จากนน้ั ชว ยกันสรปุ สาระสำคัญของเรอื่ ง แลวนำเสนอผลงานทหี่ นา ชนั้ เรยี น ขึ้นอยูก ับดุลยพนิ ิจของผสู อน กอนออกจากหองสมุด ไพลินไดยินเด็กนักเรียนชั้น ป. ๒ กลุมหนึ่ง เฉฉบลับย กำลังคุยกันเสียงดัง ไพลินจึงชวนเชิงขวัญไปหาเด็กกลุมน้ัน แลวพูดกับเด็ก กลุมน้ันดวยถอยคำท่ีสุภาพ ¾Ç¡¹ŒÍ§æ ¡ÓÅ§Ñ ¤ÂØ ¡¹Ñ Ã¡Ñ ´¡áÕÒÅÃÍÇŒ ¤Ò‹ ¹‹Ð ·áèÕ¹µ‹¹ÍŒ §ÍŒ æ§æʹäÁ㤋¨Çà ËÃÍ× ¤Ð ·Ò‹ ·Ò§¹Ò‹ ʹء Ê‹§àÊÕ§´Ñ§ã¹ËŒÍ§ÊÁ´Ø ¹Ð¤Ð ¾Ç¡àÃÒ¡ÓÅѧ͋ҹ¹Ô·Ò¹ ÍŒÒÇ! ·ÓäÁŋФоÕè ¡Ñ¹¤ÃºÑ ¾èÕ áÅŒÇàÃÒ¡ç¢ÓµÑÇÊµÑ Ç ã¹¹Ô·Ò¹¡¹Ñ ÀÒÉÒä·Â ô ๕๓

หองสมุด เปนแหลงรวบรวมความรูและวิทยาการตางๆ โดยมีเจาหนาที่ หรือบรรณารักษเปนผูดูแล และจัดบริการใหแกผูใชหองสมุดโดยไมจำกัดวา เปนใครคนใดคนหน่ึง เราจึงควรมีความเกรงใจผูใชคนอื่นๆ ดวย ซึ่งขอควร ปฏิบัติในการใชหองสมุด มีดังนี้ ๑. แตง กายสุภาพเรียบรอ ย ๒. ไมค ุยหรือสง เสียงดงั รบกวนผอู ่ืนทีก่ ำลงั อา นหรือคน ควาขอ มลู อยู ๓. ไมน ำอาหารหรอื เคร่อื งดมื่ มารับประทานในหองสมดุ ๔. ใชหนงั สอื อยา งถูกวธิ ี เชน ไมขีดเขียนลงในหนงั สอื ไมต ดั หรือฉกี หนังสือ แตค วรคดั ลอกหรือถายสำเนาแทน และไมควรพับหนงั สอื ๕. ผทู ี่ไมมีบตั รสมาชกิ หอ งสมดุ จะยมื หนังสือจากหองสมุดไมได สวนผูท ี่มบี ัตรสมาชกิ หอ งสมุด สามารถยมื หนงั สือจากหองสมดุ ได ตามจำนวนเลม และสงคืนตามเวลาท่หี องสมุดนน้ั กำหนดไว เฉฉบลับย ๖. ขณะทผี่ ูอ นื่ อา นหนงั สอื อยู ไมควรยนื่ หนา เขา ไปอานดวย เพราะ จดั วาไมม มี ารยาทในการอา น ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹Ì٠·Õè ô คนควาขอมูลเร่ือง การผันอักษร หรือชีวประวัติของสุนทรภู เพ่ิมเติมจากหองสมุด จากน้นั เขยี นบอกวธิ กี ารคน ควา และเขยี นสรุปความรทู ่คี น ควา ไดลงในสมุด แลว นำเสนอ ผลงานท่หี นาช้นั เรียน ขึน้ อยูก ับดลุ ยพินิจของผสู อน ๕๔ ÀÒÉÒä·Â ô

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒäԴ ๑. อานประโยค แลววเิ คราะหวาคำที่พิมพตัวหนาเขียนถกู หรือไม ถาถูกใหขดี ✓ แตถาผิดใหกา ✗ ท่ีหนา ประโยค และเขยี นคำทถี่ ูกตอ งไวทายประโยค มฐ./ตวั ช้วี ดั ท4.1 (1) ❑ ๑) พอสวมเสือ้ เชต้ิ ไปทำงาน✓ ......................................................... ❑✗ ๒) นอ งไปซื้อนำ้ มนั กา ดที่ตลาด นำ้ มันกาด......................................................... ❑ ๓) เรารสู กึ ซาบซ้ึงเมอ่ื ฟง เพลงรกั✓ ......................................................... ❑✗ ๔) ครเู ขยี นโนต เพลงบนกระดานดำ โนตเพลง......................................................... ❑ ๕) ฉันใชแฟบซักผา เปนประจำ แฟบ✗ ......................................................... ❑ ๖) พอชอบกินขาวกบั เตาหูย้ี✓ ......................................................... ❑ ๗) “แมขา หนปู วดทอ งคะ ” แมข า✗ ......................................................... ❑✗ ๘) “อยามาจจู ี้ จุก จิกกวนใจฉนั นะ” จูจ ี้ จกุ จกิ......................................................... ฉบับ ❑ เฉลย✓ ๙) คนงานปาดเหงอ่ื แลวปด เสน ผมทป่ี รกหนา ......................................................... ❑✓ ๑๐) ฝูงผึ้งบินมาดูดน้ำหวานจากเกสรดอกไม ......................................................... ๒. อา นหนงั สือเรือ่ งท่สี นใจอยางมีมารยาทในการอาน หรือดรู ายการโทรทัศนทส่ี นใจ แลวฝก ตั้งคำถามและตอบคำถาม จากน้ันสรปุ สาระสำคัญของเรอื่ ง มททฐ33./..ต11ัวช((42ี้ว))ดั ขึ้นอยูกบั ดลุ ยพนิ จิ ของผูสอน ¡Ô¨¡ÃÃÁºÙóҡÒÃÊÃÒŒ §ÊÃä คิดปริศนาคำทายวรรณยุกต โดยเอาคำตอบเปนตัวต้ัง แลวจึงคิดคำทาย แลวรวบรวม เปน เลมสำหรับทายกับเพือ่ นๆ เชน คำตอบคอื นา นา นา คำทายคือ ๑) พน้ื ท่ีสำหรับปลูกขาว เรยี กวาอะไรเอย (นา) ๒) ทำให, ชวนให, อยากจะ คอื คำวาอะไรเอย (นา) ๓) นองของแม เรียกวา อะไรเอย (นา) ÀÒÉÒä·Â ô ๕๕

แบบทดสอบท่ี ๓ กา ✗ คำตอบท่ถี ูกท่สี ดุ ขอ ๑-๓ ขอใดเปนคำเปน ๗. ขอ ใดเขยี นถูกตอง ก. งอคง ข. ไปนะคะ ๑. ✗ก. กิน ข. กรอบ ง. เกะกะ ✗ค. ฮา ดเชย ง. คอนขอด ค. กัด ๘. เส้ือเช้ิต มีรูปและเสยี ง ๒. ก. ปด ข. ปรบ วรรณยุกตใด ง. ปรอท ก. รปู และเสียงวรรณยุกต โท/โท ✗ค. ปม ข. รปู วรรณยุกต โท/โท เสียงวรรณยุกต ตร/ี ตรี ๓. ก. นาค บกุ ค. รปู วรรณยุกต โท/โท เสยี งวรรณยกุ ต ตรี/โท ✗ข. ลำไย หวิ เฉฉบลับย ค. ประกาศ รบั ✗ง. รปู วรรณยกุ ต โท/โท ง. อพยพ โอด เสียงวรรณยุกต โท/ตรี ๙. เขี้ยว มีเสยี งวรรณยกุ ตต รงกบั ขอ ๔-๖ ขอ ใดเปน คำตาย คำใด ๔. ก. นาน ข. นิ่ง ✗ก. เค่ียว ข. เลยี้ ว ค. นุย ✗ง. นก ๕. ก. มัว ✗ข. มัด ค. เกยี่ ว ง. เปล่ียว ๑๐. ขอใดมเี สียงวรรณยกุ ต ค. แมว ง. ทำไม ตางจากพวก ๖. ✗ก. ลูบ โบกรถ ก. เจบ็ ปวด ✗ข. ลำคลอง ข. สงั สรรค ใจดี ค. กลางวัน ใบเตย ค. อดอยาก ง เกา ใหม ง. นมนาน ธรรมดา ÀÒÉÒä·Â ô ๕๖

๒ตาราง ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒÃàÃÕ¹»ÃШÓ˹Nj  รายการวดั ประเมนิ ผลตามเปา หมายการเรยี นรู ประจำหนวยท่ี ๓ คำชีแ้ จง : ๑. ครกู ำหนดคะแนนเต็มของกจิ กรรมที่ตอ งการวดั ผลเพื่อเกบ็ สะสม ๒. ครนู ำคะแนนจากการวดั ผลดา นความรู (K) / ทกั ษะกระบวนการ (P) / คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค (A) ของนักเรยี น แตล ะคนกรอกลงในตาราง และสรปุ ผลการประเมิน ๓. ชนิ้ งานทมี่ เี ครอื่ งหมาย * กำกบั ใหใ ชป ระกอบการประเมนิ การอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี นสอ่ื ความ รายการประเมนิ คะแนนรวมดาน รายการเครื่องมือวดั และประเมินผลการเรียนรูข องนักเรียน ดา นความรู (K) ดา นทกั ษะ / กระบวนการ (P) ดา นคณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค (A) K/P/A ตวั ชว้ี ดั ชน้ั ป.๔ หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เต็ม ได หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เต็ม ได หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เตม็ ได เต็ม ได ประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ิดา น K / P / A มฐ.ท ๑.๑(๑) - การอา นวรรณกรรม - แบบประเมนิ ทกั ษะ - แบบประเมินคณุ ลักษณะ อานออกเสยี ง เรือ่ ง สุนทรภู การอา นออกเสียง ทพี่ ึงประสงค บทรอยแกวและ กวีศรีรัตนโกสินทร บทรอยกรองได แลวตอบคำถาม - แบบประเมินทักษะ - แบบประเมนิ คุณลกั ษณะ ถกู ตอ ง การฟง ที่พงึ ประสงค มฐ.ท ๑.๑(๒) - แบบประเมนิ ทกั ษะ - แบบประเมินคณุ ลกั ษณะ อธิบายความหมาย การอา นออกเสียง ท่ีพงึ ประสงค ของคำ ประโยคและ - แบบประเมินทักษะ สำนวนจากเร่อื ง การเขียน ที่อา น - แบบประเมินทกั ษะ มฐ.ท ๑.๑(๓) การพูด อา นเรอื่ งสัน้ ๆ ตาม - แบบประเมนิ ทักษะ เวลาที่กำหนดและ การเขยี น ตอบคำถามจากเรอื่ ง ท่อี า น มฐ.ท ๑.๑(๘) มมี ารยาทในการอา น เฉฉบลับย มฐ.ท ๓.๑ (๒) - ก. พัฒนาการคิด* พดู สรปุ ความจาก ขอ ๒ การคัดลายมือ การฟงและดู บทรอยกรองที่ชอบ มฐ.ท ๓.๑ (๔) ต้ังคำถามและตอบ คำถามเชงิ เหตผุ ล จากเรอื่ งท่ีฟง และดู มฐ.ท ๔.๑ (๑) - ก. พัฒนาการคดิ * สะกดคำและบอก ขอ ๑ วิเคราะห ความหมายของ การเขียนสะกดคำ คำในบรบิ ทตา งๆ สว นที่ ๑ คะแนนจากการประเมินดา นผลการเรียนตามตัวชวี้ ัด สวนที่ ๒ คะแนนจากการประเมินตนเองของนักเรียน ผลงานกจิ กรรมบูรณาการฯ ที่นกั เรียนปฏบิ ตั ิ ช่ืองาน ปรศิ นาคำทายวรรณยกุ ต สว นที่ ๓ คะแนนจากการทดสอบสัมฤทธิผลประจำหนวย การทำแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิประจำหนว ยท่ี ๑-๕ สรุปผลการประเมินพัฒนาการเรยี นรูป ระจำหนวย ขอเสนอแนะ ………………………………………………………….. ผาน ไมผ าน ………………………………………………………………………………. ระดบั คณุ ภาพ ๔ ดมี าก ๓ ดี ๒ พอใช ๑ ควรปรับปรุง ➠ ซอมเสรมิ แลว ➠ ผา นเกณฑป ระเมนิ ลงชื่อ ………………………………………………………. ผูประเมิน …………….. / …………….. / ……………. ☞ หมายเหตุ ครสู ามารถใชแบบบันทึกนี้เพื่อบันทึกผลการเรียนแตละหนวยของนักเรียนเปนรายบุคคล หรือบันทึกลงในแบบบันทึกอื่น ที่ครูหรือสถานศึกษาจัดทำขึ้นก็ได ÀÒÉÒä·Â ô ๕๗

คคํำในภาษาไทยาในภาษาไทย ๔หนวยการเรยี นรทู ่ี เปา หมายการเรียนรูป ระจำหนวยการเรียนรูท่ี ๔ ¤Ó¹ÒÁ ¹¡ áÁÇ ¾èÕ เม่อื เรยี นจบหนว ยน้ี ผูเรยี นจะมีความรูค วามสามารถตอ ไปนี้ ¤ÇÒÁ´Õ ๑. อานออกเสียงบทรอยแกว และบทรอ ยกรองไดถ กู ตอ ง ¤©ÓѹʷÃà‹Ò¸Ã¹¾Í¤¹Ò³Ø Á ¤Ó¹ÒÁ ๒. บอกความหมายของคำ และตอบคำถามจากเรอ่ื งทอ่ี านได ¹ŒÍ§ »ÅÒ ๓. ระบชุ นิดและหนา ท่ีของคำในภาษาไทยได ๔. ทอ งจำบทอาขยานตามที่กำหนด และบทรอยกรอง ทีม่ ีคณุ คา ตามความสนใจได คณุ ภาพท่ีพงึ ประสงคข องผูเรียน ¤ÓÊÃþ¹ÒÁ ˹ѧÊ×Í ๑. อานไดค ลอง และอานไดเ รว็ ข้ึน ๒. เขา ใจความหมายของคำจากเร่ืองทอี่ าน เฉลยฉบับ ๓. ทอ งจำบทรอ ยกรองที่ไพเราะ และมีคุณคา แลว นำไปใชใ นการพูดและการเขยี นได แผนผงั ความคิด ประจำหนวยการเรียนรูท่ี ๔ ¹¹Ñè «èÖ§ Íѹ ⹋¹ เรียนรูห ลกั ภาษา สาระ คำในภาษาไทย การเรยี นรู คำนาม คำสรรพนาม เบกิ ฟา วรรณกรรม เพลิดเพลินใจ ไปกบั วรรณคดี จดจำการใชภ าษา บทรอยกรอง

ขอบขายสาระการเรียนรแู กนกลาง รายวชิ า ภาษาไทย ชนั้ ป.๔ ตัวชีว้ ัด สาระพน้ื ฐาน ความรฝู งแนนตดิ ตวั ผูเรยี น มฐ.ท ๑.๑ - วรรณกรรม เรือ่ ง เพลดิ เพลนิ ใจ - วรรณคดีเรือ่ งพระอภัยมณี แตง โดย ๑. อานออกเสียงบทรอ ยแกว ไปกบั วรรณคดี สุนทรภู ซ่งึ แตงเปน นทิ านคำกลอน (วรรณคดี เร่ือง พระอภยั มณี) (กลอนแปด) และบทรอยกรองไดถ กู ตอ ง ๒. อธิบายความหมายของคำ ประโยค และสำนวนจากเรอื่ งทอ่ี าน ๓. อานเรอื่ งส้นั ๆ ตามเวลาที่กำหนด และตอบคำถามจากเรอ่ื งทอ่ี าน มฐ.ท ๔.๑ - คำในภาษาไทย - คำ คือ เสยี งท่เี ปลงออกมาและมี ๒. ระบชุ นดิ และหนา ท่ีของคำ ความหมาย ซ่ึงคำในภาษาไทย แบง เปน ๗ ชนิด ในประโยค มฐ.ท ๕.๑ - วรรณคดี เรอ่ื ง พระอภยั มณี ตอน - วรรณคดี เร่อื ง พระอภัยมณี เปน ๔. ทองจำบทอาขยานตามทก่ี ำหนด กำเนิดสุดสาคร (จากวรรณกรรมเรอื่ ง นิทานคำกลอนทีม่ ีความไพเราะและ เพลดิ เพลนิ ใจไปกบั วรรณคด)ี ใหขอ คดิ คติเตอื นใจในการดำรงชวี ติ และบทรอ ยกรองทีม่ คี ณุ คา เฉลยตเชนน เอคงวกามารรศักกึขษองาบหดิาคามวาารมดราูเพกอื่ าใรหพต่ึงนพเอางฉบับ ตามความสนใจ ไมต กเปน เหย่ือผอู ื่น เปนตน ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ¡‹ ÒÃàÃÕ¹ เขยี นคำจากภาพทีก่ ำหนด แลว พดู บอกสว นประกอบของคำที่เขียน ขวด โหล เ ห็ ด โ ค น หลอด ไ ฟ ดว งดา ว ปลาทอง เ ต า ท อ ง ÀÒÉÒä·Â ô ๕๙

เรยี นรหู ลกั ภาษา คำในภาษาไทย ¤Ó·àÕè ÃÒ㪾Œ ´Ù ËÃÍ× à¢ÂÕ ¹¡¹Ñ ·Ø¡Çѹ¹ÕÁé ÊÕ Ç‹ ¹»ÃСͺ ÍÐäúŒÒ§ áÅÐ໹š ¤Óª¹´Ô ã´ ã¤ÃÃÙŒºÒŒ §¤ÃºÑ คำ คือ เสียงท่เี ปลง ออกมาและมคี วามหมาย ซึ่งคำหนงึ่ คำอาจมีพยางค เดียว หรือหลายพยางคก็ได เชน ไกล อานวา ไกล มี ๑ คำ ๑ พยางค อานวา กระ-ดมุ มี ๑ คำ ๒ พยางค กระดมุ อานวา อบุ - ปะ - สกั มี ๑ คำ ๓ พยางค อานวา อะ-ทิบ-ปะ-ไต มี ๑ คำ ๔ พยางค เฉฉบลับย อปุ สรรค อานวา พุด-ทะ-สัก-กะ-หราด มี ๑ คำ ๕ พยางค อธปิ ไตย พทุ ธศักราช คำ แบงออกเปน ๔ ลักษณะ ตามสว นประกอบท่ีประสม ดังนี้ ๑. คำประสม ๓ สวน เปนคำที่ประกอบดวยพยัญชนะตน สระ และ เสียงวรรณยุกต เชน มา ดู เธอ ทำ อะไร ฯลฯ ๒. คำประสม ๔ สวน เปน คำที่ประกอบดว ยพยญั ชนะตน สระ ตัวสะกด และเสยี งวรรณยุกต เชน คน หาว ขา ม โบย บนิ วิง่ เรว็ แข็ง สูด ดม ฯลฯ ๓. คำประสม ๔ สวนพิเศษ เปนคำที่ประกอบดวยพยัญชนะตน สระ เสียงวรรณยกุ ต และอักษรการนั ต (ไมมตี วั สะกด) เชน เลห โพธ์ิ เสนห  ฯลฯ ๔. คำประสม ๕ สว น เปน คำท่ปี ระกอบดวยพยญั ชนะตน สระ ตัวสะกด เสียงวรรณยุกต และอักษรการันต เชน แพทย ทิพย พันธุ โบสถ ฯลฯ ๖๐ ÀÒÉÒä·Â ô

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ·Õè ñ ๑. อานออกเสียงคำทกี่ ำหนดให แลวเขยี นแยกสวนประกอบของคำลงในตาราง ใหถูกตอ ง คำ พยญั ชนะตน สว นประกอบของคำ อักษรการันต โพธิ์ พ สระ ตวั สะกด เสยี งวรรณยกุ ต ธิ์ ๑) พอ พ.................................. -.................................. ๒) เลห  ล.................................. โ- - สามญั ห.................................. ๓) โกรธ กร.................................. -อ - โท.................................. .................................. .................................. -.................................. ๔) โจทย จ.................................. เ- - โท.................................. .................................. .................................. ย.................................. ๕) โชว ช.................................. โ- ธ เอก.................................. .................................. .................................. ว ฉบับ.................................. ๖) เขลา ขล.................................. โ- ท เอก.................................. .................................. .................................. ๗) สตั ว ส.................................. โ- - สามัญ.................................. .................................. .................................. - เฉลย.................................. ๘) รถ ร.................................. เ-า - จัตวา.................................. .................................. .................................. ๙) หนา หน.................................. -ะ ต เอก.................................. .................................. .................................. ว.................................. ๑๐) หาย ห.................................. โ-ะ ถ ตรี.................................. .................................. .................................. -.................................. ๑๑) ศุกร ศ.................................. -า - โท.................................. .................................. .................................. -.................................. ๑๒) เสาร ส.................................. -า ย จัตวา.................................. .................................. .................................. -.................................. ๑๓) แกลง กล.................................. -ุ ก เอก.................................. .................................. .................................. ร.................................. ๑๔) ขาว ข.................................. เ-า - จตั วา.................................. .................................. .................................. ร.................................. ๑๕) จอ ย จ.................................. แ- ง โท.................................. .................................. .................................. -.................................. -า ว จตั วา.................................. .................................. .................................. -.................................. -อ ย โท.................................. .................................. .................................. -.................................. ๒. คิดแลวเขยี นคำประสมแตล ะลกั ษณะใหครบทง้ั ๔ ลกั ษณะ ลงในสมุดใหไ ด ๖๑ มากท่ีสดุ ข้ึนอยกู ับดลุ ยพินิจของผสู อน ÀÒÉÒä·Â ô

คำที่ใชก นั ในภาษาไทย จำแนกไดเปน ๗ ชนดิ ดังนี้ นามทั่วไป สรรพนามแทนบคุ คล นามช้ีเฉพาะ สรรพนามแสดงคำถาม นามบอกหมวดหมู สรรพนามบอกความชี้ซ้ำ นามบอกอาการ สรรพนามบอกความไมเ จาะจง นามบอกลักษณะ สรรพนามบอกความชี้ระยะ คำนาม สรรพนามเชอ่ื มประโยค เฉฉบลับย คำสรรพนาม กริยาไมตองมีกรรม กรยิ าทตี่ อ งมีกรรม กรยิ าอาศัยสว นเตมิ เต็ม กริยาชวย คำกริยา ชนดิ ของคำในภาษาไทย คำวิเศษณ คำที่บอกลกั ษณะ และใชประกอบ คำอ่นื ใหม คี วามชัดเจน คำบุพบท คำสนั ธาน คำที่ใชนำหนาคำนาม คำสรรพนาม และคำกริยา คำอทุ าน คำท่ีใชเชือ่ มคำอื่น อุทานบอกอาการ อุทานเสริมบท ๖๒ ÀÒÉÒä·Â ô

๑. คำนาม หมายถงึ คำท่ีใชเ รยี กแทนชื่อคน สัตว สง่ิ ของ และสถานที่ ตางๆ คำนามแบง ออกเปน ๕ ประเภท ดงั นี้ ๑) นามท่วั ไป หรอื สามานยนาม ใชเรยี กชื่อท่วั ๆ ไป เชน พอ บาน ปู โรงเรยี น กระเปา ๒) นามชี้เฉพาะ หรอื วิสามานยนาม ใชเรยี กเฉพาะเจาะจงวา เปนคนใด สิ่งใด หรอื สตั วอะไร เชน ด.ช. เดด็ เดี่ยว ราชบรุ ี น้ำตกไทรโยค คำนาม ๓) นามบอกหมวดหมู หรือสมหุ นาม บอกหมวดหมูข องคำนาม เชน ฝูงนก เฉฉบลับย โขลงชา ง ๔) นามบอกอาการ หรืออาการนาม เปนคำนามที่เกิดจากคำกริยา หรือคำวิเศษณ โดยเติมคำ การ หรือความ ขางหนา เชน ความรัก การพดู การอา น ๕) นามบอกลกั ษณะ หรือลักษณนาม เปน คำท่บี อกลกั ษณะของคน สัตว หรอื สง่ิ ของตา งๆ มกั อยหู ลังคำ บอกจำนวน เชน ภกิ ษุ ๒ รูป แมว ๕ ตวั กระดาษ ๑๙ แผน ขอสังเกต ถาคำวา ความ หรือ การ นำหนา คำนามทั่วไป จะไมจ ดั วาเปนอาการนาม แตจะเปน สามานยนามหรือวิสามานยนาม เชน การเงิน การแพทย ความแพง สวนสมุหนามจะคลายกบั ลักษณนาม แตสมหุ นามจะวางอยูห นานาม สวนลักษณนาม จะวางอยูหลงั จำนวนนบั หรือนามท่วั ไป เชน สมุหนาม ฝูงนก / ลกั ษณนาม นก ๑ ฝูง ▲ ▲ ÀÒÉÒä·Â ô ๖๓

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ·Õè ò ๑. คดิ แลวเขยี นเติมคำนามลงในชองวา งใหไดใจความ แลวฝกอา นออกเสียง (ตวั อยาง) ๑) ว่ิงเร็วมากเสอื ชตี า....................................... ๗) การทำ ความดี................................. ไมใชเ รื่องยาก ๒) แมว กิน ปลา ๕ ตวั.................... .................... .................... ๘) พี่แตว ไป หา งเซ็นทรัล......................... ................................................ ๓) ปา ซอื้ เงาะ......................... ......................... ๙) คณุ ลุงดำ มี สวา นไฟฟา................................ ........................................... ๔) พายเรอืคณุ ยาย................................. ๑๐) คุณแม ถอื กระเปา ๑ ใบ................................. ......................... ......................... ๕) นิด อา น การต นู......................... ๑๑) แมค า ขาย กบั ขาว......................... ......................... .............................. ๖) คุณครู อยูใน หอ งเรียน......................... ๑๒) พตี่ ู......................... หัวเราะเสียงดงั ................................. ๒. คิดและเขยี นคำนามตามหัวขอ ทก่ี ำหนดลงในสมุดใหขนึ้ไดอม ยากูกทับี่สดุดลุ ยพนิ จิ ของผสู อน เฉฉบลับย คน สตั ว สิ่งของ ▲▲๓. คดิ คำนามประเภทตา งๆ ประเภทละ ๓ คำ แลวเลือก ๑ คำ มาแตงประโยค ▲▲ สามานยนาม : แม บาน ไก (ตวั อยา ง).............................................. .............................................. .............................................. ๑) แมซ กั ผา................................................................................................................................................................................................................................. วสิ ามานยนาม : ด.ญ. มีนา จ. นครปฐม ธนาคารกรุงไทย.............................................. .............................................. ...........................................................▲ ๒) พอ ทำงานท่ี จ. นครปฐม................................................................................................................................................................................................................................. สมหุ นาม : ฝงู ปลา โขลงชาง กองลกู เสือ.............................................. .............................................. .............................................. ๓) ฝงู ปลาวา ยนำ้ อยา งมคี วามสุข................................................................................................................................................................................................................................. อาการนาม : ความสุข การอา น ความดี.............................................. .............................................. .............................................. ๔) การอานหนงั สอื มากๆ ทำใหเราฉลาดขึน้................................................................................................................................................................................................................................. ลักษณนาม : ตัว ใบ แผน.............................................. .............................................. .............................................. ๕) แมวจบั หนไู ด ๕ ตัว................................................................................................................................................................................................................................. ๖๔ ÀÒÉÒä·Â ô

๒. คำสรรพนาม หมายถึง คำที่ใชแทนคำนาม เพื่อจะไดไมตองใช คำนามซำ้ กนั ไปมาในการพูดหรือเขียน คำสรรพนามแบงออกเปน ๖ ประเภท ดังนี้ ๑) สรรพนามแทนบุคคล หรือบรุ ษุ สรรพนาม สรรพนามบุรษุ ที่ ๑ เปน คำท่ีใชแทนตวั ผูพ ูด หรือผูเขียน เชน ฉัน ผม ขาพเจา ดฉิ ัน สรรพนามบุรษุ ท่ี ๒ เปน คำที่ใชแทนผูฟงหรอื ผอู าน เชน คุณ ทา น เธอ สรรพนามบุรุษท่ี ๓ เปนคำที่ใชแ ทนผทู ถ่ี กู กลา วถงึ เชน เขา มัน ๒) สรรพนามแสดงคำถาม หรือปฤจฉาสรรพนาม เปนคำแทนคำนามท่ีใชเ ปน คำถาม ไดแก ใคร อะไร ไหน เฉฉบลับย คำสรรพนาม ๓) สรรพนามบอกความชีซ้ ำ้ หรือวภิ าคสรรพนาม ไดแ กคำวา บาง ตาง กัน ๔) สรรพนามบอกความไมเ จาะจง หรืออนยิ มสรรพนาม ไดแ กค ำวา ใดๆ ใครๆ ส่งิ ใด ผูใด ๕) สรรพนามบอกความช้รี ะยะ หรือนยิ มสรรพนาม เปน คำท่บี อกความใกลหรอื ไกล ไดแก น่ี นี้ นนั่ นนั้ โนน โนน ๖) สรรพนามเชอื่ มประโยค หรือประพันธสรรพนาม เปนคำท่ีแทนคำนามขางหนา และเชื่อมคำนามน้ันกับประโยคท่ีตามมา ไดแ กคำวา ท่ี ซ่ึง อนั http://www.aksorn.com/lib/p/tha_04 (เร่ือง สรรพนามนารู) ÀÒÉÒä·Â ô ๖๕

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ·Õè ó ๑. เตมิ คำสรรพนามทเี่ หมาะสมลงในชอ งวา ง แลว ฝกอานออกเสียง (ตวั อยา ง) ๑) ฉนั กำลงั จะไปหา เธอ พอดี................................ ................................ ๒) เขา รัก เธอ มาก ใครๆ ก็ชมวา เขา ใจดมี ีเมตตา................................ ................................ ................................ ................................ ๓) ควรเมตตาตอ สัตว และไมค วรทำราย เลยเรา................................ มัน................................ ๔) ขอให พวกคุณ................................ ชวยกนั รักษาความสะอาดดวย ๕) วิภาเปนเพื่อนของ ดฉิ ัน................................ ๖) ผม ขอขอบคณุ ทาน มากนะครบั................................ ................................. ๗) ฉนั ไมร วู า เขา ไปไหน................................ ................................. เฉฉบลับย ๘) ตอนนี้ คณุ................................ พกั อยูกับใคร ๙) พวกเธอ................................ อยา วิ่งเลน ในหองเรยี นนะ ๑๐) ฉัน จะรอ เธอ อยูท่เี ดิม................................ ................................. ๒. อา นประโยค แลว ขีดเสนใตคำสรรพนามที่พบ จากนัน้ เขียนบอกวา เปน คำสรรพนามประเภทใด ๑) ใครอานการต ูน ▲▲ ▲▲ ▲ ▲ ▲▲ ปฤจฉาสรรพนาม................................................................................................................................ ๒) ฉนั เปน ครู บรุ ษุ สรรพนาม (สรรพนามบรุ ษุ ท่ี ๑)................................................................................................................................ ๓) ใครๆ ก็ไมรกั ติด๊ ต่ี อนิยมสรรพนาม................................................................................................................................ ๔) นดิ กบั แจม ไปเทีย่ วกนั วิภาคสรรพนาม................................................................................................................................ ๕) หมวกน่ีของคณุ พอ นิยมสรรพนาม................................................................................................................................ ๖) พกี่ นิ ขนมท่ีคณุ ปาให ประพันธสรรพนาม................................................................................................................................ ๗) เขาชอื่ เดด็ เดี่ยว บุรษุ สรรพนาม (สรรพนามบุรษุ ที่ ๓)................................................................................................................................ ๘) ทา นเปน คนใจดี บุรุษสรรพนาม (สรรพนามบุรุษที่ ๒)................................................................................................................................ ๖๖ ÀÒÉÒä·Â ô

เบิกฟาวรรณกรรม เพลิดเพลินใจไปกับวรรณคดี ตั้งแตวันท่ีกองภพไดอานชีวประวัติของสุนทรภู และทราบวาสุนทรภูคือ ผแู ตง วรรณคดีเรือ่ งพระอภัยมณี เขากอ็ ยากรูเรอื่ งพระอภัยมณีใหม ากขน้ึ กวา ที่ เขาเคยดูภาพยนตรมา กองภพจึงยืมหนังสือเร่ืองพระอภัยมณีมาจากหองสมุด แลว อา นทุกวนั หลงั จากทำการบา นเสรจ็ เมอ่ื ถึงกำหนดทีจ่ ะตอ งคืนหนงั สอื เขา ก็นำหนังสือไปคืน แลวท้ิงชวงประมาณ ๓-๔ วัน จึงยืมใหม เพ่ือเปนการ เปดโอกาสใหผูอ่ืนไดมายืมบาง วันนี้ตอนเย็นกอนกลับบานกองภพก็จะไปยืม หนงั สืออีก พอดีกับทีเ่ ดด็ เด่ยี วจะไปหอ งสมุดเหมือนกนั เดก็ ทง้ั คจู งึ เดนิ ไปดวยกัน ¨Ðä»ÂÁ× Ë¹Ñ§Ê×Í ãª‹ áÅŒÇà´ÂèÕ ÇÅ‹Ð àÃÒ¨Ðä»ÂÁ× Ë¹§Ñ Ê×͹Էҹä»ÍÒ‹ ¹ เฉฉบลับย ¾ÃÐÍÀÂÑ Á³Õ㪋äËÁ¡ÍŒ § ãËŒ¹ÍŒ §´Òǹ͌ §ÊÒǢͧàÃÒ¿§˜ ¹‹Ð àÍÒàÃÍ×è § ¾ÃÐÍÀÂÑ Á³ÕÊÔ Ê¹Ø¡¹Ð กองภพชักชวนใหเด็ดเด่ียวอานพระอภัยมณี และโฆษณาวา นองดาว ตอ งชอบแนนอน เพราะพระอภยั มณีเปนนิทานคำกลอนทม่ี ีทั้งความสนกุ สนาน ต่ืนเตน เรา ใจ และยังใหขอ คดิ ท่ีสอนใจไดเปน อยางดอี กี ดวย เด็ดเด่ียวตกลงใจจะยืมพระอภัยมณีเหมือนกองภพ และเมื่อยืมหนังสือ เสรจ็ เรยี บรอ ยแลว เดก็ ทง้ั คกู แ็ ยกยายกนั กลบั บาน ÀÒÉÒä·Â ô ๖๗

ชวงหัวค่ำ หลังจากรับประทานอาหารเย็น อาบน้ำ และทำการบาน เรียบรอยแลว นองดาวมาทวงสัญญาที่เด็ดเดี่ยวบอกวาจะเลานิทานใหฟง เด็ดเดี่ยวจึงหยิบหนังสือพระอภัยมณีออกมาจากกระเปานักเรียน แลวเร่ิมตน อานเรอ่ื งพระอภัยมณีใหน อ งดาวฟง โดยเขาเริม่ อานต้ังแตตอนที่ ๒๔ คอื ตอน กำเนิดสุดสาคร เพราะทั้งนองดาวและเขาตางก็ชอบดูการตูนเร่ืองสุดสาคร เหมือนกัน เด็ดเดี่ยวคิดวานาจะดีถาไดรูจักสุดสาครมากย่ิงขึ้น เด็ดเดี่ยวจึง เริม่ ตน อา นพระอภัยมณี ตอนกำเนดิ สุดสาคร ใหน องดาวฟงวา ... ๏ จะกลาวถงึ เงอื กนอยกลอยสวาท ซงึ่ รองบาทพระอภยั เมื่อไกลสถาน อยวู นวังหลงั เกาะแกว พสิ ดาร ประมาณกาลสิบเดอื นไมเคลื่อนคลา ใหเ จบ็ ครรภป นปวนจะจวนคลอด ระทวยทอดลงกับแทนที่แผน ผา เฉฉบลับย จะแลเหลียวเปล่ยี วใจนยั นา ไมเ หน็ หนาผูใดที่ไหนเลย โอองคพระอภัยก็ไปลับ ไมเหน็ กลับคนื มานิจจาเอย จะคลอดบุตรสดุ ใจเมยี ไมเ คย ที่ไหนเลยจะตลอดรอดชีวา นางครวญครำ่ รำ่ ไรใหล ะหอ ย นำ้ ตายอยพรงั่ พรายท้ังซายขวา ใหกลมุ กลดั อัดอ้นั หว่นั วิญญาณ ดวยเปน ปลาแปลกนางอยา งมนุษย สงสารนางครางครวญใหปวนปวด ยงิ่ เรารวดรอนใจดังไฟจุด สะอนื้ ออ นออนระทวยแทบมว ยมดุ หากบญุ บตุ รบันดาลชว ยมารดา ใหน กึ คำพระอภยั เมอ่ื ไปจาก วาจะฝากโยคมี คี าถา นางตรึกตรองรอ งรำ่ ทงั้ นำ้ ตา คุณเจาขาไมม าชว ยฉันดวยเลย โอคร้ังน้ชี ีวิตจะปลิดปลด พระดาบสเอาบุญเถดิ คุณเอย นางครวญคร่ำร่ำไรดว ยไมเ คย สลบเลยลมื กายดังวายปราณ ฯ ๏ ฝายโยคีมพี รตปรากฏกลา น่งั รักษาทางธรรมกรรมฐาน แสนสวา งทางกสณิ อภญิ ญาณ พระอาจารยแจง จบทงั้ ภพไตร เมื่อเงอื กน้ำร่ำเรียกก็รูเหตุ นั่งสังเกตวา สกี ามาแตไหน พลางหวั รอออเมยี พระอภยั เขาฝากไววนั ลาไปธานี ๖๘ ÀÒÉÒä·Â ô

มันเจ็บทองรองอึงจะออกลกู จะตอ งถกู ไดหรือเปนฤๅษี เฉฉบลับย แลวงกเง่นิ เดินมาในราตรี ไหนอยูที่ไหนหวาสีกาสีแก เอาโคมสอ งมองเขมนเห็นนางเงือก สลบเสอื กอยูท ่ีทรายชายกระแส เปา มหาอาคมใหล มแปร ทที่ อ แทค อ ยประทงั กำลังนาง เห็นโยคีดีใจจึงไหวกราบ สมาบาปชวยวบิ ตั ิที่ขดั ขวาง ความเจบ็ ปวดรวดเราไมเ บาบาง นางครางพลางพลกิ กายฟายนำ้ ตา ฯ ๏ พระดาบสอดปากมอิ ยากได ใครใชใหมึงรกั กนั หนกั หนา สวนลูกไมใครอ อกสบิ อกตา สมน้ำหนาปวดทอ งรอ งเบยเบย แลว จับยามสามตาตำราปลอด จวนจะคลอดแลวละหวาสกี าเอย กถู ูกตองทอ งไสไมไดเ ลย ยงั ไมเคยพบเห็นเหมือนเชนนี้ แลวหลกี ไปใหหา งเสยี ขา งเขา ชวยเสกเปาปอ งปดกำจัดผี เดชะฤทธ์ิอิศโรพระโยคี มิไดมเี ภทภยั สง่ิ ไรพาน ทงั้ เทวาอารักษท่ีในเกาะ ระเห็จเหาะลงมาสนิ้ ทุกถิน่ ฐาน ชว ยแกไขไดเวลากฤดาการ คลอดกมุ ารเปน มนษุ ยบ ุรุษชาย เนตรขนงวงนลาฏไมคลาดเคล่ือน ละมา ยเหมอื นพระอภัยนน้ั ใจหาย มีกำลังนั่งคลานทะยานกาย เขา กอดกา ยมารดรไมอ อ นแอ นางกอดบตุ รสุดใจมิไดอ ่มิ พอ เนือ้ นม่ิ แนบขางไมห างแห แข็งฤทัยใจคอหายทอ แท ลงชมุ แชช ลธารสำราญใจ พระหนอ นาถชาติเงอื กชอบเลอื กน้ำ เท่ยี วผดุ ดำตามประสาอชั ฌาสัย นางแมเมียงเคียงขา งไมห างไกล แลวอุมไปนง่ั แทน แผนศลิ า ฯ ๏ ฝา ยโยคีน่ิงน่งั ไดฟงเสยี ง จึงมองเมยี งมาชะโงกรมิ โกรกผา เหน็ กุมารคลานไดม ิใชป ลา หัวรอ รารองไมเ ปนไรแลว เขาอมุ ชดู หู ลานสงสารนกั ไมร จู ักเจรจาตาแจว แหวว แตล ักษณะจะฉลาดไมค ลาดแคลว ดผู อ งแผวเหมือนพอหนอสกี า ฯ ๏ นางเงือกนำ้ คำรพอภวิ าท ขาเปน ชาตเิ ชอ้ื สัตวเ หมือนมัจฉา จะกลอ มเกลยี้ งเล้ียงมนษุ ยส ุดปญ ญา ขอฝากฝา บาทบงสุพระทรงธรรม ชว ยเลี้ยงดกู มุ ารเหมือนหลานเถดิ เสยี แรงเกดิ กายมาจะอาสัญ อนั ขานี้วสิ ยั อยูไกลกนั เชา กลางวนั เย็นลงจะสง นม ฯ ๏ พระโยคมี จี ติ คดิ สงสาร ดวยเหมือนหลานลกู ศษิ ยสนทิ สนม จึงวากูผสู ถิตในกจิ กรม ไมมสี มบัตอิ ะไรท่ีไหนเลย ÀÒÉÒä·Â ô ๖๙

จะเยบ็ ฟกู ผกู เปลเหอายหนู ก็ไมรสู ีสาสกี าเอย ตองกลอ มเกล้ยี งเลย้ี งไปทง้ั ไมเ คย จะเฉยเมยเสยี มิชวยจะมว ยมดุ ฤกษวนั นี้ตรีจนั ทรเปนวันโชค ตองโฉลกลัคนามหาอดุ จะใหน ามตามอยางขา งมนุษย ใหช อ่ื สุดสาครอวยพรชยั ฯ เด็ดเด่ียวหยุดอานเพราะรูสึกคอแหง เม่ือพักด่ืมน้ำเรียบรอยแลวเขาจึง อานตอ ซึ่งเน้ือเรื่องตอจากนั้นเปนการบรรยายใหเห็นวานางเงือกและโยคีหรือ พระเจาตาชวยกันเล้ียงดูสุดสาครดวยความรักและเอาใจใส จนสุดสาครอายุได สบิ เดือน ไดส ิบเดือนเหมือนไดสักสิบขวบ ดูขาวอวบอวนถว นเปน นวลฉวี ออกว่งิ เตนเลน ไดไกลกุฎี เท่ียวไลข ว่ี วั ควายสบายใจ แลว ลงน้ำปล้ำปลาโกลาหล ดาบสบน ปากเปยกเรยี กไมไหว เฉฉบลับย สอนใหหลานอานเขยี นร่ำเรยี นไป แลวก็ใหว ทิ ยาวชิ าการ รลู อ งหนทนคงเขา ยงยทุ ธ เหมือนสนิ สมุทพีย่ าทงั้ กลาหาญ ไดเ หน็ แตแ มม จั ฉากับอาจารย จนอายกุ มุ ารไดส ามป ฯ วนั หนึ่งเม่ือพระเจา ตาน่ังเขาฌาณ สดุ สาครหนีลงทะเลไปเลนนำ้ ไลจบั ปลา ไดไปพบมาหนาเหมือนมังกรจึงเขาจับแตมันไมยอม ทำใหเกิดการตอสูกันจน มืดค่ำ สุดสาครจึงกลับมาบอกพระเจาตา พระเจาตาไดฟงก็นึกไมออกเปนตัว อะไร แตเม่ือเลง็ ญาณดกู ร็ ูวา เปน สัตวที่เกิดจากมา และมงั กรผสมกัน พระเจาตา เห็นวาเปนมามีฤทธิ์จึงคิดที่จะใหหลานไดใชข่ีไปตามหาพระบิดา จากนั้นก็สอน วธิ ีจบั ให ในทส่ี ดุ สุดสาครกจ็ บั มา นิลมังกรมาได พระนักสิทธ์ิพิศดเู ปน ครพู กั หัวรอคักรปู รางมนั ชางขนั เมื่อตวั เดียวเจียวกลายเปน หลายพันธุ กำลงั มนั มากนกั เหมอื นยกั ษมาร กนิ คนผูปปู ลาหญาใบไม มนั ทำไดห ลายเลห อ า ยเดรฉาน เข้ียวเปนเพชรเกลด็ เปนนลิ ลนิ้ เปน ปาน ถงึ เอาขวานฟนฟาดไมขาดรอน ๗๐ ÀÒÉÒä·Â ô

เจาไดม าพาหนะตวั น้ีไว จะพน ภยั ภญิ โญสโมสร ใหช ื่อวา มานลิ มงั กร จงถาวรพนู สวัสด์แิ กน ัดดา ฯลฯ พระเจาตาเรียกสุดสาครมาเลาความเรื่องพระบิดาใหฟงวา เปนกษัตริยช่ือ พระอภยั มณี พลดั พรากจากเมืองมาอยูกบั พระเจา ตาเปน เวลานาน และโดยสาร เรือกลับไปเมอ่ื ปจ อ ตอนนป้ี ช วดกเ็ ปน เวลาสามปมาแลว ใหส ุดสาครออกตดิ ตาม หาพระบิดา เพื่อจะไดชวยทำนุบำรุงบานเมือง และสืบตระกูลตอไป อยูท่ีเกาะ แกวพสิ ดารตอกเ็ ปน การเสยี เวลาเปลาไมเขา การ สุดสาครไดฟงเร่ืองจากพระเจาตาแลวคิดวา เปนลูกทิ้งบิดานั้นนาอาย จึงขอลาพระเจาตาเพื่อตามหาพระบิดา พระเจาตาก็บอกวา พระอภัยไปครอง เมืองผลึก แลวบอกทางไปเมืองผลึกวาอยูทางทิศพายัพซึ่งไกลจากที่น่ีมาก จากนั้นก็ใหไมเทา ทิพยไวป องกันภัย พรอมกับปนทองของพระอภยั มณี เฉฉบลับย ตรงมือช้นี ีน่ ะจำเอาตำบล เปนมณฑลทศิ พายัพอยูลบั ลิบ อนั พอเจาไมแกไมหนุม นัก อายุสักยี่สิบเกา เขาสามสบิ พระบอกพลางทางประทานไมเ ทา ทพิ ย ไปทางนผ้ี ดี บิ มันดดุ นั สำหรับมือถอื ไวอยา ใหหาง เปรียบเหมือนอยางศรแผลงพระแสงขรรค ทงั้ แคลวคลาดสาสตราสารพัน ประกอบกนั ผีสางปะรางควาน อันปน ทองของพระอภยั ให ชวยแซมใสเ กศเี มาลีหลาน บิดาเจา เผา พงศพวกวงศว าน ใครพบพานจะไดเ หน็ เปน สำคญั แลวจดั แจงแตง นุงหนงั เสือให ครบเครื่องไตรครองประทานพระหลานขวัญ ผูกชฎาหนงั รัดสะพัดพัน ฝนแกน จนั ทนเ จมิ มหาอณุ าโลม ฯลฯ สุดสาครบอกฝากมารดากับพระเจาตา แลวบอกวาเมื่อตนไปพบพระบิดา แลว จะกลับมา จากนั้นจึงมาหาแม เพ่อื อำลาจะไปตามหาพระบิดา นางเงือกได ฟงก็เศรา เสยี ใจ แตจะหา มปรามไวก เ็ กรงวา สดุ สาครจะเสยี ความต้งั ใจ ÀÒÉÒä·Â ô ๗๑

นางดหู นาอาลยั ใจจะขาด ดังฟา ฟาดทรวงแยกใหแ ตกฉาน สะอน้ื อัน้ ตันใจอาลยั ลาน แสนสงสารโศกาแลว วาพลาง โอท ูนหัวตัวแมน้ีไมหาม สดุ แตตามใจปองอยา หมองหมาง แตปรานที ่ีไมแ จงรูแหงทาง จะอา งวา งวญิ ญาณในวารี จะจบั ตัวฉีกเนื้อเปนเหย่อื กิน ฯลฯ ในกลางยานยมนาชลาสินธุ ทั้งผีสางกลางชลาท้ังนากลวั เท่ยี วโบยบินบนอากาศไมขาดวนั สารพัดมจั ฉากก็ ลา หาญ พฆิ าตคาบเขน ฆา ใหอ าสัญ ทั้งครุฑาวายุภัสนกหสั ดิน แมพรัน่ พร่นั เพราะวา เจายงั เยาวนัก เหน็ เดินหนคนเดียวจะเฉยี่ วฉาบ ไมเ หมอื นเคยฝกสอนดวยออนหดั นา ใจหายตายเปน ไมเหน็ กัน จงคิดหนกั หนว งใจดูใหด ี ฯ ถงึ สบิ รบู รุ าณทานเฉลย อยา จลู ูดูถูกนะลูกรัก เฉฉบลับย สุดสาครบอกแมวา ตนมีของดีไวปองกันตัว ทั้งไมเทาและมานิลมังกร กับมีท้ังวิชาท่ีพระเจาตาสอนให การไปตามหาบิดาพระเจาตาก็บอกทางใหแลว และบอกวา ถงึ ยงั เด็กเหล็กเพชรไมเ ขด็ ขอน จะเจาะชอนเชิงลำเนาภเู ขาขนุ จะลำบากยากแคน เพราะแทนคณุ ก็ไดบ ญุ เบ้ืองหนาขอลาไป ฯ นางเงือกไดฟงจึงบอกวา ถาไปพบพระอภัยมณีแลวอยากลับ ใหอยูกับ พระบิดาตอไป สวนแมน้ันเม่ือลูกอยูสุขสบายแลวถึงตัวตายก็ไมเสียดายชีวิต แตถาไปตามหาแลวไมพบก็ขอใหกลับมา ถาไดพบพระบิดาแลวก็ใหทูลบอก มูลเหตใุ หทราบ แลว ใหพรสุดสาครใหเ ดินทางโดยปลอดภัย พอ ไปถงึ จงึ ทลู มลู เหตุ ใหทรงเดชทราบความตามประสงค วาชาตนิ ี้ไดปะกบั พระองค ขอดำรงรองบาททกุ ชาติไป ฯลฯ ๗๒ ÀÒÉÒä·Â ô

๏ ฤๅษสี ุดสาครรับพรแม จะหางแหหวนจิตคิดสงสาร จึงสง่ั ซ้ำรำ่ วาไมช า นาน สำเร็จการก็จะมาหามารดร ฯลฯ ดวงดาวรูสกึ ตน่ื เตน มาก เพราะสุดสาครกำลังออกไปผจญภัยในโลกกวา ง เดด็ เดย่ี วเองก็รสู กึ เหมือนดวงดาว เขาอยากจะทราบวา สดุ สาครจะตอ งพบเจอ อะไรบาง แตแมของเด็กทั้งคูเห็นวาดึกแลวจึงใหเด็ดเด่ียวหยุดอาน เพราะ พรุงน้ีตองรีบไปโรงเรียนแตเชา เด็ดเดี่ยวคิดวาพรุงน้ีเขาจะตองรีบกลับบาน ทำการบานใหเรียบรอย แลวทำกิจวัตรประจำวันใหเสร็จ เพื่อท่ีจะไดอานเร่ือง พระอภัยมณีตอไป ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹Ì٠·Õè ô เฉฉบลับย ๑. ฝกอา นออกเสยี งจนอานไดคลอง และหาความหมายของคำตอ ไปน้ี ครรภ นยั นา โยคี กสณิ อภญิ ญาณ สีกา จับยามสามตา กฤดาการ เนตร ขนง นลาฏ บาทบงสุ โฉลก ลคั นา เดรฉาน สาสตรา อุณาโลม ชลา ๒. ตอบคำถามจากเรอื่ งที่อาน ดงั น้ี ๓. ว๒๓๑า)))ดถนหสพรดุูปาักรรนือสะตเรอกัไาวั ยีมภคลเนรระัยียเคมคมพนดิรลีณรเจวกัปาาีหาษะนกรเณถเหวอื หาระตไสมรเมุใหณุดือด มสเนคพาอืสดครนดุขเีารน้ึรหสะไ่อื อาเรมงหยคอื มกูตรตพีไบัใุามรดนงดะเ ักกทลุอเบัยภารเพแียัยดลนินมก็ ะจิจณทมขะ่ัวีอากตๆนงลอผลิาไูสนอมปออังอกนกกยำรไาเปนงสผไดิ ดุรจสบสญดุ าา สภคงารยั คจเพระอยี องกคไนปเดตยีามวหา ตามจนิ ตนาการของนกั เรยี น พรอ มท้งั ระบายสีภาพใหส วยงาม ÀÒÉÒä·Â ô ๗๓

จดจำการใชภาษา บทรอยกรอง º·ÃŒÍ¡Ãͧ 㪋¶ŒÍ¤ӷÕàè ÃÒ㪾Œ ´Ù ¡Ñ¹·Ø¡Çѹ¹ÕËé ÃÍ× à»ÅÒ‹ ¹Ð ã¤ÃÃÙŒª‹Çµͺ˹‹ÍÂÊ¤Ô Ð บทรอยกรอง หมายถึง คำประพันธหรือถอยคำท่ีไดถูกเรียบเรียงตาม ฉันทลักษณ (ลักษณะบังคับ) ใหไดสัมผัสท่ีไพเราะ โดยมีการจำกัดจำนวนคำ เสียงสูง-เสียงต่ำของคำ สัมผัสคลองจอง และความยาวที่ใชในการเรียบเรียง คำใหเปน ไปตามระเบียบของฉนั ทลกั ษณ ลักษณะของบทรอยกรองที่ดีนั้นจะตองมีเน้ือหาดี มีการเลือกสรรคำท่ี เฉฉบลับย ทำใหเกิดสัมผัสท่ีไพเราะ และท่ีสำคัญคือตองแตงใหถูกตองตามลักษณะของ บทรอยกรองแตละชนิด บทรอยกรอง แบงออกเปน ๗ ประเภท ดงั นี้ กาพยฉ บัง กาพยย านี กาพยส รุ างคนางค โคลงโบราณ ฯลฯ อินทรวเิ ชยี รฉันท โคลงด้นั วิชชมุ มาลาฉันท โคลงสุภาพ ฯลฯ กลอน ๔ กาพย รายยาว โคลง ฉันท รายดั้น กลอน ๖ กลอน บทรอ ยกรอง รา ย รา ยโบราณ กลอน ๘ กลอนเปลา ลิลิต รา ยสภุ าพ กลอนสักวา กลอนดอกสรอย ลิลติ ดั้น ลลิ ิตสุภาพ ๗๔ ÀÒÉÒä·Â ô

ตัวอยาง บทรอ ยกรอง ประเภทกลอนสุภาพ “อยายอมแพ” ในชีวติ เคราะหมีทงั้ ดีรา ย กวาจะตายสลับกนั น้นั หลายหน ดีแลวรายรา ยแลว ดมี แี ลว จน และบางคนทุกขย ากอยา งมากมาย กดั ฟน สูดว ยใจไมทอแท ไมยอมแพเคราะหช ่ัวกลวั งา ยๆ เอาชนะดวยกำลังทง้ั ใจกาย เคราะหท่ีรายกจ็ ะหนดี จี ะมา จาก ชีวิตงาม ของ พระยาโกมารกุลมนตรี แผนผงั กลอนสุภาพ วรรคสดบั วรรครบั ๑ บท วรรครอง ๑ บาท วรรคสง เฉฉบลับย กำหนดให : แทนคำ ๑ พยางค เสนทบึ แสดงถงึ ตำแหนง ของการสัมผัสบงั คบั เสน ไขปลา แสดงถงึ การผอนผนั การสัมผัสระหวา งวรรค ลกั ษณะบงั คับของกลอนสุภาพ ๑. คณะคำ กลอนสุภาพ ๑ วรรค มี ๘ พยางค (อาจมี ๗ หรอื ๙ พยางคก็ได) กลอน ๔ วรรค นับเปน ๑ บท กลอน ๒ วรรค นบั เปน ๑ บาท กลอน ๒ บาท นับเปน ๑ บท http://www.aksorn.com/lib/p/tha_01 (เรือ่ ง เม่อื ฉันอานบทรอยกรอง) ÀÒÉÒä·Â ô ๗๕

๒. การสมั ผสั ๑) พยางคสุดทายของวรรคที่ ๑ สัมผัสกับพยางคท่ี ๓ ของวรรค ที่ ๒ (บางครั้งผอ นผันใหส ัมผัสกบั พยางคท่ี ๒, ๔ หรอื ๕ ของวรรคท่ี ๒ ก็ได) ๒) พยางคสุดทายของวรรคท่ี ๒ ใหสัมผัสกับพยางคสุดทายของ วรรคที่ ๓ ๓) พยางคสุดทา ยของวรรคที่ ๓ ใหสัมผัสกับพยางคท ่ี ๓ ของวรรค ที่ ๔ (บางครั้งผอ นผนั ใหส ัมผสั กับพยางคท ่ี ๒, ๔ หรือ ๕ ของวรรคที่ ๔ ก็ได) ๔) พยางคสุดทายของวรรคที่ ๔ ใหสัมผัสกับพยางคสุดทายของ วรรคท่ี ๖ ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ·Õè õ เฉฉบลับย ๑. เขยี นเลข ๑-๘ เพ่อื เรียงลำดับขอ ความใหเปนกลอนสุภาพทถ่ี ูกตอ ง แลวคดั กลอน ลงในสมุดดวยตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด ❑๕ ผทู กี่ ลา คา นความคิดเมอื่ ผิดหลัก ❑๘ ผูด ับรอนคอื เพ่ือนแทรูแกใจ ❑๓ เพ่ือนที่คอยหักหลังอยางตั้งใจ ❑๒ เพ่อื นทท่ี ราบเรายำ่ แยไมแ กไข ❑๗ ผทู ี่เขาไมเมนิ เรื่องเงินจร ❑๖ ผทู ่ีรักบน วาอุทาหรณ ❑๑ เพื่อนช่ัวชาสามานยสันดานหยาบ ❑๔ เขามิใชเพอ่ื นแทอ ยา งแนนอน ผลงานโดย นกั เรียนโรงเรียนสตรสี มทุ รปราการ ๒. หากลอนสุภาพที่ชอบ แลว คัดลอกบทกลอนลงในสมุดดว ยตัวบรรจงเต็มบรรทดั พรอมกบั บอกที่มาของบทกลอนและเหตุผลที่เลอื ก ข้นึ อยูกับดุลยพินิจของผสู อน ๗๖ ÀÒÉÒä·Â ô

àÁ×èÍàÃÒèٌ ¡Ñ º·ÃŒÍ¡ÃͧáÅŒÇ àÃÒ¡ç¤ÇÃÍ‹Ò¹ÍÍ¡àÊÕ§ º·ÃÍŒ ¡Ãͧã˶Œ Ù¡µŒÍ§µÒÁ¨Ñ§ËÇдŒÇ¹ФÃѺ การอานบทรอยกรอง เปนการอานท่ีตองออกเสียงใหถูกตองตามจังหวะ ซ่งึ เปนลักษณะบงั คับของบทรอ ยกรองที่อา น การอา นบทรอ ยกรอง มีหลักการอา น ดงั นี้ ๑. อานออกเสียงธรรมดา เปนการอานโดยมีจังหวะและแบงวรรคตอน ในการอานตามลักษณะของบทประพันธ และอานใหถูกอักขรวิธี ชัดเจน คลองแคลว มกี ารใสอ ารมณในนำ้ เสียงตามเนื้อเรื่องทอี่ า น ๒. อา นเปน ทำนองเสนาะ โดยใชน้ำเสยี งสูง-ตำ่ หนกั -เบา แบง วรรคตอน ในการอา นใหถกู ตอง และเนน คำตามลกั ษณะของคำประพันธ ใชนำ้ เสยี งแสดง อารมณตามเรื่องที่อาน เชน การอานกลอนสุภาพ จะแบงจังหวะในการอาน เฉฉบลับย แตล ะวรรคเปน ๓/๒/๓ หรือ ๓/๓/๓ เปน ตน ตัวอยา ง การแบง จงั หวะในการอา นกลอนสภุ าพ กลอนสภุ าพ/แปดคำ/ประจำบอน อานสามตอน/ทกุ วรรค/ประจกั ษแจง ตอนตนสาม/ตอนสอง/สองแสดง ตอนสามแจง/สามคำ/ครบจำนวน กำหนดบท/ระยะ/กะสัมผสั ใหฟ าดฟด/ชัดความ/ตามกระสวน วางจังหวะ/กะทำนอง/ตองกระบวน จึงจะชวน/ฟงเสนาะ/เพราะจบั ใจ ÀÒÉÒä·Â ô ๗๗

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ·Õè ö จบั คกู บั เพ่อื น ฝก อานออกเสยี งบทรอยกรองที่กำหนด แลว ใหเ พอื่ นประเมนิ ผลการอา น บัดเด๋ียวดงั หงัง่ เหงง วังเวงแวว สะดงุ แลวเหลยี วแลชะแงหา เหน็ โยคขี ่ีรุงพงุ ออกมา ประคองพาขน้ึ ไปจนบนบรรพต แลว สอนวา อยาไวใจมนษุ ย มันแสนสดุ ลกึ ล้ำเหลอื กำหนด ถงึ เถาวลั ยพ นั เกีย่ วทีเ่ ลย้ี วลด ก็ไมค ดเหมือนหน่ึงในน้ำใจคน มนุษยน้ที ี่รกั อยูสองสถาน บดิ ามารดารกั มักเปน ผล ทพ่ี ่ึงหนง่ึ พึ่งไดแตก ายตน เกดิ เปนคนคิดเห็นจึงเจรจา แมน ใครรักรักม่งั ชังชงั ตอบ ใหร อบคอบคดิ อานนะหลานหนา รูสง่ิ ไรไมสูรวู ิชา รูรักษาตวั รอดเปนยอดดี เฉฉบลับย จงคิดตามไปเอาไมเ ทาเถิด จะประเสรฐิ สมรักเปนศักดศิ์ รี พอเสร็จคำสำแดงแจง คดี รูปโยคีหายวบั ไปกบั ตา รายการประเมนิ เกณฑก ารประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรงุ ๑. อา นเสยี งดังฟงชัด .......................... .......................... .......................... .......................... ๓๕๒๔.... ออนอาาา่ังนนนหออเรวือออนยกกจืนเเงัสสอหยีียา วงงนะถเปดวกู รวน ตรยทอคตำงตวันตอตอานรมงงถเอเสูกปักนตนขาอธระงรวไรดิธมีถชกู าตตอ ิ ง ข้ึนอยกู ับดลุ ยพินจิ ของผูสอน.......................... .......................... .......................... .......................... .......................... .......................... .......................... .......................... .......................... .......................... .......................... .......................... .......................... .......................... .......................... .......................... ลงชอื่ ผปู ระเมิน ............................................................................................................................ ๗๘ ÀÒÉÒä·Â ô

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡Òä´Ô ๑. อานนทิ าน แลว วงรอบคำนาม และขีดเสนใตคำสรรพนาม จากน้นั เขียนคำลงใน มฐ./ตัวช้วี ัด ชองวา ง ท4.1 (2) ลาโงตัวหน่ึงกินหญาอยูที่ชายปา มันไดยินเสียงจิ้งหรีดรองไพเราะ จบั ใจ กอ็ ยากจะรอ งไดบาง จึงไปถามจิง้ หรีดวา “เธอกนิ อะไร จึงรองไดเสียงไพเราะอยา งน้”ี จ้ิงหรีดบอกวา “ฉันกินน้ำคาง” ลาไดยินดังนั้นก็เลิกกินหญา แลว เลยี น้ำคางกนิ แทน ในไมช า มนั ก็ตายเพราะอดอาหาร นทิ านอีสป คำนาม คำสรรพนาม เฉฉบลับย ลา ตัว........................................................ มัน........................................................ หญา ชายปา........................................................ บา ง........................................................ เสยี ง........................................................ เธอ........................................................ จิ้งหรีด........................................................ อะไร........................................................ นำ้ คา ง........................................................ อยางน้ี........................................................ อาหาร........................................................ ฉนั........................................................ ........................................................ ........................................................ ๒. หาบทรอยกรองที่ชอบ แลว คัดลงในสมุดดว ยตัวบรรจงครึง่ บรรทดั พรอ มทัง้ เขียน บอกทีม่ าของบทรอ ยกรอง และเหตผุ ลท่ีชอบ จากนัน้ ฝก อานออกเสยี งบทรอยกรอง มฐ./ตวั ช้ีวดั ข้นึ อยูกับดลุ ยพนิ จิ ของผูส อน ท5.1 (4) ¡Ô¨¡ÃÃÁºÙóҡÒÃÊÌҧÊÃä คิดแลวเขียนคำนาม และคำสรรพนามประเภทตางๆ แลวนำคำเหลาน้ันมาแตงนิทาน สน้ั ๆ ๑ เร่อื ง พรอมวาดรูปประกอบนิทานใหส วยงาม ÀÒÉÒä·Â ô ๗๙

แบบทดสอบที่ ๔ กา ✗ คำตอบที่ถูกที่สุด ขอ ๑-๓ ขอ ใดเปน คำนามทุกคำ ๕. ✗ก. ตาง ทา น ข. ทำไม น่นั ๑. ✗ก. คณะลูกเสอื กองหนังสือ ค. โนน ไวๆ ง. กบั ฉัน ๖. ก. อะไร กบั ข. ไป ฉะนั้น ข. ความดี มมี าก ค. น้ำตก พกพา ค. คณะ น้ัน ✗ง. น่ี ใคร ง. พดู ดี สดี ำ ๗. คำในขอ ใดตางจากพวก ๒. ก. เลน น้ำ ประปา ก. สิง่ ใด ข. ขา พเจา ✗ข. การเงิน ความรัก ค. วนุ วาย สอ งแสง ✗ค. การเงิน ง. บา ง เฉฉบลับย ง. ขบั รถ ถอนฟน ๘. กลอนสภุ าพ ๔ วรรค นบั เปน เทา ใด ๓. ก. แมวลาย ถายรูป ข. นกบนิ กนิ ขนม ✗ก. ๒ บาท ข. ๒ บท ค. สีแดง พวกเรา ค. ๑ บาท ง. ๔ บาท ✗ง. รถไฟ ฝูงลงิ ๙. ขอใดแบงจงั หวะการอานถกู ตอ ง ขอ ๔-๖ คำในขอใดเปนคำ ก. แลว สอน/วาอยา ไวใจ/มนุษย สรรพนามทกุ คำ ข. มนั แสน/สดุ ลึกล้ำ/เหลือกำหนด ๔. ก. เขา กลับ ✗ค. ถึงเถาวลั ย/พันเกย่ี ว/ท่ีเลยี้ วลด ข. และ เพอ่ื ค. เพราะ อะไร ง. ก็ไมคด/เหมอื นหนงึ่ /ในน้ำใจคน ๑๐. “...ถา คนไทยหนั มาฆา กันเอง ✗ง. ดฉิ ัน กระผม จะรอง ใหใ ครฟง”.......................... ๘๐ ก. รำทำเพลง ข. บรรเลงเพลง ค. เพลงปลกุ ใจ ✗ง. เพลงชาตไิ ทย ÀÒÉÒä·Â ô

๒ตาราง ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒÃàÃÕ¹»ÃШÓ˹‹Ç รายการวัดประเมินผลตามเปา หมายการเรียนรู ประจำหนวยท่ี ๔ คำชแี้ จง : ๑. ครูกำหนดคะแนนเตม็ ของกิจกรรมทต่ี อ งการวดั ผลเพือ่ เกบ็ สะสม ๒. ครนู ำคะแนนจากการวดั ผลดา นความรู (K) / ทกั ษะกระบวนการ (P) / คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค (A) ของนกั เรียน แตละคนกรอกลงในตาราง และสรปุ ผลการประเมนิ ๓. ชนิ้ งานทมี่ เี ครอ่ื งหมาย * กำกบั ใหใ ชป ระกอบการประเมนิ การอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี นสอื่ ความ รายการประเมนิ คะแนนรวมดาน รายการเคร่อื งมอื วัดและประเมนิ ผลการเรียนรขู องนกั เรยี น ดานความรู (K) ดา นทกั ษะ / กระบวนการ (P) ดา นคุณลักษณะทพี่ ึงประสงค (A) K/P/A ตวั ชว้ี ดั ชน้ั ป.๔ หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เต็ม ได หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เต็ม ได หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เต็ม ได เต็ม ได ประเมินผลสมั ฤทธดิ์ าน K / P / A มฐ.ท ๑.๑(๑) - การอานวรรณกรรม - แบบประเมินทกั ษะ - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ เฉฉบลับย อา นออกเสียง เรอ่ื ง เพลดิ เพลนิ ใจ การอานออกเสยี ง ท่พี งึ ประสงค บทรอ ยแกวและ ไปกบั วรรณคดี บทรอยกรองได (วรรณคดี เรอ่ื ง - แบบประเมินทักษะ - แบบประเมนิ คุณลกั ษณะ ถกู ตอง พระอภยั มณ)ี การอานออกเสยี ง ท่พี งึ ประสงค มฐ.ท ๑.๑(๒) แลวตอบคำถาม - แบบประเมินทักษะ - แบบประเมนิ คุณลักษณะ อธิบายความหมาย - ก. พฒั นาการคิด* การเขยี น ท่พี งึ ประสงค ของคำ ประโยค ขอ ๑ การอา น - แบบประเมนิ ทักษะ และสำนวนจาก และเขียนจำแนก การคิดวิเคราะห เรอ่ื งท่ีอา น ชนดิ ของคำ - แบบประเมินทกั ษะ มฐ.ท ๑.๑(๓) การอา นออกเสียง อานเร่อื งสนั้ ๆ ตามเวลาทีก่ ำหนด และตอบคำถาม จากเรื่องที่อาน มฐ.ท ๔.๑ (๒) ระบชุ นดิ และหนาท่ี ของคำในประโยค มฐ.ท ๕.๑ (๔) - ก. พัฒนาการคิด ทอ งจำบทอาขยาน ขอ ๒ การหา ตามท่ีกำหนดและบท บทรอ ยกรองทชี่ อบ รอ ยกรองทมี่ คี ุณคา และฝก อา นออกเสียง ตามความสนใจ สวนที่ ๑ คะแนนจากการประเมินดานผลการเรียนตามตัวช้วี ัด สวนที่ ๒ คะแนนจากการประเมินตนเองของนักเรยี น ผลงานกิจกรรมบูรณาการฯ ทีน่ ักเรียนปฏบิ ัติ ชอ่ื งาน การแตงนิทานจากคำท่ีคดิ สว นที่ ๓ คะแนนจากการทดสอบสมั ฤทธิผลประจำหนว ย การทำแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธป์ิ ระจำหนว ยที่ ๑-๕ สรปุ ผลการประเมินพฒั นาการเรียนรปู ระจำหนวย ขอเสนอแนะ ………………………………………………………….. ผา น ไมผา น ………………………………………………………………………………. ระดับคณุ ภาพ ๔ ดมี าก ๓ ดี ๒ พอใช ๑ ควรปรับปรงุ ➠ ซอมเสริมแลว ➠ ผานเกณฑป ระเมนิ ลงชอื่ ………………………………………………………. ผูป ระเมนิ …………….. / …………….. / ……………. ☞ หมายเหตุ ครูสามารถใชแบบบันทึกนี้เพื่อบันทึกผลการเรียนแตละหนวยของนักเรียนเปนรายบุคคล หรือบันทึกลงในแบบบันทึกอื่น ที่ครูหรือสถานศึกษาจัดทำขึ้นก็ได ÀÒÉÒä·Â ô ๘๑

คํคาำกกรริยิยาาแและลคะำควำิเหนศววยกาษรเิเรียศนณรทู ี่ ษ๕ ณ เปา หมายการเรียนรปู ระจำหนว ยการเรียนรูท ี่ ๕ ¤Ó¡ÃÂÔ Ò º¹Ô à´Ô¹ เม่ือเรยี นจบหนว ยนี้ ผเู รยี นจะมคี วามรคู วามสามารถตอ ไปนี้ ¤Ó»ÃÐÊÁ ¹èѧ ¹Í¹ ๑. อา นออกเสียงบทรอยแกว และบทรอยกรองไดถ ูกตอง ¤ÊÓ§Ù ÇÔàÈÉ൳ÂéÕ  ๒. บอกความหมายของคำและตอบคำถามจากเรื่องทอี่ านได Ã¶ä¿ ๓. ระบุชนดิ และหนา ท่ีของคำในภาษาไทยได ¡ÅŒÇÂ䢋 ๔. เขียนแผนภาพโครงเรอ่ื งจากเร่ืองทีอ่ านได ๕. ทองจำบทอาขยานตามทก่ี ำหนด และบทรอยกรอง ¤ÓÇàÔ Èɳ ãËÞ‹ ท่ีมีคุณคาตามความสนใจได คณุ ภาพทีพ่ ึงประสงคของผเู รยี น ๑. อานไดค ลอ ง และอา นไดเรว็ ขนึ้ ๒. เขา ใจความหมายของคำจากเรือ่ งท่ีอา น เฉลยฉบับ ๓. ทอ งจำบทรอ ยกรองท่ีไพเราะ และมีคณุ คา แลว นำไปใชใ นชีวติ ประจำวันได แผนผงั ความคิด ประจำหนว ยการเรยี นรูที่ ๕ ªÒŒ ã¡ÅàŒ ÃàÅçÇç¡ สาระ เรียนรหู ลกั ภาษา การเรียนรู คำกรยิ า คำวเิ ศษณ คำประสม เบกิ ฟา วรรณกรรม สุดสาครผจญภัย จดจำการใชภ าษา การเขียนแผนภาพ โครงเรอ่ื ง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook