Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เฉลย มมฐ. ภาษาไทย ป.4

เฉลย มมฐ. ภาษาไทย ป.4

Description: เฉลย มมฐ. ภาษาไทย ป.4

Search

Read the Text Version

“ตอบครบทุกคำถามเลยนะจะ ดมี ากจะ เอาเปน วา แมอนญุ าตใหหนูไปได แตมีขอแมวาหนูจะตองต้ังใจอานหนังสือเตรียมสอบใหมากขึ้นกวาเดิมดวย นะจะ” คุณแมบ อก “ไชโย! ขอบคุณนะคะคุณแม ถาอยางน้ันหนูขอไปเขียนจดหมายตอบ สม โอกอ นนะคะ แลวหนูจะไดอ า นหนงั สือเตรียมตัวสอบดว ยเลย” เชิงขวัญบอก คุณแม “ไปเถอะจะ ” คณุ แมบ อก “แลว ถาหนูสอบไดคะแนนดีๆ แมอาจจะ พาหนกู ับสมโอไปเทย่ี วอกี ดว ยนะจะ” “จรงิ หรือคะคุณแม ถา อยางน้ัน หนูจะต้ังใจเต็มท่ีเลยคะ” พูดจบแลว เชิงขวัญก็รองเพลงปลุกใจตนเองวา เฉฉบลับย “จิ๊บสูๆ จ๊ิบสูตาย จ๊ิบไวลาย สูตาย สูๆ” ทำเอาคุณแมถึงกับหัวเราะ เลยทเี ดยี ว ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹Ì٠·Õè ó ๑. ตโ๑๒ฝคอ)ก)รบองถนคากากันำานเถอรรกั าอียเมนกรจยีจเคิ๋วสนาดิหียกเวลปงเารวิบนเอื่ ชทเงชิงยอทขงิมิ้าี่อขวนนาัญวจอนัญนมยอลีดยนขากัังิ้มน้ึกันนษใเอไหี้ณรยดยีญกูะคนนบัลจแสิดอ ะลัยลุงไะอปยแยพเเพทลานิ ะงลีย่ ิจหไงวขราปกอบคลับงาวผกุสงาูสใม มจอโหนอมหารยอื ขไมอง เคพำรตาอ ะไเปหนตีุ้ใด ๒. ÀÒÉÒä·Â ô ๑๘๓

จดจำการใชภาษา การเขียนจดหมายสวนตัว ¡ÒÃà¢Õ¹¨´ËÁÒ¶֧à¾×è͹ËÃ×ÍÞÒµÔ¾Õ¹è ÍŒ §¢Í§àÃÒ à»¹š ¡ÒÃà¢Õ¹¨´ËÁÒÂẺ㴠ã¤Ã·ÃÒººŒÒ§¤Ð การเขียนจดหมายสวนตัว เปนการเขียนจดหมายเพื่อส่ือสารกับเพื่อน หรอื ญาติพีน่ อ ง เพื่อแจงเรอ่ื งราวหรือสอบถามทุกข สขุ หรอื เลา เรอ่ื งราวตา งๆ ในการเขียนจดหมายถึงบุคคลทอี่ ยูในสถานะตางๆ ควรปฏิบตั ิ ดังนี้ ๑. ตองใชภาษาที่สุภาพและเหมาะสมกับบุคคลนั้นๆ โดยเฉพาะกับ ญาตผิ ูใหญตองแสดงความสภุ าพ และความเคารพใหมาก เฉฉบลับย ๒. เลือกใชกระดาษและซองจดหมายแบบที่เรยี บรอ ย สะอาด สีสุภาพ ๓. ตองเขียนจดหมายใหถ กู ตอ งตามรปู แบบของจดหมาย ๔. ถาเขยี นดวยลายมือ ควรเขยี นใหเรียบรอย สะอาด ไมม รี อยขีดฆา ๕. เขียนจาหนาซองใหถูกตอง และปดดวงตราไปรษณียากรตามราคา ทก่ี ำหนด คำขน้ึ ตน และคำลงทา ยจดหมาย คำลงทาย บุคคล คำขึ้นตน ดวยความเคารพอยางสงู ดว ยความเคารพอยา งสูง พอแม กราบเทา.....ท่เี คารพ รักและคดิ ถงึ ปู ยา ตา ยาย กราบเทา.....ทเ่ี คารพ เพอื่ น .....เพ่อื นรกั ๑๘๔ ÀÒÉÒä·Â ô

การใชคำเรยี กหรือสรรพนามในการเขียนจดหมาย บคุ คล คำเรยี กหรือสรรพนามใชแ ทน คำเรยี กหรือสรรพนามท่ใี ชแ ทน บคุ คลทีเ่ ขยี นจดหมายถึง ตัวผูเขียนจดหมาย พอแม คุณพอ คณุ แม ทาน ลกู ผม หนู ปู ยา ตา ยาย คณุ ปู คณุ ยา คุณตา หลาน ผม หนู คณุ ยาย ทาน เพอ่ื น เพ่ือน เธอ คณุ ผม ฉนั ดฉิ ัน เรา รปู แบบการเขยี นจดหมาย สถานที่ .................................................................... เฉฉบลับย ................................................................................................ วนั ท่ี ....................................................................... คำขึน้ ตน ....................................................................... เนอ้ื ความจดหมาย .......................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................................ คำลงทา ย ................................................................................... ช่อื ผเู ขยี น ............................................................ ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ·Õè ô ขน้ึ อยกู ับดลุ ยพินจิ ของผสู อน ฝกเขียนจดหมายสว นตัวถึงเพ่อื นท่ีอยตู า งหอง แลว สงไปรษณียถงึ เพอ่ื น ÀÒÉÒä·Â ô ๑๘๕

การเขียนเร่ืองตามจินตนาการ ¶ŒÒàÃÒµŒÍ§¡ÒÃà¢Õ¹àÃÍè× §µ‹Ò§æ µÒÁ¨¹Ô µ¹Ò¡ÒâͧàÃÒ àÃÒ¤Çû¯ºÔ µÑ ÍÔ Â‹Ò§äà ã¤Ã·ÃÒººŒÒ§¤ÃºÑ การเขียนเรอื่ งตามจนิ ตนาการ เปน การเขยี นเร่อื งราวตา งๆ เชน นิทาน ละคร เรอ่ื งสนั้ ฯลฯ ตามจนิ ตนาการหรอื ความคิดของผูเ ขยี น โดยเร่ืองนน้ั อาจ เปน ความจรงิ หรือไมเปน ความจรงิ ก็ได หลกั ในการเขียนเร่อื งตามจนิ ตนาการ มีดงั น้ี ๑. วางเคา โครงของเรื่องทจี่ ะเขยี น ๒. คดิ ลำดับเหตุการณท่ีจะเกดิ ขน้ึ ในเรื่องใหส อดคลอ ง และสมั พนั ธกัน ๓. เม่ือเขียนจบประโยคตองเวนวรรค​ และเมื่อจะขึ้นตอนใหมก็ใหขึ้น เฉฉบลับย ยอ หนา ใหม เพื่อใหอ า นไดสะดวก และเขาใจงา ยขึน้ ๔. เขยี นสะกดคำใหถูกตอ ง ชดั เจน ๕. เขยี นดวยลายมอื ทส่ี วยงาม สะอาด นา อาน ๖. ต้ังชื่อเรอ่ื งใหชวนอาน และมีความสอดคลองกับเนอ้ื เรื่องทอ่ี า น ตวั อยา ง การเขยี นเร่อื งตามจินตนาการ เรือ่ ง ถ ถุงอกั ษร กาลคร้ังหนึง่ นานมาแลว... มีถุงอยูถุงหนึ่ง ในถุงน้ันบรรจุอักษรอยูเต็มถุง จึงไดชื่อวาถุงอักษร ถุงอักษรมีหนาที่เก็บรักษาอักษรไวใหครบ ๔๔ ตัว วันหนึ่งถุงอักษรเผลอหลับ ไป เม่อื ต่ืนขึ้นมากพ็ บวา ม มา และ ร เรอื แอบหนีหายไป “กอนอนื่ ฉนั จะตอ งหา ม มา กอ น เพราะอยบู นพื้นดิน หางา ยสดุ ฉนั จะ เอาพยัญชนะตัวไหนไปจบั ม มา ดนี ะ ออ! นึกออกแลว ส เสอื ไงละ จะได ชว ยตอนมา” ๑๘๖ ÀÒÉÒä·Â ô

ถุงอักษรจึงไปท่ีทุงกวางเพราะ รวู า ม มา ตอ งไปวิง่ เลน ทน่ี ัน่ แนน อน เมอื่ ไปถงึ ทงุ กวาง ถงุ อักษรก็เหน็ ม มา กำลังวิ่งอยูไกลๆ ถุงอักษรจึงบอกให ส เสือ ออกมาจากถงุ แลว ให ส เสือ ไลต อน ม มา มาทางถงุ อกั ษร ม มา พยายามหลบหนี แตในท่ีสุด ส เสือ ก็ตอน ม มา มาเขาถุงจนได แลว ส เสอื กก็ ระโดดกลับเขา ถุงตามไป “เอาละ เสร็จไปหนงึ่ ทนี กี้ เ็ หลือ อกี หนง่ึ ตัว” หลังจากนั้นถุงอักษรก็เดินทาง ไปทท่ี ะเล เพราะรูวา ร เรือ ตองแลน ไป เฉฉบลับย ที่ทะเลแนๆ ถงุ อกั ษรบอกให ภ สำเภา ออกมาชวยจับ ร เรอื เพราะ ภ สำเภา ใหญกวา ร เรอื มาก ตอ งจบั ร เรือ ไดแ นนอน แตเพราะคลน่ื ลมแรง ทำให ภ สำเภา แลน เรว็ จนไปชน ร เรอื จม นำ้ หายไป ตอ งอาศยั ป ปลา ลงไปชว ยพา ร เรือ ขึน้ มาได จากน้ัน ภ สำเภา ร เรอื และ ป ปลา ก็กลบั เขาถุงอกั ษรตามเดมิ “ไชโย! ในทีส่ ุดฉันกจ็ ับตวั อกั ษรไดค รบหมดแลว ดีใจจงั เลย” ต้ังแตนั้นมา ถุงอักษรก็ไมเคยหลับ และตัวอักษรทุกตัวก็ไมกลาหนีออก มาอีกเลย ทำใหเรามีพยัญชนะครบทัง้ ๔๔ ตัว มาจนถงึ ทุกวันน้ี ของ เดก็ หญงิ เชิญตะวนั สวุ รรณพานชิ จาก หนังสอื หวา นฝนดวยเมล็ดพนั ธแุ หง จนิ ตนาการ เลม ๘ ÀÒÉÒä·Â ô ๑๘๗

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ·Õè õ ดภู าพท่ีกำหนด แลวเขียนเรอ่ื งตามจินตนาการของนกั เรียนลงในสมดุ ขน้ึ อยูกบั ดลุ ยพินิจของผูส อน เฉฉบลับย ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡Òä´Ô ๑. แตง คำขวญั หวั ขอทน่ี กั เรียนสนใจ ๑ คำขวัญ แลวเขยี นบอกรายละเอียด มฐ./ตัวชว้ี ดั คำขวญั ........................................................................................................................................................................................................ คคำำขขววัญญั นนีม้้เี ปีจนดุ คมำุงขหวมัญาเยกเ่ยีพวื่อก:ับ : ข้ึนอยูกับดุลยพินิจของผสู อน........................................................................................................................................................................................................ ทท42..11 ((25)) ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ๑๘๘ ÀÒÉÒä·Â ô

๒. แตง กลอน ๔ หัวขอ ที่นกั เรียนสนใจอยา งนอ ย ๒ บท ลงในสมุด แลวขดี เสน มทฐ4./.ต1วั ช(5วี้ )ดั โยงสมั ผสั ใหถ กู ตอ ง พรอมวาดรูปประกอบใหส วยงาม ๓. เขียนจดหมายถึงบิดามารดา หรอื ญาตผิ ูใหญข องนกั เรียน โดยสมมุตสิ ถานการณ ข้นึ เอง มฐ./ตวั ชี้วดั ท2.1 (5) ........................................................................................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................................................................ เฉฉบลับย........................................................................................................................................................................................................................................................ ขนึ้ อยูก ับดลุ ยพินิจของผสู อน........................................................................................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................................................................ ÀÒÉÒä·Â ô ๑๘๙

๔. เขยี นเรือ่ งส้ันๆ ตามจนิ ตนาการของนกั เรยี น แลวตง้ั ชอื่ เรอ่ื งและวาดรูปประกอบ มฐ./ตวั ช้ีวัด ใหสวยงาม ท2.1 (7) เรอื่ ง ............................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................................................................ เฉฉบลับย ข้ึนอยกู ับดุลยพินิจของผสู อน........................................................................................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................................................................................ ¡Ô¨¡ÃÃÁºÙóҡÒÃÊÌҧÊÃä คิดแลวเขียนคำขวัญเพื่อรณรงคลดภาวะโลกรอน พรอมตกแตงใหสวยงาม จากน้ัน ชว ยกันรวบรวมคำขวัญมาจัดปา ยนเิ ทศเก่ยี วกบั เร่ืองดังกลา ว ๑๙๐ ÀÒÉÒä·Â ô

แบบทดสอบที่ ๙ กา ✗ คำตอบที่ถูกท่สี ุด ขอ ๑-๗ ควรเติมคำใด ๘. ขอใดไมใชคำขวญั ก. ยาเสพตดิ คนเสพตาย วันหนงึ่ มาแก นอน ๑. ชูคอ................ คนขายตดิ คุก เด็กสบิ คน.....๒............ ๓. ข่ีทกุ ๔................. บางวา แก. ...๕............. ................ ข. เดก็ ฉลาด ชาตเิ จรญิ เกาคนพา ๗................. จะ ๖. ขม่ี ัน................ ✗ค. น้ำทว มทงุ ผกั บงุ โหรงเหรง กลับบา นพอใจ... ง. มีคณุ ธรรมนำใจ ใชชีวิต ๑. ✗ก. แผ ข. แบ พอเพยี ง ค. แค ง. แช ๙. หากเขียนคำลงทายจดหมายวา ๒. ก. ออ ข. ยอ “ดว ยความเคารพอยางสงู ” เฉฉบลับย ค. จอ ✗ง. รอ ควรเปน จดหมายที่เขยี นถึงใคร ๓. ก. ปอ ✗ข. ขอ ค. ตอ ง. ทอ ✗ก. พอ -แม ข. พ่ี ๔. ก. นั้น ข. กนั ค. นอ ง ✗ค. วัน ง. อนั ๕. ก. ใหญ ✗ข. ไป ง. เพื่อน ๑๐. งานเขียนใดไมใชก ารเขยี นเรอ่ื ง ค. ใด ง. ใจ ตามจนิ ตนาการ ๖. ก. ไล ข. ไป ค. ใกล ✗ง. ไม ก. การเขียนนทิ าน ข. การเขียนเรือ่ งส้ัน ๗. ก. มนั ข. ฉนั ✗ค. การเขียนขาวการเมือง ✗ค. กัน ง. นัน้ ง. การเขียนนวนยิ าย ÀÒÉÒä·Â ô ๑๙๑

๒ตาราง ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒÃàÃÂÕ ¹»ÃШÓ˹‹Ç รายการวดั ประเมนิ ผลตามเปา หมายการเรยี นรู ประจำหนว ยท่ี ๙ คำชีแ้ จง : ๑. ครูกำหนดคะแนนเต็มของกิจกรรมท่ีตอ งการวดั ผลเพื่อเกบ็ สะสม ๒. ครนู ำคะแนนจากการวดั ผลดา นความรู (K) / ทกั ษะกระบวนการ (P) / คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค (A) ของนกั เรยี น แตล ะคนกรอกลงในตาราง และสรปุ ผลการประเมิน ๓. ชนิ้ งานทม่ี เี ครอ่ื งหมาย * กำกบั ใหใ ชป ระกอบการประเมนิ การอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี นสอื่ ความ รายการประเมนิ คะแนนรวมดา น รายการเครื่องมอื วัดและประเมนิ ผลการเรียนรูของนักเรียน ดา นความรู (K) ดา นทกั ษะ / กระบวนการ (P) ดานคุณลักษณะท่พี ึงประสงค (A) K/P/A ตวั ชว้ี ดั ชน้ั ป.๔ หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เต็ม ได หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เต็ม ได หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เต็ม ได เต็ม ได ประเมนิ ผลสัมฤทธ์ดิ า น K / P / A มฐ.ท ๑.๑(๓) - การอา นออกเสยี ง - แบบประเมนิ ทกั ษะ - แบบประเมินคุณลักษณะ อานเรอ่ื งสัน้ ๆ ตาม วรรณกรรม เร่อื ง การอา นออกเสียง ทีพ่ งึ ประสงค เวลาทก่ี ำหนดและ จดหมายจากเพ่ือน ตอบคำถามจากเรอ่ื ง แลวตอบคำถาม ท่อี า น มฐ.ท ๒.๑(๒) - ก. พัฒนาการคิด - แบบประเมินทกั ษะ - แบบประเมินคณุ ลกั ษณะ เขยี นสอื่ สารโดยใชค ำ ขอ ๑ แตงคำขวญั การเขยี น ทพี่ ึงประสงค ไดถ ูกตอง ชัดเจน และเหมาะสม มฐ.ท ๔.๑ (๕) แตง บทรอ ยกรอง และคำขวัญ มฐ.ท ๒.๑ (๕) - ก. พฒั นาการคิด - แบบประเมนิ ทกั ษะ - แบบประเมินคุณลักษณะ เฉฉบลับย เขียนจดหมายถงึ ขอ ๓ เขียนจดหมาย การเขยี น ท่พี งึ ประสงค เพือ่ นและบดิ ามารดา ถงึ บิดามารดา หรอื - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ ญาตผิ ูใหญ - แบบประเมินทักษะ ทีพ่ งึ ประสงค มฐ.ท ๒.๑ (๗) - ก. พฒั นาการคิด การเขยี น เขียนเรื่องตาม ขอ ๔ การแตง จนิ ตนาการ เร่ืองตามจินตนาการ มฐ.ท ๔.๑ (๕) - ก. พัฒนาการคดิ - แบบประเมินทกั ษะ - แบบประเมินคณุ ลกั ษณะ แตง บทรอยกรอง ขอ ๒ การแตง การเขยี น ที่พึงประสงค และคำขวญั กลอน ๔ สว นที่ ๑ คะแนนจากการประเมนิ ดานผลการเรียนตามตัวชีว้ ดั สว นที่ ๒ คะแนนจากการประเมนิ ตนเองของนักเรียน ผลงานกจิ กรรมบูรณาการฯ ทีน่ กั เรียนปฏบิ ตั ิ ชื่องาน การแตง คำขวญั รณรงคล ดภาวะโลกรอ น สว นท่ี ๓ คะแนนจากการทดสอบสัมฤทธิผลประจำหนว ย การทำแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธปิ์ ระจำหนว ยท่ี ๖-๑๐ สรุปผลการประเมนิ พัฒนาการเรียนรปู ระจำหนวย ขอเสนอแนะ ………………………………………………………….. ผา น ไมผาน ………………………………………………………………………………. ระดบั คุณภาพ ๔ ดมี าก ๓ ดี ๒ พอใช ๑ ควรปรบั ปรงุ ➠ ซอมเสรมิ แลว ➠ ผานเกณฑป ระเมนิ ลงชอื่ ………………………………………………………. ผปู ระเมนิ …………….. / …………….. / ……………. ☞ หมายเหตุ ครสู ามารถใชแบบบันทึกนี้เพื่อบันทึกผลการเรียนแตละหนวยของนักเรียนเปนรายบุคคล หรือบันทึกลงในแบบบันทึกอื่น ที่ครูหรือสถานศึกษาจัดทำขึ้นก็ได ๑๙๒ ÀÒÉÒä·Â ô

ภภาาษษาาถถ่ินิ่น ๑๐หนว ยการเรยี นรูท่ี เปาหมายการเรยี นรูประจำหนวยการเรียนรูท่ี ๑๐ àÇÒŒ ͌٠᫺ เมือ่ เรียนจบหนวยนี้ ผูเรียนจะมคี วามรคู วามสามารถตอ ไปน้ี ÅÓ áËŧ ๑. อา นเรื่องส้นั ๆ ตามเวลาทีก่ ำหนด ตอบคำถาม ¾Ù´ ËÃÍÂเฉฉบลับย ÍÃÍ‹  และบอกขอคิดจากเรือ่ งทอ่ี านได ๒. คาดคะเนเหตุการณจากเรอื่ งท่อี าน โดยระบุเหตผุ ลประกอบได ๓. เลือกอานหนังสือตามความสนใจไดอ ยางเหมาะสม ๔. เปรียบเทยี บภาษาไทยมาตรฐานกบั ภาษาถิน่ ได คณุ ภาพทีพ่ ึงประสงคข องผเู รยี น ๑. อานไดค ลอ ง และอา นไดเร็วข้ึน ๒. เลอื กอา นหนังสอื จากแหลงเรียนรูไดตามจุดประสงค ๓. เขาใจลักษณะของคำไทยและคำภาษาถ่นิ ท่ปี รากฏในภาษาไทย ๔. เลานิทานพืน้ บานในทองถิ่น ๕. มีนิสยั รกั การอาน แผนผังความคิด ประจำหนว ยการเรยี นรูท ่ี ๑๐ เรียนรูหลักภาษา ภาษาถิ่น สาระ เบกิ ฟา วรรณกรรม การเรยี นรู นทิ านพ้ืนบา นไทย จดจำการใชภาษา การเลือกอานหนงั สอื การคาดคะเนเหตกุ ารณ

ขอบขายสาระการเรียนรแู กนกลาง รายวชิ า ภาษาไทย ชัน้ ป.๔ ตัวช้ีวดั สาระพื้นฐาน ความรฝู ง แนน ติดตวั ผูเรยี น มฐ.ท ๑.๑ - วรรณกรรม เรื่อง นิทานพน้ื บานไทย - วรรณกรรมเรื่อง นิทานพ้นื บา นไทย ๓. อานเรือ่ งสัน้ ๆ ตามเวลาทก่ี ำหนด เปนเร่ืองเกย่ี วกบั นทิ านพ้นื บานของ - การคาดคะเนเรอื่ งราวและเหตกุ ารณ จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา และตอบคำถามจากเรื่องที่อา น - การเลอื กอานหนังสอื ๕. คาดคะเนเหตกุ ารณจ ากเรอ่ื งทอ่ี าน - การคาดคะเนเรอ่ื งราวและเหตกุ ารณ เปน การคาดเดาเหตกุ ารณลว งหนา โดยระบุเหตผุ ลประกอบ ๗. อานหนงั สือท่มี ีคุณคาตามความ - การเลือกอานหนงั สอื ควรเลือก หนงั สือท่ีใหความรู สง เสริมปญ ญา สนใจอยางสม่ำเสมอและแสดง และใชภาษาทถี่ กู ตอง ความคิดเหน็ เกยี่ วกบั เรื่องทีอ่ าน มฐ.ท ๔.๑ - ภาษาถนิ่ - ภาษาถ่ิน คอื ภาษาทใ่ี ชพ ดู ส่อื สารกนั ๗. เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐาน ในทอ งถิ่นตางๆ กบั ภาษาถ่นิ ได มฐ.ท ๕.๑ - นทิ านพ้ืนบาน เร่ือง พระเจาสายนำ้ ผ้ึง - เร่ือง พระเจา สายนำ้ ผง้ึ และพระนาง ๑. ระบุขอ คดิ จากนทิ านพ้นื บานหรอื และพระนางสรอยดอกหมาก (จาก สรอ ยดอกหมาก เปนนิทานพ้นื บา น วรรณกรรมเร่อื ง นิทานพน้ื บานไทย) ของจังหวดั พระนครศรีอยุธยา เฉฉบลับย นิทานคติธรรม ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹ ตกปลาทีม่ ีคำศัพทภาษาถน่ิ ของแตละภาค แลว เขียนจำแนกลงในชอ งวาง พูด แหลง อู แซบ อรอ ย เวา ลำ หรอย ภาษาถนิ่ กลาง ภาษาถิน่ เหนอื ภาษาถน่ิ อสี าน ภาษาถ่นิ ใต พูด................................. อู................................. เวา................................. แหลง................................. อรอ ย................................. ลำ................................. แซบ................................. หรอย................................. ๑๙๔ ÀÒÉÒä·Â ô

เรียนรูหลักภาษา ภาษาถ่ิน ¤¹ä·Â·ÍÕè ÂÙ‹ÀÒ¤µÒ‹ §æ 㪌¶ŒÍ¤Ó㹡Òþٴ àËÁ×͹ËÃ×͵ҋ §¡¹Ñ Í‹ҧäà ã¤Ã·ÃÒººÒŒ §¤Ð ภาษาถ่ิน คือ ภาษาที่ใชพูดส่ือสารกันตามทองถ่ินตางๆ เพื่อส่ือ ความหมายใหเขาใจกันในทองถ่ินนั้นๆ ซ่ึงแตละทองถ่ินอาจพูดแตกตางกันไป จากภาษาไทยมาตรฐาน ท้ังในดานเสยี ง คำ และการเรยี งคำ ภาษาถิ่นที่ใชพูดอยูในแตละทองถิ่นของประเทศไทย ตางก็เปนภาษาถ่ิน ของภาษาตระกูลไทด้ังเดิม ถา หากภาษาถนิ่ ใดมลี กั ษณะทั่วไปทางเสียง คำ และ ความหมายเหมือนกัน หรือคลายคลึงกัน ก็จดั อยูในภาษาถ่นิ ภาคนั้นๆ เฉฉบลับย ภาษาถ่ิน บางที่เรียกอีกอยางหนึ่งวา ภาษาพื้นเมือง ท้ังน้ีเปนเพราะ ไมเ ปนท่ยี อมรบั กนั วา เปน ภาษามาตรฐานของประเทศ ภาษามาตรฐาน หรือ ภาษากลาง หมายถึง ภาษาท่ีใชเปน ทางการ เปน ภาษาท่ีใชในเมืองหลวง เปนภาษาหนังสือและวรรณคดีและเปนภาษาท่ี ถายทอดเสียงพูดเปนตัวอักษรไดใกลเคียงที่สุด และเปนภาษาของคนสวนใหญ ของประเทศ การแบง กลุมภาษาถนิ่ ในประเทศไทย ภาษาถ่ินในประเทศไทย แบงตามความแตกตางของภูมิศาสตร หรือ ทองทีท่ ่ีผูใชภ าษานัน้ ๆ อาศยั อยู อาจแบง เปน ๔ กลุมใหญๆ ดังน้ี ๑. ภาษาถ่ินกลาง ไดแ ก ภาษาที่ใชพูดกนั ในเมอื งหลวงของประเทศไทย และจงั หวัดรอบๆ ทางภาคกลางของประเทศ ซ่งึ จัดวาเปนภาษามาตรฐาน หรือ ภาษากลางดว ย ÀÒÉÒä·Â ô ๑๙๕

๒. ภาษาถน่ิ ใต ไดแก ภาษาที่ใชพดู กนั ในจังหวดั ทางภาคใตของประเทศ ไทย เชน สงขลา ภเู กต็ พงั งา สุราษฎรธ านี เปน ตน ๓. ภาษาถิ่นอีสาน ไดแก ภาษาท่ีใชพูดกันในจังหวัดทางภาคตะวันออก เฉยี งเหนือของประเทศไทย เชน ชัยภมู ิ อุบลราชธานี รอ ยเอ็ด เปนตน ๔. ภาษาถ่ินเหนือ ไดแก ภาษาที่ใชพูดกันในจังหวัดทางภาคเหนือของ ประเทศไทย เชน เชยี งใหม ลำพูน ลำปาง แมฮ อ งสอน เปนตน สาเหตุทีท่ ำใหเ กดิ ภาษาถนิ่ มีดงั นี้ ๑. สภาพทางภูมิศาสตร ความแตกตางทางสภาพภูมิศาสตร ทำใหการ ออกเสียงแตกตางกัน ความหางไกล ขาดการไปมาหาสูซึ่งกันและกันเปนเวลา นานหลายชวั่ อายุคน ทำใหภ าษาเปลยี่ นแปลงไป ๒. กาลเวลา ระยะเวลายาวนานจากสมัยหน่ึงสูสมัยหน่ึง ทำใหภาษา เปลี่ยนแปลงไปตามกาลสมัยและเทคโนโลยสี มยั ใหมๆ ทรี่ ับเขา มา เฉฉบลับย ๓. อิทธิพลของภาษาอื่นท่ีอยูใกลเคียง ภาษาอื่นที่อยูใกลเคียงจะทำให เกิดการผสมทางเชื้อชาติ เชน ภาษาอีสานยอมมีภาษาเขมร และภาษาลาว เขา มาปะปน ภาษาใตยอมมีภาษามลายู ชวา เขามาปะปน เปน ตน ๔. การผสมทางวัฒนธรรม ภาษามกี ารเปลยี่ นแปลงทางวฒั นธรรม ภาษา ท่ีมีวัฒนธรรมสูงกวายอมถายทอดสูภาษาที่มีวัฒนธรรมต่ำกวา ภาษาของชาติ ทีช่ นะสงครามยอ มถา ยทอดสชู าติท่แี พส งคราม ความสำคัญของภาษาถิ่น มีดงั น้ี ๑. ภาษาถ่ินเปนเอกลักษณของวัฒนธรรมทองถน่ิ ๒. ภาษาถ่ินเปนสัญลักษณของความเขาใจอันดีของเจาของภาษาใน ทองถ่นิ ซ่งึ แสดงวาเปน พวกเดียวกนั ๓. ภาษาถ่ินเปนที่มาและเปนสวนหนึ่งของภาษาไทยและวรรณคดีไทย ฉะนนั้ การศึกษาภาษาถ่นิ ทำใหเ ขาใจภาษาไทยและวรรณคดีทล่ี ึกซง้ึ ยง่ิ ข้นึ ๑๙๖ ÀÒÉÒä·Â ô

๔. การศึกษาภาษาถ่ินเปนการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม และทัศนคติที่ดี ตอ กนั ระหวา งคนในชาติ ¢ÍàªÔÞä»à·ÕÂè Ç»¡˜ ɏ㵌 à«Ô¹ä»à·ÕÂè ÇÍÕÊÒ¹ºŒÒ¹¢ÍŒ  ¢Íà¨¹Ô ÁÒá͋ǺҌ ¹àÎÒ¨ÒÇà˹×Í ºŒÒ¹©Ò¹ ¢Í§¡¹Ô ËÃͨ§Ñ Ό٠¢ÍŒ ÂÊ¾Ô Ò仡ԹÅÒº¡ÍŒ  ¢Í§¡Ôë¹ÅÓ¢Ð˹Ҵ ᫺æ ตวั อยา ง ภาษาถิน่ ภาคตางๆ เฉฉบลับย ภาษามาตรฐาน อีสาน ภาษาถิ่น ใต พูด โกรธ เวา เหนือ แหลง ทพั พี สนุ หวิบ ฝรงั่ (ผลไม) กะจอง อู หวัก มอง สดี า โขด ชมพู กะลา เบ่ิง ปาก แล ดกึ กะโป มะแกว พรก พรุง นี้ เดิก ผอ หัวคำ่ มอ้ื อ่นื กะลงั ตอเชา เด๋ิก วันพูก ๑๙๗ ÀÒÉÒä·Â ô

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ·Õè ñ ๑. สบื คน ขอ มลู และเขียนภาษาถิ่นในภาคตางๆ ใหตรงกับคำภาษากลางทก่ี ำหนด ภาษามาตรฐาน อีสาน ภาษาถนิ่ ใต ๑) อรอย ๒) ฉนั แซบ.................................................. เหนอื หรอย.................................................. ๓) กลบั บาน ขอย.................................................. ฉาน.................................................. ๔) ตลาด เมือบา น.................................................. ลำ.................................................. หลบบา น.................................................. ๕) โกหก ตลาด.................................................. เฮา.................................................. หลาด.................................................. ขีต้ ว๋ั.................................................. ปกบา น.................................................. ขฮี้ ก.................................................. กาด.................................................. ข้ีจุ.................................................. เฉฉบลับย ๒. สบื คนขอมลู แลว จัดหมวดหมูของคำภาษาถิ่นทกี่ ำหนดวาเปน ภาษาถ่นิ ภาคใด โดยเขียนลงในสมุด (ดเู ฉลยในหนาพเิ ศษทา ยเลม ) บ หลบบา น หรอย ไปแอว ลำ ละออน เกิบ บกั นดั ฮัก แคบหมู บกั หงุ กะตา นัว กาด มกั กะลิออง ขลม กะทัน ขลบ ควน จอบ จอย จ๊ักก้มิ พสิ ัง มูสงั ยี่ หวั ขวน สำสา หนาน หลอ ๑๙๘ ÀÒÉÒä·Â ô

เบิกฟา วรรณกรรม นิทานพื้นบานไทย หลังจากทีก่ ลับมาจากทัศนศึกษาท่จี งั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยาแลว เด็ดเดย่ี ว ก็รูสึกสนใจและสืบคนขอมูล เกีย่ วกับสถานทตี่ างๆ ในจังหวดั ä»ËÍŒ §ÊÁ´Ø ¡¹Ñ ¹Ð ¾Ç¡àÃÒ พระนครศรีอยุธยาเพิ่มเติม จากหองสมุดอีกหลายสถานท่ี วันหนึ่งหลังจากรับประทาน อาหารกลางวนั แลว เขากช็ วน เพอื่ นๆ ไปหอ งสมดุ อีก เม่อื ไปถงึ หอ งสมดุ แลว เดก็ ๆ ตา งก็แยกยา ยไปอานหนงั สอื ท่ีตนเองชอบ เฉฉบลับย ระหวางน้ันเด็ดเดี่ยวเหลือบไปเห็นหนังสือนิทานพื้นบานเลมหนึ่งหลนอยูบนพื้น เขาจงึ หยิบขน้ึ มา เมอื่ ลองพลกิ ๆ ดู เด็ดเด่ยี วกเ็ หน็ ช่ือนทิ านเรอ่ื งหนึง่ ทร่ี ะบุวา เปนนิทานพื้นบานของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เขาจึงถือหนังสือเลมนี้มาท่ี โตะ แลวเรม่ิ ตน อานนทิ านเรอื่ ง “พระเจาสายน้ำผ้ึงและพระนางสรอ ยดอกหมาก” อยา งตงั้ ใจ กาลครง้ั หน่งึ มเี ดก็ เลีย้ งวัวกลุมหนึ่งมาเลนดวยกัน โดยมีเดก็ คนหนึง่ เปน หวั หนา เดก็ คนนั้นน่ังอยูบนจอมปลวก ซึ่งไดสมมุติวาเปนบัลลังกวาราชการแผนดินใหเด็กอ่ืนๆ น่ัง หมอบราบเหมือนเขาเฝา ครั้นเด็กที่เปนหัวหนาส่ังความใดๆ เด็กอ่ืนๆ จะปฏิบัติตาม เหมือนเสนาอำมาตยทำตามรับส่ัง วันหนึ่งหัวหนาเด็กโกรธจึงส่ังใหเพชฌฆาตนำเสนาคน หน่ึงไปประหาร เด็กที่เปนเพชฌฆาตก็ใชไมไผฟนที่คอ ปรากฏวาคอขาดจริงๆ คนอ่ืนๆ เห็นเปนอัศจรรยและเชื่อวาหวั หนาเดก็ มบี ารมจี ริงๆ ÀÒÉÒä·Â ô ๑๙๙

คร้ังน้ัน โหราจารยและเสนาอำมาตยกรุงศรีอยุธยาไดนำเรือสุพรรณหงสบรรทุก เครื่องราชกกุธภัณฑผานมาถึงบริเวณท่ีเด็กเลนกัน เรือสุพรรณหงสไดหยุดนิ่งไมแลนตอ เหลาโหราจารยพรอมดวยเสนาอำมาตยจึงเชิญกลุมเด็กเล้ียงวัวทุกคนขึ้นเรือสุพรรณหงส กลับกรุงศรอี ยุธยา นยั วา ขณะนนั้ กรงุ ศรอี ยุธยาขาดกษตั ริย จากนัน้ จงึ อญั เชิญหวั หนา เดก็ เปน พระราชา และแตงต้ังเด็กอื่นๆ เปนเสนาอำมาตยตามตำแหนงทุกคน บริเวณที่เด็กเลนกัน ตอ มามชี ่อื เรียกกันวา “บานเด็กเลน ” กลาวถึงพระเจากรุงจีนที่มีธิดาบุญธรรมซ่ึงพบอยูในจ่ันหมากจึงตั้งช่ือวา นางสรอย ดอกหมาก เม่ือเจรญิ วยั ข้ึนมีสริ ิโฉมงดงามย่ิง พระเจา กรุงจีนคิดจะหาคูใหพระธดิ าบุญธรรม จึงใหโหรามาตรวจดูหาเนื้อคู โหราทูลวาเน้ือคูพระนางอยูทางทิศตะวันตก คือทางกรุง ศรีอยุธยา พระเจากรุงจีนจึงสงราชทูต และเครื่องบรรณาการมายังกรุงศรีอยุธยาเพื่อเจริญ พระราชไมตรี และมีพระราชสาสนยกพระธิดาให ครั้นพระเจากรุงศรีอยุธยาทราบก็ทรง ดีพระทัย พรอมท้ังสงเคร่ืองบรรณาการตอบแทนจำนวนมาก และกลาววาจะเสด็จไปรับ พระนางภายหลังดวยพระองคเ อง เม่ือราชทูตพระเจากรุงจีนกลับไปแลว พระราชาไดตระเตรียมยกพยุหโยธาไปทาง เฉฉบลับย ชลมารค ครั้นถึงแหลมวัดปากคลองจึงจอดเรือพระท่ีนั่งอยูหนาวัด ทรงเห็นผึ้งจับอยูท่ี อกไกหนาบันพระอุโบสถ จึงต้ังจิตอธิษฐานตอพระประธานในอุโบสถวา หากเดชะบารมี ท่ีพระองคจะปกครองอาณาประชาราษฎรใหอยูเย็นเปนสุข ขอใหน้ำผ้ึงยอยลงมาสูเรือ พระท่ีน่ัง คร้ันตรัสสิ้นเสียง น้ำผึ้งก็ยอยลงมาสูเรือพระท่ีนั่ง พวกเสนาอำมาตยและพระ เถราจารยเหน็ เปนบญุ บารมี จงึ พรอมกันสวดชัยมงคลคาถา และถวายพระนามวา พระเจา สายน้ำผึ้ง จากนั้นพระเจาสายน้ำผ้ึงส่ังใหเสนาอำมาตยกลับเมือง โดยพระองคจะเสด็จ เมืองจีนดวยเรือพระที่นั่งเอกชัยเพียงลำเดียว ดวยเดชะบารมีของพระองคจึงเสด็จผาน ทะเลหลวงไปถึงอาวเมืองจีน พวกจีนเห็นเปนอัศจรรยจึงนำความกราบทูลพระเจากรุงจีน พระเจากรุงจีนเห็นวามีบุญบารมีจริงๆ จึงแตงกระบวนแหมารับพระเจาสายน้ำผึ้งเขาสู พระราชวัง เสนาจีนไดกลาวขานถึงบุญบารมีของพระองคไปทั่ว พระเจากรุงจีนจึงอภิเษก พระธิดาบุญธรรมใหพรอมกับแตงสำเภา ๕ ลำ บรรทุกเครื่องอุปโภคบริโภค และชาวจีน ๕๐๐ คน เพอ่ื ติดตามพระเจาสายน้ำผงึ้ กลบั กรุงศรอี ยธุ ยาดวย พระเจาสายน้ำผึ้งรอนแรมมาในทะเลไดสิบหาวันก็ถึงเมืองไทย ดวยพระบารมีจึง เดินทางไดรวดเร็ว พระสงฆราชาคณะพรอมดวยเสนาบดีและพสกนิกรท่ัวไปตางก็ยินดี ได ประดับธงทิวตกแตงบานเรือนเพ่ือการรับเสด็จสูพระนคร กอนเสด็จขึ้นจากเรือสูพระราชวัง พระเจาสายน้ำผึ้งรับสั่งใหพระนางสรอยดอกหมากประทับคอยที่เรือกลางน้ำ เพื่อพระองค ๒๐๐ ÀÒÉÒä·Â ô

จะไดตกแตงตำหนักใหเรียบรอยกอน เม่ือเรียบรอยแลวรับสั่งใหเฒาแกนำเรือพระที่นั่งมา รับพระนาง พระนางจึงกลาววาไดเสด็จมาพรอมพระราชาดวยความยากลำบาก เมื่อมาถึง เมืองแลวไฉนจึงไมมารับดวยพระองคเอง ถาพระราชาไมเสด็จมารับก็จะไมไป เฒาแก นำความมาทลู ทุกประการ เม่ือพระเจา สายน้ำผ้งึ ทรงทราบดังน้นั กต็ รสั หยอกลอเลนวา มาถึง แลวจะอยูท่ีนั่นก็ตามใจเถิด พระนางทราบความดังน้ันก็สำคัญวาจริงจึงโศกเศรานอยพระทัย ยิ่งนัก วันรุงขึ้นพระเจาสายน้ำผึ้งก็เสด็จมารับพระนางสรอยดอกหมากดวยพระองคเอง พระนางก็ตัดพอ วา ไมไป พระเจา สายนำ้ ผ้ึงทรงสพั ยอกวา ไมไปก็อยทู ่ีนี่ พอส้ินเสียงพระราช ดำรัส พระนางกก็ ล้ันใจตายตอหนา พระองค พระเจา สายนำ้ ผ้งึ โศกเศราเสยี พระทยั มาก แต ก็สดุ จะแกไข ทั้งชาวไทยชาวจีนตางก็โศกเศรา ร่ำไหเซง็ แซ มีการพระราชทานเพลงิ ศพตรง ท่ีแหลมบางกะจะนั้น และทรงสถาปนาพระอารามแลวใหนามวา “วัดพระเจาพระนางเชิง” ตอมาภายหลังเรียกช่ือเพี้ยนเปน “วัดพนัญเชิง” และมีการปนรูปจำลองของพระนาง สรอ ยดอกหมากไวภ ายในวดั ซง่ึ ปจ จบุ นั อยทู ่ี อำเภอพระนครศรอี ยธุ ยา จงั หวัดอยุธยา เรียบเรยี งจาก “พระเจาสายนำ้ ผึง้ ” พงศาวดารเหนือ พ.ศ. ๒๔๙๙ ▲ รูปจำลองของพระนางสรอยดอกหมาก à©ฉบÅับÂ ▲ วดั พนัญเชิงในปจ จุบัน ▲ วัดพนญั เชิงในปจจุบัน ▲

เด็ดเด่ียวรูสึกสนุกและ เพลิดเพลินกับการอานนิทาน พน้ื บานมาก จนกระทงั่ ไดย นิ เสียงออดดังเตือนวาใกลจะ ถึงเวลาเขาเรียน เด็ดเด่ียว และเพื่อนๆ จึงปดหนังสือ แลวนำหนังสือไปไวที่ช้ันพัก หนงั สือ เพอ่ื ท่ีครูบรรณารกั ษ จะไดนำหนังสือไปเก็บบนชั้นใหถูกท่ี จากนั้นเขาและเพื่อนๆ ก็รีบไปเขา หอ งเรียน เพอื่ ท่จี ะไดไปเรียนหนังสือตอไป เฉฉบลับย ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹Ì٠·Õè ò ๑. ฝก อานออกเสยี งบทอานจนอา นไดค ลอง และหาความหมายของคำตอ ไปนี้ จอมปลวก บัลลงั ก หมอบราบ เพชฌฆาต บารมี โหราจารย เคร่อื งราชกกธุ ภัณฑ บญุ ธรรม ราชทูต เครือ่ งบรรณาการ พระราชไมตรี ๒. ต๒๓๑พอ)))ระบถนสนรคราาทิทิ ำอนชาาถยสักนนาดาเพพมรสอยี้้นืืนจนกนาบบห กเาา มปเอนนรนากมท่อื กพไงลีน่ีเกทรสักักะด่อีษเเขรเ็จาจณน้ึฒยีนมา อนะสาายอดอแาทกูยยังากีต่ บัานนนำงดี้นำ้หไสลุผร้ีนัพยใ้ึงหกัพยนขินอกัอกิจเคขรอิดียเงอซนผะ็งจสู ไแะรอซพบนดูา งอยา งไรใหพ ระนาง ๓. แบง กลุม ใหแตล ะกลมุ สบื คนขอ มลู เก่ียวกับนิทานพ้นื บานในทอ งถิ่นของนกั เรยี น กลมุ ละ ๑ เร่อื ง (ไมซ้ำกัน) แลว สง ตวั แทนออกมาเลา ใหเพ่ือนและครฟู ง http://www.aksorn.com/lib/p/tha_05 (เรอ่ื ง นทิ านพืน้ บา นไทย) ÀÒÉÒä·Â ô ๒๐๒

จดจำการใชภ าษา การเลือกอานหนังสือ ˹§Ñ Ê×Í·ÁèÕ ÕÍÂÁÙ‹ Ò¡ÁÒ¹¹Ñé àÃÒ¤ÇÃàÅÍ× ¡Í‹Ò¹Í‹ҧäà ¨Ö§¨Ðä´»Œ ÃÐ⪹ÊÙ§ÊØ´¤ÃѺ ปจ จบุ ันในทอ งตลาดมีหนังสอื ใหเ ลอื กซอื้ หลายประเภท ทงั้ เรอ่ื งสัน้ นทิ าน นยิ าย สารคดี บทความ คำประพนั ธต างๆ หรอื ในหองสมุดทุกแหงก็มหี นังสือ ใหอานใหคนความากมาย ผูมีนิสัยรักการอานและอานหนังสืออยูเสมอจะเปน ผูที่มีความรู มีสติปญญาเฉลียวฉลาด การรูจักเลือกหนังสืออานท่ีใหความรู ใหความสนุกและเพลิดเพลิน จะทำใหมีความรอบรู มีสติปญญาที่เฉลียวฉลาด ยง่ิ ข้นึ และสามารถนำสิ่งทีม่ ีคณุ คาจากการอา นมาประยุกตใชในชีวิตประจำวันได เฉฉบลับย หลักการเลือกอานหนังสือ ผูอานควรพิจารณาจากหนังสือที่มีลักษณะ ตา งๆ ดงั นี้ ๑. สงเสริมความรูและเปนประโยชนในการดำเนินชีวิต ใหมีความเจริญ ในดา นตางๆ ๒. สงเสริมสติปญญา ใหพัฒนาตนเอง ใหรูจักคิด สังเกต มีเหตุผล สามารถนำความรูจากการอา นมาใชประโยชนท ั้งแกต นเองและสว นรวม รวมทงั้ แกปญหาตางๆ ได ๓. สงเสริมความเขาใจทางภาษาและใชภาษาที่ถูกตอง เหมาะสมตาม วัย และสตปิ ญญา ๔. สงเสริมการศึกษาหาความรูดวยตนเอง ชวยใหเกิดความสนใจที่จะ อา นและเรียนรู ÀÒÉÒä·Â ô ๒๐๓

˹§Ñ ÊÍ× ¹Ô·Ò¹àÃèÍ× §¹Õé ¹Ñ¹è ÊÔ ÍÒ‹ ¹áÅŒÇ Ê¹¡Ø ¨§Ñ àŨŒÐ ä´Œ¢ÍŒ ¤Ô´´ŒÇ¹Р¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹Ì٠·Õè ó เลือกอา นหนงั สอื ทีใ่ หค วามบันเทิงมา ๑ เลม แลว เขียนสรุปสาระสำคัญของเร่ือง พรอ มทงั้ แสดงความคดิ เห็นท่มี ีตอ หนังสอื ที่อาน เฉฉบลับย ช่ือหนงั สือ .............................................................................................................................................................................................................. ชื่อผูแตง ................................................................................................................................................................................................................... สาระสำคัญของเร่ือง ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................ ขน้ึ อยูกบั ดุลยพินิจของผูสอน................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................ ความคดิ เห็นของเร่อื งทีอ่ า น ........................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................ ๒๐๔ ÀÒÉÒä·Â ô

การคาดคะเนเรื่องราวและเหตุการณ ¡Ò÷èÕàÃÒ¤Ò´à´Òà˵ءÒó·èäÕ ´ŒÍÒ‹ ¹ ¿˜§ ËÃ×Í´ÙÁÒŋǧ˹Ҍ àÃÕ¡NjÒÍ‹ҧäà ã¤Ã·ÃÒººŒÒ§¤Ð การคาดคะเนเรอ่ื งราวและเหตกุ ารณ เปนการคาดเดาเหตกุ ารณลว งหนา ขณะทน่ี กั เรียนไดอ านหรอื ไดฟ ง เร่อื งราวตางๆ นน้ั เราอาจนึกในใจถึงเหตกุ ารณ ทจ่ี ะเกดิ ข้นึ ตอ ไป หรือคาดคะเนวา ผลทจี่ ะเกิดขึน้ เปนอยา งไร เปนตน แตก าร คาดคะเนน้ันควรมีเหตุผลสนับสนุนดวยวาเหตุใดจึงคิดเห็นเชนนั้น เพื่อฝก ทกั ษะการคิดใหเปนระบบ ตัวอยา ง การคาดคะเนเร่อื งราวและเหตกุ ารณจากวรรณคดเี รื่อง เฉฉบลับย พระอภัยมณี ตอน สุดสาครตามหาพระอภยั มณี เมื่อสุดสาครออกมาตามหาพระอภัยมณีหลังจากจับมานิลมังกรได และ ไดรบั ไมเ ทา วิเศษจากพระเจา ตาแลว เหตุการณนาจะเปน อยา งไรตอไป นกั เรียน อาจลองคาดคะเนเหตุการณ ดงั นี้ สดุ สาครออกไปผจญกับหมูคนพาล และตอ สชู นะทกุ ครงั้ เหตกุ ารณที่ ๑ โดยไมตองใหใครมาคอยชว ย และตามหาพระบดิ าจนพบ เหตุการณท่ี ๒ สุดสาครออกไปผจญกบั หมคู นพาล และสชู นะบา ง แพบา ง โดยพระเจาตาคอยชวยเหลอื เมือ่ สดุ สาครเขาตาจน และ ตามหาพระบิดาจนพบ เหตุการณท ี่ ๓ สดุ สาครเขา ไปอยทู ี่เมืองแหงหนึ่ง จนโตเปน หนมุ และ ไมไดอ อกตามหาพระบดิ าเลย ÀÒÉÒä·Â ô ๒๐๕

การคาดคะเนเร่ืองราวและเหตุการณน้ี ก็อาจนำไปสูเรื่องราวตอๆ ไป หรือนำไปสูผลท่ีแตกตางกันเร่ือยๆ ไปไดอีก นักเรียนอาจเขียนเปนแผนภาพ ความคิด ไดดังนี้ แผนภาพความคดิ การคาดคะเนเรอ่ื งราวและเหตุการณ ของวรรณคดี เรือ่ ง พระอภยั มณี ตอน สดุ สาครตามหาพระอภัยมณี สดุ สาครชนะทุกครั้ง สุดสาครผจญกับหมูค นพาล เหตกุ ารณท ี่ ๑ สุดสาครตามหาพระบดิ าพบ สุดสาครอยกู บั พระบิดา อยางมคี วามสขุ เฉฉบลับย สุดสาครชนะ สุดสาคร สุดสาครผจญกบั หมูค นพาล สุดสาครแพ ออกมาตามหา พระเจาตามาชว ย เหตกุ ารณที่ ๒ พระบดิ า สุดสาครตามหาพระบิดาพบ สุดสาครอยกู บั พระบดิ า สดุ สาครไปรบั พระมารดา อยางมคี วามสุข มาอยูก ับพระบิดาดว ย เหตุการณที่ ๓ สดุ สาครไปอยูท่เี มืองแหงหนึ่ง สดุ สาครโตเปนหนุม สดุ สาครแตงงานกบั สุดสาครไมไดตามหาพระบิดา สาวชาวเมืองนั้น ๒๐๖ ÀÒÉÒä·Â ô

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹Ì٠·Õè ô คดิ คาดคะเนเหตุการณจ ากเรือ่ งท่กี ำหนด แลวเขยี นลงในชองวาง และเขียนแสดงเปน แผนภาพความคดิ หลังเลกิ เรียน คุณแมมารบั นดิ แลวพานดิ ออกไปเรยี กรถสามลอเครื่อง รับจา งทป่ี า ยจอดรถประจำทาง ระหวา งทีร่ อรถ นดิ เห็นกระเปาเอกสารสดี ำ ใบหนึง่ วางอยตู รงรมิ ทางเทา นิด... (ตวั อยา ง) เหตุการณท่ี ๑ : นิดบอกคณุ แมว า มีกระเปาเอกสารวางอยู คุณแมจ ึงโทรศัพท.................................................................................................................................................................................................................................................................. ไปแจง เจาหนาทีต่ ำรวจใหมาตรวจสอบ.................................................................................................................................................................................................................................................................. เหตกุ ารณที่ ๒ : นิดทำเปน เฉยๆ แลว แอบหยบิ กระเปากลบั บาน เพอ่ื เปด ดู.................................................................................................................................................................................................................................................................. สงิ่ ของทอ่ี ยขู า งใน ฉบับ.................................................................................................................................................................................................................................................................. เหตุการณที่ ๓ : นิดไมสนใจกระเปาใบน้นั เลย เฉลย.................................................................................................................................................................................................................................................................. นิดเหน็ กระเปาเอกสาร เหตกุ ารณท่ี ๑ เหตุการณท่ี ๒ เหตกุ ารณท ี่ ๓ นิดบอกคณุ แม นดิ นำกระเปากลบั ไปเปดทบี่ าน นดิ ไมสนใจ คณุ แมโ ทรศัพท ขา งใน ขางใน ขางใน กระเปา ใบนน้ั แจง เจา หนาท่ีตำรวจ กระเปา กระเปา กระเปา ใหมาตรวจสอบ เปน เปนของ เปน อาวุธ สง่ิ ของในกระเปา เอกสาร มีคา ตา งๆ ÀÒÉÒä·Â ô ๒๐๗

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡Òä´Ô ๑. สืบคน ขอมลู เก่ยี วกับคำภาษาถน่ิ ภาคตางๆ จากพจนานกุ รมใหไ ดมากทสี่ ดุ แลว เขียนลงในสมดุ ใหเปนหมวดหมู มทฐ4./.ต1วั ช(7ว้ี )ัด ๒. เลือกอานหนังสือทส่ี นใจ ๑ เรอ่ื ง แลวสรปุ สาระสำคญั ของเรอ่ื งตามหัวขอ ท่กี ำหนด มทฐ1./.ต1วั ช(7ีว้ )ัด เร่อื ง .................................................................................................. เฉฉบลับย ใคร : ....................................................................................................................................................................................... ทำอะไร : ....................................................................................................................................................................................... :: ขึน้ อยกู ับดุลยพนิ จิ ของผูสอน....................................................................................................................................................................................... ที่ไหน ....................................................................................................................................................................................... อยา งไร ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... เขียนเรยี บเรียงเนอ้ื หาไดดังน้ี : ............................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................ ความคิดเห็นท่ีมตี อหนังสือเลม นี้ : ................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................ ๓. แตง เรื่องสัน้ ๆ ตามจินตนาการ ๑ เรอื่ ง (โดยไมตอ งใหจ บเรื่อง) แลวแลกเปลี่ยนกนั มทฐ1./.ต1ัวช(5ว้ี )ดั อานกบั เพอ่ื น จากนั้นฝกคิดและเขยี นคาดคะเนเหตกุ ารณจากเร่ืองทอ่ี า น ¡Ô¨¡ÃÃÁºÙóҡÒÃÊÌҧÊÃä แบงกลุม ใหแ ตละกลุมนำคำภาษาถ่ินทรี่ วบรวมไดจ ากกจิ กรรมพัฒนาการคิด ขอ ๑. มาจดั ทำเปน พจนานกุ รมภาษาถน่ิ แลว จัดทำเปน รปู เลม ใหส วยงาม ๒๐๘ ÀÒÉÒä·Â ô

แบบทดสอบท่ี ๑๐ กา ✗ คำตอบท่ถี กู ทีส่ ุด ๑. ขอ ใดมีความหมายตรงกับคำวา ๖. ฉาน กาด ก. นาน ข. สุรนิ ทร ค. ชลบุรี ✗ง. กระบ่ี ก. มะละกอ ✗ข. ตลาด ๗. สนุ ✗ก. รอ ยเอด็ ข. ชุมพร ค. ผักกาด ง. นำมันกา ด ค. นราธวิ าส ง. นครปฐม ๒. ขอใดมีความหมายแตกตางจาก ๘. เฮา ก. ตรัง ✗ข. ลำปาง คำวา แซบ ค. ภูเก็ต ง. สตลู เฉฉบลับย ก. หรอย ข. ลำ ๙. ถาตองการความรู ควรเลือกอาน หนงั สือในขอใด ✗ค. แรน ง. อรอย ก. การต ูน ข. นทิ านอสี ป ค. นวนยิ าย ✗ง. หนงั สือเรยี น ขอ ๓-๘ คำที่กำหนดให เปนคำ ๑๐. ถา ตองการอา นขา วสาร บทความ ภาษาถนิ่ ที่ใชในเขตจงั หวดั ใด และเร่ืองราวเก่ียวกับวงการบันเทิง ๓. เบิ่ง ควรเลอื กอา นหนังสอื ใด ก. นิตยสารการเมอื งการปกครอง ✗ก. ชยั ภมู ิ ข. พัทลงุ ข. หนงั สอื เรียนวิชาสังคมศกึ ษาฯ ✗ค. หนงั สอื พมิ พรายวัน ค. ลำพนู ง. สงขลา ง. นิตยสารซุบซบิ ดารา ๔. หวกั ก. พะเยา ข. นนทบุรี ค. ขอนแกน ✗ง. พงั งา ๕. อู ก. ยะลา ข. สระแกว ✗ค. เชยี งราย ง. ปตตานี ÀÒÉÒä·Â ô ๒๐๙

๒ตาราง Ẻº¹Ñ ·Ö¡¼Å¡ÒÃàÃÕ¹»ÃШÓ˹‹Ç รายการวดั ประเมินผลตามเปาหมายการเรียนรู ประจำหนวยที่ ๑๐ คำชแ้ี จง : ๑. ครูกำหนดคะแนนเตม็ ของกจิ กรรมท่ตี อ งการวัดผลเพือ่ เกบ็ สะสม ๒. ครนู ำคะแนนจากการวดั ผลดา นความรู (K) / ทกั ษะกระบวนการ (P) / คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค (A) ของนักเรยี น แตละคนกรอกลงในตาราง และสรุปผลการประเมิน ๓. ชน้ิ งานทมี่ เี ครอ่ื งหมาย * กำกบั ใหใ ชป ระกอบการประเมนิ การอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี นสอื่ ความ รายการประเมนิ คะแนนรวมดา น รายการเคร่อื งมอื วดั และประเมนิ ผลการเรียนรูของนกั เรยี น ดานความรู (K) ดา นทกั ษะ / กระบวนการ (P) ดานคณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค (A) K/P/A ตวั ชว้ี ดั ชน้ั ป.๔ หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เต็ม ได หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เตม็ ได หลกั ฐาน / ชน้ิ งาน เต็ม ได เต็ม ได ประเมินผลสมั ฤทธด์ิ าน K / P / A มฐ.ท ๑.๑(๓) - การอานออกเสียง - แบบประเมนิ ทักษะ - แบบประเมินคุณลกั ษณะ การอา นออกเสยี ง ทีพ่ งึ ประสงค อานเร่อื งสน้ั ๆ ตาม วรรณกรรม - แบบประเมินทกั ษะ - แบบประเมินคณุ ลักษณะ เวลาท่กี ำหนด นิทานพ้ืนบานไทย การเขียน ที่พงึ ประสงค มฐ.ท ๕.๑(๑) และบอกขอคดิ ท่ีได - แบบประเมินทกั ษะ - แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ การอานในใจ ท่พี ึงประสงค ระบขุ อคดิ จาก จากเรอ่ื ง - แบบประเมนิ ทักษะ การเขียน - แบบประเมนิ คณุ ลักษณะ นทิ านพืน้ บาน ทีพ่ งึ ประสงค - แบบประเมนิ หรือนิทานคติธรรม กระบวนการปฏบิ ตั ิ มฐ.ท ๑.๑(๕) - ก. พฒั นาการคิด* คาดคะเนเหตุการณ ขอ ๓ การคาดคะเน จากเรือ่ งที่อา น โดย เหตกุ ารณจ ากเรอ่ื ง ระบเุ หตผุ ลประกอบ ท่ีอาน มฐ.ท ๑.๑ (๗) - ก. พัฒนาการคิด* อา นหนงั สอื ท่มี ีคุณคา ขอ ๒ การเลือก อานหนังสือ เฉลยฉบับ ตามความสนใจอยา ง สมำ่ เสมอและแสดง ความคดิ เห็นเกี่ยวกบั เรื่องทอี่ า น มฐ.ท ๔.๑ (๗) - ก. พัฒนาการคิด เปรียบเทยี บภาษา ขอ ๑ การสบื คน ไทยมาตรฐานกบั คำภาษาถนิ่ จาก ภาษาถิ่นได พจนานุกรม สวนที่ ๑ คะแนนจากการประเมนิ ดานผลการเรยี นตามตวั ชว้ี ัด สว นที่ ๒ คะแนนจากการประเมินตนเองของนกั เรียน ผลงานกิจกรรมบูรณาการฯ ท่นี กั เรยี นปฏิบัติ ชือ่ งาน พจนานุกรมภาษาถ่นิ สว นที่ ๓ คะแนนจากการทดสอบสัมฤทธิผลประจำหนวย การทำแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิประจำหนว ยที่ ๖-๑๐ สรุปผลการประเมินพัฒนาการเรียนรูประจำหนวย ขอเสนอแนะ ………………………………………………………….. ผาน ไมผ า น ………………………………………………………………………………. ระดบั คุณภาพ ๔ ดีมาก ๓ ดี ๒ พอใช ๑ ควรปรบั ปรุง ➠ ซอมเสรมิ แลว ➠ ผานเกณฑป ระเมิน ลงชอ่ื ………………………………………………………. ผูประเมนิ …………….. / …………….. / ……………. ☞ หมายเหตุ ครูสามารถใชแบบบันทึกนี้เพื่อบันทึกผลการเรียนแตละหนวยของนักเรียนเปนรายบุคคล หรือบันทึกลงในแบบบันทึกอื่น ที่ครหู รือสถานศึกษาจัดทำขึ้นก็ได ๒๑๐ ÀÒÉÒä·Â ô

๖-๑๐แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิ ประจำหนวยการเรยี นรทู ่ี นน ไ ดคะแ นนเต็ม ตอนที่ ๑ (๗๐ คะแนน) ๑๐๐ คะแ ๑. เขียนบอกชนิดของคำท่กี ำหนด แลวแตงประโยคสองสว น และสามสวน อยา งละ ๕ ประโยค จากคำลงในสมุด (๒๐ คะแนน) (ดูเฉลยในหนาพเิ ศษทายเลม) มฐ./ตวั ชวี้ ัด ท4.1 (4) ๑) ถลา ๒) ขยำ ๓) ใหม ๔) ขางหลัง ๕) ตวาด ๖) ดิฉัน ๗) ผลติ ภัณฑ ๘) บา ง ๙) น่ี ๑๐) ประวตั ิ ๒. ฝก อา นออกเสียง แลว(ตดอเูบฉคลำถยาใมนลหงนในา สพมิเศดุ ษ(๑ท๐ายคเะลแมน)น) มฐ./ตวั ชวี้ ัด ทท11..11 ((31)) ตา หู จมูก ปาก ตางถกเถียงกันถึงความสำคัญของตนเอง ตากลาววา “ฉันเปนผูทม่ี องส่ิงตางๆ ถาฉนั ไมมองก็ไปไหนไมไ ด ฉนั มีความสำคัญทีส่ ุด” เฉฉบลับย หูไดยินดังนั้นจึงกลาววา “ฉันก็เหมือนกัน ฉันตองฟงเสียงตางๆ ตลอด เวลา ถา ไมม ีฉันกจ็ ะไมไ ดย นิ อะไรเลย” จมูกเถียงวา “ฉันตองทำหนาท่ีหายใจและดมกล่ินตางๆ ถาไมมีฉันก็จะ ไมไ ดกลิน่ และขาดอากาศหายใจ” สว นปากนัน้ ไดย นิ จงึ กลาวแยงวา “ฉนั ซิสำคัญกวาเพอื่ น ทัง้ พดู และทง้ั กิน ขาดฉนั ไปรา งกายก็อยูไมได” ตางฝายก็ตางไมยอมกันจึงหยุดทำงาน รางกายก็คอยๆ หมดเร่ียวแรงและ ไปไหนไมได อวัยวะท้ังหลายจึงคิดไดวา ทุกสวนของรางกายมีความ สำคญั เทา กัน ๑) นกั เรียนควรต้งั ช่อื เร่อื งนว้ี า อยา งไร ๒) จากเรือ่ งถาขาดอวัยวะสวนใด จะทำใหร างกายขาดอากาศหายใจ ๓) นกั เรยี นคดิ วา อวยั วะสว นใดสำคญั มากท่ีสุด เพราะเหตใุ ด ๔) นกั เรยี นคิดวา อวยั วะสวนใดสำคัญนอ ยทส่ี ุด เพราะเหตใุ ด ๕) นกั เรียนไดขอคิดจากการอา นเรือ่ งนอ้ี ยา งไร ÀÒÉÒä·Â ô ๒๑๑

๓. อานและเขียนแสดงความคดิ เหน็ จากบทความลงในสมุด แลว ออกมาพูดใหเพ่อื น และครูฟงทขีห่ ึ้นนาอชยั้นูก เรบั ียดนุล(ย๑พ๐นิ คจิะแขนอนงผ) สู อน มฐ./ตัวชีว้ ดั ท1.1 (6) ท3.1 (3) ความกลา หาญ หมายถงึ ความไมกลัวกับปญหาหรืออปุ สรรคทีเ่ กิดขนึ้ ความ กลาหาญสามารถแสดงออกไดท้ังในดานความคิด การพูดและการกระทำ โดยตอง แสดงออกในทางที่ถูกตองดีงาม เชน กลาพูดความจริง กลาทำความดี กลารับผิด เมือ่ ทำผดิ เราไมควรแสดงความกลาหาญในทางท่ผี ิด เชน กลาลักขโมย กลา พดู ปด เปนตน ความกลาหาญ เปนเครื่องทำลายความหวาดกลัว ฉะนั้นบุคคลใด ที่มคี วามกลา หาญ จึงเปนบคุ คลทีม่ ีความเชอื่ มั่นในตัวเองดวย เฉฉบลับย ๔. อานคำประพันธท ี่กำหนดให แลวเขยี นตอบคำถามลงในสมดุ (๑๐ คะแนน) มททฐ11./..ต11ัวช((13ว้ี ))ัด (ดเู ฉลยในหนาพเิ ศษทา ยเลม ) วนั หน่งึ มาแก นอนแผช ูคอ เด็กสิบคนรอ ขอข่ีทกุ วนั บางวาแกไป จะไมข่ีมนั เกาคนพากนั กลับบา นพอใจ มเี ดก็ หนงึ่ คน ซนจะข่มี า เอาไมตขี า ใหพาวิง่ ไป มา ลุกเด็กแย ลม แผลงไป มาวิง่ ไมได ลม ทบั เดก็ ซน ๑) คำประพันธน ้ี เปน คำประพันธป ระเภทใด ๒) จากบทรอ ยกรอง คำท่ีเปนสัมผัสนอกมคี ำใดบา ง ๓) สรปุ ใจความสำคญั ของบทประพันธ ๔) คิดวเิ คราะหจ ากบทประพันธ แลว เขียนอธบิ าย ๕) เขยี นแสดงความคิดเห็นเชงิ วจิ ารณจากบทประพันธ ๒๑๒ ÀÒÉÒä·Â ô

๕. เขยี นประเภทของคำและคำอานของคำทพ่ี มิ พต ัวสีชมพแู ลวฝกอา น (๒๐ คะแนน) มทฐ4./.ต1วั ช(1้ีว)ัด ▲ ประโยค ประเภทของคำ คำอา น เขาผกู พนั กบั พันธุไม คำพองเสียง.............................................. พนั พัน.............................................................................................. พวกนีม้ าก พันธุ พนั.............................................................................................. ๑) นอ งหวงแหนจอกแหน .............................................. แหน แหน.............................................................................................. เหลา น้มี าก แหน แหนฺ............................................................(...ค...ำ..ท....่มี...ี....ห.......น....ำ..).. ๒) คำวา สระน้ำ มีสระอะ คำพองรูป.............................................. สระ สะ.......................................................(..ค...ำ..ค....ว..บ....ก....ล...้ำ..ไ...ม...แ ..ท....). ผสมอยดู วย สระ สะ-หระ.............................................................................................. ๓) มตี นเสมาขึ้นอยูใกลๆ .............................................. เสมา เส-มา.............................................................................................. ใบเสมา เสมา เส-มา.............................................................................................. ๔) ทศกัณฐเ ปน ยักษ คำพองรูป.............................................. กัณฐ กัน.............................................................................................. ทีม่ ยี ่ีสิบกรรณ ๕) เขาไปซ้อื เพลารถยนต .............................................. กรรณ กัน เฉฉบลับย.............................................................................................. ในเพลาเยน็ ๖) เขาเปด กจิ การท่ี คำพอ งทงั้ รูป.............................................. เพลา เพลา...........................................................(..ค....ำ..ค...ว...บ....ก...ล...ำ้...แ..ท....).. เมืองกาญจน และเสียง.............................................. เพลา เพ-ลา.............................................................................................. ๗) เขาน่งั ขัดสมาธิขณะฝก คำพอ งเสียง.............................................. การ กาน.............................................................................................. ทำสมาธิ กาญจน กาน.............................................................................................. ๘) เขาเอากากเพชรมาโรย .............................................. สมาธิ สะ-หมาด.............................................................................................. ทำเครื่องหมายกากบาท สมาธิ สะ-มา-ทิ.............................................................................................. ๙) มะมว งทบ่ี มไวว ันศกุ รน ี้ คำพอ งรปู.............................................. กาก กาก.............................................................................................. กส็ กุ แลว กาก กา-กะ.............................................................................................. ๑๐) เขาทำหนาเหยเมือ่ สดู .............................................. ศุกร สกุ.............................................................................................. สารระเหยเขาไป สกุ สุก.............................................................................................. คำพองเสยี ง.............................................. เหย เหยฺ.........................................................(...ค...ำ..ท....ีม่...ี....ห.......น....ำ..)..... เหย เหย.............................................................................................. .............................................. คำพอ งรูป.............................................. .............................................. คำพองรูป.............................................. .............................................. คำพอ งเสียง.............................................. .............................................. คำพอ งรปู.............................................. .............................................. ÀÒÉÒä·Â ô ๒๑๓

ตอนท่ี ๒ (๓๐ คะแนน) กา ✗ คำตอบทีถ่ ูกท่ีสดุ ๑. ชา ๆ ได .............. ควรเติมขอ ความใด ๖. ก. ยายหวั เราะเสียงดัง ✗ก. พราสองเลม งาม ข. กองภพพดู เบาๆ ข. มดี เลม งาม ✗ค. เด็ดเดยี่ วกนิ ขนม ค. ขวานสองเลมงาม ง. ไพลินวา ยน้ำในสระ ง. ตะกรา ใบงาม ๗. ก. มดว่ิงเรว็ มาก ขอ ๒-๔ ขอ ใดเปนประโยคสองสวน ✗ข. อน ซื้อปลาทู ค. แกม ตะโกนเสยี งดงั ๒. ก. แมตดั เส้อื ผา ง. จอยนอนหลบั ๘. สำนวนในขอ ใด มคี วามหมาย เฉฉบลับย ข. ลงุ สอยมะมวง คลา ยกบั เขา เมอื งตาหลว่ิ ตอ งหลว่ิ ตาตาม ค. ปาถอื ของหนัก ก. เขาคอ ข. เขา กันเปนปเปน ขลยุ ✗ง. ฝนตกหนกั ค. เขาตามตรอก ออกตามประตู ๓. ก. พอ ซือ้ ขนม ข. แมซกั ผา ✗ง. เขาฝงู หงสเปนหงส เขา ฝงู กา ✗ค. ทนิ ทำงาน ง. ตปู น เขา เปน กา ๔. ✗ก. ลมพัดแรง ๙. สำนวนใดหมายถงึ เอารปู ท่ี ข. ทพิ ยก างรม ค. เกดเลนน้ำทะเล ง. ฝายขายน้ำแข็งไส ขอ ๕-๗ ขอใดเปน ประโยคสามสว น ปกคลมุ ออกใหเ ห็นรปู เดิม ๕. ✗ก. นกกกไข ข. หมาเหา ✗ก. ถอดรปู ข. ปลอยแก ค. พี่เดินเลน ง. นองว่ิงเรว็ ค. ออกลาย ง. ใสส สี นั ๒๑๔ ÀÒÉÒä·Â ô

ขอ ๑๐-๑๒ ควรเตมิ ขอ ความใด ๑๕. คุณครไู ป ร.ร. ร.ร. อา นอยา งไร ลงในชอ งวาง ก. โรงแรม ข. ราชการ ๑๐. สมัยนีไ้ มนยิ มการแตงงานแบบ.... ค. รอ รอ ✗ง. โรงเรียน เหมือนสมัยกอ นแลว ๑๖. คำเตม็ ของ ม. คือขอ ใด ก. มนษุ ย ✗ข. มธั ยมศกึ ษา ก. สอยดอกฟา ค. มหาชน ง. มหาดไทย ✗ข. คลุมถงุ ชน ค. เหลอื บากวาแรง ๑๗. ศาสตราจารย เขียนยออยา งไร ✗ก. ศ. ข. ศต. ง. กระตา ยหมายจันทร ๑๑. เขาไป.... แลวแวะไปซือ้ ขา ว.... ค. ศจ. ง. ศส. กอ นกลับมา....เส่ือท่ีบาน ๑๘. ขอ ใดใชเครือ่ งหมายวรรคตอน ✗ก. ศาล / สาร / สาน ถูกตอง ก. เธอจะไปไหนตอนนี้! ข. สาสน / สาร / สาน ข. คณุ ลงุ มสี ่งิ ของตาง...มากมาย เฉฉบลับย ค. ศาล / สาล / สาน ง. สาร / สาร / สาน ✗ค. แมพูดวา “นดิ จะไปไหนลกู ” ๑๒. ในหลวงเสดจ็ ....อิตาลี ง. (ใครจะไปตลาดบาง) นกถาม ✗ก. ประพาส ข. ประภาส ๑๙. เคร่อื งหมายใดใชเ ขียนหลงั อักษรยอ ค. ประภาษ ง. ประพาต ✗ก. มหัพภาค ข. จุลภาค ๑๓. คำพองเสยี งในขอใด มีความหมาย ค. อัศเจรยี  ง. ยตั ิภังค วา ทอง ๒๐. นิดเขียนจดหมายถึงคุณยาย ก. กานต ข. การณ นดิ ควรเขยี นคำลงทายวา อยา งไร ✗ค. กาญจน ง. กานท ๑๔. คำในขอใดเปน คำพองเสยี ง ก. รกั และคิดถงึ ข. ดว ยความเคารพ ก. สมาธิ ข. ปกเปา ค. ดวยความรกั และคิดถงึ ค. สระ ✗ง. บาตร ✗ง. ดวยความเคารพอยา งสูง ÀÒÉÒä·Â ô ๒๑๕

อานขอความทก่ี ำหนดให แลวตอบคำถาม ขอ ๒๑ - ๒๕ เลก็ นองรกั เชาวันน้ีพี่ตองรับคนไขอาการหนัก คนเจ็บถูกยิงดวยปนลูกซองเพราะมี เร่ืองทะเลาะกัน เม่ือมาถึงสถานีอนามัย คนไขก็รอแรมากแลว พ่ีสั่งใหเตรียมเตียง ผาตัดทันที แตไมทันจะลงมือ คนเจ็บก็ขาดใจตายเสียกอน พี่เสียใจมาก นี่นับเปน คนไขรายทีส่ องของพี่ทตี่ องตายไป ตั้งแตมาอยูที่อนามยั แมพจ่ี ะวา เปนเรอื่ งสุดวิสยั แตก็อดเสียใจไมได เปนธรรมดาของหมอท่ีเห็นคนไขของตัวมาตายไปตอหนา เล็กตองจำไววาชีวิตของมนุษยน้ันเปนสิ่งที่สำคัญที่สุด แพทยตองทำทุกวิถีทางที่จะ รักษาชีวิตคนไขไวใหได พ่ีเศราใจทุกคร้ังที่ไดยินขาววามีคนไขตองตาย เพราะหมอ ไมรับไวรักษาในโรงพยาบาลเนื่องจากไมมีเงินคายา นาแปลกที่คนเราเห็นเงินสำคัญ กวา ชีวิตเพอ่ื นมนษุ ยดว ยกัน จาก เกดิ เปน หมอ ของ นายแพทยวรวทิ ย วิศิษฐก ิจการ เฉฉบลับย ๒๑. ผูเขยี นจดหมายฉบับนีป้ ระกอบ ๒๔. ผเู ขยี นจดหมายไมพ อใจขอ ใด อาชีพอะไร มากที่สดุ ✗ก. แพทย ก. คนไขไมม เี งนิ จาย ข. พัฒนากร ✗ข. หมอไมรักษาคนจน ค. บุรษุ พยาบาล ค. หมอชว ยชวี ิตคนไขไวไมได ง. เจา หนาทสี่ าธารณสุข ง. โรงพยาบาลไมมียาทจี่ ะรักษา ๒๒. คนเจบ็ ตายดว ยสาเหตุใด ๒๕. ใจความสำคัญของเนือ้ เรอื่ งตอนนี้ ก. ถกู ซอม ข. ถกู ฟน คือขอ ใด ค. ถกู ระเบิด ✗ง. ถูกยงิ ก. เงนิ สำคัญกวาชวี ติ ๒๓. ผเู ขียนทำงานท่ีใด ข. คา รักษาพยาบาลเปน สิง่ จำเปน ก. คลินกิ ข. โรงพยาบาล ✗ค. ชวี ิตมนษุ ยเ ปน สง่ิ สำคญั ท่สี ุด ค. วัด ✗ง. สถานอี นามัย ง. ความตายเปน เรอ่ื งธรรมชาติ ๒๑๖ ÀÒÉÒä·Â ô

อานขอ ความท่ีกำหนดให แลว ตอบคำถาม ขอ ๒๖ - ๓๐ สังคมไทยไดเริ่มงานลอยกระทงมาต้ังแตส มยั พระรวงแหงกรงุ สโุ ขทยั ตนตำรบั กระทง คอื นางนพมาศ ซงึ่ เปน ธดิ าทา นโหราธบิ ดีแหงราชสำนัก การลอยกระทงนีม้ ตี ำนานเลา ขานกนั วา นาคมีความศรัทธาในพระพุทธศาสนา จึงปลอมตัวมาบวชเปนพระ เมื่อนอนหลับรางก็เปลี่ยนจากพระเปนนาคตามเดิม เมอื่ เรือ่ งถกู เปดเผย นาคก็ไมส ามารถบวชได แตกอ นที่จะกลับไปอยูในทีข่ องพวกตน นาคไดจดุ ประทปี แลว ลอยไปตามสายนำ้ เพื่อเปนพทุ ธบชู า ๒๖. พธิ ีลอยกระทงเรม่ิ มีในสมัยใด ๒๙. นาคลอยประทปี เพอ่ื จุดประสงคใด ก. ขอขมาแมน ำ้ ✗ก. สมัยสุโขทัย ✗ข. บูชาพระพทุ ธเจา เฉฉบลับย ข. สมยั อยุธยา ค. ขอพรจากพระแมคงคา ค. สมยั ธนบรุ ี ง. เอาความทุกขล อยไป ง. สมัยรตั นโกสนิ ทร ตามแมน้ำ ๒๗. ใครเปน ผปู ระดษิ ฐกระทงเปน ๓๐. ปจ จุบนั มกี ารจัดประเพณี คนแรก ลอยกระทงในวนั ใด ก. พระรว ง ก. วนั ขนึ้ ๑๕ คำ่ เดือน ๙ ข. วันข้ึน ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ✗ข. นางนพมาศ ค. วนั ขน้ึ ๑๕ ค่ำ เดอื น ๑๑ ✗ง. วันข้นึ ๑๕ ค่ำ เดอื น ๑๒ ค. พระโหราธบิ ดี ง. นางประชาบดีโคตมี ๒๘. นาคอาศัยอยทู ่ีใด ก. บนพนื้ ดิน ข. บนทอ งฟา ✗ค. ใตบ าดาล ง. ในลำคลอง ÀÒÉÒä·Â ô ๒๑๗

¡Ô¨¡ÃÃÁ»ÃÐàÁÔ¹¤Ø³ÀÒ¾¡ÒÃÍ‹Ò¹ ¤Ô´ÇÔà¤ÃÒÐˏ áÅÐà¢Õ¹Ê×Íè ¤ÇÒÁ ª¹éÔ ·Õè ñ อา นบทรอยกรอง แลว ตอบคำถามตามประเด็นทก่ี ำหนด คนจะมีศีลธรรมประจำจิต หากคอยคิดรษิ ยาพาเศราหมอง แมม เี พชรแพรพรรณอนั เรืองรอง ไมชวนมองเทาดีมนี ้ำใจ ถึงงามพกั ตรผองพรรณเชน จนั ทรฉ าย ภายในรายเฟะฟอนหนอนบอ นไส ยุใหร ำตำใหร ่วั ราวท่วั ไป ถงึ คนใบไรภ าษางามกวา เอย หัวโขน : น่มิ นวล หาญทนงค ๑. บทรอ ยกรองน้มี ีใจความสำคัญอยางไร (ตวั อยาง) คนท่ีแมจะมีหนาตาผิวพรรณสวยงาม หรือคนท่ีมีเคร่ืองประดับ.................................................................................................................................................................................................................................................... เฉฉบลับย เคร่ืองแตงกายที่สวยงาม แตมีจิตใจไมด ี ไมมนี ำ้ ใจ ชอบคดิ อจิ ฉารษิ ยา.................................................................................................................................................................................................................................................... ผอู นื่ และชอบพูดจาสอเสยี ดยแุ ยงใหผ อู ื่นเกดิ ความแตกแยกกัน.................................................................................................................................................................................................................................................... คนเหลาน้ีจงึ สวยงามนอยกวา คนธรรมดาๆ ทม่ี ีจิตใจดงี ามเสยี อกี.................................................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................................................... ๒. นกั เรียนคิดวา คนดี ควรมลี ักษณะอยา งไร เปนคนมนี ้ำใจ พูดจาดี ไมพ ดู จาสอเสยี ด หรือยแุ ยงใหผูอ่ืนเกิด.................................................................................................................................................................................................................................................... ความแตกแยก เปน ผทู ี่ทำแตค วามดอี ยูเสมอ.................................................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................................................... ๓. นักเรยี นจะนำขอคิดจากบทรอ ยกรองน้ีไปใชในชวี ิตประจำวนั ไดอ ยา งไร ใชในการคบหาเพื่อนโดยไมมองคนแตเ พยี งหนาตาหรือฐานะ.................................................................................................................................................................................................................................................... แตค วรคบคนที่นสิ ยั โดยเลือกคบคนทนี่ สิ ยั ดี พูดจาดี.................................................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................................................... ๒๑๘ ÀÒÉÒä·Â ô

¡¨Ô ¡ÃÃÁ»ÃÐàÁÔ¹¤Ø³ÀÒ¾¡ÒÃÍÒ‹ ¹ ¤Ô´ÇÔà¤ÃÒÐˏ áÅÐà¢Õ¹Ê×èͤÇÒÁ ªéÔ¹·Õè ò อานบทความ แลว ตอบคำถามตามประเดน็ ทีก่ ำหนด ความรูในความรัก หวั ใจพระพุทธศาสนาสามขอ คือ “ไมทำชวั่ ทำดี ทำจิตใจใหบ ริสุทธ์”ิ นี่เปน โอวาทพระปาฏิโมกขท่ีพระพุทธองคกลาวในวันมาฆบูชา สามขอนี้ ใครทำไดครบ ก็จะเขาถึง “ความรัก” ครบถวน น่ันคือ ความรักผูอื่น และรักตัวเองอยางถูกตอง ไมทำชั่ว คอื การงดเวนการทำไมดีตอ ผอู ื่นและตอ ตนเอง ทำจิตใหบริสทุ ธ์ิ คอื การ มุงยกระดับจิตใจตนใหสูงกวาสามัญสัตวกระท่ังถึงภาวะเขาใจส่ิงทั้งหลายท้ังปวง อยางถูกตองตามความเปน จริง ขอสามคอื ทำจติ ใหบ ริสทุ ธิ์น้ี เปน หัวใจของทัง้ หมด ดวยมีแตจิตบริสุทธ์ิเชนนี้เทาน้ัน ที่จะเปนจิตสำนึกช้ีนำใหไมทำช่ัว และทำดีได อยางไรจึงจะไมเปนทุกขทุกขั้นตอน ทั้งแกตนเองและผูอื่น มาฆบูชา จึงเปนวัน เฉฉบลับย สำคัญท่ีมีความหมายถึงความรูและการปฏิบัติอันสมบูรณ คือ ความรู และการ กระทำ โลกวันน้ี ลืมกันงาย รักกันงาย เกลียดกันงาย ความงายๆ น่ีเองที่พลอย ใหเรา “มักงาย” มากข้ึน ความมักงายทำใหเราขาดความรู ความเขาใจ ในสิ่ง ท้ังหลายทั้งปวงอยางถูกตองตามความเปนจริง เพราะฉะน้ันเราจึงไมรูจักตัวเอง ไมรูจ กั ผูอื่นอยา งถกู ตอ งตามความเปน จรงิ ดวยอำนาจของความไมรูน่ี เราก็ “กระทำ” ไปโดยไมรู และทำใหเราคิดวา เรารู เราฉลาด แตขาดเฉลยี ว เราไมเ ฉลียววา ความรทู เ่ี ราคดิ วารนู ้ัน เปนความรู ชนิดท่ีไมถูกตองตามความเปนจริง ดังนั้นท้ังความคิด ความรู และการกระทำ จึง มักเปนไปดวยอำนาจของความไมรู โลกวันนี้ จึงขัดแยงกันรุนแรง ระหวางความรู จรงิ กบั ความรูไมจริง เนาวรตั น พงษไพบูลย จาก นติ ยสารครวั ฉบบั เดอื นมีนาคม ๒๕๔๗ ÀÒÉÒä·Â ô ๒๑๙

๑. นกั เรยี นคดิ วา “ความรัก” ในบทความนห้ี มายถึงอะไร (ตวั อยา ง) การไมทำชั่ว ทำแตค วามดี และการทำจติ ใจใหบ รสิ ทุ ธิ์.................................................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................................................... ๒. การทำจติ ใหบ ริสทุ ธิ์ สามารถทำไดอ ยางไร การไมทำความชว่ั และหม่นั ทำแตค วามดี ทำความเขาใจสภาพของ.................................................................................................................................................................................................................................................... สิ่งตางๆ อยา งถูกตองตามความเปน จริง................................................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................................................... ๓. ความมกั งายเกดิ ขน้ึ ไดอยา งไร และความมักงา ยสง ผลเสยี อยางไร ความมักงายเกิดจากความงายของคน เชน รักงาย ลืมงาย เกลียดงาย.................................................................................................................................................................................................................................................... เฉฉบลับย ซ่ึงความมกั งา ยจะสง ผลเสียคือ ทำใหเ ราขาดความรู ความเขา ใจ.................................................................................................................................................................................................................................................... ในสิ่งตางๆ อยา งถกู ตองตามความเปน จริง.................................................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................................................... ๔. ปญ หาความขัดแยง ของคนเราทกุ วนั น้ี มีสาเหตจุ ากสง่ิ ใด ความรูจริงกับความรูไมจ รงิ ของคนท่ีขาดความเฉลียว.................................................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................................................... ๕. นักเรียนจะนำขอ คดิ จากเร่ืองน้ีไปใชประโยชนในชวี ติ ประจำวันไดอ ยางไร ใชเ ตอื นใจใหห มั่นทำแตค วามดี ทำจติ ใจใหบ ริสุทธิ์ และมีสติเวลาทำ.................................................................................................................................................................................................................................................... สงิ่ ตา งๆ.................................................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................................................... ๒๒๐ ÀÒÉÒä·Â ô

¡ÂÊ â¤Ã§§Ò¹ ÇªÔ Ò ÀÒÉÒä·Â “คำในภาษาไทย” จดุ ประสงค : จำแนกคำชนดิ ตางๆ ในภาษาไทยได ภาระงาน : ๑. อานนทิ าน เรื่องสน้ั สารคดี ขาว บทความ หรอื เรื่อง ที่สนใจ ๒. สำรวจและจำแนกคำชนิดตางๆ จากเรือ่ งท่อี า น ๓. เขียนสรปุ ผลการสำรวจ ๔. นำเสนอผลงาน ¡Ô¨¡ÃÃÁºÙóҡÒÃàÈÃÉ°¡¨Ô ¾Íà¾Õ§ เฉฉบลับย “เร่อื งสน้ั หรรษา” จดุ ประสงค : แตงเรอ่ื งสน้ั ๆ ตามจนิ ตนาการโดยสอดแทรกแนวคดิ ท่ีเปน ประโยชนได ภาระงาน : ๑. แตง เร่อื งสั้นๆ ตามจินตนาการโดยสอดแทรกแนวคดิ ของ การใชช วี ิตตามแนวเศรษฐกจิ พอเพียง ๒. จัดทำรปู เลม พรอ มวาดรูปประกอบเรอื่ งใหส วยงาม ๓. แลกเปลย่ี นกันอา นกบั เพ่ือน ๔. ปฏบิ ตั ติ นตามแนวเศรษฐกจิ พอเพยี งตามเร่อื งทเ่ี ขยี น อยา งสม่ำเสมอ เพอ่ื ใหต ดิ เปน นสิ ยั ÀÒÉÒä·Â ô ๒๒๑

¡Ô¨¡ÃÃÁºÙóҡÒèµÔ ÍÒÊÒ “คำขวญั นำพาชีวีสดใส” จุดประสงค : เขาใจ และแตง คำขวัญเพ่อื ใชในสถานการณตา งๆ ได ภาระงาน : ๑. แตง คำขวญั เพื่อรณรงคใหเ พื่อนๆ และผปู กครองเหน็ ความสำคญั ของภาวะโลกรอน และชว ยกันลดการกระทำ เฉฉบลับย ที่สงผลใหเ กิดภาวะโลกรอ น ๒. เขยี นคำขวัญลงบนกระดาษโปสเตอรแขง็ แลว นำไปติด ที่ปา ยนิเทศ พรอมทั้งใหข อมลู เรอ่ื งภาวะโลกรอนเพม่ิ เตมิ และตกแตง ใหสวยงาม ๓. เขยี นคำขวัญลงในแผน พบั พรอมทัง้ ใหข อมูลเร่ืองภาวะ โลกรอนเพ่ิมเติม จากนนั้ ถายสำเนาแผน พับ แลว แจก เพอ่ื นๆ หรอื ผูป กครอง ๔. สำรวจความคดิ เหน็ ของผทู ี่ไดอ านปายนิเทศและแผน พับ เพ่อื นำความคดิ เหน็ ท่ีไดม าปรับปรงุ ผลงานในโอกาสตอ ไป ๕. รณรงคชวยกันลดการกระทำที่สง ผลใหเ กิดภาวะโลกรอ น อยา งตอ เนอ่ื ง »ÅÙ¡µ¹Œ äÁ¡Œ ѹ´Õ¡Ç‹Ò à¾×Íè Å´ÀÒÇÐâÅ¡ÃÍŒ ¹ âÅ¡ÃÍŒ ¹àÃÒá‹ ª‹Ç¡ѹᡌ¡‹Í¹ÊÒ ËÇÁ㨡ѹŴÀÒÇÐâÅ¡ÃÍŒ ¹áµ‹Çѹ¹Õé à¾×èÍâÅ¡·Õè´Õã¹Çѹ¢ŒÒ§Ë¹ŒÒ ๒๒๒ ÀÒÉÒä·Â ô

ูค ืมอกา รทำงานสำหรับ…ค ๑¾àÔ ÈÉ รผู สู อน ๑ ๒ ๓ เฉพาะสำหรับ...ครผู สู อน ใชพฒั นา ใชพฒั นาคณุ ภาพ ใชพ ฒั นา การเรยี นการสอน การปฏิบตั งิ าน ผลการเรียนรขู องผูเ รียน ขอสอบเตรียมความพรอมฯ การเทียบเคยี งตรวจสอบ เฉลยเฉพาะฉบับ PRE-O-NET พรอมเฉลย มาตรฐานการศึกษาฯ อยางละเอยี ด มาตรฐานตัวช้ีวัดชั้นปและ สาระการเรียนรูแกนกลาง ภาษาไทย ป.๔ เฉลยกจิ กรรมและ ตัวอยางการกรอก เฉพาะสำหรับ...ครูผสู อน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ แบบบันทึกผลการประเมนิ ความรูเ สริมสำหรับครู แบบรายงานผลการพฒั นา คณุ ภาพผเู รยี นรายบุคคล (ปพ.๖) ๔».ÀÒÉÒä·Â

๑ 㪾Œ Ѳ¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ ๒¾ÔàÈÉ à©Å¡¨Ô¡ÃÃÁ¾²Ñ ¹Ò¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃŒÙ ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒäԴ Ẻ·´ÊͺÇÑ´¼ÅÊÑÁÄ·¸Ô»ì ÃШÓ˹Nj  เฉพาะสำหรับ...ค ูรผูสอน ˹Nj ¡ÒÃàÃÕ¹÷ŒÙ èÕ ๒ ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹Ì٠·Õè ñ ๑. อานออกเสยี งสะกดคำทกี่ ำหนด แลว เขียนจำแนกคำตามมาตราตัวสะกดลงในสมุด มาตราแมก ด อดุ อู พเิ ศษ บวช ตรวจ เขต พฒั นา อิรยิ าบถ ฤทธิ์ รัฐ เฉลยเฉพาะฉบับ มาตราแมเกย โรย คุย สวย มาตราแมก ม โคมไฟ กลม มะขาม เฉพาะสำห ัรบ...ค ูร ูผสอน มาตราแมก น เขาฌาณ คลอน สญั ญา ใหพร ทมฬิ กมล มาตราแมกก เมฆ พรกิ สุขใจ โชคดี มาตราแมเ กอว ขาว ผิว เอว มาตราแมกบ อับเฉา กราฟ รูปภาพ มีลาภ มาตราแมก ง ของ ราง กิ้งกา ๔».ÀÒÉÒä·Â

˹Nj ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ·Œ Õè ๕ ๓¾ÔàÈÉ ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹Ì٠·Õè ò ๑. เขยี นจำแนกชนิดของคำวเิ ศษณท ่ีกำหนดใหลงในสมุดใหถกู ตอ ง วิเศษณบ อกลักษณะ เตย้ี กลม เสีย ดำ ฉุน หอม สูง ดี เฉพาะสำหรบั ...ครูผูส อน วิเศษณบ อกอาการ วองไว เรว็ ชา วิเศษณบอกจำนวน ทัง้ หมด มาก บา ง นอ ย บาง วิเศษณบอกเวลา กอ น บา ย เชา วิเศษณบ อกสถานท่ี ไกล บน ใต ใกล หลงั หนา ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ·Õè õ เฉลยเฉพาะฉบับ ๑. เขียนแผนภาพโครงเรื่องจากนทิ านท่ีกำหนดลงในสมดุ (ตัวอยา ง) ตัวละคร สวุ ัณณสาม บดิ า-มารดาของสุวัณณสาม สัตวปา และยักษ เฉพาะสำหรบั ...ครผู ูสอน สถานท่ี ในปาแหงหนึ่ง เหตกุ ารณทเี่ กิด สวุ ัณณสามเปนผมู ีความเมตตากรณุ า สตั วปา ท้ังหลายจึงรกั สุวัณณสาม วนั หนง่ึ สวุ ณั ณสามจะไปตักนำ้ เพื่อนำมาใหบดิ า มารดาซึ่งตาบอดใชอาบกิน พวกสัตวก เ็ ดนิ รุมลอมสุวณั ณสาม ยักษตนหนึ่งเหน็ สัตวปา ตางๆ จึงจะยิงสัตวแตกลบั โดนสวุ ัณณสาม กอ นตายสุวัณณสามจึงขอใหย ักษชวยดแู ลบิดามารดาของตน ผลของเหตกุ ารณ เทพยดาเหน็ ความดขี องสวุ ัณณสามจึงดลบนั ดาลใหเ ขาฟน ข้นึ มา และดวงตาของบดิ ามารดาของสวุ ัณณสามกม็ องเหน็ เปนปกติ สว นยักษกก็ ลับตวั กลับใจประพฤตติ นอยูใ นศลี ธรรม ๔».ÀÒÉÒä·Â

˹Nj ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ·Œ Õè ๕ ๔¾ÔàÈÉ ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒäԴ เฉพาะสำหรับ...ค ูรผูสอน ๔. เขียนแผนภาพโครงเรื่องของนิทานที่กำหนด (ตวั อยาง) ตวั ละคร ลูกแมวเหมียว ฝงู นก กอ นเมฆ และดวงอาทิตย สถานท่ี บนทอ งฟาเหนอื หมูบา นแหง หนึง่ เหตกุ ารณทเ่ี กิด ลกู แมวเหมยี วน่งั ตะกรา ลกู โปง สวรรค เพ่ือไปตามหานางฟา เม่อื ถามจากฝูงนก กอนเมฆ หรอื ดวงอาทติ ย กลบั ไมมใี คร เคยเหน็ นางฟา เลย ดวงอาทติ ยส งสยั วา ลูกแมวเหมียวจะ ตามหานางฟา ทำไม ลกู แมวเหมียวตอบดวงอาทติ ยวา อยากให นางฟาชวยใหเรยี นเกง ดวงอาทิตยจึงแนะนำใหท ำตามคนอ่ืน ทีเ่ รียนเกง ๆ ดกี วา เฉลยเฉพาะฉบับ ผลของเหตุการณ ลูกแมวเหมียวปรับตัวใหม โดยขยันและต้ังใจเรยี นขึ้น ไมน าน ลกู แมวเหมียวก็เรยี นเกงเหมือนเพอื่ นๆ เฉพาะสำหรับ...ค ูร ูผสอน Ẻ·´ÊÍºÇ´Ñ ¼ÅÊÑÁÄ·¸Ôì »ÃШÓ˹Nj ¡ÒÃàÃÂÕ ¹Ã·ÙŒ èÕ ๑-๕ ๒. อา นแลวเขยี นจำแนกคำตามมาตราตวั สะกดลงในสมดุ มาตราแมก ด วัฒนา อนุญาต มนษุ ย เภสัช ประเทศ ปรากฏ มาตราแมก ก พรรคพวก อคั คี สมคั ร หายาก เมฆ จกั รี มาตราแมก ง โครงสรา ง กางเกง ปาดง วังเวง กลางทาง รอ งเพลง มาตราแมเ กย เขย คุย เขีย่ ลุยทราย จำเลย ชายครยุ มาตราแมกบ มีลาภ รปู ภาพ อพยพ คบั แคบ ทัพพี เคารพ บาป ๔».ÀÒÉÒä·Â

๕. อา นบทความ แลว เขียนตอบคำถามลงในสมดุ ๕¾ÔàÈÉ (แนวการตอบ) เฉพาะสำหรบั ...ครูผูส อน ๑) เราไมควรเก็บสุนขั จรจดั มาเล้ียง เพราะสนุ ขั อาจมเี ช้ือบาอยู ๒) เราควรหลีกเล่ยี งไมเ ขาใกลส ุนขั นนั้ แลว แจง ใหผใู หญท ราบ ๓) สนุ ขั บา สว นใหญจ ะมีอาการตวั แข็ง คอแขง็ หางตก นำ้ ลายไหลตลอดเวลา ๔) เราอาจติดเชอื้ โรคจากสนุ ขั บาได โดยการสัมผสั สุนัขน้นั ๕) บทความนท้ี ำใหเ ราทราบวา ไมควรเก็บสุนัขจรจัดมาเลีย้ ง เพราะเราอาจตดิ เชือ้ โรคจากสนุ ขั นั้นได ๖. อา นบทรอยกรอง แลวเขียนตอบคำถามลงในสมดุ (แนวการตอบ) ๑) บทรอ ยกรองน้ี กลา วถงึ เรอ่ื งการพดู เฉลยเฉพาะฉบับ ๒) ผูแ ตงบทรอ ยกรองน้ี คอื สนุ ทรภู ๓) การพดู ทด่ี ี ควรพดู โดยใชวาจาไพเราะ ออ นหวาน พดู แตความจริง ไมพดู จา สอเสียดวา รา ยผอู ื่น และควรพดู แตส ่ิงท่ดี ี ๔) “รสถอ ย” หมายถงึ คำพดู ๕) “แมพ ดู ชั่วตัวตายทำลายมติ ร” หมายความวา ถา เราพูดจาไมดี อาจทำใหเรา เสียเพ่อื นได เฉพาะสำหรบั ...ครผู ูสอน ๔».ÀÒÉÒä·Â

เฉพาะสำหรับ...ค ูรผูสอน ๗. อา นนิทาน แลวสรุปใจความสำคัญ และเขียนแผนภาพโครงเรอ่ื งลงในสมดุ ๖¾ÔàÈÉ (ตัวอยาง) ใจความสำคัญของนทิ านเรอ่ื ง มา กับลาย ในอดีต มาลายมีลำตัวเปนสีขาวลวน เมื่อชางและสิงโตมาแจงใหสัตวอ่ืนๆ ทราบวาจะมีการประกวดความสวยงามของสัตวปาข้ึน มาลายเลยวาดเสนแถบสีดำที่ ตัวใหงามสงาเหมือนเสือโครง และติดขนตาปลอมใหมีลูกนัยนตาที่สวยงามเหมือน ยรี าฟ แตเม่อื มันว่งิ แขง กับมา มา กช็ นะ เมื่อมนั ตอสูกบั เสือ เสือก็ชนะ และมนั ยงั มอง เห็นไกลๆ แบบยีราฟไมไดดวย มาลายเลยเปนผูแพในการประกวด และเก็บตัวอยู อยา งเงียบๆ ตลอดชวี ิต แผนภาพโครงเรอ่ื ง ตัวละคร มา ลาย และสัตวต างๆ เฉลยเฉพาะฉบับ สถานท่ี ในปา แหงหนงึ่ เหตกุ ารณท่เี กดิ มาลายอยากชนะเลิศการประกวดความสวยงามของสัตวปา มัน จึงวาดเสนแถบสีดำที่ลำตัวเหมือนเสือโครง และติดขนตาปลอม ใหมีนัยนตาสวยงามเหมือนยีราฟ แตเมื่อมันวิ่งแขงกับมา มาก็ชนะ เม่ือมันตอสูกับเสือ เสือก็ชนะ และมันยังมองเห็น เฉพาะสำห ัรบ...ค ูร ูผสอน ไกลๆ แบบยรี าฟไมไ ดดวย ผลของเหตุการณ มา ลายเปน ผแู พในการประกวด เลยเกบ็ ตวั อยูอยางเงยี บๆ ตลอดชวี ิต ๔».ÀÒÉÒä·Â

˹Nj ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃÙŒ·èÕ ๖ ๗¾àÔ ÈÉ ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ·Õè ñ ๒. เขียนบอกหนา ท่ขี องคำในประโยคทก่ี ำหนดใหล งในสมุด ประโยค หนา ท่ขี องคำในประโยค เฉพาะสำหรบั ...ครูผูส อน บท บทขยาย บท บทขยาย บท บทขยาย ประธาน ประธาน กริยา กริยา กรรม กรรม ๑) นิดจัดหนงั สือ นดิ - จัด - หนงั สือ - ๒) ฝนตกหนักมาก ฝน - ตก หนกั มาก - - ๓) แมวตวั อวนเดินอดื อาด แมว ตวั อวน เดนิ อืดอาด - - ๔) คณุ แมซื้อปลาทูตวั ใหญ คณุ แม - ซือ้ - ปลาทู ตัวใหญ ๕) พก่ี มลเค้ียวอาหารเสยี งดัง พี่กมล ๖) มดเตนระบำประกอบเพลง มด เฉลย- เคี้ยว เสียงดงั อาหาร - เฉพาะฉบับ - เตน ระบำ ประกอบ - - เพลง ๗) เดด็ เดีย่ วทำงานอยางตงั้ ใจ เดด็ เด่ยี ว - ทำงาน อยา งต้ังใจ - - ๘) คณุ ปาของฉนั ทำอาหาร คณุ ปา ของฉัน ทำ เกง อาหาร - เฉพาะสำหรบั ...ครผู ูสอน ญี่ปุนเกง ญ่ปี นุ ๙) นกั ทองเทย่ี วเลน น้ำทะเล นกั - เลน ทหี่ ัวหิน น้ำทะเล - ทห่ี ัวหิน ทองเทีย่ ว ๑๐) นักเรยี นโรงเรยี นวทิ ยานุสรณ นกั เรยี น - รอง อยาง เพลงชาติ - พรอ ม รองเพลงชาตอิ ยาง โรงเรยี น เพรยี ง พรอมเพรยี ง วทิ ยานุสรณ ๔».ÀÒÉÒä·Â

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡Òä´Ô (หนว ยที่ ๖) ๘¾ÔàÈÉ ๓. สบื คน ความหมายของสำนวนท่ีกำหนด แลวแตงประโยคจากสำนวนลงในสมดุ ๑) ตีตนกอนไข หมายถงึ กังวลทกุ ขรอนหรอื หวาดกลัวในเรือ่ งทย่ี งั ไมเ กิดขน้ึ ๒) นำ้ ขน้ึ ใหรบี ตัก หมายถึง มโี อกาสดคี วรรบี ทำ เฉพาะสำหรับ...ค ูรผูสอน ๓) หามรงุ หามคำ่ หมายถงึ ตลอดวันตลอดคืน ๔) แมส ายบัวแตง ตวั คา ง หมายถึง ผูหญงิ ท่แี ตงตวั คอยผมู ารบั ออกนอกบาน แตเ ขาไมมาตามนดั ๕) ปด ทองหลังพระ หมายถึง ทำความดแี ตไ มไดรับการยกยอ ง ๖) หมาเหา ใบตองแหง หมายถึง คนที่เกงแตพดู ๗) กอรา งสรางตวั หมายถงึ ตงั้ เน้อื ตัง้ ตัวไดเ ปน หลักฐาน ๘) เอานำ้ ลบู ทอ ง หมายถงึ สทู นหวิ ในยามยาก ๙) ววั หายลอมคอก หมายถงึ ของหายแลวจึงคดิ ปอ งกนั เรื่องเกดิ ขึ้นแลว เฉลยเฉพาะฉบับ จงึ คิดแกไ ข ๑๐) เจาไมมีศาล หมายถึง ผไู มมที ี่อยูเปนหลักแหลง (ตัวอยา งประโยค) เฉพาะสำห ัรบ...ค ูร ูผสอน ๑) ยังไมเ กิดเร่ืองข้ึนเลย เธออยาเพิง่ ตตี นกอนไขเ ลย ๒) พวกดาราวัยรุนมักถือคตวิ า น้ำขนึ้ ใหร ีบตัก ๓) พอ ทำงานหามรงุ หามคำ่ ๔) แมบ อกวา นดิ เปน แมส ายบวั แตง ตวั คาง เพราะอตุ สาหแตงตัวรอคุณพอ แตคุณพอก็ไมมารับ ๕) เขาทำความดแี ตไ มม คี นรเู หน็ เหมอื นกบั ปด ทองหลงั พระ ๖) เธออยา เกง แตพดู เหมอื นหมาเหา ใบตองแหง ไปหนอยเลย ๗) พ่ีสาวกับพเ่ี ขยของนุชกำลังชวยกันกอรางสรางตัวใหมฐี านะดี ๘) ปา ใจหิวมากแตไมมีเงนิ ซื้ออาหารจงึ ตอ งเอาน้ำลูบทอ งไปพลางๆ ๙) เมอ่ื บานเขาถูกขโมยขน้ึ บาน เขาจงึ คดิ ปองกนั เหมอื นท่ีวา ววั หายลอมคอก ๑๐) ผชู ายคนนั้นเปนคนเรร อ นเหมือนเจาไมม ีศาล ๔».ÀÒÉÒä·Â

˹Nj ¡ÒÃàÃÕ¹ÌٷÕè ๗ ๙¾àÔ ÈÉ ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒäԴ ๓. จำแนกขอเท็จจริง และขอคดิ เหน็ จากเรือ่ งทก่ี ำหนด แลวผลดั กนั ออกมาพดู เฉพาะสำหรบั ...ครูผูส อน แสดงความคดิ เห็นเชงิ วิจารณ ขอ เท็จจริง ขอคิดเหน็ - คนตะวันตก เชน คนอเมริกันและคน อังกฤษที่มีการศึกษาจะไมใหลูกหลาน ในบานดูโทรทัศนพร่ำเพรื่อ แตจะใหดู - คนตะวนั ตกเชื่อวาการดโู ทรทัศน เฉพาะรายการท่ีมปี ระโยชน รายการทไี่ มม ีสาระมากๆ ก็ยง่ิ ทำให - การดูโทรทัศนเปนการสื่อสารทางเดียว สมองไมพัฒนามากขึ้น คือ คนดูสามารถรับฟงหรือดูไดเพียง เฉลยเฉพาะฉบับ อยางเดยี ว ไมสามารถโตต อบได - คนตะวันตกมองคนท่ีโออวดวาเปน - คนไทยควรหนั มาสนใจเรื่องเศรษฐกจิ คนรวยวา เปน คนไรส ำนกึ ไรวฒั นธรรม แบบชาวพทุ ธ ทเี่ นน เรื่องความเรยี บงา ย ไมท ำอะไรเกินตวั เฉพาะสำหรบั ...ครผู ูสอน ความคิดเห็น คนไทยชอบชื่นชมวิถีชีวิตของชาวตะวันตก แตกลับไมทำความเขาใจวิถีชีวิต ของชาวตะวนั ตก เชน คนตะวันตกจะไมใหลกู หลานในบา นดูโทรทัศนพรำ่ เพร่อื แตจ ะ ใหดูเฉพาะรายการที่มีประโยชน เพราะการดูโทรทัศนเปนการส่ือสารทางเดียว ยิ่งดู โทรทัศนรายการที่ไมมีสาระมากๆ ก็ย่ิงทำใหสมองไมพัฒนามากข้ึน นอกจากนี้แลว คนตะวันตกยังมองคนที่โออวดวาเปนคนรวย ใชสินคาย่ีหอดังๆ วาเปนคนไรจิตสำนึก ไรวัฒนธรรมดวย คนไทยเราจึงควรทำความเขาใจวิถีชีวิตของชาวตะวันตกใหม และ ควรหันมาสนใจเร่ืองเศรษฐกิจแบบชาวพุทธที่เนนความเรียบงาย และไมทำอะไร ใหเ กินตัว เพอ่ื ใหอ ยูในสังคมไดอ ยางมีความสขุ ๔».ÀÒÉÒä·Â

˹‹Ç¡ÒÃàÃÂÕ ¹Ã·ŒÙ èÕ ๘ ๑๐¾àÔ ÈÉ ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ·Õè ò เฉพาะสำหรับ...ค ูรผูสอน เขียนช่ือภาพลงในชองวาง จากน้ันเรียงลำดับคำตามพจนานุกรม โดยนำตัวเลขขอมา ใสใน ใหถ ูกตอง แลว หาความหมายของคำและเขียนลงในสมดุ เฉพาะสำห ัรบ...ค ูร ูผสอน ลำดบั ท่ี คำ ความหมาย ๑ กวยเต๋ยี ว ช่ือของกนิ ชนดิ หนึ่ง ทำดว ยแปง ขา วเจา เปน เสนๆ ๒ เรยี กภาชนะทที่ ำดว ยแกว สำหรบั ใสน้ำกนิ เปน ตน วา ๓ แกว ถว ยแกว หรอื เรียกสั้นๆ วา แกว ถวั่ ชอ่ื ไมเถาหลายสกุลในวงศ Leguminosae ใชฝ ก เฉลยเฉพาะฉบับ ๔ โบ หรือเมล็ดเปนอาหาร มือ เชอื กหรือริบบน้ิ ทำเปน หว ง ๒ หวง คลา ยหูกระตา ย ๕ ยา แลวผูกไขวกนั เปน เงือ่ นกระทก ๖ วัว อวัยวะสวนหน่ึงของรางกายอยูตอ จากแขน สำหรับจับ ๗ สง่ิ ที่ใชแ กห รือปองกนั โรค หรอื บำรุงรางกาย เสอื้ ชือ่ สตั วเ คยี้ วเออื้ งชนิด Bos taurus ในวงศ Bovidae ๘ หนู เปนสตั วกีบคู มีสีตา งๆ เชน น้ำตาล นวล มเี หนียง ๙ หอ ยอยูใตคอถึงอก ฮกู เครอ่ื งสวมกายทอ นบนทำดว ยผาเปน ตน เรียกชอื่ ๑๐ ตา งๆ กัน เส้อื กัก๊ เส้ือกระบอก ชอื่ สัตวเลี้ยงลูกดวยนมหลายสกลุ ในวงศ Muridae มีฟน แทะ มีอยูทว่ั ไปตามบานเรือนและในถน่ิ ธรรมชาติ มหี ลายชนิด บางชนดิ เปนพาหะนำโรค ชอ่ื นกหลายชนิดในวงศ Strigidae ขนนมุ หวั ใหญ ตาโต ตัวลาย ออกหากินเวลากลางคนื กลางวันหลบ พักผอ นตามตน ไม มหี ลายชนดิ เชน เคาเหยย่ี ว เคา แมว หรอื เคา โมง, ฮกู ก็เรียก ๔».ÀÒÉÒä·Â


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook