Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการประเมินแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (61-80) ระยะที่1 (61-65) และการประเมินแผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ปี (61-65) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (63-65)

โครงการประเมินแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (61-80) ระยะที่1 (61-65) และการประเมินแผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ปี (61-65) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (63-65)

Description: ฉบับสมบูรณ์ : โครงการประเมินแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2561-2580) ระยะที่1 (พ.ศ. 2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563-2565)

Search

Read the Text Version

คำนำ แผนพัฒนาสุขภาพจติ แห่งชาตฉิ บับที่ 1 (พ.ศ. 2561 – 2580) เกดิ ขึ้นภายใต้แนวคิดของการขบั เคล่ือน ไปสู่ประเทศไทย 4.0 ในมิติของการเตรียมคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ในศตวรรษที่ 21 โดยอาศัยอำนาจ หน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยสุขภาพจิตของคณะกรรมการพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ในการจัดทำแผนเพื่อดูแล สุขภาพจิตของประชาชนอย่างครอบคลุมทั้งในด้าน การสร้างเสริมสุขภาพจิต การป้องกันและการควบคุม ปัจจัยที่คุกคามสุขภาพจิต การคุ้มครองสิทธิของบุคคลที่มีความผิดปกติทางจิต การเข้าถึงบริการด้าน สุขภาพจิต และการอยู่ร่วมกันในสังคม โดยระยะเวลาของแผนถูกออกแบบให้สอดรับกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ขณะเดียวกันกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข ได้มีการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 5 ปี กรม สุขภาพจิต (พ.ศ. 2561 -2565) ซึ่งปรับปรุงมาจากแผนยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต (พ.ศ. 2560 – 2564) โดย แผนถูกนำมาดำเนินการในปี 2563 – 2565 เพื่อให้สอดรับกับระยะที่ 1 (พ.ศ. 2561 -2565) ของแผนพัฒนา สขุ ภาพจิตแหง่ ชาตฉิ บบั ที่ 1 ในปีงบประมาณ 2565 ไดด้ ำเนินมาถึงระยะส้ินสุดของแผนพัฒนาสุขภาพจติ แห่งชาติ ฉบับท่ี 1 (พ.ศ. 2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และแผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรม สุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) จึงต้องมีการประเมินผลแผนดังกล่าว เพื่อให้ทราบถึง ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของยุทธศาสตร์ กระบวนการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ ความเชื่อมโยงของ แผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติกับแผนปฏิบัติราชการกรมสุขภาพจิต ความคาดหวังความต้องการของ ผรู้ ับบริการและผ้มู สี ่วนไดส้ ่วนเสียของกรมสุขภาพจิต ตลอดจนความคุ้มค่าของโครงการสำคัญตามยุทธศาสตร์ เพื่อจัดทำเป็นข้อเสนอแนะและแนวทางในการพัฒนางานสุขภาพจิต อันจะเป็นข้อมูลสำคัญในการ ประกอบการตดั สนิ ใจของผู้บริหารและใช้เป็นแนวทางในการพัฒนางานสุขภาพจิตในระยะตอ่ ไป เมษายน 2565

โครงการประเมินแผนพัฒนาสขุ ภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) สารบญั บทท่ี 1 บทนำ ..........................................................................................................................................1 1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของโครงการ .......................................................................................1 1.2 วตั ถุประสงค์การประเมิน..................................................................................................................2 1.3 ขอบเขตการประเมนิ .........................................................................................................................2 1.4 การรวบรวมขอ้ มูล............................................................................................................................4 1.5 ระยะเวลาและแผนในการดำเนินการ ................................................................................................5 1.6 ประโยชนท์ ่ีจะไดร้ บั จากการวจิ ยั .......................................................................................................5 บทท่ี 2 การทบทวนวรรณกรรม................................................................................................................6 2.1 แนวคิดเกี่ยวกับการประเมนิ ผล..........................................................................................................6 2.2 แนวคดิ เก่ยี วกับการวางแผนยทุ ธศาสตรอ์ งค์การ..............................................................................13 2.3 แนวคดิ ในการประเมนิ แผนพฒั นาสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติฉบับที่ 1 ........................................................20 2.4 ประเดน็ ในการประเมนิ แผนปฏบิ ัตริ าชการระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2561 -2565) ของกรมสุขภาพจิต........39 บทท่ี 3 วิธกี ารประเมนิ ผล ......................................................................................................................46 3.1 กรอบแนวคดิ การประเมิน ................................................................................................................46 3.2 พื้นท่แี ละกลุ่มเป้าหมาย ..................................................................................................................49 3.3 เคร่ืองมือที่ใชแ้ ละวิธกี ารเก็บรวบรวมข้อมลู ....................................................................................50 3.4 ประเด็นและตวั ชี้วดั ในการประเมิน .................................................................................................52 3.5 การวิเคราะหข์ อ้ มลู .........................................................................................................................59 บทท่ี 4 บริบทและเน้ือหาของยทุ ธศาสตร์ ...............................................................................................61 4.1 สถานการณ์สำคญั ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั การจัดทำแผน ...............................................................................61 4.2 การวิเคราะหน์ โยบายและแผนอืน่ ๆ ทเี่ กย่ี วข้อง ...............................................................................66 4.3 การวิเคราะห์ความตอ้ งการและความคาดหวังของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ......................70 4.4 การสนับสนนุ จากเครือข่ายสขุ ภาพจติ ..............................................................................................74 4.5 จดุ เด่นและจุดท่คี วรพัฒนาของแผนพัฒนาสุขภาพจิตแหง่ ชาติ ........................................................74 4.6 จดุ เดน่ และจุดท่ีควรพัฒนาของแผนปฏบิ ตั ิราชการ ..........................................................................80 บทท่ี 5 ความสอดคล้องเหมาะสมและความเชอ่ื มโยงของแผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ .......................82 5.1 วิสยั ทัศน์ของแผนพัฒนาสุขภาพจิตแหง่ ชาติ....................................................................................82 5.2 การวิเคราะหค์ วามสอดคลอ้ ง เหมาะสม ของตัวช้ีวดั /ค่าเป้าหมายของแผนพฒั นาสุขภาพจิต แห่งชาติ .................................................................................................................................................83 5.3 การวิเคราะหค์ วามเช่ือมโยงระหว่างตัวช้ีวัด กบั เครือขา่ ยทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ..............................................91 ii

โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสุขภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) 5.4 ความสอดคล้องระหวา่ งโครงการและตวั ชี้วดั ในแตล่ ะเป้าประสงค์ กับสถานการณท์ างสขุ ภาพจติ และ ตวั ชี้วดั ของแผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ.............................................................................................98 5.5 ความสอดคล้องเช่ือมโยงระหวา่ ง วิสยั ทศั น์ ตวั ช้ีวัด ยุทธศาสตร์ และ เปา้ ประสงค์........................105 5.6 การวิเคราะห์ความเชื่อมโยงระหว่างแผนปฏิบตั ิราชการกับแผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ ...........132 บทที่ 6 การแปลงยทุ ธศาสตร์และการบริหารแผนยทุ ธศาสตร์...............................................................143 6.1 ภาวะผู้นำในการบริหารแผนยทุ ธศาสตร์ ........................................................................................143 6.2 กระบวนการแปลงยุทธศาสตร์ไปส่กู ารปฏิบัติ.................................................................................151 6.3 การจดั ต้งั องค์การขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์.........................................................................................154 6.4 การส่ือสาร กำกบั ติดตาม และประเมินผล.....................................................................................161 บทท่ี 7 ผลการประเมินประสิทธภิ าพและประสิทธิผลของการดำเนินงานยุทธศาสตรส์ ขุ ภาพจิต............163 7.1 ความคาดหวัง ความต้องการของผู้รบั บรกิ ารและผู้มีส่วนได้สว่ นเสยี ของกรมสุขภาพจิต ................163 7.2 การยอมรับและการใหโ้ อกาสผู้มีปญั หาสุขภาพจติ .........................................................................176 7.3 ความเช่ือม่นั และการยอมรับในการดำเนินงานของกรมสุขภาพจิต .................................................184 7.4 การรบั ร้แู ละความเขา้ ใจ พรบ. สขุ ภาพจติ .....................................................................................191 7.5 ผลสำเรจ็ ของการบริหารโครงการสำคญั ตามประเด็นยทุ ธศาสตร์ ...................................................196 บทท่ี 8 สรปุ และขอ้ เสนอแนะ...............................................................................................................206 8.1 สรุปความสอดคล้องของแผนพฒั นาสขุ ภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ. 2561-2565) และแผนปฏบิ ัติราชการระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิตในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ........................................................................................................................206 8.2 ผลการประเมินประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ลของกระบวนการแปลงแผนยุทธศาสตร์ไปสู่การ ปฏบิ ตั ิ ..................................................................................................................................................207 8.3 ผลการประเมนิ ประสิทธิภาพ ประสทิ ธิผลของยุทธศาสตร์ และความคุม้ คา่ ของแผนงาน/โครงการ สำคญั ...................................................................................................................................................208 8.4 ความต้องการและความคาดหวังต่อแผนยุทธศาสตรใ์ นระยะต่อไป .................................................230 8.5 ข้อเสนอแนะต่อการจัดทำแผนยทุ ธศาสตรใ์ นระยะต่อไป ................................................................233 iii

โครงการประเมินแผนพัฒนาสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) สารบัญรูปภาพ ภาพท่ี 1 องค์ประกอบ CIPP Mode ของ Stufflebeam................................................................................ 7 ภาพท่ี 2 แสดงความสมั พนั ธ์ระหว่างการวางแผนกบั การดำเนินงาน.............................................................. 15 ภาพที่ 3 กระบวนการวางแผนยทุ ธศาสตร์ .................................................................................................... 17 ภาพท่ี 4 ตัวแบบดา้ นการพัฒนาองคการ (Organization Development Model) ..................................... 30 ภาพท่ี 5 กรอบแนวคดิ การประเมินประสทิ ธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการแปลงแผนยทุ ธศาสตรไ์ ปสู่ การปฏบิ ตั ใิ นภาพรวม ................................................................................................................................... 47 ภาพท่ี 6 กรอบแนวคิดการประเมนิ ประสทิ ธภิ าพ และประสิทธิผล ตามประเดน็ ยุทธศาสตร์......................... 48 ภาพที่ 7 เกณฑ์ในการคัดเลือกหนว่ ยงานท่จี ะสัมภาษณบ์ ุคลากรระดับปฏบิ ัติการ......................................... 50 ภาพท่ี 8 กรอบการวเิ คราะห์ปัจจยั ทีม่ ผี ลต่อการยอมรับและให้โอกาสผูท้ ม่ี ีปญั หาสขุ ภาพจติ ....................... 60 ภาพที่ 9 ความเชื่อมโยงระหว่างตัวชว้ี ดั แผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาตฉิ บบั ท่ี 1 และแผนระดบั ชาติอ่ืน ๆ .... 69 ภาพท่ี 10 แสดงความเชื่อมโยงของแครือข่ายตามประเดน็ ยุทธศาสตร์ดา้ นเดก็ ............................................. 78 ภาพท่ี 11 การเช่ือมโยงเชิงสาเหตรุ ะหวา่ งโครงการทีน่ ำไปตอบตัวชว้ี ัดเปา้ ประสงค์ด้านปัญญา .................... 92 ภาพท่ี 12 การไหลของข้อมลู จำแนกตามประเภทของหน่วยงานท่รี ับผดิ ชอบโครงการสำคญั ตามยุทธศาสตร์ ................................................................................................................................................................... 103 ภาพที่ 13 แสดงความเช่ือมโยงของเป้าประสงค์ ตัวชว้ี ดั วิสยั ทศั นข์ องแผน ................................................104 ภาพท่ี 14 สดั สว่ นของโครงการตามกลมุ่ เป้าหมายเชิงยทุ ธศาสตร์...............................................................106 ภาพท่ี 15 การเช่ือมโยงโครงการตามตวั ช้วี ัดเป้าประสงค์ในกลมุ่ ปฐมวยั วยั เรียน........................................107 ภาพท่ี 16 การเช่ือมโยงโครงการตามตัวชว้ี ดั เป้าประสงคใ์ นกลมุ่ วัยรุ่น/เยาวชน ..........................................108 ภาพที่ 17 การเชื่อมโยงโครงการตามตวั ชี้วดั เป้าประสงคใ์ นกลมุ่ วยั ทำงาน..................................................109 ภาพท่ี 18 การเชื่อมโยงโครงการตามตัวชีว้ ดั เป้าประสงค์ในกลุ่มวัยสงู อายุ..................................................110 ภาพที่ 19 การเช่ือมโยงโครงการตามตวั ชวี้ ดั เป้าประสงค์ในกลุม่ วัยสงู อายุ..................................................111 ภาพที่ 20 ความเชื่อมโยงในระดบั ตวั ช้ีวดั วิสัยทัศน์ของแผน........................................................................132 ภาพท่ี 21 ความเชื่อมโยงตามแผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ยุทธศาสตรท์ ่ี 1.............................................133 ภาพท่ี 22 ความเชื่อมโยงตามแผนพฒั นาสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติ ยุทธศาสตร์ท่ี 2 และ 3 .................................134 ภาพท่ี 23 ความเช่ือมโยงตามแผนพัฒนาสุขภาพจิตแหง่ ชาติ ยทุ ธศาสตร์ที่ 4.............................................135 ภาพที่ 24 ความสอดคล้องระหว่างแผนปฏบิ ตั ิราชการกับแผนพฒั นาสุขภาพจิตแห่งชาติ............................142 ภาพที่ 25 การใชภ้ าวะผนู้ ำของผูบ้ ริหารในกรมสุขภาพจิต ..........................................................................148 ภาพที่ 26 ภาวะผนู้ ำที่ขบั เคลื่อนยุทธศาสตรใ์ ห้ประสบผลสำเรจ็ .................................................................149 ภาพที่ 27 โครงสรา้ งการดำเนินงานเครอื ขา่ ยตามแผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติฯ....................................155 ภาพท่ี 28 โครงสร้างคณะกรรมการสขุ ภาพจิตแห่งชาติ...............................................................................156 ภาพท่ี 29 คณะอนกุ รรมการจัดทำนโยบายและยทุ ธศาสตรส์ ุขภาพจติ ........................................................158 iv

โครงการประเมินแผนพัฒนาสุขภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบตั ิราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ภาพที่ 30 คณะอนกุ รรมการปรับปรุงและแกไ้ ขกฎหมาย ............................................................................159 ภาพที่ 31 โครงสร้างในการบริหารตวั ชว้ี ัดตามแผนปฏิบัติราชการฯ กรมสขุ ภาพจิต ...................................160 ภาพท่ี 32การวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์เพียร์สนั (Correlation) .....................................................................179 ภาพท่ี 33 วเิ คราะหเ์ ส้นทางอิทธพิ ลในรปู แบบโมเดล ทส่ี ง่ ผลต่อการยอมรับและการใหโ้ อกาสผูม้ ีปญั หา สขุ ภาพจติ ...................................................................................................................................................183 v

สารบญั ตาราง ตารางท่ี 1 แผนและกจิ กรรมในการดำเนินการวิจัย ......................................................................................... 5 ตารางท่ี 2 เป้าหมายแผนพัฒนาสุขภาพจติ แหง่ ชาติฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2561 - 2580) จำแนกตามระยะ........... 21 ตารางท่ี 3 ตัวชี้วัด โครงการ และหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วข้องตามประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 1...................................... 22 ตารางท่ี 4 ตวั ชี้วัด โครงการ และหน่วยงานท่ีเกย่ี วข้องตามประเด็นยทุ ธศาสตร์ท่ี 2...................................... 27 ตารางที่ 5 ตัวชวี้ ัด โครงการ และหน่วยงานทเ่ี กย่ี วข้องตามประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 3...................................... 31 ตารางท่ี 6 ตัวชว้ี ัด โครงการ และหน่วยงานท่ีเกยี่ วขอ้ งตามประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 4...................................... 36 ตารางท่ี 7 ศูนย์ความเชย่ี วชาญและประเดน็ ความเชย่ี วชาญเฉพาะทาง......................................................... 38 ตารางที่ 8 ตัวชว้ี ดั เปา้ ประสงค์ตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ของแผนปฏบิ ตั ิราชการฯ กรมสขุ ภาพจติ .......... 41 ตารางท่ี 9 ตวั ช้ีวัดเปา้ ประสงค์ตามประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 ของแผนปฏบิ ตั ิราชการกรมสุขภาพจติ .............. 42 ตารางท่ี 10 เช่อื มโยงระหว่างประเดน็ ยทุ ธศาสตรแ์ ละเปา้ ประสงค์ของแผนปฏบิ ัติราชการฯ และ แผนพัฒนา สุขภาพจติ แห่งชาติฯ ..................................................................................................................................... 43 ตารางที่ 11 เกณฑ์และตัวชี้วดั ในการประเมนิ ............................................................................................... 52 ตารางท่ี 12 วสิ ยั ทัศนเ์ ดิมและวิสัยทศั นท์ ปี่ รบั ใหม่ของกรมสุขภาพจติ ........................................................... 73 ตารางท่ี 13 การปรบั ตวั ชว้ี ดั และค่าเปา้ หมายของแผนกรมสขุ ภาพจติ ........................................................... 74 ตารางที่ 14 เปรยี บเทียบระหว่างสถานการณ์สุขภาพจิต กับค่าเปา้ หมาย...................................................... 84 ตารางที่ 15 ความเหมาะสมของตัวชีว้ ดั /คา่ เป้าหมายของแผนพัฒนาสขุ ภาพจติ แห่งชาติ.............................. 84 ตารางท่ี 16 การสนบั สนุนจากเครอื ขา่ ยสขุ ภาพจิตต่อตวั ชวี้ ดั เด็กมีความฉลาดทางสติปัญญา ไม่ต่ำกว่า 100 91 ตารางท่ี 17 ความเชอื่ มโยงของเครือขา่ ยต่อตัวชีว้ ัด ครอบครัวมีความเข้มแข็งและความอบอุ่น..................... 93 ตารางท่ี 18 ความเชอื่ มโยงของหน่วยงานทเี่ กย่ี วข้องกับตัวชี้วดั ความสขุ ของคนไทย ..................................... 95 ตารางที่ 19 ความเชื่อมโยงเครอื ขา่ ยท่ีเช่ือมโยงตัวชี้วัดอัตราการฆ่าตัวตายสำเรจ็ ......................................... 96 ตารางที่ 20 ความเชือ่ มโยงประเด็นสุขภาพจิตตามชว่ งวัย ตวั ช้ีวัด สถานการณ์ทเี่ ก่ยี วข้อง............................ 98 ตารางท่ี 21 ความเช่ือมโยงระหวา่ งตัวช้ีวัดแผนปฏบิ ตั ิราชการฯกบั แผนปฏบิ ัติการแผนพัฒนาสุขภาพจิต แหง่ ชาติ......................................................................................................................................................136

โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ตารางที่ 22 โครงสรา้ งการดำเนนิ งานของกรมสุขภาพจติ ............................................................................160 ตารางที่ 23 ข้อมลู พื้นฐานเก่ียวกับผตู้ อบแบบสอบถามในกลุ่มเครือขา่ ยผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสยี .........................165 ตารางท่ี 24 ความต้องการและความคาดหวงั ต่อบุคลากรทางการแพทย์ของกรมสุขภาพจิต........................166 ตารางที่ 25ความต้องการและความคาดหวงั ต่อ เจา้ หนา้ ที/่ พยาบาล...........................................................166 ตารางที่ 26ความต้องการและความคาดหวังต่อ ระบบบริการดา้ นสขุ ภาพจิต..............................................167 ตารางท่ี 27ความต้องการและความคาดหวงั ต่อ การบริการข้อมูล...............................................................167 ตารางท่ี 28 ความตอ้ งการองค์ความรู้ดา้ นสุขภาพจิต..................................................................................168 ตารางท่ี 29 การตอบสนองต่อความต้องการและความคาดหวังของเครือข่าย..............................................168 ตารางที่ 30 ประเด็นการตอบสนองตอ่ ความต้องการและความคาดหวังของเครอื ข่าย.................................169 ตารางที่ 31ขอ้ มูลพ้ืนฐานเกย่ี วกับผู้ตอบแบบสอบถามกลุ่มประชาชน .........................................................170 ตารางที่ 32 ความตอ้ งการและความคาดหวัง ตอ่ แพทย์..............................................................................171 ตารางที่ 33 ความต้องการและความคาดหวัง ตอ่ เจ้าหน้าที่/พยาบาล .........................................................171 ตารางที่ 34 ความตอ้ งการและความคาดหวังตอ่ การรกั ษาพยาบาล ............................................................172 ตารางท่ี 35 ความต้องการและคาดหวังต่อ การบริการของโรงพยาบาล/สถานบริการสุขภาพจิต ................172 ตารางที่ 36 ความต้องการและคาดหวังต่อ องค์ความรู้ด้านสุขภาพจิต........................................................173 ตารางที่ 37 การตอบสนองความตอ้ งการและความคาดหวังของประชาชน.................................................173 ตารางที่ 38 การตอบสนองความต้องการและความคาดหวังของประชาชน.................................................174 ตารางท่ี 39 ทัศนคติด้านความพงึ พอใจของผปู้ ่วยและญาติเก่ียวกับระบบบริการสุขภาพจิต........................175 ตารางท่ี 40 ทัศนคติด้านความพงึ พอใจของผปู้ ่วยและญาติเกย่ี วกบั ระบบบริการสขุ ภาพจิต........................175 ตารางท่ี 41 การยอมรบั และการให้โอกาสผ้มู ีปญั หาสุขภาพจติ ...................................................................176 ตารางที่ 42 ประเดน็ การยอมรบั และการใหโ้ อกาสผ้มู ปี ญั หาสขุ ภาพจติ ......................................................176 ตารางที่ 43 ความตระหนักและความเข้าใจเร่ืองสุขภาพจติ .........................................................................177 ตารางที่ 44 ประเด็นความตระหนกั และความเขา้ ใจเรื่องสุขภาพจติ ............................................................178 ii

โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ตั ิราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ตารางที่ 45การวิเคราะหป์ ัจจัยทส่ี ่งผลตอ่ การยอมรบั และการใหโ้ อกาสของประชาชนตอ่ ผู้มีปญั หาสขุ ภาพจติ และความเขา้ ใจและตระหนักตอ่ ปัญหาสขุ ภาพจติ .......................................................................................180 ตารางที่ 46 ผลการวเิ คราะห์องค์ประกอบเชิงยนื ยันของตัวแปรแฝง ...........................................................181 ตารางที่ 47 การวิเคราะห์ค่าสถติ ิสหสมั พนั ธ์การยอมรับ การให้โอกาส ความเข้าใจและความตระหนัก.......181 ตารางที่ 48 ผลการวิเคราะห์ถดถอยเชงิ พหตุ ่อของความเข้าใจสุขภาพจติ และความตระหนกั ด้านสุขภาพจติ ................................................................................................................................................................... 182 ตารางที่ 49 ความเช่อื มั่นต่อการบรหิ ารจดั การของกรมสุขภาพจิต..............................................................184 ตารางที่ 50 ประเด็นความเชื่อม่ันต่อการบริหารจัดการของกรมสุขภาพจติ ของเครือข่ายสุขภาพจติ ท้งั ในและ นอกระบบบริการสาธารณสุข ...................................................................................................................... 184 ตารางท่ี 51 ความเช่อื มัน่ ต่อความเชีย่ วชาญด้านสุขภาพจิตและจิตเวชของหน่วยงานกรมสขุ ภาพจติ ..........186 ตารางท่ี 52 ประเด็นความเชื่อมัน่ ต่อความเชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตและจิตเวชของหน่วยงานกรมสขุ ภาพจติ ................................................................................................................................................................... 187 ตารางท่ี 53 การยอมรบั ในความเชยี่ วชาญ และองค์ความรู้ ของกรมสุขภาพจิต..........................................188 ตารางท่ี 54 ประเด็นการยอมรับในความเชีย่ วชาญ และองค์ความรู้ ของกรมสขุ ภาพจติ .............................188 ตารางท่ี 55 ความเชอ่ื มน่ั ต่อองค์ความรแู้ ละเทคโนโลยที ีก่ รมสขุ ภาพจิตผลติ และพฒั นาข้ึน ........................189 ตารางท่ี 56 ความเชื่อมั่นต่อองค์ความรูแ้ ละเทคโนโลยีที่กรมสุขภาพจิตผลิตและพฒั นาขึ้น ........................190 ตารางท่ี 57 การยอมรับในองค์ความรู้และเทคโนโลยที ่กี รมสุขภาพจิต ผลิตและพฒั นาข้ึน..........................190 ตารางท่ี 58 การยอมรับในองค์ความรู้และเทคโนโลยที ่กี รมสุขภาพจติ ผลติ และพฒั นาขึ้น..........................190 ตารางท่ี 59 การรบั รู้ พ.ร.บ.สุขภาพจติ พ.ศ. 2551 และ 2562 ..................................................................192 ตารางที่ 60 ประเดน็ ท่ีมีการรับรู้ พ.ร.บ.สขุ ภาพจิต พ.ศ. 2551 และ 2562.................................................193 ตารางท่ี 61 ความเข้าใจเกย่ี วกบั พ.ร.บ. สขุ ภาพจิต....................................................................................194 ตารางที่ 62 ประเดน็ ความเข้าใจเกีย่ วกบั พ.ร.บ. สุขภาพจิต 2551 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเตมิ พ.ศ. 2562...........194 ตารางที่ 63 เปรยี บเทยี บความคุ้มค่าและความสำเรจ็ โครงการสำคัญตามยทุ ธศาสตร์ .................................197 ตารางที่ 64 การบรรลุประสทิ ธิผลตามตัวช้วี ดั ของแผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ.......................................209 ตารางท่ี 65 การบรรลปุ ระสทิ ธิผลในแตล่ ะตัวชวี้ ัดของแผนพฒั นาสุขภาพจติ แห่งชาติ.................................209 iii

โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ตารางที่ 66 การบรรลตุ ัวช้วี ดั จำแนกตามประเด็นเป้าประสงค์ของแผนปฏิบัตริ าชการ................................212 ตารางที่ 67 ผลการดำเนนิ งานตามตัวชว้ี ดั ตามประเด็นยุทธศาสตรข์ องแผนปฏบิ ัติราชการ.........................213 ตารางที่ 68 สรุปผลการประเมนิ ประสิทธิผลของแผนอธบิ ายรายตวั ชี้วดั .....................................................220 iv

โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสขุ ภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) บทที่ 1 บทนำ ในบทนี้จะกล่าวถึงความเป็นมาและความสำคัญของการประเมินผล วัตถุประสงค์ ขอบเขตการ ประเมิน การรวบรวมขอ้ มลู ระยะเวลาในการดำเนินการ ตลอดจนประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะได้รบั 1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของโครงการ ตั้งแต่ปี 2560 เป็นตน้ มาประเทศไทยได้เร่มิ ต้นขบั เคลื่อนการพฒั นาประเทศภายใตโ้ มเดลประเทศไทย 4.0 (Thailand 4.0) ตามกรอบแนวทางของยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติฉบับที่ 12 โดยมีวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการ พัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มีเป้าหมายในการยกระดับศักยภาพของประเทศใน หลากหลายมิติ ทั้งการพัฒนาคนในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ สร้างโอกาสและความเสมอภาค ทางสงั คม สรา้ งการเตบิ โตบนคุณภาพชวี ิตทเี่ ปน็ มติ รกับสงิ่ แวดล้อม และมีภาครัฐของประชาชนเพ่ือประชาชน และประโยชนส์ ว่ นรวม (ยทุ ธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2561 – 2580, 2561) การทีจ่ ะทำใหป้ ระเทศไทยขับเคลื่อนไปสู่ เป้าหมายดังกล่าวได้น้ัน สิ่งสำคญั อยา่ งหนง่ึ ก็คือการเตรยี มคนไทยให้เป็นมนษุ ย์ทส่ี มบรู ณ์ในศตวรรษท่ี 21 ด้วย การบ่มเพาะให้คนไทยมี ปัญญาเฉียบแหลม มีทักษะที่เห็นผล มีสุขภาพที่แข็งแรง และมีจิตใจที่งดงาม ซึ่งถือ เป็นภารกิจสำคัญของทุกภาคส่วน ขณะเดียวกันในภาคส่วนสาธารณสุขก็ได้มีนโยบายในการพัฒนาคนไทยให้ เปน็ มนษุ ย์ท่สี มบรู ณ์ท้ังทางร่างกาย จติ ใจ และสตปิ ญั ญา ผ่านโมเดล “สาธารณสุขไทย 4.0” ทง้ั นีก้ รมสุขภาพจติ ไดต้ อบสนองต่อยุทธศาสตรแ์ ละนโยบายระดบั ประเทศดงั กล่าว โดยขับเคลื่อนผา่ น แผนพัฒนาสุขภาพจติ แหง่ ชาติฉบับที่ 1 (พ.ศ.2561 - 2580) ที่มีกระบวนการจัดทำตัง้ แต่ เดอื นธนั วาคม 2559 โดยมีการแต่งตั้งคณะกรรมการสุขภาพจิตแหง่ ชาติ คณะทำงาน และคณะอนุกรรมการ ผ่านกระบวนการมีส่วน ร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งในและนอกระบบบริการสาธารณสุข ตลอดจนเครือข่ายภาคประชาสังคม เพ่ือ ดำเนินงานร่วมกันใน 4 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ 1) ยุทธศาสตร์ส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตตลอดช่วงชีวิต 2) ยุทธศาสตร์พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช 3) ยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนและผลักดันมาตรการทาง กฎหมายสังคมและสวัสดิการ และ 4) ยุทธศาสตร์พัฒนาวิชาการและกลไกการดำเนินงานด้านสุขภาพจิต อัน จะนำไปสู่เปา้ หมายหลัก คอื “คนไทยมปี ญั ญา อารมณ์ดี และมคี วามสุข อย่ใู นสงั คมอยา่ งทรงคุณคา่ ” นอกจากแผนระยะยาวแล้วนั้น ขณะเดียวกันกรมสุขภาพจิตก็ได้มีการดำเนินการตามแผนปฏิบัติ ราชการระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561 - 2565) ของกรมสุขภาพจิตในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563 - 2565) โดยมี วิสัยทัศน์ คือ “เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพจิต ด้วยระบบสุขภาพจิตดิจิทัลเพื่อประชาชนสุขภาพจิตดี และ เจ้าหน้าที่มีความสุข” ผ่านยุทธศาสตร์ในการดำเนินงาน 4 ประเด็นได้แก่ 1) ส่งเสริมสุขภาพจิต ป้องกันและ ควบคุมปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพจิตตลอดช่วงชีวิต 2) พัฒนาคุณภาพระบบบริการและวิชาการ สุขภาพจิตและจิตเวช 3) สร้างความตระหนักและความเข้าใจต่อปัญหาสุขภาพจิต และ 4) พัฒนาระบบการ บริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพและมีธรรมาภิบาล เพื่อบรรลุเป้าประสงค์ของวิสัยทัศน์เมื่อสิ้นแผนฯ ใน 3 1

โครงการประเมินแผนพฒั นาสุขภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ประการคือ 1) งานสุขภาพจิตของประเทศไทยก้าวหน้าสู่การเป็น Mental Health 4.0 2) ประชาชนมี สขุ ภาพจติ ดี มสี ตปิ ญั ญาดี มีความรอบรดู้ ้านสขุ ภาพจติ และ 3) บุคลากรกรมสุขภาพจติ มีความสขุ จากการดำเนนิ งานภายใต้แผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ. 2561-2565) และแผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) จนถึงปีงบประมาณ 2565 ซึ่งเป็นระยะสิ้นแผนของแผนยุทธศาสตร์ทั้งสอง จึงได้มีการ ดำเนินโครงการวิจัยประเมินผลแผนดังกล่าว เพื่อให้ทราบถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของยุทธศาสตร์ กระบวนการแปลงแผนไปสู่การปฏบิ ตั ิ ความเชอ่ื มโยงของแผนพฒั นาสุขภาพจิตแหง่ ชาติกับแผนปฏบิ ัติราชการ กรมสุขภาพจิต ความคาดหวังความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของกรมสุขภาพจิต ตลอดจนความคมุ้ คา่ ของโครงการสำคญั ตามยทุ ธศาสตร์ เพ่ือจัดทำเปน็ ขอ้ เสนอแนะและแนวทางในการพัฒนา งานสุขภาพจิต อันจะเป็นข้อมูลสำคัญในการประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารและใช้เป็นแนวทางในการ พฒั นางานสขุ ภาพจติ ในระยะตอ่ ไป 1.2 วัตถปุ ระสงค์การประเมนิ 1) เพือ่ ประเมินประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลของกระบวนการแปลงแผนยทุ ธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ 2) เพอื่ ประเมินประสทิ ธิภาพ ประสทิ ธิผลของยุทธศาสตร์ และความคุม้ ค่าของแผนงาน / โครงการ สำคัญ 3) เพอื่ ศึกษาความคาดหวงั ความต้องการของผูร้ ับบริการและผูม้ สี ่วนได้สว่ นเสยี ของกรมสุขภาพจติ 4) เพ่ือศึกษาความเช่ือมโยง และความสอดคล้องของแผนพฒั นาสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ. 2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และแผนปฏิบตั ิราชการระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) 1.3 ขอบเขตการประเมิน เพื่อจำกัดขอบเขตการประเมินให้ชัดเจน ผู้จัดทำโครงการได้กำหนดขอบเขตและมีรายละเอียดของ การประเมินในแตล่ ะด้านดงั นี้ 1.3.1 ด้านเน้ือหาการประเมนิ เน้ือหาในการประเมนิ จำแนกออกเปน็ 2 สว่ นดงั น้ี 1) การประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการแปลงแผนยุทธศาสตร์ไปสู่การ ปฏิบัติ ของกรมสุขภาพจิตทั้งในระดับกรมและระดับเขตสุขภาพทั้งในและนอกระบบบริการสาธารณสุข ประกอบดว้ ยประเด็น (1) ภาวะผูน้ ำในการบริหารยุทธศาสตร์ ของผ้บู ริหารระดับกรมสุขภาพจติ และระดับเขต สุขภาพ (2) การบริหารแผนยุทธศาสตร์ภายใต้แผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และแผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ใน 2

โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสุขภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ตั ิราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) วาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) (3) ผลสำเร็จของการบริหารยุทธศาสตร์/แผนงาน/โครงการตาม เป้าหมายท่กี ำหนด (พิจารณาถึงส้ินปงี บประมาณ 2563) และ (4) ข้อเสนอในการปรับปรงุ /พฒั นากระบวนการ แปลงยทุ ธศาสตรส์ ่กู ารปฏบิ ตั ิ 2) การประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของยุทธศาสตร์ และแผนงาน/โครงการสำคัญ ใน แผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2561 - 2580) โดยมีประเด็นย่อยสำหรับการประเมินในแต่ละ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ดังต่อไปน้ี ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตตลอดช่วงชีวิต ได้แก่ประเด็น 1) การ จัดบริการสง่ เสรมิ สุขภาพจิตกับเครือข่ายสุขภาพจิตทั้งในและนอกระบบบริการสาธารณสุข และ 2) ปัจจัยที่มี ผลตอ่ การยอมรับ/ให้โอกาสผูท้ ี่มีปญั หาสุขภาพจติ และการสร้างความตระหนัก ความเขา้ ใจเรอ่ื งสุขภาพจิตของ ประชาชน ยุทธศาสตร์ที่ 2 พฒั นาระบบบริการสขุ ภาพจิตและจิตเวช ไดแ้ ก่ประเด็น 1) ศึกษาทัศนคติของ ผู้ป่วยและญาติเกี่ยวกับระบบบริการสุขภาพจิต 2) ความเชื่อมั่นของเครือข่ายสุขภาพจิตทั้งในและนอกระบบ บริการสาธารณสุขต่อการบริหารจัดการของกรมสุขภาพจิต และ 3) ปัจจัยสนับสนุนและพัฒนาระบบบริการ สขุ ภาพจิตกบั เครอื ข่ายสขุ ภาพจติ ทงั้ ในและนอกระบบบริการสาธารณสุข ยุทธศาสตร์ที่ 3 ขับเคลื่อนและผลักดันมาตรการทางกฎหมาย สังคมและสวัสดิการ ได้แก่ประเดน็ 1) การรับรู้ และความเข้าใจต่อ พ.ร.บ.สุขภาพจิต พ.ศ. 2551 ของครือข่ายสุขภาพจิตทั้งในและนอกระบบ บริการสาธารณสุข 2) ปัจจัยที่มีผลต่อการขับเคลื่อน ผลักดัน บังคับใช้กฎหมายสุขภาพจิตและมาตรการทาง กฎหมาย ทส่ี นับสนนุ ให้ผปู้ ่วยจิตเวชได้รับการคุ้มครองสิทธิ ส่งเสริมสุขภาพจิต ป้องกันปัญหาสุขภาพจิตได้รับ การบำบดั รักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพอยา่ งถกู ต้องเหมาะสม ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 พัฒนาวิชาการและกลไกการดำเนนิ งานดา้ นสุขภาพจติ ได้แก่ประเด็น 1) ความ ต้องการ/ความคาดหวังของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของกรมสุขภาพจิต ประกอบด้วย ประเด็น ความเชื่อมั่นและความเข้าใจต่อประเด็นความเชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตและจิตเวช และประเด็นการรับรู้และ การยอมรับศูนย์ความเชี่ยวชาญ (Excellence Center) ของกรมสุขภาพจิต และ 2) การยอมรับและความ เชื่อมั่นของเครือข่ายสุขภาพจิตทั้งในและนอกระบบบริการสาธารณสุขต่อองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้าน สขุ ภาพจิตที่กรมสขุ ภาพจติ ผลิต/พัฒนาข้ึน 1.3.2 กล่มุ เป้าหมายในการประเมนิ กลุ่มเป้าหมายในการเก็บข้อมูลประกอบด้วยบุคลากรทั้งในระดับผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานในสังกัด กรมสุขภาพจิตที่เกี่ยวข้องในการจัดทำแผน ประสานแผน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งในและนอกระบบบริการ สาธารณสขุ ในช่วงปี 2561-2564 จำแนกเป็นกล่มุ เปา้ หมายในการเก็บข้อมลู ในเชงิ คณุ ภาพ และในเชงิ ปรมิ าณ ดังต่อไปนี้ 1) กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการสัมภาษณ์เชิงลึก 50 คน ประกอบด้วย ผู้บริหารแผนยุทธศาสตร์ ระดับสูง 3 คน ผู้บริหารระดับกลาง (ผู้อำนวยการ ศูนย์สุขภาพจิต/กอง/สำนัก/โรงพยาบาลจิตเวช) 15 คน 3

โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) คณะอนุกรรมการฯ จากหน่วยงานภายนอกกรมสุขภาพจิต 5 คน ผู้ปฏิบัติงานด้านสุขภาพจิต จำนวน 15 คน และผู้ปฏบิ ตั งิ านจากหน่วยงานท่ีมสี ว่ นไดส้ ่วนเสยี นอกระบบบรกิ ารสาธารณสขุ จำนวน 12 คน 2) กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ 400 คน ประกอบด้วย ผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี ภายในระบบบริการสาธารณสุข 100 คน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกระบบบริการสาธารณสุข 100 คน ประชาชนผู้รับบริการจากระบบบริการสุขภาพจิต จำนวน 100 คน และประชาชนที่เข้าร่วมโครงการตาม ประเด็นยุทธศาสตร์ 100 คน 1.3.3 พ้ืนที่เปา้ หมายในการประเมนิ พื้นที่เป้าหมายในการประเมิน มีการสุ่มตัวอย่างครอบคลุมทั้ง 12 เขตบริการสุขภาพและ กรุงเทพมหานคร 1.4 การรวบรวมขอ้ มูล 1.4.1 การรวบรวมจากเอกสารที่เกย่ี วข้อง การรวบรวมจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง ได้แก่เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ต่าง ๆ ทั้ง ในระดับกรม และระดับประเทศ แผนปฏิบัติการ โครงการ รายงานผลการดำเนินงานตามแผน/กิจกรรม/ โครงการ รายงานการสำรวจด้านสุขภาพของประชาชน รายงานการประชมุ ตา่ ง ๆ แบบสรุป หรอื แบบนำเสนอ ทไ่ี ดร้ ับจากผใู้ ห้ข้อมลู 1.4.2 การสัมภาษณ์ ผ้วู จิ ยั จะดำเนนิ การสัมภาษณก์ ลุม่ เปา้ หมาย จำนวน 50 คน ทัง้ ในระดับผบู้ รหิ าร ผู้ปฏิบัติงานในระดับ เขตบริการสุขภาพ คณะอนุกรรมการที่เกี่ยวข้อง และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องทั้งในและนอกระบบ สาธารณสุข รวมถึงประชาชนทีไ่ ดร้ บั ประโยชนจ์ ากการดำเนินงานตามแผน โดยมแี นวทางในการสมั ภาษณ์จาก แบบสมั ภาษณก์ งึ่ มโี ครงสรา้ ง โดยจะมกี ารกำหนดประเดน็ คำถามไว้ลว่ งหนา้ 1.4.3 การใชแ้ บบสอบถาม การใชแ้ บบสอบถามในการเก็บข้อมลู จำแนกเป็น 2 สว่ นหลกั ได้แก่ แบบสอบถามผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องทั้งในและนอกระบบสาธารณสุข จำนวน 200 ชุด ใช้ใน การประเมนิ ในประเด็น 1) ความเชอื่ ม่นั ของเครือขา่ ยสุขภาพจิตทั้งในและนอกระบบบริการสาธารณสุขต่อการ บริหารจัดการของกรมสุขภาพจิต การรับรู้ 2) ความเข้าใจต่อ พ.ร.บ.สุขภาพจิต พ.ศ. 2551 ของเครือข่าย สุขภาพจิต และ 3) ความต้องการและความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของกรมสุขภาพจิตทั้งในและนอก ระบบบริการสาธารณสุข โดยข้อคำถามประกอบด้วยข้อคำถามปลายเปิด (Open Question) และข้อคำถาม ปลายปิด (Close Ended Question) แบบสอบถามประชาชนที่ได้รับการบริการจากระบบบริการสุขภาพจิต จำนวน 100 ชุด ใช้ในการ ประเมินในประเด็น ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับ/ให้โอกาสผูท้ ี่มีปัญหาสุขภาพจิต และการสร้างความตระหนัก 4

โครงการประเมินแผนพฒั นาสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ตั ิราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ความเข้าใจเรื่องสุขภาพจิตของประชาชน และอีก 100 ชุดใช้ในการเก็บข้อมูลประเด็น ความเชื่อมั่น การรับรู้ และการยอมรับต่อประเดน็ ความเช่ียวชาญดา้ นสขุ ภาพจติ และจิตเวช 1.4.4 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู การวิเคราะห์ข้อมูลในการประเมินผล เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา โดยใช้การเปรียบเทียบ ระหว่างเป้าหมายกับผลการปฏิบัติจริง และการวิเคราะห์โดยเชื่อมโยงโดยใช้ตรรกะ รวมทั้งการใช้สถิติเชิง พรรณนา สถิตอิ นมุ าน 1.5 ระยะเวลาและแผนในการดำเนินการ ระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินการ 7 เดือน โดยมแี ผนและกิจกรรมในการดำเนินการวจิ ยั ดงั ตอ่ ไปนี้ ตารางที่ 1 แผนและกิจกรรมในการดำเนนิ การวิจัย กจิ กรรม ช่วงเวลา เดือน พ.ศ. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. 64 64 64 65 65 65 65 1. ศึกษาเอกสาร ทบทวนวรรณกรรม จัดทำกรอบการ ประเมินผล แผนการเก็บรวบรวมข้อมูล และเครื่องมือที่ใช้ใน การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 2. เสนอกรอบการประเมนิ วิธีการ แผนการเก็บรวบรวมข้อมลู และเคร่ืองมอื ทีใ่ ช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 27 3. ดำเนินการเกบ็ รวบรวมข้อมลู 4. ประมวลผลขอ้ มูลและวเิ คราะห์ข้อมลู ขั้นตน้ 5. ส่งรายงานความกา้ วหน้าในการประเมินผล 28 6. ประมวลผลและวเิ คราะหข์ ้อมูลขัน้ สมบรู ณ์ 7. จัดสัมมนาเสนอผลการประเมินตอ่ คณะกรรมการฯ และผู้ท่ี 19 เกี่ยวข้อง 8. จดั ทำรปู เล่มรายงานฉบบั สมบรู ณ์ 9. สง่ รายงานฉบบั สมบูรณ์ 29 1.6 ประโยชน์ทจ่ี ะไดร้ ับจากการวจิ ัย ผลการศกึ ษาทไ่ี ด้จะนำมาซ่งึ ประโยชน์ต่อการพัฒนางานของกรมสุขภาพจติ ใช้เปน็ ข้อมลู ประกอบการ ตัดสินใจที่สำคัญของผู้บริหาร และเป็นแนวทางในการพัฒนางานสุขภาพจิตตามแผนยุทธศาสตร์ ของกรม สขุ ภาพจิตในระยะตอ่ ไป 5

โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสุขภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม การประเมินผลเป็นกระบวนการในการเก็บรวบรวมข้อมูล และนำข้อมูลมาวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจเกี่ยวกับ เป้าหมาย กระบวนการขั้นตอนการดำเนินงาน ปัญหาและ อุปสรรคที่เกิดขึ้น หรือเพื่อตัดสินคุณค่าของการดำเนินงาน จุดเด่นจุดด้อยของสิ่งที่ต้องการประเมิน ไม่ว่าจะ เป็นแผน โครงการ หรือการดำเนินงาน ตลอดจนผลสัมฤทธิ์ในการดำเนินงานตามแผน โครงการ หรือการ ดำเนนิ งานเหล่านนั้ (พิชาย รตั นดลิ ก ณ ภเู ก็ต, 2558) เพ่ือนำไปสกู่ ารกำหนดกรอบในการประเมินผล จึงมกี าร ทบทวนวรรณกรรมทีเ่ ก่ียวข้องดงั ตอ่ ไปนี้ 2.1 แนวคดิ เกยี่ วกบั การประเมินผล 2.1.1 แนวคิดในการประเมินผลในรูปแบบซปิ ป์ (CIPP Model) แนวคิดในการประเมินผลในรูปแบบซิปป์ (CIPP Model) ถูกสร้างขึ้นในปี 1960 โดยแดเนียล สตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam, 2003) เป็นรูปแบบหนึ่งที่ได้รับความนิยมในการนำมาใช้ในการประเมินผล นโยบาย แผนงาน หรือโครงการ โดยมีองค์ประกอบในการประเมินจำแนกเป็น 4 กระบวนการได้แก่ 1) การ ประเมินบริบท (Context Evaluation) หมายถึง การพิจารณาเป้าหมายหรือวิสัยทัศน์โดยรวมเกี่ยวกับผู้รับ ผลประโยชน์ ความต้องการ ทรัพยากร ปัญหา ความเป็นมา ตลอดจนสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง (Yale University, 2021), 2) การประเมนิ ปัจจัยนำเข้า (Input Evaluation) เป็นการประเมนิ แผน รวมถึงทรัพยากร อันเป็นพื้นฐานแรกเริม่ ที่ทำให้เกิดแผนยุทธศาสตร์ เช่น ทรัพยากรทางกายภาพ ทรัพยากรบุคคล เวลา (Aziz, Mahmood, & Rehman, 2018) งบประมาณ รวมถึงกลยุทธ์ที่ปรากฏในแผนยุทธศาสตร์ 3) การประเมิน กระบวนการ (Process Evaluation) เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบคุณภาพของการปฏิบัติงานของโครงการ ใน ขั้นตอนนี้ กิจกรรมของโครงการจะถูกติดตามและจัดทำเป็นเอกสาร และถูกติดตามโดยผู้ประเมิน (Fitzpatrick, 2011; Mertens, 2012) และ 4) การประเมินผลผลิต (Product) หมายถึงการประเมินสิ่งทีเ่ ป็น เป้าหมาย หรอื วตั ถุประสงค์ หรือส่งิ ทีต่ อ้ งการบรรลุ (สิน พันธุ์พนิ ิจ, 2555; สุชาติ ประสิทธ์ริ ฐั สินธุ์, 2547; เยา วดี รางชัยกลุ วิบลู ย์ศรี, 2542) อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบัติเกี่ยวกับการประเมินแผนงาน หรือโครงการของทางราชการ Posavac and Carey (1992 อ้างใน สมบัติ ธำรงธัญวงศ์, 2554: 500) ได้เสนอรูปแบบในการประเมินโดยมุ่งเน้น การ ตรวจสอบประโยชน์ที่ประชาชนได้รับ (Accountability or Audit Model) ซึ่งแนวทางนี้จะไม่เน้นการ ตรวจสอบเกย่ี วกับตน้ ทุนและผลประโยชน์ของโครงการทวั่ ไปในเชงิ เศรษฐกิจแต่จะใหค้ วามสนใจว่า ประชาชน ได้รับประโยชน์จากโครงการดงั กล่าวอยา่ งไร มคี วามคมุ้ ค่าหรอื ไม่ หรือการลงทุนของรฐั บาลบรรลวุ ตั ถุประสงค์ ที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชนตามที่กำหนดไว้เพียงใด ซึ่งเป็นแนวทางที่จะนำมาใช้ในการประเมินแผน ยทุ ธศาสตรใ์ นคร้งั นดี้ ว้ ย 6

โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ภาพที่ 1องค์ประกอบ CIPP Mode ของ Stufflebeam 2.1.2 แนวคดิ การประเมินประสทิ ธิภาพ ในระดับสากลสถาบันนโยบายสาธารณะ (The Global Public Policy Institute) นิยามความหมาย ของการวิเคราะหป์ ระสิทธภิ าพไวใ้ นแง่ของการแปรรูปจากแผนหรือปัจจัยนำเขา้ (Input) ไปสผู่ ลลพั ธ์ (Result) คือผลท่เี กิดขึ้นจากแผน ส่วนในเชิงเศรษฐศาสตรก์ ล่าวว่าเป็นการวเิ คราะหจ์ ากต้นทนุ ส่ผู ลประโยชนต์ ามท่ีวัดได้ (Palenberg, 2011) สอดคล้องกบั ท่ี สมบัติ ธำรงธญั วงศ์ (2554) กล่าวถึงการวิเคราะห์ประสทิ ธิภาพไว้นัยหน่ึง ว่า เป็นเครื่องมือในการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุน และผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการนำโครงการไป ปฏิบัติ โดยการวิเคราะห์ดังกล่าวจะเป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์เปรียบเทียบเชิงการเงินระหว่างต้นทุนกับ ระดับการบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ ในลักษณะเดียวกัน มีนักวิชาการที่ให้ความหมายของประสิทธิภาพ (efficiency) ว่าเป็นการทำงานที่ได้ผลตามปริมาณและคุณภาพที่ต้องการ โดยคำนึงถึงการใช้ทรัพยากรที่ดี และเวลาที่เหมาะสม เป็นเรื่องเกี่ยวกับผลการดำเนินงานขององค์การที่เกี่ยวกับการแสดงถึงสมรรถนะของ ผู้บริหารในการใช้ทรัพยากรให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ โดยวัดจากกระบวนการทำงานตามข้ันตอน เวลา ค่าใช้จ่าย 7

โครงการประเมินแผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) และพฤติกรรมในการปฏิบัติงานที่วางไว้ ทั้งน้ีเพื่อให้ผลงานขององค์การมีปริมาณและคุณภาพตรงกับความ ต้องการของลูกค้าและผู้รับบริการ (ปกรณ์ ปรียากร, 2551) ส่วนผลลัพธ์ในความหมายของประสิทธิภาพน้ี หมายถึงผลลัพธ์ที่เกิดจากการดำเนินงานแต่ไม่ใช่เป็นสิ่งเดียวกันกับที่เกิดกับกลุม่ เป้าหมาย เพราะสิ่งที่เกิดกับ กลุ่มเป้าหมายอาจมีสิ่งอื่น ซึ่งมีสาเหตุมาจากบางสิ่งบางอย่างที่ไม่ได้มาจากแผนหรือโครงการ ส่วนการ วิเคราะห์ประสิทธิภาพนั้นดูเฉพาะผลลัพธ์ที่เกิดจากโครงการ หรือกิจกรรม ไม่ได้ดูสิ่งอื่นด้วย (เรืองวิทย์ เกษ สวุ รรณ, 2555) Rossi and Freeman (1993 อ้างใน สมบัติ ธำรงธัญวงศ์, 2554: 534) ให้แนวทางในการประเมิน ประสิทธภิ าพของโครงการไว้ 2 ประการคือ 1) การวิเคราะห์ตน้ ทนุ และผลประโยชน์ (Cost-Benefit Analysis) คือวิธีการวิเคราะห์ที่มุ่งประเมินประสิทธิภาพเชิงเศรษฐกิจของโครงการ โดยพิจารณาจากความสัมพันธ์ ระหวา่ งต้นทุนของโครงการทั้งหมด เปรียบเทียบกบั ผลประโยชน์โดยรวมทีเ่ กดิ ขน้ึ จากการนำโครงการไปปฏิบัติ โดยทั่วไปจะเป็นการวิเคราะห์ทางการเงินเป็นสำคัญ (Monetary Terms) ซึ่งเป็นที่นิยมอย่างกว้างขวาง และ 2) การวิเคราะห์ต้นทุนและประสิทธิผลของโครงการ (Cost Effectiveness Analysis) คือ วิธีการวิเคราะห์ ระดับความสำเรจ็ ของโครงการตามวัตถปุ ระสงค์ท่ีกำหนดไว้ เปรยี บเทียบกับตน้ ทุนของโครงการทใ่ี ช้ไปทั้งหมด การวเิ คราะหต์ น้ ทนุ และประสทิ ธิผลของโครงการ ผลการประเมนิ ดงั กล่าวจะเปน็ ข้อมลู สำคัญสำหรับผู้ตัดสินใจ นโยบายที่จะต้องพิจารณาเรื่องการจดั สรรทรัพยากรทีจ่ ำเป็นจะต้องใช้ในการนำโครงการไปปฏิบตั ิ อันจะเป็น ประโยชน์อย่างยิ่งต่อการแสวงหาการสนับสนุนจากนักวางแผน และจากประชาชนที่มุ่งหวังจะให้นำโครงการ ไปปฏิบัตใิ นพ้ืนท่ีของตน สำหรบั แนวทางในการประเมินประสทิ ธิภาพมแี นวทางทีส่ ำคัญดังต่อไปน้ี 1) การประเมนิ ประสทิ ธภิ าพในทุกข้นั ตอนของโครงการ ผู้ประเมินสามารถนำการวิเคราะห์ประสิทธิภาพไปใช้ประโยชน์ในการประเมินผลในทุกขั้นตอนของ โครงการ ต้ังแตก่ ระบวนการวางแผน ตลอดจนถึงการนำโครงการไปปฏิบัติ โดยส่ิงทพี่ งึ ระมัดระวังคอื ฐานคติใน การประเมินผลที่แตกต่างกัน อาจก่อให้เกิดความคลาดเคลื่อนต่อการพิจารณาการบรรลุวั ตถุประสงค์ที่พึง ปรารถนาได้ อย่างไรกต็ าม ผู้ประเมนิ สามารถใชเ้ ทคนิคการวิเคราะห์แบบ Sophistication โดยใชท้ ป่ี รึกษาที่มี ความเชี่ยวชาญเป็นผู้ดำเนินการวิเคราะห์ ซึ่งจะก่อให้เกิดคุณค่าอย่างยิ่งต่อวงการประเมินผลนโยบายหรือ โครงการ (สมบตั ิ ธำรงธัญวงศ์, 2554: 534-536) 2) การประมาณการต้นทุนและผลประโยชนข์ องโครงการ การวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์ของโครงการสามารถทำได้โดยผู้วิเคราะห์จะต้องทราบต้นทุน ข้อมูลและผลประโยชน์ของโครงการที่เป็นเชิงปริมาณ ซึ่งจะนำไปใช้คาดหมายตลอดอายุของโครงการ ส่วน ผลลพั ธต์ อ่ เนอื่ งที่เกดิ ข้ึนท้งั หมดจากการนำโครงการไปปฏิบตั ิ ควรจะนำมารว่ มในการพจิ ารณาในการวิเคราะห์ ต้นทุนและผลประโยชน์ที่ครอบคลุมโครงการทั้งหมด อย่างไรก็ตาม การวิเคราะห์ต้นทุนและประสิทธิผล สามารถนำมาใช้เป็นทางเลือกแทนการวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์ได้ ในกรณีที่ไม่สามารถประมาณการ ผลประโยชน์ที่เกิดจากการนำโครงการไปปฏิบัติเป็นหน่วยการเงินได้ (monetary units) วิธีการนี้จะช่วยใน การนำโครงการที่มีวัตถุประสงค์คล้ายคลึงกันมาเปรียบเทียบในเชิงประสิทธิภาพ และสามารถนำมาใช้ในการ วเิ คราะห์เปรยี บเทียบความแปรผันของประสิทธภิ าพของโครงการได้ (สมบตั ิ ธำรงธญั วงศ์, 2554: 534-536) 8

โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) 3) การวิเคราะหต์ ้นทนุ ค่าเสียโอกาส การประมาณการต้นทุนโดยใช้แนวความคิดของต้นทุนโอกาส (opportunity costs) เป็นสิ่งท่ี นักวิเคราะห์สามารถกระทำได้ (สมบัติ ธำรงธัญวงศ์, 2554: 534-536) อย่างไรก็ตามจากการศึกษาของ Persson and Tinghög (2020) ซึ่งได้ทำการวิเคราะห์ต้นทุนค่าเสียโอกาสในนโยบายสาธารณะของประเทศ สวเี ดน พบวา่ มกี ารให้ความสำคญั กับต้นทุนค่าเสียโอกาสน้อยโดยเฉพาะในนโยบายด้านสุขภาพ อย่างไรก็ตาม ปัญหาเรื่องการวิเคราะห์ต้นทุนค่าเสียโอกาสในนโยบายสาธารณะถือเป็นเรื่องที่กระทำได้ยากแม้ในระดับ นานาชาติ เนือ่ งจากการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายต่าง ๆ ของภาครฐั เพื่อสร้างความเป็นธรรมไม่ใช่เร่ืองที่จะ กระทำได้โดยง่าย ดังนั้นต้องมีการวิเคราะห์ทางเลือกต่าง ๆ ของโครงการว่า โครงการที่คนบางกลุ่มได้รับ ผลประโยชน์นน้ั จะต้องไม่ทำให้คนบางกลมุ่ เสยี ผลประโยชน์ดว้ ย (กัญญาวรี ์ ศรีบรุ ี, 2557) ดงั นนั้ ในการประเมินประสทิ ธิภาพในครง้ั น้ีจงึ หมายรวมถึงการวเิ คราะหผ์ ลการดำเนนิ งานว่า บรรลุผล ตามตวั ชว้ี ัดทีว่ างไว้มากน้อยเพียงใด รวมถงึ มผี ลลัพธ์ใดบา้ งที่เกดิ ข้ึนในแตล่ ะประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ 2.1.3 แนวคิดการประเมนิ ประสทิ ธผิ ล ประสทิ ธิผล (Effectiveness) หมายถึง ความสำเรจ็ หรือผลสัมฤทธ์ิทีต่ อ้ งการ (ปกรณ์ ปรียากร, 2551) โดยมีการกำหนดเป้าหมายที่เหมาะสมเพื่อให้บรรลุเป้าหมายโดยรวมที่ตั้งไว้ หมายรวมถึง การบรรลุตาม ผลลัพธ์ เป้าประสงค์ หรือ วัตถุประสงค์ โดยเป็นผลมาจาก กลยุทธ์ โครงการ หรือ กิจกรรม ต่าง ๆ ภายใต้ สถานการณ์ปกติ (Burches & Burches, 2020) พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต (2552) อธิบายเกี่ยวกับแนวทางการประเมินประสิทธิผลไว้ 4 รูปแบบ ดังต่อไปน้ี 1) การประเมนิ เปา้ ประสงค์ วิธีนี้อธิบายประสิทธิผลว่าเป็นระดับในการบรรลุเป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้โดยมี แนวทางในการประเมิน ประการแรก คือ การพิจารณาจากความชัดเจนของนิยามของเป้าประสงค์ที่ระบุไว้ ประการที่สองคือ เป้าประสงค์จะต้องไม่มากเกินไป เพื่อให้สามารถวัดได้ และจะต้องมีฉันทามติหรือข้อตกลง ร่วมกันต่อเป้าประสงค์เหล่านั้น และประการที่สาม ความก้าวหน้าของการดำเนินงานตามเป้าประสงค์ต้อง สามารถวัดได้ โดยผู้ประเมินต้องมีการสร้างและพัฒนาตัวช้ีวดั อย่างเป็นรูปธรรม มีวิธีการคือการพิจารณาการ บริหารตามวัตถุประสงค์ (Manager by Objective-MBO) แล้วระบุเงื่อนไขและระดับการบรรลุเป้าประสงค์ จากนนั้ จงึ นำผลการปฏิบตั จิ ริงมาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ท่ีกำหนดเอาไว้ 2) การประเมนิ ระบบ วธิ ีการประเมนิ ระบบ เป็นการประเมินโดยพิจารณาต้ังแต่ปจั จัยนำเขา้ สู่กระบวนการและแปรสภาพให้ กลายเป็นผลผลิตหรือปัจจัยส่งออก การนิยามประสิทธิผลในเชิงเป้าหมายอย่างเดียวจึงเป็นการประเมินเพียง เฉพาะด้านปัจจัยส่งออกเท่านั้น ซึ่งทำให้ทราบความเป็นจริงขององค์การไม่รอบด้านจึงสมควรมีการพิจารณา ความสามารถทั้งระบบ ต้งั แต่กระบวนการแสวงหาปจั จัยนำเขา้ การนำปัจจัยนำเข้าไปสูผ่ ลผลิต และการรักษา เสถียรภาพและดุลยภาพขององค์การ ซึ่ง Norton and Kaplan (1996 อ้างใน พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต: 54) 9

โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ได้เสนอแนวคิดการประเมินแบบดุลยภาพที่อาศัยรากฐานจากวิธีการประเมินเชิงระบบไว้ เพื่อประเมิน ประสิทธิผลขององค์การใน 4 มิติ ประกอบด้วย มิติด้านการเงิน มิติด้านลูกค้าหรือผู้รับบริการ มิติด้าน กระบวนการภายใน และมิติด้านการเรียนรูแ้ ละการพฒั นา แต่ละมิติจะมตี ัวช้ีวัดหลัก เพื่อใช้ในการประเมินวา่ การปฏิบัติงานในแต่ละมิติได้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ในระดับใด จุดแข็งของการประเมินประสิทธิผลเชิง ระบบ จะทำให้ผู้บริหารมีแนวโน้มที่จะมองผลลัพธ์ขององค์กรในระยะยาว มีการตัดสินใจมุ่งเน้นไปที่ความอยู่ รอดและความเข้มแข็งขององค์การในระยะยาว หรอื เน้นความยงั่ ยนื ขององค์การมากกว่าผลประโยชน์ระยะส้ัน ยิ่งไปกว่านั้นการประเมินเชิงระบบยังช่วยให้ผู้บริหารตระหนักถึงการพึ่งพาระหว่างกันและกันของกิจกรรมใน องค์การ การประเมินเชิงระบบทำให้ผู้ประเมินมีความยืดหยุน่ ในการประเมนิ องค์การได้โดยหากเป้าหมายของ องคก์ าร มีความเป็นนามธรรมสูงและคลมุ เครือ ผู้ประเมินอาจเน้นไปทปี่ จั จยั นำเขา้ แทนปจั จัยสง่ ออกได้ 3) วิธีการประเมินกล่มุ ยุทธศาสตร์ แนวคดิ การประเมินกลมุ่ ยุทธศาสตร์เสนอวา่ ประสทิ ธผิ ลขององค์การคือการสรา้ งความพงึ พอใจในการ ตอบสนองความต้องการของกลุ่มต่าง ๆ มีแนวคิดคล้ายกับการประเมินเชิงระบบแต่มีจุดเน้นที่แตกต่างกัน กล่าวคือแนวคิดทั้งสองพิจารณาจากเรื่องปฏิสัมพันธ์ระหว่างองค์การกับสิ่งแวดล้อม แต่แนวคิดการประเมิน กลุ่มยุทธศาสตร์เลือกพิจารณาสิ่งแวดล้อมบางประการขณะที่แนวคิดเชิงระบบมีแนวโน้มจะพิจารณา สิ่งแวดลอ้ มที่ผลต่อองค์การแทบทุกกลุ่ม แนวคิดการประเมนิ เชิงกลุ่มยุทธศาสตร์จึงมีขอบเขตทีเ่ ฉพาะเจาะจง มากกว่าแนวคดิ เชงิ ระบบ 4) การประเมินการแข่งขันของคา่ นยิ ม หากผู้ประเมินต้องการมีความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในการประเมินประสิทธิผลขององค์การ การระบุตัว แปรหลักแกนกลางในแต่ละมิติของประสิทธิผลและพิจารณาว่าตัวแปรเหล่านั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างไร จะ เป็นสิ่งที่มีคุณค่าต่อการประเมินประสิทธิผลยิ่ง แนวทางการประเมินการแข่งขันของค่านิยมคือ เกณฑ์ที่ผู้ ประเมนิ ให้คุณค่าและใช้ในการประเมินประสิทธผิ ลขององค์การขน้ึ อยู่กับว่าผูป้ ระเมินเป็นใคร และเป็นตัวแทน ผลประโยชน์ของกลุม่ บุคคลใด ไม่ว่าจะเป็นด้านความพึงพอใจของผูร้ ับบรกิ าร ความพึงพอใจของผู้ปฏิบัติงาน การมีแผนงานโครงการหรือผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ และด้านประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ฐานคติที่สำคัญสำหรับ การประเมินตามตัวแบบนี้คือ ไม่มี “เกณฑ์” ที่ดีที่สุดในการประเมินประสิทธิผลขององค์การ ไม่มีเป้าประสงค์ หนึ่งเดียวใด ๆ ที่จะสามารถสร้างความยอมรับและก่อให้เกิดความสมานฉันท์แก่สมาชิกทุกคนในองค์การ อยา่ งไรกต็ ามภาวะผู้นำก็เป็นปัจจยั หนง่ึ ท่มี ีเกีย่ วขอ้ งกับประสิทธิผลของยุทธศาสตรด์ ้วย 2.1.4 แนวคดิ ภาวะผ้นู ำ ภาวะผู้นำเป็นแนวคดิ ที่มีความหลากหลาย นิยามหนึ่งที่นักวิชาการจำนวนมากมีความเหน็ ร่วมกันคือ ภาวะผูน้ ำเป็นกระบวนการใชค้ วามสัมพนั ธเ์ ชิงอิทธิพลระหว่างผู้นำกบั ผู้ตาม โดยผู้นำจะกระตุ้น โนม้ นา้ ว จูงใจ ผู้ตามใหพ้ ยายามปฏบิ ตั งิ านอย่างเต็มศกั ยภาพเพอ่ื สร้างความเปล่ยี นแปลงและบรรลเุ ป้าหมายที่กำหนดไว้ โดย ผู้นำมีบทบาทที่สำคัญต่อการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ ที่สำคัญได้แก่ 1) กำหนดวิสัยทัศน์และ 10

โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบตั ิราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ยุทธศาสตร์ 2) สร้างค่านิยมและวัฒนธรรมองค์การ 3) สร้างแรงบันดาลใจและจงู ใจ 4) ฝึกสอน สนับสนุน ให้ การช่วยเหลือ 5) เข้าใจพฤติกรรมของบุคคลและสามารถบริหารความขัดแย้ง และสามารถส่ือสารสร้างความ เข้าใจที่ชัดเจนแก่ผู้ตาม และ 6) สร้างความเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาองค์การ (พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต, 2552: 172) สำหรับทฤษฎีที่ศึกษาภาวะผู้นำซึ่งอยู่ในกระแสวิชาการปัจจุบันประกอบด้วย ภาวะผู้นำเชิงบารมี (Charismatic Leadership) ภาวะผนู้ ำวิสัยทัศน์ (Visionary Leadership) และตัวแบบภาวะผนู้ ำเต็มขอบเขต (Full Range Leadership Model – FRLM) โดยผู้นำในแต่ละรูปแบบมีคณุ ลกั ษณะที่สำคญั ดงั ต่อไปน้ี 1) ภาวะผนู้ ำเชิงบารมี (Charismatic Leadership) Jay Conger และ Rabindra Kanungo (1998 อ้างใน พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต, 2552: 193) เสนอ ว่าผู้นำเชิงบารมี มีคุณลักษณะที่สำคัญ 5 ประการได้แก่ 1) มีวิสัยทัศน์ และความสามารถในการถ่ายทอด ชี้ให้เห็นความสำคัญของวิสัยทัศน์ด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย และวิสัยทัศน์จะกลายเป็นสิ่งที่สร้างแรงดลใจ สร้าง ความใฝ่ฝัน และแรงจูงใจให้กับผู้ตามในการปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าประสงค์ที่กำหนดไว้ (2) ความกล้าเสี่ยง พร้อมที่จะทุ่มเททรัพยากร และพร้อมที่จะเสียสละสรรพสิ่งที่เกี่ยวข้องกับตนเองเพื่อปฏิบัติงานให้บรรลุ เป้าประสงคท์ ี่กำหนดไว้ (3) การมีความรบั รู้ต่อสถานการณ์เร็ว โดยสามารถประเมินสถานการณ์อย่างเป็นจริง ทั้งในด้านขดี จำกัดและความต้องการทรัพยากรที่ก่อให้เกิดการเปลย่ี นแปลง (4) การรบั รู้ถงึ ความตอ้ งการของผู้ ตามเรว็ โดยร้วู ่าผ้ตู ามคนใดควรทำงานลักษณะใด รวมท้ังรบั ร้อู ารมณ์ความรสู้ ึก ความตอ้ งการของผู้ตาม และ สามารถตอบสนองความต้องการเหล่านั้นได้อย่างทันสถานการณ์ (5) การมีพฤติกรรมที่แตกต่างจากธรรมดา โดยผู้นำบารมีจะมีพฤติกรรมที่แปลกใหม่ ไม่เป็นไปตามกระแสหลักและท้าทายปทัฏฐานเดิม หากประสบ ความสำเรจ็ พฤติกรรมเหล่านจี้ ะนำมาซึ่งความยินดีและความชื่นชมในกลมุ่ ผตู้ าม 2) ภาวะผู้นำเชิงวสิ ยั ทัศน์ (Visionary Leadership) ภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ หมายถึง ความสามารถของผู้นำในการสร้างและสื่อสารวิสัยทัศน์ในอนาคต ขององค์การ เป็นรูปแบบที่แตกแขนงออกมาจากภาวะผูน้ ำเชงิ บารมี โดยผู้นำลักษณะน้ีจะชี้ให้เห็นว่าองค์การ จะเจรญิ เตบิ โตและมีสภาพดขี ้นึ จากปัจจุบนั ได้อย่างนา่ เช่อื ถือ นา่ สนใจ และมีความเป็นไปไดจ้ ริง คณุ ลักษณะที่ ดีของวิสัยทัศน์ มีองค์ประกอบหลักคือ เน้นค่านิยม (Value Centered) สามารถทำให้เป็นจริงได้ (Reliable) และสร้างแรงดลใจ (Inspirational) และมีลักษณะพิเศษ (Unique) ท่แี ตกต่างจากองค์การอื่น ดังนั้นวิสัยทัศน์ จะต้องมีทัศนะต่ออนาคต ชัดเจน และปฏิบัติได้ อีกทั้งจะต้องสอดคล้องกับเวลา และสถานการณ์ ผู้นำเชิง วิสัยทัศน์ มีลักษณะที่สำคัญ 3 ประการดังต่อไปนี้ (1) ความสามารถในการอธิบายวิสัยทัศน์ต่อผู้อื่น โดย สามารถแปลงวิสัยทัศน์มาสู่การกระทำและเป้าหมายที่ต้องปฏิบัติ มีการสื่อสารด้วยคำพูด และเขียนอย่ าง ชัดเจน วิสัยทัศน์ที่ดีจะมีประสิทธิผลได้นั้นอยู่ที่ผู้นำได้สื่อสารอย่างเข้มข้น (2) ผู้นำจะต้องแสดงพฤติกรรมใน ทิศทางที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ เพื่อเป็นแบบอย่างให้กับผู้ตามได้ปฏิบัติตาม เมื่อเกิดการประสานพลังในการ ปฏิบัติระหว่างผู้นำและผู้ตามที่ดำเนินไปในทิศทางเดียวกันก็จะส่งผลต่อพลังในการบรรลุประสิทธิผลตาม วิสัยทัศน์ไดใ้ นทีส่ ุด และ (3) มีทักษะที่สามารถขยายวิสัยทัศน์ในบริบทที่แตกต่างกัน เพื่อให้วิสยั ทัศน์สามารถ 11

โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ประยุกต์ใช้ในความหลากหลายของทุกสถานการณ์ โดยผู้นำจะต้องทำให้วิสัยทัศน์มีความหมายต่อหน่วยงาน ยอ่ ยในทกุ องคก์ าร (พชิ าย รตั นดลิ ก ณ ภูเกต็ , 2552: 195-196) 3) ภาวะผู้นำแบบเต็มขอบเขต (Full Range Leadership Model – FRLM) Bass และ Avolio (อ้างใน พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต, 2552: 198) พัฒนาทฤษฎีภาวะผู้นำขึ้นมา เพื่อให้ครอบคลุมและสอดคล้องกับภาวะความเป็นจริงทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับภาวะผู้นำ โดยตัวแบบนี้จะ จำแนกภาวะผู้นำออกเป็น สามประเภทหลักไดแ้ ก่ ภาวะผ้นู ำการเปลยี่ นแปลง ภาวะผนู้ ำแบบแลกเปลีย่ น และ ภาวะผ้นู ำแบบปล่อยเสรี (1) ภาวะผู้นำการเปล่ียนแปลง เปน็ ผทู้ เ่ี ปลี่ยนแปลงความคาดหวงั ความตอ้ งการ ความคดิ และ จิตสำนึกของผู้ตาม ผู้นำการเปลี่ยนแปลงจะกระตุ้นให้ผู้ตามมองสิ่งต่าง ๆ อย่างรอบด้านและเชื่อมโยงเพื่อให้ เห็นประโยชน์และความสำเร็จขององค์การอยู่เหนือผลประโยชน์ส่วนบุคคล รวมทั้งตระหนักถึงความสามารถ และสวัสดิการของผู้ตามด้วย ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงมีองค์ประกอบ 4 ประการได้แก่ (Bass, 1985 อ้างใน พิชาย รตั นดลิ ก ณ ภเู ก็ต, 2552: 198-200) ไดแ้ ก่ ประการแรก บารมีหรือการใช้อิทธิพลเชิงอุดมคติ จะส่งผล ใหส้ มาชกิ มีแรงจงู ใจในการปฏบิ ัตงิ านไดม้ ากกว่าเปา้ หมายที่ตั้งเอาไว้ ซงึ่ สมาชกิ จะชืน่ ชมและศรัทธาพฤติกรรม บางอย่างของผู้นำในฐานะที่เป็นแบบอย่างที่ผู้ตามปรารถนาปฏิบัติตาม ทำให้ผู้ตามเกิดความภาคภูมิใจที่อยู่ ภายใต้การนำของผู้นำ เกิดความจงรักภักดีต่อตัวผู้นำ มีความเชื่อมั่นในตัวผู้นำ ประการที่สอง การจูงใจเพ่ือ สร้างแรงดลใจ พฤติกรรมที่แสดงออกถึงการนำโดยใช้ภาวะผู้นำแบบจูงใจเพื่อสรา้ งแรงดลใจคอื การถ่ายทอด วิสัยทัศน์ขององค์การหรือชุมชนให้ผู้ตามเห็นได้อย่างกระจ่างว่าจะเป็นอย่างไรในอนาคตและผู้นำจะสร้าง จติ สำนึกที่แข็งแกร่งแก่ผู้ตามในการยดึ กุมเป้าประสงค์ให้มั่นคง ตลอดจนผู้นำจะสร้างจติ สำนึกที่แข็งแกร่งแก่ผู้ ตามในการยึดกุมเป้าประสงค์ให้มั่นคง ใช้ภาษาอย่างชาญฉลาดเพื่อถ่ายทอดความคิดและปลุกเร้าอารมณ์ ความรสู้ กึ ของผตู้ าม ประการทสี่ าม การกระตนุ้ ทางปัญญา เปน็ การทผี่ ูน้ ำแสดงพฤตกิ รรมโดยการตงั้ คำถามกับ ฐานคติ ความเชื่อ และแนวทางวิธีการปฏิบัติเดิมกับผู้ตาม พร้อมทั้งกระตุ้นและสนับสนุนการใช้มุมมองและ วธิ กี ารใหมๆ่ ในการดำเนนิ งานและแก้ปัญหา สนบั สนนุ การแสดงความคิดเหน็ และเหตผุ ลอยา่ งเป็นระบบ และ สนับสนุนให้แสดงความคิดเห็นที่แตกต่างจากผู้นำ และประการสุดท้าย การคำนึงถึงปัจเจกบุคคล ผู้นำจะให้ การสนับสนุนทางสังคมและอารมณ์ของผู้ตาม แสดงออกถึงความห่วงใยในสวัสดิการและสวัสดิภาพของผู้ตาม โดยพจิ ารณาว่าผู้ตามมคี วามต้องการอะไรบ้าง และสามารถตอบสนองได้อยา่ งไร การใส่ใจกับความสามารถใน การทำงานของผู้ตามสง่ ผลใหพ้ วกเขาปฏบิ ัติงานได้อยา่ งเตม็ ศักยภาพที่มีอยู่ ผ้นู ำจะไม่กดี กันความก้าวหน้าของ ผู้ตาม และบ่ันทอนความเชื่อมั่นในการทำงานของผู้ตามโดยการสั่งให้ผู้ตามปฏิบัติงานที่ยากและเกิน ความสามารถของตนเอง มีการรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาภายในหน่วยงานและปัญหาส่วนตัวที่มี ผลกระทบตอจิตใจของผู้ตามอย่างตั้งใจ ให้การสนับสนุนผู้ตามเพื่อพัฒนาทักษะและความสามารถของตนเอง และให้ผู้ตามมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับระบบมาตรฐานในการปฏิบัติงาน ตลอดจนกระบวนการให้ รางวัลและการประเมนิ ความดีความชอบ (2) ภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยน ผู้นำแบบนี้จะให้ความสนใจในสถานการณ์ปัจจุบันขององค์การ พยายามบริหารจัดการให้องค์การดำเนินการอย่างราบรื่น และมีประสิทธิภาพ โดยผู้นำประเภทนี้มีความ 12

โครงการประเมินแผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ตั ิราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) เชี่ยวชาญในการวางแผน การจัดงบประมาณ และเน้นงานในมิติที่ไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องส่วนบุคคล ผู้นำแบบ แลกเปลี่ยนแบง่ ออกเปน็ สามประเภทไดแ้ ก่ ประเภทที่หนึ่ง การแลกเปลี่ยนโดยให้รางวลั ตามสถานการณ์ เป็น ผนู้ ำที่แลกเปลี่ยนบนพื้นฐานอารมณ์ทางเศรษฐกิจ แลกเปลี่ยนโดยให้รางวัลแก่ผู้ตามที่มีผลการปฏิบัติงานที่ดี ประเภทที่สอง การจัดการอย่างกระตือรือร้นภายใต้เงื่อนไขยกเว้น ภาวะผู้นำแบบนี้เป็นการจัดการภายใต้ เงื่อนไขยกเว้น ซึ่งเป็นการแลกเปลี่ยนในเชิงลบเพราะว่าผู้นำ ควบคุม กำกับพฤติกรรมที่เบี่ยงเบนจากบรรทัด ฐาน และขจัดสิ่งที่เป็นอุปสรรคต่อการบรรลุเป้าหมายของงานออกไป และประเภทที่สาม การจัดการอย่าง เฉื่อยชาภายใต้เงื่อนไขยกเว้น รูปแบบนี้ผู้นำจะรอจนกระทั่งปัญหาหรือความเบี่ยงเบนเกิดขึ้นอย่างรุนแรง กอ่ นท่ีจะเขา้ ไปดำเนินการจัดการ ผู้นำแบบน้มี ีแนวโน้มทจี่ ะยดึ และปฏิบัติตามกฎเกณฑ์อย่างตายตัวขาดความ ยืดหยุ่นในการปฏิบัติเพราะกังวลว่าตนเองจะต้องรับผิดชอบเมื่อเกิดความผิดพลาดขึ้น บรรยากาศเช่นนี้ จะ ส่งผลให้ผู้ตามหวาดระแวงเพราะต้องกังวลว่าจะถูกจับผิด ทำให้มีความพึงพอใจต่ำและส่งผลให้ผู้ตามมีความ พึงพอใจในการปฏบิ ัตงิ านต่ำไปด้วย (3) ภาวะผู้นำแบบปล่อยเสรี ลักษณะนี้เป็นภาวะที่เรียกว่าผู้บริหาร แตกต่างจากภาวะผู้นำ เนื่องจากผู้บริหารลักษณะนี้จะประพฤติตนในลักษณะที่หลีกเลี่ยงความรับผิดชอบ ไม่อยู่ในเวลาที่ผู้ตาม ต้องการความช่วยเหลือ ปฏิเสธการแสดงทัศนะของตนต่อประเด็นปัญหาที่สำคัญใช้วิธีการหลีกเลี่ยงหรือปัด ความรบั ผดิ ชอบ โดยไมส่ นใจวา่ ผลลัพธข์ องงานจะเป็นอยา่ งไร ภายใตบ้ รรยากาศของการนำแบบปลอ่ ยเสรี ส่ิง ที่จะเกิดขึ้นตามมาคือ ผู้ตามจะมีความรู้สึกไม่พึงพอใจในการทำงาน หน่วยงานไม่สามารถทำงานบรรลุ เป้าหมายตามที่กำหนด คุณภาพงานที่ออกมาจึงต่ำกว่ามาตรฐาน หน่วยงานและผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานน้นั จะไมเ่ ปน็ ที่น่าเชอื่ ถอื ของประชาชนทั่วไป อกี ท้ังยังไมไ่ ด้รับการยอมรบั จากหนว่ ยงานอ่นื ๆ อีกด้วย 2.2 แนวคิดเก่ยี วกบั การวางแผนยทุ ธศาสตร์องค์การ นักวิชาการนิยามยุทธศาสตร์ไว้อย่างหลากหลาย โดย Mintzberg (1998 อ้างใน พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเกต็ , 2552: 106-107) กลา่ วถงึ ความหมายของยุทธศาสตร์ไว้ 5 มิติ ดงั ตอ่ ไปน้ี มิติแรก ยุทธศาสตร์ในฐานะที่เป็นแผน (Plan) หมายถึง ชุดของการกระทำที่มีความตั้งใจอย่าง ตระหนกั รู้เพ่อื ใช้เป็นแนวทางหรือกล่มุ ของแนวทางสำหรับการปฏิบัติการภายใตส้ ถานการณ์ใด ๆ เช่น องค์การ ด้านสังคมกำหนดยุทธศาสตรเ์ พื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของกลุม่ เป้าหมาย ภายใต้นิยามนี้ ยุทธศาสตร์มีลักษณะ สำคัญสองประการคือ การกำหนดแนวทางการปฏิบัติที่จะใช้ในการดำเนินการไว้ล่วงหน้า และแนวทาง เหล่านั้นได้รับการพัฒนาขึ้นมาอย่างตระหนักรู้และอย่างมีเป้าประสงค์ การนิยามยุทธศาสตร์ในมิตินี้มีความ หลากหลายขึ้นอยกู่ ับประเภทขององคก์ าร มิติที่สอง ยุทธศาสตร์ในฐานะที่เป็นอุบาย (Ploy) เป็นแผนที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจงที่เอาชนะคู่แข่ง ด้วยไหวพรบิ สตปิ ัญญา มิติที่สาม ยุทธศาสตร์ในฐานะที่เป็นแบบแผน (Pattern) หมายถึง แบบแผนในกระแสของการปฏิบัติ หรือความคงเส้นคงวาของพฤติกรรม ไม่ว่าจะเป็นพฤตกิ รรมทีเ่ กิดจากความตั้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ตาม การนิยาม 13

โครงการประเมินแผนพฒั นาสุขภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ยุทธศาสตร์ในฐานะที่เป็นแบบแผนช่วยให้ผู้บริหารระลึกอยู่เสมอว่าแผนหรือแนวคิดที่มีการเขียนเป็นลาย ลกั ษณะอักษรอาจเป็นส่ิงท่วี า่ งเปล่าและไร้ความหมายหากไม่มีการขับเคล่ือนในเชิงปฏิบัติหรือไม่นำพฤติกรรม ในเชิงปฏิบัติมาพิจารณา รวมทั้งสนับสนุนให้ผู้บริหารต้องระลึกเสมอว่ายุทธศาสตร์ที่ไม่ตั้งใจอาจเกิดขึ้นได้ เสมอระหว่างการบริหารงาน มิติที่สี่ ยุทธศาสตร์ในฐานะที่เป็นตำแหน่งจุดยืน (Position) หมายถึง วิถีของการกำหนดตำแหน่ง องคก์ ารในส่ิงแวดล้อม การนยิ ามยทุ ธศาสตรเ์ ชน่ นสี้ ่งเสริมให้ผู้บริหารมององค์การในบรบิ ทของการแข่งขัน ทำ ให้เกิดการค้นพบตำแหน่งจุดยืนขององค์การและวิธีการปกป้ององค์การ เพื่อที่จะทำให้องค์การอยู่ในฐานะท่ี สามารถแข่งขันได้อยา่ งทดั เทียม หรือวธิ ีการท่ใี ชใ้ นการหลีกเลยี่ งผลกระทบเชงิ ลบจากสง่ิ แวดล้อม มิที่ห้า ยุทธศาสตร์ในฐานะที่เป็นมุมมอง (Perspective) หมายถึง ยุทธศาสตร์ที่มที ั้งเนื้อหาที่สะท้อน ให้เห็นถึงจุดยืนตำแหน่งขององค์การและปลูกฝังวิธีการรับรู้โลกเอาไว้โดยตรง นัยนี้จะมีการผนวกเอาค่านิยม หรือวัฒนธรรม หรืออุดมการณ์ขององค์การเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์ซึ่งจะกลายเป็นพลังในการ ขบั เคลื่อนองค์การใหบ้ รรลุพันธกจิ จากนิยามในหลายมิติดังกล่าวข้างต้น ดังนั้นจะเห็นได้ว่ายุทธศาสตร์ไม่ใช่เป็นเพียงแนวทางในการ จัดการกับคู่แข่งหรือดำเนินการอยา่ งไรกับตลาดและกลุ่มเป้าหมายเท่านัน้ แต่ยังเป็นพลงั รากฐานขององคก์ าร ในฐานะท่เี ป็นเคร่ืองมอื สำหรบั สรา้ งการรบั รู้และการปฏบิ ตั ิร่วมกนั ของสมาชิกภายในองค์การอีกดว้ ย 2.2.1 ความสัมพนั ธข์ องแผนกลยุทธ์กบั แผนงาน กรอบการดำเนินงานองค์การจะมกี ารกำหนดวิสัยทศั น์ซึ่งหมายถึง ภาพเหตุการณ์ในอนาคต (Future Scenario) ที่องค์การมุ่งจะเป็น อันประกอบดว้ ย เป้าประสงค์ (Goal) ค่านิยม (Value) และกลยุทธ์ (Strategy) ซึ่งจะต้องมีการปฏิบัติให้เป็นจริงให้ได้เพราะลำพังการมีวิสัยทัศน์แต่ไม่ มีการปฏิบัติก็เป็นเพียงแค่ความฝัน (Vision without action is dream) แผนกลยุทธ์จะมีการกำหนดตำแหน่งยุทธศาสตร์ (Strategic Positioning) เพื่อให้รู้ว่าเราอยู่ในธุรกิจ อะไร เพื่อให้เราทำสิ่งที่จะเป็น ธุรกิจหลัก (Core Business) ไม่ดำเนินการอย่างสะเปะสะปะไปทุกเรื่อง จากนั้นจะต้องระบุความสามารถหลัก (Core Competence) ให้ทุกคนในองค์การตระหนักรู้ว่า เรามี ความสามารถสูงในเร่ืองใด อนั เป็นความสามารถที่คนอ่ืนลอกเลยี นไดย้ าก เป็นความสามารถทีเ่ ราส่ังสมและอยู่ กับเรามานาน เป็นความสามารถที่ฝังลึกอยู่ในองค์การ ซึ่งจะต้องนำมาใช้และต่อยอดเสริมสร้างยิ่งขึ้นไปเพื่อ ผลงานสูงสดุ แผนกลยุทธ์จะต้องกำหนดแก่นกลยุทธ์ (Strategic Theme) ให้เป็นแนวทางปฏิบัติอันจะส่งผลให้ องค์การสามารถบรรลุวิสัยทัศน์ตามแนวทางของตำแหน่งยุทธศาสตร์ โดยอาศัยความสามารถหลักท่ีองค์การมี อยู่เพอื่ จะไมใ่ หก้ ารดำเนินการใด ๆ เบ่ียงเบนจากทิศทางทจี่ ะนำไปสวู่ ิสยั ทัศน์ทกี่ ำหนดได้ ในแผนกลยทุ ธจ์ ะต้องกำหนดวัตถปุ ระสงค์และการวดั (Measurement) โดยมีเป้าหมาย (Target) ซ่ึง จะต้องมีโปรแกรมริเริ่ม (Initiative Program) เป็นโครงการที่นำมาปฏิบัติต่อเนื่อง เชื่อมโยงกันเป็นแผนที่กล ยทุ ธ์ (Strategy Map) 14

โครงการประเมินแผนพฒั นาสขุ ภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ดังนั้น ในโครงการต่าง ๆ จะต้องมีแผนปฏิบัติงาน (Action Plan) รองรับ ซึ่งอาจจะเรียกว่า แผน โครงการ (Project Plan) ก็ได้ แต่แผนการทำงานในแต่ละโครงการจะจัดทำใช้ในลักษณะของแผนปฏิบัติงาน (Action Plan) ท่ีแตล่ ะคนจะใชใ้ นการทำงานตามหน้าทขี่ องตน แผนกลยุทธ์กับแผนปฏิบัติงานจะมคี วามสัมพันธ์สอดคล้องกนั โดยแผนกลยุทธ์จะเป็นกรอบใหญ่ท่ใี ช้ อ้างถึงในการพิจารณาจัดทำแผนปฏิบัติและใช้เป็นหลักนำไปสู่โปรแกรมริเริ่มซึ่งจะทำให้เกิดแผนปฏิบัติงาน ตามมา นอกจากนั้นแผนกลยุทธ์ยังใช้เป็นหลักในการกำหนดวัตถุประสงค์ของแผนปฏิบัติงานไม่ให้เกิดความ ขัดแย้งกัน อีกทั้งยังนำไปสู่การพิจารณาให้แผนงานต่าง ๆ เป็นไปตามตำแหน่งทางยุทธศาสตร์ รวมทั้งต้อง สอดคล้องกบั แกน่ ของกลยุทธท์ ่กี ำหนดไวใ้ นแต่ละยทุ ธศาสตร์อีกด้วย 2.2.2 กระบวนการวางแผนยทุ ธศาสตร์ กระบวนการวางแผนเริ่มต้นจาก การกำหนดผลลัพธ์หรือจุดมุ่งหมายของแผนเป็นอันดับแรก จากน้ัน ตามด้วยการกำหนดผลงานทั้งในเชิงปริมาณ คุณภาพ และเวลาที่ต้องการให้งานสำเร็จ การกำหนด กระบวนการหรือรายละเอียดของวิธีการดำเนินงาน และสดุ ทา้ ยการกำหนดปัจจัยหรือทรัพยากรทจี่ ำเป็น เป็น ลำดับต่อเนือ่ งกัน ในสว่ นของกระบวนการดำเนนิ งาน เปน็ การนำแผนที่วางไว้แล้วไปปฏบิ ัติ อนั เป็นการทำงาน ของผู้ปฏิบัติงานที่เริ่มต้น ในทางตรงกันข้าม การวางแผน คือ การทำทรัพยากรตามปริมาณและคุณภาพท่ี ได้รับการจัดสรรไปใช้ตามกระบวนการท่ีวางไว้ โดยจะตอ้ งเป็นไปตามมาตรฐานต่าง ๆ อันจะเปน็ ผลให้องค์การ ได้รับผลงาน ตามที่คาดหมายไว้ในแผน ทั้งในเชิงปริมาณ คุณภาพและเวลา อันจะทำให้เกิดผลลัพธ์ ที่จะยัง ประโยชนต์ อ่ องค์การ ดงั ทไี่ ดก้ ำหนดเจตนารมณเ์ ชงิ กลยทุ ธไ์ ว้ (ดูภาพท่ี 2) (4) (3) (2) (1) กำหนดทรพั ยากร กำหนดกระบวนการ กำหนดผลงาน กำหนดผลลพั ธ์ INPUTS PROCESSES OUTPUTS OUTCOMES or or Resources Means or or objectives Goals (1) (2) (3) (4) ภาพท่ี 2 แสดงความสัมพันธ์ระหวา่ งการวางแผนกบั การดำเนนิ งาน Bryson (1995 อ้างใน พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต, 2552: 115-135) เสนอกระบวนการวางแผน ยทุ ธศาสตร์ขององค์การไวเ้ ปน็ 7 ขนั้ ตอนดังต่อไปน้ี 15

โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ข้นั ที่ 1 การรเิ รม่ิ และการตกลงในการวางแผนยทุ ธศาสตร์ เมื่อองคก์ ารต้องจดั แผนยุทธศาสตร์ ส่งิ แรก ที่ต้องดำเนินการคือการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการวางแผนยุทธศาสตร์และชี้ให้เห็นควา มสำคัญของแผน ยุทธศาสตรท์ ี่มีต่อองค์การ ผรู้ เิ ร่ิมในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ต้องมีความชัดเจนถึงเป้าประสงค์ของการจัดทำ แผนยุทธศาสตร์ โดยพิจารณาจากประเด็นหรือผลลัพธ์ที่พึงปรารถนาที่เกิดจากการวางแผน การวางแผน ยุทธศาสตร์ที่ดีจำเป็นต้องมีคณะทำงานในการวางแผน ซึ่งจะทำหน้าที่ในการประสานงานและดำเนินการใน ขนั้ ตอนตา่ ง ๆ ใหล้ ลุ ว่ งไป เม่ือมีการจดั ตง้ั คณะกรรมการชุดตา่ ง ๆ แล้วกค็ วรไดม้ กี ารเจรจาและตกลงให้ชัดเจน ระหว่างคณะกรรมการ เพื่อกำหนดขั้นตอนและกระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์รวมทั้งรูปแบบและเวลาใน การทำรายงาน ขัน้ ท่ี 2 การระบุอาณัติขององค์การ พันธกิจ และค่านิยม อาณัติหมายถึงอำนาจหน้าที่ซึ่งองค์การ ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติ พันธกิจขององค์การเป็นสิ่งที่จำเป็นต่ออาณัติ เป็นเหตุผลที่สร้างความชอบธรรม ให้กับการดำรงอยู่ขององค์การ สำหรับองค์การราชการและองค์การสาธารณะประโยชน์ สิ่งน้ีหมายถึงจะต้อง ระบุความจำเปน็ ด้านสังคมและการเมืองท่ีองค์การต้องบรรลุ การระบแุ ละสร้างความชัดเจนให้กับพันธกิจช่วย ขจดั ความขัดแยง้ ที่อาจจะเกดิ ข้ึนในองคก์ าร และชว่ ยสร้างชอ่ งทางในการอภิปรายถึงกิจกรรมท่ีต้องทำ และยัง เป็นแหล่งสร้างแรงดลใจให้กับแกนหลักของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ วิสัยทัศน์ร่วม เป็น การตอบคำถามว่า “อะไรคือสิ่งทีเ่ ราตอ้ งการสรา้ ง” วสิ ัยทศั น์ส่วนบุคคลคือภาพหรอื จนิ ตนาการในการดำรงอยู่ ในสมองและจิตใจ เฉกเช่นเดียวกับภาพวิสัยทัศน์ร่วมซึ่งผู้คนทั่วทั้งองค์การยึดถือ วิสัยทัศน์จะช่วยก่อรูป แนวทางและสร้างแรงจูงใจในการวางแผนยุทธศาสตร์ ช่วยในการค้นหาพันธกิจยุทธศาสตร์พื้นฐาน เกณฑ์ใน การปฏิบัติงาน แนวทางและหลักการในการตัดสินใจ และมาตรฐานทางจริยธรรมที่คาดหวังของเจ้าหน้าท่ี วสิ ัยทัศนค์ วรไดร้ ับการถา่ ยทอดไปยังสมาชกิ และกลมุ่ ผู้มสี ่วนได้สว่ นเสียสำคญั ขององคก์ าร ขั้นท่ี 3 การประเมินสถานการณ์ ในการตอบสนองอย่างมีประสิทธิผลต่อการเปลี่ยนแปลงของ สิ่งแวดล้อม องค์การทางสังคมจะต้องเข้าใจสิ่งแวดล้อมภายนอกและบริบทภายในองค์การ เพื่อสามารถ กำหนดยุทธศาสตร์ที่เชื่อมโยงกับสิ่งเหล่านั้นได้ การประเมินสถานการณ์เป็นการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล ขา่ วสารเก่ยี วกับจดุ แข็งและจุดออ่ น ขององคก์ าร รวมทัง้ โอกาสและการคุกคามจากภายนอกองคก์ าร ข้ันที่ 4 การระบุประเด็นยุทธศาสตร์ และทางเลือกยุทธศาสตร์ ขั้นน้ีเป็นหัวใจของการวางแผน ยุทธศาสตร์ ประเด็นทางยุทธศาสตร์เป็นประเด็นที่เกี่ยวข้องกับคำถามเชิงนโยบายหรือความท้าทายที่มีต่อ อาณัติ พันธกิจ และวิสัยทัศน์ ค่านิยม และผลผลิตการบริการกลุ่มเป้าหมาย ลูกค้า ผู้สนับสนุนทางการเงิน ต้นทุน โครงสร้าง หรือการจัดการองค์การ วิธีการก่อเกิดคำถามเหล่านี้มีผลอย่างลึกซึ้งต่อการตัดสินใจ ซึ่ง กำหนดว่าอะไรคือตัวตนที่แท้จริงของแต่ละองค์การ และอะไรคือสิ่งที่องค์การทำด้วยเหตุผลเช่นใด องค์ประกอบของประเด็นยทุ ธศาสตร์ ควรมี 3 ประการ ประการแรก ประเดน็ ควรไดร้ ับการอธิบายให้กะทัดรัด และกระชับภายในหนึ่งย่อหน้า ประเด็นยุทธศาสตร์ไม่ควรเป็นประเด็นที่ไม่อาจสำเร็จได้ ประการที่สองควร เขียนปัจจัยหรือสาเหตุที่ทำให้ประเด็นกลายเป็นประเด็นที่มีความท้าทายขั้นรากฐานหรือเป็นประเด็น ยุทธศาสตร์ โดยเฉพาะการระบุให้เห็นถึงการเชื่อมโยงสัมพันธ์ระหว่างตัวประเด็นกับอาณัติ พันธกิจ และ ค่านิยม จุดแข็งจุดอ่อน โอกาส อุปสรรค และประการที่สาม ทีมวางแผนควรระบุผลสืบเนื่องที่เกิดขึ้น หาก 16

โครงการประเมินแผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ประเด็นดังกล่าวไม่ได้รับการหยิบยกขึ้นมาพิจารณาเป็นประเด็นยุทธศาสตร์ สิ่งนี้จะช่วยให้ผู้นำองค์การ ตดั สินใจเกย่ี วกับความสำคัญของประเดน็ ยุทธศาสตรใ์ นแต่ละประเดน็ ขัน้ ท่ี 5 การพัฒนาทางเลือกและการเขียนแผนยุทธศาสตร์ เมื่อได้ประเด็นยุทธศาสตร์แล้วขั้นต่อมา คือการพัฒนาทางเลือกเชิงยุทธศาสตร์หรือแนวทางที่ใช้ในการจัดการกับประเด็นยุทธศาสตร์ โดยระบุว่า ประเด็นยุทธศาสตร์แต่ละประเด็นมีทางเลือกหรือแนวทางในการดำเนินการอย่างไรบ้าง จากนั้นนำมาจัดกลมุ่ ว่ามีแนวทางใดบ้างที่เคยดำเนินการมาก่อน มีแนวทางใดบ้างเป็นแนวทางใหม่ เมื่อจัดกลุ่มเสร็จก็นำมา วิเคราะห์และประเมิน ระดับความยอมรับของทางเลือกในกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความเกี่ยวข้องสัมพันธ์ของ ทางเลือกประเด็นยุทธศาสตร์ ความสอดคล้องต้องกันของทางเลือกกับพันธกิจ วิสัยทัศน์ ค่านิยมปรัชญาและ วัฒนธรรมองค์การ สมรรถภาพของแนวทางในการแกไ้ ขปัญหาและพัฒนาประเด็นยุทธศาสตร์ ความเป็นไปได้ ทางเทคนิคและงบประมาณ ความต้องการในการอบรมบุคลากรและสิ่งอำนวยความสะดวกอื่น ๆ และ ผลกระทบของทางเลอื กในระยะยาว เปน็ ต้น ข้นั ท่ี 1 การริเรมิ่ และการตกลงในการวางแผนยทุ ธศาสตร์ ขั้นท่ี 2 การระบอุ าณตั ิขององค์การ พันธกจิ และค่านยิ ม ขน้ั ท่ี 3 การประเมนิ สถานการณ์ ขน้ั ท่ี 4 การระบปุ ระเด็นยทุ ธศาสตร์ และทางเลอื กยทุ ธศาสตร์ ขั้นท่ี 5 การพัฒนาทางเลอื กและการเขยี นแผนยทุ ธศาสตร์ ขั้นท่ี 6 การนาแผนยุทธศาสตร์ไปปฏิบตั ิ ข้นั ที่ 7 การกากับตดิ ตามและประเมินผลยุทธศาสตร์ ภาพท่ี 3 กระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ ที่มา: พชิ าย รตั นดิลก ณ ภูเก็ต (2552: 115) 17

โครงการประเมินแผนพัฒนาสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ตั ิราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ขนั้ ท่ี 6 การนำแผนยทุ ธศาสตร์ไปปฏบิ ัติ เป็นข้นั ตอนการเปลยี่ นผ่านระหวา่ งแผนยุทธศาสตร์ไปสู่การ จัดการเชิงยุทธศาสตร์ โดยนำยทุ ธศาสตร์ที่องค์การกำหนดในแผนปฏิบัติผ่านระบบขององค์การ ยุทธศาสตร์ท่ี นำไปปฏิบัติจะอยู่ในรูปของแผนงาน โครงการและแผนปฏิบัติการ ภายใต้การมีงบประมาณที่เหมาะสม กระบวนการปฏิบัติควรมีความยืดหยุ่นเพื่อเปิดโอกาสให้เกิดการเรียนรู้และปรับตัวเมื่อสถานการณ์ในการ ปฏิบัติแตกต่างจากการคาดการณ์แผนยทุ ธศาสตร์ การเรียนรู้ระหวา่ งการปฏบิ ัติ จะช่วยให้การนำยุทธศาสตร์ ไปปฏบิ ตั ิมีประสิทธิผลยิ่งขึน้ และยังอาจกอ่ ให้เกดิ ยุทธศาสตร์ใหมท่ ีส่ อดคล้องกบั สถานการณ์ใหม่อีกด้วย ขัน้ ท่ี 7 การกำกับติดตามและประเมินผลยุทธศาสตร์ การวางแผนยุทธศาสตร์เป็นกระบวนการที่มี ความเป็นพลวัต ดังนั้นจึงเป็นกระบวนการที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง องค์การควรกำกับติดตามแผน ยุทธศาสตร์เพื่อประเมินว่ากระบวนการปฏิบัติบรรลุวัตถุประสงค์เป้าหมายมากน้อยเพียงใด และเพื่อปรับปรุง ในกรณีที่มีความจำเปน็ 2.2.3 ลำดับชน้ั ในการบริหารแผน ในการพจิ ารณาเร่ืองแผนและความสมั พันธ์ในการวางแผน จะต้องดูท่ีลำดบั ช้ันในการบังคับบัญชาของ การบริหารงานในองคก์ าร แบง่ ออกเป็น 3 ระดบั ได้แก่ (ปกรณ์ ปรียากร, 2551: 38-40) ระดบั แรก ความรับผิดชอบของนักบรหิ ารระดับสูง รับผิดชอบในการวางแผนขององคก์ ารโดยรวม นัก บริหารระดับสูงเป็นผู้มีอำนาจในการตัดสินใจเรื่องต่าง ๆ ถือเป็นนโยบายหลักของกิจการ ดังนี้ 1) กำหนด วิสัยทัศน์ 2) กำหนดภารกิจ 3) กำหนดจุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของกิจการ 4) กำหนดกลยุทธ์หลัก หรือ ยทุ ธศาสตร์สำคญั (Corporate or grand strategies) รวมท้งั แนวทางในการระดมและจดั สรรทรัพยากร ระดับที่สอง ความรับผิดชอบของนักบริหารระดับกลาง รับผิดชอบในการวางแผนของหน่วยงานที่ทำ หน้าที่ในสายงานหลักและสายงานอำนวยการ นักบริหารระดับกลางเป็นผู้ที่นำกลยุทธ์หลักที่นักบริหาร ระดับสูงกำหนดขึ้นไปแปลงเป็นกลยุทธ์ที่เป็นประโยชน์และท้าทายต่อการแข่งขัน (competitive strategy) โดยอาจลำดับงานไดด้ ังน้ี 1) กำหนดกลยุทธข์ องฝ่าย (functional strategies) ที่สอดรบั กับกลยุทธ์ของกิจการ 2) แต่ละแผนกแปลงกลยุทธ์ต่าง ๆ ลงไปเป็นกลวิธี (tactical or action plans) ทั้งในเรื่องของโครงการ (projects) และงานประจำ (operations of routine activities) 3) การวางแนวทางในการประสานสัมพันธ์ ระหว่างงานโครงการและงานประจำ ในแผนกเดียวกันและระหว่างแผนก 4) การกำหนดบรรทัดฐานที่จะเป็น ประโยชน์ตอ่ การควบคมุ และประเมินผลการดำเนนิ งานของนกั บริหารระดบั ต้น ระดับที่สาม ความรับผิดชอบของนกั บรหิ ารระดับต้น นักบริหารระดับต้นจะทำงานร่วมกับนักบริหาร ระดับกลางอย่างใกล้ชิด ในอันที่จะแปลงกลยุทธ์ และกลวิธีให้เป็นแผนดำเนินงาน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการ ติดตามและควบคุมงานของผู้ปฏิบัติงานโดยจะกำหนด 1) กิจกรรมที่จะต้องปฏิบัติ 2) เวลาที่จะใช้ในการ ดำเนินกิจกรรม 3) การจัดสรรทรัพยากรให้แต่ละกิจกรรม 4) การกำหนดตัวผู้รับผิดชอบ อำนาจหน้าที่และ ความรบั ผดิ ชอบ 5) การกำหนดมาตรฐานในการปฏบิ ัติงานและจัดวางระบบควบคุม 6) การกำหนดระบบและ เวลาการรายงาน ช่องทางและวธิ ีการสื่อสาร (ปกรณ์ ปรยี ากร, 2551) 18

โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) 2.2.4 วธิ กี ารศกึ ษายุทธศาสตร์ วธิ กี ารศกึ ษายทุ ธศาสตร์ มี 4 แนวทางหลักได้แก่ (พชิ าย รตั นดลิ ก ณ ภูเกต็ , 2552: 135) 1) วิธีการศึกษาแบบดั้งเดมิ (Classical Approach) ซึ่งมองว่ายุทธศาสตร์เป็นกระบวนการ เชิงเหตผุ ลที่มกี ารคำนวณและวเิ คราะหอ์ ยา่ งตั้งใจและได้รบั การออกแบบเพื่อใหไ้ ด้ผลประโยชนใ์ นระยะยาว 2) วิธีการแบบวิวัฒนาการ (Evolution Approach) ซึ่งมองว่ายุทธศาสตร์มพี ลวัตสูง มีการ ปรับเปล่ียนอยูต่ ลอดเวลา ระหว่างการปฏิบัตเิ พ่ือให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมซึ่งจะนำมาสู่ความอยู่รอดของ องค์การ หากองค์การใดไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้ก็จะถูกคัดออกไปซึ่งคล้ายคลึงกับกระบวนการคัดสรรตาม ธรรมชาตขิ องสง่ิ มชี วี ิต 3) วิธีการแบบกระบวนการ (Processual Approach) มองว่าธรรมชาติของกระบวนการ องค์การและตลาดเป็นกระบวนการที่มีความสมบูรณ์น้อยและไม่เพียงพอที่จะใช้ในการวางแผนระยะยาว ยุทธศาสตร์จึงเป็นการปฏิบัติการในลักษณะลองผิดลองถูกที่เป้าหมายในการประนีประนอมระหว่างความ ต้องการของกล่มุ เป้าหมายและวตั ถปุ ระสงค์ของกลุ่มท่ตี ่อสกู้ ันภายในองค์การ 4) วิธีการแบบระบบ (Systemic Approach) มองยุทธศาสตร์ในฐานะที่เชื่อมโยงกับระบบ สังคมที่ยุทธศาสตร์นนั้ เกดิ ขน้ึ ยทุ ธศาสตรส์ ามารถเป็นกระบวนการทม่ี ีเจตนา และการวางแผน หรือแม้กระทั่ง เปน็ การทำนายก็สามารถเปน็ ไปไดห้ ากอยภู่ ายใต้เงื่อนไขของสงั คม 2.2.5 แนวคิดการแปลงแผนส่กู ารปฏิบตั ิ การแปลงแผนหรอื การแปลงนโยบายไปสู่การปฏิบัติเปน็ ขั้นตอนหน่งึ ของกระบวนการทางนโยบาย ซึ่ง เป็นเรอื่ งราวทมี่ ีความสมั พันธ์เชื่อมโยงกบั องคก์ ารและบุคลากรหลายระดับ ต้งั แต่ระดับสงู ซ่ึงเปน็ ผู้กำหนดแผน จะส่งไปยังหน่วยงานระดับล่างที่เป็นผู้ปฏิบัติงาน ตลอดจนกลุ่มเป้าหมายของแผน กระบวนการนำแผนไป ปฏบิ ัตโิ ดยท่ัวไปมักจำแนกเปน็ 2 ระดบั ได้แก่ 1) ระดับมหภาค เก่ยี วขอ้ งกบั การทห่ี นว่ ยงานระดับสูงทำหน้าที่ในการกำหนดและถ่ายทอดสู่ ผูป้ ฏิบัติในระดับล่าง จำแนกออกเป็น 2 ขัน้ ตอนได้แก่ (1) ข้นั การแปลงนโยบายหรือแผน เม่ือฝ่ายบริหารหรือ รฐั บาลกำหนดแผนแล้ว จะมกี ารจัดสรรทรพั ยากร งบประมาณพร้อมท้ังพจิ ารณาหนว่ ยงานทร่ี ับผดิ ชอบในการ นำไปปฏบิ ัติโดยสว่ นกลางจะทำหน้าที่แปลงแผนนั้นออกมาในรูปของแผนงาน โครงการเพ่ือให้หน่วยงานระดับ ปฏิบัติดำเนินงานตามแผน (2) ขั้นการยอมรับ คือการยอมรับแนวทาง แผนงาน โครงการ เมื่อหน่วยงาน สว่ นกลางได้ทำการแปลงแผนส่แู นวทางปฏิบตั แิ ล้วจะต้องทำให้หนว่ ยงานระดบั ลา่ ง ทัง้ หนว่ ยงานระดบั ภมู ิภาค ระดับทอ้ งถิ่นหรือผ้ทู เ่ี กยี่ วข้องอน่ื ๆ ในภาคประชาชน เกดิ การยอมรบั และนำนโยบายไปปฏบิ ตั ิ (ธันภัทร โคตร สิงห์, 2557: 5) 2) ระดับจุลภาค เริ่มต้นจากการที่หน่วยงานระดับล่างยอมรับแนวทาง นโยบาย แผนงาน และโครงการแล้ว ทำการปรับเปลี่ยนแนวทางที่ได้รับมาจากสว่ นกลางเหลา่ นั้นให้เป็นแนวทางที่สอดคล้องกบั สภาพแวดล้อมและวธิ ีการปฏบิ ตั ิของหน่วยงานของตนให้สอดคล้องกับนโยบายทีส่ ว่ นกลางกำหนด ขั้นตอนการ นำนโยบายไปปฏิบตั ิในระดบั จุลภาคมี 3 ขั้นตอน ได้แก่ (1) ขั้นระดมพลัง คอื ข้ันตอนท่ีหนว่ ยงานระดับล่างจะ 19

โครงการประเมินแผนพัฒนาสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ตั ิราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ดำเนินการในสองกิจกรรม คือ การพิจารณารับนโยบาย และการแสวงหาความสนับสนุนจากสมาชิกใน หน่วยงาน บุคคลสำคัญ องค์การอื่น ๆ ในท้องถิ่น และผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อร่วมกันกำหนดแผนงานหรือโครงการ ของหน่วยงานระดับล่าง (2) ขน้ั การปฏิบัติ เป็นขัน้ ตอนท่ีครอบคลุมถึงกระบวนการในการปรับเปลี่ยนนโยบาย หรอื โครงการท่ีไดม้ ีการยอมรับแล้วออกมาในรูปของการปฏิบัตจิ ริง หมายรวมถงึ การปรับแนวทางของนโยบาย ขึ้นเป็นงานประจำและการนำทรัพยากรมาใช้ และ (3) ขั้นการสร้างความเป็นปึกแผ่นหรือความต่อเนื่องเป็น ขั้นตอนที่ขึ้นอยู่กับผูป้ ฏบิ ัติงาน จะต้องเห็นความสำคญั ของนโยบายโดยปรับให้เป็นส่วนหน่ึงของหน้าท่ีประจำ ซ่งึ ผู้บริหารตอ้ งสรา้ งแรงจูงใจ ใหผ้ ้ปู ฏิบัตงิ านร้สู กึ ผกู พันและยอมรบั ในงานที่ปฏบิ ัติ (ธันภทั ร โคตรสงิ ห์, 2557: 6) 2.3 แนวคิดในการประเมินแผนพัฒนาสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติฉบับท่ี 1 ในสว่ นนีก้ ล่าวถึงความสำคญั ของแผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ วิสยั ทัศน์ พันธกจิ และเป้าหมายของ แผนยุทธศาสตร์ และรายละเอียดของแต่ละยุทธศาสตร์พอสังเขป ตามเป้าหมายระยะที่ 1 (ปี 2561-2565) ตลอดจนแนวคดิ ท่เี กีย่ วขอ้ งในการประเมินผลตามประเดน็ ในแต่ละยทุ ธศาสตร์ 2.3.1 ความสำคัญของแผนพฒั นาสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติ ภายใต้นโยบายขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 (Thailand 4.0) ตามแนวทางท่ีแผนยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี ได้วางไว้ โดยกำหนดเปา้ หมายการพัฒนาไว้ 4 มติ ิ ได้แก่ 1) ความม่ังคง่ั ทางเศรษฐกิจเปน็ ระบบเศรษฐกิจท่ีเน้น การสร้างมูลค่า 2) ความอยู่ดีมีสุขทางสังคม เป็นสังคมที่เดินหน้าไปด้วยกันไม่ทอดทิ้งใครไว้ข้างหลัง 3) การ ยกระดับคณุ คา่ มนุษย์ดว้ ยการพัฒนาคนใหเ้ ปน็ “มนุษย์ทีส่ มบูรณ์ในศตวรรษที่ 21” ควบคไู่ ปกบั การเป็น “คน ไทย 4.0 ในโลกที่หน่งึ ” และ 4) การรักษส์ ่งิ แวดล้อม เป็นสังคมนา่ อยู่ควบคู่กับการเป็นสังคมคาร์บอนต่ำอย่าง เตม็ รูปแบบ ซ่งึ สง่ิ สำคญั ที่จะเตรียมคนไทยให้เปน็ มนุษย์ทส่ี มบรู ณ์ในศตวรรษท่ี 21 เพื่อขับเคล่ือนไปสู่ประเทศ ไทย 4.0 ไดน้ นั้ จำเปน็ ตอ้ งบม่ เพาะ ให้คนไทยมีปญั ญาเฉยี บแหลม (Head) มที กั ษะท่เี ห็นผล (Hand) มีสขุ ภาพ ท่แี ข็งแรง (Health) และมจี ิตใจทีง่ ดงาม (Heart) อันจะต้องอาศัยความร่วมมอื กนั ทุกภาคสว่ น ในภาคส่วนสาธารณสุขเองมีบทบาทสำคัญในการที่จะพัฒนาคนไทย ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทาง ร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา ผ่านโมเดล “สาธารณสุขไทย 4.0” ที่สอดคล้องกับโมเดลประเทศไทย 4.0 ประกอบด้วยกลไกในการขับเคลื่อน 3 กลไกหลักคือ 1) กลไกการขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม (Productive Growth Engine) นำไปสู่ “ความมั่งคั่ง” โดยมุ่งเน้น เทคโนโลยีด้านสุขภาพ (Health technology), และ สมุนไพร (Herb) 2) กลไกการขับเคลื่อนด้วยการสร้างการมีส่วนร่วม (Inclusive Growth Engine) นำไปสู่ “ความมั่นคง” โดยมุ่งเน้นการส่งเสริมป้องกันสุขภาพและการคุ้มครองผู้บริโภค (PP&P), การบริการด้าน การแพทย์ (Service), สุขภาพยุคดจิ ทิ ัล (Digital Health) และคนไทย 4.0 (Smart Citizen) และ 3) กลไกการ ขับเคลอื่ นทเ่ี ปน็ มติ รต่อ สง่ิ แวดล้อม (Green Growth Engine) นำไปสู่ “ความย่งั ยืน” โดยมงุ่ เนน้ โรงพยาบาล สะอาดและเปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม (Green and Clean Hospital) และอาหารปลอดภัย (Food Safety) 20

โครงการประเมินแผนพฒั นาสขุ ภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ภายใต้นโยบายสาธารณสุขไทย 4.0 ดังกล่าวนั้น นำมาสู่การดำเนินงานด้านสุขภาพจิต ที่ตอบสนอง ต่อเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (Mental Health in Thailand 4.0) ในด้านความมั่นคง ที่ขับเคลื่อน ด้วยการสร้างการมีส่วนร่วม (Inclusive Growth Engine) เพื่อให้หลุดพ้นจากกับดักความเหลื่อมลาในสังคม ดว้ ยการเตรยี มเมลด็ พันธุ์ คนไทยชดุ ใหม่ให้พร้อมกา้ วสู่โลกที่หนึง่ เปน็ มนุษย์ทส่ี มบูรณ์ เป็นพลเมืองท่ีสามารถ เรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง เป็นพลเมืองที่ตื่นรู้มีจิตสาธารณะ และทำประโยชน์ต่อส่วนรวม โดยขับเคลื่อนผ่าน แผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2561 - 2580) ที่มีกระบวนการจัดทำตั้งแต่ธันวาคม 2559 ใน รูปแบบคณะทำงานจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์สุขภาพจิตแห่งชาติ 20 ปี คณะอนุกรรมการจัดทำนโยบาย และยุทธศาสตร์สุขภาพจิตแห่งชาติ และคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติใช้การวิเคราะห์และสังเคราะห์ ขอ้ มลู เชงิ ประจกั ษ์ (Evidence-based) อย่างเป็นระบบ ดว้ ยกระบวนการมสี ว่ นร่วมของทุกหนว่ ยงาน ผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย และผู้รับบริการกลุ่มต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งหน่วยงานใน/นอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ด้วยการ ดำเนินงาน 4 ยุทธศาสตร์อย่างประสานสอดคล้องกัน คือ 1) ยุทธศาสตร์ส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ตลอดช่วงชีวติ 2) ยุทธศาสตร์พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจติ เวช 3) ยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนและผลักดนั มาตรการทางกฎหมาย สังคมและสวัสดิการ และ 4) ยุทธศาสตร์พัฒนาวิชาการและกลไกการดำเนินงานด้าน สุขภาพจิต อันจะนำไปสู่เป้าหมายหลัก คือ “คนไทยมีปัญญา อารมณ์ดีและมีความสุข อยู่ในสังคมอย่าง ทรงคณุ ค่า” 2.3.2 วิสัยทัศน์ พนั ธกิจ และเป้าหมายของแผนยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2561 - 2580) เป็นแผนยุทธศาสตร์ระยะยาว มี วสิ ยั ทศั ค์ อื “คนไทยมีปัญญา อารมณด์ ี และมคี วามสขุ อยู่ในสังคมอย่างทรงคณุ คา่ ” ตารางท่ี 2 เป้าหมายแผนพัฒนาสุขภาพจติ แห่งชาติฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2561 - 2580) จำแนกตามระยะ 21

โครงการประเมินแผนพัฒนาสขุ ภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ตั ิราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) โดยมพี นั ธกจิ ในการ พัฒนาและขับเคล่ือนงานสุขภาพจิตและจิตเวชให้มปี ระสิทธิภาพ ลดปัจจัยเส่ียง เพิ่มปัจจัยคุ้มครองด้านสุขภาพจิต ส่งเสริมให้ประชาชนมีความตระหนักและความเข้าใจต่อปัญหาสุขภาพจิต รวมทัง้ สร้าง ความเขม้ แขง็ ของภาคเี ครือข่าย ในการลดอคติต่อผู้มีปัญหาสุขภาพจิต โดยในแผนดังกล่าวนี้ จะมี การระบเุ ป้าหมายไวเ้ ป็นระยะละ 5 ปี ดงั ตารางที่ 2 สำหรับการศึกษาในครั้งนี้ เป็นการศึกษาก่อนสิ้นแผนในระยะแรก (พ.ศ. 2561 – 2565) โดยจะใช้ ข้อมูลสำหรับการวิจัยถึงปี พ.ศ. 2564 เพื่อนำมาประกอบการพิจารณาแนวโน้มในปี 2565 ตลอดจนถึงใน ระยะถดั ไป 2.3.3 แนวคิดการประเมินผลตามประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตตลอดช่วงชีวิต โดยมีหลักการคือ คนไทยได้รับ การส่งเสริมสุขภาพจิตและปอ้ งกันปัญหาสขุ ภาพจิตครอบคลุมทุกกลุ่มวัย ตั้งแต่ในครรภ์และตอ่ เนื่องไปตลอด ช่วงชีวิต เน้นการสร้างเสริมพัฒนาการทางความคิด อารมณ์และพฤติกรรม และทักษะทางสังคมในเด็ก ตลอดจนพัฒนาสถาบันครอบครัวให้มีศักยภาพในการเลี้ยงดูเพื่อให้เด็กมีสติปัญญา และมีความฉลาดทาง อารมณ์อยู่ในเกณฑ์ปกติขึ้นไป อันจะนำไปสู่การที่คนไทยมีสุขภาพจิตดี มีความสุข โดยการพัฒนานวัตกรรม องค์ความรู้ งานวิจัยท่ีมมี าตรฐานและสามารถนำไปใช้ในการพัฒนางานสง่ เสรมิ สุขภาพจิต และป้องกันปัญหา สุขภาพจติ ทีเ่ หมาะสมกับบรบิ ทของสงั คมไทย ผา่ นการขับเคลอ่ื นการดำเนนิ งานสง่ เสริมสขุ ภาพจิตและป้องกัน ปัญหาสุขภาพจิตคนไทยทุกกลุ่มวัยร่วมกับภาคีเครือข่าย ตลอดจนเสริมสร้างให้คนไทยมีความรอบรู้ด้าน สุขภาพจิต (Mental Health Literacy) และมีทัศนคติที่ดีต่อผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช ผลักดันให้สังคม ยอมรบั /ให้โอกาสผูม้ ีปัญหาสขุ ภาพจิตและจิตเวช ได้เขา้ มามีส่วนร่วมในวิถชี ีวติ การทำงานและกิจกรรมต่าง ๆ ตามศักยภาพ (กลุม่ งานเลขานุการคณะกรรมการสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติ, 2563) ยุทธศาสตร์น้ีมีเป้าประสงค์ 2 ประการ ได้แก่ 1) คนไทยเข้าใจและใส่ใจสุขภาพจิตของตนเอง ครอบครัวและชุมชน และ 2) ภาคีเครือข่ายเสริมสร้างการมีส่วนร่วมให้คนไทยมีปัญญา อารมณ์ดี และมี ความสุข โดยในแต่ละเป้าประสงค์ มีตัวชี้วัด (ระยะที่ 1 พ.ศ. 2561-2565) โครงการสำคัญ และหน่วยงาน สำคัญทเี่ กีย่ วข้อง ดังตารางที่ 3 ตารางที่ 3 ตวั ชี้วัด โครงการ และหน่วยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ งตามประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ท่ี 1 ส่งเสริมและป้องกันปัญหาสขุ ภาพจิตตลอดช่วงชวี ิต ตวั ชีว้ ัดเปา้ ประสงค์ โครงการ หน่วยงานรับผิดชอบหลัก เป้าประสงค์ 1.1 คนไทยเข้าใจและใส่ใจสขุ ภาพจิตของตนเอง ครอบครวั และชมุ ชน ตวั ชวี้ ัดเปา้ ประสงค์ 1.1.1 1. โครงการอบรมณเ์ ชิงปฏบิ ตั ิการหลกั สตู รการเสรมิ สร้างทักษะครู สำนกั งานพัฒนาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชวี ะ ร้อยละ 40 ของคนไทยทม่ี ี อาชวี ศกึ ษา เพอื่ ปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหาสุขภาพจิตผเู้ รียน สำนักงานคณะกรรมการอาชีวะศึกษา ความตระหนกั และเข้าใจเรอ่ื ง กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สขุ ภาพจติ 2. การส่งเสรมิ การจดั บริการสุขภาพท่ีเปน็ มติ รและพฒั นาภาคี สำนกั อนามัยเจรญิ พนั ธ์ุ กรมอนามัย เครอื ข่ายอนามยั เจริญพนั ธใ์ุ นวยั รุน่ และเยาวชน 22

โครงการประเมินแผนพฒั นาสุขภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 ส่งเสรมิ และป้องกนั ปัญหาสขุ ภาพจติ ตลอดช่วงชวี ิต ตวั ชวี้ ัดเปา้ ประสงค์ โครงการ หน่วยงานรบั ผดิ ชอบหลัก 3. การขบั เคลอ่ื นการเสรมิ สร้างสขุ ภาวะใหน้ กั เรยี นผา่ นการแนะแนว กลมุ่ พฒั นาระบบการแนะแนวสำนกั วิชาการและ ขอบขา่ ยสว่ นตวั และสงั คมและกจิ กรรมนกั เรยี นเพอ่ื นท่ปี รกึ ษา (YC: มาตรฐานการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร Youth Counselor) 4. โครงการสร้างความตระหนักรู้ดา้ นสขุ ภาพเพอื่ เตรยี มความพรอ้ ม สำนกั งานกองทุนสนบั สนุนการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ เข้าสสู่ งั คมสงู วัยสขุ ภาพดีในกลมุ่ เด็กและเยาวชน (สสส) สนบั สนนุ ให้จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ในการ ดำเนนิ งาน 5. โครงการศกึ ษาปญั หาเดก็ ตดิ เกม (ระยะท่ี 1) สสส. สนบั สนนุ งบประมาณให้กรมสุขภาพจติ ผ่าน แผนงานพัฒนานวตั กรรมเชิงระบบเพ่อื การสรา้ งเสรมิ *6. โครงการเสริมสรา้ งความรอบรู้และพฒั นาพฤตกิ รรมสุขภาพจติ ท่ี สุขภาพจติ พึงประสงคแ์ กป่ ระชาชน กองสง่ เสรมิ และพฒั นาสขุ ภาพจิต กรมสุขภาพจติ 7. การสอ่ื สารสังคมประเดน็ สขุ ภาพจติ สสส โดย สำนกั สนบั สนุนการควบคมุ ปจั จยั เสยี่ งทาง สขุ ภาพ 8. โครงการชะลอชรา ชวี ายนื ยาว สำนักอนามัยผู้สูงอายุ กรมอนามยั 9. โครงการพฒั นาระบบการดแู ลสง่ เสรมิ สขุ ภาพผสู้ งู อายใุ นชมุ ชน แบบบรู ณาการ สำนักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา 10. โครงการพัฒนาระบบดแู ลส่งเสริมสขุ ภาพผู้สงู อายุ ระยะยาวเชงิ ตามอธั ยาศยั สำนกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ ป้องกัน 11. โครงการการจดั และส่งเสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพอื่ คง พฒั นาการทางกาย จติ และสมองของผู้สูงอายุ 12. โครงการสรา้ งหลกั ประกนั รายได้แกผ่ สู้ งู อายุ กรมส่งเสรมิ การปกครองทอ้ งถิ่น กระทรวงมหาดไทย 13. โครงการส่งเสริมอาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจำหมบู่ า้ น (อสม.) กรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย เชิงรกุ 14. โครงการขับเคลอ่ื นนโยบายของรฐั ผา่ นกลไกหมู่บ้าน กรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถน่ิ กระทรวงมหาดไทย 15. โครงการพฒั นาหมบู่ ้านเศรษฐกิจพอเพยี ง กรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถิน่ กระทรวงมหาดไทย ตวั ชีว้ ดั เป้าประสงค์ 1.1.2 16. โครงการส่ือสารประชาสมั พนั ธด์ ้านสขุ ภาพจติ สำนกั วิชาการสุขภาพจติ กรมสุขภาพจติ ร้อยละ 80 ของคนไทยยอมรับ 1. โครงการพัฒนาระบบสนบั สนนุ อาชพี สำหรับผู้พิการทางสติปัญญา สถาบันพฒั นาการเดก็ ราชนครนิ ทร์ กรมสขุ ภาพจิต และให้โอกาสตอ่ ผมู้ ีปัญหา และออทสิ ตกิ สุขภาพจิตและจิตเวช 2. โครงการรณรงคส์ ร้างเจตคติเชงิ สร้างสรรค์ต่อผบู้ กพร่องทางจิต สมาคมเพอื่ ผู้บกพรอ่ งทางจิตแห่งประเทศไทย ตัวชี้วัดเปา้ ประสงค์ 1.1.3 3. โครงการอบรมใหค้ วามรูผ้ ูบ้ กพรอ่ งทางจติ เข้าถึงสทิ ธติ ามกฎหมาย สมาคมเพอื่ ผูบ้ กพร่องทางจติ แห่งประเทศไทย โดยไม่ถกู เลอื กปฏิบัติอย่างไมเ่ ปน้ ธรรม 4. โครงการพฒั นาศักยภาพผูบ้ กพรอ่ งทางจติ เขา้ ถึงกฬี าดา้ นคนพกิ าร สมาคมเพอ่ื ผบู้ กพร่องทางจติ แห่งประเทศไทย 5. โครงการสนบั สนนุ การเสริมสรา้ งสวัสดกิ ารทางสงั คมใหแ้ ก่ผพู้ กิ าร กรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถิน่ กระทรวงมหาดไทย หรอื ทุพพลภาพ กรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถิ่น กระทรวงมหาดไทย 6. โครงการสนบั สนนุ การจัดสวสั ดกิ ารทางสงั คมแกผ่ ูด้ ้อยโอกาสทาง สงั คม สสส. สนบั สนนุ งบประมาณให้ คณะสงั คมสงเคราะห์ 7. โครงการขบั เคลื่อนเชงิ นโยบายระบบการดแู ลใหบ้ รกิ ารสขุ ภาพจติ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ในการดำเนนิ งาน แก่ผ้ปู ่วยจติ เวชไรบ้ ้าน สถาบนั ราชานกุ ูล กรมสขุ ภาพจติ สถาบันพัฒนาการเดก็ ราชนครนิ ทร์ 1. โครงการเสริมสรา้ งพัฒนาการเดก็ ล่าชา้ 2.โครงการพัฒนาศกั ยภาพเครือข่ายการดแู ลเด็กตามกลมุ่ วยั ปฐมวยั วยั เรยี น วยั รนุ่ 23

โครงการประเมินแผนพัฒนาสุขภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 ส่งเสรมิ และป้องกันปัญหาสขุ ภาพจติ ตลอดช่วงชวี ติ ตัวช้ีวดั เปา้ ประสงค์ โครงการ หน่วยงานรับผิดชอบหลัก ร้อยละ 75 ของคนไทยไดร้ ับ 3. โครงการสง่ เสริมการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตเดก็ ปฐมวยั กรมกจิ การเดก็ และเยาวชนกระทรวงการพฒั นาสังคม การพัฒนาทกั ษะชวี ติ ตามชว่ ง วยั และความมน่ั คงของมนุษย์ 4. โครงการส่งเสรมิ การเจริญเติบโตและพฒั นาการเดก็ ปฐมวยั อย่างมี สำนักสง่ เสรมิ สุขภาพ กรมอนามยั คุณภาพฯ 5. โครงการขับเคลื่อนการดแู ลสขุ ภาพจติ ทกุ กลมุ่ วยั ในระบบสขุ ภาพ กองสง่ เสรมิ และพฒั นาสขุ ภาพจติ กรมสขุ ภาพจิต ปฐมภูมิ 6.โครงการเสริมสร้างทกั ษะชวี ติ และปอ้ งกนั พฤติกรรมเสยี่ งของวยั รุน่ สถาบันสขุ ภาพจิตเดก็ และวยั รนุ่ ราชนครนิ ทร์ กรม สุขภาพจิต 7. โครงการเสรมิ สรา้ งทักษะชวี ิตและปอ้ งกนั พฤตกิ รรมเสยี่ งของวยั รนุ่ กรมกจิ การเดก็ และเยาวชนกระทรวงการพฒั นาสังคม (โครงการปอ้ งกนั แกป้ ัญหาต้งั ครรภใ์ นวัยร่นุ ) และความมั่นคงของมนษุ ย์ 8. โครงการเตรยี มความพรอ้ มเด็กและเยาวชนออกสูส่ งั คมอยา่ งเปน็ สสส.สนับสนนุ งบให้สมาคมวางแผนครอบครวั แห่ง สขุ ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภส์ มเดจ็ พระศรนี คริ นทรบรมราชชนนี 9. การพฒั นาเยาวชน ดว้ ยทกั ษะการรบั ฟังดว้ ยใจ เพือ่ ปอ้ งกนั การฆ่า สสส. สนับสนนุ งบใหส้ มาคมสะมารติ นั สแ์ ห่งประเทศ ตวั ตาย ไทยในการดำเนนิ งาน 10. เงินอดุ หนนุ ทนุ กจิ กรรมศนู ยพ์ ัฒนาครอบครัวในชมุ ชนภายใต้ กรมกิจการสตรแี ละสถาบนั ครอบครัว กระทรวง โครงการบริหารพัฒนากำลงั คนของประเทศด้านครอบครัว พฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 11. โครงการพฒั นาทกั ษะความรแู้ ละความสามารถการทำงานและ กรมกจิ การผสู้ ูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและ การเป็นผู้สงู อายทุ ่มี พี ลงั ความมนั่ คงของมนษุ ย์ 12. โครงการสานเสรมิ พลงั ผสู้ ูงอายแุ ละภาคขี ับเคลือ่ นดำเนนิ งานกา้ ว สสส. สนับสนนุ งบประมาณใหส้ มาคมสภาผสู้ ูงอายุ สู่สงั คมผสู้ ูงอายุอยา่ งมคี ณุ ภาพ แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภส์ มเดจ็ พระศรี นครนิ ทราบรมราชชนนี 13. โครงการส่งเสรมิ สร้างความรคู้ วามเข้าใจดา้ นเทคโนโลยีสำหรับ สสส. สนบั สนนุ งบให้ บรษิ ทั ไอเพย์ อทิ ฟอรเ์ วริ ์ด ผสู้ ูงอายุในชมุ ชนเมอื ง จำกัด ดำเนนิ งาน 14. โครงการเรอื นจำสขุ ภาวะ สสส สนับสนนุ ใหส้ มาคมนกั วจิ ยั ประชากรและสังคม ดำเนนิ งาน 15. โครงการเสรมิ สร้างสุขภาวะและสุขภาพจิตทดี่ แี ก่ประชาชนวยั กองส่งเสรมิ และพฒั นาสขุ ภาพจิต กรมสุขภาพจติ ทำงาน 16. โครงการรณรงค์ป้องกนั และแก้ไขปญั หายาเสพตดิ สำนักงานโครงการ To Be Number One กรม สุขภาพจิต เปา้ ประสงค์ 1.2 ภาคเี ครอื ข่ายเสริมสร้างการมสี ่วนรว่ มใหค้ นไทย มีปัญญา อารมณด์ ี และมคี วามสุข ตัวช้วี ัดเป้าประสงค์ 1. โครงการมหัศจรรย์ 1000 วนั แรกของชวี ิต สำนักโภชนาการ กรมอนามยั 1.2.1 2. โครงการเงินอุดหนนุ เพอ่ื การเลย้ี งดูเดก็ แรกเกิด กรมกิจการเดก็ และเยาวชน กระทรวงพฒั นาสงั คม รอ้ ยละ 85 ของเดก็ ท่ีมี IQ และความมั่นคงของมนษุ ย์ ตำ่ กวา่ 100 ได้รับการ 3. โครงการสร้างเสริมสุขภาพจิตเด็กไทยวยั เรียน สถาบันราชานกุ ูล กรมสขุ ภาพจติ , สำนกั งานกจิ การ พัฒนา นกั เรยี น สำนกั บริหารการศกึ ษาพเิ ศษ *1. โครงการสรา้ งสุขภาวะทางใจ เพอ่ื เป็นผสู้ ูงวยั ที่มีคณุ ค่าและ กระทรวงศึกษาธิการ 1.2.2 รอ้ ยละ 70 ของผูส้ งู อายุ ความสุข กองสง่ เสรมิ และพฒั นาสขุ ภาพจิต กรมสขุ ภาพจติ ทม่ี ารับบรกิ ารในคลนิ กิ 2. โครงการพัฒนาสขุ ภาพจติ สำหรับผสู้ ูงอายุ ผูส้ ูงอาย/ุ คลนิ กิ โรคไม่ตดิ ตอ่ 3. โครงการสร้างตัวแบบศูนย์สรา้ งเสริมสขุ ภาพบรู ณาการสำหรับผูส้ งู โรงพยาบาลสวนสราญรมย์ กรมสขุ ภาพสุขภาพจติ เรอ้ื รงั ไดร้ ับการคัดกรองภาวะ วยั ใหม้ ีสังคม มีความสขุ และมีความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพ สสส. สนบั สนนุ ให้ รพ. เทพธารนิ ทร์ ซมึ เศร้า 1. การสำรวจสถานการณค์ นไทยมสี ขุ ภาพจติ ดี กองสง่ เสรมิ และพฒั นาสขุ ภาพจิต กรมสขุ ภาพจิต 24

โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมและป้องกันปัญหาสขุ ภาพจติ ตลอดช่วงชวี ติ ตวั ช้ีวัดเป้าประสงค์ โครงการ หน่วยงานรับผิดชอบหลัก 1.2.3 ร้อยละ 85 ของคนไทย 2. โครงการเชอ่ื มโยงการทำงานด้านจติ เวช กบั หน่วยงานทีเ่ กยี่ วขอ้ ง สมาคมเพอื่ ผู้บกพร่องทางจิตแหง่ ประเทศไทย อายุ 15 ปีขนึ้ ไปที่มคี วามสขุ เทา่ กบั หรอื สงู กว่าคา่ เฉลย่ี 3. โครงการ HAPPY MOPH กระทรวงสาธารณสขุ แห่งความสขุ สำนกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ ,สยส. กรม สขุ ภาพจติ 4. โครงการพัฒนารูปแบบการเสรมิ สรา้ งสขุ ภาพจิตสำหรบั คนจนเมอื ง สสส. สนับสนนุ งบให้ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล 5. การสง่ เสรมิ กจิ กรรมทางกาย 2561-2573 สสส ร่วมกบั กรมอนามยั และภาคีเครอื ขา่ ย 6. โครงการพฒั นารูปแบบกลไกภายในสถานประกอบการเพอ่ื สง่ เสรมิ สสส. สนบั สนนุ ให้ มูลนิธแิ พธทเู ฮลท์ การสอื่ สารเชิงบวกในครอบครวั กับพนกั งานที่เปน็ พอ่ แม่ ผูป้ กครอง และเดก็ วยั รนุ่ สสส. สนบั สนนุ งบประมาณให้สถาบันพฒั นาการเด็ก 7. โครงการการศกึ ษาความคมุ้ คา่ ของโปรแกรมสง่ เสรมิ พัฒนาการ ราชนครินทร์ ดำเนนิ การผา่ นแผนงานพฒั นา สร้างวนิ ยั เชิงบวกโดยครอบครัวมสี ว่ นร่วม นวัตกรรมเชงิ ระบบเพอ่ื สร้างเสรมิ สุขภาพจติ สสส.สนบั สนนุ งบประมาณใหส้ ถาบนั สขุ ภาพจิตเดก็ 8. โครงการพฒั นาส่ือสังคมออนไลน์ เพอ่ื การดแู ลสขุ ภาพจิต และวยั รนุ่ ราชนครนิ ทร์ ประชาชน ผ่าน digital platform บา้ น-พลงั ใจ แนวคดิ ในกาประเมนิ ผลตามประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 1 มดี งั ต่อไปนี้ 1) การยอมรับและให้โอกาสต่อผู้มีปัญหาสขุ ภาพจติ หมายถึง การเห็นคุณค่าและศักดิ์ศรีเท่าเทียมกับผู้อื่น การได้รับโอกาสทางสังคม การเข้าสู่ กระบวนการรักษา การได้ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และความเข้าใจที่ถูกต้องต่อผู้มีปัญหาสุขภาพจิต โดยปจั จยั สำคัญท่ีส่งผลต่อปัญหาการยอมรับและให้โอกาสต่อผู้มีปัญหาสุขภาพจิต คือชมุ ชนขาดความรู้ ความ เข้าใจในโรคจิตและยังมี stigma กับผู้ป่วยโรคจิต ไม่ยอมรับผู้ป่วย ทำให้ผู้ป่วยขาดโอกาสการมีส่วนร่วมใน ชุมชน นอกจากนั้นยังพบว่าผู้ป่วยและญาติ/ผู้ดูแลขาดความรู้ในเรื่องการดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง (สำนัก บริหารระบบบริการสุขภาพจิต, 2560) ความเข้าใจของครอบครัว และชุมชนคือปัจจัยสำคัญที่จะนำไปสู่การ ยอมรบั และการให้โอกาสผปู้ ่วยสุขภาพจิต ซึง่ กรมสุขภาพจิตจำเปน็ ตอ้ งเน้นยํา้ ถึงความสำคญั ของการท่ียอมรับ ผปู้ ่วยเปน็ สว่ นหนึง่ ของครอบครวั และใหผ้ ู้ปว่ ยเข้ารว่ มกิจกรรมทางสงั คมอน่ื ๆ โดยครอบครวั /ญาติ ของผู้ป่วย โรคจิตเภทมขี ้อควรปฏบิ ตั ิทส่ี ำคญั ดงั ต่อไปนี้ (1) สมาชิกในครอบครัวควรหลีกเลี่ยงการวิพากษ์วิจารณ์ผู้ป่วยอย่างรุนแรง หรือเข้าวุ่นวาย จดั การทกุ เร่ืองของผู้ป่วยและไมค่ วรแสดงท่าทที ่ีไมเ่ ป็นมิตรต่อผ้ปู ว่ ย เพราะมีการศกึ ษาสนบั สนนุ วา่ ทำให้ผู้ป่วย โรคจิตเภทเกิดการกำเริบซํ้าบ่อย ๆ ดังนั้นญาติควรมีท่าทีเป็นมิตรให้ความรักความอบอุ่น แสดงความเข้าใจ และสร้างพลงั ใจต่อผปู้ ่วย (2) ผู้ป่วยโรคจิตมักถูกกีดกัน แบ่งแยกอยู่เสมอ ทั้งที่ความจริงแล้วควรจะมีสิทธิเท่าเทียมกันกับ คนท่วั ไป (3) การให้ผู้ป่วยได้ใช้ชีวิตกับครอบครัวหรือชุมชน ภายใต้สิ่งแวดล้อมที่มีการช่วยเหลือดีกว่าใช้ ชวี ติ ในโรงพยาบาลควรหลกี เลยี่ งการรกั ษาผู้ป่วยในโรงพยาบาลระยะยาว (4) ใหก้ ำลงั ใจในการดำเนินชีวิตและการปรบั ตวั อยู่ในสงั คม 25

โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) (5) ควรปฏิบตั ติ อ่ ผู้ปว่ ยเหมือนคนปกติ เปิดโอกาสใหผ้ ู้ปว่ ยได้พดู คุยระบายปัญหา เพือ่ ผปู้ ่วยและ ญาติจะไดเ้ ข้าใจและไวว้ างใจซ่ึงกันและกัน (6) สนับสนุนและให้กำลังใจผู้ป่วยให้สามารถแก้ไขปัญหาด้วยตนเองโดยการรับฟังปัญหาของ ผปู้ ่วยอยา่ งต้ังใจและให้คำปรกึ ษาแนะนำ (7) ในกรณีทีผ่ ูป้ ่วยแสดงพฤติกรรมผดิ ปกติ เชน่ พดู คนเดยี ว กลวั คนมาทำร้าย ญาติไม่ควรตกใจ หรอื กลัว ควรพยายามชักจูงให้ผปู้ ว่ ยหันไปสนใจสิ่งอื่น ญาตไิ ม่ควรตำหนิตเิ ตียนผู้ป่วย โดยเฉพาะถ้าพฤติกรรม ทเ่ี กดิ ขึ้นไมไ่ ด้รบกวนผูอ้ นื่ (8) สง่ เสรมิ ใหผ้ ้ปู ่วยได้มีโอกาสเข้าสังคมกบั คนทว่ั ไป เพ่ือให้ผปู้ ว่ ย สามารถปรับตัวเข้ากับผู้อ่ืนได้ โดยเร่ิมจากการพูดคุยกับคนในบ้านก่อน ไมค่ วรแยกตัวหรือเก็บตวั อยู่คนเดียว 2) การสรา้ งความตระหนกั และความเข้าใจเร่อื งสุขภาพจติ ของประชาชน ตามประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 1 เป้าประสงค์ 1.1 คนไทยเข้าใจและใสใ่ จสขุ ภาพจิตของตนเอง ครอบครัว และชมุ ชน กรมสขุ ภาพจิตมแี นวทางในการพฒั นาที่สำคญั ดงั ต่อไปนี้ (1) สร้างความตระหนักและความรู้ความเข้าใจในเร่ืองสุขภาพจิตและปัญหาสุขภาพจิต ที่ทุกคน ในสังคมมีส่วนร่วมรับผิดชอบ และเฝ้าระวังในกลุ่มปกติ (หมายถึง คนไทยทุกกลุ่มวัยรวมท้ังผู้พิการ ที่ไม่มี ปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช) กลุ่มเสี่ยง (คนไทยทุกกลุ่มวัยรวมทั้งผู้พิการ ที่มีความเสี่ยงจะเกิดปัญหา สุขภาพจิตและจิตเวช หรือเกิดปัญหาสุขภาพจิตแล้วแต่ยังไม่ป่วยเป็นโรคจิตเวช) และกลุ่มผู้ป่วย (คนไทยทุก กลุ่มวยั รวมทง้ั ผ้พู ิการ ที่ป่วยเปน็ โรคจิตเวช ตลอดจนมคี วามผดิ ปกตทิ างจิต) (2) ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาความรดู้ า้ นสุขภาพจิตแบบองคร์ วม (3) ลดอคติ ลดการตีตรา และการเลือกปฏิบัติต่อผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช (Stigma & Discrimination) (4) เสริมสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจ (Resilience) ให้กับคนไทยในการรับมือกับปัญหา สขุ ภาพจติ ท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคต (5) สรา้ งความเขม้ แข็งของคนไทยในการปรับเปล่ียนมุมมองการดแู ลสุขภาพจติ เพื่อพัฒนาความ รอบรทู้ างสุขภาพจิต (Mental Health Literacy) (6) สร้างให้เกิดการเรียนรู้ด้านสุขภาพจิต โรคจิตเวช และสารเสพติด โดยบรรจุเป็นสาระการ เรยี นรไู้ ว้ในหลักสูตรแกนกลางและหรอื หลกั สตู รสถานศึกษาในทุกระดับประเภทการศึกษา (7) เสริมสร้างสายสมั พันธ์ท่ีเขม้ แข็งภายในครอบครวั (Attachment) (8) สง่ เสรมิ สขุ ภาพจติ และป้องกันปัญหาสุขภาพจิตคนไทยทุกกลุ่มวัย 3) การจดั บริการส่งเสริมสขุ ภาพจิตกับภาคเี ครอื ข่ายสุขภาพจติ ตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 เป้าประสงค์ 1.2 ภาคีเครือข่ายเสริมสร้างการมีส่วนร่วมให้คนไทยมี ปัญญาอารมณ์ดี และมีความสุข มีแนวทางที่สำคัญในการส่งเสริมสุขภาพจิตร่วมกับภาคีเครือข่ายทั้งในและ นอกระบบบรกิ ารสาธารณสุขดงั ต่อไปนี้ 26

โครงการประเมินแผนพฒั นาสุขภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบตั ิราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) (1) สง่ เสริม IQ โดยเพม่ิ การเขา้ ถึงบริการ การส่งเสรมิ และกระตนุ้ พฒั นาการเดก็ 0-5 ปี (2) สง่ เสริม EQ โดยพฒั นาโปรแกรม/เครื่องมอื เสริมสรา้ งความฉลาดทางอารมณ์ทุกกลุ่มวัย (3) สรา้ งการมสี ว่ นรว่ มของภาคเี ครือขา่ ยทุกภาคสว่ นในการส่งเสริมสุขภาพจติ และป้องกันปัญหา สุขภาพจติ คนไทยทุกกลมุ่ วยั (4) ส่งเสรมิ ความสุขในคนไทย (5) พัฒนานวัตกรรมการส่งเสริมสุขภาพจิต (Promotion Program) และป้องกันปัญหา สขุ ภาพจิต (Prevention Program) ในยุคดิจทิ ลั ท่ตี อบสนองต่อปัญหาและความต้องการครอบคลุมทุกกลุ่มวัย โดยการมสี ่วนร่วมของภาคเี ครือข่ายทกุ ภาคส่วน (6) สนับสนุนและผลักดันให้ภาคีเครือข่ายสุขภาพในตำบลร่วมกันดูแลสุขภาพจิตคนไทยภายใต้ มาตรฐานการดำเนินงานสุขภาพจติ 2.3.4 แนวคิดการประเมนิ ผลตามประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 2 ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช มีหลักการคือ พัฒนาคุณภาพมาตรฐาน ระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างสรรค์ ตลอดจนบูรณาการงาน สุขภาพจิตเข้ากับระบบสุขภาพ เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชและผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชสามารถเข้าถึงบริการ ตั้งแต่เริ่มป่วย จนหายทุเลา สามารถอยู่ในชุมชนได้อย่างปกติสุข ภายใต้การดูแลและสร้างสภาพแวดล้อมที่ เหมาะสมกับผ้ปู ่วยจิตเวช ด้วยกระบวนการมสี ่วนร่วมทั้งระดับครอบครวั ชมุ ชนและสถาบนั ในสังคมทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน (กลุ่มงานเลขานกุ ารคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ, 2563) ยุทธศาสตร์น้ีมีเป้าประสงค์ 2 ประการ ได้แก่ 1) ผู้ป่วยจิตเวชและผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช เข้าถึงบริการ มาตรฐานตั้งแต่เริ่มป่วยและ 2) ผู้ป่วยจิตเวชและผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชได้รับบริการ ตามมาตรฐานจนหายทเุ ลา สามารถอยู่ในชุมชนได้อย่างปกติสุข โดยในแต่ละเป้าประสงค์ มีตัวช้ีวดั (ระยะที่ 1 พ.ศ. 2561-2565) โครงการสำคัญ และหน่วยงานหลักทเ่ี กยี่ วขอ้ งดังตารางที่ 4 ตารางท่ี 4 ตวั ชีว้ ัด โครงการ และหน่วยงานท่เี กี่ยวข้องตามประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 พัฒนาระบบบริการสขุ ภาพจติ และจติ เวช ตวั ชวี้ ดั เปา้ ประสงค์ โครงการ หน่วยงานรบั ผิดชอบหลัก เป้าประสงค์ 2.1 ผปู้ ว่ ยจติ เวชและผมู้ ปี ญั หาสขุ ภาพจติ และจิตเวชเข้าถงึ บรกิ ารมาตรฐานตั้งแตเ่ รมิ่ ป่วย 2.1.1 อัตราการเขา้ ถงึ 1. โครงการเพ่มิ ประสิทธภิ าพการดแู ลผปู้ ่วยโรคซมึ เศรา้ โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ กรม บริการของโรคทส่ี ำคัญทาง - พฒั นาเครอื ข่ายเพ่ือเพมิ่ การเขา้ ถึงบรกิ ารของผู้ปว่ ยโรคซมึ เศร้า สุขภาพจิต จิตเวช 2. โครงการแก้ไขปญั หาสขุ ภาพจิตและจิตเวชเดก็ และวยั รุ่น โรงพยาบาลยุวประสารทไวทโยปถัมภ์ - โรคออทิสตกิ (ร้อยละ กรมสขุ ภาพจิต 15) - โรคสมาธิสน้ั (รอ้ ยละ 3. โครงการพฒั นาดแู ลเดก็ สมาธิสั้น สถาบนั สุขภาพจิตเด็กและวยั รุน่ ราช 15) นครนิ ทร์ กรมสขุ ภาพจิต 27

โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบตั ิราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ตวั ชว้ี ดั เปา้ ประสงค์ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 พัฒนาระบบบริการสขุ ภาพจติ และจติ เวช หน่วยงานรับผิดชอบหลกั - โรคซึมเศร้า (ร้อยละ 70) โครงการ โรงพยาบาลจติ เวชขอนแก่นราช - โรคจิตเภท (ร้อยละ 74) นครนิ ทร์ กรมสุขภาพจิต 4. โครงการป้องกันและแกไ้ ขปัญหาการฆา่ ตัวตายในคนไทย - พัฒนาศกั ยภาพบุคลากรด้านการวิเคราะห์ สอบสวนฯ และเยยี วยา สสส. สนบั สนุนงบประมาณให้ คณะ - เสรมิ สรา้ งศักยภาพบุคลากรดา้ นการดแู ลช่วยเหลอื สังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ 5. โครงการขับเคล่อื นเชิงนโยบายระบบการดูแลใหบ้ ริการด้านสขุ ภาพจิต มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ แก่ผ้ปู ว่ ยจติ เวชไร้บา้ น สสส. สนับสนุนงบให้คณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่นในการ 6. โครงการพัฒนารปู แบบงานส่งเสรมิ สุขภาพจติ ทีม่ มี ติ ทิ างเพศภาวะ และ ดำเนินงาน ความเปน็ ธรรมทางเพศในชุมชน สถาบันพัฒนาการเดก็ ราชนครินทร์ 7. โครงการเพิ่มการเข้าถึงบริการโรคออทสิ ตกิ โดยการใชเ้ ครอื่ งมือวนิ ิจฉยั ภาวะออทิซึม ในระยะเร่มิ แรกสำหรบั เด็กไทย 2.1.2 ชว่ งเวลาของอาการ *1. โครงการเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการดูแลผู้ปว่ ยโรคจิตเภท กองบริหารระบบวชิ าการสขุ ภาพจิต โรคจติ เภทที่ไมไ่ ด้รบั การ 1. กิจกรรมการพัฒนาระบบสขุ ภาพจิตและจติ เวชในคลนิ ิก หมอครอบครวั กรมสขุ ภาพจิต รักษา ลดลงหลังจากปี เริม่ ตน้ แผน ร้อยละ 2 2. โครงการพฒั นาระบบบรกิ ารวิกฤตสขุ ภาพจติ ของประเทศ กองบรหิ ารระบบบรกิ ารสขุ ภาพจิต 2.1.3 รอ้ ยละ 50 ของศนู ย์ กรมสขุ ภาพจิต แพทยเ์ วชศาสตรค์ รอบครวั (Primary Care Cluster : กองบรหิ ารระบบบรกิ ารสขุ ภาพจิต PCC) กรมสุขภาพจิต, โรงพยาบาลจติ เวช ในชุมชนมรี ะบบในการ สงขลาราชนครนิ ทร์ กรมสขุ ภาพจติ ดแู ลสขุ ภาพจิตและจิตเวช สสส. สนบั สนุนงบให้ คณะพยาบาล ศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ในการ 3. โครงการพฒั นารูปแบบงานสง่ เสริมสุขภาพจิตทม่ี ีมติ ิทางเพศภาวะและ ดำเนนิ งาน ความเป็นธรรมทางเพศในชมุ ชน กองบรหิ ารระบบบรกิ ารสุขภาพจติ กรมสุขภาพจิต 2.1.4 ร้อยละ 96 ของ 1. โครงการพฒั นาระบบดูแลผปู้ ว่ ยจติ เวชที่มีความเสย่ี งสูงตอ่ การก่อความ โรงพยาบาลจิตเวชขอนแกน่ ราช ผ้ปู ว่ ยจติ เวชท่ีมคี วามเสย่ี ง รุนแรงในชมุ ชน นครนิ ทร์ กรมสุขภาพจติ สูงต่อการกอ่ ความรุนแรง 2. โครงการป้องกนั และแก้ไขปัญหาการฆา่ ตวั ตายในคนไทย โรงพยาบาลจติ เวชนครราชสมี าราช ไมก่ ่อความรุนแรงซา นครนิ ทร์ กรมสุขภาพจติ ภายใน 1 ปี 3. โครงการพฒั นาระบบการดแู ลผปู้ ว่ ยจติ เวชทีม่ คี วามเสีย่ งสงู ตอ่ การกอ่ ความรนุ แรงที่เชอ่ื มโยงกับเขตสุขภาพ 4. พัฒนา Application และระบบสารสนเทศโปรแกรม Care Transition เพื่อการติดตามผลการดแู ลต่อเนอื่ ง ผูป้ ว่ ยจิตเรือ้ รงั กลุ่มเส่ียงในชมุ ชน สำหรบั รพ.สต. หรือ อสม. 1) บรกิ ารผปู้ ว่ ย 2) ฟน้ื ฟสู มรรถภาพผู้ปว่ ย เป้าประสงค์ 2.2 ผู้ป่วยจติ เวชและผู้มปี ญั หาสุขภาพจิตและจิตเวชไดร้ บั บริการตามมาตรฐานจนหายทเุ ลา สามารถอย่ใู นชมุ ชนได้อยา่ งปกตสิ ขุ 2.2.1 รอ้ ยละ 94 ของ 1. กิจกรรมบำบัดรกั ษา และฟืน้ ฟูผู้ป่วยยาเสพตดิ มีปัญหาสขุ ภาพจิต กองบริหารระบบบรกิ ารสุขภาพจติ ผปู้ ่วยจิตเวชยาเสพตดิ ท่ี 2. กจิ กรรมติดตามดูแลชว่ ยเหลือผูผ้ า่ นการบำบัดรกั ษายาเสพตดิ กรมสุขภาพจิต หยุดเสพต่อเนอ่ื ง 3 เดอื น 28

โครงการประเมินแผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏบิ ัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ตวั ชวี้ ดั เปา้ ประสงค์ ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 พฒั นาระบบบริการสขุ ภาพจติ และจติ เวช หน่วยงานรับผิดชอบหลัก หลงั จำหน่ายจากการ โครงการ โรงพยาบาลสวนปรงุ กรมสุขภาพจติ บำบดั รักษา 3. โครงการพฒั นาแนวทางการบำบัดฟนื้ ฟสู มรรถภาพผู้ปว่ ยจติ เวชยาเสพ ติดโดยการมีสว่ นรว่ มของชุมชน 4. โครงการพัฒนางานบำบดั รักษาและตดิ ตามผ้ปู ่วยจติ เวชยาเสพตดิ 5. โครงการเพมิ่ ประสิทธภิ าพการบำบดั ทางจติ สังคมสำหรบั ผู้ป่วยโรคตดิ สรุ าทม่ี ีภาวะบกพรอ่ งการรู้คดิ 2.2.2 ร้อยละ 70 ของ *1. โครงการเพิ่มประสทิ ธภิ าพการดูแลผปู้ ว่ ยโรคซมึ เศรา้ โรงพยาบาลพระศรมี หาโพธ์ิ กรม ผู้ปว่ ยจติ เวชทร่ี ับการรกั ษา สขุ ภาพจติ แบบผ้ปู ่วยในมีอาการทาง 2. โครงการพฒั นาคุณภาพระบบบรกิ ารสขุ ภาพจิตและจติ เวชระดบั เหนอื กองบริหารระบบบรกิ ารสขุ ภาพจิต จติ หายทุเลา ตติยภมู ิ กรมสขุ ภาพจิต 3. งานราชทณั ฑ์ปันสุข เพือ่ พฒั นางานดา้ นสุขภาพจติ และจิตเวช สถาบันกัลยาราชนครนิ ทร์ กรม 2.2.3 ร้อยละ 40 ของ สขุ ภาพจติ ผู้ป่วยโรคท่ีสำคัญทางจติ 1. โครงการพฒั นาระบบสนบั สนุนอาชพี บุคคลบกพรอ่ งทางสติปญั ญาและ สถาบนั พฒั นาการเด็กราชนครนิ ทร์ เวชท่ไี ด้รับการบำบัดรักษา ออทิสติกของหนว่ ยงานในสงั กัดกรมสุขภาพจติ กรมสุขภาพจติ แล้วมคี ุณภาพชวี ิตท่ดี ขี ้นึ 2. โครงการแกไ้ ขปัญหาวกิ ฤติสุขภาพจติ ในพื้นทจ่ี งั หวัดชายแดนใต้ โรงพยาบาลจิตเวชสงขลาราชนครนิ ทร์ กรมสขุ ภาพจิต 3. โครงการสรา้ งความเข้มแข็งของเครอื ข่ายผพู้ กิ ารทางจิตใจหรอื พฤติกรรม โรงพยาบาลศรธี ญั ญา กรมสุขภาพจิต 4. โครงการพฒั นาระบบการฟนื้ ฟสู มรรถภาพคนพกิ ารทางจิตใจหรือ พฤตกิ รรมสกู่ ารมีงานทำ โรงพยาบาลจิตเวชราชสีมาราช 5. โครงการพัฒนาระบบการฟืน้ ฟูสมรรถภาพผปู้ ว่ ยโรคจติ เร้อื รงั กลมุ่ เสย่ี ง นครินทร์ กรมสขุ ภาพจิต ในชุมชน ระดับปฐมภูมิ กองบริหารระบบบรกิ ารสุขภาพจติ 6. โครงการฟ้ืนฟูจติ ใจหลงั ภาวะวกิ ฤติในสถานการณร์ ะบาดของโรคติดเช้ือ กรมสขุ ภาพจติ ไวรัสโคโรนา 2019 แนวคดิ และงานวจิ ยั ทเี่ กีย่ วข้องในการประเมินผลตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 มีดงั ต่อไปนี้ 1) ทัศนคติต่อระบบบรกิ ารสุขภาพจติ Schiffman & Kanuk (1994) ระบุว่า ทัศนคติ คือ การแสดงออกที่ไปในทิศทางเดียวกันกับความพึง พอใจหรือไม่พึงพอใจต่อสง่ิ หนง่ึ เช่นเดียวกันกับ สุมาลี วิจกั ษณก์ ลุ (2556) ที่กลา่ ววา่ เปน็ การกระทำของแต่ละ บุคคลที่แสดงพฤติกรรมออกมาว่าชอบหรือไม่ชอบ มีหลายงานวิจัยที่ศึกษาทัศนคติต่อบริการต่าง ๆ ยกตัวอย่างเช่น งานวิจัยของ เจนจิรา แสงสุ่ม (2562) ที่ศึกษาทัศนคติในลักษณะของความพึงพอใจ คล้ายกัน กับงานวิจัยของ วลัยพร เจียระไนรุ่งโรจน์ (2554) ที่ศึกษาทัศนคติโดยให้ความหมายว่า เป็นความรู้สึกหรือ ความเช่อื ของบุคคลทส่ี ามารถสะท้อนออกมาให้เห็นรปู แบบของความพึงพอใจและไม่พงึ พอใจ เหน็ ดว้ ย หรือไม่ เห็นด้วยต่อสิ่งต่าง ๆ ดังนั้นจากความหมายข้างต้นจึงนำไปสู่แนวคิดในการประเมินผลโครงการในครั้งนี้ คือ การศึกษาทัศนคติของผู้ป่วยและญาติเกี่ยวกับระบบบริการสุขภาพจิต โดยศึกษาจากความพึงพอใจต่อระบบ บริการที่กลมุ่ ผ้รู บั บริการมตี ่อระบบบริการสขุ ภาพจติ ท่ีได้เขา้ รับบริการนนั้ ๆ 29

โครงการประเมินแผนพฒั นาสุขภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) 2) ความเชอื่ มน่ั ต่อระบบบรหิ ารจดั การขององคก์ าร มีงานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับความเชื่อมั่นต่อหน่วยงานประเภทให้บริการโดยศึกษาในประเด็น ความ เชื่อมั่นในคุณภาพของบริการ ภาพลักษณ์องค์การ และความน่าเชื่อถือของหน่วยงาน (ชลลดา มงคลวานิช, 2563; มะลิวัลย์ แสงสวัสดิ์, 2556) นอกจากนั้นยังพบว่ามีหลายหน่วยงาน (มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 2558; มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์, 2563) ได้ศึกษาความเชื่อมั่นด้านธรรมาภิบาลต่อการ ดำเนินงานขององค์การ โดยไดจ้ ำแนกการศึกษาออกเปน็ ความเช่ือม่ันต่อการบริหารของผู้บริหารระดบั สูง และ ความเชื่อมั่นต่อการบริหารของผู้บริหารระดับหน่วยงาน โดยกล่าวถึงหลักธรรมาภิบาลไว้ 10 ประการ ได้แก่ หลักประสิทธิผล (Effectiveness) หลักประสิทธิภาพ (Efficiency) หลักการตอบสนอง (Responsiveness) หลักภาระความรับผิดชอบ (Accountability) หลักความโปร่งใส (Transparency) หลักการมีส่วนร่วม (Participation) . หลกั การกระจายอำนาจ (Decentralization) หลักนติ ธิ รรม (Rule of Law) หลกั ความเสมอ ภาค (Equity) และ หลักมุ่งเน้นฉันทามติ (Consensus Oriented) จากงานวิจัยและแนวทางประเมิน หนว่ ยงานข้างตน้ จึงนำมาส่แู นวคดิ ในการศึกษาคร้งั นี้ โดยจำแนกประเด็นในการศึกษาความเช่ือมั่นออกเป็น 4 ประเด็นได้แก่ คุณภาพของบริการ ภาพลักษณ์องค์การ ความน่าเชื่อถือของหน่วยงาน และความเชื่อมั่นด้าน ธรรมาภิบาลขององคก์ าร (ธันภทั ร โคตรสิงห์, 2556) 3) ปจั จยั สนบั สนุนและพัฒนาระบบบริการสขุ ภาพจิต แนวทางในการศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัตินั้นสามารถนำตัวแบบใน การศึกษาเชิงนโยบายมาศึกษาได้ในหลายมิติ เช่น ศึกษาจากหลักการและเหตุผลของนโยบายท่ีจะนำไปสู่การ ปฏิบัติ สมรรถนะขององค์การในด้านต่าง ๆ เช่น โครงสร้างองค์การ บุคลากร งบประมาณ สถานที่ วัสดุ อปุ กรณ์และเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ ด้านการจัดการภายในหนว่ ยงาน เช่น ภาวะผนู้ ำและความร่วมมือ ซึ่งใน ประเด็นสนบั สนุนและพัฒนาระบบบริการสุขภาพจติ ภาพท่ี 4 ตัวแบบดา้ นการพัฒนาองคการ (Organization Development Model) ทีม่ า: วรเดช จันทรศร, 2551: 136; ธันภัทร โคตรสิงห,์ 2556: 69. 30

โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) แนวคิดปจั จัยสนับสนนุ และพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตมีความสอดคล้องกบั ตวั แบบด้านการพัฒนา องคการ (Organization Development Model) ของวรเดช จันทรศร (2551) ดังภาพที่ 4 ซึ่งเน้นการมีสว่ น ร่วมขององค์การเป็นสำคัญโดยมาจากความเชื่อพื้นฐานวาการนํานโยบายมาปฏิบัติใหบังเกิดความสําเร็จน าจะเปนเรื่องของการจูงใจ การใชภาวะผูนําที่เหมาะสม การสรางความผูกพันของสมาชิกในองคการ การมีส วนรวมเพอื่ ใหเกดิ การยอมรับ ตลอดจนการสรางทีมงานมากกว่าการมุงใชการควบคมุ หรือใชอํานาจทางรูปนัย ของผูบงั คบั บญั ชาทง้ั นเ้ี พราะการแบงแยกวาการกําหนดนโยบายเปนเรอื่ งทค่ี วรมาจากระดับสูง และการปฏิบัติ ตามนโยบายเปนเรื่องของผูที่อยูในระดับลางเปนเรื่องที่ขัดกับสภาพความเปนจริง การทําใหผูปฏิบัติตระหนัก ในความสําคัญของนโยบายและเห็นวาความสําเร็จของนโยบายคือความสําเร็จของผูปฏิบัติและผูมีสวนเกี่ยวข องทุกคนจึงนาจะสงผลตอความสําเร็จของการนํานโยบายไปปฏิบัติมากกวากลยุทธอื่น ๆ (ธันภัทร โคตรสิงห์, 2556) 2.3.5 แนวคดิ การประเมนิ ผลตามประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ขบั เคล่ือนและผลักดันมาตรการทางกฎหมาย สงั คม และสวัสดิการ มีหลกั การคือ ผู้มี ปัญหาสุขภาพจติ และจิตเวช รวมทง้ั ผูป้ ่วยจิตเวช ได้รับการคุ้มครองสิทธิ การส่งเสริมสขุ ภาพจติ ปอ้ งกันปัญหา สุขภาพจิต และได้รับการบำบัดรักษาอย่างถูกต้องเหมาะสม ตั้งแต่การคัดกรอง นำส่ง ดูแลบำบัดรักษา ฟื้นฟู สมรรถภาพ จนกระทั่งจำหน่าย และติดตามอย่างต่อเนื่องให้ผู้ป่วยจิตเวชมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นตามบทบัญญัติ ของกฎหมายสุขภาพจิต เพื่อลดความผิดปกติ ความรุนแรงที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือ ทรัพย์สินของตนเองและบุคคลอื่น ๆ ในสังคม โดยยุทธศาสตร์นี้มีเป้าประสงค์เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชได้รับการ คุ้มครองสิทธิ ส่งเสริมสุขภาพจิต ป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ได้รับการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพอย่าง ถูกต้องเหมาะสม รายละเอียดตัวชี้วัด (ระยะท่ี 1 พ.ศ. 2561-2565) โครงการสำคัญ และหน่วยงานหลักท่ี เก่ียวขอ้ งดงั ตารางที่ 5 ตารางที่ 5 ตัวชีว้ ดั โครงการ และหนว่ ยงานท่เี กย่ี วข้องตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 ขบั เคลือ่ นและผลักดนั มาตรการทางกฎหมาย สังคม และสวสั ดกิ าร ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ โครงการ หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบหลัก เป้าประสงค์ 3.1 ผปู้ ว่ ยจิตเวชได้รับการคมุ้ ครองสิทธิ ส่งเสรมิ สขุ ภาพจติ ป้องกนั ปญั หาสขุ ภาพจติ ได้รบั การบำบดั รกั ษาและฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างถูกตอ้ ง เหมาะสม 3.1.1 ร้อยละ 85 ของ 1. โครงการส่งเสริมใหก้ ารศกึ ษา พ.ร.บ. สขุ ภาพจติ แกอ่ งคก์ รและแกนนำ มลู นิธอิ อทิสตกิ ไทย ผู้ป่วยจิตเวชทไ่ี ด้รับการ 2. โครงการพฒั นาทกั ษะบุคคลออทสิ ติกและบกพรอ่ งพฒั นาการสร้าง สมาคมเพอื่ ผบู้ กพรอ่ งทางจิตแหง่ ประเทศไทย ดแู ลตาม พ.ร.บ. คณุ ภาพชีวติ ทดี่ ีระบบสขุ ภาพ ระบบการศกึ ษา ระบบการสร้างเสริมอาชพี สขุ ภาพจติ ได้รับการ และการสรา้ งเสรมิ ศีลธรรม 3. โครงการเตรยี มความพรอ้ มให้ผบู้ กพร่องทางจิตเขา้ ถงึ สทิ ธิภาพการจา้ ง ตดิ ตามอยา่ งต่อเนอ่ื ง งาน สถาบนั กัลยาราชนครนิ ทร์ กรมสขุ ภาพจิต 4. โครงการเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพและการเขา้ ถงึ บริการนิตสิ ขุ ภาพจิต 31

โครงการประเมนิ แผนพฒั นาสุขภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบตั ิราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 ขับเคลือ่ นและผลักดนั มาตรการทางกฎหมาย สังคม และสวสั ดิการ ตวั ชี้วดั เปา้ ประสงค์ โครงการ หนว่ ยงานรบั ผิดชอบหลกั *5. โครงการพัฒนาระบบการดแู ลสขุ ภาพจติ ครบวงจรดว้ ยกลไกทาง กองยุทธศาสตรแ์ ละแผนงาน กรมสขุ ภาพจติ กฎหมาย - การติดตามข้อมูลผู้ปว่ ยจิตเวชทเี่ ข้ารบั การบำบัดรักษาและจำหนา่ ยตาม พระราชบญั ญตั ิสขุ ภาพจิต ไดร้ ับการติดตามตอ่ เนือ่ งครบ 1 ปี 6. บรู ณาการระบบการดแู ลผู้ปว่ ยจติ เวชไรบ้ ้านในพืน้ ท่กี รงุ เทพมหานคร สสส. สนับสนนุ งบประมาณใหค้ ณะสังคม สงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ในการดำเนนิ งาน 7. โครงการพฒั นาระบบบรหิ ารสขุ ภาพจติ สำหรบั เดก็ และเยาวชนตอ้ งคดที ่ี มลู นิธสิ ถาบันพฒั นานติ จิ ติ เวชเดก็ และ มีปัญหาด้านจติ เวช เยาวชน และครอบครัว 8. โครงการ “การแก้ไข บำบดั ฟน้ื ฟู สมรรถภาพเด็กและเยาวชนท่กี ระทำ สำนักการแพทย์ สำนักงานศาลยตุ ิธรรม ความผิดตามคำสงั่ ศาล” 3.1.2 ร้อยละ 70 ของ 1. โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพจติ สำหรับผู้ตอ้ งขังจิตเวช สถาบนั กลั ปย์ าณร์ าชนครินทร์ กรม ผู้ปว่ ยจิตเวช ในชมุ ชนท่ี สุขภาพจติ ไดร้ ับการดูแลจากผ้รู บั 2. โครงการสขุ ภาพจิตศกึ ษาหลักสูตรสายใยครอบครวั สมาคมสายใยครอบครวั ดูแลผปู้ ่วยจิตเวช 3. โครงการพัฒนาศกั ยภาพและสมรรถนะของผมู้ ปี ระสบการณ์ตรงใหเ้ ปน็ (Caregiver) อยา่ ง ผใู้ หบ้ รกิ ารดา้ นการสง่ เสรมิ สขุ ภาวะ ถกู ต้องและมมี าตรฐาน 4. โครงการหลกั สูตรพฒั นาสขุ ภาวะ 5. โครงการรณรงคส์ มั มนาให้ความรู้ดา้ นการคืนส่สู ขุ ภาวะและการเสริมพลงั 6. โครงการตงั้ องค์กรผู้ดแู ลและเสรมิ สร้างให้แข็งแรง สมาคมสมาพนั ธผ์ ูด้ แู ลไทย 7. โครงการศนู ยบ์ รกิ ารส่งเสริมทกั ษะชวี ิตบคุ คลออทิสตกิ โดยครอบครวั และ มลู นธิ อิ อทสิ ตกิ ไทย ชมุ ชน 40 จังหวดั 8. โครงการบ้านส่งเสรมิ สิทธิใหผ้ ูบ้ กพรอ่ งทางจติ สมาคมเพอ่ื ผบู้ กพรอ่ งทางจิตแหง่ ประเทศไทย 3.1.3 ร้อยละ 50 ของ 1. โครงการพฒั นาระบบการดแู ลสุขภาพจติ ครบวงจรดว้ ยกลไกทางกฎหมาย กองยุทธศาสตรแ์ ละแผนงานกรมสขุ ภาพจิต สถานบริการ ทไ่ี ด้ขึ้น -การข้ึนทะเบยี นสถานบริการเปน็ สถานบำบดั รกั ษาตามพระราชบัญญตั ิ ทะเบียนเป็นสถาน สุขภาพจติ บำบดั รักษาตาม พ.ร.บ. สขุ ภาพจติ แนวคดิ การประเมินท่เี กีย่ วขอ้ งกบั ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 3 มีดงั ต่อไปนี้ 1) ความรเู้ ก่ยี วกับ พ.ร.บ.สุขภาพจติ พ.ศ. 2551 ในส่วนของการประเมินการรับรู้และความเข้าใจ พ.ร.บ. สุขภาพจิต 2551 มีทั้งหมด 6 หมวด 54 มาตรา ประกอบด้วย หมวด 1 ว่าด้วยเรื่องของคณะกรรมการ มีสองสว่ นคอื ส่วนแรก เกีย่ วขอ้ งกับการแต่งต้ัง การดำรงตำแหน่ง และอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการสุขภาพจิตแหงชาติ และส่วนที่สอง เกี่ยวข้องกับ คณะกรรมการบำบัดรักษา หมวด 2 ว่าด้วยเรื่องสิทธิต่าง ๆ ของผู้ป่วย หมวด 3 เกี่ยวข้องกับการบำบัดรักษา ทางสุขภาพจิต หมวด 4 ว่าด้วยเรื่องการอุทธรณ์ หมวด 5 เรื่องพนักงานเจ้าหน้าที่ และ หมวด 6 บทกำหนด โทษ (ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 125 ตอนที่ 36 ก, 2551) มีสารสำคัญเกี่ยวกับ การนำบุคคลที่มีภาวะอันตราย หรือมีความจำเป็นต้องได้รับการบำบัดรักษาให้ได้รับการบำบัดรักษา ภาวะอันตรายที่กล่าวถึงคือ อันตรายที่ เกิดขึ้นจากความผิดปกติทางจิต ที่แสดงออกมาทางพฤติกรรม อารมณ์ ความคิดหลงผิดหรือพฤติกรรมที่เป็น 32

โครงการประเมินแผนพฒั นาสขุ ภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) เหตุให้เกิดอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือทรัพย์สินของตนเองหรือผู้อื่น เช่น เมื่อมีผู้ป่วยทางจิตมีพฤติกรรม อาละวาด ทำร้ายคนรอบขา้ ง ผู้ที่พบเหน็ สามารถแจ้งพนักงานเจ้าหนา้ ที่ พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ ให้ ดำเนินการพาบุคคลนัน้ ไปยงั โรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลของรฐั หรือสถานบำบัด เพื่อให้บุคคลผู้นัน้ ได้เข้า รบั การรกั ษาอาการทางจิต หรอื พฤตกิ รรมผิดปกติน้ันในโรงพยาบาล แม้วา่ ผูป้ ่วยจะไม่ยนิ ยอมเข้ารับการรักษา ในโรงพยาบาลก็ตามแต่ต้องเป็นไปตามกฎหมายระบุไว้ โดยมีสาระที่สำคัญเกี่ยบกับระบบบริการสุขภาพจิต ดงั ตอ่ ไปน้ี (พ.ญ. ชดาพมิ พ์ เผ่าสวัสด์ิ, 2551) เรื่องสิทธิผู้ป่วย (มาตรา 15) ย่อมมีสิทธิดังต่อไปนี้ (1) ได้รับการบำบัดรักษาตามมาตรฐานทาง การแพทย์โดยคำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ (2) ได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยและการ บำบัดรักษาไว้เป็นความลับ เว้นแต่มีกฎหมายบัญญัติให้เปิดเผยได้ และ (3) ได้รับความคุ้มครองจากการวิจัย ตามมาตรา 20 และ (4) ได้รับการคุ้มครองในระบบประกันสุขภาพและประกันสังคม และระบบอื่น ๆ ของรัฐ อย่างเสมอภาคและเทา่ เทียมกัน การทำวิจัยกับผู้ป่วย (มาตรา 20) การวิจัยใด ๆ ที่กระทำต่อผู้ป่วยจะกระทำได้ ต้องได้รับความ ยินยอมเป็นหนังสือจากผู้ป่วย และต้องผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการที่ดำเนินการเกี่ยวกับจริยธรรม การวิจัยในคนด้วย และความยินยอมนี้ผู้ป่วยจะยกเลิกเมื่อใดก็ได้ ในกรณีที่ผู้ป่วยมีอายุไม่ถึง 18 ปีบริบูรณ์ หรือขาดความสามารถในการตัดสินใจให้ความยินยอมรับการบำบัดรักษา เช่น ผู้ป่วยที่มีอาการทางจิต หรือผู้ บกพร่องทางพัฒนาการหรือสตปิ ัญญา ใหค้ ่สู มรส บุพการี ผสู้ ืบสนั ดาน ผู้ปกครอง ผพู้ ทิ ักษ์ ผู้อนุบาล เป็นผู้ให้ ความยินยอมแทน) การเปดิ เผยขอ้ มูลของผู้ปว่ ย (มาตรา 16) ห้ามมิใหผ้ ู้ใดเปดิ เผยข้อมูลด้านสขุ ภาพของผปู้ ่วยในประการ ที่น่าจะทำให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ป่วย เว้นแต่ ในกรณีที่อาจเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยอื่น หรือ เพื่อความ ปลอดภยั ของสาธารณชน หรือ มกี ฎหมายเฉพาะบญั ญตั ิให้ต้องเปดิ เผย การบำบดั รักษาโดยการผูกมัดร่างกาย การกกั บริเวณ หรือแยกผู้ปว่ ยจะกระทำไม่ได้ เว้นแต่เป็นความ จำเป็นเพื่อป้องกันการเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยเอง บุคคลอื่น หรือทรัพย์สินของผู้อื่นโดยต้องอยู่ภายใต้การดูแล อย่างใกลช้ ิดของผู้บำบัดรักษาตามมาตรฐานวชิ าชีพ (มาตรา 17) การรักษาทางจิตเวชดว้ ยไฟฟ้า (Electroconvulsive Therapy, ECT) ให้กระทำได้ในกรณีที่ผู้ปว่ ยให้ ความยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษร และต้องรับทราบถึงเหตุผลความจำเป็น ความเสี่ยง ภาวะแทรกซ้อน ประโยชน์ของการบำบัด แต่ในกรณีมีเหตุฉุกเฉินหรือมีความจำเป็น การรักษาทางจิตเวชด้วยไฟฟ้าต้องได้รับ ความเห็นชอบเปน็ เอกฉันท์ของคณะกรรมการสถานบำบัดรักษา ส่วนการให้ความยินยอมเพื่อรับการรักษา ใน กรณีที่ผู้ป่วยมีอายุไม่ถึง ๑๘ ปีบริบูรณ์ หรือขาดความสามารถในการตัดสินใจให้ความยินยอมรับการ บำบัดรักษา เช่น ผู้ป่วยที่มีอาการทางจิต หรือผู้บกพร่องทางพัฒนาการหรือสติปัญญา ให้คู่สมรส บุพการี ผสู้ บื สันดาน ผ้ปู กครอง ผ้พู ทิ กั ษ์ ผูอ้ นบุ าล เป็นผ้ใู หค้ วามยนิ ยอมแทน (มาตรา 18) การทำหมันผู้ป่วยจะทำไม่ได้ เว้นแต่ผู้ป่วยให้ความยินยอมเป็นหนังสือเพื่อการบำบัดรักษา หรือใน กรณีที่ผู้ป่วยมีอายุไม่ถึง 18 ปีบริบูรณ์ หรือขาดความสามารถในการตัดสินใจให้ความยินยอมรับการ 33

โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสุขภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ตั ิราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) บำบัดรักษา เช่น ผู้ป่วยที่มีอาการทางจิต หรือผู้บกพร่องทางพัฒนาการหรือสติปัญญา ให้คู่สมรส บุพ การี ผู้สบื สันดาน ผู้ปกครอง ผพู้ ทิ กั ษ์ ผอู้ นุบาล เป็นผใู้ ห้ความยนิ ยอมแทน (มาตรา 19) การบำบัดรักษาจะกระทำไดตอเมื่อผูปวยไดรับการอธิบายเหตุผลความจำเปน ในการบําบัดรักษา รายละเอียดและประโยชนของการบําบัดรักษาและได้รับความยินยอมจากผูปวย เว้นแตเปนผูปวยที่มีความ ผดิ ปกตทิ างจติ ในกรณใี ดกรณีหน่ึงดงั ตอไปนี้ คอื มภี าวะอนั ตราย หรือ มีความจาํ เปนต้องได้รับการบําบัดรักษา (มาตรา 21 มาตรา 22) มาตราที่เกีย่ วข้องกับบริการจติ เวชฉกุ เฉิน (Acute care) หมายถึง การจัดบริการสำหรับผู้ป่วยจิตเวช หรือ จิตเวชยาเสพติด ที่มีการแสดงออกทางอารมณ์ ความคิด พฤติกรรม ที่เสี่ยงต่อการก่อความรุนแรงทัง้ ต่อ ตนเองและผู้อื่น ได้แก่พฤติกรรมทำลายสิ่งของ พฤติกรรมทำร้ายตนเอง พฤติกรรมทำร้ายผู้อื่น เป็นต้น จำเปน็ ตอ้ งมีการจดั การอย่างเร่งด่วนเพื่อลดความรุนแรงของพฤติกรรมนน้ั โดยมกี ารจัดบริการเพื่อให้การดูแล ภาวะจิตเวชฉุกเฉินเบื้องต้น (มาตรา 27) เพื่อลดอาการรุนแรงของพฤติกรรมตามความจำเป็น และสามารถ จัดการอาการให้สงบลงไดภ้ ายในระยะเวลา 48 ชัว่ โมง (กองยทุ ธศาสตร์และแผนงาน, 2563) สถานบำบดั รกั ษาทางสุขภาพจติ มีหน้าทีใ่ นการตรวจวินจิ ฉยั บุคคลท่ีพนักงานเจ้าหน้าท่ีนำส่ง หรือส่ง ต่อจากแพทย์ ให้ตรวจวนิ ิจฉัยและประเมินอาการบุคคลนั้นโดยละเอียด ภายใน 30 วัน และให้มีการพิจารณา ว่าบุคลนั้นต้องเข้ารับการบำบัดรักษาหรือไม่ (มาตรา 29) คณะกรรมการบำบัดรักษากำหนดวิธีการและ ระยะเวลาการบำบัดรักษาตามความรุนแรงของความผิดปกติทางจิต แต่ต้องไม่เกิน 90 วันนับแต่วันที่มีคำสั่ง ขยายระยะเวลาได้อีกครั้งละไม่เกิน 90 วัน นับตั้งแต่วันที่มีคำสั่งครั้งแรกหรือครั้งถัดไป (มาตรา 30) ให้ คณะกรรมการสถานบำบัดรกั ษาพิจารณาผลการบำบัดรักษากอ่ นสิ้นกำหนดระยะเวลาบำบดั รักษาในแต่ละคร้ัง ตามวรรคหน่ึงไมน่ อ้ ยกว่าสบิ ห้าวนั ในระหว่างการบำบัดรักษา เมื่อแพทย์ผู้บำบัดรักษาเห็นว่า ผู้ป่วยได้รับการบำบัดรักษาจนความ ผิดปกติทางจิตหายหรือทุเลาและผู้ป่วยไม่มีภาวะอันตรายแล้ว ให้แพทย์จำหน่ายผู้ป่วยดังกล่าวออกจาก สถานพยาบาล และรายงานผลการรักษาบำบัดรกั ษาและการจำหนา่ ยผู้ปว่ ยใหค้ ณะกรรมการสถานบำบดั รักษา ทราบโดยไม่ช้า ทั้งนี้ ให้แพทย์ติดตามผลการบำบัดรักษาเป็นระยะ (มาตรา 31) ในกรณีที่ผู้ป่วยได้รับการ บำบัดรักษาจนอาการทุเลา ให้แจ้งญาติมารับกลับ ในกรณีที่ไม่มีผู้รับดูแล ให้แจ้งหน่วยงานด้านสังคม สงเคราะห์และสวสั ดกิ าร ไม่มีสทิ ธิจ์ ำหน่ายผปู้ ่วยกลบั บ้านเอง (มาตร 40) กรณีที่ผู้ป่วยได้รับคำสั่งให้เข้ารับการบำบัดรักษาแต่ไม่เห็นด้วย มีสิทธิยื่นอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการ อุทธรณ์ภายใน 30 วัน โดยผู้มีสิทธิอุทรได้แก่ ผู้ป่วย คู่สมรส ผู้บุพการี ผู้สืบสันดาน ผู้ปกครอง ผู้พิทักษ์ ผู้ อนบุ าล หรอื ผูซ้ ่งึ ดแู ลผู้ป่วย (มาตร 42) พนักงานเจ้าหน้าที่ มีอำนาจในการประสานงานกับตำรวจ หรือพนักงานฝ่ายปกครองเข้าไปใน เคหสถานในการนำตัวบุคคลที่มีภาวะอันตรายหรือมีความจำเป็นต้องได้รับการบำบัดรักษามาบำบัดรักษาใน โรงพยาบาลได้ ทงั้ ทพ่ี บเห็นหรือไดร้ บั แจ้ง (มาตรา 42) 34

โครงการประเมนิ แผนพัฒนาสุขภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ผู้ใดเปิดเผยข้อมูลด้านสุขภาพของผู้ป่วยในการที่น่าจะทำให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ป่วย ต้องระวาง โทษจำคกุ ไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไมเ่ กิน 20,000 บาท (มาตรา 50) ผู้ใดแจ้งความเท็จ ว่าบุคคลนั้น ๆ มีพฤติการณ์ที่น่าเชื่อว่ามีความผิดปกติทางจิต โดยมีเจตนากลั่น แกลง้ ใหเ้ กิดความเสยี หายแกผ่ ู้หนง่ึ ผู้ใด ตอ้ งระวางโทษจำคกุ ไมเ่ กนิ 1 ปี หรอื ปรบั ไม่เกนิ 20,000 บาท หรือทั้ง จำทงั้ ปรบั (มาตรา 51) 2) แนวทางในการขับเคล่อื น ผลักดนั และบงั คบั ใชก้ ฎหมายสุขภาพจติ ปัจจัยที่มีผลต่อการขับเคลื่อน ผลักดัน บังคับใช้กฎหมายสุขภาพจิตและมาตรการทางกฎหมาย ท่ี สนับสนุนให้ผู้ป่วยจิตเวชได้รับการคุ้มครองสิทธิ ส่งเสริมสุขภาพจิต ป้องกันปัญหาสุขภาพจิตได้รับการ บำบดั รักษาและฟ้ืนฟูสมรรถภาพอย่างถูกต้องเหมาะสม กรมสุขภาพจิตมีแนวทางในการพัฒนางาน ดังต่อไปน้ี (1) การขบั เคล่ือน ผลักดนั และบงั คับใช้กฎหมายสุขภาพจิต อย่างเปน็ ระบบและเป็นรูปธรรมโดยส่งเสริมการมี ส่วนร่วมของผู้ป่วยจิตเวชและผู้รับดูแลผู้ป่วยจิตเวช (Caregiver) (2) พัฒนาระบบบริการนิติสุขภาพจิต หรือ ระบบการดแู ลผู้มีปญั หาสุขภาพจติ และจิตเวช หรือผู้ป่วยจิตเวชในกระบวนการยตุ ธิ รรม (3) สร้างความร่วมมือ ระหว่างภาคีเครือข่ายสาธารณสุข ภาคีเครือข่ายในกระบวนการยุติธรรม และภาคีเครือข่ายด้านสังคมในการ ดำเนินงานด้านนิติสุขภาพจิต (4) จัดตั้งหน่วยงานเจ้าภาพหลักในการดูแลคุณภาพชีวิตของผู้รับดูแลผู้ป่วยจิต เวช (Caregiver) ให้มีศักยภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นโดยบูรณาการความร่วมมือกับ ทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาสังคม (5) แก้ไขเพิ่มเติมหรือออกกฎหมายเก่ียวกบั การเพิม่ ปัจจัยปกป้อง ลดปัจจยั เสี่ยงและแก้ไขปัญหาสุขภาพจิต(6) กำหนดมาตรฐาน ขึ้นทะเบียนและตรวจสอบการดำเนินงานสถานรบั ดูแล ผู้ป่วยจิตเวชที่เป็นเอกชน เพื่อกำกับควบคุมองค์การที่ให้บริการดูแลผู้ป่วย (7) พัฒนาและสนับสนุนการให้ สุขภาพจิตศึกษาแก่ผู้มีปัญหาสุขภาพจิตผู้ป่วยจิตเวช และผู้รับดูแลผู้ป่วยจิตเวช (Caregiver) รวมถึงจัดหา สวัสดิการสำหรับผู้รับดูแลผู้ป่วยจิตเวช (Caregiver) (8) พัฒนาระบบการดูแลและสร้างสภาพแวดล้อมที่ เหมาะสมกับผู้ป่วยจติ เวช (กองยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนงาน, 2561) 2.3.5 แนวคิดการประเมินผลตามประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาวิชาการและกลไกการดำเนินงานด้านสุขภาพจิต ยุทธศาสตร์นี้ให้ความสำคัญ กับการบริหารจัดการระบบสุขภาพจิตตามหลักธรรมาภิบาลที่เน้นการดำเนินงานอย่างมีคุณธรรมและโปร่งใส ทั่วทั้งระบบ พัฒนาการดำเนินงานด้านสุขภาพจิตด้วยระบบข้อมูลสารสนเทศ ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล ระบบการเงิน การคลังและระบบประกันสุขภาพเพื่อลดความเหลื่อมล้ำของผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช โดยผลักดันให้เกิดการมีส่วนร่วมในระดับนโยบายไปสู่การปฏิบัติ รายละเอียดตัวชี้วัด (ระยะท่ี 1 พ.ศ. 2561- 2565) โครงการสำคญั และหน่วยงานหลกั ทีเ่ ก่ียวขอ้ งดังตารางที่ 6 35

โครงการประเมินแผนพฒั นาสุขภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบัติราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสขุ ภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ตารางท่ี 6 ตัวชว้ี ัด โครงการ และหนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ งตามประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ 4 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 พัฒนาวิชาการและกลไกการดำเนินงานดา้ นสขุ ภาพจติ ตวั ชี้วัดเป้าประสงค์ โครงการ หน่วยงานรับผดิ ชอบหลกั เปา้ ประสงค์ 4.1 หน่วยบรกิ ารด้านสขุ ภาพจติ มีการบริหารจดั การองคก์ รทมี่ ีประสทิ ธภิ าพและธรรมาภิบาล 4.1.1 รอ้ ยละค่าใชจ้ า่ ยด้านสุขภาพจติ ต่อ 1. โครงการศกึ ษาการกำหนดสดั สว่ น กองยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนงาน ค่าใช้จ่ายดา้ นสุขภาพ (Proportion of งบประมาณดา้ นสขุ ภาพจติ เพอ่ื นำไปส่กู าร กองบรหิ ารระบบบรกิ าร Mental Health Expenditure per Health ติดตามและประเมนิ ผลดา้ นสขุ ภาพจิตใน สุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต Expenditure) มากกว่าหรอื เทา่ กบั 3.5 ระดับประเทศ 4.1.2 ร้อยละ 45 ของหน่วยบรกิ ารดา้ น *1. โครงการประเมินคณุ ธรรมและความ กลุ่มคุ้มครองจรยิ ธรรม กอง สุขภาพจติ ทมี่ ผี ลการประเมนิ ระดบั คณุ ธรรม โปร่งใสในการดำเนนิ งานของหนว่ ยงาน บริหารทรัพยากรบคุ คล กรม และความโปร่งใสในการดำเนินงานผา่ นเกณฑ์ สุขภาพจิต 4.1.3 สัดสว่ นบุคลากรสายงานหลกั ดา้ น 1. โครงการพฒั นาบคุ ลากรอยา่ งตอ่ เนื่อง กองบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล สุขภาพจิตต่อประชากรแสนคน กรมสุขภาพจิต - จิตแพทย์ท่วั ไป 1.0 - พยาบาลจติ เวช 7.5 - นกั จิตวทิ ยาคลนิ ิก 0.8 - นักสงั คมสงเคราะห์ 1.0 - นกั กจิ กรรมบำบดั 1.0 เป้าประสงค์ 4.2 หน่วยบริการด้านสุขภาพจติ มีการพฒั นาองค์ความรแู้ ละวชิ าการ 4.2.1 จำนวนนวัตกรรม/องค์ความรทู้ ี่สามารถ 1. การพัฒนาองคค์ วามร้สู ุขภาพจติ ด้วย สำนกั วชิ าการสขุ ภาพจิต กรม ป้องกนั แก้ไขปัญหาสุขภาพจิตและ กระบวนการวิจยั สขุ ภาพจิต จติ เวชของประเทศ (เปา้ หมายสะสม) 20 เร่อื ง 2. โครงการพัฒนานวัตกรรม/เทคโนโลยี สำนกั วิชาการสุขภาพจิต กรม เพ่อื การแก้ปัญหาสุขภาพจติ ของคนไทย สุขภาพจติ รว่ มกับหน่วยงาน ในพ้นื ที่ สงั กดั กรมสุขภาพจติ 3. โครงการพฒั นาศกั ยภาพนักวจิ ยั ด้าน สำนักวชิ าการสุขภาพจิต กรม สขุ ภาพจติ และจติ เวช สุขภาพจติ 4. การพฒั นาระบบเฝ้าระวังสอบสวน สำนกั วิชาการสขุ ภาพจิต กรม และการวจิ ัยทางระบาดวทิ ยาสุขภาพจติ สุขภาพจิต 5. โครงการพัฒนาระบบงานคลินกิ ให้การ สถาบนั สุขภาพจติ เดก็ และวัยรุ่น ปรึกษาสายด่วนสขุ ภาพจติ 1323 ราชนครนิ ทร์ กรมสขุ ภาพจิต 4.2.2 จำนวนประเดน็ ความรู้ท่ีใช้เป็นแหล่ง 1. โครงการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ สำนักวิชาการสุขภาพจิต กรม อ้างองิ ในระบบสารสนเทศสขุ ภาพจิต ดา้ นสุขภาพจติ ให้มคี ณุ ภาพเพ่ือเปน็ แหล่ง สุขภาพจติ (เปา้ หมายสะสม) 25 เรือ่ ง อ้างองิ ในระดับภมู ภิ าคอาเซยี น 2. โครงการเชอ่ื มโยงระบบสารสนเทศ สำนักเทคโนโลยสี ารสนเทศ สขุ ภาพจิตเพอ่ื ใหร้ องรบั กบั ฐานขอ้ มลู กรมสขุ ภาพจิต ระดบั ประเทศ (Big Data) 36

โครงการประเมินแผนพฒั นาสุขภาพจิตแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏบิ ตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ยุทธศาสตร์ท่ี 4 พัฒนาวิชาการและกลไกการดำเนนิ งานดา้ นสขุ ภาพจิต ตัวชว้ี ัดเปา้ ประสงค์ โครงการ หนว่ ยงานรับผดิ ชอบหลัก *3.โครงการพัฒนาระบบดจิ ทิ ลั เพอ่ื สำนักเทคโนโลยสี ารสนเทศกรม สนับสนนุ งานสุขภาพจิต สขุ ภาพจิต แนวคิดการประเมนิ ท่ีเก่ยี วข้องกบั ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 มีดงั ต่อไปน้ี 1) ความต้องการและความคาดหวงั ของผู้รบั บรกิ ารและผู้มสี ่วนได้ส่วนเสีย พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวธิ ีการบรหิ ารจัดการบ้านเมืองทีด่ ี พ.ศ. 2564 ได้กำหนดแนว ทางการปฏบิ ัติราชการ ม่งุ ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสดุ แกป่ ระชาชน โดยยดึ ประชาชนหรือผู้รบั บริการเป็นศูนย์กลาง (Citizen Centered) หน่วยงานต่าง ๆ จึงตอ้ งมีการศกึ ษาความตอ้ งการและความคาดหวังของผรู้ ับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อนำไปสู่การพัฒนา ปรับปรุงองค์การให้ดีขึ้น (สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบ ราชการ, ม.ป.ป.) วรัญญา เขยตุ้ย, ชัญญานุช ทิวะสิงห์, วลัยพร ราชคมน์ (2561) ได้ศึกษาเกี่ยวกับความ คาดหวังของผู้มารับบริการโรงพยาบาลทันตกรรม โดยให้ความหมายของความคาดหวังไว้ว่า หมายถึง ความ ต้องการ ความรู้สึก หรือความคิดอย่างมีวิจารณญาณต่อสิ่งใด ๆ โดยที่ความคาดหวังนัน้ อาจจะเปน็ คาดการณ์ อนาคตในสิ่งที่ดีหรือไม่ดีก็ได้ของผู้มารับบริการ นอกจากนั้นยังพบความสัมพันธ์ระหว่างความคาดหวังและ ความพึงพอใจต่อการให้บริการอีกด้วย เช่นเดียวกับงานวิจัยของ สำนักงานตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัย นเรศวร (2558) กล่าวว่า ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการรมาจากองค์ประกอบ 2 ส่วน คือ ความคาดหวังของ ผู้ใชบ้ ริการ และความประทบั ใจหลงั จากท่ไี ด้รบั บริการน้นั นอกจากนี้งานวิจัยของ พรชัย ดีไพศาลสกุล (2556) ได้ศึกษาเกี่ยวกับความคาดหวังของผู้รับบริการ ต่อคุณภาพบริการโรงพยาบาล โดยกล่าวถึงคุณภาพบริการไว้ในภาพรวมว่า หมายถึง “การได้รับการเอาใจใส่ ของบุคลากรทั้งหมดของโรงพยาบาลด้วยความรู้ความเชี่ยวชาญ รวมถึงการอำนวยความสะดวก และอัธยาศัย ไมตรีที่ดี” และจำแนกความคาดหวังต่อบริการไว้เป็น 9 ด้าน ได้แก่ (1) แพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญ วินิจฉัยได้ ตรงกับโรค สามารถทำให้ผู้ป่วยเชื่อมั่นและยอมรับสื่อสารภาษาที่สื่อความเข้าใจง่าย เป็นต้น (2) พยาบาล ท่ี มุ่งเน้นดา้ นการดูแล เอาใจใส่ มีความจรงิ ใจ และอัธยาศยั ท่ดี ีกบั ผ้ปู ่วย (3) เครอื่ งมอื และอปุ กรณท์ างการแพทย์ โดยใช้ในระดับที่เหมาะสม ราคาที่เหมาะสม มีการสื่อสารทำความเข้าใจกันไว้ก่อนในแผนการรักษาพยาบาล เป็นต้น (4) เภสัชกร ที่ให้ความสำคัญกบั การอธิบายรายละเอียด คุณสมบัติของยา วิธีการใช้ในรูปแบบ ต่าง ๆ การเก็บรักษายาให้มีคุณภาพดี ข้อควรระมัดระวงั ในการใชย้ า และควรมีการออกแบบฉลากผลิตภัณฑ์ คำเตือน บนฉลากยาต้องมีความชัดเจนสังเกตง่าย ตัวอักษรมีขนาดใหญ่และมีสีที่สะดุดสายตาของผู้ป่วย (5) สถานที่ และสิ่งอำนวยความสะดวก ทั้งบรรยากาศและความสะอาดของสถานท่ี ก็เป็นสิ่งสำคัญต่อการให้บริการ (6) ด้านชื่อเสียงและมาตรฐานการรับรอง ของโรงพยาบาลในระดับสากลต่าง ๆ เช่น JCI (Joint Committee International Accredit), HA (Hospital Accredit) จะเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สร้างความเชื่อมั่นในคุณภาพ บริการที่มีมาตรฐานได้ในเบื้องต้น (7) ความคุ้มค่า ประเมินได้จากความรู้สึกว่าได้รับการแก้ไขโรค มีอาการ ทุเลาลงจากการได้เข้าสู่ระบบบริการ มีความคืบหน้าในการรักษาที่สามารถอธิบายอาการโรคได้อย่างชัดเจน 37

โครงการประเมินแผนพัฒนาสุขภาพจติ แหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบตั ริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจิต ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) ถูกต้องแม่นยำ เป็นต้น (8) การประเมินราคาค่ารักษาพยาบาลการประเมินราคาก่อนการรักษาที่มีราคา ระดับสูงมีความสำคัญต่อการตัดสินใจเข้ารับการรักษา เนื่องจากบางกรณีผู้ป่วยและผู้รับบริการไม่มีการ จัดเตรียมสำรองเงินไว้ในกรณีฉุกเฉินเป็นการล่วงหน้า (9) บริการที่ประทับใจ การมีอัธยาศัยที่เป็นมิตร การ กล่าวคำทักทาย พดู จาที่สุภาพ แสดงความเคารพนบน้อม การแสดงถงึ การใหเ้ กียรติอยา่ งเต็มใจท่ีจะให้บริการ อำนวยความสะดวกอยา่ งเต็มที่ 2) การยอมรับและความเชอื่ มน่ั การยอมรับและความเชื่อมั่นขององค์การมีความสัมพันธ์กัน (อังค์วรา เพียรธรรม, 2559) โดยมีผู้ให้ ความหมายความเชื่อมั่นวา่ หมายถึง ความสามารถในการทำให้เกิดความเชื่อมั่นใหเ้ กิดขึ้นแกล่ ูกค้า ผู้ให้บริการ หรือพนักงานขององค์กร ความเชื่อม่ันอย่างแรงกล้าและการยอมรบั เป้าหมายและค่านิยม ขององค์การซึ่งเป็น ลักษณะของบุคคลที่มคี วามเชือ่ ด้านทัศนคติเชิงบวกต่อองค์การ และมีความผูกพันอย่างแท้จริงต่อค่านิยมและ เป้าหมายขององค์การ พร้อมสนับสนุนกิจการขององค์กรซ่ึงเป็น เป้าหมายของตนด้วยมีความเชื่อว่าองค์การ เป็นองค์กรที่ดีที่สุดที่ตนเองจะทำงานด้วยความภาคภูมิใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งขององค์การ โดยความเชื่อมั่นจะ เป็นพลังอำนาจอย่างหนึ่งที่สามารถเอาชนะความกังวลใจและความไม่แน่นอนได้ (ศศิกานต์ คล่องกิจการ, 2560) ในแง่ของความเชื่อมั่นต่อบริการ มีผู้ให้ความหมายว่าความเชื่อมั่น (Assurance) หมายถึง ผู้ให้บริการ สามารถสรา้ งความเชื่อม่นั ให้แก่ ผู้รบั บริการ โดยจะตอ้ งแสดงถึงความรู้ ทกั ษะ ความเชี่ยวชาญ ความสามารถ ในการให้บริการ (สายฝน เลิศพิทักษธรรม, 2558) มีงานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับความเชื่อมั่นของผู้รับบริการโดย ศึกษาจาก ความเชี่ยวชาญในวิชาชีพโดยแบ่งเป็น 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการจัดการความรู้ ด้านทักษะการ ปฏิบัติงาน ด้านการมีจิตสำนึกในการปฏิบัติหน้าที่ และด้านทัศนคติหรือเจตคติต่อวิชาชีพ (นันทนา ศรีพระ นาม, ศรีร่งุ รตั น์ สดุ สมบรู ณ์, และสลักจติ นิลผาย, 2557) 3) ประเดน็ ความเช่ยี วชาญและศูนยค์ วามเชีย่ วชาญดา้ นสุขภาพจติ และจติ เวช หน่วยงานด้านสุขภาพจติ ของกรมสขุ ภาพจติ เป็นศูนย์ความเชย่ี วชาญด้านสุขภาพจิตในแตล่ ะประเด็น ดังตารางที่ 7 ตารางท่ี 7 ศนู ย์ความเช่ยี วชาญและประเด็นความเชย่ี วชาญเฉพาะทาง หนว่ ยงาน ประเด็นความเปน็ เลิศเฉพาะทาง(19 ประเดน็ ) 1. สถาบันกลั ยาณ์ราชนครนิ ทร์ นิติจติ เวชศาสตร์ (Forensic Psychiatry) 2. สถาบนั สุขภาพจิตเด็กและวัยรนุ่ ราช สขุ ภาพจิตวัยร่นุ ( Adolescent Mental Health ) นครินทร์ 3. โรงพยาบาลยวุ ประสาทไวทโยปถมั ภ์ ออทซิ มึ (Autism) 4. สถาบันราชานุกลู ภาวะบกพร่องทางสติปัญญา (Intellectual disability) 5. สถาบันพฒั นาการเดก็ ราชนครินทร์ พัฒนาการชา้ (Delayed Development) 38

โครงการประเมินแผนพัฒนาสุขภาพจติ แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมินแผนปฏิบตั ิราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) หนว่ ยงาน ประเดน็ ความเปน็ เลศิ เฉพาะทาง(19 ประเดน็ ) 6. โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ โรคซมึ เศรา้ (Depression) 7. สถาบนั จิตเวชศาสตร์สมเด็จเจา้ พระยา สมองและจิตใจ (Brain and Mind) 8. โรงพยาบาลสวนสราญรมย์ สุขภาพจติ และจิตเวชสงู อายุ (Geriatric Mental Health and Psychiatry) 9. โรงพยาบาลจติ เวชขอนแก่นราชนครินทร์ ปอ้ งกันฆา่ ตวั ตาย (Suicide Prevention) 10. โรงพยาบาลจิตเวชสงขลาราชนครินทร์ วกิ ฤติสขุ ภาพจติ จากภยั พบิ ตั ิ (Trauma and Crisis Mental Health) 11. โรงพยาบาลสวนปรุง ปญั หาสุขภาพจิตจากแอลกอฮอล์ (Alcohol Related Mental Health Problem) 12. โรงพยาบาลจิตเวชนครพนมราช จติ เวชสารเสพติด (Addictive Psychiatry) นครินทร์ 13. โรงพยาบาลศรธี ญั ญา การฟ้นื ฟสู มรรถภาพทางจิตเวช (Psychiatric Rehabilitation) 14. โรงพยาบาลจิตเวชสระแก้วราชนครนิ ทร์ จิตเวชทางเลือก (Alternative Psychiatry) 15. โรงพยาบาลจิตเวชนครราชสีมาราช นครินทร์ สขุ ภาพจิตชมุ ชน (Mental Health care in Community) 16. โรงพยาบาลจติ เวชนครสวรรคร์ าชนครินทร์ จติ เภท (Schizophrenia) 17.โรงพยาบาลจิตเวชเลยราชนครินทร์ จิตเวชศาสตรว์ ัฒนธรรม (Transcultural Service) 18. สถาบันสขุ ภาพจิตเด็กและวัยรุ่นภาค สขุ ภาพจติ ชุมชน : เดก็ และวัยรุ่น (Community Mental ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื Health Service : Child and Adolescent) 19.สถาบันสขุ ภาพจติ เด็กและวัยรนุ่ ภาคใต้ สขุ ภาพจติ โรงเรยี น (School Mental Health Based Program) 2.4 ประเดน็ ในการประเมนิ แผนปฏบิ ัติราชการระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2561 -2565) ของกรม สุขภาพจติ วิสัยทัศน์ของกรมสุขภาพจิต คือ เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพจิต ด้วยระบบสุขภาพจิตดิจิทัล เพื่อ ประชาชนสุขภาพจิตดี และเจ้าหน้าที่มีความสุข มีเป้าประสงค์ของวิสัยทัศน์เมื่อสิ้นแผนฯ คือ ประการแรก งานสุขภาพจติ ของประเทศไทยกา้ วหนา้ สูก่ ารเป็น Mental Health 4.0 ประการทสี่ องประชาชนมีสุขภาพจิตดี มีสตปิ ญั ญาดี มคี วามรอบรูด้ า้ นสขุ ภาพจิต และประการที่สามบุคลากรกรมสขุ ภาพจิตมคี วามสุข ตัวชี้วดั และค่าเป้าหมายของวสิ ยั ทศั น์กรมสขุ ภาพจติ เมอื่ ส้นิ แผนฯ ได้แก่ 1) เด็กไทยมรี ะดบั สติปญั ญา เฉลย่ี (IQ ไม่ตำ่ กวา่ 100) 2) ร้อยละ 80 ของเดก็ ไทยมีความฉลาดทางอารมณ์อยู่ในเกณฑ์ปกติข้ึนไป 3) อัตรา 39

โครงการประเมินแผนพฒั นาสขุ ภาพจิตแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2561-2580) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2561-2565) และการประเมนิ แผนปฏิบัตริ าชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2561-2565) ของกรมสุขภาพจติ ในวาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) การฆ่าตัวตายสำเร็จ ไม่เกิน 6.3 ต่อประชากรแสนคน 4) ร้อยละ 85 ของคนไทยมีสุขภาพจิตดี และ 5) บคุ ลากรในสงั กดั กรมสุขภาพจิตมคี า่ เฉล่ียความสุขไมน่ อ้ ยกว่า 67 พันธกิจของกรมสุขภาพจิตคือ 1) สร้างการมีส่วนร่วมเพื่อให้ประชาชนในทุกกลุ่มวัยสามารถดูแล สุขภาพจิตของตนเอง 2) สนับสนุนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตครอบคลุมทุกมิติในทุกระดับ และ 3) พัฒนากลไกการดำเนินงานสุขภาพจิต เพื่อกำหนดทิศทางงานสุขภาพจิตของประเทศ ผ่านค่านิยมทั้ง 6 ประการของกรมสุขภาพจิตได้ แก่ 1) หัวใจบริการ (Service Mind, Public Mind) คือ การมีจิตใจพร้อม ให้บริการและมีจติ สาธารณะในการตอบสนองความตอ้ งการของผูร้ บั บริการ โดยยดึ ม่ันในประโยชน์สว่ นรวม 2) ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เสมอภาค (Efficiency, Effectiveness, Equity) คือ การทำงานโดยมุ่งผลสัมฤทธ์ิ มปี ระสิทธิภาพ มปี ระสิทธิผล และการปฏิบตั ิงานด้วยความเสมอภาค ถูกตอ้ งตามมาตรฐานวิชาชพี 3) สมั พันธ์ เครือข่าย (Network) คือ การพัฒนาเครือข่าย ประสานความสัมพันธ์ในการทำงานร่วมกบั เครือข่ายดว้ ยจิตใจ ที่เปิดกว้าง เรียนรู้รับฟังความคิดเห็นที่แตกต่าง เพื่อให้เกิดผลสำเร็จและมีความสุข 4) ทำงานเป็นทีม (Teamwork) คือ การทำงานเป็นทีม มีความสามัคคี การผนึกสายสัมพันธ์ การมีน้ำใจช่วยเพื่อนร่วมงาน การ ประสานใจและกาย บนพื้นฐานของการแบ่งปันความรัก ความเข้าใจ การให้อภัย และการมีส่วนร่วมในการ กำหนดเป้าหมาย 5) โปร่งใสตรวจสอบได้ (Accountability) คือ การปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริต โปร่งใสตรวจสอบได้ มีความรับผิดชอบต่อหน้าท่ี โดยยึดหลักธรรมาภิบาลเป็นบรรทัดฐาน และพร้อมเปิดเผย ข้อมูล และ 6) เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง Learning (Personal, Team, Organization) คือ การเรียนรู้อย่าง ตอ่ เน่อื งของบุคลากร ทีมงานและองค์กร ในการพฒั นาความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ ประสบการณ์ ตลอดจนองค์ ความรใู้ หม่ ๆ พรอ้ มทั้งยังต้องพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเน่ือง และกลา้ เผชิญกับสถานการณท์ ่ีเปล่ยี นแปลง ในส่วนนี้กล่าวถึงแผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2561 -2565) ของกรมสุขภาพจิต ซึ่งได้มีการ ปรับแผนใหม่ที่ใช้ดำเนินการในปี 2563-2565 เพื่อให้สอดคล้องกับแผนแม่บทตามยุทธศาสตร์ชาติ จึงได้ปรับ เป็น “แผนปฏิบตั ริ าชการระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2561 -2565) ของกรมสขุ ภาพจติ วาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 -2565)” ซึ่งมีลักษณะเป็นแผนยุทธศาสตร์ของกรมสุขภาพจิต ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด และกลยทุ ธ์ต่าง ๆ ตลอดจน แนวทางการดำเนนิ งานหลกั ๆ ที่สอดคลอ้ งกบั แผนแผนพัฒนาสุขภาพจติ แห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2561 - 2580) ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2561-2565) โดยแผนปฏบิ ัติราชการระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2561 - 2565) ของกรมสุขภาพจิต วาระแรก ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 -2565) มี 4 ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ดงั ต่อไปนี้ 2.5.1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพจิต ป้องกันและควบคุมปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหา สุขภาพจติ ตลอดชว่ งชีวติ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 มีเป้าประสงค์คือ ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับการส่งเสริมสุขภาพจิต ป้องกัน และควบคุมปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพจิต โดยจำแนกตัวชี้วัดเป้าประสงค์ออกเป็น 5 ช่วงวัย ได้แก่ ปฐมวยั วัยเรยี น วัยรนุ่ วัยทำงาน และวยั สูงอายุ ดงั ตารางท่ี 8 ยุทธศาสตร์นี้มีกลยุทธ์ในการดำเนินงาน 6 กลยุทธ์ ได้แก่ 1) พัฒนาเด็กและเยาวชนเพื่อเป็นคนไทย 4.0 (IQ/EQ/CPR) 2) ป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงของเด็กและเยาวชนในสังคมไทย 3) เสริมสร้าง 40