Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศิลปะ ป.6 22-5-64

ศิลปะ ป.6 22-5-64

Published by Wan Piti, 2021-11-07 09:51:07

Description: ศิลปะ ป.6 22-5-64

Search

Read the Text Version

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ ๒ เร่ือง องคป์ ระกอบศิลป์ ๕9 แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ ๓ เร่อื ง แสงเงาและนา้ หนกั หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ ๒ เรอ่ื ง องคป์ ระกอบศลิ ป์ เวลา ๑ ช่ัวโมง ชนั ประถมศึกษาปีที่ ๖ กลมุ่ สาระการเรยี นรูศ้ ลิ ปะ รายวิชาศลิ ปะ (ทศั นศลิ ป)์ 1. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ชีวดั ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่างานทศั นศลิ ป์ ถ่ายทอดความรู้สกึ ความคิดตอ่ งานศิลปะอย่างอิสระ ชนื่ ชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจาวนั ป. ๖/๓ สร้างงานทศั นศิลปจ์ ากรูปแบบ ๒ มติ ิ เปน็ ๓ มิติ โดยใชห้ ลักการของแสงเงาและนาหนัก ๒. สาระส้าคญั /ความคดิ รวบยอด แสงเงาและนาหนัก หมายถงึ จานวนความเขม้ อ่อนของสตี า่ ง ๆ และแสงเงาตามท่ีประสาทตา การที่จะทาให้ ภาพวาดจาก ๒ มิติ เป็นภาพ ๓ มิติได้นันผู้เรียนต้องรับรู้และเข้าใจหลักในการใช้แสงเงา เพื่อมาสร้างสรรค์งาน ทศั นศลิ ป์ใหเ้ กิดความสวยงามและเสมือนจรงิ ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ ความเขา้ ใจ (K) - อธิบายและเปรยี บเทียบความแตกตา่ งระหวา่ งภาพที่มีนาหนกั แสงเงากับภาพที่ไม่มีนาหนักแสงเงา 3.2 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) - สร้างสรรคผ์ ลงานทัศนศลิ ป์จาก ๒ มติ ิ เปน็ ภาพ ๓ มติ ิดว้ ยหลกั การของแสงและเงา 3.3 ดา้ นคณุ ลักษณะ เจตคติ คา่ นิยม (A) - นกั เรียนตระหนกั ถึงความความสวยงามของงานทัศนศลิ ป์ - นักเรียนทางานดว้ ยความรักและเพยี รพยายามในการสรา้ งสรรค์ผลงาน - นักเรียนเห็นคุณคา่ ของงานทศั นศิลป์ทมี่ ลี กั ษณะแสงเงาชัดเจน - นกั เรียนรกั ษาและเหน็ คุณค่าของอุปกรณ์ท่ใี ช้ในการทางาน ๔. สาระการเรียนรู้ ๔.๑ นาหนัก แสงเงา ๕. สมรรถนะส้าคัญของผ้เู รยี น ๕.๑ ความสามารถในการคิด - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะกระบวนการคดิ สร้างสรรค์ ๕.๒ ความสามารถในการส่อื สาร - ความสามารถในการใชภ้ าษาถา่ ยทอดความคิด ความเข้าใจ ความรสู้ กึ และทัศนคติของตนเอง ๖. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ ใฝ่เรียนรู้ ๖.๒ มุ่งมั่นในการทางาน 7. กจิ กรรมการเรยี นรู้

60 กจิ กรรมการเรยี นรู้ ช แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๓ รายวชิ า ศลิ ปะ (ทัศนศลิ ป์) หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ล้าดบั ขอบเขตเนอื หา/ ขันตอนการจดั เวลา ท่ี จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ การเรียนรู้ ที่ใช้ กิจกรรม ๑ ขันน้า ๑๐ 1. ครูสมมตุ ติ วั เองเ นาที พระอาทิตยโ์ ดยสวม พระอาทิตย์ แลว้ พูด นักเรียนว่าพระอาท แหลง่ กาเนิดแสง แล ว่า เมือ่ มแี สงเกิดขึน กบั แสงคือส่ิงใด 2. ครเู ดินรอบ ๆ ห แล้วใหน้ ักเรยี นแสด ทาท่าทางเหมือนวัต ทคี่ รเู ดินไปหา ซ่งึ ต้อ กับครู 3. ครถู ามคาถามว่า มีสว่ นสาคญั ในภาพ

คู่มือครแู ละแผนการจดั การเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ศลิ ปะ ป.๖) ชันประถมศกึ ษาปีที่ ๖ ๓ เรอ่ื ง แสงเงาและนา้ หนัก ๒ เรอื่ ง องค์ประกอบศลิ ป์ จา้ นวน ๑ ชั่วโมง แนวการจดั การเรยี นรู้ สื่อการเรยี นรู้ การประเมนิ การเรียนรู้ มครู กิจกรรมนกั เรียน - การถาม-ตอบ เป็น 1. นักเรยี นรว่ มกันตอบคาถาม มหน้ากาก วา่ สง่ิ ท่ีเกดิ ขึนตรงข้ามกบั แสง ดคยุ กับ คือเงา ทิตย์ คือ ล้วถามคาถาม นสิ่งทต่ี รงข้าม ห้องเรียน 2. นกั เรยี นร่วมกันแสดง ดงเปน็ เงา เปน็ เงา ทาท่าทางตา่ ง ๆ ตถุ หรือเพ่ือน ตามเพื่อนท่ีแสง(ครู)สอ่ งถงึ องอยูต่ รงข้าม าแสงและเงา 3. นกั เรียนตอบคาถามว่า พวาดอย่างไร แสงและเงามีส่วนสาคัญใน การทาให้ภาพวาดมี ความเสมือนจรงิ และมีมิติ

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๒ เรื่อง องค์ประกอบศิลป์ ลา้ ดบั ขอบเขตเนอื หา/ ขันตอนการจดั เวลา กจิ กรรมค ที่ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ การเรียนรู้ ท่ีใช้ ๒ 1. อธิบายและเปรียบเทยี บ ขันสอน 4. ครอู ธบิ ายเพมิ่ ว่า ความแตกตา่ งระหว่างภาพ ของแสงและเงามาใช ทีม่ นี าหนกั แสงเงากบั ภาพ ต้องคานึงถึงหลักควา ท่ีไม่มนี าหนักแสงเงา เสมอคือ สงและเงาต ขา้ มกนั เสมอ และใน ทังภาพจะต้องมที ิศท เป็นไปในทิศทางเดยี 5. ครูถามนักเรยี นว่า มีวิธีการ ระบายสอี ย ส่วนใดคอื แสง และส 10 1. ครเู ปิดภาพตวั อย นาที วาดภาพระบายสแี บ แสงเงา กบั ภาพทมี่ นี เงาชัดเจน แล้วใหน้ ัก เปรยี บเทยี บและระบ แตกต่างของทัง ๒ ภ

61 แนวการจดั การเรยี นรู้ สือ่ การเรยี นรู้ การประเมิน การเรยี นรู้ ครู กิจกรรมนกั เรียน - ตัวอย่างผลงาน - PowerPoint - แบบประเมิน การนาหลัก 4. นกั เรียนร่วมกนั ตอบคาถาม เร่อื งแสงเงาและ ชินงาน ชใ้ นภาพวาด วา่ ต้องระบายสีใหม้ ีนาหนกั เข้ม นาหนกั ามเปน็ จริง อ่อน นาหนักเขม้ คอื เงา และ ตอ้ งอยูต่ รง นาหนักอ่อนคือส่วนท่ีโดนแสง นภาพวาด ทางของแสง ยวกัน านักเรียน ยา่ งไรให้รู้ว่า ส่วนใดคือเงา ย่างผลงานท่ี 1. นกั เรยี นรว่ มกนั เปรียบเทียบ บบไม่มนี าหนกั ความแตกตา่ งของภาพทงั ๒ นาหนักแสง และระบุวา่ ภาพที่ ๑ ไมม่ ี กเรยี น นาหนกั แสงเงา ทาให้ภาพไม่มี บุความ มิติ ไม่เสมือนจริง ส่วนภาพท่ี ๒ ภาพ มนี าหนกั แสงเงา ชดั เจน ทาให้ ภาพมมี ิติและเสมือนจริง

๖๒ กิจกรรมค ล้าดับ ขอบเขตเนือหา/ ขนั ตอนการจัด เวลา ที่ จุดประสงค์การเรียนรู้ การเรียนรู้ ท่ใี ช้ ทมี่ า : https://www.pi /615093261599201664/ phC2V 2. ครูอธิบายเพม่ิ เติม ทาให้ภาพเสมือนจรงิ ต้องใชเ้ ทคนคิ การไล มีความเข้ม อ่อน ซ่งึ แสงและเงา ถา้ จะระ ทโ่ี ดนแสงเราควรไลส่ ออ่ น สว่ นท่ีเปน็ เงาให นาหนกั เขม้ 3. ครูหยิบผลส้มใหน้ ถามคาถามว่า นกั เรีย ใดบา้ ง

คูม่ ือครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ศิลปะ ป.๖) แนวการจดั การเรียนรู้ ส่อื การเรียนรู้ การประเมิน ครู กิจกรรมนกั เรียน การเรยี นรู้ interest.com/ /?nic_v2=1a5X มว่า วธิ ีการ 2. นกั เรียนตอบคาถามวา่ งและมีมิติ เห็นส้มสสี ้มเข้ม สเี หลือง สีขาว ลส่ ใี ห้ เป็นตน้ งสัมพันธ์กับ ะบายสภี าพ สใี หม้ นี าหนกั หไ้ ล่สดี ้วย นกั เรยี นดูแล้ว 3. นักเรยี นเตรียมอุปกรณ์ ยนเหน็ ส้มสี และผสมสโี ปสเตอร์

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๒ เร่ือง องคป์ ระกอบศลิ ป์ ลา้ ดบั ขอบเขตเนือหา/ ขนั ตอนการจดั เวลา ที่ จุดประสงค์การเรยี นรู้ การเรียนรู้ ทใ่ี ช้ กจิ กรรมค 3 2. สรา้ งสรรค์ผลงาน ขนั ปฏบิ ัติ 4. ครูอธบิ ายเพ่มิ เต ทัศนศิลปจ์ าก ๒ มิติ ความจริงแล้วเรามกั เปน็ ภาพ ๓ มติ ดิ ว้ ย ของวตั ถุต่าง ๆ บาง หลักการของแสงและเงา เหมือนคนอื่น เพราะ แสง และเงาในขณะ 5. ครสู าธติ การวาด โดยใช้เทคนิคสีโปสเ ให้มนี าหนกั ของแสง ให้นกั เรยี นเตรยี มอปุ ผสมสสี ม้ ใหม้ ีหลายน ส้มแดง ส้มเข้ม สม้ อ ๓๐ ครชู แี จงขันตอนการ นาที วาดผลไมเ้ สมอื นจรงิ เทคนคิ สีโปสเตอร์ ให้นกั เรียนร่างภาพ ทศิ ทางของแสงเงา นักเรียนผสมสีโปสเต ทกุ นาหนกั สตี ามผล เมอ่ื วาดเสรจ็ แล้วให ระบายสแี บบไล่สี

๖๓ แนวการจัดการเรียนรู้ ส่ือการเรยี นรู้ การประเมิน การเรยี นรู้ ครู กจิ กรรมนกั เรียน - ตวั อย่างผลงาน - แบบประเมนิ ติมวา่ ให้นักเรียนทากจิ กรรมวาด - PowerPoint ชนิ งาน กจะเห็นสี ผลไม้เสมือนจริง โดยใช้เทคนิค เรื่องแสงเงาและ งครังก็ไม่ สโี ปสเตอร์ ใหน้ กั เรยี นรา่ งภาพ นาหนัก ะขนึ อยู่กับ และกาหนดทิศทางของแสงเงา - สโี ปสเตอร์ ะนนั จากนนั ใหน้ กั เรยี นผสมสี ดภาพผลส้ม โปสเตอร์ให้ครบทุกนาหนักสี เตอร์ ตามผลไม้ทีเ่ ลือกไว้ เมื่อวาด งเงาสมจริง เสร็จแลว้ ใหน้ ักเรยี นระบายสี ปกรณ์ แบบไล่สี นาหนัก อ่อน รทากจิ กรรม ง โดยใช้ และกาหนด จากนนั ให้ ตอร์ใหค้ รบ ลไม้ทเ่ี ลอื กไว้ หน้ กั เรยี น

๖4 ล้าดบั ขอบเขตเนือหา/ ขนั ตอนการจัด เวลา ที่ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ การเรียนรู้ ทใี่ ช้ กิจกรรมค 4 3. ตระหนักถงึ คุณค่า ของผลงานทัศนศลิ ป์ ขันสรุป ๑๐ 1. ครพู ดู สรุปความร นาที และวิธกี ารทาภาพให ทฤษฎีแสงและเงา แ การใช้สโี ปสเตอร์ 2. ครูวจิ ารณ์ผลงาน พร้อมชแี นะแนวทาง แกไ้ ข

คมู่ ือครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ศิลปะ ป.๖) แนวการจัดการเรยี นรู้ ส่ือการเรยี นรู้ การประเมิน การเรยี นรู้ ครู กจิ กรรมนกั เรียน - ถาม-ตอบ รูเ้ รื่องเทคนคิ 1. นักเรียนนาเสนอผลงาน หส้ มจริงตาม 2. นักเรยี นอธิบายความรู้สึก และเทคนิค หรือความประทบั ใจจากผลงาน ทีน่ ักเรยี นทา พรอ้ มบอก นนกั เรยี น แนวทางและการนาไปใช้ งการปรับปรุง ในผลงานครงั หน้า

หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๒ เร่ือง องค์ประกอบศิลป์ ๖5 8. สอ่ื การเรยี นรู้/แหล่งเรยี นรู้ ๘.๑ PowerPoint ๘.๒ ตวั อยา่ งผลงาน ๘.๓ อุปกรณว์ าดเขียน สมดุ วาดเขียน สโี ปสเตอร์ 9. การประเมนิ ผลรวบยอด ชินงานหรือภาระงาน เกณฑ์การประเมนิ ผลชินงานหรือภาระงาน ประเมนิ ผลงานเรอ่ื งแสงเงาและน้าหนกั : กา้ หนดเกณฑ์ แนวในการใหค้ ะแนน และคา้ อธิบายคณุ ภาพ นา้ หนกั คะแนน ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรงุ เกณฑ์ 5 4 3 2 1. การวางแผนก่อน การปฏิบตั ิงานอย่าง การปฏิบัตงิ านอย่าง การปฏิบัติงานอย่าง ไมม่ ีการวางแผน การปฏบิ ัติชนิ งาน มลี าดบั ขันตอน มลี าดบั ขนั ตอน มีลาดับขนั ตอน ในการปฏิบตั ิงาน สามารถควบคุมเวลา สามารถควบคมุ เวลา สามารถควบคุมเวลา ให้มลี าดบั ขันตอน การทางานได้อยา่ ง ได้ แตแ่ บง่ เวลา ได้ แต่แบ่งเวลา และไม่ควบคุมเวลา เหมาะสม ผิดพลาดเลก็ นอ้ ย ผดิ พลาด การปฏิบตั ิงาน 2. ความถกู ต้อง สามารถทางานได้ สามารถทางานได้ สามารถทางานได้ ทางานไม่ตรงตาม สมบูรณค์ รบถว้ นของ อย่างถูกต้องตาม ถูกตอ้ งตามหวั ข้อ ถกู ต้องตามหัวข้อ หวั ข้อหรอื คาชีแจง ชนิ งาน หวั ข้อหรอื คาชแี จง หรือคาชีแจงกาหนด หรอื คาชแี จงกาหนด ทกี่ าหนด กาหนดครบถว้ น แตผ่ ดิ พลาดบ้าง แตผ่ ิดพลาดปานกลาง สมบรู ณ์ เล็กนอ้ ย 3. ความประณตี มคี วามสร้างสรรค์ มคี วามสร้างสรรค์ มีความสร้างสรรค์ มคี วามสร้างสรรค์ สะอาดสวยงาม และ สวยงาม ไม่ลอกเลยี น สวยงาม ไมล่ อก สวยงาม มลี อกเลียน สวยงาม แต่มี ดงึ ดดู ใจ แบบ มกี ารนาเสนอ เลยี น แบบ มกี าร แบบเล็กน้อย การลอกเลียนแบบ ที่น่าสนใจ สะอาด นาเสนอ ท่นี า่ สนใจ มีการนาเสนอที่ ทาให้การนาเสนอ เรียบร้อย แต่ขาดความ น่าสนใจ แตข่ าด ไม่น่าสนใจ สะอาดเรียบร้อย ความสะอาดเรยี บร้อย 4. การสง่ งานตรง สามารถทางานเสร็จ สามารถทางาน สามารถทางานเสรจ็ ไม่ส่งงานตามเวลา ตามเวลาท่กี าหนด สมบูรณ์ ส่งไดต้ รง เสรจ็ สมบูรณ์ สง่ ได้ สมบูรณ์ สง่ ได้แต่ไม่ ทีก่ าหนดทังสามครงั ตามเวลาทีก่ าหนด แต่ไม่ตามเวลาท่ี ตามเวลาที่กาหนด ภายในชนั เรยี นได้ กาหนดภายในชนั ภายในชนั เรียนใน เรียนในครังแรก ครงั แรก ต้องมี ต้องมีการนดั หมาย การนัดหมายให้สง่ ใน ให้สง่ ในครงั ถัดไป ครังท่ี 3 คะแนนเต็ม 20 คะแนน รวมคะแนน..................คะแนน ลงชื่อผปู้ ระเมิน...........................................

๖6 คู่มอื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ศิลปะ ป.๖) ช่วงคะแนน เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ๑๖-๒๐ ๑๑-๑๕ ระดับคุณภาพ ๖-๑๐ ดมี าก ๑-๕ ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ หมายเหตุ ระดับดีขึนไปจงึ ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์ แบบประเมินพฤติกรรม รายการประเมนิ ลา้ ดับ ชื่อ-นามสกุล ม่งุ ม่ันตงั ใจ เพยี รพยายาม รบั ผดิ ชอบ รักษาและเห็น ตรงต่อเวลา ที่ ทา้ งาน อดทน คณุ ค่าของ อปุ กรณ์ ๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔ เกณฑ์การประเมนิ พฤตกิ รรม รายการประเมินผล ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง ๔ ๓ ๒๑ ๑. นกั เรียนตังใจ ผเู้ รยี นมีความมงุ่ มั่น ผเู้ รยี นมคี วามมงุ่ ม่ัน ผู้เรียนมีความม่งุ ม่นั ผ้เู รยี นไม่มคี วาม ทางานที่ได้รบั ตงั ใจทางานทไ่ี ด้รับ ตงั ใจทางานที่ไดร้ ับ ตังใจทางานทไ่ี ด้รบั ม่งุ มั่นตงั ใจทางาน มอบหมาย มอบหมายจนสาเร็จ มอบหมายจนสาเรจ็ มอบหมายจนสาเร็จ ทไี่ ด้รับมอบหมาย ตลอดทงั คาบ แตม่ คี ยุ เล่นบ้าง มคี ยุ เล่น และไมต่ ังใจ จนสาเร็จ ๒. ผ้เู รียนทางาน ด้วยความเพียร ผู้เรยี นทางานด้วย ทางานบา้ ง ผเู้ รยี นไม่มคี วาม พยายาม อดทน ความเพียรพยายาม เพยี รพยายาม เพอื่ ทาใหเ้ สร็จ อดทนเพอ่ื ทาให้เสร็จ ผ้เู รยี นทางานดว้ ย ผู้เรยี นทางานดว้ ย อดทนเพือ่ ทางาน ตามเป้าหมาย ตามเป้าหมายตลอด ความเพยี รพยายาม ความเพียรพยายาม ให้เสร็จตาม ทงั คาบ อดทนเพ่อื ทาให้ อดทนเพ่ือทาใหเ้ สรจ็ เปา้ หมาย เสร็จตามเป้าหมาย ตามเป้าหมายบางครงั แตค่ ยุ เล่นกันบ้าง มีคุยเลน่ และไมส่ นใจ งานบา้ ง

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๒ เรอื่ ง องคป์ ระกอบศลิ ป์ ๖7 รายการประเมนิ ผล ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ ๑ ๔๓ ๒ ผเู้ รยี นสง่ งานช้า ๓. ผเู้ รยี นมคี วาม ผู้เรียนส่งงานตรงตาม ผเู้ รยี นสง่ งานชา้ ผเู้ รยี นสง่ งานช้า 3 วันขึนไป รบั ผิดชอบส่งงาน เวลาท่ีกาหนด 1 วัน 2 วนั ตรงตามเวลาที่ ผู้เรียนไมเ่ กบ็ และ กาหนด ผเู้ รียนเกบ็ และดูแล ผู้เรียนดูแลอปุ กรณ์ ผู้เรียนเกบ็ และดูแล ไม่ดแู ลอปุ กรณท์ ี่ อปุ กรณ์ทีใ่ ชใ้ น ที่ใช้ในการทางาน อุปกรณ์ที่ใช้ใน ใชใ้ นการทางาน ๔. ผ้เู รียนรักษาและ การทางานทุกชนิ ทกุ ชนิ แต่เก็บไม่ การทางานบางชนิ เหน็ คุณค่าของ อยา่ งเรยี บร้อย เรียบรอ้ ย ผู้เรยี นเขา้ เรียนชา้ อปุ กรณ์ทีใ่ ชใ้ นการ ผเู้ รียนเข้าเรียนตรง ผู้เรียนเขา้ เรียนช้า ผู้เรยี นเข้าเรียนชา้ 30 นาทเี ปน็ ตน้ ทางาน เวลา 10-15 นาที 15-20 นาที ไป ๕. ผเู้ รียนเข้าเรียน ตรงตอ่ เวลา ช่วงคะแนน เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ ๑๖-๒๐ ๑๑-๑๕ ระดบั คณุ ภาพ ๖-๑๐ ดีมาก 1-5 ดี พอใช้ ควรปรับปรุง หมายเหตุ ระดับดีขนึ ไปจึงถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

๖8 คูม่ ือครแู ละแผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ศิลปะ ป.๖) 10. บันทึกผลหลังสอน ผลการจดั การเรยี นการสอน ............................................................................................................................. ............................................................ ........................................................................................................................................................................ ................. ................................................................................................................. ........................................................................ ความสาเร็จ ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ................................................................................................................................................................................. ........ ปัญหาและอปุ สรรค ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ข้อจากดั การใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้ และขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการปรับปรุงแกไ้ ข ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................................... .......................................... ลงชื่อ......................................................ผู้สอน (..........................................................) วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. ............. 11. ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผ้บู รหิ ารหรือผทู้ ไี่ ด้รับมอบหมาย ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ลงชื่อ ...................................................... ผู้ตรวจ (..........................................................) วนั ท่ี .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๒ เรือ่ ง องค์ประกอบศลิ ป์ 69 หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี ๒ แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ ๔ เรื่อง รปู และพน้ื ทว่ี ่าง เวลา ๑ ช่วั โมง กลุม่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ เร่อื ง องคป์ ระกอบศลิ ป์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ รายวชิ าศลิ ปะ (ทัศนศิลป์) 1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวช้ีวดั ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่างานทศั นศลิ ป์ ถา่ ยทอดความรู้สึก ความคิดตอ่ งานศิลปะอย่างอสิ ระ ชน่ื ชม และประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจาวนั ป. ๖/๕ สรา้ งสรรคง์ านทัศนศิลป์โดยใช้หลักการ ของรูปและพน้ื ท่วี า่ ง ๒. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด พ้ืนทีว่ า่ ง (Space) หรอื ชอ่ งไฟ หมายถงึ บรเิ วณท่เี ป็นความว่างไม่ใช่ส่วนที่เป็นรูปทรง หรือเน้ือหาในการจัด องค์ประกอบใดก็ตามถ้าปล่อยให้มีพื้นท่ีว่างมากและให้มีรูปทรงน้อย การจัดนั้นจะให้ความรู้สึกอ้างว้าง โดดเดี่ยว ในทางตรงกันข้าม ถ้าให้มีรูปทรงมากหรือเนื้อหามาก โดยไม่ปล่อยให้มีพื้นท่ีว่างเลยก็จะให้ความรู้สึกอึดอัด คับแคบ ดังนน้ั การจัดวางในอัตราส่วนทพี่ อเหมาะก็จะให้ความรสู้ กึ ท่ีพอดีทาให้ไดภ้ าพทไ่ี ดส้ ัดส่วนงดงาม ๓. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3.1 ด้านความรู้ ความเขา้ ใจ (K) - อธบิ ายความหมายของพื้นท่วี ่างในงานทัศนศลิ ป์ได้ - เปรยี บเทยี บความแตกต่างระหวา่ งผลงานทีม่ ีพ้นื ที่ว่างนอ้ ยและพนื้ ท่วี ่างมาก 3.2 ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) - สรา้ งสรรค์ผลงานจากการจดั พน้ื ท่ีวา่ งในงานทศั นศิลป์ 3.3 ด้านคณุ ลักษณะ เจตคติ ค่านยิ ม (A) - นกั เรียนตระหนกั ถงึ ความความสวยงามของงานทัศนศลิ ป์ - นกั เรยี นทางานดว้ ยความรักและเพยี รพยายามในการสร้างสรรค์ผลงาน - นักเรียนเหน็ คุณค่าของงานทัศนศิลปท์ ี่มีลกั ษณะแสงเงาชัดเจน - นักเรยี นรักษาและเห็นคุณคา่ ของอุปกรณท์ ่ีใชใ้ นการทางาน ๔. สาระการเรียนรู้ ๔.๑ รปู และพืน้ ท่วี ่าง ๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น ๕.๑ ความสามารถในการคิด - ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ - ทักษะกระบวนการคดิ สร้างสรรค์ ๕.๒ ความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการใชภ้ าษาถา่ ยทอดความคิด ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนคติของตนเอง ๖. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ๖.๑ ใฝ่เรียนรู้ ๖.๒ มุ่งมน่ั ในการทางาน 7. กิจกรรมการเรยี นรู้

๗0 กิจกรรมการเรยี นรู้ ช แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี รายวิชา ศลิ ปะ (ทัศนศิลป)์ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ลาดับ ขอบเขตเนื้อหา/ ขั้นตอนการจัด เวลา ท่ี จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ทใ่ี ช้ กิจกรรมค ๑ ขนั้ นา ๑๐ 1. ครใู หน้ ักเรียนเลน่ เ นาที โดยครเู ปดิ ภาพที่ดูได้ ถามนกั เรียนว่า นักเรยี อะไร

คู่มือครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ศิลปะ ป.๖) ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๖ สื่อการเรียนรู้ การประเมิน ๔ เร่อื ง รูปละพ้นื ที่วา่ ง การเรยี นรู้ ๒ เรอ่ื ง องค์ประกอบศลิ ป์ จานวน ๑ ช่วั โมง - ตวั อย่าง ผลงาน - การถาม-ตอบ แนวการจัดการเรียนรู้ - PowerPoint เรอ่ื ง รปู และ ครู กจิ กรรมนกั เรยี น พืน้ ทวี่ า่ ง เกมทายภาพ 1. นักเรียนร่วมกนั เลน่ เกมดู ๒แบบ แลว้ ภาพ ๒ นัย แล้ววิเคราะหภ์ าพ ยนเห็นภาพ

หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๒ เรอื่ ง องค์ประกอบศลิ ป์ กิจกรรม ลาดบั ขอบเขตเนือ้ หา/ ข้นั ตอนการจัด เวลา ที่ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ การเรยี นรู้ ท่ใี ช้ ทม่ี า : https://www.baa com/library2/extension /01.html 2. ครถู ามนักเรียนว สว่ นใดคือรปู สว่ นใด 3. ครูให้นกั เรยี นทกุ แลว้ ให้ทกุ คนขยบั มา ไมใ่ หม้ ีพ้นื ทว่ี ่าง แล้ว วา่ รู้สกึ อย่างไร 4. ครถู ามคาถามนกั นักเรียนจะวาดภาพอ ไม่ให้ภาพดอู ึดอัดเกิน

71 แนวการจัดการเรียนรู้ ส่อื การเรียนรู้ การประเมิน มครู กจิ กรรมนักเรยี น การเรียนรู้ anjomyut. n2/gestalt_theory า่ จากภาพ 2. นักเรียนรว่ มกันตอบคาถามวา่ ดคือพนื้ ท่ีว่าง ส่วนส่ีเป็นภาพคือรปู สว่ นท่ีเปน็ สขี าวโล่ง ๆ คือ พืน้ ทวี่ า่ ง กคนยืนข้ึน 3. นกั เรียนตอบคาถามวา่ าตดิ ๆ กัน รสู้ กึ อึดอัด วถามนักเรียน กเรียนว่า 4. นักเรยี นตอบคาถามว่า อยา่ งไร หากตอ้ งการให้ภาพวาดรู้สึกโล่ง นไป สบายตา ไม่ดูอดึ อัดเกนิ ไป ควรวาดภาพให้มีพน้ื ท่ีวา่ ง

72 ลาดบั ขอบเขตเน้ือหา/ ขนั้ ตอนการจัด เวลา กจิ กรรม ที่ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ การเรยี นรู้ ทใ่ี ช้ ๒ 1. อธบิ ายความหมายของ ขน้ั สอน ๑๐ 1. ครูเปดิ ภาพตวั อย พน้ื ท่ีว่างในงานทศั นศิลป์ได้ นาที ที่มรี ูปและพน้ื ที่วา่ งแ 2. เปรียบเทียบความ และภาพที่ไม่มพี ื้นที่ว แตกต่างระหว่างผลงาน ให้นักเรียนเปรยี บเท ทมี่ ีพ้นื ที่ว่างน้อยและ บอกความรสู้ ึก พ้ืนที่วา่ งมาก 2. ครูถามนกั เรียนว มีวิธแี กไ้ ขภาพที่ไมม่ ให้มพี ื้นทว่ี ่างได้อย่าง 3. ครูถามคาถามว่าห วาดภาพแล้วมพี ้ืนท่ีว ส่งผลอยา่ งไรบ้าง 4. ครอู ธบิ ายเพ่มิ เติม ควรจัดภาพใหม้ ีรูปแ ทีส่ มั พนั ธก์ ัน คือไมใ่

คูม่ อื ครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ศลิ ปะ ป.๖) แนวการจดั การเรียนรู้ ส่ือการเรยี นรู้ การประเมนิ มครู กิจกรรมนักเรยี น การเรียนรู้ ย่างผลงาน 1. นักเรียนรว่ มกันเปรยี บเทียบ - ตัวอย่าง - แบบประเมนิ แบบเหมาะสม ความแตกต่างของภาพทัง้ ๒ ผลงาน ชน้ิ งาน วา่ งเลย และระบุวา่ ภาพท่ีมีพ้นื ที่ว่าง - PowerPoint ทยี บและ เหมาะสมทาให้ภาพสบายตา เร่ืองรปู และ และมจี ุดเดน่ ส่วนภาพที่ไม่มี พืน้ ทีว่ ่าง ่า นกั เรียน พ้นื ทวี่ ่างเลยจะทาใหภ้ าพ มีพ้นื ท่วี า่ ง รสู้ ึกอึดอัด งไรบา้ ง 2. นักเรยี นตอบคาถามวา่ สรา้ งพน้ื ท่วี ่างในรูปแทน เชน่ หากนักเรียน วาดภาพซอ้ นทับ รปู ต่าง ๆ วางเกินไปจะ แลว้ ระบายสใี หอ้ ่อน หรอื สว่างข้นึ เพอื่ ไม่ให้ภาพดอู ึดอัด หรือวธิ ีแก้ มวา่ ในภาพวาด อกี วิธี คอื การลดขนาดรปู ลง และพนื้ ท่ีวา่ ง จะทาให้มีพืน้ ทวี่ ่างมากขนึ้ ใหม้ ีพืน้ ทว่ี ่าง 3. นกั เรยี นตอบคาถามวา่ หากมีพ้นื ทว่ี า่ งในภาพมากเกินไป จะทาใหภ้ าพโล่งเกินไป เหมอื น งานที่ยงั ไมเ่ สรจ็ สมบูรณ์

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๒ เรอื่ ง องคป์ ระกอบศลิ ป์ ลาดับ ขอบเขตเนื้อหา/ ขั้นตอนการจัด เวลา กิจกรรม ที่ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ การเรยี นรู้ ท่ีใช้ มากหรอื น้อยเกินไป สรุปได้ว่า ไมว่ าดภาพ ใหญ่ หรือเล็กเกินไป ภาพท่ีวาดเรียกว่ารูป คอื พ้ืนหลัง ท้ังสองอ สมั พนั ธก์ นั ซึ่งขน้ึ อยู่ก ต้องการใหภ้ าพรสู้ กึ อ 5. ครูสาธติ การวาดภ ดว้ ยเทคนคิ Doodle อธบิ ายข้ันตอนการท 3 3. สรา้ งสรรคผ์ ลงานจากการ ข้ันปฏิบตั ิ ๓๐ ครูชี้แจงขนั้ ตอนการ จดั พ้ืนท่ีว่างในงานทัศนศิลป์ นาที วาดDoodle Art หัว ที่เป็นฮโี ร่ของฉนั โด แบ่งครึง่ กระดาษแน เป็น ๒ ฝ่ัง ฝัง่ แรกใช Doodle Art แบบท น้อยมาก คือวาดการ

73 แนวการจดั การเรยี นรู้ ส่ือการเรยี นรู้ การประเมิน การเรยี นรู้ มครู กิจกรรมนักเรียน หรอื อาจจะ พให้มขี นาด ปนัน้ เอง เพราะ ป สว่ นพ้นื ทวี่ า่ ง อย่างควรจะ กบั นกั เรยี นวา่ อย่างไร ภาพการต์ ูน 4. นกั เรียนสังเกตวเิ คราะหภ์ าพ e Art และ ทค่ี รูวาดบนกระดานและนกั เรียน ทางานควร เตรียมอุปกรณ์ การทางาน Doodle art รทากิจกรรม ให้นกั เรยี นทากจิ กรรมวาด - ตวั อย่าง - แบบประเมิน วข้อ การ์ตนู ดยใหน้ ักเรียน Doodle Art หัวข้อ การต์ นู ผลงาน ชิ้นงาน นวนอน ช้เทคนิค ที่เปน็ ฮโี ร่ของฉนั โดยใหน้ กั เรียน - PowerPoint ท่ีมีพื้นท่วี ่าง รต์ ูนติด ๆ กนั แบ่งครึง่ กระดาษแนวนอน เรื่องรูปและ เป็น ๒ ฝั่ง ฝั่งแรกใช้เทคนคิ พน้ื ท่วี ่าง Doodle Art แบบทมี่ ีพื้นท่วี ่าง - สโี ปสเตอร์ นอ้ ยมาก คือวาดการ์ตูนติด ๆ กนั

74 ลาดับ ขอบเขตเนือ้ หา/ ขน้ั ตอนการจดั เวลา กจิ กรรม ที่ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ การเรียนรู้ ที่ใช้ อกี ฝง่ั วาดการ์ตนู แบ ตดั เสน้ และระบายดว้ ทั้งสองฝ่งั 4 4. ตระหนกั ถงึ คุณค่าของ ขน้ั สรุป ๑๐ 1. ครพู ูดสรุปความร ผลงานทัศนศลิ ป์ นาที รูปและพื้นทว่ี ่างด้วย Doodle Art 2. ครวู ิจารณ์ผลงาน ชี้แนะแนวทางการป

คูม่ อื ครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ศิลปะ ป.๖) แนวการจดั การเรียนรู้ สือ่ การเรียนรู้ การประเมิน การเรียนรู้ มครู กจิ กรรมนกั เรยี น บบมีพืน้ ท่วี ่าง - ถาม-ตอบ วยสไี ม้ อีกฝ่งั วาดการ์ตูนแบบมีพน้ื ที่ว่าง ตัดเส้นและระบายดว้ ยสไี ม้ รเู้ ร่ือง การใช้ ทั้งสองฝง่ั และเปรยี บเทียบ ยเทคนิค ผลงานทง้ั สองฝ่งั วา่ ใหค้ วามรู้สึก แตกตา่ งกนั 1. นักเรยี นนาเสนอผลงาน นนักเรียนพรอ้ ม 2. นกั เรียนอธบิ ายความร้สู ึก ปรับปรุงแก้ไข หรอื ความประทับใจจากผลงาน ทน่ี กั เรียนทา พร้อมบอกแนวทาง และการนาไปใช้ในผลงาน ครัง้ หน้า

หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๒ เรอื่ ง องคป์ ระกอบศิลป์ 75 8. ส่ือการเรียนรู้/แหล่งเรยี นรู้ ๘.๑ PowerPoint เรอื่ งรูปและพน้ื ที่วา่ ง ๘.๒ ตัวอยา่ งภาพที่มี ๒ นยั ยะ ๘.๓ อปุ กรณว์ าดเขียน สมุดวาดเขียน สีโปสเตอร์ 9. การประเมนิ ผลรวบยอด ช้ินงานหรอื ภาระงาน เกณฑ์การประเมินผลชน้ิ งานหรือภาระงาน ประเมินผลงานเรอ่ื งรปู และพน้ื ทว่ี า่ ง : กาหนดเกณฑ์ แนวในการใหค้ ะแนน และคาอธิบายคณุ ภาพ นา้ หนักคะแนน ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง เกณฑ์ 5 4 32 1. การวางแผน การปฏิบตั งิ านอย่าง การปฏบิ ตั งิ านอยา่ ง การปฏิบตั งิ านอย่าง ไม่มีการวางแผนใน กอ่ นการปฏบิ ตั ิ มีลาดับข้ันตอน การปฏบิ ัติงานใหม้ ี ชิน้ งาน มลี าดับข้ันตอน มลี าดบั ขั้นตอน สามารถควบคุมเวลา ลาดบั ขัน้ ตอน ได้ แตแ่ บ่งเวลา และไมค่ วบคมุ เวลา 2. ความถกู ตอ้ ง สามารถควบคุมเวลา สามารถควบคมุ เวลา ผิดพลาด การปฏบิ ัติงาน สมบูรณ์ครบถว้ น สามารถทางานได้ ทางานไม่ตรงตาม ของช้นิ งาน การทางานได้อยา่ ง ได้ แตแ่ บง่ เวลา ถกู ต้องตามหัวข้อหรือ หวั ขอ้ หรือคาชี้แจง คาช้ีแจงกาหนด ทีก่ าหนด 3. ความประณีต เหมาะสม ผิดพลาดเลก็ นอ้ ย แต่ผดิ พลาดปานกลาง สะอาดสวยงาม มีความสรา้ งสรรค์ และดงึ ดูดใจ สามารถทางานได้ สามารถทางานได้ มีความสร้างสรรค์ สวยงาม แตม่ กี าร สวยงาม ลอกเลยี นแบบ ทาให้ 4. การส่งงานตรง อยา่ งถูกต้องตาม ถกู ต้องตามหัวข้อ มีลอกเลียนแบบ การนาเสนอ ตามเวลาท่กี าหนด เล็กน้อย มีการ ไม่น่าสนใจ หัวขอ้ หรอื คาช้ีแจง หรอื คาชแี้ จงกาหนด นาเสนอท่นี ่าสนใจ แตข่ าดความสะอาด ไม่สง่ งานตามเวลา กาหนดครบถว้ น แต่ผดิ พลาดบ้าง เรยี บรอ้ ย ที่กาหนดทั้งสามคร้งั สามารถทางานเสร็จ สมบรู ณ์ เล็กน้อย สมบูรณ์ สง่ ได้แต่ไม่ ตามเวลาทีก่ าหนด มคี วามสรา้ งสรรค์ มีความสร้างสรรค์ ภายในชั้นเรียนในครง้ั แรก ตอ้ งมีการนัด สวยงาม สวยงาม หมายใหส้ ง่ ในครงั้ ท่ี 3 ไม่ลอกเลียนแบบ ไมล่ อกเลยี นแบบ มกี ารนาเสนอที่ มกี ารนาเสนอที่ นา่ สนใจ สะอาด น่าสนใจ แตข่ าด เรยี บร้อย ความสะอาด เรียบร้อย สามารถทางานเสร็จ สามารถทางาน สมบรู ณ์ สง่ ไดต้ รง เสรจ็ สมบรู ณ์ สง่ ได้ ตามเวลาท่ีกาหนด แตไ่ มต่ ามเวลาที่ ภายในชั้นเรยี นได้ กาหนดภายใน ชัน้ เรียนในครงั้ แรก ต้องมีการนดั หมาย ใหส้ ง่ ในครัง้ ถัดไป คะแนนเต็ม 20 คะแนน รวมคะแนน..................คะแนน ลงช่อื ผ้ปู ระเมนิ ...........................................

๗6 คมู่ ือครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ศิลปะ ป.๖) เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ ๑๖-๒๐ ดมี าก ๑๑-๑๕ ดี ๖-๑๐ พอใช้ ๑-๕ ควรปรบั ปรุง หมายเหตุ ระดับดีขน้ึ ไปจงึ ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์ แบบประเมินพฤติกรรม รายการประเมนิ ลาดับ ชอื่ -นามสกลุ มุ่งมั่นตงั้ ใจ เพยี รพยายาม รับผดิ ชอบ รกั ษาและเห็น ตรงต่อเวลา ที่ ทางาน อดทน คุณค่าของ อุปกรณ์ ๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔ เกณฑ์การประเมนิ พฤติกรรม รายการ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ประเมนิ ผล ๔ ๓ ๒ ๑ ๑. นักเรยี นตง้ั ใจ ผเู้ รียนมคี วามมงุ่ มั่น ผูเ้ รียนมีความมงุ่ มนั่ ผู้เรียนมคี วามมุ่งม่ัน ผเู้ รียนไม่มคี วาม ทางานท่ีไดร้ บั ต้งั ใจทางานทไ่ี ดร้ บั ต้ังใจทางานที่ไดร้ ับ ต้งั ใจทางานทไ่ี ดร้ ับ มุ่งมน่ั ต้งั ใจทางาน มอบหมาย มอบหมายจนสาเรจ็ มอบหมายจนสาเร็จ มอบหมายจนสาเรจ็ ท่ีได้รบั มอบหมาย ตลอดท้ังคาบ แตม่ ีคุยเล่นบา้ ง มคี ยุ เล่น และไม่ต้ังใจ จนสาเร็จ ทางานบ้าง ๒. ผเู้ รยี นทางาน ผูเ้ รยี นทางานดว้ ย ผเู้ รยี นทางานดว้ ย ผ้เู รียนทางานด้วย ผ้เู รียนไมม่ ีความ ความเพยี รพยายาม ความเพียรพยายาม เพียรพยายาม ด้วยความเพียร ความเพยี รพยายาม อดทนเพื่อทาให้เสรจ็ อดทนเพือ่ ทาให้เสรจ็ อดทนเพื่อทางาน ตามเป้าหมาย แต่คุย ตามเป้าหมายบางครง้ั ใหเ้ สร็จตาม พยายาม อดทน อดทนเพอ่ื ทาให้ เลน่ กนั บา้ ง มีคุยเล่นและไม่สนใจ เปา้ หมาย งานบ้าง เพื่อทาใหเ้ สร็จตาม เสรจ็ ตามเปา้ หมาย ผเู้ รียนสง่ งานช้า ผูเ้ รียนสง่ งานช้า ผู้เรียนส่งงานชา้ 1 วนั 2 วัน 3 วนั ข้ึนไป เปา้ หมาย ตลอดทง้ั คาบ ๓. ผเู้ รยี นมคี วาม ผเู้ รียนสง่ งานตรง รับผดิ ชอบสง่ งาน ตามเวลาท่ีกาหนด ตรงตามเวลาที่ กาหนด

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ ๒ เรือ่ ง องค์ประกอบศลิ ป์ ๗7 รายการ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ ประเมินผล ๔ ๓ ๒ ๑ ๔. ผเู้ รียนรกั ษา ผเู้ รยี นเกบ็ และดูแล ผเู้ รยี นดแู ลอุปกรณท์ ่ี ผเู้ รียนเก็บและดูแล ผ้เู รยี นไมเ่ กบ็ และ และเหน็ คณุ ค่าของ อุปกรณ์ทใ่ี ช้ในการ ใช้ในการทางานทุก อปุ กรณ์ที่ใชใ้ นการ ไมด่ แู ลอุปกรณ์ทใ่ี ช้ อุปกรณ์ท่ใี ช้ในการ ทางานทุกช้ินอย่าง ชน้ิ แตเ่ กบ็ ไม่ ทางานบางชนิ้ ในการทางาน ทางาน เรียบรอ้ ย เรยี บร้อย ๕. ผเู้ รยี นเขา้ เรยี น ผ้เู รยี นเขา้ เรียนตรง ผเู้ รียนเขา้ เรียนช้า ผเู้ รยี นเขา้ เรียนชา้ ผเู้ รียนเขา้ เรยี นช้า ตรงตอ่ เวลา เวลา 10-15 นาที 15-20 นาที 30 นาทเี ป็นต้นไป เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ ๑๖-๒๐ ดีมาก ๑๑-๑๕ ดี ๖-๑๐ พอใช้ 1-5 ควรปรับปรุง หมายเหตุ ระดบั ดีขึ้นไปจงึ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

๗8 คู่มือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ศลิ ปะ ป.๖) 10. บนั ทกึ ผลหลังสอน ผลการจัดการเรียนการสอน ............................................................................................................................. ............................................................ ........................................................................................................................................................................ ................. ................................................................................................................. ........................................................................ ความสาเรจ็ ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ปญั หาและอปุ สรรค ............................................................................................................................................................................... .......... ........................................................................................................................ ................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................ ขอ้ จากดั การใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้ และข้อเสนอแนะ/แนวทางการปรบั ปรงุ แกไ้ ข ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ......................................................ผสู้ อน (..........................................................) วนั ท่ี .......... เดือน ..................... พ.ศ. ............. 11. ความคดิ เหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผู้บริหารหรือผูท้ ไ่ี ดร้ ับมอบหมาย ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ลงชื่อ ...................................................... ผตู้ รวจ (..........................................................) วนั ท่ี .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๒ เรือ่ ง องคป์ ระกอบศลิ ป์ ๗9 แบบประเมนิ ตนเอง ช่ือ : ____________________ สกุล : ___________________วนั ______ เดอื น____________พ.ศ. _______ หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ๒ เรอื่ ง องคป์ ระกอบศิลป์ ๑. ประเมนิ การเรยี นรขู้ องตนเอง กาเครอ่ื งหมาย √ ในช่องระดับความสามารถของแต่ละกจิ กรรมทนี่ ักเรียนคดิ วา่ ทาไดต้ ามระดบั การประเมินเหลา่ น้ี ระดบั ความสามารถ : ดีมาก คอ่ นขา้ งดี ดี พอใช้ ปรับปรุง ที่ รายการ ระดับความสามารถ ๑ ขนาดสัดส่วนแจกันดอกไม้ ดีมาก ค่อน ดี พอใช้ ปรบั ๒ ความสมดุล ขา้ งดี ปรงุ ๓ แสงเงาและนา้ หนักผลไม้ ๔ Doodle Art 2. สงิ่ ท่ฉี นั ยังไมเ่ ข้าใจ / ยังทาได้ไม่ดี คอื …… (สามารถเขยี นได้มากกว่า 1 อย่าง) …………………………………………….............................................................................................................. ............................................................................................................................. .................................... …………………………………………….............................................................................................................. ................................................................................................................................................................ 3. สิง่ ท่ฉี นั ตั้งใจจะทาใหด้ ีข้นึ ในการเรยี นหน่วยตอ่ ไป (สามารถเขยี นไดม้ ากกวา่ 1 อย่าง) …………………………………………….............................................................................................................. ……………………………………………............................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................

80 คู่มอื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ศลิ ปะ ป.๖) หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3 บันดาลงานศลิ ป์

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๓ เรือ่ ง บันดาลงานศลิ ป์ 81 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๓ ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ บนั ดาลงานศลิ ป์ รหัสวชิ า ศ๑๖๑๐๑ รายวิชา ศิลปะ(ทัศนศลิ ป์) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ศิลปะ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๒ ชวั่ โมง …………………………………...…………………………………………………………………………………………………………………………….. ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วดั สาระ ทศั นศิลป์ มาตรฐานศ ๑.๒ เขา้ ใจความสมั พันธ์ระหว่างทศั นศลิ ป์ ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ที่เป็น มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ญั ญาท้องถิน่ ภูมิปัญญาไทย และสากล ตัวชว้ี ัด ศ ๑.๑ ป.๖/๑ บรรยายบทบาทของงานทัศนศิลป์ที่สะท้อนชวี ิตและสงั คม ศ ๑.๑ ป.๖/๒ อภิปรายเกยี่ วกับอทิ ธิพลของความเชื่อความศรัทธาในศาสนาที่มีผลต่องานทัศนศิลป์ใน ท้องถน่ิ ๒. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด งานทัศนศิลป์ มีความสอดคล้องกับสังคมและชีวิตประจาของเรา งานทัศนศิลป์ส่วนใหญ่เกิดข้ึน คกู่ บั วฒั นธรรมประเพณี และศาสนา เช่น การปัน้ พระพุทธรูป การสร้างศาสนสถาน ๓. สาระการเรียนรู้ ความรู้ - ความรเู้ รื่องศิลปวฒั นธรรมท้องถนิ่ อภปิ รายเกีย่ วกับอิทธิพลของความเช่ือความศรัทธาในศาสนา ท่มี ผี ลต่องานทศั นศิลปใ์ นท้องถน่ิ ทกั ษะ/กระบวนการ - สร้างสรรคง์ านทศั นศิลป์โดยใช้ความรู้บทบาทของงานทศั นศลิ ปท์ ่สี ะท้อนชวี ติ และสังคม เจตคติ - ทศั นคตทิ ด่ี ตี ่องานทัศนศลิ ป์ มองเห็นคุณค่าและความสาคญั ของงานทัศนศลิ ป์ ๔. สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียน ความสามารถในการคดิ - ทักษะการคดิ วิเคราะห์ - ทกั ษะกระบวนการคิดสร้างสรรค์ ความสามารถในการสือ่ สาร - ความสามารถในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะ ของตนเอง

๘2 คู่มือครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ศิลปะ ป.๖) ๕.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - มวี ินยั - ใฝเ่ รียนรู้ - ม่งุ มนั่ ในการทางาน - มีจิตธารณะ ในการช่วยเหลอื และแบ่งปันวสั ดุอปุ กรณใ์ นการทางาน ๖.การประเมินผลรวบยอด ช้ินงานหรือภาระงาน - ภาพวาดระบายสี เกณฑก์ ารประเมินผลชิ้นงานหรอื ภาระงาน ประเมนิ ผลงาน : กาหนดเกณฑ์ แนวในการใหค้ ะแนน และคาอธบิ ายคุณภาพ น้าหนักคะแนน ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรงุ 2 เกณฑ์ 5 4 3 1. การวางแผน การปฏิบัตงิ านอยา่ ง การปฏบิ ัตงิ านอยา่ ง การปฏิบตั งิ านอยา่ ง ไม่มีการวางแผนใน ก่อนการปฏบิ ัติ ชน้ิ งาน มลี าดบั ข้นั ตอน มีลาดบั ข้นั ตอน มลี าดับขนั้ ตอน การปฏิบัตงิ านให้มี 2. ความถกู ตอ้ ง สามารถควบคุม สามารถควบคุมเวลา สามารถควบคมุ ลาดับขั้นตอน สมบรู ณ์ครบถ้วน ของชิ้นงาน เวลาการทางานได้ ได้ แต่แบ่งเวลา เวลาได้ แต่แบ่ง และไม่ควบคมุ เวลา 3. ความประณีต อย่างเหมาะสม ผิดพลาดเลก็ น้อย เวลาผิดพลาด การปฏิบตั งิ าน สะอาดสวยงาม และดึงดูดใจ สามารถทางานได้ สามารถทางานได้ สามารถทางานได้ ทางานไม่ตรงตาม อยา่ งถกู ต้องตาม ถกู ตอ้ งตามหวั ข้อ ถูกต้องตามหัวข้อ หัวข้อหรอื คาชแี้ จง หัวขอ้ หรอื คาชแี้ จง หรือคาชแ้ี จงกาหนด หรอื คาชี้แจง ที่กาหนด กาหนดครบถ้วน แต่ผดิ พลาดบ้าง กาหนด แต่ สมบรู ณ์ เล็กนอ้ ย ผดิ พลาดปานกลาง มีความสร้างสรรค์ มคี วามสรา้ งสรรค์ มีความสรา้ งสรรค์ มคี วามสรา้ งสรรค์ สวยงาม สวยงาม สวยงาม สวยงาม แตม่ ี ไม่ลอกเลยี นแบบ ไม่ลอกเลยี นแบบ มีลอกเลยี นแบบ การลอกเลยี นแบบ มกี ารนาเสนอที่ มกี ารนาเสนอที่ เลก็ นอ้ ย ทาใหก้ ารนาเสนอ นา่ สนใจ สะอาด น่าสนใจ แต่ขาด มีการนาเสนอท่ี ไมน่ ่าสนใจ เรยี บรอ้ ย ความสะอาดเรยี บร้อย นา่ สนใจ แต่ขาด ความสะอาด เรยี บร้อย

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๓ เร่ือง บันดาลงานศิลป์ ๘3 ประเมินผลงาน : กาหนดเกณฑ์ แนวในการใหค้ ะแนน และคาอธบิ ายคณุ ภาพ น้าหนกั คะแนน ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง 2 เกณฑ์ 5 4 3 4. การสง่ งานตรง สามารถทางาน สามารถทางานเสรจ็ สามารถทางาน ไมส่ ง่ งานตามเวลา ตามเวลาทกี่ าหนด เสร็จสมบูรณ์ สง่ ได้ สมบรู ณ์ ส่งได้แต่ไม่ เสร็จสมบูรณ์ สง่ ได้ ทกี่ าหนดทง้ั สามคร้ัง ตรงตามเวลาท่ี ตามเวลาทกี่ าหนด แต่ไม่ตามเวลาท่ี 4. การสง่ งานตรง กาหนดภายในชั้น ตามเวลาทก่ี าหนด เรยี นได้ ภายในช้นั เรียนในคร้ัง กาหนดภายในชนั้ แรก ตอ้ งมกี ารนดั เรยี นในครงั้ แรก สามารถทางาน หมายใหส้ ง่ ในครง้ั ตอ้ งมกี ารนดั หมาย เสรจ็ สมบรู ณ์ สง่ ได้ ตรงตามเวลาท่ี ถดั ไป ใหส้ ง่ ในครั้งที่ 3 กาหนดภายใน ชั้น เรยี นได้ สามารถทางานเสรจ็ สามารถทางาน ไมส่ ่งงานตามเวลา สมบรู ณ์ ส่งได้แตไ่ ม่ เสรจ็ สมบูรณ์ ทก่ี าหนดทงั้ สามคร้งั ตามเวลาทก่ี าหนด ส่งได้แต่ไม่ตามเวลา ภายในชั้นเรียนใน ทกี่ าหนดภายใน ครัง้ แรก ต้องมีการนดั ช้นั เรียนในคร้งั แรก หมายใหส้ ง่ ในครงั้ ต้องมกี ารนัดหมาย ถดั ไป ใหส้ ง่ ในครง้ั ท่ี 3 เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๖-๒๐ ดมี าก ๑๑-๑๕ ดี ๖-๑๐ พอใช้ ๑-๕ ควรปรับปรุง หมายเหตุ ระดบั ดขี ้นึ ไปจงึ ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

๘4 ค่มู ือครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ศลิ ปะ ป.๖) แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ ๑ เรื่อง งานทศั นศิลป์ทีส่ ะท้อนชีวติ และสงั คม หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๓ เรอื่ ง บันดาลงานศลิ ป์ เวลา ๑ ช่วั โมง กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ รายวชิ าศิลปะ (ทัศนศิลป)์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖ 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชีว้ ดั ศ ๑.๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ที่เป็น มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถน่ิ ภมู ิปญั ญาไทย และสากล ป. ๖/๕ บรรยายบทบาทของงานทัศนศลิ ปท์ ส่ี ะท้อนชวี ติ และสังคม ๒. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด ทัศนศิลป์เป็นศิลปะที่รับรู้ได้ด้วยสายตา การรับรู้ทางการมองเห็นในแขนงจิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปัตยกรรม ทาใหเ้ กดิ แรงกระตุ้นและตอบสนองทางด้านจิตใจพร้อมกันน้ันจิตใจของมนุษย์ก็เป็นตัวแปรค่า และกาหนดความงาม ความประณีต เรอ่ื งราว และประโยชนต์ อ่ สังคมมนษุ ย์ การรับรคู้ ณุ ค่าของส่ิงเหลา่ นี้ รบั รไู้ ด้ดว้ ย อารมณ์ ความรู้สึกของแต่ละบุคคล ความงามและเร่ืองราวจะเกิดมีคุณค่าก็เพราะการรับรู้ทางการมองเห็น เกิดความรู้สึกประทับใจ มีความอ่ิมเอิบใจในคุณค่านั้น ๆ สาหรับงานทัศนศิลป์ไม่ว่ารูปแบบใดย่อมมีคุณค่า ในตัวของผลงานเอง ๓. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ ความเข้าใจ (K) - บรรยายบทบาทของงานทศั นศลิ ปท์ ีส่ ะทอ้ นชวี ิตและสงั คม 3.2 ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) - สรา้ งสรรคผ์ ลงานทัศนศลิ ป์ทสี่ ะท้อนชีวติ และสังคม 3.3 ดา้ นคณุ ลกั ษณะ เจตคติ ค่านยิ ม (A) - นกั เรยี นตระหนักถงึ ความความสวยงามของงานทศั นศิลป์ - นักเรยี นทางานด้วยความรกั และเพียรพยายามในการสร้างสรรคผ์ ลงาน - นักเรยี นเห็นคุณค่าของงานทัศนศลิ ปท์ ่มี ีลกั ษณะแสงเงาชดั เจน - นกั เรียนรักษาและเห็นคุณคา่ ของอุปกรณท์ ีใ่ ชใ้ นการทางาน ๔. สาระการเรยี นรู้ ๔.๑ บทบาทงานทัศนศลิ ป์ ๕. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน ๕.๑ ความสามารถในการคิด - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทกั ษะกระบวนการคิดสร้างสรรค์ ๕.๒ ความสามารถในการสือ่ สาร - ความสามารถในการใช้ภาษาถา่ ยทอดความคิด ความเขา้ ใจ ความรูส้ ึก และทัศนคตขิ องตนเอง ๖. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๖.๑ ใฝเ่ รียนรู้ ๖.๒ มุ่งมน่ั ในการทางาน 7. กิจกรรมการเรยี นรู้

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๓ เร่อื ง บันดาลงานศลิ ป์ กิจกรรมการเรยี นรู้ ช แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ ๑ เรอ่ื ง งา รายวิชา ศลิ ปะ (ทัศนศิลป)์ หน่วยการเรยี นรทู้ ลาดับ ขอบเขตเน้อื หา/ ข้นั ตอนการจดั เวลา กิจกรรมค ท่ี จุดประสงค์การเรียนรู้ การเรียนรู้ ทีใ่ ช้ ๑ ขัน้ นา ๑๐ 1. ครูถามนกั เรียนว่านัก นาที ไปเท่ยี วอย่างไร มีวธิ กี าร สวมใสอ่ ย่างไรบ้าง 2. ครูอธิบายเพมิ่ เตมิ วา่ ทราบหรอื ไม่ ว่าสงิ่ ของต เรา ไม่วา่ จะเป็นเส้อื ผ้า ข เคร่อื งใช้ตา่ ง ๆ ลว้ นแลว้ อิทธิพลมาจากศลิ ปะทง้ั งานศลิ ปะมสี ่วนสาคัญใน สง่ิ ของต่าง ๆ ใหส้ วยงาม 3. ครูถามคาถามนักเรีย ห้องเรยี นนม้ี อี ะไรบ้างทม งานศิลปะ

๘5 ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ส่ือการเรยี นรู้ การประเมนิ านทัศนศลิ ป์ทีส่ ะท้อนชีวติ และสงั คม การเรยี นรู้ ท่ี ๓ เรือ่ ง บันดาลงานศลิ ป์ จานวน ๑ ชว่ั โมง - การถาม-ตอบ แนวการจดั การเรยี นรู้ ครู กิจกรรมนกั เรยี น กเรยี นแตง่ ตวั 1. นักเรยี นตอบคาถามวา่ รเลือกเสอ้ื ผา้ แตง่ ตัวไปเทย่ี วใหเ้ หมาะสม กบั กาลเทศะ มีวธิ กี ารเลอื ก คอื เลอื กจากสีเสอ้ื ทต่ี นเองชอบ เลือกจากความสวยงาม ของลวดลายเสอื้ ผ้า า นักเรยี น ตา่ ง ๆ รอบตัว ขา้ วของ วแต่ได้รับ งสิ้น เพราะ นการออกแบบ ม ยนวา่ ใน 2. นักเรียนยกตวั อยา่ งงานศลิ ปะ มี่ ผี ลมาจาก ในหอ้ งเรยี น เช่น การออกแบบ ปา้ ยนเิ ทศในหอ้ งเรยี น ลวดลาย ของลายดินสอ ลายการต์ ูนใน กล่องดนิ สอ หนา้ ปกสมดุ หนังสือ เปน็ ต้น

๘6 ลาดับ ขอบเขตเน้อื หา/ ข้นั ตอนการจดั เวลา ท่ี จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ที่ใช้ กจิ กรรมค ๒ 1. บรรยายบทบาทของ งานทศั นศลิ ปท์ ีส่ ะทอ้ น ขั้นสอน ๑๐ 1. ครูถามนักเรียนว่า น ชวี ิตและสังคม นาที หรือไม่ เม่อื ประมาณ ๒๐ ร้อยปที แี่ ล้ว คนไทยสมยั อยา่ งไร มวี ิถชี ีวติ อยา่ งไร ทราบไดอ้ ย่างไร 2. ครูเปดิ ภาพจิตรกรรม สะท้อนวถิ ีชีวติ สมยั กอ่ น แลว้ ใหน้ ักเรยี นอธิบายเน ท่ีเหน็ ในภาพ 3. ครูอธิบายเพม่ิ เตมิ ว่า มักสะทอ้ นเรื่องราวเกีย่ ว สังคมอยเู่ สมอ เมอื่ ยุคสม งานศิลปะ รสนิยม ความ เปลยี่ นแปลงไปดว้ ย 4. ครใู ห้นักเรียนสนทนา ชวี ติ ของสงั คมในอกี ๒๐ วา่ จะเกดิ เหตการณ์อะไร จะเป็นอย่างไร ประกอบ

ค่มู ือครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ศลิ ปะ ป.๖) แนวการจัดการเรยี นรู้ สื่อการเรยี นรู้ การประเมิน การเรยี นรู้ ครู กจิ กรรมนักเรียน - ตัวอยา่ ง - แบบประเมิน นักเรียนทราบ 1. นกั เรยี นตอบคาถามว่า ผลงาน ชนิ้ งาน ๐๐-๓๐๐ คนไทยสมยั ก่อนนงุ่ หม่ ง่าย ๆ - Power Point ยกอ่ นแต่งตวั นงุ่ โจงกระเบน ผชู้ ายมีผ้าคาดเอว ร และนกั เรยี น มีวิถีชวี ติ ในสงั คมเกษตรกรรม เรอ่ื ง งาน ทัศนศิลป์ ทราบจากภาพวาดจติ รกรรมฝา สะท้อนชีวติ ผนังในหนงั สอื่ และรายการทวี ี ต่าง ๆ และสงั คม มฝาผนงั ท่ี 2. นักเรียนชว่ ยกนั บรรยาย นให้นักเรียนดู เร่ืองราวในภาพจิตรกรรมฝาผนงั นอ้ื หา วา่ เหน็ วถิ ีชีวิต การแต่งกาย ทรงผม ขนบธรรมเนยี มประเพณี ความเช่ือ เปน็ ตน้ างานศลิ ปะ 3. นักเรยี นพูดคุยเก่ยี วเหตการณ์ วกบั ชีวิตและ บา้ นเมืองในปจั จบุ ัน และงาน มัยเปล่ยี นไป ศลิ ปะทส่ี ะทอ้ นชีวติ และสงั คม มชอบกจ็ ะ เช่นปา้ ยโฆษณา หรอื ส่ือโซเชยี ล ต่าง ๆ าเกีย่ วกบั วถิ ี 4. นกั เรยี นสนทนาเก่ียวกับวถิ ี ๐ ปขี ้างหน้า ชวี ิตของสังคมในอกี ๒๐ ปี รบ้าง นักเรยี น ขา้ งหน้า วา่ จะเกดิ เหตการณ์ บอาชพี ใด อะไรบา้ ง นักเรียนจะเป็นอย่างไร

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๓ เร่ือง บันดาลงานศลิ ป์ ลาดับ ขอบเขตเนอ้ื หา/ ขั้นตอนการจัด เวลา ท่ี จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ การเรียนรู้ ที่ใช้ กิจกรรมค คิดวา่ งานศิลปะในอนาค อย่างไร 3 2. สร้างสรรค์ผลงาน ขั้นปฏิบตั ิ ๓๐ ครชู ีแ้ จงข้นั ตอนการทาก ทัศนศิลปท์ สี่ ะท้อนชวี ิต นาที วาดภาพระบายสี หัวข้อ และสงั คม สร้างสรรค์ ๒๐ ปขี ้างหนา้ ” โดยวาด ผลงานจากการจัดพนื้ ท่ี สมดุ วาดเขียน ใช้เทคนคิ ว่างในงานทัศนศลิ ป์ สวยงาม และเตรียมตวั น วเิ คราะห์วา่ ในอนาคตจ 4 3. ตระหนกั ถงึ คณุ คา่ ของ ขั้นสรปุ ๑๐ 1. ครพู ูดสรุปความรเู้ รื่อ ผลงานทศั นศิลป์ นาที งานทัศนศลิ ปท์ ี่สะทอ้ นช 2. ครูวิจารณ์ผลงานนกั เ ช้แี นะแนวทางการปรบั ป

๘๗ แนวการจดั การเรียนรู้ สอื่ การเรียนรู้ การประเมิน การเรยี นรู้ ครู กิจกรรมนักเรยี น คตจะเป็น ประกอบอาชพี ใด คดิ ว่างานศลิ ปะ ในอนาคตจะเป็นอยา่ งไร กจิ กรรม นกั เรยี นทากิจกรรมวาดภาพ - ตัวอย่าง - แบบประเมนิ ชน้ิ งาน อ “ฉนั ในอกี ระบายสี หัวข้อ ฉันในอีก ๒๐ ปี ผลงาน - ถาม-ตอบ ดภาพลงไปใน ขา้ งหนา้ ” โดยวาดภาพลงไปใน - PowerPoint คสีไมร้ ะบายให้ สมดุ วาดเขียน ใชเ้ ทคนคิ สีไม้ เรือ่ งงาน นาเสนอผลงาน ระบายใหว้ ยงาม และเตรยี มตัว ทศั นศลิ ป์ที่ จะเปน็ อยา่ งไร นาเสนอผลงาน วเิ คราะหว์ ่า สะท้อนชีวติ ในอนาคตจะเป็นอย่างไร และสงั คม - สโี ปสเตอร์ อง 1. นักเรยี นนาเสนอผลงาน ชวี ติ และสังคม 2. นกั เรียนอธบิ ายความรูส้ กึ เรยี นพรอ้ ม หรอื ความประทับใจจากผลงาน ปรงุ แกไ้ ข ทนี่ ักเรยี นทา พรอ้ มบอกแนวทาง และการนาไปใชใ้ นผลงานคร้งั หน้า

๘8 คมู่ อื ครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ศลิ ปะ ป.๖) 8. สอ่ื การเรียนร้/ู แหล่งเรยี นรู้ ๘.๑ PowerPoint เร่อื งงานทศั นศิลป์ท่ีสะทอ้ นชีวติ และสงั คม ๘.๒ ตัวอยา่ งผลงาน ๘.๓ อุปกรณ์วาดเขียน สมุดวาดเขยี น สโี ปสเตอร์ 9. การประเมนิ ผลรวบยอด ชิ้นงานหรือภาระงาน เกณฑ์การประเมินผลชน้ิ งานหรอื ภาระงาน ประเมนิ ผลงานเรื่องทัศนศิลปใ์ นชีวิตและสงั คม : กาหนดเกณฑ์ แนวในการให้คะแนน และคาอธบิ ายคุณภาพ น้าหนักคะแนน ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรงุ เกณฑ์ 5 4 3 2 1. การวางแผน การปฏบิ ัตงิ านอย่าง การปฏบิ ัตงิ านอย่าง การปฏิบัตงิ านอยา่ ง ไม่มีการวางแผนใน ก่อนการปฏบิ ัติ มีลาดบั ขั้นตอน มีลาดับข้นั ตอน มลี าดับขน้ั ตอน การปฏบิ ัตงิ านใหม้ ี ช้ินงาน สามารถควบคุมเวลา สามารถควบคมุ เวลาได้ สามารถควบคุมเวลา ลาดับข้ันตอน การทางานไดอ้ ย่าง แต่แบง่ เวลาผดิ พลาด ได้ แต่แบง่ เวลา และไมค่ วบคมุ เวลา เหมาะสม เลก็ น้อย ผิดพลาด การปฏิบัตงิ าน 2. ความถกู ตอ้ ง สามารถทางานไดอ้ ยา่ ง สามารถทางานได้ สามารถทางานได้ ทางานไม่ตรงตาม สมบรู ณค์ รบถว้ น ถูกตอ้ งตามหัวข้อหรอื ถกู ตอ้ งตามหัวขอ้ หรือ ถกู ต้องตามหวั ขอ้ หัวขอ้ หรือคาชแี้ จง ของช้นิ งาน คาชแ้ี จงกาหนด คาช้ีแจงกาหนด แต่ หรือคาช้ีแจงกาหนด ท่กี าหนด ครบถว้ นสมบูรณ์ ผิดพลาดบา้ งเล็กน้อย แต่ผิดพลาดปานกลาง 3. ความประณตี มีความสรา้ งสรรค์ มีความสรา้ งสรรค์ มีความสรา้ งสรรค์ มคี วามสรา้ งสรรค์ สะอาดสวยงาม สวยงาม สวยงาม ไม่ลอกเลยี น สวยงาม มลี อกเลยี น สวยงาม แต่มี และดึงดูดใจ ไมล่ อกเลยี นแบบ แบบ มีการนาเสนอ แบบเล็กนอ้ ย การลอกเลียนแบบ มีการนาเสนอท่ี ท่นี า่ สนใจ แต่ขาด มีการนาเสนอท่ี ทาให้การนาเสนอ น่าสนใจ สะอาด ความสะอาด นา่ สนใจ แต่ขาด ไมน่ ่าสนใจ เรียบรอ้ ย เรียบร้อย ความสะอาดเรียบร้อย 4. การสง่ งาน สามารถทางานเสรจ็ สามารถทางานเสรจ็ สามารถทางานเสรจ็ ไม่สง่ งานตามเวลา ตรงตามเวลาท่ี สมบรู ณ์ สง่ ได้ตรงตาม สมบรู ณ์ ส่งไดแ้ ตไ่ ม่ สมบรู ณ์ สง่ ได้แตไ่ ม่ ท่ีกาหนดทงั้ กาหนด เวลาทก่ี าหนดภายใน ตามเวลาทก่ี าหนด ตามเวลาทก่ี าหนด สามครง้ั ชัน้ เรียนได้ ภายในช้นั เรยี นใน ภายในชัน้ เรียนใน ครง้ั แรก ตอ้ งมีการ คร้งั แรก ตอ้ งมี นัดหมายใหส้ ง่ ในครง้ั การนดั หมายใหส้ ง่ ถัดไป ในคร้ังที่ 3 คะแนนเต็ม 20 คะแนน รวมคะแนน..................คะแนน ลงชือ่ ผูป้ ระเมิน...........................................

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ ๓ เร่อื ง บนั ดาลงานศลิ ป์ ๘9 เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ ๑๖-๒๐ ดมี าก ๑๑-๑๕ ดี ๖-๑๐ พอใช้ ๑-๕ ควรปรับปรุง หมายเหตุ ระดบั ดขี ้นึ ไปจึงถอื ว่าผา่ นเกณฑ์ แบบประเมินพฤตกิ รรม รายการประเมนิ ลาดับ ช่ือ-นามสกลุ ม่งุ มน่ั ตง้ั ใจ เพียรพยายาม รบั ผดิ ชอบ รกั ษาและเหน็ ตรงตอ่ เวลา ท่ี ทางาน อดทน คณุ คา่ ของ อุปกรณ์ ๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔ เกณฑก์ ารประเมนิ พฤตกิ รรม รายการ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ประเมินผล ๔ ๓ ๒๑ ๑. นกั เรยี นตง้ั ใจ ผเู้ รียนมคี วามมงุ่ ม่ัน ผ้เู รยี นมคี วามมงุ่ มั่น ผู้เรียนมีความมุง่ มัน่ ผูเ้ รยี นไม่มีความ ทางานทไ่ี ดร้ บั ต้ังใจทางานที่ไดร้ บั ตัง้ ใจทางานที่ได้รับ ตัง้ ใจทางานทไี่ ด้รบั มุ่งมัน่ ตงั้ ใจทางาน มอบหมาย มอบหมายจนสาเรจ็ มอบหมายจนสาเร็จ มอบหมายจนสาเร็จ ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย ตลอดท้ังคาบ แต่มีคุยเล่นบา้ ง มีคุยเล่น และไมต่ ัง้ ใจ จนสาเรจ็ ทางานบา้ ง ๒. ผู้เรยี นทางาน ผเู้ รียนทางานดว้ ย ผ้เู รียนทางานด้วย ผเู้ รียนทางานด้วย ผเู้ รยี นไมม่ ีความ ด้วยความเพยี ร ความเพยี รพยายาม ความเพียรพยายาม ความเพยี รพยายาม เพยี รพยายาม พยายาม อดทน อดทนเพื่อทาใหเ้ สร็จ อดทนเพอื่ ทาใหเ้ สรจ็ อดทนเพอื่ ทาใหเ้ สร็จ อดทนเพือ่ ทางาน เพอ่ื ทาใหเ้ สรจ็ ตาม ตามเป้าหมายตลอด ตามเป้าหมาย แตค่ ยุ ตามเป้าหมาย ใหเ้ สรจ็ ตาม เปา้ หมาย ท้ังคาบ เลน่ กนั บ้าง บางครงั้ มีคยุ เลน่ เป้าหมาย และไม่สนใจงานบ้าง ๓. ผู้เรยี นมีความ ผูเ้ รียนสง่ งานตรง ผเู้ รยี นสง่ งานชา้ ผ้เู รียนสง่ งานช้า ผเู้ รียนสง่ งานช้า รับผิดชอบสง่ งาน ตามเวลาทก่ี าหนด 1 วนั 2 วนั 3 วันขนึ้ ไป ตรงตามเวลาท่ี กาหนด

90 คมู่ อื ครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ศลิ ปะ ป.๖) รายการ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ ประเมนิ ผล ๔ ๓ ๒ ๑ ๔. ผเู้ รียนรักษา ผู้เรียนเกบ็ และดูแล ผูเ้ รยี นดูแลอปุ กรณ์ท่ี ผ้เู รยี นเกบ็ และดูแล ผู้เรียนไม่เกบ็ และ ใช้ในการทางาน อุปกรณท์ ่ีใชใ้ น ไมด่ แู ลอุปกรณ์ที่ใช้ และเหน็ คณุ คา่ ของ อปุ กรณท์ ีใ่ ช้ใน ทกุ ชิน้ แตเ่ ก็บไม่ การทางานบางชิ้น ในการทางาน เรียบร้อย อุปกรณท์ ่ใี ชใ้ นการ การทางานทกุ ชิ้น ผ้เู รียนเข้าเรียนช้า ผเู้ รยี นเขา้ เรยี นชา้ ผเู้ รียนเขา้ เรียนชา้ 10-15 นาที 15-20 นาที 30 นาทีเปน็ ต้นไป ทางาน อยา่ งเรียบรอ้ ย ๕. ผ้เู รียนเขา้ เรียน ผูเ้ รยี นเขา้ เรยี นตรง ตรงต่อเวลา เวลา เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๖-๒๐ ดีมาก ๑๑-๑๕ ดี ๖-๑๐ พอใช้ 1-5 ควรปรบั ปรุง หมายเหตุ ระดบั ดขี น้ึ ไปจึงถือว่าผ่านเกณฑ์

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๓ เร่ือง บันดาลงานศลิ ป์ 91 10. บนั ทกึ ผลหลงั สอน ผลการจดั การเรียนการสอน ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................. ........................................................................ ความสาเร็จ ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ปัญหาและอปุ สรรค ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ขอ้ จากดั การใชแ้ ผนการจัดการเรยี นรู้ และข้อเสนอแนะ/แนวทางการปรับปรงุ แกไ้ ข ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ......................................................ผสู้ อน (..........................................................) วนั ท่ี .......... เดือน ..................... พ.ศ. ............. 11. ความคดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะของผู้บรหิ ารหรือผ้ทู ีไ่ ดร้ ับมอบหมาย ....................................................................................................................... .................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ลงช่ือ ...................................................... ผตู้ รวจ (..........................................................) วนั ท่ี .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

92 คูม่ อื ครูและแผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ศลิ ปะ ป.๖) แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๒ เร่อื ง อิทธิพลของศาสนาที่มผี ลตอ่ ทศั นศลิ ป์ หน่วยการเรียนร้ทู ่ี ๓ เรื่อง บันดาลงานศิลป์ เวลา ๑ ช่วั โมง กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวชิ าศลิ ปะ (ทัศนศิลป์) ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๖ 1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชว้ี ดั ศ ๑.๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ ทเ่ี ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น ภูมปิ ญั ญาไทย และสากล ป. ๖/๕ บรรยายบทบาทของงานทศั นศิลป์ที่สะท้อนชวี ิตและสังคม ๒. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด บ่อเกิดของศิลปะที่ใหญ่ท่ีสุดในโลกก็คือ ศาสนา เพราะคนเราเมื่อมีความศรัทธาในศาสนาแล้วก็จะทุ่มเท อุทิศตน และต้องการให้สิ่งดี ๆ บังเกิดข้ึนกับศาสนาท่ีตัวเองนับถือ ฉะน้ันศาสนสถานแต่ละแห่งนั้นก็เกิดจาก พลังศรัทธาของคนในชุมชนรวมกัน ศาสนสถานเกิดจากกาลังทุนของทุกคนรวมกัน และหาช่างที่ฝีมือดีท่ีสุด ทาอย่าง ตั้งใจที่สุด ทาให้ศิลปะทั้งหลายมีการพัฒนา ไม่เฉพาะสิ่งปลูกสร้างอย่างเดียว ศิลปะท่ีเน่ืองด้วยเร่ืองทางศาสนา ทั้งหมดก็จะพัฒนาตามกันมาทั้งหมดเลย เช่น จารึกคาสอน คัมภีร์โบราณก็มีการพัฒนา สมัยก่อนไม่มีกระดาษ กใ็ ช้ใบลานในการจารกึ เพราะใบลานมีความทนทานสามารถเกบ็ ไดห้ ลายรอ้ ยปี ๓. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ ความเขา้ ใจ (K) - อธบิ ายอิทธิพลของศาสนาทีม่ ผี ลต่อทัศนศิลป์ 3.2 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) - สร้างสรรค์ผลงานทไ่ี ดร้ ับอทิ ธิพลมาจากศาสนา 3.3 ดา้ นคณุ ลกั ษณะ เจตคติ ค่านิยม (A) - นักเรียนตระหนักถงึ ความความสวยงามของงานทศั นศลิ ป์ - นกั เรยี นทางานด้วยความรกั และเพยี รพยายามในการสรา้ งสรรค์ผลงาน - นกั เรียนเหน็ คณุ ค่าของงานทัศนศิลป์ท่มี ีลักษณะแสงเงาชดั เจน - นกั เรยี นรกั ษาและเห็นคณุ ค่าของอุปกรณ์ทีใ่ ช้ในการทางาน ๔. สาระการเรียนรู้ ๔.๑ อทิ ธิพลของศาสนาทมี่ ีผลต่องานทัศนศลิ ป์ ๕. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น ๕.๑ ความสามารถในการคดิ - ทักษะการคิดวเิ คราะห์ - ทักษะกระบวนการคดิ สร้างสรรค์ ๕.๒ ความสามารถในการส่อื สาร - ความสามารถในการใชภ้ าษาถ่ายทอดความคิด ความเขา้ ใจ ความรู้สกึ และทัศนคตขิ องตนเอง ๖. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ๖.๑ ใฝเ่ รยี นรู้ ๖.๒ มุ่งมน่ั ในการทางาน 7. กจิ กรรมการเรยี นรู้

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๓ เรอ่ื ง บันดาลงานศิลป์ กจิ กรรมการเรียนรู้ ช แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี ๑ เร่ือง งา รายวชิ า ศิลปะ (ทัศนศิลป)์ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ลาดับ ขอบเขตเน้ือหา/ ข้นั ตอนการจัด เวลา ท่ี จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๑ การเรยี นรู้ ท่ีใช้ กจิ กรรมค ๒ 1. อธบิ ายอิทธพิ ลของ ข้นั นา ๑๐ 1. ครถู ามนกั เรยี นว่าเมือ่ ศาสนาทมี่ ผี ลตอ่ ทัศนศิลป์ นาที ไปศาสนสถานตา่ ง ๆ เช มัสยิด ปราสาทหนิ ฯลฯ เหน็ สิ่งใดบา้ ง 2. ครูถามนกั เรียนว่า ส่ิง เหน็ ในวัดเชน่ จติ รกรรม เจดีย์ พระ เทวรปู เปน็ งา หรือไม่ เพราะอะไร 3. ครูถามนกั เรียนวา่ ศา ใชส้ ่งิ ใดเปน็ เครอื่ งมอื ใน ศาสนาบา้ ง ขั้นสอน ๑๐ 1. ครูให้นักเรียนยกตวั อ นาที ทีเ่ กีย่ วข้องกบั ศาสนา

๙3 ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ านทัศนศิลป์ที่สะท้อนชีวติ และสังคม ๓ เร่อื ง บันดาลงานศิลป์ จานวน ๑ ช่ัวโมง แนวการจัดการเรียนรู้ สื่อการเรยี นรู้ การประเมนิ การเรียนรู้ ครู กจิ กรรมนักเรยี น - PowerPoint เรอื่ งอทิ ธพิ ล - การถาม-ตอบ อนักเรยี น 1. นกั เรียนยกตวั อยา่ งสง่ิ ทีเ่ ห็น ของศาสนา ช่น วัด โบสถ์ ใน ศาสนสถาน เช่น จติ รกรรม ทีม่ ีผลตอ่ งาน ฯ นกั เรยี น ฝาผนงั ศาลา เจดีย์ พระ เทวรปู ทศั นศลิ ป์ งท่ีนกั เรยี น 2. นกั เรียนตอบว่า เป็นงาน มฝาผนงั ศาลา ศลิ ปะ เพราะเป็นส่งิ ทส่ี วยงาม านศลิ ปะ ละมนุษยส์ รา้ งขึ้น าสนาต่าง ๆ 3. นกั เรยี นยกตวั อยา่ งเครอ่ื งมอื - ตวั อย่าง - แบบประเมนิ นการเผยแพร่ ท่ีใชเ้ ผยแผศ่ าสนา เชน่ ชน้ิ งาน งานศลิ ปะ คมั ภีร์ตา่ ง ๆ ผลงาน อย่างศลิ ปะ - PowerPoint 1. นักเรียนยกตวั อยา่ งศิลปะ เรอื่ ง ทีเ่ กี่ยวข้องกบั ศาสนา เช่น พระพุทธรปู ภาพจิตรกรรมฝา ผนัง เจดีย์ รปู ป้ันพญานาค เป็นตน้

๙4 ลาดับ ขอบเขตเนือ้ หา/ ข้ันตอนการจดั เวลา ที่ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ การเรียนรู้ ท่ีใช้ กิจกรรมค ๓ 2. สรา้ งสรรค์ผลงานที่ ได้รับอิทธิพลมาจาก 2. ครูเปิดภาพจิตรกรรม ศาสนา เก่ยี วข้องกบั พทุ ธประวตั นักเรียนวเิ คราะหเ์ กีย่ วก 3. ครูเล่าเร่ืองประเพณตี ท่เี ก่ียวขอ้ งกบั ศาสนา เช การทอดกฐิน ว่ามีที่มาอ และมีงานศลิ ปะทเ่ี กยี่ วข ธงกฐนิ มคี วามสาคัญอย มกี ระบวนการทางศลิ ปะ ใหน้ กั เรยี นร่วมกนั แลกเป ความคิดการประดบั ธงก ขั้นปฏบิ ัติ ๓๐ ครูชแี้ จงข้ันตอนการทาก นาที ออกแบบธงกฐิน โดยให สตั วใ์ นธงกฐนิ มา ๑ ชนิด ธงตะขาบ ธงมจั ฉา และ ให้นกั เรยี นวาดลงบนกร สีเ่ หลีย่ มผนื ผา้ ตกี รอบให วาดและระบายด้วยสไี ม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook