หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๑ เรือ่ ง สสี นั งานศลิ ป์ ลาดบั ขอบเขตเน้อื หา/ ขน้ั ตอนการจัด เวลา ท่ี จุดประสงค์การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ท่ีใช้ กจิ กรรมคร ๒ 1. อธบิ ายขั้นตอน ขน้ั สอน ๑๐ 1. ครูอธบิ ายการใชส้ คี ตู่ การนาสคี ตู่ รงขา้ มแบบ นาที แบบเย้ืองในวงจรสี พร้อ เยื้องไปใช้ใน การสร้างสรรค์ง การเลือกคสู่ ีตรงขา้ มแบ านทศั นศลิ ป์ ใกล้เคยี งกันมาสรา้ งสรร 2. ครูอธบิ ายเพม่ิ เติม ว 2. ระบคุ สู่ ที ่อี ย่ตู รง เราจะใช้สีคตู่ รงขา้ มแลว้ ขา้ มกันแบบเยื้องในวง วิธีการเลอื กใชค้ สู่ ตี า่ ง ๆ สีธรรมชาติ ได้อีก เชน่ การ นาสีทีอ่ ย กันแบบเยื้อง เช่น สแี ดง เหลอื ง หรือการลดความ ของสคี ู่ตรงขา้ มโดยการผ ใหอ้ ่อนลง เชน่ สมสีขาวก จะได้สีชมพซู ่งึ จะอยู่เยอ้ื สเี ขียวเหลืองในวงจรสนี
๒๓ แนวการจดั การเรยี นรู้ สอ่ื การเรยี นรู้ การประเมนิ รู กิจกรรมนักเรียน การเรียนรู้ ตรงข้าม 1. นกั เรยี นร่วมกันอภปิ รายว่าเรา - ตัวอย่าง - แบบประเมิน ชิน้ งาน อมสาธิต สามารถมีวิธีการเลือกใชส้ ใี นวงจรสี ผลงาน บบเยอ้ื งหรือ แบบอน่ื - Power รคผ์ ลงาน Point เรอื่ ง ว่านอกจาก 2. นักเรยี นรว่ มกันวิเคราะห์การ สคี ตู่ รงข้าม วเรายังมี ผสมสีขาวในสคี ูต่ รงข้ามเพอ่ื ใหภ้ าพ แบบเยื้อง ๆ ในวงจรสี ดูออ่ นโยนไมร่ นุ แรงเทา่ สคี ตู่ รงข้าม - วงจรสี ยตู่ รงขา้ ม โดยตรง หรอื การเลอื กใชส้ คี ู่ตรง ง กบั สเี ขียว ขา้ มแบบเยอ้ื งในวงจรสี ซง่ึ มอี ยู่ มรุนแรง หลายคสู่ ี เช่น สสี ม้ กบั เขยี วนา้ เงนิ ผสมสีขาว สเี หลอื งกบั สมี ว่ งเดง เป็นต้น กับสีแดง องกนั กบั นัน่ เอง
๒๔ ลาดับ ขอบเขตเนื้อหา/ ขน้ั ตอนการจัด เวลา ท่ี จุดประสงค์การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ทใ่ี ช้ กจิ กรรมคร 3 3. สร้างสรรคผ์ ลงาน ขน้ั ปฏิบัติ ๓๐ 1. ครชู ีแ้ จงขั้นตอนการ จากการใชส้ ีคูต่ รงข้าม นาที สวยไดด้ ้วยสีข้างเคียง แบบเย้อื ง โดยให้นกั เรยี นผสมสีเอง 4 4. ตระหนกั ถงึ คณุ ค่า ข้ันสรุป โดยตอ้ งผสมสีขาวให้เปน็ ของผลงานทัศนศลิ ป์ ขา้ มแบบเยอ้ื ง แลว้ นาม ในกระดาษ เพื่อเปรยี บเ งานสคี ู่ตรงข้ามครง้ั ทแี่ ล 2. ครอู ภิปรายผลการใช สคี ่ตู รงขา้ ม บางครง้ั ไม่จ ต้องใช้สีค่ตู รงข้ามโดยตร หากแตส่ ามารถผสมสีข้า หรอื สีขาว เพือ่ ลดความ ของสีคตู่ รงขา้ มได้ ๑๐ 1. ครูพูดสรปุ ความรเู้ รื่อ นาที ตรงข้ามแบบเยื้อง 2. ครูวจิ ารณ์ผลงานนกั ช้แี นะแนวทางการปรบั ป
คูม่ อื ครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ศิลปะ ป.๖) แนวการจดั การเรียนรู้ สื่อการเรยี นรู้ การประเมิน การเรียนรู้ รู กิจกรรมนกั เรยี น - สมดุ วาด เขียน รทากจิ กรรม ใหน้ กั เรยี นผสมสีเอง ๑ คู่สี - สีโปสเตอร์ โดยตอ้ งผสมสีขาวใหเ้ ป็นสีค่ตู รง ง ๑คูส่ ี ขา้ มแบบเยอ้ื ง แล้วนามาระบาย นสีคตู่ รง ในกระดาษ เพื่อเปรยี บเทียบกบั มาระบาย งานสีค่ตู รงขา้ มครั้งที่แลว้ เทยี บกับ ลว้ ช้ จาเปน็ รง างเคียง มรนุ แรง องการใช้สคี ู่ นักเรยี นอธบิ ายความรู้สกึ หรือ - ถาม-ตอบ ความประทบั ใจจากผลงานท่ี กเรียนพรอ้ ม นกั เรยี นทา พร้อมบอกแนวทาง ปรงุ แกไ้ ข และการนาไปใชใ้ นผลงานคร้ังหนา้
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๑ เรอ่ื ง สสี ันงานศลิ ป์ ๒๕ 8. สือ่ การเรียนรู้/แหลง่ เรยี นรู้ ๘.๑ Power Point เรอื่ งสีคู่ตรงขา้ มแบบเย้ือง ๘.๒ ตวั อย่างผลงานและวงจรสี ๘.๓ อปุ กรณว์ าดเขยี น สมุดวาดเขยี น สีโปสเตอร์ 9. การประเมนิ ผลรวบยอด ช้ินงานหรอื ภาระงาน เกณฑ์การประเมนิ ผลช้นิ งานหรอื ภาระงาน ประเมนิ ผลงานเรื่องสคี ตู่ รงขา้ มแบบเยอ้ื ง : กาหนดเกณฑ์ แนวในการให้คะแนน และคาอธิบายคุณภาพ น้าหนักคะแนน ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ เกณฑ์ 5 4 3 2 1. การวางแผน การปฏบิ ตั งิ านอย่าง การปฏิบัตงิ านอยา่ ง การปฏบิ ัตงิ านอย่างมี ไม่มกี ารวางแผนใน กอ่ นการปฏบิ ตั ิ ช้นิ งาน มลี าดบั ขั้นตอน มีลาดับขัน้ ตอน ลาดับขนั้ ตอน การปฏบิ ัตงิ านให้มี สามารถควบคุม สามารถควบคมุ เวลา สามารถควบคมุ เวลา ลาดับข้นั ตอน เวลาการทางานได้ ได้ แต่แบ่งเวลา ได้ แตแ่ บง่ เวลา และไม่ควบคุมเวลา อย่างเหมาะสม ผิดพลาดเลก็ น้อย ผิดพลาด การปฏิบัตงิ าน 2. ความถกู ต้อง สามารถทางานได้ สามารถทางานได้ สามารถทางานได้ ทางานไมต่ รงตาม สมบรู ณค์ รบถว้ น อยา่ งถกู ตอ้ งตาม ถูกตอ้ งตามหัวขอ้ ถูกตอ้ งตามหัวขอ้ หรอื หัวขอ้ หรอื คาชแ้ี จงท่ี ของชิน้ งาน หวั ขอ้ หรอื คาชแ้ี จง หรือคาชแ้ี จงกาหนด คาชี้แจงกาหนด แต่ กาหนด 3. ความประณีต กาหนดครบถว้ น แต่ผิดพลาดบ้าง ผิดพลาดปานกลาง มีความสรา้ งสรรค์ สะอาดสวยงาม สมบรู ณ์ เลก็ นอ้ ย สวยงาม แตม่ ี มคี วามสร้างสรรค์ และดงึ ดดู ใจ มีความสรา้ งสรรค์ มคี วามสร้างสรรค์ สวยงาม มลี อกเลียน การลอกเลยี นแบบ สวยงาม สวยงาม แบบเล็กน้อย ทาให้การนาเสนอ ไมล่ อกเลยี นแบบ ไมล่ อกเลียนแบบ มีการนาเสนอที่ ไม่น่าสนใจ มกี ารนาเสนอที่ มีการนาเสนอท่ี นา่ สนใจ แต่ขาด น่าสนใจ สะอาด นา่ สนใจ แตข่ าด เรียบร้อย ความสะอาด ความสะอาดเรยี บร้อย 4. การสง่ งานตรง สามารถทางาน เรียบรอ้ ย สามารถทางานเสรจ็ ไมส่ ง่ งานตามเวลาที่ สามารถทางาน ตามเวลาทกี่ าหนด เสรจ็ สมบูรณ์ เสร็จสมบูรณ์ สมบรู ณ์ ส่งไดแ้ ตไ่ ม่ กาหนดท้งั สามครัง้ ส่งได้ตรงตามเวลาที่ สง่ ได้แตไ่ ม่ตามเวลา ตามเวลาทกี่ าหนด กาหนดภายในชัน้ ท่ีกาหนดภายใน ภายในช้ันเรยี นในคร้งั เรียนได้ ชนั้ เรยี นในคร้งั แรก แรก ต้องมีการนดั ต้องมกี ารนัดหมาย หมายใหส้ ่งในครง้ั ที่ 3 ให้ส่งในครั้งถดั ไป คะแนนเต็ม 20 คะแนน รวมคะแนน..................คะแนน ลงชื่อผ้ปู ระเมนิ ...........................................
๒๖ คมู่ อื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ศิลปะ ป.๖) เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๖-๒๐ ดีมาก ๑๑-๑๕ ดี ๖-๑๐ พอใช้ ๑-๕ ควรปรับปรุง หมายเหตุ ระดบั ดีขึ้นไปจงึ ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์ แบบประเมนิ พฤตกิ รรม รายการประเมนิ ลาดบั ช่ือ-นามสกุล มุ่งม่นั ต้ังใจ เพียรพยายาม รบั ผิดชอบ รักษาและเหน็ ตรงต่อเวลา ที่ ทางาน อดทน คุณค่าของ อปุ กรณ์ ๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔ เกณฑ์การประเมินพฤตกิ รรม รายการประเมนิ ผล ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ ๔ ๓ ๒๑ ๑. นกั เรียนตงั้ ใจ ผ้เู รยี นมคี วามมงุ่ มัน่ ผเู้ รียนมีความม่งุ มน่ั ผูเ้ รียนมีความมุ่งมนั่ ผู้เรียนไม่มคี วาม ทางานทีไ่ ดร้ บั ตง้ั ใจทางานที่ได้รับ ตั้งใจทางานท่ไี ด้รบั ตงั้ ใจทางานท่ีได้รับ ม่งุ มั่นต้ังใจ มอบหมาย มอบหมายจนสาเร็จ มอบหมายจนสาเร็จ มอบหมายจนสาเร็จ ทางานทีไ่ ด้รบั ตลอดทง้ั คาบ แต่มคี ยุ เลน่ บ้าง มคี ุยเล่น และไมต่ ้งั ใจ มอบหมาย ทางานบ้าง จนสาเรจ็ ๒. ผเู้ รยี นทางานดว้ ย ผเู้ รยี นทางานดว้ ย ผ้เู รยี นทางานดว้ ย ผู้เรยี นทางานด้วย ผเู้ รยี นไม่มีความ ความเพียรพยายาม ความเพียรพยายาม ความเพยี รพยายาม ความเพียรพยายาม เพยี รพยายาม อดทนเพ่อื ทาใหเ้ สร็จ อดทนเพ่ือทาใหเ้ สร็จ อดทนเพ่อื ทาใหเ้ สรจ็ อดทนเพื่อทาใหเ้ สร็จ อดทนเพื่อ ตามเปา้ หมาย ตามเปา้ หมายตลอด ตามเปา้ หมาย แต่คยุ ตามเปา้ หมาย ทางานใหเ้ สรจ็ ทัง้ คาบ เลน่ กนั บา้ ง บางครงั้ มีคุยเล่น ตามเป้าหมาย และไมส่ นใจงานบา้ ง ๓. ผเู้ รยี นมีความ ผูเ้ รยี นสง่ งานตรง ผูเ้ รยี นสง่ งานชา้ ผู้เรยี นสง่ งานชา้ ผเู้ รยี นสง่ งานช้า รับผดิ ชอบส่งงานตรง ตามเวลาทก่ี าหนด 1 วนั 2 วัน 3 วันขึน้ ไป ตามเวลาทก่ี าหนด
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๑ เรอ่ื ง สสี ันงานศิลป์ ๒๗ รายการประเมินผล ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔. ผู้เรยี นรกั ษาและ เห็นคุณคา่ ของ ผู้เรียนเกบ็ และดแู ล ผเู้ รยี นดูแลอปุ กรณ์ท่ี ผเู้ รียนเกบ็ และดแู ล ผ้เู รียนไมเ่ กบ็ อุปกรณท์ ่ีใช้ในการ อุปกรณท์ ใ่ี ช้ใน ใชใ้ นการทางาน อุปกรณท์ ใี่ ชใ้ น และไมด่ ูแล ทางาน การทางานทกุ ช้ิน ทุกชิน้ แตเ่ กบ็ ไม่ การทางานบางชิ้น อปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ น ๕. ผเู้ รยี นเขา้ เรียน อยา่ งเรยี บรอ้ ย เรียบร้อย การทางาน ตรงตอ่ เวลา ผ้เู รียนเข้าเรยี นตรง ผเู้ รียนเขา้ เรียนชา้ ผเู้ รียนเข้าเรียนช้า ผูเ้ รยี นเขา้ เรียน เวลา 10-15 นาที 15-20 นาที ชา้ 30 นาทเี ปน็ ต้นไป เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๖-๒๐ ดีมาก ๑๑-๑๕ ดี ๖-๑๐ พอใช้ 1-5 ควรปรบั ปรงุ หมายเหตุ ระดบั ดขี ึ้นไปจงึ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์
๒๘ คูม่ อื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ศิลปะ ป.๖) 10. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการจดั การเรียนการสอน ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ความสาเรจ็ ........................................................................................................................ ................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................ ...................................................................................................................................... ................................................... ปญั หาและอุปสรรค ......................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................ ......................................................................... ........................................................................................................................... .............................................................. ข้อจากดั การใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ และขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการปรบั ปรงุ แก้ไข ....................................................................................................................... .................................................................. .................................................................................................................................. ....................................................... ......................................................................................................................................................................................... ลงชือ่ ......................................................ผสู้ อน (..........................................................) วนั ที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. ............. 11. ความคดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะของผู้บริหารหรอื ผู้ทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ลงชอื่ ...................................................... ผ้ตู รวจ (..........................................................) วันที่ .......... เดอื น ..................... พ.ศ. .............
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๑ เร่อื ง สสี ันงานศลิ ป์ ๒๙ แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๔ เรือ่ ง ออกแบบลายผา้ จากสคี ู่ตรงข้าม หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๑ เร่อื ง สีสนั งานศลิ ป์ เวลา ๑ ชัว่ โมง กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ิลปะ รายวิชาศลิ ปะ (ทัศนศิลป)์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ 1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชวี้ ดั ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่า งานทัศนศลิ ป์ ถ่ายทอดความรูส้ ึก ความคดิ ตอ่ งานศลิ ปะอยา่ งอิสระ ชืน่ ชม และประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจาวนั ป. ๖/๑ ระบสุ คี ู่ตรงข้าม และอภปิ รายเกีย่ วกับการใช้สีคตู่ รงขา้ มในการถา่ ยทอดความคิดและอารมณ์ ป. ๖/๖ สรา้ งสรรค์งานทัศนศลิ ป์โดยใชส้ ีคู่ตรงข้ามหลกั การจัดขนาดสดั สว่ น และความสมดลุ ๒. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด สี หมายถึง ลักษณะของแสงสว่างท่ีปรากฏแก่ตาให้เห็นเป็น สีขาว ดา แดง เขียว น้าเงิน เหลือง เป็นต้น ผ้เู รียนตอ้ งรับรแู้ ละเขา้ ใจหลักในการใช้สี เพอื่ มาสร้างสรรค์งานทศั นศลิ ป์ให้เกิดความสวยงามและเสมือนจรงิ การใชส้ ี ในงานทัศนศิลป์จาเปน็ ตอ้ งเรยี นรูเ้ ร่อื งทฤษฎีสี การผสมสใี นวงสีธรรมชาติ และการใช้สคี ่ตู รงขา้ ม ๓. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3.1 ด้านความรู้ ความเขา้ ใจ (K) - อธบิ ายข้ันตอนการสรา้ งสรรค์งานทศั นศลิ ป์โดยใชส้ ีคูต่ รงข้ามและหลกั การจดั ขนาดสดั ส่วน 3.2 ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) - สร้างสรรค์ลายผา้ โดยใชส้ ีค่ตู รงขา้ มหลักการจัดขนาดสดั ส่วน และความสมดลุ 3.3 ดา้ นคณุ ลกั ษณะ เจตคติ ค่านยิ ม (A) - นักเรียนตระหนักถึงความความสวยงามของงานทัศนศลิ ป์ - นกั เรยี นทางานดว้ ยความรักและเพยี รพยายามในการสร้างสรรคผ์ ลงาน - นักเรียนเห็นคุณคา่ ของงานทศั นศิลป์ทง้ั จติ รกรรม ประติมากรรม และภาพพมิ พ์ - นกั เรียนรักษาและเห็นคุณคา่ ของอุปกรณท์ ่ีใชใ้ นการทางาน ๔. สาระการเรยี นรู้ ๔.๑ วงสีธรรมชาติ และสีคู่ตรงข้าม ๔.๒ การจดั องค์ประกอบศลิ ป์ ๕. สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียน ๕.๑ ความสามารถในการคดิ - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะกระบวนการคดิ สร้างสรรค์ ๕.๒ ความสามารถในการสือ่ สาร - ความสามารถในการใชภ้ าษาถา่ ยทอดความคิด ความเข้าใจ ความรสู้ ึก และทัศนคติของตนเอง ๖. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๖.๑ ใฝ่เรียนรู้ ๖.๒ มุ่งมนั่ ในการทางาน 7. กิจกรรมการเรยี นรู้
๓๐ การจัดกิจกรรมการเรยี นร แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๔ เร่อื ง รายวิชา ศลิ ปะ (ทัศนศิลป์) หน่วยการเรียนร ลาดบั ขอบเขตเนอื้ หา/ ข้ันตอนการจัด เวลา กิจกรรมคร ที่ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ การเรียนรู้ ท่ีใช้ ๑ ข้ันนา ๑๐ 1. ครูนาภาพลายผ้าให้น นาที ดูแลว้ รว่ มกันวเิ คราะหเ์ ร การใช้สแี ละการจัดองค ทีม่ า : https://www.pinterest.c om/pin/80234448 9843403612/?nic_v2=1a 5XphC2V 2. ครูถามคาถาม นกั เร ออกแบบลายผ้าอยา่ งไร ความโดดเดน่ และนา่ สน
คู่มือครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ศิลปะ ป.๖) รู้ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ สอ่ื การเรยี นรู้ การประเมนิ ออกแบบลายผ้าจากสคี ูต่ รงข้าม การเรยี นรู้ รู้ที่ ๑ เรอ่ื ง สีสนั งานศิลป์ จานวน ๑ ช่วั โมง แนวการจัดการเรยี นรู้ รู กจิ กรรมนกั เรียน - ตัวอย่างภาพ - การถาม-ตอบ ลายผ้าที่ใชส้ ีคู่ นกั เรยี น 1. นกั เรยี นร่วมกันวเิ คราะหภ์ าพ รอ่ื ง ทค่ี รใู หด้ วู ่ามกี ารจัดจังหวะ ตรงขา้ ม คป์ ระกอบ และองคป์ ระกอบของภาพ การเลือกใช้ขนาดภาพให้ใหญ่ เพอื่ สร้างจุดเด่น วาดภาพขนาด เลก็ เพ่อื สรา้ งจุดรอง รวมถงึ การเลอื กใชส้ ที ่ีตรงข้ามกนั เพือ่ ความน่าสนใจและสวยงาม รียนจะ 2. นกั เรยี นร่วมกนั ตอบคาถาม รให้มี การเลอื กใช้ขนาดของภาพ และ นใจ การเลอื กใช้สีคู่ตรงข้ามที่ เหมาะสมจะทาให้เลายผา้ สวยงามและโดดเด่น
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๑ เรอ่ื ง สสี นั งานศลิ ป์ ลาดับ ขอบเขตเน้อื หา/ ขน้ั ตอนการจดั เวลา ที่ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ การเรียนรู้ ทใ่ี ช้ กจิ กรรมคร ข้นั สอน ๒ 1. อธบิ ายขัน้ ตอนการ ๑๐ 1. ครูสาธิตการวาดภาพ สร้างสรรค์งานทัศนศลิ ป์ ข้ันปฏิบตั ิ นาที แตกตา่ งกัน และการจดั โดยใช้สคี ู่ตรงขา้ มและ หลักการจดั ขนาดสดั ส่วน ลายผ้า พรอ้ มทงั้ สาธติ ก สนี า้ กับสชี อลก์ 3 2. สร้างสรรคล์ ายผ้าโดย 2. ครอู ธิบายเพมิ่ เติม ว ใชส้ ีคูต่ รงข้ามหลักการจัด สชี อลก์ ระบายภาพวาดจ ขนาดสดั สว่ น และความ ผา้ มสี สี ดแต่ต้องระวงั กา สมดุล ทาให้ภาพเลอะ ข้อดขี อ คือสามารถระบายสนี ้าท พ้นื หลงั ได้ ๓๐ 1. ครชู ีแ้ จงขัน้ ตอนการท นาที ผ้าสคี ตู่ รงข้ามด้วยการวา นักเรยี นสนใจ เตม็ กระดา ระบายรปู ที่วาด เวน้ พื้นห ระบาย ซึ่งสนี ้ากบั สชี อล์ก สีคูต่ รงข้าม 2. ครอู ภิปรายผลการใช้ส บางครัง้ ไมจ่ าเปน็ ต้องใช้ส โดยตรง หากแตส่ ามารถผ หรอื สีขาว เพอื่ ลดความร ตรงขา้ มได้
๓๑ แนวการจัดการเรียนรู้ ส่อื การเรยี นรู้ การประเมนิ การเรียนรู้ รู กจิ กรรมนกั เรยี น - ตัวอย่าง - แบบประเมิน พใหม้ ขี นาด 1. นักเรยี นร่วมกันสงั เกต ผลงาน ชิน้ งาน ดจงั หวะใน การระบายสีชอล์กกับสีน้า การระบาย มีวธิ กี ารทแ่ี ตกตา่ งกนั - Power Point ว่าการเลอื กใช้ 2.นักเรยี นรว่ มกนั วเิ คราะห์ - สีชอลก์ จะทาใหล้ าย การจดั วางและการจัดจังหวะ - สีนา้ ารใช้สีดาจะ ของภาพวาด รวมถงึ วิเคราะห์ องสชี อล์ก การระบายสีคตู่ รงขา้ มของ ทบั เปน็ สีชอลก์ กบั สนี า้ ทากจิ กรรมลาย ใหน้ กั เรยี นวาดภาพลายผ้าตาม - ตัวอย่าง าดลายที่ ความสนใจโดยใช้สีชอล์กระบาย ผลงาน าษใชส้ ชี อล์ก ลายผ้า ใช้สนี ้าทีต่ รงขา้ มกบั ลาย หลังไว้ใช้สีนา้ ผ้าระบายพนื้ หลัง - Power กต้องเปน็ Point - สชี อล์ก สีคู่ตรงข้าม สีคตู่ รงขา้ ม - สีนา้ ผสมสีข้างเคยี ง นุ แรงของสีคู่
๓๒ ลาดับ ขอบเขตเนื้อหา/ ขน้ั ตอนการจดั เวลา กิจกรรมคร ที่ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ การเรียนรู้ ทใี่ ช้ 4 3. ตระหนกั ถงึ คุณค่า ข้ันสรปุ ๑๐ 1. ครูพดู สรุปความรเู้ รือ่ ของผลงานทศั นศลิ ป์ นาที การออกแบบลายผ้าด้วย 2. ครูวจิ ารณ์ผลงานนกั ชี้แนะแนวทางการปรบั ป
คมู่ ือครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ศิลปะ ป.๖) แนวการจัดการเรยี นรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมิน การเรียนรู้ รู กจิ กรรมนักเรยี น - ถาม-ตอบ อง นกั เรียนอธบิ ายความรูส้ กึ หรอื ยสีคูต่ รงข้าม ความประทบั ใจจากผลงานที่ กเรยี นพรอ้ ม นักเรียนทา พร้อมบอกแนวทาง ปรงุ แกไ้ ข และการนาไปใชใ้ นผลงาน ครง้ั หน้า
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๑ เรอื่ ง สสี ันงานศลิ ป์ ๓3 8. สือ่ การเรียนร/ู้ แหล่งเรยี นรู้ ๘.๑ Power Point ๘.๒ ตัวอยา่ งผลงานลายผา้ 9. การประเมนิ ผลรวบยอด ช้ินงานหรอื ภาระงาน - เกณฑก์ ารประเมนิ ผลชิ้นงานหรือภาระงาน เกณฑก์ ารประเมินผลชิน้ งานวาดภาพระบายสี รายการประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ๕ ๓๑ 1. ความคิด สรา้ งสรรค์ นักเรียนสร้างสรรค์ชน้ิ งานได้ นกั เรยี นสรา้ งสรรค์ชนิ้ งานได้ นักเรียนสร้างสรรค์ชิน้ งาน แปลกใหม่ มีความน่าสนใจ แปลกใหม่แตย่ ังดูไม่น่าสนใจ ยังไม่ค่อยแปลกใหม่และยงั 2. การใชส้ ี นกั เรียนลงสีชน้ิ งานอยา่ ง ไมค่ ่อยน่าสนใจ สมบรู ณ์ เรียบเนยี น ลงสีอยู่ 3. ความประณีต ภายในกรอบไม่ออกนอกเสน้ นักเรียนลงสีชิน้ งานอยา่ ง นักเรยี นลงสีช้ินงาน เรยี บรอ้ ย ลงสีสนั สวยงามและน่าสนใจ สมบรู ณ์ เรียบเนียน ไม่ออก ไม่สมบรู ณ์ นอกเส้นแตย่ งั เลือกใชส้ สี นั ได้ นกั เรียนทางานประณีต ไม่เหมาะสม เรยี บรอ้ ย สะอาด นักเรยี นทางานประณีต นักเรียนทางานไม่ประณตี เรยี บร้อยแต่ค่อนขา้ งสกปรก ไม่เรียบร้อยและสกปรก เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ ๑๑-๑๕ ดมี าก ๖-๑๐ ดี ๑-๕ พอใช้ หมายเหตุ ระดบั ดขี น้ึ ไปจึงถือวา่ ผา่ นเกณฑ์
๓4 คมู่ ือครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ศลิ ปะ ป.๖) 10. บันทึกผลหลังสอน ผลการจดั การเรียนการสอน ........................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................ ความสาเร็จ ........................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................ ปัญหาและอปุ สรรค .............................................................................................................. .......................................................................... .......................................................................................................................... .............................................................. ............................................................................................................................. ........................................................... ขอ้ จากดั การใช้แผนการจดั การเรยี นรู้ และขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการปรับปรงุ แกไ้ ข ............................................................................................................................. ........................................................... ........................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ........................................................... ลงชอ่ื ......................................................ผสู้ อน (..........................................................) วนั ท่ี .......... เดือน ..................... พ.ศ. ............. 11. ความคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ไดร้ ับมอบหมาย ........................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................ ลงชือ่ ...................................................... ผู้ตรวจ (..........................................................) วนั ท่ี .......... เดอื น ..................... พ.ศ. .............
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๑ เร่อื ง สีสนั งานศลิ ป์ 35 แบบประเมินตนเอง ชอื่ : ____________________ สกลุ : ___________________วนั ____ เดอื น____________พ.ศ. _________ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ ๑ เร่ือง สสี นั งานศลิ ป์ ๑. ประเมนิ การเรยี นรขู้ องตนเอง กาเครือ่ งหมาย √ ในช่องระดบั ความสามารถของแตล่ ะกจิ กรรมทนี่ ักเรียนคดิ ว่าทาได้ตามระดับการประเมินเหลา่ น้ี ระดบั ความสามารถ : ดมี าก ค่อนขา้ งดี ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ ระดบั ความสามารถ ท่ี รายการ ดมี าก คอ่ น ดี พอใช้ ปรับ ข้างดี ปรุง ๑ วงสธี รรมชาติ ๒ ผสมสีคู่ตรงขา้ ม ๓ สคี ู่ตรงข้ามแบบเย้ือง ๔ ออกแบบลายผ้า 2. สิ่งทีฉ่ นั ยังไม่เข้าใจ / ยังทาไดไ้ มด่ ี คือ…… (สามารถเขียนได้มากกว่า 1 อยา่ ง) …………………………………………….............................................................................................................. ............................................................................................................................. .................................... …………………………………………….............................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................... 3. สงิ่ ทฉี่ ันตง้ั ใจจะทาใหด้ ีข้ึนในการเรียนหน่วยตอ่ ไป (สามารถเขยี นไดม้ ากกว่า 1 อย่าง) …………………………………………….............................................................................................................. ……………………………………………............................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................
36 คู่มอื ครูและแผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ศิลปะ ป.๖) หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 2 องคป์ ระกอบศิลป์
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 2 เรื่อง องคป์ ระกอบศิลป์ ๓7 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ ชอ่ื หนว่ ยการเรยี นรู้ องค์ประกอบศลิ ป์ รหสั วิชา ศ๑๖๑๐๑ รายวชิ า ศลิ ปะ(ทัศนศลิ ป์) กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ศิลปะ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔ ชั่วโมง …………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………….. ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชีว้ ัด สาระ ทศั นศิลป์ มาตรฐานศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คณุ คา่ งานทศั นศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจาวัน ตัวช้ีวดั ศ ๑.๑ ป.๖/๒ อธบิ ายหลักการจัดขนาดสดั ส่วนความสมดุลในการสร้างงานทัศนศลิ ป์ ศ ๑.๑ ป.๖/๕ สรา้ งสรรคง์ านทัศนศิลปโ์ ดยใช้หลักการ ของรูปและพน้ื ท่วี ่าง ศ ๑.๑ ป.๖/๖ สร้างสรรค์งานทศั นศลิ ปโ์ ดยใชส้ คี ูต่ รงข้ามหลักการจดั ขนาดสัดส่วนและความสมดุล ๒. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด องค์ประกอบศิลป์ เป็นส่ิงสาคัญในการสร้างงานศิลปะ การจัดวางให้ผลงานทัศนศิลป์เกิดความสวยงาม นา่ สนใจ รปู แบบการจัดวางองคป์ ระกอบศิลปแ์ ต่ละรปู แบบจะใหอ้ ารมณืความรสู้ กึ ของภาพต่างกันออกไปด้วย ๓. สาระการเรียนรู้ ความรู้ - อธิบายหลักการจัดขนาดสัดส่วนความสมดุลในการสร้างงานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความคิด และอารมณ์ ทกั ษะ/กระบวนการ - สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์โดยใช้สีคู่ตรงข้ามหลักการจัดขนาดสัดส่วน และความสมดุล โดยใช้ หลักการของรูปและพืน้ ที่ว่าง เจตคติ - ทัศนคติท่ีดีตอ่ งานทศั นศิลป์ มองเหน็ คณุ คา่ และความสาคัญของงานทศั นศลิ ป์ ๔. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น ความสามารถในการคิด - ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ - ทักษะกระบวนการคดิ สร้างสรรค์
38 คมู่ อื ครูและแผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ศิลปะ ป.๖) ความสามารถในการสือ่ สาร - ความสามารถในการใช้ภาษาถา่ ยทอดความคดิ ความรู้ ความเข้าใจ ความรสู้ กึ และทัศนะ ของตนเอง ๕. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ - มีวนิ ัย - ใฝเ่ รยี นรู้ - มงุ่ มั่นในการทางาน - มจี ติ ธารณะ ในการชว่ ยเหลอื และแบง่ ปนั วสั ดุอุปกรณ์ในการทางาน ๖. การประเมินผลรวบยอด ช้ินงานหรอื ภาระงาน - ภาพวาดระบายสี เกณฑ์การประเมนิ ผลชน้ิ งานหรือภาระงาน ประเมินผลงาน : กาหนดเกณฑ์ แนวในการใหค้ ะแนน และคาอธิบายคณุ ภาพ น้าหนักคะแนน ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรงุ 2 เกณฑ์ 54 3 ไมม่ ีการวางแผน 1. การวางแผน การปฏบิ ตั งิ านอย่าง การปฏิบัตงิ านอยา่ ง การปฏิบตั งิ านอย่าง ในการปฏบิ ัตงิ าน ใหม้ ลี าดบั ขน้ั ตอน กอ่ นการปฏิบัติ มีลาดับขัน้ ตอน มีลาดับขั้นตอน มลี าดับข้นั ตอน และไม่ควบคมุ เวลา การปฏบิ ตั งิ าน ชนิ้ งาน สามารถควบคมุ สามารถควบคุม สามารถควบคุมเวลา ทางานไมต่ รงตาม เวลาการทางานได้ เวลาได้ แตแ่ บ่ง ได้ แต่แบง่ เวลา หัวขอ้ หรือคาชแี้ จง ทกี่ าหนด อย่างเหมาะสม เวลาผิดพลาด ผิดพลาด มีความสร้างสรรค์ เลก็ นอ้ ย สวยงาม แต่มี การลอกเลยี นแบบ 2. ความถูกต้อง สามารถทางานได้ สามารถทางานได้ สามารถทางานได้ ทาให้การนาเสนอ ไมน่ า่ สนใจ สมบรู ณ์ครบถ้วน อยา่ งถกู ต้องตาม ถกู ตอ้ งตามหวั ขอ้ ถูกตอ้ งตามหวั ข้อ ของชิน้ งาน หัวขอ้ หรือคาชแี้ จง หรอื คาชี้แจง หรอื คาชแ้ี จงกาหนด กาหนดครบถว้ น กาหนด แต่ แต่ผิดพลาดปาน สมบรู ณ์ ผดิ พลาดบ้าง กลาง เล็กนอ้ ย 3. ความประณีต มีความสรา้ งสรรค์ มคี วามสรา้ งสรรค์ มคี วามสรา้ งสรรค์ สะอาดสวยงาม สวยงาม สวยงาม สวยงาม และดึงดดู ใจ ไมล่ อกเลยี นแบบ ไมล่ อกเลยี นแบบ มีลอกเลยี นแบบ มีการนาเสนอที่ มีการนาเสนอที่น่า เลก็ นอ้ ย มกี าร นา่ สนใจ สะอาด สนในใจ แต่ขาด นาเสนอทนี่ า่ สนในใจ เรียบรอ้ ย ความสะอาด แต่ขาดความสะอาด เรียบรอ้ ย เรยี บร้อย
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2 เรื่อง องค์ประกอบศลิ ป์ ๓9 ประเมินผลงาน : กาหนดเกณฑ์ แนวในการให้คะแนน และคาอธิบายคุณภาพ น้าหนักคะแนน ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง 43 2 เกณฑ์ 5 4. การสง่ งานตรง สามารถทางาน สามารถทางาน สามารถทางานเสรจ็ ไม่ส่งงานตามเวลา เสรจ็ สมบรู ณ์ สมบรู ณ์ สง่ ได้แต่ ทก่ี าหนดทง้ั สามครงั้ ตามเวลาทกี่ าหนด เสรจ็ สมบูรณ์ ส่งไดแ้ ตไ่ ม่ตามเวลา ไมต่ ามเวลาทก่ี าหนด ส่งได้ตรงตามเวลา ทีก่ าหนดภายใน ภายในช้นั เรยี นใน ชน้ั เรยี นในครง้ั แรก คร้งั แรก ต้องมี ท่ีกาหนดภายใน ต้องมกี ารนดั หมาย การนัดหมายใหส้ ง่ ชน้ั เรยี นได้ ใหส้ ง่ ในครง้ั ถัดไป ในคร้ังที่ 3 เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๖-๒๐ ดมี าก ๑๑-๑๕ ดี ๖-๑๐ พอใช้ ๑-๕ ควรปรับปรงุ หมายเหตุ ระดบั ดีขน้ึ ไปจงึ ถือวา่ ผ่านเกณฑ์
๔๐ คู่มือครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ศิลปะ ป.๖) แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๑ เรื่อง ขนาดและสัดสว่ นในงานทัศนศลิ ป์ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๒ เรอื่ ง องค์ประกอบศิลป์ เวลา ๑ ช่ัวโมง กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวชิ าศลิ ปะ (ทัศนศลิ ป)์ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๖ 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ัด ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณคา่ งานทัศนศลิ ป์ ถา่ ยทอดความรู้สึก ความคดิ ต่องานศิลปะอย่างอสิ ระ ช่นื ชม และประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจาวนั ป. ๖/๒ อธบิ ายหลักการจัดขนาดสดั ส่วนความสมดลุ ในการสรา้ งงานทศั นศิลป์ ป. ๖/๖ สร้างสรรค์งานทศั นศลิ ปโ์ ดยใช้สีคตู่ รงข้ามหลักการจดั ขนาดสดั ส่วน และความสมดุล ๒. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด การจัดขนาดภาพและสัดส่วนเป็นส่ิงสาคัญท่ีช่วยให้ผลงานศิลปะดูสวยงามและน่าชมมากย่ิงขึ้น ในการจัด ขนาดและสัดส่วนของภาพเราสามารถทาได้โดยพิจารณาว่าผลงานศิลปะนั้นมีขนาดท่ีเหมาะสมกับขนาดของกรอบ หรอื ไม่ และมีสัดส่วนที่พอดีกบั ขนาดหรอื ไม่ ๓. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ ความเขา้ ใจ (K) - อธิบายข้ันตอนการสร้างสรรคง์ านทัศนศิลปโ์ ดยใช้หลกั การจดั ขนาดสดั สว่ นของภาพ 3.2 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) - สรา้ งสรรคผ์ ลงานทัศนศิลป์จากการจดั ขนาดและสัดส่วนของภาพ 3.3 ดา้ นคุณลกั ษณะ เจตคติ ค่านยิ ม (A) - นักเรียนตระหนกั ถงึ ความความสวยงามของงานทศั นศิลป์ - นกั เรยี นทางานดว้ ยความรักและเพยี รพยายามในการสร้างสรรค์ผลงาน - นกั เรียนเห็นคุณค่าของงานทัศนศลิ ป์ท้งั จติ รกรรม ประติมากรรม และภาพพมิ พ์ - นักเรียนรักษาและเหน็ คณุ ค่าของอุปกรณท์ ี่ใช้ในการทางาน ๔. สาระการเรยี นรู้ ๔.๑ องค์ประกอบศิลป์ และการจดั ขนาดสดั ส่วนของภาพ ๕. สมรรถนะสาคัญของผ้เู รียน ๕.๑ ความสามารถในการคิด - ทักษะการคดิ วิเคราะห์ - ทกั ษะกระบวนการคดิ สรา้ งสรรค์ ๕.๒ ความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคดิ ความเข้าใจ ความร้สู กึ และทศั นคตขิ องตนเอง ๖. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ ใฝ่เรยี นรู้ ๖.๒ มงุ่ ม่ันในการทางาน 7. กิจกรรมการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรูท้ ่ี ๒ เรอ่ื ง องคป์ ระกอบศลิ ป์ กจิ กรรมการเรียนรู้ ช แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๑ เรอ่ื ง ข รายวชิ า ศิลปะ (ทัศนศิลป)์ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ลาดบั ขอบเขตเน้ือหา/ ขนั้ ตอนการจัด เวลา กจิ กรรม ที่ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ การเรียนรู้ ที่ใช้ ๑ ข้นั นา ๑๐ 1. ครวู าดส้ม ๑ ลกู บ นาที แลว้ ถามนักเรยี นวา่ ส มีขนาดเลก็ หรอื ขนา นักเรียนใชเ้ กณฑ์อะ 2. ครูวาดสม้ เพม่ิ อีก ใหญ่กวา่ เดมิ ให้นกั เ เปรียบเทียบขนาดแล เพม่ิ เตมิ ว่าเราสามาร ของสิ่งทว่ี าดได้วา่ เลก็ กต็ ่อเมื่อวดั กบั สงิ่ ใดส เปรียบเทียบกนั 3. ครูถามนักเรยี นว จะวาดภาพแต่ไม่กาห ภาพกบั สัดส่วนของก ผลงานจะออกมาเป็น
41 ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ส่ือการเรยี นรู้ การประเมนิ ขนาดและสดั สว่ นในงานทศั นศลิ ป์ การเรยี นรู้ ๒ เร่อื ง องคป์ ระกอบศลิ ป์ จานวน ๑ ชั่วโมง - การถาม-ตอบ แนวการจดั การเรยี นรู้ มครู กิจกรรมนกั เรียน บนกระดาน 1. นักเรยี นร่วมกนั วเิ คราะห์ ส้มผลน้ี ภาพบนกระดาน แลว้ ตอบ าดใหญ่ คาถามวา่ มขี นาดเลก็ /ใหญ่ ไรตัดสินขนาด ใช้สัดสว่ นของกระดาน ก แตม่ ขี นาด เป็นเกณฑ์ เรยี น ละอธบิ าย รถบอกขนาด กหรอื ใหญ่ สง่ิ หนง่ึ ว่าถ้านกั เรียน 2. นกั เรยี นรว่ มกนั ตอบคาถาม หนดขนาดของ หากไมม่ ีการกาหนดขนาดและ กระดาษ สดั สว่ นของภาพวาด จะทาให้ นอยา่ งไร ผลงานท่ีไดไ้ ม่สมส่วน อาจจะ เลก็ หรอื ใหญเ่ กินไปไม่ เหมาะสมกบั สดั สว่ น ของกระดาษ
๔2 ลาดับ ขอบเขตเนื้อหา/ ขั้นตอนการจดั เวลา กจิ กรรม ท่ี จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ การเรียนรู้ ท่ใี ช้ 4. ครถู ามคาถาม น มวี ิธกี ารจัดขนาดแล ในภาพวาดไดอ้ ย่างไ ๒ 1. อธบิ ายขน้ั ตอน ขั้นสอน ๑๐ 1. ครสู าธติ การร่าง การสร้างสรรคง์ านทัศนศลิ ป์ นาที กระดาน ยกตวั อยา่ โดยใช้หลกั การจดั ขนาด แจกันกับดอกไม้ ให สดั ส่วน รปู รา่ งแจกนั เปน็ เรข ส่ีเหล่ียมหรอื วงกลม แล้วร่างดอกไม้เป็นร ใหม้ ขี นาดเลก็ กลาง เพอื่ สรา้ งจุดเด่นของ ไมใ่ ห้มขี นาดเท่ากัน 2. ครอู ธิบายเพมิ่ เต ภาพหรือการเขียนภ ขนาดและสดั ส่วน
คมู่ อื ครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ศิลปะ ป.๖) แนวการจดั การเรียนรู้ สอื่ การเรยี นรู้ การประเมิน การเรียนรู้ มครู กจิ กรรมนกั เรียน - ตัวอยา่ ง นกั เรียน ผลงาน - แบบประเมิน ละสัดส่วน 3. นักเรียนตอบคาถามวา่ - Power Point ชน้ิ งาน ไรบ้าง กอ่ นการวาดภาพลงบน เร่อื งขนาดและ กระดาษ เราต้องใช้ดินสอ รา่ ง สดั สว่ นในงาน งภาพบน ภาพเบา ๆ โดยไมล่ งน้าหนกั ทศั นศลิ ป์ างการวาดภาพ เข้มและรา่ งเป็นรูปรา่ ง - สโี ปสเตอร์ หร้ ่างภาพ เรขาคณิตง่าย ๆ ขาคณิต ใหม้ ีขนาดและสดั สว่ น มง่าย ๆ เหมาะสมกบั ขนาดกระดาษ รปู ร่างวงกลม 1. นักเรียนรว่ มกนั สังเกต ง ใหญ่ การระบายสีชอลก์ กับสนี ้า งดอกไม้ มีวิธีการท่แี ตกตา่ งกัน น 2. นกั เรียนร่วมกันวเิ คราะห์ ตมิ ว่าการจดั การจดั วางและการจดั จังหวะ ภาพให้ได้ ของภาพวาด รวมถึงวิเคราะห์ การระบายสคี ู่ตรงขา้ มของสี ชอล์กกับสนี า้
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี ๒ เร่ือง องค์ประกอบศลิ ป์ ลาดบั ขอบเขตเนอื้ หา/ ขนั้ ตอนการจดั เวลา กิจกรรม ที่ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ การเรียนรู้ ทใ่ี ช้ จนเกิดความสมสว่ น กนั ซง่ึ เกดิ ความสัมพ ในการวาดสัดส่วนม มากและจะต้องสมั พ เป็นอยา่ งดี 3. ครูใหน้ ักเรยี นเป ขนาดของสิง่ ของใน และเปรียบเทียบขน กบั สดั สว่ นของโต๊ะน 3 2. สร้างสรรคผ์ ลงาน ข้นั ปฏบิ ัติ ๓๐ 1. ครชู ้แี จงขนั้ ตอน ทศั นศิลปจ์ ากการจัดขนาด นาที กจิ กรรมวาดภาพแจ และสัดส่วนของภาพ โดยใช้เทคนิคสีโปสเ ใหน้ กั เรียนรา่ งภาพ ขนาดของดอกไม้ให กับสัดส่วนของกระด
๔๓ แนวการจดั การเรยี นรู้ ส่ือการเรยี นรู้ การประเมนิ การเรียนรู้ มครู กจิ กรรมนกั เรียน น ซึ่งกันและ พนั ธ์กนั ดว้ ยดี มีความสาคัญ พนั ธ์กบั ขนาด ปรยี บเทียบ 3. นักเรียนเปรยี บเทยี บขนาด - ตวั อยา่ ง นหอ้ ง ผลงาน นาดของส่ิงของ ยกตัวอยา่ งเชน่ เปรียบเทียบ นกั เรยี น ขนาดของดินสอกบั ปากกา - Power Point และเปรยี บเทียบขนาดดินสอ เรื่องขนาดและ นการทา สัดส่วนในงาน จกนั ดอกไม้ ปากกา กบั สดั ส่วนของโตะ๊ เตอร์ นกั เรียน มสี ดั สว่ นที่ ทศั นศลิ ป์ พ กาหนด ไมเ่ หมาะสมเพราะดนิ สอ หส้ มสว่ น ดาษ กับปากกา มขี นาดเลก็ ให้นักเรยี นทากจิ กรรมวาด ภาพแจกันดอกไม้ โดยใช้ เทคนิคสโี ปสเตอร์ ใหน้ กั เรียน รา่ งภาพ กาหนดขนาดของ ดอกไมใ้ หส้ มส่วนกบั สดั สว่ น ของกระดาษ
๔4 ลาดบั ขอบเขตเนื้อหา/ ข้ันตอนการจัด เวลา กิจกรรม ที่ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ การเรียนรู้ ที่ใช้ 4 3. ตระหนกั ถงึ คุณคา่ ของ 2. ครอู ภิปรายผลก ผลงานทัศนศลิ ป์ ขนาดและสดั สว่ นขอ การสรุปเป็นแผนผงั ขั้นสรุป ๑๐ 1. ครพู ดู สรปุ ความ นาที โปสเตอร์และการจัด สัดส่วนของภาพวาด 2. ครูวิจารณผ์ ลงาน พรอ้ มช้ีแนะแนวทา แก้ไข
คู่มือครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ศิลปะ ป.๖) แนวการจัดการเรยี นรู้ สื่อการเรยี นรู้ การประเมนิ - สโี ปสเตอร์ การเรยี นรู้ มครู กจิ กรรมนกั เรียน การกาหนด องภาพ ด้วย งความคดิ มรเู้ รอ่ื งการใชส้ ี นักเรียนอธบิ ายความร้สู กึ หรือ - ถาม-ตอบ ดขนาด ความประทบั ใจจากผลงาน ด ทีน่ กั เรียนทา พร้อมบอก นนกั เรียน แนวทางและการนาไปใช้ใน างการปรบั ปรงุ ผลงานคร้ังหนา้
หน่วยการเรียนร้ทู ่ี ๒ เรื่อง องค์ประกอบศลิ ป์ ๔๕ 8. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรยี นรู้ ๘.๑ Power Point ๘.๒ ตัวอย่างผลงานขนาดและสดั ส่วน ๘.๓ อุปกรณว์ าดเขียน สมุดวาดเขียน สโี ปสเตอร์ 9. การประเมนิ ผลรวบยอด ชิ้นงานหรอื ภาระงาน เกณฑก์ ารประเมินผลชิ้นงานหรอื ภาระงาน ประเมินผลงานเร่ืองขนาดและสัดสว่ น : กาหนดเกณฑ์ แนวในการให้คะแนน และคาอธบิ ายคุณภาพ น้าหนกั คะแนน ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ เกณฑ์ 5 4 3 2 1. การวางแผน การปฏิบตั ิงานอย่างมี การปฏิบตั ิงานอย่าง การปฏิบตั ิงานอยา่ ง ไมม่ ีการวางแผน กอ่ นการปฏบิ ตั ิ ลาดบั ขัน้ ตอน สามารถ มลี าดบั ข้ันตอน สามารถ มลี าดบั ขนั้ ตอน ในการปฏิบตั งิ าน ชน้ิ งาน ควบคมุ เวลา ควบคุมเวลาได้ แต่แบ่ง สามารถควบคุมเวลา ให้มลี าดับขน้ั ตอน การทางานได้อย่าง เวลาผดิ พลาดเล็กนอ้ ย ได้ แตแ่ บง่ เวลา และไมค่ วบคมุ เวลา เหมาะสม ผดิ พลาด การปฏบิ ตั ิงาน 2. ความถูกตอ้ ง สามารถทางานได้ สามารถทางานไดถ้ ูกตอ้ ง สามารถทางานได้ ทางานไม่ตรงตาม สมบูรณค์ รบถว้ น อยา่ งถูกตอ้ งตามหวั ข้อ ตามหวั ขอ้ หรือคาชแ้ี จง ถกู ตอ้ งตามหวั ขอ้ หวั ข้อหรือคาช้แี จงท่ี ของช้นิ งาน หรอื คาชีแ้ จงกาหนด กาหนด แตผ่ ดิ พลาดบา้ ง หรือคาชีแ้ จงกาหนด กาหนด ครบถ้วนสมบรู ณ์ เลก็ นอ้ ย แตผ่ ดิ พลาดปานกลาง 3. ความประณตี มีความสรา้ งสรรค์ มคี วามสร้างสรรค์ มคี วามสรา้ งสรรค์ มคี วามสรา้ งสรรค์ สะอาดสวยงาม สวยงาม สวยงาม ไม่ลอกเลยี น สวยงาม มลี อกเลียน สวยงาม แตม่ ี และดงึ ดดู ใจ ไมล่ อกเลยี นแบบ แบบ มีการนาเสนอ แบบเลก็ นอ้ ย กาลอกเลยี นแบบ มีการนาเสนอที่ ทนี่ ่าสนใจ แต่ขาด มีการนาเสนอ ทาให้การนาเสนอ น่าสนใจ สะอาด ความสะอาดเรียบร้อย ที่น่าสนใจ แตข่ าด ไมน่ า่ สนใจ เรียบรอ้ ย ความสะอาดเรียบรอ้ ย 4. การส่งงานตรง สามารถทางานเสรจ็ สามารถทางานเสรจ็ สามารถทางานเสร็จ ไมส่ ่งงานตามเวลาที่ ตามเวลา สมบรู ณ์ สง่ ไดต้ รงตาม สมบูรณ์ สง่ ได้สามารถ สมบูรณ์ สง่ ได้แต่ไม่ กาหนด ที่กาหนด เวลาท่กี าหนดภายใน ทางานเสรจ็ สมบูรณ์ ตามเวลาท่ีกาหนด ท้งั สามคร้งั ชนั้ เรียนได้ ส่งไดแ้ ตไ่ มต่ ามเวลาที่ ภายในช้นั เรยี นในครง้ั กาหนดภายในชัน้ เรยี น แรก ต้องมีการนดั ในครัง้ แรก ต้องมกี ารนดั หมายใหส้ ง่ ในครง้ั ท่ี 3 หมายใหส้ ง่ ในครงั้ ถดั ไป คะแนนเตม็ 20 คะแนน รวมคะแนน..................คะแนน ลงชื่อผ้ปู ระเมิน...........................................
๔6 คู่มือครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ศลิ ปะ ป.๖) เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ ๑๖-๒๐ ดมี าก ๑๑-๑๕ ดี ๖-๑๐ พอใช้ ๑-๕ ควรปรบั ปรุง หมายเหตุ ระดบั ดขี ้นึ ไปจึงถือวา่ ผา่ นเกณฑ์ แบบประเมนิ พฤตกิ รรม รายการประเมนิ ลาดับ ชอื่ -นามสกุล มุง่ มน่ั ต้งั ใจ เพียรพยายาม รบั ผิดชอบ รกั ษาและเหน็ ตรงต่อเวลา ท่ี ทางาน อดทน คณุ ค่าของ อปุ กรณ์ ๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๒ เรื่อง องค์ประกอบศลิ ป์ ๔7 เกณฑ์การประเมินพฤตกิ รรม รายการประเมินผล ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ๔ ๓ ๒๑ ๑. นักเรยี นตง้ั ใจ ผเู้ รียนมีความมงุ่ ม่นั ผ้เู รยี นมคี วามมงุ่ ม่ัน ผเู้ รียนมีความมงุ่ ม่นั ผเู้ รียนไม่มีความ ทางานท่ไี ดร้ บั ต้ังใจทางานทไี่ ด้รบั ตั้งใจทางานทไ่ี ด้รับ ต้งั ใจทางานทีไ่ ด้รับ มงุ่ มัน่ ตัง้ ใจทางาน มอบหมาย มอบหมายจนสาเร็จ มอบหมายจนสาเรจ็ มอบหมายจนสาเรจ็ ที่ไดร้ บั มอบหมาย ตลอดท้งั คาบ แต่มีคุยเล่นบ้าง มีคุยเลน่ และไม่ตัง้ ใจ จนสาเรจ็ ทางานบา้ ง ๒. ผเู้ รียนทางาน ผ้เู รยี นทางานด้วย ผูเ้ รียนทางานดว้ ย ผู้เรียนทางานด้วย ผู้เรียนไม่มีความ ด้วยความเพียร ความเพยี รพยายาม ความเพยี รพยายาม ความเพียรพยายาม เพยี รพยายาม พยายาม อดทนเพื่อ อดทนเพ่ือทาใหเ้ สร็จ อดทนเพอ่ื ทาใหเ้ สร็จ อดทนเพ่ือทาใหเ้ สร็จ อดทนเพอ่ื ทางาน ทาใหเ้ สรจ็ ตาม ตามเปา้ หมายตลอด ตามเปา้ หมาย แตค่ ยุ ตามเปา้ หมาย ใหเ้ สรจ็ ตาม เป้าหมาย ทงั้ คาบ เล่นกนั บ้าง บางครง้ั มคี ุยเล่น เป้าหมาย และไม่สนใจงานบ้าง ๓. ผเู้ รยี นมีความ ผู้เรยี นสง่ งานตรงตาม ผูเ้ รยี นสง่ งานชา้ ผู้เรียนสง่ งานชา้ ผเู้ รียนสง่ งานช้า รบั ผดิ ชอบสง่ งาน เวลาทีก่ าหนด 1 วนั 2 วนั 3 วนั ขึ้นไป ตรงตามเวลาที่ กาหนด ๔. ผเู้ รียนรักษาและ ผเู้ รียนเกบ็ และดูแล ผู้เรียนดแู ลอปุ กรณ์ท่ี ผู้เรียนเกบ็ และดูแล ผูเ้ รียนไมเ่ กบ็ เหน็ คณุ ค่าของ อปุ กรณท์ ี่ใชใ้ น ใชใ้ นการทางาน อปุ กรณท์ ใี่ ชใ้ น และไม่ดูแล อปุ กรณท์ ี่ใช้ในการ การทางานทุกชิน้ ทกุ ชน้ิ แตเ่ กบ็ ไม่ การทางานบางชนิ้ อปุ กรณท์ ใ่ี ช้ ทางาน อยา่ งเรยี บร้อย เรียบร้อย ในการทางาน ๕. ผู้เรียนเขา้ เรยี น ผเู้ รยี นเข้าเรียน ตรง ผู้เรียนเข้าเรียนชา้ ผ้เู รยี นเข้าเรียนช้า ผเู้ รียนเข้าเรยี นชา้ ตรงต่อเวลา เวลา 10-15 นาที 15-20 นาที 30 นาที เปน็ ต้นไป เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๖-๒๐ ดมี าก ๑๑-๑๕ ดี ๖-๑๐ พอใช้ 1-5 ควรปรบั ปรุง หมายเหตุ ระดบั ดขี ้ึนไปจึงถือว่าผา่ นเกณฑ์
๔8 คู่มอื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ศลิ ปะ ป.๖) 10. บันทึกผลหลังสอน ผลการจัดการเรียนการสอน ............................................................................................................................. ............................................................ ........................................................................................................................................................................ ................. ................................................................................................................. ........................................................................ ความสาเรจ็ ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ปญั หาและอปุ สรรค ......................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................ ................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................ ขอ้ จากดั การใช้แผนการจดั การเรียนรู้ และขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการปรับปรงุ แก้ไข ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ......................................................ผสู้ อน (..........................................................) วนั ที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. ............. 11. ความคดิ เหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผู้บริหารหรือผ้ทู ไี่ ด้รับมอบหมาย ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ลงช่อื ...................................................... ผตู้ รวจ (..........................................................) วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............
หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี ๒ เรือ่ ง องค์ประกอบศิลป์ 49 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ จัดการเรียนร้ทู ี่ เรอ่ื ง ความสมดลุ เวลา ๑ ชั่วโมง กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ เรอ่ื ง องคป์ ระกอบศลิ ป์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ รายวิชาศิลปะ (ทัศนศิลป)์ 1. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวชว้ี ัด ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คณุ ค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรสู้ ึก ความคดิ ต่องานศิลปะอยา่ งอิสระ ชนื่ ชม และประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตประจาวนั ป. ๖/๒ อธบิ ายหลักการจดั ขนาดสดั ส่วนความสมดลุ ในการสรา้ งงานทัศนศิลป์ ป. ๖/๖ สรา้ งสรรคง์ านทัศนศิลป์โดยใชส้ ีคตู่ รงข้ามหลักการจัดขนาดสดั สว่ น และความสมดุล ๒. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด การจดั ความสมดุลของภาพ มกั ยึดจดุ กงึ่ กลางของภาพเป็นหลัก แล้วจึงจัดแบ่งองค์ประกอบอื่น ๆ จัดวางไว้ ด้านบน ด้านล่าง ดา้ นซา้ ย หรือดา้ นขวา เพื่อใหม้ ีนา้ หนกั ของภาพเท่ากนั และมีความกลมกลนื กัน ๓. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3.1 ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K) - อธบิ ายขั้นตอนการสร้างสรรคง์ านทศั นศิลปโ์ ดยใช้หลักการจดั ความสมดลุ 3.2 ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) - สรา้ งสรรค์ผลงานทัศนศลิ ปจ์ ากการจัดความสมดุลของภาพ 3.3 ดา้ นคุณลกั ษณะ เจตคติ คา่ นิยม (A) - นกั เรียนตระหนักถงึ ความความสวยงามของงานทัศนศลิ ป์ - นกั เรียนทางานด้วยความรักและเพยี รพยายามในการสรา้ งสรรคผ์ ลงาน - นักเรยี นเห็นคุณค่าของงานทัศนศิลปท์ ัง้ จติ รกรรม ประตมิ ากรรม และภาพพิมพ์ - นกั เรยี นรักษาและเหน็ คณุ คา่ ของอปุ กรณท์ ี่ใช้ในการทางาน ๔. สาระการเรียนรู้ ๔.๑ องค์ประกอบศลิ ป์ และการจดั ความสมดลุ ๕. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน ๕.๑ ความสามารถในการคิด - ทักษะการคิดวเิ คราะห์ - ทักษะกระบวนการคดิ สร้างสรรค์ ๕.๒ ความสามารถในการสอ่ื สาร - ความสามารถในการใชภ้ าษาถา่ ยทอดความคิด ความเขา้ ใจ ความร้สู ึก และทัศนคตขิ องตนเอง ๖. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๖.๑ ใฝ่เรียนรู้ ๖.๒ ม่งุ มัน่ ในการทางาน 7. กิจกรรมการเรยี นรู้
50 กิจกรรมการเรียนรู้ ช แผนการจัดการเรยี นร รายวชิ า ศิลปะ (ทัศนศลิ ป)์ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ลาดับ ขอบเขตเน้ือหา/ ข้นั ตอนการจัด เวลา กิจกรรมค ที่ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ การเรียนรู้ ทใ่ี ช้ ๑ ขนั้ นา ๑๐ 1. ครเู ปิดภาพตราชง่ั นาที ไม่เทา่ กนั ให้นกั เรยี นด นักเรยี นวา่ จากภาพ ว่านา้ หนักของภาพเป ท่มี า : https://www.pin pin/129267451780205 /?nic_v2=1a5XphC2V 2. ครูเปิดภาพ ๒ ภา จัดภาพแบบสมดลุ ภ จดั ภาพแบบไมส่ มดลุ หนักไปด้านใดด้านหน
คมู่ ือครูและแผนการจดั การเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ศิลปะ ป.๖) ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ รทู้ ี่ ๒ เร่ือง ดลุ ยภาพ ๒ เรือ่ ง องคป์ ระกอบศลิ ป์ จานวน ๑ ชว่ั โมง แนวการจดั การเรยี นรู้ ส่อื การเรยี นรู้ การประเมิน - ตวั อยา่ งภาพ การเรยี นรู้ ครู กิจกรรมนักเรียน - การถาม-ตอบ งทม่ี ีนา้ หนัก 1. นกั เรียนร่วมกนั วเิ คราะห์ ดู แลว้ ถาม ภาพและตอบคาถามวา่ นา้ หนัก พนกั เรียนคดิ ของภาพไม่เท่ากัน อีกฝั่งหนกั ป็นอย่างไร กว่า nterest.com/ 5581 าพ ภาพท่ี ๑ 2. นักเรยี นรว่ มกันเปรียบเทียบ ภาพท่ี ๒ ๒ รูปภาพ แลว้ ตอบคาถามว่า ลนา้ หนกั ภาพ ภาพแรกมีความสมดดลุ กัน นงึ่ แล้วให้ น้าหนักของภาพ และการจดั
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ เรอื่ ง องค์ประกอบศลิ ป์ ลาดบั ขอบเขตเนอ้ื หา/ ขน้ั ตอนการจดั เวลา กจิ กรรมค ที่ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ การเรียนรู้ ท่ีใช้ นักเรียนเปรยี บเทยี บก ให้นกั เรียนอธบิ ายคว 3. ครอู ธบิ ายเพมิ่ ว่า ค ในงานทัศนศิลป์นนั้ น ทาให้นา้ หนกั ภาพมคี ไม่หนักไปในฝั่งใดฝงั่ ห ความสมดุลยงั ช่วยให นา่ สนใจหรือมีเรื่องรา
๕๑ แนวการจัดการเรียนรู้ ส่อื การเรียนรู้ การประเมิน การเรียนรู้ ครู กิจกรรมนกั เรียน กนั วางภาพเท่ากนั ภาพท่ี ๒ วามแตกต่าง นา้ หนกั ภาพหนักมาฝง่ั ซ้าย ทาให้ภาพไมส่ มดลุ กัน ความสมดุล นอกจจากจะ ความเท่ากัน หนงึ่ แลว้ หภ้ าพมีความ าวมากข้นึ
๕๒ ลาดับ ขอบเขตเนอ้ื หา/ ขัน้ ตอนการจัด เวลา ท่ี จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ทใ่ี ช้ กิจกรรมค 4. ครถู ามนกั เรียนว่า จาเปน็ ตอ้ งวาดภาพใ ทกุ ภาพหรอื ไม่ ๒ 1. อธิบายขัน้ ตอน ข้ันสอน ๑๐ 1. ครูสาธิตวธิ กี ารวา การสรา้ งสรรคง์ านทัศนศลิ ป์ นาที สมดุลกัน ๒ วธิ ีคอื ก โดยใชห้ ลักการจัดความ กระดาษตรงกลางแล สมดุล ฝัง่ ใดฝงั่ หนง่ึ และอกี การคัดลอกดว้ ยการข เส้นใหเ้ กดิ รอยแลว้ ป กับอีกฝง่ั หนึ่ง 2. ครอู ธิบายเพมิ่ เตมิ การจัดภาพใหม้ ีความ มีอยู่ ๒ แบบ คอื ๑) สมดลุ แบบสมมา เทา่ กัน เหมอื นกนั ทกุ ทงั้ ๒ ฝง่ั ๒) สดลุ แบบอสมม นา้ หนักภาพเท่ากนั แ ภาพไมเ่ หมอื นกนั
ค่มู อื ครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ศลิ ปะ ป.๖ แนวการจดั การเรียนรู้ สือ่ การเรียนรู้ การประเมิน ครู กิจกรรมนักเรียน การเรยี นรู้ านกั เรยี น 3. นักเรยี นตอบคาถามว่า ใหส้ มดลุ ไม่จาเปน็ ตอ้ งวาดใหส้ มดุล ทุกภาพ ข้ึนอยกู่ ับผสู้ ร้างผลงาน ว่าต้องการใหภ้ าพร้สู กึ อย่างไร าดภาพให้ 1. นักเรียนร่วมกันสงั เกต - ตัวอยาง - แบบประเมิน การแบ่งคร่ึง เทคนคิ การวาดภาพใหส้ มดุลกัน ผลงาน ชนิ้ งาน ล้ววัดจาก และลองปฏบิ ัตติ าม - PowerPoint กวิธี คอื ขูด ขดี ทับ เรอื่ งความสมดุล ประทับ มวา่ 2. นักเรยี นรว่ มกันวเิ คราะห์ มสมดลุ และเปรียบเทยี บภาพทสี่ มดลุ าตร คือ แบบสมมาตร และภาพทส่ี มดุล กประการ แบบอสมมาตร มาตร คอื แต่ การวาง
หน่วยการเรียนร้ทู ี่ ๒ เรื่อง องค์ประกอบศิลป์ ลาดบั ขอบเขตเนอ้ื หา/ ข้ันตอนการจัด เวลา กิจกรรมค ท่ี จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ การเรยี นรู้ ทใี่ ช้ 3. ครูใหน้ กั เรยี นเปร สมุดกบั หนงั สือว่าสม (สมุดกบั หนังสอื ทีม่ นี แตข่ นาดไม่เท่ากนั ) 4. ครสู าธิตการวาดภ กันดว้ ยการพบั ครงึ่ กร แนวนอน จากนนั้ วาด อาคารสถานทต่ี ่าง ๆ แนวนอน ระบายสีชอ และตดั เสน้ ด้วยดินสอ แล้วพับครงึ่ เหมอื นเด จากไมบ้ รรทัดถูจนเก ประทบั ของกระดาษ จะได้ภาพท่สี มดลุ กัน สมมาตร
๕3 แนวการจดั การเรียนรู้ ส่ือการเรยี นรู้ การประเมิน การเรียนรู้ ครู กิจกรรมนักเรยี น รยี บเทียบ 3. นักเรียนเปรียบเทยี บสมุด มดลุ กนั หรอื ไม่ กับหนงั สอื และตอบคาถามว่า น้าหนกั เท่ากนั สมดุลกันแบบอสมมาตร เพราะหนักเทา่ ๆ กัน แต่ลักษณะภายนอกขนาด ไม่เทา่ กนั ภาพให้สมดุล กระดาษ ดภาพตึก ๆ ครง่ึ บน อล์ก อ EE ดมิ ใชแ้ รงกด กดิ รอย ษอกี ฝงั่ นแบบ
๕4 ลาดบั ขอบเขตเนือ้ หา/ ขัน้ ตอนการจัด เวลา กจิ กรรม ท่ี จุดประสงค์การเรยี นรู้ การเรียนรู้ ทีใ่ ช้ 3 2. สร้างสรรค์ผลงาน ทศั นศิลปจ์ ากการจัด ข้นั ปฏิบตั ิ ๓๐ ครูชีแ้ จงขนั้ ตอนการ ความสมดุลของภาพ นาที เมืองแหง่ ความสมด 4 3. ตระหนักถงึ คุณคา่ โดยการวาดภาพให ของผลงานทัศนศลิ ป์ การพับคร่งึ กระดาษ จากนนั้ วาดภาพตึก สถานท่ีตา่ ง ๆ ครงึ่ บ ระบายสชี อลก์ และต ดินสอ EE แลว้ พบั ค เหมอื นเดิม ใชแ้ รงก บรรทดั ถจู นเกิดรอย กระดาษอีกฝัง่ จะได กนั แบบสมมาตร ข้นั สรุป ๑๐ 1. ครูพดู สรุปความ นาที และวธิ กี ารทาภาพใ ภาพ หรือความสมด สมมาตร และอสมม 2. ครวู ิจารณผ์ ลงาน พรอ้ มชี้แนะแนวทา ปรบั ปรงุ แกไ้ ข
คมู่ อื ครแู ละแผนการจดั การเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ศลิ ปะ ป.๖ แนวการจัดการเรยี นรู้ ส่ือการเรยี นรู้ การประเมิน มครู กจิ กรรมนกั เรียน การเรียนรู้ - แบบประเมนิ รทากจิ กรรม ให้นกั เรยี นทากจิ กรรมวาดภาพ - ตัวอย่าง ชิ้นงาน ดุล เมืองแหง่ ความสมดลุ ผลงาน - ถาม-ตอบ หส้ มดลุ กนั ดว้ ย โดยการวาดภาพให้สมดลุ กนั - PowerPoint ษแนวนอน ด้วยการพับครงึ่ กระดาษ เร่ืองความ ก อาคาร แนวนอน จากน้นั วาดภาพตึก สมดลุ บนแนวนอน อาคารสถานที่ต่าง ๆ ตาม - สีชอลก์ ตัดเส้นด้วย จนิ ตนาการคร่ึงบนแนวนอน - ดินสอ EE ครึ่ง ระบายสชี อลก์ และตดั เส้นดว้ ย กดจากไม้ ดินสอ EE แล้วพับครึง่ ยประทบั ของ เหมอื นเดมิ ใชแ้ รงกดจากไม้ ดภ้ าพทสี่ มดลุ บรรทดั ถูจนเกิดรอยประทบั ของ กระดาษอีกฝง่ั จะได้ภาพที่ สมดุลกันแบบสมมาตร มรเู้ ร่อื งเทคนคิ 1. นักเรียนนาเสนอผลงาน ใหเ้ กดิ ดลุ ย 2. นักเรียนอธบิ ายความรู้สกึ ดลุ กนั ทัง้ แบบ หรือความประทับใจจากผลงาน มาตร ทนี่ ักเรียนทา พรอ้ มบอก นนกั เรยี น แนวทาง างการ และการนาไปใชใ้ นผลงานคร้งั หน้า
หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ ๒ เรื่อง องคป์ ระกอบศิลป์ ๕๕ 8. สือ่ การเรยี นรู้/แหล่งเรยี นรู้ ๘.๑ Power Point ๘.๒ ตัวอยา่ งผลงานความสมดลุ ๘.๓ อุปกรณ์วาดเขียน สมดุ วาดเขยี น สโี ปสเตอร์ หรือสชี อล์ก 9. การประเมนิ ผลรวบยอด ช้ินงานหรอื ภาระงาน เกณฑ์การประเมนิ ผลชน้ิ งานหรอื ภาระงาน ประเมินผลงานเร่ืองความสมดุล : กาหนดเกณฑ์ แนวในการใหค้ ะแนน และคาอธิบายคุณภาพ นา้ หนักคะแนน ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ เกณฑ์ 5 4 32 1. การวางแผนกอ่ น การปฏบิ ตั งิ าน การปฏบิ ตั งิ านอย่าง การปฏิบตั งิ านอยา่ ง ไม่มกี ารวางแผน การปฏบิ ัตชิ น้ิ งาน อย่างมีลาดบั มีลาดบั ข้นั ตอน สามารถ มลี าดับขัน้ ตอน ในการปฏิบัตงิ าน ข้ันตอน สามารถ ควบคมุ เวลาได้ แต่แบง่ สามารถควบคมุ เวลา ให้มลี าดบั ข้ันตอน ควบคุมเวลา เวลาผดิ พลาดเลก็ น้อย ได้ แตแ่ บง่ เวลา และไมค่ วบคุมเวลา การทางานไดอ้ ยา่ ง ผิดพลาด การปฏิบตั งิ าน เหมาะสม 2. ความถกู ต้อง สามารถทางานได้ สามารถทางานไดถ้ ูกต้อง สามารถทางานได้ ทางานไมต่ รงตาม สมบรู ณ์ครบถว้ นของ อย่างถูกตอ้ งตาม ตามหัวขอ้ หรอื คาช้ีแจง ถูกตอ้ งตามหวั ข้อ หวั ขอ้ หรอื คาช้ีแจง ชน้ิ งาน หัวข้อหรือคาช้ีแจง กาหนด แตผ่ ิดพลาดบ้าง หรือคาชแ้ี จงกาหนด ท่กี าหนด กาหนดครบถว้ น เลก็ นอ้ ย แตผ่ ิดพลาดปาน สมบรู ณ์ กลาง 3. ความประณีต มีความสร้างสรรค์ มีความสรา้ งสรรค์ มีความสรา้ งสรรค์ มีความสร้างสรรค์ สะอาดสวยงาม สวยงาม สวยงาม สวยงาม มลี อกเลยี น สวยงาม แต่มี และดงึ ดูดใจ ไมล่ อกเลยี นแบบ ไมล่ อกเลยี นแบบ แบบเลก็ นอ้ ย การลอกเลยี นแบบ มีการนาเสนอที่ มีการนาเสนอที่ มีการนาเสนอที่ ทาให้การนาเสนอ น่าสนใจ สะอาด นา่ สนใจ แต่ขาด น่าสนใจ แตข่ าด ไม่นา่ สนใจ เรยี บร้อย ความสะอาดเรยี บรอ้ ย ความสะอาดเรียบรอ้ ย 4. การสง่ งานตรง สามารถทางาน สามารถทางานเสรจ็ สามารถทางานเสรจ็ ไม่สง่ งานตามเวลา ตามเวลาทก่ี าหนด เสร็จสมบูรณ์ สง่ ได้ สมบรู ณ์ ส่งได้แตไ่ ม่ สมบรู ณ์ ส่งไดแ้ ตไ่ ม่ ท่กี าหนด ตรงตามเวลาท่ี ตามเวลาทก่ี าหนด ตามเวลาทกี่ าหนด ทงั้ สามครั้ง กาหนดภายในช้ัน ภายในชั้นเรียนใน ภายในชนั้ เรยี นใน เรยี นได้ ครัง้ แรก ตอ้ งมกี ารนดั ครั้งแรก ตอ้ งมีการ หมายใหส้ ่งในครง้ั นัดหมายใหส้ ่งในครงั้ ถัดไป ท่ี 3 คะแนนเต็ม 20 คะแนน รวมคะแนน..................คะแนน ลงชือ่ ผปู้ ระเมิน...........................................
๕๖ คู่มอื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ศลิ ปะ ป.๖) ช่วงคะแนน เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ ๑๖-๒๐ ระดบั คุณภาพ ๑๑-๑๕ ดีมาก ๖-๑๐ ดี ๑-๕ พอใช้ ควรปรบั ปรงุ หมายเหตุ ระดบั ดีขึน้ ไปจงึ ถือว่าผ่านเกณฑ์ แบบประเมินพฤติกรรม รายการประเมิน ลาดับ ชื่อ-นามสกลุ มงุ่ มน่ั ต้งั ใจ เพยี รพยายาม รับผิดชอบ รกั ษาและเหน็ ตรงตอ่ เวลา ที่ ทางาน อดทน คณุ คา่ ของ อปุ กรณ์ ๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔ เกณฑก์ ารประเมินพฤตกิ รรม รายการ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง ๓ ๒๑ ประเมนิ ผล ๔ ๑. นกั เรยี นตงั้ ใจ ผเู้ รยี นมคี วามมงุ่ มั่น ผู้เรยี นมคี วามมุ่งม่ัน ผู้เรยี นมคี วามม่งุ ม่นั ผู้เรียนไม่มีความ ทางานทไ่ี ด้รบั ตั้งใจทางานท่ไี ด้รบั ตงั้ ใจทางานทไี่ ด้รบั มอบหมาย มอบหมายจนสาเร็จ มอบหมายจนสาเรจ็ ตง้ั ใจทางานที่ได้รับ มงุ่ ม่ันตงั้ ใจทางาน แต่มคี ุยเลน่ บา้ ง ตลอดทงั้ คาบ มอบหมายจนสาเรจ็ ทไี่ ด้รบั มอบหมาย ผู้เรียนทางานด้วย ๒. ผเู้ รยี นทางาน ผู้เรียนทางานดว้ ยความ ความเพยี รพยายาม มคี ุยเลน่ และไม่ตัง้ ใจ จนสาเรจ็ ดว้ ยความเพยี ร เพียรพยายาม อดทน อดทนเพื่อทาใหเ้ สรจ็ พยายาม อดทน เพือ่ ทาให้เสรจ็ ตาม ตามเปา้ หมาย แต่คยุ ทางานบา้ ง เพื่อทาใหเ้ สรจ็ เป้าหมายตลอดทั้งคาบ เลน่ กันบ้าง ตามเป้าหมาย ผู้เรยี นทางานดว้ ย ผูเ้ รยี นไม่มีความ ผู้เรียนสง่ งานชา้ ๓. ผเู้ รยี นมี ผู้เรยี นสง่ งานตรงตาม 1 วัน ความเพยี รพยายาม เพยี รพยายาม ความรบั ผิดชอบ เวลาทกี่ าหนด ส่งงานตรงตาม อดทนเพือ่ ทาใหเ้ สรจ็ อดทนเพอ่ื ทางาน เวลาทก่ี าหนด ตามเป้าหมาย ให้เสรจ็ ตาม บางครงั้ มคี ุยเลน่ และ เปา้ หมาย ไม่สนใจงานบ้าง ผู้เรียนเกบ็ และดแู ล ผเู้ รยี นไม่เกบ็ และ อุปกรณท์ ีใ่ ช้ในการ ไมด่ แู ลอปุ กรณท์ ใ่ี ช้ ทางานบางช้นิ ในการทางาน
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๒ เรอ่ื ง องคป์ ระกอบศลิ ป์ ๕7 รายการ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง ประเมินผล ๔ ๓ ๒๑ ๔. ผเู้ รยี นรักษา ผู้เรียนเกบ็ และดูแล ผู้เรียนดแู ลอปุ กรณ์ที่ ผู้เรียนเกบ็ และดแู ล ผเู้ รยี นไม่เกบ็ และ ไมด่ แู ลอุปกรณ์ทใี่ ช้ และเหน็ คณุ คา่ อุปกรณท์ ่ีใช้ใน ใชใ้ นการทางานทกุ อุปกรณท์ ่ีใช้ใน ในการทางาน ของอุปกรณ์ที่ใช้ การทางานทกุ ช้นิ อยา่ ง ชิน้ แตเ่ ก็บไม่ การทางานบางชิ้น ในการทางาน เรียบรอ้ ย เรยี บรอ้ ย ผูเ้ รียนเขา้ เรยี นชา้ 30 นาทีเป็นต้นไป ๕. ผเู้ รยี น ผู้เรียนเขา้ เรียนตรงเวลา ผ้เู รยี นเข้าเรยี นช้า ผู้เรยี นเข้าเรยี นชา้ เข้าเรียน ตรงตอ่ เวลา 10-15 นาที 15-20 นาที เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๖-๒๐ ดีมาก ๑๑-๑๕ ดี ๖-๑๐ พอใช้ 1-5 ควรปรับปรงุ หมายเหตุ ระดบั ดีข้นึ ไปจึงถอื วา่ ผ่านเกณฑ์
๕8 ค่มู อื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ศลิ ปะ ป.๖) 10. บนั ทกึ ผลหลงั สอน ผลการจดั การเรยี นการสอน ............................................................................................................................. ............................................................ ........................................................................................................................................................................ ................. ............................................................................................................................. ............................................................ ความสาเรจ็ ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ . ปญั หาและอปุ สรรค ............................................................................................................................. ............................................................ ....................................................................................................................................................................................... .. ............................................................................................................................. ............................................................ ขอ้ จากัดการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ และข้อเสนอแนะ/แนวทางการปรับปรงุ แก้ไข .......................................................................................................................... ............................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ......................................................ผสู้ อน (..........................................................) วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. ............. 11. ความคิดเหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผู้บริหารหรือผ้ทู ่ีไดร้ ับมอบหมาย ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ลงช่ือ ...................................................... ผตู้ รวจ (..........................................................) วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288