Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศิลปะ ป.6 22-5-64

ศิลปะ ป.6 22-5-64

Published by Wan Piti, 2021-11-07 09:51:07

Description: ศิลปะ ป.6 22-5-64

Search

Read the Text Version

คู่มอื ครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ศลิ ปะ ป.๖) แนวการจดั การเรยี นรู้ ส่ือการเรียนรู้ การประเมิน การเรียนรู้ ครู กิจกรรมนักเรยี น - อทิ ธิพลของ ศาสนาท่มี ผี ลต่อ มฝาผนงั ท่ี 2. นักเรยี นชว่ ยกนั วเิ คราะห์ งานทัศนศิลป์ ติ แล้วให้ เก่ียวกบั เรื่องราว กบั ภาพวาด ในภาพพุทธประวตั ิ ต่าง ๆ 3. นกั เรยี นสนทนาเก่ยี วกับ ช่น ประเพณี ประเพณที อดกฐนิ และนกั เรยี น อยา่ งไร ร่วมกันแลกเปลยี่ นความคดิ การ ข้อง เชน่ ประดบั ธงกฐิน ย่างไร ะอย่างไร ปลยี่ น กฐิน กจิ กรรม นกั เรียนทากจิ กรรมออกแบบ - ตวั อยา่ ง - แบบประเมนิ ชิ้นงาน ห้นักเรียนเลือก ธงกฐนิ โดยใหน้ ักเรยี นเลือกสัตว์ ผลงาน ด คือ ธงจระเข้ ในธงกฐนิ มา ๑ ชนดิ คือ - PowerPoint ะธงเต่า ธงจระเข้ ธงตะขาบ ธงมัจฉา เรือ่ งอิทธพิ ล ระดาษขนาด และธงเตา่ ใหน้ ักเรียนวาดลง ของศาสนา ห้เป็นธง บนกระดาษขนาดสเี่ หล่ยี มผืนผา้ ทีม่ ผี ลต่อ ม้ ตกี รอบใหเ้ ปน็ ธง วาดและ งานทศั นศลิ ป์ ระบายดว้ ยสีไม้ - สโี ปสเตอร์

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๓ เรอื่ ง บันดาลงานศิลป์ ลาดบั ขอบเขตเนอ้ื หา/ ขนั้ ตอนการจดั เวลา ที่ จุดประสงค์การเรียนรู้ การเรียนรู้ ทใี่ ช้ กจิ กรรมค ๔ 3. ตระหนักถงึ คณุ ค่าของ ผลงานทศั นศลิ ป์ ขนั้ สรปุ ๑๐ 1. ครพู ูดสรุปความรเู้ ร่อื นาที ของศาสนาท่มี ผี ลต่อทศั 2. ครวู จิ ารณผ์ ลงานนัก ชีแ้ นะแนวทางการปรบั ป

95 แนวการจดั การเรียนรู้ สือ่ การเรยี นรู้ การประเมนิ การเรียนรู้ ครู กจิ กรรมนักเรยี น 1. นกั เรียนนาเสนอผลงาน - ถาม-ตอบ องอทิ ธิพล ศนศิลป์ 2. นักเรียนอธบิ ายความรู้สกึ กเรียนพร้อม หรือความประทับใจจากผลงาน ปรงุ แกไ้ ข ทน่ี กั เรียนทา พรอ้ มบอก แนวทางและการนาไปใชใ้ น ผลงานครงั้ หนา้

๙6 ค่มู ือครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ศลิ ปะ ป.๖) 8. สอ่ื การเรียนร/ู้ แหลง่ เรยี นรู้ ๘.๑ Power Pointเรือ่ งอทิ ธิพลของศาสนาทม่ี ีผลต่องานทศั นศิลป์ ๘.๒ ตัวอยา่ งธงกฐนิ ๘.๓ อุปกรณว์ าดเขียน สมดุ วาดเขียน สโี ปสเตอร์ 9. การประเมินผลรวบยอด ชิ้นงานหรอื ภาระงาน เกณฑ์การประเมนิ ผลชน้ิ งานหรอื ภาระงาน ประเมนิ ผลงานเรื่องทศั นศลิ ป์ในชีวิตและสงั คม :กาหนดเกณฑ์ แนวในการให้คะแนนและคาอธิบายคณุ ภาพ นา้ หนกั คะแนน ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรงุ เกณฑ์ 5 4 3 2 1. การวางแผน การปฏิบตั งิ านอย่าง การปฏิบตั งิ านอย่าง การปฏิบตั งิ านอย่าง ไม่มกี ารวางแผนใน ก่อนการปฏิบตั ิ มลี าดับขั้นตอน มลี าดบั ขั้นตอน มลี าดับขน้ั ตอน การปฏบิ ตั งิ านให้ ชิน้ งาน สามารถควบคุม สามารถควบคุมเวลา สามารถควบคุมเวลาได้ มีลาดบั ขั้นตอน เวลาการทางานได้ ได้ แต่แบ่งเวลา แต่แบง่ เวลาผิดพลาด และไม่ควบคุมเวลา อย่างเหมาะสม ผดิ พลาดเล็กนอ้ ย การปฏิบตั งิ าน 2. ความถูกตอ้ ง สามารถทางานได้ สามารถทางานได้ สามารถทางานได้ ทางานไมต่ รงตาม สมบรู ณค์ รบถ้วน อย่างถูกต้องตาม ถกู ตอ้ งตามหวั ข้อหรอื ถูกต้องตามหวั ขอ้ หรอื หัวข้อหรอื คาชี้แจง ของชน้ิ งาน หัวขอ้ หรอื คาชี้แจง คาช้แี จงกาหนด แต่ คาชี้แจงกาหนด แต่ ท่ีกาหนด กาหนดครบถ้วน ผิดพลาดบา้ งเลก็ น้อย ผดิ พลาดปานกลาง สมบรู ณ์ 3. ความประณีต มีความสรา้ งสรรค์ มคี วามสร้างสรรค์ มีความสร้างสรรค์ มีความสร้างสรรค์ สะอาดสวยงาม สวยงาม สวยงาม สวยงาม สวยงาม แตม่ ีการ และดึงดดู ใจ ไมล่ อกเลียนแบบ ไมล่ อกเลยี นแบบ มลี อกเลียนแบบ ลอกเลียนแบบ ทา มีการนาเสนอที่ มีการนาเสนอที่ เล็กนอ้ ย ให้การนาเสนอไม่ น่าสนใจ สะอาด น่าสนใจ แต่ขาด มีการนาเสนอท่ี น่าสนใจ เรยี บรอ้ ย ความสะอาด นา่ สนใจ แตข่ าดความ เรียบร้อย สะอาดเรียบรอ้ ย 4. การสง่ งานตรง สามารถทางาน สามารถทางานเสรจ็ สามารถทางานเสรจ็ ไมส่ ง่ งานตามเวลา ตามเวลาทกี่ าหนด เสรจ็ สมบูรณ์ สง่ ได้ สมบรู ณ์ ส่งได้แต่ไม่ สมบรู ณ์ สง่ ได้แต่ไม่ ท่กี าหนดทงั้ ตรงตามเวลาท่ี ตามเวลาทก่ี าหนด ตามเวลาทกี่ าหนด สามครง้ั กาหนดภายในช้ัน ภายในชนั้ เรียนใน ภายในช้นั เรยี นในคร้ัง เรยี นได้ ครงั้ แรก ต้องมกี าร แรก ต้องมีการนัด นัดหมายใหส้ ง่ ในครงั้ หมายใหส้ ่งในครงั้ ท่ี 3 ถดั ไป คะแนนเต็ม 20 คะแนน รวมคะแนน..................คะแนน ลงช่อื ผูป้ ระเมนิ ...........................................

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ ๓ เรื่อง บันดาลงานศิลป์ 97 เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ ๑๖-๒๐ ดมี าก ๑๑-๑๕ ดี ๖-๑๐ พอใช้ ๑-๕ ควรปรับปรุง หมายเหตุ ระดบั ดีขึ้นไปจงึ ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์ แบบประเมินพฤตกิ รรม รายการประเมนิ ลาดับ ชือ่ -นามสกลุ มุง่ มั่นตัง้ ใจ เพียรพยายาม รับผิดชอบ รักษาและเห็น ตรงต่อเวลา ท่ี ทางาน อดทน คณุ ค่าของ อปุ กรณ์ ๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔ เกณฑก์ ารประเมินพฤตกิ รรม รายการ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง ๑ ประเมินผล ๔ ๓ ๒ ผู้เรยี นไม่มีความ ๑. นักเรียนตงั้ ใจ ผูเ้ รยี นมคี วาม ผเู้ รียนมีความมงุ่ ม่ัน ผูเ้ รียนมคี วามมงุ่ มนั่ มุ่งมั่นตัง้ ใจทางาน ที่ได้รับมอบหมาย ทางานทไี่ ด้รบั มุ่งมนั่ ตงั้ ใจทางาน ตง้ั ใจทางานที่ไดร้ ับ ตั้งใจทางานท่ไี ด้รับ จนสาเรจ็ มอบหมาย ทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย มอบหมายจนสาเรจ็ มอบหมายจนสาเร็จ ผเู้ รยี นไม่มีความ เพียรพยายาม จนสาเรจ็ ตลอดทัง้ แต่มีคุยเลน่ บ้าง มีคยุ เล่น และไม่ตงั้ ใจ อดทนเพ่ือทางาน ใหเ้ สรจ็ ตาม คาบ ทางานบ้าง เป้าหมาย ๒. ผเู้ รียนทางาน ผู้เรยี นทางานดว้ ย ผู้เรียนทางานด้วย ผ้เู รียนทางานด้ว ยค ผเู้ รยี นสง่ งานชา้ 3 วันขนึ้ ไป ดว้ ยความเพียร ความเพียร ความเพยี รพยายาม วามเพยี รพยายาม พยายาม อดทน พยายาม อดทน อดทนเพือ่ ทาใหเ้ สร็จ อดทนเพ่ือทาใหเ้ สรจ็ เพือ่ ทาใหเ้ สรจ็ ตาม เพ่อื ทาให้เสรจ็ ตาม ตามเปา้ หมาย แต่คยุ ตามเปา้ หมายบางครงั้ เป้าหมาย เป้าหมายตลอด เล่นกนั บา้ ง มีคุยเลน่ และไมส่ นใจ ทง้ั คาบ งานบา้ ง ๓. ผู้เรียนมคี วาม ผ้เู รยี นสง่ งานตรง ผู้เรียนสง่ งานช้า ผเู้ รยี นสง่ งานช้า รับผิดชอบสง่ งาน ตามเวลาทกี่ าหนด 1 วนั 2 วนั ตรงตามเวลาที่ กาหนด

๙8 คู่มือครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ศลิ ปะ ป.๖) รายการ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง ๓ ๒ ๑ ประเมนิ ผล ๔ ผู้เรยี นดแู ลอปุ กรณ์ที่ ผู้เรยี นเกบ็ และดูแล ผ้เู รยี นไมเ่ กบ็ และ ๔. ผ้เู รียนรักษา ผู้เรยี นเกบ็ และ ใช้ในการทางานทกุ อปุ กรณท์ ี่ใชใ้ น ไม่ดแู ลอุปกรณท์ ่ใี ช้ ชนิ้ แต่เก็บไม่ การทางานบางชนิ้ ในการทางาน และเห็นคุณค่าของ ดูแลอปุ กรณ์ท่ใี ช้ เรยี บร้อย ผเู้ รียนเขา้ เรียนช้า ผู้เรยี นเข้าเรยี นชา้ อุปกรณท์ ี่ใช้ในการ ในการทางานทุก ผเู้ รยี นเขา้ เรยี นชา้ 15-20 นาที 30 นาทีเปน็ ต้นไป 10-15 นาที ทางาน ช้นิ อย่างเรยี บร้อย ๕. ผเู้ รยี นเข้าเรียน ผ้เู รยี นเขา้ เรียน ตรงต่อเวลา ตรงเวลา เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๖-๒๐ ดมี าก ๑๑-๑๕ ดี ๖-๑๐ พอใช้ 1-5 ควรปรบั ปรุง หมายเหตุ ระดบั ดขี น้ึ ไปจึงถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๓ เร่อื ง บนั ดาลงานศลิ ป์ ๙9 10. บนั ทกึ ผลหลงั สอน ผลการจดั การเรียนการสอน ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................. ........................................................................ ความสาเรจ็ ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ปัญหาและอุปสรรค ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ขอ้ จากดั การใช้แผนการจัดการเรยี นรู้ และข้อเสนอแนะ/แนวทางการปรบั ปรงุ แกไ้ ข ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ลงช่อื ......................................................ผสู้ อน (..........................................................) วันท่ี .......... เดอื น ..................... พ.ศ. ............. 11. ความคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรอื ผ้ทู ่ีไดร้ ับมอบหมาย ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ลงชอ่ื ...................................................... ผู้ตรวจ (..........................................................) วนั ท่ี .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

100 ค่มู ือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ศลิ ปะ ป.๖) แบบประเมินตนเอง ชอื่ : ____________________ สกุล : ___________________วนั _____ เดือน____________พ.ศ. ________ หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ๓ เร่อื ง บันดาลงานศลิ ป์ ๑. ประเมินการเรยี นรขู้ องตนเอง กาเคร่ืองหมาย √ ในช่องระดบั ความสามารถของแต่ละกจิ กรรมทนี่ ักเรียนคดิ ว่าทาไดต้ ามระดับการประเมินเหล่าน้ี ระดบั ความสามารถ : ดีมาก ค่อนขา้ งดี ดี พอใช้ ปรับปรุง ที่ รายการ ระดับความสามารถ ๑ ทศั นศลิ ปส์ ะทอ้ นชีวติ และสงั คม ดี ค่อน ดี พอ ปรบั ๒ ออกแบบธงกฐิน มาก ข้างดี ใช้ ปรงุ 2. สิง่ ทฉ่ี ันยังไม่เข้าใจ / ยังทาไดไ้ มด่ ี คอื …… (สามารถเขียนได้มากกว่า 1 อยา่ ง) …………………………………………….............................................................................................................. ............................................................................................................................. .................................... …………………………………………….............................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................... 3. สิ่งทฉ่ี นั ต้ังใจจะทาใหด้ ขี ้ึนในการเรยี นหน่วยต่อไป (สามารถเขียนได้มากกว่า 1 อยา่ ง) …………………………………………….............................................................................................................. …………………………………………….............................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ...................................

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ ๓ เรอื่ ง บันดาลงานศลิ ป์ 101 บันทึกการเรียนรู้ (Learning logs) ชอื่ : ____________________ สกุล : ___________________วนั ____ เดอื น_______________ พ.ศ. _________ สงิ่ หน่งึ ทฉี่ ันไดเ้ รียนร้จู ากการเรียนวชิ าน้ใี นครง่ึ ภาคเรยี น คอื ........................................................ .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. . ฉันน่าจะเรยี นรไู้ ดด้ กี ว่านห้ี าก ..................................................................................................... .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. สิง่ ท่ฉี นั อยากจะบอกคณุ ครู คอื ................................................................................................... .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. สงิ่ ท่ฉี นั ควรปรบั ปรงุ ตัวเองใหด้ ขี ้นึ คอื ........................................................................................ .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ปญั หาในการเรียนของฉนั คอื ..................................................................................................... .................................................................................................................................................. .......................................................................................... .................................................. ...... .

๑๐2 คู่มอื ครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ศิลปะ ป.๖) หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 4 การแสดงนาฏศิลป์

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๔ เรอ่ื ง การแสดงนาฏศิลป์ ๑๐3 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๔ ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ ๔ การแสดงนาฏศลิ ป์ รหสั วิชา ศ1๖101 รายวิชาศิลปะ (ดนตรี-นาฏศิลป์) กล่มุ สาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลา ๕ ช่ัวโมง …………………………………………………………………………...………………………………………………………………………………………. ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ัด สาระนาฏศลิ ป์ มาตรฐาน ศ 2.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรีถ่ายทอด ความรสู้ ึกความคดิ ต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชมและประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ประจาวัน ตวั ชีว้ ดั ป.6/4 ใช้เครื่องดนตรบี รรเลงประกอบการร้องเพลง ดน้ สด ทม่ี ีจังหวะและทานองง่าย ๆ ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึกความคิดอย่างอสิ ระ ชื่นชม และประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ตวั ชวี้ ัด ป.6/1 สรา้ งสรรค์การเคล่ือนไหวและการแสดงโดยเนน้ การถา่ ยทอดลีลาหรอื อารมณ์ ป.6/2 ออกแบบเครอื่ งแต่งกาย หรอื อุปกรณป์ ระกอบการแสดงอยา่ งงา่ ย ๆ ป.6/3 แสดงนาฏศลิ ปแ์ ละละครอย่างง่าย ๆ ๒. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด นาฏศลิ ป์ไทยนน้ั สามารถให้ประโยชนก์ ับชวี ิตมนุษย์น้ันได้หลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็น เพ่ือความสนุกสนาน ร่ืนเริง เพ่ือผ่อนคลายความเหน็ดเหนื่อยหลังจากการทางาน เพื่อปลุกใจ ให้มีความฮึกเหิมหวงแหน กล้าหาญ และรักชาติ ๓. สาระการเรยี นรู้ ความรู้ - สามารถอธิบายความหมายของเพลงวหิ คเหนิ ลมและประวตั คิ วามเป็นมาของเพลงปลกุ ใจได้ - สามารถอธบิ ายความหมายของทา่ ทางประกอบเพลงวิหคเหนิ ลมและเพลงปลุกใจได้ - สามารถอธิบายหลกั การออกแบบเคร่ืองแตง่ กาย หรืออุปกรณป์ ระกอบการแสดงอย่างง่าย ๆ ได้ ทักษะ/กระบวนการ - ร้องเพลงวิหคเหนิ ลมและเพลงปลุกใจเราสู้ - ปฏบิ ตั ิท่าทางประกอบเพลงวิหคเหนิ ลมและเพลงปลกุ ใจเราสู้ - ออกแบบเคร่อื งแต่งกายเพลงปลุกใจเราสู้ เจตคติ - ใฝ่เรียนรู้ - รกั ความเป็นไทย

๑๐4 คูม่ อื ครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ศลิ ปะ ป.๖) ๔. สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น - ความสามารถในการสอื่ สาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๕.คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ - มวี ินยั - ใฝ่เรยี นรู้ - มุ่งมั่นในการทางาน - รกั ความเปน็ ไทย ๖.การประเมินผลรวบยอด ชิ้นงานหรือภาระงาน - ร้องเพลงและแสดงทา่ ทางประกอบเพลงวหิ คเหนิ ลม - ร้องเพลงและแสดงท่าทางประกอบเพลงปลุกใจเราสู้ เกณฑก์ ารประเมนิ ผลช้ินงานหรือภาระงาน ประเดน็ การ ระดบั คุณภาพ ประเมิน 4 (ดมี าก) 3 (ด)ี 2 (พอใช้) 1 (ปรับปรุง) 1. ความถูกต้อง ความถูกต้องของ ความถูกตอ้ งของ ความถูกตอ้ งของ ไมม่ ีความถูกตอ้ ง ของจังหวะ จงั หวะและทานอง จงั หวะและทานอง จงั หวะและทานอง ของจงั หวะและทานอง และทานอง ดมี ากทกุ คน ทุกคนดเี ปน็ สว่ นมาก ทุกคนเปน็ สว่ นนอ้ ย 2. ความพรอ้ ม มีความพรอ้ มเพรยี ง มีความพรอ้ มเพรยี งดี มคี วามพร้อมเพรยี งดี ไมม่ คี วามพรอ้ มเพรยี ง เพรยี ง กันดีมาก เปน็ สว่ นใหญ่ เปน็ สว่ นนอ้ ย 3. ความคดิ ความคิดสรา้ งสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ ไมม่ ีความคดิ สรา้ งสรรค์ สรา้ งสรรค์ แปลกใหมด่ ีมาก แปลกใหมด่ ี พอใช้ 4. การแสดงออก แสดงออกทาง แสดงออกทางสหี นา้ แสดงออกทางสหี นา้ ไม่มีการแสดงออกทาง ทางสหี นา้ และ สหี น้าและแววตา และแววตาดี และแววตาพอใช้ สีหนา้ และแววตา แววตา ดมี าก 5. นา้ เสยี งไพเราะ น้าเสียงไพเราะ นา้ เสียงไพเราะ น้าเสยี งไพเราะอกั ขระ นา้ เสยี งไพเราะอักขระ อกั ขระชดั เจน อกั ขระชดั เจนดีมาก อักขระชดั เจนดี ชดั เจนพอใช้ ไม่ชัดเจน เกณฑก์ ารตัดสิน คะแนน 17–20 หมายถงึ ดมี าก คะแนน 13–16 หมายถึง ดี พอใช้ คะแนน 9–12 หมายถงึ ปรบั ปรงุ คะแนน ต่ากว่า 8 หมายถึง เกณฑก์ ารผา่ น ต้ังแต่ระดับ 13 ขนึ้ ไป

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ ๔ เรอ่ื ง การแสดงนาฏศิลป์ 105 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑ เร่ือง เพลงวิหคเหินลม (1) หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ ๔ เรือ่ ง การแสดงนาฏศลิ ป์ เวลา 1 ชวั่ โมง กลมุ่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ รายวชิ าศิลปะ (ดนตรี-นาฏศิลป)์ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6 ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้วี ัด ศ 2.1 เข้าใจ และแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สกึ ความคดิ ต่อดนตรีอยา่ งอสิ ระ ชน่ื ชม และประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวัน ป.6/4 ใชเ้ คร่ืองดนตรีบรรเลงประกอบการร้องเพลง ด้นสด ท่ีมจี งั หวะและทานองง่าย ๆ ๒. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด เพลงมีบทบาทสาคญั มานาน ต้งั แต่สมัยประวตั ศิ าสตร์ เพลงเป็นเครือ่ งมอื พัฒนาอารมณ์ให้เบิกบาน แจ่มใส เสยี งและทานองของเพลงเป็นการแสดงถึงความชืน่ ชม ยนิ ดี การรอ้ งเพลงเปน็ การให้ความสุขท้ังผู้ร้องและผฟู้ ัง ๓. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K) - นกั เรียนสามารถอธบิ ายความหมายของเพลงวหิ คเหินลมได้ 3.2 ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) - นกั เรียนฝึกปฏิบัติรอ้ งเพลงวิหคเหินลมได้ 3.3 ด้านคณุ ลกั ษณะ เจตคติ คา่ นยิ ม (A) - รักความเป็นไทย - มวี นิ ัย - เหน็ ประโยชน์ของการขบั ร้องเพลง ๔. สาระการเรยี นรู้ - ร้องเพลงวิหคเหนิ ลม - ความหมายของเพลงวิหคเหินลม - การใชเ้ ครอ่ื งดนตรีบรรเลงประกอบการร้องเพลง ๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน - ความสามารถในการส่ือสาร ๖. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ - รกั ความเปน็ ไทย - มีวินัย 7. กจิ กรรมการเรียนรู้

๑๐6 การจดั กิจกรรมการเรยี นร แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 1 รายวิชา ศิลปะ (ดนตรี-นาฏศลิ ป์) หน่วยการเรยี นร ลาดบั ขอบเขตเนื้อหา/จุดประสงค์ ขนั้ ตอนการจัด เวลา กจิ กรรม ที่ การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ท่ใี ช้ 1 ขั้นนา 10 1. ครูใหน้ ักเรียนช นาที วิเคราะห์ภาพนก ว ทเี่ หมือนกนั และมีอ แตกต่างกัน 2. ครถู ามนักเรียน “เพราะเหตุใด นก เปน็ สัตว์อสิ ระ” 3. ครูเปดิ วดี ทิ ศั น์ เหนิ ลมใหน้ กั เรียนร 2 ขั้นสอน 20 1. ครใู หน้ กั เรยี นอ นาที วิหคเหินลม 2. ครใู ห้นกั เรียนช ความหมายของเพล ลม ทีละวรรค

ค่มู ือครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ศลิ ปะ ป.๖) รู้ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6 เรอ่ื ง เพลงวิหคเหินลม (1) รู้ท่ี ๔ เรอ่ื ง การแสดงนาฏศลิ ป์ จานวน 1 ชวั่ โมง แนวการจดั การเรยี นรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมนิ มครู กจิ กรรมนกั เรียน การเรยี นรู้ ชว่ ยกนั 1. นักเรียนช่วยกนั วเิ คราะห์ - สอ่ื PowerPoint - แบบสงั เกต (ภาพนกตา่ ง ๆ) ว่ามอี ะไร ภาพนกว่ามอี ะไรทเี่ หมอื นกนั อะไรท่ี และมีอะไรทีแ่ ตกตา่ งกัน นวา่ 2. นกั เรียนตอบว่า เพราะนก - สื่อ PowerPoint จึงได้ชอ่ื ว่า เป็นสตั วป์ ีก สามารถบินไปไหน (คาถาม) ก็ได้ตามใจตนเอง (แนวคาตอบ) เพลงวหิ ค 3. นักเรียนรับชมวดี ทิ ศั น์ - สื่อวดี ิทศั น์ รบั ชม เพลงวิหคเหินลม เพลงวิหคเหินลม อา่ นเนือ้ เพลง 1. นักเรียนช่วยกันอา่ นเนอื้ เพลง - สอื่ PowerPoint - แบบสังเกต วหิ คเหนิ ลม (เนื้อเพลงวิหค ชว่ ยกนั บอก เหนิ ลม) ลงวิหคเหิน 2. นกั เรียนชว่ ยกนั บอก ความหมายของเพลงวิหคเหินลม - ส่ือ PowerPoint ทลี ะวรรค (เน้ือเพลงวิหค เหนิ ลม)

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๔ เร่อื ง การแสดงนาฏศลิ ป์ ลาดับ ขอบเขตเน้อื หา/ ข้นั ตอนการจดั เวลา กิจกรรม ท่ี จุดประสงค์การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ท่ีใช้ 20 1. ครูสาธิตการร้อง นาที เหนิ ลม ทลี ะวรรคแ นักเรียนฝกึ รอ้ งตาม 2. ครบู อกหลกั การ เคร่ืองดนตรีบรรเล ประกอบการฝกึ รอ้ 3. ครใู ห้นักเรยี นฝกึ วหิ คเหินลม เตม็ เพ คาราโอเกะ 3 ขั้นปฏิบตั ิ 20 ครูให้นักเรียนฝึกปฏ นาที ร้องเพลงวหิ คเหินล วีดทิ ศั นแ์ ละคาราโอ 4 ขัน้ สรปุ 10 1. ครูใหน้ กั เรียนส่ง นาที ออกมารอ้ งเพลงวิห หน้าชน้ั เรียน 2. ครูใหน้ กั เรียนรอ้ วหิ คเหนิ ลม พรอ้ ม ด้วยคาราโอเกะ

๑๐7 แนวการจดั การเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมนิ การเรยี นรู้ มครู กจิ กรรมนกั เรียน 1. นกั เรยี นรอ้ งเพลงวิหคเหินลม - สื่อPowerPoint - แบบสงั เกต งเพลงวหิ ค ตามครทู ีละวรรค (เนื้อเพลงวหิ ค และให้ มทลี ะวรรค 2. นกั เรยี นฝกึ ใชเ้ ครอ่ื งดนตรี เหนิ ลม) รใช้ บรรเลงประกอบการรอ้ งเพลง - เคร่ืองดนตรี ลง ไทยประกอบ องเพลง 3. นักเรยี นรอ้ งเพลงวหิ คเหินลม กรอ้ งเพลง เตม็ เพลง ด้วยคาราโอเกะ จงั หวะ พลง ด้วย - สื่อวีดิทัศน์ และคาราโอเกะ ฏบิ ตั ิ นักเรียนฝึกปฏิบตั ริ อ้ งเพลงวิหค ลม ดว้ ยสื่อ เหินลม ด้วยส่ือวดี ิทัศนแ์ ละ เพลงวิหค อเกะ คาราโอเกะ เหินลม - ส่อื วดี ิทัศน์ - แบบสังเกต และคาราโอเกะ เพลงวหิ ค เหินลม งตวั แทน 1. นกั เรียนส่งตวั แทนออกมารอ้ ง - สอ่ื วดี ทิ ัศน์ - แบบสังเกต หคเหินลม เพลงวหิ คเหนิ ลม หนา้ ชั้นเรยี น และคาราโอเกะ องเพลง 2. นักเรยี นร้องเพลงวิหคเหินลม เพลงวหิ ค มกัน พรอ้ มกัน ด้วยคาราโอเกะ เหินลม

๑๐8 คู่มอื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ศลิ ปะ ป.๖) 8. ส่อื การเรียนรู้/แหลง่ เรียนรู้ - สื่อวีดทิ ศั นแ์ ละคาราโอเกะ เพลงวิหคเหินลม - สอื่ PowerPoint - เครอ่ื งดนตรไี ทยประกอบจงั หวะ 9. การประเมนิ ผลรวบยอด ชิ้นงานหรอื ภาระงาน - ฝึกปฏิบตั ิรอ้ งเพลงวหิ คเหนิ ลม เกณฑก์ ารประเมนิ ผลช้ินงานหรือภาระงาน ประเดน็ ระดับคุณภาพ 3 (ดี) 2 (พอใช้) การประเมิน 4 (ดมี าก) นา้ เสียงไพเราะดี นา้ เสียงไพเราะพอใช้ 1 (ปรบั ปรุง) 1 นา้ เสียงไพเราะ น้าเสียงไพเราะดีมาก นา้ เสยี งตอ้ ง ปรับปรงุ 2 อักขระชัดเจน อักขระชัดเจนดมี าก อักขระชัดเจนดี อักขระชดั เจนพอใช้ อักขระไมถ่ กู ตอ้ ง 3 จังหวะ จังหวะถกู ตอ้ งดมี าก จังหวะถูกตอ้ งดี จังหวะถกู ตอ้ งบา้ ง จงั หวะไม่ถกู ต้อง 4 ทานอง ทานองถูกต้องดี ไม่ถูกตอ้ งบ้าง ทานองเพลงถกู ตอ้ ง ทานองถกู ต้องบ้าง ทานองเพลง ดมี าก ไม่ถกู ต้อง ไม่ถกู ต้องบา้ ง เกณฑก์ ารตัดสนิ หมายถึง ดีมาก หมายถึง ดี คะแนน 13–16 หมายถึง พอใช้ คะแนน 9–12 คะแนน 5–8 หมายถึง ปรับปรงุ ตง้ั แตร่ ะดับ พอใช้ คะแนน 1–4 เกณฑ์การผา่ น

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๔ เรอื่ ง การแสดงนาฏศลิ ป์ ๑๐9 10. บนั ทกึ ผลหลังสอน ผลการจดั การเรยี นการสอน ............................................................................................................................. .................................................................. ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ความสาเร็จ ............................................................................................................................. .................................................................. ............................................................................................................................. .................................................................. .................................................................................................................................................. ............................................. ปัญหาและอปุ สรรค ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................................. ............................................................................................................................. .................................................................. ข้อจากดั การใช้แผนการจดั การเรยี นรู้ และขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการปรบั ปรงุ แก้ไข ............................................................................................................................. .................................................................. ............................................................................................................................. .................................................................. ..................................................... .......................................................................................................... ................................ ลงชอื่ ......................................................ผสู้ อน (..........................................................) วนั ท่ี .......... เดอื น ..................... พ.ศ. ............. 11. ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะของผู้บริหารหรอื ผู้ท่ไี ด้รับมอบหมาย ............................................................................................................. .................................................................................. ............................................................................................................................. .................................................................. ............................................................................................................................. .................................................................. ลงชื่อ ...................................................... ผู้ตรวจ (..........................................................) วนั ท่ี .......... เดอื น ..................... พ.ศ. .............

๑10 คู่มือครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ศิลปะ ป.๖) แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๒ เร่ือง เพลงวหิ คเหินลม (2) หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๔ เรอื่ ง การแสดงนาฏศลิ ป์ เวลา 1 ช่วั โมง กล่มุ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ รายวชิ าศลิ ปะ (ดนตรี-นาฏศิลป)์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชีว้ ดั ศ 3.1 เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ป์อย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ อยา่ งอิสระ ช่นื ชม และประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจาวัน ป.6/๓ แสดงนาฏศิลปแ์ ละละครอย่างงา่ ย ๆ ๒. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด นาฏศลิ ป์ เป็นศลิ ปะการแสดงประกอบดนตรี ซง่ึ แสดงใหเ้ ห็นถงึ วถิ ีชวี ติ ความเป็นอยู่ ความเชื่อ นิสัยใจคอ ของคนในทอ้ งถิน่ นัน้ ๆ หรือเป็นสิง่ ทีม่ นุษยส์ รา้ งขึ้นดว้ ยความประณตี งดงาม เพ่อื ใหค้ วามบันเทิง อนั โน้มนา้ วอารมณ์ และความรูส้ กึ ของผู้ชมให้คล้อยตามโดยอาศัยการบรรเลงดนตรี และการขบั รอ้ งเข้าร่วมดว้ ย ๓. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ ความเข้าใจ (K) - นักเรียนสามารถอธบิ ายความหมายของทา่ ทางประกอบเพลงวิหคเหินลมได้ 3.2 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) - นกั เรียนฝึกปฏิบตั ทิ า่ ทางประกอบเพลงวหิ คเหินลม 3.3 ด้านคุณลกั ษณะ เจตคติ ค่านยิ ม (A) - รักความเป็นไทย - มวี ินยั - เห็นประโยชน์ของการขบั ร้องเพลง ๔. สาระการเรียนรู้ - ปฏบิ ัตทิ า่ ทางประกอบเพลงวิหคเหินลม - ร้องเพลงวหิ คเหนิ ลม ๕. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น - ความสามารถในการส่อื สาร ๖. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ - รกั ความเปน็ ไทย - มวี ินัย 7. กิจกรรมการเรยี นรู้

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๔ เรือ่ ง การแสดงนาฏศลิ ป์ การจัดกิจกรรมการเรยี นร แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๒ เ รายวิชา ศลิ ปะ (ดนตรี-นาฏศลิ ป์) หน่วยการเรยี นร ลาดบั ขอบเขตเน้อื หา/ ขัน้ ตอนการจัด เวลา ที่ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ท่ใี ช้ กิจกรรมค 1 ขนั้ นา 10 1. ครูกลา่ วทักทายน นาที ทบทวนรอ้ งเพลงวิหค พร้อมกนั 2. ครถู ามนกั เรยี นวา่ ประกอบเพลงของคา “ดาราพรบิ ตาอ ย่ัวเยา้ กระเซา้ หรือดาวเกย้ี วใ เหตุใดดาวจึง ควรใช้ทา่ ทางแบบใด 3. ครเู ปดิ วดี ทิ ัศน์ ท ประกอบเพลงวิหคเห ใหน้ ักเรยี นรบั ชม 2 ขน้ั สอน 20 1. ครูสาธติ ท่าทางปร นาที วิหคเหินลม ให้นกั เรยี ตามทีละวรรค

111 รู้ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 เรือ่ ง เพลงวิหคเหินลม (2) รู้ท่ี ๔ เรือ่ ง การแสดงนาฏศลิ ป์ จานวน 1 ช่ัวโมง แนวการจัดการเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้ การประเมนิ การเรยี นรู้ ครู กจิ กรรมนักเรยี น - สอ่ื PowerPoint (คาถาม) - แบบสงั เกต นักเรียนและ 1. นกั เรยี นทบทวนรอ้ งเพลง คเหินลม วหิ คเหินลม พรอ้ มกัน า ทา่ ทาง 2. นักเรยี นแสดงทา่ ทางต่าง ๆ าว่า (แนวคาตอบ) อยใู่ ย าหรือไร 3. นักเรียนรับชมวีดทิ ศั น์ - สื่อวีดทิ ศั น์ ใคร งซน” ท่าทางประกอบเพลงวิหค ท่าทางประกอบ ด เหินลม เพลงวหิ คเหนิ ลม ทา่ ทาง หนิ ลม ระกอบเพลง 1. นกั เรยี นฝึกปฏิบตั ทิ า่ ทาง - สอ่ื PowerPoint - แบบสังเกต ยนฝกึ ปฏิบตั ิ ประกอบเพลงวิหคเหนิ ลม ทลี ะวรรค

๑๑2 ลาดบั ขอบเขตเนอื้ หา/ ขนั้ ตอนการจดั เวลา ท่ี จุดประสงค์การเรียนรู้ การเรยี นรู้ ท่ใี ช้ กิจกรรม 2. ครสู าธติ ทา่ ทางป วหิ คเหนิ ลม ให้นักเร ตามเตม็ เพลงเขา้ กบั 20 1. ครใู ห้นักเรยี นแบ นาที สมาชกิ ในกลมุ่ จะตอ้ ชายและนักเรียนหญ เหมาะสม 2. ครใู ห้นกั เรยี นแต ปฏิบัตทิ ่าทางประกอ เหนิ ลม 3 ขนั้ ปฏบิ ตั ิ 20 ครูใหน้ กั เรยี นแต่ละก นาที ท่าทางประกอบเพล ตามวดี ทิ ัศน์ 4 ข้นั สรุป 10 1. ครูให้นกั เรียนส่งก นาที ออกมาปฏบิ ัติทา่ ทา เพลงวิหคเหนิ ลม หน 2. ครูใหน้ ักเรียนปฏ ประกอบเพลงวหิ คเห พร้อมกัน

คู่มอื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ศลิ ปะ ป.๖) แนวการจดั การเรยี นรู้ สอ่ื การเรียนรู้ การประเมิน การเรียนรู้ มครู กจิ กรรมนกั เรยี น - สื่อวีดทิ ัศน์ เพลงวหิ ค ประกอบเพลง 2. นักเรยี นฝกึ ปฏบิ ตั ทิ า่ ทาง เหินลม รียนฝกึ ปฏบิ ัติ ประกอบเพลงวิหคเหนิ ลม เต็ม บบทเพลง เพลงเข้ากบั บทเพลง บง่ กลุ่ม โดย 1. นักเรยี นแบง่ กล่มุ - แบบสงั เกต องมที ้งั นกั เรยี น ญงิ ตามความ ต่ละกลมุ่ ฝกึ 2. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มฝึกปฏิบัติ - สอ่ื วดี ทิ ศั น์ อบเพลงวหิ ค ท่าทางประกอบเพลงวิหค เพลงวิหค เหนิ ลม เหนิ ลม กลุ่มฝกึ ปฏบิ ตั ิ ลงวิหคเหนิ ลม นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มฝกึ ปฏบิ ัติ - สอ่ื วีดิทศั น์ - แบบสังเกต ทา่ ทางประกอบเพลงวิหคเหิน ทา่ ทาง - แบบสงั เกต กลุ่มตัวแทน ลม ตามวดี ทิ ศั น์ ประกอบเพลง างประกอบ วิหคเหนิ ลม น้าช้ันเรยี น 1.นักเรยี นสง่ กลมุ่ ตัวแทน ฏบิ ตั ิท่าทาง ออกมาปฏบิ ัตทิ า่ ทางประกอบ - สอ่ื วดี ทิ ัศน์ หินลม เพลงวิหคเหนิ ลม หน้าชัน้ เรยี น ท่าทาง 2. นักเรียนปฏบิ ตั ทิ า่ ทาง ประกอบเพลง ประกอบเพลงวหิ คเหนิ ลม วิหคเหนิ ลม พรอ้ มกนั

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๔ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ ๑๑3 8. ส่ือการเรยี นรู้/แหล่งเรียนรู้ 1 (ปรบั ปรุง) - ส่ือวดี ิทัศนท์ า่ ทางประกอบเพลงวิหคเหินลม ความสวยงามของ - สื่อ PowerPoint ทา่ ทางประกอบ เพลงต้องปรบั ปรุง 9. การประเมนิ ผลรวบยอด ช้ินงานหรอื ภาระงาน - ฝกึ ปฏบิ ตั ิทา่ ทางประกอบเพลงวหิ คเหินลม เกณฑ์การประเมินผลช้นิ งานหรอื ภาระงาน ประเด็น ระดบั คุณภาพ การประเมนิ 4 (ดมี าก) 3 (ด)ี 2 (พอใช้) ความสวยงามของ ความสวยงามของ 1. ความสวยงาม ความสวยงามของ ทา่ ทางประกอบ ท่าทางประกอบ เพลงดี เพลงพอใช้ ของทา่ ทางประกอบ ทา่ ทางประกอบเพลง เพลง ดมี าก 2. ความพร้อม ความพรอ้ มเพรียงดี ความพร้อมเพรยี งดี ความพร้อมเพรยี ง ไม่มีความพร้อม เพรยี ง มาก บางครง้ั เพรียง 3. การแสดงออก การแสดงออก สหี น้า การแสดงออก สหี น้า การแสดงออก สหี นา้ การแสดงออก สีหนา้ และอารมณ์ และอารมณด์ ีมาก และอารมณด์ ี และอารมณ์บางครั้ง สีหนา้ และอารมณ์ 4. ความคิด ความคดิ สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ ดมี าก ตอ้ งปรับปรุง ความคิดสร้างสรรค์ดี ความคดิ สรา้ งสรรค์ ไมม่ คี วามคิด พอใช้ สรา้ งสรรค์ เกณฑ์การตัดสิน คะแนน 13–16 หมายถงึ ดมี าก หมายถงึ ดี คะแนน 9–12 หมายถงึ พอใช้ คะแนน 5–8 หมายถึง ปรบั ปรงุ คะแนน 1–4 เกณฑก์ ารผ่าน ตัง้ แต่ระดับ พอใช้

๑๑4 ค่มู ือครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ศิลปะ ป.๖) 10. บันทกึ ผลหลงั สอน ผลการจัดการเรียนการสอน ............................................................................................................ .................................................................................. ................................................................................................................................................... ........................................... ........................................................................................................ ...................................................................................... ความสาเร็จ ............................................................................................................................. ................................................................. ............................................................................................................................. ................................................................. .............................................................................................................................................................................................. ปญั หาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................................. ............................................................................................................................. ................................................................. ข้อจากัดการใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้ และข้อเสนอแนะ/แนวทางการปรับปรงุ แกไ้ ข ............................................................................................................................. ................................................................. ........................................................................................................................... ................................................................... .............................................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื ......................................................ผสู้ อน (..........................................................) วนั ที่ .......... เดอื น ..................... พ.ศ. ............. 11. ความคดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ทไ่ี ด้รับมอบหมาย .............................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................................. ...................................................................................................................... ........................................................................ ลงชอ่ื ...................................................... ผตู้ รวจ (..........................................................) วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๔ เรอื่ ง การแสดงนาฏศลิ ป์ ๑๑5 แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 3 เรอ่ื ง เพลงปลุกใจเราสู้ (1) หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี ๔ เรอื่ ง การแสดงนาฏศลิ ป์ เวลา 1 ช่ัวโมง ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ รายวิชาศลิ ปะ (ดนตรี-นาฏศลิ ป์) 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้วี ัด ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่านาฏศิลป์ ถา่ ยทอดความรสู้ กึ ความคดิ อยา่ งอสิ ระ ชื่นชม และประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจาวนั ป.6/3 แสดงนาฏศลิ ปแ์ ละละครง่าย ๆ ๒. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด เพลงปลกุ ใจ เป็นเพลงท่สี รา้ งความฮกึ เหมิ เร้าใจ มีจงั หวะหนักแนน่ เข้มแข็ง ในสมัยอดีตมักใช้บรรเลงยาม ออกศึกสงคราม เพื่อใหเ้ ล่าทหารได้ฟังแลว้ เกดิ ความฮึกเหมิ กลา้ หาญ รกั ชาติ และสรา้ งความสามคั คีใหก้ บั คนในชาติ ๓. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ ความเข้าใจ (K) - นักเรียนสามารถอธบิ ายประวัติความเปน็ มาของเพลงปลกุ ใจได้ 3.2 ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) - นักเรียนฝกึ ปฏบิ ัติร้องเพลงปลกุ ใจเราสู้ได้ 3.3 ด้านคณุ ลักษณะ เจตคติ คา่ นยิ ม (A) - รักความเปน็ ไทย - มวี นิ ยั ๔. สาระการเรยี นรู้ - ร้องเพลงปลุกใจเราสู้ - ประวตั คิ วามเป็นมาเพลงปลุกใจ ๕. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน - ความสามารถในการส่อื สาร ๖. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ - รักความเปน็ ไทย - มีวนิ ยั 7. กิจกรรมการเรียนรู้

๑๑6 การจดั กจิ กรรมการเรียนร แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ ๓ รายวิชา ศิลปะ (ดนตรี-นาฏศิลป)์ หนว่ ยการเรียน ลาดับ ขอบเขตเนื้อหา/ ขนั้ ตอนการจัด เวลา ที่ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ การเรียนรู้ ทใ่ี ช้ กิจกรรม 1 ข้ันนา 10 1. ครูเปิดวีดทิ ศั นเ์ พ นาที เราสู้ใหน้ ักเรยี นรบั ช ถามนักเรียนว่า “นัก อย่างไรบา้ ง กับวีดิท รบั ชม” 2. ครูเปดิ วีดิทัศน์ ป ความเปน็ มาของเพ ใหน้ ักเรียนรบั ชมพร 2 ข้ันสอน 20 1. ครเู ปดิ เนอื้ เพลง นาที และให้นกั เรยี นอา่ น 2. ครใู หน้ ักเรียนช่ว ความหมายของเพล ทลี ะวรรค

ค่มู อื ครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ศิลปะ ป.๖) รู้ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ๓ เรื่อง เพลงปลกุ ใจ (1) นรู้ท่ี ๔ เรอ่ื ง การแสดงนาฏศิลป์ จานวน 1 ชว่ั โมง แนวการจัดการเรียนรู้ สอ่ื การเรียนรู้ การประเมิน การเรียนรู้ มครู กิจกรรมนักเรยี น - สื่อวีดิทศั น์ - แบบสงั เกต พลงปลกุ ใจ 1. นกั เรยี นรับชมวีดทิ ัศนเ์ พลง เพลงปลุกใจเราสู้ ชม พรอ้ มกบั ปลกุ ใจเราสู้ “นกั เรยี นตอบว่า - สอ่ื PowerPoint กเรยี นรู้สกึ รู้สกึ ฮกึ เฮิม รสู้ ึกตอ้ งสู้ รสู้ ึกไม่ ทศั นท์ ่ีได้ ยอมแพ้ (แนวคาตอบ)” (คาถาม) ประวตั ิ 2. นกั เรียนรบั ชมวดี ทิ ัศน์ - สื่อวดี ทิ ศั น์ พลงปลกุ ใจเราสู้ ประวตั ิความเปน็ มาของเพลง ประวัตคิ วาม รอ้ มกบั อธิบาย ปลกุ ใจ เปน็ มาเพลง ปลุกใจ งปลกุ ใจเราสู้ 1. นักเรยี นช่วยกนั อา่ น นพรอ้ มกนั เนื้อเพลงปลกุ ใจเราสู้ - สื่อ PowerPoint - แบบสังเกต (เนอื้ เพลงปลกุ ใจ วยกนั บอก 2. นักเรยี นช่วยกันบอก เราสู้) ลงปลุกใจเราสู้ ความหมายของเพลงปลกุ ใจ - ส่อื PowerPoint (เนอ้ื เพลงปลุกใจ เราสู้ ทลี ะวรรค เราสู้)

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๔ เร่ือง การแสดงนาฏศลิ ป์ ลาดับ ขอบเขตเนอื้ หา/ ข้ันตอนการจดั เวลา ที่ จุดประสงค์การเรียนรู้ การเรยี นรู้ ท่ีใช้ กจิ กรรมครู 20 1. ครเู ปดิ เพลงเราสูใ้ หน้ นาที ฟังพรอ้ มกนั อกี ครงั้ 2. ครูสาธิตการรอ้ งเพลง เราสู้ ทีละวรรค 3. ครใู ห้นกั เรยี นรอ้ งเพล เราสู้ เตม็ เพลง ด้วยคาร 3 ขัน้ ปฏิบตั ิ 20 ครใู ห้นักเรียนฝกึ ปฏบิ ตั ริ นาที ปลกุ ใจเราสู้ ดว้ ยสอ่ื วีดทิ คาราโอเกะ 4 ขั้นสรุป 10 1. ครใู ห้นกั เรยี นส่งตวั แ นาที ออกมารอ้ งเพลงปลกุ ใจเ หนา้ ชนั้ เรียน 2. ครใู หน้ ักเรยี นรอ้ งเพล เราสู้ พรอ้ มกนั ด้วยคาร

๑๑7 แนวการจัดการเรียนรู้ สื่อการเรยี นรู้ การประเมนิ กจิ กรรมนักเรียน การเรยี นรู้ - ส่อื วีดิทศั น์ - แบบสงั เกต นกั เรียน 1. นักเรียนฟงั เพลงปลกุ ใจเราสู้ เพลงปลกุ ใจเราสู้ - ส่อื PowerPoint - แบบสังเกต งปลกุ ใจ 2. นักเรียนร้องเพลงปลุกใจเราสู้ (เนื้อเพลงปลุกใจ ตามครทู ีละวรรค เราส)ู้ - ส่ือวีดทิ ัศนแ์ ละ ลงปลุกใจ 3. นักเรยี นร้องเพลงปลุกใจเราสู้ คาราโอเกะ ราโอเกะ เตม็ เพลง ด้วยคาราโอเกะ เพลงปลุกใจเราสู้ รอ้ งเพลง นกั เรียนฝึกปฏบิ ัตริ อ้ งเพลงปลกุ ใจ - สอ่ื วีดทิ ศั น์ ทศั นแ์ ละ เราสู้ ดว้ ยส่ือวีดิทัศน์และคาราโอเกะ และคาราโอเกะ เพลงปลุกใจเราสู้ แทน 1. นักเรยี นสง่ ตัวแทนออกมา - ส่อื วดี ิทศั น์ - แบบสังเกต เราสู้ รอ้ งเพลงปลุกใจเราสู้ หน้าช้ันเรียน และคาราโอเกะ ลงปลุกใจ เพลงปลุกใจเราสู้ ราโอเกะ 2. นกั เรียนรอ้ งเพลงปลุกใจเราสู้ พร้อมกัน ดว้ ยคาราโอเกะ

๑๑8 คมู่ ือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ศิลปะ ป.๖) 8. ส่อื การเรียนรู้/แหลง่ เรียนรู้ - ส่ือวีดิทศั นแ์ ละคาราโอเกะ เพลงปลกุ ใจเราสู้ - วดี ิทศั น์ ประวตั ิความเปน็ มาของเพลงปลกุ ใจ - ส่อื PowerPoint 9. การประเมนิ ผลรวบยอด ช้ินงานหรอื ภาระงาน - ฝึกปฏบิ ตั ริ อ้ งเพลงปลุกใจเราสู้ เกณฑก์ ารประเมนิ ผลชิน้ งานหรอื ภาระงาน ประเดน็ ระดับคุณภาพ 3 (ด)ี 2 (พอใช้) การประเมิน 4 (ดีมาก) น้าเสยี งไพเราะดี น้าเสียงไพเราะพอใช้ 1 (ปรบั ปรุง) นา้ เสียงตอ้ ง 1 นา้ เสยี งไพเราะ น้าเสยี งไพเราะดีมาก ปรบั ปรงุ อกั ขระไมถ่ กู ต้อง 2 อกั ขระชดั เจน อักขระชดั เจนดีมาก อกั ขระชดั เจนดี อักขระชัดเจนพอใช้ 3 จงั หวะ จงั หวะถกู ตอ้ งดมี าก จังหวะถูกตอ้ งดี จงั หวะถูกตอ้ งบ้างไม่ จังหวะไมถ่ กู ตอ้ ง 4 ทานอง ถูกต้องบ้าง ทานองเพลงถูกตอ้ งดี ทานองถูกตอ้ งดี ทานองถกู ตอ้ งบ้างไม่ ทานองเพลงไม่ มาก ถกู ต้อง ถกู ต้องบ้าง เกณฑ์การตัดสนิ คะแนน 13–16 หมายถึง ดีมาก คะแนน 9–12 หมายถึง ดี พอใช้ คะแนน 5–8 หมายถึง ปรบั ปรงุ คะแนน 1–4 หมายถึง เกณฑก์ ารผ่าน ตงั้ แตร่ ะดับ พอใช้

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๔ เรื่อง การแสดงนาฏศลิ ป์ ๑๑9 10. บนั ทึกผลหลังสอน ผลการจัดการเรยี นการสอน ...................................................................................................................... ......................................................................... ............................................................................................................................. .................................................................. ............................................................................................................................................................................................... ความสาเรจ็ ................................................................................................................. .............................................................................. ............................................................................................................................. .................................................................. ............................................................................................................................. .................................................................. ปัญหาและอปุ สรรค .......................................................................................................................................... ..................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................................. ขอ้ จากดั การใช้แผนการจัดการเรียนรู้ และขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการปรับปรงุ แก้ไข ............................................................................................................................. .................................................................. ............................................................................................................................. .................................................................. ............................................................................................................................. .................................................................. ลงชือ่ ......................................................ผสู้ อน (..........................................................) วนั ท่ี .......... เดือน ..................... พ.ศ. ............. 11. ความคดิ เหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผู้บริหารหรอื ผ้ทู ไ่ี ด้รับมอบหมาย ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................................. ลงชื่อ ...................................................... ผตู้ รวจ (..........................................................) วันท่ี .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

๑20 คมู่ อื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ศิลปะ ป.๖) แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๔ เรอ่ื ง เพลงปลุกใจเราสู้ (2) หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๔ เร่ือง การแสดงนาฏศลิ ป์ เวลา 1 ช่วั โมง ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ รายวชิ าศิลปะ (ดนตรี-นาฏศิลป์) 1. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตวั ชว้ี ดั ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรสู้ กึ ความคดิ อยา่ งอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจาวนั ป.6/1 สรา้ งสรรคก์ ารเคลื่อนไหวและการแสดงโดยเนน้ การถ่ายทอดลีลาหรืออารมณ์ ป. 6/3 แสดงนาฏศิลปแ์ ละละครงา่ ย ๆ ๒. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด เพลงปลุกใจ เป็นเพลงท่ีสร้างความฮึกเหิม เร้าใจ มีจังหวะหนักแน่น เข้มแข็ง ในสมัยอดีตมักใช้บรรเลง ยามออกศึกสงคราม เพ่ือให้เล่าทหารได้ฟังแล้วเกิดความฮึกเหิม กล้าหาญ รักชาติ และสร้างความสามัคคี ให้กบั คนในชาติ ๓. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K) - นักเรียนสามารถอธบิ ายความหมายของท่าทางประกอบเพลงปลกุ ใจเราสไู้ ด้ 3.2 ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) - นักเรียนฝกึ ปฏิบัติทา่ ทางประกอบเพลงปลุกใจเราสู้ 3.3 ด้านคณุ ลกั ษณะ เจตคติ คา่ นิยม (A) - รักความเป็นไทย - มีวนิ ยั ๔. สาระการเรียนรู้ - ปฏบิ ตั ทิ า่ ทางประกอบเพลงปลุกใจเราสู้ ๕. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น - ความสามารถในการสอื่ สาร ๖. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ - รักความเป็นไทย - มวี ินัย 7. กจิ กรรมการเรยี นรู้

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๔ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ การจดั กจิ กรรมการเรียนร แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 4 เ รายวิชา ศิลปะ (ดนตรี-นาฏศลิ ป์) หนว่ ยการเรียนร ลาดับ ขอบเขตเนือ้ หา/จดุ ประสงค์ ขน้ั ตอนการจดั เวลา ท่ี การเรียนรู้ การเรยี นรู้ ทใี่ ช้ กจิ กรรมค 1 ขน้ั นา 10 1. ครกู ล่าวทักทายน นาที และทบทวนรอ้ งเพล พร้อมกนั 2. ครถู ามนกั เรยี นว ประกอบเพลงของค “บ้านเมอื งเรา เ อยากทาลาย เชิญม เกียรตศิ กั ดขิ์ องเรา เราสไู้ ม่ถอย จนก้า ควรใช้ทา่ ทางแบบใด 3. ครูเปิดวีดิทัศน์ ท ประกอบเพลงปลุกใจ ใหน้ กั เรยี นรบั ชม 2 ขนั้ สอน 20 1. ครสู าธติ ท่าทางป นาที ปลุกใจเราสู้ ให้นกั เร ปฏิบัติตาม ทลี ะวรร หลาย ๆ รอบ

121 รู้ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ เร่อื ง เพลงปลกุ ใจเราสู้ (2) รู้ที่ ๔ เรือ่ ง การแสดงนาฏศิลป์ จานวน 1 ช่ัวโมง แนวการจัดการเรยี นรู้ สอ่ื การเรยี นรู้ การประเมนิ การเรียนรู้ ครู กจิ กรรมนักเรยี น นักเรยี น 1. นักเรียนทบทวนรอ้ งเพลง - สื่อ PowerPoint - แบบสังเกต ลงปลกุ ใจเราสู้ ปลุกใจเราสู้ พรอ้ มกัน (คาถาม) วา่ ทา่ ทาง 2. นกั เรยี นแสดงท่าทางต่าง ๆ - สอ่ื วีดิทัศน์ - แบบสังเกต คาวา่ (แนวคาตอบ) ทา่ ทางประกอบ เราตอ้ งรกั ษา เพลงปลกุ ใจเราสู้ มาเราสู้ 3. นกั เรยี นรับชมวีดิทัศน์ า เราเชิดชู ทา่ ทางประกอบเพลงปลกุ ใจ - สื่อ PowerPoint าวเดียว” เราสู้ (เน้ือเพลงปลุกใจ ด 1. นกั เรยี นฝกึ ปฏบิ ตั ทิ ่าทาง เราส)ู้ ทา่ ทาง ประกอบเพลงปลุกใจเราสู้ - ส่อื วิดที ัศน์เพลง จเราสู้ ทลี ะวรรคทาซา้ กนั หลาย ๆ รอบ ปลกุ ใจเราสู้ ประกอบเพลง รยี นฝึก รคทาซา้ กัน

๑๒2 ลาดับ ขอบเขตเนอื้ หา/จดุ ประสงค์ ขน้ั ตอนการจัด เวลา ท่ี การเรยี นรู้ การเรียนรู้ ท่ีใช้ กิจกรรมค 2. ครูสาธติ ทา่ ทางป ปลุกใจเราสู้ ใหน้ กั เร ตาม เตม็ เพลงเขา้ กบั ขัน้ สอน 20 1. ครใู หน้ ักเรียนแบ นาที ท่าทางประกอบเพล โดยสมาชกิ ในกลุม่ จะ นกั เรียนชายและนัก ตามความเหมาะสม 2. ครใู ห้นกั เรยี นแต ฝกึ ปฏบิ ตั ทิ ่าทางประ ปลกุ ใจเราสู้ 3 ขั้นปฏิบตั ิ 20 ครูใหน้ กั เรียนแต่ละก นาที ปฏบิ ตั ิทา่ ทางประกอ ใจเราสู้ ตามวดิ ที ศั น 4 ข้นั สรุป 10 1. ครูใหน้ กั เรียนสง่ ก นาที ออกมาปฏบิ ัตทิ า่ ทาง เพลงปลุกใจเราสู้ หน 2. ครูใหน้ กั เรียนปฏ ประกอบเพลงปลกุ ใจ พร้อมกนั

คู่มือครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ศิลปะ ป.๖) แนวการจัดการเรยี นรู้ สอ่ื การเรียนรู้ การประเมิน การเรยี นรู้ ครู กิจกรรมนกั เรียน - ส่ือวีดิทัศน์ - แบบสงั เกต ประกอบเพลง 2. นกั เรียนฝึกปฏบิ ตั ทิ ่าทาง เพลงปลุกใจเราสู้ รียนฝกึ ปฏบิ ัติ ประกอบเพลงปลุกใจเราสู้ บบทเพลง เต็มเพลงเขา้ กบั บทเพลง บง่ กล่มุ ปฏิบตั ิ 1. นกั เรยี นแบ่งกล่มุ ลงปลกุ ใจเราสู้ ะตอ้ งมีท้ัง กเรยี นหญงิ ตล่ ะกลมุ่ 2. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มฝึกปฏิบตั ิ - สอื่ วีดิทศั น์ - แบบสังเกต ะกอบเพลง ทา่ ทางประกอบเพลงปลุกใจ ท่าทางประกอบ - แบบสงั เกต เราสู้ เพลงปลกุ ใจเราสู้ กลุม่ ฝกึ อบเพลงปลกุ นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มฝกึ ปฏบิ ตั ิ - สือ่ วีดิทศั น์ น์ ท่าทางประกอบเพลงปลุกใจเรา ทา่ ทางประกอบ กลุ่มตวั แทน สู้ ตามวดิ ที ัศน์ เพลงปลกุ ใจเราสู้ งประกอบ น้าช้ันเรยี น 1. นักเรยี นสง่ กลมุ่ ตัวแทน ฏบิ ตั ทิ ่าทาง ออกมาปฏบิ ัติทา่ ทางประกอบ จเราสู้ เพลงปลุกใจเราสู้ หนา้ ชั้นเรียน 2. นกั เรียนปฏิบัติทา่ ทาง ประกอบเพลงปลุกใจเราสู้ พรอ้ มกัน

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๔ เร่ือง การแสดงนาฏศลิ ป์ ๑๒3 8. สอื่ การเรียนรู/้ แหล่งเรยี นรู้ - สอ่ื วีดิทัศน์ท่าทางประกอบเพลงปลกุ ใจเราสู้ - ส่ือ PowerPoint 9. การประเมนิ ผลรวบยอด ช้ินงานหรอื ภาระงาน - ฝกึ ปฏิบัตทิ ่าทางประกอบเพลงปลุกใจเราสู้ เกณฑก์ ารประเมินผลช้ินงานหรือภาระงาน ประเด็น ระดบั คุณภาพ การประเมิน 4 (ดีมาก) 3 (ด)ี 2 (พอใช้) 1 (ปรับปรงุ ) 1. ความสวยงาม ความสวยงามของ ความสวยงามของ ความสวยงามของ ความสวยงามของ ของทา่ ทาง ท่าทางประกอบเพลง ท่าทางประกอบเพลง ทา่ ทางประกอบเพลง ทา่ ทางประกอบ ประกอบเพลง ดีมาก ดี พอใช้ เพลงต้องปรบั ปรุง 2. ความพร้อม ความพร้อมเพรียง ความพรอ้ งเพรียงดี ความพรอ้ งเพรยี ง ไมม่ ีความพรอ้ ม เพรียง ดมี าก บางครง้ั เพรียง 3. การแสดงออก การแสดงออก สหี นา้ การแสดงออก สหี นา้ การแสดงออก สหี น้า การแสดงออก สีหน้าและอารมณ์ และอารมณด์ มี าก และอารมณ์ดี และอารมณบ์ างครั้ง สหี น้าและอารมณ์ 4. ความคดิ ความคิดสรา้ งสรรค์ ความคิดสร้างสรรคด์ ี ต้องปรบั ปรงุ สรา้ งสรรค์ ดีมาก ความคดิ สร้างสรรค์ ไม่มีความคิด พอใช้ สรา้ งสรรค์ เกณฑ์การตดั สนิ หมายถึง ดมี าก คะแนน 13–16 หมายถงึ ดี คะแนน 9–12 หมายถึง พอใช้ คะแนน 5–8 หมายถึง ปรบั ปรงุ คะแนน 1–4 ตง้ั แต่ระดับ พอใช้ เกณฑ์การผ่าน

๑๒4 คู่มอื ครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ศลิ ปะ ป.๖) 10. บันทกึ ผลหลงั สอน ผลการจัดการเรียนการสอน ............................................................................................................................. ............................................................ ........................................................................................................................................................ ................................. ......................................................................................................................................................................................... ความสาเร็จ ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ................................................................................................................................................................. ........................ ปัญหาและอปุ สรรค ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ข้อจากดั การใช้แผนการจัดการเรยี นรู้ และข้อเสนอแนะ/แนวทางการปรบั ปรงุ แกไ้ ข ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................................... .......................................... ลงชอ่ื ......................................................ผสู้ อน (..........................................................) วันท่ี .......... เดอื น ..................... พ.ศ. ............. 11. ความคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บรหิ ารหรือผ้ทู ไี่ ด้รับมอบหมาย ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ลงชือ่ ...................................................... ผตู้ รวจ (..........................................................) วันท่ี .......... เดอื น ..................... พ.ศ. .............

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๔ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ ๑๒5 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๕ เร่อื ง การออกแบบเคร่ืองแต่งกายเพลงปลกุ ใจ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๔ เรอ่ื ง การแสดงนาฏศิลป์ เวลา 1 ชว่ั โมง กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ รายวิชาศลิ ปะ (ดนตรี-นาฏศิลป์) ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชว้ี ัด ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่านาฏศิลป์ ถา่ ยทอดความรูส้ ึก ความคิดอยา่ งอสิ ระ ช่นื ชม และประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวนั ป.6/2 ออกแบบเคร่อื งแต่งกาย หรอื อุปกรณป์ ระกอบการแสดงอย่างง่าย ๆ ๒. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด การแต่งกายในการแสดงนาฏศลิ ป์ มีความสวยงามและบง่ บอกถงึ ความเป็นไทย มีเอกลกั ษณ์เฉพาะการแสดง ชุดน้ัน ๆ ทาให้การแสดงมคี วามสมบรู ณ์มากยงิ่ ข้นึ ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ ความเขา้ ใจ (K) - นกั เรยี นสามารถอธบิ ายหลักการออกแบบเครื่องแตง่ กาย หรอื อปุ กรณป์ ระกอบการแสดงอยา่ งงา่ ย ๆ ได้ 3.2 ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) - นกั เรียนออกแบบเคร่อื งแตง่ กายเพลงปลุกใจเราสู้ 3.3 ดา้ นคุณลกั ษณะ เจตคติ ค่านิยม (A) - รักความเป็นไทย - มวี ินัย ๔. สาระการเรียนรู้ - หลกั การออกแบบเครือ่ งแต่งกาย หรืออุปกรณ์ประกอบการแสดงอยา่ งง่าย ๆ ๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน - ความสามารถในการสอื่ สาร ๖. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ - รักความเปน็ ไทย - มวี ินัย 7. กิจกรรมการเรียนรู้

๑๒6 การจัดกจิ กรรมการเรียนร แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๕ เร่อื ง การ รายวชิ า ศิลปะ (ดนตรี-นาฏศิลป์) หน่วยการเรยี น ลาดับ ขอบเขตเน้อื หา/ ข้ันตอนการจดั เวลา กจิ กรรมค ท่ี จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ การเรียนรู้ ทีใ่ ช้ 1 ข้ันนา 10 1. ครูกลา่ วทกั ทายท้งั นาที และปลายทาง พรอ้ มท ทบทวนท่าทางประกอ ปลุกใจเราสู้ พร้อมกนั 2. ครถู ามนักเรียนวา่ กายน้ันมคี วามสาคญั อ 3. ครใู ห้นักเรยี นรบั ชม เครื่องแตง่ กายเพลงปล 2 ขั้นสอน 20 1. ครูนาภาพเครือ่ งแต นาที รปู แลว้ ครูถามนักเรยี แต่งกาย 2 รูปนี้ มคี ว และความแตกต่างกัน 2. ครูนารปู ภาพการเค ตา่ ง ๆ มาให้นกั เรยี นไ ให้นักเรียนชว่ ยกันวิเค แต่งกายในรูปแบบตา่ ง

คมู่ ือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ศิลปะ ป.๖) รู้ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ รออกแบบเครือ่ งแต่งกายเพลงปลกุ ใจ นร้ทู ่ี ๔ เรอ่ื ง การแสดงนาฏศิลป์ จานวน 1 ชั่วโมง แนวการจัดการเรียนรู้ ส่อื การเรยี นรู้ การประเมิน ครู กิจกรรมนกั เรียน การเรียนรู้ งต้นทาง 1. นักเรยี นทบทวนท่าทาง - สื่อ PowerPoint - แบบสังเกต ท้งั ให้นกั เรยี น ประกอบเพลงปลกุ ใจเราสู้ (คาถาม) อบเพลง พร้อมกนั น “การแต่ง 2. นักเรยี นตอบวา่ “เปน็ - ส่ือวดี ิทัศน์ อย่างไรบ้าง” เครือ่ งนงุ่ หม่ ปกปิดรา่ งกาย เครือ่ งแตง่ กาย สามารถบง่ บอกถงึ ลกั ษณะนสิ ัย เพลงปลกุ ใจเราสู้ ของผู้แต่งได”้ (แนวคาตอบ) มวดี ทิ ศั น์ 3. นักเรียนรบั ชมวดี ิทศั น์ ลกุ ใจเราสู้ เคร่อื งแตง่ กายเพลงปลุกใจเราสู้ ตง่ กายมา 2 1. นักเรยี นตอบวา่ “ปกปดิ - สื่อ PowerPoint - แบบสังเกต ยนวา่ “เคร่ือง รา่ งกายไดเ้ หมือนกนั (ภาพเครือ่ งแตง่ กาย วามเหมือน เอกลักษณห์ รอื ท่ีมาของเครอื่ ง และคาถาม) นอย่างไร” แต่งกายตา่ งกนั ” (แนวคาตอบ) คร่ืองแตง่ กาย 2. นักเรยี นรับชมภาพเคร่อื ง - สอ่ื พาวเวอร์ ได้รบั ชม และ แต่งกายตา่ ง ๆ และชว่ ยกัน พอ้ ย (ภาพเครื่อง คราะหเ์ ครอ่ื ง วิเคราะหเ์ ครอื่ งแตง่ กาย แต่งกาย) ง ๆ ในรูปแบบต่าง ๆ

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๔ เรอื่ ง การแสดงนาฏศลิ ป์ ลาดั จดุ ประสงค์ ขัน้ ตอนการ เวลา กิจกรรมค บท่ี การเรียนรู้ จัด ท่ีใช้ การเรยี นรู้ ขนั้ สอน 1. ครถู ามนกั เรียนวา่ “ ของแตล่ ะชุด บ่งบอกได 2. ครูใหน้ ักเรียนออกแ กายเพลงปลกุ ใจเราสลู้ ของตนเอง และตกแต สวยงาม 3 ข้ันปฏิบตั ิ 20 ครูใหน้ ักเรยี นออกแบบ นาที เครอื่ งแตง่ กายเพลงปล และตกแตง่ ระบายสใี ห 4 ขั้นสรุป 10 ครูให้นกั เรยี นส่งตวั แทน นาที นาเสนอใบงาน การออ เคร่ืองแตง่ กายเพลงปล หนา้ ช้นั เรียน

๑๒7 แนวการจัดการเรยี นรู้ ส่ือการเรียนรู้ การประเมนิ ครู กจิ กรรมนักเรยี น การเรยี นรู้ - แบบสังเกต “การแตง่ กาย 1. นักเรียนตอบวา่ “บ่งบอก - สอื่ PowerPoint - แบบประเมิน ดถ้ งึ อะไรบา้ ง” ถึงความเปน็ เอกลกั ษณ์และทมี่ า (คาถาม) ของแต่ละชุด” (แนวคาตอบ) แบบเคร่ืองแตง่ 2. นกั เรยี นออกแบบเครอื่ งแตง่ - ใบงาน ลงในใบงาน กายเพลงปลกุ ใจเราสลู้ งในใบ การออกแบบ ตง่ ระบายสีให้ งานของตนเอง และตกแต่ง เครือ่ งแตง่ กาย ระบายสใี หส้ วยงาม เพลงปลุกใจเราสู้ บ นักเรยี นออกแบบ - ใบงาน ลุกใจเราสู้ เคร่อื งแตง่ กายเพลงปลุกใจเราสู้ การออกแบบ หส้ วยงาม และตกแต่งระบายสีใหส้ วยงาม เครื่องแตง่ กาย เพลงปลกุ ใจเราสู้ นออกมา นักเรยี นสง่ ตัวแทนออกมา - แบบสังเกต อกแบบ นาเสนอใบงานออกแบบ ลกุ ใจเราสู้ เครอื่ งแตง่ กายเพลงปลกุ ใจเราสู้ หน้าชั้นเรยี น

๑๒8 คู่มือครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ศลิ ปะ ป.๖) 8. สอ่ื การเรยี นรู้/แหล่งเรียนรู้ - ส่อื วดี ิทศั นเ์ ครอื่ งแต่งกาย - สอื่ PowerPoint - ใบงาน 9. การประเมินผลรวบยอด ช้ินงานหรอื ภาระงาน - ออกแบบเคร่ืองแตง่ กายเพลงปลุกใจเราสู้ เกณฑก์ ารประเมนิ ผลชิ้นงานหรอื ภาระงาน ประเด็น ระดบั คุณภาพ การประเมนิ 1. ความคิด 4 (ดีมาก) 3 (ด)ี 2 (พอใช้) 1 (ปรบั ปรุง) สรา้ งสรรค์ ความคดิ สร้างสรรค์ 2. ความสะอาด ดีมาก ความคดิ สร้างสรรค์ ความคดิ สรา้ งสรรค์ ไมม่ ีความคดิ สรา้ งสรรค์ ของใบงาน ความสะอาด ของใบงานดีมาก ดี พอใช้ 3. สสี ันสวยงาม สีสันสวยงามดีมาก ความสะอาด ความสะอาดของใบงาน ไม่มีความสะอาด 4. สง่ งาน ตรงเวลา ส่งตรงกาหนด ของใบงานดี พอใช้ ของใบงาน สีสนั สวยงามดี สีสันสวยงามพอใช้ สสี นั ไมส่ วยงาม ส่งชา้ กว่ากาหนด ส่งชา้ กวา่ กาหนด 2 วนั ส่งช้ากวา่ กาหนด 3 วนั 1 วนั เกณฑ์การตดั สนิ หมายถึง ดีมาก คะแนน 13–16 หมายถงึ ดี คะแนน 9–12 คะแนน 5–8 หมายถงึ พอใช้ คะแนน 1–4 หมายถึง ปรับปรงุ เกณฑ์การผา่ น ตัง้ แตร่ ะดบั พอใช้

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ ๔ เรอื่ ง การแสดงนาฏศิลป์ ๑๒9 10. บันทึกผลหลงั สอน ผลการจดั การเรยี นการสอน ............................................................................................................................. .................................................................. .................................................................................................................................................................. ............................. ............................................................................................................................. .................................................................. ความสาเรจ็ ................................................................................................................................................................. .............................. ................................................................................................................. .............................................................................. ............................................................................................................................. .................................................................. ปญั หาและอุปสรรค ............................................................................................................................. .................................................................. .................................................................................................................................................... ........................................... ............................................................................................................................................................................................... ข้อจากัดการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ และขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการปรบั ปรงุ แกไ้ ข ............................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................................. ............................................................................................................................. .................................................................. ลงชื่อ......................................................ผสู้ อน (..........................................................) วันที่ .......... เดอื น ..................... พ.ศ. ............. 11. ความคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรอื ผทู้ ี่ได้รับมอบหมาย ............................................................................................................. .................................................................................. ............................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................... ..................................................................... ลงชื่อ ...................................................... ผตู้ รวจ (..........................................................) วันท่ี .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

๑30 คูม่ ือครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ศิลปะ ป.๖) แบบประเมนิ ตนเอง ชือ่ : ____________________ สกุล : ___________________วนั ______ เดอื น____________พ.ศ. _______ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ เร่อื ง การแสดงนาฏศลิ ป์ ๑. ประเมนิ การเรยี นรขู้ องตนเอง กาเครือ่ งหมาย √ ในช่องระดบั ความสามารถของแตล่ ะกจิ กรรมท่ีนกั เรียนคดิ ว่าทาได้ตามระดบั การประเมินเหลา่ นี้ ระดบั ความสามารถ : ดมี าก ค่อนขา้ งดี ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ ท่ี รายการ ระดบั ความสามารถ ๑ เพลงวหิ คเหนิ ลม ดมี าก ค่อน ดี พอใช้ ปรบั ๒ เพลงปลกุ ใจ ขา้ งดี ปรงุ ๓ ออกแบบเครอ่ื งแตง่ กายเพลงปลกุ ใจ 2. สง่ิ ทีฉ่ ันยังไมเ่ ข้าใจ / ยังทาไดไ้ มด่ ี คือ…… (สามารถเขียนได้มากกวา่ 1 อย่าง) …………………………………………….............................................................................................................. ............................................................................................................................. .................................... …………………………………………….............................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................... 3. ส่ิงทฉี่ นั ตงั้ ใจจะทาให้ดขี ึ้นในการเรียนหน่วยต่อไป (สามารถเขยี นได้มากกวา่ 1 อยา่ ง) …………………………………………….............................................................................................................. ……………………………………………............................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ...................................

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๕ เร่อื ง เพลดิ เพลินเสยี งเพลง 131 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 4 เพลิดเพลินเสียงเพลง

๑๓2 คูม่ อื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ศิลปะ ป.๖) หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ ๕ ชอื่ หนว่ ยการเรียนรู้ ๕ เพลิดเพลินเสยี งเพลง รหสั วิชา ศ1๖101 รายวิชาศลิ ปะ (ดนตรี-นาฏศิลป์) กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๓ ชวั่ โมง ……………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………….. ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วดั สาระนาฏศิลป์ มาตรฐาน ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรอี ย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอด ความรสู้ ึกความคดิ ต่อดนตรอี ย่างอิสระ ช่ืนชมและประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจาวัน ตวั ชว้ี ดั ป.6/4 ใชเ้ ครอ่ื งดนตรีบรรเลงประกอบการรอ้ งเพลง ด้นสด ท่มี จี ังหวะและทานองงา่ ย ๆ ป.6/6 แสดงความคดิ เห็นเกย่ี วกับทานองจงั หวะการประสานเสยี ง และคุณภาพของเสยี งเพลงทฟี่ ัง ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความร้สู กึ ความคิดอย่างอสิ ระ ช่ืนชม และประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตประจาวนั ตวั ช้ีวดั ป.6/2 ออกแบบเครื่องแตง่ กาย หรอื อุปกรณ์ประกอบการแสดงอย่างงา่ ย ๆ ป.6/3 แสดงนาฏศิลป์และละครอยา่ งง่าย ๆ ๒. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด บทเพลง มีอิทธิพลต่อชีวิตมนุษย์มาต้ังแต่สมัยอดีตจนถึงปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นด้านประเพณีวัฒนธรรม ด้านพิธีกรรม ล้วนแล้วแต่มีดนตรีเข้ามาเกี่ยวข้องอยู่เสมอ และดนตรียังช่วยสร้างจินตนาการ สร้างสรรค์ความคิด ผอ่ นคลายความรสู้ กึ และช่วยใหเ้ ราดาเนนิ ชวี ิตไปอย่างมคี วามสุข ๓. สาระการเรียนรู้ ความรู้ - สามารถบอกประวัติความเปน็ มาของเพลงเกย่ี วขา้ วได้ - สามารถอธิบายหลักการออกแบบเครือ่ งแต่งกาย หรืออุปกรณ์ประกอบการแสดงอยา่ งง่าย ๆ ได้ ทักษะ/กระบวนการ - ร้องเพลงเก่ียวข้าว - ประดิษฐอ์ ุปกรณก์ ารแสดงประกอบการรอ้ งเพลงเกยี่ วข้าว เจตคติ - ใฝ่เรยี นรู้ - รักความเปน็ ไทย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook