Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อุตสาหกรรมเกษตรเบื้องต้น drk 260460

อุตสาหกรรมเกษตรเบื้องต้น drk 260460

Description: อุตสาหกรรมเกษตรเบื้องต้น drk 260460

Search

Read the Text Version

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสระแกว้

เอกสารประกอบการเรียนรู้ หลกั สตู รฐานสมรรถนะและบรู ณาการเศรษฐกิจพอเพียง วชิ า อุตสาหกรรมเกษตรเบ้อื งต้น รหสั วชิ า 2501-2004 โดย นายศภุ สทิ ธิ์ ดรี กั ษา ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ แผนกวชิ าอตุ สาหกรรมเกษตร วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสระแกว้ สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

คำนำ เอกสารประกอบการเรียนรู้ หลักสตู รฐานสมรรถนะและบูรณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง วิชา อตุ สาหกรรมเกษตรเบ้ืองต้น รหสั วิชา 2501-2004 เปน็ รายวิชาในหลักสตู ร ประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) พทุ ธศกั ราช 2556 ประเภทวชิ าเกษตรกรรม สาขาวชิ าเกษตรศาสตร์ น้ีได้จดั ทาขึ้นเพือ่ ให้ ผู้เรียนใช้ประโยชน์ในการเรียนรู้ได้ตลอดเวลา ทั้งในชัน้ เรยี นและนอกชัน้ เรยี นเอกสารประกอบการ เรยี นรู้เล่มน้ีมีเน้อื หารวม 10 หน่วยการเรียนรู้ แตล่ ะหนว่ ยมีแบบทดสอบก่อนและหลงั การเรียน กิจกรรมหนว่ ยการเรยี นรู้ ใบมอบหมายงาน แบบฝกึ หัด ทผี่ เู้ รียนสามารถเรียนรไู้ ดแ้ ละบรรลุ วัตถปุ ระสงค์ตามหลกั สูตร ผ้สู อนสามารถนาไปจัดการเรียนการสอน เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรยี นรู้ ตามจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ทกี่ าหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรทู้ ่ีได้ออกแบบกาหนดไว้ โดยยึดผเู้ รยี น เป็นสาคัญ ซง่ึ สอดคลอ้ งกับความมงุ่ หมายและหลักการของพระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ ขอกราบขอบพระคุณท่านผทู้ รงคุณวุฒิทกุ ทา่ นที่กรณุ าให้คาแนะนาขอ้ สงั เกต ในการปรับปรุง ผลงานทางวชิ าการ จนสาเรจ็ เป็นรูปเล่มท่ีสมบูรณ์ หวงั อย่างยง่ิ วา่ เอกสารประกอบการเรียนรู้นี้ จะมีส่วนที่เป็นประโยชนแ์ ละเปน็ แนวทางในการ จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนแกค่ รูผู้สอน หรือผสู้ นใจที่จะนาเอกสารประกอบการเรียนรู้เลม่ น้ีไปใช้ ประโยชน์ หากมขี ้อบกพรอ่ งประการใดผู้จดั ทาขอน้อมรับคาแนะนา เพ่อื จะนาไปปรับปรุงและพฒั นา ตอ่ ไป นายศภุ สทิ ธ์ิ ดีรักษา มนี าคม 2558

ข สารบญั คานา หน้า สารบญั ก คาอธบิ ายรายวชิ า ข ตารางวเิ คราะหค์ าอธบิ ายรายวิชา ฉ ชอ่ื เรื่องและงาน สมรรถนะท่ีพึงประสงค์ของแผนการสอน ช ตารางวเิ คราะหห์ ลกั สตู ร ซ กจิ กรรมฐานสมรรถนะในช้ินงาน/โครงการ ญ ผงั มโนทศั นก์ ารจัดการเรียนรมู้ งุ้ เน้นสมรรถนะและบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง ฎ เกณฑก์ ารวัดผลและประเมินผล ฏ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ฐ 1 ความสาคัญของอตุ สาหกรรมเกษตร........................................................................ 1 เนอื้ หา 1. ความสาคัญของอุตสาหกรรมเกษตร.............................................................. 2 2. ความหมายของอุตสาหกรรมเกษตร............................................................... 3 3. ววิ ัฒนาการของอุตสาหกรรมเกษตร............................................................... 4 4. ประโยชน์ของอตุ สาหกรรมเกษตร.................................................................. 7 5. ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงกบั อตุ สาหกรรมเกษตร ......................................... 8 กจิ กรรมหน่วยการเรียนรู้ท่ี 1...................................................................................... 12 ใบมอบหมายงานที่ 1.................................................................................................. 13 แบบฝึกหัดหน่วยการเรียนรูท้ ่ี 1.................................................................................. 14 แบบทดสอบหลงั เรยี น หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1............................................................... 15 16 2 ประเภทของอตุ สาหกรรมเกษตร............................................................................... เนอื้ หา 17 1. ประเภทของอุตสาหกรรมเกษตร...................................................................... 25 2. สภาพการผลติ อุตสาหกรรมเกษตร................................................................... 25 3. การลงทนุ ในอุตสาหกรรมเกษตร....................................................................... 27 กจิ กรรมหนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2...................................................................................... 28 ใบมอบหมายงานที่ 2.................................................................................................. 29 แบบฝกึ หดั หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 2.................................................................................. 30 แบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2...............................................................

ค สารบัญ หน้า 31 หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 3 หลักการดาเนนิ งานอุตสาหกรรมเกษตร................................................................... 32 เนอ้ื หา 32 1. หลักการดาเนินงานอตุ สาหกรรมเกษตร.......................................................... 36 2. องคป์ ระกอบในการดาเนินการอุตสาหกรรมเกษตร......................................... 40 3. ความแตกตา่ งอตุ สาหกรรมเกษตรกับอตุ สาหกรรมอน่ื ………………………………. 41 กิจกรรมหนว่ ยการเรียนรู้ที่ 3...................................................................................... 42 ใบมอบหมายงานที่ 3.................................................................................................. 43 แบบฝึกหัดหนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3.................................................................................. 44 แบบทดสอบหลงั เรียน หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 3............................................................... 4 การพฒั นาผลติ ภณั ฑ์อุตสาหกรรมเกษตร................................................................. 45 เนอื้ หา 1. กระบวนการพัฒนาผลิตภณั ฑ์อุตสาหกรรมเกษตร............................................ 47 2. การพัฒนาสตู รผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรมเกษตรตน้ แบบและการพฒั นา 51 กระบวนการผลติ .............................................................................................. 53 3. การจัดการวงจรชวี ิตผลติ ภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรมเกษตร ......................................... 57 4. แนวโนม้ การพัฒนาผลิตภัณฑอ์ ุตสาหกรรมเกษตร............................................ 58 กิจกรรมหน่วยการเรียนรู้ท่ี 4...................................................................................... 59 ใบมอบหมายงานที่ 4.................................................................................................. 60 แบบฝึกหัดหนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 4.................................................................................. 61 แบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4............................................................... 5 การวางแผนการผลติ และการควบคมุ คุณภาพของอตุ สาหกรรมเกษตร.................. 62 เนอ้ื หา 65 1. การวางแผนการผลิตผลติ ภัณฑ์...................................................................... 66 2. การเก็บรกั ษาผลติ ภณั ฑร์ ะหว่างรอจาหน่าย................................................... 68 3. การควบคุมคุณภาพผลติ ภัณฑ์........................................................................ 70 4. ความจาเปน็ ในการควบคมุ คุณภาพ................................................................ 71 กิจกรรมหนว่ ยการเรียนรู้ที่ 5...................................................................................... 72 ใบมอบหมายงานที่ 5.................................................................................................. 73 แบบฝกึ หัดหน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5.................................................................................. 74 แบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 5............................................................... 6 หลักการแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์อุตสาหกรรมเกษตร........................................................ 75 เน้อื หา 76 1. หลกั การแปรรูปผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรมเกษตร.............................................. 2. การแปรรูปโดยใช้ความร้อน...........................................................................

ง สารบัญ หน้า 78 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 79 3. การแปรรปู โดยใช้ความเยน็ ........................................................................... 84 4. การแปรรปู โดยใชก้ ารหมัก ............................................................................ 87 5. การแปรรปู โดยใชส้ ารปรงุ แต่งอาหารและสารเคมี ........................................ 88 89 กิจกรรมหนว่ ยการเรียนรู้ที่ 6...................................................................................... 91 ใบมอบหมายงานที่ 6.................................................................................................. 92 แบบฝกึ หดั หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 6.................................................................................. แบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยการเรยี นรู้ที่ 6............................................................... 93 7 หลกั การแปรรปู ผลติ ภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตรด้วยเทคนิคใหม่............................... 93 เน้ือหา 97 99 1. การแปรรูปผลิตภณั ฑ์อตุ สาหกรรมเกษตรดว้ ยเทคนิคใหม.่ ............................ 102 2. การใชไ้ มโครเวฟในการแปรรปู ....................................................................... 103 3. การใช้ความรอ้ นดว้ ยอนิ ฟาเรด....................................................................... 104 4. การใช้ความดันสงู ในการแปรรปู .................................................................. 106 กจิ กรรมหน่วยการเรียนรู้ท่ี 7...................................................................................... 107 ใบมอบหมายงานท่ี 7.................................................................................................. แบบฝกึ หัดหน่วยการเรียนรู้ที่ 7.................................................................................. 108 แบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรยี นรู้ที่ 7.............................................................. 108 8 การสร้างมูลค่าเพ่ิมในการผลิตจากอุตสาหกรรมเกษตร........................................... 111 เนื้อหา 114 1. ผลพลอยได้จากอุตสาหกรรมเกษตร............................................................... 115 2. การใช้ประโยชนจ์ ากผลพลอยได้…………………………………………………………… 116 3. การใชป้ ระโยชนจ์ ากของเหลอื ………………………………………………………………. 118 กิจกรรมหน่วยการเรียนรู้ที่ 8...................................................................................... 119 ใบมอบหมายงานท่ี 8.................................................................................................. แบบฝกึ หดั หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 8.................................................................................. 120 แบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 8............................................................... 122 9 มาตรฐานโรงงานอุตสาหกรรมเกษตร....................................................................... 125 เนอ้ื หา 133 1. มาตรฐานโรงงานอุตสาหกรรมการผลติ อาหาร................................................ 134 2. การสขุ าภิบาลโรงงาน ..................................................................................... 135 3. การประกันคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมเกษตร.......................................... กิจกรรมหน่วยการเรยี นรู้ที่ 9..................................................................................... ใบมอบหมายงานที่ 9.................................................................................................. แบบฝึกหดั หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 9..................................................................................

จ สารบญั หน้า 136 หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 137 แบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 9............................................................... 138 10 การขนสง่ ผลติ ภณั ฑ์อุตสาหกรรมเกษตร.................................................................. 138 เน้ือหา 142 1. ความหมายและความสาคญั การขนสง่ ผลิตภัณฑอ์ ุตสาหกรรมเกษตร.............. 147 2. วธิ กี ารขนสง่ ผลติ ภณั ฑอ์ ุตสาหกรรมเกษตร...................................................... 148 3. เครือ่ งมืออุปกรณ์ในการขนสง่ ผลติ ภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร.......................... 149 กิจกรรมหน่วยการเรยี นรู้ที่ 10.................................................................................... 150 ใบมอบหมายงานท่ี 10................................................................................................ 151 แบบฝกึ หดั หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 10................................................................................ 155 แบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 10............................................................ 156 157 บรรณานุกรม ............................................................................................................................. . 158 ภาคผนวก……………………………………………………………………………………………………………………… ตวั อย่างการบรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพียงในการปฏิบัติงาน……………………………… เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลงั เรียน.............…………………................................ ประวัติผู้เขียน………………………………………………………………………………………………………………

ฉ คาอธิบายรายวิชา วิชา อตุ สาหกรรมเกษตรเบ้อื งต้น รหัสวชิ า 2501-2004 คาอธบิ ายรายวิชา ศกึ ษาเก่ียวกบั ความสาคญั ประโยชน์ ประเภท การวางแผนการดาเนนิ งานอตุ สาหกรรมเกษตร หลักการแปรรปู ผลิตภัณฑ์ในระบบอุตสาหกรรมเกษตร การควบคุมคุณภาพ การขนสง่ การจาหน่ายและ มาตรฐานโรงงานอตุ สาหกรรมเกษตร จุดประสงคร์ ายวิชา เพื่อให้ 1. เข้าใจหลกั การเกีย่ วกับงานอตุ สาหกรรมเกษตรเบ้อื งต้น และขัน้ ตอนการดาเนนิ งานอตุ สาหกรรม เกษตรอย่างมีระบบและมาตรฐาน 2. ประยกุ ตใ์ ช้หลกั การดาเนินงานอุตสาหกรรมเกษตรในการปฏบิ ัติงานอาชพี 3. มเี จตคติและกจิ นสิ ยั ท่ดี ีตอ่ งานอาชพี อตุ สาหกรรมเกษตร สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรเู้ บือ้ งตน้ เก่ยี วกบั หลกั การและกระบวนการในการดาเนนิ งานอุตสาหกรรมเกษตร 2. วางแผนการดาเนนิ งานอุตสาหกรรมเกษตรเบ้ืองตน้ ตามหลักการและกระบวนการ 3. ประยุกตใ์ ช้ความรู้เกี่ยวกบั หลกั อตุ สาหกรรมเกษตรในงานอาชีพ

ช ตารางวิเคราะห์คาอธบิ ายรายวิชา วิชา อตุ สาหกรรมเกษตรเบอื้ งต้น รหัสวชิ า 2501-2004 กจิ กรรม สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. ศึกษา ศึกษาเกยี่ วกับ ความสาคญั ประโยชน์ 1. สามารถบอกความหมาย เรยี นรู้ ประเภท การวางแผนการดาเนนิ งาน ความสาคญั และประโยชนข์ อง อุตสาหกรรมเกษตร หลกั การแปรรปู ผลิตภณั ฑ์ อตุ สาหกรรมเกษตรได้ ในระบบอตุ สาหกรรมเกษตร การควบคมุ 2. สามารถจาแนกประเภทของ คุณภาพ การขนส่ง การจาหนา่ ยและมาตรฐาน อตุ สาหกรรมเกษตรได้ โรงงานอุตสาหกรรมเกษตร 3. สามารถอธบิ ายหลักการเบื้องตน้ ในการวางแผนและดาเนินงาน อุตสาหกรรมเกษตรตามมาตรฐาน 4. สามารถอธบิ ายหลักการแปรรูป ผลิตภัณฑใ์ นระบบอตุ สาหกรรม เกษตรได้ 5. สามารถอธบิ ายการควบคุม คณุ ภาพได้ 6. สามารถอธิบายการขนส่ง การ จาหน่ายได้ 7. สามารถอธิบายมาตรฐานโรงงาน อุตสาหกรรมเกษตรได้

ซ ชอื่ เรอื่ งและงาน สมรรถนะที่พงึ ประสงค์ของแผนการสอน วิชา อตุ สาหกรรมเกษตรเบ้อื งต้น รหสั วิชา 2501-2004 จานวน 2 หน่วยกิต จานวนชวั่ โมง 2 ชัว่ โมง/สัปดาห์ หนว่ ยที่ ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ สมรรถนะทคี่ าดหวัง เวลา (จุดประสงค์การเรียนร้)ู (ช่ัวโมง) 1 ความสาคญั ของอตุ สาหกรรมเกษตร เรียนรูแ้ ละอธิบาย ความสาคัญ 2 ของอุตสาหกรรมเกษตร ได้ อยา่ งถูกต้องและเหมาะสม 2 ประเภทของอุตสาหกรรมเกษตร เรียนร้แู ละอธบิ าย ประเภท 2 ของอุตสาหกรรมเกษตรได้ อย่างถูกต้องและเหมาะสม 3 หลักการดาเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร เรยี นร้แู ละอธบิ ายหลักการ 2 ดาเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องและเหมาะสม 4 การพัฒนาผลิตภัณฑอ์ ตุ สาหกรรมเกษตร เรยี นรู้และอธบิ าย การพัฒนา 6 4 ผลติ ภัณฑ์อตุ สาหกรรมเกษตร ไดอ้ ย่างถูกต้องและเหมาะสม 5 การวางแผนการผลติ และการควบคมุ เรยี นรู้และอธบิ าย การ คณุ ภาพของอุตสาหกรรมเกษตร วางแผนการผลติ และการ ควบคมุ คุณภาพของ อตุ สาหกรรมเกษตรได้อยา่ ง ถกู ต้องและเหมาะสม 6 หลกั การแปรรูปผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม เรยี นรูแ้ ละอธิบาย หลักการ 6 เกษตร แปรรปู ผลติ ภณั ฑ์อตุ สาหกรรม เกษตรได้อยา่ งถูกตอ้ งและ เหมาะสม 7 หลกั การแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์อุตสาหกรรม เรยี นรแู้ ละอธิบาย หลักการ 6 เกษตรด้วยเทคนิคใหม่ แปรรปู ผลติ ภัณฑ์อตุ สาหกรรม เกษตรดว้ ยเทคนคิ ใหมไ่ ด้อยา่ ง ถกู ต้องและเหมาะสม 8 การสรา้ งมลู คา่ เพิ่มในการผลิตจาก เรยี นรู้และอธิบาย การสร้าง 2 อตุ สาหกรรมเกษตร มูลคา่ เพิ่มในการผลติ จาก อตุ สาหกรรมเกษตรได้อย่าง ถูกต้องและเหมาะสม

ฌ ช่อื เรอ่ื งและงาน สมรรถนะท่ีพึงประสงคข์ องแผนการสอน (ตอ่ ) หนว่ ยที่ ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ สมรรถนะท่คี าดหวงั เวลา (จุดประสงค์การเรียนรู)้ (ช่ัวโมง) 9 มาตรฐานโรงงานอุตสาหกรรมเกษตร เรยี นรู้และอธบิ าย มาตรฐาน 2 10 การขนส่งผลิตภณั ฑ์อตุ สาหกรรม โรงงานอุตสาหกรรมเกษตรได้อย่าง เกษตร ถกู ต้องและเหมาะสม 2 รวม เรยี นรแู้ ละอธบิ ายการขนสง่ 34 ผลติ ภณั ฑอ์ ุตสาหกรรมเกษตรได้ อยา่ งถูกต้องและเหมาะสม

ญ ตารางวเิ คราะห์หลกั สูตร รหสั วชิ า 2501-2004 ช่ือวิชา อุตสาหกรรมเกษตรเบ้ืองต้น จานวนชวั่ โมง / สปั ดาห์ 2 ช่วั โมง หนว่ ยกิต 2 สมรรถนะ ความรู้ความจา ความเ ้ขาใจ เน้ือหาทส่ี อน การนาไปใ ้ช การ ิวเคราะห์ การประเมินค่า ทักษะพิสัย ิจตพิสัย จานวน ้ขอสอบ ลา ัดบความสาคัญ ช่ัวโมงสอน/หน่วย 1. ความสาคัญของอุตสาหกรรมเกษตร 1 2 2 - 1 1 1 10 8 2 2. ประเภทของอตุ สาหกรรมเกษตร 2 2 2 2 1 4 1 10 2 2 3. หลักการดาเนนิ งานอุตสาหกรรม 1 1 3 1 2 3 1 10 4 2 เกษตร 4. การพฒั นาผลติ ภณั ฑ์อุตสาหกรรม 1 1 3 2 2 3 1 10 3 6 เกษตร 5. การวางแผนการผลติ และการควบคุม 1 1 2 2 1 2 1 10 6 4 คณุ ภาพของอตุ สาหกรรมเกษตร 6. หลกั การแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์ 2 2 2 2 2 4 2 10 1 6 อตุ สาหกรรมเกษตร 2 1 2 2 1 2 1 10 5 6 7. หลกั การแปรรูปผลติ ภณั ฑ์ อตุ สาหกรรมเกษตรด้วยเทคนิคใหม่ 8. การสร้างมูลคา่ เพิม่ ในการผลติ จาก 1 1 1 3 1 1 1 10 7 2 อุตสาหกรรมเกษตร 9. มาตรฐานโรงงานอตุ สาหกรรมเกษตร 1 - 1 1 1 2 1 10 9 2 10. การขนส่งผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม 1 - 1 1 1 2 1 10 9 2 เกษตร รวม 13 11 19 16 13 23 11 100 - 34 อนั ดับ 4 6 2 3 4 1 6 - - -

ฎ กิจกรรมฐานสมรรถนะในช้นิ งาน/โครงการ หนว่ ยที่ ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ กิจกรรมฐานสมรรถนะบรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพียง 1 ความสาคัญของอตุ สาหกรรม เรียนรแู้ ละวเิ คราะห์ ความสาคญั ของอุตสาหกรรมเกษตร เกษตร ไดอ้ ย่างถูกตอ้ งและเหมาะสม (ได้อยา่ งถูกต้อง คือ สมรรถนะ, เหมาะสม คือ พอเพยี ง ) 2 ประเภทของอุตสาหกรรมเกษตร เรียนรแู้ ละอธบิ าย ประเภทของอุตสาหกรรมเกษตรได้ อยา่ งถูกต้องและเหมาะสม 3 หลกั การดาเนินงานอุตสาหกรรม เรียนรแู้ ละจดั การหลักการดาเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร เกษตร ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสม 4 การพฒั นาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เรยี นรู้และปฏบิ ตั ิ การพัฒนาผลติ ภัณฑ์อตุ สาหกรรม เกษตร เกษตรไดอ้ ย่างถูกตอ้ งและเหมาะสม 5 การวางแผนการผลิตและการ เรียนรู้และเลอื กใช้ การวางแผนการผลิตและการควบคมุ ควบคุมคุณภาพของอุตสาหกรรม คณุ ภาพของอุตสาหกรรมเกษตรได้อยา่ งถูกต้องและ เกษตร เหมาะสม 6 หลักการแปรรูปผลติ ภณั ฑ์ เรยี นรแู้ ละจดั การ หลักการแปรรปู ผลติ ภัณฑ์ อตุ สาหกรรมเกษตร อุตสาหกรรมเกษตรได้อย่างถูกตอ้ งและเหมาะสม 7 หลกั การแปรรปู ผลิตภณั ฑ์ เรยี นรู้และจดั การ หลกั การแปรรปู ผลิตภณั ฑ์ อุตสาหกรรมเกษตรด้วยเทคนิคใหม่ อตุ สาหกรรมเกษตรดว้ ยเทคนิคใหม่ได้อย่างถูกตอ้ งและ เหมาะสม 8 การสร้างมลู ค่าเพ่ิมในการผลิตจาก เรียนรูแ้ ละจดั การ การสรา้ งมูลค่าเพิ่มในการผลติ จาก อุตสาหกรรมเกษตร อุตสาหกรรมเกษตรได้อย่างถูกตอ้ งและเหมาะสม 9 มาตรฐานโรงงานอุตสาหกรรม เรียนรู้และจัดการมาตรฐานโรงงานอุตสาหกรรมเกษตรได้ เกษตร อย่างถูกต้องและเหมาะสม 10 การขนส่งผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม เรียนรู้และจัดการ การขนสง่ ผลิตภณั ฑ์อุตสาหกรรม เกษตร เกษตรได้อย่างถูกตอ้ งและเหมาะสม สมรรถนะอาชพี ทีจ่ ะเกิดข้นึ : อาชพี แปรรปู ผลติ ภัณฑอ์ ตุ สาหกรรมเกษตร

ฏ ผังมโนทศั น์การจัดการเรียนรู้มุ่งเนน้ สมรรถนะและบรู ณาการเศรษฐกิจพอเพียง วิชา อตุ สาหกรรมเกษตรเบ้ืองตน้ รหัสวชิ า 2501-2004 พอประมาณ 6,7. แปรรูปผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรมเกษตร ได้อย่าง ถูกต้องอนรุ ักษส์ ิง่ แวดลอ้ มและรอบคอบ 1. บอกความสาคัญและ 8. การสร้างมลู ค่าเพม่ิ ในการผลิตจากอุตสาหกรรม ประโยชนผ์ ลิตภณั ฑ์อตุ สาหกรรม เกษตรไดอ้ ยา่ งเหมาะสมตามสภาวะเศรษฐกจิ เกษตรไดถ้ ูกต้องและเหมาะสม 4,5,6, เลอื กใชว้ ัตถุดบิ อปุ กรณ์ ภูมคิ มุ้ กัน มีเหตผุ ล เครือ่ งมอื และการแปรรปู ได้ อย่างเหมาะสมกบั ผลิตภัณฑ์ อตุ สาหกรรมเกษตรท่มี ใี นท้องถน่ิ อุตสาหกรรม 3. การดาเนินการ อุตสาหกรรมเกษตร ได้ เกษตรเบอื้ งต้น ถกู ต้องมีเหตผุ ล 4. พฒั นาผลติ ภัณฑ์ ความรู้+ทกั ษะ อตุ สาหกรรมเกษตรได้มี เหตุผลเหมาะสมกับ คุณธรรม ผบู้ ริโภค 2. เรียนรู้ ประเภทของผลติ ภัณฑ์ อตุ สาหกรรมเกษตร ได้ถูกต้องตาม 4,6,7. การแปรรปู ผลติ ภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม หลกั การและกระบวนการ เกษตร ได้ตรงตามสตู ร และความตอ้ งการ 4,5,6, เลอื กใชว้ ตั ถดุ บิ เคร่ืองมือ อปุ กรณ์ ของบรโิ ภค 8,9,10 การสร้างมลู คา่ เพ่ิมในการ แปรรูป ควบคมุ คุณภาพ และการ ผลติ ตามมาตรฐานโรงงานอุตสาหกรรมเกษตร สขุ าภบิ าลได้ถูกตอ้ งตามหลักการและ กระบวนการ การขนส่ง การขนสง่ ผลิตภัณฑ์ ไดอ้ ย่างคมุ้ ค่า ปลอดภัย สงั คม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สงิ่ แวดล้อม . การแยกรายการ การประเมนิ ราคาการ 4, 5, 6, 7 6, 7, 8, 9, 10 ว2า,งผ4ัง,แ5ล,ะ6ต,อ่ 8เตมิ อาคารฟาร1์ม, 3, 8, 9,10

ฐ เกณฑ์การวัดผลและประเมนิ ผล 1. อตั ราส่วนคะแนนเกบ็ : คะแนนคุณธรรม = 80 : 20 มรี ายละเอยี ดดังน้ี 1.1 คะแนนเกบ็ 80 คะแนน ประกอบด้วย 1.1.1 รายงานและใบงาน จานวนคะแนน 10 1.1.2 ปฏิบัติงานและการอนรุ ักษฯ์ จานวนคะแนน 20 1.1.3 ทดสอบ จานวนคะแนน 10 1.1.4 กิจกรรม จานวนคะแนน 10 1.1.5 สอบกลางภาค จานวนคะแนน 10 1.1.5 สอบปลายภาค จานวนคะแนน 20 1.2 คะแนนคุณธรรม จรยิ ธรรม 20 คะแนน ประกอบด้วย 1.2.1 ความซ่ือสตั ย์ จานวนคะแนน 5 1.2.2 ความรบั ผดิ ชอบ จานวนคะแนน 5 1.2.3 ความสามัคคีมีวินยั จานวนคะแนน 5 1.2.4 ความขยันอดทน จานวนคะแนน 5 2. เกณฑ์การประเมนิ ผล ตัดสนิ ผลการเรยี นแบบอิงเกณฑ์ แบง่ เป็น 8 ระดบั ดังนี้ 2.1 ช่วงคะแนนดิบ 80 –100 คะแนน ได้ระดับผลการเรยี น 4.0 2.2 ช่วงคะแนนดิบ 75 – 79 คะแนน ได้ระดบั ผลการเรียน 3.5 2.3 ช่วงคะแนนดบิ 70 - 74 คะแนน ได้ระดับผลการเรยี น 3.0 2.4 ช่วงคะแนนดบิ 65 – 69 คะแนน ได้ระดบั ผลการเรยี น 2.5 2.5 ช่วงคะแนนดบิ 60 – 64 คะแนน ได้ระดบั ผลการเรียน 2.0 2.6 ช่วงคะแนนดิบ 55 – 59 คะแนน ได้ระดบั ผลการเรยี น 1.5 2.7 ชว่ งคะแนนดบิ 50 – 54 คะแนน ไดร้ ะดบั ผลการเรียน 1.0 2.8 ช่วงคะแนนดบิ 0 – 49 คะแนน ได้ระดับผลการเรยี น 0

1 หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 เรือ่ ง ความสาคญั ของอุตสาหกรรมเกษตร เวลาเรียน 2 ช่วั โมง สาระสาคัญ ปจั จุบนั อุตสาหกรรมเกษตรยังมีการเปล่ยี นแปลงไปอย่างรวดเรว็ ตามความก้าวหน้าทางด้าน เทคโนโลยีทีเ่ ปล่ียนแปลงไปอยา่ งรวดเร็ว และยังคงเปลี่ยนแปลงไปตามความต้องการทางธรรมชาติของ ผบู้ รโิ ภค เช่น ความต้องการของผบู้ รโิ ภคทต่ี ้องการให้ผลติ ภณั ฑอ์ าหารกลบั มามีคุณภาพใกล้เคียงกบั ธรรมชาติมากข้นึ ตวั อย่างเช่น อาหารที่ผ่านการแปรรูปน้อยทส่ี ดุ (Minimal Processing) หรอื การใช้ วัตถดุ บิ ทเ่ี ป็นผลิตผลอนิ ทรยี ์ (Organic Food) มากขึ้น หรือการใชว้ ตั ถุเจือปนท่ีได้จากธรรมชาตแิ ทน การใช้สารท่ีไดจ้ ากการสังเคราะห์ เป็นตน้ หัวข้อเร่อื ง/ชื่องาน 1. ความสาคัญของอุตสาหกรรมเกษตร 2. วิวัฒนาการของอุตสาหกรรมเกษตร 3. ประโยชนข์ องอุตสาหกรรมเกษตร 4. ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งกับอตุ สาหกรรมเกษตร จดุ ประสงค์การเรียนรู้ แบง่ เป็น จุดประสงคท์ ว่ั ไป เพ่อื ใหน้ กั เรยี นรแู้ ละเขา้ ใจ 1. ความสาคญั ของอุตสาหกรรมเกษตร 2. วิวฒั นาการของอุตสาหกรรมเกษตร 3. ประโยชน์ของอุตสาหกรรมเกษตร 4. ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งกับอุตสาหกรรมเกษตร จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม (สมรรถนะทีค่ าดหวงั ) นักเรยี นสามารถ 1. บอกความสาคัญของอุตสาหกรรมเกษตรไดถ้ ูกต้องและเหมาะสม 2. บอกวิวัฒนาการของอุตสาหกรรมเกษตรไดถ้ ูกต้อง และเหมาะสม 3. บอกประโยชน์ของอตุ สาหกรรมเกษตรได้ถกู ต้องและเหมาะสม 4. บอกปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งกบั อุตสาหกรรมเกษตรได้ถูกต้องและเหมาะสม 5. มีความความกระตือรอื ร้นและใฝ่รู้ มีความซอ่ื สตั ย์ มคี วามรับผดิ ชอบ มีวนิ ยั และขยนั อดทน (ได้อย่างถกู ต้อง คือ สมรรถนะ เหมาะสม คือ พอเพียง ข้อ 5 เปน็ คุณธรรม จริยธรรม)

2 เนอื้ หา 1..ความสาคัญของอตุ สาหกรรมเกษตร ปจั จัยสาคญั ท่ีสุดในการดารงชีวติ ของมนษุ ย์คอื อาหารและนา้ เพราะมนุษยต์ ้องการสงิ่ น้ใี นการ สร้างเสริมพลังงานให้รา่ งกายสาหรบั ทากิจกรรมตา่ งๆ กระบวนการทางร่างกายมนุษย์เองก็กระตนุ้ เตอื นและบงั คับให้มนุษย์เกดิ ความหวิ และความกระหายจึงบังคับให้มนุษย์หาอาหารและน้าเพ่ือประทัง ชีวติ เพราะความหวิ และกระหายจะหมดไปได้ด้วยการรับประทานอาหารและดม่ื นา้ เท่าน้ัน ไมม่ ีสิ่งอืน่ ใดมาทดแทนได้.(นฤดม,2552) การเรียนรู้จากธรรมชาติทาให้คนเรามปี ระสบการณ์และเริม่ ใช้ประโยชนจ์ ากธรรมชาติ โดย การหาอาหารทม่ี ีอยู่ในปา่ ธรรมชาติมาบรโิ ภค เช่น เหด็ ป่า ไก่ปา่ หมปู ่า ผักหวาน ดอกกระเจียว ผลไม้ เป็นต้น (ดงั ภาพที่ 1.1) และเรยี นรู้การพฒั นาผลิตภัณฑ์จากอาหารสดท่ีหาได้มา ให้เปน็ อาหารทีเ่ ก็บ ไว้บรโิ ภคนานข้ึน เชน่ เกบ็ ในที่เย็น หรือตากแหง้ ตอ่ มาเม่ือสังคมขยายตัวอาหารท่ีมีอยใู่ นธรรมชาติ ไมเ่ พยี งพอ จาเปน็ ต้องผลิตขึ้นเอง และเร่ิมมกี ารแปรรปู ในลกั ษณะต่างๆ ขณะท่ีพืน้ ทเี่ พาะปลูกอาหาร ลดจานวนลง อีกท้ังลักษณะการผลติ อาหารตอ้ งอาศยั สภาพแวดลอ้ มธรรมชาติทีเ่ หมาะสม ทาใหเ้ กดิ ความจากัดของอาหารทั้งชนิดและปริมาณ จึงเร่ิมมีการผลติ ในเชิงการคา้ เพ่ือให้สามารถจาหน่ายไดใ้ น แหล่งที่ไมส่ ามารถเพาะปลกู ได้ หรือเก็บไวบ้ ริโภคในชว่ งท่ไี ม่สามารถเก็บเกย่ี วได้ เห็ดปา่ ไกป่ า่ หมูป่า ผลไม้ ผกั หวาน ดอกกระเจียว ภาพที่ 1.1 อาหารจากธรรมชาติของมนุษย์ ภาพถา่ ยโดย ศุภสิทธ์ิ ดีรกั ษา

3 เนื่องจากผลิตผลทางการเกษตรทไี่ ด้จากธรรมชาติ มกี ารเปลีย่ นแปลงเสื่อมสภาพตลอดเวลา บางอย่างมอี ยูเ่ ฉพาะท้องถนิ่ และเฉพาะฤดูกาล ถึงแม้วา่ จะมกี ารพฒั นาเทคโนโลยใี นการเพาะปลูกให้ สามารถเก็บเก่ียวไดต้ ลอดปีแตก่ ย็ งั คงมปี ัญหาทางด้านปริมาณ คณุ ภาพและราคา จึงจาเปน็ ต้องมีการ จัดการเพ่ือใหส้ ามารถใชป้ ระโยชนไ์ ด้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและเกดิ ประสิทธผิ ล ทีน่ าไปสูก่ ารดาเนินงาน ในธุรกจิ ในการผลิตและการแปรรูปด้วยระบบอตุ สาหกรรม 2. ความหมายของอุตสาหกรรมเกษตร อุตสาหกรรมเกษตร (Agro–Industry) หมายถงึ การดาเนินธรุ กจิ การเกษตร (Agribusiness) ให้เกดิ ผลติ ผลจากการเกษตรและการจัดหาเพื่อใชเ้ ปน็ วัตถุดบิ การแปรรูป โดยระบบอุตสาหกรรมใหไ้ ด้ ผลิตภัณฑ์ตามต้องการและให้มีการสูญเปลา่ น้อยท่ีสดุ รวมทั้งการจดั จาหนา่ ยผลติ ภณั ฑ์ท่ีผลิตได้ดว้ ย การแปรรูปอุตสาหกรรมเกษตร หมายถงึ การนาเอาวัตถดุ ิบจากการผลติ ทางการเกษตรและ วัตถุดิบจากธรรมชาติจานวนมากพอมาดาเนนิ การแปรรูปด้วยเครอื่ งจกั รกลอย่างตอ่ เน่ือง เพอื่ ให้ได้ ปริมาณของผลิตภัณฑ์ทมี่ ีคุณภาพ และมีต้นทุนการผลิตตามตอ้ งการ ภายในระยะเวลากาหนด ผลท่ไี ด้ จากการดาเนินการนี้ จะได้ผลออกมาสามอยา่ งคอื ผลิตภัณฑ์ทีต่ ้องการ ผลพลอยได้ และของเหลือ (นฤดม, 2552) ธุรกิจการเกษตร หมายถงึ การดาเนนิ งานทั้งหลายทเ่ี กีย่ วกบั การผลิต (Production) และ การจัดจาหน่าย ปจั จัยการผลิตสนิ คา้ เกษตร กจิ กรรมการผลติ ระดับไร่นา การเกบ็ เก่ยี ว การแปรรูป และการจัดจาหน่ายสินค้าเกษตร และผลติ ภัณฑ์ทีท่ าจากผลผลิตเกษตร ขั้นตอนการดาเนินการธุรกิจ การเกษตรมีดงั น้ี 1) การผลติ (Production) คือ กจิ กรรมการผลิตสินค้าเกษตร เพอื่ ใหไ้ ด้ผลผลติ มา ใช้เป็นวตั ถดุ ิบในการผลติ เปน็ ผลติ ภัณฑ์ 2) การเกบ็ รักษา (Storage) คือ การนาวัตถุดบิ หรือผลิตภัณฑ์ที่ไดม้ าเก็บรักษาก่อน การแปรรปู หรอื การจาหน่ายต่อไปโดยไม่ใหเ้ กดิ การเน่าเสีย 3) การแปรรปู (Processing) คอื การนาเอาวตั ถุดบิ มาทาเป็นผลิตภัณฑต์ ่างๆ ทงั้ จากตวั ของวัตถุดบิ โดยตรงและจากผลพลอยไดจ้ ากวัตถุดบิ นนั้ โดยเครือ่ งจกั รกลและระบบการผลิต แบบอุตสาหกรรมเกษตร 4) การจัดจาหน่าย (Distribution) การตลาดซงึ่ เป็นดชั นีชี้วดั ความสาเรจ็ ของผูผ้ ลติ ผู้ผลิตต้องมเี ครือขา่ ยในการจัดจาหนา่ ยใหถ้ งึ มือผู้บรโิ ภคทัง้ ในประเทศและนอกประเทศ การผลิตในอตุ สาหกรรมเกษตรสผู่ ลติ ภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร เริม่ จากผลผลติ การเกษตร ผ่านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตรจนไดผ้ ลิตภัณฑแ์ ปรรูปทีเ่ ปน็ อาหารและไม่ใชอ่ าหาร และจบลงท่ี การตลาด หากมีข้อเสนอแนะประการใดจากผู้บรโิ ภคก็นาไปปรับปรุง แล้วเขา้ ส่กู ระบวนการผลิต น่คี อื

4 วงรอบของการผลิตในอุตสาหกรรมเกษตรสูผ่ ลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรมเกษตร ฝ่ายการผลติ ผลิตภณั ฑ์ อตุ สาหกรรมเกษตรมหี น้าทีด่ ูแลการผลิตเต็มศักยภาพและประกนั คุณภาพผลิตภณั ฑ์ทีผ่ ลติ ใหผ้ ู้บริโภค ไดป้ ระโยชนส์ ูงสุด ดงั ภาพท่ี 1.2 ผลิตผลเกษตร ผา่ นกระบวนการเทคโนโลยี แปรรปู เป็นผลติ ภณั ฑ์ ปรบั ปรงุ ขายผา่ นตลาดสู่ผบู้ รโิ ภค ตรวจสอบคุณภาพ ภาพที่ 1.2 วงรอบการผลติ ในอุตสาหกรรมเกษตรส่ผู ลติ ภณั ฑอ์ ุตสาหกรรมเกษตร ทมี่ า : วิชัย, 2552. อุตสาหกรรมเกษตรเปน็ การเพ่ือใหเ้ กิดการนาผลผลิตจากการเกษตรใชเ้ ป็นวัตถุดบิ ในการ แปรรูปด้วยระบบอุตสาหกรรมใหเ้ ป็นผลติ ภัณฑส์ ินค้าส่มู ือผบู้ รโิ ภคอย่างมีคุณภาพ ทง้ั ในและตา่ ง ประเทศ อุตสาหกรรมเกษตรเกิดการพฒั นาอย่างครบวงจรมกี ารสรา้ งมูลค่าเพิ่มกบั วตั ถุดิบ ทาใหไ้ ด้ ผลติ ภณั ฑใ์ หมๆ่ ที่มีประโยชน์ตอ่ มนษุ ย์ มคี วามปลอดภัยสาหรับการบรโิ ภค เกดิ โรงงานอตุ สาหกรรม สร้างงานใหก้ บั ประชากร พัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศ ประเทศชาติเกดิ ความมัน่ คง 3..ววิ ัฒนาการของอตุ สาหกรรมเกษตร อาหารจากธรรมชาตโิ ดยตรงท้งั จากพืชและสตั ว์ ต้องอาศัยสภาวะแวดลอ้ มของธรรมชาติเพื่อ ใหเ้ กิดผลผลติ และมีการเปลย่ี นแปลงเส่ือมเสยี ได้ เมอ่ื มนุษยไ์ มส่ ามารถอาศัยอาหารจากธรรมชาติที่มี อยูเ่ ฉพาะท้องถ่ิน หรือเฉพาะฤดกู าลตามสภาวะแวดล้อมของธรรมชาตไิ ดจ้ าเป็นต้องผลิตอาหารข้ึนมา เองดว้ ยการเพาะปลูกและเลยี้ งสัตวแ์ ละตอ้ งมมี ากพอสาหรับจานวนมนุษยท์ ่ีเพิม่ ขนึ้ เรื่อยๆ จงึ มกี ารไถ การหวา่ น การเพาะปลูกพืช การเลี้ยงสตั ว์ และการชลประทานซง่ึ เรยี กว่าการเกษตร มีผลทาให้มนษุ ย์ มอี าหารพอเพียงและเกบ็ สารองไวบ้ รโิ ภคเม่ือตอ้ งการอตุ สาหกรรมเกษตรจึงมวี ิวฒั นาการมาโดยลาดบั ดงั ต่อไปนี้ 3.1 การหาอาหารจากธรรมชาตเิ พอ่ื สนองความต้องการในการดารงชวี ิต ความหลากหลาย ทางชีวภาพเปน็ ความร่ารวยทางธรรมชาติ การใชป้ ระโยชนข์ องทรัพยากรชีวภาพจะแทรกอยู่ในการ ดารงชวี ิตของมนุษย์ ตัง้ แต่การหาอาหารจากปา่ ธรรมชาติ การผลิตอาหาร รวมถึงผลติ เปน็ ของใช้ ทงั้ ในอดตี ปจั จุบนั ตลอดถึงอนาคต 3.2 การผลิตอาหารโดยใชเ้ กษตรกรรม เนอ่ื งด้วยผลผลติ ท่ีไดจ้ ากการเพาะปลูกมจี านวน

5 นอ้ ยไม่เพียงพอกับจานวนประชากรทีเ่ พมิ่ มากขึ้น มนุษย์จึงใชป้ ระสบการณจ์ ากการเพาะปลกู ทาให้ รจู้ ักการไถหวา่ น การนาสตั วม์ าใชง้ าน การเล้ียงสตั ว์ ผสมพนั ธุ์สตั ว์ รวู้ ธิ ีนานา้ ธรรมชาตมิ าใชใ้ นการ เพาะปลูกจนเกิดอาชพี เกษตรกรรมเป็นอาชีพหลักและสาคัญย่ิงของมนุษยจ์ นถงึ ทุกวันนี้ 3.3 การเกบ็ รกั ษาถนอมอาหาร เมอื่ มีอาหารบริโภคอย่างเพียงพอแลว้ ก็นาไปแลกเปล่ียน กับปจั จัยในการดารงชวี ิตอน่ื ๆ หรือเกบ็ ถนอมไวใ้ ช้ในยามขาดแคลนเพ่ือบริโภคให้นานท่ีสุด โดยการ คิดพฒั นาศกึ ษา ปรับปรงุ การถนอมอาหาร เชน่ การตากแหง้ การหมกั ด้วยเกลือ การดองผลไม้ เชน่ ปลาตากแหง้ กะปิ ถวั่ เนา่ หน่อไม้อัดถุง และพฒั นาไปสู่การแปรรูปในระบบอตุ สาหกรรมเพิ่มข้ึน ถ่ัวเนา่ ทาจากถั่วเหลือง หนอ่ ไม้อดั ถุง เคยหมกั แล้วตากทาเปน็ กะปิ ปลาตากแห้ง ภาพท่ี 1.3 การเกบ็ รกั ษาถนอมอาหาร ภาพถา่ ยโดย ศภุ สิทธิ์ ดรี ักษา 3.4 การอพยพตั้งถน่ิ ฐาน ยึดครองแผน่ ดิน การยา้ ยถิน่ มผี ลอยา่ งย่ิงต่อการเกษตรโดยเฉพาะ การผลิตพืช ผลติ สัตว์ทใี่ ช้เป็นอาหารที่ต้องมีแหล่งน้าและท่ีดินที่มคี วามสมบูรณ์ เพอ่ื ใช้ทาการเกษตร ในทวปี แอฟรกิ าตอนกลางและตอนใตเ้ ปน็ ท่ีอยูข่ องชนเผ่าเร่ร่อนหลายเผา่ การแบ่งประเทศตา่ งๆ ตาม ภูมิศาสตรเ์ ป็นเพยี งการกาหนดเสน้ พรมแดนแสดงอาณาเขตของแต่ละประเทศ แต่ในแงม่ นษุ ยศาสตร์ และสงั คมศาสตร์ ประชากรในพรมแดนของสองประเทศท่ีอยู่ติดกนั อาจจะเป็นชนเผ่าเดียวกนั จนมี การพยายามขับไล่ใหอ้ ยู่ในเขตเดยี วกนั เปน็ ตน้

6 3.5 การคา้ เกิดการแลกเปลี่ยน จากการทปี่ ระชากรมจี านวนเพิม่ ขึ้นอยา่ งรวดเร็วแต่ที่ดินทา กนิ ยังคงมีเทา่ เดิมหรอื ลดน้อยลง อุตสาหกรรมในครอบครัวไมส่ ามารถสนองความต้องการได้ เพราะ มีขดี จากัดในเร่อื งแรงงาน ความรู้ ผู้ผลิตพยายามสร้างความนิยมใหก้ ับผลติ ภัณฑข์ องตนเอง เพื่อการ แข่งขนั ในการค้าขายหรือแลกเปล่ยี นสินค้ากัน 3.6 การศกึ ษาค้นคว้าทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กาลเวลาเปลย่ี นไปทาให้มีผลกระทบ ต่อพฤตกิ รรมทางสงั คมของมนุษยท์ ุกระดับ ทั้งระดบั สังคม ระดบั เศรษฐกจิ และอาชพี คนดดั แปลง อปุ กรณ์เครือ่ งใช้ เสาะหาวิธีการศกึ ษาคน้ คว้า ทดลองสร้างเครือ่ งท่นุ แรง เครือ่ งจักรทางการเกษตร การทาเข่ือน ฝายเกบ็ กกั นา้ การทาฝนเทยี ม การปรบั ปรงุ ดิน ปรบั ปรงุ พันธส์ ัตว์ พันธพุ์ ืช ตลอด จนถึงการเพาะปลกู พชื ในเรือนกระจกจนมชี นิดคณุ ภาพและปริมาณของผลติ ผลที่ดี เกดิ การพฒั นา เติบโตเปน็ อตุ สาหกรรมเกษตรขนาดเล็กและขนาดใหญต่ ามลาดบั การผลิตระบบอุตสาหกรรมเกษตร นนั้ ตอ้ งมีความรคู้ วามเข้าใจทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีมาก เพื่อใหไ้ ดผ้ ลติ ภณั ฑ์มากและมีความ สมา่ เสมอ ตลอดจนการตรวจสอบคณุ ภาพ การควบคุมคุณภาพมาตรฐานสินค้า มรี ะบบการทางาน ที่สมั พันธก์ ันในแต่ละฝ่ายนักวิทยาศาสตร์เป็นอกี ผู้หนึง่ ทน่ี าความเจริญมาสปู่ ระเทศชาติ 3.7 การประดิษฐเ์ ครื่องจักร ปัจจบุ ันเกษตรกรมีการผลติ สินค้าเกษตรในปรมิ าณมากกว่า การ ยังชีพแลว้ ยงั จาหนา่ ยเป็นสนิ คา้ เกษตรซ่ึงในการผลติ ของเกษตรกรกล่มุ น้จี าเปน็ ตอ้ งมีปัจจยั ตา่ งๆ มา สนบั สนนุ ในการผลติ จงึ มีการประดษิ ฐเ์ ครื่องจักร เครื่องทนุ่ แรง อาทิเชน่ เคร่อื งมือการเพาะปลกู การไถ การพรวน การหว่าน เครอื่ งมอื การให้น้า ให้ปุ๋ย เครือ่ งดานา เครื่องมือการเก็บเก่ยี ว และ เครอ่ื งมอื หลังการเกบ็ เก่ยี ว เคร่อื งจักรและอุปกรณ์ในกระบวนการแปรรปู ตลอดจนการขนส่งจาก แหล่งผลติ ไปสูผ่ ูบ้ รโิ ภค 3.8 การปฏิวัตอิ ตุ สาหกรรม เกิดการปฏวิ ัติอุตสาหกรรมในปี ค.ศ. 1650-1750 ไดน้ าเอา เครอ่ื งจักรมาใชแ้ ทนแรงงานคนและสตั ว์ ทาให้เกดิ การผลิตระบบอุตสาหกรรมเกษตร ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยที าให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ๆ ทนี่ ามาใชใ้ นอตุ สาหกรรมเกษตรแต่กลับมสี ญั ญาณเตือนว่า อัตราการเจริญเติบโตในการผลติ อาหารเริม่ จะลดลง ส่ิงที่จะชว่ ยแกป้ ญั หาในการขาดแคลนอาหารใน อนาคต คือ การวจิ ยั และการพฒั นาสาธารณูปโภคทางการเกษตร จึงมีการกระจายเทคโนโลยไี ปยงั เกษตรกรรายย่อยสง่ เสรมิ ความรดู้ ้านภาคการเกษตรเพ่ิมขึ้น ดังนนั้ การประกอบอาชีพเกษตรจาเป็นต้องมีการวางแผนเพื่ออนาคต ตลอดจนแสวงหาการ ใชป้ ระโยชน์จากความหลากหลายทางชวี ภาพ ประสทิ ธิผลและคณุ ภาพในการผลติ นอกจากนน้ั ยัง เผชิญกับอุปสรรคทางการค้า เน่ืองจากมีเวทีการค้าและการลงทุนมากข้นึ ด้วย

7 4..ประโยชน์ของอุตสาหกรรมเกษตร อุตสาหกรรมเกษตรเปน็ การดาเนนิ ธุรกจิ การเกษตร เพื่อให้เกิดผลติ ผลทัง้ จากการเกษตรและ จากการจัดหาเพือ่ ใชเ้ ปน็ วตั ถุดบิ สาหรบั การแปรรปู โดยเคร่ืองจกั รกล ดว้ ยระบบอุตสาหกรรมให้ได้ ผลิตภัณฑ์จากวัตถุดิบ ผลติ ภัณฑจ์ ากผลพลอยได้และของเหลอื โดยใหม้ ีการสญู เปลา่ น้อยทีส่ ุด รวมทง้ั การจัดจาหน่ายผลิตภัณฑใ์ นประเทศและตา่ งประเทศดงั นัน้ จงึ ถอื ได้วา่ อตุ สาหกรรมเกษตรมีประโยชน์ ดังน้ี 4.1 ช่วยให้ยืดอายแุ ละใช้ประโยชน์ทั้งในผลติ ผลธรรมชาติและการเกษตรได้อยา่ งเต็มท่ี การ ใช้ประโยชน์ผลิตผลเกษตรทาไดส้ องทางคือ การนาไปบรโิ ภคทัง้ ในรปู ของสดและผลิตภณั ฑ์ และผลิต เครือ่ งอปุ โภค ประโยชน์จะเกิดผลสูงสุดกบั ผลติ ผล จาเปน็ ตอ้ งใช้วิทยาศาสตร์ประยุกตแ์ ละเทคโนโลยี ร่วมกนั ในการดาเนนิ งานอตุ สาหกรรมเกษตร 4.2 ชว่ ยให้เกดิ ธรุ กิจการเกษตรอ่ืน สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับวตั ถดุ บิ และสร้างงานให้ประชากร อยา่ งต่อเน่ืองครบวงจร เชน่ โรงงานอุตสาหกรรมผลติ เครอ่ื งจกั รการเกษตร โรงงานผลติ อุปกรณ์การ เกษตร โรงงานการผลิตปุ๋ยและสารเคมี โรงงานผลิตเคร่ืองจักรแปรรูปผลิตภณั ฑ์ โรงงานฟอกหนัง สัตว์และโรงงานผลติ เมล็ดพันธุ์พืช.เป็นตน้ 4.3 ทาใหเ้ กดิ ผลติ ภัณฑ์ใหม่ๆ ทม่ี ปี ระโยชนต์ ่อมนุษย์ เช่น บะหม่กี งึ่ สาเรจ็ รปู นา้ ผลไม้ ปลากระป๋อง อาหารแชเ่ ยือกแข็ง ผลิตภณั ฑ์อาหารขบเค้ียว ผลิตภัณฑเ์ คร่อื งปรงุ รส ธุรกิจสปา อาหารขบเคีย้ ว ปลากระป๋อง นมผง น้าส้ม บะหมกี่ ึ่งสาเรจ็ รูป ภาพท่ี 1.4 ผลติ ภัณฑใ์ หม่ท่มี ีประโยชนต์ อ่ มนุษย์ ภาพถ่ายโดย ศภุ สทิ ธิ์ ดีรักษา

8 บรกิ ารด้านสขุ ภาพ นมผง อาหารเสรมิ สุขภาพ ธรุ กจิ อาหารฟาสต์ฟู้ด ผลติ ภณั ฑ์พร้อมอานวยความ สะดวกในการบรกิ ารและมีมาตรฐานความปลอดภยั เพ่ือความม่ันใจของผบู้ ริโภค 4.4 ชว่ ยพัฒนาเศรษฐกิจและการเกษตรของประเทศสาเรจ็ ผลมากยิ่งขึ้น อตุ สาหกรรมเกษตร ทาใหส้ ามารถพัฒนาไปได้อยา่ งครบวงจร รองรับสนิ ค้าเกษตร ลดการสญู เปลา่ ของสินค้าเกษตร โดย การประสานกับแผนการพัฒนาการเกษตร การพัฒนาและการขยายตัวของภาคอตุ สาหกรรมเกษตร 4.5 ทาให้เกิดเสถยี รภาพทางเศรษฐกจิ และเสถยี รภาพในการดารงชีวิต ดว้ ยประชากรไทย ร้อยละ..70..เป็นเกษตรกรเศรษฐกิจของประเทศจึงข้นึ กบั รายไดข้ องเกษตรกรภายในประเทศ 4.6 เกิดโรงงานอตุ สาหกรรมเกษตร ชว่ ยให้คนมีงานทามากขึ้นประชากรของประเทศมีรายได้ เพิ่มขนึ้ 4.7 เพิม่ ความมนั่ คงของประเทศชาติ ในกรณีเกิดอุบัติภัย หรอื ในยามสงครามต้องมีอาหารไว้ สารองสาหรบั การบริโภค 5. ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงกบั อตุ สาหกรรมเกษตร พ้นื ฐานของประเทศไทยเปน็ ประเทศเกษตรกรรม ดังนัน้ จุดเร่ิมตน้ ของการพัฒนาเศรษฐกิจ พอเพียงคือการฟ้ืนฟเู ศรษฐกิจ ชุมชนทอ้ งถน่ิ ตัง้ แต่ข้ันการฟ้ืนฟแู ละขยายเครอื ข่ายเกษตรกรรมยง่ั ยนื อันเปน็ การพัฒนาขีดความสามารถในการผลติ และบรโิ ภคอย่างพออยู่พอกนิ ไปจนถงึ การแปรรูป อุตสาหกรรมครวั เรอื น สร้างอาชพี และทักษะวิชาการ ซง่ึ จะเป็นการพัฒนาทีละขนั้ ตอนเป็นลาดบั ใน เรอ่ื งต่างๆ รวมถึงเทคโนโลยที ีค่ ่อยๆ พัฒนาข้ึนมาจากฐานทรัพยากรและภูมปิ ัญญาที่มีอย่ภู ายในชาติ และที่จะเรยี นร้จู ากโลกภายนอกดว้ ย (สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร ,2545) ผลผลติ จากอุตสาหกรรมเกษตรมีความจาเป็นต่อชีวติ ผู้คน แต่การสร้างจติ สานึกของผู้ ประกอบการเปน็ เร่ืองสาคัญที่จะประมาณตนในการลงทุน ไม่ทาเกินตัว ไมก่ ่อหนี้สนิ ลน้ พน้ ตัว วาง แผนการผลิตและการตลาดอย่างรอบคอบ เร่ิมจากธรุ กิจขนาดเล็กก่อน เมอ่ื มนั่ คงและมีทนุ เพยี งพอ จึงขยายธุรกิจเปน็ ขนาดกลางแล้วจงึ ขยายใหญ่ตามลาดับ ใช้สติปญั ญาและศึกษาหาความรู้ในการ จัดการอย่างประหยดั หรือเพยี งพอ เพื่อลดต้นทุนการผลติ เลือกธุรกจิ ทเ่ี หมาะสมกับความตอ้ งการของ ท้องถิน่ และตลาด เชน่ การนาวตั ถุดบิ และภมู ปิ ัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร (กุลทรัพย,์ 2555) 5.1 เศรษฐกิจพอเพียง “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรชั ญาทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวพระราชทานพระราชดาริ ชแ้ี นะแนวทางการดาเนนิ ชีวิตแก่พสกนกิ รชาวไทยมาโดยตลอด นบั ตง้ั แต่กอ่ นเกดิ วกิ ฤตการณ์ทาง เศรษฐกจิ และเม่ือภายหลังได้ทรงเนน้ ยา้ แนวทางการแก้ไขเพอื่ ใหร้ อดพ้น และสามารถดารงอยู่ได้อย่าง ม่ันคงและยั่งยนื ภายใต้กระแสโลกาภวิ ตั น์และความเปลย่ี นแปลงต่างๆ

9 5.2 ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เศรษฐกจิ พอเพยี ง เป็นปรชั ญาช้ถี งึ แนวการดารงอยู่ และปฏบิ ตั ิตนของประชาชนในทุก ระดบั ตง้ั แต่ระดบั ครอบครวั ระดับชมุ ชน ระดบั รฐั ท้ังในการพฒั นาและบรหิ ารประเทศใหด้ าเนนิ ไป ในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกจิ เพื่อให้กา้ วทันตอ่ โลกยคุ โลกาภิวัตน์ ความพอเพยี ง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถงึ ความจาเป็นทจ่ี ะตอ้ งมี ระบบภูมคิ มุ้ กันในตวั ที่ดีพอสมควรต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปล่ียนแปลงทั้งภายในภายนอก ทงั้ น้ี จะต้องอาศยั ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างย่ิงในการนาวชิ าการต่างๆ มา ใชใ้ นการวางแผนและการดาเนินการทุกข้นั ตอน และขณะเดยี วกนั จะตอ้ งเสริมสร้างพื้นฐานจติ ใจของ คนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าท่ขี องรัฐ นกั วิชาการ และนกั ธุรกจิ ในทุกระดบั ให้มสี านกึ ในคุณธรรม ความซ่ือสตั ย์สุจรติ และมีความรอบรทู้ เี่ หมาะสม ดาเนินชวี ติ ด้วยความอดทน ความเพียร มีสตปิ ญั ญา และความรอบคอบ เพอ่ื ให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเรว็ และกว้างขวาง ทง้ั ทางดา้ นสังคมสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเ้ ปน็ อย่างดี ดงั ภาพท่ี 1.5 ภาพที่ 1.5 ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 3 หว่ ง 2 เง่ือนไข ทมี่ า : สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร, 2545. ความหมายของเศรษฐกิจพอเพยี งจึงประกอบด้วยคุณสมบตั ดิ งั นี้ 1) ความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดีที่ไมน่ อ้ ยเกนิ ไปและไม่มากเกนิ ไป โดยไม่ เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลติ และการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ 2) ความมเี หตุผล หมายถึง การตัดสนิ ใจเกี่ยวกับระดับความพอเพยี งนนั้ จะต้องเปน็

10 ไปอย่างมเี หตุผล โดยพจิ ารณาจากเหตุปจั จัยท่ีเก่ียวข้อง ตลอดจนคานึงถงึ ผลทค่ี าดว่าจะเกดิ ข้ึนจาก การกระทานัน้ ๆ อย่างรอบคอบ 3) ภมู คิ ุ้มกนั หมายถึง การเตรยี มตวั ให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปลยี่ นแปลงดา้ น ต่างๆ ทีจ่ ะเกิดขึ้น โดยคานึงถึงความเปน็ ไปได้ของสถานการณ์ตา่ งๆ ท่ีคาดว่าจะเกดิ ข้ึนในอนาคต โดยมเี งอ่ื นไขของการตัดสินใจและดาเนนิ กจิ กรรมต่างๆ ใหอ้ ยู่ในระดับพอเพยี ง 2 ประการดงั น้ี 1) เงอ่ื นไขความรู้ ประกอบด้วยความรอบร้เู กี่ยวกับวิชาการต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องรอบดา้ น ความรอบคอบทีจ่ ะนาความรเู้ หลา่ น้นั มาพิจารณาใหเ้ ชือ่ มโยงกนั เพื่อประกอบการวางแผนและความ ระมัดระวังในการปฏบิ ัติ 2) เงือ่ นไขคุณธรรม ทจี่ ะต้องเสรมิ สรา้ งประกอบด้วยมีความตระหนักในคุณธรรม มี ความซอื่ สัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต 5.3 การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งกับอุตสาหกรรมเกษตร เศรษฐกิจพอเพียงถูกนามาใชข้ ับเคล่ือนระบบเศรษฐกิจของประเทศ ดว้ ยอุตสาหกรรม เกษตรและธุรกจิ ท่ีเก่ยี วขอ้ งกับสนิ ค้าเกษตร จงึ เปน็ หน่งึ ในธรุ กิจภาครัฐทใี่ ห้การสนับสนุนอยา่ งจริงจงั ในฐานะทเี่ ปน็ อุตสาหกรรมพื้นฐานของประเทศ ท่ีไทยเรามีความชานาญ มเี ทคโนโลยีของตัวเอง มี วตั ถุดบิ จากภายในประเทศไม่จาเปน็ ตอ้ งนาเข้าทงั้ วัตถดุ ิบ อปุ กรณเ์ ครือ่ งจักรกลและเทคโนโลยจี าก ต่างประเทศมากนัก รวมทั้งเปน็ อุตสาหกรรมทสี่ ามารถกระจายความเจริญออกไปสู่ส่วนภมู ภิ าคเพื่อ ลดชอ่ งวา่ งระหวา่ งคนรวย ทกี่ ระจุกตัวอย่ใู นเมืองใหญ่กับคนระดับรากแก้ว ที่กระจายตวั อย่ใู นทุก ภมู ภิ าคของประเทศ (วิทวสั , 2549) อตุ สาหกรรมเกษตรถกู ชเู ปน็ อตุ สาหกรรมทีจ่ ะขับเคลื่อนเศรษฐกจิ ของประเทศ ในการ ประยุกต์ใช้ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งกบั อตุ สาหกรรมเกษตร มดี ังน้ี 5.3.1..การสร้างตรายหี่ ้อสาหรบั อตุ สาหกรรมเกษตร การรวมกล่มุ ของเกษตรกรเพ่ือ สรา้ งตรายี่ห้อให้กับอตุ สาหกรรมเกษตร เช่น สม้ ธนาธร หรอื ฟาร์มโชคชยั ทมี่ กี ารสรา้ งตรายหี่ ้อของ ตนมาอย่างตอ่ เน่ืองจนสนิ ค้าเกษตรของบริษัทเปน็ ทีร่ จู้ ักและมีมลู ค่าเพิ่ม และสามารถขยายสายการ ผลิตผลติ ภณั ฑ์ไปผลิตผลติ ภัณฑ์ชนิดอื่น จะชว่ ยใหส้ ินค้าเกษตรมีมูลค่าเพิม่ ไดอ้ ีกมาก 5.3.2..พฒั นาสนิ คา้ ใหส้ อดคล้องกบั ความต้องการของตลาด เพราะในปจั จบุ นั วิถชี วี ติ ของผู้บรโิ ภคเปล่ียนไปมาก สนิ คา้ เกษตรบางชนิดทเี่ คยได้รับความนยิ ม อาจไม่คอ่ ยเหมาะกับวถิ ชี ีวติ ของคนรุ่นใหมห่ ากไม่มีการพัฒนาสนิ คา้ หรือปรับตัวตามความตอ้ งการของลูกค้า เชน่ ผลไมอ้ ย่าง ทุเรียนท่ีวา่ กนั ว่าเป็นราชาแห่งผลไม้ ก็ดูจะไปกนั ไม่ค่อยได้กับกระแสอาหารเพ่ือสขุ ภาพ และการ ควบคมุ น้าหนักทกี่ าลังมาแรง ก็ต้องมุ่งไปทาการตลาดขายเข้ารา้ นอาหาร หรืออตุ สาหกรรมอาหาร หากจะขายปลีกให้กบั ลกู ค้าท่ัวไป มะละกอพันธ์ทุ ี่ผลมีขนาดเล็กอยา่ งมะละกอฮาวายและแตงโมพนั ธุ์ ทม่ี ีผลเลก็ ดจู ะมีโอกาสทางการตลาดมากกว่า 5.3.3..แปรรปู เพื่อสร้างมูลคา่ เพิ่ม สนิ ค้าเกษตรมีข้อจากัดในดา้ นอายขุ องสินค้าท่สี ั้น มี คา่ ใชจ้ า่ ยในการเกบ็ รกั ษาสูง รวมท้งั มกี ารแขง่ ขนั รุนแรงด้านราคา การจะสรา้ งมูลคา่ เพ่ิมให้กับสนิ คา้ ได้ตอ้ งนาสนิ ค้ามาแปรรปู เพือ่ ใหอ้ ายุสนิ ค้ายาวขึน้ และง่ายต่อการสร้างความแตกต่างให้กับสินค้า

11 5.3.4..เน้นการตอบสนองตลาดภายในทอ้ งถิ่น ภูมิภาค ตลาดภายในประเทศและตลาด ตา่ งประเทศ 5.3.5. ใช้เทคโนโลยที ี่เหมาะสม คือเทคโนโลยีท่รี าคาไมแ่ พงแตถ่ ูกหลักวิชาการ 5.3.6..กาหนดขนาดการผลติ ท่เี หมาะสมสอดคล้องกับความสามารถในการบรหิ าร จดั การ 5.3.7. ไมโ่ ลภเกนิ ไปและไมเ่ น้นกาไรระยะส้ันเป็นหลัก 5.3.8..ซื่อสตั ย์สจุ ริตในการประกอบการ ไม่เอารดั เอาเปรยี บผูบ้ รโิ ภคหรือลกู ค้าและ แรงงาน ตลอดจนไม่เอารดั เอาเปรียบผูจ้ าหน่ายวัตถุดิบ 5.3.9..เนน้ การกระจายความเส่ียงโดยมีผลติ ภณั ฑท์ ่หี ลากหลายหรอื สามารถปรับเปล่ียน ผลผลติ ได้งา่ ย 5.3.10..เน้นการบริหารจัดการทีม่ ีความเส่ียงตา่ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงไมก่ ่อหนสี้ ินจนเกิน ความสามารถในการบริหารจัดการ จะเห็นไดว้ ่าอตุ สาหกรรมเกษตรในกลุม่ ผ้ปู ระกอบการ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และกลุ่มของ เกษตรกร ยงั มศี ักยภาพท่ีจะนาการตลาดมาใช้เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มใหก้ ับสินค้า โดยเฉพาะเมื่อรฐั บาลมี ทิศทางที่จะใหก้ ารสนบั สนุนสินค้าเกษตรระดบั ชมุ ชน ตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพยี ง ย่ิงน่าจะช่วย ผลักดันสินคา้ เกษตรไทยให้มีการพฒั นาไปในทิศทางทีด่ ขี ้นึ อนั จะนาไปสคู่ วามร่มเยน็ เป็นสุข ดารงอยู่ อยา่ งมเี กยี รติและพฒั นาอย่างยัง่ ยนื (กลุ ทรพั ย์, 2555) สรปุ ความสาคัญของอตุ สาหกรรมเกษตรยงั มีประโยชนอ์ ยู่หลายอย่าง เชน่ ทาให้ใชว้ ัตถุดิบให้ เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ ทาใหเ้ กดิ ธุรกจิ อนื่ ๆ ตามมา ทาให้เกิดผลติ ภัณฑช์ นดิ ใหม่ๆ ทาให้ประเทศมี เสถยี รภาพทางเศรษฐกิจและทาใหส้ ามารถแก้ไขปัญหาการขาดแคลนอาหาร พันธุ์พชื พันธ์สุ ตั ว์เปน็ ต้น อุตสาหกรรมเกษตรจะมีความสมั พันธ์กับการเกษตรหากการเกษตรมผี ลติ ผลดี อตุ สาหกรรมเกษตรก็ สามารถดาเนนิ การได้แต่ทั้งน้ีการผลิตหรอื แปรรปู ผลิตภณั ฑ์ ไมว่ ่าจะใชว้ ตั ถดุ ิบประเภทใดในการผลิต ตอ้ งคานึงถงึ มาตรฐานของผลิตภัณฑอ์ ตุ สาหกรรมเกษตรดว้ ย ในปจั จบุ ันประเทศไทยไดม้ ปี ระกาศ พระราชบัญญตั ิ มาตรฐานสนิ ค้าเกษตรหากผ้ผู ลิตตอ้ งการจาหน่ายทัง้ ในและต่างประเทศ ต้องศกึ ษา กฎระเบยี บและมาตรฐานที่เกี่ยวขอ้ งการตรวจรบั รองสนิ ค้าในกลมุ่ ตา่ งๆ อุตสาหกรรมเกษตรจึงเปน็ การดาเนินการธุรกิจการเกษตร เพ่ือให้เกิดการนาผลผลิตจาก การเกษตรใชเ้ ปน็ วัตถดุ บิ ในการแปรรปู ด้วยระบบอุตสาหกรรม ให้เป็นผลิตภัณฑส์ ินค้าสมู่ ือผู้บรโิ ภค ทัง้ ในและตา่ งประเทศ อตุ สาหกรรมเกษตรเกดิ การพฒั นาอย่างครบวงจร มีการสร้างมูลคา่ เพิ่มกับ วัตถดุ ิบ มีผลติ ภัณฑใ์ หมๆ่ ทีม่ ีประโยชน์ตอ่ มนุษย์มีความปลอดภัยสาหรับการบริโภค เกดิ โรงงาน อุตสาหกรรมเกษตร สร้างงานใหก้ บั ประชากร พฒั นาเศรษฐกิจของประเทศ

12 กิจกรรมหนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 เรอื่ ง ความสาคัญของอุตสาหกรรมเกษตร 1. การเตรยี มวัสดุอุปกรณ์ วัสดุ อปุ กรณ์ทใี่ ชใ้ นการเรยี นรู้ 1.1 ตัวอย่างผลติ ภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร นมเปรีย้ ว ปลาสม้ น้าผลไม้ กุนเชียง กล้วยอบ 1.2 กระดาษ A4 1.3 ปากกาเคมี 1.4 ใบมอบหมายงานท่ี 1 2. ขั้นตอนการปฏิบตั ิ 2.1 แบ่งนกั เรยี นออกเป็นกล่มุ ๆ ละ 3-5 คน ตามความเหมาะสม 2.2 นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มช่วยกันศกึ ษาเนื้อหา เรื่อง ความสาคัญของอตุ สาหกรรมเกษตร 2.3 นักเรยี นชว่ ยกันวเิ คราะหแ์ ละสรุปเน้อื หา เกยี่ วกับความสาคัญของอุตสาหกรรมเกษตร 2.4 บันทึกผลลงใบมอบหมายงานท่ี 1 ที่ครูแจกให้ 3. กจิ กรรมเสนอแนะ 3.1 ครทู บทวนเนอื้ หาที่สาคัญ โดยใชส้ ่ือประกอบ เช่น แผน่ ภาพ 3.2 ชีแ้ จงการปฏบิ ัติงานและการบรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพียงเขา้ กบั เน้ือหาการเรียนรู้ 3.3 แบ่งหนา้ ทีใ่ หท้ ุกคนในกลุม่ มหี น้าทร่ี บั ผิดชอบอย่างชดั เจน 4. เครอ่ื งมือการวัดประเมินผล 4.1 แบบประเมนิ พฤติกรรมกลมุ่ 4.2 แบบประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านท่ี 1 5. เกณฑก์ ารวัดประเมนิ ผล 5.1 ประเมินพฤตกิ รรมกลุม่ 5.2 ประเมนิ ขั้นตอนการปฏิบตั ิงานและผลงานในแบบมอบหมายงานที่ 1 5.3 คะแนนผา่ นเกณฑ์ประเมนิ ต่าสดุ ร้อยละ 50

13 ใบมอบหมายงานที่ 1 เรอื่ ง ความสาคญั ของอุตสาหกรรมเกษตร ชอ่ื – สกลุ ..............................................เลขท่ี.............ชั้น ปวช.............คะแนนเตม็ 10 คะแนน 1. ใหน้ ักเรียนพิจารณาผลิตภณั ฑ์ชนิดต่างๆ ที่ครูนามาเป็นตวั อยา่ ง แล้วชว่ ยกันระดมความคดิ เปรียบเทียบหาข้อแตกต่างของผลิตภณั ฑ์แล้วเขียนลงในกระดาษทค่ี รูแจกให้ (2 คะแนน ) 2. ใหน้ กั เรียนช่วยกันวเิ คราะหห์ าความสาคัญของอตุ สาหกรรมเกษตร 2.1 ความสาคัญของอตุ สาหกรรมเกษตร (2 คะแนน) …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. 2.2 ววิ ฒั นาการของอตุ สาหกรรมเกษตร (2 คะแนน) ………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. 2.3 ประโยชนข์ องอตุ สาหกรรมเกษตร (2 คะแนน) ………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. 3. การบรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพยี งในการปฏบิ ัติงาน (2 คะแนน) 3.1 พอประมาณ........................................................................................................................... 3.2 มเี หตุผล............................................................................................................................. ..... 3.3 มีภูมิคุ้มกัน.............................................................................................................................. 3.4 ความรู้............................................................................................................................. ....... 3.5 คุณธรรม........................................................................................................................... .......

14 แบบฝกึ หดั หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 1 เร่อื ง ความสาคัญของอุตสาหกรรมเกษตร ------------------------------------------------------------------------------------------------------ คาชี้แจง จงตอบคาถามต่อไปนใี้ หไ้ ด้ใจความถูกต้องสมบรู ณ์ 1. อตุ สาหกรรมเกษตร หมายถงึ ................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... 2. อตุ สาหกรรมเกษตรมีผลต่อการดาเนินชวี ิตประจาวนั อย่างไรบ้าง ? ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................ ................ ................................................................................................................... ............................................. 3. จงอธบิ ายววิ ฒั นาการของอุตสาหกรรมเกษตรพอสังเขป ............................................................................................................................. ................................... .............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................. ............................................................... 4. การปฏวิ ตั ิอตุ สาหกรรมเกษตรมีผลต่อการเกษตรอย่างไร ? ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ....................................................................................................................................... ......................... 5. อุตสาหกรรมเกษตรมีประโยชนต์ ่อเกษตรกรอยา่ งไร ? ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ........................................................................................ ........................................................................ ............................................................................................................................. ...................................

15 แบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 เรอ่ื ง ความสาคัญของอุตสาหกรรมเกษตร วชิ า อุตสาหกรรมเกษตรเบอ้ื งต้น รหสั 2501-1006 วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีมหาสารคาม คาสง่ั : ให้นักเรยี นเลือกคาตอบท่ถี กู ท่ีสดุ เพยี งข้อเดยี ว โดยเขียนเครอื่ งหมายกากบาท ( x ) ลงใน กระดาษคาตอบหนา้ อกั ษร ก ข ค หรอื ง 1. Distribution คอื ข้อใด ? 6. วงรอบการผลติ ในอุตสาหกรรมเกษตรจบที่ใด ? ก. การแปรรปู ก. ผลิตผลเกษตร ข. การเกบ็ รกั ษา ข. การแปรรปู ค. การจัดจาหนา่ ย ค. การตรวจสอบคุณภาพ ง. การผลติ ง. การตลาด 2. ปฏิวัตอิ ุตสาหกรรมเกิดข้ึนในปีใด ? 7. ข้อใดไมใ่ ช่ผลท่ไี ดจ้ ากการแปรรปู อุตสาหกรรมเกษตร ก. ค.ศ. 1750-1850 ก. สรา้ งงานสรา้ งอาชีพ ข. ค.ศ. 1650-1751 ข. ผลิตภณั ฑ์ที่ตอ้ งการ ค. ค.ศ. 1750-1759 ค. ผลพลอยได้ ง. ค.ศ. 1650-1750 ง. ของเหลอื 3. อาหารจากธรรมชาติจากพืชและสัตว์ส่งผลตอ่ สิง่ ใด ? 8. ข้อใดไม่ใช่อุตสาหกรรมเกษตร ? ก. การเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดลอ้ มของ ก. โรงงานผลิตปุย๋ เคมี ข. โรงงานผลติ นา้ ตาล ธรรมชาติ ค. โรงงานผลิตปลากระปอ๋ ง ข. ประเทศชาติเกิดความม่นั คง ง. โรงงานผลติ แผงโซล่าเซลล์ ค. พฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศ ง. สรา้ งงานให้กับประชากร 9. ธุรกจิ การเกษตร หมายถงึ ขอ้ ใด ? ก. การนาเอาวัตถดุ ิบมาทาเป็นผลิตภัณฑ์ 4. การแปรรปู อุตสาหกรรมเกษตร คือข้อใด ? ข. การแปรรูป ก. ตวั ชีว้ ัดความสาเรจ็ ของผผู้ ลติ ค. การดาเนนิ งานท่เี ก่ยี วกบั การผลิต ข. การนาอุตสาหกรรมเกษตรสู่ผลติ ภัณฑ์ ง. ถูกทกุ ข้อ ค. การนาวัตถดุ ิบมาแปรรูปด้วยเครื่องจักรกล ง. รอบการผลติ ในอุตสาหกรรมเกษตรสู่ 10. ผลที่เกดิ ข้ึนจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมเกษตร คอื ก. เครอื่ งจักรมาแทนแรงงานคน ผลิตภัณฑอ์ ุตสาหกรรมเกษตร ข. เกดิ องคค์ วามรู้ใหม่ 5. ขอ้ ใดคือประโยชน์ของอุตสาหกรรมเกษตร ? ค. การสง่ เสรมิ ด้านเกษตรมากขน้ึ ง. ถูกทุกขอ้ ก. เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่จากการเกษตร ข. มีการผลิตสินคา้ เกษตรในปรมิ าณมาก ค. สรา้ งมูลค่าผลิตผลเกษตร ง. ถกู ทกุ ขอ้

16 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2 เรือ่ ง ประเภทของอุตสาหกรรมเกษตร เวลาเรยี น 2 ชว่ั โมง สาระสาคญั ความเจริญกา้ วหนา้ ในกจิ การอตุ สาหกรรมเกษตรในทางเทคโนโลยีและเทคนคิ การผลติ อีก ทงั้ สภาวะการตลาดทเ่ี ปลีย่ นแปลง จึงตอ้ งพัฒนาอตุ สาหกรรมเกษตรควบคู่ไปกับการเกษตรกรรมเพ่ือ ใหส้ ามารถแข่งได้กบั ผูผ้ ลติ ทวั่ โลกในยคุ โลกาภิวัตน์ ประเทศไทยมนี โยบายเนน้ การพฒั นาเพ่อื กา้ วไปสู่ ประเทศอตุ สาหกรรมใหม่ จงึ กอ่ ใหเ้ กิดโรงงานอุตสาหกรรมหลายประเภท กระจายสูภ่ มู ิภาคตา่ งๆ ของประเทศ มกี ารผลิตหรือการแปรสภาพของวสั ดุสง่ิ ของใหเ้ ปน็ ผลิตภัณฑ์เพื่อการค้าออกสูท่ อ้ งตลาด สําหรับผูบ้ รโิ ภค หัวข้อเรื่อง/ช่ืองาน 1. ประเภทของอุตสาหกรรมเกษตร 2. สภาพการผลิตอุตสาหกรรมเกษตร 3. การลงทนุ ในอุตสาหกรรมเกษตร จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ แบ่งเปน็ จดุ ประสงคท์ ัว่ ไป เพ่อื ใหน้ ักเรียนรู้และเข้าใจ 1. ประเภทของอตุ สาหกรรมเกษตร 2. สภาพการผลติ อตุ สาหกรรมเกษตร 3. การลงทนุ ในอตุ สาหกรรมเกษตร จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม (สมรรถนะทค่ี าดหวัง) นกั เรียนสามารถ 1. บอกประเภทของอตุ สาหกรรมเกษตรได้อย่างถูกตอ้ งและเหมาะสม 2. บอกสภาพการผลติ อตุ สาหกรรมเกษตรได้อย่างถกู ต้องและเหมาะสม 3. บอกการลงทุนในอตุ สาหกรรมเกษตรได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม 4. มีความความกระตือรอื ร้นและใฝร่ ูใ้ นการเรยี น 5. มีความซื่อสัตย์ ความรบั ผดิ ชอบ มีวินัยและขยนั อดทน (ได้อยา่ งถูกต้อง คือ สมรรถนะ เหมาะสม คือ พอเพยี ง ข้อ 4,5 เปน็ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม)

17 เน้ือหา 1. ประเภทของอตุ สาหกรรมเกษตร อตุ สาหกรรมเกษตรแบง่ ตามลักษณะตา่ งๆ ดงั นี้ 1.1 แบง่ ตามลักษณะการใช้ผลติ ภณั ฑ์ทผ่ี ลิตไดจ้ ากการผลติ อตุ สาหกรรมเกษตรน้นั ๆ แบง่ ออกเปน็ 3 ประเภท คอื 1.1.1 อตุ สาหกรรมอาหาร ( Food Industry ) หมายถงึ อตุ สาหกรรมที่ผลติ จาก ผลิตภัณฑท์ ีเ่ ปน็ อาหารและน้ํา ซึ่งมนษุ ยใ์ ช้บริโภคทัง้ ทเ่ี ป็นผลติ ภัณฑ์อาหารสําเร็จรูป ผลติ ภัณฑ์ อาหารกึ่งสาํ เร็จรปู และผลิตภณั ฑ์อาหารดบิ เชน่ อาหารสําเร็จรูปแช่แข็ง นมขน้ หวานกระปอ๋ ง ปลา กระป๋อง บะหมถี่ งุ พร้อมเคร่ืองปรงุ กลว้ ยแผ่นอบมว้ น กนุ เชยี ง นํ้าผลไม้ ขา้ วสาร แปง้ สาลี แปง้ ขา้ วโพด นมยเู อชที เปน็ ตน้ อาหารสําเร็จรปู แช่แขง็ กล้วยแผน่ อบมว้ น กนุ เชยี ง นํา้ ผลไม้ ภาพท่ี 2.1 ผลติ ภณั ฑ์ทเี่ ปน็ อาหาร ภาพถ่ายโดย ศภุ สทิ ธิ์ ดีรกั ษา 1.1.2 อตุ สาหกรรมกง่ึ อาหาร (Semi – Food Industry) หมายถงึ อุตสาหกรรมท่ี ผลติ ผลิตภณั ฑ์ทีใ่ ชเ้ ปน็ ส่วนประกอบหรอื ปรงุ แต่งอาหาร ซง่ึ ผลติ ภณั ฑเ์ หล่านี้มนุษย์ไม่ใชบ้ รโิ ภคเปน็

18 อาหารโดยตรง แตม่ ีความจําเปน็ ต้องใช้เพ่ือปรุงแต่งอาหารหรือเพื่อใหก้ ลน่ิ รสหรอื จําเปน็ ตอ้ งใชเ้ พ่ือ ความสมบูรณ์ทางโภชนาการ และเพอื่ ใหเ้ กดิ คุณค่าทางอาหาร หรอื มีความจาํ เป็นต้องใชใ้ นการปรงุ แตง่ อาหาร อตุ สาหกรรมเครื่องดืม่ เช่น เครื่องดมื่ ชาเขยี ว กาแฟ ผลิตภัณฑใ์ ห้กล่ินรส ไวตามนิ เกลือแร่ และกรดอะมโิ น เพ่ือความสมบูรณ์ทางโภชนาการและคุณคา่ ทางอาหาร สผี สมอาหารหรือ สารเจอื ปนทจี่ ําเปน็ ต้องใชใ้ นกรรมวธิ ีการแปรรปู อาหาร หรอื อุตสาหกรรมเครื่องดื่มทม่ี ีแอลกอฮอล์ เชน่ เหลา้ เบียร์ เปน็ ต้น เคร่ืองด่ืมชาเขยี ว กาแฟ ภาพที่..2.2..ผลิตภัณฑท์ เี่ ปน็ อุตสาหกรรมก่งึ อาหาร ภาพถา่ ยโดย..ศภุ สทิ ธ์ิ..ดรี กั ษา 1.1.3..อุตสาหกรรมผลิตภณั ฑ์ที่ไมใ่ ช่อาหาร..(Non–Food”Product”Industry) หมายถึง อุตสาหกรรมที่ผลิตผลติ ภณั ฑเ์ ครือ่ งอปุ โภคตา่ งๆ ท่ีใชว้ ัตถดุ บิ จากผลติ ผลเกษตรมาทําการ แปรรูป เช่น อุตสาหกรรมยางพารา ได้แก่ ถุงมือยางพารา ตกุ๊ ตายางพารา อตุ สาหกรรมสิง่ ทอ ไดแ้ ก่ อุตสาหกรรมทอผา้ ซ่งึ ใช้ฝา้ ยเป็นวตั ถดุ บิ หลกั อุตสาหกรรมทอกระสอบ ท่ีใช้ปอเป็นวัตถดุ บิ เคร่อื ง ปั้นดินเผา อตุ สาหกรรมกระดาษและเย่ือ อตุ สาหกรรมนํา้ ตาลท่ใี ช้กากนาํ้ ตาลผลิตเอทลิ แอลกอฮอล์ เพ่อื ใช้เปน็ เชอื้ เพลงิ อุตสาหกรรมฟอกหนงั และยังมอี ุตสาหกรรมทผ่ี ลิตผลิตภณั ฑท์ ี่มนุษยจ์ ําเปน็ ต้อง ใช้เพือ่ การดํารงชวี ิตอีกอย่างหน่งึ คือ อตุ สาหกรรมเภสัชกรรม เปน็ ต้น (ดงั ภาพที่ 2.3) อุตสาหกรรมทอผ้า อตุ สาหกรรมกระดาษ ภาพที่ 2.3 ผลิตภณั ฑ์ท่ีไมเ่ ปน็ อาหาร ภาพถ่ายโดย ศุภสทิ ธ์ิ ดีรกั ษา

19 1.2 แบง่ ตามขนาดกําลงั ผลิตของเครือ่ งจักรและอปุ กรณก์ ารผลิตสามารถแบง่ เป็น 2 ประเภท 1.2.1 อตุ สาหกรรมเกษตรขนาดเล็ก (Small Scale Agro-Industry) มลี กั ษณะของ การผลิตขนาดเลก็ มีกาํ ลงั การผลิตตํา่ เงินทนุ หมนุ เวยี นนอ้ ยมีเครอื่ งจกั รชว่ ยในการผลติ เปน็ เครอื่ งท่นุ แรงงาน มีการบริหารงานท่ดี ีโดยอาศัยหลักวิชาการ เชน่ การลงทนุ การจัดจา้ งแรงงาน การคิดราคา ต้นทุน การควบคมุ คณุ ภาพ ตลอดจนการตลาดและการจัดหาวตั ถดุ บิ เพ่ือใหด้ ําเนินการไปอยา่ งต่อ เนอ่ื งดังตวั อย่าง เชน่ อุตสาหกรรมผลติ แหนมหมู หมูยอ กนุ เชียง ไส้กรอกอีสาน ลูกชน้ิ หมู ผกั ดอง ผลไม้ดอง อตุ สาหกรรมทอผา้ พ้นื เมือง ผา้ ไหม ผา้ ฝ้าย เป็นต้น แหนมหมู ไส้กรอก ภาพท่ี 2.4 อตุ สาหกรรมเกษตรขนาดเลก็ ภาพถา่ ยโดย ศภุ สิทธิ์ ดรี ักษา ขอ้ ดี อุตสาหกรรมเกษตรขนาดเล็กเป็นรากฐานของอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ การเริ่ม จากธุรกจิ ขนาดเล็กชว่ ยให้มีความรู้ ประสบการณ์ เงนิ ทนุ และการตลาดท่ีมนั่ คงตอ้ งการทรพั ยากรการ ผลิตในปรมิ าณไม่มาก ปรับปรุงเทคโนโลยีการผลิต หรอื พัฒนาผลิตภัณฑไ์ ด้ง่าย การจ้างแรงงาน อาจ เหมาช้ิน ชว่ ยให้เกิดการจา้ งแรงงานเข้าส่โู รงงานมากข้ึน ชว่ ยให้เกษตรกรชนบทมงี านทํา มรี ายไดเ้ พ่มิ เพราะใกลแ้ หล่งวตั ถดุ ิบ ข้อเสยี ผลติ ภัณฑ์ไมม่ ีคุณภาพเท่าท่ีควร เพราะขาดเงนิ ทุนในการตรวจสอบคุณภาพ ของผลติ ภณั ฑ์ในทางกายภาพ เคมี จลุ ินทรีย์ และทางประสาทสมั ผสั การตลาดมจี าํ หน่ายเฉพาะ ในประเทศ เนอ่ื งจากมีปรมิ าณการผลติ ตํ่าและคณุ ภาพไม่แนน่ อน ขาดปัจจยั ในการโฆษณา ข้อจํากดั ในการนาํ เทคโนโลยบี างอย่างมาใช้เพราะพัฒนามาจากอตุ สาหกรรมในครวั เรือน ขาดการรวมกลุ่มกัน ซ่งึ มผี ลให้ขาดอาํ นาจในการต่อรองทางการค้า ถ้ามกี ารรวมกลุ่มจะช่วยแก้ปญั หาทั้งภายในและต่าง ประเทศได้ 1.2.2 อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ (Large Scale Agro-Industry) คือ อุตสาหกรรม เกษตรทด่ี ําเนินการผลติ โดยใช้เครอื่ งจักรอุปกรณข์ นาดใหญ่ ผลติ ผลติ ภัณฑไ์ ด้เปน็ จาํ นวนมาก และ อาจดําเนินการผลติ โดยใชว้ ตั ถุดิบจากผลพลอยได้ (By Product) หรอื ของเหลือ (Waste) จากขัน้ ตอน

20 การผลติ ภัณฑ์หลกั (Main Product) เช่น อุตสาหกรรมนํ้าตาลทราย อตุ สาหกรรมอาหารกระป๋อง อุตสาหกรรมผลิตอาหารแช่เยือกแข็ง อุตสาหกรรมมันสาํ ปะหลัง อตุ สาหกรรมข้าว อุตสาหกรรม ยางพารา อตุ สาหกรรมเย่ือและกระดาษ อุตสาหกรรมธัญพชื น้ําตาลทราย อาหารกระป๋อง ภาพท่ี 2.5 อตุ สาหกรรมขนาดใหญ่ ภาพถ่ายโดย ศภุ สทิ ธิ์ ดีรกั ษา ข้อดี ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพสมาํ่ เสมอ ได้รบั การรับรองคุณภาพ ได้รบั การสนับสนุน จากรัฐบาลในดา้ นการตลาดและเงินทนุ มีการโฆษณาประชาสัมพันธ์ให้ผบู้ รโิ ภคไดร้ บั ข้อมลู ทถ่ี ูกต้อง ไดผ้ ลคมุ้ ค่าการลงทนุ ข้อเสยี ตน้ ทนุ ในการผลิตสงู ใช้แรงงานน้อย ประชากรไม่มงี านทาํ ใช้ทรัพยากรใน การผลิตมาก วัตถดุ ิบจากธรรมชาติจะหมดเรว็ เกดิ ปญั หาด้านสิง่ แวดล้อม 1.3 แบ่งประเภทอตุ สาหกรรมเกษตรตามลกั ษณะผลิตภณั ฑ์ มี 19 ชนดิ คือ 1.3.1 อตุ สาหกรรมเนื้อสตั ว์ (Slaughtering Preserving and Preserving Meat) อตุ สาหกรรมประเภทน้ี ได้แก่ ผลิตภัณฑเ์ นื้อสตั วจ์ าก เนอ้ื วัว เน้ือหมู เน้ือแพะ เนื้อแกะ เน้ือเคม็ หมหู ยอง ผลติ ภัณฑน์ ม ภาพท่ี 2.6 อุตสาหกรรมเนื้อสตั ว์และอุตสาหกรรมนม ภาพถา่ ยโดย ศุภสทิ ธ์ิ ดรี กั ษา

21 และสตั วป์ ีก นาํ มาแปรรูปเป็นเบคอน แฮม หมรู มควนั ไสก้ รอก เนื้อไก่แชแ่ ขง็ ลูกชิน้ แหนม กนุ เชยี ง..หมูยอ..หมทู บุ ..หมูหยอง..เป็นตน้ 1.3.2 อุตสาหกรรมนมและผลิตภณั ฑน์ ม..(Manufacture of Dairy Proserving) อตุ สาหกรรมประเภทน้ีไดแ้ ก่ นมขน้ และครีมข้น นมผงและครมี ผง เนยเหลว เนยแข็ง ไอศกรีม นมเปรีย้ ว..นมสด..เปน็ ตน้ 1.3.3 อุตสาหกรรมผักและผลไม้กระปอ๋ ง..(Canning and Preserving of Fruits and Vegetables) อตุ สาหกรรมประเภทน้ี ได้แก่ ผลไมแ้ ชอ่ ิ่ม แยมผวิ สม้ แยม มาร์มาเลด เยลลี่ ผลไม้ นํา้ ผลไม้ น้ําผลไมผ้ สมท้งั ทแี่ ชแ่ ข็งและไม่แชแ่ ขง็ ผกั ผลไมแ้ ชแ่ ข็ง ผกั ผลไม้บรรจุกระปอ๋ ง หรอื ผลไม้อบแหง้ 1.3.4 อตุ สาหกรรมสตั ว์น้ําและการแปรรูป (Canning Preserving and Processing of Fish Crustacean and Similar Foods) อตุ สาหกรรมประเภทนีไ้ ด้แก่ ปลาแช่แข็ง ปลากระป๋อง ปลาเค็ม ปลาตากแห้งหรอื รมควัน รวมท้ังสัตว์น้ําอืน่ ๆ เช่น กุง้ ปู หอย และปลาหมึก ผลไม้กระปอ๋ ง ปลาแช่แข็ง ภาพที่ 2.7 อตุ สาหกรรมผลไม้กระป๋องและอุตสาหกรรมสัตวน์ ํ้า ภาพถ่ายโดย ศภุ สิทธิ์ ดีรกั ษา 1.3.5 อตุ สาหกรรมนาํ้ มนั พืช นํา้ มนั สตั ว์และไขสัตว์ (Manufacture of Vegetable and Animal Oils and Fats) อุตสาหกรรมประเภทนไ้ี ด้แก่ เนยเทียม มนั หมูและไขสตั ว์ นํา้ มนั และ ไขของสัตว์นํ้า น้ํามันถัว่ เหลือง น้ํามันถ่วั เหลืองดิบ น้ํามันเมล็ดฝา้ ย นํ้ามนั ถั่วลสิ ง นํ้ามนั มะกอก เป็นตน้ 1.3.6 อตุ สาหกรรมเมล็ดธญั พืช (Grain Mill Product) อุตสาหกรรมประเภทน้ี มี การใชว้ ตั ถดุ บิ จากธัญพชื เช่น ข้าว ขา้ วโพด ข้าวสาลี ขา้ วฟา่ ง ข้าวบารเ์ ลย์ เป็นตน้ แลว้ พฒั นาเป็น ผลิตภณั ฑ์ เชน่ การทําแป้งจากขา้ วสาลี อาหารเชา้ สําเรจ็ รูป มักกะโรนี เสน้ ก๋วยเต๋ยี ว

22 นาํ้ มนั พืช มักกะโรนี ภาพท่ี 2.8 อตุ สาหกรรมน้ํามนั พืชและอตุ สาหกรรมเมลด็ ธัญพชื ภาพถ่ายโดย ศภุ สิทธิ์ ดีรักษา 1.3.7 อุตสาหกรรมขนมอบ (Manufacture of Bakery Product) อตุ สาหกรรม ประเภทน้ี ไดแ้ ก่ ขนมปงั ขนมปงั กรอบ ขนมปังหวานแห้ง คกุ๊ ก้ี เค้ก ขนมอบชนดิ ตา่ งๆ เป็นต้น 1.3.8 อตุ สาหกรรมนํา้ ตาลและน้ําตาลบริสทุ ธิ์ (Sugar Factories and Refineries) อตุ สาหกรรมประเภทนี้ ได้แก่ นา้ํ ตาลดบิ น้าํ ตาลบริสุทธิ์ ผลไม้แชอ่ ม่ิ แหง้ เปน็ ต้น ค๊กุ กี้ นา้ํ ตาล ภาพที่ 2.9 อุตสาหกรรมขนมอบและอุตสาหกรรมนาํ้ ตาล ภาพถ่ายโดย ศภุ สิทธ์ิ ดีรกั ษา 1.3.9 อตุ สาหกรรมโกโก้ ชอ็ คโกแลต (Manufacture of Cocoa Chocolate and Confectioneries) อุตสาหกรรมประเภทนี้ไดแ้ ก่ โกโก้ผง โกโกเ้ หลว ชอ็ คโกแลต กาแฟผง สาํ เร็จรูป กลิ่นกาแฟสกัด ลกู กวาด เปน็ ต้น 1.3.10 อตุ สาหกรรมเครอ่ื งด่ืม (Beverage Industry) ได้แก่ สุราตม้ กลั่น ยกเวน้ เอทลิ แอลกอฮอลบ์ รสิ ทุ ธิ์ เคร่ืองด่มื อื่นๆ ทีม่ เี อทลิ แอลกอฮอล์ ไวนช์ นดิ ตา่ งๆ เคร่ืองดม่ื ท่ที าํ จาก ข้าวมอลท์ เบยี ร์ นาํ้ แร่ นาํ้ อัดลม เปน็ ต้น

23 โกโกผ้ ง เบยี ร์ ภาพที่ 2.10 อตุ สาหกรรมโกโก้และอตุ สาหกรรมเครื่องดื่ม ภาพถา่ ยโดย ศุภสทิ ธ์ิ ดรี ักษา 1.3.11 อตุ สาหกรรมพืชเส้นใยประดิษฐ์และสงิ่ ทอ ได้แก่ อตุ สาหกรรมทอกระสอบ หีบฝ้าย ทอผา้ ปนั่ นุ่น ไหมพรม ไหม เปน็ ตน้ 1.3.12 อตุ สาหกรรมเยื่อกระดาษและกระดาษ ได้แก่ การผลิตเยอ่ื กระดาษจากปอ แกว้ ไมเ้ น้ืออ่อน ฟางขา้ ว ชานออ้ ย ไม้สน ไม้ไผ่ ไมย้ ูคาลปิ ตัส ไม้เหลา่ นี้ผลติ กระดาษหลายชนดิ เช่น กระดาษดราฟท์ กระดาษชาํ ระ กระดาษอนามัย กระดาษพิมพ์เขียว เป็นตน้ 1.3.13 อตุ สาหกรรมยางพารา ได้แก่ อตุ สาหกรรมยางแผ่นดิบ ยางเครป ยางแท่ง ยางรมควัน ผลิตภัณฑย์ างอ่ืนๆ เช่น ยางรถยนต์ อปุ กรณก์ ารแพทย์ทที่ ําจากยาง รองเทา้ ยาง สายยาง ถงุ ยางอนามยั ท่ีนอน หมอน ลกู ฟุตบอล สายไฟ หวั นมยาง ยางยดื ยางรัดของ สายพาน ตุก๊ ตา ยาง ยางล้อเครื่องบิน ท่อยาง ฟองนํ้า อะไหล่รถยนต์ พื้นรองพรม เป็นตน้ 1.3.14 อุตสาหกรรมปุย๋ ได้แก่ ป๋ยุ อินทรยี ์ ปุ๋ยเคมี ปยุ๋ นํ้าชีวภาพ เปน็ ตน้ 1.3.15 อุตสาหกรรมยาปราบศตั รพู ชื ได้แก่ ยาฆา่ แมลง ยาปราบวชั พืช ยากําจดั เชอ้ื รา เป็นตน้ 1.3.16 อตุ สาหกรรมเครือ่ งทุ่นแรง ไดแ้ ก่ รถแทรกเตอร์ เครอื่ งหยอดเมล็ด เคร่ือง สูบนํ้า เครือ่ งเกยี่ วข้าว เครอ่ื งอัดฟาง เป็นต้น 1.3.17 อตุ สาหกรรมอาหารสตั ว์ ไดแ้ ก่ อาหารสตั วผ์ สมปลาปน่ เปลือกหอยบด ราํ ใบกระถนิ บด ข้าวโพดบด ปลายข้าว กากรํา กากถ่วั เหลอื ง รําข้าวสาลี ข้าวฟ่าง มันสาํ ปะหลงั สด ขา้ วสาลี เป็นตน้

24 ปุ๋ยเคมี ยาปราบศตั รพู ืช อาหารสตั ว์ ภาพท่ี 2.11 อตุ สาหกรรมปยุ๋ อุตสาหกรรมยาปราบศตั รูพชื และอตุ สาหกรรมอาหารสัตว์ ภาพถา่ ยโดย ศุภสิทธ์ิ ดีรกั ษา 1.3.18 อุตสาหกรรมมันสําปะหลงั เชน่ มันเส้น มันอดั เมด็ และแป้งมนั 1.3.19 อตุ สาหกรรมอ่นื ๆ ได้แก่ บะหมี่กึง่ สําเร็จรูป บะหม่ี วุน้ เส้น เส้นหมี่ มันเส้น มันอัดเม็ด แปง้ มัน ภาพที่ 2.12 อุตสาหกรรมมนั สําปะหลัง ภาพถ่ายโดย ศภุ สิทธิ์ ดีรักษา

25 จะเห็นได้ว่ามีการจดั แบ่งประเภทของอตุ สาหกรรมเกษตรไว้หลายอยา่ ง ซงึ่ ไม่วา่ จะแบ่ง ด้วยวธิ ีใดผลติ ภณั ฑ์เหล่าน้นั กม็ าจากการเกษตร หรอื มีส่วนเก่ยี วขอ้ งกบั การเกษตรทั้งสนิ้ 2. สภาพการผลติ อุตสาหกรรมเกษตร สภาพการผลติ อุตสาหกรรมเกษตรในแต่ละภูมภิ าคจะไม่เหมือนกนั ข้ึนอยู่กับชนิดวตั ถดุ ิบท่ีมี อยู่ในท้องถิ่น และความเหมาะสมในดา้ นอนื่ ๆ อยา่ งไรก็ตามในทุกภูมภิ าคจะมีโรงงานอุตสาหกรรม เกษตรทเี่ หมอื นๆ กนั ซ่งึ สว่ นใหญ่แล้วจะเป็นโรงงานท่ผี ลิตสินค้าที่ใช้ในชีวติ ประจาํ วนั เช่น โรงสขี า้ ว โรงนํา้ แข็ง โรงงานอาหารเสน้ จากแป้งเชน่ กว๋ ยเตย๋ี ว เสน้ หมี่ ขนมจีน โรงงานสุรา โรงงานเฟอรน์ ิเจอร์ โรงเล่อื ยไม้ เป็นตน้ ซึ่งแต่ละภูมิภาคจะมีผลติ ภณั ฑ์ท่เี ดน่ ๆ ดงั นี้ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ประเภทอตุ สาหกรรมท่ผี ลติ ใชว้ ัตถดุ ิบในท้องถน่ิ เชน่ น้ําตาลทราย กระสอบ อัดปอ ผลติ ภัณฑม์ ันสาํ ปะหลัง ป่นั เสน้ ไหม ทอผ้าไหม เครือ่ งปั้นดินเผา เคร่อื งจกั รสาน เกลอื สินเธาว์ การอบบ่มใบยาสบู เครื่องดมื่ นาํ้ อดั ลม ภาคเหนือ ใชว้ ตั ถดุ บิ จากทอ้ งถนิ่ เชน่ ผลิตภณั ฑ์ใบชา นา้ํ ตาล ผกั ผลไมก้ ระปอ๋ ง อบและบ่ม ใบยา น้าํ มันพชื จากถัว่ เหลือง เสน้ ไหมยืน การผลิตร่ม การทอผา้ ด้วยมือ แกะสลักไม้ เครื่องปั้น คร่งั เมด็ ดนิ เผา เชน่ ถ้วยชาม แจกัน ภาคกลาง เป็นภาคเดียวทีเ่ ปน็ แหล่งรวมอุตสาหกรรมเกษตรทกุ ประเภท ที่มีอยู่ในประเทศ เปน็ อุตสาหกรรมที่ใช้วตั ถดุ ิบสว่ นใหญ่ในทอ้ งถ่ิน เช่น ขา้ ว นา้ํ มนั พืช กาแฟ นํ้าตาล สง่ิ ทอ ปุ๋ยอนิ ทรีย์ ยารกั ษาโรค กระดาษ และผลติ ภณั ฑ์จากกระดาษ อาหารสัตว์ อาหารสําเรจ็ รูป ผลิตภณั ฑย์ าง ฟอกหนัง และผลติ ภัณฑ์หนัง การทอกระสอบ ภาคใต้ ใชว้ ัตถุดิบจากท้องถิ่น เชน่ นาํ้ ยาง ยางแผ่น ยางแทง่ นา้ํ มนั มะพร้าว นา้ํ มันปาลม์ ถ่านกะลามะพร้าว ถ่านไม้ยางพารา เฟอรน์ เิ จอร์จากไมย้ างพารา ไม้ขดี ไฟ ปลาป่น ผลติ ภัณฑ์บรรจุ กระป๋อง อาหารสัตว์ ผลติ ภณั ฑท์ ะเลแชแ่ ข็ง กาแฟคว่ั ผลติ ภณั ฑ์ผ้าบาตกิ ภาคตะวนั ออก ใช้วตั ถดุ บิ ในท้องถ่นิ เช่น โรงอบธญั พชื ผลิตภณั ฑ์มนั สาํ ปะหลัง ป่ันเส้นไหม ผลไมก้ ระป๋อง นํ้าตาล น้าํ ปลา ปลาป่น การเจยี ระไนพลอย โรงกลัน่ น้าํ มัน ไม้อัด ภาคตะวนั ตก ใชว้ ัตถดุ ิบในท้องถนิ่ เช่น นา้ํ ตาล สับปะรดกระป๋อง กระดาษ นา้ํ ปลา อาหาร สตั ว์ สิ่งทอเคร่อื งเคลือบดินเผา เช่น โอง่ ไห กระเบ้ืองปพู ้ืน 3..การลงทนุ ในอตุ สาหกรรมเกษตร การลงทุนในโรงงานอตุ สาหกรรมเกษตรเกิดขึน้ จากการเลือกใชเ้ ทคโนโลยี ทกี่ ้าวหนา้ ท่ีสุด และใหผ้ ลคุ้มคา่ มากที่สดุ ในการลงทุน โดยเฉพาะโครงการใหญ่ๆ จะใชเ้ วลาเตรียมการนับต้งั แตเ่ รมิ่ คดิ โครงการ ผ่านขัน้ ตอนพิจารณาของกรรมการบรหิ ารบริษัท การอนมุ ัติโครงการ การออกแบบการ ก่อสรา้ ง การทดลองเดนิ เครอื่ งไปจนกระท่งั เขา้ สู่ระดับการผลิตโดยสมบรู ณน์ ้ันจะใชเ้ วลาประมาณ

26 3-5 ปี เพ่ือให้การวางแผนในระยะยาวได้ผลดี จะต้องมีการศึกษาและทาํ การพยากรณท์ างการตลาด ทางเศรษฐศาสตร์ และจะต้องคอยตรวจสอบเมื่อมีขอ้ มูลใหม่ ความรใู้ หม่ มกี ารพฒั นาเทคโนโลยี หรือทราบแนวโน้มของตลาดการพยากรณ์ทางเศรษฐศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตรเกดิ จากความกา้ วหนา้ ในทางเทคโนโลยี และเทคนิคด้านการผลิต ทาํ ใหไ้ ด้ ผลติ ภณั ฑส์ ําหรับผู้บริโภค และบริการด้านตา่ งๆ ที่มีคุณภาพและราคาเหมาะสมในยคุ โลกาภวิ ัตน์ เพอ่ื สนองตามความต้องการของผบู้ ริโภค อุตสาหกรรมเกษตรจดั เป็นธุรกิจการเกษตรประเภทการผลิต และการแปรรูป ซง่ึ รวมถึงการจาํ หน่ายผลิตภณั ฑด์ ว้ ย อตุ สาหกรรมเกษตรมีความหมายรวมถึง การ ดําเนินธุรกจิ การเกษตร เพ่ือให้เกิดผลิตผลทงั้ จากการเกษตรกรรมและการจดั หา เพ่ือใชเ้ ปน็ วตั ถดุ บิ สาํ หรบั การแปรรูป โดยเครื่องจักรกลด้วยระบบอุตสาหกรรมให้ไดผ้ ลติ ภัณฑ์จากวัตถดุ บิ และผลติ ภณั ฑ์ จากผลพลอยได้และของเหลือโดยมกี ารสูญเสียน้อยท่สี ดุ สรุป อตุ สาหกรรมเกษตร สามารถแบ่งได้หลายลักษณะ เชน่ แบ่งตามลกั ษณะการใชผ้ ลติ ภณั ฑ์ ประกอบดว้ ยอุตสาหกรรมอาหารไดแ้ ก่ กลุ่มอาหารสาํ เร็จรูป อาหารกึง่ สาํ เร็จรูป อาหารดิบ และ อุตสาหกรรมกง่ึ อาหาร ไดแ้ ก่ กลุม่ ผลิตภณั ฑ์ที่ไมจ่ ัดอยู่ในกลมุ่ อาหาร แต่จะใช้ในการประกอบอาหาร เพือ่ แตง่ กลิน่ รสชาติ สี เน้ือสมั ผสั เปน็ ตน้ และอุตสาหกรรมท่ไี ม่ใช่อาหารไดแ้ ก่ กลมุ่ ผลิตภณั ฑท์ ี่ นาํ มาใช้ในการอปุ โภค เชน่ อุตสาหกรรมทอกระสอบปา่ น อุตสาหกรรมเภสัชกรรม เปน็ ตน้ การแบง่ ตามขนาดกําลังการผลิตอุตสาหกรรม เชน่ อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ อุตสาหกรรมขนาดกลางและ อุตสาหกรรมขนาดเล็ก เป็นตน้ การแบง่ ประเภทอุตสาหกรรมเกษตรตามลักษณะผลิตภณั ฑ์ เช่น อุตสาหกรรมเน้ือสัตว์ อุตสาหกรรมนมและผลติ ภัณฑน์ ม อุตสาหกรรมผักและผลไม้บรรจุกระป๋อง อุตสาหกรรมแปรรูปสตั ว์นาํ้ อุตสาหกรรมพืชเส้นใยประดิษฐ์และส่งิ ทอ อุตสาหกรรมเย่ือกระดาษและ กระดาษ อุตสาหกรรมยางพารา อุตสาหกรรมป๋ยุ อุตสาหกรรมยาปราบศัตรพู ืช เป็นต้น

27 กิจกรรมหนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 เรอื่ ง ประเภทของอุตสาหกรรมเกษตร 1. การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ วัสดุ อุปกรณ์ที่ใชใ้ นการเรยี นรู้ 1.1 รูปภาพ และสอ่ื นาํ เสนอ Power Point 1.2 กระดาษ A4 1.3 ปากกาเคมี 1.4 ใบมอบหมายงานที่ 2 2. ข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิ 2.1 แบ่งนกั เรียนออกเปน็ กลุ่มๆ ละ 3-5 คน ตามความเหมาะสม 2.2 นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ ชว่ ยกันศึกษาเนื้อหา เร่อื ง ประเภทของอุตสาหกรรมเกษตร 2.3 นกั เรียนชว่ ยกนั วเิ คราะหแ์ ละสรุปเนอื้ หา เกี่ยวกับประเภทของอุตสาหกรรมเกษตร 2.4 บนั ทึกผลลงใบมอบหมายงานท่ี 2 ท่คี รูแจกให้ 3. กจิ กรรมเสนอแนะ 3.1 ครทู บทวนเนือ้ หาทีส่ ําคัญโดยใชส้ ื่อประกอบ เชน่ แผ่นโปร่งใส แผ่นภาพ 3.2 ชแี้ จงการปฏิบตั งิ านและการบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากบั เน้ือหาการเรียนรู้ 3.3 แบง่ หน้าท่ีให้ทุกคนในกลุ่มมหี นา้ ท่ีรับผิดชอบอยา่ งชดั เจน 4. เครือ่ งมือการวัดประเมนิ ผล 4.1 แบบประเมินพฤติกรรมกลมุ่ 4.2 แบบประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านท่ี 2 5. เกณฑ์การวดั ประเมนิ ผล 5.1 ประเมินพฤติกรรมกลุ่ม 5.2 ประเมนิ ขัน้ ตอนการปฏบิ ัตงิ านและผลงานในแบบมอบหมายงานที่ 2 5.3 คะแนนผ่านเกณฑ์ประเมนิ ตาํ่ สุดร้อยละ 50

28 ใบมอบหมายงานท่ี 2 เร่อื ง ประเภทของอตุ สาหกรรมเกษตร ชือ่ – สกลุ ..............................................เลขท่ี.............ชั้น ปวช.............คะแนนเตม็ 10 คะแนน 1. ใหน้ ักเรยี นช่วยกันวิเคราะห์หัวข้อดังต่อไปน้ี 1.1 ประเภทของอุตสาหกรรมเกษตร ( 2 คะแนน ) ……………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. 1.2 อุตสาหกรรมเกษตรในประเทศไทย ( 2 คะแนน ) ………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. 1.3 สภาพการผลติ อตุ สาหกรรมเกษตร ( 2 คะแนน ) ………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………. 2. การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงในการปฏบิ ัติงาน ( 2 คะแนน ) 2.1 พอประมาณ........................................................................................................................... 2.2 มีเหตุผล............................................................................................................................. .... 2.3 มภี มู ิคุ้มกัน.............................................................................................................................. 2.4 ความรู้............................................................................................................................. ....... 2.5 คณุ ธรรม.................................................................................................................................

29 แบบฝกึ หดั หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เร่อื ง ประเภทของอตุ สาหกรรมเกษตร ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- คาชี้แจง จงตอบคาํ ถามตอ่ ไปนใี้ หไ้ ด้ใจความถูกต้องสมบูรณ์ 1. จงอธบิ ายการจัดแบง่ ประเภทอตุ สาหกรรมเกษตรพรอ้ มยกตัวอยา่ ง ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... .................................................................................. .............................................................................. ............................................................................................................................. ................................... 2. อตุ สาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมกง่ึ อาหารและอุตสาหกรรมท่ีไม่ใช่อาหาร มีความแตกต่างกัน อย่างไร ? ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................ ................ ................................................................................................................... ............................................. ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... 3. จงยกตัวอยา่ งผลติ ภัณฑ์ทม่ี ีจาํ หน่ายในทอ้ งตลาดดังน้ี (อย่างละ 5 ชนิด) 3.1 อาหารสาํ เร็จรูป……………………………………………………………………………………………………. .............................................................................................. .................................................................. 3.2 อาหารก่งึ สําเรจ็ รูป............................................................................................................. ................................................................................................................................................................ 3.3 ผลิตภณั ฑ์เนอ้ื สตั ว.์ ............................................................................................................. ........................................................................................................................................... ..................... 4. จงอธบิ ายความแตกต่างของอุตสาหกรรมขนาดเล็กและอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ...................................

30 แบบทดสอบหลังเรยี น หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เร่ือง ประเภทของอตุ สาหกรรมเกษตร วชิ า อตุ สาหกรรมเกษตรเบ้อื งตน้ รหัส 2501-1006 วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยมี หาสารคาม คําสั่ง : ใหน้ ักเรียนเลือกคาํ ตอบที่ถูกที่สดุ เพียงข้อเดยี ว โดยเขียนเครอ่ื งหมายกากบาท ( x ) ลงใน กระดาษคาํ ตอบหนา้ อกั ษร ก ข ค หรอื ง 1. ข้อใดไม่ใชผ่ ลติ ภัณฑ์จากอุตสาหกรรมกึ่งอาหาร ? 6. ขอ้ ดอี ุตสาหกรรมขนาดใหญ่คอื ขอ้ ใด ? ก. เหลา้ ก. ผลิตภณั ฑม์ ีคุณภาพสมา่ํ เสมอ ข. ปลากระป๋อง ข. การเริม่ จากธุรกิจขนาดเล็กชว่ ยให้มีความรู้ ค. กาแฟ ค. ผลติ ผลติ ภณั ฑไ์ ด้เปน็ จํานวนมาก ง. เครื่องดม่ื ไวตามิน ง. ถกู ท้ัง ก และ ค 2. ข้อเสยี อุตสาหกรรมขนาดใหญ่คอื ข้อใด ? 7. อุตสาหกรรมผลติ ภัณฑ์ทไี่ ม่ใช่อาหารหมายถงึ ข้อใด ? ก. ใชแ้ รงงานน้อย ก. ไวตามิน ข. วตั ถดุ ิบจากธรรมชาติจะหมดเรว็ ข. เกลือแร่ ค. ต้นทนุ ในการผลติ สูง ค. กรดอะมิโน ง. ถูกทุกข้อ ง. กระดาษ 3. Canning and Preserving of Fruits and Vegetables 8. ข้อใดไม่ใชผ่ ลติ ภัณฑ์จากอุตสาหกรรมสตั ว์นํา้ ? คอื ข้อใด ? ก. ซูริมิ ข. ปลากระปอ๋ ง ก. อุตสาหกรรมผกั และผลไม้กระป๋อง ค. มักกะโรนี ข. อตุ สาหกรรมสตั ว์นา้ํ และการแปรรูป ง. กะปิ ค. อุตสาหกรรมนมและผลติ ภัณฑ์นม ง. อุตสาหกรรมนํ้ามนั พชื 9. อตุ สาหกรรมเมลด็ ธัญพืช คอื ข้อใด ? 4. ข้อดีอุตสาหกรรมเกษตรขนาดเล็กคือข้อใด ? ก. เคก้ ก. เปน็ รากฐานของอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ข. เส้นก๋วยเตย๋ี ว ข. การเรม่ิ จากธุรกิจขนาดเล็กช่วยใหม้ ีความรู้ ค. คุก๊ ก้ี ค. พัฒนาผลิตภณั ฑ์ได้ง่าย ง. ขนมปงั กรอบ ง. ถกู ทุกขอ้ 5. Food Industry หมายถงึ ข้อใด ? 10. Small Scale Agro-Industry หมายถึงข้อใด ? ก. อตุ สาหกรรมทีผ่ ลติ ผลิตภัณฑ์ทีเ่ ป็นอาหารและนา้ํ ก. อตุ สาหกรรมเกษตรขนาดย่อย ข. กระจายสู่ภมู ิภาคต่างๆ ข. อุตสาหกรรมเกษตรขนาดเล็ก ค. การผลิต ค. อุตสาหกรรมเกษตรขนาดกลาง ง. การเกษตร ง. อุตสาหกรรมเกษตรขนาดใหญ่

31 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 เร่อื ง หลักการดาเนนิ งานอตุ สาหกรรมเกษตร เวลาเรยี น 2 ชั่วโมง สาระสาคญั การดาเนนิ การอตุ สาหกรรมเกษตรมหี ลกั การท่ีแตกต่างไปจากอุตสาหกรรมชนิดอืน่ เกี่ยวกบั วตั ถุดิบ เครื่องจักรกล การแปรรปู การเกบ็ รกั ษา และการจดั การควบคุมคุณภาพ อตุ สาหกรรม เกษตร มีการแบ่งส่วนของการดาเนนิ งานอุตสาหกรรมเกษตรออกเป็น การจดั หาหรือผลิตวัตถุดิบ การ แปรรปู วตั ถดุ บิ การจดั การของเหลอื และผลพลอยได้ การจดั จาหนา่ ยผลติ ภัณฑ์ นอกจากนนั้ ยงั มีการ จดั หน่วยงานของอตุ สาหกรรมเกษตรขึน้ เพ่ือใหก้ ารดาเนินงานลุลว่ งได้ดว้ ยดีสาเร็จตามเปาู หมาย หัวข้อเร่อื ง/ชื่องาน 1. หลักการดาเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร 2. องคป์ ระกอบในการดาเนนิ งานอุตสาหกรรมเกษตร 3. ความแตกต่างอตุ สาหกรรมเกษตรกับอตุ สาหกรรมอ่นื จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ แบ่งเป็น จดุ ประสงคท์ วั่ ไป เพื่อให้นกั เรียนร้แู ละเข้าใจ 1. หลักการดาเนนิ งานอุตสาหกรรมเกษตร 2. องค์ประกอบในการดาเนินการอุตสาหกรรมเกษตร 3. ความแตกต่างอตุ สาหกรรมเกษตรกบั อุตสาหกรรมอื่น จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม (สมรรถนะทค่ี าดหวัง) นักเรยี นสามารถ 1. บอกหลักการดาเนินงานอตุ สาหกรรมเกษตรได้อยา่ งถกู ต้องและเหมาะสม 2. บอกองค์ประกอบในการดาเนนิ การอุตสาหกรรมเกษตรได้อยา่ งถูกต้องและเหมาะสม 3. บอกความแตกต่างอตุ สาหกรรมเกษตรกับอตุ สาหกรรมอนื่ ไดอ้ ย่างถูกต้องและเหมาะสม 4. มีความความกระตือรอื ร้นและใฝรุ ูใ้ นการเรยี น 5. มีความซอื่ สัตย์ ความรับผดิ ชอบ มวี นิ ัยและขยันอดทน (ได้อยา่ งถูกต้อง คือ สมรรถนะ เหมาะสม คือ พอเพียง ข้อ 4,5 เป็นคุณธรรม จริยธรรม)

32 เน้ือหา 1. หลักการดาเนนิ งานอุตสาหกรรมเกษตร อตุ สาหกรรมเกษตรจดั เป็นธรุ กิจการเกษตรประเภทการผลิต และการแปรรปู (Production and Processing) ซ่งึ รวมถึงการจาหน่ายผลิตภณั ฑ์ดว้ ย อุตสาหกรรมเกษตรมีความหมายรวมถงึ การ ดาเนินธรุ กจิ การเกษตร เพ่ือใหเ้ กิดผลติ ผลทั้งจากการเกษตรกรรมและการจัดหา เพ่อื ใชเ้ ป็นวตั ถดุ บิ สาหรบั การแปรรปู โดยเครือ่ งจกั รกลด้วยระบบอตุ สาหกรรม ให้ไดผ้ ลติ ภณั ฑจ์ ากวตั ถุดิบและผลติ ภณั ฑ์ จากผลพลอยไดแ้ ละของเหลอื (By Products and Waste) โดยมกี ารสญู เสียนอ้ ยทีส่ ุดการดาเนนิ การ อตุ สาหกรรมเกษตรมหี ลักดาเนนิ ธุรกจิ 2 ประการคือ 1.1 เพ่ือให้ธุรกิจดาเนนิ กิจการอยู่ได้โดยไมเ่ กิดการชะงกั (Survival) จึงจะต้องดาเนินการผลิต และจดั จาหน่ายอย่างต่อเนอ่ื งโดยไมม่ ีการหยดุ ชะงักจากมลู เหตุใดๆ เพ่อื ให้ได้ผลิตภัณฑ์ท่เี พียงพอกบั ความต้องการของผบู้ ริโภค ผลิตภัณฑก์ ็คือรายได้ของการดาเนนิ ธรุ กิจอุตสาหกรรมเกษตร ซึ่งเมอื่ หัก ค่าใชจ้ ่ายในการผลิตและการดาเนินงานแล้วจะเปน็ กาไรย่งิ มกี าไรมากเท่าใด กย็ ง่ิ ทาให้ธรุ กจิ ก้าวหนา้ มากยง่ิ ขน้ึ ดังนนั้ จงึ จาเปน็ ต้องขายผลติ ภณั ฑท์ ่ผี ลติ ได้หมด และมกี าไรด้วย 1.2 เพื่อให้ธรุ กิจมกี ารเจรญิ เติบโตก้าวหน้าเพมิ่ ขนึ้ (Growth) ในการดาเนินการอุตสาหกรรม เกษตรเมื่อหักค่าใช้จ่ายในการผลิตและการดาเนินงานแล้วจะเป็นกาไรในการดาเนนิ ธรุ กิจยง่ิ ไดก้ าไรมาก ก็มคี วามเจริญก้าวหน้า ซงึ่ เป็นหลักการบริหารงานทั่วๆ ไป การขายผลิตภณั ฑ์ อุตสาหกรรมเกษตรให้ ได้กาไรมากๆ น้ัน จะต้องดาเนินการผลิต ผลติ ภณั ฑท์ ีม่ คี ุณภาพตามทตี่ ลาดต้องการและเปน็ ทีย่ อมรับ ของผู้บรโิ ภค ราคาพอสมควรทผี่ ้บู ริโภคจะซือ้ มาใช้ประโยชนไ์ ด้ หลักการดาเนินงานอตุ สาหกรรม เกษตร จาเป็นต้องมีการวางแผน เป็นกระบวนการเกี่ยวกบั การคิดและการตัดสินใจท่ลี ะเอยี ดอ่อน และ ตอ้ งกระทาใหเ้ สรจ็ ส้นิ กอ่ นจะมกี ารดาเนนิ กิจกรรม อันจะช่วยลดการสญู เสียจากการทางานซา้ ซ้อน มี การกาหนดขอบเขตในการทางานที่แนน่ อน และมีนโยบายท่ชี ัดเจน ชว่ ยใหผ้ ้บู รหิ ารสามารถเตรยี มรับ สถานการณ์ทีไ่ ม่แนน่ อน และความย่งุ ยากที่อาจเกิดข้นึ ในอนาคต ตลอดจนปูองกนั การขดั แยง้ ท่ีอาจ เกิดข้ึนในหน่วยงาน ทาให้การดาเนินงานประสบผลสาเร็จ อย่างมปี ระสิทธภิ าพ รวดเร็ว ประหยดั เวลา และทรัพยากร การปฏบิ ัตเิ ป็นไปด้วยความราบรืน่ และสามารถตรวจสอบความสาเร็จของเปาู หมายได้ 2. องค์ประกอบสาคัญในการดาเนินงานอตุ สาหกรรมเกษตร การดาเนนิ งานอุตสาหกรรมเกษตรจะต้องมีองค์ประกอบสาคญั อยู่ 6 ปจั จัย ปัจจยั ท่ีสาคัญ ของการดาเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร คือ เครือ่ งจักรอุปกรณท์ ใ่ี ชท้ าการผลติ หรอื แปรรูปผลิตภัณฑ์ ในระบบอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่อง ซึ่งธรุ กจิ อื่นๆ ไม่มี ปัจจยั สาคญั ตา่ งๆ สรุปได้ดงั น้ี

33 2.1 วตั ถดุ ิบ (Raw Material) คือ ส่งิ ทถ่ี กู นามาแปรรูปเพ่ือทาให้เกดิ ผลิตภัณฑ์ขน้ึ หากขาด วัตถุดบิ ก็ไม่สามารถจะผลติ ผลิตภัณฑไ์ ด้ ซ่ึงมีท้ังวัตถุดิบหลกั และวัตถดุ ิบประกอบในการแปรรูประบบ อุตสาหกรรมเกษตร จาเปน็ ตอ้ งใช้วัตถุดิบจานวนมากและตอ้ งมีคณุ ภาพตามข้อกาหนดมาตรฐานของ โรงงานอุตสาหกรรมเกษตร สิ่งทนี่ ิยมใช้เปน็ ข้อกาหนดมาตรฐานระดับชน้ั ของวตั ถดุ บิ ไดแ้ ก่ 2.1.1 ชนิดพันธุ์ของพืช พันธุ์ของสัตว์ มลี กั ษณะเฉพาะตัวซง่ึ สามารถใช้เปน็ เคร่ืองตรวจ สอบวดั คา่ ได้ และใช้เป็นข้อมลู แก่เกษตรกรและผู้ผลติ วตั ถุดบิ ทราบไดล้ ่วงหนา้ ถงึ ความต้องการวตั ถดุ บิ ของโรงงาน 2.1.2 ขนาด รูปร่าง (Size & Shape) เป็นปจั จัยทแ่ี สดงคุณภาพของวัตถดุ ิบเมื่อมีลกั ษณะ ผิดแปลกไปจากปกติ โดยใชเ้ ครือ่ งคดั ขนาด (Size Grader) ตรวจสอบและวดั คา่ ซ่งึ สว่ นใหญข่ นาด รูปร่างของวตั ถุดิบจะมคี วามสัมพนั ธ์กบั น้าหนัก 2.1.3 ความออ่ น ความแก่ (Maturity) เป็นปัจจัยทแี่ สดงคณุ ภาพของเน้ือสัมผัส(Texture) ของวัตถุดบิ ซง่ึ จะมีผลตอ่ กรรมวิธีการแปรรูป และยงั เป็นเครื่องแสดงถึงคุณภาพขององคป์ ระกอบของ วตั ถดุ ิบด้วยการกาหนดความออ่ น แก่ ในมาตรฐานระดบั ชัน้ ของวัตถดุ ิบ ช่วยให้เกษตรกรหรอื ผผู้ ลิต สามารถกาหนดเวลาในการเก็บเกี่ยวไดถ้ ูกต้องและปอู งกันไมใ่ ห้มวี ัตถุดิบลน้ เกนิ กาลังการผลติ 2.1.4 ตาหนิ (Defects) เพ่ือใหว้ ัตถดุ ิบมีคุณภาพสมา่ เสมอกนั และเพื่อแบง่ ระดบั ช้นั ด้วย การยอมให้มีตาหนิหรือยอมให้มสี ง่ิ ท่ีติดปนเข้ามาได้ ไมเ่ กินจานวนที่กาหนดไว้ ซง่ึ ไมส่ ามารถทาให้ คณุ ภาพของผลติ ภณั ฑ์เสอ่ื มเสยี ลงได้ 2.1.5 คุณสมบัติของคณุ ภาพท่ีตอ้ งการ (Specific Quality) เป็นปจั จยั ที่สาคญั ซ่งึ ผู้บรโิ ภค สว่ นใหญห่ รอื ตลาดตอ้ งการและใช้เปน็ ขอ้ กาหนดของมาตรฐานระดบั ชน้ั ของวตั ถุดิบท่ีขาดไม่ได้ เพราะ จะเกิดกบั วัตถุดบิ ทีเ่ หลืออยู่หลงั ผา่ นกรรมวิธีแปรรูปแลว้ เช่น สี กล่ิน เป็นตน้ 2.1.6 การสขุ าภิบาลของวัตถุดิบ (Sanitation of Raw Material) เป็นขอ้ กาหนดท่จี าเป็น จะตอ้ งมใี นมาตรฐานระดับชน้ั ของวัตถุดบิ ของอุตสาหกรรมเกษตร ทง้ั น้ีเพราะเป็นข้อกาหนดความ บริสุทธิ์และความปลอดภัยของวัตถุดบิ โดยการตัง้ ข้อกาหนดท่จี ากดั ชนดิ และจานวนหรือปรมิ าณที่จะมี ไดม้ ากทส่ี ุดในวัตถุดิบ เชน่ ชนดิ ของจลุ ินทรีย์ สารเคมี หรอื การดูแลวตั ถุดบิ ก่อนการเก็บเก่ียวผลผลิต การทาความสะอาดผลิตผลก่อนส่งจาหนา่ ยสโู่ รงงาน”(พวงแกว้ ,.2551)

34 วตั ถดุ บิ เครื่องจักรและอุปกรณ์ ภาพที่ 3.1 การดาเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร ภาพถ่ายโดย ศุภสิทธิ์ ดีรกั ษา 2.2 ตลาด (Market) หมายถึง ธรุ กิจหรือการกระทาทุกอย่างในการนาสินคา้ และบริการ จาก ผู้ผลิตไปยังผบู้ รโิ ภค เช่น ตลาดสด ตลาดนดั ตลาดกลาง ร้านซปุ เปอร์มาร์เก็ต เป็นตน้ โรงงานตอ้ งมี การหาตลาด เพื่อจาหนา่ ยผลิตภัณฑ์ให้ได้มากทส่ี ดุ และสามารถครองตลาดไว้ใหไ้ ดด้ ว้ ยการสรา้ งความ นิยมในผลิตภัณฑ์จนเปน็ ที่ยอมรบั ของผ้ซู ื้อหรือผบู้ รโิ ภค ลักษณะโครงสร้างของตลาด ประกอบดว้ ย อปุ สงค์ (Demand) อุปทาน (Supply) ตลอดจนข้อมลู ของผ้บู ริโภค (Consumers) เชน่ ความสามารถ ในการเลอื กใช้ เลอื กซื้อผลติ ภัณฑ์ของผู้บริโภคปัจจัยการดาเนนิ การด้านอุตสาหกรรมเกษตร ตลาดเป็น ปัจจยั สาคัญอยา่ งย่ิงในการกระจายผลติ ภณั ฑ์ไปสู่ผู้บริโภคอย่างสม่าเสมอและทันเวลา หากผลติ ภัณฑ์ ผลิตได้จานวนมากแต่ไมส่ ามารถจาหนา่ ยออกไปไดจ้ ะทาให้ผลติ ภัณฑต์ กค้าง คุณภาพผลิตภณั ฑ์จะ เปลย่ี นหรือล้าสมยั และเสียค่าใชจ้ ่ายในการเก็บรักษา กจิ การนนั้ ตอ้ งชะงักและเลิกล้มในทสี่ ุดโดยตลาด มหี น้าทด่ี ังนี้ 2.2.1..แลกเปลยี่ นสนิ คา้ มีการซ้ือและการขาย 2.2.2..เป็นการกระทาเก่ยี วกับตวั สนิ คา้ ในการเกบ็ รักษา..การขนสง่ และการแปรรูป เช่น..การสีขา้ ว..การบรรจุกระป๋อง..มนั สาปะหลงั ..เป็นตน้ 2.2.3.ทาให้การซ้ือขายทเี่ ก่ยี วกบั ตัวสินคา้ เพ่ือใหก้ ารดาเนนิ การเป็นไปโดยสะดวก ย่ิงขนึ้ จัดซือ้ สินคา้ ตามคุณภาพตามมาตรฐานสินคา้ การเงนิ หรอื แหล่งเงนิ ทนุ ขา่ วสารการตลาดและ การหาตลาด เชน่ ตลาดสนิ ค้าของกระทรวงพาณิชย์ ตลาดสินค้า OTOP ระดบั ประเทศ สนิ ค้าตลาด สวนจตจุ กั ร ตลาดกลางสินคา้ เกษตร เปน็ ต้น

35 การดาเนินงานการตลาดน้ันจะตอ้ งติดตามส่วนผสมทางการตลาด เช่น สนิ ค้า ราคา สถานที่จาหน่าย ช่องทางการจาหน่ายใหเ้ หมาะสมกับการนาสินค้าจากผผู้ ลติ ไปยงั ผบู้ ริโภคทาให้เกิด ประสทิ ธภิ าพสงู สุด 2.3 เงนิ ทนุ (Money) โรงงานอุตสาหกรรมจาเป็นต้องใชเ้ งินทุนในการดาเนินการ ไมว่ า่ จะ เป็นอุตสาหกรรมขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่..เงนิ ทนุ แบง่ ออกได้เปน็ ..2..สว่ น..คอื 2.3.1 งบลงทุน ใชจ้ า่ ยในการจดั หาอาคารสถานที่ อปุ กรณเ์ ครอ่ื งจกั รกล เครื่องมือ เคร่ืองใช้..การขนสง่ ..การเก็บรักษา..และค่าบรหิ ารงาน 2.3.2 งบดาเนนิ งาน เปน็ เงินทีต่ อ้ งนาไปใช้เป็นทนุ หมนุ เวียนในการดาเนนิ การงาน อุตสาหกรรมเกษตร เชน่ คา่ ซื้อวตั ถุดบิ คา่ จา้ งแรงงาน ค่าเช้ือเพลงิ ค่าโฆษณาแหล่งเงินทนุ ในการ ดาเนนิ การอุตสาหกรรมเกษตรสว่ นใหญ่ไดจ้ ากการกเู้ งินจากสถาบันการเงนิ หรอื การรวบรวมทุนท้ังใน และนอกประเทศ 2.4 กาลังคน (Man Power) กาลงั คนจดั เปน็ ปจั จัยสาคัญอีกอยา่ งหนงึ่ คนเปน็ ทั้งผู้กระทา เป็นคนงาน ลูกจ้าง หรอื ดารงตาแหน่งผู้บรหิ ารจาเปน็ ต้องเป็นผู้มีความร้มู ีความสามารถ และประสบ การณใ์ นทางวชิ าการ วิชาชพี เทคโนโลยีตา่ งๆ ทน่ี ามาประยุกตใ์ ชเ้ พือ่ ให้ไดผ้ ลติ ภัณฑ์ท่ีมคี ณุ ภาพ ใน การดาเนนิ การอตุ สาหกรรมเกษตร จงึ ควรมที รัพยากรมนุษย์ทีม่ คี ุณภาพและปรมิ าณเพียงพอ สถาน ประกอบการควรใหก้ ารศึกษา ฝกึ อบรม ดูงาน เพอ่ื พัฒนาคุณภาพอย่างสม่าเสมอ ซึ่งอาจจดั โดย สถานศกึ ษาของรัฐบาลหรือโรงงานอตุ สาหกรรมเกษตร กาลงั คนเป็นตัวแปรทสี่ าคญั ในระบบการผลิตอุตสาหกรรมเกษตร เพราะแรงงานมีหลายระดับ หากเปน็ กาลังคนท่ีใช้ทักษะด้านเดยี วไม่ค่อยมปี ัญหา แต่ถา้ ใช้ทกั ษะพิเศษเชน่ ควบคุมเครอ่ื งอัตโนมัติ และผ่านการอบรมใช้เครื่องจากบริษัทผูผ้ ลติ มาแล้ว และวันหน่ึงพนักงานลาออกจะเกดิ อะไรขน้ึ ต่อการ ผลิตและเพื่อใหส้ อดคลอ้ งกับการวางแผนการผลิตโรงงานอุตสาหกรรมเกษตร 2.5 การจัดการ (Management) การจดั การหรือการบริหารงานอุตสาหกรรมเกษตร เรม่ิ ตั้งแต่การวางแผน การผลิตวัตถุดบิ ให้ได้ปรมิ าณและมคี ุณภาพตามต้องการ เช่น กาหนดวันปลกู วัน เก็บเกี่ยว การเก็บรักษาวัตถุดิบกอ่ นนามาแปรรปู การควบคุมการผลติ รวมถึงการดาเนินการเกยี่ วกบั สวสั ดิการแรงงาน สรา้ งแรงจูงใจในการทางานจัดวางคนลงในตาแหนง่ หนา้ ท่ีท่ีเหมาะสมกบั ความรู้ ความสามารถ ซงึ่ เปน็ ปัจจยั ทตี่ อ้ งสัมพนั ธ์กบั ปัจจัยอน่ื ๆ อนั จะชว่ ยให้การผลติ มีประสทิ ธภิ าพสูงและ ดารงอยู่ได้และเจริญก้าวหน้า 2.6 เครอ่ื งจกั รและอปุ กรณ์ (Machinery) คอื เครือ่ งจักรและอุปกรณห์ ลกั ในการผลติ ทจ่ี ะ ตอ้ งตดิ ตั้ง เคลื่อนยา้ ยยาก เช่น เครอ่ื งจกั รหีบอ้อย เคร่ืองจกั รสีขา้ ว เครื่องสเตอร์รไิ รส์ เคร่อื งผลิตน้า ผกั ผลไม้ ถงั บรรจนุ มพาสเจอร์ไรส์ เปน็ ต้น การปฏิวัตอิ ุตสาหกรรมในระหวา่ งปี ค.ศ. 1650 – 1750 ได้นาเอาเคร่ืองจักรและอุปกรณ์มาใช้แทนแรงงานของคน เพื่อเพ่ิมผลิตผลทางการเกษตรและการ ผลติ ระบบอตุ สาหกรรม การผลิตระดบั อตุ สาหกรรมต้องการท่ีจะผลติ เพ่ือใหไ้ ด้ผลติ ภัณฑจ์ านวนมาก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook