ค�ำถวายผ้าอาบน�้ำฝน อมิ าน,ิ มะยัง ภนั เต, วัสสิกะสาฏิกานิ, สะปะริวาราน,ิ ภิกขสุ งั ฆสั สะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภนั เต, ภิกขุสังโฆ, อมิ านิ, วัสสิกะสาฏกิ านิ, สะปะรวิ ารานิ, ปะฏคิ คณั หฺ าต,ุ อมั หฺ ากญั เจวะ, ทฆี ะรตั ตงั , หติ ายะ, สขุ ายะ ข้าแตพ่ ระสงฆ์ผ้เู จริญ ขา้ พเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมถวาย ผ้าอาบน้�ำฝน กบั ท้ังบริวารทง้ั หลายเหล่าน้ี แด่พระภกิ ษสุ งฆ์ ขอพระภิกษสุ งฆ์โปรดรบั ผา้ อาบนำ้� ฝน กับท้ังบริวารทงั้ หลายเหลา่ นี้ ของขา้ พเจ้าทัง้ หลาย เพื่อประโยชนแ์ ละความสขุ แก่ขา้ พเจา้ ท้ังหลาย ส้นิ กาลนานเทอญ ๑๘๗
ค�ำถวายผ้าป่า อมิ าน,ิ มะยัง ภนั เต, ปังสุกูละจีวะราน,ิ สะปะรวิ าราน,ิ ภกิ ขุสังฆัสสะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, ภกิ ขุสังโฆ, อิมาน,ิ ปงั สุกลู ะจีวะราน,ิ สะปะริวารานิ, ปะฏคิ คณั หาตุ, อมั หากงั ทีฆะรตั ตัง, หติ ายะ, สุขายะ ข้าแต่พระสงฆ์ผเู้ จรญิ ขา้ พเจา้ ทัง้ หลาย ขอน้อมถวายผา้ บังสุกลุ จวี ร กับทั้งบรวิ ารเหล่าน้ี แด่พระภิกษสุ งฆ์ ขอพระภิกษสุ งฆ์โปรดรับผา้ บงั สุกุลจีวร กบั ทัง้ บริวารเหลา่ น้ี ของขา้ พเจา้ ทั้งหลาย เพื่อประโยชน์ และความสุข แกข่ า้ พเจ้าทั้งหลาย สน้ิ กาลนานเทอญ ๑๘๘
ค�ำถวายผา้ กฐนิ อิมงั ภันเต, สะปะรวิ ารัง, กะฐินะจีวะระทุสสัง, สังฆสั สะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภนั เต, สงั โฆ, อมิ ัง, สะปะรวิ ารัง, กะฐนิ ะจวี ะระทสุ สงั , ปะฏคิ คณั หาตุ, ปะฏคิ คะเหตวฺ า จะ, อิมนิ า ทสุ เสนะ กะฐินงั , อัตถะระต,ุ อัมหากงั , ทีฆะรตั ตัง, หติ ายะ สุขายะ ขา้ แต่พระสงฆผ์ ้เู จริญ ข้าพเจา้ ทั้งหลาย ขอนอ้ มถวายผา้ กฐนิ จีวร กับทงั้ บริวารทั้งหลายเหลา่ น้ี แด่พระสงฆ์ ขอพระสงฆโ์ ปรดรบั ผ้ากฐนิ จีวร กบั ทงั้ บรวิ ารท้งั หลายเหล่านี้ ของข้าพเจา้ ทัง้ หลาย รับแล้ว ไดโ้ ปรดกรานกฐินดว้ ยผ้านี้ เพ่ือประโยชน์ และความสขุ แก่ข้าพเจ้าทง้ั หลาย สน้ิ กาลนานเทอญ ๑๘๙
พิธีการทำ� บญุ บ้าน ประธานในพิธีจดุ เทียนธปู และถวายขนั นำ้� มนต์ (ถา้ มี) แลว้ กราบพระพรอ้ มกนั ๓ ครั้ง ผนู้ ำ� กลา่ วน�ำ คำ� บชู าพระรัตนตรยั อมิ นิ า สกั กาเรนะ, ตัง พทุ ธัง อะภิปูชะยามะ. อิมินา สกั กาเรนะ, ตัง ธมั มงั อะภิปูชะยามะ. อิมนิ า สักกาเรนะ, ตัง สังฆงั อะภปิ ชู ะยามะ. อะระหัง สมั มาสมั พทุ โธ ภะคะวา, พทุ ธัง ภะคะวนั ตัง อะภิวาเทม ิ (กราบ) สวฺ ากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธมั มงั นะมสั สาม ิ (กราบ) สปุ ะฏปิ ันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, สงั ฆงั นะมามิ (กราบ) ๑๙๐
คำ� ขอไตรสรณคมนแ์ ละศีลหา้ มะยงั ภันเต, ติสะระเณนะ สะหะ, ปญั จะ สลี านิ ยาจามะ ข้าแตท่ า่ นผเู้ จรญิ ข้าพเจ้าท้งั หลาย ขอไตรสรณคมน์และศลี หา้ ทุตยิ มั ปิ มะยัง ภันเต, ติสะระเณนะ สะหะ, ปัญจะ สลี านิ ยาจามะ แมค้ รั้งทส่ี อง ข้าแตท่ ่านผเู้ จริญ ข้าพเจ้าท้งั หลาย ขอไตรสรณคมนแ์ ละศลี หา้ ตะตยิ มั ปิ มะยัง ภันเต, ตสิ ะระเณนะ สะหะ, ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ แมค้ รัง้ ที่สาม ข้าแต่ท่านผู้เจรญิ ขา้ พเจา้ ทั้งหลาย ขอไตรสรณคมน์และศลี หา้ พทุ ธงั สะระณัง คจั ฉามิ ข้าพเจา้ ขอถือเอาพระพุทธเจา้ เปน็ สรณะ ธมั มงั สะระณัง คัจฉามิ ข้าพเจ้าขอถือเอาพระธรรมเปน็ สรณะ สังฆงั สะระณัง คัจฉามิ ข้าพเจ้าขอถอื เอาพระสงฆ์เปน็ สรณะ ๑๙๑
ทตุ ยิ ัมปิ พทุ ธัง สะระณงั คัจฉามิ แม้ครง้ั ท่สี องขา้ พเจา้ ขอถอื เอาพระพทุ ธเจ้าเปน็ สรณะ ทตุ ิยมั ปิ ธัมมัง สะระณงั คจั ฉามิ แมค้ รงั้ ที่สองขา้ พเจา้ ขอถือเอาพระธรรมเปน็ สรณะ ทตุ ยิ ัมปิ สงั ฆงั สะระณงั คัจฉามิ แมค้ รง้ั ที่สองข้าพเจา้ ขอถือเอาพระสงฆ์เปน็ สรณะ ตะตยิ มั ปิ พทุ ธัง สะระณงั คัจฉามิ แมค้ รง้ั ที่สามขา้ พเจา้ ขอถอื เอาพระพทุ ธเจ้าเป็นสรณะ ตะตยิ ัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ แมค้ ร้ังทสี่ ามข้าพเจ้าขอถอื เอาพระธรรมเป็นสรณะ ตะตยิ ัมปิ สงั ฆงั สะระณงั คัจฉามิ แม้ครั้งที่สามขา้ พเจ้าขอถอื เอาพระสงฆเ์ ปน็ สรณะ ปาณาตปิ าตา เวระมะณี สกิ ขาปะทัง สะมาทยิ ามิ ขา้ พเจา้ จะละเวน้ จากการฆ่าและเบยี ดเบียนสัตว์ ทุกชนิดรวมทงั้ ไม่ใชใ้ หผ้ ้อู ืน่ ฆ่า อะทนิ นาทานา เวระมะณี สิกขาปะทงั สะมาทิยามิ ข้าพเจ้าจะละเวน้ จากการลกั ฉ้อโกงของผู้อ่นื และไม่ใชใ้ ห้ผอู้ นื่ ลัก ฉอ้ โกง ๑๙๒
กาเมสุ มจิ ฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทงั สะมาทิยามิ ขา้ พเจา้ จะละเวน้ จากการประพฤติผดิ ในกามทั้งหลาย (ไม่เกี่ยวขอ้ ง แย่งชิงของรกั ของคนอืน่ ) มสุ าวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ ขา้ พเจ้าจะละเวน้ จากการพูดไม่จริง (พูดปด พดู ส่อเสยี ด พูดหยาบ พูดเพอ้ เจอ้ ) สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สกิ ขาปะทัง สะมาทิยามิ ขา้ พเจ้าจะละเว้นจากการดืม่ สรุ าและเมรยั อันเปน็ เหตแุ หง่ ความประมาท (รวมทง้ั ยาเสพติดทกุ ชนดิ ) พระสงฆจ์ ะสรุปอานสิ งสข์ องศีล ๕ ตอนท้ายวา่ :- สีเลนะ สคุ ะติง ยนั ติ ศลี เป็นท่ีมาของความสงบสุข สีเลนะ โภคะสมั ปะทา ศลี เป็นทม่ี าของความสมบูรณแ์ ห่งทรัพยส์ ิน สีเลนะ นิพพตุ งิ ยนั ติ ศีลเป็นที่มาของการพ้นทุกขท์ ั้งปวง ตสั ฺมา สีลงั วโิ สธะเย ดังนั้น ทา่ นพงึ รักษาศลี ของท่านใหบ้ รสิ ุทธ์ิ เถิด ๑๙๓
เมื่อพระกล่าวสรุปอานิสงส์ของศีลว่า çอิมานิ ปัญจะ สิกขาปะทาน,ิ สเี ลนะ สุคะติง ยันติ, สเี ลนะ โภคะสัมปะทา, สีเลนะ นิพพุติง ยันติ, ตัสฺมา สีลัง วิโสธะเยé พึงรับ พรอ้ มกันว่า สç าธุé ผู้น�ำกล่าวค�ำอาราธนาพระปริตร (ค�ำอาราธนาพระสงฆ ์ เจรญิ พระพุทธมนต)์ ดังน้ี คำ� อาราธนาพระปริตร วปิ ัตติปะฏพิ าหายะ, สพั พะสมั ปตั ติสิทธิยา, สัพพะทกุ ขะวนิ าสายะ, ปะริตตงั พฺรถู ะ มังคะลงั , วปิ ตั ตปิ ะฏพิ าหายะ, สัพพะสมั ปตั ติสทิ ธิยา, สพั พะภะยะวนิ าสายะ, ปะรติ ตัง พฺรถู ะ มงั คะลัง, วิปตั ตปิ ะฏิพาหายะ, สัพพะสมั ปัตตสิ ิทธิยา, สัพพะโรคะวินาสายะ, ปะรติ ตงั พรฺ ถู ะ มังคะลงั . พระภิกษุรูปท่ีสามขัดชุมนุมเทวดา พระสงฆ์เจริญ พระพุทธมนต์จนจบ แล้วจึงเปิดฝาบาตร เชิญผู้มาร่วมงาน ใส่บาตร ไม่ควรใส่บาตรขณะพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ (เพ่ือเป็นการเคารพในพระธรรม) เมื่อใส่บาตรเสร็จแล้ว ปิดฝาบาตร น�ำบาตรมาวางไว้ ตรงหน้าพระภิกษุทุกรูป โดยยงั ไม่ต้องประเคน ๑๙๔
จากน้ันโยมจึงประเคนบาตรพระเณรทุกรูป พร้อม ภาชนะเปล่า เพ่ือรับอาหารบางส่วนออกจากบาตร ประเคน ภัตตาหารเฉพาะพระสงฆ์ผู้เป็นประธาน โดยท่านจะส่งต่อ ให้แก่พระภิกษุรูปต่อไป จนถึงรูปสุดท้าย (ให้โยมคนหนึ่ง ไปรอรับจากรูปสุดท้าย) ประเคนอาหารและเคร่ืองไทยทาน ในคราวเดียวทั้งหมด จากนั้นผู้ร่วมงานมารวมกัน เพื่อรอรับค�ำอนุโมทนา หรือการแสดงธรรมตามแต่ประธานสงฆ์เห็นควร พระสงฆ์ ใหพ้ ร และประพรมนำ�้ พระพทุ ธมนต ์ (ถา้ ม)ี จากนน้ั พระสงฆ์ จะฉนั ภตั ตาหาร สว่ นผรู้ ว่ มพธิ รี บั ประทานอาหารจดั เลยี้ งกนั ตามประเพณี เปน็ อันเสร็จพธิ ี ค�ำกรวดน�้ำแบบส้นั อทิ ัง เม ญาตนิ งั โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย ขอบญุ นจี้ งส�ำเรจ็ แกญ่ าตทิ ้ังหลายของข้าพเจ้าเถิด ขอญาตทิ ้ังหลายจงเปน็ สขุ จงเปน็ สุขเถดิ ๑๙๕
ค�ำ ถ วายสงั ฆทาน อมิ าน,ิ มะย งั ภนั เต, ภตั ตาน,ิ สะปะรวิ าราน ,ิ ภกิ ขสุ งั ฆสั สะ, โอโณช ะยาม ะ, สาธุ โน ภนั เต, ภกิ ขุ สงั โฆ, อมิ าน ,ิ ภตั ตาน,ิ สะป ะร วิ าราน,ิ ปะฏคิ คณั หฺ าต,ุ อมั หฺ าก ญั เจว ะ, มาตาป ติ อุ าทนี ญั จะ, ญาตะก านงั , ทฆี ะร ตั ต งั , หติ ายะ, สขุ าย ะ ขา้ แตพ่ ระส งฆผ์ เู้ จรญิ ขา้ พเจา้ ทง้ั ห ลาย ขอน อ้ มถวาย ซง่ึ ภ ตั ตาหาร กบั ท ง้ั ของอนั เปน็ บรวิ าร ทง้ั หลายเหลา่ น้ี แดพ่ ระภ กิ ษสุ งฆ์ ขอพ ระภ กิ ษสุ งฆ์ โปรดร บั ซง่ึ ภตั ตาหารกบั ทง้ั ของอนั เปน็ บรวิ ารทง้ั ห ลายเหลา่ น้ี ของข า้ พเจา้ ท ง้ั หลาย เพอ่ื ประโยชน์ และความส ขุ แกข่ า้ พเจา้ ท ง้ั หลาย แกญ่ าตทิ ง้ั ห ลาย ทง้ั ทย่ี งั มชี วี ติ อยู่ และทล่ี ว่ งลบั ไปแลว้ อนั มบี ดิ ามารดาเปน็ ตน้ ตลอดทง้ั เจา้ กรรมน ายเวร และสรรพส ตั วท์ ง้ั ห ลาย สน้ิ กาลนานเทอญ ๑1๙96๖
ในกรณที เ่ี ปน็ การทำ� บญุ อทุ ศิ กศุ ล ใหผ้ ทู้ ล่ี ว่ งลบั ไปแลว้ ให้ใชค้ �ำถวายสังฆทานอทุ ศิ ให้ผตู้ าย ดังน้แี ทน ค�ำถวายสังฆทานอทุ ศิ ใหผ้ ูต้ าย อมิ าน,ิ มะยัง ภันเต, มะตะกะภตั ตาน,ิ สะปะริวารานิ, ภกิ ขุสงั ฆสั สะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภนั เต, ภกิ ขสุ ังโฆ, อิมานิ, มะตะกะภตั ตาน,ิ สะปะริวาราน,ิ ปะฏคิ คัณฺหาตุ, อัมฺหากัญเจวะ, มาตาปิตอุ าทีนญั จะ, ญาตะกานัง, ทฆี ะรตั ตงั , หิตายะ, สุขายะ ขา้ แต่พระสงฆ์ผ้เู จริญ ข้าพเจา้ ทัง้ หลาย ขอน้อมถวาย ซึง่ มะตะกะภตั ตาหาร กับทั้งบริวารท้ังหลายเหล่าน้ี แดพ่ ระภิกษุสงฆ์ ขอพระภิกษุสงฆโ์ ปรดรบั ซงึ่ มะตะกะภัตตาหาร กบั ท้งั บริวารทัง้ หลายเหล่านี้ ของข้าพเจา้ ทงั้ หลาย เพ่ือประโยชนแ์ ละความสขุ แกข่ ้าพเจา้ ทง้ั หลาย และญาติทั้งหลายของข้าพเจา้ มีมารดาบดิ าเป็นต้น และขออุทศิ ให้ (ชื่อของผูต้ าย) ตลอดท้งั เจ้ากรรมนายเวร และสรรพสตั ว์ทงั้ หลาย สิน้ กาลนานเทอญ เสร็จแล้วถวายบาตร และอาหารบางส่วนแก่ประธาน สงฆ์ พระภิกษรุ ปู หน่งึ จะกลา่ วคำ� อปโลกน์ภัตตาหาร ดังน้ี ๑๙๗
ค�ำ อ ปโลกนภ์ ตั ตาหาร ยคั เฆ ภนั เต สงั โฆ ชาน าต ,ุ อะยงั ปะฐะมะภาโค เถรสั ส ะ ปาปณุ าต ,ิ อะวะเสส า ภาค า อมั หฺ าก ญั เจวะ ปาป ณุ นั ต ,ิ ภกิ ข นู ญั จะ สามะเณรานงั ๑ คะห ฏั ฐานงั , เต ยะถ าส ขุ งั ปะรภิ ญุ ชนั ต ุ ขา้ แตพ่ ระสงฆผ์ เู้ จรญิ ขอสงฆจ์ งทราบ บดั นท้ี ายกท ายกิ า ทง้ั หลาย (ซง่ึ มนี าย... นาง... เปน็ ประธานพรอ้ มดว้ ยลกู หลาน และญ าตมิ ติ ร) ไดน้ อ้ มน�ำ มาถวาย ซง่ึ ภ ตั ตาหาร พรอ้ มท ง้ั ข องอนั เปน็ บรวิ าร ทง้ั หลายเหลา่ น้ี แดพ่ ระภ กิ ษสุ งฆ ์ จะไดจ้ �ำ เพาะเจาะจงแกภ่ กิ ษรุ ปู ใดร ปู หนง่ึ น น้ั หามไิ ด้ กระผมข อสมมตุ ติ นเองเปน็ พ ระภตั ต เุ ทสก์ แจกแ บง่ ภ ตั ตาหารเพอ่ื สงฆ์ ขอแ จกดงั น้ี สว่ นท ห่ี นง่ึ ย อ่ มถงึ แกพ่ ระเถระ สว่ นท ส่ี องยอ่ มถ งึ แกพ่ ระอนเุ ถระ เปน็ ล�ำ ดบั ล งไป จนกระทง่ั ถงึ พ ระสงั ฆน วกะรปู สดุ ทา้ ย เหลอื นอกนน้ั ยอ่ มถงึ แกส่ ามเณรและคฤหสั ถท์ ง้ั หลาย ขอท า่ นเหลา่ น น้ั พ งึ บรโิ ภคไดต้ ามสบาย ถา้ ภกิ ษรุ ปู ใด เหน็ ไมส่ มควรข อจงท กั ทว้ งขน้ึ ณ ทป่ี ระชมุ สงฆน์ ,้ี (หยดุ ฟ งั เสยี งส กั ร ะยะห นง่ึ ) ถา้ เหน็ ส มควรแ ลว้ ขอจ งเปลง่ สาธกุ ารขน้ึ ใหพ้ รอ้ มก นั เทอญ (พระส งฆ์ สาธพุ รอ้ มก นั ) ๑ ใชส้ �ำ หรบั ส ามเณรตง้ั แต่ ๒ รปู ขน้ึ ไป ถา้ รปู เดยี วใช้ สาม ะเณรสั ส ะ ๑1๙98๘
จากน้ันโยมจึงประเคนบาตรพระเณรทุกรูป พร้อม ภาชนะเปล่า เพ่ือรับอาหารบางส่วนออกจากบาตร ประเคน ภัตตาหารเฉพาะพระสงฆ์ผู้เป็นประธาน โดยท่านจะส่งต่อ ให้แก่พระภิกษุรูปต่อไป จนถึงรูปสุดท้าย (ให้โยมคนหนึ่ง ไปรอรับจากรูปสุดท้าย) ประเคนอาหารและเคร่ืองไทยทาน ในคราวเดยี วท้งั หมด จากน้ันผู้ร่วมงานมารวมกัน เพ่ือรอรับค�ำอนุโมทนา หรือการแสดงธรรมตามแต่ประธานสงฆ์เห็นควร พระสงฆ์ ให้พร และประพรมน้�ำพระพุทธมนต์ (ถ้ามี) จากนั้นพระสงฆ์ จะฉนั ภัตตาหาร ส่วนผูร้ ่วมพิธีรบั ประทานอาหารจดั เลี้ยงกนั ตามประเพณ ี เป็นอนั เสรจ็ พธิ ี ๑๙๙
สิ่งทีค่ วรทราบในพิธีทำ� บุญ - การนิมนต์พระสงฆ์ไปท�ำบุญ ควรติดต่อเจ้าอาวาส ล่วงหน้าอย่างน้อย ๓ วัน โดยระบุวันที่ เวลามารับ สถานท่ี จ�ำนวนพระ (โดยค�ำนึงถึงความเหมาะสมของสถานท่ีพิธี) ทางวัดงดเว้นการรับนิมนต์ในวันพระ และวันที่ทางวัดมี ศาสนพธิ ีพเิ ศษ - การนมิ นต์หา้ มระบุชอ่ื อาหารท่ีจะถวาย - ผู้ร่วมพิธีควรแต่งกายให้สุภาพ สะดวกในการนั่งและ การกราบ - ควรงดมหรสพ การพนันต่างๆ ตลอดจนกระท่ังสุรา ยาเสพตดิ ทกุ ชนดิ - ในขณะท�ำพิธี คือ ระหว่างพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต ์ แสดงธรรม หรืออนุโมทนาให้พร ไม่ควรสวมหมวก คลุม ศีรษะ สวมรองเท้า และให้อยู่ในอาการสงบ ส�ำรวมเพื่อให้ ไดร้ ับประโยชน์จากการฟงั และเปน็ การเคารพในพระธรรม - ไม่ควรถวายหมากพลู บุหร่ี และอาหารท่ีขัดต่อ พระธรรมวินัย เช่น อาหารประเภทเนื้อท่ีปรุงไม่สุก (ควร ท�ำให้สุกด้วยไฟก่อนถวาย) เนื้อสัตว์ ๑๐ ชนิด ท่ีทรงห้าม (คือ เน้ือมนุษย์ ช้าง ม้า สุนัข ราชสีห์ หมี เสือโคร่ง เสือดาว เสอื เหลอื ง งหู รอื ปลาไหล) ๒๐๐
- การถวายหรือประเคนสิ่งของ ผู้ถวายควรอยู่ห่างจาก พระไม่เกินหน่ึงศอกกับอีกหน่ึงคืบ ยกของถวายให้พ้นพ้ืน ถวายทีละอย่างโดยอาการนอบน้อม ไม่ควรถวายส่ิงท่ีเป็น อาหารภายหลังจากพระฉันเสร็จแล้วในวันน้ัน ถ้ามีสิ่งท่ี เป็นอาหารจะถวายอกี ควรมอบไว้แกโ่ ยมผอู้ ปุ ฏั ฐากพระ - พชื ผกั ผลไมท้ ส่ี ามารถปลกู หรอื งอกได้ เมอ่ื จะถวายพระ พึงท�ำตามวินัยกรรม ให้เป็นของควรแก่พระภิกษุฉัน โดย เมื่อน�ำเข้ามาประเคน พระท่านจะกล่าวว่า çกัปปิยัง กะโรหิé ให้ผู้ประเคนใช้ของมีคม ไฟ หรือเล็บ ตัด แทง จิ้มของ สิง่ นน้ั ภายในภาชนะน้ันพรอ้ มกับกลา่ ววา่ çกัปปิยัง ภนั เตé - ไม่ควรถวายธนบัตร เงิน ทองแก่พระภิกษุ สามเณร หากต้องการถวายใหถ้ วายเป็นใบปวารณาโดยมอบธนบตั ร เงินทองน้ันแก่โยมอุปัฏฐากพระหรือ ผู้ที่จะไปส่งพระ เพื่อ ใหน้ �ำเข้ากองกลางบ�ำรุงปจั จัย ๔ แกพ่ ระภกิ ษสุ ามเณร - ภายหลังจากเท่ียงไปแล้ว หากจะถวายเครื่องดื่มแก่ พระควรเป็นน้�ำผลไม้ทีไ่ มม่ เี น้อื ผลไม้ผสมและขนาดไม่ใหญ ่ กว่าผลมะตูม ควรเป็นเครื่องด่ืมชนิดท่ีไม่มีส่วนผสมของ นม ไม่ควรเป็นเครื่องดื่มเจือด้วยน้�ำเมา และไม่ควรเป็น เคร่ืองดื่มพวกธัญพืช พวกข้าวโอ๊ต ข้าวโพด น้�ำถ่ัว (นม ถั่วเหลือง) ตลอดท้ังไม่ควรเป็นสิ่งอ่ืนที่สามารถส�ำเร็จกิจ อาหารได ้ เช่น น้ำ� ผัก เป็นต้น ๒๐๑
๒2๐02๒
ชมุ นมุ เทวดา (ถา้ สวดในงานท่ัวไปใช)้ ผะริตฺวานะ เมตตัง สะเมตตา ภะทันตา, อะวิกขิตตะ จติ ตา ปะรติ ตงั ภะณนั ต,ุ สัคเค กาเม จะ รูเป คิรสิ ิขะระตะเฏ จนั ตะลกิ เข วิมาเน, ทเี ป รฏั เฐ จะ คาเม ตะรุวะนะคะหะเน เคหะวัตถมุ หิ เขตเต, ภมุ มา จายนั ตุ เทวา ชะละถะละวิสะเม ยักขะคันธัพพะนาคา, ตฏิ ฐันตา สันติเก ยงั มนุ ิวะระวะจะนงั สาธะโว เม สณุ ันตุ ฯ ธมั มัสสะวะนะกาโล อะยมั ภะทันตา ธัมมสั สะวะนะกาโล อะยมั ภะทันตา ธมั มัสสะวะนะกาโล อะยมั ภะทันตา ฯ (ถ้าสวดในงานราชพิธีใช้) สะรชั ชงั สะเสนงั สะพันธงุ นะรินทงั ปะรติ ตานภุ าโว สะทา รกั ขะตูติ ตามด้วย ผะริตฺวานะ เมตตัง สะเมตตา ภะทันตา ไปจนจบ ธมั มสั สะวะนะกาโล อะยมั ภะทนั ตา ฯ เหมือนงานทว่ั ไป (ถา้ สวดในงานรฐั พิธใี ช)้ สะมันตา จักกะวาเฬสุ อัตฺราคัจฉันตุ เทวะตา สัทธัมมัง มุนิราชัสสะ สุณันตุ สัคคะโมกขะทัง ตามด้วย สัคเค กาเม จะ รูเป ไปจนจบ อะยมั ภะทนั ตา ฯ เหมือนงานทวั่ ไป ๒20๐3๓
ค�ำแปลปุพพภาคนมการ ขอนอบนอ้ มแดพ่ ระผู้มีพระภาคเจา้ อรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธ- เจา้ พระองค์นนั้ ขอนอบน้อมแด่พระผู้มพี ระภาคเจ้า อรหนั ตสัมมาสัมพุทธ- เจา้ พระองค์นนั้ ขอนอบนอ้ มแดพ่ ระผูม้ ีพระภาคเจ้า อรหนั ตสัมมาสัมพทุ ธ- เจา้ พระองคน์ นั้ ค�ำแปลไตรสรณคมน์ ขา้ พเจ้าขอถอื เอาพระพุทธเจา้ เป็นสรณะ ข้าพเจา้ ขอถอื เอาพระธรรมเปน็ สรณะ ข้าพเจา้ ขอถือเอาพระสงฆ์เปน็ สรณะ แมค้ รั้งที่สองข้าพเจ้าขอถอื เอาพระพทุ ธเจ้าเป็นสรณะ แม้ครงั้ ท่สี องข้าพเจ้าขอถอื เอาพระธรรมเปน็ สรณะ แมค้ รั้งที่สองข้าพเจา้ ขอถอื เอาพระสงฆเ์ ป็นสรณะ แม้ครงั้ ทสี่ ามขา้ พเจา้ ขอถอื เอาพระพทุ ธเจ้าเปน็ สรณะ แมค้ ร้ังทีส่ ามข้าพเจา้ ขอถอื เอาพระธรรมเป็นสรณะ แม้ครง้ั ทส่ี ามข้าพเจา้ ขอถือเอาพระสงฆ์เปน็ สรณะ ๒๐๔
ปพุ พภาคนมการ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสมั พทุ ธสั สะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพทุ ธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธสั สะ ฯ ไตรสรณคมน์ พุทธงั สะระณงั คจั ฉามิ, ธมั มัง สะระณงั คัจฉาม,ิ สังฆัง สะระณงั คัจฉามิ ฯ ทุตยิ มั ปิ พทุ ธงั สะระณงั คจั ฉาม,ิ ทตุ ยิ มั ปิ ธมั มงั สะระณงั คัจฉามิ, ทตุ ยิ มั ปิ สังฆัง สะระณงั คัจฉามิ ฯ ตะตยิ มั ปิ พทุ ธงั สะระณงั คจั ฉาม,ิ ตะตยิ มั ปิ ธมั มงั สะระณงั คัจฉาม,ิ ตะตยิ ัมปิ สงั ฆงั สะระณงั คจั ฉามิ ฯ ๒๐๕
คำ� แปลนมการสิทธคิ าถา พระพทุ ธเจา้ พระองคใ์ ดผมู้ พี ระปญั ญาจกั ษุ ขจดั มลทนิ คอื โมหะ ไดแ้ ล้ว ตรัสร้ดู ้วยพระองคเ์ อง เปน็ ผู้เสดจ็ ไปดี พน้ ทุกขแ์ ล้ว ทรงช่วย เวไนยสัตว์ท้งั ปวง ใหพ้ ้นจากบว่ งแห่งมาร ใหถ้ ึงความเกษม ข้าพเจ้าขอนมัสการพระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐพระองค์นน้ั ผู้เป็น ท่ีพึ่งและผู้น�ำแห่งโลก ด้วยเดชพระพุทธเจ้าพระองค์นน้ั ขอความส�ำเร็จ แหง่ ชัยชนะจงมีแกท่ ่าน และอนั ตรายทัง้ ปวงจงถงึ ความเส่อื มสญู ไป พระธรรมใด เปน็ ดจุ ธงชยั แหง่ พระศาสดาพระองคน์ น้ั แสดงทาง แห่งความบริสุทธิ์แก่โลก เป็นธรรมน�ำสัตว์ออกจากทุกข์ ทรงไว้ซ่ึง บุคคลผทู้ รงธรรม ประพฤตดิ ีแล้ว นำ� ความสขุ ความสงบมาให้ ข้าพเจ้าขอนมัสการพระธรรมอันประเสริฐน้ัน อันเป็นธรรม ทำ� ลายโมหะ ระงบั ความเรา่ ร้อนคือ กิเลส ด้วยเดชพระธรรมนน้ั ขอ ความส�ำเร็จแห่งชัยชนะ จงมีแก่ท่าน และอันตรายทั้งปวงจงถึงความ เสื่อมสูญไป พระสงฆ์เหล่าใด เป็นเสนาแห่งพระสัทธรรมของพระสุคตเจ้า ผจญเสยี ซง่ึ บาปเครอื่ งเศรา้ หมองของโลก เปน็ ผสู้ งบเองดว้ ย ประกอบ ผู้อ่นื ไว้ในความสงบดว้ ย กระท�ำพระธรรมอันพระศาสดาตรัสไวด้ แี ลว้ ใหป้ รากฏ ๒๐๖
นมการสิทธิคาถา บทน้ใี ช้สวดนมัสการพระรัตนตรยั (ใชแ้ ทน สัมพุทเธ) โย จกั ขมุ า โมหะมะลาปะกฏั โฐ สามงั วะ พทุ โธ สุคะโต วิมุตโต มารสั สะ ปาสา วินิโมจะยันโต ปาเปสิ เขมัง ชะนะตัง วเิ นยยัง ฯ พุทธงั วะรันตัง สริ ะสา นะมาม ิ โลกัสสะ นาถัญจะ วินายะกัญจะ ตนั เตชะสา เต ชะยะสิทธิ โหต ุ สพั พนั ตะรายา จะ วินาสะเมนตุ ฯ ธัมโม ธะโช โย วยิ ะ ตสั สะ สัตถ ุ ทสั เสสิ โลกัสสะ วิสุทธิมัคคัง นิยยานโิ ก ธัมมะธะรสั สะ ธาร ี สาตาวะโห สันติกะโร สจุ ิณโณ ฯ ธมั มัง วะรันตัง สิระสา นะมามิ โมหปั ปะทาลงั อุปะสันตะทาหัง ตันเตชะสา เต ชะยะสทิ ธิ โหตุ สพั พนั ตะรายา จะ วินาสะเมนตุ ฯ สัทธมั มะเสนา สคุ ะตานุโค โย โลกสั สะ ปาปปู ะกเิ ลสะเชตา สนั โต สะยงั สนั ตินโิ ยชะโก จะ สว๎ฺ ากขาตะธมั มงั วิทิตงั กะโรติ ฯ สงั ฆัง วะรันตงั สิระสา นะมามิ ๒๐๗
ข้าพเจ้าขอนมัสการพระสงฆ์ผู้ประเสริฐนั้น ผู้ตรัสรู้ตาม พระพุทธเจ้า มีศีลและทิฏฐิเสมอกัน ด้วยเดชพระสงฆ์นนั้ ขอความ ส�ำเร็จแห่งชัยชนะจงมีแก่ท่าน และอันตรายทั้งปวงจงถึงความเส่ือม สูญไป เทอญ คำ� แปลสมั พทุ เธ ขา้ พเจา้ ขอนอบนอ้ มพระสมั มาสัมพทุ ธเจ้า หา้ แสนหนง่ึ หมนื่ สองพันยสี่ บิ แปดพระองคด์ ว้ ยเศยี รเกลา้ ขอนอบนอ้ ม พระธรรม และพระสงฆ์ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเหล่านนั้ โดยความเคารพ ดว้ ยอานุภาพแห่งความนอบน้อม จงขจดั เสยี ซึ่งอปุ ัทวะทัง้ ปวง แม้ อันตรายท้งั หลายท้งั ปวง จงพินาศไปโดยไมเ่ หลือ ข้าพเจา้ ขอนอบนอ้ มพระสัมมาสมั พุทธเจา้ หนงึ่ ลา้ นสองหม่ืน สี่พันห้าสิบห้าพระองค์ด้วยเศียรเกล้า ขอนอบน้อม พระธรรม และพระสงฆ์ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเหล่านนั้ โดยความเคารพ ด้วยอานภุ าพแห่งความนอบน้อม จงขจดั เสยี ซงึ่ อุปทั วะทั้งปวง แม้ อันตรายทัง้ หลายท้ังปวง จงพินาศไปโดยไม่เหลอื ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระสัมมาสัมพุทธเจ้า สองล้านส่ีหม่ืน แปดพนั หนงึ่ รอ้ ยเกา้ พระองคด์ ว้ ยเศยี รเกลา้ ขอนอบนอ้ ม พระธรรม และพระสงฆ์ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเหล่านน้ั โดยความเคารพ ดว้ ยอานภุ าพแห่งความนอบน้อม จงขจดั เสียซึ่งอุปทั วะท้งั ปวง แม้ อันตรายทงั้ หลายทงั้ ปวง จงพินาศไปโดยไม่เหลอื ๒๐๘
พุทธานุพุทธัง สะมะสีละทฏิ ฐิง ตนั เตชะสา เต ชะยะสทิ ธิ โหต ุ สัพพนั ตะรายา จะ วนิ าสะเมนตุ ฯ สัมพทุ เธ บทสวดว่าด้วยค�ำนมสั การพระพทุ ธเจ้า ๓,๕๘๔,๑๙๒ พระองค์ สมั พุทเธ อัฏฐะวสี ญั จะ ทว๎ฺ าทะสัญจะ สะหสั สะเก ปญั จะสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหงั เตสงั ธมั มัญจะ สงั ฆญั จะ อาทะเรนะ นะมามิหัง นะมะการานภุ าเวนะ หนั ต๎ฺวา สพั เพ อุปัททะเว อะเนกา อนั ตะรายาป ิ วนิ สั สันตุ อะเสสะโต สัมพทุ เธ ปัญจะปญั ญาสญั จะ จะตุวสี ะตสิ ะหสั สะเก ทะสะสะตะสะหสั สาน ิ นะมามิ สริ ะสา อะหัง เตสัง ธัมมัญจะ สงั ฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหงั นะมะการานภุ าเวนะ หนั ต๎วฺ า สัพเพ อปุ ัททะเว อะเนกา อันตะรายาป ิ วินสั สันตุ อะเสสะโต สมั พุทเธ นะวตุ ตะระสะเต อัฎฐะจัตตาฬี สะสะหสั สะเก วีสะติสะตะสะหสั สาน ิ นะมามิ สริ ะสา อะหงั เตสงั ธมั มัญจะ สงั ฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามหิ ัง นะมะการานภุ าเวนะ หนั ต๎วฺ า สพั เพ อปุ ทั ทะเว อะเนกา อนั ตะรายาป ิ วนิ สั สันตุ อะเสสะโต ฯ ๒๐๙
ค�ำแปลนโมการฏั ฐกคาถา ขอนอบนอ้ มแดพ่ ระอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ผเู้ ปน็ มหาบรุ ษุ ของโลก ขอนอบนอ้ มแดพ่ ระธรรมอนั สงู สดุ ในพระศาสนานี้ ทพ่ี ระองค ์ ตรสั ดแี ล้ว ขอนอบน้อมแด่พระมหาสงฆ์ผมู้ ีศีล และทิฏฐิอนั หมดจดแล้ว ขอนอบน้อมด้วยดีแด่พระรัตนตรัย ท่ีเริ่มด้วยค�ำว่าโอม (คอื อ.อุ.ม.) ขอนอบนอ้ มแดพ่ ระรตั นะทงั้ ๓ อนั สงู สง่ นนั้ อนั พน้ จากบาป ธรรมอกศุ ลทั้งปวง ด้วยอานุภาพแห่งความนอบน้อม ขออุปัทวะทั้งหลาย จงปราศจากไป ดว้ ยอานภุ าพแหง่ ความนอบนอ้ ม ขอความสวสั ดจี งมที กุ เมื่อ ดว้ ยเดชแห่งความนอบนอ้ ม ขอเราจงเปน็ ผูม้ ีเดชในมงคลพิธีเถิด ค�ำแปลมงคลสตู ร การไมค่ บคนพาล ๑ การคบบณั ฑติ ๑ การบชู าตอ่ บคุ คลทค่ี วร บชู า ๑ กิจเหลา่ น้ีเป็นมงคลอันสงู สดุ การอยใู่ นประเทศอนั สมควร ๑ การเปน็ ผทู้ ำ� บญุ ไวใ้ นกาลกอ่ น ๑ การตัง้ ตนไว้ชอบ ๑ กิจเหลา่ นเี้ ป็นมงคลอันสงู สุด ๒๑๐
นโมการฏั ฐกคาถา บทสวดวา่ ดว้ ยความนอบนอ้ มพระรตั นตรัย นะโม อะระหะโต สัมมา- สมั พทุ ธัสสะ มะเหสิโน นะโม อุตตะมะธมั มัสสะ ส๎วฺ ากขาตัสเสวะ เตนธิ ะ นะโม มะหาสังฆสั สาป ิ วิสุทธะสลี ะทิฏฐโิ น นะโม โอมาต๎ยฺ ารัทธสั สะ ระตะนตั ตย๎ฺ ัสสะ สาธุกงั นะโม โอมะกาตีตสั สะ ตสั สะ วตั ถุตต๎ยัสสะปิ นะโมการปั ปะภาเวนะ วคิ จั ฉนั ตุ อปุ ทั ทะวา นะโมการานภุ าเวนะ สุวตั ถิ โหตุ สัพพะทา นะโมการัสสะ เตเชนะ วธิ มิ ห๎ฺ ิ โหมิ เตชะวา ฯ มงคลสูตร สตู รวา่ ดว้ ยมงคลชวี ิต ๓๘ ประการ ใช้สวดเพอ่ื เสรมิ สิริมงคล อะเสวะนา จะ พาลานงั ปัณฑติ านญั จะ เสวะนา ปูชาจะ ปูชะนียานงั เอตัมมังคะละมุตตะมงั ฯ ปะฏริ ูปะเทสะวาโส จะ ปพุ เพ จะ กะตะปญุ ญะตา อัตตะสมั มาปะณธิ ิ จะ เอตมั มงั คะละมุตตะมัง ฯ ๒๑๑
การเปน็ ผไู้ ดย้ นิ ไดฟ้ งั มาก ๑ การมศี ลิ ปวทิ ยา ๑ วนิ ยั ทศ่ี กึ ษา ดีแล้ว ๑ วาจาทเ่ี ป็นสภุ าษติ ๑ กจิ เหลา่ น้ีเปน็ มงคลอันสงู สดุ การบ�ำรุงเลี้ยงมารดาบิดา ๑ การสงเคราะห์บุตร ๑ การ สงเคราะห์ภรรยา ๑ การท�ำงานด้วยความขยันหมั่นเพียร ไมเ่ กียจครา้ น ๑ กจิ เหลา่ นเี้ ปน็ มงคลอนั สงู สุด การบำ� เพญ็ ทาน ๑ การประพฤตธิ รรม ๑ การสงเคราะหห์ มญู่ าติ มิตร ๑ การงานอนั ปราศจากโทษ ๑ กิจเหล่านเี้ ป็นมงคลอันสงู สุด การงดเวน้ จากบาปกรรม ๑ การเหน่ียวร้ังใจไวไ้ ม่ดมื่ น�ำ้ เมา ๑ การไมป่ ระมาทในธรรมทงั้ หลาย ๑ กจิ เหลา่ นเ้ี ปน็ มงคลอนั สงู สดุ ความเคารพออ่ นนอ้ ม ๑ ความออ่ นนอ้ มถอ่ มตวั ไมเ่ ยอ่ หยง่ิ ๑ ความสนั โดษยนิ ดใี นของทมี่ อี ยู่๑ความเปน็ คนกตญั ญู๑การฟงั ธรรม ตามกาล ๑ กจิ เหลา่ น้เี ปน็ มงคลอนั สูงสุด ความอดทน ๑ ความเป็นคนว่างา่ ยสอนงา่ ย ๑ การไดพ้ บ สมณะผสู้ งบจากกเิ ลส ๑ การสนทนาธรรมกนั ตามกาล ๑ กจิ เหลา่ น้ี เปน็ มงคลอนั สงู สดุ มีความเพียรเผากิเลส ๑ การประพฤติพรหมจรรย์ ๑ การเหน็ อริยสัจ ๑ การทำ� ให้แจง้ ซง่ึ พระนพิ พาน ๑ กิจเหล่านี้เป็น มงคลอนั สงู สุด เมอื่ โลกธรรมมากระทบแลว้ จติ ไมห่ วน่ั ไหว ๑ จติ ไมเ่ ศรา้ โศก ๑ จติ ไรธ้ ลุ กี เิ ลส ๑ จติ มคี วามเกษม ๑ สง่ิ เหลา่ นเี้ ปน็ มงคลอนั สงู สดุ หมมู่ นษุ ยท์ งั้ หลาย ถา้ ไดก้ ระทำ� มงคลทง้ั ๓๘ ประการนใ้ี หม้ ี ในตนแล้ว จะเป็นผู้ไม่พ่ายแพ้ในท่ีทั้งปวง ย่อมถึงความสวัสด ี ในทกุ สถาน ทั้งหมดนเ้ี ป็นมงคล คอื เหตใุ หถ้ ึงความเจริญก้าวหนา้ อันสูงสุดของมนุษย์ท้งั หลายโดยแท้ ๒๑๒
พาหุสัจจัญจะ สิปปัญจะ วินะโย จะ สสุ ิกขิโต สภุ าสติ า จะ ยา วาจา เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ มาตาปิตอุ ปุ ัฏฐานงั ปตุ ตะทารสั สะ สังคะโห อะนากลุ า จะ กัมมันตา เอตมั มังคะละมตุ ตะมัง ฯ ทานญั จะ ธมั มะจะรยิ า จะ ญาตะกานญั จะ สงั คะโห อะนะวชั ชานิ กัมมาน ิ เอตัมมังคะละมตุ ตะมงั ฯ อาระตี วิระตี ปาปา มชั ชะปานา จะ สญั ญะโม อปั ปะมาโท จะ ธัมเมสุ เอตมั มงั คะละมตุ ตะมงั ฯ คาระโว จะ นวิ าโต จะ สนั ตฏุ ฐี จะ กะตัญญตุ า กาเลนะ ธมั มสั สะวะนงั เอตัมมังคะละมุตตะมงั ฯ ขันตี จะ โสวะจัสสะตา สะมะณานญั จะ ทสั สะนงั กาเลนะ ธัมมะสากัจฉา เอตัมมงั คะละมตุ ตะมงั ฯ ตะโป จะ พร๎ฺ หั ๎ฺมะจะริยัญจะ อะรยิ ะสัจจานะ ทสั สะนงั นพิ พานะสจั ฉกิ ริ ิยา จะ เอตมั มังคะละมุตตะมัง ฯ ผุฏฐสั สะ โลกะธมั เมห ิ จิตตัง ยสั สะ นะ กมั ปะติ อะโสกงั วริ ะชัง เขมัง เอตมั มังคะละมตุ ตะมงั ฯ เอตาทิสานิ กตั ว๎ฺ านะ สพั พัตถะมะปะราชติ า สพั พตั ถะ โสตถิง คจั ฉนั ติ ตนั เตสงั มงั คะละมตุ ตะมนั ติ ฯ ๒๑๓
คำ�แปลรัตนสูตร ทรัพย์ใดๆ ในโลกนีห้ รือโลกอืน่ หรือรตั นะใดๆ อนั ประณตี ในสรวงสวรรคก์ ต็ าม ทรพั ยห์ รอื รตั นะนน้ั จะเสมอดว้ ยพระตถาคต ยอ่ มไมม่ ี พระพทุ ธเจา้ เปน็ รตั นะอนั ประณตี ประเสรฐิ อยา่ งยง่ิ ดว้ ย คำ�สตั ย์นี้ ขอจงมีแต่ความสวัสดี พระศากยมุนีมีพระหฤทัยดำ�รงมั่นได้บรรลุอมตธรรม อนั ประณตี อนั เปน็ เครอ่ื งสน้ิ กเิ ลสสน้ิ ราคะ ธรรมใดทจ่ี ะเสมอดว้ ย พระธรรมนี้ย่อมไม่มี พระธรรมเป็นรัตนะอันประณีตประเสริฐ อย่างยิ่ง ดว้ ยคำ�สัตย์น้ี ขอจงมแี ตค่ วามสวสั ดี พระพทุ ธเจา้ ผปู้ ระเสรฐิ สดุ ทรงสรรเสรญิ สมาธใิ ดวา่ เปน็ ธรรม อนั บรสิ ทุ ธท์ิ า่ นกลา่ ววา่ สมาธนิ นั้ ไดแ้ ก่ อนนั ตรกิ สมาธิ (สมั มาสมาธ ิ ในอรยิ มรรค เปน็ สมาธทิ ใี่ หผ้ ลทนั ทไี มม่ รี ะหวา่ งคนั่ ) สมาธทิ จี่ ะเสมอ ด้วยสมาธินิี้ย่อมไม่มี พระธรรมเป็นรัตนะอันประณีตประเสริฐ อย่างย่งิ ด้วยคำ�สตั ย์น้ี ขอจงมแี ต่ความสวัสดี พระสาวกของพระสคุ ตเหลา่ ใด นบั เรยี งได้ ๘ บคุ คล นบั เปน็ คู่ได้ ๔ อันสัตบุรุษท้ังหลายสรรเสริญแล้ว พระสาวกของ พระสคุ ตเจา้ เหลา่ นน้ั เปน็ ผคู้ วรแกท่ กั ษณิ าทาน อนั บคุ คลถวายทาน ท่านแล้วย่อมมีผลมาก พระสงฆ์เป็นรัตนะอันประณีตอย่างย่ิง ดว้ ยคำ�สัตยน์ ้ี ขอจงมีแตค่ วามสวสั ดี ๒๑๔
รตั นสตู ร สตู รว่าด้วยการพรรณนาคณุ ของพระรตั นตรัย ใช้สวดเพือ่ ขบั ไลเ่ สนียดจญั ไร โรคภัยไขเ้ จ็บ ภตู ผปี ศี าจ ยงั กิญจิ วิตตงั อิธะ วา หรุ งั วา สคั เคสุ วา ยงั ระตะนงั ปะณตี งั นะ โน สะมัง อัตถิ ตะถาคะเตนะ อิทัมปิ พุทเธ ระตะนงั ปะณตี ัง เอเตนะ สัจเจนะ สวุ ตั ถิ โหตุ ฯ ขะยัง วริ าคงั อะมะตงั ปะณตี งั ยะทัชฌะคา สกั ๎ยฺ ะมนุ ี สะมาหิโต นะ เตนะ ธัมเมนะ สะมตั ถิ กิญจิ อทิ ัมปิ ธมั เม ระตะนงั ปะณตี งั เอเตนะ สจั เจนะ สุวตั ถิ โหตุ ฯ ยัมพทุ ธะเสฏโฐ ปะริวณั ณะยี สจุ งิ สะมาธมิ านนั ตะรกิ ญั ญะมาหุ สะมาธินา เตนะ สะโม นะ วิชชะติ อิทมั ปิ ธัมเม ระตะนงั ปะณตี งั เอเตนะ สจั เจนะ สวุ ัตถิ โหตุ ฯ เย ปคุ คะลา อฏั ฐะ สะตัง ปะสัฏฐา จัตตาริ เอตานิ ยคุ านิ โหนติ เต ทกั ขเิ ณยยา สคุ ะตสั สะ สาวะกา เอเตสุ ทินนานิ มะหัปผะลานิ อิทมั ปิ สังเฆ ระตะนงั ปะณตี งั เอเตนะ สจั เจนะ สวุ ัตถิ โหตุ ฯ ๒๑๕
พระสาวกทั้งหลายเหล่าใดกระทำ�ความเพียรด้วยดีในศาสนา พระโคดม มีจิตเปน็ สมาธมิ น่ั คง มปี ัญญามงุ่ มั่นเพ่ือละกิเลสคลาย ความอาลยั พระสาวกทัง้ หลายเหล่าน้นั ย่อมบรรลุอมตธรรมคือ พระนิพพาน ดุจของได้เปล่า เสวยความสุขสงบ พระสงฆ์ เป็นรัตนะอันประณีตประเสริฐอย่างยิ่ง ด้วยคำ�สัตย์น้ี ขอจงมีแต่ ความสวัสดี พระอรยิ บคุ คลเหลา่ ใด มกี รรมเกา่ ผา่ นพน้ ไปแลว้ กรรมใหม ่ อนั เปน็ เหตใุ หเ้ กดิ อกี ไมม่ ี มจี ติ หนา่ ยแลว้ ในภพตอ่ ไป พระอรยิ บคุ คล เหล่านั้น มีพืชคือวิญญาณส้ินไปแล้ว ไม่มีฉันทะที่จะเกิดใหม่ เป็นผู้มีปัญญา ย่อมนิพพาน เหมือนประทีปดวงท่ีดับไปฉันน้ัน พระสงฆ์เป็นรัตนะอันประณีตประเสริฐอย่างยิ่ง ด้วยคำ�สัตย์นี้ ขอจงมแี ต่ความสวสั ดี ภตู ประจำ�ถนิ่ เหลา่ ใด ประชมุ กนั แลว้ ในพระนครนก้ี ด็ ี เหลา่ ใด ประชมุ กันแลว้ ในอากาศกด็ ี เราทัง้ หลาย จงนมัสการพระพทุ ธเจา้ อันเทพยดาและมนุษยบ์ ูชาแลว้ ขอความสวัสดีจงมี ฯ ภตู ประจำ�ถน่ิ เหลา่ ใด ประชมุ กนั แลว้ ในพระนครนก้ี ด็ ี เหลา่ ใด ประชุมกันแล้วในอากาศก็ดี เราทั้งหลาย จงนมัสการพระธรรม อันเทพยดาและมนษุ ยบ์ ชู าแล้ว ขอความสวัสดีจงมี ฯ ภตู ประจำ�ถน่ิ เหลา่ ใด ประชมุ กนั แลว้ ในพระนครนกี้ ด็ ี เหลา่ ใด ประชุมกันแล้วในอากาศก็ดี เราท้ังหลาย จงนมัสการพระสงฆ์ อันเทพยดาและมนุษยบ์ ชู าแล้ว ขอความสวสั ดจี งมี ฯ ๒๑๖
เย สุปปะยตุ ตา มะนะสา ทัฬเหนะ นกิ กามิโน โคตะมะสาสะนัมหิ เต ปัตติปัตตา อะมะตงั วคิ ยั หะ ลัทธา มธุ า นิพพุตงิ ภญุ ชะมานา อทิ ัมปิ สงั เฆ ระตะนงั ปะณตี งั เอเตนะ สัจเจนะ สวุ ัตถิ โหตุ ฯ ขณี งั ปุราณงั นะวงั นตั ถิ สมั ภะวัง วริ ตั ตะจติ ตายะติเก ภะวสั ม๎ฺ งิ เต ขีณะพีชา อะวิรุฬหฉิ นั ทา นพิ พนั ติ ธีรา ยะถายมั ปะทโี ป อทิ ัมปิ สงั เฆ ระตะนงั ปะณตี งั เอเตนะ สจั เจนะ สุวตั ถิ โหตุ ฯ ยานธี ะ ภตู านิ สะมาคะตานิ ภมุ มานิ วา ยานวิ ะ อันตะลิกเข ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปูชิตัง พุทธัง นะมสั สามะ สุวตั ถิ โหตุ ฯ ยานธี ะ ภูตานิ สะมาคะตานิ ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลกิ เข ตะถาคะตงั เทวะมะนสุ สะปูชิตัง ธัมมัง นะมัสสามะ สุวตั ถิ โหตุ ฯ ยานธี ะ ภูตานิ สะมาคะตานิ ภุมมานิ วา ยานวิ ะ อันตะลกิ เข ตะถาคะตงั เทวะมะนุสสะปชู ิตงั สังฆงั นะมัสสามะ สวุ ตั ถิ โหตุ ฯ ๒๑๗
ค�ำแปลกรณียเมตตสูตร กจิ นน้ั ใดอนั พระอรยิ เจา้ ผบู้ รรลบุ ทอนั ระงบั กระทำ� แลว้ กจิ นนั้ อนั กลุ บตุ รผฉู้ ลาดในประโยชนพ์ งึ กระทำ� กลุ บตุ รนนั้ พงึ เปน็ ผอู้ าจหาญ และซื่อตรงดี เป็นผ้ทู ีว่ ่าง่าย ออ่ นโยน ไมด่ หู มิ่นผ้อู ่นื เปน็ ผสู้ นั โดษ เล้ียงง่าย เป็นผู้มีกิจธุระน้อย ประพฤติเบากายจิต มีอินทรีย์ อันระงับแล้ว มีปัญญา เป็นผู้ไม่คะนอง ไม่พัวพันในสกุล ท้ังหลาย วิญญูชนติเตียนชนทั้งหลายอื่นได้ด้วยกรรมอันใด ไม่พึงประพฤติกรรมอันนั้นเลย พึงแผ่ไมตรีจิตไปในหมู่สัตว์ ว่า ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงจงเป็นผู้มีสุข มีความเกษม มีตนถึง ความสขุ เถดิ สัตว์มีชีวิตทั้งหลาย ท้ังที่เป็นผู้ยังมีความสะดุ้ง (มีตัณหา) หรือผู้ที่มั่นคง (ไม่มีตัณหาทั้งหมดไม่เหลือ) ที่เป็นสัตว์ล�ำตัวยาว หรือใหญ่ หรือปานกลาง หรือสัน้ ก็ดี ท้งั ในสตั ว์ลำ� ตวั ละเอียดหรือ สัตว์ล�ำตัวหยาบก็ดี ท้ังท่ีได้เห็นแล้วหรือมิได้เห็นก็ดี เป็นผู้อยู่ใน ท่ีไกล หรือที่ใกล้ก็ดี เป็นผู้ที่เกิดแล้ว หรือก�ำลังหาท่ีเกิดอยู่ก็ ดี ขอสัตว์ทั้งปวงเหล่านน้ั จงเป็นผู้มีตนถึงความสุขเถิด สัตว์อ่ืน อย่าพึงข่มเหงสัตว์อ่ืน อย่าพึงดูหม่ินอะไรๆ เขาในท่ีไรๆ เลย ไมค่ วรปรารถนาทกุ ขแ์ กก่ นั และกนั เพราะความกรวิ้ โกรธและความ คุ้มแคน้ ๒๑๘
กรณยี เมตตสูตร สูตรว่าด้วยการเจริญเมตตาและอานุภาพแห่งเมตตา กะระณียะมตั ถะกสุ ะเลนะ ยนั ตงั สันตัง ปะทงั อะภสิ ะเมจจะ สกั โก อชุ ู จะ สหุ ุชู จะ สุวะโจ จัสสะ มทุ ุ อะนะตมิ านี สนั ตุสสะโก จะ สุภะโร จะ อัปปะกิจโจ จะ สลั ละหกุ ะวตุ ติ สันตนิ ท๎ฺริโย จะ นิปะโก จะ อัปปะคพั โภ กุเลสุ อะนะนุคิทโธ นะ จะ ขุททงั สะมาจะเร กิญจิ เยนะ วญิ ญู ปะเร อปุ ะวะเทยยงุ สขุ ิโน วา เขมิโน โหนตุ สัพเพ สัตตา ภะวนั ตุ สุขิตตั ตา เย เกจิ ปาณะภูตัตถิ ตะสา วา ถาวะรา วา อะนะวะเสสา ทฆี า วา เย มะหันตา วา มัชฌิมา รสั สะกา อะณกุ ะถูลา ทิฏฐา วา เย จะ อะทฏิ ฐา เย จะ ทเู ร วะสนั ติ อะวิทูเร ภตู า วา สัมภะเวสี วา ๒๑๙
มารดาถนอมปกป้องลูกคนเดียวผู้เกิดในตน ด้วยยอมสละ แม้ชีวิตตนได้ฉนั ใด พึงต้ังใจเจริญเมตตา โดยไม่มีประมาณ ใน สัตวท์ งั้ ปวง แม้ฉนั นน้ั บุคคลพึงต้ังใจเจริญเมตตา โดยไม่มีที่สุดไม่มีประมาณ ไม่มขี อบเขต ไม่มคี วามคิดปองรา้ ย ไม่มคี วามเป็นศตั รู แผไ่ ปยงั สรรพสัตว์ ท้ังทิศเบ้อื งบน ทิศเบอื้ งต�ำ่ และทิศเบ้อื งขวาง ผเู้ จรญิ เมตตาอยา่ งน้ี จะยนื เดนิ นงั่ หรอื นอนกต็ าม พงึ ตง้ั สต ิ คอื เจรญิ เมตตานน้ั ไว้ ความง่วงเหงายอ่ มครอบงำ� ไมไ่ ด้ บัณฑิตท้งั หลายกลา่ วเมตตาวหิ ารธรรมนวี้ า่ เปน็ พรหมวหิ ารในพระศาสนานี้ บุคคลผ้นู น้ั ย่อมไม่ตกไปในมจิ ฉาทิฏฐิ คอื ความเห็นผิดวา่ เปน็ ตวั เปน็ ตน (สกั กายทฏิ ฐ)ิ เปน็ ผมู้ ศี ลี ถงึ พรอ้ มแลว้ ดว้ ยการรเู้ หน็ ตามความเปน็ จรงิ (สมั มาทฏิ ฐใิ นโสดาปตั ตมิ รรค) กำ� จดั ความยนิ ด ี ในกามท้ังหลายได้ ย่อมไม่เข้าถึงซ่ึงความนอนในครรภ์ (คือการ เกิดอกี ) โดยแท้ทีเดียวแล ๒๒๐
สัพเพ สตั ตา ภะวันตุ สขุ ติ ตั ตา นะ ปะโร ปะรัง นิกพุ เพถะ นาตมิ ัญเญถะ กัตถะจิ นงั กญิ จิ พ๎ยาโรสะนา ปะฏฆี ะสญั ญา นาญญะมญั ญัสสะ ทุกขะมจิ เฉยยะ มาตา ยะถา นยิ งั ปุตตัง อายุสา เอกะปตุ ตะมะนรุ กั เข เอวมั ปิ สพั พะภูเตส ุ มานะสัมภาวะเย อะปะรมิ าณัง เมตตัญจะ สัพพะโลกสั ๎มฺ ิง มานะสัมภาวะเย อะปะรมิ าณัง อทุ ธงั อะโธ จะ ติรยิ ัญจะ อะสมั พาธงั อะเวรงั อะสะปัตตงั ติฏฐัญจะรัง นสิ ินโน วา สะยาโน วา ยาวะตสั สะ วิคะตะมทิ โธ เอตงั สะตงิ อะธฏิ เฐยยะ พ๎ฺรหั ฺม๎ ะเมตัง วหิ ารงั อิธะมาหุ ทฏิ ฐญิ จะ อะนปุ ะคมั มะ สีละวา ทสั สะเนนะ สมั ปนั โน กาเมสุ วเิ นยยะ เคธัง นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยงั ปุนะเรตตี ิ ฯ ๒๒๑
ค�ำแปล โพชฌังคปรติ ร โพชฌงค์ ๗ ประการ คอื สตสิ มั โพชฌงค์ ธรรมวจิ ยั สมั โพชฌงค์ วิริยสัมโพชฌงค์ ปีติสัมโพชฌงค์ ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ สมาธิสัมโพชฌงค์ อุเบกขาสัมโพชฌงค์ ธรรมท้ัง ๗ เหล่าน้ี เป็นธรรมท่ีพระมุนีผู้ทรงเห็นธรรมท้ังปวง ได้ทรงสั่งสอนไว ้ อย่างถูกต้องดีแล้ว อันบุคคลเจริญแล้ว ปฏิบัติให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อพระนิพพาน และเพ่ือความตรัสรู้ ดว้ ยคำ� สัตย์น้ี ขอความสวัสดีจงมีแก่ท่านทุกเมอื่ ในสมยั หนง่ึ พระโลกนาถเจ้าทอดพระเนตรเหน็ พระโมคคลั ลานะ และพระกัสสปะเป็นไข้ได้ความล�ำบาก ทรงแสดงโพชฌงค์ ๗ ท่านทั้งสองเพลิดเพลินด้วยพระธรรมเทศนานั้น หายจากโรค ในบดั ดล ด้วยคำ� สัตย์น้ี ขอความสวสั ดีจงมีแกท่ า่ นทกุ เม่ือ ครั้งหนงึ่ องค์ธรรมราชาเอง (สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า) ทรงพระประชวร รับส่ังให้พระจุนทเถระกล่าวโพชฌงค์นน้ั ถวาย โดยความเคารพกท็ รงบนั เทงิ พระหฤทยั หายจากพระประชวรนน้ั โดยพลัน ด้วยคำ� สตั ยน์ ้ี ขอความสวัสดีจงมีแก่ท่านทุกเมือ่ อาพาธทั้งหลาย ของพระมหาฤาษีท้ังสามหายแล้ว ไม่กลับก�ำเริบดุจดังกิเลสอันมรรคท�ำลายแล้วย่อมไม่เกิดอีก เป็นธรรมดา ฉนั นน้ั ด้วยค�ำสัตย์น้ี ขอความสวัสดีจงมีแก่ท่าน ทุกเม่ือ ๒๒๒
โพชฌังคปรติ ร บทว่าด้วยคุณธรรมท�ำใหบ้ รรลุธรรม ๗ ประการ นิยมสวดใหผ้ ู้ปว่ ยฟัง โพชฌังโค สะตสิ งั ขาโต ธัมมานงั วจิ ะโย ตะถา วิริยัมปีติ ปสั สทั ธิ โพชฌงั คา จะ ตะถาปะเร สะมาธเุ ปกขะโพชฌงั คา สตั เตเต สัพพะทสั สินา มุนนิ า สัมมะทักขาตา ภาวติ า พะหุลีกะตา สังวัตตนั ติ อะภิญญายะ นพิ พานายะ จะ โพธยิ า เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ สพั พะทา ฯ เอกัสฺ๎มิง สะมะเย นาโถ โมคคลั ลานญั จะ กัสสะปงั คิลาเน ทกุ ขเิ ต ทิสฺ๎วา โพชฌังเค สตั ตะ เทสะยิ เต จะ ตัง อะภินนั ทติ ๎ฺวา โรคา มุจจงิ สุ ตังขะเณ เอเตนะ สจั จะวชั เชนะ โสตถิ เต โหตุ สพั พะทา ฯ เอกะทา ธัมมะราชาป ิ เคลัญเญนาภปิ ฬี ิโต จนุ ทตั เถเรนะ ตญั เญวะ ภะณาเปตฺ๎วานะ สาทะรงั สมั โมทติ ว๎ฺ า จะ อาพาธา ตมั หา วฏุ ฐาสิ ฐานะโส เอเตนะ สัจจะวชั เชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ฯ ปะหนี า เต จะ อาพาธา ติณณนั นัมปิ มะเหสนิ งั มคั คาหะตะกเิ ลสา วะ ปัตตานุปปัตติธมั มะตงั เอเตนะ สัจจะวชั เชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ฯ ๒๒๓
ค�ำแปลขันธปริตร ขอแผ่เมตตาไปยังตระกูลพญางูทง้ั หลาย สกุลวิรปู ักขะ สกลุ เอ ราปถะ สกุลฉพั ยาปุตะ และสกุลกัณหาโคตมกะ ขอแผเ่ มตตาไปยงั สตั วท์ งั้ หลายทไ่ี มม่ เี ทา้ สตั วท์ งั้ หลายทมี่ ี ๒ เทา้ สัตวท์ งั้ หลายท่มี ี ๔ เท้า และสัตว์ท้งั หลายที่มีมากเทา้ สัตว์ที่ไมม่ ีเท้า สตั ว์ ๒ เท้า สัตว์ ๔ เท้า สัตวม์ ากเท้า ก็อยา่ เบียดเบียนเราเลย ขอสรรพสตั วท์ มี่ ชี วี ติ ทง้ั หลายทง้ั ปวง จงประสบซงึ่ ความเจรญิ ทงั้ หลายทว่ั กนั โทษลามกใดๆ อยา่ ได้มาถงึ สตั วเ์ หลา่ นนั้ เลย พระพทุ ธเจา้ ทรงพระคณุ ไมม่ ปี ระมาณ พระธรรมทรงพระคณุ ไมม่ ปี ระมาณ พระสงฆท์ รงพระคณุ ไมม่ ปี ระมาณ บรรดาสตั วเ์ ลอื้ ยคลาน คือ งู แมงปอ่ ง ตะขาบ แมงมมุ ตกุ๊ แก หนู เปน็ สัตวป์ ระมาณได ้ (มรี าคะภายใน) เราไดท้ ำ� การรกั ษาปอ้ งกนั ภยั จากสตั วเ์ หล่านีแ้ ลว้ ขอสัตว์ท้ังหลายจงหลีกไป เราน้ันกระท�ำการนอบน้อมแด่ พระผู้มีพระภาคเจ้าอยู่ท�ำการนอบน้อมแด่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท้ัง ๗ พระองค์อยู่ (ได้แก่ พระวิปัสสีพุทธเจ้า พระสิขีพุทธเจ้า พระเวสสภูพุทธเจ้า พระกกุสันธพุทธเจ้า พระโกนาคมนพุทธเจ้า พระกสั สปพทุ ธเจ้า และพระโคตมพทุ ธเจ้า) ๒๒๔
ขนั ธปรติ ร คาถาเจริญเมตตาแก่สัตวม์ ีพษิ ใช้สวดป้องกนั สตั ว์รา้ ย วิรปู กั เขหิ เม เมตตงั เมตตัง เอราปะเถหิ เม ฉพั ๎ฺยาปตุ เตหิ เม เมตตงั เมตตัง กัณหาโคตะมะเกหิ จะ อะปาทะเกหิ เม เมตตงั เมตตงั ทิปาทะเกหิ เม จะตปุ ปะเทหิ เม เมตตงั เมตตัง พะหปุ ปะเทหิ เม มา มัง อะปาทะโก หงิ ส ิ มา มัง หิงสิ ทิปาทะโก มา มงั จะตปุ ปะโท หิงส ิ มา มงั หงิ สิ พะหปุ ปะโท สพั เพ สัตตา สพั เพ ปาณา สพั เพ ภตู า จะ เกวะลา สพั เพ ภทั ๎ฺรานิ ปสั สนั ตุ มา กิญจิ ปาปะมาคะมา อปั ปะมาโณ พทุ โธ, อปั ปะมาโณ ธมั โม, อปั ปะมาโณ สงั โฆ, ปะมาณะวนั ตานิ สริ งิ สะปาน,ิ อะหิ วจิ ฉกิ า สะตะปะที อณุ ณานาภ ี สะระพู มูสิกา, กะตา เม รกั ขา กะตา เม ปะริตตา, ปะฏิกกะมนั ตุ ภตู าน,ิ โสหงั นะโม ภะคะวะโต, นะโม สตั ตนั นงั สมั มาสมั พทุ ธานงั ฯ ๒๒๕
คำ� แปลโมรปริตร พระอาทิตย์แรกขึ้น เป็นดั่งดวงตาของโลก เป็นเอกราชา สสี กุ ปลงั่ ดงั่ ทองคำ� สอ่ งปฐพใี หส้ วา่ ง เพราะเหตนุ นั้ ขา้ ขอนอบนอ้ ม พระอาทิตยน์ น้ั ผู้มีสสี ุกปลั่งดงั่ ทองค�ำ สอ่ งปฐพีใหส้ วา่ ง ขอใหข้ ้า อันท่านได้คุ้มครองแลว้ พึงอย่เู ปน็ สุขตลอดวันนี้ ท่านผู้ลอยบาปแล้วเหล่าใด เป็นผู้รู้จบในธรรมท้ังปวง ข้าขอนอบน้อมท่านผู้ลอยบาปแล้วน้ัน ขอท่านผู้ลอยบาปแล้ว เหล่าน้ันจงรักษาข้า ขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ขอ นอบนอ้ มแดพ่ ระโพธญิ าณ ขอนอบนอ้ ม แดท่ า่ นผวู้ มิ ตุ หลดุ พน้ แลว้ ท้งั หลาย ขอนอบนอ้ มแด่พระวมิ ุตตธิ รรม คอื ความหลดุ พน้ พญา นกยูงนน้ั เจรญิ พระปรติ รนีแ้ ลว้ จงึ เทย่ี วแสวงหาอาหารไป พระอาทิตย์กำ� ลังลับไป เป็นดั่งดวงตาของโลก เป็นเอกราชา สสี กุ ปลงั่ ดงั่ ทองคำ� สอ่ งปฐพใี หส้ วา่ ง เพราะเหตนุ น้ั ขา้ ขอนอบนอ้ ม พระอาทิตย์นนั้ ผมู้ ีสีสกุ ปลง่ั ดง่ั ทองค�ำ ส่องปฐพีใหส้ วา่ ง ขอให้ข้า อนั ท่านได้ค้มุ ครองแล้ว พงึ อยู่เปน็ สุขตลอดคืนน้ี ท่านผู้ลอยบาปแล้วเหล่าใด เป็นผู้รู้จบในธรรมทั้งปวง ข้าขอนอบน้อมท่านผู้ลอยบาปแล้วน้ัน ขอท่านผู้ลอยบาปแล้ว เหล่านั้นจงรักษาข้า ขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ขอ นอบนอ้ มแดพ่ ระโพธญิ าณ ขอนอบนอ้ ม แดท่ า่ นผวู้ มิ ตุ หลดุ พน้ แลว้ ท้งั หลาย ขอนอบน้อมแดพ่ ระวิมุตตธิ รรม คอื ความหลดุ พ้น พญา นกยูงนนั้ เจริญพระปริตรนีแ้ ล้ว จงึ พักผอ่ นอยู่แล ๒๒๖
โมรปรติ ร คาถาที่พญานกยูงโพธิสัตว์นมัสการพระอาทิตยย์ ามอทุ ัยและยามอสั ดง อุเทตะยัญจกั ขมุ า เอกะราชา หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส ตงั ตัง นะมสั สามิ หะรสิ สะวัณณงั ปะฐะวิปปะภาสงั ตะยัชชะ คตุ ตา วิหะเรมุ ทวิ ะสงั เย พฺร๎ าห๎ฺมะณา เวทะคุ สัพพะธัมเม เต เม นะโม เต จะ มงั ปาละยันตุ นะมัตถุ พทุ ธานงั นะมัตถุ โพธยิ า นะโม วิมุตตานงั นะโม วิมตุ ติยา อิมงั โส ปะรติ ตงั กตั ว๎ฺ า โมโร จะระติ เอสะนา ฯ เอเปตะยัญจักขมุ า เอกะราชา หะรสิ สะวณั โณ ปะฐะวปิ ปะภาโส ตัง ตงั นะมัสสามิ หะริสสะวณั ณงั ปะฐะวิปปะภาสัง ตะยัชชะ คตุ ตา วิหะเรมุ รตั ติง เย พฺร๎ าห๎ฺมะณา เวทะคุ สัพพะธมั เม เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยนั ต ุ นะมัตถุ พุทธานงั นะมัตถุ โพธยิ า นะโม วิมตุ ตานงั นะโม วมิ ุตตยิ า อมิ งั โส ปะรติ ตัง กตั ฺ๎วา โมโร วาสะมะกปั ปะยีติ ฯ ๒๒๗
คำ� แปลวัฏฏกปริตร คุณแห่งศีล ความสัตย์ ความหมดจดและความเอ้ืออาทร มอี ยู่จริงแทใ้ นโลก ด้วยความสตั ย์นนั้ ข้าจกั ทำ� สัจจกิรยิ าอันสูงสดุ ขา้ นอ้ มระลกึ ถงึ อานภุ าพแหง่ พระธรรม และระลกึ ถงึ พระพทุ ธเจา้ ท้งั หลายในปางก่อน ดว้ ยยึดมนั่ ในก�ำลังแหง่ สจั จะทมี่ ีอยู่ ข้าขอท�ำ สจั กิรยิ าวา่ ปีกของข้ามีอยู่ แต่ไม่แข็งแรงพอจะบินได้ เท้าของข้ามีอยู ่ แต่ไมแ่ ข็งแรงพอจะเดนิ ได้ มารดาและบิดาพากนั บินออกไปแล้ว ดู ก่อนไฟปา่ ขอท่านจงหลกี ไปเถิด คร้ันเม่ือข้ากล่าวสัจวาจาจบแล้ว ไฟป่าที่ลุกโชติช่วงอยู่ กด็ บั ไปเปน็ พน้ื ทถ่ี ึง ๑๖ กรสี ในทันที ดุจดงั เปลวไฟที่ตกถงึ นำ้� แลว้ มอดดบั ไปฉนั นนั้ สง่ิ ใดท่จี ะเสมอด้วยความสัตยข์ องข้าไม่มี นเี้ ป็น สจั จบารมขี องข้า คำ�แปลอังคลุ ิมาลปรติ ร ดกู อ่ นนอ้ งหญิง ตง้ั แตเ่ ราเกิดโดยชาตอิ รยิ ะแล้ว ไมเ่ คยจงใจ ทจี่ ะทำ�ลายชวี ติ สตั วอ์ กี เลย ดว้ ยคำ�สตั ยน์ ข้ี อความสวสั ดจี งมแี กต่ วั เธอและครรภ์ของเธอเถิด ๒๒๘
วฏั ฏกปรติ ร ใช้สวดปอ้ งกนั อคั คีภัย นยิ มสวดในงานขน้ึ บา้ นใหม่ เปิดอาคารสถานที่ อัตถิ โลเก สลี ะคุโณ สัจจัง โสเจยยะนทุ ทะยา เตนะ สัจเจนะ กาหาม ิ สัจจะกริ ยิ ะมะนุตตะรงั อาวัชชิตว๎ฺ า ธัมมะพะลัง สะรติ ฺ๎วา ปพุ พะเก ชเิ น สจั จะพะละมะวัสสายะ สัจจะกริ ยิ ะมะกาสะหัง สนั ติ ปกั ขา อะปัตตะนา สนั ติ ปาทา อะวญั จะนา มาตา ปิตา จะ นกิ ขันตา ชาตะเวทะ ปะฏกิ กะมะ สะหะ สัจเจ กะเต มัยหัง มะหาปัชชะลิโต สิขี วัชเชสิ โสฬะสะ กะรสี าน ิ อทุ ะกงั ปัตฺ๎วา ยะถา สขิ ี สจั เจนะ เม สะโม นตั ถิ เอสา เม สัจจะปาระมตี ิ ฯ อังคลุ ิมาลปริตร บทว่าด้วยสัจวาจาของพระองคุลิมาล นยิ มสวดในงานแต่งงาน เชือ่ ว่าทำ�ให้คลอดบตุ รง่าย ปราศจากอนั ตราย ยะโตหัง ภะคินิ อะริยายะ ชาติยา ชาโต, นาภิชานามิ สัญจจิ จะ ปาณงั ชีวิตา โวโรเปตา. เตนะ สัจเจนะ โสตถิ เต โหตุ โสตถิ คัพภัสสะ ฯ ๒๒๙
คำ� แปลอาฏานาฏยิ ปรติ ร ขอนอบน้อมแด่พระวิปัสสีพุทธเจ้า ผู้มีจักษุ ผู้มีสิริ, แด่ พระสิขพี ุทธเจ้า ผทู้ รงอนเุ คราะห์สตั ว์ท้งั ปวง แด่พระเวสสภูพุทธเจา้ ผมู้ กี เิ ลสอนั ชำ� ระแลว้ ผมู้ ตี บะ, แดพ่ ระกกสุ นั ธพทุ ธเจา้ ผยู้ ำ่� ยเี สยี ได้ ซงึ่ มารและเสนามาร, แดพ่ ระโกนาคมนพทุ ธเจา้ ผลู้ อยบาปผอู้ ยจู่ บ พรหมจรรย,์ แดพ่ ระกัสสปพุทธเจ้า ผ้พู น้ แล้วจากกเิ ลสทกุ สถาน, แดพ่ ระองั คีรสพทุ ธเจ้า ผโู้ อรสแห่งศากยราช ผู้ทรงไว้ซ่งึ พระสิริ พระผู้มีพระภาคพระองค์ใดได้ทรงแสดงธรรมนี้ไว้ อันเป็น เคร่อื งบรรเทาซ่ึงทุกขท์ ้งั ปวง พระองค์ทรงเห็นแจ้งธรรมตามความเป็นจริง ดับกิเลส ในโลกเสียได้ ตรสั ดว้ ยปัญญา (ไม่มุสา ไมส่ อ่ เสยี ด ไมห่ ยาบคาย พดู ดว้ ยความไตร่ตรอง) เป็นผู้เป็นใหญป่ ราศจากความครั่นครา้ ม ฝงู ชนพากนั นอบน้อมอยู่ ซง่ึ พระพทุ ธเจ้าพระองคน์ น้ั ผเู้ ปน็ โคตมโคตร ผเู้ กอื้ กลู แก่เทวดาและมนษุ ยท์ ั้งหลาย เป็นผถู้ งึ พร้อม แล้วด้วยวิชชา และจรณะ ย่อมเป็นผู้เป็นใหญ่ปราศจาก ความคร่ันคร้าม ข้าพเจ้าทั้งหลายขอนมัสการพระพุทธเจ้า โคตมโคตรพระองค์นน้ั ผถู้ งึ พร้อมแลว้ ด้วยวิชชาและจรณะ ที่พ่ึงอย่างอ่ืนของข้าพเจ้าไม่มี พระพุทธเจ้าเป็นที่พ่ึงอัน ประเสริฐของขา้ พเจา้ ด้วยการกล่าวคำ� สตั ย์นี้ ขอชัยมงคลจงมแี กท่ ่าน ทพี่ ง่ึ อยา่ งอนื่ ของขา้ พเจา้ ไมม่ ี พระธรรมเปน็ ทพ่ี งึ่ อนั ประเสรฐิ ของขา้ พเจ้า ด้วยการกล่าวคำ� สตั ย์นี้ ขอชัยมงคลจงมแี ก่ทา่ น ๒๓๐
อาฏานาฏยิ ปริตร เปน็ คาถาของทา้ วเวสวัณมหาราช ใชส้ วดเพอ่ื คุ้มครองรักษาตนจากเหล่ายกั ษ์ทั้งปวง วิปัสสสิ สะ นะมตั ถ ุ จักขุมนั ตัสสะ สริ มี ะโต สิขสิ สะปิ นะมตั ถ ุ สพั พะภตู านกุ ัมปิโน เวสสะภุสสะ นะมตั ถ ุ น๎หฺ าตะกัสสะ ตะปัสสโิ น นะมตั ถุ กะกุสนั ธัสสะ มาระเสนปั ปะมทั ทิโน โกนาคะมะนสั สะ นะมตั ถุ พฺร๎ าหมฺ๎ ะณสั สะ วสุ มี ะโต กสั สะปัสสะ นะมตั ถ ุ วิปปะมุตตสั สะ สัพพะธิ อังคีระสัสสะ นะมัตถุ สกั ๎ยะปุตตสั สะ สริ ีมะโต โย อมิ ัง ธมั มะมะเทเสส ิ สัพพะทุกขาปะนทู ะนงั เย จาปิ นิพพตุ า โลเก ยะถาภตู งั วปิ ัสสสิ งุ เต ชะนา อะปิสุณา มะหนั ตา วีตะสาระทา หิตัง เทวะมะนสุ สานงั ยัง นะมัสสันติ โคตะมัง วชิ ชาจะระณะสมั ปันนงั มะหันตงั วตี ะสาระทัง วชิ ชาจะระณะสมั ปันนงั พทุ ธงั วนั ทามะ โคตะมนั ติ ฯ นตั ถิ เม เป็นบทอา้ งพระรัตนตรยั เปน็ ทพ่ี ึง่ เพอ่ื ความเปน็ ชัยมงคล นตั ถิ เม สะระณงั อญั ญัง พทุ โธ เม สะระณงั วะรัง เอเตนะ สัจจะวชั เชนะ โหตุ เต ชะยะมงั คะลงั นตั ถิ เม สะระณงั อญั ญงั ธมั โม เม สะระณงั วะรัง เอเตนะ สจั จะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง ๒๓๑
ทพี่ งึ่ อยา่ งอน่ื ของขา้ พเจา้ ไมม่ ี พระสงฆเ์ ป็นทพี่ ึ่งอันประเสริฐ ของขา้ พเจ้า ดว้ ยการกลา่ วคำ� สตั ย์นี้ ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่าน รตั นะใดๆ ทม่ี อี ยมู่ ากมายในโลกนจี้ ะเสมอดว้ ยพระพทุ ธรตั นะ ยอ่ มไมม่ ี เพราะเหตุนน้ั ขอความสุขสวสั ดมี ีชัย จงมีแก่ทา่ น รตั นะใดๆ ทม่ี อี ยมู่ ากมายในโลกนจี้ ะเสมอดว้ ยพระธรรมรตั นะ ยอ่ มไมม่ ี เพราะเหตนุ น้ั ขอความสขุ สวัสดมี ีชัย จงมีแกท่ า่ น รตั นะใดๆทม่ี อี ยมู่ ากมายในโลกนจ้ี ะเสมอดว้ ยพระสงั ฆรตั นะ ยอ่ มไม่มี เพราะเหตุนนั้ ขอความสุขสวัสดีมีชยั จงมแี ก่ท่าน เพราะการทำ� ความเคารพ ซงึ่ พระพทุ ธรตั นะ อนั เปน็ ดงั โอสถ ประเสริฐสุด เกื้อกูลแก่เทวดาและมนุษย์ท้ังหลาย ขออุปัทวะ ทั้งปวงจงหายไป ขอทุกข์ท้ังมวลของท่านจงสงบไปด้วยดี ด้วยเดชแห่งพระพุทธเจ้าเทอญ เพราะการท�ำความเคารพ ซึ่งพระธรรมรัตนะ อันเป็น ดังโอสถประเสริฐสุด ดับความเรา่ ร้อนจากกิเลสเสยี ได้ ขออุปัทวะ ทงั้ ปวงจงหายไป ขอภยั ทง้ั มวลของทา่ นจงสงบไปดว้ ยดี ดว้ ยเดช แหง่ พระธรรมเจ้าเทอญ เพราะการทำ� ความเคารพ ซงึ่ พระสังฆรตั นะ อนั เปน็ ดังโอสถ ประเสรฐิ สดุ เปน็ ผู้ควรแกก่ ารบูชาควรแกก่ ารตอ้ นรบั ขออปุ ัทวะ ทง้ั ปวงจงหายไป ขอโรคทั้งมวลของท่านจงสงบไปด้วยดี ด้วยเดช แห่งพระสงฆเ์ ทอญ ๒๓๒
นตั ถิ เม สะระณงั อัญญงั สงั โฆ เม สะระณงั วะรงั เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลงั ฯ ยังกญิ จิ ระตะนงั โลเก กลา่ วถึงรตั นะ ๓ ท่ีมีค่ายิง่ เหนอื ส่ิงอืน่ ใด ยังกิญจิ ระตะนงั โลเก วิชชะติ วิวิธงั ปุถุ ระตะนงั พทุ ธะสะมงั นตั ถิ ตัส๎ฺมา โสตถี ภะวนั ตุ เต ยงั กญิ จิ ระตะนงั โลเก วชิ ชะติ วิวิธงั ปุถุ ระตะนงั ธมั มะสะมัง นตั ถิ ตสั ๎ฺมา โสตถี ภะวนั ตุ เต ยังกิญจิ ระตะนงั โลเก วิชชะติ ววิ ธิ ัง ปุถุ ระตะนงั สงั ฆะสะมัง นตั ถิ ตัส๎ฺมา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ สกั กตั ฺวา เปน็ พระคาถาทพ่ี ระพทุ ธเจ้าประทานให้ เทพบตุ รอุณหิสวชิ ยั เทพบุตรไดท้ อ่ งพระคาถานี้ จึงไดม้ ีอายยุ นื ยาวอย่ใู นสวรรคต์ อ่ ไปอีก สกั กัต๎ฺวา พุทธะระตะนงั โอสะถงั อุตตะมัง วะรงั หติ ัง เทวะมะนสุ สานงั พทุ ธะเตเชนะ โสตถนิ า นสั สนั ตุปัททะวา สพั เพ ทกุ ขา วปู ะสะเมนตุ เต สักกัต๎ฺวา ธมั มะระตะนงั โอสะถงั อุตตะมัง วะรงั ปะรฬิ าหูปะสะมะนงั ธัมมะเตเชนะ โสตถินา นัสสันตปุ ทั ทะวา สพั เพ ภะยา วปู ะสะเมนตุ เต สักกตั ว๎ฺ า สังฆะระตะนงั โอสะถัง อุตตะมงั วะรงั อาหุเนยยงั ปาหุเนยยงั สังฆะเตเชนะ โสตถนิ า นัสสนั ตุปทั ทะวา สพั เพ โรคา วปู ะสะเมนตุ เต ฯ ๒๓๓
ค�ำแปลอภัยปริตร ลางร้ายและอวมงคล เสียงนกที่ไม่น่าพึงใจ เคราะห์ร้าย และฝนั ร้าย อันไมน่ ่าปรารถนาอนั ใด ขอความรา้ ยเหล่านนั้ จงถงึ ความพนิ าศสลายไปด้วยพุทธานุภาพ ลางร้ายและอวมงคล เสียงนกที่ไม่น่าพึงใจ เคราะห์ร้าย และฝันร้าย อันไมน่ ่าปรารถนาอันใด ขอความรา้ ยเหลา่ นนั้ จงถึง ความพินาศสลายไปด้วยธรรมานุภาพ ลางร้ายและอวมงคล เสียงนกท่ีไม่น่าพึงใจ เคราะห์ร้าย และฝนั ร้าย อนั ไม่นา่ ปรารถนาอนั ใด ขอความร้ายเหลา่ นน้ั จงถงึ ความพนิ าศสลายไปด้วยสงั ฆานภุ าพ ๒๓๔
อภยั ปริตร สวดปอ้ งกนั อันตรายจากนมิ ิตร้าย ใชส้ วดในงานมงคลทั่วไป หรอื สวดกอ่ นนอนจะฝันดี ยันทุนนิมติ ตัง อะวะมังคะลญั จะ โย จามะนาโป สะกณุ สั สะ สัทโท ปาปัคคะโห ทุสสุปินงั อะกันตงั พุทธานภุ าเวนะ วินาสะเมนตุ ยนั ทุนนมิ ิตตงั อะวะมังคะลัญจะ โย จามะนาโป สะกณุ สั สะ สทั โท ปาปัคคะโห ทสุ สุปนิ งั อะกันตงั ธมั มานภุ าเวนะ วนิ าสะเมนตุ ยันทนุ นิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สทั โท ปาปัคคะโห ทุสสปุ นิ ัง อะกันตัง สังฆานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ ฯ ๒๓๕
คำ� แปลเทวตาอยุ โยชนคาถา ขอสตั วท์ ง้ั ปวง ทม่ี ที กุ ขอ์ ยจู่ งหมดทกุ ข์ ทมี่ ภี ยั อยจู่ งปราศจาก ภยั และทม่ี โี ศกอยูจ่ งสิ้นโศกเถดิ ขอเทวดาทั้งปวง จงอนุโมทนาซึ่งบุญสมบัติอันข้าพเจ้า ทั้งหลายได้ส่ังสมไว้แล้วถึงบัดนี้ เพ่ือความส�ำเร็จแห่งสมบัต ิ ท้งั ปวงเถดิ ขอเทวดาทั้งหลาย จงให้ทาน รักษาศีล ยินดีในภาวนา ด้วยศรัทธาทุกเม่ือ เทวดาที่มาชุมนุมแล้วขอเชิญกลับเถิด ด้วยเดชแห่งพระพุทธเจ้าท้ังหลาย ผู้ทรงถึงพร้อมด้วยพละธรรม ด้วยเดชแห่งพละธรรมของพระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลาย และดว้ ยเดชแหง่ พละธรรม ของพระอรหนั ตท์ ง้ั หลาย ขอใหข้ า้ พเจา้ คุ้มครองรักษาความดไี วไ้ ดโ้ ดยประการทั้งปวง เทอญ ความป้องกันบาปเคราะห์ท้ังหลายจากส�ำนักของเหล่า นักกษัตร ยักษ์และภูตได้มีแล้ว ด้วยอานุภาพแห่งพระปริตร จงกำ� จดั เสยี ซงึ่ อปุ ทวะทงั้ หลาย จากสำ� นกั ของเหลา่ นกั กษตั ร ยกั ษ์ และภูตเหลา่ นน้ั ๒๓๖
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300