ตงั ขณกิ ปจั จเวกขณปาฐะ หนั ทะ มะยงั ตังขะณิกะปจั จะเวกขะณะปาฐงั ภะณามะ เส ปะฏสิ ังขา โยนโิ ส จีวะรัง ปะฏเิ สวามิ เราย่อมพจิ ารณาโดยแยบคายแลว้ นุง่ หม่ จวี ร ยาวะเทวะ สีตสั สะ ปะฏฆิ าตายะ เพยี งเพ่ือบำ� บดั ความหนาว อุณหฺ สั สะ ปะฏิฆาตายะ เพื่อบำ� บัดความร้อน ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะสัมผัสสานัง ปะฏิฆาตายะ เพ่ือบ�ำบดั สมั ผสั อนั เกิดจากเหลอื บยุงลมแดด และสัตว์เลื้อยคลานท้งั หลาย ยาวะเทวะ หิรโิ กปนิ ะ ปะฏจิ ฉาทะนัตถัง และเพียงเพ่อื ปกปดิ อวยั วะอนั ใหเ้ กดิ ความละอาย ปะฏิสังขา โยนโิ ส ปิณฑะปาตัง ปะฏเิ สวามิ เราย่อมพจิ ารณาโดยแยบคายแล้วฉนั บณิ ฑบาต เนวะ ทะวายะ ไม่ให้เปน็ ไปเพือ่ ความเพลดิ เพลนิ สนกุ สนาน ๓๗
นะ มะทายะ ไมใ่ ห้เปน็ ไปเพื่อความเมามนั เกดิ กำ� ลงั พลงั ทางกาย นะ มณั ฑะนายะ ไมใ่ ห้เป็นไปเพือ่ ประดบั นะ วภิ ูสะนายะ ไมใ่ ห้เป็นไปเพ่ือตกแตง่ ยาวะเทวะ อิมัสสะ กายัสสะ ฐิติยา แตใ่ ห้เป็นไปเพยี งเพ่ือความตง้ั อย่ไู ด้แหง่ กายนี้ ยาปะนายะ เพอ่ื ความเปน็ ไปไดข้ องอตั ตภาพ วหิ ิงสปุ ะระตยิ า เพื่อความส้ินไปแหง่ ความล�ำบากทางกาย พฺรหั มฺ ะจะริยานุคคะหายะ เพอ่ื อนุเคราะห์แกก่ ารประพฤติพรหมจรรย์ อิติ ปรุ าณญั จะ เวทะนงั ปะฏิหงั ขามิ ดว้ ยการท�ำอยา่ งนี้ เราย่อมระงบั เสียไดซ้ ึง่ ทุกขเวทนาเก่า คือความหิว นะวัญจะ เวทะนัง นะ อุปปาเทสสามิ และไม่ทำ� ทุกขเวทนาใหมใ่ หเ้ กดิ ข้นึ ๓๘
ยาตรฺ า จะ เม ภะวสิ สะติ อะนะวัชชะตา จะ ผาสุวหิ าโร จาติ อน่งึ ความเปน็ ไปโดยสะดวกแห่งอัตตภาพนีด้ ว้ ย ความเป็นผู้หาโทษมไิ ดด้ ้วย และความเปน็ อยู่โดยผาสกุ ดว้ ย จักมแี ก่เรา ดงั นี้ ปะฏสิ งั ขา โยนิโส เสนาสะนงั ปะฏเิ สวามิ เรายอ่ มพจิ ารณาโดยแยบคายแลว้ ใช้สอยเสนาสนะ ยาวะเทวะ สตี สั สะ ปะฏฆิ าตายะ เพยี งเพือ่ บ�ำบัดความหนาว อุณหฺ สั สะ ปะฏฆิ าตายะ เพือ่ บ�ำบัดความร้อน ฑงั สะมะกะสะวาตาตะปะสริ งิ สะปะสมั ผสั สานัง ปะฏฆิ าตายะ เพอ่ื บำ� บดั สัมผสั อันเกิดจากเหลอื บยุงลมแดด และสตั วเ์ ลอ้ื ยคลานทั้งหลาย ยาวะเทวะ อุตุปะริสสะยะ วิโนทะนงั ปะฏิสัลลานารามัตถงั เพยี งเพอื่ บรรเทาอันตรายอันจะพึงมีจากดินฟ้าอากาศ และเพ่อื ความเป็นผู้ยนิ ดีอยู่ได้ในที่หลีกเร้น ส�ำหรับภาวนา ๓๙
ปะฏิสังขา โยนโิ ส คลิ านะปจั จะยะเภสัชชะปะรกิ ขารงั ปะฏิเสวามิ เราย่อมพจิ ารณาโดยแยบคายแลว้ บรโิ ภคเภสชั บริขาร อันเก้ือกลู แกค่ นไข้ ยาวะเทวะ อปุ ปันนานัง เวยยาพาธกิ านงั เวทะนานัง ปะฏิฆาตายะ เพียงเพื่อบ�ำบัดทุกขเวทนาอันบงั เกิดขึ้นแล้ว มอี าพาธตา่ งๆ เป็นมลู อัพฺยาปัชฌะปะระมะตายาติ เพื่อความเปน็ ผไู้ ม่มโี รคเบยี ดเบียนเปน็ อย่างยิ่ง ดงั น้ี ๔๐
สพั พปตั ติทานคาถา หนั ทะ มะยัง สพั พะปตั ตทิ านะคาถาโย ภะณามะ เส ปุญญสั สิทานิ กะตัสสะ ยานัญญานิ กะตานิ เม, เตสัญจะ ภาคิโน โหนตุ สตั ตานันตาปปะมาณะกา สตั วท์ งั้ หลายไมม่ ีที่สดุ ไมม่ ปี ระมาณ จงมสี ว่ นแหง่ บญุ ที่ขา้ พเจา้ ได้ท�ำในบัดน้ี และแหง่ บุญอืน่ ทีไ่ ด้ท�ำไวก้ ่อนแล้ว เย ปยิ า คุณะวนั ตา จะ มยั หัง มาตาปิตาทะโย, ทิฏฐา เม จาปยฺ ะทิฏฐา วา อัญเญ มัชฌัตตะเวรโิ น คือจะเปน็ สัตวเ์ หล่าใด ซ่ึงเป็นทีร่ กั ใครแ่ ละมบี ญุ คุณ เชน่ มารดาบดิ าของข้าพเจา้ เปน็ ต้นก็ดี ที่ขา้ พเจา้ เห็นแล้วหรือไม่ได้เหน็ กด็ ี สัตวเ์ หล่าอนื่ ท่เี ปน็ กลางๆ หรอื เป็นคเู่ วรกันกด็ ี สตั ตา ตฏิ ฐันติ โลกัสฺมงิ เต ภมุ มา จะตโุ ยนิกา, ปญั เจกะจะตุโวการา สังสะรันตา ภะวาภะเว สตั วท์ ั้งหลายตัง้ อยู่ในโลก อยู่ในภูมิทั้งสาม อยู่ในกำ� เนดิ ท้ังสี่ มขี ันธ์ห้าขันธ์มขี ันธข์ ันธเ์ ดียว มขี นั ธส์ ่ขี ันธ์ ก�ำลังทอ่ งเท่ียวอยใู่ นภพนอ้ ยภพใหญก่ ด็ ี ๔๑
ญาตงั เย ปัตตทิ านมั เม อะนุโมทนั ตุ เต สะยัง, เย จิมัง นัปปะชานนั ติ เทวา เตสงั นิเวทะยงุ สัตวเ์ หลา่ ใดรสู้ ่วนบุญทขี่ า้ พเจา้ แผ่ใหแ้ ลว้ สตั วเ์ หลา่ น้ันจงอนโุ มทนาเองเถดิ ส่วนสัตวเ์ หลา่ ใดยงั ไมร่ ู้ส่วนบุญนี้ ขอเทวดาท้งั หลาย จงบอกสัตว์เหล่านนั้ ใหร้ ู้ มะยา ทินนานะ ปญุ ญานงั อะนุโมทะนะเหตุนา, สัพเพ สัตตา สะทา โหนตุ อะเวรา สุขะชวี ิโน, เขมัปปะทัญจะ ปัปโปนตุ เตสาสา สิชฌะตัง สุภา เพราะเหตุท่ไี ดอ้ นโุ มทนาสว่ นบุญที่ข้าพเจา้ แผใ่ ห้แลว้ สัตว์ทัง้ หลายทง้ั ปวง จงเป็นผู้ไม่มีเวร อย่เู ปน็ สขุ ทกุ เม่อื จงถงึ บทอันเกษม กล่าวคอื พระนิพพาน ความปรารถนาท่ีดีงามของสัตวเ์ หล่านนั้ จงส�ำเรจ็ เถิด ๔๒
ท�ำวตั รเย็น (ค�ำบชู าพระและปพุ พภาคนมการ ใช้อย่างเดยี วกับคำ� ท�ำวัตรเชา้ ) พุทธานุสสติ หันทะ มะยัง พุทธานุสสะตนิ ะยงั กะโรมะ เส ตงั โข ปะนะ ภะคะวนั ตงั เอวัง กลั ฺยาโณ กิตตสิ ทั โท อัพภุคคะโต กก็ ิตติศัพท์อันงามของพระผู้มพี ระภาคเจา้ นน้ั ได้ฟงุ้ ไปแลว้ อยา่ งนว้ี า่ อติ ิปิ โส ภะคะวา เพราะเหตุอย่างนีๆ้ พระผู้มพี ระภาคเจา้ นนั้ อะระหงั เปน็ ผู้ไกลจากกิเลส สมั มาสัมพทุ โธ เปน็ ผ้ตู รัสร้ชู อบไดโ้ ดยพระองคเ์ อง วชิ ชาจะระณะสัมปันโน เป็นผู้ถึงพร้อมดว้ ยวชิ ชาและจรณะ ๔๓
สคุ ะโต เป็นผไู้ ปแลว้ ดว้ ยดี โลกะวทิ ู เป็นผู้รู้โลกอย่างแจม่ แจง้ อนตุ ตะโร ปรุ สิ ะทมั มะสาระถิ เป็นผสู้ ามารถฝกึ บุรษุ ทส่ี มควรฝึกได้ อยา่ งไม่มีใครยิง่ กว่า สตั ถา เทวะมะนุสสานัง เปน็ ครผู ูส้ อนของเทวดาและมนษุ ยท์ ง้ั หลาย พุทโธ เปน็ ผู้รู้ ผูต้ ื่น ผเู้ บิกบานด้วยธรรม ภะคะวาติ เปน็ ผู้มีความจำ� เรญิ จ�ำแนกธรรมสัง่ สอนสัตว์ ดงั น้ี ๔๔
พทุ ธาภคิ ีติ หันทะ มะยัง พุทธาภคิ ีติง กะโรมะ เส พุทธวฺ าระหนั ตะวะระตาทคิ ณุ าภิยตุ โต พระพุทธเจา้ ประกอบดว้ ยคุณ มีความประเสริฐแห่งอรหันตคณุ เป็นตน้ สทุ ธาภิญาณะกะรุณาหิ สะมาคะตัตโต มพี ระองคอ์ ันประกอบดว้ ยพระญาณ และพระกรุณาอันบรสิ ทุ ธ์ิ โพเธสิ โย สุชะนะตงั กะมะลงั วะ สโู ร พระองค์ใดทรงกระทำ� ชนทีด่ ีให้เบกิ บาน ดุจอาทิตยท์ ำ� บัวใหบ้ าน วันทามะหัง ตะมะระณัง สิระสา ชิเนนทัง ขา้ พเจา้ ไหว้พระชนิ สีห์ผไู้ ม่มกี เิ ลสพระองค์นนั้ ด้วยเศียรเกล้า พุทโธ โย สัพพะปาณนี ัง สะระณงั เขมะมุตตะมัง พระพุทธเจ้าพระองค์ใดเป็นสรณะอันเกษมสูงสุด ของสตั ว์ทัง้ หลาย ปะฐะมานุสสะตฏิ ฐานัง วนั ทามิ ตงั สเิ รนะหงั ข้าพเจา้ ไหว้พระพุทธเจา้ พระองคน์ ้นั อันเป็นที่ตัง้ แห่งความระลึกองคท์ ี่หนึ่งด้วยเศียรเกลา้ ๔๕
พุทธสั สาหัสฺมิ ทาโส (ทาส)ี ๑ วะ พทุ โธ เม สามิกสิ สะโร ข้าพเจา้ เป็นทาสของพระพทุ ธเจา้ พระพุทธเจ้าเปน็ นายมีอสิ ระเหนือขา้ พเจา้ พุทโธ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม พระพุทธเจา้ เป็นเครือ่ งกำ� จัดทุกข์ และทรงไวซ้ ึ่งประโยชนแ์ ก่ข้าพเจา้ พทุ ธสั สาหงั นิยยาเทมิ สะรีรญั ชีวิตญั จิทัง ข้าพเจา้ มอบกายถวายชวี ิตนแี้ ด่พระพทุ ธเจ้า วนั ทันโตหัง (วนั ทนั ตหี งั )๑ จะริสสามิ, พทุ ธัสเสวะ สโุ พธิตงั ขา้ พเจา้ ผไู้ หวอ้ ยู่จกั ประพฤติตาม ซงึ่ ความตรสั รดู้ ขี องพระพทุ ธเจา้ นัตถิ เม สะระณงั อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง สรณะอืน่ ของข้าพเจา้ ไม่มี พระพุทธเจา้ เปน็ สรณะอนั ประเสรฐิ ของข้าพเจา้ เอเตนะ สัจจะวชั เชนะ วฑั เฒยยัง สตั ถุ สาสะเน ด้วยการกล่าวคำ� สตั ย์นี้ ขา้ พเจา้ พึงเจรญิ ในพระศาสนาของพระศาสดา ๑ หญิงวา่ ในวงเล็บ ๔๖
พทุ ธัง เม วันทะมาเนนะ (วนั ทะมานายะ)๑ ยงั ปุญญงั ปะสุตงั อธิ ะ ข้าพเจ้าผูไ้ หวอ้ ยู่ซ่งึ พระพุทธเจ้า ได้ขวนขวายบญุ ใดในบดั นี้ สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา อนั ตรายทัง้ ปวงอยา่ ได้มีแก่ขา้ พเจ้า ด้วยเดชแหง่ บุญนัน้ (หมอบกราบลง) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา ด้วยกายกด็ ีดว้ ยวาจาก็ดีดว้ ยใจกด็ ี พทุ เธ กุกมั มงั ปะกะตงั มะยา ยงั กรรมนา่ ติเตยี นอันใดที่ข้าพเจา้ กระทำ� แล้ว ในพระพุทธเจา้ พุทโธ ปะฏิคคัณหะตุ อจั จะยันตัง ขอพระพุทธเจา้ จงงดซงึ่ โทษล่วงเกนิ อนั นั้น กาลันตะเร สังวะริตงุ วะ พุทเธ เพอื่ การส�ำรวมระวังในพระพทุ ธเจ้าในกาลต่อไป ๑ หญิงว่าในวงเล็บ ๔๗
ธมั มานุสสติ หนั ทะ มะยงั ธัมมานสุ สะตนิ ะยัง กะโรมะ เส สวฺ ากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม พระธรรมเป็นส่ิงที่พระผมู้ ีพระภาคเจ้าไดต้ รัสไว้ดีแลว้ สนั ทฏิ ฐโิ ก เปน็ สงิ่ ทผ่ี ศู้ ึกษาและปฏบิ ัตพิ งึ เห็นไดด้ ว้ ยตนเอง อะกาลโิ ก เปน็ ส่งิ ทป่ี ฏิบตั ิไดแ้ ละใหผ้ ลได้ไมจ่ �ำกัดกาล เอหิปัสสิโก เปน็ สง่ิ ทค่ี วรกลา่ วกับผู้อื่นว่าท่านจงมาดูเถิด โอปะนะยโิ ก เปน็ สิง่ ทค่ี วรน้อมเขา้ มาใสต่ ัว ปจั จัตตัง เวทิตัพโพ วญิ ญหู ๑ี ติ เปน็ ส่งิ ท่ผี ู้รกู้ ็ร้ไู ดเ้ ฉพาะตน ดงั น้ี ๑ ออกเสยี ง ฮี ๔๘
ธมั มาภิคีติ หันทะ มะยงั ธัมมาภิคตี ิง กะโรมะ เส สฺวากขาตะตาทิคณุ ะโยคะวะเสนะ เสยโย พระธรรมเป็นส่งิ ท่ีประเสริฐเพราะประกอบดว้ ยคุณ คือความท่ีพระผมู้ พี ระภาคเจ้า ตรสั ไวด้ แี ลว้ เปน็ ต้น โย มคั คะปากะปะริยตั ตวิ ิโมกขะเภโท เปน็ ธรรมอันจำ� แนกเป็นมรรคผลปริยัตแิ ละนพิ พาน ธมั โม กโุ ลกะปะตะนา ตะทะธารธิ ารี เปน็ ธรรมทรงไวซ้ ง่ึ ผทู้ รงธรรมจากการตกไปสโู่ ลกทช่ี ว่ั วนั ทามะหัง ตะมะหะรัง วะระธัมมะเมตัง ขา้ พเจ้าไหว้พระธรรมอนั ประเสริฐนั้น อนั เปน็ เครือ่ งขจัดเสยี ซ่ึงความมืด ธมั โม โย สัพพะปาณนี ัง สะระณัง เขมะมตุ ตะมัง พระธรรมใดเปน็ สรณะอันเกษมสงู สดุ ของสตั ว์ทง้ั หลาย ทุตยิ านุสสะติฏฐานัง วนั ทามิ ตัง สเิ รนะหัง ขา้ พเจา้ ไหว้พระธรรมนน้ั อันเป็นท่ตี ้งั แห่งความระลกึ องคท์ ีส่ องดว้ ยเศยี รเกล้า ๔๙
ธัมมัสสาหสั มฺ ิ ทาโส (ทาสี)๑ วะ ธัมโม เม สามกิ สิ สะโร ขา้ พเจ้าเปน็ ทาสของพระธรรม พระธรรมเปน็ นายมอี สิ ระเหนือขา้ พเจา้ ธัมโม ทกุ ขสั สะ ฆาตา จะ วธิ าตา จะ หติ ัสสะ เม พระธรรมเป็นเคร่ืองกำ� จดั ทุกข์ และทรงไวซ้ ่ึงประโยชนแ์ ก่ข้าพเจา้ ธมั มสั สาหัง นิยยาเทมิ สะรรี ญั ชวี ติ ญั จิทงั ขา้ พเจา้ มอบกายถวายชวี ติ นแี้ ดพ่ ระธรรม วนั ทันโตหงั (วันทนั ตีหัง)๑ จะริสสามิ, ธมั มสั เสวะ สุธมั มะตัง ข้าพเจา้ ผ้ไู หว้อยู่จกั ประพฤตติ าม ซง่ึ ความเป็นธรรมดีของพระธรรม นตั ถิ เม สะระณงั อัญญัง ธมั โม เม สะระณัง วะรัง สรณะอื่นของขา้ พเจ้าไมม่ ี พระธรรมเปน็ สรณะอนั ประเสรฐิ ของข้าพเจ้า เอเตนะ สัจจะวชั เชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน ดว้ ยการกล่าวคำ� สัตย์น้ี ขา้ พเจ้าพึงเจรญิ ในพระศาสนาของพระศาสดา ๑ หญิงว่าในวงเล็บ ๕๐
ธมั มงั เม วนั ทะมาเนนะ (วันทะมานายะ)๑ ยัง ปญุ ญงั ปะสุตัง อธิ ะ ข้าพเจ้าผ้ไู หว้อยู่ซง่ึ พระธรรม ได้ขวนขวายบุญใดในบัดน้ี สพั เพปิ อนั ตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา อนั ตรายท้งั ปวงอย่าได้มแี กข่ า้ พเจ้า ด้วยเดชแห่งบญุ น้ัน (หมอบกราบลง) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา ดว้ ยกายกด็ ีด้วยวาจาก็ดีดว้ ยใจก็ดี ธัมเม กกุ ัมมัง ปะกะตัง มะยา ยงั กรรมน่าตเิ ตยี นอนั ใดทข่ี ้าพเจา้ กระทำ� แล้วในพระธรรม ธมั โม ปะฏคิ คณั หะตุ อัจจะยนั ตงั ขอพระธรรมจงงดซงึ่ โทษลว่ งเกินอนั นัน้ กาลนั ตะเร สงั วะริตงุ วะ ธัมเม เพ่ือการสำ� รวมระวงั ในพระธรรมในกาลต่อไป ๑ หญงิ ว่าในวงเลบ็ ๕๑
สงั ฆานสุ สติ หนั ทะ มะยงั สงั ฆานสุ สะตินะยงั กะโรมะ เส สปุ ะฏปิ ันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สงฆส์ าวกของพระผู้มีพระภาคเจา้ หมู่ใด ปฏิบตั ิดีแลว้ อชุ ุปะฏปิ นั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สงฆส์ าวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมูใ่ ด ปฏบิ ตั ิตรงแลว้ ญายะปะฏปิ ันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ สงฆส์ าวกของพระผมู้ พี ระภาคเจ้าหมูใ่ ด ปฏบิ ัตเิ พ่อื รธู้ รรมเปน็ เคร่อื งออกจากทกุ ขแ์ ลว้ สามจี ปิ ะฏปิ ันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ สงฆ์สาวกของพระผมู้ พี ระภาคเจา้ หมูใ่ ด ปฏบิ ตั ิสมควรแล้ว ยะทิทงั ได้แก่บคุ คลเหล่านคี้ ือ จตั ตาริ ปรุ ิสะยุคานิ อัฏฐะ ปรุ สิ ะปคุ คะลา คู่แหง่ บุรษุ สค่ี ู่ นับเรยี งตัวบรุ ุษได้แปดบรุ ษุ เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ น่ันแหละสงฆ์สาวกของพระผู้มพี ระภาคเจา้ ๕๒
อาหเุ นยโย เปน็ สงฆ์ควรแกส่ ักการะที่เขานำ� มาบชู า ปาหเุ นยโย เป็นสงฆค์ วรแกส่ กั การะท่ีเขาจัดไวต้ ้อนรับ ทกั ขิเณยโย เปน็ ผ้คู วรรบั ทักษณิ าทาน อญั ชะลีกะระณีโย เปน็ ผทู้ ่ีบุคคลท่วั ไปควรทำ� อญั ชลี อะนุตตะรงั ปุญญกั เขตตัง โลกสั สาติ เปน็ เนอ้ื นาบญุ ของโลก ไมม่ ีนาบุญอ่ืนยิ่งกว่า ดงั นี้ ๕๓
สงั ฆาภิคีติ หันทะ มะยงั สังฆาภิคีตงิ กะโรมะ เส สทั ธมั มะโช สุปะฏปิ ัตตคิ ุณาทยิ ตุ โต พระสงฆ์ทีเ่ กดิ โดยพระสทั ธรรม ประกอบด้วยคณุ มีความปฏิบัติดเี ปน็ ตน้ โยฏฐัพพิโธ อะรยิ ะปคุ คะละสงั ฆะเสฏโฐ เปน็ หมู่แห่งพระอริยบุคคลอนั ประเสรฐิ แปดจ�ำพวก สีลาทิธมั มะปะวะราสะยะกายะจิตโต มีกายและจติ อนั อาศยั ธรรมมีศีลเปน็ ตน้ อนั บวร วันทามะหัง ตะมะริยานะคะณัง สสุ ุทธงั ขา้ พเจา้ ไหว้หมู่แหง่ พระอรยิ เจ้าเหลา่ น้นั อันบริสทุ ธิด์ ว้ ยดี สังโฆ โย สัพพะปาณีนงั สะระณัง เขมะมุตตะมัง พระสงฆ์หมใู่ ดเปน็ สรณะอนั เกษมสงู สุดของสัตว์ ทัง้ หลาย ตะติยานุสสะติฏฐานัง วนั ทามิ ตัง สิเรนะหงั ขา้ พเจ้าไหวพ้ ระสงฆ์หมนู่ ั้น อนั เป็นที่ต้งั แห่งความระลึกองค์ท่ีสามด้วยเศียรเกลา้ ๕๔
สงั ฆสั สาหสั มฺ ิ ทาโส (ทาส)ี ๑ วะ สังโฆ เม สามิกิสสะโร ขา้ พเจ้าเปน็ ทาสของพระสงฆ์ พระสงฆเ์ ปน็ นาย มีอสิ ระเหนอื ข้าพเจา้ สังโฆ ทุกขสั สะ ฆาตา จะ วธิ าตา จะ หิตสั สะ เม พระสงฆเ์ ปน็ เครอื่ งก�ำจัดทกุ ข์ และทรงไวซ้ ่งึ ประโยชน์แกข่ ้าพเจ้า สังฆัสสาหงั นิยยาเทมิ สะรรี ัญชีวิตญั จทิ งั ข้าพเจา้ มอบกายถวายชวี ติ น้ีแด่พระสงฆ์ วันทันโตหัง (วนั ทันตีหัง)๑ จะริสสาม,ิ สังฆสั โสปะฏิปนั นะตัง ขา้ พเจา้ ผไู้ หว้อยจู่ ักประพฤติตาม ซ่ึงความปฏบิ ัติดีของพระสงฆ์ นัตถิ เม สะระณัง อัญญงั สังโฆ เม สะระณงั วะรัง สรณะอ่ืนของข้าพเจ้าไม่มี พระสงฆเ์ ป็นสรณะอันประเสริฐของขา้ พเจ้า เอเตนะ สจั จะวชั เชนะ วฑั เฒยยัง สตั ถุ สาสะเน ด้วยการกล่าวคำ� สตั ยน์ ี้ ขา้ พเจา้ พึงเจริญในพระศาสนาของพระศาสดา ๑ หญิงวา่ ในวงเล็บ ๕๕
สงั ฆัง เม วนั ทะมาเนนะ (วนั ทะมานายะ)๑, ยัง ปุญญัง ปะสุตงั อิธะ ข้าพเจา้ ผไู้ หว้อยซู่ งึ่ พระสงฆ์ ได้ขวนขวายบุญใดในบดั น้ี สัพเพปิ อนั ตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา อันตรายทัง้ ปวงอย่าไดม้ แี ก่ขา้ พเจ้า ด้วยเดชแห่งบญุ น้ัน (หมอบกราบลง) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา ดว้ ยกายกด็ ีด้วยวาจากด็ ดี ้วยใจกด็ ี สังเฆ กุกมั มงั ปะกะตัง มะยา ยงั กรรมน่าติเตียนอนั ใดทีข่ า้ พเจ้ากระทำ� แลว้ ในพระสงฆ์ สงั โฆ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตงั ขอพระสงฆจ์ งงดซ่งึ โทษล่วงเกินอันน้ัน กาลันตะเร สังวะรติ ุง วะ สังเฆ เพ่อื การสำ� รวมระวงั ในพระสงฆ์ในกาลต่อไป (จบค�ำทำ� วัตรเย็น) ๑ หญงิ ว่าในวงเล็บ ๕๖
อตีตปัจจเวกขณปาฐะ หนั ทะ มะยัง อะตีตะปจั จะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส อัชชะ มะยา อะปจั จะเวกขติ วฺ า ยงั จวี ะรงั ปะริภุตตัง จวี รใดอนั เรานุ่งห่มแล้วไมท่ ันพิจารณาในวนั น้ี ตัง ยาวะเทวะ สีตสั สะ ปะฏิฆาตายะ จีวรน้ันเราน่งุ หม่ แล้วเพยี งเพื่อบำ� บดั ความหนาว อณุ ฺหัสสะ ปะฏิฆาตายะ เพื่อบำ� บดั ความรอ้ น ฑงั สะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะสมั ผสั สานงั ปะฏฆิ าตายะ เพื่อบ�ำบดั สัมผสั อนั เกิดจากเหลอื บยุงลมแดด และสตั ว์เลือ้ ยคลานท้ังหลาย ยาวะเทวะ หิรโิ กปินะปะฏิจฉาทะนตั ถงั และเพยี งเพ่อื ปกปดิ อวยั วะอนั ให้เกดิ ความละอาย อัชชะ มะยา อะปจั จะเวกขติ ฺวา โย ปิณฑะปาโต ปะรภิ ตุ โต บณิ ฑบาตใดอันเราฉนั แล้วไม่ทนั พิจารณาในวนั น้ี ๕๗
โส เนวะ ทวฺ ายะ บิณฑบาตน้นั เราฉนั แลว้ ไมใ่ ชเ่ ป็นไป เพื่อความเพลิดเพลนิ สนกุ สนาน นะ มะทายะ ไมใ่ ช่เปน็ ไปเพ่ือความเมามนั เกิดกำ� ลงั พลังทางกาย นะ มัณฑะนายะ ไมใ่ ช่เปน็ ไปเพอ่ื ประดบั นะ วภิ ูสะนายะ ไม่ใชเ่ ป็นไปเพ่ือตกแต่ง ยาวะเทวะ อมิ ัสสะ กายัสสะ ฐติ ิยา แตใ่ หเ้ ปน็ ไปเพยี งเพอ่ื ความตั้งอยู่ไดแ้ ห่งกายนี้ ยาปะนายะ เพื่อความเป็นไปไดข้ องอตั ตภาพ วหิ งิ สุปะระตยิ า เพื่อความสิ้นไปแหง่ ความล�ำบากทางกาย พรฺ ัหฺมะจะรยิ านคุ คะหายะ เพ่อื อนุเคราะหแ์ กก่ ารประพฤตพิ รหมจรรย์ อิติ ปรุ าณัญจะ เวทะนงั ปะฏหิ ังขามิ ด้วยการทำ� อย่างน้ี เราย่อมระงับเสียได้ซ่ึงทกุ ขเวทนาเกา่ คือความหิว ๕๘
นะวญั จะ เวทะนัง นะ อุปปาเทสสามิ และไม่ท�ำทุกขเวทนาใหม่ให้เกิดขึน้ ยาตฺรา จะ เม ภะวิสสะติ อะนะวชั ชะตา จะ ผาสุวหิ าโร จาติ อนง่ึ ความเป็นไปโดยสะดวกแห่งอัตตภาพนด้ี ว้ ย ความเป็นผหู้ าโทษมิไดด้ ้วย และความเป็นอยู่โดยผาสุกดว้ ย จกั มีแก่เรา ดังนี้ อชั ชะ มะยา อะปัจจะเวกขติ วฺ า ยัง เสนาสะนัง ปะริภุตตงั เสนาสนะใดอนั เราใชส้ อยแล้วไมท่ ันพจิ ารณาในวนั น้ี ตงั ยาวะเทวะ สตี ัสสะ ปะฏิฆาตายะ เสนาสนะน้นั เราใชส้ อยแลว้ เพียงเพ่ือบ�ำบดั ความหนาว อุณฺหัสสะ ปะฏฆิ าตายะ เพือ่ บ�ำบัดความรอ้ น ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสริ ิงสะปะสัมผสั สานัง ปะฏฆิ าตายะ เพ่ือบำ� บัดสัมผัสอนั เกดิ จากเหลอื บยงุ ลมแดด และสตั ว์เลือ้ ยคลานทั้งหลาย ๕๙
ยาวะเทวะ อตุ ุปะริสสะยะวโิ นทะนัง ปะฏสิ ัลลานารามตั ถงั เพยี งเพือ่ บรรเทาอันตรายอนั จะพึงมีจากดนิ ฟ้าอากาศ และเพ่อื ความเป็นผยู้ นิ ดอี ยูไ่ ดใ้ นทห่ี ลีกเร้น สำ� หรบั ภาวนา อชั ชะ มะยา อะปัจจะเวกขิตวฺ า โย คลิ านะปจั จะยะเภสัชชะปะริกขาโร ปะรภิ ุตโต คลิ านะเภสชั บริขารใดอนั เราบรโิ ภคแล้ว ไมท่ ันพิจารณาในวนั น้ี โส ยาวะเทวะ อุปปนั นานงั เวยยาพาธกิ านัง เวทะนานัง ปะฏิฆาตายะ คลิ านะเภสัชบริขารนั้นเราบรโิ ภคแลว้ เพียงเพื่อบ�ำบดั ทุกขเวทนาอนั บังเกดิ ข้นึ แลว้ มอี าพาธตา่ งๆ เป็นมลู อพั ยฺ าปชั ฌะปะระมะตายาติ เพื่อความเป็นผไู้ ม่มโี รคเบียดเบียนเปน็ อย่างยง่ิ ดงั นี้ ๖๐
ปัพพชิตอภณิ ฺหปจั จเวกขณปาฐะ หันทะ มะยงั ปพั พะชติ ะอะภณิ ฺหะ ปัจจเวกขะณะปาฐงั ภะณามะ เส ทะสะ อเิ ม ภกิ ขะเว ธัมมา ดูกอ่ นภกิ ษุท้งั หลาย ธรรมท้ังหลายสิบประการเหลา่ น้ี มีอยู่ ปพั พะชิเตนะ อะภิณฺหงั ปัจจะเวกขติ ัพพา เป็นธรรมท่ีบรรพชติ พึงพิจารณาโดยแจ่มชดั อยู่เนอื งนจิ กะตะเม ทะสะ ธรรมทง้ั หลายสิบประการน้ันเปน็ อยา่ งไรเล่า เววัณณิยมั หิ อัชฌปู ะคะโตต,ิ ปัพพะชิเตนะ อะภณิ หฺ ัง ปจั จะเวกขิตัพพัง คอื บรรพชิตพงึ พิจารณาโดยแจ่มชัด อยเู่ นืองนจิ ว่า เราเป็นผ้เู ขา้ ถงึ เฉพาะแล้ว ซึง่ วรรณะอนั ตา่ ง อนั พเิ ศษ ดังนี้ ปะระปะฏิพทั ธา เม ชีวิกาติ, ปัพพะชเิ ตนะ อะภณิ หฺ ัง ปจั จะเวกขติ ัพพงั บรรพชิตพึงพจิ ารณาโดยแจม่ ชัด อยเู่ นืองนิจว่า การเล้ยี งชีวติ ของเรา เนอ่ื งเฉพาะแลว้ ดว้ ยผู้อน่ื ดงั น้ี ๖๑
อญั โญ เม อากปั โป กะระณีโยต,ิ ปัพพะชิเตนะ อะภณิ หฺ ัง ปัจจะเวกขิตัพพงั บรรพชติ พงึ พิจารณาโดยแจ่มชดั อยเู่ นอื งนจิ วา่ ระเบียบการปฏบิ ัติอยา่ งอืน่ ทเี่ ราจะต้องทำ� มอี ยู่ ดังนี้ กัจจิ นุ โข เม อตั ตา สีละโต นะ อปุ ะวะทะตตี ,ิ ปัพพะชิเตนะ อะภิณหฺ ัง ปจั จะเวกขิตัพพงั บรรพชิตพึงพิจารณาโดยแจ่มชัด อยู่เนืองนิจว่า เมอ่ื กล่าวโดยศีล เรายอ่ มต�ำหนติ ิเตียนตนเองไม่ได้ มิใช่หรอื ดังน้ี กจั จิ นุ โข มงั อะนวุ จิ จะ วญิ ญู สะพฺรหั มฺ ะจารี สลี ะโต นะ อุปะวะทนั ตีต,ิ ปัพพะชเิ ตนะ อะภณิ ฺหงั ปัจจะเวกขิตพั พงั บรรพชติ พงึ พจิ ารณาโดยแจ่มชัด อยู่เนอื งนจิ วา่ เมอื่ กล่าวโดยศลี เพอื่ นสพรหมจารที เี่ ป็นวิญญชู น ใคร่ครวญแล้ว ยอ่ มตำ� หนติ ิเตียนเราไมไ่ ด้ มิใชห่ รือ ดงั น้ี สัพเพหิ เม ปิเยหิ มะนาเปหิ นานาภาโว วินาภาโวติ, ปัพพะชเิ ตนะ อะภิณฺหัง ปัจจะเวกขติ ัพพงั บรรพชติ พงึ พิจารณาโดยแจม่ ชดั อยู่เนืองนิจว่า ความพลดั พรากจากของรกั ของชอบใจทง้ั สน้ิ จกั มีแก่เรา ดังนี้ ๖๒
กัมมสั สะโกมฺหิ กัมมะทายาโท กมั มะโยนิ กมั มะพันธุ กมั มะปะฏิสะระโณ ยงั กมั มงั กะริสสามิ กัลยฺ าณงั วา ปาปะกงั วา ตัสสะทายาโท ภะวสิ สามตี ิ, ปพั พะชเิ ตนะ อะภณิ ฺหัง ปัจจะเวกขิตัพพัง บรรพชิตพงึ พจิ ารณาโดยแจ่มชัด อยเู่ นอื งนจิ วา่ เราเป็นผู้มีกรรมเปน็ ของตน มกี รรมท่ตี ้องรบั ผลเป็นมรดกตกทอด มีกรรมเป็นทก่ี �ำเนดิ มกี รรมเปน็ เผ่าพันธุ์ มีกรรมเปน็ ที่พง่ึ อาศยั เราท�ำกรรมใดไว้ ดกี ็ตาม ชวั่ กต็ าม เราจกั เปน็ ผรู้ บั ผลตกทอดแหง่ กรรมนนั้ ดงั นี้ กะถัมภตู ัสสะ เม รัตตนิ ทวิ า วีติปะตนั ตีติ, ปัพพะชเิ ตนะ อะภิณฺหงั ปจั จะเวกขิตพั พัง บรรพชิตพงึ พิจารณาโดยแจ่มชัด อย่เู นอื งนิจว่า วันคืนล่วงไป ลว่ งไป ในเมอ่ื เราก�ำลังเปน็ อยู่ ในสภาพเช่นไร ดังน้ี กจั จิ นโุ ขหงั สุญญาคาเร อะภิระมามตี ,ิ ปัพพะชิเตนะ อะภณิ หฺ งั ปจั จะเวกขิตพั พัง บรรพชิตพึงพจิ ารณาโดยแจม่ ชัด อยู่เนอื งนจิ วา่ เราย่อมยนิ ดีในโรงเรือนอนั สงัด อยหู่ รือหนอ ดังนี้ ๖๓
อัตถิ นโุ ข เม อุตตะริมะนสุ สะธัมมา อะละมะริยะญาณะทสั สะนะวเิ สโส อะธิคะโต โสหัง ปจั ฉเิ ม กาเล สะพฺรหั มฺ ะจารีหิ ปฏุ โฐ นะ มงั กุ ภะวสิ สามตี ,ิ ปพั พะชิเตนะ อะภณิ ฺหงั ปัจจะเวกขิตพั พงั บรรพชติ พึงพจิ ารณาโดยแจม่ ชัด อยเู่ นืองนิจวา่ ญาณทศั นะอนั วิเศษ ควรแก่พระอรยิ เจ้า อันย่งิ กว่าวิสัยธรรมดาของมนุษย์ ท่ีเราได้บรรลุแลว้ เพอ่ื เราจะไม่เปน็ ผ้เู กอ้ เขิน เม่ือถูกเพ่อื นสพรหมจารี ด้วยกนั ถามในภายหลัง มอี ยแู่ กเ่ ราหรือไม่ ดงั น้ี อเิ ม โข ภกิ ขะเว ทะสะ ธัมมา ดูก่อนภกิ ษุทงั้ หลาย ธรรมทัง้ หลายสิบประการเหล่านี้แล ปัพพะชิเตนะ อะภณิ ฺหงั ปจั จะเวกขิตัพพา เปน็ ธรรมทบ่ี รรพชิตพงึ พจิ ารณาโดยแจม่ ชัด อยู่เนืองนจิ อิติ ดว้ ยอาการอยา่ งนแี้ ล ๖๔
สมณสญั ญา หนั ทะ มะยัง สะมะณะสญั ญาปาฐัง ภะณามะ เส สะมะณา สะมะณาติ โว ภกิ ขะเว ชะโน สัญชานาติ ดกู อ่ นภกิ ษุทง้ั หลาย มหาชนเขาย่อมรจู้ ักเธอท้งั หลายว่าเปน็ สมณะ ตมุ เห จะ ปะนะ เก ตมุ เหหิ ปุฏฐา สะมานา กแ็ หละเธอทั้งหลายเล่า เมือ่ ถกู ถามวา่ ท่านเปน็ อะไร สะมะณัมหาติ ปะฏิชานาถะ พวกเธอกย็ ่อมปฏิญญาวา่ เราเป็นสมณะ เตสัง โว ภิกขะเว เอวัง สะมัญญานงั สะตงั ดกู ่อนภิกษทุ ั้งหลาย เมอ่ื พวกเธอนนั้ มีชอื่ วา่ สมณะอยูอ่ ย่างนี้ เอวงั ปะฏิญญานงั สะตงั ท้ังปฏิญญาตวั ว่า เป็นสมณะอยู่อย่างนี้ ยา สะมะณะสามีจิปะฏปิ ะทา ขอ้ ปฏบิ ัตอิ ยา่ งใด เป็นความสมควรแก่สมณะ ตงั ปะฏปิ ะทัง ปะฏิปัชชิสสามะ เราจะปฏิบัตซิ ่ึงข้อปฏบิ ัตอิ ยา่ งนน้ั เอวันโน เมือ่ การปฏบิ ตั ขิ องเราอย่างน้ี มอี ยู่ ๖๕
อะยงั อัมหากงั สะมญั ญา จะ สัจจา ภะวิสสะติ ปะฏญิ ญา จะ ภตู า ทั้งชื่อทงั้ ความปฏญิ ญาของเรานกี้ จ็ ักเป็นจริงได้ เยสัญจะ มะยงั จวี ะระ ปณิ ฑะปาตะ เสนาสนะ คิลานะปัจจะยะเภสชั ชะปะรกิ ขาเร ปะริภญุ ชามะ อนงึ่ เราบรโิ ภคจวี รบิณฑบาตเสนาสนะ และคิลานะเภสัชบรขิ ารของชนเหลา่ ใด เตสนั เต การา อัมเหสุ มะหปั ผะลา ภะวิสสันติ มะหานสิ ังสา ความอปุ การะของเขาเหลา่ นนั้ ในเราทง้ั หลาย กจ็ ักมีผลใหญ่ มอี านสิ งสใ์ หญ่ อัมหากัญเจวายงั ปพั พัชชา อะวัญฌา ภะวสิ สะติ อนงึ่ การบรรพชาของเราก็จักไมเ่ ปน็ หมันเปล่า สะผะลา สะอทุ ะระยาติ แตจ่ ักเปน็ บรรพชาทีม่ ีผล เปน็ บรรพชาท่ีมีก�ำไร เอวัญหิ โว ภกิ ขะเว สกิ ขิตัพพงั ดกู อ่ นภิกษุทั้งหลาย เธอทัง้ หลายพึงศึกษาส�ำเหนียกอยา่ งน้แี ล ๖๖
สามเณรสิกขา (สกิ ขาบท ๑๐) อะนญุ ญาสิ โข ภะคะวา พระผูม้ ีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตไว้แลว้ แล สามะเณรานัง ทะสะ สิกขาปะทานิ ซงึ่ สกิ ขาบทสิบประการแก่สามเณรท้ังหลาย เตสุ จะ สามะเณเรหิ สกิ ขติ งุ และเพื่อให้สามเณรศึกษาในสิกขาบทเหลา่ นน้ั คอื ปาณาตปิ าตา เวระมะณี เจตนาเครื่องงดเวน้ จากการทำ� สตั วท์ มี่ ีชีวติ ใหต้ ก ลว่ งไป อะทินนาทานา เวระมะณี เจตนาเครอ่ื งงดเวน้ จากการถอื เอาของที่เจ้าของ ไม่ได้ให้ อะพรฺ หั มฺ ะจะรยิ า เวระมะณี เจตนาเคร่อื งงดเว้นจากกรรม อันเป็นขา้ ศึกแก่พรหมจรรย์ มสุ าวาทา เวระมะณี เจตนาเครื่องงดเว้นจากการพูดปด ๖๗
สรุ าเมระยะมัชชะปะมาทฏั ฐานา เวระมะณี เจตนาเครอ่ื งงดเว้นจากเหตุอนั เปน็ ท่ีตงั้ แหง่ ความประมาทคือการดื่มกินสรุ าและเมรัย วกิ าละโภชะนา เวระมะณี เจตนาเครอ่ื งงดเวน้ จากการบริโภคอาหาร ในเวลาวิกาล นัจจะคีตะวาทิตะวิสกู ะทัสสะนา เวระมะณี เจตนาเครอ่ื งงดเวน้ จากการขับร้องฟ้อนรำ� และประโคมดนตรีและดูการละเล่นต่างๆ มาลาคันธะวิเลปะนะธาระณะมัณฑะนะวิภูสะนัฏฐานา เวระมะณี เจตนาเคร่อื งงดเว้นจากการทดั ทรงดอกไม้ประดบั ตกแตง่ ด้วยดอกไม้ของหอมเคร่ืองยอ้ มเครอ่ื งทา อุจจาสะยะนะมะหาสะยะนา เวระมะณี เจตนาเครอื่ งงดเว้นจากการนง่ั หรอื นอน เหนือที่นัง่ ท่นี อนอันสงู อันใหญ่ ชาตะรปู ะระชะตะปะฏคิ คะหะณา เวระมะณี เจตนาเคร่ืองงดเว้นจากการรบั เงินและทอง (นาสนังคะ ๑๐) อะนญุ ญาสิ โข ภะคะวา พระผ้มู พี ระภาคเจ้าทรงอนุญาตไว้แลว้ แล ๖๘
ทะสะหิ อังเคหิ สะมันนาคะตัง สามะเณรัง นาเสตุง เพือ่ ยงั สามเณรผ้ปู ระกอบด้วยองค์สบิ ให้ฉิบหาย กะตะเมหิ ทะสะหิ องค์สบิ อะไรบา้ ง ปาณาตปิ าตี โหติ คือสามเณรชอบท�ำสัตว์ทีม่ ชี ีวิตให้ตกลว่ งไป อะทนิ นาทายี โหติ สามเณรชอบถือเอาสงิ่ ของทเี่ จ้าของเขาไม่ไดใ้ ห้ อะพรฺ หั มฺ ะจารี โหติ สามเณรไมช่ อบประพฤตพิ รหมจรรย์ มสุ าวาที โหติ สามเณรชอบพดู ปด มัชชะปายี โหติ สามเณรชอบดมื่ กนิ ของเมา พุทธัสสะ อะวณั ณัง ภาสะติ สามเณรกลา่ วตเิ ตียนพระพทุ ธเจา้ ธัมมัสสะ อะวัณณัง ภาสะติ สามเณรกลา่ วตเิ ตียนพระธรรม สงั ฆัสสะ อะวัณณัง ภาสะติ สามเณรกล่าวติเตียนพระสงฆ์ ๖๙
มจิ ฉาทิฏฐิโก โหติ สามเณรเปน็ ผมู้ ีความเหน็ ผดิ จากธรรมวนิ ัย ภกิ ขุณที ูสะโก โหติ สามเณรชอบประทุษร้ายภกิ ษุณี อะนุญญาสิ โข ภะคะวา พระผ้มู ีพระภาคเจ้าทรงอนญุ าตไว้แลว้ แล อเิ มหิ ทะสะหิ อังเคหิ สะมันนาคะตงั สามะเณรงั นาเสตนุ ติ เพอ่ื ยงั สามเณรผูป้ ระกอบดว้ ยองคส์ ิบเหล่านี้ ให้ฉิบหาย ดังน้ี (ทัณฑกรรม ๕) อะนุญญาสิ โข ภะคะวา พระผมู้ ีพระภาคเจา้ ทรงอนญุ าตไว้แลว้ แล ปญั จะหิ องั เคหิ สะมนั นาคะตสั สะ สามะเณรสั สะ ทณั ฑะกัมมงั กาตุง เพอ่ื ท�ำทณั ฑกรรมคอื ลงโทษแกส่ ามเณรผ้ปู ระกอบ ดว้ ยองค์หา้ อย่าง กะตะเมหิ ปญั จะหิ องค์หา้ อยา่ งอะไรบา้ ง ภิกขูนัง อะลาภายะ ปะรสิ กั กะติ คือสามเณรพยายามท�ำให้ภกิ ษุเส่อื มลาภท่คี วรจะได้ ๗๐
ภกิ ขนู งั อะนตั ถายะ ปะรสิ ักกะติ สามเณรพยายามทำ� สิง่ ทไ่ี ม่เป็นประโยชน์ แก่ภกิ ษทุ ัง้ หลาย ภิกขนู ัง อะนาวาสายะ ปะรสิ กั กะติ สามเณรพยายามทำ� ไม่ใหภ้ ิกษอุ ยู่อยา่ งสงบ ภกิ ขู อักโกสะติ ปะริภาสะติ สามเณรดา่ และพดู ขู่ภิกษุทงั้ หลาย ภิกขู ภิกขูหิ เภเทติ สามเณรยุให้ภิกษแุ ตกกัน อะนญุ ญาสิ โข ภะคะวา พระผ้มู พี ระภาคเจา้ ทรงอนญุ าตไว้แลว้ แล อิเมหิ ปญั จะหิ องั เคหิ สะมนั นาคะตัสสะ สามะเณรัสสะ ทณั ฑะกัมมงั กาตุนติ เพอื่ ท�ำทณั ฑกรรมแกส่ ามเณรผูท้ �ำผดิ ประกอบดว้ ยองค์หา้ อยา่ งเหลา่ น้ี ดงั น้ี นอกจากนี้แลว้ สามเณรยังจะตอ้ งศกึ ษา และปฏิบัติตามเสขิยวตั ร ๗๕ ข้อ อกี ด้วย เพ่ือรกั ษากิรยิ ามารยาทใหเ้ รียบร้อย สมกับความเปน็ เหล่ากอของสมณะทดี่ ี ๗๑
สรณคมนปาฐะ หันทะ มะยัง ตสิ ะระณะคะมะนะปาฐงั ภะณามะ เส พุทธงั สะระณงั คัจฉามิ ข้าพเจา้ ถือเอาพระพุทธเจา้ เปน็ สรณะ ธัมมงั สะระณัง คัจฉามิ ข้าพเจา้ ถือเอาพระธรรมเปน็ สรณะ สังฆัง สะระณัง คจั ฉามิ ขา้ พเจา้ ถือเอาพระสงฆ์เปน็ สรณะ ทตุ ยิ ัมปิ พุทธัง สะระณงั คจั ฉามิ แมค้ รั้งท่ีสองข้าพเจ้าถือเอาพระพทุ ธเจ้าเป็นสรณะ ทุติยัมปิ ธมั มงั สะระณัง คัจฉามิ แมค้ ร้ังทีส่ องข้าพเจ้าถือเอาพระธรรมเปน็ สรณะ ทุติยัมปิ สงั ฆัง สะระณงั คัจฉามิ แมค้ ร้งั ที่สองขา้ พเจ้าถอื เอาพระสงฆ์เป็นสรณะ ตะติยมั ปิ พุทธัง สะระณงั คจั ฉามิ แม้ครั้งทส่ี ามขา้ พเจ้าถือเอาพระพทุ ธเจา้ เป็นสรณะ ตะติยมั ปิ ธัมมัง สะระณงั คัจฉามิ แม้ครง้ั ทีส่ ามข้าพเจ้าถือเอาพระธรรมเปน็ สรณะ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณงั คจั ฉามิ แมค้ รงั้ ทีส่ ามข้าพเจา้ ถอื เอาพระสงฆเ์ ปน็ สรณะ ๗๒
เขมาเขมสรณทปี กิ คาถา หันทะ มะยัง เขมาเขมะสะระณะทีปกิ ะคาถาโย ภะณามะ เส พะหงุ เว สะระณัง ยันติ ปัพพะตานิ วะนานิ จะ, อารามะรุกขะเจตฺยานิ มะนุสสา ภะยะตชั ชติ า มนุษย์เป็นอนั มาก เมอื่ เกิดมภี ยั คุกคามแลว้ กถ็ อื เอาภูเขาบ้าง ปา่ ไมบ้ ้าง อารามและรุกขเจดีย์บ้าง เปน็ สรณะ เนตงั โข สะระณงั เขมงั , เนตงั สะระณะมตุ ตะมงั , เนตัง สะระณะมาคัมมะ สัพพะทุกขา ปะมุจจะติ นน่ั มใิ ชส่ รณะอนั เกษมเลย นน่ั มใิ ช่สรณะอันสงู สุด เขาอาศยั สรณะนน่ั แล้ว ยอ่ มไม่พน้ จากทกุ ขท์ ง้ั ปวงได้ โย จะ พทุ ธัญจะ ธมั มญั จะ สงั ฆัญจะ สะระณังคะโต, จตั ตาริ อะริยะสจั จานิ สมั มัปปญั ญายะ ปสั สะติ สว่ นผู้ใดถือเอาพระพทุ ธพระธรรมพระสงฆ์ เปน็ สรณะแล้ว เหน็ อริยสจั คือความจริงอันประเสริฐส่ี ด้วยปัญญาอนั ชอบ ๗๓
ทุกขงั ทุกขะสะมุปปาทงั ทกุ ขัสสะ จะ อะติกกะมงั , อะรยิ ญั จฏั ฐงั คกิ ัง มคั คงั ทกุ ขปู ะสะมะคามนิ งั คือเหน็ ความทกุ ข์ เหตุให้เกิดทกุ ข์ ความก้าวลว่ งทกุ ขเ์ สยี ได้ และหนทางมีองคแ์ ปด อนั ประเสรฐิ เครอื่ งถงึ ความระงับทกุ ข์ เอตงั โข สะระณัง เขมัง, เอตัง สะระณะมุตตะมัง, เอตัง สะระณะมาคัมมะ สพั พะทุกขา ปะมจุ จะติ น่นั แหละเป็นสรณะอนั เกษม นน่ั เปน็ สรณะอนั สูงสุด เขาอาศยั สรณะน่นั แล้ว ยอ่ มพน้ จากทุกขท์ ัง้ ปวงได้ ๗๔
อรยิ ธนคาถา หันทะ มะยัง อะรยิ ะธะนะคาถาโย ภะณามะ เส ยัสสะ สทั ธา ตะถาคะเต อะจะลา สุปะติฏฐติ า ศรทั ธาในพระตถาคตของผใู้ ดตง้ั มน่ั อยา่ งดไี มห่ วนั่ ไหว สีลัญจะ ยัสสะ กลั ยฺ าณงั อะรยิ ะกนั ตัง ปะสังสติ ัง และศลี ของผ้ใู ดงดงาม เป็นทส่ี รรเสรญิ ท่พี อใจของพระอริยเจ้า สงั เฆ ปะสาโท ยัสสตั ถิ อุชุภูตญั จะ ทัสสะนงั ความเลอื่ มใสของผู้ใดมใี นพระสงฆ์ และความเห็นของผู้ใดตรง อะทะลิทโทติ ตัง อาหุ อะโมฆนั ตัสสะ ชวี ติ งั บณั ฑิตกลา่ วเรยี กเขาผ้นู ั้นวา่ คนไม่จน ชวี ิตของเขาไม่เป็นหมนั ตสั ฺมา สัทธัญจะ สีลัญจะ ปะสาทัง ธมั มะทสั สะนงั , อะนุยุญเชถะ เมธาวี สะรงั พทุ ธานะสาสะนงั เพราะฉะน้นั เมื่อระลึกไดถ้ ึงคำ� ส่ังสอน ของพระพทุ ธเจา้ อยู่ ผูม้ ีปญั ญาควรก่อสร้างศรัทธา ศีล ความเล่ือมใส และความเหน็ ธรรมให้เนอื งๆ ๗๕
ตลิ กั ขณาทคิ าถา หันทะ มะยัง ตลิ ักขะณาทคิ าถาโย ภะณามะ เส สพั เพ สังขารา อะนิจจาติ ยะทา ปัญญายะ ปัสสะติ เมื่อใดบุคคลเหน็ ด้วยปัญญาวา่ สังขารทั้งปวงไม่เทยี่ ง อะถะ นพิ พินทะติ ทุกเข เอสะ มคั โค วิสุทธยิ า เมือ่ น้ันย่อมเหน่อื ยหนา่ ยในสิง่ ที่เปน็ ทุกขท์ ีต่ นหลง นน่ั แหละเปน็ ทางแหง่ พระนิพพาน อนั เป็นธรรมหมดจด สัพเพ สังขารา ทกุ ขาติ ยะทา ปัญญายะ ปสั สะติ เมื่อใดบุคคลเหน็ ดว้ ยปญั ญาว่า สงั ขารทั้งปวงเป็นทุกข์ อะถะ นพิ พนิ ทะติ ทกุ เข เอสะ มัคโค วสิ ทุ ธยิ า เมอ่ื นนั้ ยอ่ มเหนือ่ ยหน่ายในสิ่งที่เปน็ ทุกข์ท่ีตนหลง นน่ั แหละเป็นทางแหง่ พระนิพพาน อันเปน็ ธรรมหมดจด สพั เพ ธัมมา อะนัตตาติ ยะทา ปญั ญายะ ปสั สะติ เม่อื ใดบุคคลเหน็ ด้วยปัญญาวา่ ธรรมทงั้ ปวงเปน็ อนัตตา อะถะ นิพพนิ ทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วิสุทธยิ า เม่อื นั้นย่อมเหนอื่ ยหนา่ ยในสง่ิ ทีเ่ ปน็ ทกุ ข์ท่ตี นหลง น่นั แหละเปน็ ทางแหง่ พระนิพพาน อนั เปน็ ธรรมหมดจด ๗๖
อัปปะกา เต มะนสุ เสสุ เย ชะนา ปาระคามิโน ในหมมู่ นุษย์ท้ังหลาย ผู้ทถี่ งึ ฝง่ั แหง่ พระนิพพานมนี ้อยนกั อะถายัง อิตะรา ปะชา ตรี ะเมวานธุ าวะติ หม่มู นษุ ย์นอกนนั้ ยอ่ มว่ิงเลาะอยตู่ ามฝัง่ ในนเ่ี อง เย จะ โข สัมมะทกั ขาเต ธมั เม ธมั มานุวัตตโิ น ก็ชนเหลา่ ใดประพฤตสิ มควรแกธ่ รรม ในธรรมทีต่ รัสไวช้ อบแลว้ เต ชะนา ปาระเมสสันติ มจั จุเธยยัง สทุ ตุ ตะรงั ชนเหลา่ นั้นจกั ถึงฝง่ั แห่งพระนพิ พาน ขา้ มพ้นบว่ งแห่งมจั จุทขี่ า้ มไดย้ ากนัก กัณหงั ธมั มงั วิปปะหายะ สุกกงั ภาเวถะ ปณั ฑโิ ต จงเปน็ บัณฑติ ละธรรมด�ำเสยี แลว้ เจรญิ ธรรมขาว โอกา อะโนกะมาคัมมะ วิเวเก ยัตถะ ทูระมงั , ตัตรฺ าภริ ะติมจิ เฉยยะ หติ ฺวา กาเม อะกิญจะโน จงมาถึงท่ีไม่มีน้ำ� จากท่ีมนี �ำ้ จงละกามเสยี เปน็ ผไู้ มม่ ีความกงั วล จงยินดเี ฉพาะต่อพระนิพพาน อนั เปน็ ทส่ี งัดซง่ึ สตั ว์ยินดไี ด้โดยยาก ๗๗
ภารสตุ ตคาถา หนั ทะ มะยัง ภาระสุตตะคาถาโย ภะณามะ เส ภารา หะเว ปัญจกั ขันธา ขันธท์ ง้ั หา้ เป็นของหนกั เนอ้ ภาระหาโร จะ ปคุ คะโล บุคคลแหละเปน็ ผูแ้ บกของหนักพาไป ภาราทานงั ทุกขงั โลเก การแบกถอื ของหนักเปน็ ความทุกขใ์ นโลก ภาระนิกเขปะนงั สขุ ัง การสลัดของหนกั ทิง้ ลงเสยี เปน็ ความสุข นิกขิปิตวฺ า คะรุง ภารงั พระอริยเจา้ สลดั ท้งิ ของหนักลงเสียแล้ว อัญญัง ภารัง อะนาทิยะ ทัง้ ไมห่ ยบิ ฉวยเอาของหนกั อนั อน่ื ขนึ้ มาอกี สะมูลัง ตณั หัง อพั พุฬฺหะ ก็เปน็ ผ้ถู อนตณั หาขน้ึ ได้กระทงั่ ราก นิจฉาโต ปะรนิ พิ พุโต เปน็ ผ้หู มดส่งิ ปรารถนาดับสนิทไมม่ ีสว่ นเหลอื ๗๘
ภทั เทกรัตตคาถา หันทะ มะยงั ภทั เทกะรัตตะคาถาโย ภะณามะ เส อะตีตัง นานวฺ าคะเมยยะ นปั ปะฏิกังเข อะนาคะตงั บคุ คลไม่ควรตามคดิ ถึงสงิ่ ทลี่ ่วงไปแล้วด้วยอาลยั และไม่พึงพะวงถึงส่ิงที่ยงั ไมม่ าถึง ยะทะตีตมั ปะหีนันตงั อปั ปตั ตญั จะ อะนาคะตัง สิง่ เป็นอดีตกล็ ะไปแล้ว ส่งิ เป็นอนาคตกย็ งั ไม่มา ปจั จปุ ปนั นญั จะ โย ธมั มงั ตัตถะ ตตั ถะ วิปสั สะต,ิ อะสังหริ ัง อะสงั กุปปงั ตงั วทิ ธา มะนุพรฺ ูหะเย ผูใ้ ดเห็นธรรมอันเกดิ ข้นึ เฉพาะหนา้ ท่ีนน้ั ๆ อยา่ งแจม่ แจ้ง ไม่งอ่ นแง่นคลอนแคลน เขาควรพอกพนู อาการเชน่ นัน้ ไว้ อัชเชวะ กจิ จะมาตปั ปัง โก ชญั ญา มะระณัง สุเว ความเพียรเปน็ กจิ ท่ตี ้องท�ำวันนี้ ใครจะรคู้ วามตายแมพ้ รุ่งน้ี นะ หิ โน สงั คะรนั เตนะ มะหาเสเนนะ มัจจุนา เพราะการผัดเพยี้ นตอ่ มจั จรุ าชซ่งึ มีเสนามาก ย่อมไมม่ ีสำ� หรับเรา ๗๙
เอวงั วหิ ารมิ าตาปิง อะโหรัตตะมะตันทติ ัง, ตงั เว ภทั เทกะรตั โตติ สนั โต อาจกิ ขะเต มนุ ิ มุนีผู้สงบย่อมกล่าวเรียกผู้มีความเพียรอยู่เช่นน้ัน ไม่เกียจคร้านทง้ั กลางวนั กลางคนื ว่า çผเู้ ป็นอย่แู มเ้ พยี งราตรเี ดยี วกน็ า่ ชมé ๘๐
ธัมมคารวาทิคาถา หันทะ มะยงั ธัมมะคาระวาทคิ าถาโย ภะณามะ เส เย จะ อะตตี า สัมพุทธา เย จะ พุทธา อะนาคะตา, โย เจตะระหิ สัมพุทโธ พะหนุ นงั โสกะนาสะโน พระพทุ ธเจ้าบรรดาทล่ี ว่ งไปแล้วดว้ ย ทย่ี งั ไม่มาตรัสรู้ดว้ ย และพระพุทธเจ้าผู้ขจัดโศก ของมหาชนในกาลบัดนีด้ ว้ ย สพั เพ สัทธมั มะคะรโุ น วหิ ะริงสุ วิหาติ จะ, อะถาปิ วิหะริสสันติ เอสา พทุ ธานะธัมมะตา พระพทุ ธเจ้าทั้งปวงน้ันทุกพระองคเ์ คารพพระธรรม ได้เปน็ มาแลว้ ดว้ ย กำ� ลังเป็นอยูด่ ้วย และจักเปน็ ด้วย เพราะธรรมดาของพระพุทธเจ้าทงั้ หลายเปน็ เช่นนั้นเอง ตสั ฺมา หิ อตั ตะกาเมนะ มะหัตตะมะภกิ งั ขะตา, สัทธมั โม คะรกุ าตัพโพ สะรัง พทุ ธานะสาสะนงั เพราะฉะนั้น บคุ คลผ้รู กั ตน หวงั อยเู่ ฉพาะคณุ เบื้องสงู เมื่อระลกึ ไดถ้ ึงค�ำสง่ั สอนของพระพุทธเจ้าอยู่ จงทำ� ความเคารพพระธรรม นะ หิ ธมั โม อะธมั โม จะ อโุ ภ สะมะวปิ ากิโน ธรรมและอธรรมจะมผี ลเหมอื นกนั ทงั้ สองอย่างหามิได้ ๘๑
อะธัมโม นริ ะยงั เนติ ธัมโม ปาเปติ สคุ ะตงิ อธรรมย่อมน�ำไปนรก ธรรมยอ่ มนำ� ให้ถงึ สุคติ ธัมโม หะเว รกั ขะติ ธัมมะจารงิ ธรรมแหละย่อมรักษาผปู้ ระพฤติธรรมเป็นนิจ ธมั โม สุจิณโณ สุขะมาวะหาติ ธรรมทป่ี ระพฤติดีแล้วยอ่ มน�ำสุขมาใหต้ น เอสานสิ งั โส ธมั เม สุจิณเณ นเ่ี ป็นอานสิ งสใ์ นธรรมทีต่ นประพฤติดีแลว้ ๘๒
โอวาทปาฏโิ มกขคาถา หันทะ มะยงั โอวาทะปาฏโิ มกขะคาถาโย ภะณามะ เส สพั พะปาปสั สะ อะกะระณงั การไมท่ ำ� บาปทัง้ ปวง กสุ ะลสั สูปะสมั ปะทา การทำ� กศุ ลใหถ้ ึงพร้อม สะจติ ตะปะรโิ ยทะปะนงั การชำ� ระจติ ของตนใหข้ าวรอบ เอตงั พทุ ธานะสาสะนงั ธรรม ๓ อยา่ งน้ีเป็นคำ� สงั่ สอนของพระพุทธเจา้ ท้งั หลาย ขนั ตีปะระมัง ตะโป ตีตกิ ขา ขันตคิ อื ความอดกล้นั เป็นธรรมเครอื่ งเผากเิ ลสอย่างยง่ิ นิพพานัง ปะระมัง วะทันติ พทุ ธา ผรู้ ูท้ งั้ หลายกลา่ วพระนพิ พานวา่ เปน็ ธรรมอันยิ่ง นะ หิ ปพั พะชิโต ปะรปู ะฆาตี ผู้ก�ำจดั สตั ว์อน่ื อยู่ไมช่ ื่อวา่ เปน็ บรรพชติ เลย สะมะโณ โหติ ปะรัง วิเหฐะยันโต ผู้ท�ำสตั ว์อื่นให้ล�ำบากอยูไ่ ม่ช่ือวา่ เปน็ สมณะเลย ๘๓
อะนูปะวาโท อะนปู ะฆาโต การไม่พูดร้าย การไมท่ ำ� ร้าย ปาฏิโมกเข จะ สังวะโร การส�ำรวมในปาฏิโมกข์ มัตตญั ญุตา จะ ภัตตสั มฺ ิง ความเป็นผรู้ ้ปู ระมาณในการบรโิ ภค ปันตญั จะ สะยะนาสะนงั การนอนการนั่งในทอี่ นั สงัด อะธิจติ เต จะ อาโยโค ความหมั่นประกอบในการทำ� จิตใหย้ ่งิ เอตัง พทุ ธานะสาสะนงั ธรรม ๖ อยา่ งนเ้ี ปน็ ค�ำสงั่ สอนของพระพทุ ธเจา้ ทง้ั หลาย ๘๔
ปฐมพุทธภาสติ คาถา หนั ทะ มะยัง ปะฐะมะพุทธะภาสติ ะคาถาโย ภะณามะ เส อะเนกะชาติสงั สารงั สันธาวิสสงั อะนพิ พิสัง เม่ือเรายังไม่พบญาณ ได้แล่นท่องเที่ยวไปในสงสาร เป็นอเนกชาติ คะหะการงั คะเวสันโต ทกุ ขา ชาติ ปนุ ัปปุนงั แสวงหาอยซู่ ่งึ นายช่างปลกู เรอื น คอื ตัณหาผูส้ รา้ งภพ การเกดิ ทกุ คราวเปน็ ทกุ ขร์ ำ่� ไป คะหะการะกะ ทิฏโฐสิ ปนุ ะ เคหงั นะ กาหะสิ นแี่ นะ่ นายชา่ งปลกู เรอื น เรารจู้ ักเจา้ เสียแลว้ เจ้าจะทำ� เรอื นให้เราไม่ไดอ้ ีกตอ่ ไป สัพพา เต ผาสุกา ภคั คา คะหะกฏู ัง วิสงั ขะตัง โครงเรือนทงั้ หมดของเจา้ เราหักเสียแล้ว ยอดเรือนเราก็รอื้ เสียแลว้ วิสังขาระคะตัง จิตตงั ตณั หานงั ขะยะมชั ฌะคา จิตของเราถงึ แล้วซ่ึงสภาพทอ่ี ะไรปรุงแตง่ ไม่ไดอ้ ีก ต่อไป มันไดถ้ งึ แล้วซ่ึงความส้ินไปแห่งตณั หา๑ ๑ คือ ถงึ นพิ พาน ๘๕
ปัจฉมิ พุทโธวาทปาฐะ หันทะ มะยัง ปจั ฉมิ ะพทุ โธวาทะปาฐัง ภะณามะ เส หันทะทานิ ภิกขะเว อามนั ตะยามิ โว ดูกอ่ นภกิ ษทุ ั้งหลาย บัดน้ี เราขอเตือนท่านท้ังหลายวา่ วะยะธัมมา สังขารา สงั ขารท้งั หลายมคี วามเส่อื มไปเปน็ ธรรมดา อัปปะมาเทนะ สมั ปาเทถะ ท่านทั้งหลายจงท�ำความไมป่ ระมาทใหถ้ ึงพรอ้ มเถดิ อะยัง ตะถาคะตัสสะ ปจั ฉิมา วาจา นี่เป็นพระวาจามใี นครั้งสดุ ทา้ ยของพระตถาคตเจา้ ๘๖
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300