Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รส.21-60 คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย ทัศนสัญญาณและเสียงสัญญาณ

รส.21-60 คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย ทัศนสัญญาณและเสียงสัญญาณ

Published by art-weerasak, 2023-01-06 16:38:41

Description: รส.21-60 คู่มือราชการสนาม ว่าด้วย ทัศนสัญญาณและเสียงสัญญาณ

Search

Read the Text Version

๙๗ จ. หยุด ฉ. ขึ้น ช. ลง ซ. ถือไว้ รปู ที่ ๙๕ (ต่อ )

๙๘ ญ. แยกหรอื ตดั ท้ิงไป ด. ท้งั หมดเรียบร้อย ต. กลบั มาหรือกลบั ไป รูปที่ ๙๕ (ต่อ)

๙๙ รปู ที่ ๙๖ คนธงและผใู้ หส้ ัญญาณ ( คนให้สัญญาณเคร่ืองบิน- แท็กซ่ี ) รปู ท่ี ๙๗ ทีอ่ ยู่ของผใู้ หส้ ญั ญาณเคร่ืองบินปีกติด

๑๐๐ รปู ที่ ๙๘ ท่อี ย่ขู องผใู้ ห้สัญญาณเครอ่ื งบนิ ปีกหมนุ ค. การให้สญั ญาณในเวลากลางคืน ในเวลากลางคืน การใหส้ ัญญาณใชช้ ดุ กระบอกสะท้อนแสง (หรอื ไฟฉาย) ใหส้ ัญญาณ ถอื ข้างละอนั การให้สัญญาณด้วยกระบอกสะทอ้ นแสงหรอื ไฟฉาย เหมอื นกัน กบั การให้สัญญาณในเวลากลางวนั เวน้ แต่สญั ญาณหยดุ จะทำโดยไขว้กระบอกสะท้อนแสง หรอื ไขวแ้ สง ของไฟฉายตรงหน้าผ้ใู หส้ ญั ญาณ รูปที่ ๙๙ การส่งสญั ญาณในเวลากลางคืน

๑๐๑ รปู ท่ี ๑๐๐ แสดงทศิ ทางทต่ี ้องการ เหยยี ดแขนท้ังสองขนานกันลงไปขา้ งลา่ ง แลวั แกวง่ ออกไปทางหลงั ไปในทิศทางท่ีต้องการ รูปที่ ๑๐๑ หยดุ ในเวลากลางวัน : ยกแขนทง้ั สองข้นึ พร้อมกับกำมอื ในเวลากลางคนื : ไขวก้ ระบอกสะท้อนแสงข้ึนตรงหนา้ ผใู้ ห้สญั ญาณ

๑๐๒ รปู ท่ี ๑๐๒ ช้าลง มือทงั้ สองอยูท่ ่ีระดับเอว งอข้อมือ กวักมือข้ึนลง ทำทา่ เช่นเดียวกบั การป้ัมห้ามลอ้ รปู ที่ ๑๐๓ ตรงเข้ามา ยกแขนท่อนล่างท้งั สองขน้ึ แล้วโบกมอื ไปทางหลังทำซำ้ หลาย ๆ ครงั้ ความตอ้ งการทจ่ี ะให้เคร่ืองบนิ ช้าหรือเรว็ ขน้ึ อยู่กบั การโบกมือ

๑๐๓ รูปท่ี ๑๐๔ เล้ยี วไปทางขวา (ขวา) แขนช้ายช้ลี งข้างล่าง แขนขวาท่อนล่างยกขึน้ แล้วโบกไปทางหลงั ชำ้ หลายๆ คร้ัง แสดงอัตราความเรว็ ของการเลี้ยว โดยความเร็วของการโบกมือ รูปท่ี ๑๐๕ เล้ียวไปทางชา้ ย (ช้าย) แขนขวาช้ีลงข้างลา่ ง แขนซ้ายท่อนล่างยกขน้ึ แล้วโบกไปทางหลังซำ้ หลายๆ ครัง้ แสดงอัตราความเรว็ ของการเลยี้ ว โดยความเร็วของการโบกมือ

๑๐๔ รูปที่ ๑๐๖ เคล่ือนไปทางขวา ( ขวา ) เหยยี ดแขนซ้ายไปทางข้างไดร้ ะดับแกว่งแขนขวาไปทางหนา้ ตวั แสดงทศิ ทางทีต่ ้องการให้เคลื่อน ทำซำ้ รูปที่ ๑๐๗ เคล่ือนไปทางซ้าย (ช้าย) เหยียดแขนขวาไปทางขา้ งได้ระดับแกว่งแขนซ้ายไปทางหนา้ ตัว แสดงทิศทางที่ตอ้ งการใหเ้ คลื่อน ทำช้ำ รูปที่ ๑๐๘ ยกสงู ขึ้น เหยียดแขนทง้ั สองไปทางข้างได้ระดับ หงายฝ่ามือขน้ึ ยกแขนขน้ึ ขา้ งบน แสดงอตั ราความเร็วของการขึน้ โดยความเรว็ ของการยกแขน

๑๐๕ รูปท่ี ๑๐๙ ลดตำ่ ลง เหยยี ดแขนท้ังสองไปทางขา้ งได้ระดบั คว่ำผา่ มอื ลง ลดแขนลงข้างล่าง แสดงอัตราความเรว็ ของการลงดว้ ยความเร็วของการลดแขน รูปที่ ๑๑๐ เคลือ่ นไปทางหลงั ยกแขนท่อนล่างขึ้นใหไ้ ด้ระดับ หนั ฝ่ามอื ออกแล้วโบกแขนทั้งสองออกไป ทางหลัง รปู ที่ ๑๑๑ ไปยงั ผใู้ หส้ ญั ญาณคนต่อไป เหยยี ดแขนขวาหรอื ช้ายลงข้างตัวแกว่งแขน อีกข้างหนงึ่ ผา่ นตวั แสดงทิศทางที่อยู่ของผู้ให้สัญญาณคนต่อไป

๑๐๖ รูปท่ี ๑๑๒ การตอบรับ, ยืนยนั หรอื พรอ้ ม ให้สญั ญาณโดยการยกหวั แม่มือขน้ึ รปู ท่ี ๑๑๓ พร้อมทจี่ ะตดิ เคร่ืองยนต์ หรอื พร้อมที่จะบนิ ข้ึน กลางวนั : ให้สัญญาณด้วยการยกหวั แม่มือขน้ึ กลางคนื : เปิดไฟวิ่งข้นึ ชัว่ ขณะในตำแหน่งสว่างสุด

๑๐๗ รูปท่ี ๑๑๔ ตดิ เคร่ืองยนด์ ( S ) หรอื ตดิ โรเตอร์ ทำเป็นวงกลมด้วยมือขวาในระดับศรี ษะ พร้อมด้วยแขนซ้ายทำการชไ้ี ปยังเคร่ืองยนต์ (หรือหัวโรเตอร)์ รูปท่ี ๑๑๕ พร้อมที่จะหมุนโรเตอร์ (จากนักบนิ ไปยังผสู้ ่ัง) กลางวัน : ทำเป็นวงกลมด้วยมือในระดับสายตา กลางคนื : เปิดไฟหร่ี

๑๐๘ รูปท่ี ๑๑๖ หมุนโรเตอรใ์ ด้ ( S ) ทำเป็นวงกลมดว้ ยมือขวาในระดบั สายตา พรอ้ มกับแขนซ้ายช้ไี ปยังหวั โรเตอร์ รปู ที่ ๑๑๗ พรอ้ มทจ่ี ะแท็กซี่ (จากนกั บินไปยงั ผสู้ ่งั ) กลางวนั : ใหส้ ัญญาณดว้ ยการยกหัวแม่มือ กลางคนื : เปิดไฟกะพริบตำแหนง่ สว่างสดุ

๑๐๙ รูปที่ ๑๑๘ บนิ ขน้ึ ทำเป็นวงกลมด้วยมอื ขวาเหนอื ศีรษะ ตอนสุดทา้ ยทำการฟาดแขน ไปในทศิ ทางของการบนิ ข้นึ รปู ท่ี ๑๑๙ ไปใหม่ โบกแขนท้ังสองเหนือศรี ษะ

๑๑๐ รูปที่ ๑๒๐ ยกตัวข้ึนจากพ้นื เหยียดแขนทัง้ สองไปทางข้างได้ระดบั รูปท่ี ๑๒๑ การรอ่ นลงถูกต้อง เหยียดแขนทงั้ สองไปทางข้างเสมอไหล่ พร้อมกับหันฝ่ามือไปทางหน้า รปู ที่ ๑๒๒ มุมรอ่ นสงู ไป (ชนั ไป) ใหล้ ดระยะสงู ลง เหยยี ดแขนท้ังสองไปทางช้าง ทำมุม ๔๕ องศา เหนอื ระดับ เม่อื ทราบแล้ว ทำการแก้ให้ต่ำลง

๑๑๑ รูปที่ ๑๒๓ มุมรอ่ นตำ่ ไป เพม่ื ระยะสงู ขึ้น เหยียดแขนท้งั สองทำมมุ ๔๕ องศาเหนือระดับ เมือ่ ทราบแล้ว ทำการแก้โดยยกให้สูงขนึ้ รูปท่ี ๑๒๔ ลอยตวั อยูก่ บั ท่ี กลางวนั : ยกแขนท้งั สองขึน้ พร้อมกับกำมือ กลางคนื : ไขวักระบอกสะทอ้ นแสงขน้ึ ตรงหน้า รูปที่ ๑๒๕ ลงได้ ไขวแ้ ละเหยยี ดแขนท้ังสองลงข้างล่างข้างหน้าตัว

๑๑๒ รูปที่ ๑๒๖ ประตบู รรทกุ พร้อมท่จี ะปดิ หรือเปิดได้ ไขว้แขนทง้ั สองกอดหนัาอกทำซ้ำ รปู ที่ ๑๒๗ ดับเครือ่ งยนต์ เหยยี ดนิว้ ชีม้ อื หน่ึงลากผ่านคอ ในท่า \"ทำการตัดคอ \" ถา้ หากต้องการดับเคร่ืองยนต์ เฉพาะเคร่อื งใด ซึ่งมหี ลายเครอ่ื งยนต์ ก็ให้ทำเชน่ เดยี วกบั ท่กี ล่าวแลว้ และใช้อกี มือหนงึ่ ชไ้ี ปยัง เครื่องยนตท์ จ่ี ะทำการดับน้ัน

๑๑๓ รปู ท่ี ๑๒๘ ตอ่ APU (เครอื่ งกำเนดิ ไฟภายนอก ) เหยียดแขนท้ังสองเหนือศีรษะ เอาน้ิวชข้ี องมอื ขวา ใสล่ งไปในกำมือของมือซ้าย (กลางคืนการเคล่อื นไหวเหมอื นกัน ใช้กระบอกสะท้อนแสงอยใู่ น มอื ซ้ายในทางด่ิง และกระบอกสะท้อนแสงมือขวาในทางระดบั ) รปู ท่ี ๑๒๙ ตดั APU เหยยี ดแขนทั้งสองเหนือศรี ษะ ดงึ นว้ิ ของมือขวาออกจากกำมือของมอื ช้าย (กลางคืนการเคลือ่ นไหวเหมือนกนั เวันแต่ให้กระบอกสะท้อนแสงในมือซ้ายต้งั ตรง และ กระบอกสะท้อนแสงในมือขวาอยู่ในทางระดบั )

๑๑๔ รูปที่ ๑๓๐ ไมล่ ็อกล้อหวั หรือลอ้ หาง ยกแขนท้ังสองขึ้นเหนือศรี ษะ หนั ฝ่ามือเข้าหากนั รูปที่ ๑๓๑ ล็อกล้อหัวหรอื ล้อหาง นำฝ่ามือท้ังสองมาประกบกันเหนอื ศีรษะ

๑๑๕ รปู ท่ี ๑๓๓ ใส่หา้ มลอ้ กำมือทง้ั สองในระดับสะโพก กวาดเข้าหากนั พร้อมกบั หัวแม่มือทง้ั สองเหยียด และช้เี ขา้ ข้างใน รปู ที่ ๑๓๔ ถอนห้ามล้อ นกั บินตรวจสอบทวนชุดของห้ามล้อมือ แล้วกใ็ หส้ ญั ญานถอนห้ามล้อออก โดยกำมอื กวาดแขนออกไปข้างนอก พร้อมกบั เหยียดหวั แม่มอื และช้ีออกไปข้างนอก คนใหส้ ัญญาณแท็กซีแ่ สดงการตอบรับสญั ญาณโดยกำมือทัง้ สองทรี่ ะดับสะโพก ทำอาการเชน่ เดยี วกบั นักบนิ

๑๑๖ รูปที่ ๑๓๕ ดรู๊พสต๊อบ (DROOP STOPS ) ไมเ่ ขา้ ที่ เหยยี ดแขนขวาไปทางหนา้ ลำตวั มือกำระดบั สะเอว หวั แม่มือช้ีลง รปู ที่ ๑๓๖ ดรู๊พสตอ๊ บ (DROOP STOPS ) เขา้ ที่ ยกแขนขวาทอ่ นลา่ งขนึ้ หวั แมม่ ือช้ีชึ้นกำมอื ระดบั ไหล่

๑๑๗ รูปท่ี ๑๓๗ ขอเกย่ี วไม่เข้าที่ ย่นื แขนทั้งสองไปขา้ งหน้า ทำทา่ ฟนั ลง รปู ที่ ๑๓๘ ขอเก่ยี วเรยี บรอ้ ย ยกแขนทง้ั สองขึน้ เหนือศีรษะในทา่ “ไต่เชอื ก”

๑๑๘ รปู ที่ ๑๓๙ หยอ่ นลวดสลิงบรรทกุ ของลงได้ เหยียดนิว้ ชมี้ ือขา้ งหน่ึง ลากผ่านคอในท่า \"ทำการตัดคอ\" ๔๘. ทา่ สญั ญาณของพลประจำรถป้ันจ่ันและรถกู้ ทา่ สญั ญาณทแ่ี สดงภาพประกอบในรูปท่ี ๑๔๐ นนั้ สำหรับพลประจำรถปนั้ จั่นและรถกู้ใช้โดยตรง ในการปฏบิ ตั ิหน้าทีต่ ่างๆ ควรจะใช้คนส่งสัญญาณเพียงคนเด๋ยี ว ภาพทา่ สญั ญาณทง้ั หมดตอ้ งใหพ้ ลประจำรถเห็น ก. ยกนำ้ หนกั บรรทุกขึน้ รูปท่ี ๑๔๐ ท่าสญั ญาณของพลประจำรถปัน้ จน่ั และรถกู้

๑๑๙ ข. ยกน้ำหนักบระทกุ ข้ึนชา้ ๆ ค. หย่อนนำ้ หนักบรรทุกต่ำลง รูปที่ ๑๔๐ (ตอ่ )

๑๒๐ ง. หย่อนน้ำหนักบรรทุกตำ่ ลงช้าๆ จ. ยกคนป้ันจั่นข้ึน รปู ท่ี ๑๔๐ (ตอ่ )

๑๒๑ ฉ. ยกคันปัน้ จนั่ ขนึ้ ช้าๆ ช. ยกคันปน้ั จ่นั ขน้ึ และนิ่งไว้ รูปท่ี ๑๔๐ (ตอ่ )

๑๒๒ ซ. ยกดนั ปั้นจ่ันขึ้น และหย่อนน้ำหนักบรรทุกต่ำลง ญ. ลดคันปนั้ จั่นต่ำลง รปู ท่ี ๑๔๐ (ตอ่ )

๑๒๓ ด . ลดคันปน้ั จน่ั ต่ำลงชา้ ๆ ต. ลดคันปั้นจัน่ ต่ำลง และนิ่งไว้ รปู ที่ ๑๔๐ (ตอ่ )

๑๒๔ ถ. ลดคันปน้ั จั่นตำ่ ลง และยกนำ้ หนกั บรรทุกข้นึ ท. เหวย่ี งนำ้ หนักบรรทกุ ไปในทศิ ทางที่ชี้ รปู ที่ ๑๔๐ (ตอ่ )

๑๒๕ น. กำมือท้ังสองหมนุ ไปในทิศทางที่กำหนดเป็นวงกลม บ. เลยี้ วขวา ป.เลยี้ วซา้ ย ลอ๊ กสายพานทางด้านทเี่ สดงโดยกำมือยกขึ้น เลือ่ นสายพานทางดา้ นตรงขา้ ม ไปในทศิ ทางท่ีแสดง โดยกำมือหมุน รูปที่ ๑๔๐ (ต่อ)

๑๒๖ ผ. เครือ่ งเกาะ ( หรือเครอ่ื งจับ ) ทกุ สงิ่ ฝ. หยดุ พ. เปิดถงั งบั ตัก รูปที่ ๑๔๐ (ตอ่ )

๑๒๗ ฟ. ปิดถังงบั ตัก รูปท่ี ๑๔๐ (ตอ่ ) ๔๙. ท่าสญั ญาณเพ่ิมเติมคำบอกคำสง่ั กระโดด ภาพทำสัญญาณทั้ง ๗ ท่า ในรูปที่ ๑๔๑ นั้น เป็นการเพิ่มเติมคำบอกคำสั่งกระโดดร่ม ในการ ปฏิบัติการส่งทางอากาศ การใช้สัญญาณเหล่านี้เพื่อเป็นการป้องกันการสับสน ในเมื่อคำบอกคำสั่งของ ผ้คู วบคมุ การกระโดดไม่สามารถไดย้ ิน เน่ืองจากเสียงเครือ่ งบนิ ดงั กวา่ ก. ภายในเครื่องบิน เมื่อปรากฏวา่ มีสัญญาณไฟแดง ผู้ควบคุมการกระโดดจะให้คำบอกคำสั่งกระโดด คำส่งั จะตอ้ งใหด้ ้วยความเข้มแขง็ เดด็ ขาด เพือ่ ก่อให้เกดิ ความเชอ่ื มั่นและกระตือรือร้นแก่ผกู้ ระโดดทง้ั หมด ข. แขนที่ใชส้ ำหรบั ใหส้ ญั ญาณนัน้ ควรอย่ใู กลท้ ีส่ ดุ กับแนวกลางของระวางบรรทุก สว่ นแขนอีกข้าง หนึง่ จบั สายเคเบิลไว้ใหแ้ น่น เพื่อทำให้ทรงตวั อยู่ได้ ค. ผ้คู วบคุมการกระโดดหรือผนู้ ำ จะเคลอื่ นตัวของเขามายังท่า \"ยนื ประตู\" ที่ประตูเครื่องบิน สัญญาณ \"ยนื ประตู\" และ \" โดด \" ซึง่ เป็นสญั ญาณเพิ่มเติมคำบอกคำส่งั น้ัน ไม่มคี วามจำเป็นนกั ง. ไฟเขยี วเปน็ สัญญาณให้กระโดด แตล่ ะคนกก็ ระโดดตามคนนำไปตามลำดบั นอกจากเหตุการณ์ข้อ ใดข้อหนึ่ง ดังตอ่ ไปน้ี (๑) มีสัญญาณ \"ไมก่ ระโดด\" (ควนั แดง แผ่นผ้า หรอื ไฟ) ที่สนามกระโดด (๒) มีเคร่ืองบนิ อนื่ ๆ อยู่ข้างล่าง หรือมีสงิ่ ที่เป็นอันตราย (๓) สภาพการณ์บางอยา่ งภายในเคร่อื งบิน ทำใหท้ างออกไมม่ คี วามปลอดภัยพอ ตวั อยา่ ง เชน่ สายเคเบลิ ขาดหรือชำรุด จ. ลำดับคำสงั่ กระโดดมีดังนี้ หมายเหตุ ในรูปท่ี ๑๔๑ ในการเคล่ือนตัวออกไปของผู้ควบคมุ การกระโดดร่มการจะอยใู่ นทิศตรงข้าม กนั พอดี ถ้าเขายืนอยู่ใกลป้ ระตูขวา ให้เคลอ่ื นไปประตูซา้ ยอยู่ใกลเ้ คียง

๑๒๘ (๑) เตรยี ม (รูปที่ ๑๔๑) ผคู้ วบคุมการกระโดด เหยยี ดมือและแขนขวาของเขาไปข้างหน้า พรอ้ มกับฝ่ามือ อยูใ่ นทางด่ิง น้วิ มอื ท้ังห้าเรยี งชิดติดกัน ๑ เตรยี ม รูปท่ี ๑๔๑ ทำสญั ญาณเพ่ิมเตมิ คำบอกคำสงั่ กระโดดร่ม (๒) แถวนอกลุก (รปู ท่ี ๑๔๑) ผ้คู วบคุมการกระโดดชี้มือไปทางตำ่ กว่าดา้ นขา้ งของเครอื่ งบินดว้ ยมือ และ แขนซา้ ย พร้อมกบั หนั ฝ่ามือขึ้น แล้วกวาดแขนขึน้ มาขา้ งบน สงู กวา่ ระดับไหล่เลก็ น้อย ๒. แถวนอกลกุ รูปท่ี ๑๔๑ (ตอ่ )

๑๒๙ (๓) แถวในลุก (รูปท่ี ๑๔๑) ผคู้ วบคุมการกระโดดช้ีมือไปทางทต่ี ่ำกวา่ ดา้ นหน้าของเครื่องบินดว้ ยแขน และมือขวา พร้อมกับหันฝ่ามือขึ้น แลว้ กวาดแขนขึ้นมาขา้ งบนสงู กวา่ ระดบั ไหลเ่ ล็กนอ้ ย ๓. แถวในลกุ (๔) สับขอ (รูปท่ี ๑๔๑) ผคู้ วบคุมการกระโดดยกแขนขวาท่อนลา่ งข้ึนขา้ งหนา้ ในทางด่ิง และ ทำทา่ สับขอดว้ ยน้ิวมอื และนวิ้ ชี้ นิ้วอืน่ ๆ ของมอื ขวากำแนน่ ๔. สับขอ รูปที่ ๑๔๑ (ตอ่ )

๑๓๐ (๕) ตรวจสาย (รปู ที่ ๑๔๑) ผู้ควบคุมการกระโดดใช้น้ิวหัวแม่มือ และน้วิ ช้มี อื ขวา ทำเป็นรปู วงกลมทำท่าดัน และดึงหลาย ๆ ครั้ง ในการดัน-ดงึ น้คี วรจะดนั ตรงออกไป และดงึ กลบั มาตรง ๆ ในระดับสายตา ๕. ตรวจสาย (๖) ตรวจเคร่อื งแตง่ ตวั (รปู ที่ ๑๔๑) ผคู้ วบคมุ การกระโดด ใช้มอื ขวาตบท่หี นา้ อก (ตรงเครอ่ื งปลดปลอ่ ย) ฝ่ามือหันเข้าข้างใน ๖. ตรวจสอบเครอ่ื งแต่งตวั รปู ที่ ๑๔๑ (ตอ่ )

๑๓๑ (๗) รายงาน ( รูปท่ี ๑๔๑ ) ผู้ควบคมุ การกระโดดยกมือขวาข้ึนมาป้องตรงหลังหูขวา หนั ฝ่ามอื ไปทางผู้ กระโดด หันศีรษะไปทางซ้ายเล็กนอ้ ย และตาทั้งสองมองตรงไปขา้ งหนา้ (๘) ยนื ประตู ผู้ควบคุมการกระโดดไมใ่ หส้ ัญญาณ สำหรบั คำสัง่ น้ี (๙) โดด ผู้ควบคุมการกระโดดไม่ใหส้ ัญญาณ สำหรบั คำส่ังนี้ ๗. รายงาน รูปท่ี ๑๔๑ ( ต่อ)

ตอนท่ี ๘ เสียงสญั ญาณ ๕๐. การสอื่ สารประเภทเสยี ง การสอ่ื สารประเภทเสียงแบ่งออกงา่ ย ๆ ตามเครอื่ งมือ เช่น นกหวดี เคร่อื งทำเสียงหวอ (ไซเร็น) ระฆัง เครื่องขยายเสียงและเครือ่ งทำเสียงระเบิด ประโยชน์สำคัญของเสยี งสัญญาณก็คอื ดึงดูดความสนใจ ส่งข่าวท่ี เป็นอาณัตสิ ัญญาณและกระจายเสยี งเตือนภัยออกไป เสียงสัญญาณอาจใชส้ ง่ ข่าวเปน็ ประมวลเลขสัญญาณกไ็ ด้ อย่างไรก็ดีข่าวต่างๆ ที่จะส่งโดยเครือ่ งมือชนิดนี้จะต้องให้สั้นและง่าย เพื่อป้องกันการเข้าใจผดิ เสียง สัญญาณใช้ได้ผลในระยะใกล้ ๆ เท่านั้น และผลที่ได้รับจะลดลงอย่างมากจากเสียงรบกวนต่าง ๆ ในสนามรบ การสื่อสารประเภทน้ีล่อแหลมต่อการถูกข้าศึกดักรับ ดังน้นั การใชอ้ าจต้องจำกดั ด้วยเหตุผลทางการรักษาความ ปลอดภัย ๕๑. เสียงสัญญาณ เสียงสญั ญาณ หมายถึง การใช้วัตถหุ รืออุปกรณใ์ ดๆ ทำให้เกิดคล่ืนเสยี งเพ่อื สง่ สัญญาณใน ระยะใกล้ (จะต้องมีการนัดหมายลว่ งหนา้ ) วัตถ/ุ อปุ กรณ์ทีส่ ามารถทำใหเ้ กิดเสยี งสญั ญาณได้ เชน่ นกหวีด/ เสยี งปืน/แตร /ไซเรน/ระฆัง/เขาสตั ว/์ เหลก็ สามเหลี่ยม ฯลฯ คณุ ลกั ษณะการใช้งาน - ดงึ ดูดความสนใจได้ดี สำหรับให้เตรยี มความพร้อม - เป็นสัญญาณแจ้งเตือนภยั โดยเฉพาะกรณีฉุกเฉนิ - ใช้รับ-สง่ สญั ญาณตามท่ีตกลงกนั ไว้ล่วงหน้า/อาณัติสญั ญาณ - สามารถส่งเปน็ ประมวลสญั ญาณได้เพื่อ รปภ.ส่งขา่ ว ขอ้ จำกัดการใชง้ าน - สง่ ขา่ วสนั้ ๆ - ใชไ้ ดร้ ะยะใกล้ - ถูกรบกวนไดง้ ่าย - ถกู ดกั รบั ได้ง่าย ตัวอยา่ งการใชเ้ สยี งสัญญาณ เปา่ นกหวีดยาวๆ ๓ คร้งั /เสียงแตรรถยนต/์ ยงิ ปืนเวน้ ระยะเทา่ กัน ๓ นัด หรือยงิ ปืนกลรัว ๓ ชดุ สั้นๆ หมายถึง มีภยั ทางอากาศ-ถูกพลรม่ โจมตี หรือ ถูกหนว่ ยยานยนตโ์ จมตี เปน็ ต้น นอกนนั้ ก็ยังใช้เปน็ เสียงขอ ความชว่ ยเหลอื ต่างๆ เสยี งรัวจากการตเี หล็กสามเหล่ียม/เหล็กรางรถ/กระป๋องเปลา่ ฯลฯ กอ็ าจเป็นสญั ญาณแทนการถูก โจมตดี ว้ ยไอพิษ

สารบญั หนา้ ๑ ตอนที่ ๑ กล่าวท่ัวไป ๑ ความมงุ่ หมาย ขอบเขต ๒ ๒ ตอนท่ี ๒ ทา่ สญั ญาณ ๓๐ กลา่ วท่วั ไป ๓๒ ทา่ สญั ญาณมาตรฐาน ทา่ สญั ญาณการฝึกหมู่ทำการรบสำหรบั ทหารราบ ๓๔ ทา่ สัญญาณสำหรบั ปักหลกั เล็ง ๓๔ ๔๖ ตอนท่ี ๓ ธง กลา่ วทว่ั ไป ๔๗ การใช้ ๔๗ สญั ญาณธงต่าง ๆ ในการฝกึ ยิงปืนในสนามยงิ ปนื ชองรถถัง ๔๘ ๔๘ ตอนท่ี ๔ พลสุ ญั ญาณ ๔๙ กลา่ วทัว่ ไป ๔๙ คำจำกัดความ ๕๑ คณุ ลกั ษณะ ๕๑ สัญญาณควัน ๕๒ ลกู ระเบิดขว้างควนั ๕๓ ลกู ระเบดิ ยิงจากปนื เล็กและพลุสญั ญาณพ้นื ดิน กล่าวทว่ั ไป ๕๔ ลูกระเบดิ ควันยิงจากปืนเล็ก ๕๔ พลสุ ญั ญาณพืน้ ดนิ ๕๕ พลสุ ญั ญาณพื้นดนิ แบบจรวดชนิดมือจบั ๕๕ เครือ่ งยงิ ลูกระเบิดจากปืนเล็ก การเตรยี มการสำหรับการยิง ขอ้ ระมัดระวังและการรกั ษา พลสุ ญั ญาณยงิ จากยื่นยงิ พลุ พลสุ ญั ญาณเคร่อื งบิน

พลสู ัญญาณแบบทำใหเ้ กิดประกายแสงและเสยี ง หนา้ พลุสัญญาณพื้นดินชนดิ กะกำหนดความสูงกระสนุ ตก ๕๖ ตอนท่ี ๕ สัญญาณอากาศพน้ื ดิน ๕๗ ระบบแผน่ ผ้าสญั ญาณ กล่าวโดยทัว่ ไป ขนาดของแผ่นผ้าสัญญาณ ๕๗ ลานปูแผ่นผ้าสญั ญาณ ๕๘ เครอ่ื งหมายกำกับ ๕๘ เคร่อื งหมายกำกบั การอ่าน ๕๘ เครื่องหมายกำกบั อักษร ๕๘ เครอ่ื งหมายกำกับจำนวนเลข ๕๘ เครอื่ งหมายกำกับประมวล ๕๙ ระเบียบปฏบิ ตั ิ ๕๙ การเว้นชอ่ งวา่ งระหวา่ งแผน่ ผ้าสัญญาณ ๖๐ ประมวลแผ่นผา้ สัญญาณ ๖๑ ความหมายซ่ึงกำหนดไว้ลว่ งหนา้ ๖๖ การทราบความหมายและการตอบรับจากเคร่อื งบิน ๖๙ สญั ญาณแสดงฝา่ ยเดยี วกันจากพน้ื ดินสู่อากาศ ๖๙ เครื่องหมายพิเศษ ๖๙ ทัศนสญั ญาณฉุกเฉนิ ๗๐ ประมวลแผ่นผา้ สัญญาณฉุกเฉนิ จากพนื้ ดินสู่อากาศ ๗๗ ตอนท่ี ๖ ธงสญั ญาณ ๗๗ ธงเด่ยี ว ธงคู่ ๗๙ ตอนที่ ๗ สญั ญาณพเิ ศษ ๗๙ ท่าสญั ญาณของเจ้าหนา้ ทส่ี ำรวจ ทา่ สญั ญาณในการวางสายโทรศพั ท์ ๘๘ ท่าสญั ญาณเครือ่ งบนิ ๙๕ ท่าสัญญาณของพลประจำรถปั้นจนั่ และรถกู้ ๙๕ ทา่ สัญญาณเพิม่ เติมคำบอกคำสงั่ กระโดด ๑๑๘ ๑๒๗

ตอนที่ ๘ เสียงสญั ญาณ หน้า การสอื่ สารประเภทเสยี ง เสียงสัญญาณ ๑๓๒ ๑๓๒

ตอนท่ี ๑ กล่าวท่วั ไป ๑. ความม่งุ หมาย ก. คู่มือน้สี ำหรับเป็นแนวทางเพือ่ ใหท้ หารได้นำไปใชใ้ นการปฏิบตั ทิ างทศั นสญั ญาณและเสยี งสัญญาณ ข. ในการใช้ให้ได้ผลอย่างจริงจังของหน่วยทหารทางภาคพื้นดินนั้น ขึ้นอยู่กับความถูกต้องแม่นยำ การรักษาความลับ และความอ่อนตัวในการติดต่อสื่อสารระหว่างหน่วยพื้นดิน หน่วยบิน ทบ. และหน่วยบิน สนับสนุนทางยุทธวิธี เนื่องจากปัจจัย เวลาและพื้นที่ในการทำสงครามสมัยใหม่ที่ปฏิบัติการร่วมกัน ระหว่าง หนว่ ยอากาศ/พน้ื ดนิ ทม่ี กี ารควบคุมและการประสานงานอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพน้นั จะกระทำได้โดยใชเ้ คร่ืองมือ พเิ ศษ ท่สี ามารถตดิ ต่อสื่อสารได้อย่างรวดเร็ว ระหวา่ งบุคคลและหน่วยท่ีกำลังปฏิบตั ิการทางยุทธวิธีอยู่เท่านั้น เมื่อเครื่องมือติดต่อสื่อสารทางไฟฟ้าไม่มีหรือมีไม่เพียงพอ จะต้องจัดระบบทัศนสัญญาณเป็นสถานีขึ้นเป็น เครื่องมือสำรองเทา่ ที่มอี ยู่ เพื่อเปน็ เคร่อื งมือสำหรับสง่ คำสั่ง ส่งขา่ วสารและเสนอความต้องการเร่งดว่ น ท่ีจะ ให้ทำการชว่ ยเหลือหรือสนับสนนุ และใช้ในการปฏบิ ตั ิการพิเศษ ๒. ขอบเขต ก. คู่มือแนะนำการใช้ท่าสัญญาณ, ธง, พลุสัญญาณ, แผ่นผ้าสัญญาณ สัญญาณสำหรับปฏิบัติการ พเิ ศษ และเสยี งสญั ญาณ ข. ทศั นสัญญาณต่าง ๆ ทปี่ รากฏในคมู่ ือน้ี ท่ีมหี ัวลูกศรช้ไี ป-ทางเดยี ว แสดงว่าเป็นการปฏิบัติครงั้ เดยี ว ซึ่งอาจจะทำซ้ำอีก จนกระท่งั ผู้รับตอบรับหรือปฏบิ ัติตามทำสญั ญาณนน้ั ค. ท่าสัญญาณที่แสดงด้วยหัวลูกศรชี้สองทาง จะต้องทำต่อเนื่องติดต่อกันไป จนกระทั่งผู้รับตอบรับ หรอื ปฏิบัตติ ามท่าสัญญาณนัน้ ง. คู่มือนีส้ ามารถนำไปใช้ได้ทุกโอกาส ทั้งในการทำสงครามนวิ เคลียรแ์ ละสงครามปกติ จ. ผใู้ ชค้ ู่มือนี้แล้ว ควรให้ข้อเสนอแนะเพื่อเปล่ียนแปลง หรอื ข้อคิดเห็นเพือ่ ปรบั ปรุงแก้ไขคู่มือนี้ให้ ดีขึ้น ข้อคิดเห็นเหล่านั้นควรจะระบุหน้า, ข้อ, บรรทัด, กับเนื้อความเดิม ซึ่งเสนอแนะให้เปลี่ยนแปลงไว้ด้วย ขอ้ คดิ เห็นแตล่ ะข้อ ควรจะเสนอเหตุผลประกอบขอ้ พจิ ารณา เพ่อื ให้เข้าใจถูกต้องและประมวลความได้สมบูรณ์ และควรสง่ โดยตรงไปยัง โรงเรียนทหารส่ือสาร กรมการทหารสอื่ สาร

ตอนท่ี ๒ ทา่ สัญญาณ ๓. กลา่ วทว่ั ไป ก. สัญญาณต่างๆ ที่แสดงไว้ในตอนนี้นั้น เป็นวิธีธรรมดาของการส่งข่าวทางทัศนะ ทหารจะต้องทำ การฝึกจนกระทัง่ มีความชำนาญเคยชิน การส่งสัญญาณตอ้ งถูกตอ้ งและชัดเจน เพื่อผู้รับจะได้แปลความหมาย ได้โดยถูกต้อง ข. เมื่อส่วนใดส่วนหน่ึงหรือหลายส่วนของกำลังในหน่วย จะต้องปฏิบัติการเคลื่อนย้ายตามอาณัติ สัญญาณที่ได้นัดหมายกันไว้แล้ว สัญญาณในขั้นต้นจะต้องให้อาณัติสัญญาณ โดยส่งไปยังหน่วยหรือหลาย หน่วยท่จี ะตอ้ งเคล่อื นยา้ ย นอกจากจะกำหนดไวเ้ ป็นอยา่ งอ่ืน โดยปกตผิ ู้สง่ สัญญาณจะต้องหนั หน้าไปยังบุคคล หรือหน่วยที่จะต้องปฏิบัติตามสญั ญาณนั้น สัญญาณส่วนมากอาจจะส่งทางพื้นดินหรือจากยานพาหนะ เว้นไว้ แต่จะกำหนดนัดหมายกันอย่างใดอย่างหนึ่ง เมื่อจะให้เคลื่อนย้ายรวมทั้งหน่วย ท่าสัญญาณที่ใช้ในการ เคล่อื นย้ายหรอื ใหป้ ฏิบัติน้นั ควรจะใช้ท่าสัญญาณเตรียมตวั ก่อน กอ่ นทจี่ ะให้ทำสญั ญาณเคลือ่ นย้าย ค. การส่งท่าสัญญาณนั้น ควรจะใช้ส่งที่เดียวดีกว่าที่จะใช้หลายๆ ท่ารวมกัน เมื่อจะใช้ท่าสัญญาณ หลายๆ ทา่ ประกอบกนั กค็ วรให้ใชท้ ่าต่างๆ ที่รู้จกั กันท่วั ไปอยู่แลว้ และใชต้ ามลำดบั ที่ต้องการให้หน่วยปฏิบัติ เช่น ตวั อย่างสัญญาณใหเ้ ข้าแถวในรูปขบวนหมวดแถวตอนชน้ั แรกควรสง่ สญั ญาณการรวมพลก่อน แล้วจึงส่ง สญั ญาณขบวนหมวดแถวตอน ง. การเปลี่ยนรูปขบวนของหน่วยรอง สิ่งที่ดีที่สุดซึ่ง ผบ. หน่วยควรจะกำหนด หรือให้สัญญาณ เคลอื่ นยา้ ยหน่วยหลักไปตามรปู ขบวนท่ตี อ้ งการ แลว้ หนว่ ยอ่ืนๆ เคลือ่ นย้ายตามหนว่ ยหลัก ๔. ท่าสัญญาณมาตรฐาน ก. การใช้ท่าสัญญาณเหล่านี้ จะอำนวยประโยชน์แก่ทหารในการติดต่อสื่อสารซึ่งจะเป็นช่องทางช่วย ใหก้ ารควบคมุ และการประสานงานในระหว่างบุคคลผูน้ ัน้ กบั บคุ คลอน่ื หรอื หนว่ ยอืน่ ไดด้ ยี ่ิงขึ้น ข. รูปที่ ๑ ถึง ๔๕ อธิบายและแสดงภาพท่าสัญญาณที่ได้กำหนดนัดหมายกันไว้ล่วงหน้า ทั้งในเวลา กลางวนั และกลางคนื ซึง่ ปกติจะใช้ในการควบคมุ การเคล่อื นยา้ ยหนว่ ยทหารและยานพาหนะ

๓ รูปที่ ๑ เตรยี มตวั เหยียดแขนออกไปทางข้างเหนือระดับไหลเ่ ล็กน้อยหนั ฝ่ามือไปขา้ งหน้า แล้วโบกแขนขึ้นลงเหนือศรี ษะหลาย ๆ ครง้ั รูปท่ี ๒ ข้าพเจ้าพรอ้ มแลว้ หรือ ท่านพร้อมหรือยัง เหยียดแขนขนึ้ เหนือระดับไหลเ่ ลก็ น้อย ไปทางบคุ คลที่สง่ สญั ญาณ หนั ฝ่ามือออกข้างนอก

๔ รูปที่ ๓ ข้าพเจ้าไมเ่ ข้าใจ หันหน้าไปทางเหลง่ สญั ญาณท่ีมา ยกแขนท้ังสองข้างเสมอระดับไหล่ งอแขนทงั้ สองเสมอข้อศอก ใหม้ ือตรงกับใบหนา้ หนั ฝ่ามอื ตรงไปข้างหนา้ รปู ที่ ๔ ไม่เขา้ ใจคำส่ังหรือจะให้ปฏิบตั ิอยา่ งไร หนั หนา้ ไปยังบุคคลหรอื หน่วย ทสี่ ่งสญั ญาณ ยกแขนทั้งสองข้นึ ประสานกันเหนือศีรษะ หันฝ่ามอื ไปขา้ งหน้า

๕ รปู ท่ี ๕ รวมพลหรอื รวมกำลัง ยกแขนตรงขนึ้ ไปเหนือศีรษะ หนั ฝ่ามือไปข้างหนา้ แลว้ โบกมือ และหมนุ เป็นวงกลม รูปท่ี ๖ มาหาข้าพเจ้าหรือตามขา้ พเจา้ ชม้ี ือไปทางบุคคล พาหนะ หรอื หนว่ ย กวกั มือเรียกโดยยกแขนใหเ้ สมอระดบั ไหล่ หนั ฝ่ามือข้นึ แล้วโบกมอื ใหแ้ ขนท่อนล่างงอเขา้ หาตัว

๖ รูปท่ี ๗ ไปข้างหน้า หันหน้าไปยังทศิ ทางทต่ี อ้ งการเคลื่อนย้ายที่ เหยียดแขนขวาไปข้างหลงั แลว้ เหวยี่ งแขนขวาขน้ึ เหนือศีรษะไปข้างหนา้ ในทิศทางที่ต้องการเคลอ่ื นที่ จนกระท้ังแขนไดร้ ะดบั คว่ำฝ่ามือลง รปู ที่ ๘ ทางปีกขวา (ซา้ ย) เหยียดแขนทั้งสองไปในทิศทางทีต่ อ้ งการให้ เคล่ือนที่ (บุคคล ยานพาหนะหรือเรือ เลยี้ วกลับพร้อมกนั )

๗ รูปที่ ๙ หยดุ พักหรือหยดุ ยกแขนขวาข้นึ ขา้ งบนเหนอื ศีรษะ เหยยี ดตรง หนั ฝ่ามือไปขา้ งหน้า และใหย้ กแขนไว้อยู่ในท่าน้ี จนกว่าจะเขา้ ใจสัญญาณ รปู ที่ ๑๐ เพ่ิมความร็ว เดินจังหวะเรว็ หรือวงิ่ ยกมือขวาขึน้ เสมอไหล่ กำมือ ยกแขนเหยยี ดตรง ขึ้นไปข้างบนเหนือศรี ษะ แล้วลดลงมาอยูใ่ นท่าเดิม กระทำอยา่ งรวดเรว็ หลายๆ ครงั้

๘ รปู ท่ี ๑๑ ลดความเร็วลง (ยานพาหนะ ) จังหวะเดินเร็ว (หนว่ ยทหารเดินดนิ ) เหยียดแขนออกไป ทางขา้ งใหไ้ ด้ระดับกบั แนวไหล่ หนั ฝ่ามอื ไปข้างหนา้ แลว้ โบกแขนข้นึ ลงเล็กน้อยหลายๆ ครง้ั แขนต้องเหยียดตรงอยู่เสมอ อย่าให้แขนโบกขึ้นเลยเหนอื ระดบั ไหล่ รปู ที่ ๑๒ ขยายแถว (เปดิ ขบวน ) เหยยี ดแขนทั้งสองข้ึนขา้ งบนเหนอื ศรี ษะ หนั ฝา่ มือท้งั สองเข้าหากัน และ โบกแขนทง้ั สองลงมาทางข้างเสมอไหล่ คว่ำฝ่ามือลง ในเมือ่ จำเป็นเราทำสญั ญาณซ้ำอีก โดยนำ แขนท้งั สองกลบั ไปข้างหนา้ แลว้ ไปที่ตงั้ ตน้ ทำสัญญาณ และทำสญั ญาณซ้ำอีกจนกระทั่งเข้าใจ หมายเหตุ สัญญาณนี้ ใช้เฉพาะ ผบ.หน่วยยานยนตส์ ายพาน สำหรบั ผบ. หนว่ ยยานยนตล์ ้อ พลิกไปดูรูปที่ ๔

๙ รูปที่ ๑๓ บีบรูปขบวน ยกแขนท้งั สองขน้ึ ไปทางขา้ งเสมอไหล่ แขนทง้ั สองเหยียดตรง หันฝ่ามอื ขน้ึ โบกแขนท้ังสองข้ึนเหนือศรี ษะใหฝ้ ่ามือมาชิดกนั ในเมื่อจำเป็น เราทำสัญญาณซ้ำอกี โดยนำ แขนทง้ั สองกลับไปข้างหนัาและไปท่ตี ั้งต้นทำสัญญาณ หมายเหตุ สญั ญาณนี้ ใชเ้ ฉพาะ ผบ.หนว่ ยยานยนต์สายพาน สำหรับ ผบ.หนว่ ยยานยนตล์ ้อ ให้ไปดรู ปู ท่ี ๔๖ รปู ท่ี ๑๔ เปลยี่ นทิศทางหรือยา้ ยการยิง ยกมือขึน้ ทางขา้ งเสมอไหล่ไปทางทิศทางใหม่ งอแขนท่อนลา่ ง เขา้ หาลำตวั ตรงข้ามกบั ไหล่ หนั ฝ่ามือไปข้างหน้า แล้วเหยยี ดแขน และมอื ชีไ้ ปในทิศทางใหม่ สำหรับการเปลีย่ นทศิ ทางเพียงเล็กนอ้ ยโบกมอื จากท่าสดุ ทา้ ย (ที่กล่าวมาแลว้ ขา้ งตนั ) ไปใน ทิศทางที่ต้องการเคล่ือนย้าย

๑๐ รูปที่ ๑๕ เล้ียวซ้ายหรือทางซ้าย (ขณะเคลื่อนท)่ี เหยียดแขนช้ายไปทางข้างเสมอแนวไหล่ หนั ฝามอื ไปข้างหน้า รูปท่ี ๑๖ เลี้ยวขวาหรอื ทางขวา (ขณะเคลอ่ื นท)ี่ เหยยี ดแขนขวาไปทางข้าง เสมอแนวไหล่ หันฝ่ามือไปข้างหนา้

๑๑ รปู ท่ี ๑๗ กระจายกำลงั เหยยี ดแขนขา้ งใดขา้ งหนึ่งข้นึ เหนือศรีษะ เหยยี ดตรง โบกแขน และมือซา้ ยไปข้างหนา้ ซา้ ย ขวา และข้างหลัง พร้อมกับ ฝ่ามอื ชไี้ ปยงั ทิศทางทีเ่ คล่ือนที่แต่ละแห่ง รปู ที่ ๑๘ รูปขบวนแถวตอน ยกแขนขา้ งใดข้างหน่ึงตรงขึ้นไป เหว่ียงแขนไป ข้างหลงั ทำเป็นรูปวงกลมตั้งฉากกบั ลำตัว สัญญาณนีอ้ าจใช้กบั หนว่ ยทหาร หรือขบวนยานพาหนะอย่างหนึง่ อย่างใด หมายเหตุ เมื่อใช้กับรปู ขบวนปืนเล็ก ใหใ้ ชเ้ พิ่มเตมิ กับการส่ังการของผ้บู ังคับบัญชาด้วยปากเปลา่