๑๒ รปู ที่ ๑๙ ขบวนแถวตอนเดินทาง ยกแขนทง้ั สองข้างตรงขน้ึ ไป แสดงเป็นรปู วงกลม โดยแกว่งแขนออกไปทางหลังต้งั ฉากกับลำตวั หมายเหตุ ใชใ้ นเมื่อหมปู่ ืนเลก็ เคลอื่ นท่อี ยู่ในรูปขบวนเดียวกันในชุดยงิ รูปท่ี ๒๐ รูปขบวนล่ิม เหยียดแขนทง้ั สองขึน้ เหนือศรี ษะ งอขอ้ ศอกเล็กน้อย และนิว้ มือทั้งสองมือจรดกนั
๑๓ รปู ที่ ๒๑ รปู ขบวนรูปตวั วี เหยยี ดแขนทัง้ สองขน้ึ ช้างบนและไปทางข้างทำมมุ ๔๕ องศา เหนือระดับไหล่ รปู ท่ี ๒๒ รูปขบวนขั้นบนั ไดไปทางขวา (ซา้ ย) หันหนา้ เขา้ หาหนว่ ยทรี่ บั สัญญาณและเหยยี ดแขนไปในทิศทาง ในท่ีซึ่งหน่วยต้องทำรูปรบวนขน้ั บันใดและไปข้างลา่ งขา้ งตัว ทำมมุ ๔๕ ต่ำกว่าระดบั ไหล่ หันฝ่ามือ ไปทางหนา้ เหยียดแขนอีกขา้ งหนงึ่ ขึ้นขา้ งบนและไปทางขา้ ง ทำมุม ๔๔ องศา หันฝ่ามือไปทางหน้า
๑๔ รปู ที่ ๒๓ รปู ขบวนหน้ากระดาน ยกแขนทง้ั สองไปทางขา้ งเสมอระดบั ไหล่ มอื และแขนท้ังสองเหยียดตรง ฝ่ามือทงั้ สองควำ่ ลง รูปท่ี ๒๔ รูปขบวนหนา้ กระดาน ปลก. ซ้าย (ขวา) ยกแขนทง้ั สองออกไปทางขา้ งเสมอแนวไหล่ มือและแขนท้งั สองเหยยี ดตรงคว่ำฝ่ามือลง แกวง่ แขนที่ต้องการให้ ปลก. เคลือ่ นท่ีไป ทางข้างและข้ึนข้างบน เหยียดตรง แลว้ ลดลงมาอยู่ในทา่ เดิม จนกระทง่ั เลกิ ให้สัญญาณ
๑๕ รูปที่ ๒๕ พบขา้ ศึก ยกอาวธุ ประจำกายขนึ้ เหนือศีรษะดว้ ยแขนขา้ งเดยี ว แขนเหยียดตรง พรอ้ มกับอาวธุ ขนานกับพนื้ ดนิ และช้ีไปในทิศทางข้าศกึ รปู ที่ ๒๖ ตดิ ดาบ ใช้มือขวาทำทา่ คล้ายกับถอดดาบปลายยืนออกจากฝั่ก แลว้ ทำท่านำมาตดิ กับปืน
๑๖ รูปท่ี ๒๗ เตรียมปฏิบตั ิการ ยกแขนท่อนลา่ งข้ึนเสมอข้อศอก มอื กำ หมุนตามเข็มนาฬิกา เปน็ รูปวงกลมหลาย ๆ คร้งั รปู ท่ี ๒๘ ปฏิบตั ิการตรงหนา้ (ขวา, ข้าย หรอื หลัง) เดินยงิ หรอื การยิงตะลมุ บอน ยกแขนข้นึ เสมอระดับไหล่แลว้ งอเล็กนอ้ ย กำมือแล้ว เหยียดตรง ๆ หลาย ๆ ครั้ง ไปในทิศทาง ทต่ี อ้ งการใหป้ ฏบิ ัติการ
๑๗ รูปที่ ๒๙ คุ้มครองการรุกของฝา่ ยเรา ยกมอื ข้นึ ตบลงบนศีรษะหรอื หมวกเหล็ก หลาย ๆ ครง้ั รปู ท่ี ๓๐ ยิง ยกแขนข้ึนตั้งตรงเหนอื ศรี ษะ แลัวฟาดลงมาข้างตัวอย่างแรง ในเมื่อตอ้ งการให้อาวุธ อยา่ งเดยี วของหมู่ทำการยิง เหยยี ดแขนพรอ้ มกบั ชไี้ ปทอ่ี าวุธน้ันโดยเฉพาะ แล้วฟาดแขน โดยแรงไปทางข้าง สญั ญาณน้ใี ชส้ ่ังยงิ สำหรบั อาวุธที่มีความกว้างปากลำกลอ้ งขนาดใหญ่
๑๘ รปู ท่ี ๓๑ เริ่มยงิ เหยยี ดแขนออกไปชา้ งหนา้ เสมอเอว ฝ่ามือคว่ำลง แลว้ แกวง่ แขนเป็นรูปครึ่งวงกลม หลาย ๆ ครง้ั ยิงจงั หวะเรว็ ปฏบิ ตั สิ ัญญาณสำหรบั เร่ิมยงิ โดยทำใหเ้ รว็ ขนึ้ ยิงจงั หวะชา้ ปฏิบัตสิ ญั ญาณสำหรับเร่ิมยิง โดยทำให้ชา้ ลง รปู ท่ี ๓๒ ระยะยงิ หรอื ศูนยร์ บ หนั หน้าไปทางบุคคลหรือหนว่ ยซง่ึ เปน็ ผ้รู บั สญั ญาณ เหยยี ดแขนไป ขา้ งหน้าได้ระดบั กบั แนวไหล่ กำมือ สัญญาณ น้ใี ช้สำหรับระยะยงิ ท่ที ราบกันอยู่แลว้ ถา้ ไมม่ ี สญั ญาณอื่นตามมา ก็ให้ตง้ั ศูนยร์ บท่ีมาตราระยะยิง ๑ น้ิวมอื สำหรับแต่ละ ๑๐๐ เมตร ของ ระยะที่มาตราระยะยงิ
๑๙ รปู ท่ี ๓๓ ส่ายไปทางขวาหรอื ซา้ ย / เพ่ิมมุมยงั หรือลดมุมยิ่ง เหยียดแขน ข้างหน่ึงไปยังพลประจำปืน ที่เกี่ยวข้อง กระดกแขนและมือไปในทิศทางที่ต้องการแก้ไข (เพิ่มมุมสูง ลดมุมสูง ขวา หรือ ช้าย) งอแขนตรง ข้อมือ และชี้นิ้วขึ้น ๑ น้ิว สำหรับแต่ละมิลเลยี ม ( หรือสำหรับแต่ละ ๑๐๐ เมตร ของระยะยงิ ) ทตี่ ้องการแก้ไข สำหรับปืนกลเหยียดนวิ้ มือ ช้ีนว้ิ 2 มลิ เลยี ม สำหรับปืน ที่มขี าหยัง่ และ ๑ เมตร สำหรับยนื ท่ีมขี าทราย รปู ที่ ๓๔ หยดุ ยิง ยกมือขน้ึ ขา้ งหน้าเสมอหนา้ ผาก ฝา่ มอื หันไปขา้ งหน้า โบกมือ และแขนท่อนลา่ ง ข้นึ ลงหลาย ๆ ครง้ั ตรงกับใบหน้า
๒๐ รูปท่ี ๓๕ เลิกปฏิบตั ิการ (หุบกำบ้นั ลงบนฝ่ามืออีกข้างหน่ึงเรว็ ๆ หลาย ๆ คร้ังตดิ กัน รูปท่ี ๓๖ สญั ญาณเตอื นภยั นิวเคลียร์ ปดิ ตาทง้ั สองขา้ งดว้ ยมือขวา เป็นการเตอื นให้หน่วยทหาร เขา้ ทก่ี ำบัง ก่อนที่อาวธุ นวิ เคลยี ร์จะเกดิ การระเบดิ ข้นึ
๒๑ รูปท่ี ๓๗ ติดเคร่อื งยนตห์ รือเตรยี มเคล่อื นที่ ทำทา่ เหมือนกับหมนุ เคร่ืองยนต์ ของยานพาหนะ โดย หมนุ แขนเป็นวงกลมในระดับเอว รปู ท่ี ๓๘ ดับเครื่องยนต์ ควำ่ ฝ่ามือลง ดึงมือขวาผา่ นลำคอ จากซ้ายไปขวา ในทา่ \" ตดั คอ\"
๒๒ รูปที่ ๓๙ ขนึ้ รถ เหยียดแขนลงขา้ งล่าง อย่ขู ้างขา พร้อมกับหงายฝา่ มือออก ยกแขนขา้ งหนง่ึ ขึน้ ลง ทำมุม ๔๕ องศา เหนอื พ้ืนระดับ อาจใช้แขนทั้งสองเม่ือทำสัญญาณนี้ ทำซ้ำๆ จนกระทงั่ เขา้ ใจ รูปที่ ๔๐ ลงรถ เหยยี ดแขนไปทางขา้ ง ทำมุม ๔๕ องศา เหนือระดับ คว่ำฝ่ามอื ลง แล้วลดลงข้างขา อาจใชแ้ ขนท้ังสองข้างในเมื่อ ใช้สญั ญาณน้ี ทำช้าๆ จนกระทั่งเขา้ ใจ
๒๓ รูปที่ ๔๑ ถอยหลงั หันหน้าไปยังหนว่ ยรบั สญั ญาณ ยกมือข้างหนึง่ ข้ึนเสมอไหล่ หันฝ่ามือไปข้างหนา้ เหยียดแขนไปทางหนา้ จนสุดแลว้ ชกั กลับมา คอยระวงั ใหฝ้ ่ามือหนั ไปขา้ งหน้าอยู่เสมอ รปู ที่ ๔๒ เปลี่ยนทิศทาง ( ใช้นำทศิ ทางยานพาหนะทางพืน้ ดิน ) หนั หน้าไป ยงั ผู้รบั สญั ญาณ ยกมอื ทง้ั สองขึน้ ข้างหนา้ เสมอไหล่ กำมือสองแขน ขา้ งท่ตี ้องการให้ทำการเลย้ี ว พรอ้ มกบั กวักมืออีกข้างหนึ่งเรียก ยานพาหนะไปทางหนา้ , ถอยหลัง
๒๔ รูปท่ี ๔๓ ปลดเกียรว์ า่ ง ไขว้ข้อมือเสมอคอ ชี้น้ิวไปในทศิ ทางทจี่ ะใหป้ ลดเกียร์ อีกมือหนึ่งกำไว้ รปู ที่ ๔๔ ปิดระยะระหว่างยานพาหนะและหยุด หนั หนา้ ไปทางยานพาหนะ ทีร่ ับสญั ญาณ และ เหยยี ดแขนทอ่ นลา่ งไปขา้ งหน้า หนั ฝ่ามือเขา้ ข้างใน และแขนทอ่ นลา่ งห่างกนั ประมาณ ความกว้างขอบไหล่ นำฝ่ามือท้งั สองเขา้ หากันในระยะใกล้ ยานพาหนะต้องหยดุ เมอื่ ฝ่ามอื ท้ังสองมาบรรจบกัน
๒๕ รูปที่ ๔๕ เปิดระยะ ( ระยะต่อระหวา่ งยานพาหนะ ) เหยียดแขนข้างหน่ึงไป ทางขา้ งเสมอไหล่ หันฝ่ามือไปข้างหน้า แล้วโบกแขนลงข้างลา่ ง ทำมุม ๔๕ องศา ต่ำกว่าระดบั ทำช้าๆ หลายๆ คร้งั หมายเหตุ สัญญาณน้ใี ช้สำหรับ ผบ. หน่วยยานยนต์ลอ้ ผบ. หนว่ ยยานยนต์สายพาน พลิกไปดูรูปที่ ๑๒ รปู ที่ ๔๖ ปิดระยะ เหยียดแขนชาั ยไปทางขา้ งในระดับไหล่ หงายฝ่ามอื ขน้ึ และ ยกตรงขึน้ ไปเหนอื ศรี ษะ ทำซำ้ หลาย ๆ คร้งั หมายเหตุ ผบ. หน่วยยานยนต์ลอ้ ใช้สัญญาณน้ี ผบ. หน่วยยานยนตส์ ายพาน พลิกไปดรู ูปท่ี ๑๓
๒๖ รูปท่ี ๔๗ เลีย้ วขวา เหยยี ดและยกแขนชัายไปทางข้างทำมุม ๔๔ องศา เหนือระดับไหล่หันฝ่ามอื ไปข้างหนา้ จนกระทั่งเริม่ ต้นเลี้ยว รปู ท่ี ๔๘ เล้ียวซา้ ย เหยยี ดและยกแขนซา้ ยไปทางขา้ งเสมอไหล่ หนั ผา่ มอื ไปข้างหนา้ จนกระทั่งเริ่มต้นเล้ียว
๒๗ รปู ท่ี ๔๙ หยุดและเคลื่อนท่ีต่อไป เหยยี ดแขนซ้ายไปทางข้างเสมอแนวไหล่ หมนุ ฝ่ามอื ไปขา้ งหน้าและหมนุ มือ เป็นวงกลมขนาดใหญ่ไปข้างหน้าโดยหมนุ มือตามเข็มนาฬิกาจากข้อศอก รูปท่ี ๕๐ ชา้ หรอื หยุด เหยยี ดแขนซา้ ยลงข้างล่างทำมมุ ๔๕ องศา ต่ำกวา่ ระดบั ไหล่ หนั ฝ่ามือไปทางหลัง
๒๘ รูปท่ี ๕๑ ตดิ เครื่องยนต์ ถอื ไฟฉายไปข้างหน้าในระดับไหล่ แลว้ แฉลบไฟฉาย ข้ึนลงเป็นรปู เลข ๘ รปู ท่ี ๕๒ หยดุ หรอื ดบั เครือ่ งยนต์ ถอื ไฟฉายประมาณระดบั ไหล่ แลว้ ดึงผ่านหนา้ อกไปมาหลาย ๆ คร้ัง ทีแ่ นวเสน้ ทางเคลื่อนทเ่ี พื่อใหร้ ถหยดุ เมื่อต้องการให้ดบั เครื่องยนต์ก็คงใช้สญั ญาณเช่นเดียวกนั
๒๙ รปู ที่ ๕๓ ไป,ไปขา้ งหนา้ ,เคล่ือนทไี่ ด้, เพ่ิมความเรว็ , หรือเดินจงั หวะเรว็ ถือไฟฉายขึ้นลงตรง ๆ ขา้ งหนา้ ตวั หลาย ๆ คร้ัง รูปที่ ๕๕ ถอยหถัง ถือไฟฉายระดับไหล่ และปิดเปิดหลาย ๆ คร้ัง ไปทางยานหาหนะ
๓๐ รูปท่ี ๕๕ เลี้ยวซา้ ย ( ขวา ) หมนุ ไฟฉายเป็นวงกรมในขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๑๒ ถงึ ๑๘ นวิ้ ไปในทศิ ทางทตี่ ้องการเลี้ยว ๕. ท่าสัญญาณการฝึกหมูท่ ำการรบสำหรับทหารราบ รปู ที่ ๕๖ แสดงภาพสัญญาณการฝึกหมทู่ ำการรบ จากรปู ขบวนแถวตอนหมู่ ส่งั การพร้อมกับให้สัญญาณ ก . ดำเนินกลยทุ ธทางขวา กำมอื และผลกั ไปในทิศทางท่ตี ้องการใหด้ ำเนินกลยทุ ธ รูปที่ ๕๖ สัญญาณการฝึกหมู่ทำการรบสำหรับทหารราบ
๓๑ ข. ดำเนินกลยทุ ธทางซ้าย กำมือและผลักไปในทิศทางท่ีตอ้ งการให้ดำเนินกลยุทธ ค. ดำเนินกลยทุ ธข้างหน้าทางช้าย (ขวา) จากหม่แู ถวตอน ยกแขนทีต่ ้องการใหด้ ำเนินกลยทุ ธข้นึ เหนือศรี ษะ แลว้ โบกแขนลงมาเสมอระดับไหล่ ไปในทิศทางทต่ี อ้ งการให้ดำเนนิ กลยทุ ธ รูปที่ ๔๖ (ต่อ)
๓๒ ๖. ทา่ สญั ญาณสำหรับปักหลกั เล็ง รปู ท่ี ๕๗ เป็นภาพแสดงทา่ สัญญาณ สำหรับปักหลักเล็งซึ่ง พลประจำปืนของอาวุธประจำหนว่ ยเป็นผ้ใู ช้ ก. ยา้ ยหลกั ไปทางขวาของพลยงิ ข. ยา้ ยหลักไปทางซา้ ยของพลยงิ ค. ตอกหลกั ง. เอียงหลักไปทางขวาของพลยงิ รูปที่ ๕๗ ท่าสัญญาณสำหรับปกั หลกั เลง็
๓๓ จ. เอยี งหลักไปทางซ้ายของพลยงิ ฉ. หลักถกู ต้อง รูปที่ ๕๗ ท่าสญั ญาณสำหรบั ปกั หลักเล็ง (ต่อ)
ตอนท่ี ๓ ธง ๗. กลา่ วทั่วไป ธงที่จ่ายให้หน่วยยานเกราะ มีความมุ่งหมายเพื่อใช้ในการควบคุมและเป็นเครื่องมือสำรองในการ ติดต่อสื่อสาร ซึ่งมีอยู่ภายในหน่วยเหล่านี้เครื่องยุทธภัณฑ์ของยานรบแต่ละคันนั้นจะมีธง ๑ ชุดด้วย อันประกอบดว้ ยธงสแี ดง สีส้ม และสีเขยี ว อยา่ งละหนง่ึ ธง ๘. การใช้ สัญญาณธงนัน้ เราอาจใชธ้ งเดียว หรอื ผสมกันใน ๒ หรอื ๓ ธงกไ็ ด้ ฉะน้ันตอ้ งเตรยี มประมวลสญั ญาณ ไว้ก่อน สัญญาณธงต่าง ๆ นั้นเพื่อที่จะให้เข้าใจ เราต้องทำซ้ำ ๆ และติดต่อกันไป ในรูปที่ ๕๘ ถึงรูปท่ี ๖๒ แสดงถึงการใช้ทั่วๆ ไป ในรูปที่ ๖๓ แสดงสัญญาณธงต่างๆ ที่ใช้ในการฝึกทำการรบสำหรับรถถังและหมวด ทหารม้ายานเกราะตา่ ง ๆ แดง รูปท่ี ๕๘ สำหรบั สญั ญาณตา่ ง ๆ ดังตอ่ ไปน้ี ยกแขนข้างหน่ึงขึน้ ตรงไปเหนือศรี ษะ ถือธงสไี ว้ อันตรายหรอื พบข้าศึก - สีแดง ปลอดภยั พรอ้ ม หรอื เขา้ ใจ - สีเซยี ว ไม่ตอ้ งสนใจหรือรถไมใ่ ชง้ าน – สีส้ม
๓๕ แดง รูปที่ ๕๙ ปฏิบัติการทางขวา (ทางซา้ ย ทางหนา้ หรือทางหลงั ) ถอื ธงแดง ต้งั ตรงไว้ ใหข้ ้อศอกประมาณ ระดบั ไหล่ และฟาดธงลงไปหลาย ๆ ครง้ั ในทศิ ทางทต่ี ้องการให้ปฏบิ ัตกิ าร แดง รปู ที่ ๖๐ การโอบขวา ( ซา้ ยหรือโอบสองบกี ) ถอื ธงแดงตัง้ ตรงไว้ แลว้ เหยียดแขนไปทางขวา ( ช้าย, ขวา และช้าย ) แกว่งแขนไปข้างหน้า ในระดบั ไหล่ เป็นรปู ครงึ่ วงกลมหลาย ๆ ครัง้
๓๖ เขียว ส้ม รูปที่ ๖๑ รวมพลหรือปิดระยะ ถอื ธงสีส้มและสีเขียวไวด้ ้วยมอื ขวา เหนือศีรษะ ยกขึ้นไปตรง แดง ส้ม เขยี ว รปู ที ๖๒ ปรากฏสารเคมี ( ไอพิษ) ถอื ธงแดงและสสี ม้ ไว้เหนอื ศีรษะดว้ ยมือขวา และถือธงเขยี วไวด้ ว้ ย มอื ซ้ายในวธิ เี ดวี ยกนั
๓๗ เขียว ส้ม ก. รปู ขบวนหนา้ กระดาษ รูปที ๖๓ สัญญาณธง การฝึกทำการรบ ส้ม เขียว ข. รูปขบวนแถวตอน รูปท่ี ๖๓ (ต่อ)
๓๘ เขียว ค. รปู ขบวนขั้นบันไดทางขวา (ซา้ ย) ส้ม เขยี ว สม้ ง. เปลปลายปกี ขวา (ซ้าย) รูปที่ ๖๓ (ตอ่ )
๓๙ สม้ เขยี ว จ. ขบวนรปู ลม่ิ เขียว ฉ. ขบวนรปู ล่ิมกลบั ส้ม รปู ที่ ๖๓ (ต่อ)
๔๐ เขียว ส้ม หยุด ส้ม แดง ช. หยุด, เข้าท่ีกำบงั , ยงั อยู่ประจำรถ รปู ที่ ๖๓ (ต่อ)
๔๑ ส้ม ด. ขบวนแถวตอนทางขวา เขียว ต. ขบวนแถวตอนทางซา้ ย รูปที่ ๖๓ (ตอ่ )
๔๒ สส้มม้ ถ. ขึ้นรถ เขียว เขยี ว ท. เคลื่อนท่ีได้ รูปท่ี ๖๓ (ตอ่ ) รูปที่ ๖๓ (ตอ่ )
๔๓ เขยี ว สม้ เขียว แดง น. ลงรถ โบกธงทง้ั สองจากข้างบนในทางด่ิง ลงมาทางข้างไดร้ ะดับกับแนวไหล่ แดง เขยี ว บ. ลงรถ และตลมุ บอน โบกธงทั้งสองจากข้างถนนในทางดิ่ง ลงมาทางขา้ งได้ระดับกับแนวไหล่ รูปท่ี ๖๓ (ต่อ)
๔๔ เขยี ว ส้ม ป. ขบวนหน้ากระดานไปทางขวา สม้ รูปท่ี ๖๓ (ต่อ) เขียว ผ. ขบวนหน้ากระดานไปทางซา้ ย สม้ เขยี ว ฝ. รปู ขบวนดาววา่ ว
๔๕ เขียว สสม้ ม้ พ. แบบตวั ที ถอื ธงเขยี วด้วยมอื ซ้าย พร้อมกับเหยียดตรงขึ้นไป โบกธง สีส้มในมอื ขวาเปน็ รูปคร่ึงวงกลม จากขวาไปซา้ ยและกลบั มา เขียว สม้ ฟ. แบบตวั วี. โบกธงสีส้มในมอื ขวา และธงสีเขยี วในมือซ้าย เป็นรูปครงึ่ วงกลมจากขวาไปซ้าย รูปที่ ๖๓ ( ตอ่ )
๔๖ ๙. สญั ญาณธงต่าง ๆ ในการยิงปืนในสนามยงิ ปืนของรถถัง ธงสญั ญาณตา่ ง ๆ ชกั ขน้ึ แสดงไว้ ณ ตำบลควบคุมและบนรถถงั ในระหวา่ งทำการยิงปืนในสนามยงิ ปืน ก. ชกั ธงไว้ ณ ตำบลควบคุม เพ่ือแสดงวา่ จะปฏบิ ัติการยิงปืนหรอื ไม่ ธงแดง หมายความว่า อนญุ าตให้ทำการยงิ ได้ ธงเขียว หมายความวา่ สนามยงิ ปนื ไมป่ ลอดภยั ในการยิง ข. ความหมายของธงสญั ญาณตา่ ง ๆ ท่ีแสดงไว้บนรถถังในการปฏบิ ตั กิ ารยงิ มีดังตอ่ ไปน้.ี ๑. ธงแดง หมายความว่า รถถังบรรทุกกระสุนจริง และจะเริ่มทำการยิง ปืนต้องเล็งไปยังพื้นท่ี เป้าหมาย ๒. ธงเขียว หมายความวา่ ปืนรถถังทัง้ หมด ไม่มีกระสุนและยกลำกลอ้ งขึ้นแล้วและลกู กระสุนจรงิ ใน รถถงั ไดเ้ ก็บเขา้ ทเ่ี รียบร้อย ๓. ธงสสี ้ม หมายความวา่ รถถังไมส่ ามารถทำการยิง หรือเกดิ การตดิ ขดั หมายเหตุ สำหรับหลักการยิงปืนใหญ่รถถังแล้ว ธงสีสัมอาจใช้ร่วมกับธงแดง หรือธงเขียวอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือท้งั สองอย่างเสมอ ๆ ๔. ธงแดง และธงเขยี ว หมายความว่ารถถังกำลังเตรยี มทำการยิงหรือฝึกยงิ โดยไมใ่ ช้กระสนุ ปืนทกุ กระบอกไม่มรี ะสนุ แต่ลำกล้องไมย่ กขึ้น ๕. ธงแดง และธงสสี ม้ หมายความวา่ รถถังเกิดการตดิ ขัดหรือกระสุนต้านในลำกล้อง ปืนยงั คงมี กระสุน และปืนเล็งไปยงั พ้ืนท่ีเป้าหมาย ๖. ธงสเี ขียว และธงสีส้ม หมายความว่ารถถงั เกดิ การติดขัด ปืนทง้ั หมดไม่มกี ระสนุ ๗. ธงแดง ธงเขียว และธงสสี ้ม หมายความว่ารถถังเสรจ็ สิ้นการยงิ และไดย้ กลำกลอ้ งขึ้นแล้วปืน ทัง้ หมดไม่มีกระสุน
ตอนที่ ๔ พลสุ ัญญาณ ๑๐. กลา่ วท่ัวไป ( รูปท่ี ๖๔-๗๓ ) ก. ในตอนนี้ได้กล่าวถึงวิธีการติดต่อสื่อสารด้วยพลุสัญญาณ มีภาพแสดงประกอบ ข้อจำกัดในการใช้ พลุสัญญาณมีอยู่ว่าต้องกำหนดการใช้ไว้โดยแน่นอน หรือสัญญาณนั้น ๆ ต้องมีการเตรียมการล่วงหน้า สัญญาณเหล่านี้ได้กำหนดบังคับไว้ในระดับกองทัพ, กองทัพน้อย, กองพล, กองพลน้อย, กรม, กองพัน ลงมา จนถึงระดับกองรอ้ ย และภายใต้สภาวะการณ์ท่ีแน่นอน โดยปกตคิ วามหมายเบื้องตน้ จะกำหนดไวใ้ นคำแนะนำ ปฏบิ ตั กิ ารสอื่ สาร ข. พลุสัญญาณเป็นสิ่งที่ทำให้เกิดแสงและควันอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกัน อาจจะเป็น ชนิดดาวเดียวมรี ม่ หรือดาวหลายดวงไม่มีร่ม และพรอ้ มด้วย หรือปราศจากดนิ ส่องวิถดี ้วยก็ได้ ๑๑. คำจำกัดความ \"พลสุ ญั ญาณ\" ในทีน่ หี่ มายถงึ พลสุ ัญญาณที่ไช้สำหรบั ใหส้ ญั ญาณเทา่ น้ัน ความหมายอย่างแทจ้ ริง ของ Pyrotechnics น้นั \"ศิลป์ของไฟ\" ดงั น้นั พลุสญั ญาณ คือ สิ่งทก่ี ่อให้เกิดการลุกไหม้ เครื่องกลไกและ เคร่ืองกำเนดิ ควันเคมี , สัญญาณไฟฟ้า เป็นเพยี งยุทธภัณฑ์เทา่ น้นั หาใช่พลสุ ญั ญาณหรอื ไม่ กระสุนส่องแสง กระสนุ ควันสีและส่องวถิ ี เป็นพลสุ ญั ญาณอยา่ งแท้จรงิ แต่พราะวา่ ส่ิงเหล่าน้นั มีความเก่ียวเนือ่ งกันอยา่ งใกลช้ ิด กับกระสุนปนื ใหญ่จงึ ไดก้ ลา่ วไว้ใน คท. ๔ - ๑๙๐๐ รายละเอียดของลูกระเบิดขวา้ งและยิง ก. ดาวเดียว ข. เป็นชอ่ รปู ที่ ๖๔ ผลของการสอ่ งสว่างแต่ละชนิด ก. ดาวเดียว ข. เป็นช่อ
๔๘ ค. ดาวคู่ ง. ดาวคู่ส่องวิถี (ส่องวถิ กี ่อนแล้วจึงมีดาวค๋)ู รูปท่ี ๖๔ ผลของการส่องสวา่ งแตล่ ะชนิด ค. ดาวคู่ ง. ดาวคสู่ อ่ งวถิ ี (สอ่ งวิถีก่อนแลว้ จึงมดี าวคู๋) ชนดิ ควันจากปนื เลก็ ได้กลา่ วไว้ใน รส. ๒๓ - ๒๐ ในเรอ่ื งเก่ยี วกบั ความร้ทู ่ัวไปและทางเทคนิคของ พลสุ ัญญาณทางทหาร มีอยู่ใน คท. ๙-๑๓๗๐-๒๐๐ ๑๒. คณุ ลักษณะ ก. พลุสญั ญาณทจี่ ่ายใหไ้ ปน้ัน มักจะเปน็ พลุสัญญาณทง้ั นัด ซงึ่ หมายถงึ ว่ามีส่วนต่าง ๆ ท้งั หมดที่ จำเป็นสำหรับใช้งาน ๑) สารประกอบท่ีใช้ออกซเิ จนเพ่ือให้เกิดการลกุ ไหม้ ๒) เชอ้ื เพลิง ๓) ตัวยดึ และกนั นำ้ ๔) ตัวใหแ้ สงสี ข. ในบางกรณวี ัตถุอย่างหน่ึงอาจทำหน้าทด่ี งั กล่าวมาแล้วขา้ งตน้ หลายอย่างด้วยกัน ๑๓. สญั ญาณควนั อาจใช้ควันส่งสัญญาณได้ทั้งทางพื้นดินและพื้นดินสู่อากาศ ควันขาวและควันสี สามารถใช้ เพอื่ ความมุ่งหมายอันนี้ได้ โดยทำการยงิ กระสนุ จากเครื่องยงิ ลูกระเบิดจากปืนเล็ก จากเครอ่ื งยิงลูกระเบิดหรือ จากปืนใหญ่ ลูกระเบิดขว้างควัน ออกแบบสำหรับให้ทหารใช้เป็นบุคคล เราสามารถเห็นสัญญาณควันได้ ในระยะไกลๆ ในเมื่อฉากหลังของภูมิประเทศตรงกันข้ามมีสีตัดกัน สัญญาณควันไม่เหมาะในการส่งข่าว
๔๙ แตเ่ รานำไปใช้สำหรับการติดต่อส่ือสาร โดยเตรยี มสญั ญาณน้นั ๆ ไวล้ ว่ งหน้า ระหวา่ งหน่วยเล็กๆ กับเคร่ืองบิน ฝ่ายข้าศึกอาจตรวจการณ์พบสัญญาณควันได้ ด้วยเหตุนี้สมควรพิจารณาปกปิดความลับ โดยไม่เปิดเผยที่ตั้ง ที่ม่ันหรือความมุ่งหมาย สำหรับรายละเอียดที่พอเปรียบเทียบในการใช้ควันด้วยเครื่องยิงลูกระเบิด และปนื ใหญน่ ัน้ ดใู น รส. ๖-๒๐ ๑๔. ลูกระเบดิ ขว้างควนั ก. ลกู ระเบดิ ขว้างควนั HC ชนิดน้ี เป็นลูกระเบิดเพลิงชนิดหนึ่ง ใช้เป็นเครอื่ งหมายสัญญาณ และ ทำฉากควัน เมื่อลูกระเบิดนี้ถูกจุดจะทำให้เกิดควันสีขาวทึบ ควันนี้ไม่เป็นอันตรายแก่หน่วยทหารเมื่อหายใจ เอาควันเข้าไปเพียงบาง ๆ และในระยะเวลาอันสน้ั ข. ลูกระเบิดขว้างควันสีมีลักษณะเช่นเดียวกันกับลูกระเบิดขว้างควันขาว เอช.ชี. ลำตัวลูกระเบิด มีแถบสีเหลืองคาด แต่ตัวทาสีแสดงสีของควันที่บรรจุอยู่ ภายในบรรจุสารผสมสีชนิดลุกไหม้ทำให้เกิดสีต่างๆ ได้หลายสี แต่ในบัจุบันนี้มีมาตรฐานอยู่เพียง ๔ สีเท่านั้น คือ สีแดง , สีเขียว , สีม่วง, และสีเหลือง เป็นลูก ระเบดิ ชนิดลกุ ไหมใ้ ชช้ นวนจุด ค. ลูกระเบิดขว้างควันฟอสฟอรัสขาว ถึงแม้ว่าในขัน้ ต้นในการใช้จะก่อให้เกิดการลุกไหม้เผาผลาญได้ แลว้ ยงั อาจใชส้ ำหรับทำฉากควนั กำบงั ไดด้ ว้ ย หรือชต้ี ำแหนง่ เป้าหมาย เป็นลกู ระเบดิ ชนิดระเบิดพร้อมด้วย ชนวนระเบิด ส่วนท้ายของลูกระเบิดขว้าง M34 ฟอสฟอรัสขาวอาจจะมีหางนำทิศสำหรับใช้เช่นเดียวกับลูก ระเบิดยิงจากปืนเล็ก ประกอบเข้ากับหางนำทศิ M1A1 หรือ M1A2 ลูกระเบิด M15 ฟอสฟอรัสชาว ไม่มีขีด ความสามารถอันน้ี ๑๕. ลกู ระเบดิ ยิงจากปนื เลก็ และพลุสัญญาณพ้นื ดิน กลา่ วทวั่ ไป โดยทวั่ ไปเราใชพ้ ลสุ ญั ญาณสำหรับส่งสัญญาณดว้ ยการใชย้ ิงดว้ ยเคร่อื งยิงลูกระเบิดจากปืนเลก็ และ พลุสัญญาณพนื้ ดินมากท่สี ุด เคร่ืองมือ รปู ที่ ๖๕ ลข. ควัน HC M8
๕๐ รูปที่ ๖๖ ลข. ควนั ฟอสฟอรัสขาว M15 รูปที่ ๖๗ ลข. ควนั ฟอสฟอรสั ขาว M34
๕๑ ของท้ังสองอยา่ งน้ีมลี กั ษณะเหมอื นกันมาก ความแตกต่างที่สำคัญทสี่ ดุ ก็คือว่าลูกระเบิดยิงจากปืนเล็ก มหี ัวกลม และพลุสัญญาณพ้ืนดินมรี ูปเป็นทรงกระบอก, ท้ังสองอยา่ งอาจทำการยิงจากเคร่อื งยงิ ลูกระเบิดจาก ปืนเล็ก ๑๖. ลกู ระเบิดควันยิงจากปืนเลก็ ก. ลูกระเบิดควันฟอสฟอรัสขาวยิงจากปืนเล็ก ชนวนที่ติดตั้งไว้เป็นชนวนกระทบแตก ในเมื่อกระทบ กับเป้าหมายหรือบนพื้นดิน เมื่อลูกระเบิดแตกออกระกระจายฟอสฟอรัสขาวออกโดยรอบตัว ส่วนที่น้อยที่สดุ ครอบคลุมพื้นทเี่ ส้นผา่ ศูนย์กลาง ๒๐ เมตร และทำให้เกิดควันขาวทึบ ลกู ระเบิดควนั ฟอสฟอรสั ขาวยิงจากปืน เลก็ ก็เหมือนกันกับ ลข. ควนั ฟอสฟอรสั ขาว มีความมุ่งหมายอยู่ ๔ อย่าง ซ่งึ อาจใช้สำหรับเผาผลาญและการ สญู เสยี กับสำหรับใหอ้ าณัติสญั ญาณและทำฉากกำบัง ข. ลข. ควนั สี ใช้สำหรับใหอ้ าณตั สิ ญั ญาณโดยเฉพาะ เปน็ แบบชนวนกระทบแตก และมอี ยู่ ๔ สี คอื สแี ดง, สเี หลือง , สีม่วง , และสีเขียว ค. ลูกระเบิดยิงจากปืนเล็กควันสีทางยาว ลูกระเบิดนี้คล้ายกับลูกระเบิดยิงจากปืนเล็กควนั สี แต่ไม่ใช้ ชนวนกระทบแตกและสลักนิรภัยลูกระเบิดนี้ถูกจุดด้วยประกายเพลิงของดินส่งกระสุนที่ปากลำกล้องปืน จะ เริ่มปล่อยควันออกเป็นควันทางยาว ในเม่ือลูกระเบดิ หลดุ ออกจากเครื่องยงิ ไปแล้วประมาณ ๕๐ ฟุต และควัน จะออกแล่นเป็นทางยาวไปอย่างน้อยที่สุด ๑๒ วินาที ( ประมาณ ๒๕๐ ฟุต ) ลกู ระเบดิ น้มี สี ีแดง , สีเหลอื ง , สี มว่ ง และสเี ขยี ว ๑๗. พลุสัญญาณพืน้ ดนิ ก. พลสุ ัญญาณพื้นดนิ อาจจะให้แสงหรอื ควนั อยา่ งใดอย่างหนึง่ ตอ่ ไปนี้เป็นรายการของพลุสญั ญาณ พ้นื ดินทีม่ ีอยู่ ๑) พลุสัญญาณพื้นดนิ รม่ ขาว ๒) พลุสัญญาณพน้ื ดนิ ชอ่ ขาว ๓) พลุสัญญาณพนื้ ดนิ รม่ เขยี ว ๔) พลุสัญญาณพืน้ ดนิ ช่อเขียว ๕) พลุสญั ญาณพืน้ ดิน ร่มเหลือง ๖) พลสุ ญั ญาณพ้นื ดิน ช่อเหลือง ๗) พลุสัญญาณพนื้ ดนิ ร่มแดง ๘) พลสุ ญั ญาณพ้ืนดิน ชอ่ แดง ๔) พลุสัญญาณพืน้ ดนิ ควนั แดง ๑๐) พลสุ ัญญาณพ้ืนดนิ ควันเหลือง ๑๑) พลสุ ัญญาณพนื้ ดิน ควนั เขยี ว ข. กำหนดชนิดพลุสัญญาณพื้นดิน โดยมีเครื่องหมายที่หีบห่อและที่ตัวพลุเพิ่มเติมจากเครื่องหมาย ตามปกติ กับมีสีแสดงสีของแสงหรือควันที่เกิดจากพลุชนิดนั้น ๆ และมีอักษรย่อแสดงแบบของพลุเป็นรปู นูน
๕๒ เพือ่ ให้กำหนดชนดิ ไดใ้ นที่มดื สว่ นบนท้งั หมดของพลุสญั ญาณพ้ืนดนิ ทาสีและมีเคร่ืองหมาย พลุสัญญาณพ้ืนดิน ชนิดควนั มแี ถบสี แสดงสีของควนั ไว้ทีป่ ลายดา้ นใดด้านหนึง่ โดยรอบ กว้าง ๑/๒ นว้ิ ๑๘. พลุลญั ญาณพ้ืนดินแบบจรวดชนิดมือจับ ก. ตอ่ ไปน้ีเป็นแบบของจรวดสญั ญาณท่มี ีอยู่ ๑) ช่อเขยี ว ๒) ช่อแดง ๓) รม่ ขาว ๔) แดงทางยาว ข. พลุสัญญาณเหล่านี้มีส่วนประกอบพร้อมอยู่ในตัว ครีบหางนำทิศพลุสัญญาณพื้นดิน พลุสัญญาณ แต่ละอันประกอบด้วยกระบอกสามอันรวมศูนย์เดียวกัน กระบอกชั้นนอกสำหรับบรรจุพลุ ชั้นต่อไป เป็น กระบอก เคร่ืองยิงและชน้ั ในกระบอกเคร่ืองยงิ เป็นกระบอกครบี หางนำทิศ ซึ่งบรรจุดินส่งจราด และช้ันส่วน ของสญั ญาณพร้อมด้วยร่มหรือช่อ ต่อไปเป็นการเตรยี มพลสุ ำหรับทำการยิง ถอดฝาครอบออกจากหัวกระบอก เครื่องยิง แล้วนำไปสวมที่ท้ายกระบอกเครื่องยิง (จอกกระทบแตก) ยิงพลุสัญญาณ โดยการใช้มือข้างหนึ่งถือ พลุไวใ้ นทางด่ิง และพรอ้ มกนั น้ันก็ใช้มืออีกข้างหน่ึงกระแทกฝาครอบ (ทท่ี า้ ยกระบอกเครื่องยิง) ในระหว่างทำ การยิง ถือพลุสัญญาณด้วยแขนทั้งสองเหยียดตรงและเหนือระดับสายตาเล็กน้อย เมื่อทำการยิงขึ้นไป กระบอกครีบหางนำทิศจะแล่นขึ้นไปสูงประมาณ ๗๕๐ ฟุต พร้อมกับชิ้นส่วนของสัญญาณจะถูกขับออกและ เผาไหม้จาก ๔ ถึง ๓๖ วินาที ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของสัญญาณที่ใช้ (เป็นช่อหรือเป็นร่ม) พลุสัญญาณทั้งกล่อง ยาว ๑๐ ๕/๘ นว้ิ มเี สน้ ผา่ ศูนยก์ ลางยาว ๑ ๓/๔ นวิ้ และมีน้ำหนกั ๑.๒๙ ปอนด์
๕๓ ๑๙. เครอ่ื งยิงลกู ระเบดิ จากปืนเล็ก ก. เครื่องยิงลูกระเบิดจากปืนเล็ก M7 M7A1 M7A2 และ M7A3 ซึ่งใช้สำหรับยิงลูกระเบิดยิงจาก ปืนเล็กและพลุสัญญาณพื้นดินจาก ปลยบ.M1 ทั้งสองอย่าง เครื่องยิงนี้จะสวมติดอยู่ที่ปลายปากลำกล้องปืน เครอ่ื งยิงทงั้ ๔ แบบน้ี ทตี่ วั เครอ่ื งยิงทำแว่นแวน่ หลาย ๆ แวน่ สำหรบั ใชย้ ิงลกู ระเบดิ ในเม่ือทำการยงิ ด้วยมุมยิง สูงในระยะต่าง ๆ กัน ที่ตอนปากกระบอกเครื่องยิงมีขดแหนบยึดถูกระเบิด สำหรับยึดลูกระเบิดให้ติดกับ กระบอกเครือ่ งยิงตามแวน่ ต่าง ๆ เพอ่ื จัดระยะยิง เครื่องยงิ ลูกระเบดิ จากปนื เลก็ แบบ M7A3 มวี งแวน่ เครื่องยิง และร่องเกลียวเพิ่มอีก ๓ แว่น คือหมายเลข 2A, 3A, และ 4A ซึ่งโดยปกติจะพบว่าตัวเครื่องยิงอื่น ๆ มีเพียง ๖ แว่น วงแว่นที่เพิ่มเหล่านี้ใช้ในเมื่อทำการยิงลูกระเบิดจากปืนเล็กชนิดใหม่กว่า ซึ่งมีท่อหางนำทิศที่ยาวกว่า เครื่องยิง M7A2 ซึ่งไม่ได้แสดงไว้ในที่นี้ รูปร่างเหมือนกันกับ M7A3 แต่สั้นกว่าประมาณ ๑ ๑/๒นิ้ว และไม่มี แว่นจดั ระยะยิงหมายเลข 2A , 3A และ 4A ตามทก่ี ล่าวมาแลว้ รปู ที่ ๗๐ เครื่องยิงลกู ระเบิดจากปนื เลก็
๕๔ ข. เครอ่ื งยิงลูกระเบิด M76 ใชส้ ำหรับทำการยิงลูกระเบดิ จาก ปลยบ.M14 เครอ่ื งยงิ ลกู ระเบิด M76 กม็ รี ปู ร่างเหมือนกนั กับเคร่อื งยงิ M7A3 ซง่ึ ใช้ยิงดว้ ย ปลยบ.M1 เว้นแตว่ า่ มกี ารแก้ไขแหนบยึดลกู ระเบิดใหด้ ขี ้นึ และไมม่ ีแผน่ เหล็กยึดเครื่องยิงและแหนบปล่อยให้เคร่ืองยิ่งสะทอ้ นถอยหลงั เป็นอสิ ระจากปืน ขอ้ ควรระวัง เมื่อลูกระเบิดยิงจากเคร่ืองยิง M76 ดิ้นระบายแก๊ซของจุกเกลียวฝาบีดหัวกระบอกสบู ท่ี ปลยบ.M14 ตอ้ งหมุนกลับไปอย่ใู นทา่ ปิด การเตรยี มการสำหรบั ทำการยิง จงนำวธี ตี อ่ ไปนไี้ ปใช้สำหรับลูกระเบิดและพลุสัญญาณพ้นื ดินต่างๆ ก. เปิดกลอ่ งแลว้ นำลกู ระเบดิ หรอื พลุออกมา ข. ตรวจสอบวา่ ใช้งานได้ ค. ถอดจุกไม้ค๊อร์กแล้วนำลกู ระเบดิ หรือพลุไปติดที่เคร่ืองยิ่ง ง. ถ้างวดงานของลกู ระเบิดหรอื พลสุ ญั ญาณยงั ใหม่ จะเหน็ วา่ กระสนุ แยกเกบ็ ไว้ต่างหาก กระสุนท่ีงวดงานเกา่ กว่าจะพบกระสุนท่ีหางลกู ระเบิดภายใต้จุกไม้ค๊อร์ก จ. ถา้ ลูกระเบดิ หรือพลทุ ่ีไม่ยิง ใหน้ ำกลับไปไวท้ ี่เดมิ และไม่ต้องหอ่ รูปที่ ๗๑ กระสุนใชใ้ นการยิงลูกระเบดิ จากปืนเล็กและพลุสญั ญาณพนื้ ดิน ขนาด ๓๐ M3 ๒๑. ข้อระมัดระวงั และการรักษา ก. ดินส่งกระสุนสำหรับลกู ระเบดิ จากปืนเล็ก โดยปกติไม่ใชก้ ระสุนซ้อมรบหรอื กระสุนจรงิ ในการขบั ดันลกู ระเบิดจากปนื เลก็ หรอื พลสุ ัญญาณพนื้ ดนิ เราใช้กระสุนยิงลูกระเบิดจากปืนเลก็ ขนาด .๓๐ นว้ิ M3 ใช้ กบั ปลยบ.M88 และกระสนุ ยิงถกู ระเบิดขนาก ๗.๖๒ มม.ใชก้ บั ปลยบ. M14 ข. ข้อควรระวงั เป็นพเิ ศษสำหรับการยิงพลุสญั ญาณพน้ื ดนิ ๑) เมื่อทำการยิงด้วยมุมยิงสูงโดยวีธีเล็งสำรอง ใช้ท่านั่งคุกเข่ายงิ หรือท่านั่งราบยิง ได้กล่าว ไว้ใน รส. ๒๓-๓๐ ขอ้ ๔๙ ๒) เมื่อทำการยิงด้วยมุมยิงต่ำโดยวิธีเล็งตรง ท่านอาจทำการยิง ปลยบ. จากไหล่ในท่ายืนยิง หรือน่ังคุกเข่ายงิ ไดก้ ล่าวไวใ้ น รส. ๒๓-๓๐ ขอ้ ๓๘ ข. และ ค. ๓) ให้ก้มศีรษะลง และไม่ต้องเฝ้าดูในขณะที่พลุสัญญาณกำลังพุ่งขึ้น เพราะว่ามันอาจเกิด \"การพน่ มาขา้ งหลงั \" จากดนิ ส่งกระสุนได้
๕๕ ๔) ในการฝกึ ควรระวงั เมอื่ ทำการยงิ พลุ อย่าใหต้ วั ลูกระเบดิ ท่ยี ิงแล้วตกถูกทหารฝ่ายเดียวกัน หนว่ ยทหารทร่ี ว่ มในการฝึกควรจะตอ้ งสวมหมวกเหล็ก หรือนำมาตรการในการป้องกนั อน่ื ๆ อยา่ งใดอย่างหนึ่ง มาใช้ เพอ่ื หลีกเลย่ี งจากการทป่ี ลอกพลุสญั ญาณตกถูก ๕) การหยิบยกพุลสัญญาณพื้นดิน ต้องทำด้วยความระมัดระวัง ไม่ให้ส่วนหางได้รับความ กระทบกระเทือนเสียหาย ห้ามใช้ลูกระเบิดหรอื พลุท่บี ุบ โคง้ งอ หรอื ทอ่ นำทศิ ท่ีมีรปู ร่างผิดไป ๖) ต้องเป็นที่มั่นใจได้ว่าท่อนำทิศสะอาดและลูกระเบิดหรือพลุสัญญาณหมุนได้คล่องบน เครื่องยิง ๗) อย่าสวมพลุสัญญาณทั้งไว้กับเครื่องยิง จนกว่าจะถึงเวลาใช้พลุสัญญาณนัน้ อย่าถอดจุก ไมค้ ๊อร์กจากหางลูกระเบิดจนกว่าจะถึงเวลาสวมพลุสญั ญาณกับเคร่ืองยิง ๒๒ . พลุสญั ญาณยงิ จากปนื ยงิ พลุ และเคร่อื งยงิ พลุ ก. พลุสัญญาณเบบนี้เป็นแบบเก่าซึ่งมีมาแต่ตั้งเดิม มีความมุ่งหมายใช้สำหรับให้อาณัติสัญญาณ ระหวา่ งเครื่องบินไปยังเคร่ืองบินหรือเคร่ืองบินไปยังพื้นดิน อย่างไรก็ดี จากการทดลองมาแล้วปรากฏว่าทหาร บนภาคพนื้ ดนิ ใช้พลุชนิดนี้ได้ดเี ช่นเดียวกนั เพราะว่าเป็นเครอื่ งยงิ ท่ีเบาและกระทดั รัด ข. พลุสัญญาณเครื่องบิน (ข้อ ๒๓) ก่อให้เกิดประกายและเสียงทำด้วยอลูมิเนียมรีดเป็นชั้นเดียวกนั มีขอบคัดปลอกใช้ยิงจากปืนยิงพลุ ANM8 และเครื่องยิงพลุ M9 เครื่องยิงพลุสัญญาณ M1A1 ใช้เป็นเครื่องยิง สญั ญาณกำหนดด้วยสูงกระสนุ แตก M27 เครื่องยิงเหลา่ นีแ้ ละการปฏบิ ัติ ได้กลา่ วไวใ้ น คท.๙-๑๒๙๐ ๒๓. พลสุ ญั ญาณเคร่ืองบิน ก. พลุสัญญาณเครื่องบิน แบบที่ใช้กันอยู่ในบัจจุบันนี้เป็นอลูมิเนียมช้ันเดียวมีขอบคัดปลอก แบบเก่า ซึ่งยังคงใช้อยู่ ตัวทำด้วยอลูมิเนียมหรือกระดาษ หัวทำด้วยทองเหลือง รูปร่างเหมือนกระสุนปืนลูกซองขนาด ใหญ่ ลูกพลุมีแบบดาวเดยี ว ดาวคู่ และดาวคู่ส่องวิถี พลุสัญญาณเหล่าน้ีในเวลากลางคืนอาจจะเห็นได้ไกลถงึ ๕ ไมล์ และ ๒-๓ ไมลใ์ นระหว่างเวลากลางวัน ข. พลุสัญญาณชนิดดาวเดี่ยวมีแถบสีกว้าง ๑/๒ นิ้ว ๑ แถบ คาดโดยรอบปลอกกระสุนซึ่งใช้สี เหมอื นกับสีของดาว พลุสัญญาณชนดิ ดาวคมู่ แี ถบสีกว้าง ๑/๔ นิว้ ๒ แถบ แสดงสขี องดาวแตล่ ะดวงตามลำดับ พลุสัญญาณดาวคู่ส่องวีถี มีแถบสีกว้าง ๑/๔ นิ้ว ๑ แถบ ตามสีของส่องวิถีและแถบสีกว้าง ๑/๒ นิ้ว ๒ แถบ แสดงสีของดาว ค. ข้อควรระวงั เพิ่มเติมในการหยบิ ยกขนยา้ ย มีดงั ตอ่ ไปน้ี ๑) จะต้องระวังปอ้ งกันไมใ่ ห้กระทบกระแทกชนวน เพราะอาจทำให้ดินส่งกระสุนขับวัตถุส่อง แสงซ่ึงติดไฟ ออกจากปลอก ๒) พลสุ ัญญาณทีห่ บี เปดิ แล้ว จะตอ้ งตรวจดปู ลอกก่อนนำไปไช้ ถ้าปลอกบุบมีรอยแตก หลวม คลอน ผิดรูปรา่ งห้ามนำไปใช้
๕๖ ๓) ในการยงิ พลุสัญญาณจากอากาศ ควรหาทางระวงั ปอ้ งกันและแก้ปญั หาไว้ในเม่ือพลุหมด กำลงั ปลอกกระสนุ ตกลงในหนว่ ยทหารฝ่ายเดยี วกนั ๒๔. พลลุ ญั ญาณแบบทำให้เกดิ ประกายแสงและเสยี ง ก. พลุสญั ญาณนีม้ ีรปู รา่ งเหมือนกนั กับพลุสัญญาณเคร่ืองบิน มคี วามมงุ่ หมายสำหรับใหก้ รรมการใช้ ในระหวา่ งการฝึกการยิงของปืนใหญ่ดว้ ยกระสุนปนื ใหญ่เทียมแตกอากาศ ข. ข้อควรระวงั อย่างกวา้ ง ๆ ในการนำพลุสญั ญาณไปใช้มีดังตอ่ ไปนี้ รูปที่ ๗๒ เคร่ืองหมายแสดงพลสุ ญั ญาณทีใ่ ช้กับเครอื่ งยงิ พลุ
๕๗ ๑.) เมื่อทำการยิงข้ามศีรษะของหน่วยทหาร ต้องตั้งมุมสูงที่กระบอกหรือเครื่องยิงไม่ต่ำกว่า ๔๕ องศา ซึง่ จะประกันได้ว่าการระเบิดของพลุจะอยสู่ ูงในเกณฑ์นริ ภัย (เมือ่ ตงั้ มุมสูง ๔๕ องศา พลุจะระเบิด ออกที่ความสงู ประมาณ ๑๐๐ ฟุต) ๒.) ชแ้ี จงไม่ให้ทหารหันหนา้ ไปยงั ตำบลระเบิด ๓) ชี้แจงใหท้ หารทอ่ี ยนู่ อกท่ีกำบงั ทราบวา่ ตอ้ งสวมหมวกเหล็ก ๒๔. พลุสญั ญาณพนื้ ดินชนิดกำหนดดว้ ยความสูงกระสนุ แตก ก. พลุสญั ญาณชนิดนี้มีความม่งุ หมายในการใช้ และการยิง ผิดกันกบั พลสุ ญั ญาณพน้ื ดนิ อืน่ ๆ และ คล้ายคลงึ กนั กับพลุสญั ญาณ เครือ่ งบนิ ยิงจากเครื่องยิงพลสุ ัญญาณพ้นื ดิน M1A1 และใช้สำหรบั การฝกึ ของ ปืนใหญ่สนามเพยี งอย่างเดียวเทา่ นั้น พลนุ พ้ี ่นกอ้ นควันออกมาในระยะสูงสดุ ประมาณ ๖๕๐ ฟตุ รูปท่ี ๗๓ สญั ญาณพ้นื ดนิ ชนดิ กำหนดดว้ ยความสูงกระสนุ แตก ข. ข้อควรระวังเพิ่มเติม นอกจากข้อควรระวังของพลุสัญญาณอื่น ๆ ตามข้อ ๒๑ แล้ว ในการฝึกผู้ยิง ตอ้ งระวังตลอดเวลาให้ทกุ สว่ นของร่างกายอยตู่ ำ่ กว่าปากกระบอกเคร่ืองยิง เมือ่ ทำการยิงพลสุ ัญญาณนี้
ตอนท่ี ๕ สญั ญาณอากาศ/พ้นื ดนิ ๒๖. ระบบแผน่ ผ้าสญั ญาณ กล่าวโดยท่วั ไป ระบบแผ่นผ้าสัญญาณ เป็นวิธีเบื้องต้นที่ซึ่งหน่วยทหารทางภาคพื้นดิน อาจจะทำการติดต่อกับ เครือ่ งบินในขนั้ ที่จำกดั โดยปูแผน่ ผา้ สญั ญาณบนพื้นดิน ๒๗. ขนาดของแผ่นผา้ สัญญาณ แผน่ ผา้ สญั ญาณ ควรจะมีขนาดพอเพียงเพื่อท่จี ะมองเหน็ จากทางอากาศได้ง่าย และควรจะต้องมีสีตัด กนั ในระหวา่ งเครื่องหมายกับฉากหลังซึ่งต้องอยู่ในพน้ื ท่ีโล่งแจ้ง แผน่ ผ้าสญั ญาณอย่างน้อยทสี่ ุดควรมีขนาดยาว ๖ ฟตุ และกว้าง ๒ ฟตุ ในเมอื่ เราไม่ไดเ้ ตรียมแผน่ ผ้าสัญญาณเอาไว้กอ่ นอาจกระทำไดโ้ ดย ก. ใช้แถบผา้ หรือวตั ถทุ อี่ อ่ นตัวท่ีคลา้ ยคลึงกัน อย่างใดอย่างหน่งึ ก็ได้ ข. วางท่อนไม้ กอ้ นหนิ หรือวัตถุอื่น ๆ บนพน้ื ดนิ ค. เขียนสัญญาณบนหมิ ะ พื้นดิน หรือทราย ๒๘. ลานปูแผ่นผ้าสัญญาณ ปราบพน้ื ทใ่ี ห้ราบเรยี บ ถากถางพน้ื ดินหยอ่ มหน่ึง ประมาณ ๔๐ - ๑๓๐ ฟตุ ในพ้ืนท่นี ้ีควรเลือกพ้ืนท่ีๆ ดีที่สุด เพื่อเป็นลานปูแผ่นผ้าสัญญาณ มีความพอเพียงสำหรับแสดงข่าวสารและเครื่องหมายพิเศษ ให้ผู้ตรวจ การณท์ างอากาศสามารถอ่านขา่ วและปฏิบัติการ ทงิ้ ข่าว ตกข่าว ไดอ้ ย่างพอเพียง ๒๙. เคร่อื งหมายกำกบั ความมุ่งหมายในการใช้เครื่องหมายกำกับ (รูปที่ ๗๔) เพื่อบอกผู้ตรวจการณ์ให้ทราบว่าการปูนั้นอ่าน เปน็ ตัวอักษร (รปู ท่ี ๗๖) เปน็ จำนวนเลข (รูปที่ ๗๗) หรือเป็นประมวล (รปู ที่ ๗๘) ๓๐. เครื่องหมายกำกับการอ่าน (เครื่องหมาย \"พร้อมแลว้ อา่ นได\"้ ) ก. เครื่องหมายกำกับการอ่าน เปน็ แผ่นผา้ สญั ญาณผนื เด่ียว ปูอยู่กึง่ กลางต้งั ได้ฉากกบั แผ่นผา้ หลัก (รปู ที่ ๗๔) เปน็ แผน่ ผ้าสญั ญาณแผน่ สดุ ท้ายทจี่ ะปู และเป็นแผน่ แรกทจี่ ะเก็บในเม่ือจะเปล่ียนหรือยา้ ย ข. เม่อื ใชโ้ ดยไม่มีเครื่องหมายกำกับอยา่ งอน่ื หมายความวา่ \"จงอ่านเป็นประมวล\" (รูปที่ ๗๕) ค. ในประการอืน่ ๆ หมายความว่า \"ด้านบนของจำนวนเลขแผ่นผ้าหรอื หมู่คำ\" และการปู \"พร้อมแลว้ อา่ นได\"้ ๓๑. เครอื่ งหมายกำกับอักษร เมอื่ ปูเหนือเคร่อื งหมาย \"กำกับการอา่ น\" หมายความว่า \"จงอ่านเป็นตัวอกั ษร\" (รูปท่ี ๗๖)
๕๙ ๓๒. เครื่องหมายกำกับจำนวนเลข เมื่อปูเหนือเครื่องหมาย \"กำกับการอ่าน\" (รูปที่ ๗๔) ก็หมายความว่า \"จงอ่านเป็นจำนวนเลข\" (รูปท่ี ๗๗) ๓๓. เครือ่ งหมายกำกบั ประมวล (รูปท่ี ๗๘) ก. เม่อื ปูเหนอื เครือ่ งหมาย \"กำกับการอ่าน\" กห็ มายความว่า \"จงอา่ นจดุ และขดี เป็นประมวล\" ข. เมื่อสง่ สญั ญาณตวั อักษรเป็นประมวล เราแทน จดุ โดยให้แผ่นผ้าสัญญาณตงั้ ไดฉ้ ากกบั เคร่ืองหมาย \"กำกบั การอา่ น\" และแทน ขีด โดยใหแ้ ผ่นผา้ สญั ญาณขนานกบั เครอ่ื งหมาย \"กำกับการอา่ น\" (รปู ที่ ๗๔) รปู ที่ ๗๔ เคร่ืองหมายกำกบั แผ่นผา้
๖๐ รปู ท่ี ๗๕ การใช้ประมวลแผ่นผ้าสญั ญาณ การปูน้ีเป็นการส่งสัญญาณแรกของข่าวประเภทรอ้ งขอ เลข ๔ และ ๐ แสดงจำนวนเลข ๔๐ ใน ประมวลแผน่ ผ้าสญั ญาณ ๓๔. ระเบียบปฏิบัติ ก. แผ่นผ้าตั้งฉากอันหนึ่งในหมายเลขแต่ละตัว และในเครื่องหมาย \"จงอ่านเป็นตัวอักษร\" และ \"จงอ่านเป็นตัวเลข\" นั้น ใช้เป็นแผ่นผ้าหลัก ตั้งอยู่ประมาณกึ่งกลางของเครื่องหมาย \"กำกับการอ่าน\" การปใู ห้ปูแผน่ ผ้าหลกั กอ่ น แลว้ คงไว้ในที่เดมิ ตลอดเวลาที่การส่งสญั ญาณด้วยแผน่ ผา้ ยงั คงดำเนนิ อยู่ ข. เมื่อจะส่งตัวเลข (หรือเคร่ืองหมาย) ๑ ตัว ให้ปูแผ่นผ้าหลัก ๑ แผ่น แต่ถ้าจะส่งตัวเลข (หรอื เครอ่ื งหมาย) ๒ ตวั ให้ปูแผ่นผ้าหลกั ๒ แผ่น ในแนวเดียวกนั โดยใหแ้ ผน่ หนง่ึ อยเู่ หนอื อีกแผน่ หน่ึง ค. การติดต่อสื่อสารด้วยแผ่นผ้า ในขั้นแรกเริ่มต้นด้วยการปูแผ่นผา้ หลัก ๒ แผ่น เอาแผ่นหนึ่งปูเหนอื อกี แผน่ หนึง่ เมอื่ เราปูเคร่อื งหมาย \"กำกับการอ่าน\" เข้าไป ดว้ ยกห็ มายความวา่ \"มีขา่ วถงึ ท่าน\" น่ีเป็นการปฏิบตั ิ โดยปกติ อยา่ งไรกด็ ี การส่งขา่ วยังคงดำเนินต่อไป โดยไม่ต้องมีสงิ่ ท่กี ล่าวมาแล้วขา้ งต้นนั้นเลย ซ่งึ ใชว้ ิธีดึงดูด ให้เครอื่ งบนิ เกดิ ความสนใจในเมือ่ ไมไ่ ดเ้ ตรียมการไว้ก่อน
๖๑ ง. เมอื่ เปลีย่ นจำนวนเลขเปน็ จำนวนอื่น วิธีทส่ี ะดวกและรวดเร็วท่ีสุดคือ โดยการเล่ือนตำแหน่งแผ่นผ้า เพ่ิมแผ่นผ้า หรือเก็บแผ่นผ้าอื่นๆนอกจากแผ่นผ้าหลัก แผ่นผ้าเครื่องหมาย \"กำกับการอ่าน\" ให้เก็บเป็นแผ่น แรกในเมอ่ื เปล่ียน และปูเป็นแผ่นสดุ ท้าย ในเมื่อการปูแผน่ ผา้ ใหม่พร้อมทจ่ี ะให้อ่านแลว้ แผน่ ผ้าที่เหลือทั้งหมด ทีไ่ มใ่ ช้ให้เกบ็ ให้พน้ สายตา ๓๕. การเว้นชอ่ งว่างระหว่างแผ่นผา้ สญั ญาณ ก. การเวน้ ช่องวา่ งระหวา่ งแผ่นผ้าสัญญาณ ตามท่ีแสดงในภาพนั้น เป็นการเวน้ ช่องว่างตามปกติ มีผล สมความมุ่งหมายและรวดเร็วมากที่สุด ที่จะกล่าวต่อไปน้ีเป็นการเว้นช่องว่างในระยะที่ชิดกันมาก ซึ่งอาจจะ เกดิ ขนึ้ ได้ รูปท่ี ๗๖ การใช้ตวั อักษร การส่งตัวอักษร ปูเครื่องหมายกำกับอักษรตรงกลาง ให้อยู่เหนือเครื่องหมายกำกับการอ่านขึ้นไป ระยะครงึ่ ชว่ งความยาวของแผน่ ผ้า เลขท่ี ๔ ที่เหน็ อยูน่ ีห้ มายถงึ ตวั อักษร ลำดับท่ี ๔ คือ ตัว ง. ข. เมื่อใดก็ตาม ถ้ามีโอกาสจะกระทำได้แล้ว ใหใ้ ชเ้ ว้นช่องว่างสองช่วงความยาวของแผ่นผ้า อย่างไรก็ดี ถ้าพื้นที่จำกัด เช่น ถนน อาจต้องลดขนาดลง แต่ไม่เปลี่ยนแปลงแบบเบื้องต้น ด้วยเหตุนี้การเว้นช่องว่าง
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272