Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา รหัส 2204-2108 โปรแกรมตารางคำนวณ

แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา รหัส 2204-2108 โปรแกรมตารางคำนวณ

Published by tharnwimon.c, 2020-06-25 01:05:10

Description: จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานการใช้โปรแกรมตารางคำนวณเบื้องต้น
2. เพื่อให้มีทักษะการใช้งานโปรแกรมตารางคำนวณเบื้องต้น

Keywords: Excel

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ า โปรแกรมตารางคานวณ รหัสวชิ า 2204-2103 ช้ัน ปวช. หน่วยท่ี 1 เร่ือง ความรู้พนื้ ฐานเกยี่ วกบั การใช้โปรแกรมตารางคานวณ ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศึกษา 2563 สัปดาห์ที่ 1 เวลา 4 ช่ัวโมง 1. สาระสาคญั พ้ืนฐานท่ีสาคญั ของการเรียนรู้โปรแกรมตารางคานวณ คือ ความเขา้ ใจหลกั การทางาน ความสามารถ ของโปรแกรม การใชง้ านแทบ็ เคร่ืองมือ และ การใชง้ านโปรแกรมเบ้ืองตน้ เช่น การเปิ ด-ปิ ดโปรแกรม การสร้าง สมุดงาน การบนั ทึกสมุดงาน การต้งั ค่าหนา้ กระดาษ การแทรกหัวกระดาษ การใชแ้ ป้ นพิมพ์ และการออกจาก โปรแกรม เป็นตน้ 2. ผลการเรียนรู้ 1. บอกหลกั การและความสามารถของโปรแกรมตารางคานวณได้ 2. บอกส่วนประกอบที่สาคญั ของโปรแกรมตารางคานวณได้ 3. ใชง้ านแทบ็ ริบบอน (Tap Ribbon)ได้ 4. เขา้ และออกจากโปรแกรมตารางคานวณได้ 5. สร้างสมุดงานใหม่ได้ 6. บนั ทึกสมุดงานได้ 7. เปิ ดสมุดงานได้ 8. ต้งั ค่าหนา้ กระดาษได้ 9. แทรกหวั กระดาษและทา้ ยกระดาษได้ 10. กาหนดมุมมองสมุดงานได้ 11. บอกประเภทและชนิดของขอ้ มูลได้ 12. ใชแ้ ป้ นควบคุมการทางานได้ 13. มีคุณธรรมจริยธรรม คา่ นิยม และมีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 3. สาระการเรียนรู้ 1. หลกั การของโปรแกรมตารางคานวณ 2. ความสามารถของโปรแกรมตารางคานวณ

3. ส่วนประกอบที่สาคญั ของโปรแกรมตารางคานวณ 4. การใชง้ านแทบ็ ริบบอน (Tap Ribbon) 5. การเขา้ สู่โปรแกรมตารางคานวณ (Microsoft Office Excel 2013) 6. การสร้างสมุดงานใหม่ 7. การบนั ทึกสมุดงาน 8. การเปิ ดสมุดงาน 9. การต้งั คา่ หนา้ กระดาษ 10. การแทรกหวั กระดาษและทา้ ยกระดาษ 11. มุมมองสมุดงาน 12. การออกจากโปรแกรม 13. ประเภทและชนิดของขอ้ มลู 14. การใชแ้ ป้ นควบคุมการทางาน 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เพื่อใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั พ้นื ฐานการใชโ้ ปรแกรมตารางคานวณเบ้ืองตน้ 2. เพอื่ ใหม้ ีทกั ษะการใชง้ านโปรแกรมตารางคานวณเบ้ืองตน้ 5. กจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ท่ี 1 ) ข้ันนำเข้ำสู่บทเรียน 1. ครูช้ีแจงการวดั ผลและประเมินผลในวิชาโปรแกรมตารางคานวณ 2. ครูและนกั เรียนสร้างขอ้ ตกลงร่วมกนั ในการจดั การเรียนรู้วิชาการใชโ้ ปรแกรมตารางคานวณเช่น การไม่นาอาหาร ขนม และน้ าด่ืม เขา้ มารับประทานในห้องเรียน การแบ่งเวรดูแลความเรียบร้อยของ หอ้ งเรียน การมาสายไดไ้ ม่เกิน 15 นาที การงดใชเ้ สียงเคร่ืองมือสื่อสารทุกชนิด เป็ นตน้ 3. ครูสนทนากบั นกั เรียนถึงการใชโ้ ปรแกรมสาเร็จรูป โดยใชโ้ ปรแกรมตารางคานวณ เช่น จดั เก็บ รวบรวมขอ้ มลู การคานวณตวั เลข และการนาเสนอขอ้ มูลในรูปของตวั เลขหรือแผนภูมิ ขน้ั ดำเนินกำรสอน 1. นกั เรียนศึกษาเน้ือหาจากหนงั สือเรียนเรื่อง ความรู้พ้นื ฐานเก่ียวกบั การใชโ้ ปรแกรมตารางคานวณ 2. ครูอธิบายเพิม่ เติมใน เร่ือง ความรู้พ้นื ฐานเกี่ยวกบั การใชโ้ ปรแกรมตารางคานวณ 3. ครูอธิบายเน้ือหา เร่ือง ความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมตารางคานวณ เช่น หลกั การ ทางาน ความสามารถ ส่วนประกอบท่ีสาคญั การใชง้ านแทบ็ ริบบอนการเขา้ สู่โปรแกรมตารางคานวณการสร้าง สมุดงานใหม่ การบันทึกสมุดงาน การเปิ ดสมุดงาน การต้งั ค่าหน้ากระดาษการแทรกหัวกระดาษและท้าย

กระดาษมุมมองสมุดงาน การออกจากโปรแกรม ประเภทและชนิดของขอ้ มูล และการใช้แป้ นควบคุมการ ทางาน 4. ครูสาธิตการใชง้ านโปรแกรมตารางคานวณ เช่น การใชง้ านแทบ็ ริบบอนการเขา้ สู่โปรแกรมตาราง คานวณการสร้างสมุดงานใหม่ การบันทึกสมุดงาน การเปิ ดสมุดงาน การต้งั ค่าหน้ากระดาษการแทรกหัว กระดาษและทา้ ยกระดาษมุมมองสมุดงาน การออกจากโปรแกรม ประเภทและชนิดของขอ้ มูล และการใชแ้ ป้ น ควบคุมการทางานโดยใหน้ กั เรียนไดร้ ่วมแสดงความคิดเห็น และใหน้ กั เรียนมีส่วนร่วมในการซกั ถามขอ้ สงสยั 5. นกั เรียนฝึ กปฏิบตั ิการใชโ้ ปรแกรมตารางคานวณ เร่ืองการใชง้ านแทบ็ ริบบอนการเขา้ สู่โปรแกรม ตารางคานวณการสร้างสมุดงานใหม่ การบนั ทึกสมุดงาน การเปิ ดสมุดงาน การต้งั ค่า หนา้ กระดาษการแทรกหัว กระดาษและทา้ ยกระดาษมุมมองสมุดงาน การออกจากโปรแกรม ประเภทและชนิดของขอ้ มูล และการใชแ้ ป้ น ควบคุมการทางานโดยศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน และให้นักเรียนไดร้ ่วมแสดงความคิดเห็นและ อภิปรายหนา้ ช้นั เรียน 6. นกั เรียนทาแบบฝึกหดั และแบบฝึกปฏิบตั ิ ขัน้ สรุป 1. นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปเน้ือหาวิชา เร่ือง หลกั การทางาน ความสามารถ ส่วนประกอบท่ีสาคญั การใชง้ านแทบ็ ริบบอนการเขา้ สู่โปรแกรมตารางคานวณการสร้างสมุดงานใหม่ การบนั ทึกสมุดงาน การเปิ ด สมุดงาน การต้งั คา่ หนา้ กระดาษการแทรกหวั กระดาษและทา้ ยกระดาษมุมมองสมุดงาน การออกจากโปรแกรม ประเภทและชนิดของขอ้ มูล และการใชแ้ ป้ นควบคุมการทางาน 2. นกั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน 6. ส่ือและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนงั สือเรียนวชิ าโปรแกรมตารางคานวณ 2. ส่ือมลั ติมีเดีย (Power point) 3. แบบฝึกหดั 4. เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ 5. ส่ืออินเตอร์เน็ต 6. แบบทดสอบหลงั เรียน 7. การวดั และประเมินผล 7.1 วธิ ีวดั ผลการเรียนรู้และประเมินผลการเรียนรู้ 1. สังเกตผู้เรี ยนมีความสนใจ เกิดความเข้าใจในสาระการเรี ยนรู้ ตลอดจนแสดงความ กระตือรือร้นในการแสดงความคิดเห็นและสรุปสาระการเรียนรู้ประจาหน่วย

2. ทาแบบฝึกหดั ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ทนั เวลาท่ีกาหนด สะอาดและเป็นระเบียบ 3. ผเู้ รียนทาแบบทดสอบหลงั เรียนไดถ้ ูกตอ้ ง โดยไดค้ ะแนน 50% เป็นอยา่ งต่า 7.2 เคร่ืองมอื วดั และประเมินผลการเรียนรู้ 1. แบบฝึกหดั 2. แบบทดสอบหลงั เรียน 3. การสอบถามปากเปล่า 7.3 เกณฑ์การประเมนิ หมายถึง ผลการเรียนดีมาก ร้อยละ 80-100 หมายถึง ผลการเรียนดี ร้อยละ 70-79 หมายถึง ผลการเรียนปานกลาง ร้อยละ 60-69 หมายถึง ผลการเรียนผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 50-59 หมายถึง ผลการเรียนไม่ผา่ นเกณฑ์ ต่ากวา่ ร้อยละ 50 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. ผูเ้ รียนตอ้ งคน้ หาเทคนิค วิธีการ หรือหลกั การง่ายๆ เพ่ือให้ไดค้ าตอบที่ถูกตอ้ ง และรวดเร็ว หากมีขอ้ สงสยั ใหซ้ กั ถามครูในการเรียนทุกคร้ัง 2. ผเู้ รียนควรทบทวนบทเรียนดว้ ยตนเองอย่างน้อย 1-2 ชม./สัปดาห์ เพ่ือเสริมสร้างความเขา้ ใจ อยา่ งแทจ้ ริง 3. ผเู้ รียนหมนั่ ฝึกฝนทาใบงาน แบบฝึกหดั และแกไ้ ขขอ้ ที่ผดิ ใหถ้ ูกตอ้ งเสมอ 4. ผเู้ รียนตอ้ งสร้างมโนภาพให้เกิดความคิดรวบยอดในสาระการเรียนรู้และเทคนิควิธีการพร้อม กบั การลงมือปฏิบตั ิจริง เพื่อใหเ้ กิดความรู้ความเขา้ ใจอยา่ งแทจ้ ริงไม่ใช่เกิดจากการท่องจา 9. บันทกึ ผลหลงั การจดั การเรียนรู้ 9.1 ข้อสรุปหลงั การจดั การเรียนรู้ ..................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .................. 9.2 ปัญหาทพี่ บ ..................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .................. 9.3 แนวทางแก้ปัญหา ..................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............ ลงช่ือ......................................................ผเู้ ขียนแผนจดั การเรียนรู้ (...................................................) ลงชื่อ......................................................ผตู้ รวจ (...................................................) หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ความรู้พนื้ ฐานเกยี่ วกบั การใช้โปรแกรมตารางคานวณ

หลกั การของโปรแกรมตารางคานวณ หลกั การทางานของโปรแกรมตารางคานวณ (Microsoft Office Excel 2013) จะมีลกั ษณะเป็ นช่องตาราง ซ่ึ งป ระก อ บ ด้วยค อ ลัม น์ แล ะ แ ถ ว มี ค อ ลัม น์ ต้ังแ ต่ ค อ ลัม น์ A จน ถึ งค อ ลัม น์ XFD มี จาน วน ท้งั หมด 16,384 คอลมั น์ และ มีจานวนแถวท้งั หมด 1,048,576 แถวโปรแกรมตารางคานวณ (Microsoft Office Excel 2013) หรือเรียกย่อว่า Excel 2013 เป็ นโปรแกรมประเภท Spreadsheet ไฟล์ของ Excel เรียกว่าสมุดงาน หรือเวริ ์กบุค๊ (Workbook) และในแต่ละหนา้ เรียกวา่ แผน่ งานหรือเวิร์กชีต (Worksheet) ความสามารถของโปรแกรมตารางคานวณ Excel เป็นโปรแกรมที่จดั เกบ็ ขอ้ มูลในรูปแบบตาราง เหมาะสาหรับเกบ็ บนั ทึกขอ้ มูลท่ีเป็นตวั เลข ตารางคานวณมีความสามรถดังนี้ 1. สามารถใชง้ านทางดา้ นการคานวณตวั เลขต่างๆ 2. สามารถใชส้ ูตรและฟังกช์ นั ในการคานวณและหาคา่ ต่างๆ 3. สามารถใชเ้ คร่ืองมือในการจดั การกบั ตารางขอ้ มูลได้ 4. สามารถสร้างงานตารางไดส้ ะดวกรวดเร็ว 5. สามารถจดั เกบ็ ขอ้ มลู เป็นฐานขอ้ มูลได้ 6. สามารถสร้างแผนภูมิได้ 7. สามารถสร้างชุดคาสงั่ ใชง้ านเองได้ 8. สามารถจดั เรียงขอ้ มลู และกรองขอ้ มูลได้ 9. สามารถตกแต่งตารางขอ้ มลู และแผนภูมิได้ 10. สามารถตกแต่งรูปแบบตวั อกั ษรไดต้ ามตอ้ งการ หนา้ ที่ของส่วนประกอบของโปรแกรมตารางคานวณ หมายเลข ช่ือ หนา้ ท่ี เป็นส่วนท่ีใชแ้ สดงชื่อโปรแกรม และรายชื่อไฟลท์ ี่ไดเ้ ปิ ด 1 แถบชื่อเร่ือง (Title Bar) ใชง้ าน เป็นส่วนที่ใชใ้ นการแสดงคาสง่ั ที่ใชง้ านบ่อย 2 แถบเครื่องมือด่วน (Quick Access) เป็นส่วนท่ีใชค้ วบคุมการเปิ ด หรือปิ ดหนา้ ต่างโปรแกรม เป็นส่วนท่ีใชแ้ สดงรายการคาสงั่ ต่าง ๆ ท่ีใชใ้ นการทางาน 3 ป่ ุมควบคุม 4 ริบบอน (Ribbon)

5 Name Box กบั เอกสาร เป็นช่องที่ใชแ้ สดงช่ือเซลท์ ่ีใชง้ านอยใู่ นขณะน้นั เช่น ถา้ มี หมายเลข ชื่อ การใชง้ านขอ้ มูลในเซลล์ A1 รายช่ือเซลลน์ ้ีกจ็ ะไปแสดง อยใู่ นช่อง Name Box 6 แถบสูตร (Formula Bar) หนา้ ที่ 7 เซลล์ (Cell) เป็นช่องท่ีใชแ้ สดงการใชง้ านสูตรการคานวณต่าง ๆ เป็นช่องตารางที่ใชส้ าหรับบรรจุขอ้ มลู ต่าง ๆ ซ่ึงช่องเซลล์ 8 คอลมั น์ (Column) แต่ละช่องน้นั จะมีชื่อเรียกตามตาแหน่งแถว และคอลมั น์ ท่ี แสดงตาแหน่งของเซลล์ เช่น เซลล์ B1 จะอยใู่ น 9 แถว (Row) คอลมั น์ B ในแถวที่ 1 เป็นตน้ 10 Sheet Tab เป็นช่องเซลลท์ ่ีเรียงกนั ในแนวต้งั ของแผน่ งาน 11 แถบสถานะ (Status Bar) (Worksheet) เป็นช่องเซลลท์ ่ีเรียงกนั ในแนวนอนของแผน่ งาน เป็นแถบที่ใชแ้ สดงจานวนแผน่ งานที่เปิ ดข้ึนมาใชง้ าน เป็นส่วนท่ีใชแ้ สดงจานวนหนา้ กระดาษ และจานวน ตวั อกั ษรที่ใชใ้ นเอกสาร การใช้งานแทบ็ ริบบอน แทบ็ ริบบอน (Tap Ribbon) เป็ นกลุ่มคาสั่งที่ออกแบบมาเพื่อทดแทนเมนู (Menu) แบบเดิมโดยการนา คาสงั่ ท่ีใชง้ านต่างๆแบ่งออกเป็นแทบ็ ซ่ึงในแต่ละแทบ็ จะมีคาสงั่ เหมือนกนั หรือใกลเ้ คียงกนั อยใู่ นแทบ็ เดียวกนั การแสดงหรือซ่อนริบบอน 1. ช้ีลูกศรท่ี Quick Access Toolbar 2. คลิกป่ ุมขวาของเมาส์ แลว้ คลิก Minimize the Ribbon การใช้งาน แถบเครื่องมอื ด่วน (Quick Access Toolbar) แถบเคร่ืองมือด่วน เป็ นป่ ุมคาส่ังที่ใชง้ านบ่อยเพ่ือความสะดวกในการใชง้ านโดยโปรแกรมจะกาหนดให้ ต้งั แต่ติดต้งั โปรแกรมคร้ังแรกผใู้ ชโ้ ปรแกรมสามารถกาหนดเพ่มิ คาสง่ั ที่ตอ้ งการไดส้ ามารถปฏิบตั ิได้ ดงั น้ี 1. คลิกป่ ุม กาหนดแถบเครื่องมือด่วนเอง 2. เลือกคาสงั่ ท่ีตอ้ งการ

แท็บริบบอน พนื้ ฐานการใช้งานของ Microsoft Office Excel 2013 แทบ็ “หนา้ แรก” เป็นแทบ็ เคร่ืองมือท่ีใชจ้ ดั รูปแบบเน้ือหา รูปแบบขอ้ ความ การแสดงผล การคดั ลอกการ จดั ตาแหน่ง แทบ็ “แทรก” เป็นแทบ็ เครื่องมือที่ใชแ้ ทรกออบเจก็ ตต์ ่างๆ แทบ็ “เคา้ โครงหนา้ กระดาษ” เป็นแทบ็ เคร่ืองมือที่ใชต้ ้งั คา่ หนา้ กระดาษ แทบ็ “สูตร” เป็นแทบ็ เคร่ืองมือท่ีใชส้ ร้างสูตรคานวณ แทบ็ “ขอ้ มูล” เป็นแทบ็ เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการจดั การขอ้ มูล แทบ็ “รีววิ ” เป็นแทบ็ เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการตรวจสอบและป้ องกนั สมุดงาน แทบ็ “มุมมอง” เป็นแทบ็ เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการปรับมุมมองสมุดงาน เร่ิมใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel2013 วธิ ีที่ 1 1. คลิกป่ ุม Start บนแถบ Task bar 2. เลือก All Programs จากน้นั เลือกไปที่ Microsoft 3. เลือก Microsoft Office Excel 2013 จะเปิ ดใหใ้ ชง้ านไดท้ นั ที วธิ ีที่ 2 1. เลือกดบั เบิล้ คลิกท่ีไอคอนสญั ลกั ษณ์Microsoft Office Excel2013จะสามารถเปิ ดใชง้ านไดท้ นั ที การสร้างสมุดงานใหม่ 1. เลือกแทบ็ ไฟล์ (File) 2. คลิกป่ ุมใหม่ 3. เลือกสมุดเปล่า การบันทกึ สมุดงาน เมื่อสร้างแฟ้ มงานเสร็จแลว้ ตอ้ งทาการบนั ทึกขอ้ มูลมีข้นั ตอนดงั น้ี กรณีท่ี 1 การบนั ทึกงานคร้ังแรก 1. คลิกเลือก Ribbon ไฟล์ 2. จะปรากฏหนา้ ต่างใหม่ของ Ribbon ไฟลข์ ้ึนเลือกคาสง่ั บนั ทึกเป็น/Save As จากน้นั ทาตามข้นั ตอน ดงั น้ี

ข้ันตอนท่ี 1 ให้เลือก disk ที่ตอ้ งการเซฟงาน เช่น Drive C:, Drive D:, Documents เป็ นตน้ ถา้ ไม่พบ ใหใ้ ชค้ าสงั่ เรียกดูแลว้ หาในส่วนท่ีเราตอ้ งการเซฟงาน ข้ันตอนที่ 2 พมิ พช์ ื่อแฟ้ ม, ชื่อเอกสารที่ตอ้ งการ และเลือกบนั ทึกชนิดของเอกสารท่ีตอ้ งการ ข้ันตอนท่ี 3 เมื่อเลือกรายละเอียดในส่วนต่างๆ ไดแ้ ลว้ ใหก้ ดป่ ุม บนั ทึกไดเ้ ลยเลือกตาแหน่งไดร์ฟและ โฟลเดอร์ท่ีตอ้ งการเก็บขอ้ มูลจากน้ันท่ีช่อง ช่ือแฟ้ ม/File name พิมพ์ช่ือไฟล์ จากตวั อย่าง น้ีใหช้ ื่อวา่ สมุดงาน1จากน้นั กดป่ ุม บนั ทึก/Saveจะไดไ้ ฟลน์ ามสกลุ .xlsx การเปิ ดสมุดงาน กรณีท่ี 1 เลือกไฟลส์ มุดงานที่ตอ้ งการจะเปิ ดแลว้ ดบั เบิลคลิกไฟล์ กรณีท่ี 2 เปิ ดโปรแกรมแลว้ ปฏิบตั ิตามข้นั ตอน 1. คลิกแทบ็ ไฟล์ หรือกดป่ มุ Ctrl+O 2. คลิกป่ ุมเปิ ด 3. เลือกแหล่งขอ้ มูล 4. เรียกดู 5. เลือกแหล่งขอ้ มลู ที่ตอ้ งการเปิ ด 6. เลือกไฟลท์ ่ีตอ้ งการ 7. เปิ ด การต้งั ค่าหน้ากระดาษ กาหนดขนาดกระดาษ 1. เลือกแทบ็ เคา้ โครงหนา้ กระดาษ 2. เลือกป่ ุมขนาด 3. เลือกขนาดกระดาษท่ีตอ้ งการ กาหนดการวางแนว 1. เลือกแทบ็ เคา้ โครงหนา้ กระดาษ 2. เลือกป่ ุมการวางแนว 3. เลือกแนวท่ีตอ้ งการ กาหนดระยะขอบ 1. เลือกแทบ็ เคา้ โครงหนา้ กระดาษ 2. เลือกป่ ุมระยะขอบ 3. เลือกระยะขอบแบบกาหนดเองหรือเลือกตามท่ีโปรแกรมกาหนดให้

4. เลือกระยะขอบท่ีตอ้ งการ 5. ตกลง การแทรกหัวกระดาษและท้ายกระดาษ เป็นการกาหนดหมายเลขลาดบั หนา้ กระดาษเพ่ือใชใ้ นการเรียงลาดบั ขอ้ มูลท่ีจดั พิมพแ์ ต่ละหนา้ หรือแสดง ขอ้ ความส้ัน ๆ แต่ละหนา้ เหมือนกนั ทุกหนา้ โปรแกรมจะแสดงทุกหนา้ เหมือนกนั เมื่อมีการกด Enter ข้ึนหนา้ ใหม่ทุกคร้ัง สามารถปฏิบตั ิไดด้ งั น้ี 1. เลือกแทบ็ เคา้ โครงหนา้ กระดาษ 2. เลือกป่ ุม 3. เลือกแทบ็ หวั กระดาษ/ทา้ ยกระดาษ 4. เลือกหวั กระดาษ/ทา้ ยกระดาษแบบกาหนดเอง 5. เลือกแทรกตามที่ตอ้ งการ 6. ตกลง มุมมองสมุดงาน การกาหนดมุมมองสมุดงาน 1. เลือกแทบ็ มุมมอง 2. เลือกมุมมองสมุดงานตามที่ตอ้ งการ การแสดงมุมมองสมุดงาน 1. เลือกแทบ็ มมุ มอง 2. เลือกการแสดงตามที่ตอ้ งการโดยคลิก (ถูก) ตามที่ตอ้ งการ การย่อ/ขยายสมุดงาน 1. เลือกแทบ็ มุมมอง 2. เลือกการยอ่ /ขยายสมุดงานตามที่ตอ้ งการ การออกจากโปรแกรม กรณีที่ 1 คลิกป่ ุม กรณที ่ี 2 1. ใชเ้ มาส์คลิกป่ ุมขวาที่แถบ Title Bar 2. เลือกป่ ุม Close หรือใชแ้ ป้ นคียบ์ อร์ดกดป่ ุม Alt+F4 ประเภทและชนิดของข้อมูล

ประเภทของข้อมูล แบ่งได้ 2 ประเภท 1. ประเภทคา่ คงที่ (Constant) เป็นขอ้ มลู ท่ีไม่สามารถเปล่ียนแปลงได้ 2. ประเภทสูตรการคานวณ (Formula) เป็นขอ้ มลู ที่ใชค้ านวณเพือ่ หาผลลพั ธ์ของการคานวณ ชนิดของข้อมูล มีดงั น้ี 1. ขอ้ มูลที่เป็นขอ้ ความ (Text) 2. ขอ้ มลู ท่ีเป็นตวั เลข (Number) 3. ขอ้ มูลท่ีเป็นวนั ที่ (Date) 4. ขอ้ มูลท่ีเป็นเวลา (Time) 5. ขอ้ มลู พิเศษ เช่น หมายเลขโทรศพั ท์ 6. ขอ้ มูลท่ีเป็นคา่ ทางตรรกศาสตร์ (Logical Value) 7. ขอ้ มูลที่เป็นสูตรคานวณ (Formula) 8. ขอ้ มูลท่ีเป็นฟังกช์ นั (Function) การใช้แป้ นควบคุมการทางาน การทางานบนแผ่นงาน (Worksheet) โปรแกรมตารางคานวณ (Microsoftoffice Excel 2013) สามารถ เคลื่อนยา้ ย เซลลพ์ อยลเ์ ตอร์ (Cell pointer) หรือ เคอร์เซอร์ (Cursor) ไปยงั ตาแหน่งต่างๆ บนแผน่ งานและเซลล์ ขอ้ มูลไดด้ ว้ ยการใชแ้ ป้ นควบคุมการทางานให้เป็ นไปตามที่ผูใ้ ชต้ อ้ งการซ่ึงแป้ นควบคุมในการทางานต่างๆ สามารถทางานไดต้ ามหนา้ ท่ีท่ีกาหนด แป้ นควบคุม หนา้ ท่ี ← ลกู ศรเลื่อน Active cell ไปทางซา้ ยคร้ังละ 1 เซลล์ → ลูกศรเลื่อน Active cell ไปทางขวาคร้ังละ 1 เซลล์ ↓ ลกู ศรเลื่อน Active cell ลงคร้ังละ 1 บรรทดั ↑ ลกู ศรเล่ือน Active cell ข้ึนคร้ังละ 1 บรรทดั Ctrl+← เล่ือน Active cell ไปยงั เซลลข์ อ้ มูลทางซา้ ยแถวท่ี Cell point ทางานอยู่ Ctrl+→ เล่ือน Active cell ไปยงั เซลลข์ อ้ มูลทางขวาแถวท่ี Cell point ทางานอยู่ Ctrl+↑ เล่ือน Active cell ไปยงั เซลลข์ อ้ มูลขา้ งบนในคอลมั นท์ ี่ Cell point ทางานอยู่ Ctrl+↓ เล่ือน Active cell ไปยงั เซลลข์ อ้ มูลขา้ งล่างในคอลมั นท์ ี่ Cell point ทางานอยู่ Home เลื่อน Active cell ไปยงั คอลมั น์ A ที่ Cell point ทางานอยู่ แป้ นควบคุม หนา้ ที่

Ctrl+Home เลื่อน Active cell ไปยงั เซลล์ A1 Ctrl+End เลื่อน Active cell ไปยงั เซลลม์ ุมขวาล่างของช่วงขอ้ มลู ในแผน่ งาน Enter เลื่อน Active cell ไปยงั เซลลท์ ่ีอยถู่ ดั ไปดา้ นล่างของ Cell pointer Tap เล่ือน Active cell ไปยงั เซลลท์ างขวา Shift+Tap เลื่อน Active cell ไปยงั เซลลท์ างซา้ ย Delete ลบตวั อกั ษรทางดา้ นขวาของเคอร์เซอร์คร้ังละ 1 ตวั อกั ษร Ctrl+Delete ลบตวั อกั ษรทางดา้ นขวาของเคอร์เซอร์ท้งั หมด Backspace ลบตวั อกั ษรทางดา้ นซา้ ยของเคอร์เซอร์คร้ังละ 1 ตวั อกั ษร PageDown เลื่อนแผน่ งานลงทีละ 1 หนา้ จอ PageUp เล่ือนแผน่ งานข้ึนทีละ 1 หนา้ จอ Alt+ PageDown เล่ือนแผน่ งานไปทางขวาทีละ 1 หนา้ จอ Alt+ PageUp เล่ือนแผน่ งานไปทางซา้ ยทีละ 1 หนา้ จอ Ctrl+ PageDown เลื่อนแผน่ งานไปทางขวาทีละ 1 แผน่ งาน Ctrl+ PageUp เลื่อนแผน่ งานไปทางซา้ ยทีละ 1 แผน่ งาน Insert สลบั การทางานระหวา่ งพมิ พแ์ ทรกกบั พมิ พท์ บั Esc ยกเลิกการแกไ้ ขแต่ขอ้ มลู ในเซลลย์ งั อยเู่ หมือนเดิม + บวก - ลบ * คูณ / หาร

แบบฝึ กหัดหน่วยท่ี 1 ความรู้พนื้ ฐานเกย่ี วกบั การใช้โปรแกรมตารางคานวณ คาสั่ง จงตอบคาถามต่อไปน้ีใหถ้ กู ตอ้ ง 1. จงบอกส่วนประกอบท่ีสาคญั ของโปรแกรมตารางคานวณ (Microsoft Office Excel 2013) 11 1 1 1 9 8 7 6 2 53 1 1 4 4 51 69 1 3 0 11 12 78 ตอบ หมายเลข ช่ือ ทาหน้าที่ รวมคาสง่ั ที่ใชง้ านเกี่ยวกบั การจดั การเอกสาร 1 แทบ็ File แสดงช่ือเซลลห์ รือกลุ่มเซลลท์ ่ีเราเลือก ตาแหน่งคอลมั น์ 2 กล่องชื่อเซลล์ (Name Box) ตาแหน่งแถว 3 คอลมั น์ (Column) 4 แถว (Row)

5 กรอบเซลล์ (Active cell) แสดงตาแหน่งหรือกลุ่มเซลลป์ ัจจุบนั เลื่อนแผน่ งานต่างๆ 6 ป่ ุมเล่ือนแผน่ งาน แสดงขอ้ ความการทางาน แสดงช่ือแผน่ งาน 7 แถบสถานะ (Status Bar) เพม่ิ แผน่ งานใหม่ ใชเ้ ล่ือนจอภาพ ซา้ ยและขวา 8 แผน่ งาน (Sheet Tab) ใชแ้ สดงเอกสารในรูปแบบต่างๆ ใชย้ อ่ และขยายแผน่ งาน 9 เพ่มิ แผน่ งาน ใชเ้ ล่ือนจอภาพข้ึนและลง 10 แถบเล่ือนแนวนอน (Scroll Bar) ทาหน้าท่ี ใชแ้ สดงหรือแกไ้ ขสูตรรวมท้งั แกไ้ ขหรือ 11 มุมมองเอกสาร(View Shortcuts) ปรับเปลี่ยนขอ้ มลู ในเซลล์ หนา้ ต่างที่ใชร้ วบรวมคาสงั่ เพ่ือความสะดวกของ 12 ยอ่ และขยายแผน่ งาน(Zoom Slider) ผใู้ ช้ ยอ่ ขยาย และปิ ดหนา้ จอโปรแกรม 13 แถบเลื่อนแนวต้งั (Scroll Bar) แสดงช่ือสมุดงานท่ีใชง้ าน หมายเลข ชื่อ แสดงชุดคาสงั่ ต่างๆ ในการทางานของโปรแกรม แสดงป่ ุมคาสง่ั ท่ีใชง้ านบ่อย สามารถเพิม่ ได้ 14 แถบสูตร (Formula Bar) 15 ริบบอน (Ribbon) 16 ยอ่ ขยาย และปิ ด 17 แถบชื่อเร่ือง (Title Bar) 18 แทบ็ ริบบอน (Tab Ribbon) 19 แถบเคร่ืองมือด่วน (Quick Access Toolbar) 2. จงบอกข้นั ตอนการซ่อนแทบ็ ริบบอน ตอบ 1) เล่ือนเมาส์ไปพ้ืนท่ีวา่ งของแถบริบบอนแลว้ คลิกป่ ุมขวา 2) เลือก ยบุ Ribbon 3. จงบอกแทบ็ ริบบอนมีอะไรบา้ ง ตอบ 1. หนา้ แรก 2. แทรก 3. เคา้ โครงหนา้ กระดาษ

4. สูตร 5. ขอ้ มูล 6. รีวิว 7. มุมมอง 4. จงบอกข้นั ตอนการเขา้ สู่โปรแกรมตารางคานวณ ตอบ 1. คลิกป่ ุม Start 2. คลิกป่ ุม All Program 3. คลิกป่ ุม Microsoft Office 2013 4. คลิกป่ ุม Excel 2013 5. เลือกสมุดงานเปล่า หรือเลือกเทม็ เพลตออนไลน์ตามที่ตอ้ งการ 5. จงบอกข้นั ตอนการสร้างสมุดงานใหม่ ตอบ 1. เลือกแทบ็ ไฟล์ 2. คลิกป่ ุม ใหม่ 3. เลือกสมุดงานเปล่าหรือเลือกเทม็ เพลตออนไลน์ตามท่ีตอ้ งการ 6. จงบอกข้นั ตอนการบนั ทึกสมุดงาน ตอบ 1. คลิกแทบ็ ไฟล์ 2. คลิกป่ ุม บนั ทึกเป็น 3. เลือกแหล่งขอ้ มูล 4. คลิกป่ ุม เรียกดู 5. เลือกแหล่งขอ้ มูลที่ตอ้ งการบนั ทึก 6. พมิ พช์ ื่อสมุดงานตามท่ีตอ้ งการ 7. บนั ทึก

7. จงบอกข้นั ตอนการกาหนดระยะขอบกระดาษ ตอบ 1. เลือกแทบ็ เคา้ โครงหนา้ กระดาษ 2. เลือกป่ ุมระยะขอบ 3. เลือกระยะขอบแบบกาหนดเอง หรือเลือกตามท่ีโปรแกรมกาหนดให้ 4. เลือกระยะขอบท่ีตอ้ งการ 5. ตกลง 8. มุมมองสมุดงานมีก่ีแบบอะไรบา้ ง ตอบ มี 4 แบบ 1. ปกติ 2. แสดงตวั อยา่ งตวั แบ่งหนา้ 3. เคา้ โครงหนา้ กระดาษ 4. มุมมองแบบกาหนดเอง 9. จงบอกข้นั ตอนการออกจากโปรแกรม ตอบ 1. เลือกป่ ุม หรือ ใชเ้ มาส์คลิกป่ ุมขวาท่ีแถบ Title Bar 2. เลือกป่ ุม close หรือใชแ้ ป้ นคียบ์ อร์ดกดป่ มุ Alt+F4 10. ขอ้ มลู มีก่ีประเภทอะไรบา้ ง ตอบ มี 2 ประเภท 1. ประเภทคา่ คงที่ (Constant) 2. ประเภทสูตรการคานวณ (Formula) 11. ชนิดของขอ้ มูลมีอะไรบา้ ง ตอบ 1. ขอ้ มลู ท่ีเป็นขอ้ ความ

2. ขอ้ มลู ที่เป็นตวั เลข 3. ขอ้ มูลท่ีเป็นวนั ท่ี 4. ขอ้ มูลท่ีเป็นเวลา 5. ขอ้ มลู พิเศษ 6. ขอ้ มลู ที่เป็นคา่ ทางตรรกศาสตร์ 7. ขอ้ มูลที่เป็นสูตรคานวณ 8. ขอ้ มูลท่ีเป็นฟังกช์ น่ั 12. ความสามารถของโปรแกรมตารางคานวณ (Microsoft Office Excel 2013) มีอะไรบา้ ง ตอบ 1. สามารถใชง้ านทางดา้ นการคานวณตวั เลขต่างๆ 2. สามารถใชส้ ูตรและฟังกช์ น่ั ในการคานวณและหาคา่ ต่างๆ 3. สามารถใชเ้ คร่ืองมือในการจดั การกบั ตารางขอ้ มลู ได้ 4. สามารถสร้างงานตารางไดส้ ะดวกรวดเร็ว 5. สามารถจดั เกบ็ ขอ้ มลู เป็นฐานขอ้ มูลได้ 6. สามารถสร้างแผนภมู ิได้ 7. สามารถสร้างชุดคาสง่ั ใชง้ านเองได้ 8. สามารถจดั เรียงขอ้ มูล และกรองขอ้ มลู ได้ 9. สามารถตกแต่งตารางขอ้ มูลและแผนภมู ิไดอ้ ยา่ งสวยงาม 10. สามารถตกแต่งรูปแบบตวั อกั ษรไดต้ ามตอ้ งการ 13. จงบอกชนิดของขอ้ มูลต่อไปน้ี ชนิดของข้อมูล ตอบ ลาดบั ท่ี ข้อมูล

1 รหสั 53220101234 ขอ้ มูลที่เป็นขอ้ ความ 2 123 ขอ้ มูลท่ีเป็นตวั เลข 3 ฿1,500.00 ขอ้ มลู ท่ีเป็นสกลุ เงิน 4฿ 2,500.00 ขอ้ มูลท่ีเป็นบญั ชี 5 250000.00% ขอ้ มลู ท่ีเป็นเปอร์เซ็นต์ 6 2.50E+03 ขอ้ มลู ท่ีเป็นเชิงวทิ ยาศาสตร์ 7 2/5/2553 ขอ้ มลู ที่เป็นวนั ที่ 8 10:50:00 ขอ้ มลู ที่เป็นเวลา 9 =B6*C6 ขอ้ มลู ที่เป็นสูตรคานวณ 10 =AVERAGE(C6:C8) ขอ้ มลู ท่ีเป็นฟังกช์ นั่ 14. จงบอกความหมายตวั ดาเนินการต่อไปน้ี ความหมาย ตอบ ตวั ดาเนินการ = เท่ากบั > มากกวา่ < นอ้ ยกวา่ >= มากกวา่ หรือเท่ากบั <= นอ้ ยกวา่ หรือเท่ากบั <> ไม่เท่ากบั

15. จงบอกหนา้ ท่ีของแป้ นควบคุมการทางานต่อไปน้ี ตอบ แป้ นควบคุม ทาหน้าที่ ลกู ศรเล่ือน Active cell ไปทางขวาคร้ังละ 1 เซลล์ Ctrl + ลูกศรเลื่อน Active cell ข้ึนคร้ังละ 1 บรรทดั Ctrl + เล่ือน Active cell ไปยงั เซลลข์ อ้ มูลทางขวาในแถวท่ี Cell point ทางานอยู่ Home เลื่อน Active cell ไปยงั เซลลข์ อ้ มูลขา้ งล่างในคอลมั นท์ ่ี Cell point ทางานอยู่ Ctrl + Home เลื่อน Active cell ไปยงั คอลมั น์ A ท่ี Cell point ทางานอยู่ Enter เลื่อน Active cell ไปยงั เซลล์ A1 Delete เล่ือน Active cell ไปยงั เซลลท์ ่ีอยถู่ ดั ไปดา้ นล่างของ Cell Pointer Ctrl + Delete ลบตวั อกั ษรทางดา้ นขวาของเคอร์เซอร์คร้ังละ 1 ตวั อกั ษร Backspace ลบตวั อกั ษรทางดา้ นขวาของเคอร์เซอร์ท้งั หมด Page Down ลบตวั อกั ษรทางดา้ นซา้ ยของเคอร์เซอร์คร้ังละ 1 ตวั อกั ษร Alt + Page Up เล่ือนแผน่ งานลงทีละ 1 หนา้ จอ Ctrl + Page Down เลื่อนแผน่ งานไปทางซา้ ยทีละ 1 หนา้ จอ Ctrl + Page Up เล่ือนแผน่ งานไปทางขวาทีละ 1 แผน่ งาน Insert เล่ือนแผน่ งานไปทางซา้ ยทีละ 1 แผน่ งาน Esc สลบั การทางานระหวา่ งพมิ พแ์ ทรกกบั พิมพท์ บั ยกเลิกการแกไ้ ขแต่ขอ้ มลู ในเซลลย์ งั อยเู่ หมือนเดิม

แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยท่ี 1 ความรู้พนื้ ฐานเกย่ี วกบั การใช้โปรแกรมตารางคานวณ คาสั่ง จงทาเครื่องหมายกากบาท () หนา้ ขอ้ ที่ถกู ตอ้ งมากท่ีสุดเพียงขอ้ เดียว 1. โปรแกรมตารางคานวณ (Microsoft Office Excel 2013) เป็นโปรแกรมท่ีเหมาะสมกบั งานใดมากที่สุด ก. จดั พิมพเ์ อกสาร ข. นาเสนอผลงาน ค. การเขียนโปรแกรม ง. คานวณตวั เลขโดยใชส้ ูตรและฟังกช์ นั 2. โปรแกรมตารางคานวณ (Microsoft Office Excel 2013) มีความสามารถในการทางานดา้ นใด ก. คานวณตวั เลขไดแ้ ม่นยา ข. สามารถสร้างกราฟได้ ค. สามารถสร้างตารางไดส้ ะดวก ง. ถกู ทุกขอ้ 3. ข้นั ตอนการสร้างสมุดงานใหม่ขอ้ ใดถูกตอ้ ง ก. คลิกป่ ุม ไฟล,์ ใหม,่ เวริ ์กบุค๊ เปล่า ข. คลิกป่ ุม ไฟล,์ Microsoft Office, ใหม,่ เวริ ์กบุค๊ เปล่า ค. คลิกป่ ุม Start, All Program, ใหม่, ใหม่ ง. คลิกป่ ุม เวริ ์กบุค๊ เปล่า, Microsoft Excel 2013, ใหม่ 4. ส่วนประกอบใดของโปรแกรมตารางคานวณ (Microsoft Office Excel 2013) แสดงขอ้ ความการทางาน ก. ชุดคาสง่ั ข. แถบสถานะ ค. กล่องชื่อเซลล์ ง. ชื่อสมุดงาน 5. ขอ้ ใดบอกความสามารถของโปรแกรมตารางคานวณ (Microsoft Office Excel 2013) ไดถ้ ูกตอ้ ง ก. จดั เกบ็ ขอ้ มูลในรูปแบบตาราง ข. พมิ พเ์ อกสารสาคญั ค. นาเสนอขอ้ มูลในรูปแบบสไลด์ ง. จดั การฐานขอ้ มลู อยา่ งเป็นระบบ 6. การซ่อนแทบ็ ริบบอนจะตอ้ งกดป่ มุ ใด ก. Ctrl+F1 ข. Ctrl+F2

ค. Ctrl+F3 ง. Ctrl+F4 7. แทบ็ ริบบอนประกอบดว้ ยอะไร ก. หนา้ แรก ข. สูตร ค. ขอ้ มูล ง. ถูกทุกขอ้ 8. ชื่อสมุดงานใหม่คร้ังแรกของโปรแกรมตารางคานวณ (Microsoft Office Excel 2013) ตรงกบั ขอ้ ใด ก. สมุดงาน.xlsx ข. สมุดงาน.xls ค. สมุดงาน1.xlsx ง. สมุดงาน1.xls 9. การต้งั ช่ือสมุดงานใหม่จะตอ้ งมีความยาวไม่เกินกี่ตวั อกั ษร ก. 254 ตวั อกั ษร ข. 255 ตวั อกั ษร ค. 256 ตวั อกั ษร ง. 257 ตวั อกั ษร 10. การเปิ ดสมุดงานจะตอ้ งกดป่ มุ ใด ก. Ctrl+O ข. Ctrl+S ค. Ctrl+P ง. Ctrl+N 11. ถา้ ตอ้ งการกาหนดขนาดกระดาษจะตอ้ งเลือกแทบ็ ใด ก. แทบ็ หนา้ แรก ข. แทบ็ แทรก ค. แทบ็ ออกแบบ ง. แทบ็ เคา้ โครงหนา้ กระดาษ 12. การกาหนดมมุ มองสมุดงานสามารถกาหนดไดก้ ี่แบบ ก. 3 แบบ ข. 4 แบบ ค. 5 แบบ ง. 6 แบบ 13. ขอ้ มลู โปรแกรมตารางคานวณ (Microsoft Office Excel 2013) มีก่ีประเภท ก. 2 ประเภท ข. 3 ประเภท ค. 4 ประเภท ง. 5 ประเภท 14. ชนิดของขอ้ มลู ใดท่ีไม่สามารถคานวณได้ ก. ตวั เลข ข. เวลา ค. ขอ้ ความ ง. บญั ชี 15. ขอ้ ใดเป็นขอ้ มลู เชิงวทิ ยาศาสตร์ ก. 12.50฿ ข. 123456.123 ค. $100 ง. 1.00E+02 16. <> เป็นตวั ดาเนินการที่ทาหนา้ ที่อะไร ก. มากกวา่ ข. นอ้ ยกวา่

แผนการจดั การเรยี นรู้ วชิ า โปรแกรมตารางคานวณ รหัสวชิ า 2204-2103 ช้ัน ปวช. หนว่ ยท่ี 2 เรอ่ื ง การปอ้ นและการจดั เกบ็ ข้อมลู ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2560 ค. ไม่เท่ากบั ง. มากกวา่ และนอ้ ยกวา่ 17. แป้ นควบคุม Ctrl+Delete ทสาหปั นดา้ ทา่ีอหะไท์ร ี่ 2 เวลา 4 ช่วั โมง ก. ลบตวั อกั ษรทางดา้ นซา้ ยของเคอร์เซอร์ท้งั หมด ข. ลบตวั อกั ษรทางดา้ นขวาของเคอร์เซอร์ท้งั หมด ค. ลบตวั อกั ษรทางดา้ นขวา 1 ตวั อกั ษร ง. ลบตวั อกั ษรทางดา้ นซา้ ย 1 ตวั อกั ษร 18. แป้ นควบคุม Ctrl+Home ทาหนา้ ที่อะไร ก. เลื่อน Active cell ไปยงั เซลลส์ ุดทา้ ย ข. เลื่อน Active cell ไปยงั เซลลแ์ รกของแถว ค. เล่ือน Active cell ไปยงั เซลล์ A1 ง. เลื่อน Active cell ไปยงั เซลลค์ อลมั น์ A 19. >= เป็นตวั ดาเนินการที่ทาหนา้ ที่อะไร ก. มากกวา่ หรือเท่ากบั ข. มากกวา่ และเท่ากบั ค. นอ้ ยกวา่ หรือเท่ากบั ง. ไม่เท่ากบั 20. ขอ้ ใดสามารถแทรกหวั กระดาษได้ ก. จานวนหนา้ กระดาษ ข. วนั ท่ี ค. เวลา ง. ถูกทุกขอ้ 1. สาระสาคญั การป้ อนและการจดั เกบ็ ขอ้ มลู เป็นการจดั การเกี่ยวกบั ตารางเพื่อทาการป้ อนขอ้ มูลและกาหนดเซลลห์ รือ กลุ่มเซลลใ์ หถ้ กู ตอ้ ง การปรับขนาดของแถวและคอลมั นก์ ารคดั ลอกขอ้ มูลการยา้ ยขอ้ มลู การลบขอ้ มลู เพือ่ การ จดั เกบ็ ขอ้ มลู อยา่ งเหมาะสม

2. ผลการเรียนรู้ 1. เลือกเซลลห์ รือกลุ่มเซลลไ์ ด้ 2. กาหนดรูปแบบการแสดงขอ้ มลู ได้ 3. ป้ อนขอ้ มูลลงในเซลลไ์ ด้ 4. ยกเลิกและทาซ้าได้ 5. ปรับขนาดของแถวและคอลมั นไ์ ด้ 6. กาหนดชื่อใหก้ บั เซลลห์ รือกลุ่มเซลลไ์ ด้ 7. เรียกใชเ้ ซลลห์ รือกลุ่มเซลลไ์ ด้ 8. คดั ลอกขอ้ มลู ได้ 9. ยา้ ยขอ้ มลู ได้ 10. ลบขอ้ มูลได้ 11. มีคุณธรรมจริยธรรม คา่ นิยม และมีคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 3. สาระการเรียนรู้ 1. การเลือกเซลลห์ รือกลุ่มเซลล์ (Cell Selection) 2. การกาหนดรูปแบบการแสดงขอ้ มูล 3. วิธีป้ อนขอ้ มลู ลงในเซลล์ 4. การยกเลิกและการทาซ้า 5. การปรับขนาดของแถวและคอลมั น์ 6. การกาหนดช่ือใหก้ บั เซลลห์ รือกลุ่มเซลล์ 7. การเรียกใชเ้ ซลลห์ รือกลุ่มเซลล์ 8. การคดั ลอกขอ้ มลู (Copy) 9. การยา้ ยขอ้ มลู (Cut) 10. การลบขอ้ มูล (Delete) 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เพื่อใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั การป้ อนและการจดั เกบ็ ขอ้ มลู 2. เพอื่ ใหม้ ีทกั ษะการป้ อนและการจดั เกบ็ ขอ้ มลู 5. กจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 2 )

ขน้ั นำเข้ำสู่บทเรียน 1. ทบทวนความรู้เดิมในหน่วยท่ี 1 2. ร่วมสนทนาเก่ียวกบั เรื่อง การป้ อนและการจดั เกบ็ ขอ้ มลู ขั้นดำเนินกำรสอน 1. บอกจุดประสงคก์ ารเรียน 2. นกั เรียนศึกษาเน้ือหาจากหนงั สือเรียน เร่ือง การป้ อนและการจดั เกบ็ ขอ้ มลู 3. ครูอธิบายเน้ือหาเพ่ิมเติม เร่ือง การเลือกเซลลห์ รือกลุ่มเซลล์ การกาหนดรูปแบบการแสดงขอ้ มูล การ ป้ อนขอ้ มูลลงในเซลล์ การยกเลิกและการทาซ้า การปรับขนาดของแถวและคอลมั น์ การกาหนดช่ือใหก้ บั เซลล์ หรือกลุ่มเซลล์ การเรียกใชเ้ ซลลห์ รือกลุ่มเซลล์ การคดั ลอกขอ้ มูล การยา้ ยขอ้ มูล และการลบขอ้ มูล 4. ครูสาธิตการใชง้ านโปรแกรมตารางคานวณ เช่น การเลือกเซลลห์ รือกลุ่มเซลล์ การกาหนดรูปแบบ การแสดงขอ้ มูล การป้ อนขอ้ มูลลงในเซลล์ การยกเลิกและการทาซ้า การปรับขนาดของแถวและคอลมั น์ การ กาหนดชื่อให้กบั เซลลห์ รือกลุ่มเซลล์ การเรียกใชเ้ ซลลห์ รือกลุ่มเซลล์ การคดั ลอกขอ้ มูล การยา้ ยขอ้ มูล และการ ลบขอ้ มลู โดยใหน้ กั เรียนไดร้ ่วมแสดงความคิดเห็น และใหน้ กั เรียนมีส่วนร่วมในการซกั ถามขอ้ สงสยั 5. นกั เรียนฝึ กปฏิบตั ิการใชโ้ ปรแกรมตารางคานวณ เร่ือง การเลือกเซลลห์ รือกลุ่มเซลล์ การกาหนด รูปแบบการแสดงขอ้ มลู การป้ อนขอ้ มูลลงในเซลล์ การยกเลิกและการทาซ้า การปรับขนาดของแถวและคอลมั น์ การกาหนดช่ือเซลลห์ รือกลุ่มเซลล์ การเรียกใชเ้ ซลลห์ รือกลุ่มเซลล์ การคดั ลอกขอ้ มูล การยา้ ยขอ้ มลู และการลบ ขอ้ มูล โดยศึกษาจากเอกสารประกอบการสอน และใหน้ กั เรียนไดร้ ่วมแสดงความคิดเห็นและอภิปรายหนา้ ช้นั เรียน 6. นกั เรียนทาแบบฝึกหดั และแบบฝึกปฏิบตั ิ ขน้ั สรุป 1. นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปเน้ือหาวิชา เร่ือง การเลือกเซลลห์ รือกลุ่มเซลล์ การกาหนดรูปแบบการ แสดงขอ้ มูล การป้ อนใหก้ บั ขอ้ มูลลงในเซลล์ การยกเลิกและการทาซ้า การปรับขนาดของแถวและคอลมั น์ การ กาหนดช่ือให้กบั เซลลห์ รือกลุ่มเซลล์ การเรียกใชเ้ ซลลห์ รือกลุ่มเซลล์ การคดั ลอกขอ้ มูล การยา้ ยขอ้ มูล และการ ลบขอ้ มลู 2. นกั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน 6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนงั สือเรียนวชิ าโปรแกรมตารางคานวณ 2. สื่อมลั ติมีเดีย (Power point) 3. แบบฝึกหดั 4. แบบฝึกปฏิบตั ิ

5. เคร่ืองคอมพิวเตอร์ 6. สื่ออินเตอร์เน็ต 7. แบบทดสอบหลงั เรียน 7. การวดั และประเมนิ ผล 7.1 วธิ ีวดั ผลการเรียนรู้และประเมนิ ผลการเรียนรู้ 1. สังเกตผู้เรี ยนมีความสนใจ เกิดความเข้าใจในสาระการเรี ยนรู้ ตลอดจนแสดงความ กระตือรือร้นในการแสดงความคิดเห็นและสรุปสาระการเรียนรู้ประจาหน่วย 2. ทาแบบฝึกหดั ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ทนั เวลาท่ีกาหนด สะอาดและเป็นระเบียบ 3. ผเู้ รียนทาแบบทดสอบหลงั เรียนไดถ้ กู ตอ้ ง โดยไดค้ ะแนน 50% เป็นอยา่ งต่า 7.2 เครื่องมอื วดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ 1. แบบฝึกหดั 2. แบบฝึกปฏิบตั ิ 3. แบบทดสอบหลงั เรียน 4. การสอบถามปากเปล่า 7.3 เกณฑ์การประเมนิ หมายถึง ผลการเรียนดีมาก ร้อยละ 80-100 หมายถึง ผลการเรียนดี ร้อยละ 70-79 หมายถึง ผลการเรียนปานกลาง ร้อยละ 60-69 หมายถึง ผลการเรียนผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 50-59 หมายถึง ผลการเรียนไม่ผา่ นเกณฑ์ ต่ากวา่ ร้อยละ 50 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. ผูเ้ รียนตอ้ งคน้ หาเทคนิค วิธีการ หรือหลกั การง่ายๆ เพ่ือให้ไดค้ าตอบท่ีถูกตอ้ ง และรวดเร็ว หากมีขอ้ สงสยั ใหซ้ กั ถามครูในการเรียนทุกคร้ัง 2. ผเู้ รียนควรทบทวนบทเรียนดว้ ยตนเองอย่างน้อย 1-2 ชม./สัปดาห์ เพ่ือเสริมสร้างความเขา้ ใจ อยา่ งแทจ้ ริง 3. ผเู้ รียนหมนั่ ฝึกฝนทาใบงาน แบบฝึกหดั และแกไ้ ขขอ้ ที่ผดิ ใหถ้ กู ตอ้ งเสมอ

4. ผเู้ รียนตอ้ งสร้างมโนภาพให้เกิดความคิดรวบยอดในสาระการเรียนรู้และเทคนิควิธีการพร้อม กบั การลงมือปฏิบตั ิจริง เพื่อใหเ้ กิดความรู้ความเขา้ ใจอยา่ งแทจ้ ริงไม่ใช่เกิดจากการท่องจา 9. บนั ทกึ ผลหลงั การจดั การเรียนรู้ 9.1 ข้อสรุปหลงั การจัดการเรียนรู้ ..................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .......... 9.2 ปัญหาทพี่ บ ..................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .................. 9.3 แนวทางแก้ปัญหา ..................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............

ลงช่ือ......................................................ผเู้ ขียนแผนจดั การเรียนรู้ (...................................................) ลงช่ือ......................................................ผตู้ รวจ (...................................................) หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 การป้ อนและการจัดเกบ็ ข้อมูล การเลอื กเซลล์หรือกล่มุ เซลล์ การเลือกเซลลห์ รือกลุ่มเซลล์ (cell selection) เป็นการเลือกพ้ืนที่ดาเนินการเพื่อดาเนินการอยา่ งใดอยา่ ง หน่ึง กบั ขอ้ มูลท่ีอย่ใู นเซลลน์ ้ัน เช่น การสร้างตาราง การคานวณ การกาหนดรูปแบบตวั อกั ษร การกาหนดสี ตาราง การคดั ลอก หรือยา้ ยขอ้ มูล เป็นตน้ 1. การเลอื กเซลล์เดยี ว ใชเ้ มาส์คลิกลงในเซลลท์ ี่ตอ้ งการ 2. การเลอื กหลายเซลล์ทอี่ ยู่ติดกนั ในตาราง ใชเ้ มาส์คลิกเซลลต์ น้ ทางท่ีตอ้ งการกดป่ ุมซา้ ยคา้ งไว้ ลากไปยงั เซลลป์ ลายทางแลว้ ปล่อย 3. การเลอื กหลายเซลล์ทไ่ี ม่ได้อย่ตู ิดกนั ในตาราง

ใชเ้ มาส์คลิกเซลล์ท่ีตอ้ งการแลว้ กดป่ ุม ctrl คา้ งไว้ แลว้ ใชเ้ มาส์คลิกเซลล์ท่ีตอ้ งการเลือกจน ครบ ตามที่ตอ้ งการแลว้ ปล่อย ctrl 4. การเลอื กท้งั แถว แถวเดยี ว ใชเ้ มาส์คลิกตรงหมายเลขแถวที่ตอ้ งการ 5. การเลอื กท้งั แถวทอี่ ยู่ติดกนั ใชเ้ มาส์คลิกตรงหมายเลขแถวที่ตอ้ งการแลว้ ลากเมาส์ข้ึนลงไดต้ ามตอ้ งการแลว้ ปล่อยเมาส์ หรือ ใชเ้ มาส์คลิกตรงหมายเลขแถวท่ีตอ้ งการแลว้ กด shift คา้ งไวแ้ ลว้ เลือกหมายเลขแถวสุดทา้ ยท่ีตอ้ งการ แลว้ ปล่อยป่ ุม shift 6. การเลอื กท้ังแถวทไ่ี ม่อยู่ติดกนั ใชเ้ มาส์คลิกตรงหมายเลขแถวที่ตอ้ งการแลว้ กดป่ ุม ctrl คา้ งไว้ แลว้ ใชเ้ มาส์คลิกหมายเลขแถว ท่ี ตอ้ งการเลือกจนครบแลว้ ปล่อยกดป่ ุม ctrl 7. การเลอื กท้งั คอลมั น์คอลมั น์เดียว ใชเ้ มาส์คลิกตรงอกั ษรตวั AB หรือ C ตรงแถวที่ตอ้ งการ 8. การเลอื กท้งั คอลมั น์ทอี่ ยู่ติดกนั ใชเ้ มาส์คลิกตรงตวั อกั ษรของคอลมั น์ท่ีตอ้ งการแลว้ ลากเมาส์ ซ้าย-ขวาไดต้ ามตอ้ งการแลว้ ปล่อย เมาส์หรือใช้เมาส์คลิกตรงตรงตวั อกั ษรท่ีตอ้ งการแลว้ กด shift คา้ งไวแ้ ลว้ เลือกตวั อกั ษรที่ตอ้ งการ ตวั สุดทา้ ยแลว้ ปล่อย shift 9. การเลอื กท้ังคอลมั น์ทไ่ี ม่อยู่ตดิ กนั ใช้เมาส์คลิกตวั อกั ษรของคอลมั น์ที่ตอ้ งการแลว้ กดป่ ุม ctrl คา้ งไว้ แลว้ ใช้เมาส์คลิกเลือก ตวั อกั ษรที่ตอ้ งการเลือกจนครบแลว้ ปล่อย ctrl 10. การเลอื กท้งั แผ่นงาน ใชเ้ มาส์คลิกที่ป่ ุม sheet control เพื่อเป็ นการเลือกทุกเซลลท์ ่ีอยใู่ นแผ่นงานท้งั หมด โดยจะถูก เลือกท้งั แถวรวมคอลมั น์ท้งั หมดท่ีอยใู่ นแผน่ งานหรือกด ctrl+A การกาหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล การป้ อนขอ้ มูลลงไปในเซลลข์ อ้ มูลท่ีไดจ้ ะมีพ้ืนฐานตามค่าเริ่มตน้ ที่โปรแกรมต้งั ค่าไว้ เช่น ตวั อกั ษรสี ดา ไม่มีเสน้ ขอบ รูปแบบเซลลเ์ ป็นลกั ษณะทวั่ ไป เป็นตน้ ดงั น้นั ทุกคร้ังที่ทาการป้ อนขอ้ มูลลงในเซลล์ จะตอ้ งทาการกาหนดรูปแบบการแสดงขอ้ มูลให้ตรงกบั ชนิดขอ้ มูลเพื่อโปรแกรมจะไดแ้ สดงถูกตอ้ ง และง่ายต่อการตรวจสอบในขณะท่ีพิมพง์ านลงไปในเซลล์ ชนิด ขอ้ มูลแบ่งเป็น3 ประเภท คือ ขอ้ ความ ตวั เลข วนั ที่/เวลา การกาหนดรูปแบบการแสดงขอ้ มูลสามารถกาหนดได้

โดยการใชแ้ ทบ็ ริบบอน(Tabribbon)โดยเลือก แทบ็ หนา้ แรก หรือใชเ้ มาส์คลิกขวาแลว้ เลือกแถบขอ้ มลู ขนาดเลก็ ข้ึนอยกู่ บั ความตอ้ งการของผใู้ ชโ้ ปรแกรมในท่ีน้ีจะอธิบายการกาหนดรูปแบบตามความเหมาะสม 1. รูปแบบการแสดงข้อความ ขอ้ มูลที่จัดรูปแบบเป็ นขอ้ ความซ่ึงจะมีท้ังภาษาไทย องั กฤษ และตัวเลขที่ไม่สามารถคานวณได้ โปรแกรมตารางคานวณ จะจดั ขอ้ ความท่ีพิมพล์ งไปในเซลลใ์ ห้อยชู่ ิดซ้ายล่างเสมอ เช่น ที่อยู่ เบอร์โทรศพั ท์ รหัสประจาตวั เลขบตั รประชาชน เป็ นตน้ ดงั น้นั ถา้ ตอ้ งการป้ อนขอ้ มูลท่ีเป็ นขอ้ ความ จะตอ้ งกาหนดรูปแบบ เซลลใ์ หเ้ ป็นขอ้ ความ ปฏิบตั ิไดด้ งั น้ี 1. ใชเ้ มาส์คลุมดาเซลลท์ ่ีตอ้ งการกาหนดใหเ้ ป็นขอ้ ความ 2. คลิกป่ ุมขวาของเมาส์แลว้ เลือกจดั รูปแบบเซลล์ 3. เลือกแทบ็ ตวั เลข 4. เลือกขอ้ ความ 5. ตกลง 2. ข้ันตอนการกาหนดรูปแบบการแสดงตวั เลข ขอ้ มูลท่ีเป็ นตวั เลขสามารถนาไปคานวณได้จะมีท้งั เลขไทยและอาราบิค มีรูปแบบการแสดงหลาย รูปแบบ เช่น ตวั เลข สกุลเงิน บญั ชี เปอร์เซ็น เศษส่วน และเชิงวิทยาศาสตร์ เป็ นตน้ รูปแบบการแสดงตวั เลข ต่างๆสามารถปฎิบตั ิไดด้ งั น้ี 1. ใชเ้ มาส์คลุมดาเซลลท์ ่ีตอ้ งการกาหนดใหเ้ ป็นตวั เลข 2. คลิกป่ ุมขวาของเมาส์แลว้ เลือกจดั รูปแบบเซลล์ 3. เลือกแทบ็ ตวั เลข 4. เลือกรูปแบบตวั เลข 5. ตกลง 3. รูปแบบการแสดงตัวเลข 1. รูปแบบท่ัวไปเม่ือเปิ ดใช้โปรแกรม Microsoft Office Excel 2013 แล้วพิมพ์ตัวเลขลงไป โปรแกรมจะต้งั ค่าใหเ้ ป็นแบบทว่ั ไปและจะจดั ขอ้ มูลใหอ้ ยดู่ า้ นขวาล่างเสมอ 2. แบบตวั เลข ขอ้ มูลท่ีเป็ นแบบตวั เลขจะจดั ชิดขวาล่างเสมอพร้อมกบั ทศนิยม 2 ตาแหน่งให้ เป็น การเริ่มตน้ ถา้ ตอ้ งการปรับสามารถปรับเปลี่ยนได้ ถา้ ตอ้ งการให้มีตวั ข้นั หลกั พนั จะตอ้ งใชเ้ มาส์คลิก ใหม้ ี เครื่องหมายถูกตาแหน่งข้นั หลกั พนั 3. แบบสกุลเงิน ขอ้ มูลท่ีเป็ นแบบสกุลเงินจะกาหนดค่าเร่ิมตน้ โดยใส่ทศนิยม 2 ตาแหน่ง ถา้ ตอ้ งการสามารถปรับเปล่ียนได้ 4. แบบบญั ชี ขอ้ มูลท่ีเป็ นแบบบญั ชีจะกาหนดค่าเร่ิมตน้ โดยใส่ ทศนิยม 2 ตาแหน่ง โดยใส่ข้นั หลกั พนั และมีสกลุ เงินเป็นบาทไทย โดยโปรแกรมจะกาหนดใหส้ กลุ เงินอยชู่ ิดซา้ ยจานวนตวั เลขอยชู่ ิด ขวา ถา้ ตอ้ งการปรับเปลี่ยนทศนิยมสามารถปรับเปลี่ยนได้

5. แบบเปอร์เซ็นต์ ถา้ ขอ้ มูลเป็ นขอ้ มูลแบบเปอร์เซ็นตท์ างโปรแกรมจะกาหนดค่าเร่ิมตน้ โดย ใส่ ทศนิยม 2 ตาแหน่ง ถา้ ตอ้ งการสามารถปรับเปล่ียนได้ 6. แบบเชิงวิทยาศาสตร์ ถา้ ขอ้ มูลเป็ นแบบเชิงวิทยาศาสตร์ทางโปรแกรมจะกาหนดค่าเร่ิมตน้ โดยใส่ทศนิยม 2 ตาแหน่ง ถา้ ตอ้ งการสามารถปรับเปล่ียนได.้ 4. รูปแบบการแสดงวนั ทแ่ี ละเวลา ขอ้ มูลท่ีแบบเป็ นโปรแกรมและวนั ท่ี ผใู้ ชโ้ ปรแกรมจะตอ้ งกาหนดรูปแบบตามท่ีตอ้ งการแลว้ จึงทาการ ป้ อนขอ้ มูล ลกั ษณะการป้ อนขอ้ มูลตอ้ งใช้ / ระหว่างไว้ เช่น วนั /เดือน/ปี โปรแกรมจะแสดงตามรูปแบบท่ี กาหนด ขอ้ มูลท่ีเป็นรูปแบบเวลาผใู้ ชจ้ ะตอ้ งกาหนดรูปแบบตามที่ตอ้ งการแลว้ จึงทาการป้ อนขอ้ มูล โดยลกั ษณะ การป้ อนขอ้ มลู ตอ้ งใช้ : ข้นั ระหวา่ ง แลว้ โปรแกรมจะทาการแสดงตามรูปแบบเวลาตามที่กาหนด 1. รูปแบบการแสดงวนั ท่ีสามารถปฎิบตั ิไดด้ งั น้ี (1) ใชเ้ มาส์คลมุ ดาเซลลท์ ี่ตอ้ งการกาหนดรูปแบบวนั ท่ี (2) คลิกป่ ุมขวาของเมาส์แลว้ เลือกจดั รูปแบบเซลล์

(3) เลือกแทบ็ ตวั เลข (4) เลือกวนั ที่ (5) เลือกกาหนดรูปแบบวนั ท่ีตามท่ีตอ้ งการ (6) ตกลง (7) ผลลพั ธ์

2. รูปแบบการแสดงเวลาสามารถปฎิบตั ิไดด้ งั น้ี (1) ใชเ้ มาส์คลุมดาเซลลท์ ่ีตอ้ งการกาหนดรูปแบบเวลา (2) คลิกขวาของเมาส์แลว้ เลือกจดั รูปแบบเซลล์ (3) เลือกแทบ็ ตวั เลข (4) เลือกเวลา (5) เลือกกาหนดรูปแบบวนั ที่ตามท่ีตอ้ งการ (6) ตกลง

(7) ผลลพั ธ์ วธิ ีการป้ อนข้อมูลลงในเซลล์ วิธีป้ อนขอ้ มูลลงในเซลลเ์ มื่อเปิ ดเวิร์กบุ๊คเปล่าข้ึนมาใชง้ านโปรแกรมจะกาหนดช่ือสมุดงาน1.xlsx ให้ โดยอตั โนมัติ และจะกาหนดให้ Active Cell อยู่ที่เซลล์ A1โดยสมุดงานจะกาหนดแผ่นงานจานวน 1 แผ่น คือ Sheet1 ผใู้ ชโ้ ปรแกรมสามารถกาหนดรูปแบบเซลลใ์ หเ้ ป็นไปตามลกั ษณะของขอ้ มูล ก่อนทาการป้ อนขอ้ มูล ตอ้ งทราบลกั ษณะของเมาส์ในแบบต่าง ๆ ตามตาราง ดงั น้ี ตาราง รูปและลกั ษณะการทางานของตวั ช้ีเมาส์

1. วธิ ีป้ อนข้อมูลลงในเซลล์ เมื่อทาการกาหนดรูปแบบเซลลต์ ามลกั ษณะของขอ้ มูลแลว้ ผใู้ ชโ้ ปรแกรมสามารถทาการป้ อนขอ้ มูลได้ ซ่ึงการป้ อนขอ้ มลู มีหลายลกั ษณะดงั น้ี 1. เลือกเซลลท์ ่ีตอ้ งการแลว้ พิมพข์ อ้ มูลลงไปโดยขอ้ มูลจะปรากฏในแถบสูตรคานวณ พร้อม กบั ขอ้ มลู ในเซลล์ 2. การแกไ้ ขขอ้ มูล ในกรณีที่พิมพข์ อ้ มูลผดิ พลาดแลว้ ตอ้ งการแกไ้ ขขอ้ มลู ใหใ้ ชเ้ มาส์คลิกเซลล์ ท่ี ตอ้ งการแกไ้ ข แลว้ ใชเ้ มาส์คลิกที่แถบสูตรทาการแกไ้ ข หรือ ดบั เบิลคลิกท่ีเซลลข์ อ้ มลู แลว้ ทาการแกไ้ ข ขอ้ มลู 3. ข้อมู ลที่ ป้ อน เป็ น ป ระเภ ท ข้อความ โป รแกรมตารางคาน วณ (Microsoft Office Excel 2013) จะจดั ชิดซา้ ยล่างของเซลลเ์ สมอ 4. ข้อมูลประเภทตัวเลขวันท่ี และ เวลาผลลัพ ธ์จากสูตรและฟังก์ชันโปรแกรมตาราง คานวณ (Microsoft Office Excel 2013) จะจดั ชิดขวาล่างของเซลลเ์ สมอ 5. ในกรณีที่ป้ อนขอ้ มูลตวั เลขใดๆแลว้ ถา้ ปรากฏเครื่องหมาย “#” เตม็ เซลลแ์ สดงว่าความกวา้ ง ของเซลลไ์ ม่เพียงพอท่ีจะแสดงผล วธิ ีแกไ้ ขใหท้ าการขยายขนาดความกวา้ งของเซลลน์ ้นั 6. กรณีป้ อนขอ้ มูลประเภทตวั อกั ษรท่ีมีความกวา้ งมากกว่าเซลลข์ อ้ มูลจะแสดงบงั เซลลถ์ ดั ไป แต่ ถา้ หากมีขอ้ มูลในเซลลถ์ ดั ไป ขอ้ มูลที่ป้ อนเกินเซลลจ์ ะไม่แสดงผล วิธีแกไ้ ขให้ขยายขนาดความกวา้ ง ของ เซลล์ หรือจดั รูปแบบเซลล์ “ยอ่ ใหพ้ อดี” 2. การป้ อนข้อมูลในช่วงเซลล์ทกี่ าหนด การป้ อนขอ้ มูลโดยปกติแลว้ เมื่อกด Enter โปรแกรมตารางคานวณ (Microsoft Office Excel 2013) จะ เล่ือน Active cell ลงไปแถวดา้ นล่างเสมอ แต่ถา้ ผใู้ ชต้ อ้ งการป้ อนขอ้ มูลในช่วงเซลลท์ ี่กาหนดสามารถปฏิบตั ิได้ ตามความตอ้ งการโดยมี 2 ลกั ษณะดงั น้ี ลกั ษณะท่ี 1 การป้ อนขอ้ มลู ลกั ษณะช่วงเซลลข์ อ้ มูลที่อยตู่ ิดกนั สามารถอยตู่ ิดกนั สามารถปฏิบตั ิไดด้ งั น้ี 1. คลุมดาช่วงเซลลท์ ้งั หมดที่ตอ้ งการป้ อนขอ้ มูล

2. ทาการป้ อนข้อมูล Active cell จะให้ป้ อนเซลล์บนซ้ายสุดก่อนเสมอ เม่ือกด Enter จะ พบว่า Active cell จะเล่ือนจากบนลงล่างจนครบทุกเซลลต์ ามแนวคลุมดาและจะเลื่อนจากซ้ายไปขวา จน ครบทุกเซลลต์ ามแนวคลุมดา 3. เมื่อป้ อนขอ้ มูลจนถึงเซลล์สุดทา้ ยของช่วงเซลล์ที่กาหนดหากมีการกดป่ ุม Enter จะมีผล ให้ Active cell เลื่อนกลบั ไปยงั ณ ตาแหน่งเซลลซ์ า้ ยบนสุดของแนวการคลุมดาเสมอ ลกั ษณะที่ 2 การป้ อนขอ้ มูลเฉพาะเซลลข์ อ้ มลู ที่เลือก สามารถปฏิบตั ิไดด้ งั น้ี 1. เลือกคลุมดาเซลลเ์ ฉพาะที่ตอ้ งการป้ อนขอ้ มูล โดยการกด Ctrl คา้ งไวแ้ ลว้ ใชเ้ มาส์คลิกเลือก เซลลท์ ่ีตอ้ งการ 2. ทาการป้ อนขอ้ มูลโดยโปรแกรมจะให้ป้ อนขอ้ มูลในตาแหน่งที่เลือกคร้ังสุดทา้ ยก่อนเม่ือ กด Enter พบว่า Active cell จะเล่ือนไปตาแหน่งเซลลท์ ่ีเลือกเป็ นคร้ังแรกและตามลาดบั การเลือกเซลล์ ครบทุกเซลล์ 3. เม่ือป้ อนขอ้ มูลจนถึงเซลล์สุดทา้ ยที่เลือกเซลล์ หากมีการกดป่ ุม Enter จะมีผลให้ Active cell เล่ือนกลบั ไปยงั ณ ตาแหน่งเซลลแ์ รกท่ีเลือกเสมอ 3. การป้ อนข้อมูลทมี่ คี ่าซ้ากนั ในช่วงเซลล์ข้อมูลทก่ี าหนด การป้ อนขอ้ มูลที่มีค่าเดียวกันในเซลล์หลายๆเซลล์ โดยที่ไม่ตอ้ งทาการคดั ลอกขอ้ มูลให้เสียเวลา สามารถปฏิบตั ิไดต้ ามความตอ้ งการโดยมี 2 ลกั ษณะดงั น้ี ลกั ษณะที่ 1 การป้ อนขอ้ มูลท่ีมีคา่ ซ้ากนั ในช่วงเซลลข์ อ้ มลู ท่ีอยตู่ ิดกนั สามารถปฏิบตั ิไดด้ งั น้ี 1. คลุมดาช่วงเซลลข์ อ้ มลู ท่ีตอ้ งการป้ อนขอ้ มูล 2. พิมพข์ อ้ ความที่ตอ้ งการ Active cell จะเล่ือนไปใหป้ ้ อนขอ้ มูลท่ีเซลลบ์ นดา้ นซา้ ย 3. จากน้นั กดป่ ุม Ctrl+Enter จะพบวา่ ทุกเซลลใ์ นช่วงท่ีเลือกจะมีขอ้ มลู เหมือนกนั ทุกเซลล์ ลกั ษณะที่ 2 การป้ อนขอ้ มูลที่มีค่าซ้ากนั ในเซลลข์ อ้ มูลท่ีเลือกสามารถปฏิบตั ิไดด้ งั น้ี 1. คลุมดาเซลลเ์ ฉพาะที่ตอ้ งการ โดยกด Ctrl คา้ งไวแ้ ลว้ ใชเ้ มาส์คลิกเลือกเซลลท์ ่ีตอ้ งการ 2. ทาการป้ อนขอ้ มลู โดยโปรแกรมจะใหป้ ้ อนขอ้ มูลในตาแหน่งที่เลือกคร้ังสุดทา้ ย 3. จากน้นั กดป่ ุม Ctrl+Enter จะพบวา่ ทุก ๆ เซลลท์ ี่เลือก จะมีขอ้ มลู เหมือนกนั ทุกเซลล์ 4. การป้ อนข้อมูลหลายบรรทดั ในเซลล์เดียวกนั ขอ้ มูลท่ีนามาป้ อนลงในเซลลถ์ า้ มีปริมาณมากกวา่ ความกวา้ งของเซลล์ ไม่สามารถขยายความกวา้ งของ เซลลไ์ ด้ และจะตอ้ งอยใู่ นเซลลเ์ ดียวกนั สามารถปฏิบตั ิไดด้ งั น้ี 1. เลือกเซลลท์ ่ีตอ้ งการป้ อนขอ้ มลู 2. พิมพข์ อ้ มลู ท่ีตอ้ งการลงไปในเซลลท์ ี่ Active cell อยู่

3. กดป่ ุม Alt+Enter จะพบว่าขอ้ มูลท่ีพิมพ์จะแสดงในเซลล์เดียวกันท้งั หมดโดยที่ไม่มีการ ขยาย ความกวา้ งของเซลลแ์ ต่จะขยายความสูงของเซลลเ์ ท่าน้นั หรือกดป่ ุม ตดั ขอ้ ความ 5. การป้ อนข้อมูลแบบเติมเองอตั โนมตั ิ การป้ อนขอ้ มูลลงในเซลล์ที่เป็ นชุดแบบเรียงลาดับ เช่น ตวั เลข เวลา หรือขอ้ ความที่มีตวั เลขกากบั โปรแกรมตารางคานวณ (Microsoft Office Excel 2013) สามารถทาการคดั ลอกแบบเติมขอ้ มลู เองตามลาดบั โดย อตั โนมตั ิ หรือเรียกวา่ AutoFill มีข้นั ตอนการปฏิบตั ิดงั น้ี 1. ป้ อนขอ้ มูลเร่ิมตน้ เช่น ตวั เลขลาดบั ที่ เวลา หรือ พ.ศ. เป็นตน้ 2. เลื่อนเมาส์ไปยงั มุมขวาล่างสุดของเซลลท์ ่ีตอ้ งการจะปรากฏเคร่ืองหมายกากบาทเลก็ ๆ สีดา เรียกวา่ “Fill Handle” 3. คลิกเมาส์ดา้ นซ้ายคา้ งไวแ้ ลว้ ลากเมาส์ไปยงั เซลล์ปลายทางท่ีตอ้ งการ แลว้ จึงปล่อยเมาส์ โปรแกรมตารางคานวณ (Microsoft Office Excel 2013) จะทาการเติมขอ้ มูลเรียงตามลาดับให้โดย อตั โนมตั ิ การยกเลกิ และการทาซ้า การยกเลิกและการทาซ้าเป็ นคาส่ังที่ใชใ้ นกรณีที่มีการป้ อนขอ้ มูลแลว้ ผใู้ ชโ้ ปรแกรมไม่ตอ้ งการคาส่ัง น้นั ๆ สามารถยกเลิกคาสงั่ หรือใหท้ าคาสงั่ เดิมไดต้ ามท่ีตอ้ งการ 1. การยกเลกิ (Undo) การยกเลิกเป็ นคาสั่งยกเลิกการทางานทีละคาสั่งหรือหลายๆคาสั่ง เพ่ือให้ขอ้ มูลหรือขอ้ ความน้ัน ยอ้ นหลงั กลบั ไปสามารถปฏิบตั ิไดห้ ลายวิธี ยกตวั อยา่ งดงั น้ี วธิ ีท่ี 1 คลิกป่ ุมสามเหลี่ยมบนแถบเครื่องมือด่วนตามข้นั ตอนดงั น้ี 1. คลิกป่ ุมสามเหลี่ยม 2. เลือกข้นั ตอนล่าสุดท่ีตอ้ งการยกเลิกคาสงั่ วิธีที่ 2 คลิกที่ป่ ุมลูกศร (ยอ้ นกลบั ) ท่ีอยู่บนแถบเครื่องมือด่วนโปรแกรมจะทาการยกเลิกคาส่ังการ ทางาน ทีละคาสงั่ วธิ ีที่ 3 กดแป้ นพมิ พ์ Ctrl+Z โปรแกรมจะทาการยกเลิกคาสงั่ การทางานทีละคาสง่ั 2. การทาซ้า (Redo) เม่ือมีการยกเลิกคาสง่ั แลว้ ถา้ ตอ้ งการใหก้ ลบั ไปทาซ้าเหมือนเดิม สามารถทาไดห้ ลายวธิ ียกตวั อยา่ งดงั น้ี วธิ ีท่ี 1 คลิกป่ ุมสามเหล่ียมบนแถบเครื่องมือด่วนตามข้นั ตอนดงั น้ี 1. คลิกป่ ุมสามเหลี่ยม 2. เลือกข้นั ตอนล่าสุดที่ตอ้ งการทาซ้า วิธีท่ี 2 คลิกท่ีป่ ุมลูกศร (ทาซ้า) ที่อยบู่ นแถบเครื่องมือด่วนโปรแกรมจาทาการทาซ้าคาสั่งที่ทาไปทีละ คาสงั่

วธิ ีที่ 3 กดแป้ นพมิ พ์ Ctrl+Y โปรแกรมจะทาการทาซ้าคาสง่ั ที่ทาไปแลว้ ทีละคาสง่ั การปรับขนาดของแถวและคอลมั น์ 1. การปรับความสูงของแถว การปรับความสูงของแถว เราสามารถปฏิบตั ิได้ 2 วธิ ีดงั น้ี วิธีท่ี 1 ใชเ้ มาส์ปรับขนาดความสูงของแถว ถา้ ปรับ 1 แถว ไม่ตอ้ งคลุมดาสามารถเล่ือนเมาส์แลว้ ปรับ ไดเ้ ลย ถา้ ตอ้ งการปรับความสูงหลาย ๆ แถว ใหใ้ ชเ้ มาส์คลุมดาแถวที่ตอ้ งการแลว้ ปรับความสูงของแถวซ่ึงแต่ละ แถวท่ีถกู คลุมดาจะมีขนาดเท่ากบั แถวท่ีทาการปรับสามารถปฏิบตั ิไดด้ งั น้ี 1. เลื่อนเมาส์ไปตาแหน่งที่แบ่งแถว 2. กดป่ ุมซา้ ยของเมาส์คา้ งไวแ้ ลว้ ลากใหไ้ ดข้ นาดตามตอ้ งการ วธิ ีท่ี 2 ใชค้ าสงั่ 1. ใชเ้ มาส์คลิกเลือกแถวท่ีตอ้ งการขยาย 2. คลิกเมาส์ป่ ุมขวาแลว้ เลือก ความสูงของแถว 3. ระบุตวั เลขท่ีตอ้ งการ 4. ตกลง 2. การปรับความกว้างของคอลมั น์ การปรับความกวา้ งของคอลมั น์ เราสามารถปฏิบตั ิได้ 2 วธิ ี ดงั น้ี 1. ใชเ้ มาส์ปรับขนาดความกวา้ งของคอลมั น์ ถา้ ปรับ 1 คอลมั น์ไม่ตอ้ งคลุมดาสามารถเล่ือนเมาส์แลว้ ปรับไดเ้ ลย ถา้ ตอ้ งการปรับความกวา้ งหลาย ๆ คอลมั น์ ให้ใชเ้ มาส์คลุมดาคอลมั น์ที่ตอ้ งการแลว้ ปรับ ใชเ้ มาส์ ปรับความกวา้ งของคอลมั น์ซ่ึงแต่ละคอลมั น์ท่ีถูกคลุมดาจะมีขนาดเท่ากบั คอลมั น์ที่ทาการปรับ สามารถปฏิบตั ิ ไดด้ งั น้ี 1. เลื่อนเมาส์ไปตาแหน่งที่แบ่งคอลมั น์ 2. กดป่ มุ ซา้ ยของเมาส์คา้ งไวแ้ ลว้ ลากใหไ้ ดข้ นาดตามตอ้ งการ 2. ใชค้ าสง่ั 1. ใชเ้ มาส์คลิกเลือกคอลมั นท์ ี่ตอ้ งการขยาย 2. คลิกเมาส์ป่ ุมขวาแลว้ เลือก ความกวา้ งคอลมั น์ 3. ระบุตวั เลขท่ีตอ้ งการ 4. ตกลง การกาหนดช่ือให้กบั เซลล์หรือกล่มุ เซลล์

การกาหนดชื่อให้กบั เซลล์หรือกลุ่มเซลล์ก็เพื่อความสะดวกในการเรียกใชง้ าน เช่น กรณีท่ีตอ้ งการ ขอ้ มูลค่าใช้จ่ายของนักศึกษาก็สามารถเรียกใช้งานได้ ในการต้งั ช่ือเซลล์หรือกลุ่มเซลล์จะตอ้ งต้งั ช่ือให้สื่อ ความหมายเขา้ ใจง่ายและนามาใชอ้ า้ งอิงได้ สามารถปฏิบตั ิไดด้ งั น้ี 1. คลิกเลือกเซลลห์ รือกลุ่มเซลลท์ ี่ตอ้ งการ 2. พิมพช์ ่ือท่ีตอ้ งการลงในกล่องชื่อเซลลแ์ ลว้ กด Enter การเรียกใช้เซลล์หรือกล่มุ เซลล์ เม่ือมีการกาหนดช่ือเซลล์หรือกลุ่มเซลล์แลว้ เราสามารถเรียกใช้เซลล์หรือกลุ่มเซลล์ได้ตามความ ตอ้ งการดงั น้ี 1. คลิกเมาส์ที่กล่องชื่อเซลล์ 2. เลือกชื่อเซลลห์ รือกลุ่มเซลลท์ ี่ตอ้ งการ 3. ผลลพั ธ์ จะปรากฏกลุ่มเซลลท์ ่ีเลือกไว้ การคดั ลอกข้อมูล การคดั ลอกขอ้ มูล (Copy) เป็ นการทาสาเนาขอ้ มูล ในกรณีท่ีมีขอ้ มูลซ้ากนั หลายๆท่ี ไม่จาเป็ นจะตอ้ ง พิมพข์ อ้ มูลซ้าๆกนั เพราะจะทาให้เสียเวลาในการทางาน ดงั น้นั เพ่ือความสะดวกและรวดเร็วในการทางาน โดย ใชว้ ิธีการคดั ลอกขอ้ มูลได้ สามารถปฏิบตั ิได้ 2 วธิ ี ดงั น้ี 1. ใชแ้ ทบ็ ริบบอน 1. ใชเ้ มาส์คลุมดาเลือกเซลลท์ ี่ตอ้ งการคดั ลอก 2. ใชเ้ มาส์กดป่ ุม คดั ลอกหรือ กดแป้ นพมิ พ์ Ctrl+C 3. เลือกตาแหน่งเซลลท์ ่ีตอ้ งการวาง 4. ใชเ้ มาส์กดป่ มุ วางหรือกดแป้ นพิมพ์ Ctrl+V 5. จะไดผ้ ลลพั ธ์การคดั ลอกขอ้ มูล 2. ใชแ้ ถบเครื่องมือขนาดเลก็ (Mini Toolbar) 1. ใชเ้ มาส์คลุมดาเลือกเซลลท์ ี่ตอ้ งการคดั ลอก 2. คลิกเมาส์ป่ ุมขวาแลว้ เลือก คดั ลอก 3. เลือกตาแหน่งท่ีตอ้ งการวาง 4. คลิกเมาส์ป่ ุมขวาแลว้ เลือก วาง 5. จะไดผ้ ลลพั ธ์ิการคดั ลอกขอ้ มูล การย้ายข้อมูล

การยา้ ยข้อมูล (Cut) เป็ นการนาข้อมูลจากเซลล์หน่ึงไปยงั อีกเซลล์หน่ึง ในกรณีที่พิมพ์ข้อมูลผิด ตาแหน่ง เราไม่จาเป็ นจะตอ้ งพิมพข์ อ้ มูลใหม่ เพราะจะทาให้เสียเวลาในการทางาน ดงั น้ันเพื่อความสะดวก รวดเร็วในการทางาน สามารถใชว้ ิธีการยา้ ยขอ้ มลู ไดส้ ามารถปฏิบตั ิได้ 2 วธิ ี ดงั น้ี 1. ใชแ้ ทบ็ ริบบอน 1. ใชเ้ มาส์คลุมดาเลือกเซลลท์ ี่ตอ้ งการยา้ ยขอ้ มลู 2. ใชเ้ มาส์กดป่ ุม ตดั หรือ กดแป้ นพิมพ์ Ctrl+X 3. เลือกตาแหน่งท่ีตอ้ งการวาง 4. ใชเ้ มาส์กดป่ มุ วางหรือ กดแป้ นพิมพ์ Ctrl+V 5. จะไดผ้ ลลพั ธก์ ารยา้ ยขอ้ มลู 2. ใชแ้ ถบเคร่ืองมือขนาดเลก็ (Mini Toolbar) 1. ใชเ้ มาส์คลุมดาเลือกเซลลท์ ี่ตอ้ งการยา้ ยขอ้ มลู 2. คลิกเมาส์ป่ ุมขวาแลว้ เลือก ตดั 3. เลือกตาแหน่งที่ตอ้ งการวาง 4. คลิกป่ ุมเมาส์ป่ ุมขวาแลว้ เลือก วาง 5. จะไดผ้ ลลพั ธก์ ารยา้ ยขอ้ มลู การลบข้อมูล การลบขอ้ มูล (Delete) เป็นการนาขอ้ มูลท่ีไม่ตอ้ งการออกจากแผน่ งานในกรณีท่ีพิมพข์ อ้ มลู ผดิ พลาดจะ เป็นเซลลห์ รือกลุ่มเซลล์ ลบท้งั แถวหรือท้งั คอลมั น์กไ็ ด้ เราสามารถลบขอ้ มูลไดห้ ลายกรณี ตวั อยา่ งเช่น 1. ลบเฉพาะขอ้ มลู แต่ตาแหน่งเซลลจ์ ะอยเู่ หมือนเดิม ผใู้ ชโ้ ปรแกรมสามารถคลุมดาขอ้ มลู ท่ีตอ้ งการลบแลว้ กดป่ ุม Delete สามารถปฏิบตั ิไดด้ งั น้ี 1. ใชเ้ มาส์คลุมดาเลือกเซลลท์ ี่ตอ้ งการลบขอ้ มูล 2. กดป่ ุม Delete ขอ้ มลู จะหายไป 2. ลบขอ้ มูลแลว้ ตาแหน่งเซลลจ์ ะมีการเปล่ียนแปลงตามเง่ือนไข 1. ใชเ้ มาส์คลุมดาเลือกเซลลท์ ่ีตอ้ งการลบขอ้ มลู 2. คลิกเมาส์ป่ ุมขวาแลว้ เลือก ลบ 3. จะปรากฏ Dialog Box ใหเ้ ลือกลบขอ้ มูลตามเงื่อนไขท่ีตอ้ งการแลว้ กดตกลง 3. ลบขอ้ มูลท้งั แถว สามารถปฏิบตั ิไดด้ งั น้ี 1. คลิกเลือกท้งั แถว แถวท่ี 2 2. คลิกเมาส์ป่ ุมขวาแลว้ เลือก ลบ 3. ผลลพั ธ์ิ แถวท่ี 2 จะหายไป 4. ลบขอ้ มูลท้งั คอลมั น์ สามารถปฏิบตั ิไดด้ งั น้ี

1. คลิกเลือกท้งั คอลมั น์ 2. คลิกเมาส์ป่ ุมขวาแลว้ เลือก ลบ 3. ผลลพั ธ์ ขอ้ มูล ชื่อ-สกุล จะหายไป แบบฝึ กหัดหน่วยที่ 2 การป้ อนและการจัดเกบ็ ข้อมูล คาสั่ง จงตอบคาถามต่อไปนีใ้ ห้ถูกต้อง 1. จงอธิบายวธิ ีการเลือกเซลลท์ ่ีอยตู่ ิดกนั ตอบ ใชเ้ มาส์คลิกเซลลต์ น้ ทางท่ีตอ้ งการกดคา้ งไว้ ลากไปยงั เซลลป์ ลายทางที่ตอ้ งการแลว้ ปล่อย 2. จงอธิบายวธิ ีการเลือกเซลลท์ ี่อยไู่ ม่ติดกนั ตอบ ใชเ้ มาส์คลิกเซลลท์ ่ีตอ้ งการ แลว้ กดป่ ุม Ctrl คา้ งไว้ แลว้ ใชเ้ มาส์คลิกเซลลท์ ี่ตอ้ งการเลือกจนครบตามที่ ตอ้ งการแลว้ ปล่อยป่ ุม Ctrl 3. จงอธิบายวธิ ีการเลือก เซลลท์ ้งั แถว ตอบ ใชเ้ มาส์คลิกตรงหมายเลขแถวท่ีตอ้ งการ 4. จงอธิบายวธิ ีการเลือก เซลลท์ ้งั คอลมั น์ ตอบ ใชเ้ มาส์คลิกตรงตวั อกั ษรของคอลมั น์ท่ีตอ้ งการ 5. จงอธิบายวธิ ีการเลือก ท้งั แผน่ งาน ตอบ ใชเ้ มาส์คลิกเมาส์ที่ป่ ุม Sheet Control

แบบฝึ กปฏิบัตหิ น่วยท่ี 2 การป้ อนและการจดั เกบ็ ข้อมูล คาสั่ง จงปฏิบตั ิตามหวั ขอ้ ท่ีกาหนดใหถ้ กู ตอ้ ง 1. จงป้ อนขอ้ มูลตามตารางท่ีกาหนดใหแ้ ละจดั รูปแบบใหส้ อดคลอ้ งกบั ขอ้ มูลในตารางจดั เก็บสมุดงานช่ือ “การ กาหนดรูปแบบเซลล”์ ตอบ

2. จงป้ อนขอ้ มูลต่อไปน้ี จดั เกบ็ สมุดงานชื่อ “การป้ อนขอ้ มูลซ้า” ตอบ 3. จงป้ อนขอ้ มลู ตามตารางต่อไปน้ีจดั เกบ็ สมุดงานชื่อ “การตดั ขอ้ ความ” ตอบ 4. จงสร้างตารางขอ้ มลู ตามที่กาหนดใหโ้ ดยมีขอ้ กาหนดดงั น้ี 4.1 แถวสูง 30 4.2 คอลมั นก์ วา้ ง 15 4.3 ทุกเซลลจ์ ดั ก่ึงกลาง

ตอบ 5. จงสร้างตารางต่อไปน้ี พร้อมท้งั ต้งั ชื่อกลุ่มเซลล์ดงั น้ี สินคา้ ลูกคา้ และ พนักงาน กาหนดความสูงของ ตาราง 25 ความกวา้ ง 16 และจดั เกบ็ สมุดงานช่ือ “การกาหนดชื่อกลุ่มเซลล”์ ตอบ 6. จงพิมพ์ขอ้ มูลตามตารางท่ีกาหนดให้อยู่ใน Sheet1 แลว้ ดาเนินการคดั ลอกไป Sheet2 Sheet3 และ Sheet4 จดั เกบ็ สมุดงานชื่อ “การคดั ลอก” ตอบ 7. จงพิมพข์ อ้ มูลตามตารางท่ีกาหนดให้ แลว้ ดาเนินการยา้ ยขอ้ มูล ช่ือสินคา้ วางไว้ เซลล์ A7 จานวนสินคา้ วางไว้ เซลล์ B7 และ ราคาสินคา้ วางไว้ เซลล์ C7 จดั เกบ็ สมุดงานช่ือ “การยา้ ยขอ้ มลู ”

ตอบ 8. จงพิมพข์ อ้ มูลตามตารางท่ีกาหนดให้ แลว้ ดาเนินการ ลบขอ้ มลู ลาดบั ที่ 2 ท้งั หมด และ คอลมั น์ จานวน สินคา้ ท้งั หมด จดั เกบ็ สมุดงานชื่อ “การลบขอ้ มลู ” ตอบ

9. จงป้ อนขอ้ มูลตามตารางดงั ต่อไปน้ีจดั เกบ็ สมุดงานช่ือ “การป้ อนขอ้ มลู ” โดยกาหนดรูปแบบเซลลด์ งั น้ี คอลมั น์ A ใหก้ าหนดเป็นขอ้ ความ คอลมั น์ B ใหก้ าหนดเป็นขอ้ ความ คอลมั น์ C ใหก้ าหนดตวั เลขทศนิยม 2 ตาแหน่ง มีเครื่องหมายคนั่ หลกั พนั คอลมั น์ D ใหก้ าหนดเป็นวนั ท่ี คอลมั น์ E ใหก้ าหนดเป็นเวลา คอลมั น์ F ใหก้ าหนดเป็นสกลุ เงินบาทไทย ตอบ 10. จากคาตอบขอ้ 9 จงคดั ลอกขอ้ มูลใหเ้ ป็น 2 เท่า จดั เกบ็ สมุดงานช่ือ “การคดั ลอก2”

ตอบ

แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยท่ี 2 การป้ อนและการจัดเกบ็ ข้อมูล คาสั่ง จงทาเคร่ืองหมายกากบาท () หนา้ ขอ้ ท่ีถกู ตอ้ งมากท่ีสุดเพยี งขอ้ เดียว 1. การเลือกเซลลท์ ่ีอยตู่ ิดกนั จะตอ้ งกดป่ ุมใด ก. กดป่ ุม Alt ข. กดป่ ุม Shift ค. กดป่ มุ Ctrl ง. กดป่ มุ Enter 2. การเลือกเซลลท์ ่ีอยไู่ ม่ติดกนั จะตอ้ งกดป่ ุมใด ก. กดป่ ุม Alt ข. กดป่ มุ Shift ค. กดป่ ุม Ctrl ง. กดป่ ุม Enter 3. การเลือกเซลลท์ ้งั แผน่ งานจะตอ้ งกดป่ ุมใด ก. กดป่ ุม Alt+A ข. กดป่ มุ Shift+A ค. กดป่ มุ Ctrl+A ง. กดป่ มุ Enter+A 4. เบอร์โทรศพั ท์ จะตอ้ งกาหนดการแสดงรูปแบบใด ก. ขอ้ ความ ข. ตวั เลข ค. วนั ท่ี ง. สูตรคานวณ 5. ขอ้ ใด เป็นขอ้ มูลแบบสกลุ เงิน ก. ฿-1,000.00 ข. ฿1,000.00

ค. 1,000.00-฿ ง. 1,000.00฿ 6. เป็นตวั ช้ีเมาส์ท่ีมีสถานะทาหนา้ ที่อะไร ก. พร้อมท่ีจะยา้ ยขอ้ มูลในเซลลน์ ้นั ไปยงั ตาแหน่งเซลลท์ ่ีตอ้ งการ ข. พร้อมท่ีจะป้ อนขอ้ มูลลงเซลล์ ค. พร้อมที่จะเลือกเซลล์ ง. พร้อมที่จะเลือกคาสงั่ 7. กรณีที่ป้ อนขอ้ มลู ตวั เลขแลว้ ปรากฏเครื่องหมาย “#” แสดงวา่ มีปัญหาอะไร ก. ป้ อนตวั เลขผดิ ประเภท ข. ความสูงของเซลลไ์ ม่เพยี งพอท่ีจะแสดงผลตวั เลข ค. ความกวา้ งของเซลลไ์ ม่เพียงพอที่จะแสดงผลตวั เลข ง. กาหนดคา่ ไมถ่ ูกตอ้ ง 8. ถา้ ตอ้ งการป้ อนขอ้ มูลท่ีมีคา่ ซ้ากนั ในช่วงเซลลข์ อ้ มลู ที่กาหนดจะตอ้ งกดป่ ุมใด ก. Ctrl+Tab ข. Ctrl+Alt ค. Ctrl+Shift ง. Ctrl+Enter 9. ถา้ ตอ้ งการยกเลิกคาสงั่ การทางานทีละคาสงั่ จะตอ้ งกดป่ ุมใด ก. Ctrl+C ข. Ctrl+A ค. Ctrl+Y ง. Ctrl+Z 10. ทาหนา้ ท่ีอะไร ก. ปรับความกวา้ งของแถว ข. ปรับความกวา้ งของคอลมั น์ ค. ยา้ ยขอ้ มลู ง. ป้ อนขอ้ มูล 11.การต้งั ช่ือเซลลห์ รือกลุ่มเซลลม์ ีประโยชนอ์ ยา่ งไร ก. เพอ่ื ความสะดวกในการป้ อนขอ้ มูล ข. เพอื่ ความสะดวกในการเรียกใชง้ าน ค. เพื่อลาดบั ข้นั ตอนการทางาน ง. เพือ่ ใชอ้ า้ งอิงเซลล์ 12.ข้นั ตอนสุดทา้ ยของการต้งั ชื่อเซลลห์ รือกลุ่มเซลลจ์ ะตอ้ งทาอยา่ งไร ก. กดป่ ุม Alt ข. กดป่ มุ Shift ค. กดป่ ุม Ctrl ง. กดป่ ุม Enter 13.ถา้ ตอ้ งการยา้ ยขอ้ มลู จะตอ้ งกดป่ ุมใดตามลาดบั ก. , ข. , ค. , ง. , 14.การคดั ลอกขอ้ มูลมีก่ีวิธี ก. 2 วธิ ี ข. 3 วิธี

ค. 4 วธิ ี ง. 5 วธิ ี 15.การคดั ลอกขอ้ มลู จะตอ้ งกดป่ ุมใด ข. Ctrl+A, Ctrl+X ก. Ctrl+C, Ctrl+Y ง. Ctrl+C, Ctrl+V ค. Ctrl+X, Ctrl+V

แผนการจดั การเรยี นรู้ วชิ า โปรแกรมตารางคานวณ รหัสวชิ า 2204-2103 ชั้น ปวช. หนว่ ยท่ี 3 เรอ่ื ง การแก้ไขและการตกแตง่ ขอ้ มลู ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2560 1. สาระสาคญั สัปดาหท์ ่ี 3 – 5 เวลา 12 ชัว่ โมง การแกไ้ ขและการตกแต่งขอ้ มูลเป็ นการปรับแต่งขอ้ มูลให้เหมาะสมกบั งานทางานไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและ รวดเร็ว เพื่อความสะดวกต่อการนาเสนอขอ้ มูลโปรแกรมสามารถแกไ้ ข คน้ หา แทนที่ตรวจสอบความถูกตอ้ ง กาหนดรูปแบบและกาหนดขนาดตวั อกั ษร การเพิ่มเปลี่ยนช่ือลบสลบั ตาแหน่งซ่อนและการแสดงเปล่ียนสีการ ป้ องกนั และยกเลิกการป้ องกนั แผน่ งานเป็นตน้ 2. ผลการเรียนรู้ 1. แกไ้ ขขอ้ มลู ได้ 2. คน้ หาและแทนท่ีขอ้ มูลได้ 3. ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของขอ้ มูลได้ 4. กาหนดรูปแบบและขนาดตวั อกั ษรได้ 5. แทรกแถวและคอลมั น์ได้ 6. ซ่อน/แสดง แถวและคอลมั น์ได้ 7. เพมิ่ แผน่ งานได้ 8. เลือกใชแ้ ผน่ งานได้ 9. เปล่ียนช่ือแผน่ งานได้ 10. ลบแผน่ งานได้ 11. สลบั ตาแหน่งแผน่ งานได้ 12. ยอ่ /ขยาย และปิ ดแผน่ งานได้ 13. ซ่อนและการแสดงแผน่ งานได้ 14. เปลี่ยนสีแผน่ งานได้ 15. ป้ องกนั แผน่ งานและยกเลิกการป้ องกนั แผน่ งานได้ 16. ป้ องกนั เซลลข์ อ้ มูลหรือกลุ่มเซลลข์ อ้ มูลได้ 17. ตรึงแถวและคอลมั น์และยกเลิกการตรึงแนวได้ 18. มีคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม และมีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์