Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานสรุปผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สำนักงานเขตสุขภาพที่ 12

รายงานสรุปผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สำนักงานเขตสุขภาพที่ 12

Published by narathip9564, 2022-03-21 02:06:43

Description: รายงานสรุปผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สำนักงานเขตสุขภาพที่ 12 (Annual Report 2021 Regional Health Office 12)

Search

Read the Text Version

รายงานสรุปผลการดาเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สานกั งานเขตสุขภาพท่ี 12 Regional Health Office 12 : www.rh12.moph.go.th CHRO CSO CFO CIO COO

รายงานสรปุ ผลการดำเนินงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนักงานเขตสุขภาพท่ี ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 คำนำ รายงานสรุปผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สำนักงานเขตสุขภาพที่ 12 (Annual Report 2021 Regional Health Office 12) จัดทำขึ้นภายใต้การขับเคลื่อนนโยบายการปฏิรูปเขต สุขภาพนำร่อง ซึ่งเขตสุขภาพที่ 12 ได้ถูกกำหนดให้เป็นเขตสุขภาพนำร่อง ซึ่งเป็นความท้าทายใหม่ของการ ขับเคลื่อนเขตสุขภาพที่ต้องคำนึงถึงปัจจัยของการเปลี่ยนแปลง และแนวโน้มสภาวการณ์ในด้านต่างๆ ซึ่งเขต สุขภาพจะต้องปฏิรูปตามกิจกรรมสำคัญ (Big Rock) เพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ผ่านรูปแบบและวิธีการ บริหารจัดการแนวใหม่ ซึ่งการจัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานฯ มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมผลการ ปฏิบัติงานของกลุ่มงาน สำนักงานเขตสุขภาพ และการดำเนินงานในระดับเขตสุขภาพ เพื่อเผยแพร่การ ดำเนินงานของสำนักงานเขตสุขภาพที่ 12 ให้แก่หน่วยงานต่างๆ และสาธารณชนได้รับทราบ และเข้าใจใน ภารกิจและความสำคัญของเขตสุขภาพ โดยรายงานฉบับนี้ประมวลผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ซึ่งผ่านการวิเคราะห์ข้อมูลจากกลุ่มงานที่รับผิดชอบในภารกิจต่างๆ ของสำนักงานเขตสุขภาพ อีกทั้งการจัดทำรายงานฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อทบทวนการดำเนินงานตามนโยบายที่สำคัญของผู้บริหาร กระทรวงสาธารณสุข และนโยบายของผู้บริหารในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 12 โดยเขตสุขภาพที่ 12 ให้อยู่ใน ทิศทางท่ีสอดคล้องตามที่ได้กำหนดไว้ รวมไปถึงการสะท้อนให้เห็นถึงความสำคัญในการพัฒนาเขตสุขภาพ ซึ่งมีประโยชน์ในภาพรวมต่อการพัฒนา และเสริมสร้างสุขภาวะที่ดีต่อประชาชนในพื้นที่ ทั้งนี้ สำนักงานเขต สขุ ภาพท่ี 12 ม่งุ หวงั เปน็ อยา่ งยิง่ ว่ารายงานฉบับน้ีจะก่อใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นการพัฒนางานตามภารกิจที่สำคัญ ของสำนักงานเขตสุขภาพ และเป็นแหล่งข้อมูลที่สำคัญในระดับเขตสุขภาพที่สามารถใช้ขับเคลื่อนงาน สาธารณสขุ ในหนว่ ยงานตา่ งๆ โดยรายงานฉบบั นจ้ี ะสรา้ งการรบั รู้ ความเขา้ ใจ และเผยแพร่การดำเนินงานด้าน การพัฒนาสาธารณสุขในพน้ื ทเ่ี ขตสุขภาพที่ 12 แกป่ ระชาชนได้รับทราบต่อไป ในโอกาสน้ี ขอขอบคณุ ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่สำนักงานเขตสุขภาพท่ี 12 ทุกคน และหน่วยงาน สาธารณสุขเกี่ยวข้องทุกหน่วยงาน ที่ให้การสนับสนุนการดำเนินงานของสำนักงานเขตสุขภาพด้วยดีมาโดย ตลอด และหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานสรุปผลการดำเนินงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการขับเคลื่อนการ ปฏิรูปเขตสุขภาพ ให้เป็นเขตสุขภาพที่ตอบสนองกิจการของสาธารณสุขเขต 12 ให้มีความคล่องตัว มปี ระสทิ ธภิ าพ ประสิทธผิ ล สามารถใหท้ ำเกิดผลสำเรจ็ ในพน้ื ที่ตามเป้าหมายทกี่ ำหนดไว้ ต่อไป (นายธนิศ เสรมิ แก้ว) สาธารณสุขนเิ ทศก์ เขตสุขภาพที1่ 2 ผู้อำนวยการสำนักงานเขตสขุ ภาพที่ 12 ก

รายงานสรุปผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนกั งานเขตสุขภาพท่ี ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 บทสรปุ ผบู้ รหิ าร กระทรวงสาธารณสุข ได้ขับเคลื่อนการปฏิรูปสาธารณสุข ตามแผนปฏิรูปประเทศด้านที่ 7 (ด้านสาธารณสุข) ซ่งึ ได้จัดทำแผนปฏริ ปู ประเทศดา้ นสาธารณสุข (ฉบบั ปรบั ปรุง) พ.ศ.2564 – 2565 โดยได้ กำหนดให้มีกิจกรรมสำคัญ (Big Rock) ที่มุ่งเน้นการขับเคลื่อนและดำเนินงานเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อ ระบบสุขภาพของประชาชน โดยเขตสุขภาพ ถูกกำหนดให้อยู่ที่กิจกรรมที่ 5 การปฏิรูปเขตสุขภาพให้มีระบบ บริหารจัดการแบบบูรณาการ คล่องตัว และการร่วมรับผิดชอบด้านสุขภาพระหว่างหน่วยงานและท้องถิ่น โดยกำหนดให้เขตสุขภาพที่ 1 เขตสุขภาพที่ 4 เขตสุขภาพที่ 9 และเขตสุขภาพที่ 12 เป็นพื้นที่เป้าหมายใน การทดลองการบริหารจัดการ ซึ่งผู้บริหารกระทรวงสาธารณสุข และคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้าน สาธารณสุข และผู้เกี่ยวข้อง ได้ร่วมกันกำหนดแนวทางการปฏิรูปเขตสุขภาพ (Sandbox) 5 ด้าน ได้แก่ 1) ภาวะผู้นำและอภิบาลระบบ 2) กำลังคนด้านสุขภาพ 3) การเงินการคลัง 4) ข้อมูลสารสนเทศ 5) เทคโนโลยีสุขภาพ โดยมีเป้าหมายให้เกิดการพัฒนาเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการแบบบูรณาการของ หน่วยงานในพื้นที่อย่างประสิทธิภาพ ด้วยการพัฒนานวัตกรรมภาครัฐรูปแบบใหม่ อีกทั้งเขตสุขภาพที่ 12 มุ่งเน้นการยกระดับคุณภาพการบริการด้านสาธารณสุข ให้สามารถเข้าถึงบริการได้อย่างเท่าเทียม และครอบคลุม โดยใช้หลักการ “เครือข่ายบริการที่ไร้รอยต่อ” (Seamless Health Service Network) ได้กำหนดแนวทางในการพัฒนางานสาธารณสุขในพื้นที่ ภายใต้จุดเน้นการพัฒนาการแก้ไขปัญหาสาธารณสขุ ที่สำคัญในพื้นที่ “5 5 5” กล่าวคือ 5 โรคสำคัญที่ต้องติดตามหรือแก้ไขอย่างเร่งด่วน 5 ระบบสุขภาพ ที่พัฒนางานสาธารณสุขในพื้นที่ 5 สนับสนุนที่ช่วยแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในพื้นท่ี โดยใช้รูปแบบการพัฒนา ระบบบริการสุขภาพตามลักษณะของพื้นที่ (Service Initiative Model) “AAA สร้างสุขภาพ” ปี พ.ศ.2564 เพื่อบริหารจัดการระบบบริการสุขภาพซึ่งใช้โรงพยาบาลศูนย์เป็นแม่ข่ายในการดูแลพื้นที่ ที่จะก่อให้เกิด ประโยชนต์ อ่ กจิ การสาธารณสุข รวมถงึ ประชาชนในพน้ื ท่ีมรี ะบบสุขภาพทีเ่ ขม้ แข็งและมปี ระสทิ ธภิ าพ การจัดทำรายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สำนกั งานเขตสุขภาพ ที่ 12 ได้จัดทำภายใตก้ ารขับเคลือ่ นนโยบายการปฏริ ูปเขตสุขภาพนำร่อง เป็นเหตุให้มกี ารปรับโครงสร้างการ บริหารสำนกั งานเขตสุขภาพท่ีมีความชดั เจน มกี ารถา่ ยโอนภารกิจจากสว่ นกลางสู่สว่ นภมู ภิ าค โดยมุ่งเน้นการ ยกระดับคุณภาพการบริการด้านสาธารณสุข ให้สามารถเข้าถึงบริการได้อย่างเท่าเทียมและครอบคลุม โดยกระทรวงสาธารณสุขตั้งเป้าหมายให้ \"ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน\" สอดคล้องกับแผนยทุ ธศาสตร์การพัฒนาชาติ ระยะ 20 ปี ด้านสาธารณสุข และนโยบายของรัฐบาล ที่นำโดย พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ที่ได้แถลงนโยบายเมื่อวันท่ี 25 กรกฎาคม 2562 ที่มุ่งเน้นการพัฒนางาน สาธารณสุขและหลักประกนั ทางสงั คม ด้วยเหตุนี้ กลุ่มงานยุทธศาสตร์และสารสนเทศ สำนักงานเขตสุขภาพที่ 12 มีภารกิจในการ จัดทำข้อมูลสุขภาพระดับเขต และวิเคราะห์ข้อมูลสุขภาพต่างๆ จึงได้รวบรวมผลการดำเนินงานสาธารณสุข ของเขตสขุ ภาพจากกลมุ่ งานต่างๆ ในสำนักงานเขตสขุ ภาพท่ี 12 เพอื่ จดั ทำรายงานผลการดำเนินงานประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 สำนกั งานเขตสุขภาพที่ 12 (Annual Report 2021 Regional Health Office 12) เพื่อเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสื่อสาร เผยแพร่ผลการดำเนินงาน แก่หน่วยงานสาธารณสุขทุกระดั บ รวมถึง ประชาชนท่สี นใจ โดยประกอบดว้ ยผลการดำเนินงานสรุปได้ ดังนี้ ข

รายงานสรุปผลการดำเนินงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนกั งานเขตสุขภาพท่ี ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 กล่มุ งานยทุ ธศาสตรแ์ ละสารสนเทศ ประกอบด้วย สรุปผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ เขตสุขภาพที่ 12 ปีงบประมาณ 2564 สรุปผลการดำเนินงานตัวชี้วัดจุดเน้นการพัฒนาและแก้ไขปัญหา สาธารณสุขท่ีสำคัญในพืน้ ท่ี งบลงทนุ ท่ไี ด้รับจดั สรร ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ความก้าวหน้าการจัดซื้อจัดจ้าง รายการงบลงทุน ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ผลการดำเนินงานการพัฒนาระบบเชื่อมโยงข้อมูลผู้ป่วย (HIE) สำหรบั การพฒั นาระบบบรกิ ารสขุ ภาพ ของเขตสขุ ภาพที่ 12 กลุ่มงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ประกอบด้วย ผลการดำเนินงาน Service plan ทุก สาขา ผลการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภค โดยเป็นข้อมูลในส่วนของ กลุ่มวัย งานควบคุมโรค งานอนามัยสิ่งแวดล้อม สรุปข้อมูลการการขับคลื่อนประเด็น Seamless Refer เขตสุขภาพที่ 12 กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคคล ประกอบด้วย กรอบแนวคิดการดำเนินงานการบริหาร ทรัพยากรบุคคล ผลการการวางแผนกำลังคน (Human Resource Planning) ตามแผนบริหารกำลังคน 5 ปี (HR Blueprint) ผลการดำเนินงานบริหารจัดการกำลัง คน (Human Resource Management) ผลการการพัฒนากำลังคน (Human Resource Development) ตามแผนพัฒนา Service plan ตามสาย วิชาชพี อ่ืนๆ กลุ่มงานบริหารการเงินการคลัง ประกอบด้วย ผลการดำเนินการขับเคลื่อนการเงินการคลัง ของเขตสุขภาพท่ี 12 สถานการณ์ทางการเงนิ การหนว่ ยบริการ เขตสุขภาพท่ี 12 การพัฒนาการบริหารระบบ บัญชี การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการปรับเกลี่ยงบเหมาจ่ายรายหัวกองทุนหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ การจัดทำแผนทางการเงิน (Planfin) การพัฒนาคุณภาพบัญชีหน่วยบริการ การติดตาม กำกับ เครอ่ื งมือประสทิ ธภิ าพทางการเงนิ วางระบบเฝา้ ระวงั (Monitoring Management) กลุ่มงานอำนวยการ ประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายภายในของสำนักงานเขตสุขภาพที่ 12 งบประมาณสำนักงานเขตสขุ ภาพท่ี 12 และปญั หาอุปสรรคในการดำเนนิ งาน ทั้งนี้ การศึกษารายงานผลการปฏิบัติงานจะเป็นการทบทวนผลการดำเนินงานในปีที่ผ่านมา และช่วยทำความเข้าใจในภารกิจของกลุ่มงานต่างๆ ในสำนกั งานเขตฯ ได้ดียงิ่ ขน้ึ รวมไปถึงการสะท้อนให้เห็น ถึงความสำคัญในการพัฒนาเขตสุขภาพ และเป็นกลไกในการปรับปรุงคุณภาพการบริหารจัดการให้เกิด ประสิทธิภาพต่อองค์กรในการขับเคลื่อนการดำเนินงานของหน่วยงานต่างๆ ที่มุ่งแก้ไขปัญหาสาธารณสุขท่ี สำคัญ โดยใช้มาตรการ การดำเนินตามกลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ที่กำหนด เป็นส่วนขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหา ภายใตบ้ ริบทสุขภาพท่ีมีการเปลีย่ นแปลงอยา่ งรวดเร็ว ท้งั นี้เพ่อื ให้บรรลเุ ป้าหมายของเขตสุขภาพที่ 12 นั้นคือ “ประชาชนสุขภาพดี เครือขา่ ยเข้มแขง็ ระบบสุขภาพยัง่ ยนื เจ้าหนา้ ทมี่ คี วามสขุ ” (นายสเุ ทพ เพชรมาก) ผูต้ รวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ เขตสขุ ภาพท่ี 12 ข

รายงานสรปุ ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนกั งานเขตสุขภาพท่ี ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 สารบญั เรือ่ ง หน้า คำนำ ก บทสรุปผูบ้ ริหาร ข สารบญั ค สว่ นที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไป เขตสขุ ภาพท่ี 12 1 - ขอ้ มลู ท่ัวไป เขตสขุ ภาพท่ี 12 2-4 - ขอ้ มูลการปกครองและประชากร 5-8 - ขอ้ มลู สถานบริการสาธารณสขุ ในเขตสุขภาพที่ 12 9 - 17 - ขอ้ มูลบคุ ลากรสาธารณสขุ เขตสุขภาพท่ี 12 18 - สถานการณ์ทางการเงินของหน่วยบรกิ ารในเขตสุขภาพที่ 12 19 - 21 - สถานการณส์ ุขภาพ 22 - 27 สว่ นที่ 2 กรอบแนวคิดยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นา เขตสขุ ภาพที่ 12 ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 28 - นโยบายสุขภาพ ปี 2564 29 - 35 - แผนยุทธศาสตร์ เขตสขุ ภาพท่ี 12 36 – 41 - จุดเนน้ การพฒั นาการแกไ้ ขปญั หาสาธารณสขุ ท่สี ำคัญในพน้ื ท่ี (5 โรค 5 ระบบ 5 สนบั สนุน) 42 - 43 - แนวคิดยทุ ธศาสตร์การพฒั นางานเขตสุขภาพท่ี 12 44 - 46 - โมเดลสขุ ภาพ “AAA สร้างสขุ ภาพ” ปี 2564 47 - 51 - แผนปฏิบตั ิการ เขตสุขภาพท่ี 12 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 52 - 61 ส่วนที่ 3 ผลการดำเนินงานตามตัวชวี้ ัด ปี พ.ศ. 2564 62 - ผลการดำเนินงานตามคำรบั รองการปฏิบัติราชการ (PA) ปี พ.ศ. 2564 63 - 73 ของปลัดกระทรวงสาธารณสุข - ผลการดำเนนิ งานตัวช้วี ัดตามจุดเนน้ การพฒั นางานสาธารณสขุ เขตสขุ ภาพที่ 12 ปี 2564 74 - 81 ส่วนท่ี 4 ผลการดำเนนิ งาน ของกลุ่มงานภายในสำนักงานเขตสุขภาพที่ 12 82 - บทบาทและภารกจิ ของสำนกั งานเขตสุขภาพ 83 - 87 - กล่มุ งานยุทธศาสตร์และสารสนเทศ 88 - 103 - กลุม่ งานพัฒนาระบบบรกิ ารสุขภาพ 104 - 115 - กล่มุ งานบริหารทรัพยากรบคุ คล 116 - 126 - กลมุ่ งานบรหิ ารการเงินการคลัง 127 - 141 - กลมุ่ งานอำนวยการ 142 - 145 สว่ นที่ 5 ภาคผนวก 146 - ประมวลภาพการจัดกจิ กรรมในปี พ.ศ.2564 147 - 155 - คณะผู้จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนนิ งานฯ สำนักงานเขตสขุ ภาพท่ี 12 156 ค

รายงานสรปุ ผลการดำเนินงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนักงานเขตสุขภาพที่ ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 1

รายงานสรุปผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนกั งานเขตสุขภาพท่ี ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 ๑. ขอ้ มลู ทวั่ ไป 1. ทต่ี งั้ อาณาเขตพรหมแดน เขตสขุ ภาพที่ 12 ตงั้ อยูภ่ าคใต้ตอนล่าง ประกอบดว้ ย 7 จงั หวดั คือ จงั หวัดตรัง พัทลุง สตูล สงขลา ปัตตานี นราธิวาส และยะลา ทิศเหนือติดจังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดกระบี่ ส่วนทิศใต้ติดกบั ประเทศมาเลเซีย มลี ักษณะภมู ิประเทศเป็นคาบสมุทรที่มีทะเลขนาบทั้งสองดา้ น คือ ฝ่งั ตะวนั ออกดา้ นอ่าวไทย ไดแ้ ก่ จงั หวัดสงขลา พทั ลุง ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ฝ่งั ตะวันตกด้านอันดามัน ไดแ้ ก่ จังหวัดตรงั สตูล มีเพียง จังหวัดยะลาที่ไม่มีพื้นที่ติดต่อกับทะเล และเป็นที่ราบในบางพื้นที่สลับแนวภูเขา โดยมีทิวเขาสันกาลาคีรี ซึ่งทอดตัวยาวต่อจากเทือกเขานครศรีธรรมราชเป็นพรมแดนกั้นระหว่างประเทศไทยกับประเทศมาเลเซีย สำหรับแม่น้ำท่ีสำคัญคือ แม่น้ำปัตตานี แม่น้ำตรัง แม่น้ำสายบุรี โดยแม่น้ำโก-ลก เป็นพรมแดนธรรมชาติที่กั้น เขตแดนระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย และยงั มีทะเลสาบสงขลาเป็นทะเลสาบแห่งเดียวในประเทศไทย ลักษณะภูมิอากาศของเขตสุขภาพที่ 12 เป็นแบบร้อนชื้นแถบมรสมุ คือ มีฝนตกชุกสลับกับ ฤดแู ล้งสั้นๆ เน่ืองจากมีพ้นื นำ้ ขนาบอยทู่ ้ังทางด้านตะวันตก และทางด้านตะวันออก จงึ ทำให้มีฝนตกตลอดปีจึง ได้รับปริมาณน้ำฝนมากทั้ง 2 ฤดู คือ ฤดูร้อน และฤดูฝน อีกท้ังเป็นแหล่งปลูกพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของ ประเทศไทย เชน่ ยางพารา ปาลม์ นำ้ มนั ผลไม้ เป็นต้น ซึ่งเป็นพืชเมอื งร้อน ทตี่ ้องการความช้นื สงู ตรัง พทั ลงุ สตูล สงขลา ปตั ตานี ยะลา นราธิวาส แผนท่ีภาคใต้ : เขตสขุ ภาพที่ 12 2

รายงานสรุปผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนกั งานเขตสุขภาพที่ ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 2. ความเป็นมาของพ้นื ที่ - ดา้ นวฒั นธรรม เขตสุขภาพที่ 12 ประชากรส่วนใหญ่ นับถือศาสนาอิสลามและศาสนาพุทธ มีลักษณะทาง วัฒนธรรมและสังคมมีประชากรท่ีมเี ช้ือชาติ ศาสนาและภาษาคล้ายคลึงกบั คนไทยในภาคใต้ตอนบน ประเพณี ที่มชี อื่ เสยี ง ได้แก่ ประเพณชี งิ เปรตและประเพณชี ักพระ สว่ นคนไทยเชื้อสายจนี มปี ระเพณบี างอย่างที่แตกต่าง ออกไปเช่น มเี ทศกาลถือศีลกินเจ และชาวไทยมสุ ลิม มีเทศกาลถือศลี อด ในเดือนรอมฎอน ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ ในเขตจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ ชาวไทยมุสลิมใชภ้ าษาพื้นเมอื ง เรียกวา่ ภาษายาวี - ดา้ นประวตั ศิ าสตร์ จากสภาพทางภูมิศาสตร์ทำให้ภาคใต้มีความสัมพันธ์กับประเทศในเอเชียอาคเนย์มาโดย ตลอด เชน่ ค้าขายกับจีนมาตงั้ แต่ พุทธศตวรรษที่ 5 จนถงึ 16 สินคา้ ทีค่ า้ ขาย ได้แก่ ไขม่ กุ เคร่ืองแกว้ นำ้ หอม อัญมณี และนอแรด ในกลางพุทธศตวรรษที่ 10-12 มีการติดต่อกับอินเดีย มีการเผยแผ่ศาสนาพุทธและ พราหมณ์ ซึ่งมีอิทธิพลทางด้านศิลปะเป็นอย่างมาก รวมทั้ง วรรณคดี ความเช่ือ ประเพณี และกฎหมาย จากนน้ั ในพทุ ธศตวรรษที่ 12-15 มีการค้าเครื่องเทศกับชาวเปอร์เซียและชาวอาหรับ ซึ่งได้นำศาสนาอิสลาม มาสู่เกาะสุมาตรา จากนั้นได้ขยายสู่แหลมมลายูถึงประเทศอินโดนีเซีย และเลยมาถึงทางใต้ ของไทยในราว ศตวรรษที่ 20 ทำให้ชาวพื้นเมอื งภาคใต้บางสว่ นนับถอื ศาสนาอสิ ลาม - ผลิตภณั ฑ์ดเี ด่น ศิลปหัตถกรรมท้องถิ่นภาคใต้ตอนล่างสะท้อนให้เหน็ ถึงอารยธรรม และภูมิปัญญาไม่ด้อยไป กว่าภูมิภาคอ่ืนๆ ของประเทศไทย เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของสังคมเกษตรกรรมที่ได้มีการสั่งสมสืบสาน องค์ความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นไว้มากมาย ซึ่งทำให้ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านภาคใต้ได้รับการสร้างสรรค์ขึ้น ด้วยความละเอียด ประณีต เป็นการนำเอาทรัพยากรในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ได้อย่าง หลากหลาย ซึ่งแสดงถึงเอกลักษณ์เฉพาะถิ่นที่มีการพัฒนามาถึงสังคมและวัฒนธรรมในปัจจุบัน โดยมศี ลิ ปหัตถกรรมท่ีโดดเดน่ ดงั น้ี ผลิตภณั ฑ์ประเภทผา้ ได้แก่ ผ้าทอเกาะยอ หรอื ผา้ เกาะยอ ผา้ บาติก ผ้าขาวมา้ ผา้ ทอหมน่ื ศรี และผ้ามดั ยอ้ มลวดลายต่างๆ เป็นตน้ เครื่องจักสาน ผลิตภัณฑ์เครื่องจักสานมีความเกี่ยวเนื่องด้วยวัฒนธรรมการดํารงชีวิตคือ เครือ่ งมือเคร่ืองใช้ในครัวเรือนและในการประกอบอาชีพ วัสดุที่นํามาใช้ทาํ เครื่องจกั สานมหี ลากหลายชนิด เชน่ ไม้ไผ่ หวาย กก ใบเตย ย่านลิเภา กา้ นมะพรา้ ว กา้ นธปู ฤาษี กระจดู และวสั ดุอ่นื ๆ ทาํ ใหม้ ีเครื่องจักสานหลายชนิด ได้แก่ กระจาด กระเป๋ารูปแบบต่างๆ เข่ง เสวียนหม้อ หมวก กระบุง โคมไฟ กระเช้า ตะกร้า ข้อง ฝาขัดแตะ เปน็ ตน้ ผลติ ภณั ฑเ์ ครือ่ งปนั้ ดนิ เผา สถานทีผ่ ลิตเคร่ืองปั้นดินเผาทเ่ี ปน็ ทีร่ ู้จักกนั ดีคือ เคร่ืองป้ันดินเผา สทงิ หมอ้ ตําบลสทิงหม้อ อาํ เภอสิงหนคร และท่ตี าํ บลบางกลํ่า อําเภอบางกลาํ่ จังหวดั สงขลา โดยลักษณะการ ทําแตกต่างไปจากพื้นที่อื่นๆ คือ มีการใช้แป้นหมุนและการเผาจะไม่เผากลางแจ้ง จะใช้เตาเผาจึงทําให้เนื้อ แขง็ แรงโดยใชฟ้ างทํา เรยี กวธิ ีนว้ี า่ การเผาดาด 3

รายงานสรปุ ผลการดำเนินงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนักงานเขตสุขภาพที่ ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 ผลิตภัณฑ์การหล่อหลอมโลหะ ส่วนใหญ่อยู่ในรูปแบบของเครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์เครื่องใช้ เท่านั้น ซึ่งพบได้น้อยมากมีเพียง 3 จังหวัดเท่านั้น คือ ตําบลควนปริง อําเภอเมือง จังหวัดตรัง (ผลิตกี) และตาํ บลโคกสกั อําเภอบางแกว้ จงั หวดั พทั ลุง (ผลติ พรา้ ) ตําบลทา่ เรือ อาํ เภอโคกโพธ์ิ จงั หวัดปตั ตานี 3. อตั ลักษณ์ของเขตสขุ ภาพที่ 12 เขตสุขภาพที่ 12 ตัง้ อยู่ภาคใต้ตอนล่างมีประชากรประมาณ 4.9 ล้านคน มีประชากรนับถือ ศาสนาอสิ ลามมากทส่ี ดุ ของประเทศและมีพื้นที่ตดิ กับ ประเทศมาเลเซีย จากสภาพพื้นท่ีทม่ี ี ความจำเพาะทาง ภูมศิ าสตรแ์ ละประวัติศาสตร์ ทำใหภ้ าคใตต้ อนลา่ ง เปน็ สังคมพหวุ ัฒนธรรมท่ี มคี วามแตกต่าง หลากหลายท้ัง ทางเช้ือชาติ ภาษา ศาสนา และวฒั นธรรม จากปญั หา สถานการณ์ความไมส่ งบชายแดนใต้ เป็นความ ท้าทาย ของเขตสุขภาพที่ 12 ที่ต้องพัฒนาการ เสริมสร้างสุขภาพที่สอดคล้องกับปัญหาและ ความต้องการของ ประชาชน ดังคำกล่าวที่ว่า “พลังพหวุ ัฒนธรรม ก้าวลำ้ คณุ ภาพบริการ” 4

รายงานสรปุ ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนักงานเขตสุขภาพท่ี ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 ๓. ขอ้ มลู การปกครองและประชากร 1. การปกครอง ในเขตสุขภาพที่ 12 พื้นที่ในเขตสุขภาพที่ 12 ตั้งอยู่ในภาคใต้ตอนล่าง ประกอบด้วย 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ได้แก่ จังหวัดตรัง พัทลุง สงขลา สตูล นราธิวาส ปัตตานี และยะลา มีลักษณะภูมิประเทศเป็นคาบสมุทรที่มีทะเล ขนาบอยู่ 2 ด้าน คือ ตะวันออกด้านอ่าวไทย และตะวันตกด้านทะเลอันดามัน ซึ่งมีเขตการปกครองรวม 77 อำเภอ 565 ตำบล 4,306 หมู่บา้ น 176 เทศบาล 443 องคก์ ารบริหารส่วนตำบล มีจำนวนครวั เรือนท้ังส้ิน 1,689,823 หลงั คาเรอื น ขนาดพืน้ ท่ปี ระมาณ 2,9480.18 ตางรางกโิ ลเมตร ตารางแสดงข้อมูลการปกครองและประชากร จำแนกรายจังหวัด ในเขตสขุ ภาพท่ี 12 ปี พ.ศ. 2564 จังหวดั จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน จำนวนพน้ื ที่ อำเภอ ตำบล หม่บู า้ น เทศบาล อบต. หลังคาเรือน (ตาราง กม.) /อบจ. ตรัง 10 87 723 24 75 236,330 4,917.52 พทั ลุง 11 65 670 48 25 198,296 3,425.37 สตูล 7 36 280 7 34 106,768 2,807.52 สงขลา 16 127 1,022 48 93 558,267 7,393.89 ปตั ตานี 12 115 642 17 96 197,218 1,940.35 ยะลา 8 58 380 16 47 171,729 4,521.00 นราธวิ าส 13 77 589 16 73 221,215 4,475.43 รวม 77 565 4,306 176 443 1,689,823 29,481.08 ที่มา : ขอ้ มลู พ้ืนฐาน สำนกั งานบริหารการทะเบยี น กระทรวงมหาดไทย มิถนุ ายน 2564 2. ข้อมูลประชากร เขตสขุ ภาพท่ี 12 ตารางแสดงจำนวนประชากรจำแนกตามเพศ แยกชว่ งอายุ รวมทุกประเภท ปี พ.ศ. 2564 ช่วงอายุ ชาย หญงิ รวม 0-9 ปี 362,757 341,542 704,299 10-19 ปี 379,540 359,203 738,743 20-29 ปี 395,836 376,962 772,798 30-39 ปี 369,759 364,037 733,796 40-49 ปี 333,350 353,153 686,503 50-59 ปี 288,247 324,624 612,871 60-69 ปี 182,586 218,427 401,013 70-79 ปี 91,585 120,740 212,325 80-89 ปี 40,002 62,925 102,927 90-100 ปขี นึ้ ไป 10,672 17,709 28,381 รวม 2,454,335 2,539,323 4,993,658 ทม่ี า : ระบบสถิติทางการทะเบยี น กระทรวงมหาดไทย มิถุนายน 2564 5

รายงานสรุปผลการดำเนินงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนกั งานเขตสุขภาพที่ ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 จากตารางจึงได้จัดทำพีระมิดประชากรเปรียบเทียบข้อมูลประชากรตามช่วงอายุ และเพศ พบว่า ประชากรสว่ นใหญใ่ นเขตสขุ ภาพท่ี 12 มชี ว่ งอายุอย่รู ะหวา่ ง 20 – 29 ปี จำนวนกว่า 772,798 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 15.47 ทั้งนี้ ประชากรที่อยู่ในวัยผู้สูงอายุ (60 – 100 ปีขึ้นไป) มีจำนวน 744,646 คน คิดเป็นร้อย ละ 14.91 ในพื้นท่ีเขตสุขภาพที่ 12 มีสัดส่วนประชากรเพศชายต่อเพศหญิงอยู่ที่ร้อยละ 49.15 : 50.85 (เพศชาย 2,454,335 คน : เพศหญงิ 2,539,323 คน) มีผเู้ กิดปีจันทรคติเพศชาย 1 คน เพศหญงิ 1 คน ชว่ งอายุ พรี ะมดิ ประชากร 2564 90-100 ปขี ึ้นไป 0 100,000 200,000 300,000 400,000 80-89 70-79 ปี ชาย หญิง 60-69 ปี 50-59 ปี 40-49 ปี 30-39 ปี 20-29 ปี 10-19 ปี 0-9 ปี จำนวน 400,000 300,000 200,000 100,000 จากระบบสถิตกิ ารลงทะเบียน ฐานขอ้ มูลทะเบยี นราษฎร์ กระทรวงมหาดไทย มิถนุ ายน 2564 แบง่ ประเภทข้อมูลประชากรตามตาราง จงั หวัด ประชากร ผู้ที่มสี ัญชาติไทย ผ้ทู ่ไี ม่ไดส้ ัญชาติ ผู้ทีม่ ีช่ืออยูใ่ น ผู้ท่ีอยู่ระหว่าง รวมทุก ตรัง ประเภท และมีช่ืออยใู่ น ไทย และมีช่ืออยู่ใน ทะเบยี นบ้าน การย้าย พทั ลงุ 640,151 สงขลา 523,027 ทะเบยี นบา้ น ทะเบียนบา้ น กลาง สตลู 1,429,245 ยะลา 324,391 637,425 877 1,668 181 ปัตตานี 540,726 นราธิวาส 521,642 251 983 151 รวม 728,135 1,412,342 3284 12,967 652 807,983 4,993,658 322,543 320 1,418 110 536,666 1233 2,610 217 724,309 1097 2,488 241 803,994 973 2,777 239 4,958,921 8,035 24,911 1,791 ทม่ี า : ระบบสถิตทิ างการทะเบียน กระทรวงมหาดไทย มิถุนายน 2564 6

รายงานสรปุ ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนกั งานเขตสุขภาพท่ี ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 3. ข้อมูลการนับถอื ศาสนาในพืน้ ท่ี ประชากรในเขตสขุ ภาพที่ 12 จำนวน 4,993,685 คน มผี ้นู ับถอื ศาสนาอิสลามมากกวา่ ศาสนาพุทธ อยทู่ ่รี อ้ ยละ 53.97 : 44.66 (ศาสนาอิสลาม จำนวน 2,694,872 คน : ศาสนาพุทธ จำนวน 2,230,246 คน) ทั้งนี้มีจำนวนผู้นับถือศาสนาอื่น (คริสต์ ซิกข์ และอื่นๆ) จำนวน 68,540 คน คิดเป็นร้อยละ 1.37 โดยในจังหวัดตรัง พัทลุง สงขลา มีสัดส่วนผู้นับถือศาสนาพุทธมากกว่าศาสนาอิสลาม (พุทธ 72.68 : อิสลาม 25.19) แต่ในจังหวัดสตูล ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส มีสัดส่วนผู้นับถือศาสนาอิสลามมากว่าศาสนาพุทธ (อิสลาม 85.03 : พุทธ 14.41) ตารางแสดงจำนวนประชากรรายจังหวดั ในเขตสุขภาพที่ 12 จำแนกตามเพศ และการนับถอื ศาสนา ปี พ.ศ. 2564 จงั หวัด เพศชาย ประชากร รวม การนับถอื ศาสนา เพศหญิง พุทธ อิสลาม อืน่ ๆ ตรัง 313,123 327,028 640,151 512,121 118,428 9,602 พัทลงุ 254,844 268,183 523,027 459,322 62,972 732 สงขลา 696,525 732,720 1,429,245 912,859 471,651 44,735 สตูล 161,409 162,982 324,391 74,675 249,035 681 ยะลา 269,152 271,574 540,726 106,145 423,497 11,085 ปัตตานี 359,504 368,631 728,135 78,347 649,780 7 นราธวิ าส 399,778 408,205 807,983 86,777 719,509 1,697 รวมประชากร 2,454,335 2,539,323 4,993,658 2,230,246 2,694,872 68,540 สดั สว่ น (%) 49.15 50.85 100 44.66 53.97 1.37 ทม่ี า : ระบบสถิติทางการทะเบยี น กระทรวงมหาดไทย มิถุนายน 2564 และรายงานสรุปผลการตรวจราชการ รอบท่ี 2/2564 4. ขอ้ มูลการย้ายเขา้ ย้ายออก ในเขตสขุ ภาพที่ 12 โดยจังหวัดสงขลามีจำนวนประชากรย้ายเข้า – ย้ายออก มากที่สุดในเขตสุขภาพที่ 12 และจังหวัด สตูลมีจำนวนประชากรยา้ ยเข้า – ยา้ ยออก น้อยทส่ี ดุ ในเขตสขุ ภาพที่ 12 ตารางสถิติการย้ายเข้า – ยา้ ยออก ของประชากร ในเขตสขุ ภาพท่ี 12 ข้อมูล มกราคม - กันยายน ปี พ.ศ.2564 จงั หวดั ยา้ ยเขา้ ย้ายออก ตรงั ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม พัทลงุ สงขลา 8,643 8,962 17,605 9,105 9,474 18,579 สตูล ปตั ตานี 7,682 7,457 15,139 7,714 7,433 15,147 ยะลา นราธิวาส 27,510 26,442 53,952 27,975 26,603 54,578 รวม 5,559 5,252 10,811 5,710 5,331 11,041 10,627 9,323 19,950 10,717 9,730 20,447 7,835 7,091 14,926 8,285 7,948 16,233 12,043 10,623 22,666 11,513 10,672 22,185 79,899 75,150 155,049 81,019 77,191 158,210 ทม่ี า : ระบบสถติ ิทางการทะเบียน กระทรวงมหาดไทย มกราคม - กนั ยายน 2564 7

รายงานสรปุ ผลการดำเนินงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนกั งานเขตสุขภาพที่ ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 5. ข้อมูลจำนวนการเกิด และการตายของประชาชน จำแนกตามเพศ และช่วงอายุ รายจังหวัดในเขตสุขภาพท่ี 12 โดยจังหวัดสงขลามีจำนวนการเกิดและตายสูงสุดในเขตสุขภาพที่ 12 และจังหวัดสตูลมีจำนวนการ เกดิ และตายต่ำสุดในเขตสุขภาพท่ี 12 ตารางข้อมูลการเกิด-การตาย แยกเพศ ในเขตสุขภาพท่ี 12 ข้อมลู เดือน มกราคม - กนั ยายน 2564 จังหวัด ชาย เกดิ รวม ชาย ตาย รวม 1,901 หญงิ 3,708 1,746 หญงิ 3,024 ตรงั 1,257 1,807 2,460 1,521 1,278 2,770 พัทลุง 5,822 1,203 11,219 4,293 1,249 7,624 สงขลา 1,269 5,397 2,343 757 3,331 1,326 สตูล 3,868 1,074 7,670 2,084 5,69 3,852 ปตั ตานี 3,813 3,802 7,271 1,398 1,768 2,513 ยะลา 4,328 3,458 8,394 2,150 1,115 3,928 นราธิวาส 22,258 4,066 43,065 13,949 ,1778 25,037 รวม 20,807 11,088 ท่ีมา : ระบบสถติ ทิ างการทะเบียน กระทรวงมหาดไทย มกราคม – กันยายน 2564 8

รายงานสรปุ ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนกั งานเขตสุขภาพที่ ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 ๔. ขอ้ มลู สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ในเขตสขุ ภาพที่ 12 สถานบริการสาธารณสุข ในเขตสุขภาพที่ ๑๒ สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข มีโรงพยาบาลศนู ย์ ๓ แห่ง โรงพยาบาลท่ัวไป 7 แหง่ โรงพยาบาลชมุ ชน 68 แห่ง โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพ ตำบล 800 แหง่ และศูนยส์ ุขภาพชุมชน จำนวน 33 แห่ง ดังภาพ A1 S S A2 S A3 S S M1 M1 ภาพแผนท่ีเขตสุขภาพที่ 12 แสดงท่ตี ้ังสถานบริการสาธารณสขุ ระดับ A – M1 ตารางแสดงข้อมลู จำนวนสถานบริการจำแนกตามระดบั บริการ รายจงั หวัด จังหวัด รพศ./รพท (แห่ง) รพช. (แห่ง) ๑. ตรัง A S M1 M2 F1 F2 F3 ๒. พทั ลุง 1 ๓. สงขลา 1 0 0125 0 ๔. สตูล 0 ๕. ปตั ตานี 0 1 0118 0 ๖. ยะลา 0 ๗. นราธิวาส 1 1 0 1 1 13 0 0 รวม 0 1 0015 1 0 1 0119 1 0 1024 0 1 1029 3 5 2 4 10 53 ท่มี า : รายงานสรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 2/2564 9

รายงานสรปุ ผลการดำเนินงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนกั งานเขตสุขภาพท่ี ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 ตารางแสดงข้อมลู จำนวนสถานบริการระดับปฐมภมู ิจำแนกตามระดับบริการ รายจังหวดั จังหวัด หน่วยปฐมภมู ิ (แห่ง) รพ.สต. ศสช. ศทบ. ศสม. CMU 0 ๑. ตรัง 125 4 4 ๒. พัทลุง 124 11 ๓. สงขลา 175 2 11 *หน่วยบรกิ ารปฐมภูมสิ ังกัดเอกชน 4 แห่ง และ หนว่ ยปฐมภูมภิ าครัฐนอกสังกัดกระทรวง สาธารณสุข 9 แหง่ ๔. สตูล 55 4 ๕. ปัตตานี 129 N/A 3 ๖. ยะลา 81 N/A 11 ๗. นราธวิ าส 111 2 6 รวม 800 17 17 24 ทม่ี า : รายงานสรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 2/2564 หมายเหตุ ศทบ. ยอ่ มาจาก ศูนยบ์ ริการสาธารณสขุ เทศบาล ศสม. ย่อมาจาก ศูนย์สุขภาพชมุ ชนเมือง ศสช. ยอ่ มาจาก ศูนย์บริการสาธารณสขุ ชมุ ชน ตารางแสดงข้อมูลจำนวนเตียงในสถานบรกิ ารสังกดั สำนักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุข เขตสขุ ภาพที่ 12 ปี 2563 จังหวัด สถานบรกิ าร ระดบั จำนวนเตียง SumAdjRW CMI เกณฑ์ เปดิ ใชจ้ ริง CMI ตรงั 1.โรงพยาบาลตรัง 63893.60 1.5348 1.6 2.โรงพยาบาลห้วยยอด A 553 6026.00 0.6778 0.80 3.โรงพยาบาลกนั ตัง M2 100 3232.09 0.5537 0.6 4.โรงพยาบาลย่านตาขาว F1 77 3896.28 0.5508 0.6 5.โรงพยาบาลปะเหลยี น F1 83 1788.87 0.5040 0.6 6.โรงพยาบาลนาโยง F2 50 2371.78 0.5878 0.6 7.โรงพยาบาลรัษฎา F2 66 1546.71 0.5286 0.6 8.โรงพยาบาลสิเกา F2 45 1261.82 0.4958 0.6 9.โรงพยาบาลวังวิเศษ F2 44 1274.71 0.5274 0.6 10.โรงพยาบาลหาดสำราญเฉลมิ F2 30 836.76 0.4963 0.6 พระเกียรติ 80 พรรษา F3 30 พัทลุง 1.โรงพยาบาลพัทลุง S 448 51211.00 1.4974 1.2 2.โรงพยาบาลควนขนนุ M2 90 3804.88 0.6440 0.8 10

รายงานสรปุ ผลการดำเนินงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนักงานเขตสุขภาพที่ ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 จังหวดั สถานบริการ ระดับ จำนวนเตียง SumAdjRW CMI เกณฑ์ CMI 3.โรงพยาบาลตะโหมด เปดิ ใช้จริง 0.5156 0.6 4.โรงพยาบาลเขาชยั สน 0.5179 0.6 5.โรงพยาบาลปากพะยูน F1 36 1139.37 0.5598 0.6 6.โรงพยาบาลกงหรา 0.5271 0.6 7.โรงพยาบาลปา่ บอน F2 47 1322.66 0.5384 0.6 8.โรงพยาบาลบางแกว้ 0.5537 0.6 9.โรงพยาบาลศรบี รรพต F2 30 1570.20 0.5002 0.6 10.โรงพยาบาลป่าพะยอม 0.5196 0.6 11.โรงพยาบาลศรีนครินทร์ (ปัญญานันท F2 30 1114.39 0.5510 0.6 ภิกขุ) สงขลา 1.โรงพยาบาลหาดใหญ่ F2 30 1080.66 2.โรงพยาบาลสงขลา 3.โรงพยาบาลสมเดจ็ พระบรมราชินนี าถ F2 30 986.64 ณ อำเภอนาทวี 4.โรงพยาบาลระโนด F2 30 947.93 5.โรงพยาบาลรตั ภมู ิ 6.โรงพยาบาลเทพา F2 30 1274.06 7.โรงพยาบาลจะนะ 8.โรงพยาบาลสะเดา F2 36 873.88 9.โรงพยาบาลสะบา้ ยอ้ ย 10.โรงพยาบาลคลองหอยโข่ง A 654 97416.6 1.9206 1.6 11.โรงพยาบาลปาดงั เบซาร์ S 508 56531 1.5282 1.2 12.โรงพยาบาลนาหมอ่ ม M2 144 8490.58 0.9516 0.8 13.โรงพยาบาลสงิ หนคร 14.โรงพยาบาลสทงิ พระ F1 64 2461.47 0.6024 0.6 15.โรงพยาบาลกระแสสินธุ์ F2 72 2117.81 0.5485 0.6 16.โรงพยาบาลควนเนียง F2 70 3960.21 0.6394 0.6 17.โรงพยาบาลบางกลำ่ F2 72 4341.30 0.6040 0.6 สตลู 1.โรงพยาบาลสตูล F2 55 1802.60 0.5768 0.6 2.โรงพยาบาลละงู F2 44 2237.00 0.5640 0.6 3.โรงพยาบาลทุ่งหว้า F2 31 1234.83 0.5861 0.6 4.โรงพยาบาลมะนงั F2 34 957.41 0.5652 0.6 5.โรงพยาบาลควนกาหลง F2 30 1842.53 0.6382 0.6 6.โรงพยาบาลทา่ แพ F2 30 1660.90 0.5863 0.6 7.โรงพยาบาลควนโดน F2 30 1764.94 0.5363 0.6 F2 30 652.68 0.5690 0.6 F2 29 1032.30 0.5666 0.6 F2 24 835.77 0.6976 0.6 S 239 21528.2 1.214 1.2 F1 83 3055.81 0.6862 0.6 F2 33 946.892 0.5344 0.6 F2 32 974.398 0.5769 0.6 F2 44 1032.38 0.5402 0.6 F2 32 662.474 0.5766 0.6 F2 31 1056.59 0.6388 0.6 11

รายงานสรปุ ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนกั งานเขตสุขภาพที่ ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 จงั หวดั สถานบริการ ระดบั จำนวนเตียง SumAdjRW CMI เกณฑ์ เปิดใช้จริง CMI ปตั ตานี 1.โรงพยาบาลปตั ตานี S 504 28997.60 1.3534 1.2 2.โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสายบรุ ี M2 114 3785.66 0.7332 0.8 3.โรงพยาบาลโคกโพธ์ิ F1 104 3463.27 0.5700 0.6 4.โรงพยาบาลยะหร่งิ F2 72 2057.62 0.5280 0.6 5.โรงพยาบาลยะรัง F2 73 2013.79 0.5415 0.6 6.โรงพยาบาลหนองจิก F2 46 1332.83 0.4964 0.6 7.โรงพยาบาลมายอ F2 42 1454.72 0.4948 0.6 8.โรงพยาบาลปะนาเระ F2 39 1041.00 0.5192 0.6 9.โรงพยาบาลแมล่ าน F2 34 846.66 0.5365 0.6 10.โรงพยาบาลกะพอ้ F2 37 884.97 0.5538 0.6 11.โรงพยาบาลทุง่ ยางแดง F2 36 1110.86 0.5082 0.6 12.โรงพยาบาลไม้แก่น F2 34 678.45 0.5191 0.6 ยะลา 1.โรงพยาบาลยะลา A 541 45018 1.5838 1.6 2.โรงพยาบาลเบตง M1 170 8766.39 0.9658 1 3.โรงพยาบาลรามัน F1 80 5204.60 0.5600 0.6 4.โรงพยาบาลสมเดจ็ พระยุพราชยะหา F1 72 2840.87 0.5061 0.6 5.โรงพยาบาลบนั นงั สตา F2 60 2865.62 0.5415 0.6 6.โรงพยาบาลกาบัง F2 38 865.979 0.4658 0.6 7.โรงพยาบาลธารโต F2 36 1467.24 0.4865 0.6 8.โรงพยาบาลกรงปินัง F2 45 1648.33 0.4827 0.6 นราธิวาส 1.โรงพยาบาลนราธวิ าสราชนครนิ ทร์ S 407 21885.20 1.3502 1.2 2.โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก M1 212 13348.50 1.1225 1 3.โรงพยาบาลตากใบ F1 102 2091.09 0.5486 0.6 4.โรงพยาบาลระแงะ F1 120 6685.44 0.5862 0.6 5.โรงพยาบาลรือเสาะ F2 82 1059.51 0.5166 0.6 6.โรงพยาบาลจะแนะ F2 66 1587.32 0.5359 0.6 7.โรงพยาบาลบาเจาะ F2 68 1695.96 0.5555 0.6 8.โรงพยาบาลแว้ง F2 43 143.06 0.5632 0.6 9โรงพยาบาลยง่ี อเฉลิมพระเกียรติ 80พรรษา F2 60 2290.83 0.5364 0.6 10.โรงพยาบาลศรสี าคร F2 42 2266.43 0.5421 0.6 11.โรงพยาบาลสไุ หงปาดี F2 46 1448.84 0.5422 0.6 12.โรงพยาบาลเจาะไอร้อง F2 34 1132.76 0.5510 0.6 13.โรงพยาบาลสคุ ริ นิ F2 35 643.22 0.5247 0.6 ที่มา : ระบบประมวลผล CMI รอบท่ี 2/2564 (ต.ค.-ก.ย.) http://cmi.healtharea.net/site/index 12

รายงานสรปุ ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนกั งานเขตสุขภาพที่ ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 ตารางแสดงข้อมูลผังการจัดเครอื ข่ายระบบบริการสขุ ภาพ เขตสุขภาพท่ี 12 แมข่ า่ ย ศูนยเ์ ชี่ยวชาญระดบั 1 : รพศ.หาดใหญ่ จังหวัด ตรัง พทั ลุง สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา นราธวิ าส รพศ. (A) รพศ.ตรงั (A1) รพศ.หาดใหญ่ (A2) รพศ.ยะลา (A3) รพท. (S) รพ.พทั ลงุ รพ.สงขลา รพ.สตลู รพ.ปตั ตานี รพ.นราธวิ าสฯ รพท. (M1) รพ.เบตง รพ.สุไหงโก-ลก รพช.แมข่ ่าย รพ.หว้ ยยอด รพ.ควนขนนุ รพ.สมเด็จฯ รพ.สายบุรี (M2) ณ อ.นาทวี รพช. ขนาด รพ.ยา่ นตาขาว รพ.ตะโหมด รพ.ระโนด รพ.ละงู รพ.โคกโพธิ์ รพ.ยะหา รพ.ระแงะ ใหญ่ (F1) รพ.กนั ตงั รพ.รามัน รพ.ตากใบ รพช. ขนาด รพ.ปะเหลียน รพ.เขาชยั สน รพ.ควนเนยี ง รพ.ทา่ แพ รพ.มายอ รพ.กาบงั รพ.จะแนะ กลาง(F2) รพ.สเิ กา รพ.ปากพะยนู รพ.นาหม่อม รพ.ควนโดน รพ.ยะรัง รพ.ธารโต รพ.บาเจาะ รพ.วงั วเิ ศษ รพ.บางแกว้ รพ.บางกล่ำ รพ.ทุ่งหว้า รพ.แมล่ าน รพ.บันนังสตา รพ.รือเสาะ รพ.นาโยง รพ.กงหรา รพ.รัตภมู ิ รพ.ควน- รพ.ยะหร่งิ รพ.กรงปนิ งั รพ.ศรสี าคร รพ.รัษฏา รพ.ปา่ พะยอม รพ.คลองหอย- กาหลง รพ.หนองจิก รพ.ป่าบอน โข่ง รพ.เจาะไอรอ้ ง รพ.ศรีบรรพต รพ.ปาดงั เบซาร์ รพ.มะนงั รพ.ไมแ้ ก่น รพ.ย่ีงอฯ รพ.ทุ่งยางแดง รพ.แว้ง รพ.ศรีนครินทร์ รพ.สะเดา รพ.ปะนาเราะ รพ.สุคิรนิ รพ.กะพอ้ รพ.สุไหงปาดี รพ.สทิงพระ รพ.สิงหนคร รพ.กระแสสินธุ์ รพ.จะนะ รพ.สะบา้ ยอ้ ย รพ.เทพา รพช.ขนาด รพ.หาด เล็ก (F3) สำราญฯ รวม (แหง่ ) 10 11 17 7 12 8 13 ท่ีมา : รายงานการตรวจราชการ รอบที่ 2/2563 หมายเหตุ A 1 = ศนู ยเ์ ช่ียวชาญระดบั 1 ทกุ สาขา ระดับโรงพยาบาลศูนย์ (Advance High-level Referral Hospital) A 2 = ศนู ย์เชี่ยวชาญระดบั 2 บางสาขา ระดบั โรงพยาบาลศูนย์ (Advance High-level Referral Hospital 13

รายงานสรุปผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนกั งานเขตสุขภาพท่ี ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 ตารางแสดงข้อมลู แผนยก/ลดระดบั และแผนขยายเตยี ง สถานบริการ ปี 2562 – 2564 จงั หวัด ชือ่ หน่วยบริการ ระดบั จำนวน แผนยก/ลดระดับ แผนเพม่ิ /ลดเตียง ปัตตานี ปจั จุบัน เตยี ง (ระบปุ ีท่ีจะยก/ลด) ปตั ตานี นราธวิ าส ยก ลด ปี เพ่มิ ลด ปี ยะลา พัทลงุ ระดบั ระดับ เตยี ง เตยี ง สตูล สงขลา โรงพยาบาลยะรัง F2 30 30 62 สงขลา โรงพยาบาลสมเด็จ M2 60 30 62 พระยพุ ราชสายบรุ ี โรงพยาบาลระแงะ F1 85 35 62 โรงพยาบาลยะหา F1 47 43 62 โรงพยาบาลพทั ลงุ S 445 5 62 โรงพยาบาลละงู F1 90 30 62 โรงพยาบาลสะเดา F2 60 F1 63 โรงพยาบาลสมเด็จ M2 110 M1 64 พระบรมราชินนี าถ ณ อำเภอนาทวี ทีม่ า : แผนการจัดระบบบริการสุขภาพและกำลังคนด้านสขุ ภาพ โดยเขตสุขภาพ กระทรวง สาธารณสุข (Blueprint of Health Service and Human Resource) ปี พ.ศ. 2563 – พ.ศ.2567 ตารางแสดงข้อมูลสถานพยาบาลสังกัดกรมอ่ืนๆ ในกระทรวงสาธารณสขุ ลำดบั จังหวดั โรงพยาบาล สงั กัด จำนวนเตยี ง 1 สงขลา รพ.ธัญญารกั ษ์ กรมการแพทย์ 220 2 สงขลา รพ.จิตเวชสงขลาราชนครินทร์ กรมสุขภาพจิต 200 3 ปตั ตานี รพ.ธัญญารกั ษ์ กรมการแพทย์ 110 4 ตรงั รพ.โรคผิวหนังเขตรอ้ นภาคใต้ กรมการแพทย์ 60 5 ยะลา โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 12 กรมอนามยั 30 รวมทั้งส้นิ 620 ที่มา : รายงานการตรวจราชการ รอบที่ 2/2563 ขอ้ มูลจังหวดั สงขลา จากรายงานการตรวจราชการ รอบที่ 2/2564 14

รายงานสรุปผลการดำเนินงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนักงานเขตสุขภาพที่ ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 เขตสขุ ภาพที่ 12 มโี รงพยาบาลเอกชน 9 แห่ง มากทีส่ ุดอย่ทู ีจ่ ังหวดั สงขลา โดยจังหวัดสตลู และ นราธวิ าส ไมม่ ีโรงพยาบาลเอกชน ตารางแสดงข้อมูลโรงพยาบาลเอกชนในเขตสุขภาพท่ี 12 จงั หวัด ชื่อสถานบริการภาคเอกชน จำนวนเตยี ง ตรงั โรงพยาบาลตรังรวมแพทย์ 150 โรงพยาบาลวัฒนแพทย์ 120 พทั ลุง โรงพยาบาลปยิ ะรักษ์ 30 สตลู - สงขลา โรงพยาบาลราษฏรย์ ินดี 130 โรงพยาบาลศิครนิ ทร์ 200 โรงพยาบาลกรงุ เทพหาดใหญ่ 180 โรงพยาบาลมติ รภาพสามัคคี 56 ปัตตานี โรงพยาบาลสโิ รรส ปัตตานี 30 ยะลา โรงพยาบาลสิโรรส 60 นราธิวาส - ทมี่ า : รายงานการตรวจราชการ รอบที่ 2/2563 ขอ้ มลู จังหวดั สงขลา จากรายงานการตรวจราชการ รอบที่ 2/2564 ตารางแสดงข้อมูลโรงพยาบาลสงั กดั กระทรวงอ่นื ๆ ในเขตสขุ ภาพท่ี 12 ลำดับ จังหวัด โรงพยาบาล กระทรวง จำนวนเตียง กลาโหม 30 1 ปตั ตานี รพ.คา่ ยอิงคยทุ ธบริหาร กลาโหม 10 กลาโหม 60 2 สงขลา รพ.ฐานทัพเรือสงขลา กลาโหม 15 ศึกษาธิการ 922 3 สงขลา รพ. คา่ ยเสนาณรงค์ ศกึ ษาธิการ 10 ศึกษาธิการ 44 4 สงขลา รพ. กองบิน 56 1,091 5 สงขลา รพ. สงขลานครินทร์ 6 สงขลา รพ. ทันตกรรม มอ. 7 นราธิวาส รพ. กลั ยานิวัฒนาการณุ ย์ รวม ท่ีมา : รายงานการตรวจราชการ รอบที่ 2/2563 ขอ้ มูลจงั หวดั สงขลา จากรายงานการตรวจราชการ รอบที่ 2/2564 15

รายงานสรุปผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนกั งานเขตสุขภาพที่ ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 ตารางแสดงข้อมูลจำนวนคลินกิ เอกชน และสถานประกอบการดา้ นผลติ ภณั ฑ์สขุ ภาพและบริการสุขภาพ ในเขตสุขภาพท่ี 12 จงั หวดั คลินิกเอกชน (แห่ง) ร้านจำหนา่ ยยา สถานบริการดว้ ยสขุ ภาพ (รา้ น) (แห่ง) ตรงั 250 151 N/A พัทลงุ 147 129 N/A สตลู 90 N/A N/A สงขลา 615 520 214 ปัตตานี 123 75 N/A ยะลา N/A N/A N/A นราธวิ าส 97 112 25 ทมี่ า : รายงานการตรวจราชการ รอบท่ี 2/2564 16

รายงานสรุปผลการดำเ ทั้งนี้ เขตสุขภาพที่ 12 มีเครือข่ายหน่วยบริการสุขภาพ ซึ่งเป็นหน่วยงาน และสังกัดกระทรวงอื่นๆ ที่มีภารกิจครอบคลุมการให้การรักษาพยาบาลและการฝึกศึกษา กระทรวงสาธารณสขุ ทมี่ ีภารกิจในการสนบั สนุนขอ้ มลู วชิ าการในพน้ื ท่ี ดังภาพ โรงพยาบาลโรคผิวหนังเขตร้อนภาคใต้ สนง.ป้องกนั ควบคมุ โรคท่ี 12 จงั หวดั ตรัง สงขลา วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ตรงั โรงพยาบาลธญั ญารกั ษ์ สงขลา วิทยาลยั สาธารณสขุ สิรินธรตรัง ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์การแพทย์ ท่ี 12/1 ตรัง หมายเหตุสญั ลักษณ์ โรงพยาบาลยะลาสริ ริ ตั นรักษ์ = เครือข่ายสังกัด ศนู ยอ์ นามยั ที่ 12 ยะลา กระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพเขต = เครือขา่ ยอ่นื นอก 12 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข วทิ 17

เนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนกั งานเขตสุขภาพที่ ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 นสนับสนุนการพัฒนาด้านการแพทย์และสาธารณสุข สังกัดกระทรวงสา ธารณสุข านักศึกษาแพทย์ และวิชาชีพด้านสาธารณสุข รวมถึงเครื อข่ายศูนย์วิชาการ สังกัด รพ.จิตเวชสงขลาราชนครินทร์ ศนู ยส์ นับสนนุ บริการสุขภาพท่ี วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สงขลา 1211 โรงพยาบาลคา่ ยเสนาณรงค์ โรงพยาบาลทนั ตกรรม คณะทนั ตแพทยศ์ าสตร์ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ โรงพยาบาลฐานทพั เรือสงขลา มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ สำนกั งานหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ เขต ศูนยว์ ทิ ยาศาส1ต2ร์กสางรขแลพาทยท์ ่ี 12 สงขลา โรงพยาบาลกองบนิ 56 ศูนย์สขุ ภาพจติ ท่ี 12 ปตั ตานี โรงพยาบาลธญั ญารักษ์ ปัตตานี โรงพยาบาลค่ายอิงคยทุ ธบริหาร โรงพยาบาลกลั ยาณวิ ัฒนาการณุ ย์ ทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ยะลา วทิ ยาลัยสาธารณสขุ สิรนิ ธร ยะลา

รายงานสรุปผลการดำเ ๕. ขอ้ มลู บคุ ลากรสาธารณสขุ เขตสขุ ภาพที่ 12 ตารางแสดงข้อมลู บุคลากรสายวชิ าชีพหลกั เปรียบเทียบตามกรอบอัตรากำลังคน ปี 256 แพทย์ ทันตแพทย์ จังหวดั ปฏบิ ัติงาน เทยี บ FTE 1: ปฏิบัตงิ าน เทียบ FTE 1 (%) ประชากร (%) ประ ตรัง 304 110.55 2,116 73 100 8,8 พทั ลงุ 175 77.43 2,999 81 93.10 6,4 สงขลา 657 109.87 2,186 143 94.70 10, สตลู 119 93.70 2,719 45 132.35 7,1 ยะลา 220 88.71 3,296 81 68.07 8,9 ปตั ตานี 221 92.08 2,427 55 117.02 9,7 นราธิวาส 252 84.56 3,206 58 78.38 13, รวมทั้งสนิ้ 1,948 96.82 2,565 536 91.62 9,3 18

เนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนักงานเขตสุขภาพท่ี ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 64 เภสชั กร เภสัชกร 1: ปฏิบตั งิ าน เทยี บ FTE 1: ปฏบิ ตั งิ าน เทียบ 1: ะชากร (%) ประชากร FTE (%) ประชากร 810 115 99.14 5,593 1,378 76 467 480 110 108.91 4,772 1,149 83 457 ,042 203 88.65 7,074 2,671 82 538 191 65 104.84 4,978 788 106 411 952 111 98.23 6,532 1,722 104 421 387 751 85 84.16 6,310 1,387 89 428 ,931 114 86.36 7,088 1,886 102 455 323 803 94.03 6,223 10,981 90 ที่มา : ขอ้ มลู จากระบบ HROPS ณ วนั ท่ี 12 พฤษภาคม 2564

รายงานสรุปผลการดำเนินงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนักงานเขตสุขภาพท่ี ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 ๖. สถานการณท์ างการเงนิ ของหนว่ ยบรกิ ารในเขตสขุ ภาพที่ 12 จากรายงานของกองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ในระบบ HFO ประจำไตรมาสที่ 4/2564 ณ วันที่ 21 ตุลาคม 2563 พบว่า โรงพยาบาลในเขตสุขภาพที่ ๑๒ ประสบปัญหา ทางด้านการเงินในระดับ ๗ (Risk Score) 1 แหง่ ในจังหวดั ปัตตานี ไดแ้ ก่ โรงพยาบาลรัษฎา จังหวดั ตรัง โดยส่วน ใหญ่สถานะทางการเงนิ ของโรงพยาบาล เขตสุขภาพท่ี 12 อยใู่ นระดบั ท่ี 0 ตารางแสดงข้อมลู สถานะทางการเงนิ ของโรงพยาบาล ในจังหวัด เขตสุขภาพ ที่ ๑๒ ณ ไตรมาสท่ี 4 พ.ศ.2564 จังหวัด สถานบริการ ระดบั วิกฤตทางการเงนิ ตรงั 1.โรงพยาบาลตรงั 0 2.โรงพยาบาลห้วยยอด 2 3.โรงพยาบาลยา่ นตาขาว 0 4.โรงพยาบาลกันตัง 2 5.โรงพยาบาลนาโยง 3 6.โรงพยาบาลสเิ กา 3 7.โรงพยาบาลปะเหลียน 2 8.โรงพยาบาลวังวิเศษ 2 9.โรงพยาบาลรัษฎา 7 10.โรงพยาบาลหาดสำราญฯ 0 พทั ลุง 1.โรงพยาบาลพทั ลงุ 0 2.โรงพยาบาลควนขนนุ 0 3.โรงพยาบาลตะโหมด 0 4.โรงพยาบาลเขาชัยสน 1 5.โรงพยาบาลกงหรา 0 6.โรงพยาบาลป่าบอน 0 7.โรงพยาบาลบางแก้ว 1 8.โรงพยาบาลปากพะยนู 2 9.โรงพยาบาลศรีบรรพต 0 10.โรงพยาบาลปา่ พะยอม 0 11.โรงพยาบาลศรนี ครินทร์ (ปัญญานันทภิกขุ) 2 สงขลา 1.โรงพยาบาลหาดใหญ่ 0 2.โรงพยาบาลสงขลา 0 3.โรงพยาบาลสมเดจ็ พระบรมราชินนี าถ ณ อำเภอนาทวี 0 4.โรงพยาบาลระโนด 0 5.โรงพยาบาลควนเนียง 2 6.โรงพยาบาลนาหม่อม 0 7.โรงพยาบาลบางกล่ำ 0 8.โรงพยาบาลรตั ภูมิ 0 สงขลา 9.โรงพยาบาลคลองหอยโข่ง 2 19

รายงานสรุปผลการดำเนินงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนกั งานเขตสุขภาพที่ ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 จงั หวัด สถานบรกิ าร ระดบั วกิ ฤตทางการเงนิ สตูล 10.โรงพยาบาลปาดังเบซาร์ 0 ปตั ตานี 11.โรงพยาบาลสะเดา 0 12.โรงพยาบาลสทงิ พระ 2 ยะลา 13.โรงพยาบาลสงิ หนคร 1 นราธิวาส 14.โรงพยาบาลกระแสสินธุ์ 0 15.โรงพยาบาลจะนะ 0 16.โรงพยาบาลสะบ้ายอ้ ย 1 17.โรงพยาบาลเทพา 0 1.โรงพยาบาลสตูล 1 2.โรงพยาบาลละงู 0 3.โรงพยาบาลควนโดน 1 4.โรงพยาบาลควนกาหลง 0 5.โรงพยาบาลท่าแพ 3 6.โรงพยาบาลท่งุ หว้า 0 7.โรงพยาบาลมะนัง 1 1.โรงพยาบาลปตั ตานี 0 2.โรงพยาบาลสมเดจ็ พระยุพราชสายบุรี 1 3.โรงพยาบาลโคกโพธิ์ 1 4.โรงพยาบาลหนองจกิ 0 5.โรงพยาบาลปะนาเระ 1 6.โรงพยาบาลมายอ 1 7.โรงพยาบาลทุ่งยางแดง 0 8.โรงพยาบาลไม้แกน่ 1 9.โรงพยาบาลยะหริ่ง 0 10.โรงพยาบาลยะรัง 1 11.โรงพยาบาลกะพ้อ 0 12.โรงพยาบาลแม่ลาน 0 1.โรงพยาบาลยะลา 0 2.โรงพยาบาลเบตง 0 3.โรงพยาบาลสมเดจ็ พระยุพราชยะหา 0 4.โรงพยาบาลรามนั 0 5.โรงพยาบาลบันนังสตา 1 6.โรงพยาบาลธารโต 0 7.โรงพยาบาลกาบงั 6 8.โรงพยาบาลกรงปินงั 0 1.โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์ 0 20

รายงานสรปุ ผลการดำเนินงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนักงานเขตสุขภาพที่ ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 จงั หวัด สถานบรกิ าร ระดบั วิกฤตทางการเงิน 2.โรงพยาบาลสไุ หงโก-ลก 0 3.โรงพยาบาลระแงะ 0 4.โรงพยาบาลตากใบ 1 5.โรงพยาบาลรอื เสาะ 1 6.โรงพยาบาลสไุ หงปาดี 2 7.โรงพยาบาลแว้ง 2 8.โรงพยาบาลบาเจาะ 0 9.โรงพยาบาลยีง่ อเฉลมิ พระเกียรติ 80 พรรษา 2 10.โรงพยาบาลเจาะไอรอ้ ง 2 11.โรงพยาบาลศรีสาคร 3 12.โรงพยาบาลจะแนะ 1 13.โรงพยาบาลสุคริ นิ 1 ทีม่ า: ระบบรายงาน HFO ไตรมาสที่ 4/2564 ตารางสรุปสถานการณท์ างการเงนิ ของโรงพยาบาล ในจงั หวดั เขตสุขภาพ ท่ี ๑๒ ระดบั วิกฤตทางการเงนิ จำนวนหนว่ ยงานบรกิ าร ร้อยละ (Risk Score) 1 1.28 Risk Score 7 1 1.28 Risk Score 6 - Risk Score 5 - - Risk Score 4 4 - Risk Score 3 12 5.13 Risk Score 2 18 15.38 Risk Score 1 42 23.08 Risk Score 0 53.85 ทม่ี า: ระบบรายงาน HFO ไตรมาสที่ 4/2564 21

รายงานสรปุ ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนักงานเขตสุขภาพที่ ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 ๗. สถานการณส์ ขุ ภาพ สถานะสุขภาพของประชาชนในเขตสขุ ภาพที่ 12 เป็นตัวบ่งชีท้ ี่สำคัญของประชาชนในพื้นท่ี โดยเขต สุขภาพที่ 12 มปี ระชากรรวมทัง้ สิ้น 4,993,658 คน โดยจงั หวดั ยะลามีอตั ราเกิดมีชีพต่อพันประชากรสูงสุด อยทู่ ่ี 18.30 และอัตราเกิดมชี ีพต่อพนั ประชากรตำ่ สดุ อยู่ท่ีจังหวัดพัทลงุ 6.33 โดยอตั ราตายต่อพนั ประชากร จงั หวดั สงขลามีสงู สุดอยู่ที่ 5.33 และจังหวัดสตูลมีอตั ราตายต่อพันประชากรต่ำสุดอยู่ท่ี 4.09 จังหวัดยะลามี อตั ราเพม่ิ ประชากรตามธรรมชาติสูงสุดอยู่ที่ 1.36 และจังหวดั พัทลงุ มีอตั ราเพม่ิ ประชากรตามธรรมชาติต่ำสุด อยู่ที่ 0.10 ซึ่งอัตราการตาย 1 คนต่อคนเกิดสงู สุดอยู่ที่จงั หวัดยะลา (คนตาย 3.94 คนตอ่ 1 คนเกิด) ต่ำสุด ท่จี งั หวัดพัทลงุ (คนตาย 1.20 คนตอ่ คนเกดิ ) ตารางแสดงข้อมลู อตั ราเกิดมีชพี ตอ่ พันประชากร อัตราต่อพนั ประชากร อัตราเพ่มิ ต่อร้อยประชากร และขอ้ มูล อัตราตาย 1 คนต่อคนเกดิ รายจงั หวัด เขตสุขภาพท่ี 12 ปี 2564 จังหวดั จำนวน เกิดมชี พี ตาย เพิ่ม อตั ราตาย 1 ตรงั ประชากร(คน) จำนวน อัตราต่อพนั จำนวน อัตราตาย จำนวน อัตราเพิม่ คนตอ่ คนเกิด พทั ลุง สงขลา 640,151 5,038 7.87 3,024 4.72 2,014 0.31 1.67 สตูล ยะลา 523,027 3,313 6.33 2,770 5.30 543 0.10 1.20 ปตั ตานี นราธิวาส 1,429,245 15,021 10.51 7,624 5.33 7,397 0.52 1.97 รวม 324,391 3,201 9.87 1,326 4.09 1,875 0.58 2.41 540,726 9,893 18.30 2,513 4.65 7,380 1.36 3.94 728,135 10,377 14.25 3,852 5.29 6,525 0.90 2.69 807,983 11,314 14.00 3,928 4.86 7,386 0.91 2.88 4,993,658 58,157 11.65 25,037 5.01 33,120 0.66 2.32 ทม่ี า : การเกดิ มชี ีพ DoH Dashboard กรมอนามัย (ข้อมูลจากสำนกั ส่งเสรมิ สขุ ภาพ) การตาย สำนกั บริหารการทะเบียน กรมการปกครอง (ม.ค.ก.ย.2564) กราฟแสดงอัตราเกิดมีชีพต่อพันประชากร อตั ราตายต่อพันประชากร และอตั ราเพ่ิมต่อร้อยประชากร ในเขตสุขภาพท่ี 12 อัตราเกิด อัตราตาย อตั ราเพ่ิม 20.00 18.30 15.00 14.25 14.00 10.00 5.00 10.51 0.00 7.87 6.33 9.87 4.72 5.30 5.33 4.09 4.65 5.29 4.86 0.31 0.10 0.58 1.36 0.90 ตรัง พทั ลงุ 0.52 สตลู ปตั ตานี 0.91 สงขลา ยะลา นราธิวาส 22

รายงานสรปุ ผลการดำเนินงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนักงานเขตสุขภาพที่ ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 ในปีงบประมาณ 2564 มีการรายงานจำนวนปว่ ยของผ้ปู ว่ ยนอกในสถานบริการสาธารณสขุ ของเขต สขุ ภาพท่ี 12 โดยมีอตั ราการปว่ ย 5 อันดบั แรก ดังนี้ 1.ความดันโลหิตสูงที่ไม่มีสาเหตุนำ จำนวนผู้ป่วย 1,302,207 คน อัตราป่วยต่อแสนประชากร ทั้งเขต สุขภาพ 26,077.22 2.การติดเชื้อของทางเดินหายใจส่วนบนแบบเฉียบพลันอื่นๆ จำนวนผู้ป่วย 653,342 อัตราป่วยต่อ แสนประชากร ท้งั เขตสขุ ภาพ 13,083.44 3.เบาหวาน จำนวนผปู้ ่วย 652,628 อตั ราป่วยต่อแสนประชากร ทงั้ เขตสุขภาพ 13,069.14 4.เนื้อเย่ือผิดปกติ จำนวนผู้ปว่ ย 514,771 อตั ราปว่ ยต่อแสนประชากร ทงั้ เขตสุขภาพ 10,308.50 5.ฟนั ผุ จำนวนผูป้ ว่ ย 404,891 อตั ราป่วยตอ่ แสนประชากร ทง้ั เขตสุขภาพ 8,108.10 ตารางแสดงข้อมูลจำนวนและอตั ราป่วยต่อแสนประชากร ผู้ป่วยนอก 5 อนั ดับแรก แยกตามรายจังหวดั ลำดับ โรค จำนวน อตั รา จงั หวัด 1 ความดันโลหิตสูงทไี่ ม่มสี าเหตุนำ 199,089 31,100.32 ตรงั 2 เบาหวาน 118,329 18,484.55 3 เนอื้ เย่ือผดิ ปกติ 88,985 13,900.63 4 การตดิ เชื้อของทางเดนิ หายใจสว่ นบนแบบเฉียบพลนั อน่ื ๆ 73,030 11,408.25 5 พยาธิสภาพของหลังสว่ นอน่ื ๆ 1 ความดันโลหิตสงู ที่ไม่มสี าเหตุนำ 68,086 10,635.93 2 เบาหวาน 188,477 36,035.81 พทั ลุง 3 การติดเช้อื ของทางเดินหายใจส่วน บนแบบเฉียบพลัน 113,493 21,699.26 อื่นๆ 4 เนอ้ื เย่ือผดิ ปกติ 75,832 14,498.68 5 ความผิดปกติอ่ืน ๆ ของฟันและโครงสรา้ ง 1 ความดนั โลหิตสูงทไ่ี ม่มีสาเหตุนำ 74,631 14,269.05 สงขลา 2 เบาหวาน 53,211 10,173.66 392,011 27,427.84 3 การตดิ เช้อื ของทางเดนิ หายใจสว่ นบนแบบเฉียบพลนั อ่ืน ๆ 189,563 13,263.16 4 เนอื้ เยอ่ื ผิดปกติ 153,932 10,770.16 5 ความผิดปกติอื่นของฟันและโครงสรา้ ง 153,371 10,730.91 สตลู 107,811 7,543.21 1 ความดันโลหติ สงู ทีไ่ ม่มสี าเหตุนำ 86,151 26,557.77 2 การตดิ เช้ือของทางเดินหายใจสว่ นบนแบบเฉียบพลนั 47,056 14,505.95 อ่ืน ๆ 45,335 13,975.42 3 เบาหวาน 43,033 13,265.78 4 เนื้อเยือ่ ผดิ ปกติ 23

รายงานสรุปผลการดำเนินงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนักงานเขตสุขภาพที่ ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 ลำดับ โรค จำนวน อตั รา จังหวัด 5 ฟันผุ 38,758 11,947.93 1 ความดนั โลหิตสงู ทไี่ ม่มีสาเหตุนำ 135,747 18,643.11 ปัตตานี 2 การตดิ เชอ้ื ของทางเดนิ หายใจส่วนบนแบบเฉยี บพลนั 116,010 15,932.49 อื่น ๆ 3 ฟันผุ 76,210 10,466.47 4 เบาหวาน 60,287 8,279.65 5 เนอ้ื เยือ่ ผิดปกติ 60,031 8,244.49 1 ความดัน โลหิตสงู ท่ไี ม่มีสาเหตนุ ำ 128,420 23,749.55 ยะลา 2 การติดเชือ้ ของทางเดนิ หายใจส่วนบนแบบเฉียบพลนั 82,005 15,165.72 อน่ื ๆ 3 เบาหวาน 59,964 11,089.54 4 เน้อื เย่อื ผดิ ปกติ 44,914 8,306.24 5 ฟันผุ 39,121 7,234.90 1 ความดนั โลหติ สูงทไี่ ม่มีสาเหตุนำ 172,312 21,326.19 นราธิวาส 2 การติดเชอ้ื ของทางเดนิ หายใจสว่ นบนแบบเฉยี บพลนั 105,477 13,054.36 อ่นื ๆ 3 ความผิดปกตทิ างพฤติกรรมและจติ ประสาทที่เกิดจาก 71,771 8,882.74 การใชว้ ตั ถอุ อกฤทธิต์ ่อจติ ประสาทอืน่ ๆ 4 ฟนั ผุ 71,318 8,826.67 5 เบาหวาน 65,657 8,126.04 ที่มา : ระบบข้อมลู HDC Service วันที่ 28 ตลุ าคม 2564 ในปีงบประมาณ 2564 มีการรายงานจำนวนป่วยของผู้ป่วยใน สถานบริการสาธารณสุข ของเขต สขุ ภาพท่ี 12 โดยมอี ตั ราการป่วย 5 อนั ดบั แรก ดังนี้ 1.ปวดบวม จำนวนผ้ปู ว่ ย 40,684 คน อตั ราป่วยตอ่ แสนประชากร ท้งั เขตสขุ ภาพ 814.71 2.ภาวะแทรกซอ้ นอื่น ๆของการต้ังครรภ์ และการคลอด จำนวนผู้ป่วย 18,810 คน อัตราปว่ ยต่อ แสนประชากร ท้งั เขตสขุ ภาพ 376.68 3.การดูแลมารดาอืน่ ๆ ทมี่ ปี ัญหาเกีย่ วกบั ทารกในครรภ์ และถงุ นำ้ คร่ำ และปัญหาท่อี าจจะเกิดได้ใน ระยะคลอด จำนวนผู้ปว่ ย 16,183 คน อัตราปว่ ยต่อแสนประชากร ทงั้ เขตสุขภาพ 324.07 4.โรคหลอดลมอกั เสบ ถุงลมโป่งพองและปอดชนิดอุดก้นั แบบเร้ือรงั อ่ืน จำนวนผูป้ ว่ ย 12,728 คน อตั ราป่วยตอ่ แสนประชากร ท้ังเขตสุขภาพ 254.88 5.การบาดเจบ็ ระบุเฉพาะอืน่ ๆ , ไม่ระบุเฉพาะและหลายบริเวณในร่างกาย จำนวนผูป้ ่วย 11,310 คน อตั ราปว่ ยตอ่ แสนประชากร ท้ังเขตสุขภาพ 226.49 24

รายงานสรุปผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนักงานเขตสุขภาพท่ี ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 ตารางแสดงข้อมูลจำนวนและอตั ราป่วยต่อแสนประชากร ผู้ป่วยใน 5 อันดับแรก จำแนกตามกลมุ่ โรค ลำดับ โรค จำนวน อัตรา จงั หวดั 1 ความผดิ ปกติเกย่ี วกับต่อมไร้ท่อโภชนาการและเมตะบลิ ิ 416.31 ตรัง ซมึ อื่น ๆ 839 2 โรคความดนั โลหติ สงู 394.28 พทั ลุง 3 โรคตดิ เช้อื อนื่ ๆ ของลำไส้ 649 339.14 4 โรคเบาหวาน 389 283.84 5 โรคตดิ เชื้อและปรสิตอ่ืนๆ 362 260.09 1 ปอดบวม 248 608.00 2 ภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ ของการต้งั ครรภ์ และการคลอด 2588 319.68 3 โรคหลอดลมอักเสบ ถุงลมโป่งพองและปอดชนิดอดุ ก้ัน 1995 แบบเรอ้ื รงั อนื่ 1753 295.97 4 การบาดเจ็บภายในกะโหลกศีรษะ 5 การบาดเจบ็ ระบเุ ฉพาะอื่นๆ , ไมร่ ะบเุ ฉพาะและหลาย 1729 289.47 บริเวณในร่างกาย 1706 1 ปอดบวม 278.00 7,429 2 ภาวะแทรกซ้อนของการตง้ั ครรภแ์ ละคลอด 6,025 509.50 สงขลา 5,333 288.68 สตูล 3 การบาดเจ็บ 4,808 274.27 3,924 212.70 4 หลอดลมอักเสบถงุ ลมโป่งพอง ปอดอุดก้นั เรื้อรัง 206.61 588 676.65 5 มารดามปี ญั หาทารกในครรภ์ 324 410.92 1 ปอดบวม 285 397.05 2 การดแู ลมารดาอืน่ ๆทม่ี ีปัญหาเกีย่ วกับทารกในครรภแ์ ละ ถงุ น้ำครำ่ และปัญหาทอ่ี าจจะเกดิ ได้ในระยะคลอด 272 298.10 3 ภาวะแทรกซ้อนอน่ื ๆของการต้ังครรภแ์ ละการคลอด 206 218.87 3,466 812.76 ปตั ตานี 4 โรคหลอดลมอักเสบ ถงุ ลมโป่งพองและปอดชนิดอดุ ก้ัน 3,321 370.40 แบบเรือ้ รังอน่ื 2,459 297.06 5 โรคอน่ื ๆ ของระบบทางเดินปัสสาวะ 1,572 178.26 1 ปอดบวม 2 ภาวะแทรกซ้อนอ่ืน ๆของการตง้ั ครรภ์ และการคลอด 3 การดูแลมารดาอ่ืน ๆ ท่ีมีปัญหาเกยี่ วกบั ทารกในครรภ์ และถุงน้ำครำ่ และปัญหาที่อาจจะเกิดไดใ้ นระยะคลอด 4 ไขจ้ ากไวรัสทนี่ ำโดยแมลงและไข้เลือดออกทีเ่ กดิ จากไวรสั อนื่ ๆ 25

รายงานสรปุ ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนกั งานเขตสุขภาพที่ ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 ลำดับ โรค จำนวน อัตรา จังหวดั 5 โรคหลอดลมอักเสบ ถงุ ลมโป่งพองและปอดชนดิ อุดกน้ั 1,556 157.11 แบบเรื้อรงั อนื่ 1 ปอดบวม 4,233 1,621.52 ยะลา 2 ภาวะแทรกซ้อนอนื่ ๆของการต้งั ครรภ์ และการคลอด 3,519 525.22 3 การดแู ลมารดาอน่ื ๆ ที่มปี ญั หาเกยี่ วกบั ทารกในครรภ์ 3,223 522.45 4 โรคหลอดลมอักเสบ ถงุ ลมโป่งพองและปอดชนดิ อุดก้นั 1,771 423.13 แบบเรอื้ รงั อนื่ 5 หัวใจล้มเหลว 1,701 281.66 1 ปอดบวม 6,867 1,338.77 นราธวิ าส 2 การดูแลมารดาอน่ื ๆ ท่ีมปี ญั หาเกยี่ วกับทารกในครรภ์ และ ถงุ น้ำครำ่ และปัญหาท่ีอาจจะเกดิ ไดใ้ นระยะคลอด 5,848 524.02 3 ภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ของการตัง้ ครรภ์ และการคลอด 4 โรคหลอดลมอักเสบ ถุงลมโปุ่งพองและปอดชนิดอดุ กนั้ 5,222 503.72 แบบเรอ้ื รังอน่ื 5 ไขจ้ ากไวรสั ท่นี ำโดยแมลงและไขเ้ ลือดออกท่เี กิดจากไวรสั 2,917 271.54 อื่นๆ 2,890 269.68 ท่มี า : ระบบข้อมลู HDC Service วันที่ 28 ตุลาคม 2564 26

รายงานสรุปผลการดำเนิน สาเหตุการตายของประชากรในเขตสุขภาพที่ 12 พบว่าส่วนใหญ่เกิดจากโ ประสาท และโรคหวั ใจ โดยมผี ู้เสียชีวิตรวมจาก 5 อันดับโรค จำนวน 9,048 ราย ตารางแสดงข้อมูลสาเหตุการตาย 5 อนั ดบั แรก อัน เขตสขุ ภาพท่ี 12 ตรัง ดับ โรค จำนวน โรค จำนวน 1 โรคมะเร็งทุกชนิด 2,962 โรคมะเร็ง 596 อาก จาก 2 โรคหลอดเลือดสมอง 1,782 โรคหลอดเลือดสมอง ห้อ 3 โรคความดันโลหิตสงู 1,487 โรคหวั ใจและหลอดเลือด 334 มะ 256 โรค 4 โรคระบบประสาท 1,409 ติดเชื้อในกระแสโลหติ 192 ปอ 174 โรค 5 โรคหัวใจ 1,408 ปอดบวม อนั สงขลา ปัตตานี ดบั โรค จำนวน โรค จำนวน 532 ระบ 1 มะเร็ง 1,200 1. โรคความดันโลหติ สงู 485 โรค 396 โรค 2 โรคหวั ใจ 563 2. โรคหลอดเลอื ดสมอง 374 โรค 342 โรค 3 โรคหลอดเลือดสมอง 529 3. โรคสมองฝ่อวยั ชรา 4 โรคปอดบวม 476 4. โรคหวั ใจทุกชนดิ 5 การติดเช้ือในกระแส 412 5. โรคมะเร็งทุกชนิด เลือด

นงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนักงานเขตสุขภาพท่ี ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 โรคมะเร็งทุกชนิด โรคหลอดเลือดสมอง โรคความดันโลหิตสูง โรคเกี่ยวกับระบบ รายจังหวัดในเขตสุขภาพท่ี 12 ปี 2564 พทั ลงุ สตลู โรค จำนวน โรค จำนวน 155 การ อาการแสดงและสงิ่ ผิดปกตทิ ่พี บ มะเร็ง (รวมทกุ ชนดิ ) 109 กการตรวจทางคลนิ ิกและตรวจทาง 421 77 70 องปฏิบัตกิ ารทีม่ ิได้มรี หัสระบไุ ว้ 62 ะเรง็ และเนื้องอกทุกชนิด 360 หลอดเลอื ดสมอง คหลอดเลือดในสมอง 168 โรคหวั ใจ อดบวม 159 โรคปวดบวม คหัวใจขาดเลอื ด 138 โรคเบาหวาน ยะลา นราธวิ าส โรค จำนวน โรค จำนวน บบไหลเวียนโลหติ 611 โรคเส่ือมระบบประสาท 520 คระบบประสาท 493 ความดันโลหติ สงู 344 คเนอ้ื งอก(รวมมะเรง็ ) 309 ปอดบวม 163 คระบบหายใจ 257 เลอื ดออกในสมอง 157 คตดิ เชื้อและปรสิต 224 เบาหวานที่ไม่ระบุรายละเอยี ด ไมม่ ี 144 ภาวะแทรกซ้อน ที่มา : เอกสารรับการตรวจราชการ รายจงั หวัด รอบ 2/2564 27

รายงานสรปุ ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนักงานเขตสุขภาพที่ ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 กรอบแนวคดิ ยทุ ธศาสตรก์ าร พฒั นา เขตสขุ ภาพท่ี ๑๒ ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ 28

รายงานสรุปผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนักงานเขตสุขภาพที่ ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 ๑. นโยบายสขุ ภาพ ปี ๒๕๖๔ นโยบายรัฐบาล รัฐบาลปัจจุบันภายใต้การนำของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้กาหนดวิสัยทัศน์ใน การขับเคลื่อนประเทศของรัฐบาล คือ “มุ่งมั่นให้ประเทศไทยเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วในศตวรรษที่ ๒๑” โดยมีการแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต่อสภานติ ิบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) เมื่อวนั พฤหสั บดที ี่ 25 กรกฎาคม 2562 ซงึ่ รฐั บาลได้กำหนดนโยบายในการบรหิ ารราชการแผ่นดิน 12 ด้าน ในช่วง ๔ ปีขา้ งหนา้ ดงั นี้ ๑. การปกป้องและเชดิ ชูสถาบนั พระมหากษัตริย์ ๒. การสร้างความมั่นคงและความปลอดภัยของประเทศ และความสงบสขุ ของประเทศ ๓. การทำนุบำรงุ ศาสนา ศิลปะและวฒั นธรรม ๔. การสร้างบทบาทของไทยในเวทโี ลก ๕. การพัฒนาเศรษฐกจิ และความสามารถในการแข่งขนั ของไทย ๖. การพัฒนาพนื้ ท่ีเศรษฐกจิ และการกระจายความเจริญสู่ภมู ิภาค ๗. การพฒั นาสร้างความเขม้ แข็งจากฐานราก ๘. การปฏริ ปู กระบวนการเรยี นรแู้ ละการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกช่วงวยั ๙. การพัฒนาระบบสาธารณสขุ และหลกั ประกันทางสงั คม ๑๐. การฟืน้ ฟูทรัพยากรธรรมชาติและการรักษาสิ่งแวดล้อมเพ่ือสรา้ งการเตบิ โตอย่างยัง่ ยืน ๑๑. การปฏิรูปการบรหิ ารจัดการภาครฐั ๑๒. การปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจริตและประพฤติมชิ อบ และ กระบวนการยุตธิ รรม โดยนโยบายที่เกี่ยวข้องกับด้านสาธารณสุขโดยตรงคือนโยบายด้านท่ี ๙ การพัฒนาระบบสาธารณสุข และหลักประกันทางสังคม มุ่งเน้นการจัดบริการสาธารณสุขและระบบความคุ้มครองทางสังคมที่ครอบคลุม ประชากรทกุ กลุ่มอย่างเหมาะสมนำไปสู่ความเสมอภาค ประกอบดว้ ย ๙.๑ พัฒนาระบบบริการสาธารณสุข แพทย์สมัยใหม่ และแพทย์แผนไทย ให้มีประสิทธิภาพทันสมัย เป็นที่ยอมรับในระดับสากล และมีคุณภาพทัดเทียมกันทั่วทุกพื้นท่ี รวมถึงการยกระดับไปสู่ความเชี่ยวชาญใน ด้านการแพทย์แม่นยำ และยกระดับระบบหลักประกันสุขภาพ ให้ครอบคลุมแรงงานนอกระบบ โดยอยู่บน พื้นฐานหลักประสิทธิภาพและความยั่งยืนทางการคลังของประเทศ ส่งเสริมให้มีมาตรการสร้างเสริมสุขภาวะ และอนามัยให้คนไทยทุกช่วงวัยมีสุขภาพแข็งแรงและลดอัตราการเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง พร้อมทั้งจัดให้มี สง่ิ แวดล้อมตา่ งๆ ทีเ่ อือ้ ต่อสุขภาพของประชาชนอยา่ งเหมาะสมและพอเพียง ๙.๒ ส่งเสริมการป้องกันและควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยการพัฒนาองค์ความรู้ด้านสุขภาวะ ที่ถกู ตอ้ งของคนทกุ กลุ่มวัย ส่งเสรมิ การเล่นกีฬาและออกกาลังกายเพื่อเสรมิ สรา้ งสุขภาวะ สร้างระบบรบั มือต่อ โรคอุบตั ใิ หม่และโรคอุบัตซิ ้ำ ทั้งระบบติดตาม เฝา้ ระวงั และการจัดการภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุขอย่างครบ วงจรและบรู ณาการ จัดระบบการแพทยป์ ฐมภูมิทม่ี ีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครวั ดแู ลอย่างทว่ั ถงึ และส่งเสริมให้ ชุมชนเปน็ ฐานในการสร้างสขุ ภาวะทดี่ ใี นทกุ พน้ื ที่ 29

รายงานสรปุ ผลการดำเนินงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนกั งานเขตสุขภาพที่ ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 ๙.๓ พัฒนาและยกระดับความรู้อาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจำหมู่บ้าน (อสม.) ให้เปน็ หมอประจำบ้าน ควบคู่กับการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารทางการแพทย์ เร่งพัฒนาระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพให้ทั่วถึง และครอบคลุมประชากรทุกภาคส่วน ลดความเหลื่อมล้าของคุณภาพการบริการในแต่ละระบบ พร้อมทั้ง เพมิ่ ประสทิ ธิภาพระบบการบรกิ ารสาธารณสุขในชมุ ชนผ่านการพัฒนาระบบการแพทยท์ างไกลควบคไู่ ปกับการ เพิ่มบทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน และการยกระดับคุณภาพการบริการของโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล เพื่อให้ประชาชนในทุกครัวเรือนทุกพื้นที่โดยเฉพาะผู้สูงอายุในชุมชนสามารถเข้าถึง หน่วยบริการสาธารณสุขไดอ้ ยา่ งท่วั ถงึ และรวดเรว็ ๙.๔ สร้างหลักประกันทางสังคมที่ครอบคลุมด้านการศึกษา สุขภาพ การมีงานทำที่เหมาะสมกับ ประชากรทุกกลุ่ม มีการลงทุนทางสังคมแบบมุ่งเป้าหมาย เพื่อช่วยเหลือกลุ่มคนยากจนและกลุ่มผู้ด้อยโอกาส โดยตรง จัดให้มีระบบบำเหน็จบำนาญ หลังพ้นวัยทำงาน ปฏิรูประบบภาษีส่งเสริมความเสมอภาคทางสังคม สร้างความเสมอภาคทางการศึกษาผ่านกลไกกองทุน และยกระดับคุณภาพการศึกษา ผ่านการใช้เทคโนโลยีที่ ทันสมัย รวมถึงคุ้มครองแรงงานทั้งในระบบและนอกระบบ ให้ได้รับความปลอดภัยและมีสุขอนามัยที่ดีในการ ทำงาน ไดร้ ับรายได้ สวัสดกิ าร และสทิ ธิประโยชน์ ที่เหมาะสมแก่การดำรงชีพ นอกจากนโยบายหลักท้ัง ๑๒ ดา้ น รัฐบาลไดก้ าหนดเรื่องเร่งด่วนที่ต้องดำเนินการ เพอ่ื บรรเทาปัญหา และลดผลกระทบกับประชาชน และระบบเศรษฐกจิ โดยมีนโยบายเรง่ ด่วน ๑๒ เรือ่ ง ดังนี้ ๑. การแกไ้ ขปัญหาในการดารงชีวติ ของประชาชน โดยลดขอ้ จำกดั ในการประกอบอาชีพของคนไทย ๒. การปรับปรุงระบบสวัสดิการและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยปรับปรุงระบบ บัตรสวัสดิการแห่งรัฐและเบี้ยยังชีพของประชาชน อาทิ ผู้สูงอายุและคนพิการ ที่มีรายได้น้อย ผู้ยากไร้ ผู้ด้อยโอกาส และพิจารณาขยายความครอบคลุมไปยังกลุ่มมารดาตั้งครรภ์ เด็กแรกเกิด และเด็กวัยเรียนที่ ครอบครัวมีปัญหาทางเศรษฐกิจ และเร่งรัดการพัฒนาระบบบริการ สุขภาพ เพื่อลดความเหลื่อมล้ำของ คุณภาพการบริการในแตล่ ะระบบลดภาระการเดินทาง ไปสถานพยาบาลของประชาชน และลดความแออัดใน โรงพยาบาลขนาดใหญ่ พัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ระบบการแพทย์ทางไกล และภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย เพ่ือให้ประชาชนที่อยู่ในชุมชนสามารถเข้าถึงหน่วย บริการ สาธารณสุขไดอ้ ย่างทว่ั ถงึ รวดเร็ว และได้รบั การบริการอยา่ งมีคณุ ภาพ ๓. มาตรการเศรษฐกิจเพ่อื รองรับความผันผวนของเศรษฐกิจโลก ๔. การให้ความช่วยเหลอื เกษตรกรและพฒั นานวัตกรรม ๕. การยกระดับศกั ยภาพของแรงงาน ๖. การวางรากฐานระบบเศรษฐกิจของประเทศสูอ่ นาคต ๗. การเตรียมคนไทยสศู่ ตวรรษที่ ๒๑ ๘. การแกไ้ ขปญั หาทุจริตและประพฤตมิ ิชอบในวงราชการทั้งฝ่ายการเมือง และฝ่ายราชการประจำ ๙. การแก้ไขปัญหายาเสพตดิ และสร้างความสงบสขุ ในพน้ื ท่ีชายแดนภาคใต้ ๑๐. การพฒั นาระบบการใหบ้ ริการประชาชน ๑๑. การจดั เตรียมมาตรการรองรับภยั แลง้ และอทุ กภยั ๑๒. การสนับสนนุ ให้มกี ารศกึ ษา การรับฟงั ความเหน็ ของประชาชน และ การดำเนินการเพอ่ื แก้ไขเพ่ิมเติมรฐั ธรรมนญู 30

รายงานสรปุ ผลการดำเนินงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนักงานเขตสุขภาพท่ี ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2564 ในการขับเคล่อื นการดำเนนิ งานสูอ่ นาคตสาธารณสุขไทยสำหรบั ปี 2564 ให้ความสำคญั สูงสดุ ต่อการ พฒั นางานสาธารณสุขตามแนวพระราชดำริ และโครงการเฉลิมพระเกียรติ เพ่อื เทิดพระเกียรติพระบรมวงศานุ วงศ์ทุกพระองค์ และได้กำหนดจุดมุ่งเน้นที่สำคัญในการดำเนินการให้เกิดผลประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนทุก คนในประเทศไทย ใน 9 ประเด็นสำคัญ ดงั นี้ ภาพสรุปนโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2564 แนวทางการขบั เคลื่อนนโยบายกระทรวงสาธารณสขุ ดว้ ยหลกั การทำงาน H – SMILE Health : บุคลากรเปน็ Health Model ท่ีดี ใส่ใจสขุ ภาพประชาชน Seamless : ทำงานไรร้ อยต่อทุกพ้นื ที่ ทุกมติ ิ Mate : มเี พ่อื น มที มี มเี ครอื ข่าย Integrate : คิดและทาอย่างบูรณาการดว้ ยเป้าหมายเดยี วกัน Life : เปน็ องคก์ รคณุ ภาพ สร้างคน สรา้ งงาน ด้วยใจและปัญญา Encourage : เสรมิ พลัง เพ่อื กา้ วผา่ นความทา้ ทาย เพ่ือนำไปสู่ “คนไทยแขง็ แรง เศรษฐกิจแขง็ แรง ประเทศไทยแขง็ แรง” 31

รายงานสรุปผลการดำเนินงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนักงานเขตสุขภาพที่ ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 นโยบายรฐั มนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสขุ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข (นายอนุทิน ชาญวีรกูล) ได้มอบนโยบาย ในการประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงสาธารณสุข เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2562 ณ ห้องประชุมชัยนาท นเรนทร สำนักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ดงั น้ี กระทรวงสาธารณสุขเป็นกระทรวงที่มีความสำคัญอย่างยิ่ง มีภารกิจดูแลประชาชนทุกช่วงวัยตั้งแต่ เกิดจนสิ้นอายุขัย ต้องทางานทั้งในมิติสุขภาพ สังคม และเศรษฐกิจ เพื่อลดความเจ็บป่วย ลดความจนของ ประชาชน ดงั นนั้ นโยบายท่ีตอ้ งการใหเ้ กิดผลต่อประชาชนทกุ คนในประเทศไทย นบั จากวันนี้ คอื “ลดรายจ่าย เพมิ่ รายได้ รา่ งกายแขง็ แรง ทำใหเ้ ศรษฐกิจประเทศแขง็ แรง” โดยการรว่ มแรงรว่ มใจกันทำงาน ที่สำคญั ดงั นี้ ภาพสรปุ นโยบายรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสขุ ปี 2564 32

รายงานสรุปผลการดำเนินงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนกั งานเขตสุขภาพท่ี ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 นโยบายรัฐมนตรชี ่วยวา่ การกระทรวงสาธารณสุข ปี 2564-2564 1. สขุ ภาพดวี ิถีใหม่ - สง่ เสรมิ การออกกำลงั กายอาหารปลอดภยั - สุขภาพจติ เชิงรกุ - Health Literacy เพื่อปรับเปล่ยี นพฤติกรรมสุขภาพ 2. ดูแลสขุ ภาพกล่มุ วยั อย่างเปน็ ระบบ - พฒั นาเด็กปฐมวยั (Free Fun Family) - พฒั นาระบบสขุ ภาพผสู้ งู อายุ 3. การแพทย์วิถใี หม่ - การจัดบริการทางการแพทยว์ ถิ ีใหม่ลดแออัดเพิม่ การเขา้ ถึง (New Normal Medical Care) - Digital Health - สถานพยาบาลปลอดภยั 4. ระบบสขุ ภาพปฐมภูมิ - ดแู ลและพัฒนาศกั ยภาพ อสม. 5. ม่งุ สู่การเปน็ ศูนยก์ ลางสุขภาพนานาชาติ 6. ธรรมาภิบาลโปรง่ ใส ภาพสรุปนโยบายรัฐมนตรชี ว่ ยว่าการกระทรวงสาธารณสขุ ปี 2564 33

รายงานสรปุ ผลการดำเนินงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนักงานเขตสุขภาพที่ ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 นโยบายปลัดกระทรวงสาธารณสขุ ปี 2564 1.ให้ความสำคญั สูงสุดตอ่ โครงการพระราชดำริโครงการเฉลิมพระเกียรตฯิ 2.ระบบสุขภาพ • ม่งุ พัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิ • ยกระดบั ระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิและ อสม คนไทยทกุ คนต้องมหี มอประจาตวั 3 คน • ดูแลสขุ ภาพองคร์ วม ท้ังรา่ งกาย จติ ใจ สงั คม 3. ระบบบริการก้าวหนา้ • เสรมิ สร้าง พฒั นา Basic Excellenceให้มศี ักยภาพครอบคลมุ ทกุ เขตสขุ ภาพ • New Normal Medical Care • ยกระดบั สู่ Innovation healthcare management • สนบั สนุน 30 บาท รักษาทุกที่ 4. เศรษฐกิจสุขภาพ • เพม่ิ มลู ค่าทางเศรษฐกิจในผลติ ภณั ฑแ์ ละบรกิ ารสุขภาพ • ให้ความสำคญั กับสมุนไพร กญั ชากัญชง ทางการแพทย์ • เพ่ิมโอกาสในการเขา้ ถงึ อยา่ งปลอดภยั 5. สขุ ภาพดวี ถิ ีใหม่ (New Normal) • สร้างความมนั่ ใจและความพร้อมในการจดั การกับโรคอบุ ัตใิ หม่ COVID-19 • สรา้ งเสริมพฤตกิ รรมสขุ ภาพประชาชน สขุ ภาพดวี ถิ ใี หม่ 3อ 6. บรหิ ารดว้ ยหลกั ธรรมาภิบาล • บรหิ ารดว้ ยหลักธรรมาภิบาล โปร่งใส ตรวจสอบได้ • สร้างความปลอดภัยใหก้ บั บุคลากรและผรู้ บั บริการ • งานไดผ้ ล คนเปน็ สุขมคี วามเปน็ พ่ี เพื่อน น้อง • สรา้ งผูน้ ำรุ่นใหม่ และ พฒั นาคนให้เก่งกล้า (อศั วิน สธ ) ภาพสรุปนโยบายปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปี 2564 34

รายงานสรปุ ผลการดำเนินง แผนภาพกรอบแนวคดิ ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาเขตสุข 35

งานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนกั งานเขตสุขภาพที่ ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 ขภาพท่ี 12 ปี 2564 (Strategic Framework) 5

รายงานสรปุ ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนักงานเขตสุขภาพที่ ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 ๒. แผนยทุ ธศาสตร์ เขตสขุ ภาพที่ ๑๒ สำนักงานเขตสุขภาพที่ 12 ได้จัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา เขตสุขภาพที่ 12 ระยะ 3 ปี (ปี พ.ศ.2564 – 2566) เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนนิ งาน และแก้ไขปัญหาที่สำคัญของเขตสขุ ภาพ โดยใช้ กลยุทธ์ และยทุ ธศาสตร์ เปน็ สว่ นขับเคลอื่ นท่สี ำคญั ทง้ั นแี้ ผนยทุ ธศาสตร์มคี วามสอดคล้องกบั แผนยุทธศาสตร์ ทั้งในระดับประเทศและระดับกระทรวง รวมถึงสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล ผู้บริ หารกระทรวง สาธารณสุข และผบู้ ริหารเขตสุขภาพ ซ่ึงไดก้ ำหนดแนวทางในการพัฒนาเขตสุขภาพ สำหรบั การพฒั นากลยุทธ์ ในการดำเนินงานให้ทันถ่วงทีตามบริบทของสถานการณ์สุขภาพที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว รวมทั้งการ คำนงึ ถงึ เปา้ หมายการพฒั นาของประเทศไทยทจี่ ะต้องขับเคล่ือนประเทศใหเ้ ป็นไปตาม Road map สู่ประเทศ ไทย 4.0 ใหส้ ามารถรองรบั อนาคตท่ีมีความเปน็ สังคมเมือง สงั คมผูส้ ูงอายุ ลดความเหล่ือมล้ำการเข้าถึงระบบ สุขภาพ และมุง่ เน้นการพัฒนาคนเป็นศูนย์กลาง กระทรวงสาธารณสุขจึงไดจ้ ัดทำแผนยุทธศาสตร์ระยะ 20 ปี ด้านสาธารณสุขที่มีความสอดคล้องต่อแผนพัฒนาชาติ โดยมุ่งเน้นการยกระดับคุณภาพการบริการด้าน สาธารณสุข ให้สามารถเข้าถึงบริการได้อย่างเท่าเทียมและครอบคลุม ตั้งเป้าหมายให้ \"ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหนา้ ทม่ี คี วามสขุ ระบบสขุ ภาพยง่ั ยืน\" แผนยุทธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี ด้านสาธารณสุข ที่ขับเคลื่อนผ่านการพัฒนายุทธศาสตร์ความเปน็ เลศิ 4 ดา้ น (4 Excellence) ไดแ้ ก่ 1.การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค (Promotion & Prevention Excellence) คือ การดแู ลประชาชนคนไทยทุกกล่มุ วัย ลดการบาดเจบ็ จากการจราจร ลดกลมุ่ เสย่ี งโรคเรือ้ รัง 2.ระบบบริการ (Service Excellence) คือ การพัฒนาระบบบริการคุณภาพที่ครอบคลุม ทั่วถึงตาม Service plan รวมถงึ มุ่งเน้นการพฒั นาการแพทยป์ ฐมภมู ิ 3.การพัฒนาคน (People Excellence) คือ การแก้ปัญหาการขาดแคลนพยาบาล วางแผน อัตรากำลังคน ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยในแต่ละภูมิภาคเพื่อพัฒนาบุคลากร ปรับระบบค่าตอบแทนบุคลากร สาธารณสขุ 4.ระบบบริหารจัดการ (Governance Excellence) ได้แก่ คือ อภิบาลระบบสาธารณสุข สร้างต้นแบบองค์กรคุณธรรม สร้างความมั่นคงด้านยาและเวชภัณฑ์ และจัดระบบข้อมูลและเทคโนโลยี สารสนเทศ การพัฒนา เขตสขุ ภาพท่ี 12 ระยะ 3 ปี (ปี พ.ศ.2564 – 2566) ฉ ปฏิรูปประเทศตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี และนโยบาย ยุทธศาสตร์ด้านการ สาธารณสุขในระยะ ๕ ปีแรก และจะเป็นการวางรากฐานของระบบสุขภาพของเขตสุขภาพให้เข้มแข็งมี เอกภาพสามารถต่อยอดให้เกิดผลสัมฤทธิ์ได้อย่างต่อเนื่องภายใต้แผนยุทธศาสตร์สุขภาพเขตสุขภาพที่ 12 ฉบบั ต่อๆ ไป จึงกำหนดเป้าประสงค์ วสิ ัยทัศน์ พันธกจิ และยทุ ธศาสตร์ดังนี้ 36

รายงานสรุปผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนักงานเขตสุขภาพท่ี ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 1. จุดยนื การพฒั นาของแผนยทุ ธศาสตร์เขตสุขภาพที่ 12 1.เพม่ิ ขดี ความสามารถการบรหิ ารจัดการองค์กรสาธารณสุขใหเ้ กิดประสทิ ธิภาพสงู สดุ 2.พฒั นาระบบบรกิ ารสขุ ภาพทกุ ระดบั ให้มีคณุ ภาพมาตรฐาน สอดคล้องกับสภาพปญั หา ปัจจุบัน 3.พัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศด้านสุขภาพเพอื่ สนบั สนนุ การบริหารจัดการระบบบรกิ ารสุขภาพ 4.การพฒั นาและสรา้ งกลไกเพื่อเพิม่ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การกำลงั คนด้านสขุ ภาพ 5.พฒั นากระบวนการสร้างความร่วมมอื กบั ภาคเี ครือขา่ ยให้เกิดรปู ธรรมสูงสดุ 2. วิสยั ทศั น์ (Vision) “เครือข่ายสขุ ภาพเข็มแขง็ ระบบสขุ ภาพย่งั ยืนประชาชนสุขภาพดี เจา้ หนา้ ที่มคี วามสุข” ความหมายของวิสยั ทศั น์ 1. เครือข่ายสุขภาพเข็มแข็ง คือ เครือข่ายสุขภาพทั้งในและนอกกระทรวงสาธารณสุขมีการบูรณา การพัฒนาระบบสุขภาพร่วมกัน ลดความซ้ำซ้อนในการปฏิบัติงาน และส่งเสริมการพัฒนางานสาธารณสุขในพื้นที่ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 2.เจ้าหน้าที่มีความสุข คือ บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขได้รับการพัฒนา ความกา้ วหน้าในวชิ าชีพและมีความสขุ ในการทำงาน 3.ระบบสุขภาพยั่งยืน คือ ประชาชนมีระบบสุขภาพเป็นหนึ่งเดียว แบบองค์รวม ไร้รอยต่อ เป็นธรรม และมนั่ คงทางสขุ ภาพ มุง่ พัฒนาสู่ระบบสุขภาพที่ยงั่ ยืน 3. เปา้ หมาย ประชาชนสขุ ภาพดี เครอื ขา่ ยเขม้ แขง็ ระบบสุขภาพยั่งยืน เจา้ หน้าทม่ี ีความสขุ 4. พันธกจิ (Mission) 1. สนับสนนุ การมีสว่ นร่วมของภาคีเครอื ขา่ ยในการจดั ระบบบริการสขุ ภาพใหเ้ กิดการบรู ณาการในทุกภาคส่วน 2. พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการใหม้ ปี ระสิทธิภาพภายใต้ระบบธรรมาภิบาล 3. พฒั นาคณุ ภาพระบบบริการสุขภาพให้มีมาตรฐานและสอดคล้องกบั บริบทภาคใต้ตอนลา่ ง 4. ส่งเสริมสขุ ภาพ และปอ้ งกันโรคท่ีสอดคล้องกบั ปัญหาสาธารณสขุ ในพนื้ ที่ 5. พฒั นาสมรรถนะและสร้างขวญั กำลังใจแกบ่ ุคลากรท่ปี ฏิบัติงานในพน้ื ที่ 5. ค่านยิ ม : MOPH M : Mastery ฝึกฝนตนเองให้มีศักยภาพสูงสุด (ควบคุมตนเองให้ทำงาน คิดพูด อย่างมีสติ ใช้กิริยา วาจาเหมาะสม มคี วามซือ่ สตั ย์ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม รกั การเรยี นรู้ คน้ หาความรูส้ ม่ำเสมอ มีวนิ ยั ตรงต่อเวลา รับผดิ ชอบ) O : Originality สรา้ งสรรค์นวตั กรรม สิง่ ใหมๆ่ ทีเ่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ ระบบสขุ ภาพ P : People-centered approach ยดึ ประชาชนเปน็ ทตี่ ้ัง เปน็ ศนู ย์กลางในการทำงาน H : Humility มีความออ่ นน้อมถอ่ มตน การเคารพผู้อื่น เห็นแกป่ ระโยชน์ส่วนรวม รู้แพ้รู้ชนะ เปิดรบั ฟังความเหน็ ต่าง จดั การความขดั แย้งด้วยวิธสี ร้างสรรค์ ชว่ ยผอู้ ืน่ แกป้ ัญหาในยามคบั ขัน 37

รายงานสรุปผลการดำเนินงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนักงานเขตสุขภาพที่ ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 6. สมรรถนะหลักขององค์การ (Core Competency) 1. ปฏิบัติภารกิจในการอำนวยความสะดวกการปฏิบัติราชการ ประสานงาน ด้วยความคล่องตัว และมี ประสทิ ธิภาพสูง 2. เปน็ ศูนย์กลางในการประสานงานความรว่ มมอื กบั ภาคี และหน่วยงานต่างๆ ในเขตสขุ ภาพท่ี 12 3. เป็นหน่วยวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลระดับเขตสุขภาพ ที่มีความน่าเชื่อถือ รวดเร็ว และ ครอบคลุมในหลากหลายประเด็น 4. เป็นหน่วยงานที่มีข้อมูลระดับเขตสุขภาพสำหรับการบริหารจัดการทรัพยากรสาธารณสุข อาทิ ขอ้ มลู งบประมาณประจำปี ขอ้ มลู อาคารสถานบรกิ าร ข้อมลู บุคลากร ข้อมูลสถานะทางการเงิน ขอ้ มูลสุขภาพ 7. วฒั นธรรมองคก์ รหลักพฤตกิ รรมพึ่งประสงค์ 1. การมงุ่ ผลสัมฤทธ์ิ (Achievement Motivation) 2. การบริการทีด่ ี (Service Mind) 3. การส่ังสมความเชี่ยวชาญในงานอาชพี (Expertise) 4. การยึดมั่นในความถกู ตอ้ งชอบธรรม และจรยิ ธรรม (Integrity) 5. การทำงานเป็นทมี (Teamwork) 7. ยุทธศาสตร์การพฒั นาสาธารณสขุ 4 Excellence ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence) ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 บรกิ ารเปน็ เลิศ (Service Excellence) ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 บคุ ลากรเปน็ เลศิ (People Excellence) ยุทธศาสตร์ที่ 4 บรหิ ารเป็นเลศิ ดว้ ยธรรมาภบิ าล (Governance Excellence) แผนงาน/โครงการ และตัวชี้วัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของกระทรวงสาธารณสุขได้ ดำเนินการจัดทำขึ้น ภายใต้แผนปฏิบัติราชการประจำปี โดยผ่านการทบทวน ศึกษา และวิเคราะห์ข้อมูล สถานการณ์ แนวโน้ม ปัจจัยที่ส่งผลต่อระบบสุขภาพ และผลการดำเนินงานในปีที่ผ่านมาอย่างบูรณาการ ร่วมกันระหว่างหน่วยงานในสังกัดและในกำกับกระทรวงสาธารณสุข รวมทั้งให้มีความสอดรับกับยุทธศาสตร์ ชาติ 20 ปีนโยบายรัฐบาล เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ (Sustainable Development Goals: SDGs) แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 แผนการปฏิรูปประเทศ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาตินโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข นโยบายรัฐมนตรีช่วยว่าการ กระทรวงสาธารณสุข และนโยบายปลัดกระทรวงสาธารณสุข สำหรับใช้เป็นกรอบแนวทางในการดำเนินงาน ของหน่วยงานทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาคเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย “ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยงั่ ยืน” 38

รายงานสรปุ ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนักงานเขตสุขภาพที่ ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 เขตสุขภาพที่ 12 มีภารกิจหลักในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ระดับเขตสุขภาพ ที่คำนึงถึงความ สอดคล้องของนโยบายในทุกระดับซึ่งจะช่วยแก้ปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อพัฒนาการสร้างเสริมสุขภาพ ที่สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของประชาชนในพื้นที่ 7 จังหวัด ภาคใต้ตอนล่าง และมุ่งเน้นการยกระดับคุณภาพการบริการด้านสาธารณสุข ให้สามารถเข้าถึงบริการได้อย่าง เทา่ เทียมและครอบคลุม การบริหารงานยุทธศาสตร์ของเขตสุขภาพที่ 12 มุ่งเน้นการขับเคลื่อนนโยบายไปสู่ระดับปฏิบัติการ เป็นกระบวนการสำคัญใน การขับเคลื่อนให้วิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์การพัฒนาของของเขตสุขภาพ ให้บรรลุผลตามที่ตั้งไว้ ซึ่งได้กำหนดแนวทางการถ่ายทอดนโยบายและยุทธศาสตร์ เพื่อสร้างความเข้าใจแก่ ผู้ปฏบิ ตั งิ านในทุกระดบั กอ่ ให้เกิดการขบั เคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบตั อิ ย่างแทจ้ ริง และมีการติดตาม ประเมินผล ท่สี ะดวก รวดเร็ว เพอ่ื เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการบริหารจดั การ ประเด็นยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพ่อื การจดั การเขตสุขภาพท่ีเป็นเลิศ จดุ ยนื ทางยทุ ธศาสตร์ที่ 1 เพ่ิมขีดความสามารถการบริหารจัดการองคก์ รสาธารณสุขใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพสูงสุด เปา้ ประสงค์ 1. เขตสขุ ภาพท่ี 12 การจดั การในรูปแบบพน้ื ท่ี “บา้ นเลขที่ 12/AAA” ได้รบั การพฒั นาและ นำไปปฏิบตั ิอย่างตอ่ เนื่อง 2. เขตสขุ ภาพท่ี 12 มีการพัฒนา ระบบบริหารจัดการด้านการเงินและบญั ชีสถานบรกิ าร 3. เขตสขุ ภาพที่ 12 มกี ารพัฒนาการกำกับและประเมินผล (M&E) ครอบคลมุ ทุกมิติในการ ปฏบิ ัตงิ าน มาตรการ 1. การพฒั นาระบบบรหิ ารเพ่อื การจดั การเขตสุขภาพทเี่ ป็นเลิศ 2. เสรมิ สร้างศักยภาพการให้บรกิ ารของสถานบริการสาธารณสขุ สอดคล้องกับความเช่ียวชาญของ หนว่ ยบริการในพื้นที่ ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 การพฒั นาเครือข่ายระบบบริการสุขภาพแบบไรร้ อยตอ่ จุดยืนทางยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบบริการสุขภาพทุกระดับให้มีคุณภาพมาตรฐาน สอดคล้องกับสภาพ ปญั หาปจั จบุ นั เป้าประสงค์ มีการพัฒนาระบบบริการและสร้างเสริมสุขภาพในเครือข่ายมีคุณภาพมาตรฐานเดียวกัน และมี การเชื่อมโยงการบรกิ ารแบบไร้รอยตอ่ มาตรการ 1.เพิ่มขีดความสามารถของระบบบริการสุขภาพเขตสุขภาพที่ 12 ให้ประชาชนสามารถเข้าถึง บรกิ ารไดอ้ ยา่ งสะดวก เหมาะสม 2.การขยายเครือข่ายความร่วมมือไปยังสังคมชุมชนในการเข้าถึงบริการสุขภาพ และสร้างความ ตระหนักรูใ้ นการดูแลสุขภาพของประชาชน ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 3 พัฒนาระบบสารสนเทศ สู่การเป็นคลังข้อมลู ระดับเขตสขุ ภาพ จุดยืนทางยุทธศาสตร์ที่ 3 มีการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ ให้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ ครอบคลุมและเป็นข้อมูลด้านบริการ เป็นคลังข้อมูลสารสนเทศสุขภาพ ที่มีความ ทันสมัยทุกหน่วยงานในระบบสาธารณสุขในพื้นที่สามารถเข้าถึงได้อย่างสะดวก รวดเรว็ 39

รายงานสรปุ ผลการดำเนินงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนกั งานเขตสุขภาพที่ ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 เป้าประสงค์ 1.มุ่งเน้นการพัฒนาการสาธารณสุขให้เติบโตสู่สังคมดิจิทัล ใช้ประโยชน์จากระบบดิจิทัลรองรับ การใหบ้ ริการสขุ ภาพ และการพัฒนาการบรหิ ารจดั การ 2.พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศด้านสุขภาพเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการระบบบริการ สุขภาพ มาตรการ พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศให้เป็นเอกภาพและการเชื่อมโยงทุกระดับ มุ่งเน้นการพัฒนา คลังขอ้ มูลสขุ ภาพระดับเขต ใหส้ ามารถเขา้ ถงึ ไดส้ ะดวก รวดเรว็ มีมาตรฐานความปลอดภัย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การบรหิ ารจัดการกำลงั คนด้านสุขภาพ จุดยืนทางยุทธศาสตร์ท่ี 4 การพัฒนาและสร้างกลไกเพือ่ เพ่มิ ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจัดการกำลงั คนดา้ นสขุ ภาพ เป้าประสงค์ 1. มีการพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลให้สามารถสร้างกำลังใจและจูงใจให้บุคลากร ทางการแพทย์ และสาธารณสขุ มีความสขุ และเห็นคุณค่าของการทำงาน 2. มีการผลิตและพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์ในทุกระดับอย่างเพียงพอ รองรับการพัฒนาการ บริการสุขภาพส่คู วามเป็นเลิศ มาตรการ 1.เขตสุขภาพที่ 12 มีการวางแผนกำลังคน (HRP) อย่างมีส่วนร่วม ในการวางแผนและจัดสรร บคุ ลากรอย่างเหมาะสม 2. เขตสขุ ภาพท่ี 12 มกี ารบรหิ ารจดั การด้านกำลังคน (HRM) อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพเพ่ือเสริมสร้าง ขวัญกำลงั ใจ 3. เขตสขุ ภาพที่ 12 มีการพฒั นากำลังคน (HRD) ใหม้ ีประสิทธิภาพในการปฏบิ ตั ิงาน รองรับการ พัฒนาการองคก์ รสคู่ วามเปน็ เลศิ 4.เขตสุขภาพท่ี 12 มกี ารสร้างเครือขา่ ยดา้ นกำลังคน (HRN) ใหเ้ ช่ือมโยงทุกระดับ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 5 ส่งเสริมการมสี ่วนร่วมและพฒั นาภาคีเครอื ข่ายสุขภาพ จดุ ยืนทางยทุ ธศาสตร์ที่ 5 พัฒนากระบวนการสร้างความร่วมมือกับภาคเี ครือข่ายสุขภาพใหเ้ กดิ รปู ธรรมสูงสดุ เป้าประสงค์ 1. เขตสุขภาพที่ 12 ภาคีเครือข่ายสุขภาพให้ความร่วมมือและมีส่วนร่วมขับเคลื่อนนโยบาย สุขภาพในการแกป้ ญั หาสาธารณสุขในพน้ื ที่ มาตรการ 1.ขับเคลื่อนด้วยการพัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพระดับจังหวัด Provincial Network Certificate (PNC) 2.สง่ เสริม สนับสนนุ และแสวงหากจิ กรรมการรว่ มมือจากองค์กรสขุ ภาพ ระหว่างประเทศในพื้นท่ี ชายแดน ท่ีเป็นประโยชน์ตอ่ การบรหิ าร และการจดั บริการสขุ ภาพ 3.สร้างและพัฒนาความร่วมมือภาคีเครือข่ายเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานเสริมสร้างความรอบรู้ ด้านสขุ ภาพและพฤติกรรมสุขภาพ 40

รายงานสรปุ ผลการดำเนินงานประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนักงานเขตสุขภาพที่ ๑๒ Annual Report 2021 Regional Health Office 12 ภาพยทุ ธศาสตร์ เขตสุขภาพท่ี 12 ระยะ 3 ปี (ปี พ.ศ.2564 – 2566) 41