146 2.1.1 การสรางวินัยเชิงบวกเป็นเคร่ืองมือในการสงเสริมพัฒนาการและพฤติกรรมที่ไดผล ระยะยาว โดยธรรมชาติ มนุษยแเกิดมาพรอมกับความสามารถท่ีมีขีดจํากัดตามพัฒนาการทั้งทางรางกาย จิตใจ อารมณแ สังคม และสติปใญญา ดังจะเห็นไดจากพฤติกรรมของเด็กทารกที่เพิ่งลืมตาดูโลก จะไม สามารถชวยเหลือตนเองได มีเพียง พฤติกรรมพ้ืนฐาน เพ่ือการมีชีวิตรอด และรอการพัฒนาในลําดับขั้น ตอไปเทานั้น เชน การรองไหเพื่อสื่อสารถึงความตองการทางรางกาย และจิตใจ การใชมือกําสิ่งของที่ แตะอุงมือโดยอัตโนมัติ เพื่อความปลอดภัย หรือการมองเห็น ในระยะประมาณ 1 ฟุต ซึ่งเป็นระยะการ มองเห็นระหวางแมและเด็กทารกตอนใหนมลูก เพื่อสรางสายสัมพันธแ ซ่ึง พฤติกรรมพ้ืนฐานเหลานี้ จะ พัฒนาขึ้นไดจากปใจจัยภายใน ไดแก การเจริญเติบโตของรางกาย จิตใจ และการเรียนรู จาก ประสบการณทแ เ่ี ด็กไดรับของตัวเด็กเอง นอกจากปใจจัยภายในแลว กระบวนการพัฒนาของเด็กยังข้ึนอยู กับปใจจัย ภายนอก คือ การสอนจากสังคมอีกดวย ซึ่งท้ังปใจจัยภายในและปใจจัยภายนอกน้ี มี ความสัมพนั ธกแ นั อยางละเอียดออน และมีผลตอกระบวนการพัฒนาของเด็กควบคูกันไป ไมสามารถแยก ออกจากกันได พฤติกรรมของเด็กจะพัฒนาขึ้น ไดสวนหน่ึงมาจากการเจริญเติบโตของรางกาย แต พฤตกิ รรมทีถ่ กู ท่ีควรตามทสี่ ังคมคาดหวังน้ัน มาจากการสอนจาก คน และสิ่งแวดลอมในสังคม ดังน้ัน ผู เล้ียงดูเด็กปฐมวัยสามารถใชการสรางวินัยเชิงบวกเป็นรูปแบบการเล้ียงดูเด็กที่ เนนการสอน และการ ฝึกฝนท่ีสอดคลองกับพัฒนาการ และศักยภาพของเด็กแตละคน และคํานึงถึงการตอบสนอง ความ ตองการพ้ืนฐานทางจิตใจของเด็กเป็นหลัก เพ่ือปลูกฝใงพฤติกรรมและจิตสํานึกท่ีดีงาม ตามที่สังคม คาดหวงั จนกลายเป็นวินยั ประจาํ ตน และวถิ ใี นการดาํ เนนิ ชวี ติ ตอ ไปในอนาคต 2.1.2 การสรางวินัยเชิงบวกชวยใหผูเล้ียงดูใชเป็นตนแบบพฤติกรรมท่ีดีใหแกเด็กปฐมวัย ธรรมชาตกิ าร เรยี นรขู องเด็กปฐมวัยตง้ั แตแรกคลอด คอื การเรยี นรูจากการสังเกต ซมึ ซบั และเลยี นแบบ พฤติกรรมจากส่ิงแวดลอม รอบตัว ดังจะเห็นไดจากบุคลิกภาพของเด็ก ไมวาจะเป็นลักษณะทาทาง คําพูด การใชนํ้าเสียงในการพูด หรือแมแต วิธีการแกไขปใญหาในชีวิตประจําวัน จะคลายคลึงกับพอแม และผูที่เล้ียงดูใกลชิด ผูเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยในครอบครัว จําเป็นตองตระหนักถึงธรรมชาติการเรียนรูของ เด็กปฐมวัยน้ี และตระหนักถึงพฤติกรรมของตนเองเม่ืออยูกับเด็ก ปฐมวัยอยูตลอดเวลา เนื่องจากการ สังเกต ซึมซับ และเลียนแบบพฤติกรรมน้ัน เป็นกระบวนการเรียนรูตามธรรมชาติ ของเด็กที่ยังไมถูก กลัน่ กรองวา พฤติกรรมใดควรทํา หรอื ไมค วรทํา เหมาะสม หรือไมเหมาะสม กลาวคือ เด็กจะเลียน แบบ พฤติกรรมใดของผูเล้ียงดูก็ได แมวาพฤติกรรมน้ันจะเป็นพฤติกรรมท่ีผูเล้ียงดูตองการใหเด็กเลียนแบบ หรือ ไมก็ตาม ดังนั้น การสรางวินัยเชิงบวกจึงมีความสําคัญในการชวยใหครอบครัวที่มีเด็กปฐมวัยไดนํา วิธีการสรางวินัย เชิงบวกมาใชเป็นแบบแผนในการดําเนินชีวิตประจําวัน เพ่ือเป็นแบบอยางที่ดีใหเด็กได เรยี นรจู ากการสงั เกต ซมึ ซับ และเลียนแบบพฤติกรรมทเ่ี หมาะสม 21.3 การสรางวินัยเชิงบวกเป็นเคร่ืองมือสื่อสารท่ีมีประสิทธิภาพ การสรางวินัยเชิงบวก นอกจากจะ เป็นวิธีการสอน และฝึกฝนเด็กใหมีพัฒนาการและพฤติกรรมท่ีสอดคลองกับธรรมชาติการ เรียนรูของเด็กแลว การ - สรางวินัยเชิงบวกยังเนนถึงการสื่อสารท่ีตอบสนองความตองการพ้ืนฐานทาง
147 จติ ใจของเด็กอีกดวย ตามทฤษฎีลําดับ ข้ันความตองการของอับบราฮัม มาสโลวแ (Abraham Maslow's hierarchy of needs) อธิบายวา ความตองการพ้ืนฐานของมนุษยแเป็นแรงจูงใจในการท่ีจะตัดสินใจทํา พฤติกรรมใด พฤติกรรมหน่ึง ซึ่งความตองการพื้นฐานนี้จะตอง ไดรับการตอบสนองอยางเต็มท่ีกอน มนุษยถแ ึงจะมีแรงจูงใจในการพัฒนาตนเองตอไป ความตอ งการพ้ืนฐานข้ันแรก คือ ความตองการพ้ืนฐาน ทางดานรา งกาย เชน การกนิ อ่ิม นอนหลับ ความสบายตัวไมเจ็บปุวย ท่ีมีผลตอการเรียน และพฤติกรรม ของมนุษยแและความตองการพ้ืนฐานข้ันตอ ๆ ไป จะเป็นความตองการพื้นฐานทางจิตใจของมนุษยแ อัน ไดแก ความปลอดภัย ความรัก ความรูสึกมีคุณคาเป็นสวนหนึ่งของสังคม ซึ่งเป็นองคแประกอบสําคัญใน การเรียน และการพัฒนาตนเอง มีผลตอแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกที่จะทําพฤติกรรมของเด็กอีกดวย ผูเล้ียงดูเด็กปฐมวัยจึง จําเป็นตองตระหนักถึงความตองการพื้นฐานทางจิตใจของเด็ก และรูวิธีการ ตอบสนองความตอ งการพน้ื ฐานทางจติ ใจ ของเด็ก เพ่ือสงเสริมใหเด็กมีแรงจูงใจที่จะพัฒนาตนเองตอไป ดังน้ัน การสรางวนิ ยั เชงิ บวกในครอบครวั ทม่ี ีเดก็ ปฐมวัย จึงมีความสาํ คญั มาก เน่อื งจากเป็นเครื่องมือการ เลี้ยงดูเด็กที่เนนวิธีการการส่ือสารกับเด็กท้ังการส่ือสารทางกาย และ ทางวาจาอยางมีประสิทธิภาพ สามารถชวยใหผูเล้ียงดูเด็กสามารถตอบสนองความตองการพ้ืนฐานทางจิตใจของเด็กได สงผลใหเด็กมี แรงจูงใจที่จะเรียนรูพัฒนาตน และใหความรวมมือกับผูเลี้ยงดู ในทางตรงกันขาม การสรางวินัยเชิงลบ ทั้ง 3 ลักษณะ ไดแก การควบคุมดวยคําพูด การทํารายจิตใจ และการลงโทษทางกาย เป็นการกระตุน อารมณแดานลบ ของเด็ก ทําใหเด็กรูสึกไมปลอดภัย ไมเป็นที่รัก และไมเป็นสวนหน่ึงของสังคม จึงสงผล ใหเด็กมีพฤติกรรมตอตาน เรียกรองความสนใจดวยพฤติกรรมที่ไมเหมาะสม หากความตองการพ้ืนฐาน ทางจติ ใจของเด็กนีย้ งั ไมถกู เติมเตม็ เป็น เวลานาน เดก็ กม็ ีแนวโนมทจ่ี ะเตบิ โตขนึ้ พรอมกับบคุ ลกิ ภาพแบบ กาวรา ว หรือ เก็บกดได 2.1.4 การสรางวินัยเชิงบวกเป็นเครื่องมือปกปูองและรักษาสิทธิข้ันพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ตาม อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก เด็กจะตองไดรับสิทธิจากรัฐและครอบครัว 4 ประการ อันไดแก สิทธิใน การอยูรอด สิทธิที่จะ ไดรับการปกปูองคุมครองสิทธิในการพัฒนา และสิทธิในการมีสวนรวม ดังน้ัน บทบาทหนา ทีข่ องผเู ลีย้ งดูเด็กปฐมวยั จงึ ไมใ ชแคการเล้ียงดูเด็กเทาน้ัน แตตองเป็นการเลี้ยงดูเด็กอยางดี ตามสิทธิที่เด็กจึงมีและพึงได และผูเล้ียงดูจําเป็น ตองพึงระวังการละเมิดสิทธิขั้นพ้ืนฐานของเด็กปฐมวัย อีกดวย ดังน้ัน การสรางวินัยเชิงบวกจึงมีความสําคัญอยางมาก ในการชวยใหผูดูแลเด็กใชเป็นเครื่องมือ ในการเล้ียงเด็กอยางปกปูองและรักษาสิทธิขั้นพื้นฐานของเด็ก เนื่องจากการ สรางวินัยเชิงบวกเป็น วิธีการเลย้ี งดูเด็กปฐมวัยที่เนนตัวเด็กเป็นศูนยแกลาง ไดแก เป็นวิธีการปลูกฝใงพฤติกรรมและ จิตสํานึก ที่ สอดคลองกับพัฒนาการดานตาง ๆ ของเด็กอยางเป็นองคแรวม ไดแก พัฒนาการดานรางกาย อารมณแ- จติ ใจสงั คม สติปใญญา จริยธรรม และคุณธรรม นอกจากนี้ ยังเนนท่ีการตอบสนองความตองการพ้ืนฐาน ทงั้ ทางดา นรา งกาย และจิตใจของเดก็ และทีส่ ําคญั การสรา งวินยั เชงิ บวกเปน็ วธิ ีการเล้ียงเด็กท่ีหลีกเลี่ยง การใชค วามรุนแรงทง้ั ทางวาจา การทาํ รายจติ ใจ และการทาํ รายรางกาย เนื่องจากการสรางวินัยเชิงบวก มาจากแนวความเชือ่ ที่วา เดก็ จะเรียนรไู ดดี บนพืน้ ฐานของสมั พนั ธภาพท่ดี ีในครอบครวั ที่ดี
148 กลาวโดยสรปุ เนือ่ งจากการสรางวนิ ัยเชงิ บวก เป็นรูปแบบการเลีย้ งดเู ดก็ ที่เนนการสอน และการ ฝึกฝนท่ี สอดคลองกบั พฒั นาการและการเรียนรขู องเดก็ ปฐมวยั การสรา งวินัยเชิงบวกจึงเป็นเคร่ืองมือใน การสงเสริมพัฒนาการ และพฤติกรรมของเด็กไดอยางเหมาะสมกับอายุและอยางเต็มศักยภาพของเด็ก แตล ะคนจึงทําใหพฤตกิ รรมเปูาหมาย ไดผ ลระยะยาว การสรา งวินัยเชิงบวกยงั เปน็ รูปแบบการเล้ียงดูเด็ก ท่เี นน ถึงการตอบสนองความตองการพนื้ ฐานของเด็กเป็นหลัก จึงสามารถกระตุนใหเด็กมีแรงจูงใจในการ พัฒนาตน และตัดสินใจมีพฤติกรรมตามที่ผูเล้ียงดูคาดหวัง และสุดทายคือการสรางวินัยเชิงบวก เป็น วิธกี ารเลยี้ งดูเด็กท่ีหลกี เลี่ยงการใชความรุนแรงจึงชวยใหผูเลี้ยงดูสามารถ นําการสรางวินัยเชิงบวกไปใช เพอ่ื สรางสัมพนั ธภาพท่ดี ี ปกปูอง และรักษาสิทธขิ ั้นพนื้ ฐานของเด็ก แตในทางตรงกันขาม การสรางวินัย เชิงลบ เป็นรูปแบบการเลี้ยงดูท่ีเนนการตอบสนองตอพฤติกรรมท่ีไมคาดหวังจากเด็กดวยการควบคุม และการลงโทษ การสรา งวินัยเชิงลบจึงไมสามารถตอบสนองความตองการพื้นฐานของเด็ก และเป็นการ ละเมิดสิทธิขั้นพ้ืนฐานของเด็กอีกดวย ซ่ึงสงผลกระตนใหเด็กมีความเสียหาด และอยากไดแสดงออกมา เป็นพฤติกรรมตอตาน และเรียกรองท่ีไมเหมาะสมในรูปแบบตาง ๆ ซึ่งสงผลกระทบตอการยับยั้ง พฒั นาการของเด็ก 2.2 ความสาคญั ของการสรา้ งวินัยเชงิ บวกตอ่ เดก็ ปฐมวัย สรุปไดด ังนี้ 2.2.1 การสรางวินัยเชิงบวกชวยสงเสริมพัฒนาการและพฤติกรรมเด็กปฐมวัย รูปแบบการ เลีย้ งดู - ปลกู ฝงใ เด็กต้ังแตแ รกเกิดของครอบครัว มีความสําคัญตอคุณภาพชีวิตของเด็กนอยอยางย่ิงยวด เพราะนอกจาก รูปแบบการเล้ียงดูจะมีอิทธิพลตอการสงเสริมพัฒนาการเด็ก ในดานตาง ๆ ไดอยางเต็ม ศักยภาพแลว ยังมีผลตอการยับย้ังพัฒนาการ และความสามารถของเด็กไดอีกดวย (Grogan. 2004; Chang, Olson, same 2011, Bailey & Baines, 2012, Ahmad, Said, & Khan, 2013) ดังนั้น การ สรางวินัยเชงิ บวก จึงมคี วามสาํ คัญ ตอตัวเดก็ เน่ืองจากการสรางวินัยเชิงบวก จะกลายเป็นประสบการณแ ส่ังสมท่ีเด็กใชเรียนรูในการปรับตัวและแสดงออก มาเป็นพฤติกรรม การใชวินัยเชิงบวกจะชวยสอนและ ฝึกฝนเด็กใหสามารถตอบสนองตอส่ิงเรา หรือสงแวดลอม ท้ังภายในตัวเด็กและภายนอกตัวเด็กไดอยาง เหมาะสมตามลําดับขั้นพัฒนาการ และศักยภาพของเด็กตัวอยางเชน ดอก สามารถตอบสนองตอสิ่งเรา ภายในตัวเด็กเองออกมาเป็นพฤติกรรมตามท่ีผูเลี้ยงดูคาดหวัง เมื่อเกิดความรูสึกไมสบาย ตอการ เปล่ยี นแปลงทางรางกายและจิตใจ จะสังเกตไดจากเมื่อฟในของเด็กจะข้ึน เด็กจะรูสึกเจ็บ หงุดหงิด และ รสู ึก ไมป ลอดภัย จึงตอบสนองดว ยการรอ งไห แตเมือ่ ผูเ ลี้ยงดเู ขามาปลอบ เด็กก็สามารถควบคุมอารมณแ และความรสู ึกของ ตวั เองได เนื่องจากเด็กไดเรียนรูและฝึกฝนกับผูเลี้ยงดู รวมทั้งมีความไววางใจในตัวผู เลี้ยงดูดวยวาจะสามารถทําให เขาผานความรูสึกไมสบายนี้ไปได (Murray & Kochainska, 2002, Masterson, 2008, Thanasetkorn, 2009a; Thanasetkorn, 2009b; Kersey & Masterson, 2013) ประสบการณแที่เด็กนอยส่ังสม จะคอย ๆ ถูกหลอหลอมเป็น ทัศนคติของเด็กท่ีมีตอสิ่งแวดลอมทั้งทาง กายภาพ และบคุ คลรอบตวั รวมถงึ ทศั นคติท่ีมีตอการมองโลกใบนีด้ วย
149 2.2.2 การสรางวินัยเชิงบวกชว ยใหเดก็ เรยี นรูพฤติกรรมที่เหมาะสมอยางเป็นธรรมชาติ เด็ก ปฐมวยั มี ความสามารถในการเรยี นรูไดเ ร็วจากการสังเกต ซึมซับ และเลียนแบบพฤติกรรมจากผูคนรอบ ขาง ดังน้ันการสรางวินัย เชิงบวกจึงมีความสําคัญตอพัฒนาการของเด็กมาก เนื่องจากเด็กไดเรียนรู พฤติกรรมท่ีเหมาะสมอยางเป็นธรรมชาติ เด็กจึงไดเห็น ซึมซับ และเลียนแบบพฤติกรรมท่ีเหมาะสม สงผลใหเด็กไมรูสึกวาตนเองกําลังถูกสอน หรือถูกควบคุม ซึ่งเป็นการปูองกันการตอตาน ไมใหความ รว มมอื ของเด็ก 2.2.3 การสรา งวนิ ยั เชิงบวกชวยใหเ ด็กมีพัฒนาการในส่ิงแวดลอมทเ่ี หมาะสม เด็กปฐมวัยจะ เรียนรูได อยางมีประสิทธิภาพ และเต็มศักยภาพสูงสุดในสิ่งแวดลอมท่ีเอ้ืออํานวยตอการเรียนรู ส่ิงแวดลอมที่กระตุนพัฒนาการ ของเด็กปฐมวัย คือ ส่ิงแวดลอมท่ีสามารถตอบสนองความตองการ พ้ืนฐานทางกายภาพ และทางจิตใจของเด็กนอ ยได เชน ความปลอดภัย ความรกั ความไวใ จ ความรสู ึกวา มีคุณคาและเป็นท่ีตองการการสรางวินัยเชิงบวกจึงมีความสําคัญ ตอเด็กปฐมวัยมาก เพราะเป็นปใจจัย สําคัญท่ีมีผลตอคุณภาพความสัมพันธแระหวางเด็กและผูเล้ียงดู (Howes. Leslie & Peisner-Feinberg, 2000; Nathason, Rimm-Kaufman, & Brock, 2009; Paulo, Susan, &Susan 2010 Vittrup & Holden, 2010, Berry, 2012) ซึ่งคุณภาพความสัมพันธแน้ี จะเป็นตัวกระตุนใหเด็กแสดงเป็นพฤติกรรม หลอมรวมเป็นนิสัยสวนตัว บุคลิกภาพของเด็กท่ีดี หรือไมดีตอไปในอนาคตได เชน เด็กท่ีถูกเล้ียงดูใน ครอบครัวท่ี อบอุน ใหความรักเด็กเพียงพอ และมีความยืดหยุนในการสอนและกําหนดขอบเขต จะมี ความสัมพนั ธทแ ี่ดีกบั สมาชกิ ในครอบครวั สง ผลใหเด็กสามารถไวใจคน และใหค วามรว มมือกับผูอื่นไดงาย ในทางตรงกันขาม เด็กที่ถูกเลี้ยงอยู ในครอบครัวท่ีใชความรุนแรงบอยคร้ังจนเด็กไมสามารถพัฒนา ความสัมพันธแที่ดีกับผูเล้ียงดูได จะสงผลใหเด็กมอง โลกในแงราย ข้ีระแวง และไวใจคนอ่ืนยาก ทําใหมี นสิ ยั ชอบใชความรนุ แรงในการแกไขปใญหา หรือมนี สิ ัยหวาดระแวง ขก้ี ลัว ไมสคู น เป็นตน (Wincler De- Leon. Carlton, et al., 1997; Feldman & Klein, 2003; TrentaCosta &Shaw, 2009) 2.2.4 การสรางวินยั เชิงบวกชวยใหเด็กไดรับสิทธิข้ันพื้นฐานของเด็ก ดังที่ไดกลาวมาแลววา เด็กทุกคน ลืมตาดูโลกพรอมความสามารถท่ีจํากัด แตเด็กจะเติบโตเป็นทรัพยากรมนุษยแท่ีสําคัญของ ประเทศชาติและสังคมโลก ดงั นน้ั เดก็ ทุกคนจึงเกดิ มาพรอมสิทธิ แตเน่ืองจากเด็กปฐมวัยยังไมเขาใจสิทธิ ของตนเองรวมทั้งไมสามารถปกปูอง สิทธิขั้นพื้นฐานของตนเองได การสรางวินัยเชิงบวก จึงมี ความสําคัญตอเด็กมากเหงของ ถูกละเมิดสิทธิ และไดรับการปกปูองคุมครองสิทธิข้ันพื้นฐานของเด็กใน ทกุ ดา น จะเห็นไดวา ธรรมชาติของเด็กปฐมวัยจะเรียนรู และมีพัฒนาการตอเน่ืองอยางมีประสิทธิภาพ และยงั ยืนไดต อ งอาศยั พนื้ ฐานความสมั พันธแที่ดี และบรรยากาศท่ีเอ้ือตอการเรียนรู ดังน้ัน การสรางวินัย เชงิ บวก ตอ ตวั เดก็ ปฐมวัยมากในเร่ืองของการสงเสรมิ พฒั นาการอยา งมคี ุณภาพ และการปกปูองคุมครอง สิทธขิ ้นั พ้นื ฐาน ใน ขณะที่เด็กปฐมวัยมีความสามารถจํากัด ไมสามารถปกปูองและรักษาสิทธิของตนเอง ได
150 2.เป้าหมายของการสร้างวินัยเชงิ บวกในครอบครวั ที่มีเดก็ ปฐมวยั การสรางวินัยเชิงบวกในครอบครัวที่มีเด็กปฐมวัย ซึ่งในที่น้ีจะขอกลาวถึงการสรางวินัยเชิงบวก ดว ยเทคนคิ 101 (101s Positive Discipline) โดยมีเปาู หมายหลัก 3 ประการ ดังนี้ 1. เพื่อพัฒนาศกั ยภาพสงู สุดของเดก็ ปฐมวยั และพฤตกิ รรมท่พี งึ ประสงค์การสรางวินัยเชิงบวก ดว ยเทคนิค 101 (101s Positive Discipline) เปน็ วิธกี ารเลย้ี งดูเดก็ ปฐมวยั ดว ยความเขา ใจในพัฒนาการ ของเด็ก โดยเนนที่การ ส่ือสาร และการจัดประสบการณแที่สอดคลองกับพัฒนาการโครงสรางหนาที่ของ สมอง 3 สวน ไดแก โครงสรางพ้ืนฐาน จากสมองสวนสัญชาตญาณ หรือ เรปทิเลียนเบรน (Reptilian brain) สมองสว นอารมณแหรือโอลดแแมมมาเลยี นเบรน (Old mammalian brain) และสมองสวนเหตุผล หรือสวนนิวแมมมาเลียนเบรน (New mammalian brain) เพ่ือ กระตุนพัฒนาการสมองดาน กระบวนการคดิ และปลูกฝใงพฤติกรรมที่เหมาะสมกับพัฒนาการ พฤติกรรม และความ ตองการของเด็ก เลก็ มผี ลมาจากการทาํ งานของโครงสรา งสมอง 3 สว น ดงั ที่จะอธบิ ายตอไปนี้ 1.1 สมองสวนสัญชาตญาณ หรือเรปที่เลียนเบรน (Reptilian brain) เป็นสมองสัตวแชนตา หรือสมอง สัตวแเลื้อยคลาน ซึ่งเป็นการทํางานของระบบประสาทในเด็กเล็กทําหนาท่ีพ้ืนฐานงาย ๆ เพื่อ การมีชีวิตรอดเมือแรก คลอด และสามารถพัฒนาตนเองไดตอไปเม่ือเติบโตข้ึน เชน การเตนของหัวใจ การหายใจ และทําหนาท่ีเกี่ยวกับ ประสาทสัมผัส และส่ังใหกลามเนื้อมีการเคล่ือนไหว นอกจากนี้สมอง สวนน้ียังมีหนาท่ีเกี่ยวกับระบบอัตโนมัติ ดวย การรับและเก็บขอมูลที่ไดจากการเรียนรูของสมองสวน อารมณแ เนอ่ื งจากสมองสว นน้จี ะมีพัฒนาการเตม็ ทต่ี ้งั แตแ รก คลอด พฤติกรรมของเด็กสวนใหญจึงแสดง ออกมาเป็นปฏิกิริยางาย ๆ ปราศจากอารมณแ และปราศจากเหตุผล หรือ ท่ีเรียกวาเป็นการกระทําที่มา จากสญั ชาตญาณ และการกระทําเพ่อื การมีชีวติ อยรู อด เชน รอ งไหเ ม่ือตอ งการอาหาร เปน็ ตน 1.2 สมองสวนอารมณแ หรือโอลดแแมมมาเลียนเบรน (Old mammalian brain) เป็นสมอง สัตวแเล้ียงลูก ดวยนมยุคแรก ซึ่งเป็นการทํางานของระบบประสาทที่ซับซอนมากขึ้น ทําหนาที่เก่ียวกับ อารมณแและความรูสึก ข้ันพ้นื ฐาน เชน ดี ไมดี ชอบ ไมช อบ รกั เกลียด โกรธ สขุ เศรา สนุกสนาน อบอุน และยังทําหนาท่ีเก่ียวกับความจํา การเรียนรู และพฤติกรรมของมนุษยแดวย เพื่อชวยใหมนุษยแสามารถ ปรับตัว และปรับพฤติกรรมเขากับสิ่งแวดลอม ได นอกจากนี้ สมองสวนนี้ยังทําหนาที่เก่ียวของกับ ความสัมพันธแของคน ไมวาจะเป็นความสัมพันธแระหวางแมกับลูก ผูหญิงกับผูชาย คนในครอบครัว เด็ก กับผูใหญ เด็กกับคนในสังคม เนื่องจากสมองสวนน้ีจะมีพัฒนาการเต็มที่ตั้งแต แรกคลอดเชนเดียวกับ สมองสวนสัญชาตญาณ พฤติกรรมของเด็กปฐมวัยสวนใหญ จึงมาจากการใชอารมณแ และความ รูสึก แสดงออกมาเป็นพฤติกรรมตามสญั ชาตญาณ เชน หากเดก็ ไดร บั ประสบการณทแ ี่ไมด ีจากผเู ลีย้ งสมองสวน นี้จะ แปลความรูสึกออกมาเป็นความเครียด ไมมีความสุข และจดจําผูเลี้ยงดูไวดวยความรูสึกท่ีไมดี เม่ือ เจอผูเลีย้ งดู เดก็ อาจจะรอ งไหหวาดกลัว หรือเกรยี้ วกราด ไมใ หค วามรวมมือ และเม่ือเจอคนท่ีมีลักษณะ หรือพฤติกรรมท่ีสอดคลอง กับความทรงจําท่ีไมดีเก่ียวกับผูเล้ียงดู สมองสวนอารมณแนี้ก็จะทํางาน แปล ผลใหเดก็ รสู กึ ไมช อบ และแสดงออกมา เป็นพฤติกรรมท่ไี มเหมาะสม เปน็ ตน
151 1.3 สมองสวนเหตุผล หรือสวนนิวแมมมาเลียนเบรน (New mammalian brain) เป็น สมองสตั วเแ ลี้ยง ลูกดวยนมยคุ ใหม ซงึ่ เปน็ การทํางานของระบบประสาทท่ซี บั ซอ นสูงสุด ทําหนา ท่ีเก่ียวกับ ความรูสึกนึกคิด การเรียนรู สติสัมปชัญญะ และรายละเอียดท่ีมีความสลับซับซอน สมองสวนนี้ทําให มนุษยแแตกตางจากสัตวแช้ันต่ํา และสัตวแเลี้ยง ลูกดวยนมยุคแรก เพราะเป็นสมองท่ีเก่ียวของกับความคิด สรางสรรคแ การคิดยืดหยุน การคิดวิเคราะหแ ความฉลาดความรัก ความเมตตา ความรูสึกเห็นอกเห็นใจ ผูอ่ืน และความคิดทางดานปรัชญา ศาสนา สมองสวนน้ีจะ เต็มที่เมื่ออายุ 25 ปี ชวยใหมนุษยแมีการ พัฒนา รูจักคิดหาหนทางท่ีจะเอาชนะธรรมชาติ ควบคุมคนอื่น และคาง สิ่งแวดลอมรอบตัว ซึ่ง พฤตกิ รรมของเดก็ สว นใหญจะแสดงออกมาจากสมองสว นน้ีตามศักยภาพของอาย ประสบการณแเรียนรูที่ ไดส ะสมเอาไว จะเห็นไดวาพฤติกรรมของเด็กปฐมวัยมาจากการทํางานของโครงสรางสมอง 3 สวนท่ีมี พัฒนาการแตกตาง กัน ในขณะที่สมองสวนสัญชาตญาณ และสมองสวนอารมณแของเด็กพัฒนาเต็มที่ ต้งั แตแ รกคลอด สามารถทํางานได อยางเต็มท่ี แตสมองสวนเหตุผลจะพัฒนาเต็มท่ีเม่ืออายุ 25 ปี จึงไม นาแปลกใจวาพฤติกรรมของเด็กปฐมวัยสวนใหญ มาจากการทํางานของสมองข้ันต่ํา คือ สมองสวน สัญชาตญาณและสมองสวนอารมณแ ซ่ึงเปูาหมายของการใชเทคนิค การสรางวินัยเชิงบวก คือ เพ่ือ กระตนุ พัฒนาการสมองแตละสวนใหทาํ งานไดอยางเต็มศักยภาพเด็กสามารถควบคุม อารมณแ และแสดง ออกมาเป็นพฤติกรรมพึงประสงคแ แทนการแสดงพฤติกรรมออกมาจากสัญชาตญาณได ซ่งึ ความ สามารถ ในการควบคุมอารมณแ และความตองการ เป็นทักษะพื้นฐานของการตอยอดในการกระตุนพัฒนาการ สมอง สว นเหตุผลในลาํ ดบั ตอไปอีกดวย 2. เพื่อสร้างความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองให้แก่เด็กปฐมวัย การสรางวินัยเชิงบวกดวยเทคนิค 101 (101s Positive Discipline) เป็นวิธีการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยท่ีพัฒนาข้ึนมาจากทฤษฎีลําดับข้ันความ ตอ งการของมาสโลวแ (Maslow's hierarchy of needs theory) เพอ่ื ใหผูเล้ียงดูเด็กปฐมวัยในครอบครัว เขา ใจความตองการพน้ื ฐานทาง จิตใจ และสามารถมีปฏิสัมพันธแ และสื่อสารกับเด็กเพ่ือตอบสนองความ ตองการพื้นฐานทางจิตใจของพวกเขาได มาสโลวแไดแบงลําดับขั้นความตองการพื้นฐานของมนุษยแ ออกเปน็ 5 ขนั้ ไดแก 2.1 ความตองการทางรางกาย (Physiological needs) เป็นความตองการพ้ืนฐานเพื่อการ อยูรอด เชน ความหิว ความกระหาย ความตองการพักผอนมนุษยแทุกคนจึงตองการน้ํา อากาศ ที่อยู อาศยั หากไมไดร บั การตอบสนอง ความตองการน้ี กจ็ ะมแี รงจูงใจใหม นุษยมแ พี ฤติกรรมขวนขวาย 2.2 ความตองการความมั่นคง ปลอดภยั (Safety needs) เปน็ ความตอ งการสภาพแวดลอม ที่ไมเป็น อันตรายตอทั้งรางกาย และจิตใจ เชน การเป็นอิสระจากความกลัว การบังคับ ขูเข็ญ ความ ตอ งการทีจ่ ะควบคุม ส่ิงแวดลอม และไดรับการปกปูองคุมกัน ความตองการความมั่นคง ปลอดภัยนี้ จะ เกดิ ข้ึนหลงั จากท่คี วามตอ งการ ทางรา งกายไดรับการตอบสนองอยางเตม็ ท่ี สมาํ่ เสมอแลว
152 2.3 ความตองการความรัก และเป็นสวนหนึ่งในสังคม (Love and social needs) เป็น ความตองการการ ยอมรับวาตนเป็นคนสําคัญ เป็นที่ยอมรับของกลุม ตองการเป็นอิสระจากความเหงา โดดเดี่ยวและไมมีเพอื่ น ตองการ ความรัก ความอบอุน ความใกลชิดผูกพัน และการเป็นสมาชิกของกลุม ใดกลุมหน่ึง หรือหลายกลุม เป็นตน ความ ตองการความรักและเป็นสวนหน่ึงในสังคมน้ีจะเกิดขึ้น หลงั จากมคี วามม่นั คงปลอดภัยในชวี ติ แลว 2.4. ความตองการที่จะรูวาตนเองมีคา (Esteem needs) เป็นความตองการที่จะประสบ ความสาํ เรจ็ ความ ตองการใหผ ูอนื่ เห็นวาตนเองมคี วามสามารถไดรับการยกยอ งชื่นชม และมีสวนรวมใน การตัดสินใจ ความตองการท่ี จะรูวาตนเองมีคาจะเกิดขึ้นหลังจากไดรับความรัก และการยอมรับเป็น สวนหน่ึงในสังคมแลว หากความตองการน้ีได รับการตอบสนอง ก็จะทําใหเกิดการนับถือตนเอง มีความ ม่ันใจในตนเอง เห็นตนเองเปน็ คนมีประโยชนแ แตหากไมได รับการตอบสนองแลว ก็จะทําใหเกิดปมดอย และมองโลกในแงร าย 2.5 ความตองการเติมความสมบูรณแใหชีวิต (Self-actualization needs) เป็นความ ตองการพัฒนาตนเอง เพื่อเติมเต็มศักยภาพ และเปูาหมายสูงสุดในชีวิตของตนเอง สามารถรูจั ก ความสามารถของตนเอง พ่ึงพาตนเอง กลาคิด กลาตัดสินใจเลือก และคิดสรางสรรคแส่ิงที่ดีใหเกิดข้ึนใน ชีวติ ตัวเอง และสังคม ความตองการน้ี ถอื เปน็ ความ ตอ งการระดบั สูง ที่จะเกิดขึ้นไดต อเมือ่ ความตองการ พน้ื ฐานท้ัง 4 ระดบั ไดรบั การตองสนองอยา งไมขาดแคลนแลว จะเหน็ ไดว า แรงจูงใจท่ที าํ ใหมนษุ ยมแ ีพัฒนาการ และความกา วหนา ตอ งมาจากการเติมเต็มความ ตองการพื้นฐานทางรางกายและทางจิตใจกอน ดังนั้น เปูาหมายของการใชวินัยเชิงบวก คือเพ่ือสราง ความรสู กึ มีคณุ คาในตนเองใหแกเด็กปฐมวยั โดยการตอบสนองความตองการพื้นฐานของเด็ก โดยเฉพาะ ความตองการพื้นฐานทางจิตใจ เมื่อเด็กมีสัมพันธภาพกับผูเลี้ยงดูแลว เด็กจะมองเห็นคุณคาในตนเอง และมีแรงจูงใจในการตอยอดความสามารถและตอบสนองความตองการของตนเองในข้ันตอนตอไปที่มี ความซบั ซอนมากย่ิงข้ึน 3. เพอื่ เสรมิ สรา งใหเ ดก็ มที กั ษะทางอารมณแ สงั คม จิตใจ และคุณธรรม การสรางวินัยเชิงบวกจะ เนน ทักษะ ทต่ี อ งการสง เสรมิ และใหเ ดก็ ฝึกฝนทักษะที่เป็นระยะวิกฤตของพัฒนาการในชวงเด็กปฐมวัยท่ี สาํ คัญ ไดแกท กั ษะทาง อารมณแ จิตใจ สงั คม และคุณธรรม ซึ่งสามารถแบงออกเป็น 3 คณุ ลักษณะดังน้ี 3.1 การควบคุมตนเอง (Self-control) เป็นความสามารถในการควบคุมตนเองใหมี พฤตกิ รรมบรรลุ ตามเปาู หมายอยางเหมาะสม ซ่ึงความสามารถนี้อาศัยการทํางานของสมองสวนอารมณแ เป็นสวนใหญในการควบคุม อารมณแ ความรูสึกตนเอง รวมถึงการตะหนักรูถึงอารมณแ ความรูสึก และ ความคาดหวังของคนอ่ืน คุณลักษณะนี้ เป็นทักษะทางอารมณแและสังคมขั้นพื้นฐานที่สําคัญในการ ปลูกฝใงเด็กตั้งแตเยาวแวัย เพื่อตอยอดในการเสริมสราง คุณลักษณะท่ีดีในขั้นตอไป (Thanasetkorn, 2009a; Thanasetkorn, 2009b)
153 3.2 ความภาคภูมิใจในตนเอง (Self-esteem) เป็นความตระหนักรูวาตนเองมีความสําคัญ อยา งไร มีความสําคญั ตอ ใคร มีความสามารถในเรื่องอะไร และมองเหน็ คณุ คา ในตนเอง ซ่ึงความสามารถ นี้ นอกจากอาศัย การทํางานของสมองสวนอารมณแในการควบคุมตนเองใหมีพฤติกรรมท่ีเหมาะสม และ สามารถสรางปฏิสัมพันธแที่ดีกับ คนอ่ืนไดแลว ยังอาศัยการทํางานของสมองสวนเหตุผลในการวิเคราะหแ ความสัมพันธแกับบุคคลภายนอกเพ่ือสะทอน ความสามารถ ความสําคัญ และคุณคาในตนเอง คุณลักษณะของความภาคภูมิใจในตนเองนี้ เป็นการยกระดับจิตใจ ข้ันพื้นฐานท่ีสําคัญเพื่อใหเด็กปฐมวัย ใชเป็นฐานในการพัฒนาตนเองในทางสรางสรรคแตอไป (Thanasetkorn, 2009a; Thanasetkorn, 2009b) 3.3 ความเคารพตนเองและผูอ่ืน (Self-respect and respect for others) เป็น ความสามารถในการเขาใจ ยอมรับ และเคารพในความเหมือนและความตางของตนเองและผูอื่น ซ่ึง ความสามารถนีอ้ าศัยการกระตนุ การทาํ งาน ของสมองสวนเหตุผลมาก ในการวิเคราะหแทาํ ความเขาใจกับ ความเหมือน ความตางของตนเองกับบุคคลอื่น รวมถึง การคิดแกไขปใญหา และแสดงพฤติกรรมออกมา อยา งเคารพตนเองและผอู ่นื ซึง่ การเคารพตนเองและผอู ่นื นเี้ ปน็ คุณลกั ษณะพ้นื ฐานทางคุณธรรมทสี่ าํ คัญ มากในการกระตุนพัฒนาการต้ังแตปฐมวัย โดยเร่ิมจากสังเกตความเหมือน ความตางอยางงาย เช น รูปลกั ษณแภายนอกตามศักยภาพพฒั นาการเรียนรู และความเขา ใจของเดก็ กอนจะตอยอด เป็นคุณธรรม ทีม่ ีความสลับซบั ซอ นขึ้น เชน การเคารพและยอมรับในความเห็นตาง เป็นตน (Thanasetkorn, 2009a; Thanasetkorn, 2009b) จะเห็นไดวา เด็กปฐมวัยไมไดเกิดขึ้นมาพรอมกับทักษะดานอารมณแ สังคม จิตใจ และคุณธรรม แตเป็น พัฒนาการท่ีมีความสอดคลองกับพัฒนาการสมอง ดังนั้นเปูาหมายของการใชการสรางวินัยเชิง บวก คอื การเสรมิ สรา ง ทักษะทางอารมณแ สังคม จติ ใจ และคณุ ธรรมใหแ กเ ด็กปฐมวยั ซ่งึ คุณลกั ษณะท้ัง 3 ดา นทกี่ ลา วมาขา งตน เป็นความ สามารถทีต่ อ งไดรับการสอนและมปี ระสบการณแรว มกบั ผูเลย้ี งดู จากการรวบรวมองคคแ วามรูและงานวจิ ยั จากสหวิชาการ เรอ่ื งพัฒนาการตามธรรมชาติ ผูเขียนได นํามา สังเคราะหแรวมกับการสงเสริมพัฒนาการของเด็กดวยหลักการสรางวินัยเชิงบวกของ 101 เทคนิค การสรา งวนิ ัย เชิงบวกทถ่ี กู พัฒนาโดยเคอรแซยี แ โมเดลหลักการสรางวินัยเชิงบวกดวยเทคนิค 101 เพื่อพัฒนาการสมองและพฤติกรรม เป็นการ อธบิ ายการ ทาํ งานของเทคนิคการสรางวินยั เชิงบวกทตี่ อบสนองตอ พฤติกรรมดวยความเขาใจพัฒนาการ ของเดก็ ปฐมวัย วา พฤติกรรมของเด็กเล็กจะแสดงออกมาจากการทํางานรวมกันของโครงสรางสมองท้ัง 3 สวน และความตองการพนื้ ฐาน ทางจิตใจ โดยเฉพาะอยางยิ่ง พฤติกรรมของเดก็ ปฐมวยั สว นใหญจะมา จากการทาํ งานของโครงสรา งสมองสวน สัญชาตญาณและสมองสวนอารมณแ เนื่องจากมีการเจริญเติบโต และใชง านไดอ ยา งเต็มที่ตง้ั แตแรกคลอดเด็กเลก็ จงึ มักแสดงพฤติกรรมออกมาตามอารมณแและความรูสึก ทเ่ี กิดจากความตอ งการพ้ืนฐานทั้งทางรางกายและจิตใจ ดังน้ัน เทคนิคการสรางวินัยเชิงบวกจะเป็นการ สอนและฝึกฝนทักษะทางอารมณแ สังคม จิตใจ และคุณธรรมที่สอดคลองกับ พัฒนาการของเด็กปฐมวัย
154 จงึ กลา วไดวา เทคนคิ การสรางวินยั เชิงบวกถกู พัฒนาข้ึนมาเพ่ือชวยตอบสนองความตองการ พื้นฐานของ เด็กเล็กและพัฒนาการตามการทํางานของสมองสวนสัญชาตญาณ และเพื่อสงเสริมทักษะทางอารมณแ สังคม ตามการทํางานของสมองสวนอารมณแ ใหสามารถควบคุมอารมณแ ความรูสึกที่เกิดข้ึนภายในตาม สัญชาตญาณ ใหแสดงออกมาเป็นพฤติกรรมท่ีเหมาะสม เป็นที่ยอมรับในสังคมไดซ่ึงการรูจักควบคุม อารมณแน้ี จะเป็นพ้ืนฐานตอยอด ในการกระตุนสงเสริมใหเด็กปฐมวัยสามารถยกระดับจิตใจ และมี พัฒนาการดานคุณธรรม ซ่ึงเป็นการทํางานของ สมองสวนเหตุผลจากขั้นพ้ืนฐานตอไปจนถึงข้ัน สลบั ซับซอนไดอีกดวย 3.หลกั การสรา้ งวนิ ยั เชิงบวกเพอื่ เสรมิ สรา้ งสมั พนั ธภาพในครอบครัวทีม่ เี ดก็ ปฐมวยั หลกั การสรางวินยั เชงิ บวกดวยเทคนคิ 101 (The 101s: A Guide to Positive Discipline) เพื่อ เสริมสราง สัมพันธภาพที่ดีครอบครัวเป็นรากฐานของการสรางวินัยเชิงบวกเพ่ือสงเสริมพัฒนาการและ การเรียนรขู องเด็กอยางมี ประสิทธิภาพ เน่ืองจากความสัมพันธแที่ดีนี้ จะชวยเสริมสรางบรรยากาศที่เอ้ือ ตอ การเรียนรู ดังน้ัน หลักการสรางวินัย เชิงบวกท่ีสําคัญ คือ หลักการสื่อสารที่สามารถตอบสนองความ ตองการพื้นฐานของบุตรหลานปฐมวัยเพ่ือใหบรรลุ พฤติกรรมเปูาหมายตามท่ีครอบครัวคาดหวัง ซ่ึง ประกอบไปดวยการใชภาษากาย และภาษาพูด (MasterSon, 2008 Thanasetkorn, 2009a; Thanasetkorn, 2009b; Pichitkusalachai, et al., 2012; Suthipan, 2012; Kersey & Masterson, 2013) ดงั นี้ 1. หลักการมองตา (Eye-levelprinciple) เป็นการลดระดับตัวลงใหอยูในระดับสายตาเด็ก และมองตาเด็กทุก คร้ังท่ีมีการพูดคุยสื่อสารเลนและมีปฏิสัมพันธแกับเด็ก หลักการนี้จัดเป็นภาษากาย เมอื่ สอ่ื สารออกไปแลว มผี ลทําให เดก็ เล็กรสู กึ ปลอดภยั รสู กึ มเี กยี รติ และรูสึกมีตัวตน เม่ือผูเลี้ยงดูเด็กใช หลกั การมองตาเด็กรวมกับการส่ือสารดว ย คําพูดแลวจะชวยใหเด็กปฐมวัยไดรับสารท่ีเราตองการส่ือเขา ไปอยางเต็มท่ีทําความเขาใจกับส่ิงท่ีเราตองการส่ือสารได เร็วข้ึนและตอบสนองไดเร็วข้ึนเนื่องจากการ มองตาเป็นการชว ยควบคุมสมาธิของเด็กใหอยูกับส่ิงท่ีผูเลี้ยงดูตองการ สื่อสาร อีกท้ังการมองตา ยังเป็น การใหความสนใจกับเดก็ อยางออนโยนและใหความสําคัญ ที่สําคัญ คือ การมองตา ขณะส่ือสารกับผูอ่ืน ยังเป็นทักษะสังคม และเป็นบุคลิกภาพท่ีพึงประสงคแ ดังนั้น เม่ือผูเล้ียงดูใชหลักการมองตากับ เด็ก ปฐมวัย จะชวยสงเสริมใหเด็กมีพฤติกรรมมองตาคูสนทนาดวย โดยท่ีเด็กไมรูตัววากําลังถูกสอนอยู จะ เห็นได วา หลักการมองตานี้สามารถตอบสนองความตองการพื้นฐานดานจิตใจของเด็กปฐมวัย และใน ขณะเดียวกนั ยงั ชวย ของเด็กปฐมวยั อกี ดวย สอนและฝึกฝนพฤติกรรมการมองตา ซึ่งเป็นพฤติกรรมท่ีพึง ประสงคแ เหมาะสมกบั พฒั นาการตามวยั และศกั ยภาพของเด็กปฐมวยั อกี ดวย ตวั อย่างความสาเรจ็ ของการใชห้ ลกั การมองตา นองคุนหมิง เด็กผูชายวัย 2 ขวบ มีพฤติกรรมไมอยูนิ่ง และไมปฏิบัติตามที่คุณแมบอก เชน ให เกบ็ ของเลน นองคุนหมิงก็จะน่ังเลนของเลนตอไมสนใจท่ีแมพูด เมื่อแมเดินมาชวยเก็บ นองคุนหมิงก็จะ วิ่งไปเลนอยา งอืน่
155 หลังจากแมนองคุนหมิงเปลี่ยนวิธีจากการพูดลอยๆ ไมมองตานองคุนหมิง มาเร่ิมตนใชหลักการ มองตา โดย การนง่ั คุกเขา จบั มอื นองคนุ หมงิ และมองตานอ งคุนหมิงเอาไว ในขณะที่บอกนองคุนหมิงวา “เกบ็ ของเลนนะครบั ” แม นองคุนหมิงสังเกตเห็นปฏิกิริยาตอบรับของคุนหมิงในทางที่ดีข้ึน คือ คุนหมิง ตั้งใจฟใง และถามเหตุผลวาทําไมตองเก็บ ไมวิ่งหนีแมไปเหมือนแตกอน บางคร้ังนองคุนหมิงยังมีการ ตอรอง ขออนญุ าตแมเ ลนของเลน ตอ อกี สักครูดวย เมอ่ื เลน เสรจ็ ตามสญั ญานอ งคุนหมงิ กเ็ ก็บของเลนเอง แมนองคุนหมิงพบวาการมองตาลูกทําใหนองคุนหมิงมีอารมณแเย็นขึ้นเขาใจส่ิงที่แมบอกมากข้ึน และ ใหความรวมมือทําตามท่ีแมบอก ซ่ึงชวยใหบรรลุพฤติกรรมท่ีเปูาหมายระยะสั้นไดอยางมี ประสิทธภิ าพ สว น พฤติกรรมเปูาหมายในระยะยาว แมค ุนหมงิ พบวา คุนหมิงฟใงแมมากขึ้น มีสมาธิมาก ขึ้น มีอารมณแดี ยิ้มแยม เลนกับแมมากขึ้น และใหความรวมมือกับแมในเรื่องอื่น ๆ อีกดวย ทําใหนอง คนุ หมิงเป็นเด็กทีส่ อนงาย มี พัฒนาการดี และมรี ะเบยี บวนิ ยั ในเรื่องการเก็บของเลนแลว ซ่ึงแมนองคุนห มิงพอใจกบั พฤติกรรมพึงประสงคแ น้ีของนอ งคนุ หมงิ มาก (ขอขอบคุณเรอ่ื งเลา จากคณุ จิตรวรรณ รัตนคูณชัย (คุณแมนอ งคนุ หมิง) 2. หลกั การแสดงความเข้าใจ (Validation principle) เป็นการพูดชื่ออารมณแ หรือความรูสึก ของเดก็ และ ตามดว ยพฤตกิ รรมของเด็กทส่ี มั พนั ธแกับอารมณคแ วามรูส กึ นั้นออกมา เชน หนูกําลังรูสึกงวง นอน หนูเลยรองไห และ ไมอยากฟใงพอ จากตัวอยางจะเห็นวา ชื่อความรูสึก คือ งวงนอน และ พฤติกรรมที่สัมพันธแกับอารมณแงวงนอน คือ รองไห ไมอยากฟใงพอพูด เป็นตน หลักการน้ีจะชวย ตอบสนองความตองการพ้ืนฐานทางจิตใจของบุตรหลาน คือ ความมั่นคงทางอารมณแ และจิตใจ ใน ขณะเดียวกนั ยังเปน็ การเสริมสรางพฤตกิ รรมเปาู หมายคอื การเรียนรจู ักอารมณแ และความรูสึกของตนเอง รวมท้ังเรียนรูวิธีการจัดการและแสดงอารมณแความรูสึกออกมาเป็นพฤติกรรมที่พึงประสงคแ เนื่องจาก หลักการแสดงความเขาใจน้ีจะชวยใหเด็กรับรูวาผูเลี้ยงดูในครอบครัวมีความเขาใจในตัวเขา และเด็กได เรียนรูคําศัพทแท่ีเก่ียวของกับอารมณแ ความรูสึกของเขาเอง ซึ่งการรู และเขาใจคําศัพทแนี้จะชวยใหเด็ก สามารถสื่อสาร กับตัวเอง และใชประสบการณแเดิมในการควบคุมอารมณแออกมาเป็นพฤติกรรมที่ เหมาะสมไดงายข้ึน รวมถึงสามารถ ส่ือสารบอกความตองการ และความรูสึกของตนเองใหสมาชิกใน ครอบครัวไดรับรู ซ่ึงนอกจากจะชวยใหครอบครัว สามารถเขาใจความตองการ และความรูสึกของเด็ก เพ่ือตอบสนองความตองการพ้ืนฐานไดถูกตองแลว ครอบครัวยัง สามารถใหคําแนะนําแกบุตรหลานใน การแสดงอารมณแ ความตองการนน้ั ออกมาเป็นพฤติกรรมที่เหมาะสมอีกดว ย จึงเห็นไดว า หลกั การแสดง ความเขาใจซ่ึงเป็นวิธีการสะทอนอารมณแและความรูสึกของเด็กควรนํามาใชแทนการตอวา การปฏิเสธ และการเพิกเฉยตอความตองการของเด็ก เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพในครอบครัวและพัฒนาการท่ี เหมาะสมตามวัยของเด็ก ตวั อยา่ งความสาเร็จของการใช้หลักการแสดงความเขา้ ใจ เมอ่ื แมนองดโี ดปฏิเสธที่จะซือ้ ของเลนชิ้นใหมให นอ งดโี ด เดก็ ชายท่มี อี ายุเพียง 3 ขวบคร่ึง ก็รูวิธี ที่จะได ของเลนมาดวยการกรีดเสียงรองไหเสียงดังมาก ยิ่งแมนองดีโดบอกใหหยุดรอง นองดีโดก็จะย่ิง
156 รองเสียงดังข้ึน และ น่ังลงไปท่ีพื้นไมยอมเดินตอ ทําใหคุณแมตองยอมตัดใจซื้อให และในบางคร้ังก็จบ ดว ยการตี และการฉดุ กระชากนอ ง ดโี ดขึน้ รถกลบั บาน เม่ือความโกรธแมนองดีโดหายไป ความรูสึกผิดก็ จะเขา มาแทนที่ ทาํ ใหค ณุ แมใ จออนซ้ือของเลน ชิ้นใหมใหนองดีโดในคร้ังตอไปเพ่ือทดแทนความรูสึกผิด ทต่ี นเองตลี ูก หลังจากแมนองดีโดใชหลักการแสดงความเขาใจ แทนการตอวา การหาม หรือการเงินเฉยโดย การพดู วา “แม เขาใจคะวา หนู อยากไดของเลนช้ินน้ัน และโกรธท่ีไมไดซื้อของเลนชิ้นนั้น หนูเลยรองไห เสียงดัง” แมนองดีโดสังเกตวา นองดีโดรองไหเสียงเบาลงทันทีเพ่ือฟใงส่ิงท่ีแมพูด ระดับอารมณแรุนแรง ฉุนเฉียวของนองดีไดนอยลง ระดับความกาวราว ของพฤติกรรมก็ลดนอยลงดวย ทําใหคุณแมไมตองตี นอ งดโี ด สามารถจูงมือนองดโี ดกลับบา นไดโ ดยดี แมนองดีโดพบวา หลักการแสดงความเขาใจนี้ ชวยใหบรรลุพฤติกรรมเปูาหมายระยะสั้นได คือ พานอ งดโี ดกลบั บา น หรอื ไปทําธุระอยางอื่นไดโดยท่ไี มตองซื้อของเลน และไมตอ งทะเลาะกบั ลกู ในขณะ ที่การตอวา การหามจะยิ่งเป็นการกระตุนใหลูกยิ่งเสียใจ ตอตาน และอยากไดมากขึ้น สวนพฤติกรรม เปูาหมายในระยะยาว แมนองดีโดพบวาสัมพันธภาพระหวางคุณแม และนองดีโดดีข้ึนมาก นองดีโด สามารถบอกความตองการ ความรูสึก และอารมณแของ ตนเองได รวมทั้งแสดงออกมาเป็นพฤติกรรมที่ เหมาะสม ท่ีสําคัญตอนนคี้ ุณแมไมรูสึกทุกขแใจ และเป็นกังวลเวลาพานองดีโดไปทําธุระที่หางแลว เพราะ นองดีโดใหความรวมมือดี รอคอยเป็น ไมรองไหโวยวายเหมือนแตกอน ทําใหคุณแม และนองดีโดมี ความสขุ มาก ขอขอบคณุ เรอ่ื งเลาจากแมด าว (คุณแมนอ งดโี ด) 3.หลักการเคารพในสิทธิของผู้อื่น (Respect principle) เป็นการยอมรับฟใงความตองการ ความรูส กึ และ ความคิดเหน็ ของเดก็ ปฐมวยั ในครอบครวั ทุกครั้งท่เี ด็กแสดงความตองการ หรือความรูสึก ออกมา รวมท้ังการเปิด โอกาสใหเด็กมีสวนรวมในการแสดงความตองการและความคิดเห็นในเร่ืองของ ตัวเด็กเอง และกิจกรรมในครอบครัว หลักการนี้มีความสําคัญมาก เนื่องจากครอบครัวในประเทศไทย สวนใหญจะครอบครอง และควบคุมตัวเด็กให ทําตามส่ิงท่ีครอบครัวบอก และมองขามอารมณแ ความรูสึก ความตองการ และความคิดเห็นของเด็ก สงผลตอการ ยับยังพัฒนาการดานอารมณแ สังคม และกระบวนการคดิ ขั้นสูงของเด็กปฐมวัย กลาวคือ เด็กอาจจะมีแนวโนมแสดง พฤติกรรมความกาวราว ตอตาน เพ่ือเรียกรองใหครอบครัวสนใจความตองการ และยอมรับตนเอง หรืออาจจะมี แนวโนมแสดง พฤติกรรมหวาดหวนั่ ขีร้ ะแวง และกลายเป็นเด็กเก็บกดได แตหากครอบครวั สามารถยึดหลักการ เคารพ ในสิทธิของผูอื่นเปิดโอกาสใหบุตรหลานแสดงความตองการ หรือความรูสึกรวมท้ังการมีสวนรวมในการ แสดง ความตองการและความคิดเห็นดวยตางๆ สงผลใหเด็กต่ืนตัวตอสถานการณแรอบขางรับผิดชอบตอ ผลที่ตามมาจาก การแสดงความตองการและความคิดเห็นของตนเอง ท่ีสําคัญคือเป็นการปลูกฝใงใหเด็ก รจู ักเคารพสิทธขิ องผูอ ่ืน เมอ่ื ตองมีปฏสิ ัมพันธแกบั ผูอ ่นื ดวย
157 ตวั อย่างความสาเรจ็ ของการใช้หลกั การเคารพในสิทธขิ องผูอ้ นื่ เม่ือยาจะใสเสื้อกันหนาวใหนองมังกร เด็กชายวัย 3 ขวบ นองมังกรปฏิเสธวา ไมยอมใส และ บอกยาวาไม หนาว ยาอมตัวนองมังกรข้ึนมานั่งบนตักรัดตัวนองมังกรแนนขึ้นเพื่อไมใหนองมังกรว่ิงหนี และบังคับใสเส้ือกันหนาว ใหนองมังกร เมื่อนองมังกรลงจากตักยาได ก็กระชากเส้ือกันหนาวออก และ โยนท้งิ ไปทีพ่ ื้น พรอ มพดู ตดั พอ เสียงดงั ใสย า วา “กห็ นูไมห นาว ทาํ ไมไมม ใี ครฟงใ หนเู ลย” หลงั จากท่ยี า และทุกคนในครอบครวั ไดย ินนองมังกรตัดพอ จึงนําหลักการเคารพในสิทธิของผูอื่น มาใชแ ทน การบงั คับใหม ังกรใสเสื้อหนาว โดยไมอารมณแเสียใสนองมังกร ไมตอวาที่มังกรพูดเสียงดัง จับ ไปท่ีหลังมังกรและพบวา นองมังกรมีเหงื่อซึมอยูที่หลัง จึงบอกสมาชิกในครอบครัวทุกคนวานา ขอโทษ นอ งมังกรทันทีท่ไี มฟงใ และพยายามบังคบั มงั กรใสเ ส้อื นองมังกรรับคําขอโทษยา เดินไปหยิบเสื้อหนาวที่ พื้นข้ึน มา แลว พูดกับยาอยา งนุม นวลวา “ยาเก็บไวใ หหนอ ยครับ เดยี๋ วหนูหนาวแลวมาขอยา ใสเ อง” ยาและสมาชิกในครอบครัวพบวา หลักการเคารพเคารพในสิทธิของผูอื่น สามารถชวยใหบรรลุ พฤติกรรม หมายระยะสั้นได คือ รักษาบรรยากาศไมใหเกิดการทะเลาะกันระหวางยาและนองมังกร จะ เห็นไดวาเม่ือนองมังกรไดรับความเคารพในความรูสึกและการตัดสินใจวาจะยังไมใสเสื้อหนาวแลว นอง มังกรสามารถควบคุมอารมณแโกรธของตนเองไดทันที และสามารถคิดตัดสินใจแสดงพฤติกรรมที่พึง ประสงคแดวยตนเอง คือ การเก็บเส้ือหนาวที่ตนเองโยนทิ้งพ้ืนไปฝากยา และแกไขปใญหาโดยการบอกยา วาเขาจะใสเสื้อหนาว เมื่อเขารูสึกหนาว ในขณะท่ีการบังคับใสเสื้อหนาวใน ตอนแรกน้ัน เป็นกระตุน อารมณขแ นุ มวั และความคับขอ งใจใหน อ งมังกร มีผลใหนองมังกรมีพฤติกรรมท่ีไมเหมาะสม คือ กระชาก เสอื้ หนาว ปาเส้ือหนาวลงพืน้ และพูดเสยี งดงั ใสย า เพื่อระบายความขัดแยงในใจของตนเองออกมา สวน พฤตกิ รรมเปูาหมายในระยะยาว พบวา นอ งมงั กรกลา แสดงความคดิ เหน็ สามารถบอกความตองการของ ตนเองได และ ยอมรับฟใงเหตุผล และเคารพการตัดสินใจของสมาชิกในครอบครัวทุกคน แมแตนองชาย ของนอ งมงั กรเอง นอ งมงั กร จะขอหอมแกมนองทุกครั้ง และเม่ือนองชายปฏิเสธไมใหหอม นองมังกรจะ บอกวา “ไมเ ปน็ ไรครบั พี่กรรอได จะให พ่ีกรหอมแลว บอกนะครบั ” ขอขอบคุณเรื่องเลาจาก นางวรนาถ ธันเศรษฐกร (คณุ ยานอ งมงั กร) ที่มา: สว นหน่ึงมาจากรอ ยเอ็ด เคลด็ วิธี สรางเด็กดี มคี วามสขุ จึงเหน็ ไดวา หลักการสรา งวินยั เชิงบวกดวยเทคนิค 101 ท้ังหลักการมองตา หลักการแสดงความ เขาใจ และ หลักการเคารพในสิทธิของผูอื่น ที่เนนการส่ือสารดวยภาษากายและภาษาพูด นอกจากจะ สรางสัมพันธภาพท่ีดีใน ครอบครัวท่ีมีเด็กปฐมวัยแลวยังชวยสงเสริมพัฒนาการและการเรียนรูของเด็ก อยางมีประสทิ ธิภาพ 4.หลักการสรา้ งวนิ ยั เชงิ บวกเพอ่ื เสรมิ สร้างพฤติกรรมเด็กปฐมวัย หลักการสรางวินัยเชิงบวกในครอบครัวที่มีเด็กปฐมวัย เพื่อเสริมสรางพฤติกรรมเด็กปฐมวัยที่ เหมาะสมจําเป็น ตองมีความสอดคลองกับพัฒนาการศักยภาพและธรรมชาติการเรียนรูของเด็กปฐมวัย เพ่ือความมีประสิทธภิ าพและ ประสิทธิผลรวมท้ังรักษาสัมพันธภาพท่ีดีไปพรอมกันดวย ดังน้ัน การสราง
158 วินัยเชิงบวกสําหรับเด็กปฐมวัย จึงตองใช หลักการส่ือสารซึ่งประกอบไปดวยภาษากายและภาษาพูด (Masterson, 2008; Thanasetkorn, 2009a, Thanasettom 2000b Dichitkusalachai et al. 2012. Suthipan, 2012; Kersey & MasterSon,2013) ดงั นี้ 1. หลักการใช้ภาษามือ (Sign language) เป็นการสอนใหเด็กใชมือแสดงออกมาเป็น สัญลักษณแ ทาทาง เพ่ือ สื่อสารความตองการของเด็ก หลักการน้ีสอดคลองกับลําดับข้ันพัฒนาการของ เดก็ คือ เดก็ สามารถควบคมุ กลามเน้ือ แขน กลามเน้ือมือ และน้ิวไดกอนท่ีจะพูด ดังนั้น การสอนใหเด็ก ใชภาษามือในการสอ่ื สาร จะชว ยใหเดก็ เรียนรูท่ีจะ ควบคุมอารมณแตนเอง และส่ือสารความตองการของ ตนเองออกมาเป็นภาษามือ ซ่งึ ทาํ ใหผ เู ลย้ี งดเู ขาใจ และสามารถ ตอบสนองความตอ งการของเดก็ ได 2.หลักการใช้ทางเลือกเชิงบวก (Choice principle) เป็นการเสนอทางเลือกใหเด็กทํา พฤติกรรมเปูาหมาย 2 ทางเลือก กุญแจสําคัญของหลักการนี้คือท้ังสองทางเลือกตองเป็นทางเลือกท่ี ผปู กครองและผเู ลี้ยงดรู บั ไดแ ละ พฤติกรรมเปูาหมายได เชน พฤติกรรมเปูาหมาย คือ ตองการใหเด็กไป อาบน้ํา เมื่อเด็กปฏิเสธ ผูปกครองและครูสามารถเสนอทางเลือกใหเด็กตัดสินใจโดยการถามวา “จะให คุณพอ หรือ คุณแมอาบใหคะ” จะเห็นไดวา ไมวา จะเลือกใหพอ หรือ แมอาบให ก็บรรลุพฤติกรรม เปาู หมายท่ผี ูเลยี้ งดตู อ งการ 3.หลกั การอะไรก่อน อะไรหลัง (When-then principle) เป็นการบอกใหเด็กทําพฤติกรรมท่ี เราอยากใหท ํา กอ นแลว ตามดวยส่ิงท่เี ขาอยากทํา โดยใชคาํ ขนึ้ ตน ประโยควา “เมื่อ” ตามดวยพฤติกรรม ท่ีเราตองการใหเด็กทํากอ น และตอดวยคาํ วา “แลว” ตามดวยสงิ่ ทเ่ี ด็กตอ งการทาํ เชน “เมอื่ หนูเก็บของ เลนเสร็จแลวหนูไปเขาแถวทานขาวไดคะ” เป็นตน เทคนิคน้ี จะชวยลดอารมณแตอตานของสมองสวน สัญชาตญาณ หรือเรปท่ีเลียนเบรน (Reptilian brain) อีกท้ังยังเป็นการสงเสริมพฤติกรรมความ รับผิดชอบ และการอดทนรอคอยดวย จึงเห็นไดวา หลักการสรางวินัยเชิงบวกในครอบครัวที่มีเด็กปฐมวัยเพ่ือเสริมสรางพฤติกรรมเด็ก ปฐมวัย ที่เหมาะสม ทั้งหลักการใชภาษามือ หลักการใหทางเลือกเชิงบวก และหลักการอะไรกอน อะไร หลัง เป็นการส่ือสารอง ประกอบไปดวยภาษากาย และภาษาพูดที่มีความสอดคลองกับพัฒนาการ ศกั ยภาพและธรรมชาตกิ ารเรียนรขู องเดก็ ปฐมวยั สามารถชวยใหเด็กเกิดการเรียนรูและยอมปฏิบัติตาม ชวยในการควบคุมอารมณแ และไมกระตุนพฤติกรรมท่ี ออกมาจากความตองการตามสัญชาตญาณของ เด็ก 5.แนวปฏบิ ตั ิการสร้างวินัยเชงิ บวกในครอบครัวที่มเี ด็กปฐมวยั อายแุ รกเกิดถึง 3 ปี เด็กทารกแรกเกิดจนถึงอายุ 3 ปี ยังเป็นวัยท่ีมีประสบการณแนอย และรูสึกใหมกับโลกใบน้ี จึง ตอ งการความ รกั และความอบอุนมาก ดงั นัน้ แนวปฏิบัติการสรางวินัยเชิงบวกสําหรับครอบครัวท่ีมีเด็ก ปฐมวยั ในวยั แรกเกดิ 3 ปี จงึ เนน เร่ืองการสรางสายสัมพันธแที่ดีเพื่อสรางความรูสึกมั่นคงปลอดภัยทั้งทาง รางกาย ก ซึง่ เป็นการปูพ้ืนฐานใหเด็กเกิดความรูสึกไววางใจ เช่ือมั่นในตัวผูเลี้ยงดูรวมถึงไวใจโลกใบใหม
159 น้ีดวย (Nelsen, et al., 2007; Masterson, 2008; Thanasetkorn, 2009a; Thanasetkorn, 2009b; Kersey & Masterson, 2013) การสรางวินัยเชิงบวกสําหรับเด็กปฐมวัยในชวงวัยแรกเกิดจนถึงอาย 3 ปี มีแนวปฏิบัติสําคัญ 5 แนวทางดงั นี้ 1. กาหนดเป้าหมายระยะส้ันและตั้งเป้าหมายระยะยาว แนวปฏิบัติในสรางวินัยเชิงบวก ลักษณะนี้เป็นการ ปฏบิ ัติใหบรรลเุ ปูาหมายระยะสน้ั ๆ เพอ่ื ไปใหถึงเปาู หมายระยะยาว ดังน้ัน ครอบครัว ที่มเี ดก็ ปฐมวัยในชว งวัย แรกเกดิ จําเปน็ ตอ งระลกึ ไวเ สมอวา เปูาหมายระยะยาวคือ ความสัมพันธแที่ดีการ มคี วามรกั ความหวงใย ความไวใ จและ เอ้ืออาทรกันในครอบครัว แตการท่ีจะไปใหถึงเปูาหมายระยะยาว ไดนั้น จําเป็นจะตองผานเปูาหมายระยะสั้น ๆ กอน ซึ่งก็คือ การตอบสนองความตองการพ้ืนฐานทาง รางกาย และจิตใจของเดก็ ปฐมวยั อยางเขาใจในชวี ิตประจาํ วนั นน่ั เอง การตอบสนองความตองการขั้นพื้นฐานทัง้ ทางรางกายและจิตใจของเด็ก เริ่มตนจากการท่ีผูเล้ียง ดสู ังเกต พฤตกิ รรมเด็กวา มคี วามตองการอะไร ในชวงเวลาไหน เป็นระยะเวลาเทาไร เชน เด็กรองกินนม ทุก ๆ 2 ชว่ั โมง นอน ทุก 2 ช่ัวโมง นอนไดนานคร้ังละ 2 ชั่วโมง ขับถายทุกคร้ังหลังดูดนม หรือสามารถ นอนเลนคนเดียวไดเป็นเวลาไมเกิน 20 นาที เป็นตนหลังจากน้ันนําความตองการของเด็กมาจัดเป็น ตารางประจาํ วนั เพ่ือตอบสนองความตอ งการของเด็ก ไดถ กู ตอ ง และถูกเวลา การกําหนดเปูาหมายสั้นๆ เป็นตารางเวลาน้ี จะทําใหผ เู ลย้ี งดแู ละเดก็ ปรับตัวเขา หากนั ไดง า ย ข้ึน และเดก็ เกิดความไววางใจผูเลย้ี งดู ไดเร็วข้ึนอีกดวย เพราะการจัดตารางเวลาการตอบสนองความตองการของ เด็กน้ันจะชวยใหผูเลี้ยงดู สามารถวางแผนจัดตารางชีวิตประจําวันได และที่สําคัญเด็กจะเรียนรูวาการตอบสนองความ ตองการ ของเขาจะเกิดข้ึนอยางแนนอน สามารถคาดเดาได จึงทําใหเด็กเกิดความไววางใจในผูเล้ียงดู มีความ อดทน อดกลน้ั มากข้นึ และอารมณแดี ตวั อยา งเชน เม่ือเด็กทารกหิวนม และรองไห แมเดินมาปลอบและ ปูอนนม คราวตอไป เมื่อเด็กหิวนมและรองไหเด็กไดยินเสียงแมเดินมา เด็กจะหยุดรองไหเองและรอกิน นมแมแ ละเมื่อแมเ รม่ิ เรียนรเู วลา หิวของลูก และจัดเปน็ ตารางเวลา เด็กก็จะรออยางไมเป็นกังวล เพราะ ม่นั ใจวาเมอ่ื ถงึ เวลา แมจ ะใหก นิ นมแนนอน 2. ให้ความรัก ความอบอุ่น การใหความรัก ความอบอุนในชีวิตประจําวัน เป็นการสราง บรรยากาศทเี่ ออ้ื ตอ การเรยี นรู ทําใหส มองของเด็กสดใส พรอมที่จะเรียนรูส่ิงตาง ๆ รอบตัว แนวปฏิบัติ ในการมอบความรกั ความอบอุน สามารถทําไดโ ดยการใชหลักการมองตาดังไดกลาวมาแลว โดยผูเล้ียงดู สามารถใชห ลักการมองตากบั เด็กปฐมวัยได ตั้งแตแรกเกิด เชน ตอนใหนมเดก็ ตอนเปล่ียนผาออมใหเด็ก ตอนกลอมเด็กใหหลับ ตอนปลอบใหเด็กหยุดรองไห ตอนเลนและพูดคุยกับเด็กดังที่ไดกลาวมาแลววา การมองตาจะชวยดงึ ความสนใจของเดก็ มาอยูท ี่ผเู ลยี้ งดู ทาํ ใหเด็ก มีสมาธิ สามารถสอ่ื สาร และสรางสาย สมั พนั ธกแ บั ผเู ลีย้ งดไู ด นอกจากหลักการมองตาแลว อีกหน่ึงหลักการที่ผูเล้ียงดูสามารถใชไดเลยต้ังแตเด็กแรกคลอด เพ่ือน ความรกั ความอบอนุ คือ หลักการแสดงความเขาใจ โดยผูเลี้ยงดูสามารถพูดแสดงความเขาใจกับ
160 เด็กไดตลอด เพ่ือใหเด็กซึมซับความรัก ความเขาอกเขาใจ และเก็บคําศัพทแ อธิบายอารมณแไวในคลัง สมอง เมอ่ื เดก็ โตจนถึงวยั พดู ได เด็กจะรูจักอารมณแตนเอง สามารถอธิบายความตองการ และความรูสึก ของตนเองได ตัวอยางการใชหลักการ แสดงความเขาใจ เชน “หนูหิวแลวใชไหมคะหนูเลยรองไห” “หนู รูสึกแฉะไมสบายตัวแนเลย หนูเลยดึงผาออมตัวเอง “หนูมีความสุขเมื่อเลนกับแม หนูเลยย้ิมกวางเลย” “หนอู ิม่ แลว หนูเลยปใดนมทงิ้ ” เป็นตน 3. จดั การกบั อารมณต์ นเองและควบคมุ อารมณ์ตนเองให้เป็นปกติเม่ืออยู่กับเด็ก เด็กเรียนรูได ดีจากประสาทสัมผัส ประสบการณแแรกของประสาทสัมผัสท่ีเด็กไดรับ คือ ความรัก ความอบอุนจาก สัมผัส การมองตา กล่ินนํ้านม นํ้าเสียง และจังหวะการเตนของหัวใจของแมหรือผูเล้ียงดู ดังน้ันเด็กจึง สามารถรับรูอารมณแของผูเล้ียงดูไดต้ังแตแรก เกิด และเด็กยังสามารถซึมซับอารมณแของผูเลี้ยงดูไดอีก ดวย หากผเู ล้ียงดูมีความวิตกกังวล เครียดอยูเป็นประจํา เด็ก กจ็ ะซึมซบั กลายเปน็ เด็กทมี่ คี วามวิตกกงั วล เครียดรวมไปถงึ ไมไววางใจผูเล้ียงดูดวย ในทางตรงกันขาม หากผูเล้ียง ดูมีอารมณแปกติดี ยิ้มแยมแจมใส เด็กกจ็ ะซมึ ซบั กลายเปน็ เดก็ อารมณดแ ี ไมเครียด และไวว างใจผูเล้ียงดูเชน เดียวกนั แนวปฏิบัติการจัดการและควบคุมอารมณแตนเองใหเป็นปกติเมื่ออยูกับเด็กนั้น ผูเลี้ยงดูตองมี ความเขาใจ พ้ืนฐานในเร่ืองพัฒนาการ และพฤติกรรมของเด็กในแตละชวงวัย รวมถึงความเขาใจใน ธรรมชาตขิ องเด็กแรกเกดิ จนถงึ วัย 3 ขวบ กอ นวา การรองไห การทาํ ผิดซ้ําแลวซ้ําอกี รวมไปถงึ การชอบ เลน ไมอ ยูนิง่ เฉย และตองการความ สนใจอยตู ลอดเวลาน้นั เปน็ เรอื่ งธรรมดาของเด็กเล็ก ถึงแมวาความ โมโห ความโกรธ และความเครยี ดของผูใ หญจ ะ เป็นเรอ่ื งธรรมดาเชนเดียวกันแตดวยความเป็นผูใหญที่มี วุฒิภาวะมากกวาเด็กจึงสามารถจัดการและควบคุมอารมณแ ไดงายกวาเด็ก ดังน้ัน หากเปูาหมายระยะ ยาว คือ การใหเด็กมีทักษะทางอารมณแ สังคม และจิตใจดี เปูาหมายระยะ สั้น คือ ผูเล้ียงดูตองแสดง อารมณแออกมาเป็นพฤติกรรมท่ีเหมาะสม เพ่ือเป็นตัวอยางใหเด็กไดดูกอนและฝึกฝนเด็ก จนซึมซับเป็น นิสยั ผูเลี้ยงดูสามารถใชหลักการแสดงความเขาใจโดยการคุยกับตนเอง เพื่อจัดการและควบคุม อารมณขแ องตนเอง หรือโดยการพูดคยุ กบั เด็ก แทนการระบายอารมณแใสเด็กก็ได ตัวอยางการใชหลักการ แสดงความเขาใจเพือ่ จัดการ และควบคุมอารมณแของผูเลี้ยงดู เชน “แมไมคอยสดชื่น เพราะแมปวดหัว” “วันนีพ้ อ ไมอ ยากเลนอมุ หนูโยน เพราะ พอเหน่ือยมาก” “แมรอ งไห เพราะแมเครียดเรอ่ื งงาน”เป็นตน 4. เคารพในสิทธ์ิ และความรู้สึกของเด็ก เด็กเล็กลืมตาดูโลกพรอมกับความตองการพื้นฐานทั้ง ทางรางกาย และจิตใจ รวมถึงมีความสามารถในการแยกแยะสิ่งท่ีตนเองชอบ หรือ ไมชอบ หาก เปูาหมายระยะยาว คือ การท่ีเด็ก เติบโตข้ึนมามีความเคารพในสิทธิและความรูสึกของผูอื่นเปูาหมาย ระยะสั้นคือผูเล้ียงดูตองเคารพในสิทธิและความ รูสึกของเด็กเล็ก แนวปฏิบัติการเคารพสิทธิและ ความรูสึกของเด็กสามารถทําไดโดยผูเลี้ยงดูใชหลักการเคารพในสิทธิ และความรูสึกของผูอื่นใน ชวี ิตประจําวัน
161 การตอบสนองความตองการทางรางกาย และจิตใจเด็กแรกเกิดจนถึง 1 ปี ถือวาเป็นการเคารพ ในสิทธิ และ ความรูสึกของเด็กข้ันแรก แตเมื่อเด็กโตข้ึนมาจนสามารถบอกความตองการและความรูสึก ไดผูเล้ียงดูสามารถแสดง ความเคารพในสิทธิ และความรูสึกของเด็กไดมากข้ึน และเป็นรูปธรรมมากข้ึน ดังน้ี - ถาม และฟใงความตองการ และความรูสึกของเด็ก รวมถึงใหเด็กมีสวนรวมในการตัดสินใจ เชน กอนใสเส้ือหนาวใหเด็ก ผูเลี้ยงดูถามเด็กกอนวาเด็กรูสึกหนาวหรือไม เม่ือผูเล้ียงดูตองการหอมแกมเด็ก หรอื ใชข อง สวนตวั ของเดก็ ตอ งขออนญุ าตเด็กกอน และเคารพในการตดั สินใจของเดก็ เปน็ ตน - บอกใหเ ดก็ รบั รูวา ผูเ ล้ยี งดเู คารพในการสิทธิ ความรสู ึก ความคิดเห็น และการตัดสินใจของเรา เม่ือเด็กตอบวาไมหนาว ไมอยากใสเส้ือกันหนาว ผูเล้ียงดูควรพูดวา “แมยังไมใสเส้ือกันหนาวใหหน เพราะ เคารพในความรูสกึ ของหนู หากเราจะติดเสอ้ื กนั หนาวไปเผือ่ หนจู ะเอาตัวไหนไป” เป็นตน 5. สอนและฝกึ ฝนให้เดก็ ปฏิบตั ทิ กั ษะท่ีนาไปสู่เป้าหมายระยะยาวหากใหผ เู ลี้ยงดลู องเขียนบาท ใหเด็กเติบโตข้ึนมาเป็นอยางไร จะเห็นวาเปูาหมายระยะยาวจะเป็นนามธรรม เชน เป็นคนมีความ รับผิดชอบ เป็นคนดี มีมารยาท เป็นคนท่ีชวยเหลือตัวเองไดซึ่งเปูาหมายระยะยาวนี้จะไมสามารถบรรลุ ไดดวยการสอนปากเปลา แตตองสอนใหเด็กปฏิบัติทักษะท่ีจะนําไปสูเปูาหมายระยะยาว เชน เด็กจะไม สามารถมีความรับผดิ ชอบไดหากผูเลีย้ งดู เพียงแคบอกวา ตองมคี วามรบั ผดิ ชอบ แตไมเ คยสอนและฝึกฝน ใหเด็กรับผิดชอบอะไรผูเล้ียงดูจําเป็นตองกําหนด เปูาหมายระยะสั้นดวยการมอบหมายงานและสอน ทักษะการทํางานท่ีไดรับมอบหมายและใหกําลังใจจนเด็กสามารถ และจนสําเร็จ เชนหากมอบหมายให เดก็ รบั ผิดชอบเร่ืองการเกบ็ รองเทา เขา ที่ ผเู ล้ียงดูตองสอนวธิ กี ารเก็บของการ เก็บเรียงอยางไร เก็บท่ีไหน เป็นตน จงึ เห็นไดว า แนวปฏิบตั กิ ารสรา งวินัยเชิงบวกเพ่ือสานสายใยสัมพันธแ และเสริมสรางพฤติกรรมท่ี เหมาะสมใน เบ้ืองตนนี้มีความสําคัญมากตอการถักทอเครือขายเสนใยสมองของเด็กแรกเกิดถึง 3 ปี เพราะเด็กจะเรียนรพู ฤติกรรม การตอบสนอง ตามที่ครอบครัวคาดหวังไปพรอม ๆ กันกับการเรียนรูโลก ใบน้ีสั่งสมเป็นประสบการณแที่มีผลตอยอด พัฒนาการสมองอารมณแ สังคม จิตใจ และพฤติกรรมของเด็ก หากเด็กไดรับการสอนและฝึกฝนทักษะดวยความรัก ความอบอุน เด็กก็จะเจริญเติบโตอยางงอกงาม มี พัฒนาการทางจติ ใจทีม่ ั่นคง ไวใจสมาชกิ ในครอบครวั จนพัฒนา เป็นความรัก และความผูกพันธแที่เหนียว แนนตอไป ซึ่งจะเป็นที่ยึดเหน่ียวทางจิตใจ ใหเด็กมีพฤติกรรมท่ีเหมาะสม มี ทักษะในการคิด ตัดสินใจ เลือกใชชีวิตอยางชาญฉลาด มีวินัย และมีความรับผิดชอบตอตนเอง ครอบครัว และสังคม และมีความ ภาคภูมใิ จใจตัวเอง 6.แนวปฏิบตั กิ ารสร้างวินยั เชิงบวกในครอบครวั ทม่ี ีเด็กปฐมวยั อายุ 3 ปี เนื่องจากพัฒนาการของเด็กในชวงวัย 3 ปีถึง 6 ปี ดีข้ึนมากท้ังทางดานการควบคุมรางกาย และ อารมๆ รวมถึงสมองสวนเหตุผลเด็กในชวงวัยนี้สมองสวนเหตุผลเจริญเติบโตมากข้ึนดวย จึงทําใหเด็ก สามารถนําประสบการอยู มาวิเคราะหแ และเรียนรูอยางเป็นเหตุผลมากข้ึน แตอยางไรก็ตาม
162 ความสามารถในการใชเหตุผล และแกไขปใญหา เฉพาะหนายังคงจํากัดอยู โดยข้ึนอยูกับประสบการณแที่ ไดรับมาจากการเลย้ี งดู และความรสู ึกทชี่ ัดเจนมากข้ึนของ ตนเอง เดก็ วัยน้จี งึ มพี ฤตกิ รรมตอตาน และไม ทําตามคําสั่ง เม่ือส่ิงท่ีผูเลี้ยงดูใหทําไมตรงกับความตองการ หรือ เหตุผลของตนเอง ดังน้ัน การใชการ สรางวินัยเชิงบวกในชวงวัยนี้ จึงเนนแนวปฏิบัติการสงเสริมพฤติกรรมดวยการ สอน ฝึกฝน และสราง แรงจูงใจอยา งมัน่ คงตอเน่ือง เพ่ือชว ยใหเ ด็กบรรลุพฤติกรรมเปูาหมายระยะสนั้ และปูทางไปสู พฤตกิ รรม เปูาหมายระยะยาว (Nelson, et al., 2007; Masterson, 2008, Thanasetkorn, 2009a; Thanasetkorn 2009b; Kersey & Masterson, 2013) แนวปฏิบัติการสรางวินัยเชิงบวกในครอบครัวท่ีมีเด็กปฐมวัยในชวงอายุ 3 ปี ถึง 6 ปี สามารถ ปฏบิ ตั ไิ ด 4 แนวทางสาํ คญั ดังน้ี 1. ใช้หลักการสร้างวินัยเชิงบวกในชีวิตประจาวัน เป็นแนวปฏิบัติเพ่ือเสริมสรางพฤติกรรมที่ เหมาะสมให แกเด็กซ่ึงจะเป็นวิธีการสอนและการฝึกฝนเพ่ือใหเด็กเกิดแรงจูงใจท่ีจะทําพฤติกรรม เปูาหมายระยะสั้นไดสําเร็จ เชน หากเปูาหมายพฤติกรรม คือ การทานขาวใหหมดจาน แทนการออก คําสั่งวากินใหหมด ผูเล้ียงดูสามารถใชหลักการ ใหทางเลือกเชิงบวก ดวยการถามวาจะทานอีก 5 คํา หรอื 10 คาํ หรือแทนการตั้งเงื่อนไขวาหากเก็บของเลนไมเสร็จ หนังสือนิทานใหฟใงคะ เป็นตน แมจะไม อานนิทานใหฟใง ดวยการใชหลักการอะไรกอน อะไรหลัง เชน เมื่อหนูเก็บของเลนเรียบรอยแลวแมจะ อา น 2. สอนทักษะเด็กให้บรรลุพฤติกรรมเป้าหมายตามขั้นตอนการสอนปรบมือ โดยมีแนวปฏิบัติ ดังนี้ 2.1 ทําใหดู เม่ือผูเล้ียงดูตองการสงเสริมทักษะ หรือปลูกพฤติกรรมที่คาดหวัง ผูเล้ียงดู จําเป็นตอง ทําใหเด็กดูเป็นตัวอยางในชีวิตประจําวันดวย ซึ่งเปรียบไดกับข้ันตอนแรกของการสอนเด็ก ปรบมือ นัน่ กค็ ือ เราปรบมือ ใหเดก็ ดูกอ น เพอ่ื หวงั ใหเ ดก็ ไดท ําตาม เชน เม่อื ตอ งการใหเดก็ ลางจาน หลัง ทานขาวเสร็จแลว ผเู ลีย้ งดูกจ็ ะตอ งลาง จานใหด เู ป็นตัวอยาง 2.2 สอนใหทํา การอธิบายวิธีการทําพฤติกรรมเปูาหมายนั้น ๆ วา ตองทําอยางไร เมื่อใด เปรียบได ดงั ขนั้ ตอนการสอนเดก็ ปรบมือ คือ นอกจากการทําใหดเู ป็นตัวอยางแลว ผูเลีย้ งดยู งั จาํ เปน็ ตอง จับมือเด็ก ปรบมือ เพื่อใหเด็กไดเรียนรูวิธีการปรบมือผานการสอน ควบคูไปกับการลงมือทําไปดวยกัน กับผูเล้ียงดู เชน การ สอนวิธีการลางจานใหกับเด็กตามขั้นตอนตั้งแตการเทนํ้ายาลางจานลงบนฟองน้ํา ไปจนถงึ วธิ กี ารควาํ่ จาน เปน็ ตน 2.3 ใหโ อกาสฝกึ ฝน การเปดิ โอกาสใหเ ด็กไดม ีโอกาสลองทําดดู ว ยตนเอง โดยมีผูเล้ียงดูคอย ให กาํ ลังใจเพ่อื สง่ั สมประสบการณแ จนเกิดเป็นความสามารถและทักษะ ซึ่งเปรียบไดดังข้ันตอนการสอน ปรบมือที่ ผูเล้ียงดูกระตุนใหเด็กลองปรบมือดวยตนเอง โดยการรองเพลงกระตุน หรือยกใหเด็กปรบมือ ชมตวั เอง เชน การมอบ หนา ทลี่ างแกว ใหกับเดก็ กอ น สว นผเู ลี้ยงดูจะเป็นคนลา งจาน เปน็ ตน
163 2.4 ใหกําลังใจการที่ผูเลี้ยงดูคอยใหคําแนะนําและคําชมอยูขาง ๆ เพื่อใหเด็กเกิดแรงผลัก ภายใน ท่ี จะทําพฤตกิ รรมนน้ั บอย ๆ ซ้าํ ๆ ดว ยตนเอง เปรยี บไดดงั การท่ผี ูเล้ยี งดู แสดงความชื่นชม ดีเจ แลว ซ่งึ ทาํ ใหเด็กรสู ึกอยากปรบมอื อยากใหความรวมมือกับผูเลี้ยงดูอีก หากเปลี่ยนเป็นการลางจา และ ขอบใจที่เดก็ รบั ผดิ ชอบชว ยเหลอื งานจนสาํ เร็จ 3. ใช้การสร้างวินัยเชิงบวกอย่างม่ันคงและต่อเนื่อง เป็นแนวปฏิบัติการสรางวินัยเชิงบวกทบ เพราะจะชวยใหเด็กไดเรียนรูวา ความคาดหวังของผูเล้ียงดูนั้นมั่นคงและสามารถคาดเดาได เด็กจะรูสึก ปลอดภัย เกิดความมั่นคงทางอารมณแ เรียนรูพฤติกรรมที่เหมาะสมไดงาย และกลาที่จะลองทํา ลอง เรียนรูโลกภายนอก หาก แนวปฏิบัติของผูเล้ียงดูผันแปรไปตามอารมณแของผูเลี้ยงดู ไมมีความม่ันคง ตอเนอื่ ง เชน หากผเู ลี้ยงดูมอบหมายให เด็กลา งจาน แตเ ดก็ ทําไมเสร็จ และผูเ ลี้ยงดูเตอื นใหเด็กมาทําตอ จนเสร็จบา ง บางคร้ังก็ปลอยปละละเลยไมวาอะไร บาง หรือบางทีก็ตอวา และทําโทษ ก็จะสงผลใหเด็ก สับสน เกิดการตอตาน และไมเห็นความสําคัญของงานท่ีไดรับ มอบหมายรวมไปถึงไมมีแรงจูงใจทําให พฤติกรรมเปูาหมายบรรลตุ ามเปูาหมายระยะสนั้ ได 4. ใช้หลักการสร้างวินัยเชิงบวกอย่างอ่อนโยนและแน่วแน่ เป็นแนวปฏิบัติการสรางวินัยเชิง บวกที่จะ ชวยใหการเล้ียงดูเด็กมีขอบเขตชัดเจนวาอะไรที่เด็กควรทํา หรือไมควรทํา ขอบเขตน้ีสามารถ ยืดหยุน ไดบ าง แตต อง มีการตกลง ใหเหตุผลกบั เดก็ กอนเนื่องจากเด็กในชวงวัยน้ี จะมีพฤติกรรมทดสอบ ขอบเขตของตนเองวา สามารถจะ ประพฤติไดเกินขอบเขตท่ีผูเลี้ยงดูต้ังไวไดเทาไหน ซ่ึงเป็นพฤติกรรม ธรรมชาติของมนุษยแท่ีชอบควบคุมสถานการณแ ดังน้ัน ผูเลี้ยงดูจึงจําเป็นตองมีความแนวแนในการยืนยัน ใหเด็กมคี วามประพฤตติ ามที่คาดหวงั แตยังคงความ ออนโยนในการสอน และสรา งแรงจูงใจใหเด็กอยาก ที่จะทําพฤติกรรมเปูาหมายดวยความเต็มใจ ไมรูสึกวาถูกบังคับ ยกตัวอยางเชน เม่ือใชหลักการให ทางเลือกเชิงบวกในสอนพฤติกรรมเปูาหมาย คือ การเลนเสร็จแลวเก็บของเลน โดยการใหทางเลือกเด็ก วาอีก 1 นาทีหรือ 2นาท่ีจะเก็บของเลนและถาเด็กตอบวา 5นาที่ผูเลี้ยงดูก็จําเป็นตองยืนยันวา 1 นาที หรือ 2 นาที เนอื่ งจาก 5 นาที ไมมีอยูในทางเลอื ก เปน็ ตน แนวปฏิบัติการสรางวินัยเชิงบวกท่ีเนนการสรางความสัมพันธแท่ีดีกับเด็กปฐมวัย ดวยการ ตอบสนองความ ตองการพ้ืนฐานทางกายและทางจิตใจรวมถึงเนนธรรมชาติการเรียนรูของเด็กนอกจาก จะชวยใหเด็กเรียนรูผานการ ซึมซับและเลียนแบบแลว เด็กยังเรียนรูไดดีจากการสอนวิธีการทํา พฤตกิ รรมเปูาหมายอยางเปน็ ขนั้ ตอน ซึ่งจะชว ย ใหเ ด็กมีกําลงั ใจในการทําพฤติกรรมเปูาหมายมากข้ึน มี ความรูสึกตอตานลดนอยลง ควบคุมอารมณแไดงายขึ้น และ ใหความรวมมือกับผูเลี้ยงดูมากขึ้นโดยไม รูสึกตัววากําลังถูกฝึกฝนอยู (Nelson, et al., 2007, Masterson, 2008 Thanasetkorn, 2009a; Thanasetkorn, 2009b; Kersey & Masterson, 2013) นอกจากนี้ แนวปฏบิ ตั กิ ารสรางวินัยเชิงบวกจําเป็นตองมีความมั่นคง และตอเน่ือง รวมถึงผูเลี้ยง ดตู อง ยืนกรานใหเด็กทําพฤติกรรมที่คาดหวัง ดวยการสรางแรงจูงใจอยางออนโยน เพราะเด็กในชวงวัย 3 ปี ถึง 6 ปี จะมีประสบการณแมากข้ึนรูจักความตองการของตนเองมีความสนใจเป็นของตนเอง และท่ี
164 สําคัญคือ มีความสามารถ ในการพ่ึงตนเองไดมากข้ึน จึงมีแรงขับภายในท่ีตองการจะทําตามใจตนเอง มากขึ้น และทดสอบขอบเขตกับผเู ลี้ยงดู ดวยการลองทําพฤติกรรม เพ่ือที่จะไดมาในส่ิงท่ีตนเองตองการ และลองดูผลตอบรับจากผูเลี้ยงดู หากผูเลี้ยงดูมี แนวปฏิบัติการสรางวินัยเชิงบวกอยางไรทิศทาง ไมมี ความมน่ั คงตอเนอื่ ง และไมม กี ารยนื ยนั ตามขอบเขตท่ีกาํ หนด จะทําใหพฤติกรรมที่คาดหวังอยางแนวแน จากเด็กไมไดรับความรวมมือในการทําตามกฎเกณฑแ และขอบเขตท่ีต้ังไวใน ครั้งตอ ๆ ไป และถาหาก เกิดขน้ึ บอย ๆ ผเู ลยี้ งดกู จ็ ะไมสามารถนําเดก็ ไปสเู ปูาหมายระยะยาวรวมถงึ เปาู หมายสูงสุด ของการสราง วินัยเชิงบวกดวย น่ันก็คือ การสอนใหเด็กมีวินัยในตนเอง (Nelson, et al., 2007; MasterSon, 2008;Thanasetkorn, 2009a: Thanasetkorn, 2009b; Kersey & Masterson, 2013) จะเห็นไดวาการสรางวินัยเชิงบวกในการเล้ียงดูของครอบครัว เพ่ือสงเสริมพัฒนาเชิงบวกในการ เลี้ยงดูของครอบครัว เพ่ือสงเสริมพัฒนาการ ศาสตรแและศิลปท่ีเป็นศาสตรแเนื่องจากศาสตรแเรื่อง พัฒนาการและการเรียนรขู องเด็กจะชวยกําหนดพฤติกรรมของเด็กมากขึ้น และที่สําคัญชวยใหผูเล้ียงดูมี ความสามารถในการเล้ียงดูเด็กอยางมีเปูาหมาย โดยสามารถกําหนดพฤติกรรมเปูาหมายท่ีตองการ สงเสริม ใหสอดคลอ งกบั พฒั นาการ ได นอกจากน้ี การสรางวินัยเชิงบวกยังเป็นศิลป เน่ืองจากการสราง วินัยเชิงบวกจําเป็นตองเชื่อยาง แนวปฏิบัติท่ีสามารถนําไปประยุกตแใชใหเหมาะสมตามเหตุการณแที่ เกิดขึ้นในชีวิตประจําวัน เพ่ือใหเกิดประโยชนแ สูงสุดในการสงเสริมพัฒนาการในดานตาง ๆ ของเด็กแต ละคนอยา งเตม็ ศักยภาพ
165 บรรณานกุ รม Ahmad, I., Said, H.,& Khan, F. (2013). Effect of corporal, Effect of corporal punishment on students' motivation and classroom learning. Review of European Studies, 5(4). doi: 10.5539/res.vbn4p130 Ardila, A. (2008). On the evolutionary origins of executive functions. Brain and Cognition 68, 92-99. Bailey, S., & Baines, E. (2012). The impact of risk and resiliency factors on the adjustment of chosen the transition from primary to secondary school. Education & Child Psychology,29(1) 47-63 Berry, D. (2012). Inhibitory control and teacher-child conflict: Reciprocal associations across mentary- school years. Journal of Applied Developmental Psychology, 33(1), 66-76. doi: 10.1016/). appdev 2011.10.002 Bodrova, E., & Leong, D. J. (2008). Developing self-regulation in kindergarten. Can we keep all the Crickets in the basket? Beyond the Journal-Young Children on th Web(March), 1-3. Carlson, S. M. (2005). Developmentally sensitive measure of executive function in preschool children. Developmental Neuropsychology, 28, 595-616. Carlson, S. M., & Wang, T. S. (2007). Inhibitory control and emotion regulation in preschool children. Cognitive Development 22, 489-510. Chang, K., Olson, S. L., Sameroff, A. J., & Holly, S. R. (2011). Child effortful control as a mediator of parenting practices on externalizing behavior: evidence for a sex-differentiated pathway across the transition from preschool to school. Journal of Abnormal Child Psychology, 39(1), 71-81. doi: 10.1007/s10802-010-9437-7 Denham, S. A., Blair, K. A., & DeMulder, E. (2003). Preschool Emotional Competence: Pathway to Social Competence? Child Development, 74(1), 238-256. Dreikurs, R., Cassel, P., & Ferguson, E.D. (2004). Discipline without tears: How to reduce conflict and
166 establish cooperation in classroom (Revised Edition). Canada: WILEY. Dreikurs, R. & Soltz, V. (1991). Children: The challenge. New York: Penguin Group. Duckworth. K. Akerman, R., MacGregor, A., Salter, E., & Vorhaus, J. (2009). Self-regulated learning a literature review. Centre for Research on the Wider Benefits of Learning(33). Fantuzzo, J., Bulotsky-Shearer, R., McDermott, P. A., McWayne, C., Frye, D., & Perlman, S. (2007) Investigation of dimensions of social-emotional classroom behavior and school readiness for low-income urban preschool children. School Psychology Review, 36(1), 44-62. Feldman. R. & Klein. P. S. (2003). Toddlers' self-regulated compliance to mothers, caregivers, and fathers: Implications for theories of socialization personal. Developmental Psychology, 39(4): 680-692 Garon. N. Bryson S. E. & Smith, I. M. (2008). Executive function in preschoolers: A review using an Integrative framework. Psychological Bulletin, 134(1), 31-60. Grogan, K. (2004). The effect of corporal punishment on antisocial behavior in children. Social Work Research, 28(3), 153-162. Howes, P.C.. Leslie. C. & Peisner-Feinberg, E. (2000). The consistency of perceived teacher-child relationships between preschool and kindergarten. Journal of School Psychology, 38(2), 113-132 Howse, R. B., Calkins, S. D., & Anastopoulos, A. D. (2003). Regulatory contributors to children's kinderga achievement. Early Education and Development, 14(1), 101-119. Isquith, P. K., Gioia, G. A., & Espy K. A. (2004). Executive function in preschool children: Examinati through everyday behavior developmental neuropsychology. Developmental Neuropsycholo 26(1), 403-422. Jahromi, L. B., & Stifter, C. A. (2008). Individual differences in preschoolers' self- regulation and theory of mind. Merrill-Palmer Quarterly, 54(1), 125-150.
167 Kersey, K. C., & Masterson, M. L. (2013). 101 Principles for positive guideance with young chidren. Nem Jersey: Pearson Educarion, Inc. Lengua, L. J. (2003). Associations among emotionality, self-regulation, adjustment problems, and positive adjustment. Applied Developmental Psychology, 24, 595-618. Masterson, M. L. (2008). The impact of the 101s: A guide to positive discipline training on teacher interaction practices, attitudes and prosocial skill outcomes in preschool classroom. Norfolk, VA: Old Dominion University. Murray, K. T. & Kochanska, G. (2002). Effortful control: Factor structure and relation to externalizing and internalizing behaviors. Journal of Abnormal Child Psychology, 30(5), 503-514. Nathaniel, R.R., Laudan, B. J., Rachel, P. R., Janean, E. D., & Ulrich, M. (2006). Executive function and the promotion of social-emotional competence. Journal of Applied Developmental Psychology, 27, 300-309 Nathanson, L., Rimm-Kaufman, S. E., & Brock, L. L. (2009). Kindergarten adjustment difficulty: The contribution of children's effortful control and parental control. Early Education & Development, 20(5), 775-798. doi: 10.1080/10409280802571236 Nelsen, J. (2006). Positive discipline. New York: Ballantine Books. Nelsel, J., Erwin, C., & Duffy, R. A. (2007). Positive discipline for preschoolers. New York: Three Rivers Press Olson, S. L., Tardif, T. Z., Miller, A., et al. (2011). Inhibitory control and harsh discipline as predictors of externalizing problems in young children: A comparative study of U.S., Chinese, and Japanese preschoolers. J Abnormal Child Psychology 39(8), 1163-1175.
168 Paulo, A. G., Susan, P. K., & Susan, D. C. (2010). Maternal behavior and children's early emotion regulation skills differentially predict development of children's reactive control and later effortful control. Child Development, 19, 333-353. Pichitkusalachai, P., Sutipan, P., Chumchua, V., & Thanasetkorn, P. (2012). Self-regulation in Thai preschoolers: The impact of the 101s positive discipline teacher training on teacher interactions and children's self-regulation in Thailand. ISSBD 2012, p 3.117. Pichitkusalachai, P., Suthipan, P., Chutabhakdikul, N., Chumcha, V., & Thanasetkorn P. (2012). Self-Regulation in Thai preschoolers: The impact of the 101s positive discipline teacher training on teacher interactions and children's self-regulation in Thailand. The First ASEAN Plus Three Graduate Research Congress (AGRC) (Proceeding). Susanne, A. D., Hideko : B ,Melissa ,M Sara, K .,W.,Todd, W.,& Yana, S.(2011) Social – emotional learning profiles of preschoolers’ early school success: A person- approach. Learning and Individual Differences. Doi:10.1016/j.lindif.2011.05.001 Sutipan, P., Pichitkusalachai, P., Chumcha. V & Thanasetkorn , P. (2012). The impact of the 101s positive practices and preschoolers' executive function skills. ISSBD discipline teacher training on teacher practices and preschoolers' executive unce2012, p3.109. Guthipan, P., Pichitkusalachai, P., Chutabhakdikul. N Chumcha V. & Thanasetkorn P. (2012). The impact funcof the 101s positive discipline teacher training on teacher practices and preschool executive function skills. The First ASEAN Plus Three Graduate Research Congress (AGRC) (Proceeding). Thanasetkorn, P. (2009a). The impact of the 101s: A guide to positive discipline teacher training on teacher interaction practices, teacher-child relationship quality, school adjustment, and academico in kindergarten classroom in Bangkok, Thailand. Old Dominion University, Norfolk, VA. Thanasetkorn, P. (2009b). The impact of the 101s: A guide to positive discipline parent training: A case
169 study of kindergarteners and their parents in Bangkok, Thailand. Old Dominion University, Norfolk, VA. Trentacosta, C. J. & Shaw, D. (2009). Emotional self-regulation, peer rejection, and antisocial behavior: Developmental associations from early childhood to early adolescence. Journal of Applied Devel opmental Psychology, 30, 356-365. Vittrup, B. & Holden, G. W. (2010). Children's assessments of corporal punishment and other disciplinary practices: The role of age, race, SES, and exposure to spanking. Journal of Applied Developmental Psychology, 31(31), 211-220. Winsler, A., De Leon, J. R., Carlton, M., Barry, M. J., Jenkins, T., & Carter, K. L. (1997). Component of self regulation in the preschool years: Developmental stability, validity, and relationship to classroom behavior. The Biennial Meeting of the Socirty for Research in Child Development, (pp. 1-20). Washington, DC.
170 หนว่ ยที่ 6 การเสรมิ สรา้ งสุขภาวะ คุณค่า คณุ ธรรมในครอบครัว ความหมายและความสาคญั ของการเสรมิ สร้างทกั ษะชีวิตในครอบครวั ที่มีเดก็ ปฐมวัย ประเวช ตันติพิวัฒนสกุล และคณะ (2556) ไดกลาวไววา “ทักษะชีวิต (Life Skill)”ถูกนํามาใช ในประเทศไทย ในความหมายของการคิด ตัดสินใจ แกปใญหา จัดการอารมณแ การส่ือสาร (เชน ฟใง พูด บอกความรูสึก ปฏิเสธ) โดยทักษะชีวิต” ไดมีการใชคําอื่นท่ีแพรหลายในเวลาตอมา คือ คําวา “ความ ฉลาดทางอารมณแ (Emotional intelligence)” ซ่ึงเนนใหเห็นวา ความฉลาดทางสติปใญญาหรือไอคิวไม สําคัญเทาความฉลาดทางอารมณแซึ่งเป็นการพัฒนา คนอยางรอบดานใหมีท้ังความดีความเกงและ ความสุข (กรมสุขภาพจิต 2547) และอีกคําหนึ่งคือ “ความเขมแข็งทางใจ (Resilience)” ที่หนวยงาน ตา ง ๆ ในระดับนานาชาตินาํ มาใชแ พรห ลายมากข้ึน ซ่ึงเป็นทักษะที่เสริมใหเยาวชนเติบโต เป็นผูใหญท่ีมี คุณภาพ ใชชีวิตใหเป็นประโยชนแตอสังคมได แมวาจะอยูทามกลางภาวะวิกฤตตาง ๆ (กรมสุขภาพจิต 2550) และเม่อื ถึงชว งเปลี่ยนเขาสูศตวรรษท่ี 21 วงการศึกษาทั่วโลกตางตื่นตัวกับการเตรียมนักเรียนให พรอมกับชีวิต ในโลกยุคใหม จึงมีการพัฒนาขอเสนอท่ีเรียกวา “ทักษะการดํารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 (21 Century skills)” ซง่ึ โดย มากประกอบดว ยทักษะการเรียนรูการใชขอมูลสารสนเทศทักษะชีวิตและ การงาน ความสามารถในการบริหารตนเอง การจัดการความสัมพันธแและอยูรวมกันในสังคมท่ีมีความ หลากหลายและแตกตา งกันทางวัฒนธรรม จึงเหน็ ไดวาการพัฒนาความสามารถในการดําเนินชีวิตอยูภายใตแนวคิดเดียวกันแตมีการพัฒนา คุณลักษณะ อยางตอเน่ืองใหสอดคลองกับสภาพแวดลอมสังคมและยุคสมัยท่ีเปลี่ยนแปลงอยางไมหยุด นิ่ง ในบทนี้จึงขอใชคําวา “ทักษะชีวิต (Life Skill)” ซ่ึงเป็นคําเริ่มแรกท่ีอาจเรียกชื่ออ่ืน เชน คําวา “ความฉลาดทางอารมณแ (Emotional intelligence)” “ความเขมแข็งทางใจ (Resilience)” และ “ทกั ษะการดาํ รงชวี ติ ในศตวรรษท่ี 21 (21st Century skills)” 1. ความหมายของการเสริมสรา้ งทักษะชวี ิตในครอบครวั ท่ีมเี ด็กปฐมวัย “ทักษะชีวิต” ตามความหมายขององคแการอนามัยโลก (World Health Organization, 1993) คือ ความ สามารถในการปรบั พฤติกรรมใหเหมาะสมจัดการแกปใญหาที่เกิดข้ึนในชีวิตประจําวันไดอยางมี ประสิทธิภาพและเตรียม พรอมสําหรับปรับตัวในอนาคต สวนองคแการยูนิเซฟ (UNICEF, 2014) ได กลา วถงึ ทกั ษะชวี ิตวา ทกั ษะชีวติ เป็นความ สามารถดา นจติ ใจในการปรับตัวและมีพฤติกรรมเชิงบวกที่จะ เผชิญกับปใญหาและอุปสรรคในการดําเนินชีวิต นอกจากนี้กรมสุขภาพจิต (2546, 2547, 2548, 2550) ไดใหความหมายของทักษะชีวิตไววา เป็นความสามารถ อันประกอบดวย ความรู เจตคติ และทักษะใน อันท่จี ะจดั การปใญหารอบตวั ในสภาพสังคมปใจจุบันและเตรียมความ พรอมสําหรับการปรับตัวในอนาคต ไมว า จะเปน็ เร่อื งสารเสพตดิ บทบาทชายหญงิ ชวี ิตครอบครัว สุขภาพ อิทธิพลสื่อ สิ่งแวดลอม จริยธรรม ปใญหาสังคม ฯลฯ ซ่ึงการพัฒนาทักษะชีวิต หรือความฉลาดทางอารมณแนี้ เป็นกระบวนการ เรียนรูที่
171 ตอเน่ืองจากวัยหน่ึงสูวัยหนึ่ง การวางรากฐานท่ีดีในวัยตน ๆ จะสงผลตอการพัฒนาความฉลาดทาง อารมณทแ ี่ สมบรู ณแยง่ิ ข้นึ ในวัยตอ ๆ มา ผานการเล้ยี งดูและการที่มีครอบครัวเปน็ แบบอยา ง จึงเห็นไดวา “ทักษะชีวิต” เป็นความสามารถดานเจตคติ การคิด การจัดการอารมณแ การ รับผิดชอบตนเอง การปรับตัว ความสัมพันธแท่ีดีกับผูอื่นและการจัดการกับปใญหาที่เกิดข้ึนใน ชวี ิตประจําวันไดอ ยางมีประสิทธิภาพและ มีความมั่นคงทางจิตใจในการรับมือกับส่ิงที่เขามาคุกคามชีวิต ในอนาคต สวน “การเสริมสราง” คือ การทําใหเกิดข้ึนทําใหมีขึ้น สวน “เด็กปฐมวัย” คือ เด็กท่ีมีอายุ ต้ังแตปฏิสนธิถึง 6 ปีบริบูรณแ การอบรมและเล้ียงดูแกเด็กปฐมวัยมีความสําคัญอยางมาก เน่ืองจากเด็ก วัยนี้ตอ งการการเรียนรูในส่ิงแวดลอมรอบ ๆ ตัว ผานประ จากบิดา มารดา คนรอบขางและส่ิงแวดลอม ซง่ึ จะสง ผลใหเกิดพัฒนาการที่เป็นรากฐานของบุคลิกภาพ อุปนิสัย และ การเจริญเติบโตท้ังทางรางกาย จติ ใจ สมอง สตปิ ญใ ญา และความสามารถ ดงั น้นั การเสริมสรา งทักษะชวี ิตในครอบครวั ทมี่ เี ด็กปฐมวัยก็คือ การสงเสริมความสามารถในการ ดําเนินชีวิต มุงท่ีการพัฒนาเด็กปฐมวัยใหไดรับการเล้ียงดูจากผูใหญในครอบครัวอยางมีคุณภาพ ควบคู กับการสง เสรมิ ความ สามารถในการดาํ เนินชีวิตของครอบครัวทีม่ ีเดก็ ปฐมวัยใหสามารถเป็นแบบอยางท่ีดี มีความเขา ใจ และมีแนวทาง เสริมสรางทักษะชีวิตของเด็กที่สอดคลองกับพัฒนาการตามชวงวัยของเด็ก เพ่ือใหเ ด็กเตบิ โตอยา งมีคณุ ภาพ เปน็ ท้ังคนดี คนเกง และคนที่มีความสุขของสังคมไทยและสังคมโลก 2. ความสาคญั ของการเสริมสร้างทักษะชีวิตในครอบครวั ที่มีเด็กปฐมวยั การเสริมสรางทักษะชีวิตในครอบครัวที่มีเด็กปฐมวัยมีประโยชนแกับเด็กโดยตรง (ประไพ ประดษิ ฐแสขุ ถาวร 2556) ดังนี้ 1. ช่วยให้เด็กมีความสุขท่ีได้อยู่กับครอบครัว เห็นคุณคาของการมีชีวิตและครอบครัวท่ีอบอุน เป็นสุข มีการแสดงออกถึงความรัก การชวยกันแบงเบาภาระในครอบครัว และรับผิดชอบตอหนาท่ีท่ี ไดรบั มอบหมายใน ครอบครัว 2. ส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กมีความรู้ ทักษะ และกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อนํามา สรางสรรคแสง่ิ ตา ง ๆ ใหเ กดิ ประโยชนแ และนํามาแกปญใ หาในการดาํ เนนิ ชวี ติ ประจําวนั ไดอ ยางเหมาะสม 3. ช่วยให้เด็กมีทักษะการทางานและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุขสามารถทํางานดวย ตนเองและทํางาน รวมกับผูอ่ืนไดสําเร็จยอมรับฟใงความคิดเห็น และแสดงความคิดเห็นของตนเองดวย กิริยาวาจาสุภาพสามารถจัดการ กับปใญหาความขัดแยง และปรับตัวตอการเปล่ียนแปลงไดอยาง เหมาะสม 4. รู้ช่วยให้เดก็ รูจ้ กั ปอ้ งกนั หลีกเลีย่ งพฤตกิ รรมไมพ่ ึงประสงค์ท่ีสง ผลกระทบตอ ตนเองและผูอ่ืน ไมกอเหตุ ที่นําไปสูการทะเลาะวิวาทและความรุนแรงมีสุขภาพจิตท่ีดี มีมุมมองเชิงบวกมีการควบคุม อารมณสแ ามารถจัดการกับ อารมณแและความเครยี ดได นอกจากประโยชนแที่เด็กจะไดรับโดยตรงแลวการเสริมสรางทักษะชีวิตในครอบครัวท่ีมีเด็ก ปฐมวยั ยังมีสว น ชวยใหครอบครวั และสังคม มคี วามม่ันคง และเปน็ ปกตสิ ุข ดงั เหตุผลตอไปน้ี
172 1. พอ่ แมผ่ ูป้ กครอง คือ บคุ คลสําคัญในการเสริมสรา งทกั ษะชีวิตของเดก็ ทกั ษะชวี ติ เปน็ ทกั ษะที่ เกดิ ขน้ึ ไดด ว ยกระบวนการเรยี นรูจ ากวิธกี ารเล้ียงดูของพอแมและคนใกลชิด และเกิดจากการเลียนแบบ ส่ิงที่พอแมและคน ใกลชิดปฏิบัติ รวมท้ังบรรยากาศในครอบครัวหรือสิ่งแวดลอมท่ีทําใหเด็กมีความสุข สรา งความพอใจในตนเอง และ ความพงึ พอใจในชีวิตแกเด็ก 2. ปฐมวัย คือ เวลาทองแหงการเสริมสรางทักษะชีวิต ผลการศึกษายืนยันวาชวงชีวิตในวัยเด็ก โดยเฉพาะ รกเกิดถึงอาย 6 ปี หากเด็กไดซึมซับสิ่งใดแลว ส่ิงนั้นจะมักถูกจดจําอยูในจิตใตสํานึก กลายเป็นบคุ ลิกภาพประจํา ตัวบคุ คลน้ันไปชั่วชวี ติ สมองของเด็กแรกเกิดถึง 6 ปี มีความสามารถในการ เรียนรูอยางมากมาย เปรียบเสมือนฟอง น้ําที่จะซึมซับสิ่งตาง ๆ ที่ไดเรียนรูอยางรว ดเร็ว ดังน้ัน คุณลักษณะหลายประการ เชน การควบคุมอารมณแ การมีวินัย ความเอ้ืออาทร ความเห็นใจผูอ่ืนจะ เกิดขึ้นไดจากการสรางรากฐานในวัยน้ีในทางตรงกันขาม หากเด็กไดรับการเรียน บมเพาะคุณลักษณะ ทางลบตั้งแตวัยเด็กเล็กก็จะเป็นอุปสรรคในการพัฒนาทักษะชีวิตในวัยตอมา เพราะจะตอง ตามแกไข นสิ ยั และความเคยชินทไ่ี มด ตี า ง ๆ ซ่งึ ยากย่ิง ตอ งใชเวลาหรือความอดทนของพอ แมม ากข้นึ 3. ทักษะชีวติ คอื ภมู คิ ุม กนั ทางจติ ใจใหเดก็ พรอมจะเผชญิ กับโลกยุคใหม เด็กปฐมวัยยุคปใจจุบัน ตอง เติบโตทามกลางสังคมท่ีเนนวัตถุนิยม และการแขงขัน เด็กตองปรับตัวอยางมากตอสังคมรอบขาง เด็กจาํ นวนมาก มคี วามเครยี ด ความโดดเดียว ความวิตกกงั วล ความโกรธ และไมม คี วามเห็นใจผูอ่ืน เด็ก ที่ปรับตัวไมไดอาจถูกชักพา สูการเกี่ยวของกับยาเสพติดหรือสิ่งเสพติดอ่ืน ๆ การกอความรุนแรง และ อาชญากรรมตา ง ๆ ดงั น้ัน โลกยุคใหมนี้ พอ แมจึงไมอ าจละเลยในการพัฒนาทักษะชีวิตลูกเพื่อเป็นวัคซีน ทางจิตใจหรือเป็นเกราะปอู งกันไมใ หล กู มีพฤติกรรม เสยี งหรือมีปญใ หาสังคมดังกลา ว จึงสรุปไดวา การเสริมสรางทักษะชีวิตในครอบครัวที่มีเด็กปฐมวัยมีคุณคาโดยตรงในการชวยให เด็กมีความ สุข แกไขปใญหาในชีวิตประจําวันไดอยูรวมกับคนอื่นในสังคมไดรูจักปูองกัน และหลีกเล่ียง พฤติกรรมไมพึงประสงคแ ตางๆ นอกจากนี้ยังมีคุณคาตอการสรางความม่ันคงและความสงบสุขแก ครอบครัวและสังคม ดวยเหตุผลที่วาทักษะ ชีวิตจะเกิดขึ้นไดจากการที่เด็กเรียนรูแบบอยางที่ดีและการ เลี้ยงดทู ีเ่ หมาะสมของพอแมและผใู กลชดิ และจําเป็นตอง ใหการเสริมสรางทักษะชีวิตแกเด็กต้ังแตระยะ ปฐมวัย เพราะเป็นชวงเวลาทองแหงการวางรากฐานคุณลักษณะที่ดีงาม ใหเป็นนิสัยประจําตัว พรอมท่ี จะเติบโตเป็นผูใหญที่ดี มีคุณภาพสามารถเผชิญโลกกวางและภัยคุกคามตางๆ ได และ ไมเติบโตเป็น อาชญากรหรือเป็นปญใ หาของสงั คม 2.เปา้ หมายของการเสริมสรา้ งทักษะชีวติ ในครอบครัวท่มี ีเดก็ ปฐมวัย เปูาหมายของการเสริมสรางทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัยในครอบครัวไดมีนักวิชาการหลายทาน แสดงความ คิดเหน็ ดงั นี้ วิจารณแ พานิช (2554) กลาวไววา การเรียนรูเพื่อศิษยแในศตวรรษท่ี 21 จะตองกระตุน ประสาน และสงเสริม กระบวนการเรียนรูใหม ๆ ที่จะเป็นเคร่ืองมือพัฒนามนุษยแอยางเต็มศักยภาพ เพ่ือใหบรรลุ ปใญญา ความดี ความงาม มิตรภาพ และสันติภาพ และท่ีกลาวมานี้คือเปูาหมายสําคัญท่ีจะตองพัฒนา
173 เดก็ ในศตวรรษท่ี 21 น้ี แตก ารที่จะ บรรลุเปูาหมายดังกลาว เด็กปฐมวัยตองไดรับการปลูกฝใงและฝึกฝน ตง้ั แตแรกเร่ิมของกาํ เนิดชีวติ และเปน็ ไป อยางตอเนอื่ งสมํา่ เสมอจากวยั หน่ึงสูวยั หนึ่ง การวางรากฐานที่ดี ในวัยตน ๆ ซ่ึงเป็นการพัฒนาท่ีสอดคลองกับ พัฒนาทางสติปใญญาและสังคมตามวัย จะสงผลตอพัฒนา ทกั ษะชีวติ ที่สมบรู ณยแ ง่ิ ขน้ึ ในวัยตอ มา พฒั นาการแตละ ชว งวัยมคี วามแตกตา งกนั และผลของพัฒนาการ ในวัยตน ๆ จะสงผลตอ ๆ มาจากวัยหน่ึงสูอีกวัยหน่ึง ดวยเหตุนี้ เปูาหมายของการพัฒนาทักษะชีวิตแต ละชว งวัยกจ็ ะแตกตา งกนั ไปดว ย มอรแริสัน (Morrison, 1998 อางถึงในจีระพันธุแ พูลพัฒนแ 2556) กลาววา การมีอิสระพึ่งพา ตนเองได เป็น เปูาหมายหลักท่ีสําคัญสําหรับการดูแลและใหการศึกษาแกเด็กปฐมวัย ดังน้ัน การพัฒนา เด็กปฐมวัยใหมีทักษะการ อยูรวมกับบุคคลอื่น ไดเรียนรูการชวยเหลือบุคคลอื่น และพัฒนาทัศนคติ เกย่ี วกับการดแู ลตนเองไดท ง้ั ในดา น การแตงกาย เชน เลือกเสื้อผา ใสเอง ติดกระดุมรดซิบ ใสร องเทา ผูก เชือกได และแตงกายเองไดรวมทั้งมีทักษะดาน สุขอนามัย เชน ดูแลความสะอาดของรางกาย อาบน้ํา ลางมอื แปรงฟนใ ทานอาหารเองไดอ ยา งเรียบรอย เป็นเปูาหมาย สําคัญของการเสริมสรางทักษะชีวิตให เดก็ ปฐมวยั ไฮดแแบรนดแ (Hidebrand, 1991 อางถึงในจีระพันธุแ พูลพัฒนแ 2556) ไดนําเสนอเปูาหมายของ การศกึ ษา ระดับปฐมวัยไว 10 ประการ ไดแก 1) การเติบโตไปอยางมีอิสระ 2) การเรียนรูในการใหและ แบงปในไปพรอมกับการ รับความรักความใสใจ 3) การเรียนรูในการอยูรวมกับผูอื่น 4) การพัฒนาการ ควบคุมตนเอง 5) การเรียนรบู ทบาททาง เพศ 6) การเริ่มเขาใจรางกายของตนเอง 7) การเรียนรูและฝึก กลไกกลามเนื้อใหญและกลามเน้ือเล็ก 8) การเริ่มเขาใจ และควบคุมโลกทางกายภาพ9) การเรียนรูคํา ใหมและเขาใจบคุ คลอืน่ และ 10) การพฒั นาความรูสึกทางบวกเกีย่ วกบั สมั พันธภาพกับสงิ่ รอบตัว จากทฤษฎี “หนาตางแหงโอกาส” ยงยุทธวงศแภิรมยแศานต์ิ (อางถึงในหนังสือพิมพแแนวหนาวันท่ี 14 ธันวาคม 2555) กลาวไววา ในแตละชวงวัยที่เติบโตบุคคลจะตองไดรับการหลอหลอม พัฒนาสิ่ง สําคัญบางเร่ืองซ่ึงโดยธรรมชาติ แลวคนเราจะเรียนรูหรือพัฒนาบางเรื่องไดดีเฉพาะในชวงเวลาหนึ่ง เทานั้นชวงเวลาที่เหมาะสมนี้เราเรียกวา “หนาตาง แหงโอกาส” ซึ่งพอแมตองฉวยโอกาสพัฒนาเรื่องที่ เหมาะสมกับวัย และหนาตางแหงโอกาสจะชวยใหพอแมมเี ปูาหมาย ที่ชดั เจนในการเสริมสรางทกั ษะชีวิต เด็กปฐมวัย โดยทฤษฎีน้ีไดกําหนดทักษะชีวิตท่ีตองพัฒนาทักษะในระดับอายุ ตาง ๆ โดยไดระบุวา เปาู หมายในการพฒั นาเด็กแรกเกิดถึง 2 ปี คือ การเรียนรูความไววางใจและความผูกพันธแกับ ผูอื่น และ เดก็ วยั 3 ถึง 6 ปี คือ รูจักควบคมุ อารมณแและรูจักถกู ผิด จากการรวบรวมแนวคิดและทฤษฎีตาง ๆ ดงั กลาวมาแลว ทําใหเห็นวา การตั้งเปูาหมายของการ เสริมสราง ทกั ษะชีวติ เดก็ ปฐมวยั สามารถกาํ หนดตามคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงคแท่ีสอดคลองกับพัฒนาการ ทางอารมณแ สังคม และ หนาตางแหงโอกาสในการพัฒนาโดยเปูาหมายของการเสริมสรางทักษะชีวิตใน ครอบครวั ท่มี เี ดก็ ปฐมวัยสามารถระบไุ ดด งั น้ี
174 1.ในครอบครัวที่มีเด็กแรกเกิดถึงก่อนอายุ 3 ปี เปูาหมายการพัฒนาทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย คอื การชวย ใหเด็กปฐมวยั ไดเรียนรูความไววางใจและความผูกพันกับผูอ่ืน เด็กวัยแรกเกิดถึงกอนอายุ 3 ปี เป็นชวงวัยที่เด็ก ไมสามารถชวยเหลือตนเองไดและมีขีดความสามารถจํากัด ตองการเพียงแตการกิน อิ่มนอนหลบั ไดรับการตอบสนอง ความตอ งการทางดา นรางกายและจิตใจอยางนุมนวลทะนุถนอม เด็กที่ ไดร ับความผกู พันและการตอบสนองจากพอ แม/ ผูเลีย้ งดอู ยางถกู ตองเหมาะสม ดวยการท่พี อแมใหความ รัก ความเอาใจใส สรางสายใยผูกพัน จะสามารถสรางความ ผูกพันระหวางตนเองและพอแมผูเล้ียงดูได ซึ่งจะสงผลใหเด็กมีความรูสึกที่ดีตอตนเองและผูอ่ืน มีมนุษยแสัมพันธแท่ีดี จิตใจมั่นคง เชื่อมั่นในตัวเอง มี อารมณแสุขุม หนักแนน ตรงกันขามกับเด็กที่ถูกทอดท้ิงไมเคยถูกอุมยิ้มดวยพูดคุยดวย ก็จะพัฒนาเป็น ความผิดปกตใิ นวัยตอมาท่เี รียกวา “อาการโดดเดยี่ วทางสังคม” ชอบแยกตัวไมสนใจคนอื่นไมวางใจ ใคร มองโลกในแงราย สรางความสัมพันธแกับคนอื่นไดยาก ขาดความมั่นคงทางใจ และมีแนวโนมที่จะมี อารมณแ หว่ันไหวงาย 2. ในครอบครัวท่ีมีเด็กวัย 3 ถึง 6 ปี เปูาหมายการพัฒนาทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย คือ การ สอนใหเด็ก รูจักควบคุมอารมณแและรูจักถูกผิดการฝึกหัดความรับผิดชอบการฝึกใหชวยเหลือผูอื่นและ การอยูรวมกับผูอื่นเด็ก - ปฐมวัยในวัยอายุ 3 ปี เป็นวัยที่รักอิสระ เป็นตัวของตัวเอง ไมชอบทํา ตาม คําสั่งและยึดถือความตองการของตนเอง เป็นใหญ เด็กจะด้ือ หวงของมาก แตก็เป็นชวงเวลาที่เด็ก สามารถเรียนรูคุณคาและการมีปฏิสัมพันธแกับผูอ่ืนและเร่ิม สรางสัมพันธภาพกับบุคคลอ่ืนนอกจาก สมาชิกในครอบครวั เร่ิมเรียนรคู วามถกู ตอ งซึ่งเป็นสวนหนง่ึ ของพฒั นาการ ดา นคณุ ธรรม เมือ่ ถึงวัย 4 ถึง 6 ปี เด็กจะพัฒนาความเขาใจและสื่อสารใหผูอื่นเขาใจตนไดมากข้ึน รูจักความแตกตาง ของตนเองกับ ผูอืน่ ดงั นน้ั เปาู หมายการพฒั นาทกั ษะชีวติ ในระยะนมี้ ีดังน้ี 2.1 การสอนให้เด็กรู้จักควบคุมอารมณ์ ถาพอแมพลาดการปลูกฝใงเรื่องน้ีในชวงนี้ไปแลว พอถึงวัย ประถมศึกษา เด็กจะเติบโตเป็นเด็กที่ตามใจตัวเอง อารมณแเสียงาย ทําใจไมไดระงับอารมณแ ไมไดเม่ือผิดหวัง เสียหนา หรือไมไดอะไรดังใจ พอแมจํานวนมากใจออนกับลูก หรือรูสึกผิดท่ีไมคอยมี เวลาใหลูก จึงชดเชยดวยการตามใจ หรือมักจะทําอะไรใหลูกทุกอยาง เด็กจึงเป็นคนท่ีคิดแตจะรับ และ คิดวาพอแมจะตองเป็นฝุายใหตนทุกอยาง ดังนั้น ในวัยนี้พอแมจึงตองใจคอเขมแข็งเขาไว ปลูกฝใงใหลูก รูจกั ควบคมุ ยบั ยั้งความตองการ รจู ักรอคอย และทําอะไรให คนอ่นื บาง กอนหนาตางบานน้ีจะปดิ ลง 2.2 การสอนใหเ ดก็ รูจักถูกผิด แมวาเด็กเล็กยังไมรูวาการกระทําอะไรกอใหเกิดผลอยางไร ยังไม รจู กั เรื่องของเหตุผล แตพอ แมก ็ควรเร่ิมสอนเรอ่ื งผิดถูก เหมาะควรไดบางแลว ในทุก ๆ โอกาสท่ีเกิดข้ึน มีการกําหนด โทษหากทําผิด และลงโทษตามขอตกลง เชน ถาลูกไปหยิบของคนอื่นมา ก็ตองบอกลูกวา ไมถ กู ตองและใหเอาไปคืน เจา ของ หรือลูกชอบใชความรุนแรงกับคนอ่ืนหรือสัตวแเลี้ยง ก็ตองสอนใหรูวา ไมดี และควบคุมตัวไมยอมใหเด็กทํา รุนแรงเชนนั้น นอกจากนี้การบอกสอนผานเรื่องเลา หรือนิทาน สอนใจ ก็เป็นสิ่งท่ีเด็กช่ืนชอบและไดผลดี หากเร่ิมสอน เรื่องผิดชอบชั่วดีตั้งแตวัยนี้ จะไดผลดีที่สุดท่ีจะ กลอ มเกลาใหลูกมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมในวยั ทโ่ี ตขน้ึ
175 2.3 การฝึกหัดความรับผิดชอบ ครอบครัวและผูเกี่ยวของกับเด็กปฐมวัยควรหลีกเลี่ยงการทํา อะไรให แกเ ดก็ เพื่อใหเ ดก็ ไดเ รียนรูการทําอะไรดวยตนเองตามวัย เชน เด็กอายุ 3 ปีสามารถสอนใหรูจัก เก็บของเลน และเสื้อผา ทาํ ความสะอาดถวยชาม และแตงกายดวยตนเอง เมื่อเด็กอายุ 5 ปีสามารถฝึกปู และเก็บท่ีนอนได รูจักต่ืนนอนและ เขานอนตามเวลา เป็นตน การที่เด็กทําอะไรดวยตัวเองไดจะทําให เดก็ รจู ักรบั ผดิ ชอบ เปน็ เด็กเล้ียงงาย และไมเอาแต ใจตวั เองอีกดว ย 2.4 การฝึกหัดการช่วยเหลือผู้อื่นและการอยู่ร่วมกับผู้อื่น ครอบครัวและผูเก่ียวของกับเด็ก ปฐมวยั ควร เป็นแบบอยา งและสอนใหเด็กรูจักการใหแ ละชวยเหลอื ผูอื่น เชน แบงขนมใหเพื่อน แบงของ เลน ใหเพือ่ นเลน ดว ย ชวย ผใู หญถ ือของ ใหเด็กไดเลนและเรียนรูเป็นกลุมโดยมีเด็กท่ีหลากหลาย ท้ังเด็ก ท่ีเรียนรูเร็ว ชา พิการ ซน ฯลฯ เพ่ือใหเด็กรูจักแพรูจักชนะ รูจักการรวมมือ เคารพกฎเกณฑแกติกาใน สังคม ประนีประนอม ชวยเหลือคนท่ีดอยกวาในกลุมยอมรับความคิดเห็นท่ีแตกตางจากตนเอง รูจัก มารยาท เชน การกลาวสวสั ดี ขอบคุณ ขอโทษเป็นเมอื ตนเองทําผดิ เป็นตน จึงเห็นไดวา การพัฒนาทักษะชีวิตในครอบครัวท่ีมีเด็กปฐมวัยมีเปูาหมายแตกตางกันไปตามวัย ของเด็ก ปฐมวัยโดยเด็กวัยแรกเกิดถึงกอนอายุ 3 ปี เนนการชวยใหเด็กเรียนรูความไววางใจและความ ผูกพันกับผูอ่ืนและเด็กวัย 3 ถึง 6 ปี เนนการชวยใหเด็กไดเรียนรูการควบคุมอารมณแและการรูจักถูกผิด การรูจกั รับผิดชอบ การชว ยเหลือผูอ นื่ และอยรู ว มกับผูอ ืน่ ได 3.หลกั การเสรมิ สร้างทักษะชวี ติ ในครอบครวั ทม่ี เี ด็กปฐมวยั จากการรวบรวมหลักการสําคัญในการเสริมสรางทักษะชีวิตในครอบครัวที่มีเด็กปฐมวัย ไดแสดง ใหเ หน็ วา ครอบครวั ควรยึดหลักการเสรมิ สรางทกั ษะชีวติ สําหรบั เด็กปฐมวยั 6 ประการ ดงั น้ี 1. ทักษะชวี ิต ควรเรมิ่ ฝกึ ฝนตั้งแตเ่ ดก็ ปฐมวยั ปฐมวัยเปน็ ชว งเวลาที่เปดิ รับและสามารถพัฒนา ลักษณะนิสัย ที่ดีไดการศึกษาเปูาหมายและโอกาสทองของการพัฒนาตามวัยจะทําใหครอบครัวรูวาควร จะฝึกอะไรเดก็ บา งในเวลา ใด ซ่ึงจะทาํ ใหก ารสง เสรมิ ทักษะชวี ิตเด็กไดผ ลยิ่งข้นึ 2. ทักษะการเรียนรู้และทักษะการใช้ชีวิตสามารถพัฒนาไปพร้อมกันและผสมผสานกันได้ ครอบครวั ตอ ง ตระหนกั วาการเลา นทิ านใหเ ด็กฟใงแลวมีการพดู คุยตั้งคาํ ถาม จะชว ยใหเด็กฝึกการมีสมาธิ ฝกึ การคิดวเิ คราะหแกลา แสดงความคิดเห็น และซมึ ซับความประพฤติท่ีดงี ามจากเรื่องราวของนิทาน การ ใหเด็กเล็กไดรวมกลุม รองเพลง ทํา กิจกรรมรวมกับเพ่ือนๆ เป็นการสรางความสุขใจ ไดเคล่ือนไหว รางกาย และเรียนรูการอยูรวมกับผูอ่ืน ท่ีสําคัญ คือ ในการทํางานเป็นทีมควรฝึกใหเด็กไดลงมือทํางาน ไดใ ชค วามพยายาม เรยี นรูการทาํ ผิดถูกบา ง รูจ ักแบงปในและชวย เพื่อน ๆ ทดี่ อ ยกวา 3. การเรียนรู้ที่ดีเกิดขึ้นพร้อมกับการใช้ชีวิตท่ีดี ซ่ึงหมายถึง การสรางความสัมพันธแที่ดีใน ครอบครวั ผา น การปฏบิ ตั ดิ งั นี้ 3.1 ฝึกความรับผิดชอบในชีวิตประจําวัน การรูจักคิดและเลือกสรรส่ิงที่เป็นประโยชนแ และ หลกี เลย่ี ง ส่งิ ทเ่ี ป็นอนั ตราย
176 3.2 สรางบรรยากาศที่อบอุนและเป็นสุขในบาน เชน พอแมมีเวลาเลนและพูดคุยกับลูก มี การทาน อาหารพรอมกัน มีงานอดิเรกที่สรางความสุขรวมกันในครอบครัว ครอบครัวมีการชวยกัน ทํางานบาน แบงเบาภาระ ซึ่งกันและกัน มีการแบงปในของกิน ของเลน ระหวางพ่ีนอง หรือเพ่ือนบาน ฯลฯ 3.3 ควรฝกึ ใหเดก็ รจู กั แกป ญใ หาเป็นและพงึ่ ตนเองไดต้ังแตเล็ก ดวยการใหเด็กทําอะไรเองที่ สอดคลอง กับความสามารถตามวยั เชน ฝกึ การทํางานบาน ฝึกอาบนํ้า แตงตัว ทานอาหารเอง จะทําให เดก็ มีความอดทน เรียนรู การแกไขปญใ หา และสรา งความภาคภูมใิ จในตัวเอง ฯลฯ 3.4 ฝึกหัดใหเด็กมีระเบียบวินัย สามารถควบคุมตัวเองได เชน การเก็บขาวของเป็นที่ การ ทําอะไรตาม เวลา การรักษาความสะอาดรา งกาย ของใช ความสะอาดในบา น ฯลฯ 3.5 สอนใหเด็กรูจักการใชเวลาอยางมีคุณคา ไมใชเวลากับกิจกรรมบันเทิง เชน ดูทีวี เลน เกม คุย โทรศัพทแมากเกินไป พอแมควรสนับสนุนและชักชวนลูกใหทํางานอดิเรกที่สรางสรรคแรูจัก ประดิษฐแของเลนเองมากกวา ซอื้ ของเลนแพง ๆ สรา งความเพลิดเพลนิ ไมส้ินเปลืองมาก และไมเกิดโทษ ภยั 3.6 ฝึกใหเด็กรูจักคิด และเลือกสรรของกินของใชที่เป็นประโยชนแ และระมัดระวังภัย อันตรายตา ง ๆ ในชีวติ ประจําวัน เชน รูจักทานอาหารท่ีสะอาดและมีคุณคามากกวาทานตามใจปาก ซ้ือ ของโดยคํานึงถึงความจําเป็น มากกวาซ้ือทุกอยางที่อยากได รูจักสวมหมวกกันน็อคเม่ือนั่ง รถจักรยานยนตแ ฯลฯ 4 การฝกึ เด็กอยา่ งชดั เจน คงที่สม่าเสมอ และต่อเนอื่ ง ครอบครัวควรบอกเดก็ ใหช ัดเจนวาอะไร ดีไมดีอะไร ทําได หรือทําไมได อะไรที่อยากใหทํา หรือไมยินยอมใหทํา เชน บอกใหเด็กรูจักจดจํา และ ปฏิบัติตามศีล 5 บอกวา เมื่อเด็กโกรธ พอแมอนุญาตใหพูดเสียงดัง บอกไดวาโกรธอะไร แตตองไมดา หยาบคายและไมทํารายผูอ่ืน ไมทําลายขาวของ ไมอนุญาตใหเลนเกมในวันไปโรงเรียนตองทําการบาน และรบั ผดิ ชอบงานบา นใหเ สร็จกอนจงึ จะไปเลนไดเ ดก็ เลก็ ๆ ยงั ตองอาศยั พอ แมในการกําหนดกฎกติกา ตาง ๆ ซงึ่ เปน็ กตกิ า ขอ ตกลงท่ีชัดเจน มีเหตุผล และเดก็ ปฏบิ ัติได ครอบครัวพึงระลึกอยูเสมอวา ความคงท่ี สมํ่าเสมอ เป็นหัวใจสําคัญที่ชวยฝึกใหเด็กมีวินัยและ ทักษะชีวิต อยางไดผลราบรื่น ไมมีเด็กคนไหนรูสึกดีกับการท่ีวันหน่ึงพอแมเขมงวด แตอีกวันหน่ึงกลับ ผอนปรนขึ้น ๆ ลง ๆ ตามอารมณจแ นเอาแนเ อานอนไมได พอ แมจ ึงตองอาศยั ความอดทน ใจเยน็ บางคร้ัง ตอ งฝนื ความเคยชนิ บา ง ให พยายามนกึ ถึงผลดที ีจ่ ะเกดิ ข้ึนกับลกู และตวั พอ แมเ อง จะทําใหมีกําลังใจทํา อยางตอเน่ือง การฝึกอยางคร่ึงๆกลางๆ ไมตอเน่ือง ยอมทําใหการพัฒนาของเด็กหยุดชะงัก ไมไดผล ตามทค่ี วรจะเปน็ การท่คี นหนง่ึ ตามใจ คนหน่ึงควบคมุ ก็จะทําใหเ ด็กรสู กึ ไมชอบและตอ ตา นคนทค่ี วบคุม 5. ผู้ใหญ่เป็นแบบอย่างที่ดีและการสอนที่ดีท่ีสุด คือ ต้องมีทั้งการสอนให้จาและทาให้ดูการ สอนท่ีดีที่สุด คือ การที่ผูใหญทําตัวเป็นแบบอยางท่ีดี เพราะเด็กจะซึมซับจากพฤติกรรมที่ผูใหญแสดง ออกมาโดยอตั โนมตั อิ ยา งไมรูตัว ยิ่งกวาการสอนดวยคําพูดใด ๆ สิ่งที่ควรคํานึงอยูตลอดเวลา คือ คําพูด
177 และการกระทําของพอแมอยูในสายตาของ ลูก ๆ ซึ่งลูกพรอมท่ีจะซึมซับอยูตลอดเวลา ดังน้ัน ถาพอแม อยากใหล กู เป็นอยา งไร พอ แมก ็ควรทําอยางนนั้ 6. การใชเ้ ทคนิคและกิจกรรมทหี่ ลากหลายในการส่งเสรมิ เดก็ ครอบครัวควรปฏบิ ตั ิ ดังน้ี 6.1 แสดงความชื่นชมหรือชอบใจ เม่ือเด็กทําได ดวยการหอมแกม โอบกอด ยิ้ม ลูบศีรษะ พดู ชมเชย ใหเ ด็กภูมิใจ เม่ือเดก็ แสดงพฤติกรรมดใี ด ๆ ควรแสดงความสนใจและรบี ชมเชยทนั ที 6.2 มวี ิธีโนมนา วใหต่นื เตนอยากทาํ หรอื ทําใหเ ป็นเรอ่ื งสนุก เชน เลานทิ าน รอ งเพลง แสดง ทา ทาง ประกอบ ทาํ รว มไปกับพอ แม พ่ี ๆ นอ ง ๆ หรือเพอื่ นรุนเดยี วกัน 6.3 บอกสอนอยางนิ่มนวล มีการใหกําลังใจและปลอบโยน เมื่อเด็กทําไมไดดังใจอยาใช อารมณแกับ เด็ก ไมควรตีเด็กดวยอารมณแ การดุวา เขมงวดเกินไปจะทําใหเด็กปฏิบัติตามดวยความกลัว กังวล มากกวายนิ ดีทาํ ตามดวยความมัน่ ใจ พอใจ 6.4 สอนโดยใหเด็กเรียนรูความผิดพลาด ถาความผิดพลาดท่ีจะเกิดขึ้นไมไดสงผลเสียหาย รุนแรง เชน ถาขโมย พอ แมไ มค วรชดใชแทนเด็ก แตควรใหเด็กเอาของไปคืน ใหขอโทษ ลงโทษดวยการ หักคา ขนมชดใชความผิด หรือใหท าํ งานบานเป็นการลงโทษ เปน็ ตน 6.5 พูดคุยกับเด็กบอย ๆ และรับฟใงเด็กเสมอ พอแมควรฟใงลูกอยางต้ังใจเพื่อที่จะเขาใจ ยอมรับ เห็น อกเหน็ ใจ ใหค วามสาํ คัญกับสิ่งที่ลูกสนใจ ขณะเดียวกันพอแมก็ตองเฝูาระวังความรูสึกและ อารมณแลบของตวั เอง เชน ความหงุดหงดิ รําคาญ โกรธ สามารถระงบั และไมแสดงออกในอารมณลแ บ 6.6 สงเสริมทกั ษะชีวิตดวยกิจกรรมท่ีผอ นคลายและสนุกสนาน เชน ดนตรี ศลิ ปะ กีฬา การ ทองเท่ียว การทาํ กิจกรรมอาสาสมัคร จึงเห็นไดวา หลักการสําคัญในการเสริมสรางทักษะชีวิตในครอบครัวท่ีมีเด็กปฐมวัย ไดแก การ เสริมสราง ทักษะชีวิตตองสอดคลองกับพัฒนาการตามวัย การกลมกลืนกับชีวิตประจําวัน การมีชีวิตที่ดี และการเรยี นรูอื่น ๆ โดยพอ แมเ ป็นแบบอยางมกี ารกาํ หนดพฤติกรรมทีช่ ัดเจนวาอะไรทําได และทําไมได และมีความคงท่สี มาํ่ เสมอตอเนอ่ื ง ในการสงเสริมพฤติกรรมที่เหมาะสม รวมทั้งมีเทคนิคที่หลากหลายใน การพัฒนา ทามกลางบรรยากาศครอบครวั ท่ีอบอุนและกจิ กรรมทีส่ นุกสนานผอนคลาย 4.องคป์ ระกอบของการเสรมิ สร้างทักษะชวี ติ ในครอบครัวที่มีเดก็ ปฐมวยั ครอบครัวท่ีมีเด็กปฐมวัยจึงเรียนรูและเขาใจวา ทักษะชีวิตพัฒนาไดจากการเรียนรูตั้งแตวัยเด็ก เล็ก และมี การพัฒนามากขึ้นเป็นลําดับ สอดคลองกับพัฒนาการตามวัยจากเด็กทารกสูผูใหญ จาก การศึกษาดานพัฒนาการตาม ชวงวัย คุณลักษณะท่ีพึงประสงคแสําหรับผูใหญในสังคมไทย และความ พรอมหรอื โอกาสในการพฒั นาที่เหมาะสมตาม วัย ไดนํามาสูการกําหนดเปูาหมายและองคแประกอบการ เสริมสรา งทกั ษะชวี ติ ในครอบครัวทม่ี ีเดก็ ปฐมวัย จากการประมวลองคแประกอบของทักษะชีวติ จากหลายหนวยงาน พบวา องคแประกอบของทักษะ ชีวิตมีสวน คลายคลึงกันมากซ่ึงสามารถจําแนกเป็น 4 ดาน (WHO, 1993; UNICEF, 2014, กรม
178 สุขภาพจิต 2542, สํานักงาน วิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน พ้นื ฐาน 2554) ดงั นี้ 1. การตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น เป็นองคแประกอบที่เก่ียวของกับการรูจัก และยอมรบั ตนเองและผูอ น่ื รูความถนัด จุดเดน จุดดอย เขา ใจความแตกตางของแตละบคุ คล มีจุดหมาย ในชีวิต และมคี วาม ภาคภูมิใจในตนเอง 2. การคิดวิเคราะห์ตัดสินใจ และแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ เป็นองคแประกอบที่เก่ียวของกับ การคิดวิเคราะหแ สิ่งตาง ๆ อยางมีเหตุผล ระบุและประเมินสถานการณแไดอยางสมเหตุสมผล สามารถ คาดผลที่จะเกิดขึ้นในอนาคตท่ี เกิดจากการกระทําของตนเองและผูอื่น สามารถวิเคราะหแกลุมเพ่ือน ความเช่ือ คานิยม อิทธิพลของส่ือและปทัสฐาน ทางสังคมท่ีสงผลกระทบตอตนเองได สามารถตัดสินใจ เพื่อยุติปใญหาไดในทางสรางสรรคแ หรือสรางและรักษามิตรภาพ กับผูอ่ืนไวได รวมท้ังสามารถคิด ทางเลอื กในการแกปญใ หาไดอ ยางเหมาะสม 3. การจดั การกบั อารมณ์และความเครียด เป็นองคแประกอบที่เก่ียวของกับความเขาใจและการ รับรูเทาทัน ภาวะอารมณแของบุคคล สามารถรูสาเหตุของความเครียด สามารถควบคุมอารมณแและ จัดการกับอารมณแ ไมวาจะเป็น ความโกรธเศรากังวล ผิดหวังรูวิธีผอนคลายความเครียดรูจักการคิดบวก และการบรหิ ารเวลาทีจ่ ะชวยลดความเครยี ด ได อกี ทั้งสามารถเผชิญกับความทุกขแแ ละการสูญเสยี ได 4. การสร้างสัมพันธภาพท่ีดีกับผอู้ ่นื เป็นองคแประกอบที่เกี่ยวของกับความสามารถในการเขาใจ มุมมอง อารมณแ ความรสู กึ และความเห็นอกเหน็ ใจผูอนื่ สามารถส่ือสารเพือ่ สรา งสัมพันธภาพทดี่ ีกบั ผูอ่นื รวมท้ังสามารถ จัดการกับความขัดแยง และวางตัวไดอยางเหมาะสม มีทักษะการปฏิเสธ การเจรจา ตอรอง ตลอดจนมีความสามารถ ในการแสวงหาความรวมมือกับผูอื่น และทํางานรวมกับผูอื่นอยางมี ความสขุ การสงเสริมทักษะชีวิตในเด็กปฐมวัย จําเป็นตองพัฒนาใหครบทุกองคแประกอบ โดยคํานึงถึง ความสามารถ ทางอารมณแและสังคมตามชวงวัย เปูาประสงคแการพัฒนา และจุดที่เนนในการพัฒนาเด็ก แตละชว งวยั ไปดวย ซงึ่ ได กลาวมากอนแลวในตอนที่ 8.1.2 นัน่ คอื 1) ในเดก็ วัยแรกเกดิ ถึง อายกุ อน 3 ปี เปูาหมายการพัฒนา คือ การเรียนรู ความไววางใจ ความผูกพันกับผูอ่ืน และ 2) ในเด็กวัย 3 ถึง 6 ปี เปูาหมายการพัฒนาทักษะชีวิต คือ การสอนใหเด็ก รูจักควบคุมอารมณแและรูจักถูกผิด ฝึกหัดความ รับผิดชอบและการชว ยเหลือผูอื่น รวมถึงการอยรู วมกับผูอ่ืน จึงเห็นไดวา ในเด็กวัยแรกเกิดถึงกอน 3 ปี จะใหความสําคัญมากกับการพัฒนาทักษะชีวิตใน องคแประกอบ ที่ 1 การเห็นคุณคาตัวเองและผูอ่ืน และองคแประกอบที่ 4 การสรางความสัมพันธแที่ดีกับ ครอบครวั ผใู หญท ่ใี กลชดิ ซ่งึ จะเปน็ การวางฐานความรูสึกท่ีดีตอ ตนเองและผอู ่นื การมีอารมณแที่มั่นคงใน วยั ตอ มา รวมทัง้ สรางความสัมพนั ธแ ทด่ี ีกับคนอนื่ ๆ ไดง า ยขึน้ ในวยั ตอมาดว ย สวนในเด็กวัย 3 ถึง 6 ปี ก็ จะใหความสําคัญในการสง เสรมิ ทักษะชวี ิตทัง้ 4 องคปแ ระกอบ
179 ทั้งนี้ กรมสุขภาพจิต (2548) ไดกลาวถึง ลักษณะนิสัยท่ีเป็นความฉลาดทางอารมณแในเด็กวัย 3 ถึง 5 ปี ซงึ่ เปน็ องคปแ ระกอบความฉลาดทางอารมณแ ใน 3 ดา น ไดแ ก 1) ดานการอยูรวมกบั ผูอ ่ืน 2) การ เป็นบุคคลที่มีความสุข และ 3) การประสบความสําเร็จ ซึ่งพบวา ตัวอยางของพฤติกรรมเก่ียวกับความ ฉลาดทางอารมณแที่เป็นรูปธรรมที่ควร ฝึกหัดในเด็กปฐมวัยและเป็นพฤติกรรมที่สอดคลองกับ องคแประกอบของทักษะชวี ิตทั้ง 4 ดาน มดี ังน้ี 1. องคแประกอบดานการตระหนักรูและเห็นคุณคาในตนเองและผูอื่นตัวอยางพฤติกรรมท่ีควร ฝกึ ฝนไดแก แบง ปนใ ของกนิ ของเลน และชว ยเหลือผอู นื่ ใหความสนใจผูอื่นรูจักแสดงความรูสึกท่ีดีกับคน อ่นื เชน ความรกั ความสงสารรบั รอู ารมณแเศรา และรับรคู วามรสู ึกไมพ อใจของผูอ่นื ได 2. องคปแ ระกอบดานการคดิ วิเคราะหแ ตัดสนิ ใจ และแกป ญใ หาอยา งสรา งสรรคแ ตัวอยา งพฤตกิ รรม ทค่ี วร ฝึกฝน ไดแ ก ขอโทษเมือ่ ทําผิด มคี วามรับผิดชอบตัวเองตามวัย ยอมทําตามกฎระเบียบและกติกา ในบานโรงเรียน กระตือรือรน/สนใจใฝุรูดวยการซักถามหรือทําอะไรดวยตัวเอง มีความพยายามทําอะไร ใหส าํ เรจ็ 3. องคปแ ระกอบดานการจัดการกับอารมณแและความเครียดตัวอยางพฤติกรรมที่ควรฝึกฝนไดแก บอกผูใหญ ไดวา ตัวเองไมชอบหรือกลัวอะไร ควบคุมความอยากได เชน อดใจไมรองไหจะเอาของเลน ไมอาละวาดเมอ่ื ไมพอใจ ส่ิงตาง ๆ แสดงอารมณแกลัว กังวล โกรธ ไดอยางเหมาะสม 4.องคแประกอบดา นความสัมพนั ธทแ ด่ี ีกับผูอืน่ ตัวอยา งพฤติกรรมที่ควรฝึกฝน ไดแกส่ิงท่ีไมตรงกับ ความปรารถนาหรอื ความตอ งการของตนเอง กลาพดู ทกั ทายกับคนอนื่ หรือเพ่ือนๆ ความสามารถตอหนา คนหมูมาก กลา พดุ ซกั ถาม พูดโตตอบ และออกความคิดเห็น รูจักแบงของเลน ของกินใหเพื่อนรูจักการ ทักทาย การทําความเคารพ และมารยาทสังคม จะเห็นไดวา ครอบครัวควรเสริมสรางทักษะชีวิตใหเด็กปฐมวัยทั้ง4องคแประกอบ ไดแกการ ตระหนักและ เหน็ คณุ คา ในตนเองและผูอ ืน่ การคิดวิเคราะหแตัดสินใจและแกปใญหาอยางสรางสรรคแ การ จัดการกับอารมณแและการสรางความสัมพันธแที่ดีกับผูอื่น ท้ังนี้การเนนแตละองคแประกอบตองคํานึงให เหมาะสมกับวัยของเด็กและพัฒนาควบคู กับพฤติกรรมความฉลาดทางอารมณแ 5.แนวปฏิบตั ิการเสรมิ สร้างทักษะชีวิตสาหรบั พ่อแม่ และผู้เก่ยี วข้องกับเดก็ ปฐมวยั วิธกี ารสาํ คัญในการพัฒนาทักษะชีวิตเด็กปฐมวัย คือ พอแมและผูเก่ียวของในครอบครัวตองเป็น แบบอยาง ในการคิด การทําอยางมีทักษะชีวิต ซึ่งเด็กจะซึมซับจากการเห็นแบบอยางมากกวาการบอก สอน ดังนั้น หากพอแม ผูปกครองไมสามารถเป็นแบบอยางท่ีดีได หรือมีปใญหาทางอารมณแ ขาดทักษะ ชีวิตเสียเอง ก็เป็นการยากลําบากที่ เด็กจะเรียนรูทักษะชีวิตได และยังมีผลเสียท่ีทําใหเด็กเรียนรูสิ่งที่ไม ถูกตอ งสง ผลตอปญใ หาทางอารมณแและพฤติกรรมในอนาคต การเล้ียงดูเด็กท่ีไมถูกตองจะไมสนับสนุนใหเกิดการงอกงามของทักษะชีวิตของเด็กไดอาทิ การ เลี้ยงดูแบบ ปกปูองมากเกินไป ตามใจมากเกินไป หรือปลอยปละละเลยเกินไปหรือเขมงวดเกินไปหรือ เล้ยี งดูแบบสบั สน คือ พอ แมหรอื ผใู หญ คือ ปุยู าตายาย มกี ารเล้ยี งดูแตกตา งกนั คนหน่งึ ตามใจ คนหน่ึง
180 เขมงวดซ่ึงจะย่ิงเลวรายกวาการเล้ียงดู รูปแบบเดียวเสียอีก เพราะจะย่ิงทําใหเด็กสับสน เครียด วิตก กังวลย่ิงขึ้น รูปแบบการเลี้ยงดูเชิงลบเหลานี้ เกิดจาก ปใจจัยใดปใจจัยหนึ่งหรือหลายปใจจัยรวมกัน ไดแก 1) ขาดความรูแนวทางปฏิบัติและทักษะการเล้ียงดู 2) มีความเช่ือ ในการเล้ียงดูเด็กที่ไมถูกตอง 3) มี ความสัมพันธแท่ีไมดีในครอบครัว และ 4) พอแมมีปใญหาดานอารมณแและสังคม ซึ่งความรูและทักษะการ เลี้ยงดูเด็กเพ่ือสงเสริมทักษะชีวิตเด็กจะไดกลาวถึงในเร่ืองตอไป ในท่ีน้ีขอเร่ิมตนท่ีแนวทาง ในการปรับ ความเช่ือ การฝกึ ทกั ษะชวี ติ ของพอ แมผูปกครองและการพัฒนาความสัมพันธแในครอบครัวซ่ึงองคแความรู ดังกลา วจะชว ยใหพ อแมผ ูปกครองมตี น ทุนเพียงพอท่จี ะสอนลกู ใหไดผล คอื เป็นทั้งการสอนใหจําและทํา ใหดู 1. แนวทางการปรับเปลี่ยนความเชอื่ ที่ผิดในวิธกี ารเลี้ยงดเู ด็กปฐมวัย ครอบครัวมีแนวทางปรับเปลี่ยนความเช่ือท่ีผิด ๆ ในวิธีการเล้ียงดูเด็กปฐมวัย (กรมสุขภาพจิต 2547) ดงั น้ี 1.1 พึงตระหนักวา มีความเชื่อท่ีผิดในการเล้ียงดูเด็กปฐมวัยหลายประการ และครอบครัวควร ปรับเปลี่ยน ความเช่อื ทผี่ ิดเหลา นใี้ หถ ูกตอ ง 1.2 ตองทบทวนวามีประเด็นอะไรบางท่ีทําใหพอแมมีความใจรอนและอดทนไดนอย ความรูสึก ทนลูก ผิดหวังไมไดและอาการใจรอนของพอแมเป็นเรื่องธรรมดาที่มักเกิดขึ้นในพอแมยุคน้ีจํานวนมาก เน่อื งจากพอ แม สวนใหญท าํ งานนอกบานทั้งคู และมลี ูกนอ ย รวมท้ังสภาพสังคมที่มีการแขงขันสูง ทําให พอแมตองดิ้นรนเพ่ือการมี และเป็นในส่ิงที่คนอ่ืน ๆ และสังคมบอกวาดี จึงตามมาดวยประเด็นตาง ๆ ดงั น้ี 1.2.1 ความรสู ึกผิดทต่ี ัวเองไมม ีเวลาใหล กู จงึ มกั ชดเชยดวยการตามใจใหทุกสงิ่ ทีล่ ูกอยากได หรือ รอ งขอ 1.2.2 พอแมจํานวนมากมีชีวิตวัยเด็กที่ยากลําบาก จึงมักชดเชยความขาดแคลนในวัยเด็ก ของตัวเอง ดวยการทมุ เทวัตถุ และความสขุ สบายใหลูก เพราะกลวั วาลกู จะผดิ หวงั โดยเขาใจวาน่ีคือการ ที่พอแมใหค วามรกั และ สิ่งทีด่ ที ี่สดุ แกล กู 1.2.3 ชีวิตท่เี รง รีบทามกลางปใญหาจราจรและการดิน้ รนในเมืองใหญ ทําใหพอแมไมมีความ อดทนและ ใจเยน็ ท่ีจะรอคอยใหล กู ทําอะไรดว ยตัวเอง ดังน้ัน พอแมจึงตองตระหนักวา ความรักที่ใหอยางไมถูกตองทามกลางความกดดันของกระแส สังคม ทน่ี ยิ มวัตถุ จะกลับกลายเปน็ การขัดขวางการพัฒนาทักษะชีวติ ของลูกโดยพอ แมไ มร ตู วั 1.3 ฝึกความอดทน อดกล้ัน และใจเย็นมากขึ้น พอแมอาจเผลอตามใจ หรือทําอะไรใหลูก เพยี งเพ่ือใหลูก หยุดรองงอแง หยุดอาละวาด หรือทําเพื่อแกปใญหาเฉพาะหนาใหเสร็จ ๆ ไป แตกลับย่ิง สรางนิสยั ที่ไมดีใหลูก ซ่ึงพอ แมตองหนักใจในระยะยาว ดังน้ัน ขอใหพอแมหนักแนนและม่ันคงในความ เป็นพอแมเขาไวโดยปฏิบัตดิ งั น้ี
181 1.3.1 อยา ควักกระเปาใหสตางคแลูกงายเกินไป อดทน นิ่งไดตออาการงอแงจะเอาใหไดของ ลูก รูจัก ปฏิเสธบางเมื่อลูกรองขอส่ิงที่ไมสมควร โดยไมจําเป็นตองรูสึกผิดใด ๆ และขอใหเชื่อในความ เป็นพอแมท ี่ยอ มมีสิทธิ ในการควบคุมพฤตกิ รรมของลกู ไมใ ชใ หล กู มาเป็นฝาุ ยควบคุมพอ แม 1.3.2 เวลาใหล ูกทําอะไรดว ยตัวเองบอกตวั เองใหใ จเย็นเขาไว แมวาลูกจะทําชาไปบาง อาจ ทาํ ของ เสยี บา ง หรือไมเรียบรอยบา ง อยาไปตาํ หนิ ดวุ า ใหคิดวา ยอมใจเย็นตอนน้ี ชา นิดหนอ ย แตจ ะทํา ใหลูกพึ่งตัวเองได ดีกวา ปลอ ยจนลกู ทาํ อะไรไมเปน็ 1.4 วางแผนชีวิตและการใช้เวลาใหด้ ี สาํ หรับชีวิตในยุคศตวรรษที่ 21 ซึ่งเต็มไปดวยวัฒนธรรม อาหารจาน ดวน การเล้ียงดูลูกจึงเป็นเร่ืองยุงยากยิ่งขึ้น ดังน้ัน จะใหพอแมทําใจเย็นและอดทนนั้นก็ อาจจะยากกวายุคกอน ๆ อยางไรก็ตามพอแมจะใจเย็นและอดทนไดงายขึ้นหากมีการบริหารเวลาและ บริหารชีวิตควบคไู ปดว ย นอกจากนี้พอแมค วรคิดใหด วี า “อะไรจะดกี วากัน” ระหวางการใหลูกเรียนโรงเรียนมีชื่อเสียงแต อยไู กลบาน มาก กบั การใหเ รยี นโรงเรยี นใกลบานท่ีมคี ณุ ภาพพอประมาณ การเลือกทํางานท่ีไดเงินเดือน สูง ๆ มีเงินจับจายมาก แตก็เรียกรองเวลามากจนพอแมเครงเครียดและไมมีเวลาเหลือจะมาดูแล หรือ การเลอื กงานที่ไดเ งินพอประมาณ มีเงนิ ใชส อยแคพ อไมเ ดอื ดรอ น แตม ีเวลาดแู ลลูกมากข้ึน 1.5 เลกิ ตามใจตวั เอง หากอยากใหล กู ไดด ี พอแมตองเลิกตามใจตัวเองในหลายๆ เรื่อง เชนงดดู ทีวีรายการโปรดยามคํ่าคืนเพ่ือทจ่ี ะฝกึ ใหลูกแตห ัวค่าํ ได งดทานของโปรดที่เคยชอบอยา งน้ําอัดลมเพ่ือฝึก ลูกใหเลือกทานส่ิงมี ประโยชนแ ทําอะไรเป็นระเบียบมากขึ้นกวาเดิมเพ่ือฝึกใหลูกมีวินัย แตเรื่องนี้พอแม สวนใหญคงทําไดไมยาก เพราะมี ความรักลูกเป็นพลังท่ียิ่งใหญอยูแลว เพื่อลูกที่รักพอแมจึงพลอย เปลี่ยนแปลงตัวเองในทางทดี่ ีไปดวย 2. การฝกึ ทักษะชีวติ ของพ่อแม่ พอแมตองเรียนรูในการฝึกทักษะชีวิตของตนเองกอนท่ีจะไปเสริมสรางทักษะชีวิตของลูกซ่ึงมี แนวทางดังนี้ 2.1 เรยี นรกู ารจดั การอารมณแ พอ แมห ลายคนทัง้ ๆ ทีร่ วู าควรจะใจเย็นอดทนกบั ลูก แตพ อเจอพบ สถานการณแ จริงเม่ือลูกด้ือ งอแงข้ึนมาก็ตอง “ปรีดแตก” ยากท่ีจะควบคุมตนเองได ท้ังน้ีเพราะขาด ความสามารถในการจดั การกบั อารมณดแ า นลบไดอ ยา งเหมาะสม อารมณแดานลบ ไมวาจะเป็นความโกรธ ความกังวล ความกลัว ความเครียด ความ เศรา ฯลฯ หากจัดการควบคุมไมไดปลอยใหอารมณแอยูเหนือ เหตุผลก็มกั จะทําอะไรโดยขาดสติ เชนตั้งใจจะสอนลกู ดวยคาํ พูดดี ๆ แตพ อโกรธก็อดท่ีจะตวาดลูกไมได ทําแลวก็มารูสึกผิดหรือเสียใจภายหลัง หรือปลอยใหอารมณแลบ มีอิทธิพลตอตัวเองจนกระท้ังชีวิต เสียศูนยแ เต็มไปดวยความตึงเครียด และทําอะไรผิดพลาดซํ้าเติม ความสามารถในการจัดการอารมณแ ไมใชส่ิงท่ีเกิดขึ้นดวยการจดจํา และการนึกคิด เทาน้ัน แตเป็นความสามารถที่ตองผานการฝึกฝน จน ชาํ นาญ เชน เดียวกบั การฝึกข่จี กั รยานหรือการฝึกวา ยนา้ํ ซ่ึงพอเป็นแลวก็ทําไดไมย าก 2.2 ฝึกฝนลดความโกรธงา่ ยพอ แมสามารถปฏบิ ัติไดดังน้ี
182 2.2.1 นึกถึงผลกระทบที่เกิดข้ึน เมื่อมีอารมณแโกรธ เชน โกรธบอย ๆ แลวจะความดันข้ึน ทาํ ให ครอบครวั ไมมีความสขุ ทําใหไมมีใครอยากรวมทาํ งานดวย 2.2.2 ฝกึ รูสึกตวั บอย ๆ เม่ือโกรธมาก ๆ ใหหายใจเขาออกลึกยาว หลาย ๆ คร้ัง ต้ังสติรับรู วากําลงั โกรธ บอกตัวเองวา “กําลังโกรธมาก จะไมทําอะไรตอนน้ี” หากความโกรธยังไมลดลง ควรเดิน ออกจากเหตุการณแน้ัน จนกวาอารมณแจะสงบ อยาพยายามแกปใญหา หรือสอนลูกขณะท่ีตัวเองกําลัง โกรธ 2.2.3 ทบทวนตัวเองบอย ๆ วาเรามักจะโกรธเร่ืองอะไร สถานการณแอะไร หลังจากน้ัน วางแผน การปูองกันและแกไข เชน อาจใหคนอื่นตักเตือน อาจตองหลีกเลี่ยงสถานการณแ อาจตองหา กิจกรรมคลายเครียด เปน็ ตน 2.2.4 ฝึกคิดบวกบอ ย ๆ คนท่ีโกรธงา ย เครียดงาย วิตกกังวลงาย มักมองโลกในแงราย เชน เจองาน ยากๆ ก็คิดไปกอนแลววา “ฉันทําไมไดแน ๆ ” คิดกลุมใจแตวา “ลูกเรียนไมเกงเทาเด็กขาง บา น” ทั้งทลี่ กู มีขอดดี าน อื่นทน่ี า ชืน่ ชมตั้งมากมาย ดงั นั้นเมื่อพบคนที่ไมถ ูกใจ หรอื สถานการณแอะไรที่ไม ถูกใจ ใหหมั่นคิดวา “มีดีบางไหม” ในเร่ืองนั้น ๆ เชน คิดวาเจองานยาก ๆ ก็ดีซิ ทาทายดี ฝึกใหเป็นคน เกง ลูกเรยี นไมเกง แตก็เปน็ เด็กมนี าํ้ ใจ เกง กฬี า และมนษุ ยสัมพันธแดี เปน็ ตน 2.2.5 ฝึกผอนคลายความเครียดและหม่ันดูแลรางกายและจิตใจใหสดชื่น แข็งแรงอยูเสมอ ควรแบง เวลาแตละสัปดาหแในการผอนคลายท่ีเป็นประโยชนแ เชน ออกกําลังกาย น่ังหรือเดินเลนในที่ ธรรมชาติ เขาวัดฟใง ธรรมบาง จะชวยคลายอารมณแ และไดเรียนรูการจัดการกับชีวิตมากข้ึน ดีกวาการ ผอนคลายอารมณแดวยการดื่มสุรา การไปเดินซื้อของ การพูดคุยทางออนไลนแ (Chat) กับเพ่ือน การเลน เกม ซ่ึงยังทําใหป ใญหาคงอยแู ละอาจสรา งปญใ หา ใหมตามมา 2.2.6 ขอบคุณตัวเองทุกคร้งั ทีเ่ อาชนะความโกรธหรอื อารมณดแ านลบได 2.3 ใหก้ าลงั ใจตนเองในการเปลย่ี นแปลง การเปลยี่ นแปลงตนเองเป็นสิง่ ทต่ี อ งทาํ อยางคอยเปน็ คอยไป และ อาศัยแรงจูงใจ พอแมสามารถเปลี่ยนแปลงตนเองไดโดยปฏิบตั ดิ งั น้ี 2.3.1 ทบทวนและต้ังเปูาหมายพอแมควรจัดอันดับวา ส่ิงที่ตองการแกไขเปล่ียนแปลง คือ อะไร อะไร เป็นส่งิ ทตี่ อ งทาํ กอนและหลงั อะไรทํางายและอะไรยงุ ยาก และควรเรม่ิ อะไรกอน 2.3.2 มุง มน่ั ตอ เปาู หมายคือ การลงมือปฏบิ ตั ิทนั ที และถอื วา การเปลีย่ นแปลงตัวเองเพื่อลูก เป็นการ เปลีย่ นแปลงที่ทา ทาย คมุ คาทีส่ ดุ นาทาํ ทสี่ ดุ ใหนึกวา “ความสุขของพอแมคือการให แตการให ในท่ีน้ี ไมใชใหวัตถุ เงินทองเทานั้น การใหท่ีย่ิงใหญกวา คือ การเสียสละ ยอมท่ีจะเปล่ียนแปลงตัวเอง เพอ่ื สรา งทกั ษะชีวิตท่ีดีใหล กู ” แลว ทา ยทส่ี ุดพอ แมก จ็ ะไดรบั คืน คือ ความภาคภูมิใจในตนเอง ความนับ ถือตนเอง และยอมแนนอนวาเม่ือพอแมหวาน เม็ดพันธุแท่ีดี ใหความเอาใจใสรดน้ําพรวนดิน ทานก็ยอม ไดร บั ทด่ี จี ากส่ิงทีไ่ ดท าํ ไว แนนอน 2.3.3 ลดความสมบูรณแแบบ พอแมตองใจเย็นกับตัวเองดวย ตองทําใจยอมรับวาคนเราไม อาจ เปล่ียนแปลงตัวเองไดในช่ัวขามวันขามเดือน ใหคิดวาเราจะพยายาม เผลอทําไมดีอีกก็อยาถึงกับ
183 เครียด หรือตําหนิ ตัวเอง ก็ใหเร่ิมตนทําดีใหมทันที ฝึกไปเรื่อย ๆ เพ่ิมความถี่และความตอเน่ือง ดีขึ้น แบบคอยเป็นคอยไป 2.3.4 ชื่นชมผลสําเร็จ และหม่ันใหกําลังใจตนเอง เม่ือทําดีไดคร้ังใด ใหบอกตัวเองวาเราก็ ทําได ควร ใสใจกับสิ่งดี ๆ ท่ีทําได ส่ิงดี ๆ ที่เกิดขึ้นแมเป็นเร่ืองเล็กนอย เชน “ใจเย็นใหลูกคอย ๆ แตงตวั เองได เห็นไหมถา ใจเยน็ ลกู ก็ทาํ ได” “ใจแข็ง ไมซ ้ือของตามใจลูก ลูกรองแปฺปเดียว เห็นไหมก็ยิ้ม หัวเราะราเริงได” “ตัดใจไดไมดูฟุตบอล รีบพาลูกเขานอนแลวเลานิทานใหลูกฟใงกอนนอน เห็นไหมลูก นอนหวั คํา แลว ตน่ื เชา ไดโดยไมงอแงเลย” 3. การพัฒนาความสมั พันธใ์ นครอบครวั ปใญหาความสัมพันธแในครอบครัว โดยเฉพาะความขัดแยง ไมเขาใจกันระหวางพอแม หรือเครือ ญาติใน ครอบครวั กระทบตอ สุขภาพจิตของเดก็ มาก และเป็นอปุ สรรคตอ การสงเสรมิ ทักษะชวี ิตเด็ก รูปแบบความสัมพันธแที่เป็นปใญหา เชนการขัดแยงกันที่ชัดเจนมีการทะเลาะวิวาทการทํารายกันใน ครอบครัว ท้ังคําพูดและการกระทํารุนแรงซึ่งอาจมีการดึงลูกเขาพวกกับฝุายใดฝุายหนึ่ง หรือ ความสัมพันธแที่หางเหินไมพูดคุย กัน อยูบานเดียวกันแตเหมือนคนแปลกหนากัน พอไปทาง แมไปทาง ลกู ก็มกั จะวา เหว หรอื ความสัมพนั ธแทดี่ ูผวิ เผิน เหมือนรักกันดี แตท่ีจริงมีความขัดแยงที่ซอนเรน เชน พอ หรอื แมฝุายหนึง่ ควบคมุ บงการทุกอยา ง อกี ฝาุ ยยอมตาม โดยไมโตแยง แตทําดวยใจท่ีไมมีความสุข เก็บ ซอนความทุกขแใจ และมกั ตามมาดวยปญใ หาสุขภาพจติ ซงึ่ เดก็ กจ็ ะ ซึมซับความทกุ ขแใจเหลา นี้ไวดวย ความสัมพันธแท่ีไมดีในครอบครัว เกิดจากปใจจัยใดปใจจัยหนึ่ง หรือจากหลายปใจจัยรวมกัน ไดแก 1) ปใญหา อารมณจแ ติ ใจ และบคุ ลิกภาพของพอแม เชน เป็นคนเอาแตใจตัวเอง เจาอารมณแ ชอบควบคุม และบงการคนอ่ืน หรือ อีกดานก็เป็นคนยอมตามผูอื่นและพ่ึงพิงคนอ่ืนเกินไป ขาดความเป็นตัวของ ตัวเอง 2) ครอบครัวประสบภาวะบีบค้ัน จากปใญหาเศรษฐกิจและสังคม เชน มีลูกพิการภาวะตกงานมี หนส้ี ินและครอบครัวไมส ามารถจัดการกับปใญหาเหลา นี้ จึงมปี ใญหาอารมณแและความขดั แยงในครอบครัว ตามมา 3) การขาดทักษะการสอ่ื สาร และการแกปญใ หาในครอบครัว เชน ไมฟงใ กัน ไมบอกความตองการ ของกนั และกนั ตกั เตอื นกันดว ยคําตําหนิ แทนการบอกดวยเหตุผล เม่ือมีปใญหา ก็ไมมีการรวมปรึกษาใน การแกปใญหาดวยกัน 4) ครอบครัวขาดแหลงสนับสนุนทางสังคม หลายครอบครัวปิดตัวเอง จาก ความสัมพันธแกับเพ่ือนบาน เครือญาติ และชุมชน จึงทําใหขาดการรับขอมูลขาวสารที่เป็นประโยชนแ มี มุมมองท่ี คับแคบ เม่ือมีปใญหาก็จมอยูกับปใญหา ขาดการเขาถึงแหลงสนับสนุนตาง ๆ และปฏิสัมพันธแก็ มุงแตค นในครอบครัว จงึ ยอมมกี ารปะทะ ขัดแยงกันไดง าย ในครอบครัวปกติทั่วไปแลว แมสมาชิกในครอบครัวจะมีความรัก ความผูกพัน ความหวงใยกัน และกัน แต ก็พบวาสวนใหญยังมีปใญหาการส่ือสารกันอยูมาก เมื่อไมสื่อสารกัน ไมฟใงกัน ไมบอกความ ตองการ ก็ยอมไมเขาใจ ไมรวมมือกันในการดูแลและแกไขปใญหาของลูก ซ่ึงอาจบานปลายเป็นความ ขดั แยงกนั มากข้ึน อาจปลอ ยใหก ารดแู ล ลูกเป็นหนาที่ของคนใดคนหนึ่งไปเลย ซึ่งยอมสรางความเครียด
184 สูงแกฝุายท่ีตองรับผิดชอบมากเกินไป หรือไมก็เกิด ภาวะพอพูดอยาง แมพูดอีกอยาง เด็กก็จะสับสน สดุ ทา ยก็เลยกลายเป็นการตอตานไมทาํ ตามท่ีพอแมบอกสอน พอแมผูปกครองท่ีมีบุคลิกภาพและภาวะอารมณแที่เป็นปกติ สามารถเรียนรูการสราง ความสมั พันธทแ ด่ี ใี น ครอบครัวไดไมย ากนกั โดยฝึกหดั กจิ กรรมตอไปน้ี 3.1 ทบทวนสัมพันธภาพใหม่พอ่ แมม่ วี ิธปี ฏบิ ตั ิดงั นี้ 3.1.1 ใหน กึ วา คนใกลชิดที่ตัวเองมักมีเรื่องไมสบายใจเกิดข้ึนมากที่สุด (ระบุ) คือ ใคร ลอง นึกถึง เหตุการณแและความคิดท่ีเกิดขึ้นบอย ๆ ตอบุคคลดังกลาว โดยแยกเป็น 1) สิ่งแย ๆ ของเขาท่ีทํา กับเรา 2) สิ่งดี ๆ ทเี่ ราพยายามทาํ แตกลับไมเปน็ ผล เชน เขาไมชวยทาํ งานบา น เราตง้ั ใจทาํ กับขา วใหเขา กนิ แตเขาไมเคยชมเลย เม่อื ทบทวนแลว ลองดคู วามรสู กึ วาทา นเกิดความรูสกึ อยางไร 3.1.2 ใหรูลมหายใจเขาออก จนสังเกตวาตัวเองมีอารมณแผอนคลาย แลวลองนึกทบทวน สัมพันธแใหม โดยนึกถึงบุคคลคนเดิม วา 1) ส่ิงดี ๆ ของเขาที่เรามองขาม 2) สิ่งแย ๆ ที่เราทํากับเขาแม ไมไ ดต ัง้ ใจ เชน “ เขาให เงินเดือนเราเก็บท้งั หมด” “เขาเปน็ คนรักและเอาใจใสล ูก” “เราบนวา กบั ขาวไม อรอ ยทัง้ ๆ ท่เี ขาก็ตัง้ ใจทําใหเ รากิน” ทบทวนแลว ลองดคู วามรูสกึ ของตวั เองอีกคร้ังหนึ่งวาเปล่ียนไปจาก ครั้งแรกหรอื ไม และไดข อ คน พบอะไรบาง การฝึกคิดลักษณะน้ีจะทําใหพอแมเร่ิมมีมุมมองในดานบวกตอคนในครอบครัว และเกิดการ ยอมรบั กันมาก ข้นึ วาคนเรามีทงั้ ดานบวกและลบ หากเรานึกถึงดา นดีตอ กนั และนกึ ถงึ ใจเขาใจเรามากข้ึน ก็จะทาํ ใหมีความเขา ใจกัน และลดความรูสกึ โกรธ ความขนุ เคอื งใจตอกันได 3.2 ฝกึ คุยกันใหเ้ ขา้ ใจ ขณะทเ่ี ราไมพ อใจใคร และควบคุมอารมณแไมได ก็มักจะพุงความโกรธไป ที่คนน้ัน พรอ มกบั คาํ พดู ตําหนิ หรือประชดประชัน ตาง ๆ เชน “ซนอีกแลว อยูเฉย ๆ เป็นไหม” “คุณนี่ เฮงซวย คดิ อะไร ไมเ ป็น ฉนั ไมนาคิดผิดแตงงานกบั คณุ เลย” “เด็กอะไรไมรู ขเ้ี กียจเหลือเกิน โตขึ้นอยาก เป็นขอทานใชไหม” คําพดู เหลา น้ี แมอารมณแลึก ๆ คือคําพูดท่ีมาจากความรัก ความหวงใย ความกังวล แตผูฟใงจะรับรูแตวาคุณโกรธ รังเกียจเขา ไมหวังดีตอเขา และมักจะตามมาดวยความรูสึกโกรธ เป็นอริ และตอตานกลับ ย่ิงหากเขาไดยินคําพูดไมดี บอยๆ ก็พาลประชดทําไมดียิ่งขึ้น เพราะธรรมชาติของ มนุษยแน้ันไมตอ งการคนมาพูดตอกเยาวา เขาผิด เขาเลวอยางไร แตต องการคนทีจ่ ะบอกเขาดีๆวา เขาควร ทําอยางไรจึงจะถูกหรือหากเขารับรูไดวาคําพูดนั้นมาจากความรักหวังดีและ หวงใยจริง ๆ มากกวาการ ไมช อบตัวเขา เขาก็พรอมจะเปล่ียนแปลงพฤติกรรมใหด ีขึ้นมากกวา การรบั รคู ําพูดเชงิ ลบ ดังนน้ั พอแมควรเรียนรวู ธิ กี ารสือ่ สารใหเ ขา ใจกันไดด ังนี้ 3.2.1 ฝกึ ความสามารถในการจัดการอารมณแ การสื่อสารความรูสึกที่ดีจะเกิดข้ึนไดก็ตอเมื่อ ผูพูดมีความ สามารถในการจัดการกับอารมณแตัวเองใหสงบ และมีใจพรอมจะรับฟใงเหตุผลของอีกฝุาย หนึ่ง พึงระลึกเสมอวา เราจะ ไมสื่อสารกันขณะที่ยังมีความโกรธรุนแรงทั้งสองฝุาย เพราะฝุายพูดจะ ควบคุมตวั เองไมได ฝาุ ยฟงใ ก็ไมพ รอ มจะรับฟงใ เราสามารถใชคาํ พูดวา “ พอ กาํ ลังโกรธ พอจะยงั ไมพูดกับ ลกู ตอนน”้ี “ลกู กาํ ลังโกรธ พอ จะคุยตอนท่ีลูกใจเยน็ กวาน้ี”
185 3.2.2 สอ่ื สารดวยคําพดู แสดงความรสู กึ เม่ืออารมณขแ องคขู ดั แยงสงบในระดับท่ีพอรับฟใงกัน ได จึง ส่ือสารดวยคําพูดแสดงความรูสึกแทนคําพูดตําหนิใหผูพูดแสดงความรูสึกท้ังความโกรธ และควร แสดงความรูสึก ดานบวก เชน ความหวงใย ความกังวลใจ ดวยพูดดวยน้ําเสียงท่ีนิ่งสงบ ไมเกร้ียวกราด ใหระวังวาเรากําลังบอก ความรูสึก ความตองการใหอีกฝุายรับรู ไมใชการระบายความโกรธตออีกฝุาย และใหบอกพฤติกรรมที่ชัดเจน เจาะจง แทนคําพูดแบบกลาวโทษและตีความพฤติกรรม เชน บอกวา “พอ กังวลและโกรธทล่ี กู ไมบอกความจริงใหพ อ แมท ราบ” แทนคําพดู วา “พอ โกรธทล่ี ูกเหลวไหลไมนึกถึง ใจพอ แม” 3.2.3 รบั ฟใงและสังเกตทา ที เมอื่ บอกความรูสกึ ของผูพ ดู แลวกต็ อ งรบั ฟงใ และสังเกตทา ทีของ อีกฝุาย ใหอีกฝุายไดบอกเหตุผล หรือความรูสึกตางๆ หากผูฟใงยอมรับความผิด ก็ควรพูดถึงความ ตองการของผูพูดเป็นการ พูดเชิงขอรองมากกวาบังคับ เชน “ครั้งตอไป ถาลูกอยากไดของเลนนี้ใหลูก บอกพอ แมไ ดไ หม อยา ไปหยบิ ของคนอน่ื มาโดยไมบ อกเจา ของ” และขอบคณุ เม่อื ลูกยอมรวมมือดวย 3.3 ฝึกปรองดองแม้คิดต่างกันการเล้ียงลูกเหมือนการวิ่งสามขา พอแมตองพูดคุยปรึกษาวาจะ เรม่ิ ทีข่ าไหน กอ น ขาไหนตาม และสามัคคีในการว่ิง ไมเชนน้ันก็จะวิ่งไดชา ทุลักทุเล ยื้อยุดกัน หรือไมก็ หกลมหัวคะมีตง้ั แตอ อก สตารแท พอแมหลาย ๆ คูมีความคิดเห็นแตกตางกัน ทําใหมีปใญหาในการเล้ียงลูก ฝึกฝนลูกไปคนละทิศ คนละทาง พอเขม งวด แมปลอ ยปละละเลย ทําใหฝึกสอนลูกไมไดผล และลงเอยดวยความขัดแยง ลูก ๆ ก็มักจะเลือกไปทาง ฝุายท่ีตามใจเขามากกวาฝุายที่เขมงวด อาจเป็นปใญหาที่ทะเลาะกันไปจนลูกโต ถา บานไหนเป็นครอบครัวใหญ มีปูุยา ตายาย ลุงปูานาอาชวยเลี้ยงดวย ความคิดตางอาจเป็นไปคนละ ทิศทางไดงาย ผูสูงวัยบางคนก็อาจยึดถือความคิดตัว เองสูง หรือเป็นคนข้ีนอยใจ ซ่ึงกรณีนี้ พอแมตอง เป็นหลักและยืนยันรวมกันวาจะใชวิธีการไหนและใชกํากับลูกให เป็นเสียงเดียวกัน อาจตองหาผูรูชวย เป็นตัวกลางในการอธิบายใหผูสูงวัยเขาใจ ใหครอบครัวเล้ียงดูเด็กในแนวทาง เดียวกันจะไดเดินหนาไป ดว ยกันได หากพอ แมเปน็ คทู ะเลาะวิวาทก็ตอ งใชหลักการว่ิงสามขามาเปน็ หลกั ในการเลีย้ งลูก คือ พูดคุยตก ลงใหเ ป็น เสยี งเดยี วกัน ชัดเจนวาเรอ่ื งน้ีจะเอายังไงจะฝึกสอนลูกแบบไหน หากยังคิดเห็นไมตรงกันหาขอ ยุติไมไดกต็ องชะลอ ไปกอ น โดยบอกกับลูกวาพอ แมข อปรึกษากันกอน แลวจะใหคําตอบทีหลัง ดีกวามา ทะเลาะเถยี งกนั ตอ หนาลูก การฝึกปรองดองความคดิ ตา งในครอบครัว มวี ธิ ตี อไปนี้ 3.3.1 ยอมรับในความคิดเห็นท่ีแตกตางโดยท่ีรักษาสัมพันธภาพไวได ใหคิดวา พอแมท่ีมา จากตาง ครอบครัว ตางความคดิ มโี อกาสที่จะฝึกฝนลูกแตกตางกันไดบางในรายละเอียด แตทิศทางการ ฝึกควรจะตรงกัน และตรงกับของโรงเรียน เชน การชวยเหลือตนเอง รับผิดชอบ ตรงเวลา รักษากติกา เป็นตน 3.3.2 หาขอ ตกลงในหลักการใหญ ๆ รวมกัน
186 3.3.3 ยอมใหมคี วามแตกตา งกนั บา งในรายละเอยี ดการฝกึ 3.3.4 ไมค วรเถยี งกันตอ หนา ลกู แตควรใหเกยี รตริ ับฟใงเหตผุ ลของกนั และกนั 3.3.5 ควรพดู คุยกนั ระหวางพอแมโ ดยไมกลาวโทษกัน และพดู คยุ ในบรรยากาศทเี่ ปน็ มติ ร 3.3.6 ใชอารมณแขนั และการสอ่ื สารทีด่ ี (ต้ังใจฟงใ สอื่ สารความรสู กึ ความตอ งการ) จึงเห็นไดวา การจัดการกับอารมณแก็คือทักษะชีวิตเรื่องหน่ึงท่ีทุกคนฝึกฝนไดตลอดชีวิต และเป็น ทกั ษะที่ สําคัญของความเป็นพอแม ขอเพียงพอแมเ หน็ ความสําคญั ของเร่ืองนี้เทา นัน้ กไ็ มยากเกนิ ไปที่จะ ฝกึ ฝน ความรูก าร ฝกึ ฝนทักษะดานการจดั การกบั อารมณแท่มี อี ยูในหนังสอื ตางๆ แตกอ็ าจไดผลไมมากนัก การพูดคุยขอคําปรึกษาหรือ เขารับการอบรมกับผูรูหรือผูเช่ียวชาญตาง ๆ จะไดผลดีกวา เชน การเขา อบรมฝึกสติ สมาธิ หรือการเขารวมกิจกรรม ชมรมผูปกครองตาง ๆ เพ่ือจะไดแลกเปลี่ยนทักษะการ จดั การกบั อารมณกแ ับพอ แมอ นื่ ๆ ในกรณีถาพอแมรูตัววา มีความบกพรองในการจัดการกับอารมณแมาก เชน เป็นคนโมโหงาย ใจ รอน อดทน กับลูกไมได เป็นคนเครียดงาย วิตกกังวลงาย หรือความสัมพันธแในครอบครัวไมดีนัก การ แกไขดวยตัวเองกอ็ าจจะ ทาํ ไดยาก หรอื ทําไมได และการอบรมทั่วไปก็ยังไมชวยพอ แมไ ดม ากนกั ในกรณี ดังกลาวพอแมควรยอมรับท่ีจะไป พบผูใหการปรึกษาทางสุขภาพจิต และจิตแพทยแ ซึ่งปใจจุบันมี หนวยงานท้ังภาครัฐ และเอกชนมากมายท่ีใหบริการทั้ง รูปแบบการปรึกษาทางโทรศัพทแ และบริการใน คลินิก ซ่ึงการพบจิตแพทยแเด็กและวัยรุนเป็นเร่ืองท่ีดีย่ิง ที่พอแมจะ มีผูชวยทําความเขาใจกับอารมณแ ตนเอง ไดคําแนะนําการจัดการกับอารมณแของพอแมเอง ชวยปรับความสัมพันธแใน ครอบครัว และไดรับ คําแนะนําวิธีการในการเลี้ยงดูลูกดวย การเล้ียงดูเด็กในยุคปใจจุบันมีความยุงยากและซับซอน ย่ิงขึ้น ดังน้ัน การพบผูเชี่ยวชาญต้ังแตปใญหายังไมมากนัก จะเป็นตัวชวยพอแมไดมาก ใหสามารถแกไขปใญหา หรอื ใหการสงเสริมลกู ไดรวดเร็ว งายขน้ึ และถูกทางมากขน้ึ โดยสรุป พอแมและผูเก่ียวของกับเด็กปฐมวัยสามารถเสริมสรางทักษะชีวิตของตนเองไดโดย ปฏิบัติใน ประเด็นที่สําคัญ ไดแก การปรับเปล่ียนความเช่ือท่ีผิดในวิธีการเล้ียงดูเด็กปฐมวัยใหถูกตอง การฝึกทกั ษะชีวิตของ พอ แมและผเู กย่ี วของ และการพฒั นาความสัมพันธใแ นครอบครวั 7.แนวปฏบิ ัติการเสรมิ สรา้ งทกั ษะชีวิตสาหรับเดก็ ปฐมวยั ในชวงปฐมวัย พอแมมีบทบาทมากท่ีสุดในการสงเสริมทั้งสุขภาพกายใจสติปใญญา และทักษะ ชีวิตใหแกลูก ผา นการทพี่ อ แมเปน็ แบบอยางการบอกสอนและฝกึ หดั ในชวี ิตประจําวนั และการเรียนรูผาน ปฏสิ มั พนั ธแระหวางพอแม กับเด็ก ดังน้ัน การสอนลูกตองอาศัยท้ังความใจเย็น อดทน และตองมีเทคนิค ในการสอน 1. การสอนทกั ษะชีวติ ใหเ้ ดก็ ปฐมวัย 1.1 สอนใหจํา ทําใหดู คําโบราณทั้งไทยและเทศกลาววา “ลูกไมหลนไมไกลตน” ซึ่งอธิบายการ เลี้ยงดูของ พอแมวาลูกเป็นคนอยางไรก็ใหยอนกลับไปดูพอแม พอแมท่ีสามารถควบคุมอารมณแและ แสดงออกไดเ หมาะสม จะ เป็นแบบอยางท่ีดีใหเด็กเลียนแบบ และเป็นการสอนลูกโดยไมรูตัว เด็กท่ีเห็น
187 พอแมชวยเหลือกัน แบงงานกันทํา จะ สังเกตและจดจําวิธีการท่ีพอแมใชภายในบาน สงผลตอแนวคิด และการเลียนแบบพฤติกรรม ตนแบบทดี่ ขี องพอแม จึงเป็นหัวใจสําคญั ในการเลีย้ งดู ดงั นนั้ พอ แมจ ึงควรพิจารณาสิ่งทคี่ วรทาํ และสิง่ ท่ีไมค วรทาํ ในการอบรมเลี้ยงดูเดก็ ปฐมวัย ดังน้ี 1.2 สอนผ่านการเล่น ศิลปะ กีฬา ดนตรี และทากิจกรรมสร้างสรรค์ ในเด็กชวงวัยแรกเกิดถึง อายุ 4 ปี เด็กชอบรอ งเพลงและเลนกับคํา ซึ่งจะทําใหเซลลแสมองเกิดการแตกแขนงและเชื่อมโยงกันเป็น เครอื ขาย และเปน็ การเชื่อมโยงแบบเดียวกับที่ใชในการแกไขปใญหาคณิตศาสตรแ เด็กชอบฟใงนิทานและ มกั ชอบฟใงเรอื่ งเดิมซ้ํา ๆ ทาํ ให เซลลสแ มองเชือ่ มโยงแข็งแรงยิ่งขึ้นเด็กๆชอบเลนสมมติเลียนแบบบทบาท ตางๆ ทําใหเด็กมีความสามารถในการสราง ภาพในความคิดและจินตนาการ ซึ่งเป็นพ้ืนฐานสําหรับการ เรียนรูก ารอา นและการคิดเลข จะเห็นไดวาขณะที่เด็กเลน เด็กกําลังพัฒนาพลังสมองของตัวเองทุกขณะ และเตรยี มพรอมในการเรยี นรทู ่ียากและซบั ซอ นข้ึนอีกดว ย นอกจากนี้ การเลนยังชวยสงเสริมพัฒนาการ ครบในทกุ ดาน ทง้ั ดานอารมณแ คือ มีความสุขท่ีไดเลน อารมณแดี ไดผอนคลาย พัฒนาการทางดานสังคม คือ มีสังคมเพ่ือนฝูงรูจักเอื้อเฟื้อแบงปในและเคารพกติการูจักแกปใญหา คนพบความสามารถ ของตัวเอง ดังนั้น ในเด็กปฐมวัยพอแมจึงไมควรมุงแตยัดเยียดใหเด็กรูหนังสือเร็ว ๆ แตควรสนับสนุนใหเด็กไดเลน เพอ่ื พฒั นาสมองที่รอบดาน การเลน ของเด็กเลก็ ไมจาํ เป็นตองใชของเลนแพงๆ แตคือ การที่พอแมเลนกับเด็กเชน เลนจ฿ะเอเ เลน ปูไต เลนทราย เลนโยนบอล การเลนชวยใหพอแมและเด็กใกลชิดผูกพันกันและพอแมยังไดเขาใจ ลกั ษณะบุคลิก ความ คดิ ความฝนใ และจนิ ตนาการของเด็ก เม่ือเด็กเขาสูชวง 5 ถึง 6 ปี เด็กเร่ิมมีกิจกรรมกับเพ่ือนมากขึ้น เด็กจะเรียนหนังสือไดดีขึ้น หาก ทํากิจกรรม อ่ืน ๆ ควบคูไปดวย ที่จะชวยในการสรางสมาธิ การควบคุมตนเอง และการวางแผนแกไข ปใญหา ฯลฯ เป็นตน ส่งิ เหลาน้ลี ว นไดม าจากการเลน การทํางานศิลปะการเลนดนตรี กีฬา การกอด ความ รักและความอบอุนในครอบครัว เมื่อเด็กไดเลน ไดพักผอน หรือทํากิจกรรมสรางสรรคแที่เด็กสนใจ กิจกรรมเหลา นีจ้ ะเกิดกระบวนการผลการถายโอน (Transfer effect) เชน การทํางานศิลปะ การวาดรูป จะชวยใหเด็กเกิดสมาธิ การเลนตอเลโก เด็กจะไดพัฒนาความ เลิศสรางสรรคแและการแกไขปใญหา การ เลนกีฬาทําใหเด็กไดพฒั นากลา มเน้ือ การวางแผน การตัดสินใจในการเลน - งานเป็นทีม การมีนํ้าใจเป็น นักกฬี า และยังฝกึ ความอดทนสรางความแขง็ แกรงทั้งรางกายและจติ ใจ ดังน้ัน พอแมจึงควรพิจารณาส่ิงที่ควรทําและสิ่งที่ไมควรทําในการสอนผานการเลน ศิลปะ กีฬา ดนตรี และ กิจกรรมสรางสรรคสแ ําหรับเด็กปฐมวยั 1.3 สอนจากโลกรอบตัว พอแมควรใหเด็กเรียนรูทักษะชีวิตไดจากการใชชีวิตประจําวันและ กจิ กรรมท่ี หลากหลาย เชน 1.3.1 สอนผานการเลน เชน สอนเดก็ ทําของเลน สิง่ ประดิษฐแ การเลนเกมหมากกระดาน
188 1.3.2 สอนผานการเดนิ ทางทอ งเทยี่ ว เชน การจัดกระเปา เตรียมตัวเดินทาง การศึกษาพ้ืนที่ ท่ีจะไป เท่ียว การดูแผนท่ี การกางเต็นทแ การกอไฟ การหุงขาวหมอสนาม ฝึกความอดทนในการเดิน ทางไกล การพูดคยุ กบั คนในพืน้ ที่ ฯลฯ 1.3.3 สอนผา นงานสวน เชน การปลูกตน ไม ศึกษาการรดนํา้ ใหป ยุ ตน ไม ความรับผิดชอบใน การรดนา้ํ ตน ไม การสงั เกตธรรมชาติ 1.3.4 สอนผา นงานครัว เชน การซื้อเครื่องปรุง การหยิบจับของมีคมใหปลอดภัย การระวัง อันตราย จากการใชแก฿สหุงตม ความภาคภูมิใจที่ทําอาหารทานเองได ความสนุกสนานที่ไดทําอาหาร ความรบั ผิดชอบในการชวยลา งจาน 1.3.5 สอนผานการสอนดานการเงิน เชน ฝึกทําบัญชีรายรับ-จาย ฝึกการออม การควบคุม ความอยาก 1.3.6 สอนใหลูกชว ยเหลอื ตวั เองในชีวิตประจําวัน เชน อาบน้ํา ลา งหนา แปรงฟใน ใสเ สื้อผา เอง ฝึก ใหคลองใหชินจนเปน็ กจิ วตั ร 1.3.7 ฝึกใหทาํ ในส่ิงที่ชอบและไมชอบ เชน หัดใหกินผัก กินของท่ีไมชอบแตมีประโยชนแฝึก ใหต นื่ เชา ขม ใจทาํ สงิ่ ทีไ่ มชอบเพอ่ื คนอืน่ 1.3.8 ฝึกใหชวี ิตตดิ ดนิ เชน หัดใหเด็กขึ้นรถเมลแ ลองไปอยูกบั ตายายที่ชนบท การสอนเด็กปฐมวัยจากโลกรอบตัว จะชวยใหเด็กมีความรูความชํานาญหลายดาน ซึ่งจะทําใหเป็นเด็ก เกง ขยัน อดทน ปรบั ตัวไดงาย เด็กจึงมภี าวะผูนํา ไดร บั การยอมรบั จากเพอื่ น และเกิดความภาคภูมใิ จใน ตนเอง ดงั น้ัน พอแมจึงควรพจิ ารณาสิง่ ที่ควรทาํ และสง่ิ ท่ีไมค วรทาํ ในการสอนเด็กปฐมวัยจากโลกรอบตัว 1.4 สอนเม่ือเด็กผิดพลาด เมื่อเด็กทําผิดพลาดใหญ ๆ พอแมอยาเพ่ิงดวนสรุปวาเป็นความผิด ของเด็กแต ฝุายเดียว แลวรีบดูวาส่ังสอนซ่ึงอาจขยายปใญหาใหบานปลายและรุนแรงมากย่ิงข้ึน แตควร หาสาเหตขุ องความผิดพลาด นนั้ และสอนเดก็ ใหเรยี นรจู ากความผิดพลาดนนั้ ดวยวิธีการดงั นี้ 1.4.1 ฟใงเด็กใหไดยิน คือ ถามเด็กวาเกิดอะไรข้ึน แลวฟใงอยางใสใจวาเด็กคิดและรูสึก อยา งไร คอ ย ๆ ถาม รอเด็กพูดใหจบ ไมพ ดู ขดั จงั หวะ ไมร ีบสรุปวาความคิดของเด็กถูกหรอื ผดิ 1.4.2 เขาใจความรูสึกของเด็กมากกวามุงสั่งสอนการใหเด็กรูวาพอแมเขาใจความรูสึกและ ความทุกขแ ของเขาแทนการมุงสั่งสอน จะชวยใหเด็กรูสึกอบอุนและยินดีบอกเลาถึงปใญหาและใหความ รวมมอื ในการแกปญใ หา 1.4.3 สอนใหม มุ มองบวก แนะใหมองความผดิ พลาดเป็นบทเรียนทจ่ี ะไมพ ลาดซํ้า และทาํ ให เรยี น การทาํ สิง่ ท่ถี กู ตอ ง ดงั น้นั พอ แมจึงควรพจิ ารณาสง่ิ ท่ีควรทําและสงิ่ ที่ไมควรทําในการสอนเม่ือควรทําในการสอนเม่ือ เด็กปฐมวัยผิดพลาด 2. การฝกึ วินัยให้เดก็ ปฐมวยั
189 เด็กปฐมวัยลวนตองการกติกาหรือขอตกลงที่ตัวเองสามารถทํา ไดและเกิดความสามารถเมื่อได ทําซํ้า ๆ และ สม่ําเสมอจนเป็นปกติในชีวิตประจําวัน ซ่ึงจะเป็นการสรางอุปนิสัยท่ีดีและวินัยใหกับชีวิต ของเด็ก ไมมีเด็กคนใดรูสึก ดีกับการที่วันหนึ่งพอแมเขมงวด แตอีกวันหนึ่งกลับผอนปรนข้ึนๆลงๆ ตาม อารมณแเอาแนเอาแนไมได ดังน้ันความ สมํ่าเสมอจึงเป็นหัวใจสําคัญท่ีชวยใหเด็กฝึกวินัยอยางไดผล ราบรนื่ นอกจากน้ี การตงั้ กติกาและขอ ตกลงก็เปน็ หวั ใจสําคัญของการฝึกวินยั เชนกัน ซึ่งเรอื่ งน้ีไมใชเร่ือง ยาก แต การปฏิบัติใหสําเร็จน้ันยากย่ิงกวา เพราะตองใชระเวลาและความอดทนท้ังพอแมและลูก ดวย เหตุนี้ พอ แมค วรยึด หลกั การสําคัญในการฝึกวนิ ัยของเด็กปฐมวัยใหไ ดผ ลดงั นี้ 2.1 วางขอบเขตกติกาหรือข้อตกลงที่ชัดเจน หลักการน้ีจะชวยใหเด็กปฐมวัยเรียนรูวาการ กระทําใดของเขา ท่ีเปน็ ที่ยอมรบั และการกระทําใดไมเ ปน็ ท่ยี อมรบั 2.2 กากับให้ทาอย่างจริงจัง สุภาพ และไม่ใช้อารมณ์ เมื่อลูกเผลอไผลหรือลองหยังใจพอแม ดวยการทําบาง ไมทําบาง พอแมตองเตือนและกํากับใหลูกทําทันทีดวยทาทีท่ีสุภาพเอาจริงแบบนิ่ง ใช เหตุผลมากกวาอารมณแจะทําให เด็กรูวาพอแมปรารถนาดีตอเขา และกําลังฝึกฝนเขา ไมใชลงโทษเขา อยาใจออ นใหเดก็ ตอรองบอ ยๆ หรอื ยอมปลอ ย ใหเด็กทาํ ผิดขอ ตกลง ซึ่งจะทําใหเด็กรูวากฎน้ันไมจริงจัง ละเลยได พอแมจึงตองเขมงวดใหลูกปฏิบัติอยางตอเนื่อง อาจปรับหรือยืดหยุนบาง แตตองหลังจาก ทดลองใชไปสกั ระยะหน่งึ แลว ไมควรปรบั เปลยี่ น กลับไปกลับมาบอย ๆ จะทาํ ใหการฝนฝนไมไดผล 2.3 จัดตารางเวลากจิ วัตรประจาวนั เพอื่ ใหเด็กปฐมวัยไดเรียนรูวาเวลาใดเป็นเวลาเลนเวลาทํา การบาน เวลากินขาว เวลาชวยงานบาน เวลานอน ใหกําหนดความยาก-งาย ถ่ี-หางของกิจกรรมให เหมาะสมกบั วัย และทําตอเน่ือง สมํ่าเสมอ ซ่งึ จะทาํ ใหเดก็ ปฐมวยั ไมดือ้ และพอ แมไมต อ งหงุดหงิดกับเด็ก ในการตองคอยดุ เตอื น และลงโทษ เพราะ “วินยั ” ไมใชเ ป็น “การลงโทษ” แตเป็นการ “เรียนรูระหวาง กันเพ่อื ฝึกฝนตนเองของเด็กปฐมวัยและพอ แมด วย ดังนัน้ พอแมจ ึงควรพจิ ารณาส่งิ ทค่ี วรทาํ และส่งิ ทีไ่ มค วรทาํ ในการฝกึ วนิ ัยใหเ ด็กปฐมวยั 3. การฝกึ ความรบั ผิดชอบใหเ้ ด็กปฐมวยั พอแมส ว นใหญลว นแต “ไมอยากใหลูกลําบาก” แตการสงเสริมใหเด็กปฐมวัยมุงเรียนอยางเดียว โดยไมฝึก ใหเด็กมีความอดทน และรูจักตอสูกับความยากลําบาก กลับจะทําใหเด็กทําอะไรไมเป็น พึ่งตนเองไมได และจะพบกับความยากลําบากท่ีแทจริงตอนเติบโตข้ึน ในขณะที่พอแมไมอยูเป็นท่ีพ่ึงพิง ใหเ ขาไดอกี ตอไป พอ แมจ ึงควรฝึกใหล ูกรับผิดชอบในดานตา ง ๆ เชน - ฝกึ ความรับผดิ ชอบเรือ่ งสวนตัว เชน กินขา ว เขา นอน อาบนาํ้ ฯลฯ - ฝึกความรับผิดชอบเรื่องงานบาน เชน ลางจาน ตากผา รดนํ้าตนไม ฯลฯ เน่ืองจากงาน บานเป็นเครื่องมือ ฝึกความอดทนฝึกการทํางานไดละเอียดและรอบคอบฝึกการวางแผนและแกปใญหา การทํางานตลอดจนเป็นการฝกึ ความมนี าํ้ ใจในการทําดแี ละชวยเหลือผอู น่ื
190 - ฝึกความรับผิดชอบเรื่องตรงเวลา เชน การนัดหมาย การกําหนดเวลาออกจากบาน การ ตรงตอเวลา ฯลฯ - ฝึกความรับผิดชอบตอชีวิตผูอื่น เชน การเล้ียงปลา การใหอาหารสุนัข ฯลฯ ดังน้ัน พอ แมจึงควรพิจารณาส่งิ ท่ีควรทําและสง่ิ ทไ่ี มควรทาํ ในการฝึกความรบั ผดิ ชอบใหเ ดก็ ปฐมวัย 4. การฝกึ การคิดตัดสนิ ใจและการแกไ้ ขปัญหาในชวี ิต 4.1 ฝึกให้เด็กปฐมวัยให้เรียนรู้การคิดแก้ไขปัญหาในชีวิตประจาวัน เมื่อเกิดปใญหาใน ชีวิตประจําวัน ควรใช ขอหานั้นเป็นโอกาสฝึกใหเด็กเรียนรูการแกไขปใญหา เชนสบูในหองนํ้าหมด เส้ือ นักเรยี นไมแหงขา วสารหมดไขเ จียว ฯ ฯลฯ พอแมส ามารถฝึกใหเดก็ เรยี นรูการคดิ แกไขปญใ หา เชน -ใหเ ด็กคดิ เองและแกปญใ หาเองกอ น - คุยถามความคิดและวิธกี ารทเ่ี ดก็ จะใชในการแกปใญหา - ชมเมอื่ เดก็ คดิ วธิ ีการแกป ญใ หาไดห ลายวธิ ี -ชวยเด็กคดิ หาวิธแี กป ใญหาและผลที่เกิดตามมาหลาย ๆ ทางเพอื่ เปน็ ทางเลือก -ใหเลอื กวิธกี ารที่ดที สี่ ุดและรองลงมา และชมการตัดสินใจของเดก็ เม่ือเดก็ แกป ใญหาไดรอบตวั จะทําใหเ กิดความม่ันใจในตัวเองขนึ้ และมีใจอยากเรียนรูมากข้ึนเพื่อ ทาํ ใหด ี กวาเดมิ 4.2 ฝึกให้เด็กปฐมวัยรู้จักตัดสินใจเลือกในส่ิงท่ีเหมาะสมกับตัวเอง ผูใหญมักจะมองวา เด็กปฐมวัยยังเล็ก ยังตัดสินใจอะไรไมเป็น ไมถูกตอง จึงไมคอยถามความคิดเห็นและใหโอกาสเด็ก ตัดสินใจในเรอ่ื งตาง ๆ แตระหวาง ทางท่ีเด็กเติบโตเป็นผูใหญนั้น มีเรื่องที่เด็กตองเผชิญกับการตัดสินใจ มากมาย ซ่ึงพอแมก็คงไมสามารถตามไปชวย ตัดสินใจไดในทุกเร่ือง ดังนั้น จึงควรฝึกใหเด็กไดฝึกการ ตัดสินใจ โดยแมวาจะตัดสินใจผิดพลาดก็ยังดีกวาไมเคย ลิ้มรสและเรียนรูความผิดพลาดเลย พอแม สามารถฝึกใหล ูกมีทักษะในการคิดตัดสินใจดวยการต้ังคําถามใหเด็กหัด คิดและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น กับผูใหญจะทําใหเด็กฝึกการคิดวิเคราะหแและไดรับฟใงมุมมองท่ีหลากหลาย เชนจะ เกิดอะไรไดบางเม่ือ เลน กลางฝน จะซ้ืออะไรไปฝากคณุ ยายดี ถา ปลอยบานใหสกปรกจะเกดิ อะไรข้ึน เปน็ ตน ดังน้ันพอแมจึงควรพิจารณาส่ิงที่ควรทําและสิ่งท่ีไมควรทําในการฝึกเด็กปฐมวัยใหรูจักคิด ตัดสินใจและแก ปญใ หาในชวี ิตดวยตนเอง 5. การฝกึ การจดั การกับอารมณใ์ ห้เด็กปฐมวัย 5.1 ฝกึ ควบคุมอารมณ์ เด็กปฐมวัย มักจะโกรธเม่ือถูกขัดใจ หรือเมื่อทะเลาะกับเพ่ือนและ พี่นอง พอแม สวนใหญมักส่ังใหเด็กหยุดโกรธทันที และตามมาดวยการสั่งสอน เชน “ทําไมเลนกันแคนี้ ตองทะเลาะกัน ถาหน อาละวาดอยางนี้ ใครเขาจะอยากเลนดวย ซ่ึงการพูดขณะท่ีเด็กยังโกรธเชนนี้มัก ไมไดผล เพราะขณะที่เด็กอารมณแโกรธกรุนอยู เด็กจะไมสนใจรับฟใงคําสอนของพอแม สิ่งท่ีเด็กตองการ คอื คนที่รับฟงใ ความรสู ึกของเขา ความ ของเขาจึงจะลดลงและสงบพอท่จี ะฟใงคาํ แนะนาํ จากผใู หญ การบอกสอนใหเ ดก็ ปฐมวัยสามารถจดั การกบั อารมณคแ วามโกรธทาํ ไดด งั นี้
191 5.1.1 ใหเ ด็กปฐมวัยแยกตัวออกจากเหตุการณแน้ัน และใหอยูในบรรยากาศที่สงบเพ่ือคลาย อาระ เชน แยกเด็กไปอยคู นละมุม บอกใหหายใจเขา ออกลึก ๆ ถา ใจเย็นแลว คอ ยคุยกนั เปน็ ตน 5.1.2 ใหเ ด็กพูดระบายความรูส ึก เชน ถามวา “หนูโกรธอะไร” ฯลฯ 5.1.3 ใหเด็กรูตัววาตัวเองกําลังโกรธ เชน ใหดูใบหนาการแตูนแสดงอารมณแตาง ๆ แลวถาม วา “ตอนนี้หนูเป็นแบบใด” “หนูเป็นอยา งไรเวลาโกรธ” เป็นตน 5.1.4 ใหเ ด็กนกั เอาใจเขามาใสใจเรา และนกึ ถึงความดีของคนที่โกรธ เชน พูดวา “หนูอยาก เลนเกม แตพ เ่ี ขาตองใชค อมพิวเตอรแทํางาน” เปน็ ตน 5.1.5 ชวนใหเด็กคิดหาทางออก เชน พูดวา “ลูกคิดวามีวิธีไหนไหมจะแบงกันใช คอมพิวเตอรแได (ยกเวน การใหพ อแมซ้ือเครอื่ งใหม) เป็นตน 5.2 ฝึกควบคุมความอยากเมื่อเด็กปฐมวัยอยากไดของเลนและรบเราใหพอแมซ้ือของเลนใหซึ่ง เด็กจะมีความ อยากไดเหลือเกินจนไมคอยรับฟใงเหตุผลของพอแม เชน พอแมบอกวาของเลนที่บานมี เยอะแยะแลว และการหา มก็ มักหยดุ เด็กไมไ ดผ ล สวนการตามใจทุกครั้งก็ทําใหเด็กเสียนิสัย แตพอแมมี ทางออกในการแกปใญหาน้ีดวยการลองใช คติน้ําเช่ียวอยาเอาเรือไปขวาง คือ “อนุญาตใหซื้อ แตไมใช เดี๋ยวนี้” เพื่อลดความอยากไดของเด็กที่พุงสูงในขณะน้ัน ลงกอนโดยพอแมอาจตกลงกับเด็กวาจะซ้ือใน อกี ก่ีอาทิตยแ แลวใหเวลาเดก็ ทจ่ี ะไดท าํ ความรูจักกับของเลน ชิ้นนนั้ เชน หาขอมลู ของเลน ท้งั แบบรุนราคา ขอ ดี ขอเสีย พาไปดู ไปทดลองเลน จนกวาจะครบกําหนดเวลาที่สัญญา ซ่ึงจะชวย เรียกสติและทดสอบ ใจวาเด็กสนใจและตองการของเลนชิ้นน้ันจริงๆ หรือกรณีของเลนราคาแพง ก็อาจทําขอตกลงให ลูก ชวยงานพอแมเพ่ิม เพ่ือฝึกลูกใหออมเงินคาขนมสวนหนึ่งมาซ้ือของเลนน้ัน ซ่ึงจะฝึกใหเด็กรูจักรอคอย ยบั ยง้ั ชั่งใจ มคี วามรอบคอบในการซอื้ ไมใ ชไหลไปตามความอยากซ้ือตอนน้ันแตพอไดแลวเลนแควันสอง วันกเ็ บ่อื ดังนั้นพอแมจึงควรพิจารณาสิ่งท่ีควรทําและส่ิงที่ไมควรทําในการฝึกเด็กปฐมวัยใหรูจักควบคุม ความอยาก 6. การฝึกการแบง่ ปนั การแบงปในเป็นทักษะที่ตองฝึกฝน และเป็นจุดเร่ิมตนของความเสียสละ เด็กตองใชความอดทน อดกล้ัน ใจ และทําใจ เม่ือเด็กทําบอย ๆ ก็จะทําไดงายข้ึน เป็นการลดความเห็นแกตัวภายในใจ เด็ก ๆ สามารถแบง ปในทงั้ ลงเลน ขาวของ ความคิด การชวยออกแรง การชวยทํางาน การชวยยกของ การชวย อํานวยความสะดวกใหคนอื่น พอแมควรฝึกใหเด็กแบงปในโดยไมหวังส่ิงตอบแทนกลับมา แตใหเด็กรับรู วาขณะทีแ่ บงปในใหค นอืน่ นั้น อานะสกึ อยางไร ถา เดก็ รูสกึ ดี ก็เทา กับวา ไดรางวัลจากการทําดแี ลว พอแมจึงสอนใหเด็กปฐมวัยเรียนรูการแบงปในท่ีสําคัญ คือ การแบงปในระหวางพ่ีนอง พี่นองที่ อิจฉากัน มัก เนื่องมาจากการแสดงออกของพอแมวารักคนใดคนหนึ่งมากกวาทําใหเด็กรูสึกอิจฉา เชน การรักและปกปอู งนอง มากกวาพ่ี เปรียบเทียบความสามารถระหวางพี่นอง ทําใหเด็กรูสึกโกรธเคืองกัน ถา ไมไดรับการแกไ ขท่เี หมาะสม พน่ี อ งก็จะขดั แยงกันไปจนโต
192 ดังน้ัน พอแมจึงควรพิจารณาสิ่งที่ควรทําและส่ิงที่ไมควรทําในการฝึกเด็กปฐมวัยใหเรียนรูการ แบง ปใน 7.ความหมายและความสาคัญของการปลูกฝงั คุณคา่ ชวี ิต ในครอบครัวที่มีเด็กปฐมวยั ในวิถีชีวิตดั้งเดิม เด็กปฐมวัย (0-6 ปี) สวนใหญไดรับการดูแลจากพอแมและเครือญาติที่มักอยู รวมกันเป็น ครอบครัวใหญ เด็กจึงไดรับการดูแลทั้งในทางรางกายและจิตใจอยางตอเน่ือง ต้ังแตอยูใน ครรภแแมจนคลอดออกมา เป็นทารก และเม่ือเจริญวัยขึ้นเด็กไดซึมซับวิถีชีวิตของตนโดยธรรมชาติ จาก กระบวนการที่สมาชิกในครอบครัวตาง มีการเกื้อหนุนจุนเจือ ถอยทีถอยอาศัย และความมีนํ้าใจไมตรี ระหวางสมาชกิ ในครอบครัว รวมถึงการอบรมเลีย้ งดู การสอนใหร ูถ งึ ทักษะการดํารงชีวติ ท่ีงดงามในสังคม ซึง่ จะพฒั นามาเปน็ วถิ ใี นการประพฤติปฏบิ ตั ิเม่อื เดก็ ไดเจริญ เตบิ โตเป็นผูใหญ รวมตลอดถึงความรูสึกผิด ชอบช่ัวดี กฎเกณฑแแ ละมาตรฐานของความประพฤติปฏบิ ัติในสังคม ในการตดั สนิ วา การกระทําใดถูกหรือ ผดิ การกระทาํ ใดควรทําหรือไมควรทํา การอบรมเล้ียงดูเด็กตั้งแตวัยปฐมวัยจึง เป็นการสงผานคุณคาใน การดํารงชีวิตหรือคุณคาชีวิตจากคนรุนหนึ่งในครอบครัวไปสูคนรุนใหมท่ีเพิ่งเริ่มเขามาเป็น สมาชิกใน ครอบครัวท่ีจะสง ผลใหมีชวี ติ งดงาม ทรงคณุ คา อยา งมีความสขุ 1. ความหมายของการปลกู ฝังคณุ คา่ ชวี ติ ในครอบครัวทีม่ เี ดก็ ปฐมวัย พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ไดใหคําจํากัดความ หรือความหมายของคําวา “คุณ” หมายถึง ความดี ท่ีมีประจําอยูในส่ิงน้ัน ๆ และ “คุณคา” หมายถึง สิ่งท่ีมีประโยชนแหรือมีมูลคาสูง เม่ือ พิจารณาถึง “คุณคาชีวิต” จึง หมายถึง การทําชีวิตใหถึงพรอม ดวยการเป็นมนุษยแที่สมบูรณแ โดย แสดงออกถึงความดี (Good) ความถูกตอง (Right) ความสามารถในการตัดสินจริยธรรม (Moral judgment) ความงาม (Beauty) ความสามารถในการตัดสิน ความสุนทรียแ (Aesthetic judgment) ความจริง (Truth) หรือความสมเหตุสมผล (Validity) รวมทั้งส่ิงที่ควรจะเป็น (What it ought to be) ในกรณีท่ีขอเท็จจริงแตกตางไปจากสิ่งที่มีคุณคา เม่ือไรก็ตามที่บุคคลไดกําหนดคุณคาชีวิต จึงเป็นการ กําหนดถึงวิถีในการดํารงชีวิตของตนที่จะใหมาไดถึงความเป็นมนุษยแที่สมบูรณแ นั่นหมายความวา การ เปน็ มนุษยทแ สี่ มบรู ณแของเขาเป็นเปูาหมายชีวิตของเขา เชน การใหคุณคากับความถูกตอง การประพฤติ ปฏิบัติใดที่เกิดข้ึน ดวยเหตุของความไมถูกตองจะทําใหบุคคลนี้ไมสบายใจ ไมมีความสุข เขาตองมีการ พิจารณาแกไขเปลย่ี นแปลง ขอผิดพลาดตางๆ ทเี่ กดิ ขึน้ ใหกลับมาถูกตองอีกครั้ง จึงจะทําใหเขากลับมามี ความสุขได คณุ คา ชีวิตนโ้ี ดยเนอ้ื แทแ ลว เป็นคณุ สมบัติดงั้ เดมิ ของมนษุ ยแทีท่ ําใหเราดํารงชีวิตอยูอยางมีคา ดัง จะเหน็ ได จากมนษุ ยทแ งั้ โลก โดยหลักแลว ใหคณุ คาส่ิงตาง ๆ ที่มคี วามสอดรบั ระหวา งกนั เป็นอยางยิ่ง เชน การใหคุณคา เก่ียวกับความสงบ คนทั้งโลกปรารถนาท่ีจะดําเนินชีวิตท่ีมีความสงบและสันติ ปราศจาก ความกาวราวรนุ แรง โดยความ ปรารถนานน้ั เป็นไปทั้งในระดบั สว นบุคคล ชมุ ชนจังหวดั ประเทศ และใน ระดับโลก หากบุคคลใดตองเผชิญกับความ ไมสงบ เขาตองหาหนทางที่จะไดความสงบกลับคืนมา โดย
193 อาจจดั การขจัดสิ่งที่รบกวนความสงบของเขาออกไป หรือ อาจยายสถานท่ีเพื่อใหตนเองไดรับความสงบ กลบั มาอกี ครัง้ ในกรณีของเด็กปฐมวัยที่ประสบการณแชีวิตเพ่ิงเร่ิมตนขึ้น การปลูกฝใงคุณคาชีวิตผานการอบรม เล้ียงดูดวย ความเขาใจในคุณคาท่ีแทจริงของชีวิต ยอมทําใหเด็กไดรับประสบการณแตางๆ จาก กระบวนการที่เป็นธรรมชาติที่มี ความสําคัญตอการวางรากฐานชีวิต และสามารถใชคุณคาชีวิตเหลาน้ัน ไดจากสภาพของจิตใจภายใน เชน การฝึกใหเด็กจะรูจักอารมณแตนเองและสามารถควบคุมอารมณแของ ตนเองได เขาใจและเห็นอกเห็นใจผูอื่น เป็นเด็กท่ียอมรับ กฎเกณฑแกติกา จากการฝึกฝนและเรียนรูใน เร่อื งระเบียบวินัย มีความมุงมั่น มานะอดทนตอการทํางาน รูจักปรับตัว ตอปใญหาตาง ๆ ได มองโลกใน แงด แี ละกลาแสดงออก เป็นตน การอบรมเลี้ยงดูดังกลาวน้ี จะเป็นรากฐานใหแกเด็ก เมื่อเติบโตข้ึน เด็ก สามารถที่จะทําใหคุณคาชีวิตกลายเป็นสวนหนึ่งของความคิด การประพฤติปฏิบัติและวิถีในการ ดาํ รงชีวิต ทจ่ี ะทําใหเ กดิ ประโยชนแสูงสุดตอตนเองและผูอ่ืนไดอยางเป็นธรรมชาติ หรือกลาวอีกนัยหน่ึงก็ คือ การดํารง ชวี ติ ท่ีสามารถสรางความสขุ ไดด วยตนเองจนกระท่ังรจู ักใหและรบั ความสุขน้ันกับทั้งตนเอง และผอู ่ืนได “ความสขุ ” มีความสัมพนั ธแกับคณุ คาของชีวิต กลาวคือ ชีวติ ที่บรรลุสูสิ่งที่มีคาในตนเอง คือ ชีวิต ทมี่ ีคา หรือ เปน็ ชวี ติ ทพ่ี ึงปรารถนา การลว งรูถ งึ วิธีการในการดําเนินชีวิตอยางมีความสุขนี้ เป็นประเด็นที่ เกยี่ วของกบั คาํ วา “จติ วญิ ญาณ” คาํ วา “จติ วิญญาณ” มกี ารใชกนั ทว่ั ไปอยางหลากหลายในความหมาย ตั้งแตเรื่องราวที่เก่ียวโยงกับศาสนา สิ่งศักด์ิสิทธ์ิ ศรัทธา จนถึงเร่ืองราวทางโลกท่ีอาจไมเก่ียวอะไรกับ ความสูงสงหรือความดีงาม จิตวิญญาณเป็นหนึ่งคํา ที่มักกอใหเกิดความเขาใจผิดและอคติไดเสมอ จิต วิญญาณที่แทจริงน้ันแตกตางอยางส้ินเชิงจากการเขาทรง การใช พลังอิทธิฤทธิ์อภินิหารหรือเรื่องเหนือ ธรรมชาติ นอกจากนีเ้ รอื่ งที่เกยี่ วขอ งกบั จิตวิญญาณเองมคี วามสอดคลอ งกนั กบั ศาสนาอยางยิ่ง แตก็มิได เปน็ สง่ิ เดยี วกนั หน่ึงในคําจํากัดความของคําวา “ความเป็นจิตวิญญาณ” (Spirituality) คือ การมองกลับเขาไป ภายในเพ่ือ คนพบเอกลักษณแท่ีแทจริงของความเป็นมนุษยแ แมจะฟใงงายแตก็หนักแนนและลึกซ้ึง ดวย “การมองเขาไปภายใน” เป็นการคนหาตัวตนท่ีแทจริงของตนเองท่ีจะตอบคําถามที่ดูเหมือนเป็นคําถาม พ้นื ฐาน แตเป็นคําถามท่ีตองผา นการ ไตรตรองอยางลึกซ้ึง คําถามทีแ่ ตละคนตอ งหาคําตอบมี ดงั นี้ 1. ฉนั คอื ใคร 2. คุณคาของฉันคืออะไร และ 3. อะไรคือส่ิงทม่ี ีความหมายและใหเปูาหมายแกช ีวิตของฉนั คําตอบของคําถามขางตนน้ีเป็นส่ิงบงช้ีใหเห็นและเขาใจถึง “เอกลักษณแท่ีแทจริงของความเป็น มนุษยแ” ก็คือ แกนแทของความเป็นมนุษยแ ซ่ึงเกี่ยวโยงกับการตระหนักรู (Awareness) และพฤติกรรม เป็นความกระจางอยาง สมบูรณแวา จะสามารถนําเอาคุณคาอันเป็นเนื้อแทของตนสะทอนออกมาใน ชวี ติ ประจาํ วัน
194 จิตวิญญาณท่ีแทจริงคือ การมีทัศนคติในเชิงบวกตอตนเองและผูอื่นท่ีทําใหชีวิตอยูรวมกัน ดวย ความรกั ความสงบ และความสอดคลอ งปรองดอง ความสุขเปน็ ส่ิงท่ีลํา้ คา เป็นความปรารถนาของมนุษยแ ทุกคน การมีความสุข หรือไมม คี วามสขุ นั้น มไิ ดเ กดิ จากส่ิงตางๆ ภายนอก แตมาจากส่ิงที่อยูภายใน หาก ความสุขท่ีไดรับอยูบนพ้ืนฐานของ สิ่งภายนอก และแลวเม่ือใดก็ตามที่เกิดการสูญเสียหรือการสูญหาย ของส่ิงภายนอกนั้นไป ความสุขท่ีเกิดขึ้นจะหาย ตามไปดวย เพราะไมมีปใจจัยภายนอกใดท่ีสามารถให ความสขุ ทีถ่ าวร การสรางความสุขเป็นความรับผิดชอบของแตละ บุคคลเอง ส่ิงตางๆ ภายนอก อาจเป็น เครื่องการช้ีนํา และแรงบันดาลใจได แตถึงที่สุดแลว ชีวิตคือสิ่งท่ีเราเองตอง สรางขึ้นมา หากผูใด ปรารถนาที่จะไดร ับความสุขในชีวิตแลว ผูนน้ั จาํ เปน็ ตอ งสรางความสุขท่ีมาจากภายในตนเอง ดังน้ัน เมื่อ นําเอาความเป็นจิตวิญญาณมาใชในชีวิต นั่นทําใหเกิดความเขาใจถึงความหมายของความเป็นมนุษยแที่ แทจริง และแลวชีวิตก็มิไดเป็นเพียงการมีชีวิตรอดและการเอาชนะอุปสรรคอีกตอไป แตชีวิตหมายถึง การมี ประสบการณแของความสุขในความสัมพันธแทั้งกับตนเองและผูอื่น การกลับมาทําความรูจักกับ ตนเองในมิติทาง จิตวิญญาณ เป็นการคนพบตัวตนท่ีแทจริง เป็นโอกาสของการไดคนหาคุณคาภายใน และมองเห็นความงดงามของ ชีวิต เป็นกาวแรกของการสรางความเคารพในตนเองข้ึนมา ดวยความ เชือ่ ม่นั และการมีศรัทธาตอคุณคาและคุณธรรม ภายในตัวเรา ส่ิงน้ีจะนํามาซ่ึงเกียรติ ศักดิ์ศรี และความ ภาคภมู ใิ นความเปน็ มนุษยแ 2.ความสาคัญของการปลูกฝงั คณุ ค่าชวี ิตในครอบครัวทม่ี เี ดก็ ปฐมวัย ปฐมวัยนับเปน็ ชว งวัยทมี่ คี วามสําคัญเป็นอยา งยงิ่ ในการท่ีจะไดเรียนรูส่ิงตางๆ ในวัยเด็กท่ีจะเป็น พ้ืนฐานใน การพฒั นาเปน็ ผูใหญในอนาคต จึงเป็นเหตุใหนักจิตวิทยาและนักการศึกษาตางใหความสนใจ ดานการพัฒนาเด็ก ปฐมวัย เน่ืองจากในชวงปฐมวัยนี้ระบบประสาทและสมองของเด็กกําลังสราง โครงสรางตางๆ ท่ีสําคัญ อันมีผลทําให สมองมีการเจริญเติบโตในอัตราสูงสุดถึงกวารอยละ 80 ของวัย ผูใหญ ดงั นั้น กระบวนการเรียนรตู า งๆ ทเ่ี กิดขน้ึ ใน ชวงปฐมวัยน้ี ทง้ั ในดานการเรยี นรจู ากสง่ิ แวดลอมท่ีมี อยรู อบตัวเด็ก และดานการอบรมดูแล จึงมีความสําคัญตอการ ปลูกฝใงเสริมสรางพัฒนาการของเด็กเป็น อยางยิ่ง เพราะเป็นชวงท่ีมีกอตัวของการพัฒนาทั้งโครงสรางสมอง ปใญญา อารมณแ ความดี และความ เชื่อของคนกระบวนการเรียนรูเหลาน้ันจึงเป็นพ้ืนฐานที่สําคัญตอการบมเพาะบุคลิกภาพ อุปนิสัย และ การเจริญเติบโตของสมอง อันจะมีผลตอพัฒนาการของสติปใญญาและความสามารถของเด็กอยางถาวร หรืออาจกลาวไดวา กระบวนการเรียนรูในชวงปฐมวัยน้ี จะมีผลกระทบในระยะยาวตอคุณภาพชีวิตของ คนหากประเทศ ใดปรารถนาที่จะใหประชากรของตนเป็นคนท่ีมีคุณภาพทั้งในดานสติปใญญาและ ความสามารถแลว จําเป็นเป็น อยางย่ิงที่ประเทศนั้นจะตองใสใจและใหความสําคัญตอกระบวนการ เรยี นรขู องเด็กในชว งปฐมวยั ในทฤษฎีพฒั นาการของอรี คิ สนั (Erikson's theory of development) อีริค เอช อีริคสัน (Erik H. Erikson) นกั จิตวิทยาชาวอเมริกัน มีความคดิ เปน็ วาพัฒนาการทางบุคลิกภาพเป็นเร่ืองท่ีเกิดขึ้นในทุก ชว งของชีวิต โดยเริ่มตั้งแตชวงแรกของชีวิต ซึ่งพัฒนาการของมนุษยแมิไดเป็นไปเพื่อสนองความสุขความ
195 พงึ พอใจทางดา นสรีระ เทา นนั้ แตยังจะตองขึ้นอยูกับสภาพทางจิต-สังคม ซ่ึงหมายถึงลักษณะการอบรม เลย้ี งดู สมั พันธภาพระหวา ง พอ -แม ตลอดจนอทิ ธิพลของวฒั นธรรมในสังคมน้ันๆ ซึ่งเด็กจะแสดงใหเห็น ถึงความรูสึกนึกคิดท่ีมีตอตนเองและส่ิงแวดลอม (Self-Concept) และความรูสึกน้ีเป็นส่ิงสําคัญในการ พัฒนาทางบุคลิกภาพ ซ่ึงจะเป็นเรื่องท่ีติดตอสืบเน่ืองกันไป ตลอดชีวิต ท้ังนี้ ในแตละข้ันตอนของ พัฒนาการทางบุคลิกภาพจะมีโอกาสท่ีจะพัฒนาไปไดไมทางบวก ก็ทางลบ นอกจากนี้ อีริคสันยังมี ความเหน็ วาในแตล ะขน้ั ของการพัฒนาจะมี “ชวงวิกฤต” (Critical period) สําหรับที่จะพัฒนา เร่ืองน้ัน ๆ ซงึ่ อรี ิคสนั หมายถงึ ผูที่มบี คุ ลกิ ภาพและจิตใจที่ดี ซึ่งจะเป็นลักษณะของคนที่สามารถเผชิญปใญหาหรือ แกป ญใ หาทั้งปใญหาที่เกิดจากภายในตนเองและปใญหาจากภายนอก ดวยการที่สามารถจัดระบบระเบียบ ความคิดและ สามารถตัดสินใจได ในทางตรงกันขามถาในชวงชีวิตใด พัฒนาการเป็นไปในทางลบ มากกวา เด็กผูน้ันจะมีพัฒนาการ ทางบุคลิกภาพไมสมบูรณแ ซ่ึงจะนําไปสูการเป็นผูที่มีปใญหาในการ ปรับตัว นอกจากน้ัน อีริคสันยังอธิบายตอวา ในการ พัฒนาการของมนุษยแตั้งแตเกิด เป็นทารก เป็นเด็ก และเจริญวัยเป็นผูใหญจะเป็นการพัฒนาในแตละข้ันตอนเป็นการ พัฒนาท่ีตอยอดจากการพัฒนาใน ขั้นตอนที่ไดพัฒนามาแลวในข้ันตอนกอนหนา ดังน้ันถาพัฒนาการของ ego ในตอน แรกเป็นไปดวยดีก็ จะไปชวยพัฒนา ego ในขั้นท่ี 2 ตอไป แตถาพัฒนาการในขั้นแรกไมดีแลว จะหวังให ข้ันท่ี 2 มี การ พัฒนาไปในทางดีได เด็กจําเป็นที่จะตองไดรับประสบการณแท่ีเหมาะสมในชวงน้ันจริงๆ ซึ่งอีริคสันได ชี้ใหเห็นถึง อิทธิพลที่แตละขั้นมีตอกันโดยที่พัฒนาการในขั้นหลังจะไดรับอิทธิพลจากข้ันกอนน้ัน ตั้งแต อดีตจนถึงปใจจุบัน (http:// WWW.baanjomyut.com/library/personality/09.html สืบคนเม่ือ 8 ม.ค. 2556) จากทฤษฎีพัฒนาการของอีริคสันขางตน ทําใหสามารถเห็นประเด็นของความสําคัญของการ พัฒนาของเด็ก ในชวงปฐมวยั ทนี่ ักจิตวิทยาและนักการศกึ ษาตางถือวา เปน็ ชวงวกิ ฤตหรือโอกาสทองของ ชวี ติ หรอื การพฒั นาการของ มนษุ ยเแ ลยก็วาได เนอื่ งจาก ในชว งวัยปฐมวัยนี้ เป็นชว งอายทุ ีม่ อี ัตราของการ พัฒนาการสงู ซึ่งเปน็ วยั ทเ่ี ดก็ พรอม เรียนรูกับสิ่งแวดลอมที่มีอยูรอบตัว หากดูเด็กปฐมวัยไดรับการเล้ียง ทีด่ ีและถกู ตอ งตามหลักวิชาการทเี่ ก่ียวขอ ง ท่ี สามารถสรา งประสบการณแ และสภาพแวดลอมท่ีดีรอบตัว เดก็ ผานการพฒั นาเด็กบนพืน้ ฐานการอบรมเล้ียงดูและ สงเสริมกระบวนการเรียนรูท่ีสนองตอธรรมชาติ และพัฒนาการของเด็กแตละบุคคลจะกอใหเกิดการวางรากฐานชีวิต ของเด็กใหเจริญเติบโตอยาง สมบูรณแ โดยเด็กปฐมวัยนี้ตองการมีพัฒนาการที่สอดคลองกับวัยไดอยางสมดุล ท้ังดานรางกาย อารมณแ จิตใจ สังคม และสติปใญญา บนพื้นฐานความสามารถและความแตกตางระหวางบุคคล ซ่ึงสามารถ ดําเนินการไดโดยใชกิจกรรมที่มุงเนนการพัฒนาดานรางกายใหแข็งแรงสมบูรณแ พรอมไปกับการกระตุน ใหสมองได รบั การพัฒนาอยา งเตม็ ท่ี และเกิดการพัฒนาไดเ ต็มตามศักยภาพ ไมวาจะเป็นการพัฒนาดาน จิตใจ และอารมณแใหเป็น ผูมีความรูสึกที่ดีตอตนเอง เช่ือม่ันในตนเองราเริงแจมใส สามารถควบคุม อารมณแตนเองไดรวมตลอดถึงการพัฒนา ดานสังคมที่เปิดโอกาสใหเด็กมีปฏิสัมพันธแกับบุคคลและ สิ่งแวดลอมรอบตัว สงผลใหเป็นผูที่มีมนุษยสัมพันธแท่ีดี สามารถดํารงชีวิตรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292