46 2. พฒั นกจิ ของครอบครัวทมี่ เี ดก็ แรกเกดิ ถงึ 1 ปี โดยทั่วไป ครอบครัวในระยะที่มีเด็กแรกเกิดถึง 1 ปีจะตองเล้ียงดูเด็กนั้นมักพบวา ในระยะน้ี ภรรยาเป็น ผูเล้ียงดูลูกในเวลากลางวันและมีตายายคอยชวยเล้ียงดู (ภัสสรลิมานนทแ และคณะ 2538 อางถึงในรุจา ภูไพบูลยแ 2549) นอกจากน้ี ท้ังสามีและภรรยาตางตองพบกับบทบาทท่ีเกิดการ เปลี่ยนแปลงและตองปรับตัวใหเขากับบทบาทใหมตามหนาที่และสภาพสังคมในปใจจุบัน ซึ่งทั้งสามีและ ภรรยาตางคาดหวังซ่ึงกันและกันภรรยาคาดหวังวาสามีสามารถชวย เล้ียงดูบุตรรวมกับภรรยา หรือให ความชวยเหลือบางดานเม่ือภรรยาขอใหชวยเหลือ ขณะเดียวกันสามคาดหวังวาภรรยา สามารถใหการ เลี้ยงดูบตุ รท่เี กิดใหมไดอยางเต็มท่ี หรือหากภรรยาสนใจเล้ียงดูบุตรมากเกินไป จนไมไดทําหนาท่ีภรรยา สามีอาจรูสึกถูกทอดทิ้ง ไมไดรับความสนใจและรูสึกวา บุตรแยงความรักของภรรยาไปจากตนเอง จน อาจเกิดปใญหา ข้ึนระหวางสามีกับบุตรอันสงผลใหสามีแสดงพฤติกรรมท่ีไมเหมาะสมกับบุตรได (Friedman, Bowden, andJone, 2003; รูจา ภูไพบูลยแ 2545) นอกจากน้ียังพบวา เม่ือภรรยาปรับตัว ไดสกั ระยะ ภรรยาจะเรียนรถู ึงการมีทศั นคติ เห็น คุณคาของตนเองและมีความรูสึกของบทบาทที่ตนเอง สามารถเปน็ ท้ังภรรยา และเปน็ แมไ ด (Duvall, 1967) จึงอาจกลาวไดวา พัฒนกิจของครอบครัวหรือความรับผิดชอบของครอบครัวในชวงที่มีเด็กแรกเกิดถึง 1 ปี (Duvall, 1977) มีประเดน็ ที่สําคัญดงั น้ี 2.1 การจดั เตรียมบ้านทอ่ี ยู่อาศยั สาหรบั เดก็ เล็กๆ นอกจากการจัดเตรียมบาน หรือสถานที่แลว ควรปรับปรุง ส่ิงแวดลอมใหเหมาะสม สะอาด ปลอดภัยควรเก็บสิ่งของตางๆ ใหเป็นระเบียบเรียบรอย รวมท้ังตรวจสอบอันตรายท่ี จะเกดิ ข้ึนกับเด็ก เชน ของเลนควรมที ่เี กบ็ หลงั จากเด็กเลน เสร็จปลักไฟควรมี ฝาครอบกันไมใหเด็กเอาน้ิวหรอื ส่งิ ของ แหยไปในรูของปลก้ั ไฟ เป็นตน 2.2 การจัดเตรียมค่าใช้จ่ายสาหรับการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย ครอบครัวตองวางแผนสําหรับการ คลอดบุตรใน ปใจจุบันและบุตรที่กําลังจะเกิดในอนาคตในการเล้ียงดูบุตรน้ันจะมีคาใชจายเพิ่มขึ้นไป เร่อื ยๆ ตามความจําเปน็ ดงั น้ัน จงึ ตองมีการเตรยี มงบประมาณตา ง ๆ เพ่อื ไวใชในอนาคต เชน คาส่ิงของ เครื่องใชตาง ๆ ภายในบาน คาอาหาร คาเสื้อผา คาการศึกษาเลาเรียนของบุตร และคารักษา พยาบาล เป็นตน ในขณะเดียวกันตองเตรียมเงินเมื่อเกิด เหตุการณแที่ไมคาดฝในขึ้นในครอบครัว อาทิ การเกิด อุบัติเหตุ หรือคนใดคนหนึ่งของครอบครัวถูกออกจากงาน นอกจากน้ี อาจมีเหตุการณแท่ีบางครอบครัว ตอ งหารายไดเ พ่ิมขึ้น เพ่ือหาคนมาชวยเลี้ยงดูเด็ก เพราะทั้งคูตองออกไป ทํางานนอกบาน แตอาจมีบาง ครอบครวั สามารถหาญาติผใู หญ เชน ปุูยา ตา ยาย มาชวยเลีย้ งดเู ดก็ ได เปน็ ตน 2.3 ความเขา้ ใจและมคี วามรบั ผิดชอบในบทบาทหน้าที่ของการเป็นพ่อแม่ ท้ังพอและแมตอง ปรับตวั เขา สู บทบาทใหม ตองเรยี นรูหนาที่การดูแลและเล้ียงดูบุตรท้ังในเรื่องอาหารการกิน การอาบนํ้า การสังเกตอาการผิดปกติ ที่อาจเกิดข้ึนกับบุตรพอตองมีบทบาทความรับผิดชอบมากขึ้น เขาใจและ ยอมรับบทบาทใหมที่เกิดขึ้นและหาแนวทาง จัดการกับความกดดันท่ีอาจเกิดขึ้นในการชวยเลี้ยงดูลูก รวมท้งั ตอ งเป็นผูหาเลยี้ งครอบครวั เป็นผูนําของครอบครัว ในขณะทีแ่ มตองเป็นคนเล้ียงดูบุตรท่ียังเล็กอยู
47 นอกจากน้ที งั้ สองคนควรแลกเปล่ียนบทบาทความรับผิดชอบกันได ท้ังในระยะส้ันและระยะยาว หากคน ใดคนหนึ่งไมสะดวก เชน พออาจตองชวยดูแลบุตร หรือชวยทํางานบานแทนแม เม่ือแมตองไปซ้ือของ นอกบา น หรอื มนี ดั กบั เพือ่ น เป็นตน 2.4 การเรียนรู้กฎเกณฑ์ พอแมมือใหมตองเรียนรูกฎเกณฑแเพ่ือชวยอํานวยความสะดวกใหแก สมาชิกใน ครอบครัว การแบงบทบาทหนาที่กันจะชวยไมใหแมตองเลี้ยงบุตรคนเดียวตามลําพัง หรือ ตลอดเวลา ควรสงเสรมิ ให พอ มสี ว นรว มเลย้ี งดูบตุ รดวย เพราะการเล้ียงดูบุตรไมใชห นา ท่ขี องแมเพยี งคน เดยี วและควรมีการพดู คุยกันระหวา ง พอและแมเกย่ี วกบั พัฒนาการ หรือปใญหาการอบรมเล้ียงดูบุตรเพื่อ จะไดชวยเหลือซ่ึงกันและกันไดนอกจากนี้พอควร ไดเรียนรูเกี่ยวกับความตองการของบุตร และการมี ปฏสิ ัมพันธแกับบตุ รตงั้ แตย งั เลก็ จวบจนกระทั่งเจรญิ เติบโต เพอื่ ชวยเหลือแมใ นการรวมมือกนั กระตุน และ สงเสริมพัฒนาการบุตรดว ย 2.5 การสือ่ สารระหวา่ งคู่สมรสในครอบครวั การสือ่ สารในครอบครัวเป็นเร่ืองท่ีสําคัญยิ่ง ดังน้ัน คูสามีภรรยา ควรมีการพูดคุยกันเพ่ือสรางความเขาใจแบงปในความรูสึกภาคภูมิใจ ความเครียด ความ สนกุ สนาน หรือแมแ ตเรือ่ ง เพศสัมพนั ธแ ตลอดจนการแสดงความรักกับลูก เชน การกอด การจูบลูก เพ่ือ สรา งความรัก ความอบอุนใหแกล ูก และ เป็นการสื่อสารใหลูกรูถงึ การแสดงความรกั ของพอ แมท ม่ี ีตอ ลูก 2.6 การวางแผนครอบครัวเพ่ือลูกในอนาคตทั้งพอและแมควรปรึกษาและรวมมือกันวางแผน ครอบครวั อยา ง เหมาะสม เพ่ือจะชวยใหครอบครัวไมเกิดความเครียดหรือวิตกกังวลกับภาระตางๆ ท่ีจะ เกดิ ขึ้นหากจะตองเล้ียงบตุ ร คนตอ ไปทจี่ ะเกดิ ขน้ึ ในอนาคต 2.7 การสร้างความสัมพันธภาพกับเครือญาติ การสรางสัมพันธภาพกับเครือญาติของท้ังฝุาย สามีและฝาุ ย ภรรยาจะสามารถชวยเหลือครอบครัวที่เพ่ิงเริ่มตนต้ังครอบครัวใหมได ทั้งในการชวยเหลือ ดานการเงิน การดําเนิน ชวี ิตประจําวัน และในการเล้ียงดูบตุ รทย่ี ังเล็กอยูได 2.8 การสร้างแรงจูงใจและขวัญกาลังใจการท่ีคูสมรสมือใหมตองเผชิญกับการปรับตัวและ ภาระหนาที่ตางๆ ในการเล้ียงดูบุตรที่ยังเล็กอยูอาจทําใหเกิดความเครียดเหน่ือยลาดังน้ันทั้งคูจึงควร พูดคุยปรึกษาหารือกัน หรือปรึกษา คนอื่นเชนเพื่อนที่มีประสบการณแในการเลี้ยงบุตรญาติผูใหญหรือ ผเู ชี่ยวชาญ เปน็ ตน เพ่อื แลกเปลีย่ นประสบการณแ และใหกําลังใจในการเลี้ยงดบู ุตรอยางมคี ุณภาพ 2.9 การจัดกิจวัตรประจาวันและกิจกรรมของครอบครัว กิจวัตรประจําวันและกิจกรรมตาง ๆ อาจทาํ ให ครอบครวั ทเ่ี พงิ่ เร่ิมตนใหมสับสนได ทั้งนี้เพราะมีกิจวัตรประจําวันมากมาย เชนต้ังแตตื่นนอน ตอนเชาพอแมถกู ปลุก ใหตื่นดวยเสียงของลูกหรือลูกปืนข้นึ มาบนเตียง การเตรียมอาหารเชา การอาบนํ้า ใหล กู เปน็ ตน ดงั นั้น ทั้งพอและแม ควรจัดกิจวัตรประจําวันและนําประสบการณแตาง ๆ ที่ไดเผชิญในแต ละวันมาปรับใชใหเหมาะสม การปรับตัวของพอ และแมจะชวยใหพัฒนกิจของครอบครัวลุลวงไปได ดวยดี กลา วโดยสรุป พฒั นาการและพัฒนกจิ ของครอบครัวเกย่ี วขอ งสัมพันธแกัน โดยพัฒนกิจครอบครัว ในระยะ ท่ีมีเด็กแรกเกิดถึงอายุ 1 ปีกอใหเกิดความเปลี่ยนแปลงและสงผลกระทบท้ังภายในครอบครัว
48 เครือญาติ ตลอดจน เพื่อนฝูง พัฒนกิจของครอบครัวมีความสําคัญเป็นอยางย่ิงที่จะชวยใหสามีและ ภรรยารวมถงึ เครอื ญาติตางปรบั ตวั กับบทบาทใหม รวมทง้ั เป็นการรว มมือรว มใจกันเล้ยี งดูเดก็ และอบรม ส่ังสอนส่งิ ที่ถกู ตองเหมาะสมใหแ กเด็ก เพอ่ื ให เจรญิ เตบิ โตเปน็ คนดีของสงั คมตอไป 3. แนวปฏิบตั สิ าหรับครอบครวั ในระยะที่มเี ดก็ แรกเกิดถงึ อายุ 1 ปี พัฒนาการของเด็กจะเปลี่ยนแปลงไปตามชวงอายุของเด็กและพัฒนาการในเด็กทุกคนจะเกิด ตอ เนอ่ื งกนั ตามขั้นตอนจะไมมกี ารขา มขั้นตอนใดตอนหน่ึง สําหรับพัฒนาการของเด็กวัยแรกเกิดถึงอาย 1 ปีนี้มีความกาวหนา อยางรวดเร็ว ดังนั้นครอบครัวจึงควรมีแนวทางการปฏิบัติในการดูแลและสงเสริม พฒั นาการเดก็ เพื่อตอบสนองความ ตอ งการของเด็กในแตล ะระยะท่แี ตกตางกันในทนี่ ี้จะกลา วออกเป็น 2 ระยะไดแ ก 1) ระยะเดก็ แรกเกิดถงึ อายุ 6 เดือน และ 2) ระยะเด็กอายุ 6 เดอื นถงึ 1 ปี 3.1 แนวปฏบิ ัติสาหรบั ครอบครวั ในการดแู ลเด็กแรกเกิด ถึงอายุ 6 เดอื น เด็กอายุแรกเกิดถึงอายุ 6 เดือน เป็นชวงเวลาที่สําคัญท่ีสุดของการสรางรากฐานของชีวิต เดก็ นอกเหนือจาก การพฒั นาดา นสมองและดา นรางกายแลว เดก็ ยงั ตองไดรับการเลีย้ งดดู ว ยความรกั และ เอาใจใสท งั้ จากการสัมผัสการ รับรูรส กลิ่น และเสียง การสรางความสัมพันธแระหวางพอแมจะกอใหเกิด ความผูกพันท่ีแนบแนนแกบุตร ซ่ึงพอแม สามารถสรางความผูกพันใหบุตรผานการใหอาหาร การสัมผัส โอบกอด การสือ่ สารพดู คุย ผา นการมองและการเลน การเลา นทิ าน เป็นตน แนวปฏิบัติสําหรับครอบครัวในการดูแลเด็กแรกเกิดถึง 6 เดือนควรพิจารณาถึงการ ตอบสนองความตองการ ของเด็กตามวัยและการสงเสริมพัฒนาการของเด็กตามวัย (สํานักอนามัยเจริญ พนั ธแ 2554, สมาคมคหเศรษฐศาสตรแ แหง ประเทศไทย 2524) ดังนี้ 3.1.1 การตอบสนองความต้องการตามวัยสําหรับเด็กอายุ แรกเกิดถึง 6 เดือนน้ันเป็น วยั ทีย่ งั ไมส ามารถชวย เหลือตนเองได ดังนั้นการตอบสนองของพอแมที่มีตอบุตรจึงมีความสําคัญในการ เสริมสรางบุคลิกภาพใหแกบุตรการ ตอบสนองความตองการของเด็กในวัยน้ีแบงเป็นดานตาง ๆ ไดแก การกนิ การนอน การขับถาย การเลน การเรยี นรู และความรกั ดังนี้ 1) การกิน ทารกแรกเกิดกินอาหารดวยวิธีดูดแลวกลืน ดังนั้นอาหารของเด็กวัย แรกเกิดถึง 6 เดือน ที่สําคัญที่สุด คือ นมแม โดยปกติเด็กทารกจะกินนมแมทุก 2 ช่ัวโมง แตเด็กทารก แรกเกิดจะใชเวลานอนมากกวาทุกวัย ดังน้ันแมจึงควรปลุกลูกขึ้นมาใหดูดนมแม หากบุตรนอนหลับ มากกวา 4 ชั่วโมง เพ่อื กระตุนนาํ้ นมแม เพราะปรมิ าณ นํา้ นมจะมากหรือนอ ยขึน้ อยูกับการดูดนมบอย ๆ ของลกู เม่อื บตุ รด่ืมนม แมค วรย้ิมแยม มองสบตาบุตร เลน พูด คุยกบั บตุ ร เมอ่ื ทารกอายุประมาณเดือนที่ 4 - 5 ควรใหอ าหารเสรมิ เพ่ิมเตมิ แตท ารกแตละคนมีความตองการอาหาร ไมเ หมอื นกัน ฉะน้ันจะวางกฎ ตายตวั ไมไดว าควรใหท ารกกินอาหารเมือ่ ใด และปรมิ าณเทา ใด พอ แมจ ึงควรสังเกต การกินของบุตรดวย นอกจากน้ี พอควรมีบทบาทรวมกับแมโดยพาบุตรไปตรวจสุขภาพตามนัด เพราะนอกเหนือจาก การพา บุตรไปตรวจสุขภาพ และไดรับวคั ซนี แลว เดก็ จะไดรับการประเมินภาวะโภชนาการ การเฝูาระวังติดตาม พัฒนาการสมวัย และอนื่ ๆ
49 2) การนอนในชวงแรกเกิดทารกจะใชเ วลาสวนใหญไปกับการนอน โดยปกติทารก นอนหลับวันละ ประมาณ 20 ชั่วโมง และตื่นทุก ๆ 2-3 ช่ัวโมง เม่ือทารกอายุมากข้ึนประมาณ 4 เดือน จะนอนหลับนอยลงเป็นวันละ ประมาณ 14 - 15 ช่ัวโมง ในระยะ 3 เดือนแรก ทารกนอนกลางวัน นอยลง และนอนหลับกลางคืนมากขึ้น สวนใหญ ทารกจะต่ืนเน่ืองจากความรูสึกไมสบายตัว เจ็บ หรือ หิว รวมถึงส่ิงแวดลอมท่ีมีเสียงดัง หรืออุณหภูมิหองท่ีรอนเกินไปดังนั้น จึงควรจัดที่นอนทารกใหสะอาด ปลอดภัย และมีอากาศถายเทสะดวก พอแมควรสังเกตวาบุตรมีอาการงวงรูสึกไมสบายตัว หรือไม หาก สังเกตบอย ๆ รปู แบบกจิ วตั รประจําวนั ของบตุ รได 3) การขับถ่าย อุจจาระของทารกจะเปล่ียนไปตามอาหารท่ีทารกไดรับ ทารกที่ ไดรับนมแมกับทารกที่กินนมผง จะมีลักษณะของสีอุจจาระที่แตกตางกัน สวนความถ่ีในการขับถายจะ เปล่ยี นไปตามอายุของบุตรในชวง สปั ดาหแแรกทารกจะถา ยมากกวา 5 ครัง้ ใน 1 วนั แตละลดลงเหลือ วนั อาจจะขบั ถา ย 2-3 วันครัง้ ถา ทารกไมถ ายอุจจาระแตท ารกยังมีอารมณแราเริง แสดงวายังปกติอยู พอแม ควรตอบสนองลูกดวยความรกั ทําความสะอาดใหท ารกสบายตัว 4) การเล่น การเลนไมใชเป็นเพียงชวยกระตุนพัฒนาการเด็กเท โดยผานประสาท สมั ผสั ทั้ง 5 ซ่ึงไดแก การมองเห็นดวยตา การไดยินดวยหู การดมกลิ่นดวยจมูกการชิมสัมผัสรสชาติผาน ลิ้น และการสมั ผัสผานผวิ หนัง สาํ หรับแนวทางปฏิบตั ิในการตอบสนองบุตรในวัยแรกเกิดถึง 6 เดือน พอ แมควรพูดคยุ สงเสยี ง ยมิ้ ทักทาย แสดงทา ทางสนใจเมอ่ื อมบุตร และจัดหาของเลนท่ีปลอดภัยเหมาะสม กับวยั ของทารก 5) การเรียนรู้เด็กในวัยนี้ควรไดรับการกระตุนใหเกิดการเรียนรู โดยทั่วไป ครอบครัว เป็นตัวกระตุน ซึ่งความเหมาะสมในการใชนิทานสําหรับเด็กแตละวัยมีความแตกตางกัน พอ แมตองคํานึงถึงความ สนใจ การรับรูและความสามารถตามวัย จึงจะชวยใหเกิดประโยชนแและชวยให ทารกการเรยี นรไู ด ในเด็กทารกแรกเกดิ ถึง 6 เดือนมีชวงระยะเวลาความสนใจการฟใงนิทานประมาณ 3 นาที ดังน้ันจึงควรเลือกนิทานท่ีเป็นหนังสือ ภาพ มีรูปสัตวแ ผัก ผลไม หรือ สิ่งของในชีวิตประจําวัน ลกั ษณะของนิทานควรเป็นผาหรือพลาสติกนมุ ๆ ใหเด็กจับ และเลนได 6) ความรัก การดูแลดานจิตใจของทารกท่ีสําคัญท่ีสุด คือ การมอบความรักดวย การสมั ผัส กอดรัด อยางนมุ นวลจะชวยใหทารกเรียนรูถึงความรัก ความไววางใจผูอื่น และเกิดทัศนคติที่ ดีตอ สง่ิ แวดลอ มและคนรอบขาง ทุกครงั้ ที่พอแมอุมทารก ควรเรียกช่ือและพูดคุย สงเสียงพยักหนา หรือ ยิ้ม เพื่อกระตุนพัฒนาการของทารก นอกจากน้ี พอแมอาจนวดนิ้วมือ แขน น้ิวเทา เทาของทารกเบา ๆ จะชว ยใหทารกสบายตัวและอารมณแแ จม ใส 3.1.2 การส่งเสริมพัฒนาการตามวัย พัฒนาการเป็นการเปลี่ยนแปลงดานการทําหนาที่ (Function) และวุฒิ ภาวะ (Maturation) หรือความเจริญในดานความสามารถของอวัยวะตางๆ ของ รางกายของเด็กทําใหระบบในรางกาย สามารถทําหนาท่ีไดอยางมีประสิทธิภาพ และซับซอนไดมากขึ้น รวมท้ังมีการเพิ่มทักษะใหม เชนการคว่ํา การยืน การ เดินการพดของเด็ก เป็นตน ท้ังนี้ พัฒนาการของ
50 เด็กจะเปล่ียนแปลงไปตามอายุ ต้ังแตอยูในครรภแของแม สิ่งตาง ๆ ลวนมีผลตอพัฒนาการเด็กซ่ึงไดแก กรรมพันธุแ อาหาร การเลน ภาวะการเจ็บปุวยในเด็ก และสิ่งแวดลอมท้ังท่ีอยูใน บานและนอกบาน พัฒนาการในเดก็ ทกุ คนจะเกดิ ตอ เนือ่ งกนั ไปตามขน้ั ตอน จะไมม ีการขามข้นั ตอนใดตอนหนึ่ง และ จะเริ่ม จากศรี ษะสูปลายเทา เชน เด็กจะมองกอ นช้ันคอ จะชันคอกอ นคว่ํา เป็นตน พฒั นาการของเดก็ ดไู ดจากพฤตกิ รรมทเี่ ด็กแสดงออก พัฒนาการบุตรแรกเกิดถึง 6 เดือนแบงเป็นดาน ตางๆ 4 ดาน ไดแก รางกาย สติปใญญาจิตใจ-อารมณแและสังคม ท้ังน้ี ครอบครัวท่ีมี เด็กในวยั น้ตี อ งเรียนรพู ฒั นาการดานตา งๆของเด็ก พรอมทั้งใหก ารสง เสรมิ อยา งเหมาะสม (ปยิ ะธดิ า ขจร ชัยกุล 2556) ศรีเรือน แกว กังวาล Duval, 1967) ดงั นี้ 1) พฒั นาการและการเคล่ือนไหวรา งกายลักษณะทางรา งกายของเด็กเปลี่ยนแปลง ตาม ความเจริญเติบโตท้ังในดานสวนสูง นํ้าหนักและสัดสวนของรางกาย ในระยะแรกของชีวิตอวัยวะ ตา งๆ ระหวางการกอ ตัวใหส มบูรณแ ดงั นนั้ รา งกายจงึ ตองพฒั นาเซลลแสมองและระบบการทํางานของสวน ตาง ๆ ในรางกายไปอีกระยะ เพ่ือใหเกิดความสมบูรณแเต็มที่ เด็กวัยน้ีจึงมักไมอยูน่ิงมีการเคลื่อนไหว ตลอดเวลา ซงึ่ เปน็ การชวยพัฒนา กลามเน้อื มัดใหญแ ละกลา มเนื้อมดั เลก็ และกระตนุ การสรางโยงใยของ เสนประสาทท่ีพัฒนาเกือบสมบูรณแในวัยน้ี สําหรับพัฒนาการและการเคลื่อนไหวของรางกายจะเป็นไป ตามลาํ ดบั ตามตารางดงั น้ี ตารางท่ี 1 พฤตกิ รรมและความสามารถของร่างกายที่ควบคมุ ไดต้ ามชว่ งอายเุ ด็ก อาย(ุ เดอื น) พฤตกิ รรม ความสามารถของรางกายที่ควบคุม ได 1 มองตามแสง สามรถยกศีรษะขน้ึ ได กลามเน้ือคอ 2 ย้ิมมองตามไดม ากขน้ึ กลามเนอื้ คอ 3 หันศีรษะไปมาได กลา มเน้ือคอ 3 ถึง 6 การบงั คบั ศรี ษะ ชนั คอได คว่ํา หรือ กลามเนอ้ื คอและหลัง หงายตัวได การสงเสรมิ พัฒนาการทางดา นรา งกาย พอแมค วรสง เสริมบตุ รในแตละชว งอายุ ดังนี้ • ในชวง 1-2 เดือน พอแมควรยิ้มแยมสบตา เลนพูดคุย แขวนของสีสดใสใหหางจากตาลูก และ ใหลูกมองตามของทเี่ คลื่อนไหว • ในชวงอายุ 3-6 เดือน พอแมควรจัดหาสถานที่ปลอดภัยใหบุตรหัดพลิกซาย-ขวาโดยเอา ของ เลนที่มีเสียงมากระตุนลอขางหลังเด็ก เพื่อใหเด็กพลิกตัวไปตามเสียง สวนการสงเสริมพัฒนาการ ดา นการชันคอใหพ อ แมจับเด็กอยูในทานอนคว่ํา ใชของเลนท่ีมีเสียง สีสดใส เชน ลูกกระพรวน กระตุน ลอใหเด็กมองแลวยกของเลนข้ึน เพื่อใหเด็กยกศีรษะขึ้นมองตามของเลน นอกจากนี้ พอแมควรพูดคุย เลน กบั ลกู บอย ๆ ในสิ่งทีพ่ อ แมกําลงั ทําอยกู บั ลกู เชน ขณะอาบนํา้ ใหล ูก ปอู นขา วใหล ูก เป็นตน
51 2) พัฒนาการด้านสติปญั ญา เด็กวยั นส้ี นใจสงิ่ ตา ง ๆ รอบตัว และชอบแตะ จับส่ิง ตาง ๆ จึงตอง ระมัดระวังสิ่งสกปรกท่ีติดมากับมือของทารก สําหรับพัฒนาการดานสติปใญญาในท่ีนี้จะ กลาวถึงพัฒนาการทางการ เรียนรแู ละการปรับตวั ซึ่งสรุปไดด งั นี้ ตารางที่ 2 พฤตกิ รรมการแสดงออกทางดา้ นสติปญั ญาตามชว่ งอายเุ ดก็ อายุ พฤติกรรมการแสดงออก แรกเกิด สนใจสง่ิ แวดลอมรอบตวั เดก็ รับรูจากการดู ไดย นิ ไดกลิน่ ไดสัมผสั 3 ถึง 6 เดือน มองตามสิ่งท่เี คลื่อนไหว มองหนา ยมิ้ ได มีปฏิกริ ิยาตอเสยี ง หยบิ ของเขา ปาก การสงเสริมพัฒนาการทางดานสติปใญญา พอแมค วรสงเสริมบุตรโดยยิ้มแยมสบตา เลน พดู คุยทาํ เสียง โตต อบ รอ งเพลง แขวนของสีสดใสใหห า งจากตาลูกและเคล่ือนของเลนเพื่อใหลูกมอง ตามของทีก่ ําลังเคล่ือนไหว ใช ของเลนมีเสียงเขยาใหลูกฟใงเสียงและมองตามของเลน และเลานิทานสั้น ๆ ใหลกู ฟงใ 3) การพัฒนาการด้านจิตใจและอารมณ์ อารมณแของเด็กไมม่ันคง และ เปล่ียนแปลงงายในระยะเวลาอันส้ัน ในการศึกษาการรับรูอารมณแของเด็กพบวา เด็กอายุ 17 , 23 และ 29 สัปดาหแ พบวา เด็กยงั ไมส ามสารถรับรูแ ละแยกอารมณไแ ด หากไมมีตวั กระตุน ตัวอยางเชน การศึกษา ของแครอนและแครอน (Caron&Caron, 1985 อางถึงใน ปิยะดา ขจรชัยกุล 2551) ที่ศึกษาโดยใหเด็ก ทารกมองใบหนาที่โกรธเห็นฟใน ใบหนาท่ีไมโกรธไมเห็นฟในหรือย้ิมไมเห็นฟในซึ่งเป็นใบหนาท่ีเด็กคุนเคย และใบหนาท่ียมิ้ เหน็ ฟนใ ทเ่ี ดก็ ไมค ุนเคย พบวา เดก็ ไมสามารถแยกแยะขอมลู เกย่ี วกบั อารมณไแ ด ในขณะที่ ลา บารแ (La barbera และคณะ 1976 อางถึงใน ปิยะธิดา ขจรชัยกุล 2551) พบวา เด็กเล็กเร่ิมรับรู เกี่ยวกับการแยกแยะอารมณแดีใจ เสียใจ หรือภาพแสดงใบหนาแปลก ๆ ได เมื่ออายุได 4 เดือน สําหรับ พฒั นาการดา นจติ ใจและอารมณแของเด็กในละระยะสรปุ ไดดังนี้ ตารางท่ี 3 พฤตกิ รรมการแสดงออกทางดา้ นจติ ใจและอารมณ์ตามชว่ งอายขุ องเดก็ อายุ พฤติกรรมการแสดงออกทางอารมณแ แรกเกิด เด็กมอี ารมณแวติ กกงั วน 3 ถึง 6 เดอื น เดก็ มีอารมณกแ ลวั เกลียด โกรธ ทกุ ขแ วติ กกังวน ดีใจ การสง เสรมิ พัฒนาการทางดานจิตใจและอารมณแ พอแมควรสงเสริมบุตรในชวงวัย น้ีโดย ย้ิมแยมสบตา เรียกชอ่ื เด็ก เลนพูดคยุ ทําเสยี งโตต อบ รอ งเพลง แสดงความรักดว ยการกอดรัดอยา ง นุมนวล เพื่อใหเดก็ สบายใจ และ อุม ลกู เพ่ือใหคลายความวิตกกังวลเม่ือลูกมีอารมณแกลัว เกลียด ทุกขแใจ เป็นตน 4) พัฒนาการทางด้านสงั คม โดยทว่ั ไป อาจแบง พฒั นาการทางดานสังคมของเด็ก ปฐมวัยในชวง แรกเกิด ถึงอายุ 1 ปี ออกเป็น 3 ขั้น ไดแก ข้ันท่ี 1 เด็กเร่ิมมีปฏิสัมพันธแกับผูอื่น ข้ันท่ี 2
52 เด็กเรียนรูวาตนเป็นสมาชิก ในสังคม และขั้นที่ 3 เด็กเรียนรูท่ีจะรวมมือกับผูอ่ืน สําหรับเด็กวัยแรกเกิด ถงึ อายุ 6 เดือน จะอยใู นขั้นท่ี 1 โดย เดก็ ยังคงยึดตัวเองเป็นศนู ยแกลาง และจําหนาพอแมหรือผูเล้ียงดูได บางครงั้ จะกลวั คนแปลกหนา และแสดงอาการ รองโยเยออกมา ซ่งึ สรุปพฒั นาการดานสงั คมไดด ังนี้ - เด็กแรกเกิดถึงอายุ 3 เดือน เด็กจะมองหนาคนในระยะหางประมาณ 9 น้ิว อายุ 2 สปั ดาหแ ขึ้นไป เด็กจะจอ งมองหนาแม พออายุระหวา ง 4 ถงึ 6 สปั ดาหแ เด็กจะเรมิ่ ยม้ิ แสดงความพึงพอใจ - เด็กอายุ 3 ถึง 6 เดือน เด็กเร่ิมจําหนาแมได และจํากล่ินแมได เวลาผูใหญพูดคุยดวยจะ สงเสียงและชอบสง เสยี งคยุ กับผูอื่นดวย - เดก็ อายุ 6 เดือน เดก็ รูจกั วธิ ีท่ีจะใหผใู หญส นใจ เชน ทาํ เสียงไอ ย้มิ ดว ย เป็นตน การสงเสริมพัฒนาการทางดานสังคม พอแมควรสงเสริมบุตรโดยยิ้มแยม สบตาลูกเวลาเลน เรียกชื่อ เด็ก เลนพูดคุยทําเสียงโตตอบเม่ือลูกสงเสียงคือ อา และอุมลูกใหรูสึกอุนใจเม่ือตองไปพบปะ ผูอืน่ เปน็ ตน อาจสรุปไดวา พัฒนาการของเด็กวัยแรกเกิดถึงอายุ 6 เดือนนี้มีความกาวหนาไดรวดเร็ว พอแม จึงควรดูแล พอแมที่มีตอลูก เด็กอยางใกลชิด คอยแนะนําส่ังสอนใหความอบอุน และใสใจใหความรัก เพือ่ ใหเ ด็กเกิดความเชอ่ื ม่ันในความรกั ของพอแมท ี่มีตอลูก 3.2 แนวปฏิบตั ิสาหรบั ครอบครวั ในการดูแลเดก็ อายุ 6 เดอื นถึง 1 ปี ครอบครัวจะมีความสุขและมีความสุขมากขึ้นเม่ือมีเด็กเป็นศูนยแกลางของครอบครัว โดยเฉพาะเมอ่ื เดก็ มีชว งอายุ 6 เดือนถงึ 1 ปี เน่ืองจาก เดก็ วัยนเี้ ปน็ วยั ที่นอนไมมากเหมือนวัยทารก เด็ก ที่ตื่นอยูอารมณแดีมากขึ้น หากมีพอแมย้ิม เลนกับเด็ก เด็กก็จะทําทาดีใจ แตเม่ือแมเดินหางออไปเด็กจะ รองไห นน้ั แสดงถึงเดก็ เรมิ่ มคี วามผกู พันกบั แม สํา ห รั บแ น ว ปฏิ บั ติ สํา ห รั บคร อ บครั ว ใน ก า รดู แ ล เด็ ก วั ยดั ง ก ลา ว ควร พิ จ าร ณ า ถึง ก า ร ตอบสนองความตองการของเด็กตามวัยและการสงเสริมพัฒนาการของเด็กตามวัย (สํานักอนามัยเจริญ พันธแุ 2554; สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสงเสริมสุขภาพ 2552, มิชิโอ฿ะ มัตสุตะ 2550; สมาคม เศรษฐศาสตรแแ หงประเทศไทย 2524) ดงั นี้ 3.2.1 การตอบสนองความต้องการตามวัย 2.1 การตอบสนองความตองการตามวัย สําหรับเด็กอายุระหวาง 6 เดือน ถึง 1 ปีนั้นเป็นวัยที่ยังไมสามารถ ชวยเหลือตนเองได การตอบสนอง ของพอแมท่ีมีตอบุตรวัยนี้จึงมีความสําคัญท่ีจะชวยใหเด็กเกิดความมั่นคงทาง อารมณแ การตอบสนอง ความตองการของเดก็ ในวัยน้ีแบง เปน็ ดานตา ง ๆ ไดแก การกิน การนอน.การขับถาย การเลน การเรียนรู และความรกั ดงั น้ี 1) การกินนมแมเป็นอาหารที่ดีสําหรับทารก แตหลัง 6 เดือนไปแลวทารกควร ไดรับอาหารเสริมเพื่อ สรางพลังงานและสารอาหารท่ีเหมาะสม หลักในการใหอาหารสําหรับเด็ก คือ “สมวยั เพยี งพอ ปลอดภัย เหมาะสม กบั ความหวิ และอ่มิ และพฒั นาการตามวยั ของบุตร\" อยางไรก็ตาม พอแมควรใหอาหารที่มีคุณคาทางโภชนาการและ หลากหลายแกบุตร ใหกินอาหารรสธรรมชาติ ไมปรุง
53 แตง รสอาหารดวยน้าํ ผง้ึ นา้ํ ตาล ผงปรุงรส หรือผงชูรส ไมค วร ใหอาหารที่มีรส หวานจัด มันจัด หรือเค็ม จัด และควรใหรับประทานผักและผลไมทุกวัน สวนการปูอนอาหารแกบุตร ควรสบตา พูดคุย เพ่ือสราง สมั พนั ธภาพทีด่ ี ควรปอู นอาหารอยางนมุ นวล ไมยัดเยียดหรือบังคับใหทาน เพราะเด็กอาจ สําลักอาหาร ได ขณะทานอาหารไมควรมีส่ิงลอใจใหบุตรหันเหความสนใจ เชน โทรทัศนแ หรือเดินปูอนอาหาร ควรให เด็กนงั่ รับประทานใหเปน็ ท่เี ป็นทาง 2) การนอน การนอนมีความสําคัญกับเดก็ เพราะเม่อื ตน่ื นอนจะชว ยใหเ ด็กไดผอน คลายอารมณแ แจมใส หากเด็กนอนหลับไมเพียงพอเด็กจะหงุดหงิดงอแง และอาละวาดได เด็กวัยน้ีจึง ควรไดนอนพักผอนเวลากลางวัน วันละ ประมาณ 3 ชั่วโมง และนอนหลับเวลากลางคืนประมาณ 11 ชั่วโมง หากเด็กต่ืนรองไหใหสังเกตวาเพราะเกิด จากการขับถาย หรือตื่นเพราะหิวนม ไมควรอุมลูกข้ึน จากท่นี อน ควรกลอมลกู ดว ยเสียงเพลงเบาๆ หรือลูบหลังเด็ก เบา ๆ เด็กจะหลับได พอควรมีบทบาทใน การชวยกลอ มลกู นอนดว ย เพราะแมตองดแู ลลูกทง้ั วันอาจเหน่อื ยและเพลยี จากการดแู ลลกู 3) การขับถ่ายการขับถายของเด็กวัยน้ีจะเป็นเวลาและสมํ่าเสมอมากข้ึน ดังนั้น พอแมอาจฝึกนิสัย ขับถายโดยจับเด็กนั่งกระโถนได แตการขับถายของลูกยังสัมพันธแกับอาหารเสริมที่ ไดร บั หากไดร บั อาหารเสริมทีม่ ี กากใยบา งจะชว ยเรอื่ งการดดู ซึมและขบั ถายแกลกู ได นอกเหนือจากการ ใหอาหารเสริมแลว พอแมควรใหลูกด่ืมน้ํา ตมสุก และน้ําผลไม ตลอดจนพอควรชวยแมดูแลบุตรโดยใช การกระตุน ดว ยการนวดสัมผัส หรือเลน กับบุตรเพื่อให บุตรไดเ คล่ือนไหวแขน ขา จะชวยเร่อื งการขับถาย ได 4) การเล่นการเลนเป็นการกระตนุ และกอใหเกิดการเรยี นรทู ีด่ ีสําหรบั เดก็ การเลน ชวยใหเด็กไดมี พัฒนาการทุกๆ ดาน หลังจากท่ีแมเป็นผูดูแลลูกเกือบท้ังวันจะทําใหแมเหน่ือยลาได ดังน้ัน ในเรื่องการเลนกับลูก พอ จึงควรมีบทบาทเป็นเพ่ือนเลนกับลูก พอสามารถเลนกับลูกได หลากหลายวิธี เชน เลนจ฿ะเอเ อุมลูกน่ังตักเลนโยกเยก หรือใชลูกบอลนุม ๆ ใหลูกกลิ้งและเอื้อมมือจับ เลน หรือในกรณีทเ่ี ด็กอายปุ ระมาณ 9 ถงึ 11 เดือนพออาจเอาของ เลนวางไวบนโตะ฿ ใกล ๆ ตัวลูกเพื่อให ลูกเหนย่ี วตัว เกาะยืนเออ้ื มมือไปควา ของเลน เปน็ ตน 5) การเรียนรู้ เด็กวัยน้ีกําลังพัฒนาการเรียนรู พอแมสามารถใชนิทานเป็นสื่อ ได เพราะนิทานมีประโยชนแหลากหลาย เชน ชวยใหเด็กมีจินตนาการ ชวยพัฒนาการดานภาษาและ สติปใญญา เป็นตน สําหรับเด็กอายุ 6 เดือนมีชวงระยะเวลาความสนใจการฟใงนิทานประมาณ 3 นาที เชนเดียวกับในเด็กทารกแรกเกิด ดังน้ัน พอแมจึงควรเลนนิทานใหบุตรฟใงทุกวัน ลักษณะของนิทานควร เป็นผาพลาสติกนมุ ๆ ใหเด็กจับ และเลนได การเลานิทานใหเด็กฟใงพอแมควรชวนใหดูรูปภาพประกอบ พูดคุย และอาจรองเพลงเบา ๆ ประกอบ เพื่อใหเดก็ เพลดิ เพลนิ ไปกบั การฟงใ นิทาน 6) ความรัก พอแมควรแสดงความรักเด็กวัยน้ีเชนเดียวกับวัยทารก ดวยการใช สัมผัส กอดรัดอยางนุมนวลจะชวยใหเด็กเรียนรูถึงความรัก ความไววางใจผูอ่ืน ทุกคร้ังที่อุมลูกหรือเมื่อ ลูกนอนเลนกล้ิงตวั พอแมค วรย้ิม เรียกชอื่ ชแ้ี ละชักชวนพดู สิง่ ตา ง ๆ กับลูกอยา งสมาํ่ เสมอและใหลูกรูวา
54 ถึงแมจะไมเห็นหนาแมเพราะแมตองไปเตรียมอาหาร หรือกิจวัตรประจําวัน ลูกก็ยังไดยินเสียงของแม เป็นตน 3.2.2 การส่งเสรมิ พัฒนาการของเด็กตามวยั สิง่ สําคัญทเี่ ปน็ แนวปฏิบตั สิ ําหรับ ครอบครวั ในการดแู ลเดก็ อายุ 6 ถงึ 12 เดอื น ครอบครัวตองสง เสริมและสนบั สนุนใหเดก็ เกิดไวว างใจ (Trust) เพราะเป็นจุดเรม่ิ ตน ในการพฒั นาบคุ ลิกภาพของเด็ก และพัฒนาการของเดก็ ดไู ดจากพฤตกิ รรม ทีเ่ ดก็ แสดงออก ซึ่งแบง เปน็ ดานตาง ๆ ไดแ ก ดา นรา งกาย สตปิ ใญญา จติ ใจ- อารมณแแ ละสงั คม ท้งั น้ี ครอบครัวทีม่ เี ด็กในวัยน้ีตองเรยี นรูพฒั นาการดา นตา ง ๆ ของเดก็ พรอ มท้งั ใหก ารสงเสรมิ อยา งเหมาะสม (ปิยะธดิ า ขจรชยั กุล 2556) ศรเี รอื น แกว กังวาล 2549; Duvall, 1967) 1) พัฒนาการและการเคล่อื นไหวรา่ งกาย เด็กวยั นม้ี พี ฒั นาการทเ่ี ปน็ ไปอยา ง รวดเร็ว โดยพจิ ารณาไดต ามลาํ ดับของชวงอายุ ดงั น้ี ตารางที่ 4 พฤติกรรมและความสามารถของร่างกายท่ีควบคุมไดต้ ามช่วงอายุ อาย(ุ เดอื น) พฤตกิ รรม ความสามารถของรา งกายทคี่ วบคมุ ได 6 ถงึ 7 การน่งั น่ังเองไดแ ตไ มนาน กลา มเนือ้ คอและหลงั 8 คลาน น่งั เองไดสักครู กลา มเนือ้ คอ หลัง และขา 9 นั่งเองไดน าน เริม่ เกาะยนื กลามเนื้อคอ หลงั และขา 10 เหนยี่ วตัวเกาะยืนได เดินโดยใชเกาอ้ี กลา มเนือ้ คอ หลงั และขา มลี กู ลอ 12 การนัง่ ทรงตัว ตัง้ ไข ยืนเอง จูงมอื กลามเน้ือคอ หลงั และขา เดิน 9 ถงึ 12 การใชน ว้ิ หยิบของดว ยน้ิวมอื จบั กลา มเนอื้ มอื โดยเฉพาะกลา มเนื้อนว้ิ ขวดนมเองได แตละนิว้ การสงเสริมพัฒนาการทางดานรางกาย พอแมควรสงเสริมบุตรในวัยนี้ดวยการพัฒนาการดาน การน่งั โดยใหเด็กน่ังเอง แตมีพอ แมป ระคองระวังขา งหลัง หรือใหเด็กหัดนั่งในกลองหรือวา เด็กลงไปนั่ง อยูไดอยางสบาย และไมลมหงายหลังและใหมือท้ังสองขางของเด็กสามารถจับขอบกลอง หรืออาง พลาสติก ไดถนัดพอดี พรอมกับสงเสริมพัฒนาการดานการคลานถาเด็กยังคลานไมไดเลย พอแมจับเด็ก ใหอยูในทาคลานและ โยกตัวเด็กไปขางหนา ขางหลัง ขางซายและขางขวา และฝึกใหคลานโดยพอแม ชวยจับแขนขาของเด็กใหขยับตามทาของการคลาน นอกจากนี้พอแมควรหาของเลนท่ีมีสีสดใสและมี เสยี งมากระตนุ ใหเด็กคลานไปหาของเลน เปน็ ตน เมื่อเด็กเริ่มเกาะยืน หรือเดิน ควรจัดหาของเลนมาดึงดูดใหเด็กเอื้อมหยิบจับ หรือจูงมือเด็กเดิน ไป ดวยกันในระยะใกล ๆ หรือกระตนุ ใหเด็กเกาะผนัง หรือขอบเตียงเดินไปรอบ ๆ หรือเรียกชื่อเด็กและ
55 ของเลนใหเด็ก สนใจลุกข้ึนหยิบ นอกจากน้ี เมื่อเด็กเร่ิมใชน้ิวหยิบส่ิงของพอแมควรสนับสนุนใหเด็กจับ ขวดนม หรือขนม ผลไม ชิ้นเล็ก ๆ เชน คุกกี้ มะละกอหัน เป็นตน แตควรระมัดระวังสิ่งท่ีอาจเกิด อนั ตราย เชน ถ่วั เพราะเม่อื เดก็ หยิบใสป าก อาจสําลกั และเกดิ อันตรายได 2) พัฒนาการด้านสติปัญญา เด็กวัยน้ีสนใจสิ่งตาง ๆ รอบตัวมากข้ึน และตื่นเตน กับการเหน็ สงิ่ ตาง ๆ รอบตัว เดก็ วัยน้ชี อบแตะ จับ หรือหยิบของเขาปาก จงึ ตอ งระมัดระวงั สิง่ ของท่ีเด็ก หยิบเขาปาก ซ่ึงอาจเป็น อันตรายตอเด็กได เด็กเริ่มรับรูเสียงที่แตกตางของพอแมและเสียงของคนอ่ืน สําหรับพัฒนาการดานสติปใญญาในที่น้ี จะกลาวถึงพัฒนาการทางการเรียนรูและการปรับตัว ซึ่งสรุปได ดังน้ี ตารางที่ 5 พฤติกรรมการแสดงออกดา้ นสตปิ ญั ญาตามช่วงอายเุ ด็ก อายุ พฤติกรรมการแสดงออกดา้ นสตปิ ัญญา 6 ถึง 9 เดอื น หยบิ ของดว ยน้วิ ยา ยของจากมือหน่ึงไปอกี มือหน่ึงได จาํ หนา คนใกลช ิดไดเ รมิ่ กลัว คนแปลกหนา 9 ถึง 12 สนใจสาํ รวจทุกสิ่ง ชอบแตะ จบั และหยบิ ของเขาปาก ใชข องสองช้นิ มาเคาะได เดือน การสง เสริมพัฒนาการทางดา นสติปใญญา พอแมควรสงเสริมเด็กวัยนี้โดยฝึกใหเด็ก หดั ใชน ิว้ หยบิ ของ เปล่ยี นมือไปมา เลน กับลูก เชน จะ฿ เอเ จับปูดํา แมงมุม จําผลไม ตบมือ ใหเลนของเลน ท่ีมีขนาดและและสีตาง ๆ กัน เชน ลักษณะผิวเรียบ - หยาบ ของลักษณะออน-แข็ง หยิบของเขา-ออก จากกลอ ง หรือถว ย เปน็ ตน 3) พัฒนาการด้านจิตใจและอารมณ์ อารมณแของเด็กวัยน้ีไมม่ันคง และ เปล่ียนแปลงงา ยในระยะเวลา อนั สน้ั ดังตารางที่ 2.6 ตารางท่ี 6 พฤติกรรมการแสดงออกทางด้านจิตใจและอารมณ์ของเดก็ อายุ 12 เดือน อายุ พฤติกรรมการแสดงออกทางอารมณ์ 12 เดอื น เด็กมีอารมณกแ ลัว เกลยี ด โกรธ ทกุ ขแ วิตกกงั วน ดีใจ เบิกบาน รัก อาจกลาวไดวา เด็กวัยทารกและวัยเตาะแตะ (Infancy and Toddlerhood) จะ ใชอารมณเแ ปน็ วิธีสอื่ สาร กับตนเองและผูอ ื่น ทารกจะคอ ย ๆ สรางความคาดหวังจากการมีปฏิสัมพันธแกับ พอแมโ ดยดูวิธีการตอบสนองของพอ แมเมอื่ ทารกแสดงอารมณแอะไรออกมา ดังนั้น วิธีการที่พอแมแสดง ออกมาเชื่อวา จะมอี ทิ ธิพลท่ีสําคัญตอความสามารถ ทางอารมณแของทารกในเวลาตอมาได นอกจากน้ียัง พบวา ความสัมพันธแในเชิงความผูกพัน (Attachment relationship) ซ่ึงเป็นความผูกพันทางอารมณแ
56 ของทารกกบั พอแมในชวงเวลาดังกลาวจะมีอิทธิพลตอการจัดการอารมณแและ การจัดการกับปใญหาของ ทารกในเวลาตอมาเชนกัน (ปยิ ะธิดา ขจรชยั กุล 2551) การสงเสริมพัฒนาการทางดานจิตใจและอารมณแ พอแมควรสงเสริมเด็กวัยน้ี โดย พูดคุยปลอบลูก กอดลูก หรืออุมลูกเพื่อใหคลายความวิตกกังวลเม่ือลูกแสดงอารมณแตาง ๆ เชน กลัว วิตกกงั วล หรือเม่ือพบปะคนอื่น และใหเ วลาลูกทาํ ความคนุ เคยกับคนอื่น นอกจากนี้ใชของเลนชวยคลาย อารมณลแ ูก เชน ใหล กู กอดตก฿ุ ตาทมี่ ลี ักษณะ นุมน่ิม ใหฟ ใงนิทาน เลนหุนนิ้วมือ การเลนเครื่องดนตรี และ การฟงใ เพลงเบา ๆ เป็นตน 4) พัฒนาการทางดานสังคม เด็กวยั อาย 6 เดือน ถึง 1 ปีมีพัฒนาการดานสังคมอยู ในข้ันท่ี 2 คือเด็กเรียนรูวาตนเป็นสมาชิกในสังคมและข้ันที่ 3 เด็กเรียนรูท่ีจะรวมมือกับผูอื่น ท้ังน้ียังคง ยดึ ตัวเองเปน็ ศนู ยกแ ลาง บางคร้ังจึงกลัวคนแปลกหนา และแสดงอาการรอ งโยเยออกมา ซง่ึ สรปุ พัฒนาการ ดานสงั คมของเดก็ ในวยั น้ีไดด ังนี้ ขั้นท่ี 2 เด็กเรียนรวู้ ่าตนเป็นสมาชิกในสังคม เด็กในวัย 9 เดือน สามารถจําหนาบุคคลที่คุนเคย และมักเป็นบุคคลในครอบครัว และกลัวคนแปลกหนาท่ีไมรูจักมากอน สามารถเร่ิมเลนเกมงาย ๆ ได เชน จะ฿ เอเ ตบแผละ ฯลฯ ข้ันท่ี 3 เด็กจะเรียนรู้ร่วมมือกับผู้อื่น เด็กในวัย 12 เดือน สามารถเขาใจคําส่ังและปฏิบัติตาม คาํ สง่ั งายๆ ได ชอบเลนเกมกบั ผใู หญ สนใจสงิ่ รอบตัวและจะหยิบของใสปาก การสงเสริมพัฒนาการทางดานสังคม พอแมควรสงเสริมเด็กวัยนี้โดยปลอบลูกกอดลูกอยางเบา มือ เลนและพูดคุยกับลูก เชน ตบมือ รองเพลงเบาๆ เมื่อพาลูกไปขางนอกพอแมควรอุมลูกเพ่ือใหคลาย ความวติ กกงั วล เมอ่ื พบปะคนอื่น และใหเวลาลกู ทาํ ความคนุ เคยกับคนอนื่ เป็นตน อาจสรุปไดว า พัฒนาการของเดก็ วัย 6 ถึง 1 ปี มีความกาวหนา อยางรวดเรว็ พอ แมจึงควรดแู ลเด็ก อยางใกลชิด คอยแนะนําส่ังสอน ไมใชกําลังบังคับ หรือขูเข็ญใหเด็กหวาดกลัวเด็กควรไดรับความอบอุน และความสบายใจเมื่ออยใู กลพอแม 4. แนวคดิ เก่ียวกับพัฒนาการและพฒั นกจิ ครอบครวั ในระยะทม่ี ีเด็กอายุ 1 ถงึ 3 ปี 4.1 พฒั นาการครอบครัวในระยะที่มีเด็กอายุ 1 ปีถึง 3 ปี เน่ืองจากพัฒนาการเด็กอายุ 1 ถึง 3 ปี มีความกาวหนามากข้ึนทุกดานไมวาจะเป็น พัฒนาการดานรางกายและ การเคลื่อนไหว พัฒนาการดานสติปใญญา พัฒนาการดานจิตใจและอารมณแ และพฒั นาการดานสงั คม เดก็ ท่อี ายุเกิน หน่ึงปีขึ้นไปพัฒนาการแตละดานจะไวตอเหตุการณแรอบตัวมาก ขึ้น ดังน้ันพัฒนาการครอบครัวในระยะที่มีเด็กอายุ1 ถึง 3 ปี ซ่ึงอยูในระยะที่ 2 เป็นระยะท่ีครอบครัวมี เดก็ คนแรกทีก่ าํ ลังตอ งเลีย้ งดู (Stage I: Childbearing families) ระยะนี้คาบเกี่ยวกับครอบครัวในระยะ ท่ีมีเด็กแรกเกิด ถึง 1 ปี โดยครอบครัวจะตองดูแลเด็กใหสามารถชวยตัวเอง ได เน่ืองจากเด็กในวัยนี้ สามารถเคล่ือนไหวไดคลองแคลวมากขึ้น พูดไดมากคําขึ้นและเม่ือโตขึ้นจะพูดไดคลองและ ตอบคําถาม ไดด ี มอี ารมณแท่ีแสดงออกชัดเจนข้ึนและเลน กบั เพอ่ื นได แตตองดูแลอยางใกลชิด มีความระมัดระวังเป็น
57 อยา งยงิ่ เน่อื งจากเป็นวยั ที่ไมอ ยูนงิ่ เปน็ วัยแหง การปีนปุายตองการออกกําลังกายจึงกอใหเกิดอุบัติเหตุได งายจากสถิติ ปี 2542 พบวาเด็กในชวงอายุเฉลี่ย 1.4 ปี จะประสบอุบัติเหตุจมน้ําตายมากสุดถึงรอยละ 38 โดยเกิดจากการเผอเรอ ช่ัวขณะของผูเลี้ยงดู (อดิศักด์ิ ผลิตผลการพิมพแ 2550) และพัฒนาการของ ครอบครัวในระยะน้ีครอบครัวจะมีอิทธิพล ในเร่ืองการรับประทานอาหารของเด็ก โดยเฉพาะการ รบั ประทานผักชนิดตา งๆ (Fildes, et al., 2013) 4.2 พฒั นกจิ ครอบครัวในระยะทม่ี ีเดก็ อายุ 1 ถึง 3 ปี พัฒนกิจของครอบครัวท่ีมีเด็กอายุ 1 ถึง 3 ปี (Duval, 1977 และ มิชิโอะ มัตสุดะ 2550) สามารถสรุปไดดงั น้ี 4.2.1 การจัดส่ิงแวดลอ้ มให้เหมาะสม ครอบครัวตองปูองกันอันตรายท่ีจะเกิดข้ึนในเด็กวัย นี้ในขณะเดียวกัน ควรมที ใี่ หเด็กไดอ อกกําลงั กาย เนอื่ งจากเด็กวยั นี้ชอบเคลอื่ นไหว และชอบเลน โลดโผน รนุ แรงจงึ ควรระมัดระวังเร่อื ง เกยี่ วกบั อุบัติเหตุดว ย เชน การหกลม การตกจากทส่ี งู เน่อื งจากการปีนปุาย ทั้งนี้ พอควรมบี ทบาทชวยดแู ลและเลน กับลูก เชน ใหลูกเกาะแขนพอทาํ เป็นชิงชา แกวง ไปมา เป็นตน 4.2.2 การฝึกระเบียบวินัยให้แก่เด็ก พอแมควรมีการพูดคุยปรึกษาหารือกันในการฝึก ระเบียบวินัยใหล กู เพือ่ ให เป็นไปในทศิ ทางเดยี วกัน และทําใหลูกไมสบั สนกับสิ่งที่ไดร บั การอบรมสั่งสอน ระเบียบวินัยท่ีควรฝึกเชนการขับถาย การรับประทานอาหาร เป็นตน นอกจากนี้ยังเป็นการฝึกใหเด็กมี ความรบั ผดิ ชอบในงานของตน 4.2.3 การสง่ เสรมิ ให้เด็กใช้ทกั ษะตา่ ง ๆ พอแมชวยกนั จดั หาอุปกรณแ ของเลน เครือ่ งเลนที่ สง เสรมิ พัฒนาการ ดานตา ง ๆ ใหเด็กไดล งมือทาํ ไดค ิดและเคลือ่ นไหวอยา งอสิ ระ 4.2.4 การเปิดโอกาสให้เด็กได้เล่นกับเพื่อนและมีสังคมนอกบ้าน พอแมควรเตรียมพรอม ใหเดก็ กาวสโู ลกกวาง ซึ่งไดแกศ ูนยแรบั เลีย้ งเดก็ หรือสถานพัฒนาเดก็ เล็ก 4.2.5 การร่วมสรา้ งความรับผิดชอบในบทบาทหน้าที่ของการเป็นพ่อแม่ ทั้งพอและแมมี บทบาทที่ตองเรียนรู ควบคูกับการทําหนาที่ตาง ๆ ท้ังการดูแลอบรมส่ังสอนลูก เชน การเตรียมอาหาร การกนิ การอาบน้าํ ใหล กู เปน็ ตน 4.2.6 การส่ือสารระหว่างคู่สมรสในครอบครัวคูสามีภรรยาควรมีการพูดคุยกันเพื่อสราง ความเขา ใจแบง ปใน ความรูสึกภูมิใจ และสรางสัมพันธภาพที่ดี เนื่องจากภาระที่เพ่ิมขึ้นภรรยาใชเวลายุง อยกู ับการดูแลลูก ไมม เี วลา เหลามรูส ึกถูกทอดทง้ิ ความรสู ึกดังกลาวจะทําใหสัมพันธภาพกับภรรยาและ ลกู แยล งได 4.2.7 การวางแผนครอบครัวพอแมควรมีการวางแผนครอบครัวเพื่อลูกในอนาคต และ เพื่อใหครอบครัว ไมเกิดความเครียด หรือวิตกกังวลกับภาระตางๆ ท่ีจะเกิดข้ึนหากจะตองเล้ียงลูกคน ตอ ไป
58 4.2.8 การสร้างสัมพันธภาพกับเครือญาติ ทั้งสามีและภรรยาตองสรางสัมพันธภาพกับ เครือญาติของท้ังสองครอบครัว เพราะจะสามารถชวยเหลือครอบครัวในการดําเนินชีวิตประจําวัน และ การเลีย้ งดเู ดก็ เชน หากคนใดคนหน่งึ ไมมีเวลาดูแลเด็กก็อาจนําเด็กไปฝากเลย้ี งได 4.2.9 การสร้างบรรยากาศภายในบ้าน ครอบครัวตองมีความรัก ความเขาใจ และความ รวมมือกันอยางใกลชิด เพ่ือเป็นแบบอยางใหแกเด็ก รวมท้ังการใหคําชมเชย หรือสิทธิพิเศษใหแกเด็ก เมอ่ื เหน็ วา เด็กทําสงิ่ ทด่ี ี เพอ่ื เปน็ การสรา งกาํ ลงั ใจในการทําส่ิงท่ีดี อันจะเป็นการปลูกฝใงจริยธรรมท่ีดีงาม ตั้งแตวัยเด็ก กลาวโดยสรุป พัฒนกิจของครอบครัวท่ีมีอายุ 1 ถึง 3 ปี การรวมมือกันระหวางสามีและ ภรรยารวมท้ังเครือญาติท่ีชวยกันทําหนาท่ีอบรมสั่งสอนในวัยน้ัน เพราะครอบครัวเป็นส่ิงแวดลอมแหง แรกทเี่ ดก็ รับรูและสัมผสั รวมทั้งเป็นแบบอยา งท่ีใหเ ดก็ เห็นแนวทางการพฒั นาและกาวหนาเดินตอ ไปได 5. แนวปฏบิ ัตสิ าหรับครอบครวั ในการดแู ลเด็กอายุ 1 ถงึ 3 ปี เดก็ อายุ 1 ถงึ 3 ปี เป็นวัยทพี่ รอ มจะเรยี นรสู งิ่ ใหมๆรอบดาน มีความอยากรูอยากเห็นกระตืนรือ รนท่ีจะสํารวจ และชอบทดลองทําสิ่งตาง ๆ เพื่อจะดูวาจะเกิดผลอะไรตามมา รวมท้ังชอบตั้งคําถาม ตลอดเวลา ส่งิ ทีเ่ ด็กโปรดปราน ท่ีสดุ คอื การเดนิ เลน ดงั น้นั จงึ อาจกอใหเกิดอุบัติเหตุไดงาย พอแมจึงควร มีแนวปฏิบัติสําหรับดูแลเด็กอยางเหมาะสม ในท่ีนี้จะแบงเด็กออกเป็น 2 ระยะ ไดแก ระยะเด็กอายุ 1 ถึง 2 ปี และระยะเดก็ อายุ 2 ถึง 3 ปี 5.1แนวปฏบิ ตั ิสาหรบั ครอบครวั ในการดูแลเด็กอายุ 1 ถึง 2 ปี เด็กอายุ 1 ถึง 2 ปี เป็นวัยท่ีอยากรูอยากเห็น สนใจสิ่งตางๆ รอบตัว แตมีชวงระยะเวลาสั้นๆ ซึ่งแนว ปฏบิ ัติ ในการดูแลเด็กในวัยนี้ ครอบครัวควรพิจารณาถึงพัฒนาการของเด็กโดยดูไดจากพฤติกรรมท่ีเด็ก แสดงออกซ่ึงแบง เป็นดานตาง ๆ ไดแก ดานรางกาย สติปใญญา จิตใจ-อารมณแ และสังคม พรอมท้ังให การสงเสริมพัฒนาการของเด็ก อยางเหมาะสมตามวัย (ปิยะธิดา ขจรชัยกุล 2556, มิชิโอะ มัตสุดะ 2550) ดงั น้ี 5.1.1 พัฒนาการด้านร่างกายและการเคล่ือนไหวเด็กวัยน้ีพัฒนาการทางการเคลื่อนไหว ของรางกายจะพฒั นา ไปอยา งรวดเรว็ ทรงตวั ไดดี เดินเกง ขนึ้ สวนการใชมือจะพัฒนาไดคลองแคลวมาก ขึ้น เด็กสามารถใชมือถือถวย นํ้าดื่มไดเอง แตยังใชชอนไมคอยเกง สรุปพัฒนาการดานรางกายและการ เคลอ่ื นไหวในแตละชว งวยั ไดดงั น้ี
59 ตารางที่ 7 พฤติกรรมและความสามารถของรา่ งกายท่ีควบคุมไดต้ ามช่วงอายเุ ดก็ อายุ (เดอื น) พฤตกิ รรม ความสามารถของรา งกาย 15 การทรงตัว ยืน เดินเตะ เหน่ียว กลา มเนือ้ คอและหลงั ปืนขึ้น เกาอี้ เกาะบันได จับ ส่ิงของตั้งชอนกันใชน้ิวช้ีภาพ จับดนิ สอขีดวนไปมา 18 เดินไดดี หัดวิ่ง ลงบันไดโดยน่ัง กลามเน้อื คอ หลงั และขา ถัดเอง กาวถอยหลัง ต้ังของเลน ซอนกนั ได 2 ถงึ 3 แผน การสงเสริมพัฒนาการดานรางกายและการเคล่ือนไหว พอแมควรสงเสริมเด็กในวัยน้ีใน พัฒนาการดาน การทรงตัว ยืน เดินเตาะแตะ โดยพอแมจูงมือลูกเดินไปดวยกันในระยะใกล ๆ หรือ กระตนุ ใหเด็กเหนยี่ วปนี ข้ึนเกา อีไปหยบิ ของเลนบนโตะ฿ จูงลกู เกาะเดินข้ึนบันไดและลงบันไดไปดวยกันกับ พอแม ฝึกการเดินถอยหลังโดยอาจ เลนเกมเดินถอยหลังดวยกัน เป็นตน พรอมทั้งกระตุนการใชน้ิวมือ และมือ โดยใหลกู เอาของเลนท่ีมขี นาดตางกัน จับตัง้ ซอ นกัน นําหนังสือนิทานมาเลาและฝึกใหลูกใชนิ้วช้ี ภาพตา ง ๆ ฝกึ ใหล กู จบั ดนิ สอ หรอื จบั สีเทียนแทงใหญ ขีดเขียนวนไปมาบนกระดาษ เป็นตน เม่ือลูกเจริญเติบโตข้ึนตั้งแตอายุ 2 ปีข้ึนไป พอแมควรเลือกของเลนที่เคลื่อนไหวกล้ิงไปมา ได เพื่อใหลูกฝึก การลากจูง เตะลูกบอล ขี่จักรยาน และกระตุนการใชน้ิวมือและมือดวยการฝึกหัดขีด เขียนลากเสนระบายสี ทํางาน ศิลปะ รอยลูกปใด ใชคอนตอก หมุนหรือบิด หยิบรูปทรงตาง ๆ ใสกลอง เลนเครอ่ื งดนตรตี าง ๆ เชน ตีกลอง หรอื ตีกระปอ งเล็ก ๆ ตีระนาด เป็นตน 5.1.2 พัฒนาการด้านสติปัญญา เด็กในวัย 1 ถึง 2 ขวบสามารถพูดเป็นคํา ๆ ไดมากข้ึน และเมอ่ื อายุเพมิ่ ขนึ้ สามารถพูดคําที่เป็นประโยคสั้น ๆ ได สามารถสื่อสารอยางงายๆ ท่ีมีความหมายได ซึ่งสรปุ พฒั นาการดา นสติปญใ ญา ไดด งั นี้ ตารางที่ 8 พฤติกรรมการแสดงออกด้านสตปิ ญั ญาตามช่วงอายุเด็ก อายุ พฤติกรรมการแสดงออกทางสติปญใ ญา 12 ถึง 18 เดือน หาของท่ีซอนได ใสของประเภทอิฐ กรวด ลงกลองได พูดคําท่ีมี ความหมายไดป ระมาณ 6 ถงึ 20 คาํ พูดท่มี ีพยางคตแ ิดกันได 18 ถงึ 24 เดือน ขีดเสนบนกระดาษหรือพื้นทราย ชี้อวัยวะของตนเองหรืออวัยวะ ผูอ่ืนได รูจักอวัยวะงายๆ เชน ตา จมูก ปาก เม่ืออายุ 24 เดือน สามารถพดู คาํ พดู ท่มี คี วามหมายได 20 ถงึ 50 คํา และพูดประโยค ที่มี 3 คาํ ขึน้ ไปได
60 การส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา พอแมควรสงเสริมเด็กในวัยนี้โดยกระตุนใหเด็กไดใช ประสาทสัมผัส ท้ังหา ดวยตนเอง ใหเ ด็กไดท ดลองไดคิด และฝึกการเลน เชน ซอนของใหลกู หาของทซ่ี อ น ตอบล็อกขนาดตางๆ เลน เกมอะไรเอยงาย ๆ เชน พอแมชวนลูกพูดคุยโดยชี้ถามชื่ออวัยวะตาง ๆ หรือ ถามวาอยูที่สวนไหนของรางกาย ใหลูก ฟใงนิทานที่มีเน้ือหาสั้น ๆ และมีรูปภาพท่ีไมซับซอน สอนรอง เพลงเนื้อหาสั้น ๆ สอนใหลูกรูจักคําทักทาย เชน สวัสดี ขอบคุณ ขอโทษในเวลาที่เหมาะสม พรอมท้ัง กระตุนดานการใชน ว้ิ มือและมอื ดวยการฝกึ ใชด ินสอลากเสน เปน็ รูปตา งๆ ทํางานศลิ ปะ ระบายสี วาดเสน ปะติดกระดาษสี หรือใชน้ิวจุมสีลากเสนบนกระดาษใหเป็นลวดลายตาง ๆ หรือใชนิ้ว ลากเสนบนพ้ืน ทรายใหเ ป็นรปู ตา งๆ เป็นตน 5.1.3 พัฒนาการด้านจิตใจและอารมณ์อารมณแของเด็กวัย 1 ถึง 2 ปี ยังไมม่ันคง และ เปลี่ยนแปลงงายในระยะ เวลาอันส้ัน เด็กยังไมรูจักตอบโตคนท่ีตัวเองไมชอบ รวมถึงยังไมสามารถ ปูองกันตนเองได เป็นวัยขี้กลัว และแสดง อารมณแไดชัดเจนมากขึ้นตามวัย สําหรับพัฒนาการดานจิตใจ และอารมณขแ องเดก็ วยั นสี้ รปุ ไดดงั น้ี ตารางท่ี 9 พฤติกรรมการแสดงออกทางจิตใจและอารมณ์ตามช่วงอายขุ องเดก็ อายุ พฤตกิ รรมการแสดงออกทางจิตใจและอารมณแ 18 เดอื น ถงึ 24 เดอื น เด็กมีอารมณแกลัว เกลียด โกรธ ทุกขแ วิตกกังวล ดีใจ รัก ผใู หญ รักเดก็ การสงเสริมพัฒนาการดานจิตใจและอารมณแ พอแมควรสงเสริมบุตรวัยน้ี โดยใหเด็กไดระบาย อารมณแผาน การเลนดวยของเลน เชน เลนตีกลอง ใชคอนตอกหมุดลงบนไม เม่ือลูกมีอารมณแกลัว วิตก กังวล หรือทุกขแใจ พอแม ควรกอดลูก ปลอบลูกดวยการพูดคุยใหลูกคลายความกลัว หรือทุกขแใจ เน่ืองจากลักษณะพัฒนาการทางอารมณแสะทอนใหเห็นวาเด็กจะคอยๆ มีพัฒนาการทางอารมณแเพ่ิมขึ้น ดังน้ันพอแมตองดูแลและสงเสริมใหเด็กมีอารมณแท่ีดี ไมใหเกิดความหวาดกลัว หรือมีอารมณแท่ีกาวราว อนั จะสง ผลถึงการชะงกั ทางพฒั นาการดานอื่น ๆ และสง ผลตอ การ พัฒนาบุคลิกภาพในภายภาคหนาได 5.1.4 พัฒนาการทางด้านสังคม เด็กวัยนี้มีพัฒนาการทางสังคมอยูในขั้นท่ี 3 คือ เด็ก เรียนรูท่ีจะรวมมือกับ ผูอ่ืน แตยังมีลักษณะยึดตัวเองเป็นศูนยแกลางเมื่อเด็กไดพบปะบุคคลอื่นที่ไมใช บุคคลในครอบครวั และเม่ือเร่ิมแยก ตวั จากพอแม เด็กจะตองปรับตัวใหเขากับคนอ่ืนและเรียนรูบทบาท ของตน ซึ่งทําใหเด็กเร่ิมใหความสําคัญและรูจัก การเห็นอกเห็นใจผูอ่ืนมากข้ึน ซ่ึงสรุปพัฒนาการดาน สงั คมของเดก็ วยั นี้ ไดด ังน้ี • อายุ 15 เดือน ชอบเลียนแบบผูใหญ ชอบชวยเหลือผูใหญทํางาน เร่ิมแสดงความอิจฉา จากอาการ โกรธ หรือรอ งไห เริ่มมีความรูสกึ แขง ขนั เมอื่ เลน กับพ่ี ๆ ทโ่ี ตกวา และดมื่ น้าํ จากถว ยได
61 • อายุ 2 ปี เร่ิมหวงของ แสดงความเห็นอกเห็นใจเด็กท่ีรองไห หรือเจ็บปวด รับประทาน อาหารไดดวย ตนเอง และชอบเลียนแบบ การสง่ เสริมพฒั นาการดา้ นสงั คม พอแมข องเด็กวยั นีค้ วรสอนใหเ ดก็ ปรบั ตัวใหเขากับคนอ่ืนและ เรียนรู บทบาทของตน โดยสงเสริมลูกดวยการฝึกใหเด็กชวยเหลือตนเอง เชน รับประทานอาหารดวย ตนเอง หัดดื่มน้ําจาก ถวย ฝึกการขับถายใหเป็นที่รูจักลางมือกอนรับประทานอาหาร ชวยพอแมทํางาน เล็ก ๆ นอย ๆ เชน หยิบสิ่งของสง ใหพอแม และสอนใหลูกแบงขนม หรือของเลนใหเด็กคนอ่ืน ๆ หรือ ผูอ ืน่ เป็นตน 5.2 แนวปฏบิ ัตสิ าํ หรบั ครอบครวั ในการดูแลเดก็ อายุ 2 ถงึ 3 ปี เดก็ อายุ 2 ถึง 3 ปเี ป็นวยั อยากรูอยากเหน็ ทุก ๆ อยางกระตือรือรนเพิ่มมากข้ึนท่ีจะทดลอง สนใจสิง่ ตา ง ๆ รอบตวั อยา งจริงจงั และเรยี นรูสง่ิ ตาง ๆ ไดรวดเร็ว ดังนั้น พอแมจึงควรเรียนรูพัฒนาการ ของเด็กในวัยน้ี พรอมท้งั สง เสริมพฒั นาการของเดก็ ใหเหมาะสมตามวัย (ปิยะธิดา ขจรชัยกุล 2556, มิชิ โอะ มตั สดุ ะ 2550) ดงั นี้ 5.2.1 พัฒนาการดานรางกายและการเคลื่อนไหว เด็กอายุ 2 ถึง 3 ปี จะมีพัฒนาการ ทางการเคลื่อนไหวของ รางกายอยางรวดเร็วทรงตัวไดดี เดินวิ่งเกงมากข้ึนและการใชมือจะคลองแคลว มากข้นึ สามารถทําอะไรไดดว ยตนเอง มากขนึ้ ซ่งึ สรุปพฒั นาการรางกายและการเคลื่อนไหวของเด็กวัยน้ี ไดดังนี้ ตารางที่ 10 พฤติกรรมและความสามารถของร่างกายท่คี วบคมุ ไดต้ ามชว่ งอายุเดก็ อายุ (เดอื น) พฤติกรรม ความสามารถของรา งกายทคี่ วบคุมไดด ี 24 วิ่งได เตะฟุตบอล ข้ึนลงบันไดเอง กลา มเนอ้ื คอ หลังและขา โดยจับราว ดึงเชือกและลากของเลน เขาหาตัวได พลิกหนังสือที่ละแผน ขีดเสน หรือวงกลมได 36 ข้ึนลงบันไดสลับเทา กระโดดกางขา กลามเนอ้ื คอ หลังและขา สลับขาได ขี่จักรยาน 3 ลอ ลากเสน เป็นวงกลม หรือกากบาทได รอย ลูกปใดได การส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว พอแมของเด็กวัยนี้ควรสงเสริม พฒั นาการลูกโดย กระตุน ใหเ ลน ของเลนที่มกี ารเคล่ือนไหว เชน รถลาก พอ แมไ มควรซ้ือรถลากที่มีขนาด ใหญเ กินไปเพราะอาจจะ ทําใหลูกเลนไมสนุก นอกจากน้ีตองคํานึงถึงนํ้าหนักและการทรงตัวดวย ฝึกให ลกู หดั ขจ่ี กั รยาน 3 ลอ เลนมาโยก ฝกึ เดนิ บนไมแผนเดียว เพ่อื ฝึกการทรงตัว ฝึกขน้ึ ลงบนั ได พรอมท้ังฝึก
62 กลา มเนอ้ื มือดว ยการใชด นิ สอ หรือสเี ทียน ขนาดใหญ เพอ่ื ฝกึ ลากเสน ตาง ๆ เชน ฝึกลากเสนเป็นวงกลม หรือกากบาท ฝกึ รอยลูกปใดได ฝกึ แตง ตวั ตดิ กระดุม ผูกเชือกรองเทา เป็นตน 5.2.2 พัฒนาการด้านสติปัญญา เด็กในวัย2ถึง3ปี มีพัฒนาการดานสติปใญญาอยางเห็นได ชดั เด็กวยั นี้สามารถ พดู เป็นประโยคไดม ากข้ึนและยาวข้ึนอยางมีความหมายและสามารถสื่อสารโดยการ ซักถามไดซึง่ สรปุ พฒั นาการดาน สติปใญญาของเด็กวยั นี้ไดด งั น้ี ตารางท่ี 11 พฤตกิ รรมการแสดงออกดา้ นสติปญั ญาตามชว่ งอายุเดก็ อายุ พฤติกรรมการแสดงออกดา นสตปิ ใญญา 2 ถงึ 3 ปี เขียนวงกมบนกระดาษหรือพื้นทรายได ตอบล็อก 3 กอนได ชอบถาม อะไร ใคร การสง่ เสรมิ พัฒนาการดา้ นสติปญั ญาพอ แมของเดก็ วยั นีค้ วรสงเสรมิ พัฒนาการโดยพูดคุยกับลูก ใหลูกเลา เรื่องตางๆ ใหฟใง ใหลูกรูจักช่ือตนเอง และคนในครอบครัวพอแมควรตอบคําถามลูกโดยไมดุ หรอื แสดงความรําคาญ ใหล กู เหน็ สอนลกู ใหร องเพลงสัน้ ๆ หรือพูดคําคลองจองส้ัน ๆ และควรใชนิทาน เป็นสอ่ื ในการพฒั นาทักษะการใช ภาษาและการพัฒนาความคดิ เชิงเหตุผล 5.2.3 พัฒนาการด้านจิตใจและอารมณ์ อารมณแของเด็กวัย 2 ถึง 3 ปีจะพัฒนาครบทุก อยาง คอื เดก็ มีอารมณแ กลัว เกลียด โกรธ ทุกขแ วิตกกังวล ดีใจ เบิกบานรักผูใหญ รักเพ่ือนซ่ึงเด็กแตละ คนจะมอี ารมณแท่ีแตกตางกัน อีกทัง้ สงิ่ แวดลอมก็เป็นปใจจยั ทห่ี ลอ หลอมจติ ใจและอารมณแของเด็กดวยถา เด็กเติบโตมาจากสิ่งแวดลอมที่สงบเงียบหางไกล จากเสียงดังและความต่ืนเตน และเด็กไดรับการ ตอบสนองความตองการทันทีและสมํ่าเสมอในวัยทารก เด็กมักจะมี อารมณแดีกวาเด็กที่เติบโตมาจาก ส่งิ แวดลอ มท่ตี รงกนั ขาม อาจสรุปพฒั นาการดา นจิตใจและอารมณขแ องเดก็ วัยน้ี ดงั น้ี ตารางท่ี 12 พฤตกิ รรมการแสดงออกทางจติ ใจและอารมณต์ ามชว่ งอายุของเด็ก อายุ พฤตกิ รรมการแสดงออกทางจติ ใจและอารมณ์ 24 เดือนเป็นตนไป อารมณขแ องเด็กจะพัฒนาครบทุกอยางคือเด็กมีอารมณแกลัว เกลียด โกรธ ทุกขแ วิตกกังวล ดีใจ เบิกบาน รักผูใหญ รกั เพ่อื น การส่งเสริมพัฒนาการด้านจิตใจและอารมณ์ พอแมของเด็กวัยนี้ควรสงเสริมพัฒนาการโดย พยายามเขาใจ อารมณแทีเ่ ด็กแสดงออก และแสดงใหเด็กรูวาพอแมเขาใจและยอมรับ แมจะไมชอบที่เด็ก
63 แสดงอารมณแน้ันออกมา และชวยใหเด็กไดระบายอารมณแบาง นอกจากน้ีชวยสอนใหเด็กหันเหความ สนใจไปหาสิ่งอ่ืน เม่ือเด็กไมไดสิ่งท่ีเด็ก ตองการ และกลาวคําชมเชย หรือกอดจูบเด็กเพ่ือเสริมแรงเมื่อ เด็กแสดงพฤติกรรมทดี่ ี เปน็ ตน 5.2.4 พัฒนาการทางด้านสังคม เด็กวัยนี้มีพัฒนาการทางสังคมอยูในข้ันที่ 3 คือ เด็ก เรียนรูที่จะรวมมือกับ ผูอ่ืน เรียนรูโลกกวางเพิ่มขึ้นเริ่มแยกตัวจากพอแมไดสามารถปรับตัวใหเขากับคน อื่นและเรียนรูบทบาทของตนอาจ สรุปไดวาพัฒนาการทางสังคมของเด็กในวัย 2 ถึง 3 ปีน้ี เริ่มเลนกับ เด็กอื่นยอมแบงของเลนกับเพื่อนรจู กั การรอคอย สามารถชวยเหลอื ทํางานบานเลก็ ๆ นอย ๆ ได การส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม พอแมของเด็กในวัยนี้ควรสงเสริมพัฒนาการ โดยเปิดโอกาสดว ยการพาเด็ก ไปนอกบา น เลน กับเพอื่ น สอนการแบงของเลนกับเพื่อน หรือกับคนอ่ืน ๆ สอนใหรูจ กั การรอคอย เพื่อฝึกใหรูจักการ เห็นอกเห็นใจผูอื่น และฝึกใหเด็กชวยเหลือทํางานบานเล็ก ๆ นอ ย ๆ เปน็ ตน กลาวโดยสรุป แนวปฏิบัติสําหรับครอบครัวในการดูแลเด็กอายุ 1 ถึง 3 ปีนั้นเป็นไปเพ่ือให เด็กเรียนรู โดยเปิดโอกาสใหเด็กรูวาสามารถทําส่ิงตาง ๆ ไดดีย่ิงข้ึน หากพอแมดูแลแนะนําส่ังสอนให กําลังใจ และคอยใหความ ชวยเหลือในทุก ๆ ดานไมวาจะเป็นดานรางกายและการเคลื่อนไหว ดาน สตปิ ญใ ญา ดานจติ ใจ และอารมณแแ ละ ดา นสงั คมซึ่งจะชว ยใหเด็กเจริญเติบไดอยา งเหมาะสมตามวยั 6.แนวคดิ เกย่ี วกับพัฒนาการและพัฒนกิจครอบครวั ในระยะที่มเี ดก็ อายุ 3 ถึง 6 ปี 6.1 พัฒนาการครอบครัวในระยะทมี่ ีเดก็ อายุ 3 ปถี ึง 6 ปี พัฒนาการครอบครัวในระยะที่มีเด็กอายุ 3 ถึง 6 ปี จัดอยูในระยะท่ี 3 เป็นระยะท่ี ครอบครัวมีเด็กคนแรกอยู ในวัยกอนเรียน (Stage III: Families with preschool children) ซึ่ง ครอบครวั จะตองดูแลอบรมเล้ียงดู ฝึกนิสัย ของเด็กเพื่อเตรียมพรอมสําหรับเขาสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย รวมท้ังเป็นระยะท่ีครอบครัวอาจจะมีเด็กคนตอไป (Friedman, Bowden, &Jones, 2003) จึงตอง เตรียมใหลูกคนแรกสามารถชวยตัวเองไดเน่ืองจากพัฒนาการของเด็ก อายุ3ถึง6ปีมีการเปล่ียนแปลง อยางรวดเร็วและมีพัฒนาการดานรางกายและการเคลื่อนไหวเพ่ิมมากขึ้น มีพัฒนาการ ทางอารมณแท่ี รุนแรงกวาวัย 1 ถึง 3 ปี เด็กยังไมรูจักเก็บหรือจํา ไมมีการอาฆาตแคน หรืออารมณแคาง และอารมณแ เปล่ียนแปลงงายมาก นอกจากนี้มีการพัฒนาดานสติปใญญา และมีการปรับตัวท่ีตองการเป็นอิสระ มี จนิ ตนาการ และ ชอบการเขา สังคมดวยการเลน กับเพอ่ื นวัยเดยี วกันมากกวา ผใู หญ 6.2 พัฒนกจิ ครอบครวั ในระยะที่มีเดก็ อายุ 3 ถงึ 6 ปี ในขณะที่เด็กวัย 3 ถึง 6 ปี มีพัฒนาการในดานตาง ๆ กาวหนาเพิ่มข้ึน ครอบครัวยอมตอง มีพัฒนกิจเพ่ิมข้ึน ตามมา เพื่อเตรียมพรอมเด็กสูวัยเรียน (Duvall, 1977, 1967) ซ่ึงพัฒนกิจของ ครอบครัวในชว งที่มเี ดก็ วยั น้ี มดี งั น้ี 6.2.1 การจัดหาพ้ืนที่ อุปกรณ์สิ่งอานวยความสะดวกให้แก่คนในครอบครัวอย่าง เพียงพอ สําหรับครอบครัว ที่มีเด็กวัยน้ี ท้ังพอและแมมีความสําคัญอยางยิ่งที่จะจัดเตรียมส่ิงตาง ๆ
64 ใหแกเ ด็ก กอนท่เี ดก็ จะกาวออกไปสู นอกบาน นอกจากน้ีตองระมัดระวังส่ิงท่ีจะกอใหเกิดอุบัติเหตุ หรือ อันตรายในบานดวย เพราะเด็กวัยนี้เป็นวัย อยากรูอยากเห็นอยากทดลองสิ่งตางๆ การเตรียมพ้ืนที่ บรเิ วณบา นนัน้ ควรจัดบริเวณบานใหปลอดภยั มพี ื้นที่ใหเ ดก็ ได วงิ่ เลน ออกกาํ ลงั กาย เพอ่ื พัฒนาการดาน รางกายและการเคล่ือนไหว หรือพอแมควรพาเด็กไปเลนที่สนามเด็กเลน นอกบาน และมีเพ่ือนเลนนอก บานดวย เพื่อเรียนรูการเขาสังคมและการปรับตัวกับผูอ่ืน ในขณะเดียวกันควรมี ส่ิงอํานวยความ สะดวกสบายใหแ กภรรยาเพ่ือชว ยใหภ รรยาผอ นแรงการทํางานบานควบคกู บั การดูแลเดก็ ดว ย 6.2.2 การจัดหาคา่ ใชจ้ า่ ยสาหรับสิ่งไม่ได้คาดหวังในครอบครัวท่ีมีเด็กเล็ก นอกเหนือจาก คา ใชจา ยเกีย่ วกบั ปใจจัยสี่ ซึ่งไดแ ก ท่อี ยอู าศยั อาหาร เสื้อผา และยารักษาโรคแลว อาจมีการใชจายกับ เหตกุ ารณทแ ไ่ี มคาดคดิ อาทิ อุบัตเิ หตุตาง ๆ เชน การหกลมแขนขาหัก เป็นตน ดังน้ัน ทั้งสามีและภรรยา ควรปรึกษาหารือเตรียมคาใชจายเหลาน้ี ดวย เพราะเม่ือเกิดเหตุการณแท่ีตองใชเงินจะไดไมเกิดปใญหา การเงนิ ในครอบครวั 6.2.3 การเข้าใจกฎและแบ่งปันความรับผิดชอบภายในครอบครัว ครอบครัวในยุค ปใจจุบันท้ังสามแี ละภรรยา ตางตองออกไปทาํ งานนอกบาน เมื่อกลับมาถึงบานไมใชเพียงภรรยาเทานั้นที่ ตองจัดเตรียมอาหารหรือดูแลเด็กเพียง ลําพัง สามีควรมีบทบาทชวยเหลือภรรยาบาง นอกจากนี้ สามี ควรชว ยเหลือทํางานบานหากงานบานน้ันเป็นงานที่ตอง ใชแรงมาก ๆ เชน การทําความสะอาดพื้นบาน การขัดพื้น เปน็ ตน รวมถึงควรฝึกใหเ ด็กรวมรับผิดชอบงานบานอยาง งา ย ๆ เชน ชวยเก็บจานชาม เก็บที่ นอนเมือ่ ตนื่ นอนแลว เพราะเป็นการฝึกระเบยี บวนิ ยั ใหแ กเ ด็ก 6.2.4 การสื่อสารเพื่อสร้างความพึงพอใจในครอบครัวการพูดคุยกันระหวางสามีและ ภรรยาไมเพียงแตชวยให บรรยากาศในครอบครัวเกิดการผอนคลายเทานั้น แตการพูดคุยจะชวยใหทั้ง สองคนเขาใจความรูสึก เรียนรูและแกไข ปใญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นในครอบครัวไดเป็นอยางดี อันจะชวยให ครอบครวั เกดิ ความสงบสุข 6.2.5 การอบรมเล้ียงดูและวางแผนการเล้ียงเด็กการเลี้ยงดูเด็กในวัยน้ีท้ังพอและแมตอง ชวยกันอบรมเล้ยี งดู และสง เสริมพัฒนาการในแตล ะดา นใหเหมาะสม เพื่อใหเด็กไดเจริญเติบโตตอไป ใน ขณะเดียวกันตองสอนเด็ก ไมใหอิจฉาริษยาลูกคนตอไปท่ีกําลังจะเกิดข้ึนดวยรวมถึงการสอนเร่ืองเพศ อยา งงา ยๆ เพราะเดก็ วยั นี้อาจสนใจและ ถามคําถามวา หนูมาจากไหน 6.2.6 การสร้างสัมพันธภาพกับเครือญาติ เครือญาติสามารถชวยเล้ียงดูเด็กในกรณีท่ีท้ัง สามีและภรรยา ไมสะดวก หรือมีปใญหาตองสอบถามเกี่ยวกับการเล้ียงดูบุตร อยางไรก็ตามอาจเกิด ปใญหาตามมาได เชน การฝากให ปูุ ยา ตา ยาย ชวยเลี้ยงหลาน อาจจะเกิดปใญหาการตามใจหลาน ทั้ง สามีและภรรยาตองหนักแนน พูดคุยกันอยาง เปิดเผยถึงปใญหาดังกลาวและควรมีความยืดหยุนในการ แกปญใ หาตาง ๆ เพ่ือใหครอบครวั เกดิ ความสงบสุข 6.2.7 การส่งเสริมให้เด็กได้เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้นอกบ้าน การเรียนรูสําหรับเด็กวัยน้ี ไมใชเพียงเรียนรูแต ภายในที่บานเทาน้ัน สิ่งแวดลอมนอกบานก็มีความสําคัญเชนกัน ดังนั้น ในชวง
65 วนั หยุดเสารแ และอาทติ ยแ พอแมควร พาเดก็ ไปเรยี นรูจ ากแหลง เรียนรูนอกบาน เชน สวนสัตวแ สนามเด็ก เลน สวนสาธารณะ เป็นตน เพื่อฝึกใหรูจักสงั คม ธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอมตางๆ เพิ่มขนึ้ 6.2.8 การสร้างแรงจูงใจ ในกรณีท่ีเกิดสภาวะการยากลําบากในครอบครัว พอแมที่มีเด็ก อยูในชวงอายุ 3ถึง4ปีอาจจะมีเด็กท่ีกําลังจะเกิดขึ้นตามมาอีกคนจึงทําใหเกิดความเครียดภายใน ครอบครวั ซึ่งอาจทําใหครอบครัว ประสบสภาวะยากลําบากในการปรับตัว แตการประสบการณแดังกลาว จะชวยใหเกิดการเรียนรู มีคุณคาและมีราคาที่ จะชวยใหครอบครัวพัฒนา เติบโตและแข็งแกรงมากข้ึน หากทัง้ สามีและภรรยาเตรียมตัว และปรกึ ษาชว ยเหลือกนั กลา วโดยสรปุ พัฒนกจิ ครอบครวั ท่มี เี ด็กอายุ 3 ถงึ 6 ปีน้ัน เป็นไปเพื่อชวยเหลือเด็กใหไดรับการ พัฒนาที่ ถกู ตองเหมาะสมกับวัย ในขณะเดียวกันยังเปน็ การรวมมอื ระหวา งพอและแมท ่จี ะเรียนรูบทบาท หนาท่ี ตลอดจนการ เตรียมตวั รับมอื กับสิ่งท่จี ะเกิดข้นึ ในอนาคต 7.แนวปฏิบัติสาหรบั ครอบครวั ในการดแู ลเด็กอายุ 3 ถงึ 6 ปี การอบรมเลี้ยงดูของพอแมสําหรับเด็กวัย 3 ถึง 6 ปีมีความสําคัญยิ่งในการสรางเจตคติและ พฤติกรรมตา ง ทั้งดา นดีและไมดีใหแ กเดก็ รวมถึงเปน็ แบบอยา งท่ีเดก็ จะซมึ ซบั และนําไปใช เพราะเด็กวัย น้ีเป็นวัยท่ีกําลังจะกาวเขาสูวัยเรียนและเจริญเติบโตตอไปในสังคม แตไมใชเพียงแตพอแมเทานั้น เครือ ญาติผูใหญท้ังหลายก็มีความสําคัญเชนกันท่ีจะคอยชวยเหลือ สนับสนุนการอบรมเลี้ยงดูเด็กดวย ดวย เหตุนี้ พอแมจึงมีแนวปฏิบัติที่ตองตรียมพรอม ใหแกเด็กหลายประการ รวมท้ังการเตรียมความพรอม กอนออกสูส ังคมนอกบ 7.1 แนวปฏบิ ตั สิ าหรบั ครอบครวั ในการดูแลเด็กอายุ 3 ถึง 6 ปี พัฒนาการของเด็กอายุ 3 ถึง 6 ปี มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและเห็นไดชัดเจน ท้ังดาน รางกาย ผล ปญใ ญาจติ ใจ-อารมณแ และสังคมเพื่อพรอมท่ีจะเขาสูวัยเรียนพอแมจึงเป็นคนสําคัญที่จะชวย สงเสริมพฒั นาการของ ลูกใหก าวไกลหรือทาํ ใหย ่ําแยลงได ดังนนั้ พอ แมจึงควรเรียนรูเก่ียวกับพัฒนาการ ดานตา ง ๆ ของเด็กวัยน้ี พรอมทง้ั ใหการสง เสริมพัฒนาการของเด็กแตละดานอยางเหมาะสมตามวัย (ปิ ยะธดิ า ขจรชยั กุล 2556, มิชิโอะ มตั สดุ ะ 2550 ศรเี รอื น แกวกงั วาล 2549) ดังน้ี 7.1.1 พัฒนาการด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว ลักษณะดานรางกายของเด็ก เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะดวนสวนสูง น้ําหนักน้ําหนักตัวที่เพ่ิมข้ึนเกิดจากการเจริญเติบโต ของกระดกู และกลา มเนื้อท่ีมากข้ึน ทําให สามารถควบคมุ กลามเน้อื ในการเคลอ่ื นไหวและการทรงตัวไดดี เดก็ ๆ มักจะวงิ่ กระโดด และไมห ยดุ อยูน ่งิ ๆ จงึ พรอม จะทํากิจกรรมเก่ียวกับการออกกําลังไดมากขึ้นรวม ไปถงึ การใชมือหยบิ จบั สงิ่ ของ และการชวยเหลือตนเองของเด็กก็ดีขึ้นเป็นลําดับ นอกจากนี้ สัดสวนของ รางกายที่เปลี่ยนแปลงใกลเคียงกับผูใหญมากขึ้นลักษณะหนาตาแบบทารกจะเริ่มหายไป ศีรษะซึ่งโต ประมาณ 1ใน 4 ของสวนสูงเม่ือแรกเกิดจะดูเล็กลงและไดขนาดกับลําตัวซ่ึงยาวและกวางข้ึนเป็น 2 เทา ของเมื่อแรกเกิด ไหลกวาง มือและเทาก็ใหญขึ้นดวย ซึ่งขอสรุปพัฒนาการดานรางกายและการ เคล่ือนไหว ของเดก็ วยั นม้ี ีดังนี้
66 ตารางท่ี 13 พฤตกิ รรมและความสามารถของรา่ งกายทีค่ วบคมุ ได้ตามชว่ งอายเุ ด็ก อายุ พฤตกิ รรม ความสามารถของรา่ งกาย 3 ถึง 4 ปี ชอบวง่ิ กระโดด ไมอ ยูน่งิ ทรงตัวดี กระโดดขาเดียวซ้ํา กลามเนื้อคอ หลงั และขา ๆ อยูกับที่ ขี่จักรยาน 3 ลอได ลงบันไดสลับเทา ขวาง และรบั ลูกบอลได ตดิ กระดมุ เส้ือ ลางหนาสฟี นใ เอง 5 ปี กระโดดสลับเทา ยืนบนเทาเดียวไดลากเสนเป็น รูป กลามเนือ้ คอ หลัง และขา สามเหล่ียม เขียนรูปคนครบสวนและเขียนหนังสือ ตามตวั อยาง แตง ตัวเองได 6 ปี กาวถอยหลังโดยเอาสันเทาจรดปลายเทาไดเป็นแนว กลา มเนอ้ื คอ หลัง และขา ตรงเขียนช่ือตัวเองได เขียนรูปสี่เหลียมขนมเปียกปูน ได อาบนํา้ เองได การส่งเสรมิ พฒั นาการดา้ นร่างกายและการเคลอ่ื นไหว พอแมควรสงเสริมเด็กวัย 3 ถึง 6 ปี ใน การพฒั นา กลา มเน้ือมดั ใหญ ดว ยการฝึกใหล งบันไดสลบั เทา ฝึกเลน กระโดดเชือก เลน เกมใครยืนไดนาน กวากัน โดยใหลูก หัดยืนบนเทาเดียว เลนเกมกาวถอยหลังโดยเอาสนเทาจรดปลายเทา หัดเดินบนไม กระดานแผนเดียว ฝึกข่ีจักรยาน 3 ลอ ฝึกการเลนขวางและรับลูกบอล ฝึกใหเด็กชวยเหลือตนเอง ทั้งน้ี ตองมีพอแมดูแลอยางใกลชิด เพราะอาจ เกิดอุบัติเหตุได สวนการกระตุนพัฒนาการกลามเน้ือมัดเล็ก ดานนิ้วมือและมือ พอแมฝึกดวยการใหหัดจับดินสอ อยางถูกตอง ฝึกใชดินสอสีลากเสนเป็นรูป สามเหล่ียม รูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ฝึกเขียนช่ือตัวเอง ฝึกการเขียน วาดรูปตอไมบล็อกใหชวยเหลือ ตนเองในการรับประทานอาหารการแตงตัวการแปรงฟใน และชวยหยิบจับสิ่งของให พอแม รวมท้ัง ปลกู ฝงใ ใหเด็กรกั ษาความสะอาดของชองปากและฟนใ เปน็ ตน 7.1.2 พัฒนาการด้านสตปิ ัญญาเดก็ วัยน้ีมีจนิ ตนาการสรางสรรคแและกาวหนาอยางรวดเร็ว แตจนิ ตนาการมัก ปะปนกับโลกแหง ความเป็นจริง นอกจากน้เี ดก็ มีพัฒนาการทางภาษาอยางรวดเร็วและ เห็นไดชัด สามารถรองเพลง ทองกลอนบอกความแตกตางของสิ่งตางๆ ได และเม่ืออายุเพ่ิมข้ึนถึง 6 ปี จะแสดงเหตผุ ลไดดี ซึ่งอาจสรุปพฒั นาการ ดา นสตปิ ใญญาของเดก็ วัยนไ้ี ดด ังนี้
67 ตารางที่ 14 พฤตกิ รรมการแสดงออกด้านสติปัญญาตามชว่ งอายเุ ดก็ อายุ พฤติกรรมการแสดงออกด้านสติปัญญา 3 ถึง 4 ปี บอกเพศหญงิ ชายได เลาเรื่องเกีย่ วกบั ตวั เองได รองเพลง ทอนกลางจากความจํา เขาใจ คําเปน็ นามธรรมไดม ากข้ึน 5 ปี นับเลขไดถึง 30 รูจักสี 3 ถึง 4 สี บอกที่อยู อายุ วันเกิดได บอกความแตกตางของส่ิง ตางๆ ได 6 ปี ตอบคําถามทใ่ี ชเ หตผุ ลงาย ๆ เลนขายของเลยี นแบบชวี ิตจรงิ การส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา พอแมที่มีลูกวัย 3 ถึง 6 ปี ควรสงเสริมการใชภาษาของ เด็กโดยฝกึ ให เลา เรื่องตาง ๆ ทงั้ ทีเ่ ก่ียวกบั ตวั เองและสิ่งแวดลอมรอบตวั เดก็ ประเพณีในทอ งถิน่ เลนเกม อะไรเอย ฝึกรองเพลง ทองกลอนอานบทอาขยานส้ันๆ งายๆ หรือคําคลองจองซึ่งจะชวยใหเด็กเรียนรู พื้นฐานของระบบเสียงท่ีเกี่ยวของกับ การอานไดงายข้ึน อานหนังสือใหเด็กฟใงและใชหนังสือภาพ (Picture books) มาประกอบการเลา เพอ่ื ใหเ ขาใจงายขึน้ และกระตุนใหเ ด็กใฝรุ มู ากข้ึน ฝึกใหสังเกตเพื่อ บอกความแตกตางของส่ิงตางๆ บอกสิ่งที่เหมือนกันฝึกหัดนับส่ิงของ ที่เด็กพบเห็นในชีวิต ทั้งน้ี พอแม ควรตอบคาํ ถามดว ยคาํ ตอบงา ย ๆ สั้น ๆ และใชภ าษาทีถ่ กู ตอ ง พรอ มท้งั สรา งความ เขา ใจทีถ่ ูกตอ ง เร่ือง ลําดับกอนหลัง สง่ิ ทีเ่ ปน็ นามธรรม ไดแก สี ขนาด จาํ นวน เปน็ ตน 7.1.3 พัฒนาการด้านจิตใจและอารมณ์ในการศึกษาการรับรูอารมณแของเด็กพบวา เมื่อ เดก็ อายุเพมิ่ ขน้ึ คืออยู ในชวงอายุ 3 ถึง 5 ปี เด็กสามารถจําแนกใบหนาที่แสดงลักษณะดีใจและเศราได มากกวาใบหนาที่โกรธ และต่ืนเตน โดยเฉพาะถาไดรับคําชี้แนะจากผูใหญจะทําใหเด็กจําแนกภาพได ถูกตองมากยิ่งข้ึน (Walden & Field, 1982 อางถึง ในปิยะธิดา ขจรชัยกุล 2551) เด็กวัยน้ีมีการ แสดงออกทางอารมณแรุนแรงกวาวัยทารก เป็นวัยเจาอารมณแ มี “ความ เป็นตัวของตนเอง” จะปรากฏ ออกมาในรูป “การเอาแตใจตนเอง” อจิ ฉารษิ ยาอยา งไมมเี หตผุ ล และโมโหราย การส่งเสริมพัฒนาการด้านจิตใจและอารมณ์ พอแมควรสงเสริมเด็กในวัย 3 ถึง 6 ปีโดย แสดงใหเด็กรูวา พอแมเขาใจและยอมรับ แมจะไมชอบท่ีเด็กแสดงอารมณแน้ันออกมา และชวยใหเด็กได ระบายอารมณแ พอแมตอง รูจักสะกดอารมณแเมื่อเด็กแสดงความโกรธออกมา พรอมกับสอนใหเด็กรูจัก และเขาใจอารมณแตางๆ เชน สอนเดก็ วา อารมณแโกรธเป็นอารมณแตามธรรมชาติ แสดงออกได แตตองไม ทํารายรางกายผูอ่ืน สอนใหเด็กรูจักคําศัพทแหรือ คําพูดที่บอกอารมณแความรูสึกทั้งของตนเองและผูอ่ืน เชน ถา เด็กรูส ึกโกรธ เมอ่ื ถกู แยง ของเลน ควรสอนใหเด็กเขาใจ วา อารมณแทเี่ กิดขน้ึ คืออารมณโแ กรธ โดยพูด วา “หนรูสกึ โกรธท่ถี กู แยง ของเลน ” อกี ทั้งพอแมค วรหลกี เลย่ี งการใหเ ด็ก เลิกทํากิจกรรมอยางกะทันหัน เพ่อื เปน็ การลงโทษนอกจากน้ีควรสอนใหเด็กหันเหความสนใจไปหาส่ิงอ่ืนเมื่อเด็กไมได สิ่งที่เด็กตองการ และกลา วคาํ ชมเชย หรือกอดจบู เดก็ เพ่อื เสรมิ แรงเมื่อเดก็ แสดงพฤตกิ รรมทด่ี ี เป็นตน
68 7.1.4 พฒั นาการทางด้านสังคม เด็กวยั 3 ถึง 6 ปี มีพัฒนาการทางสังคมอยูในขั้นท่ี 3 เร่ิม เรียนรูการติดตอ และมีความสัมพันธแกับบุคคลภายนอกครอบครัวของตนเอง โดยเฉพาะอยางยิ่งกับเด็ก วัยเดียวกัน เด็กเรียนรูการ ปรับตัวใหเขากับสังคมกับเด็กอ่ืนๆ พรอมกับรูจักรวมมือเลนกับกลุมเพื่อนได เด็กเร่ิมมีอิสระและตองการชวยตนเอง เพ่ิมขึน้ เดก็ เรมิ่ ตอ ตานกฎเกณฑแตาง ๆ ท่ีผูใหญต้ังข้ึน แตอยางไร ก็ตามเด็กยังคงตองการความรักและความอบอุน จากครอบครัวของเขา อาจสรุปพัฒนาการดานสังคม ของเด็กวยั นี้ไดดงั นี้ • อายุ 3 ถึง 4 ปี แบงของเลนกับเพ่ือน ชอบเลนกับเด็กอื่น แตพฤติกรรมไมคงท่ี บางคร้ังก็ รว มมือดี บางคร้งั ก็กา วรา ว แสดงกิรยิ าโกรธเม่ือถกู ขัดใจ สนใจกิจกรรมของผใู หญและอยากจะทาํ ดว ย • อายุ 5 ถงึ 6 ปี เลนรว มกับเพือ่ นไดดี เขาใจกฎเกณฑแแ ละกติกาการเลน เขาใจความหมาย คําวา เมื่อ วานนี้ พรุงนี้ สนใจที่จะรูจักชื่อของผูใหญและเด็กอื่น สนใจส่ิงท่ีเกิดขึ้นในบานและชุมชน สามารถทํางานบานงาย ๆ ดวยความเต็มใจและตั้งอกตั้งใจ เริ่มแสดงกิริยาการขัดขืนไมพอใจ เชน หาก ถกู ส่ังใหท าํ สิ่งทีไ่ มพอใจกแ็ กลง ทําชา ๆ สามารถคดิ กตกิ าหรอื วิธเี ลนเกมใหม ๆ ได การส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม พอแมควรสงเสริมเด็กในวัย 3 ถึง 6 ปี โดยฝึกมารยาท และ สราง ระเบียบวินัย ใหเด็กรูจักและทําตามกฎ กติกาหรือขอตกลงภายในบาน เลนบทบาทสมมติกับเด็ก ในรูปแบบตาง ๆ ที่จะเจอในชีวิตประจําวันเพื่อฝึกหัดกอนที่เด็กจะไดเจอสถานการณแจริง ฝึกการเลน อยางเหมาะสมเคารพกฎและกติกา การเลน แบงของเลนกับเพ่ือน ฝึกการรอคอยตามลําดับกอนหลัง สงเสริมใหเด็กเลนกับเด็กอ่ืน ฝึกการแสดงความ เคารพผูใหญ ฝึกขอบคุณเมื่อไดรับคําชมหรือไดรับของ จากผูใหญ เป็นตน กลาวโดยสรุป เด็กอายุ 3 ถึง 6 ปี มีพัฒนาที่กาวหนามากยิ่งข้ึน มีความคิดสรางสรรคแกาวหนา และตองการ ใหพอแมสงเสริมการพัฒนาดานสติปใญญา รวมทั้งมีความเป็นตัวของตัวเองเพ่ิมสูงขึ้น และ เร่ิมตอตานกฎเกณฑแของ ผูใหญ แตถึงแมเด็กจะตองการพ่ึงตนเองมากขึ้น เด็กก็ยังคงตองการความรัก และการยอมรับจากผใู หญเชนเดยี วกบั เด็กวัยทารก และเปน็ วยั ทสี่ ามารถเรียนรทู จี่ ะอยูรว มกบั ผูอ ่ืนได 7.2 การเตรยี มความพรอ้ มออกสู่สังคมนอกบ้าน เด็กวัย 3 ถึง 6 ปี เป็นวัยกอนวัยเรียนเด็กวัยน้ีจึงจําเป็นตองมีเพ่ือนและสังคมนอกบาน เมื่อเด็ก อยูท่ีบานจะ คนเคยกับทุกคนในครอบครัวและเด็กจะแสดงพฤติกรรมอยางไรก็ได แตเม่ือถึงชวงวัยเขาสู สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ไมวาจะเป็นศูนยแพัฒนาเด็ก หรือโรงเรียนอนุบาล เด็กตองเผชิญกับคนแปลก หนา เพื่อนใหม และสถานที่ใหมที่ ไมคุนเคย เด็กอาจรูสึกอึดอัด ลําบากใจ ดังนั้น พอแมจึงควรมีแนว ทางการสง เสรมิ พัฒนาการเด็กเพ่อื ใหเ ด็ก ปรับตัวดังนี้ 7.2.1 การเตรียมความพร้อมให้แก่เด็ก พอแมควรเตรียมความพรอมทุกดานทั้งดาน รางกายและการเคล่ือนไหว ดานสติปใญญา ดานจิตใจและอารมณแ และทางดานสังคม ต้ังแตอยูที่บาน เพราะการเตรียมความพรอมจะชวยใหเด็ก ปรับตัวไดดีเกิดการเรียนรูและมีประสบการณแรูสึกมีความสุข
69 และสนุกกับการเรียนท่ีศูนยแพัฒนาเด็กหรือไปโรงเรียน ดังนั้น พอแมควรฝึกใหเด็กชวยเหลือตนเอง เพราะเมื่อไปโรงเรยี นจะมีเดก็ เป็นจํานวนมาก ครอู าจดแู ลไมทัว่ ถงึ การฝกึ ใหเ ดก็ ชวยเหลอื ตนเองไดแ ก 1) ฝึกการรบั ประทานอาหารเปน็ เวลา และฝกึ หดั ใหต กั อาหารรบั ประทานดว ยตนเอง 2) ฝกึ การแตงตัว ตดิ กระดมุ ใสร องเทา แนะนําเด็กวาตอ งแตงตัวอยางไรเมือ่ ไปโรงเรียน 3) ฝกึ การขบั ถายดว ยการใชหองนา้ํ เองและทําความสะอาดดว ยตนเอง 4) ฝึกการบอกสิ่งทต่ี อ งการ โดยพอแมตองรอใหเ ดก็ บอกกอ นทีจ่ ะทาํ อะไรให 5) ฝึกระเบียบวินัย การทาํ ความเคารพผูใหญ กฎกตกิ า และการรอคอยลําดับกอนหลงั 6) ฝึกใหรจู กั ระมดั ระวงั การเกดิ อบุ ตั ิเหตุ 7.2.2 การพาเด็กไปพบเห็นสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยก่อนวันเข้าเรียนจริง เพ่ือใหเด็กวัยน้ี เรียนรูวาสถานที่ แหงใหมที่จะไปเป็นอยางไรไมวาจะเป็นศูนยแพัฒนาเด็ก หรือโรงเรียนอนุบาล และ พดู คุยใหเหน็ วาท่แี หง น้ีจะมี เพอ่ื นเลน มีของเลน มีสนามวง่ิ เลน ทเ่ี ดก็ สามารถเลน ไดอยางปลอดภัย และมี ครทู คี่ อยชวยเหลอื ได กลาวโดยสรปุ พฒั นาการของเดก็ อายุ 3ถึง 6 ปี มกี ารเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและชัดเจนในทุก พัฒนาการ พอแมจึงควรมีแนวทางในการสงเสริมพัฒนาการของเด็กอยางเหมาะสมกับวัยรวมถึงเตรียม ความพรอ มใหเด็กกาวสู สังคมภายนอกอยางมีความสุข และสามารถปรับตัวเขาสูสถานที่ใหม เพื่อนใหม และครไู ด
70 บรรณานกุ รม ปิยะธิดา ขจรชัยกุล (ม.ค.-เม.ย. 2551) ความฉลาดทางสังคม มิติหนึ่งของความอยูรอดในสังคมไทย วารสารสขุ ศึกษา 31 (108) หนา 1- 6 _______(2556) เอกสารการสอนวิชา 608 พัฒนาการและการอบรมเล้ียงดู สาหรับนักศึกษา หลักสูตร วทิ ยาศาสตร์มหาบัณฑติ สาขาอนามยั ครอบครัว คณะสาธารณสุขศาสตรแ มหาวิทยาลยั มหดิ ล อดั สําเนา มิชิโอะ มัตสุดะ (2550) สารานุกรมการเลี้ยงดูเด็ก เล่ม 2 ต้ังแต่หน่ึงขวบถึงวัยประถม พิมพแครั้งท่ี 21 แปลโดย พรอนงคแ นยิ มคา กรงุ เทพมหานคร สํานักพิมพแ หมอชาวบา น รุจา ภูไพบูลยแ (ม.ค.-เม.ย. 2545) พัฒนกิจของครอบครัวในการดูแลบุตรวัยทารกจนถึงวัยรุน วารสาร คณะ พยาบาลศาสตรมแ หาวทิ ยาลยั บรู พา 10 (1) หนา 1-14 ลัดดา เหมาะสุวรรณ และคณะ (2543) รายงานการทบทวนองค์ความรู้สถานะสุขภาพของเด็กปฐมวัย สงขลา คณะแพทยศาสตร์มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทรแ ศรีเรือน แกวกังวาล (2549) จิตวิทยาพัฒนาการชีวิตทุกชวงวัย เลม 1: แนวคิดเชิงทฤษฎี-วัยเด็ก ตอนกลาง กรงุ เทพมหานครสาํ นกั พมิ พแมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรแ สมาคมคหเศรษฐศาสตรแแหงประเทศไทย (2524) ตําราพัฒนาการเด็ก ฉบับปรับปรุงแกไขลาสุด กรุงเทพมหานคร วิบูลยกแ จิ การพิมพแ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสงเสริมสุขภาพ สสส. (2552) คู่มืออาหารตามวัยสาหรับทารกและเด็ก เลก็ คนคืนวันที่ 2 มกราคม 2557 จาก http://www.thaipediatrics.org/attchfle/BabyFood pdf สํานักนโยบายและยุทธศาสตรแ สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จํานวนและอัตราเกิดตอประชากร 1000 คน จําแนก รายเดือน พ.ศ. 2549-2553 ค้นคืนวันที่ 2 มกราคม 2557 จาก http://bps.ops.moph.go.th/2.1.7-53.pdf สํานักสงเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข คู่มือส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด-5 ปี สาหรับผู้ เลี้ยงดูเด็กในครอบครัวและศูนย์เด็กเล็ก ค้นคืนวันที่ 2 มกราคม 2557 จาก http://www.saiyairakhospital.com/back-office/upload/document/b.pdf สํานักอนามัยเจริญพันธุแ กรมอนามัย และ กองทุนประชากรแหงสหประชาชาติ (2554) คูมือมารดาหลัง ห ล อ ด แ ล ะ ก า ร ดู แ ล ท า ร ก ส า ห รั บ คุ ณ แ ม่ จ า ก http://countryoffice.unfpa.org/thailand/drive/PP_Handbook pd อดิศักด์ิ ผลิตผลการพิมพ์ (2550) โลกที่เหมาะสมสาหรับเด็ก: เด็กกับความปลอดภัย ค้นคืนวันที่ 2 มกราคม 2557 จากhttp://www.csip.org/csip/autopage/file/MonJanuary 2007-11-35-24- SAFETY FORTHAICHILDREN.pdf Duvall, E. M. (1967). Family development. 3rd ed. Philadelphia: J. B. Lippincott Company.
71 _______(1977). Marriage and family development. 5th ed. Philadelphia: J. B. Lippincott Company. Duvall, E. M. & Miller, B. C. (1985). Marriage and family development. 6th ed. NY: Harper and Row. Fildes, A., et al. (2013). Parent-administered exposure to increase children's vegetable acceptance: A randomized controlled trial. Journal of the Academy of Nutrition and Dietetics Friedman M M., Bowden,V . R.,& Jone , E .G. (2003). Family nursing : Research, theory & practice. 5th ed. NJ: prentice Hall.
72 หน่วยท่ี 3 หลักการและรูปแบบการอบรมเลย้ี งดแู ละพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ตามบริบทและวถิ ีไทย 1. ความหมายและความสาคัญของการอบรมเลย้ี งดูเดก็ ปฐมวยั เดก็ เป็นทรพั ยากรที่มคี ณุ คายง่ิ สาํ หรับประเทศชาติ การอบรมเล้ยี งดูเด็กมีความสําคัญอยางยิ่งตอ การพัฒนาการเด็กปฐมวัย เด็กวัยน้ีตองการเรียนรูส่ิงแวดลอมรอบ ๆ ตัว โดยเรียนรูผานประสาทสัมผัส ท้ัง 5 จากพอแม บุคคลในครอบครัว ดังน้ันพอแมและบุคคลในครอบครัวจึงมีความสําคัญที่สุดท่ีจะทํา หนาท่ีกลอมเกลาเด็ก คอยอบรมเลี้ยงดูปลูกฝใงบุคลิกภาพนิสัย พฤติกรรมคุณธรรมจริยธรรม คานิยม และถายทอดวัฒนธรรมของ ใหเด็กเตบิ โตเป็นบุคคลท่ีมีคุณภาพ มีความพรอมที่จะเป็นพลังสําคัญในการ พฒั นาสังคมและประเทศชาติตอไป 1.ความหมายของการอบรมเล้ยี งดูเด็กปฐมวยั เดก็ ปฐมวยั หมายถึง เด็กแรกเกิด ถึงอายุตํ่ากวา 6 ปี เป็นชวงวัยที่สําคัญที่สุดของชีวิตมนุษยแ กา วอ0256 เด็กปฐมวัยมีคุณคาตอการพัฒนาของประเทศชาติ แพทยแนักจิตวิทยา นักวิชาการทางดานเด็ก ปฐมวัยกลาวถึงความ สําคญั และสรุปความหมายหลากหลาย ไดแก เพญ็ ศรี พิชัยสนธิ (2522) ใหความหมายของการอบรมเลย้ี งดเู ด็กปฐมวัยไววาการอบรม หมายถึง การแนะนําสั่งสอนและอบรม ฝึกฝน ท่ีมุงใหเด็กประพฤติดี มีระเบียบวินัย รูจักควบคุมตนเองมีความ รบั ผิดชอบ เปน็ ตน การเล้ียงดู หมายถึงการดูแลเพ่ือตอบสนองความตองการของเด็กท้ังกายและใจ โดย มงุ ใหเด็กมสี ุขภาพดีรา งกายแข็งแรง ทุกระบบ ไมม โี รค ไมมีความพิการ อารมณแแจมใส สติปใญญาเฉลียว ฉลาด และมคี วามสัมพันธแอนั ดกี ับผูอ ื่น เปน็ ตน สุมน อมรวิวัฒนแ และคณะ (อางถึงในกุศล สุนทรธาดาและคณะ 2540: 7) สรุปความหมายการ อบรมเลยี้ งดู เด็ก หมายถึง ลกั ษณะวิธีการตางๆ ที่ผูเล้ียงเด็กใชในการเลี้ยงดูเด็ก ดูแลเด็ก อบรมส่ังสอน เด็ก และมีปฏิสัมพันธแกับ เด็กรวมทั้งการปฏิบัติตัวของผูเลี้ยงเด็ก และความคิดเห็นของผูใหญเก่ียวกับ เดก็ ตลอดจนสอื่ กิจกรรมและสงิ่ แวดลอม ตางๆ ท่ีเด็กมีปฏิสมั พนั ธดแ ว ย สธุ รรม นนั ทมงคลชยั และคณะ (2547: 11) ใหความหมายการอบรมเลีย้ งดเู ดก็ วา หมายถึง การ ตอบสนอง ความตองการของเด็กทุกดานตามวัย ท้ังทางรางกาย สติปใญญา อารมณแจิตใจ และสังคม ตลอดจนการอบรมสัง่ สอน และปลกู ฝงใ คานยิ ม จริยธรรม และพฤติกรรมท่ีเปน็ ทีย่ อมรบั ของสงั คม ศิริกุล อิศรานุรักษแ และปราณี สุทธิสุคนธแ (2550: 106) สรุปความหมายของการอบรมเลี้ยงดู หมายถึง การ ตอบสนองความตองการของเด็กทั้งกายและใจการมีปฏิสัมพันธแกับเด็ก การถายทอด วัฒนธรรมทศั นคติความเช่ือ คา นยิ ม ความรูแ ละความหวังของสังคมตลอดจนการสง เสรมิ ใหเด็กมีพัฒนา ที่ดอี ยางรอบดา น คือ กายใจ สังคม และปญใ ญา สรปุ ไดวา การอบรมเล้ยี งดูเด็กปฐมวัย เป็นวิธีการดูแลเด็กต้ังแตแรกเกิดจึงถึงอายุตํ่ากวา 6 ปี ที่ พอแม ผเู ล้ยี งดูในครอบครัวตอบสนองความตองการของเด็กทั้งรางกายและจิตใจ ตลอดจนมีปฏิสัมพันธแ
73 กับเด็ก ถายทอด ทัศนคติ ความเช่ือ คานิยม ความรูวัฒนธรรม ตลอดจนสงเสริมใหเด็กมีพัฒนาการท้ัง ดา นรา งกาย จติ ใจ อารมณแ สงั คม สติปญใ ญา และสามารถดาํ รงชีวิตในสังคมได 2.ความสาคัญของการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย ความคาดหวังของพอแม ครอบครัวคือเด็กมีสุขภาพสมบูรณแแข็งแรง เป็นคนดี มีความสุขและ เป็นเด็ก ประสบความสาํ เร็จในชีวติ ซึง่ ความปรารถนาดงั กลาวจะบรรลเุ ปูาหมายไดต องผานกระบวนการ อบรมเลี้ยง เหมาะสมในแตละชวงวัยของชีวิต โดยเฉพาะชวงปฐมวัย อันเป็นพื้นฐานสําคัญของชีวิต มนุษยแ ดังนั้น การอบรม เด็กปฐมวัยจึงมีความสําคัญอยางย่ิง ดังจะเห็นไดจากนานาประเทศให ความสําคัญตอ การพัฒนาเด็กและเห็นวา ควรไดรับการคุมครองและอบรมเลี้ยงดูอยางเหมาะสม เพ่ือให เติบโตเป็นมนุษยแที่สมบูรณแ โดยรวมกันลงนามในอนุสัญญาสิทธิเด็ก เด็กหมายถึงมนุษยแทุกคนท่ีอายต่ํา กวา 18 ปโี ดยมรี ายละเอียดสรปุ ดังนี้ อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก พ.ศ. 2535 ไดเนนการคุมครองเด็กจากการเลือกปฏิบัติและการ ปกปูอง ของเด็กในหลายมิติ ดวยมาตรการทางนิติบัญญัติและบริหารที่เหมาะสมทั้งปวง รัฐภาคีแหง อนุสัญญาน้ี ระลึกวา สหประชาชาติไดประกาศในปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนวา เด็กมีสิทธิจะ ไดรับการดูแลและการชวยเหลือเป็น พิเศษ และอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็กกําหนดพันธกรณีใหประเทศ ภาคีสมาชิกคุมครองสิทธิเด็กโดยแยกเป็นประเภท ใหญๆ ได 4 ประเภท (มาณี ไชยธีรานุวัฒศิริ 2543) ดังน้ี 1. สิทธิในการมีชวี ิตและการอยรู อด 2. สิทธิในการไดรบั การปกปอู งคมุ ครอง 3. สทิ ธใิ นการพฒั นา 4. สิทธใิ นการมสี ว นรวม 1. สิทธิในการมีชีวิตและการอยู่รอดเด็กมีสิทธิที่คลอดออกมาแลวตองมีชีวิตอยูรอดอยาง ปลอดภัย ไดรับ การเล้ียงดูไมวาโดยพอแม ญาติพ่ีนองหรือรัฐ เพ่ือใหอยูรอดและเจริญเติบโต และมี มาตรฐานความเป็นอยูท่ีดีเพียงพอ ตามฐานะ ไดรับการบริการดานสุขอนามัยใหพนจากโรคภัยตางๆ ท่ี จะทําใหเด็กเสียชีวิตหรือพิการ เชน ไดรับวัคซีน ปูองกันโรคตางๆ การตรวจรักษาและการบริการดาน สาธารณสุขอ่ืนๆ มีที่อยูอาศัย ไมถูกทอดท้ิงใหเป็นเด็กเรรอน ไดรับอาหารในปริมาณท่ีเพียงพอและ สะอาด 2. สทิ ธใิ นการได้รับการปกป้องคมุ้ ครองเดก็ มสี ทิ ธทิ จี่ ะไดรับการปกปูองคุมครองในทุกรูปแบบที่ จะเป็น อนั ตรายตอเด็ก ทั้งทางรางกาย จิตใจและทางเพศ ซ่ึงรวมทั้งการลวงละเมิดทางเพศกับหรือการ แสวงหาประโยชนแใน รปู แบบตางๆ จากเดก็ ไมวาโดยพอแม ผูปกครองเด็ก เด็กมีสิทธิไดรับการคุมครอง จากโรคภัยตางๆ ตามมาตรฐาน สาธารณสขุ ที่ดที สี่ ดุ เทาท่จี ะเป็นไปได และไดร ับการปกปอู งคุมครองจาก การใชแ รงงาน
74 3. สิทธใิ นการพัฒนาเดก็ มสี ิทธไิ ดรบั สทิ ธใิ นการพัฒนาตนเองท้ังดานการพัฒนาทางรางกายและ สติปใญญา น่ันหมายถึง เด็กมีสิทธิท่ีจะมีมาตรฐานความเป็นอยูท่ีเพียงพอตอการพัฒนาการของเด็กท้ัง ทางรางกายจิตใจ สตปิ ใญญา ศีลธรรมและทางสังคม เด็กมีสทิ ธไิ ดรบั การบริการสาธารณสุขและการตรวจ รกั ษาเพอื่ ใหเ ด็กพน จากโรคภยั ท่ีปูองกนั รักษาไดแ ละไมใ หโ รคภยั ดงั กลา วเปน็ อปุ สรรคตอพัฒนาการของ เด็ก นอกจากน้ี เด็กมีสิทธิไดรับการศึกษา อันเป็น พื้นฐานและมาตรการท่ีจําเป็นตอการพัฒนาของเด็ก เพื่อใหเด็กไดพัฒนาบุคลิกภาพ ความสามารถพิเศษ และความ สามารถทางดานรางกายและจิตใจของ เด็ก ใหเต็มศักยภาพของเด็กแตละคนใหเด็กไดพัฒนาความเคารพตอสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้น พ้ืนฐาน เพื่อเป็นการเตรยี มเด็กใหมีชวี ิตและมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ สังคม 4. สิทธิในการมีส่วนร่วม เด็กมีสิทธิในการมีสวนรวมในรูปแบบตาง ๆ โดยเสรีในทุกเร่ืองที่มีผล กระ เดก็ และรฐั ภาคีตอ งดําเนินมาตรการใหเด็กไดแสดงความคิดเห็น ท้ังตองใหน้ําหนักตอความคิดเห็น นั้นตามควร อายและวุฒิภาวะของเด็กเด็กตองไดรับโอกาสที่จะแสดงความคิดเห็นตอการดําเนินการน้ัน ตามกระบวนการทก่ี ฎหมายกาํ หนดและสทิ ธใิ นการแสดงออกของเดก็ และมีสิทธทิ ่จี ะเขาถึงขอมูลขาวสาร โดยเฉพาะท่มี ีความมุง หมายเพือ่ สง เสริมเดก็ ในดานตา งๆ จะเห็นไดวา อนุสญั ญาวาดวยสทิ ธิเดก็ ใหความสาํ คญั กับเด็กรวมถึงการอบรมเลี้ยงดูเด็กดวยเหตุน้ี การพัฒนา เด็กปฐมวยั ซง่ึ เป็นรากฐานสําคญั ของการพัฒนาเด็กในชว งอายตอไปจึงมีความสําคัญอยางย่ิง เพราะมีผลตอพัฒนาการ ดานตางๆ ของเด็กปฐมวัย ดังนั้น ครอบครัวจึงตองเขาใจถึงความสําคัญของ การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวยั ดังน้ี 1) การสงเสริมสุขภาพ ปูองกันโรคและภัยอันตรายที่สามารถหลีกเลี่ยงไดเด็กท่ีไดรับการเล้ียงดู อยาง เอาใจใสใกลชิด จะไดรับภูมิคุมกันโรคดวยวัคซีนพ้ืนฐานตามที่ไดภาครัฐกําหนด เพื่อปูองกันโรคที่ สามารถปูองกันได ไดรบั การรักษาพยาบาลขั้นพื้นฐานและฟื้นฟูสภาพเม่ือเจ็บปุวย รวมท้ังเป็นการฝึกใน เรือ่ งการปฏิบัตกิ จิ วัตรประจาํ วนั การกนิ การขับถาย ตลอดจนการปกปอู งภยั อุบัติเหตุอันตรายตางๆ ท่ีมี โอกาสเกิดขน้ึ กับเดก็ เล็ก อนั สงผลตอสุขภาพ อนามัยของเดก็ ใหมสี ุขภาพสมบรู ณแ แขง็ แรง ตอ ไป 2) การสงเสริมการเจรญิ เติบโตและไดร บั อาหารเหมาะสมพอเพยี งความตองการของรางกาย เด็ก ท่ีพอแม เลี้ยงดูใกลชิดดวยตนเองจะไดรับการเลี้ยงดูดวยนมแมต้ังแตแรกเกิด ตลอดจนไดรับอาหารท่ีมี คุณคาตอรางกายใน ชวงอายที่เหมาะสม เฝูาระวังการเจริญเติบโตอยางสมํ่าเสมอ ใหมีการเจริญเติบโต เหมาะสมตามเกณฑแ 3) การสงเสริมพฒั นาการทั้งดานรางกาย จิตใจ สติปใญญา อารมณแ สังคม เด็กที่ไดรับการเล้ียงดู ท่ีดีจาก พอแม หรือ พอแมเขาใจลักษณะธรรมชาติของเด็ก สามารถสงเสริมพัฒนาการดานตางๆ ของ เด็กใหเหมาะสมตาม วัย สามารถตอบสนองความตองการของเด็กไดตามความเหมาะสม ยอมจะทําให เด็กเตบิ โตแข็งแรงสมบูรณแท้ังรางกาย และจิตใจ อันเป็นพนื้ ฐานในการสรางบุคลกิ ภาพ ความรสู ึกนึกคดิ ท่ี ดี และเสรมิ สรางความม่นั คงทางจติ ใจใหแ กเ ดก็ (อาํ ไพพรรณ ปใญญาโรจนแ 2545)
75 4) การพัฒนาทักษะการเรียนรูเด็กที่ไดรับการอบรมเลี้ยงดูเด็กอยางเอาใจใสจากพอแม ดวย ความรัก ความอบอุน จะสงผลใหเด็กไดรับโอกาสเรียนรู สรางเสริมประสบการณแ ฝึกทักษะในการ ดํารงชวี ติ รวมทัง้ ฝึกทกั ษะ ในการแกป ใญหาของเด็ก อันเป็นการพัฒนาความฉลาด ความรูสึกนึกคิด และ ความสามารถของเดก็ ในดานตา งๆ 5) การสรางแบบแผนทางวัฒนธรรม การอบรมเล้ียงดูเด็กเป็นกระบวนการถายทอดวัฒนธรรม วฒั นธรรมเปน็ สวนเสริมความรเู กย่ี วกับลกั ษณะความเป็นอยูข องมนษุ ยแ พอแมจะเลี้ยงดูเด็กภายในระบบ สังคมท่ี อาศัยอยู ซึ่งมีความแตกตางกันในแตละวัฒนธรรม ความแตกตางในการอบรมเลี้ยงดูจึงถูก กาํ หนดโดยวฒั นธรรม ของแตละสงั คม และเปน็ ผลจากคานิยมทางสังคมวัฒนธรรมท่ีแตกตางกัน เด็กจะ ไดเ รยี นรูก ารรกั ษาและดํารง วัฒนธรรมในสงั คมทีต่ นเองอาศัยอยูอยางมีความสุข (สุมน อมรวิวัฒนแ และ คณะ 2534) 6) การถายทอดทัศนคติ ความเชื่อ คานิยม ของสังคม การอบรมเล้ียงดูเด็กปฐมวัยเป็นการ ถายทอด ความเช่ือ ทัศนคติ คานิยม ของครอบครัว สังคมรอบตัวเด็ก การปฏิบัติตนใหเหมาะสมกับ บทบาทในสังคมนนั้ ๆ ตลอดจนปลูกผังลักษณะนสิ ยั และบคุ ลิกภาพของเด็กในอนาคต 7) การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยเป็นการสอนใหเด็กเรียนรู พัฒนา จติ ใจ ใหม ีความเห็นอกเห็นใจ มีนาํ้ ใจแบงปนใ และรจู ักเขา กบั ผอู นื่ ได 8) การสงเสริมพัฒนาการดานสังคม การอบรมเล้ียงดูเด็กปฐมวัยชวยใหเด็กไดเรียนรูโลก ภายนอก สังคม ขนบธรรมเนียมประเพณี แบบแผนวัฒนธรรม ระเบียบวินัยและกฎกติกาตางๆ ของ สงั คม สรุปไดวา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยของพอแม ครอบครัวมีผลตอคุณภาพชีวิตของเด็ก ทําใหเด็กมี สุขภาพ อนามัยสมบูรณแแข็งแรง มีการเจริญเติบโต และพัฒนาการเหมาะสมทุกดาน ทั้งดานรางกาย จิตใจอารมณแ สังคม และ สติปใญญา ตลอดจนพัฒนาการเรียนรูความรูสึกนึกคิด คานิยม บุคลิกภาพ คุณธรรมจริยธรรม การถายทอดทัศนคติ แบบแผนวัฒนธรรม ซ่ึงผลท่ีจะเกิดข้ึนดังกลาวขึ้นกับรูปแบบ และวธิ กี ารอบรมเลย้ี งดูของพอ แม ครอบครัว 2. รปู แบบของการอบรมเล้ียงดเู ด็กปฐมวัย เปูาหมายของพอแมท่ีมีเด็กปฐมวัยคือ เด็กมีการเจริญเติบโตมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย เป็น คนดีคนเกง และมีความสุข เด็กจะบรรลุเปูาหมายดังกลาวไดหรือไม สวนหน่ึงข้ึนอยูกับสภาพครอบครัว และวิธีการอบรมเล้ียงดู จากพอแมและบุคคลในครอบครัวท่ีจะดูแลสงเสริมสุขภาพ การเจริญเติบโต พัฒนาการ และปลูกฝใงบุคลิกภาพ พฤติกรรม ทัศนคติ คานิยม ความเชื่อตลอดจนจิตสํานึกของเด็กให เปน็ ไปตามทพี่ อแมคาดหวัง เพ่อื ใหเด็กเป็นไปตามเปูาหมายดังกลาว รปู แบบหรือวิธีการอบรมเล้ยี งดูเด็กจงึ มีความแตกตางไป ในแตละ ประเพณี วัฒนธรรม ประสบการณแ ความรูของพอแมและครอบครัว มีนักจิตวิทยาและ นกั วิชาการสรุปรปู แบบการ อบรมเลีย้ งดูเด็กปฐมวยั ดังน้ี
76 บอมรินดแ (Baumrind, 1967 อางถึงในดุลยาจิตตะยโศธร 2552. 175) ศึกษาเด็กกอนวัยเรียน และผูปกครอง ของเด็กโดยการสังเกตพฤติกรรมของเด็กทั้งท่ีโรงเรียนและที่บาน ประกอบกับการ สัมภาษณแผูปกครองและสังเกต ปฏิสัมพันธแระหวางผูปกครองกับเด็กที่บาน จากการศึกษาดังกลาว บอมรินดแไดท ําการวเิ คราะหแแ บง องคแประกอบ พฤติกรรมของพอแมในการอบรมเล้ียงดูเด็กปฐมวัยเป็น 2 มติ ิกวา งๆ ดังน้ี 1. มิตคิ วบคมุ คือ การท่ีพอแมกําหนดมาตรฐานสําหรับเด็กและเรียกรองใหเด็กทําตามมาตรฐาน ท่ีพอแมได กําหนดไว ซ่ึงพอแมบางคนจะมีมาตรฐานสูง และเรียกรองใหเด็กปฏิบัติตามมาตรฐานที่ตน กําหนด ขณะท่ีพอแม บางคนเรียกรองใหเด็กทําตามมาตรฐานเพียงเล็กนอย และไมพยายามท่ีจะใช อทิ ธิพลในการควบคุมเด็ก 2. มิติการตอบสนองความรู้สึกเด็กคือ การที่พอแมหรือผูเล้ียงดูเด็กตอบสนองตอความตองการ ของเด็ก ซ่ึง พอแมบางคนจะยอมรับ เขา ใจ และตอบสนองความตอ งการของเด็กดว ยดี เปดิ โอกาสใหเด็ก คดิ และตัดสนิ ใจดว ย ตนเอง ขณะทพ่ี อ แมบ างคนเพกิ เฉย และปฏเิ สธตอ ความตอ งการของเด็ก แนวคิดของ บอมรินดแ (Baumrind อางถึงในสุธรรมนันทมงคลชัย 2547) ไดผสมผสาน 2 มิติ ดงั กลา ว และ จัดรปู แบบการอบรมเลย้ี งดูเดก็ ปฐมวัย เปน็ 4 รปู แบบ ดังน้ี 1. การอบรมเลี้ยงดูแบบเอาใจใส่หรือประชาธิปไตยคือ การอบรมเล้ียงดูที่พอแมสนับสนุนให เด็กมีพัฒนาการ ตามวัยของเด็ก โดยพอแมใหความรัก และความอบอุนใกลชิด มีการอบรมที่ชัดเจน ตอบสนองความตองการตาม วุฒิภาวะของเด็ก ใหเด็กมีอิสระตามความสามารถแตบางเวลาพอแมจะ กําหนดขอบเขตพฤติกรรมของเด็ก และกําหนด ใหเด็กเชื่อฟใงและปฏิบัติตามแนวทางที่พอแมกําหนดไว อยางมีเหตุผล ขณะเดียวกันก็ใหความรักความอบอุนและใสใจ ตอเด็ก เปิดโอกาสใหเด็กเป็นตัวของ ตวั เอง รบั ฟงใ เหตุผลจากเดก็ และสนบั สนนุ ใหเ ด็กมีสวนรวมในการคิด ตัดสนิ ใจ เรือ่ งตางๆ ของครอบครวั 2. การอบรมเล้ียงดูแบบควบคุมหรืออานาจนิยมคือ การอบรมเลี้ยงดูท่ีพอแมควบคุม และ คํานึงถึงวุฒิภาวะ ของเด็กคอนขางสูงมีความคาดหวังตอเด็กสูง แตหยอนในเรื่องความใกลชิดและการ สอื่ สารมกี ารวางกฎเกณฑแใหเดก็ ปฏิบตั ิตามอยา งเขม งวด อธิบายนอยมาก หรือไมมีเลย เด็กตองยอมรับ ในคําพูดของพอแมวาเป็นส่ิงท่ีถูกตอง เหมาะสมเสมอ มีการใชอํานาจควบคุมโดยวิธีบังคับ และลงโทษ เมอื่ เด็กไมทาํ ตามความคาดหวงั ของพอ แม 3. การอบรมเลี้ยงดูแบบตามใจคือการอบรมเล้ียงดูที่พอแมใหการดูแลอยางใกลชิดอบอุน แต หยอ นในเร่อื ง การควบคุมพฤติกรรม การสื่อสารและการคํานึงถึงวุฒภิ าวะของเด็ก 4. การอบรมเลยี้ งดูแบบทอดท้ิงหรือปล่อยปละละเลย คือ การอบรมเล้ียงดูที่พอแมไมใหความ สนใจหรือ ตอบสนองความตอ งการของเดก็ ใหการดแู ลเอาใจใสต อเด็กนอ ยมาก พอแมจะเพิกเฉยตอเด็ก พอๆ กับไมเ รยี กรอง หรือวางมาตรฐานพฤติกรรมใดๆ ใหเด็กปฏิบัติทั้งนี้อาจเป็นเพราะพอแมปฏิเสธเด็ก แตแ รกหรือหมกมุนอยกู ับปญใ หา และความกดดันในชวี ติ ประจําวนั จนไมม เี วลาดแู ลเอาใจใสเด็ก ซ่ึงสงผล
77 เชิงลบตอ พัฒนาการเดก็ มากทีส่ ุด สงผลให เดก็ มีพฤตกิ รรมตอตานสังคม ขาดทักษะทางสังคม ไมมีเพ่ือน และลมเหลวในการเรียน สรปุ ไดวารปู แบบการอบรมเลย้ี งดขู องพอแม ครอบครวั มีหลายแบบ แตกตา งตามพฤติกรรมของ พอแมใ น การอบรมเลีย้ งดเู ดก็ พอแมบ างครอบครัวคาดหวังเด็กสูงจะเล้ียงดูเด็กแบบอํานาจนิยม ขณะที่ พอแมบางครอบครัว ตามใจเดก็ จนขาดการกาํ กับควบคุมเด็ก แตรูปแบบการอบรมเลี้ยงดูเด็กท่ีเหมาะสม เป็นการอบรมเลี้ยงดูเด็กแบบ ประชาธิปไตยที่พอแมอบรมเล้ียงดูเด็กตามพัฒนาการของเด็กแตละวัย ควบคกู ับการใหค วามรกั ความอบอุนและเล้ยี ง แบบมีเหตุผล 3. สภาพการอบรมเล้ยี งดเู ดก็ ปฐมวัยของครอบครัวในสงั คมไทย ครอบครัวเป็นหนวยเล็กที่สุดท่ีใกลชิดและสําคัญตอการพัฒนาเด็กปฐมวัย ดวยเป็นผูตอบสนอง ความตองการ พ้ืนฐานและใหการอบรมเลี้ยงดูเด็กต้ังแตแรกเกิดจากการเปล่ียนแปลงสภาวะเศรษฐกิจ และสังคม ความกาวหนาของ เทคโนโลยีและการสื่อสารอยางรวดเร็วในปใจจุบันทําใหสภาพการอบรม เลีย้ งดูเดก็ ปฐมวัยของครอบครวั ในสงั คมไทย มลี กั ษณะดงั นี้ 1. โครงสร้างครอบครัวไทยและสภาพแวดล้อมเดก็ ประเทศไทยมีจํานวนครัวเรือน 20.52 ลาน ครัวเรือน ขนาดครอบครัวเฉล่ีย 3.1 คนตอครัวเรือน (ขอมูลการสํารวจสํามะโนประชากร ปี 2553 ) สภาพสังคมไทยมีการ เปลี่ยนแปลงจากสังคมเครือญาติเป็นสังคมปใจเจกมากข้ึน สงผลใหมีการ เปลี่ยนแปลงรูปแบบครอบครัวไทย เชน ครอบครัวเดี่ยวมีเฉพาะพอแมและลูก ครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวท่ีมี เฉพาะพอหรือแมเล้ียงลูกเพียงลําพัง ครอบครัวพอแม วัยรุน ครัวเรือนท่ีอยูดวยกันแบบไมใชญาติ ครวั เรือนทีม่ ีแตป ูยุ า หรอื ตายายกับหลาน ผลของการสํารวจผูเล้ียงดูเด็กหลัก จากรายงาน เด็กและเยาวชน ปี 2552 ของสํานักงานสถิติแหงชาติ พบวา เด็กทอี่ าศยั อยูกบั พอ แมร อยละ 61.8 ไมไดอยูกับพอแม รอยละ 20.1 ที่เหลืออยูกับพอหรือแมคน ใดคนหนึ่ง สําหรับ เด็กที่ไมไดอยูกับพอแม พบวาอาศัยอยูนอกเขตเทศบาลมากกวาในเขตเทศบาล เนื่องจากการดําเนินชีวิตของครอบครัว มีการเปลี่ยนแปลงท้ังพอและแมตองหารายไดเลี้ยงดูครอบครัว ทําใหไมสามารถอบรมเลี้ยงดูบุตรไดเทาที่ควร สง ผลกระทบตอเด็ก ทําใหไมไดรับการดูแลอยาง เหมาะสมเพยี งพอ 2. บทบาทหน้าท่ีของครอบครัวที่มีผลต่อความม่ันคงของเด็ก แมเป็นบุคคลสําคัญอยางยิ่งตอ การอบรมเล้ยี งดูเดก็ ปฐมวยั แตจ ากรายงานการสาํ รวจท่พี บวา แมวา ยังคงมีบทบาทการเป็นผูเล้ียงดูหลัก ของเด็กปฐมวัย แตก ลบั มแี นวโนมลดลง ดังนี้ พ.ศ. 2544 แมเ ปน็ ผูเลย้ี งดูหลัก รอ ยละ 71 (สุธรรม นันทมงคลชยั และคณะ 2507) พ.ศ. 2551 แมเปน็ ผูเลย้ี งดูหลัก รอยละ 62.8 (วิชัย เอกพลากร และคณะ 2551) นอกจากนี้ จะเห็นไดวา ปใจจุบันครอบครัวมีการปฏิสัมพันธแกันนอยมาก โดยเฉพาะการ ความ เขาใจกันภายในครอบครัว ทําใหเด็กและเยาวชนหันไปหาอบายมุข และประพฤติตนเรียกรองคอ สังคม อยา งไมเหมาะสม ปญใ หาสําคญั คือ พอ แมผ ปู กครอง ไมสามารถเปน็ แบบอยางท่ีดีได และขาดทักษะการ
78 ลกอยางเหมาะสม มีความคาดหวังทางการศึกษาของลูกในระดับสูงจนเกินไป ทําใหเด็กและเยาวชนเกิด ความ และไมมีความสุขกับการเรียน แนวโนมของครอบครัวไทยในอนาคตคาดวาจะมีรูปแบบครอบครัว เดียวเพม่ิ มากขึ้น เกดิ สภาวการณแพอหรือแมเล้ียงเดี่ยวเพิ่มมากข้ึน รวมถึงสภาวการณแปใจจุบันท่ีความบีบ คั้นทางเศรษฐกิจเป็นสาเหตุ หลักใหพอแมตองทํางานนอกบานมากขึ้นในทองถิ่นชนบทหลายครอบครัว พอแมตองไปทํางานในตัวเมือง โดยเฉพาะ ในกรุงเทพฯและเมืองใหญๆ ใหเด็กอยูในความดูแลของ ผูสูงอายุ ซ่ึงอาจทําใหเด็กเติบโตมาอยางไมมีคุณภาพเทาท่ีควร (คณะกรรมการสงเสริมการพัฒนาเด็ก และเยาวชนแหง ชาติ 2554) 3. การดูแลสุขภาพของเด็ก เด็กทารกหรือแรกเกิด ถึงอายุ 1 ปี เป็นชวงชีวิตที่สําคัญ ปใจจุบัน เด็กมีโอกาส รอดชีวิตมากข้ึน ขณะท่ีทารกแรกเกิดมีน้ําหนักนอยกวา 2,500 กรัมลดลงทุกปี การให ภูมคิ ุมกันโรคดว ยการใหว คั ซนี คอนขางประสบความสําเร็จอัตราเส่ียงตอการเป็นโรคธาลัสซีเมียและโรค เอดสแลดลงแตท างดานอาหารและโภชนาการ พบวา เด็กไดรับการเลี้ยงดวยนํ้านมแมอยางเดียว 6 เดือน มีระดับตํ่ามาก คือ รอยละ 7.1 เด็กชนบทไดกินนมแม มากกวาเด็กในเมือง และมีการเลี้ยงลูกดวยนม ผสมแทนนมแมเ พ่ิมขึน้ เด็กไทย 1 ใน 4 มปี ใญหาภาวะโภชนาการเกนิ หรอื โรคอวน โดยความชุกของเด็ก อวนจะเพม่ิ สูงขน้ึ ถงึ 1 ใน 5 ของเด็กปฐมวยั 4. การส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยไมสามารถพัฒนาไดถาไมมีพอแม ผูเล้ียงดูสงเสริม พัฒนาการดาน ตางๆ ใหเหมาะสม แตละชวงอายุรายงานการศึกษาพบวา การสงเสริมพัฒนาการเด็ก ปฐมวัยของพอแม ครอบครัว ไทย เนนสงเสริมพัฒนาการดานการชวยเหลือตนเองมากกวาพัฒนาการ ดานอ่ืนๆ เชน ด่ืมน้ําจากแกว ตักอาหาร เขาปาก แตงตัว ขับถาย เก็บของเลนเขาท่ี และอาบน้ําดวย ตนเอง เปน็ ตน (ลัดดา เหมาะสวุ รรณและคณะ 2547) ในการส่งเสรมิ พฒั นาการดา้ นสตปิ ญั ญา พอแมสวนใหญสงเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยดวยการ สอน ใหน บั เลข อาน ก.ไก โดยกจิ กรรมสงเสรมิ พฒั นาการดานสติปญใ ญา หรอื กจิ กรรมสงเสริมการเรียนรู มีคอนขางนอย ดังรายงานสํานักงานสถิติแหงชาติสํารวจเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2551 ที่สํารวจกิจกรรม สงเสริมการเรียนรูเด็กปฐมวัย ของพอแม ผูเลี้ยงดูเด็ก โดยศึกษาเปรียบเทียบการมีสวนรวมในกิจกรรม สงเสริมการเรียนรู 6 ประเภท ของพอแม และคนอื่นๆ ในครอบครัว ไดแก (1) การอานหนังสือ/ดูสมุด ภาพรวมกับเด็ก (2) การเลานิทาน/เลาเร่ืองตางๆ ใหเด็ก ฟใง (3) การรองเพลงรวมกับเด็ก/รองเพลง กลอมเด็ก (4) การพาเด็กไปนอกบาน (5) การเลนกับเด็ก และ (6) การทํา กิจกรรมรวมกับเด็ก พบวา รอยละ 95.9 ของเด็กปฐมวัยไดรับการสงเสรมิ การเรียนรูจากพอแม ผูเลี้ยงดูเด็ก และพบ วา 4 กิจกรรม ใน 6 กจิ กรรม แมมสี ว นรวมกจิ กรรมทกุ ประเภทกับเดก็ พอมีสวนรวมทํากิจกรรมดังกลาวนอยมาก สวน กจิ กรรมทพี่ อ แมท ํารวมกับเด็กมากทีส่ ดุ คือ การเลน รองลงมา คือ การพาไปนอกบาน สวนกิจกรรมที่ทาํ รว มกับ เดก็ นอยท่ีสุด คอื การเลา นทิ าน
79 ในการส่งเสริมพัฒนาการด้านจริยธรรม พอแมสังคมไทยสงเสริมดวยการสอนเด็กใหรูจักการ ไหวแสดง ความเคารพผูใหญ หรือเม่ือไดรับของ นอกจากนี้ พอแมยังสอนเร่ืองการแบงปใน ขอโทษ ให อภัย ไมพดู โกหก และไม หยิบของผอู น่ื เปน็ ตน ในการสงเสริมพัฒนาการดานอารมณแ จิตใจ สังคม และจริยธรรม พอแม ผูเล้ียงดูเด็กมีการรอง เพลง พ้ืนบานใหเ ด็กฟใงบางแตนอยลง การสงเสริมพัฒนาการดานสังคม พบวา มากกวาครึ่งหนึ่งของพอ แมเดก็ ปฐมวัย สงเสรมิ ดวยการพาเทยี่ วหา งสรรพสนิ คา ตลาด รานคา เปน็ ประจํา ปใจจุบนั พอแม หรอื ผเู ลี้ยงดูใหเด็กดูโทรทัศนแมากกวา ในอดตี พบวา เดก็ อายุ 1 ปี ถงึ อายุนอ ยกวา 6 ปี ดูโทรทัศนแเฉล่ียวันละ 1.9 ช่ัวโมง เด็กในกรุงเทพมหานครใชเวลาดูมากที่สุด วันละ 2.1 ช่ัวโมง ส หนึ่ง พอ แมและผเู ลยี้ งดไู มเ คยเลอื กรายการโทรทัศนใแ หเ ด็กดู ถึงรอ ยละ 40.1 (ลัดดา เหมาะสุวรรณ และ คณะ 2547) สรุปวา การอบรมเล้ียงดูเด็กปฐมวัย แมเป็นผูเลี้ยงดูหลักของเด็กปฐมวัย แมวาจะมีแนว ตายาย เป็นผูเล้ียงดูหลักของเด็กเพ่ิมข้ึน ดานอาหารและโภชนาการเด็กปฐมวัยไดกินนมแมตํ่ามาก การสงเสริม พัฒนาการพอแมใหความสําคัญกับการสงเสริมพัฒนาการการชวยเหลือตนเองมากกวาการสงเสริม พฒั นาการดานอ่ืนๆ กจิ กรรมสงเสรมิ การเรียนรขู องเด็กปฐมวยั เนน การเลน กบั เด็กมากกวากิจกรรมอนื่ ๆ 4. รูปแบบการอบรมเลย้ี งดเู ด็กปฐมวัยตามวิถีชวี ติ ไทย เด็กเป็นทรพั ยากรทมี่ ีความสําคญั และมีคา ตอการพฒั นาประเทศชาติ เด็กทเ่ี ติบโตอยางมีคุณภาพ เป็นความ คาดหวังของพอแมและครอบครัว แมวาสภาพเศรษฐกิจและสังคมไทยมีการเปล่ียนแปลงไป จากอดตี อยางมากจาก อดตี ครอบครัวไทยมีแมทาํ หนาที่ผูเลี้ยงดูหลกั โดยเฉพาะชวงทารกที่แมมีบทบาท สําคัญอยางยิ่งตอ เด็กในการอบรม เล้ยี งดูเดก็ ใหเด็กมีสุขภาพอนามัยที่ดี เจริญเติบโต มีพัฒนาการดี แต ปใจจุบันสังคมไทยเปลี่ยนแปลงเลียนแบบ วัฒนธรรมตะวันตก คูสมรสที่แตงงานแยกครอบครัวเป็น ครอบครัวเดี่ยว ประกอบอาชีพนอกบานท้ังสามีและภรรยา เมื่อภรรยาต้ังครรภแและคลอดบุตร แมวา กฎหมายของประเทศไทยไดใหความสําคัญตอการเล้ียงดูเด็กในระยะแรก ของชีวิตเด็ก โดยใหหญิงหลัง คลอดลุ าคลอดเพือ่ การเลี้ยงลูกแรกเกิดไดจนถึง 3 เดือน ใหแมไดมีเวลาอบรมเลี้ยงดู ลูกอยางใกลชิด ให ลูกไดกินนมแม ดูแลสงเสริมสุขภาพอนามัย สงเสริมพัฒนาการของเด็ก อยางไรก็ตามเมื่อครบ กําหนดการลาคลอด แมตองกลับไปทํางานจึงนําเด็กเล็กไปใหญาติพ่ีนองในตางจังหวัดดูแลแทนขณะท่ี ครอบครัวบาง ครอบครัวที่มีรายไดพอเพียงที่จะจางพ่ีเลี้ยงเด็กมาดูแลที่บานโดยยา ยาย คอยชวยเหลือ ดูแลจนเด็กอายุครบเกณฑแ เขาเรียนอนุบาลหรือศูนยแพัฒนาเด็กเล็ก โดยจะสงเขารับบริการโรงเรียน อนุบาลหรอื ศูนยพแ ัฒนาเดก็ ตอไป แตมี ครอบครวั บางครอบครวั จะนําเด็กเล็กเขารับบริการสถานรับเลี้ยง เด็กออ นในชวงเวลากลางวนั และรบั กลับบา นหลังเลิก งานตอนเย็น เปน็ ตน ในที่นข้ี อกลา วภาพรวมของการอบรมเล้ียงดูเด็กปฐมวัยตามวิถีชีวิตไทยท่ีมีการศึกษารูปแบบการ อบรม เลีย้ งดเู ด็กปฐมวยั ของสงั คมไทยใน 2 แนวคิด ดงั นี้
80 1. การศึกษาของดวงเดอื น พันธุมนาวนิ และคณะ (2528) แบงรปู แบบการอบรมเลี้ยงดูเป็น 5 แบบ ไดแ ก 1.1 การอบรมเล้ียงดูแบบรักสนบั สนุน คือ พอแมป ฏบิ ัติตอ เด็กดวยความรกั เอาใจใส ใกลชิด และทํา กจิ กรรมตางๆ รวมกบั เด็ก ชวยเหลอื สนับสนุนเด็กในสงิ่ ทีต่ องการทกุ อยาง 1.2 การอบรมเล้ียงดูแบบใหเหตุผล คือ พอแมอธิบายเหตุผลใหกับเด็กขณะที่สงเสริมหรือ ขัดขวาง การกระทําของเด็ก นอกจากน้ีพอแมมีการลงโทษและใหรางวัลแกเด็กอยางเหมาะสมกับการ กระทาํ ของเดก็ มากกวา ปฏิบัตติ อ เด็กตามอารมณขแ องตนเอง 1.3 การอบรมเลี้ยงดูแบบลงโทษทางจิตใจมากกวาทางกาย การลงโทษทางกาย หมายถึง การทําใหเด็ก เจ็บตัวโดยผูลงโทษใชอํานาจทางกายของตนขมเด็ก สวนการลงโทษทางจิตใจ หมายถึง การแสดงความไมพอใจ เสีย และประทวงท่ีเด็กทําผิด มีการใชวาจาวากลาวตักเตือน ผูลงโทษจะทํา เพกิ เฉย ไมสนใจใยดกี บั เด็กในชว ง 1.4 การอบรมเล้ียงดูแบบควบคุม คือ พอแมออกคําสั่งใหเด็กทําตาม แลวผูใหญดูแลตรวจ ตราใกลชดิ วา เด็กจะทาํ ตามหรอื ไม ถาเด็กไมทําก็จะลงโทษ สวนการควบคุมนอย หมายถึง การปลอยให เด็กรูจักคิดตัดสินใจ วาควรทําหรือไมควรทําส่ิงใด และเปิดโอกาสใหเด็กเป็นตัวของตัวเองบอยครั้ง โดย ไมเขาไปยงุ เก่ยี วกบั เดก็ มากนัก 1.5 การอบรมเลี้ยงดูแบบใหพ่ึงตนเองเร็วคือ การที่พอแมใหโอกาสลูกทํากิจกรรมตาง ๆ ดวยตนเอง ในชวี ติ ประจําวันดว ยตนเองภายใตก ารแนะนาํ และฝกึ ฝนจากพอแมห รือผเู ล้ยี งดูอ่ืน ๆ 2. การศึกษาการสังเคราะห์การอบรมเลี้ยงดูเด็กตามวิถีไทย 10 แบบ (ทิศนา แขมมณี และ คณะ 2536) ได้แก่ 2.1 การใหอิสระเชิงควบคุม เป็นการอบรมเล้ียงดูแบบน้ีผูใหญใหอิสระแกเด็ก เร่ิมต้ังแต อิสระในการ ตัดสินใจเรื่องตางๆ เก่ียวกับตนเอง ใหเด็กชวยตนเองโดยผูใหญคอยดูแลหาง ๆ เพื่อความ ปลอดภัยของเด็กเซน โอกาสเด็กเลือกอาหารเอง กินอาหารเอง แตงตัวเอง อาบนํ้า ใหอิสระในการเลน ซ่ึงเป็นการใหเด็กดูแลตนเองอยาง อิสระเพื่อลดภาระของผูใหญ อยางไรก็ตามความเป็นอิสระของเด็ก ลดลงเมื่อเด็กไปอยูศูนยแพัฒนาเด็กเล็ก เพราะเด็ก ตองปฏิบัติตามตารางกิจกรรมประจําวันที่กําหนดให เด็กจงึ ตอ งปรับตวั ใหเ ขา กับวถิ ชี ีวิตแบบใหม ทแ่ี ตกตา งจากวัด ชวี ติ ท่ีบา น 2.2 การควบคุมเชงิ ละเลย เปน็ การอบรมเล้ียงดูแบบผูใหญจะคอยควบคุมดูแลใหเด็กกินอยู หลับนอน โดยเด็กอยูในสายตาของผูใหญ การควบคุมไมเป็นการควบคุมทุกกระบวนการ หากพฤติกรรม ใดที่หามเด็กหรือบอก เด็ก แตเด็กเฉยหรือยังทําอยู บางคร้ังผูใหญก็ปลอยใหเด็กทําตอไป บางครั้ง เขมงวด การควบคุมของผูใหญไมคงเสน คงวา ข้ึนกับอารมณแของผูใหญ แตเม่ือเด็กเขาศูนยแพัฒนาเด็ก เด็กไดรับการควบคมุ ดูแลตลอดกระบวนการมากกวา ที่บา น 2.3 การยอมรบั แบบไมแสดงออกเป็นการอบรมเลี้ยงดูแบบผูใหญใหการยอมรับเด็ก โดยไม แสดงออก อยางชัดเจนทางพฤติกรรม เม่ือเด็กยังเล็ก ผูใหญจะแสดงความรักโดยการกอดจูบ แตเม่ือโต
81 ขนึ้ การสัมผสั ทางกาย จะลดลง การแสดงความรักและการยอมรับจะเปลี่ยนเป็นการแสดงออกทางวาจา และการกระทาํ เม่อื เด็กมีพฤติกรรม ในทางทีด่ เี ปน็ ทพ่ี อใจของผูใ หญ ผูใหญไมชมเชยแตจะเฉยและนิ่งซ่ึง เป็นการแสดงการยอมรบั เดก็ แตถาการกระทาํ ไมเ ป็นท่พี อใจ ผูใหญจะตกั เตือน ดุ วา ตี หรือสัง่ สอน 2.4 การเปน็ แบบอยาง เปน็ การอบรมเล้ียงดูแบบผูใหญใหเด็กเรียนรูจากเป็นแบบอยางของ ผูใหญทั้ง พฤติกรรมทางบวกและทางลบ โดยพฤติกรรมทางบวก เชน การแสดงคารวะผูใหญและ พระสงฆแ การชวยเหลือกันใน หมูเ พอื่ นบาน สว นพฤตกิ รรมทางลบ เชน การพูดไมจริงหลอกกัน และเห็น เป็นเรอ่ื งสนกุ 2.5 การใหเด็กสัมพันธแกับสภาพแวดลอมและรวมสถานการณแแลวเกิดการเรียนรูตาม ธรรมชาติเป็นการ อบรมเล้ียงดูแบบใหเด็กไดเรียนรูจากการสัมผัสและสัมพันธแกับสภาพแวดลอมที่เป็น บคุ คล สภาพแวดลอมทาง ธรรมชาติ สภาพแวดลอมทางจิตวญิ ญาณและสภาพแวดลอมทางวัตถุ เป็นตน การอบรมเลี้ยงดูแบบน้ี เด็กไดสะสม ประสบการณแจากการทํากิจวัตรประจําวัน การสังเกต การเรียนรู บทบาทของตนในครอบครัว การเรียนรูจากการมี สวนรวมในพิธีกรรมทางศาสนาและการทํามาหากิน การเรียนรูจากการเลนกับเพ่ือน และการเผชิญกับสถานการณแตาง ๆ จึงเห็นไดวาการเรียนรูของเด็กไป ตามธรรมชาตไิ มมแี บบแผน และขน้ึ กับความสมั พนั ธแท่ีใกลชิดของผใู หญ 2.6 การใชพ ฤตกิ รรมทางวาจาอยา งมาก และแสดงเหตุผลนอยในการอบรมเล้ียงดูเด็ก เป็น การอบรม เล้ียงดูแบบผใู หญใชพ ฤตกิ รรมทางวาจาโดยการบอก การตอบคําถาม การออกคําส่ัง การหาม การตกั เตือน การหลอก การขูและดุดา วิธีการเสริมแรงที่พอแมและครูผูดูแลเด็กท่ีโรงเรียนใชพฤติกรรม ทางวาจามากเหมือนๆ กัน วิธีการพูด ของผูใหญมีการชี้แจงเหตุผลนอย และสวนใหญเด็กมีการ ตอบสนองดวยวิธีนง่ั เฉยหรอื หลกี หาง 2.7 การใชอาํ นาจในการอบรมเลี้ยงดูเป็นการอบรมเลี้ยงดูท่ีผูใหญจะใชอํานาจทั้งวาจาและ ทาทาง เม่ือ เด็กทําส่ิงท่ีผูใหญไมพอใจ ผูใหญจะดุดาหรือลงโทษเด็กดวยการตีหรืองดรางวัล การใช อํานาจของผูใหญขึ้นอยูกับ อารมณแ เด็กเล็กจะไดรับโทษนอยและรุนแรงนอยกวาเด็กโต ครูและผูดูแล เด็กในศูนยแพัฒนาเด็กก็ใชอํานาจเชน เดียวกัน เมื่อออกคําส่ังแลวก็คาดหวังวาเด็กจะปฏิบัติตาม ซึ่งสวน ใหญเ ดก็ สามารถรับคําสัง่ และเชอื่ ฟงใ ดี 2.8 การไมคงเสนคงวา เป็นการอบรมเล้ียงดูเด็กท่ีผูใหญแสดงพฤติกรรมท้ังทางวาจาและ การกระทํา ไมคงเสนคงวาข้ึนอยูกับอารมณแผูใหญ ถาผูใหญอารมณแดีจะแสดงออกอยางหนึ่ง แตถา อารมณแไมดีจะแสดงออกอีก แบบหนึ่ง การอบรมเล้ียงดูในลักษณะนี้ พอแมอบรมส่ังสอนเด็กโดยใช อารมณแคอนขางมาก ไมค อ ยสนใจสาเหตขุ อง พฤติกรรมท่ีเป็นปญใ หาเหลาน้ัน 2.9 การมีผูดูแลเลี้ยงดูเด็กหลายคน ครอบครัวในชนบทยังมีลักษณะเป็นครอบครัวขยาย นอกจากการอบรมเลย้ี งดเู ดก็ แลว ยงั มีญาติพ่ีนองที่อาศัยอยูดวย เชน ปุู ยา ตา ยาย ปูา นา อา ที่มีสวน ดู ขณะเดยี วกนั ทม่ี ีบทบาทในการเลี้ยงดูนอ ง บางคร้ังเพื่อนบา นก็มีสวนรวมชวยเหลือเล้ียงดูเด็ก พอแมที่
82 มีบทบาทในการอบรมเล้ียงดูเด็กแลว ยังมีญาติพ่ีนองท่ีอาศัยอยู ในการอบรมเล้ียงดู ขณะเดียวกันท่ีมี บทบาทในการเล้ียงดูนอง\"ดว ย 2.10 การสนองความตอ งการของเด็กเปล่ยี นแปลงไปตามวัยของเด็ก เปน็ ลักษณะการอบรม เลีย้ งดูของพอแมท่ีจะแตกตางไปตามวัย และเพศของเด็ก เชน พอแมจะกอดรัดสัมผัสใกลชิดกับเด็กเล็ก แตเ มื่อเด็ก พอ แมท่ีจะแตกตางไปตามวัย วุฒิภาวะ และเพศของเด็ก เชน พอแมจะกอดรัดสัมผัสกับเด็ก นอยลง โดยเปลี่ยนเป็นการใชคําพูดและแสดงความสนใจแทน เม่ือเด็กโตข้ึนพอ อายุมากขึ้นพอแมจะ กอดรัดสัมผัสนอยลง โดยเปล่ียนเป็นการใชคําพูดและแสดงความมีเหตุผลรวมดวย หรือไมใชเหตุผล สําหรับเด็กหญิงพอแมจะสอนใหระมัดระวัง แมจะใชการลงโทษทางกายโดยอาจใชเหตุผลรวมดวย หรือไมใชเ หตุผล สําหรับเดก็ หญงิ พอ กริ ิยามารยาท ฝึกใหช วยเหลืองานบา น ขณะที่เดก็ ชายจะปลูกฝใงให เปน็ ผเู ขม แข็ง อดทน และ สรุปไดวารูปแบบการอบรมเลี้ยงดูเด็กในวิถีไทยมีหลากหลายรูปแบบ ท้ังนี้รูปแบบที่แตกตางกัน เป็นไปตาม ความคิด อารมณแ ประสบการณแของพอแม ผูเลี้ยงดู โดยสวนใหญขาดความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับพัฒนาการของเด็ก แตละชวงวัยซึ่งมีความแตกตางจากแนวคิดรูปแบบการอบรมเล้ียงดูเด็กของ ตางประเทศ แตบางรปู แบบมคี วาม คลา ยคลงึ กนั 5. แนวทางการอบรมเล้ยี งดเู ด็กปฐมวยั ตามวิถีชวี ิตไทย การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยตามวิถีชีวิตไทยในปใจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงจากอดีตคอนขางมาก ตาม สังคมเศรษฐกิจ และเทคโนโลยีปใจจุบันที่มีความกาวหนาอยางรวดเร็ว ดวยการเปิดรับวัฒนธรรม ตางชาตทิ ี่เขามาอยา งรวดเรว็ โดยผานส่ือตางๆ ตลอดจนขาดกลไกทางสังคมที่ทําหนาที่กล่ันกรองและให ความรูกับพอแมในการนําขอมูลท่ีรับไปใชในการอบรมเล้ียงดูเด็ก นอกจากนี้สภาพสังคมไทยในชนบท และสงั คมเมอื งมีความแตกตา งกนั อนั สงผลตอ แนวทางการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยบางเร่อื ง สําหรับแนวทางการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยตามวิถีชีวิตไทย ท่ีจะกลาวตอไปนี้ เป็น 10 แนว ตอไปน้ี 1.เรียนรแู้ ละแสดงบทบาทพ่อแม่ การอบรมเล้ยี งดเู ดก็ ปฐมวัยของพอ แม ครอบครัว ตามวถิ ชี วี ติ ไทยสว นใหญ มีจุดประสงคหแ ลกั 3 ประการ ไดแก ตองการใหเด็กมีสุขภาพดี มีกิริยามารยาทดี มีคุณธรรมท้ังทางกาย วาจา ในอดีตแมทําหนาท่ีผู เล้ยี งดูหลกั ของ เด็กปฐมวยั ดังนั้น เดก็ สว นใหญไ ดก ินนมและไดรับการเลยี้ งดูอยางทะนถุ นอมและใกลช ดิ ถา เปน็ ครอบครัวขยายท่ี มีปูุ ยา ตา ยาย อาศยั อยูรวมกันกจ็ ะใหความชวยเหลอื อบรมเลี้ยงดูเด็ก เมื่อพอ แมไมอยูบาน หรือทํางานนอกบาน แตปใจจุบันบทบาทของแมในการทําหนาที่ผูเลี้ยงดูหลักของเด็ก ปฐมวัยมีแนวโนมลดลงทั้งสังคมเมืองและสังคมชนบท ขณะท่ีปุูยาตายายทําหนาท่ีผูเล้ียงดูหลักของเด็ก ปฐมวยั เพม่ิ มากขน้ึ สาเหตุการท่ีแมลดบทบาทการทําหนาท่ีผูเล้ียงดูหลักของเด็กปฐมวัย เพราะสภาวะเศรษฐกิจท่ี ตอ งด้นิ รน ประกอบอาชีพเพ่ือความอยูรอดของครอบครัว สงผลใหแมตองชวยครอบครัวประกอบอาชีพ
83 หารายไดเพ่ือการดํารง ชีวิต ทําใหแนวทางในการอบรมเลี้ยงดูของพอแมเปล่ียนแปลงไปท้ังสังคมเมือง และสังคมชนบท ดังนี้ สงั คมเมือง พอแมสวนใหญทํางานนอกบาน อาจมีบางครอบครัวท่ีมีญาติชวยเหลือดูแลเด็กในชวงเวลากลางวัน ขณะท่ี ครอบครัวท่ีไมมีญาติชวยเหลือจะนําเด็กไปฝากสถานรับเล้ียงเด็กกลางวันดูแล และรับเด็กกลับ บา นหลงั จากเลิกงาน เชนเดียวกัน สําหรับครอบครัวที่มีภูมิลําเนาอยูตางจังหวัดจะสงเด็กกลับไปบานให ญาตเิ ล้ยี งดตู ง้ั แตวยั ทารก สังคมชนบท พอแมในชนบทท่ที าํ งานนอกบานและสถานท่ไี มห างไกลบานจะกลับมาดแู ลเดก็ หลังเสร็จจากการ ทําไรทาํ นา หรอื ทาํ งานนอกบา น แตก รณที พ่ี อแมอพยพยายถ่ินไปทํางานในกรุงเทพฯ หรือเมืองใหญ จะ ฝากเด็กปฐมวัยใหญาติ ไดแกปูุยา ตายาย ญาติ เลี้ยงดูแทน โดยจะสงคาใชจายมาใหและกลับมาเย่ียม เด็กเป็นชว งเวลาส้นั ๆ สําหรับบทบาทของพอในการอบรมเล้ียงดูเด็กปฐมวัยมีนอยโดยชวยเหลือแมดูแลเด็กเวลาแมไม อยูบา น เชน เลน กบั เด็ก พาไปเทยี่ ว อาบน้ํา ปอู นขาว เปน็ ตน 2. สรา้ งเสรมิ ความสุข วิถีการดําเนินชีวิตแบบไทย พอแมเลีย้ งดเู ดก็ ปฐมวัยดวยวถิ ชี วี ติ ธรรมชาติ โดยเฉพาะชวงแรกเกิด ถึงอายุ 2 ปี พอแมเล้ียงดูใกลชิดมีการสัมผัสทางกาย เชน การโอบอุม การจูบ ลูบหลัง ใหนอนหนุนตัก เหกลอม อาบน้ํา แตงตัวให ปูอนขาว และเวลานอนก็นอนกับพอแม เป็นตน นอกจากน้ียังมีการสัมผัส ทางวาจา ทาทาง เชน การ หยอกลอ เลานิทานหัวเราะรองเพลงใหฟใง และตักเตือน เป็นตน เม่ือเด็กโต ขึ้น พอแมจะสอนใหเ ด็กชว ยเหลือตนเอง และดแู ลเอาใจใสใ กลช ดิ ลดลง แตเ ด็กยงั อยใู นสายตาของผใู หญ คอยระวังไมใหเกิดอันตราย และความใกลชิดทําให เด็กรูสึกปลอดภัยไดเรียนรูทางสังคม มีการปรับตัว ไดเรียนรูจากพฤติกรรมและความสัมพันธแกับผูใหญ ไดรับรูถึง ความรูสึกรักและหวงใย ความผูกพัน ระหวางเด็กกับพอแมมีความลึกซึ้ง เด็กจึงมีความกตัญโูตอพอแม ทดแทน พระคุณพอแมโดยการดูแล เมอื่ พอ แมอ ายุมากข้ึน ซึ่งแนวทางการอบรมเล้ียงดูเดก็ แบบเสริมสรางความสุขของสังคม เมืองและสังคม ชนบทตา งกัน ดังน้ี สงั คมเมอื ง แนวทางการอบรมเด็กปฐมวัยในการสรางเสริมความสุขในสังคมเมืองมี 2 ลักษณะ ไดแก แบบ คาดหวังกบั เดก็ สูง หรือแบบทะนุถนอมมากเกินไป ครอบครัวแบบคาดหวังกับเด็กสูง ทั้งดานการเรียนรู ความประพฤติ และการประกอบอาชีพใน อนาคต พอแมจะอบรมเด็กแบบพอแมเป็นศูนยแกลาง เคียวเข็ญใหเด็กทําตามคําส่ัง กําหนดวิถีการ ดํารงชีวิตต้ังแตเกิด ชอบ หามเด็ก หรือใชคําวา “อยา” หามเด็กทําส่ิงตางๆ ดุดา หรือลงโทษ เมื่อเด็ก
84 คัดคาน ไมทําตามใจพอแม เม่ือเด็กทําดี หรือทําตามใจท่ีพอแมตองการ พอแมจะไมแสดงออกทั้งการ ชมเชยหรอื ใหร างวลั สวนใหญจะน่ิงเฉย สวนครอบครัวเล้ียงดูแบบถนอมมากเกินไป สวนใหญจะพบในครอบครัวท่ีมีบุตรนอย 1 หรือ 2 คน พอแม จะปกปูองเด็กมากเกินไป ไมใหเด็กไดรับความลําบากหรืออันตรายจนเด็กไมรูจักการชาง ปใก เหาดวยตนเอง คอยชวยเหลือทุกอยางไมใหโอกาสเด็กทําสิ่งตาง ๆ ดวยตนเอง คอยชี้แนะไมใหเด็กเลน กับเพื่อนๆเพราะกลัวถูกรังแกหรือเป็นอันตรายแมแตการกินอาหารจะไมปลอยใหเด็กกินอาหารเอง เพราะเกรงสกปรกเลอะเทอะ หรือกินไมอิ่ม จึงตองเดินตามปูอนอาหาร ผลที่เกิดกับเด็ก ไดแก เด็กจะ เตบิ โตเป็นเด็กทีต่ องพงึ่ พาผูอนื่ โดยเฉพาะพอแม เอาแตใจตนเอง หรอื เปน็ เดก็ วานอนสอนงาย ขาดความ เป็นตวั ของตวั เอง และขาดความเช่อื ม่นั ในตนเอง สังคมชนบท สภาพสังคมชนบทมีความแตกตางจากสังคมเมือง เพราะวิถีชีวิตไมตองแขงขัน ชีวิตเป็นไปแบบ ธรรมชาติ การเล้ียงดูแลเด็กใชภูมิปใญญาทองถ่ินในการเลี้ยงดู ท้ังเรื่องการกิน การนอน การเปล่ียนทา การขับถาย และการทําความสะอาดรางกาย ในการเลี้ยงดูอยางใกลชิดชวงเด็กแรกเกิด ถึงอาย 2 ปี ขึ้น ไปการดูใกลชิดลดลง การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยของพอแมมีลักษณะเป็นผอนปรน ไมเขมขนกับเด็กใน เรื่องตางๆ เป็นไปแบบปลอยปละละเลยมีความสนใจเก่ียวกับความเป็นอยูของเล็กลดลง ปลอยใหเด็ก เลนหรือกระทําตามใจตนเอง จึงทําใหบางครั้งเกิดเหตุอุบัติเหตุไดงาย นอกจากน้ีพอแมเล้ียงลูกตาม อารมณแไมคงเสนคงวา ดุวาเด็กตามอารมณแ ชอบพูดขูเด็กใหกลัวและกระทํารุนแรงกับเด็กเม่ือเด็กไมทํา ตามคาํ สั่งหรือส่ิงท่ีพอแมไมพอใจ ผลท่ีเกิดกับเด็กจากการเลี้ยงดูลักษณะน้ีทําใหเด็กเป็นคนไมมีระเบียบ วินัย ไมเคารพกฎเกณฑแ และชอบการกระทาํ ส่ิงตา ง ๆ ตา งตามใจตนเอง 3.ปลกู ฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรม พอ แมใ นสังคมไทยมแี นวโนม สอนและปลูกฝใงใหเ ดก็ เปน็ คนดี ไมดื้อ ไมเกเร เคารพผูใหญ ซ่ึงเป็น ขนบธรรมเนียมประเพณีท่ีถายทอดกันมาตั้งแตในอดีต จึงเป็นสวนหน่ึงท่ีสงผลใหเด็กไทยไมกลา แสดงออก การปลูกฝใงคุณธรรม จริยธรรมในสังคมเมืองและชนบทใหแกเด็กปฐมวัยมีความแตกตางกัน บางส่งิ ขณะทบี่ างสิง่ บางอยางคลา ยคลงึ กนั ซ่งึ จะกลา วพอสงั เขป ดงั นี้ สงั คมเมือง เน่ืองดวยสังคมเมืองจะมีครอบครัว 2 ลักษณะ ไดแก ครอบครัวท่ีมีการศึกษานอยหรือมีรายได นอย และครอบครัวทมี่ กี ารศกึ ษาสงู ฐานะเศรษฐกิจดี หรือปานกลาง ซ่งึ ลักษณะของครอบครวั ดงั กลาวมี ความเมตตาแตกตา งกนั ในการดแู ลเลยี้ งลกู ครอบครัวที่มีการศึกษานอยหรือมีรายไดนอย จะมีความเช่ือในเรื่องสิ่งศักดิ์สิทธิ์ วัตถุมงคล เครอ่ื งรางของขลงั และสงิ่ ท่มี องไมเ หน็ การเลี้ยงดเู ด็กบางอยางคลายสังคมชนบท เชน การไหวพระกอน นอน สวดมนตแในวันพระแตก ารทํากิจกรรมในวันประเพณตี าง ๆมีนอย ขณะที่การเป็นแบบอยางของการ แสดงทางคุณธรรม จริยธรรมมีนอย เชน การเมตตา การเอื้อเฟื้อ เผื่อแผตอคนอื่นๆสัตวแออนแอกวา
85 ความซอ่ื สตั ยแ และการมีจิตสาธารณะเห็นประโยชนแสวนรวมมากกวาประโยชนแสวนตน ซึ่งสาเหตุสนใหญ เนอื่ งจากตา งคนตา งมงุ ประกอบอาชีพ และหารายไดจ งึ ไมส นใจซึง่ กันและกัน สวนครอบครัวท่ีมีการศึกษาสูงฐานะเศรษฐกิจดี หรือปานกลางในสังคมเมือง พอแมสวนใหญให ความสําคัญกับศาสนานอย เม่ือเปรียบเทียบกับสังคมชนบท การอบรมเล้ียงดูเด็กปฐมวัยจะมุงเนนการ สอนเด็กในเร่ืองระเบียบวินัย กริยามารยาทสุภาพ ไมพูดคําหยาบคาย เคารพผูใหญ เชื่อม่ันในตนเอง กลา แสดงออก และความสอ่ื สตั ยแ แตบางครง้ั พอ แมในสงั คมไทยมีพฤติกรรมการแสดงไมสอดคลองกับกา ราสอนเดก็ สังคมชนบท ครอบครวั ชนบทจะใหค วามสาํ คญั ตอ กจิ กรรมทางศาสนามากกวาสงั คมเมือง พอแมพาเด็กเขาวัด ทําบญุ รวมพิธกี รรมทางศาสนาในสําคญั ทางศาสนา ทําใหเดก็ ไดเรียนรูและมีสวนรวมในกิจกรรมเหลานั้น บอยครั้ง นอกจากน้ีพอแมในชนบทจะสอนเรื่องมารยาทสุภาพเรียบรอย ไหวผูใหญ กลาวขอบคุณเม่ือ ไดร ับของ กลา วขอโทษและไมพูดโกหก เช่ือฟงใ ผใู หญ ชว ยผูใหญทํางาน ไมรังแกสัตวแ ไมพูดคําหยาบคาย หากเด็กมีพฤติกรรมไมเรียบรอย พอแมจะหามไมใหกระทํา ถาเด็กกระทําจะถูกดุวา ตี ขณะเดียวกัน ผใู หญก ็มพี ฤตกิ รรมบางอยา งทีไ่ มเหมาะสมกระทาํ ใหเ ดก็ เห็น เชน ด่มื สรุ า เลนการพนนั ซ้ือหวย ทะเลาะ ววิ าท และใชค วามรุนแรง เป็นตน ซึ้งไมสอดคลองกบั การสงั่ สอนเดก็ เชนกัน 4.พฒั นาความคิดสรา้ งสรรค์ การอบรมเล้ียงดูเด็กปฐมวัยใหมีการพัฒนาความคิดสรางสรรคแ เป็นสิ่งสําคัญท่ีจะสงผลตอการ พัฒนาการดานสติปใญญา การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยของพอแมสังคมไทยมีแนวทางสอนเด็กปฐมวัยไม ดอ้ื ไมซ น เชื่อฟใงผใู หญ จงึ เปน็ สวนหนงึ่ ทําใหเ ด็กไทยขาดความคิดสรางสรรคแ ซึ่งแนวทางการอบรมเลี้ยงดู เดก็ แบพัฒนาความคดิ ของสังคมเมอื งและสงั คมชนบทมีความแตกตา งกันดังนี้ สงั คมเมือง เนื่องดวยสังคมเมืองมีโอกาสเขาถึงแหลงจําหนายผลิตภัณฑแของเลน ส่ือสงเสริมพัฒนาการเด็ก มากกวาสังคมในชนบทพอแมจึงมีโอกาสเลือกซื้อของเลนส่ือสงเสริมพัฒนาการสํา เร็จรูปท้ังที่ผลิต ภายในประเทศและตา งประเทศไดง า ย แตสวนใหญพอแมจะขาดความเขาใจความสําคัญของการเลนกับ เด็ก และไมมเี วลาเลนกับเด็ก ปลอ ยใหเ ดก็ เลน ตามลําพงั คนเดียว หรือเลนกบั เพอ่ื นๆ สําหรับการเลานิทานและอานหนังสือใหเด็กฟใงในสังคมเมืองแมวาพอแมเขาถึงแหลงจํา หนาย หนังสือไดงาย แตความรูความเขาใจประโยชนแยังมีแตในกลุมพอแมที่มีความรูและสนใจการสงเสริม พัฒนาการเด็กดวยหนังสือ หรือ มีรายไดพอเพียงท่ีจะซื้อหนังสือใหเด็ก การเลือกซ้ือหนังสือจะข้ึนกับ ความสนใจของพอแมโ ดยเด็กมสี ว นรว มในการ เลอื กหนงั สอื นอ ย นอกจากน้ีพอแมในสังคมเมืองสวนใหญปลอยใหเด็กดูโทรทัศนแต้ังแตเล็ก บางครอบครัวติดต้ัง โทรทัศนแไว ในหองนอน และเปิดทิ้งไวใหเด็กดูขณะท่ีพอแมทํางาน เพ่ือทําใหเด็กสนใจโทรทัศนแและไม รบกวนพอแม เด็กไทยจึง ติดการดูโทรทัศนแรายการที่พอแมเลือกใหเด็กดูสวนใหญเป็นประเภทการแตูน
86 ปใจจบุ ันมีพอแมจาํ นวนมากใหเด็กดู ละครโทรทัศนแพรอ มพอแมโ ดยไมม ีการคัดกรองประเภทของละครวา เหมาะสมกับเด็กหรือไม และไมมีการแนะนําเด็ก ดังนั้นจึงพบวาเด็กมักเลียนแบบการแสดงพฤติกรรม และคาํ พูดหยาบคาย รนุ แรง กาวรา ว เหมือนนักแสดงในละคร สังคมชนบท พอแมไมคอยสนองตอบตอความสนใจของเด็กในสิ่งใดสิ่งหน่ึง สวนใหญจะมองไปทางลบ เชน ตอบสนอง แบบไมคอยเต็มใจ เฉยๆ หามทําส่ิงนั้นๆ ไลใหไปทําส่ิงอ่ืน หามเด็กทํา แตถาเป็นเร่ืองสอน อานเขียน นบั เลข พอ แม จะสงเสรมิ สนบั สนุนใหเ ดก็ กระทาํ การเลา นิทาน และอา นหนงั สือกบั เดก็ ปฐมวัยมีนอยมาก หนังสือนิทาน หนังสือภาพสําหรับเด็กมี นอ ย สวน ใหญจะมีหนังสอื สอนก.ไก ข.ไข ฝึกใหเด็กเขียน พอ แมย งั ขาดความเขาใจความสําคญั และวธิ ีใช นิทานและหนังสือใน การพัฒนาความคิดสรางสรรคแของเด็ก โดยพอแมจะเลานิทาน อานหนังสือใหเด็ก เมือ่ เดก็ พูดไดเ ทา นั้น เพราะคดิ วา เด็กยังไมเขา ใจภาษา พอแมในชนบทจะเนนการฝึกใหเด็กชวยเหลือตนเอง หรือสอนเด็กชวยผูใหญทํางาน ตั้งแตเด็ก อายุ 3 ปี ข้ึนไป เชน อาบนาํ้ แปรงฟนใ ลางจาน เกบ็ ของ เป็นตน 5. ฝกึ ภาษาใหถ้ กู ต้อง เด็กแรกเกิด ถึงอายุ 1 ปี พอแมสวนใหญจะยังไมอบรมเด็ก เพราะเขาใจวาเด็กยังไมพรอม ไมรู ภาษา ฟใง ใจ และจะสอนเมื่อเด็กอายุ 1 ปีข้ึนไป เพราะเด็กเริ่มพูดไดเป็นคํา ๆ ซึ่งแนวทางการอบรม เล้ียงดเู ด็กแบบฝึกภาษา ใหถ กู ตองนัน้ สังคมเมืองและสังคมชนบทมคี วามแตกตางกัน ดงั นี้ สงั คมเมือง พอแมในสังคมเมืองฝึกสอนใหเด็กพูดคลายสังคมในชนบท แตบางครอบครัวพอแมไมสอนใหพูด ภาษาทองถิ่น แตสอนใหพูดภาษากลาง เพื่อใหเด็กคุนเคยและพูดภาษกลางไดชัดเจนเมื่อเด็กเขา โรงเรียนปใจจุบันพอแมในสังคมเมืองใหญ โดยเฉพาะกรุงเทพมหานคร มีการศึกษาสูงหรือมีรายไดสูงมด เด็กพูดภาษาไทยควบคูภาษาอังกฤษต้ังแตเด็กเร่ิมหัดพูดมากขึ้น โดยมุงหวังใหเด็กเกงดานภาษา มี สําเนียงการพูด เหมือนชาวตางประเทศ พรอมท้ังสนับสนุนใหเด็กเขาเรียนในโรงเรียนอนุบาล ที่สอน 2 ภาษา คือ ภาษาไทย และ ภาษาอังกฤษ หรือโรงเรยี นนานาชาติ สังคมชนบท ในชนบทเด็กปฐมวัยเรียนรูการใชภาษาทองถิ่นจากพอแมและครอบครัว โดยพอแมพูดภาษา ทองถิ่นระหวางบุคคลในครอบครัวและพูดภาษาทองถิ่นกับเด็ก โดยเด็กจะเร่ิมเรียนรูการพูดภาษาภาค กลางเมือเด็กเขาศนู ยแพัฒนาเดก็ สําหรับเดก็ เลก็ แมจะพูดคุยกับเด็กขณะใหนมลูก อาบน้ํา ทํากิจวัตรประจําวันใหกับเด็ก เน้ือหา ทีพ่ ดู เชน เรียกชอ่ื พดู เรอื่ งท่วั ไปในชีวติ ประจาํ วัน และหยอกลอกบั เด็ก เมื่อเด็กเร่ิมหัดพูดจะสอนใหเด็ก พูดคาํ ส้ันๆงาย ๆ เชน คําวา พอ แม ตา ยาย พ่ีช่ือสัตวแเล้ียงในบาน โดยเชื่อวาพูดบอยๆ เร่ือย ๆ เด็กจะ
87 พดู ไดเรว็ ข้ึน รวมทง้ั สอนการพดู จา ท่ีสุภาพไมพ ูดหยาบคายถาเดก็ พูดไมชัด พอแมและครอบครวั บางคร้ัง พูดลอเลนเดก็ ดวยการเลยี นคาํ พูดท่ีไมชัดตาม 6. สง่ เสริมการเล่น ออกกาลังกาย และการพกั ผอ่ น การเลน การออกกําลังกาย และการพักผอน มีสว นสาํ คญั ที่มีผลตอ พัฒนาการของเด็ก สังคมไทย จะเนน ให เด็กปฐมวยั ไดม โี อกาสออกกําลงั กายดว ยการว่งิ เลน และนอนหลับพักผอนในชวงเวลากลางวัน การสงเสริมการเลน ของเด็กปฐมวัยมีความแตกตางกันบางระหวางสังคมชนบทและสังคมเมือง ซึ่ง แนวทางการอบรมเล้ียงดูแบบสงเสริม การเลนออกกําลังกายและการพักผอนของสังคมเมืองและสังคม ชนบทมีความแตกตางกนั ดงั นี้ สังคมเมือง พอแมในสงั คมเมอื งมีคา นยิ มซือ้ ของเลน สาํ เร็จรปู ใหเดก็ ปฐมวัยเลน โดยเลอื กตามความสนใจของ เด็ก ตัวอยางของเลนไดแก ตุ฿กตาโมบายมีเสียงตัวตอ ชุดจําลองบทบาทสมมติรถเด็กเลนรถลากจูงสมุด วาดภาพระบาย สี เป็นตน การละเลนของเด็กในสังคมเมืองเป็นกิจกรรมการเลนที่มีลักษณะการออก กําลังกายนอยกวาเด็กในสังคม ชนบท เด็กในสังคมเมืองจะเลนตามลําพังหรือเลนกับพี่นองภายในบาน เพราะพอ แมไ มปลอ ยใหเ ดก็ ไปเลน นอกบาน เกรงวาเดก็ จะไมปลอดภยั สังคมชนบท เด็กมีโอกาสเรียนรูอยางมากจากส่ิงตางๆ ในธรรมชาติ ดังน้ัน การเลนของเด็กสวนใหญยังเป็น การเลนโดย อาศัยของเลนทีท่ ําจากวสั ดุธรรมชาติหรือเศษวัสดุเหลือใชหรือหาไดในทองถ่ิน สวนของเลน บางอยางที่เป็นของเลน สําเร็จรูปประเภทพลาสติกพอแมจะซื้อจากตลาดนัดมาใหเด็กเลนบางอยางไรก็ ตามพอแมสวนใหญไมเขาใจประโยชนแ ของของเลนแตละชนิดท่ีมีตอพัฒนาการเด็กปฐมวัยตัวอยางของ เลน เด็กทีน่ ิยมเลนในชนบทไดแกโมบายปลาตะเพยี น ลกู บอลจกั รยานมากานกลวยรถเด็กเลนตัวตอ ของ เลนลากจูงต฿ุกตา เป็นตน สวนการละเลนของเด็กในสังคมชนบท เป็นแบบงาย ๆ เด็กชอบเลนเป็นกลุม เด็ก ๆ ในละแวกบานใกลเคียงกัน การเลนมีท้ังการสํารวจสิ่งแวดลอมรอบตัว ตนไม สัตวแ การเลน บทบาทสมมติ และการทดลองผดิ ลองถกู เป็นตน สําหรับการพักผอนของเด็กปฐมวัย พอแมสวนใหญจะไมใหเด็กนอนกลางวันมาก เพราะเชื่อวา กลางคนื เด็ก จะไมย อมนอน รวมทง้ั ไมใหนอนกอ นตะวันตกดิน เพราะเป็นชวงผีจร จะทําใหเด็กงอแง ไม สบาย นอกจากนี้มีความ เชือ่ วา การตบศรี ษะเด็กจะทาํ ใหเ ดก็ นอนปสใ สาวะรดที่นอน 7.สร้างสิ่งแวดล้อมทีด่ ใี หก้ ับเด็ก ในอดตี ครอบครวั ไทยมีลกั ษณะครอบครวั ขยายมปี ยูุ า ตายายญาตชิ วยเหลือดแู ลกนั และกันภายใน ครอบครัว เมื่อมีเด็กเล็กสมาชิกทุกคนในครอบครัวจะชวยกันดูแลเด็ก ใหความรักความอบอุนแกเด็ก ตลอดจนอบรมสัง่ สอนเด็ก ภายใตบรรยากาศทีเ่ อ้ืออาทรกันและกัน เด็กมีเพื่อนเลนทั้งท่ีเป็นวัยเด็ก และ วัยผูใหญ เด็กจะมีของเลนที่พอแม และ ญาติภายในครอบครัวทําใหเลน แตในปใจจุบันครอบครัวเป็น ครอบครัวเด่ียวมากขึ้น พอแมมุงประกอบอาชีพมากขึ้น บรรยากาศความเอ้ืออาทรลดลง ตางคนตางอยู
88 มากขึ้น สภาพแวดลอมของครอบครัวในสังคมไทยท้ังสังคมเมืองและ ชนบทมีความแตกตางกันไป ซึ่ง แนวทางการอบรมเล้ียงดูแบบสรางส่ิงแวดลอมท่ีดีใหกับเด็กของสังคมเมืองและสังคม ชนบทมีควา ม แตกตา งกนั ดังน้ี สงั คมเมือง สภาพสังคมเมืองสวนใหญเป็นครอบครัวเด่ียวมากกวาครอบครัวขยาย และพอแมทํางานนอก บา น ในชวง \"เด็กแรกเกดิ จนถึงอายุ 3 เดือน แมดูแลเด็กจนครบกําหนดการลาคลอด หลังจากน้ันจะนํา เด็กไปฝากสถานรับเลี้ยง เด็กกลางวันและรับกลับบานหลังเลิกงาน เมื่อเด็กอายุครบตามเกณฑแเขารับ บริการจะสงเด็กเขาโรงเรียนอนุบาล ส่ิงแวดลอมสวนใหญของเด็กชวงกลางวันจึงเป็นสถานท่ีอ่ืนที่ไมใช บานของตนเอง ผูเ ล้ยี งดเู ด็กจึงไมใชพอแม และ เน่ืองจากจํานวนเด็กในสถานรับเลี้ยงเด็กมีหลายคนการ ดแู ลเอาใจใสใกลช ิดจงึ นอยเม่ือเปรียบเทียบกับการดูแลเอาใจ ใสจากพอแม เด็กจึงไดรับการดูแลใกลชิด โดยพอ แมในชวงเวลากลางคนื เทา น้นั หรือวนั หยดุ ของพอ แม สําหรับการใชเพลงกลอมเด็กจะมีนอย โดยพอแมจะเปิดเพลงจากวิทยุ หรือเครื่องเลนซีดี หรือ โทรทัศนแให เด็กฟใงแทนเสียงของพอแม เด็กในสังคมเมืองจึงคุนเคยกับการดูโทรทัศนแ และเครื่องเลนซีดี ต้งั แตแ รกเกดิ นอกจากน้ีสภาพความเป็นอยูของครอบครัวในสังคมเมืองจะมีลักษณะตางคนตางอยู แมบานอยู ติดกนั แต จะไมม ปี ฏิสัมพันธแกัน เด็กเล็กจะอยูเฉพาะในบริเวณบาน พอแมจะหามไมใหเด็กเลนนอกบาน เพราะกลวั วา จะไมปลอดภยั สวนใหญพ อ แมจะพาเด็กไปสรรพสินคาในวันหยุดงาน หรือเยี่ยมญาติ สงั คมชนบท แมวาสังคมชนบทมีลักษณะครอบครัวขยายมากกวาครอบครัวเดียว แตสวนใหญพอแมทํางาน นอกบานหรือ ทํางานตางถิ่น และใหเด็กอยูในความดูแลของปูุยา ตายาย หรือญาติ ทั้ง ๆ ท่ีเด็กปฐมวัย เป็นวัยท่ีตองการพอแม เอาใจใสดูแลใกลชิด แตเมื่อมีปูุยา ตายาย ผูสูงอายุเหลาน้ีจะดูแลแทนพอแม ในชวงเด็กแรกเกิด-อายุ 2 ปี เด็กจะได รับการดูแลใกลชิดและไดรับการเล้ียงดูแบบตามใจจากปุูยา ตา ยายเป็นสวนใหญ เม่ือเด็กอายุ 2 ถึง 3 ปี ข้ึนไป ปูุยา ตายายสวนใหญเป็นผูสูงอายุ จะปลอยใหเด็กเลน ตามลําพงั หรือปลอ ยให ดโู ทรทศั นแ และเมอ่ื อายุครบเกณฑแท่ีศูนยแ งานนาเด็กเล็กรับเขาบริการ จะนําไป ฝากศนู ยพแ ัฒนาเด็กเล็กใกลบ า นดแู ลในเวลากลางวนั และรับกลบั ในเวลาเยน็ การใชเพลงกลอมเด็กในชนบทมีการใชเพลงกลอมเด็กบางแตนอยลง เพราะไมมีเวลาดูแล สวน ใหญจะเปิดเพลงจากวิทยุหรือโทรทัศนแใหเด็กฟใง ยา ยาย ท่ีเล้ียงดูเด็กเป็นผูใชเพลงกลอมเด็กพื้นบาน มากกวาแม สภาพสังคมในชนบทยังมีความเอ้ืออาทรกันและกัน แตละครอบครัวจะรูจักกันดี เด็กจึงมีเพ่ือน เลนทั้งวยั เดียวกันและตา งวัย 8. ใหแ้ รงเสริมและการลงโทษ
89 การใหแ รงเสริมและการลงโทษในวถิ ีชวี ติ ของสงั คมไทย ท้ังสังคมเมืองและสังคมชนบทคลายคลึง กันมาก ไม คอยแตกตางกัน เด็กอายุตํ่ากวา 1 ปี สวนใหญแมจะดูแลใกลชิด แสดงการกอด ตอบสนอง เดก็ เมอื่ เด็กรอ งไหง อแง แสดงความรกั ตอเด็ก สอนเด็กใหพูด นง่ั เดิน ชว ยเหลอื ตนเอง ถาเด็กทําสิ่งท่ีพอ แมพอใจ จะชมวา เกง ย้ิมปรบมือ หรือกอด หอมแกม ถาหากเด็กทําส่ิงที่พอแมไมพอใจจะลงโทษดวย การแสดงสีหนา ไมพอใจพรอมใชเสยี งดดุ ัน สําหรับเด็กอายุ 1 ปี ข้ึนไป เด็กจะแสดงความเป็นอิสระมากข้ึน ซุกซน ด้ือ ชอบถาม พอแมจะ ตอบสนองตอคาํ ถามของเดก็ ไดหรอื กําลังทํางาน การแสดง ออกปฐมวัยพอแมยังโอบกอดอุมบาง แตเมื่อ เด็กอายุ 3 ปี ขึ้นไป การโอบกอด สัมผสั ทางกายเด็กจะลดลงการแสดงออกของพอแม เมื่อเดก็ ทําส่ิงท่ีพอ แมพอใจ คือ การพูดชมเชย ใหรางวัล ปรบมือ แตถาเด็กทําส่ิงท่ีพอแมไมพอใจพอแมจะลงโทษเด็กดวย กาดวุ าเสียงดงั ตักเตอื น ส่งั สอน หรือ ตีท่ีตวั สว นใหญท่มี อื หรอื กน 9. เอาใจใส่ ดูแลสขุ ภาพ การเล้ียงดูชวงวัยทารกทั้งสังคมเมืองและสังคมชนบทคลายคลึงกันโดยแมมีบทบาทสํา คัญ มากกวาพอหรือบุคคลอ่ืนในครอบครัว เด็กไดกินนมแม เพราะแมเชื่อวานมแมมีประโยชนแกับเด็ก ทําให เดก็ แข็งแรง และไดรับการเล้ียงดูใกลชิด อยางไรก็ตาม ในทางปฏิบัติการเอาใจใสในเร่ืองสุขภาพของลูก อาจมคี วามแตกตา งกันบางระหวา ง ครอบครวั ในสงั คมเมอื งและสงั คมชนบท แมเจาหนาที่สาธารณสุขจะใหความรูแกแมใหลูกกินนมแมอยางเดียวใน 6 เดือนแรก และไมให กินอาหารอื่น จนกวาเด็กอายุ 6 เดือนขน้ึ ไป แตพบวา ในชนบทแมยังคงมีความเช่ือการใหเด็กกินขาวบด กับกลวยน้ําวา เม่ือเด็กอายุ 2-3 เดือน โดยผสมขาวสุกผสมเกลือเล็กนอย บดกับกลวยนํ้าวาสุกงอมที่ เลือกเฉพาะเน้ือกลวยไมใชไสกลวย พอแม ในชนบทบางแหงจะใหขาวเด็กกิน ขาวยํา คือ การเคี้ยวขาว ใหล ะเอียด หรืออาจมกี ลวยดว ย แลวคายออกมาปูอน เด็ก การใหเด็กกินกลวยหรือขาวกอนวัยที่สมควร จะมีความเช่อื วา ทาํ ใหเดก็ อิ่มทอ งมากกวากนิ นมแมอยางเดยี ว เมือ่ เดก็ อิ่มทอ งจะไมร อ งกวนโยเย ไมยอม นอน ความรูเก่ียวกับอาหารเด็กสวนใหญไดรับคําแนะนําจากยา ยายญาติหรือ เพื่อนบานที่มี ประสบการณแการเล้ียงเด็ก พอแมจะฝึกใหเด็กกินอาหารดวยตนเอง โดยใหกินอาหารเป็นเวลา เม่ือเด็ก อายุ 1 ปี ขน้ึ ไป เพราะเด็กพดู รเู รอ่ื ง แตการกินอาหารยังไมเ ปน็ ระเบียบเรียบรอย พอแมสวนใหญยังเดิน ปูอนอาหาร เด็กนอกบาน เพ่ือใหเด็กกินอาหารไดมาก เด็กอายุ ประมาณ 9 เดือน บางคนฟในซี่แรกขึ้น หรอื เด็กเรมิ่ หัดยนื หรือ ตัง้ ไข เด็กอาจมอี าการตวั รอ น สํารอก และทองเสีย สังคมไทยมีความเชื่อวา หาม ทัก ถือวา ถา ทักเด็กจะทองเสียมาก ครง้ั เทา กับจํานวนครัง้ ท่ีทกั ในการสงเสริมพัฒนาการเด็ก พอแมสวนใหญจะถามจากเพื่อนบาน ญาติ หรือเจาหนาที่ สาธารณสขุ การ สง เสริมพฒั นาการเด็กของพอแม เชน การที่เด็กยืนไดเป็นครั้งแรกหรือต้ังไข ตอมาเด็ก จะกาวเดิน พอแมจะมีความ เชื่อวา หามพยุงเด็กใหเดินเพราะจะทําใหเด็กไมรูจักชวยตนเอง แตจะมีวิธี หัดสอนเดิน ดวยการใหเด็กยืนพิงฝาผนัง แลวเอาหลังและแขนยันฝาผนังพยุงตัวเองแลวทําทากาวยาง ผูใหญค อยขางหนา เดก็ ระยะไมห างมากอาแขนทําทารับ เด็กจะกาวโผเขามาหา ครั้งแรกๆ จะกาวได 12
90 กา ว แลวลม ลง โดยผูใ หญคอยระวังและรบั เด็กอยาใหลม ลง แลวให เด็กทําทากาวใหม ขณะท่ีเด็กทรงตัว ผูใหญจะรอง “ต้ังไขลม จะตม ไขกิน ไขตกดนิ จะกนิ เสียเนอ ” ซ่งึ การรอ งจะชว ย ใหเ ด็กเพลนิ และเผลอตัว จะไดรจู ักยืนทรงตวั และกาวเดนิ ได เมอื่ เด็กกาวเดินไดพอสมควรแลวบางครอบครัวจะทําไม เป็นวงเวียน ที่เรียกวากระแตเวียนใหเด็กเกาะเดินหมุนตัวเองเพื่อใหแข็งแรงและคลองแคลวขึ้นสวนการดูแลเม่ือเด็ก เจ็บปุวยสวนใหญพาเด็กไปพบแพทยแใกลบานถาเจ็บปุวยไมรุนแรงเชนหวัด หรือมีไขตัวรอนพอแมจะซ้ือ ยาแกห วดั ลดไขใหเ ด็กกินในระยะแรก ถา ไมท เุ ลาจะพาเด็กไปพบแพทยแ 10. ป้องกันอบุ ัตเิ หตุ ครอบครัวในสังคมเมืองและชนบทมีแนวทางการอบรมเล้ียงดูเด็กเล็กเพ่ือปูองกันอุบัติเหตุคลาย ๆ กัน โดย เมื่อเด็กแรกเกิด ถึงอายุ 2 ปี พอแมจะดูแลใกลชิด ไมปลอยใหเด็กอยูตามลําพัง แตถาตอง ทํางานบานหรอื มีภารกิจ นอกบานจะนําเด็กไปดวย ในเร่ืองการจัดสถานที่นอนของเด็ก ถาไมมีเตียงเด็ก พอ แมจ ะใหเด็กนอนบนเบาะทนี่ อนนุม ๆ และวางไวบนพืน้ ราบ แตถา ครอบครัวมีเตียงเด็กจะใหเด็กนอน ในเตียงและมีที่กั้นเตียงสูงเพื่อปูองกันเด็กตกเตียง เม่ือ เด็กเร่ิมคลาน หรือเดินได พอแมสวนใหญจะนํา เด็กใสไ วใ นรถพยงุ ตวั เดก็ หรือเรยี กทวั่ ไปวา รถหัดเดิน เพื่อใหเดก็ อยูในที่จาํ กดั ไมซ กุ ซน โดยพอ แมไ มรวู า อาจทาํ ใหเ ดก็ เกิดอันตรายพลกิ ควํ่าไดงายในการปอู งกนั อบุ ัติเหตุ ท่ีจะเกิดกับเด็กปฐมวัยจากการเดินทาง มีนอยมากพอแมที่เดินทางโดยรถจักรยานหรือจักรยานยนตแพรอมเด็กปฐมวัย มักจะไมใสหมวกกันน็อค ใหกับเด็กเป็นสวนใหญ สรุปไดว า แนวทางการอบรมเลี้ยงดเู ดก็ ปฐมวยั ตามวถิ ีชีวิตไทยมีการเปลี่ยนแปลงไปจากอดีต แม ยังมีบทบาท อบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยแตมีแนวโนมลดลง สังคมเมืองและสังคมชนบทมีการอบรมเด็ก ปฐมวัยแตกตางกัน เดก็ ใน ชนบทยังไดรับการเล้ียงดูอิงธรรมชาติมากกวาสังคมเมือง แตโดยทั่วไปพอแม ยังขาดความรูความเขาใจในการอบรม เล้ียงดูเด็กปฐมวัยท่ีเหมาะสมกับพัฒนาการเด็ก โดยเด็กเล็กจะ ไดร บั การเลีย้ งดใู กลชดิ เดก็ โตพอแมจะปลอ ยให ชวยเหลือตนเองมากกวา 6.รูปแบบการอบรมเลี้ยงดเู ด็กปฐมวัยในยคุ ปจั จุบัน นับตั่งแตประเทศไทยมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ สภาพสังคมไทยมีการ เปลี่ยนแปลงไปอยาง มาก ทั้งดานเศรษฐกิจ ประชากรสังคม และวัฒนธรรม มีการแขงขันกัน เพื่อเพ่ิม รายไดตอ หัวของประชากร หนุมสาว วยั ทาํ งานทง้ิ อาชีพเกษตรกรรมทํานา ทาํ ไรทาํ สวนไปทาํ งานในเมือง ใหญท่ีมีโรงงานอุตสาหกรรมและมีรายไดมากกวา ในชนบทองเหลือแตผูสูงอายุและเด็ก ผลกระทบ ดังกลาวสงผลกระทบอยางมากตอสถาบันครอบครัวและเด็กปฐมวัย ซึ่งเป็นกลุมประชากรที่ไดรับ ผลกระทบรุนแรงทสี่ ุด เพราะเด็กปฐมวยั ไมสามารถดูแลตนเองไดตองพึ่งพิงการเลี้ยงดู จากพอแมจึงอาจ กลาวไดวารูปแบบการอบรมเลี้ยงดูในยุคปใจจุบันเป็นการผสมผสานระหวางรูปแบบการเลี้ยงดูแบบ รถ ชีวิตไทยกับรูปแบบการเลย้ี งดูตามวัฒนธรรมตะวนั ตก ซ่งึ สามารถแบงออกเป็น 7 ลักษณะ ดังจะไดกลาว ตอ ไปน้ี
91 1. การเปน็ แบบอยา่ งการอบรมเลย้ี งดแู บบน้เี ดก็ เรียนรูจากการเลียนแบบพฤติกรรมของพอแมผู เล้ียงดูใน ครอบครัวผูเลี้ยงดูในศูนยแพัฒนาเด็กเล็ก ตลอดจนส่ือจากการภาพโฆษณาละครโทรทัศนแ ซ่ึง พฤติกรรมมีทั้งทางบวก และทางลบ โดยพอแม และผูเลี้ยงดูในครอบครัวขาดการแนะนํา ตัวอยางการ เป็นแบบอยางทางบวก เชน การแสดง ความเคารพผูใหญ พระสงฆแและการเขาแถวตามลําดับกอนหลัง เป็นตน และแบบอยางทางลบ เชน การพูดโกหก ท่ี ผูใหญหลอกเด็กใหกลัวเพราะเห็นวาเป็นเรื่องสนุก การทะเลาะวิวาท การเลนการพนัน การดื่มสุรา การรับประทาน อาหารไมมีประโยชนแ จําพวกนํ้าอัดลม ขนมกรบุ กรอบ ลูกอม และอาหารจานดว น เป็นตน 2. การควบคุมแบบปล่อยปละละเลยการอบรมเล้ียงดูแบบน้ี พอแมเนนใหความสนใจทางดาน การกิน การนอนการปฏิบัติกิจวัตรประจําวัน โดยออกคําส่ังใหเด็กกระทํา ดวยวาจา ควบคุมกํากับดวย การสังเกตหรือถาม ถาหากเด็กไมทําตามคําส่ัง ในบางครอบครัวพอแมเขมงวดบังคับใหเด็กปฏิบัติตาม คาํ สง่ั แตบ างครงั้ ก็ปลอ ยเด็กอาจ เป็นเพราะขาดความสนใจจริงจัง หรอื มีงานอื่นที่กาํ ลังทําอยู 3. การเล้ียงดูแบบปล่อยปละละเลยไม่สนใจการเลี้ยงดูแบบน้ีจะพบในกลุมพอแมวัยรุนท่ีไม ตอ งการมีบตุ ร ครอบครัวแตกแยก หรือหยาราง พอแมจะขาดความสนใจเด็ก หรือปลอยเด็กอยูในความ ดูแลของปยุู าตายาย ญาติ พีน่ องโดยไมส นใจทจี่ ะอบรมเลยี้ งดูเดก็ หรอื ปลอยใหพเ่ี ลีย้ งนอ งตามลําพงั 4. การยอมรบั แบบไมแ่ สดงออก พอ แมใ นสังคมไทยแสดงออกในการยอมรับเด็กเม่ือเด็กเล็ก ดัง จะเห็นได จากพอแมจะแสดงออกดวยการกอดรดั การหอมแกม แสดงใหเด็กรูวาพอแมรัก แตเมื่อเด็กโต ขึ้น การแสดงออก ทางการยอมรับเด็กดวยการกอดรัด เหมือนเด็กเล็กนอยลงถาเด็กกระทําดี พอแมจะ น่ิงเฉยไมชมเชย หรือแสดงออก ใหเด็กเขาใจโดยคิดวากลัวเด็กเคยตัวเด็กรูแลววารักไมจําเป็นตอง แสดงออก แตถาเดก็ กระทาํ ไมเ ปน็ ทพ่ี อใจ พอแม พอแมไมรัก จะดุวา ท่ีอาจควบคูกับการสั่งสอนหรือไม มกี ารสั่งสอน ซ่ึงการกระทําดงั กลา วทาํ ใหเ ดก็ เกิดความสบั สนวาและคิดวา พอแมไ มรกั 5. การเลี้ยงดูแบบตามใจเป็นรูปแบบการเลี้ยงดูที่พอแมแสดงความรักลูกดวยการตามใจเด็ก แมวาสิ่งทเี่ ดก็ กระทาํ เปน็ ส่งิ ไมสมควรกระทํา พอ แมม ักคิดวาการตามใจเป็นการแสดงใหเด็กเขาใจวาพอ แมรัก บางครั้งการเลี้ยงดู แบบตามใจของพอแมเป็นการทดแทนเวลาท่ีพอแมไมมีเวลาใหเด็กขาดความ ใกล ปลอยใหเ ด็กอยกู บั ปุยู าตายายหรือพเี่ ลยี้ งดแู ทน เป็นตน 6. การเล้ียงดูแบบไม่คงเส้นคงวาการอบรมเล้ียงดูแบบน้ีพอแมจะแสดงพฤติกรรมตอเด็กไม แนนอนขนอยู กับอารมณแของพอแมในแตละชวงเวลาขาดเหตุผลสนับสนุนบางคร้ังเด็กกระทําเป็นที่ พอใจของพอแมพอแมจะชมเชย แตบางครั้งพอแมกลับเพิกเฉยไมสนใจหรือบางครั้งดูวา ทําใหเด็กมี ความสับสน 7. การเล้ียงดูแบบคาดหวังสูงการอบรมเล้ียงดูแบบน้ีพอแมมีการต้ังเปูาหมายลวงหนาวาเด็ก ตอ งเปน็ อยางทีค่ าดหวัง เชน เดก็ เกง และฉลาด พอ แมจ ึงคอยควบคุมกาํ กบั บงั คับใหเ ดก็ ปฏิบตั ิตามทพี่ อ แมต อ งการโดยไมคดิ ใหอิสระเดก็ คดิ และตัดสนิ ใจดวยตนเอง
92 ในยุคปใจจุบันที่สภาพสังคมไทยมีการแขงขันสูงประกอบกับความทันสมัยของการส่ือสารและ เทคโนโลยี ใหค วามสําคัญกับวัตถุนิยม เงินอารยธรรม วัฒนธรรมของตางประเทศ สังคมไทยจึงมุงแตหา รายเด ขาดความ * ซึ่งกันและกันขาดความเอื้ออาทรเห็นประโยชนแสวนตนมากกวาประโยชนแสวนรวม ผลกระทบดังกลาวสงผลใหพอแม ครอบครัวอบรมเล้ียงดูเด็กรูปแบบท่ีแตกตางกัน ซ่ึงจะเป็นปใญหาตอ สังคมไทยเพ่มิ มากข้นึ 7.แนวทางการอบรมเล้ียงดเู ด็กปฐมวยั ในยุคปัจจบุ ัน เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี เป็นทรัพยากรที่มีคุณคาและเป็นอนาคตท่ีสําคัญตอการพัฒนาของประเทศ เด็กมคี ุณภาพ คือ เดก็ ทม่ี กี ารเจริญเติบโตสมวัย พัฒนาการสมบูรณแท้ังรางกาย สติปใญญา จิตใจ อารมณแ และสงั คม โดยพอแม และ ครอบครัวคือ บุคคลที่ทําหนาที่อบรมเลี้ยงดูเด็กและสรางเสริมประสบการณแ ตา งๆ ใหแ กเ ดก็ ต้ังแตแรกเกิด เพอื่ พัฒนา ใหเ ดก็ มีคุณภาพ ความคาดหวังของพอแมในยุคปใจจุบันตางมุงหวังใหเด็กเจริญเติบโตเป็นเด็กดี ฉลาด มีคุณธรรม จรยิ ธรรม ดีงาม มคี วามประพฤติดี ไมด้ือ ไมเกเร เช่ือฟใงพอแม ในดานความประพฤตินั้นพอแมคาดหวัง ตอ เด็กเพศหญงิ และ เพศชายแตกตา งกนั ความประพฤติของเดก็ เพศหญิง ไดแกเรียบรอย ชวยเหลืองาน บานไมเถียง ไมเท่ียวเตร เป็นตน ขณะท่ีความประพฤติของเด็กเพศชาย ไดแก ไมเท่ียวเตร ไมทําเร่ือง หนกั ใจใหพอแม ไมเ กเร เป็นตน ในท่ีนี้จะกลาวสรุปประเด็นแนวทางการอบรมเล้ียงดูเด็กปฐมวัยของพอแมและครอบครัวไท ยใน ยุคปใจจุบัน ที่มีความสําคัญและมีผลใหเด็กมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัยท้ังรางกายจิตใจสติปใญญา อารมณแและสงั คม มีคุณธรรม และจริยธรรมดีงาม ดังน้ี 1. เรยี นรแู้ ละแสดงบทบาทของพ่อแม่ พอแมจําเป็นตองเรียนรูบทบาทหนาที่ของตนเองและเตรียมความพรอมของตัวเองทั้ง รางกายและจิตใจต้ังแต กอนมีลูก ความคาดหวังของพอแมในสังคมไทยทั้งในอดีตและปใจจุบัน คือ ถามี ลกู ตองการใหเดก็ มสี ขุ ภาพสมบูรณแ แข็งแรง เจริญเติบโต เปน็ เด็กดี ฉลาด มคี วามสุข สามารถดํารงชีวิต ในสงั คมไดอ ยางดี ดังนั้นพอแมควรมีเจตคติท่ีดีตอเด็กแสวงหาความรูและความเขาใจเก่ียวกับพฤติกรรมท่ี เกิดข้ึนของเด็กใน วัยตางๆ สงเสริมสนับสนุนเม่ือเด็กแสดงพฤติกรรมที่ดี ไมตําหนิเมื่อเด็กมีพฤติกรรมท่ี ผิดแปลกไปและหาสาเหตุ ทําความเขาใจตอสิ่งท่ีเกิดข้ึนกับเด็ก แกไขพฤติกรรมเด็กดวยความรัก ความ เขา ใจเดก็ สมํ่าเสมอ 2. สรา้ งเสรมิ ความสขุ ฉันทนา ภาคบงกช (2544: 29) กลาววา ความสุขเป็นส่ิงที่มนุษยแทุกคนแสวงหา ความสุข เกี่ยวขอ งกับความ รสู กึ ท่ดี ีตอ ตนเอง และรจู ักรกั ผอู นื่ ความสขุ เปน็ มิติทางจิตใจซ่ึงเป็นพื้นฐานสําคัญของ การพัฒนาดานการคิดและ พัฒนาการดานอื่นๆ ซึ่งเริ่มตนมาจากความรัก ความผูกพันระหวางแมและ
93 เดก็ ตั้งแตวยั ทารกการบําบัดความตองการ เชนไดกินเม่ือหิวและไดรับความสบายดานรางกาย ความเอา ใจใสจ ากแมด ว ยความรักทาํ ใหเดก็ มีความสขุ ค และตราตรึงอยูใ นสาํ นึกตลอดไป การอบรมเลย้ี งดเู ด็กเสริมสรางความสขุ มีแนวทาง ดังนี้ 2.1 เล้ียงดูเด็กให้ความรักและความอบอุ่นการสรางสัมพันธภาพท่ีดีระหวางพอแมลูกเป็น จุดเริ่มตนท่ี 2 เด็กเกิดความม่ันคงทางจิตใจพรอมท่ีจะรับการอบรมสั่งสอนตางๆ ที่พอแมแนะนํามาใช และเกิดความพอใจท่ีตรง สามารถกระทําตามคํา แนะนําของพอแมได ความรักความอบอุนที่เด็กไดรับ ชวงปฐมวัยจะชวยสงเสริมพัฒนาการ ตางๆ ชวยใหเด็กพัฒนาความไววางใจในโลกรอบตัวเด็ก ชวยให เด็กพฒั นาความเปน็ ตัวของตวั เอง อนั เปน็ พ้ืน ของการพัฒนาความคดิ ริเร่ิมตอไป 2.2 แสดงความรักกบั เด็กด้วยการส่ือสารกับเด็กอย่างเข้าใจ เด็กปฐมวัยตองการความรัก ความอบอุนจาก พอแม ในการแสดงความรักตอเด็กปฐมวัย นอกจากการสัมผัส โอบกอด และพูดคุยกับ เด็กอยางออนโยนและ เปดิ โอกาสใหเด็กไดพดู แสดงความคิดเห็น รับฟงใ เด็กอยางสงบ ใหเวลาอยูกับเด็ก อยางใกลชิด เขาใจความตองการของเดก็ ใหก ําลังใจ และไมแ สดงการกระทําและคําพูดท่ีน่ันทอนกําลังใจ ของเด็ก เปน็ สิ่งสาํ คัญที่จะแสดงใหเด็กเขา ใจวาพอแมรกั อนั กอใหเกดิ ความสขุ กบั เด็ก 2.3 เลี้ยงดูเด็กอย่างมีเหตุผล เป็นการอบรมเล้ียงดูเด็กปฐมวัยที่ไมใชอารมณแ ดุวากระทํา รุนแรงกับเด็ก เขาใจ ยอมรับ และสอนเด็กอยางใจเย็น อดทน มีเหตุผล หลีกเล่ียงคําพูดท่ีมีความหมาย ทางลบ เชน “คิดโง ๆ” “ทําไมไมฉลาดเหมือนเด็กคนอ่ืน ๆ” เพราะถอยคําดังกลาว ทําใหเด็กเสีย กาํ ลงั ใจและเกดิ การตอ ตา น 2.4 ใช้คาพูดเชิงบวกกับเด็ก พอแมใหกําลังใจช่ืนชมโดยการใชคําพูดเชิงบวกจะชวยสราง ทศั นคตดิ านบวก ใหกับเดก็ ทาํ ใหเด็กเกิดความภาคภูมิใจในตัวเอง เห็นคุณคาของตัวเอง มองโลกในแงดี มที ัศนคติทดี่ ีตอตนเองและ ผูอ่ืน และมีความสุข (จิตราวงศแบญุ สิ้น 2549) ดังตวั อยางเชน คาํ พดู ชืน่ ชม - ยอดเย่ยี ม เกงมาก ลกู ทําไดส าํ เรจ็ แลว คําพูดใหกําลังใจ - พอ แมเ ชื่อวาลูกทําได ลกู ทําไดเหมอื นคนอ่ืนแตล กู ทําไดดกี วา 2.5 สร้างเชื่อมั่นในตนเองให้แก่เด็ก พอแมชมเชยเมื่อเด็กกระทําส่ิงที่ดี ถูกตองเหมาะสม จะทําใหเด็ก ภาคภูมิใจสิ่งท่ีทํา ใหกําลังใจถาเด็กพยายามกระทําแตยังทําไมสําเร็จ ไมดุวา ซํ้าเติม เปรยี บเทยี บกับพ่นี อ งหรอื ผูอ นื่ ใหเด็กเสียใจ ขาดความเชอ่ื มั่นในตนเอง 2.6 หลีกเล่ียงคําวา “อยา” การท่ีเด็กถูกหามปราม หรือดวา ไมใหทําสิ่งตางๆ แทบ ตลอดเวลา มีผลใหเด็ก เป็นคนข้ีอาย ไมกลาแสดงออก ไมเช่ือม่ันในตนเอง ไมกลาเสนอความคิดเห็น อาจเป็นเด็กดือ้ รนั้ และกาวราวรนุ แรง ดังนั้นหากครอบครัวจะสอนเด็ก แทนที่จะใชคําวา หาม แตควรใช คําแนะนําแทนเชนแทนคําพูดทว่ี า “อยาว่ิงในบาน” แตใชคําพดู วา “เดนิ ในบาน” เป็นตน 3. ปลกู ฝงั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
94 เด็กเป็นคนดี เป็นความตองการของพอแมทุกคน การสรางเด็กใหเป็นคนดีจําเป็นตองเริ่ม ตงั้ แตเ ด็กเล็กๆ ดวยการเป็นแบบอยางใหเด็กและแนะนําเด็กอยางมีเหตุผล แนวทางในการอบรมเลี้ยงดู ของครอบครัวมดี ังนี้ 3.1 สอนเด็กใหร้ จู้ กั การอดทน รอคอย พอ แมต องใหเดก็ ไดเ รียนรทู ่จี ะควบคมุ ตัวเอง ไมพูด โกหก ซอ่ื สัตยแ และไมลกั ขโมย 3.2 สอนเด็กให้รู้ผิด รู้ถูก รู้จักกฎระเบียบวินัย และรวมรับผิดชอบกับสังคม พอแมตอง สงเสริมสนับสนุน ใหเด็กสามารถคิดวิเคราะหแวาสิ่งใดควรทํา สิ่งใดไมควรทํา โดยพอแมตองทําเป็น แบบอยา งใหเ ดก็ 3.3 ฝกึ เดก็ ให้รู้จักการใหก้ ารแบง่ ปันเด็กควรไดเ รยี นรกู ารมีจติ ใจเอ้อื เฟอื้ รจู ักเห็นอกเห็นใจ มคี วามเมตตา สงสารผูอน่ื หรอื สัตวแทม่ี คี วามทกุ ขแและเดือดรอ น และมนี า้ํ ใจและชว ยเหลือผอู ื่น เปน็ ตน 3.4 ฝกึ เดก็ ให้รู้จกั หนา้ ท่ขี องตนเองเดก็ จาํ เป็นตองเรยี นรูท ่จี ะรบั ผดิ ชอบและรวู า ทุกคนตอง มีหนา ท่ี เรม่ิ จาก คนท่เี ลก็ ๆ นอยๆ ในการชวยเหลือภายในบานตามความสามารถของเด็กท่ีจะทําได เชน เก็บของเลนเขาท่ี เก็บจาน 2 หรือชวยงานเล็กๆนอยๆ ผลท่ีจะติดตามมา คือ เด็กเกิดความตระหนักถึง คณุ คาของตนเอง 3.5 สอนเด็กใหม้ มี ารยาท เด็กควรไดเรียนรูการแสดงความเคารพผูใหญ กลาวของคุณเมื่อ ไดร บั การ ชวยเหลอื กลา วขอโทษเม่ือกระทาํ ส่งิ ท่ไี มถกู ตอ ง 3.6 รู้จักกล่าวคาขอโทษกับเด็ก หากพอแมกระทําสิ่งไมถูกตองกับเด็กและรูวาผิด การ กลาวคําวา “ขอโทษ” เป็นการกระทําแบบอยางสอนใหกับเด็กเรียนรูวา ทุกคนมีโอกาสจะกระทําผิดได แตตองรูจักยอมรับผิดและกลาวคําขอ โทษ ถาพอแมและครอบครัวแสดงออกเชนน้ี เด็กจะเรียนรูที่จะ กลาบอกเลา ทุกเรอื่ งใหแกพอ แมฟ งใ ไมวาจะ ถูกหรอื ผิด และพอ แมพ รอ มทจ่ี ะใหอ ภัยเสมอ 4. พฒั นาความคดิ สร้างสรรค์ การฝึกฝนและพัฒนาความคิดสรางสรรคแของเด็กต้ังแตปฐมวัยเป็นเร่ืองสําคัญ พอแม สามารถพฒั นาความ คิดสรางสรรคแใหเ ด็กดว ยแนวทาง ดงั น้ี 4.1 เร่ิมต้นด้วยการเล่านิทานก่อนนอน นิทานแตละเรื่องเป็นอาหารสมองและสราง จินตนาการใหเดก็ สอดแทรกความรแู ละสรา งเด็กใหร จู กั คิด สง่ิ สําคัญตองเป็นการเลาโดยพอแมขณะเลา ถาเด็กอยากรูและถามพอแม ตองตอบคําถาม เพ่ิมความรูใหแกเด็ก สอดแทรกความคิด ทัศนคติ การใช ชีวิตท่ีเป็นประโยชนแกับเด็ก ไมดูวา ถาเด็ก ถามซ้ําไปมา ถาตอบไมได ใหตอบเด็กวาไมรู แตจะไปคนหา คาํ ตอบมาให และตองรักษาสัญญา กระทําตามที่พูด ไม โกหกเด็กส่ิงสําคัญอีกประการคือ ใหโอกาสเด็ก ถาม คิด และแสดงความคดิ เห็นโดยพอ แมตอยอดความคิดของเด็ก ใหถ กู ตอง 4.2 สร้างนิสัยรักการอ่านให้แก่เด็กพอแมสามารถเร่ิมตนปลูกฝใงนิสัยรักการอานใหแกเด็ก ดวยการเลานิทาน อานหนังสือใหเด็กฟใงต้ังแตแรกเกิด เม่ือเด็กอายุ 6 เดือนใหอุมเด็กน่ังตักและอาน หนังสอื นิทาน หรอื หนังสอื ภาพมี เน้ือหาคําสนั้ ๆ ซาํ้ ๆ หรือคํากลอนใหเด็กฟใงบอยๆ ทุกๆ วัน สม่ําเสมอ
95 อยา งนอย 15 นาที พรอมท้ังทํามุมหนังสือไว ภายในบาน เมื่อเด็กสนใจตองการใหพอแมอานหนังสือให ฟใงจะคลานหรือเดินไปที่มุมหนังสือ หรือหยิบหนังสือใหอาน พอแมจะตองสนองตอบความตองการของ เด็กอยา ปฏเิ สธเดก็ นอกจากนคี้ วรหาหนงั สอื ใหม ๆ ไวที่บาน โดยใหเ ดก็ มี สว นรว มในการเลือก 4.3 สอนใหเ้ ดก็ คดิ เป็นพอ แมตองฝึกใหเด็กมองภาพรวม มองกวางๆ คิดใหกวาง เชน กอน ตอภาพจ๊ิกซอวแ ถาใหเด็กมองภาพรวมของจิกซอวแท้ังภาพกอนเด็กจะสามารถตอภาพจิ๊กซอวแไดเร็วกวา การตอ ภาพทีย่ ังไมไ ดดูภาพรวม 4.4 ใหเ้ วลาเดก็ รอ้ งเพลง เล่นดนตรี วาดรูป หรือทางานศิลปะเล็ก ๆ น้อย ๆ พอแมควร พัฒนาลูกดวย งานดนตรีหรือศิลปะ เชน ทําของเลนจากเศษวัสดุในบาน ปใ้นดิน กอกองทราย เป็นตน เพื่อใหเด็กผอนคลาย และมี ความสุข สมองของเด็กจะทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพและสรางสรรคแสิ่ง ใหมมากขน้ึ 4.5 ไมค่ วรใหเ้ ดก็ อายุนอ้ ยกว่า 2 ปี ดูโทรทัศน์หรือดีวีดี เม่ือเด็กอายุมากกวา 2 ปี พอแม ควรใหเดก็ ดู โทรทัศนหแ รอื ดวี ีดไี มเกนิ วนั ละ 2 ช่ัวโมง เน่ืองจากเด็กแรกเกิด - 6 เดือน เซลลแสมองเด็กจะ สรางและเชอ่ื มตอใยประสาท ตลอดเวลา โดยเฉพาะเด็กที่กําลังฝึกพูด เน่ืองจากการดูทีวีเป็นการสื่อสาร ทางเดียว ขาดการพูดคุยโตตอบกับบุคคล อ่ืน ๆ ภาพในทีวีเคล่ือนไหวเร็ว เด็กมีโอกาสสมาธิส้ันหรือ ซุกซนมากผิดปกติ นอกจากนี้ เน้ือหาในทีวีบางครั้งมีภาพ ความรุนแรงยิงกัน ตบตีกันฆากัน เหาะเหิน เดินอากาศ ซง่ึ เด็กไมสามารถแยกแยะวา ดีหรือไมดี หรือเป็นความจริง หรือการแสดง ขณะท่ีเด็กเป็นวัย กําลังเลียนแบบอาจทําใหเด็กมีพฤติกรรมเลียนแบบตามท่ีเป็นเด็กกาวราว หรือเกิด อุบัติเหตุได นอกจากน้ี เด็กที่ตดิ ดูทีวจี ะขาดการออกกาํ ลงั กาย เป็นเดก็ อวนหรือโรคอว นได 4.6 ให้โอกาสเด็กเรียนรู้จากประสบการณ์จริงพอแมควรพาเด็กไปนอกบานเรียนรู ส่ิงแวดลอมภายนอกเย่ียม ญาติ เลนที่สนามเด็กเลน สวนสาธารณะ รวมทั้งบอกเลาใหเด็กรูจักส่ิงแปลก ใหม สงั คมใหม ๆ นอกบา น 4.7 สอนเด็กให้รู้จักหัดสังเกตรายละเอียดของส่ิงต่างๆ รอบตัวพอแมตองฝึกใหเด็กหัด สังเกตความเหมือน ความแตกตาง ขนาด สีรูปทรง จํานวน ทาทาง และฝึกดวยการบอกเลาเหตุการณแ ตา ง ๆ ใหฟ ใง 5. ฝกึ ภาษาใหถ้ ูกต้อง ถา พอแมสอนใหเ ด็กใชภาษาทีด่ ี เดก็ จะพดู ไดเรว็ ชัดเจนจดจํา และเขาใจความหมายของคํา ตา งๆ เป็นเด็กฉลาดและมีพัฒนาการดานภาษาดี อันเป็นพ้ืนฐานสําคัญของพัฒนาการดานสติปใญญา สิ่ง ทพ่ี อ แมค วรสอนและเปน็ ตวั อยา งใหแกเดก็ ดงั นี้ 5.1 พูดคุยกับเด็กดว้ ยภาษาท่ีเขา้ ใจงา่ ย ชดั เจน และเป็นประโยค เพื่อใหเด็กเรียนรูจดจํา นาํ ไปใชไ ด เชน ลูก เดินไปทีต่ ูเสอ้ื ผา และหยิบเส้ือสีฟูามาใหแ ม เป็นตน 5.2 อา่ นหนังสอื และเล่านิทานใหเ้ ดก็ ฟังตง้ั แต่แรกเกิด พอแมค วรเรมิ่ จากเลือกหนงั สือท่ีมี รูปภาพและมี คําบรรยายประกอบสั้นๆ งาย ๆ อานใหกับเด็กทุกวันเวลาใดก็ไดที่เด็กพรอมไมงวง ไม
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292