196 รวมท้ังพัฒนาสตปิ ใญญา สง เสริมความคิดสรางสรรคแ บนวิถีชีวิตของ เด็กตามสภาพครอบครัว บริบทของ ชมุ ชน สังคม และวัฒนธรรม ทําใหเ ปน็ ผูที่รักสนั ติ ใฝุรูและสนใจส่ิงแวดลอม สง ผลใหเป็นผูท่ีมองโลกใน แงดี มีความเช่ือมั่นในตนเอง รวมทั้งเป็นการเตรียมเด็กใหพรอมที่จะเรียนรูในระดับการศึกษา ช้ัน ประถมศกึ ษา อันจะนาํ ไปสคู วามเป็นเดก็ สามารถทจ่ี ะเจรญิ เตบิ โตเปน็ บคุ คลทม่ี คี ณุ ภาพของประเทศชาติ ตอไป แต ในทางตรงกันขาม เด็กท่ีไมไดรับการเลี้ยงดูและพัฒนาอยางถูกตองในชวงเวลานี้ เม่ือพนวัยนี้ แลวโอกาสดังกลาวจะ ไมหวนกลับมาอีก หากประสบการณแและสภาพแวดลอมไมดี ไมเอื้อหรือสงเสริม ตอการเรียนรูของเด็ก เด็กจะกลาย เป็นคนมองโลกในแงราย ไมไววางใจผูอ่ืน และขาดความเชื่อม่ันใน ตนเอง การปลูกฝงใ คณุ คาชวี ิตควรเริม่ ตน ต้งั แตว ยั เดก็ โดยเฉพาะอยางยิ่งชวงท่ีสําคัญที่สุดคือชวงปฐมวัย ซ่ึงเปน็ วยั ท่ีมีอตั ราการเจริญเติบโตทกุ ดา นท้ังรางกาย สังคม จติ ใจและปญใ ญา เป็นชวงเวลาท่ีโอกาสทอง ของการเรียนรูเปิด กวางเต็มที่ สามารถรับการฝึกและการเรียนรูไดงาย เป็นชวงเวลาท่ีสําคัญท่ีตอง ปลูกฝใงเร่ืองของคุณคาชีวิต ที่จะมีการ เจริญเติบโตไปพรอมกับเด็ก หากมีการเสริมสรางท่ีสอดคลองกับ วัย เดก็ กจ็ ะซึมซบั และพฒั นาไดเต็มท่ี แตห ากเด็ก ไมไดเรียนรูสิ่งตางๆ เหลานี้ในชวงวัยที่เหมาะสม ผาน ชวงเวลาที่ดีที่สุดของการเรียนรูเรื่องน้ันๆ ไปแลว การพัฒนา ในภายหลังจะทําไดคอนขางยาก และเม่ือ เดก็ อายุเกนิ 8 ปไี ปแลว การพฒั นาการในเร่อื งเกี่ยวกับคณุ คาชวี ิตขน้ึ อยกู บั พฒั นาการและสติปใญญาของ บุคคลน้ัน ในการซึมซับเรื่องน้ี ดังจะเห็นไดจากเพียเจทแ (Piaget. 1965) ไดชี้ใหเห็นถึง พัฒนาการของ เด็กที่ขน้ึ อยกู ับสติปญใ ญาในการรับรู และไดแบงข้ันตอนในการพฒั นาจรยิ ธรรมไว 3 ชวง ดงั น้ี 1. ชวงกอนจริยธรรม เป็นชวงที่เด็กอายุ 0-2 ปี ในชวงนี้ เด็กรูจักการปรับตัว ตองการการ ตัดสินใจจาก บคุ คลอนื่ ไมใชความคดิ ของตนเอง จะทาํ ตามสงิ่ ท่มี ผี ูก าํ หนดใหปฏิบัติ 2. ชวงปฏิบัติตามคําสั่ง เมื่อเด็กมีอายุอยูในชวง 2-3 ปี เด็กจะมีสติปใญญาท่ีสูงขึ้น รูจักการ ปรบั ตวั มีความ เกรงกลัว และเชื่อฟใงคาํ สอนของผูใ หญ โดยยังไมม ีเหตผุ ลของตนเอง 3. ชวงที่ยึดหลักแหงตน เมื่อเด็กเจริญเติบโตข้ึนจนอายุ 8 ปีข้ึนไป เด็กจะคลายความเกรงกลัว อํานาจ ภายนอก กลา ท่ีจะตดั สินใจดว ยตนเอง และปฏบิ ัตติ นอยางมีกฎเกณฑแมากขึน้ จากความเห็นขางตนน้ี เพียเจทแ (Piaget, 1965) เช่ือวาเด็กท่ีมีอายุ 2-8 ปีเป็นระยะที่ผูใหญ สามารถอิทธิพล ตอพฤติกรรมตางๆ ของเด็ก โดยเด็กจะถือเอากฎเกณฑแที่ไดจากผูใหญเป็นกฎเกณฑแ ตายตัวในการประพฤติปฏิบัติ ตาม (สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 2547) ดังน้ัน ชวงเวลาน้ีจึงเป็น ชวงเวลาท่ีตองปลูกฝใงคุณคาชีวิตใหแกเด็ก ยิ่งเด็กมีอายุมากขึ้นเทาไร การปลูกฝใงคุณคาชีวิตท่ีจะสงผล ตอ พฤติกรรมของเดก็ กย็ งิ่ สามารถทาํ ไดย ากข้นึ 8.เป้าหมายของการปลูกฝงั คณุ คา่ ชวี ติ ในครอบครวั ทม่ี ีเด็กปฐมวัย ชีวิตในสังคมปใจจุบัน มักจะใหความสําคัญตอผูท่ีมีความประพฤติดี หรือปฏิบัติดีจนเป็นท่ีถูกใจ ของคน หลายๆ คน และบอยครั้งท่ีเม่ือระยะเวลาผานไป ผูคนตางตองผิดหวังกับคนที่พวกเขาได สรรเสริญวา เปน็ คนดนี ้นั มี ความประพฤติบางอยา งทีไ่ มเหมาะสม หรอื ไมเป็นท่ียอมรับของคนในสังคมท่ี
197 อาจขดั ตอหลกั คุณธรรม หรอื คุณคา ที่ สังคมมอี ยู ดังน้ัน คนที่ทําดี ก็อาจไมใชคนดีก็ได เนื่องจากผูที่ทําดี อาจทําไปโดยเหตุจูงใจที่ไมบริสุทธิ์บางประการเป็น ตัวผลักดัน เชน การทําดีเพ่ือ “เอาหนา” “สราง ภาพ” “หาคะแนนนิยม” แตเ พราะการกระทําน้ันนํามาซึ่งคุณประโยชนแ ตอผูคน เราก็ยังคงพูดวาเขาทํา ดี แตถาเขาคาํ นึงถึงผลประโยชนแสวนตนมากเสียยิ่งกวาคุณประโยชนแของสวนรวม และ ส่ิงน้ีก็เรียกไดวา เปน็ ความเห็นแกตวั และเราก็คงจะไมเ รยี ก “คนเหน็ แกต ัว” วา “คนด”ี “จิตวิญญาณ” เชอ่ื มโยงกบั “ความเป็นมนษุ ยแ” ผูทม่ี ีความเป็นจติ วญิ ญาณไมไดเพยี งแคทําส่ิงดีๆ ออกมา ใหผ อู ื่นเห็นเทานนั้ แตพวกเขาเป็นคนดีดว ย ความคิด คาํ พดู และการกระทาํ พฤติกรรมของพวก เขาแสดงถึงคุณคา ทางจิตวิญญาณ อันไดแก ความสงบ ความรัก ความสุข ความบริสุทธ์ิ และสัจจะที่มี อยูภายในน้ันคอื การแสดงออก ซึ่งคุณคาชวี ติ แหง ความเปน็ มนุษยแที่แทจรงิ ผูคนมากมายในสังคมปใจจุบันตางขับเคล่ือนตนเองไปดวยแรงจูงใจที่เห็นแกตัว คาดหวังท่ีจะ ไดรับ มากกวา จะรูสึกช่ืนชมกับความงดงามของการเป็นผูใหบางคนก็ไขวควาราวกับวาชีวิตนั้นแสนจะ วา งเปลา บางก็แสวงหาเหมือน กับไมเคยรูจักคําวา “พอ” ราวกับวาหลงลืมกับความรูสึก “อ่ิมเต็ม” ลืม สภาพเคยสูงสงและบริสุทธิ์ ลืมสภาพของจิตใจ ท่ีสงบเยือกเย็น ซึ่งเคยเป็นธรรมชาติด้ังเดิมของมนุษยแ โลกภายนอกลอใจผูคนใหออกมาจากแกนแทของชีวิต ดึงดูด ดวยความสะดวกสบายและความสุข เพียงช่ัวคราว ผูกมัดเราไวในการเสพติด นานจนเราหลงลืมความหวานช่ืนอันจริง แทของชีวิตของจิต วญิ ญาณภายใน แตกย็ ังโชคดีที่มนษุ ยแยังไมไดลืมเลือนส่ิงเหลานี้ไปเสียทั้งหมด ยังมีความสามารถ ในการ รับรูต อคุณคาแหงสัจจะจึงยงั คงมีอยใู นตวั การปลูกฝใงคุณคาชีวิตในครอบครัวเด็กปฐมวัย นับเป็นจุดเร่ิมตนของการใหเด็กสรางสมคุณคา ทาง จิตวิญญาณ เพื่อใหเด็กสามารถใชเป็นฐานในการดํารงชีวิตในอนาคต เมื่อไรก็ตามท่ีเด็กที่ไดเติบโต ขึ้นเป็นวัยรุนและ เป็นผูใหญในอนาคต ที่ตองเผชิญกับสถานการณแตางๆ เขาจะสามารถตอบสนองกับ เหตุการณแเหลา นน้ั ไดอยา งเหมาะสม และเป็นธรรมชาติ ยกตัวอยางเชน คนที่จะหงุดหงิดงาย มักมีความ ขุนเคืองผูอื่น เพราะพวกเขาไมทําสิ่งท่ีตนตองการ ใหพวกเขาทํา โดยมีรากเหงาอยูในความเชื่อที่ถูก โปรแกรมอยา งลกึ ํลา ในความทรงจําวา ผูอ นื่ ควรจะตองทําในสิ่งทตี่ น ตองการ จงึ จะทําใหตวั เองมีความสุข เมอื่ ไรก็ตามท่ีพวกเขาไมทําในสิ่งที่ตองการก็มีแนวโนมท่ีจะปะทุบางรูปแบบของ ความโกรธออกมา เมื่อ คุณลักษณะน้ีไดถูกใชบอย ๆ จนกลายเป็นนิสัย ท่ีพัฒนาเป็นบุคลิกภาพในที่สุด จะทําใหชีวิต ในอนาคต ของเดก็ คนน้เี ป็นคนท่ไี มเ คยมคี วามสขุ เพราะเขาจะพบวาความสุขของเขาขึ้นอยูกับคนรอบขาง ที่มักจะ ไม ทําสิ่งที่เขาตองการใหผูอ่ืนทํา ทั้งนี้ เนื่องจากรากเหงาของนิสัยและแนวโนมท่ีประกอบขึ้นเป็น บุคลิกภาพเฉพาะตัวน้ัน ถูกเก็บบันทึกไวเป็นความทรงจํา ภายใน “จิตใตสํานึก” ในขณะที่ผูท่ีมีความ เขาใจถึงคุณคาทางจิตวิญญาณของมนุษยแ จะสามารถตระหนักรูไดวาความสุขไมไดขึ้นอยูกับผูอื่น หรือ สถานการณแแวดลอมภายนอก แตเป็นคุณคาทางจิต วิญญาณที่มนุษยแมีภายในตนเองอยูแลว ไมมีผูใดท่ี สามารถทําใหเขามีความสุขหรือความทุกขแได ดังนั้น การปลูกฝใง คุณคาชีวิตท่ีแสดงถึงคุณคาทางจิต
198 วิญญาณในครอบครัวทม่ี เี ดก็ ปฐมวยั แลว จะทําใหเ ด็กสามารถซมึ ซบั วิถีของความ “เช่ือและความคิดท่ีจะ สง ผลตอ บุคลิกภาพของเด็กทีเ่ จรญิ เตบิ โตข้นึ เปน็ ผใู หญเปน็ “คนด”ี ในอนาคต ผูคนมากมายเหน็ พองกันวา โลกจะดขี น้ึ หากเราอยรู วมกนั ดว ยคณุ คา ของความเป็นมนุษยแและจิต วิญญาณ ท่ีสูงสง คุณคาตางๆ จะสามารถงอกงามในครอบครัว ชุมชน สังคมหรือในโลกได ตองเกิดจาก การท่ีจะทําเชนนั้นอยาง แทจริง ไมเพียงแตพูดถึงและหวังท่ีจะใหผูอื่นทํากอน แตยังตองทําใหผูอื่น สามารถมีประสบการณแกับคณุ คาเหลานนั้ ดวย คุณคา ท้งั หลายจะไมมีคาใดๆ หากปราศจากความตั้งใจที่ จะคน หาและนํามาใช มันไมเ พียงพอหากเราจะเพยี ง แตเ ก็บคณุ คาตา งๆ ไวในหอ งแหงความฝใน แลวก็รอ วนั ที่ทุกสงิ่ จะกลับมางดงาม คณุ คา (Values) คอื หลักการในการใชชีวิต ที่ตองทําใหคุณคาน้ันหย่ังรากลงไปในจิตใจ ผลิดอก เบงบานใน หัวใจ และออกผลในการกระทาํ ของเรา คณุ คาดังกลาวตอ งกลายเปน็ สวนหน่ึงของ “การคิด” จะเป็นและก็จะทํา เมื่อ คุณคาไดถูกนํามาใชอยางตอเนื่องและแลวท่ีสุดก็จะกลายเป็น “นิสัย” การ แสดงออกของเราจึงเป็นไปอยางเป็น “คุณธรรม” ธรรมชาติ ไมตองคิดคํานวณถึงการไดเปรียบ เสยี เปรียบใด ๆ ดว ยการนาํ คุณคามาสูการกระทํา และนิสยั ที่ดเี หลา น้ีคอื “คณุ ธรรม” คุณธรรมน้ันเรียบงายและเต็มไปดวยความงดงาม สงบเงียบ และออนโยน เป็นพลังท่ียิ่งใหญซึ่ง สอดประสาน กับสัจจะอยางแทจริง คุณธรรมเริ่มจากเจตนาเป็นสิ่งแรก แลวจึงเป็นทัศนคติและ กลายเป็นพฤติกรรม การเป็นคนดี และทําดีเป็นเรื่องราวเดียวกัน คุณธรรมมาจากแกนแทภายในของ จิตสํานึกของเราท่ีซึ่งความสงบ ความรัก ความสุข ความปิติ และความบริสุทธิ์ด้ังเดิมอันเป็นธรรมชาติ แหงจิตวิญญาณดํารงอยู จาก ณ ท่ีนัน้ ทกี่ ารกระทําของเราปรากฏออกมาจากภายในนี้ ในการเลีย้ งดลู กู พอ แมทกุ คนยอมอยากเหน็ ลกู เติบโตเป็นคนดี เปน็ ผูใ หญท มี่ ีคณุ ภาพชีวิตที่ดี แต โดยมีการ เล้ียงดูของพอแมก็ยังคงเป็นปใจจัยสําคัญตอการเจริญเติบโตของลูก จริงอยูท่ีสภาพแวดลอม รอบตัวเด็ก (ไมวาจะเป็น สภาพเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป และคานิยมตาง ๆ) อาจจะสงผล ตอการเจริญเติบโต แตการใสใจตอการ เล้ียงดูของพอแมยอมมีผลที่สามารถลดหรือแกไขอิทธิพลของ สภาพแวดลอมเหลาน้ันได การศึกษาและงานวิจัยมากมายที่ไดบงช้ีวา ถาพอแมไมอาจควบคุมลูกไดภายใน 5 ขวบปีพบวา เดก็ ที่เติบโต ขน้ึ มาโดยไมเ ชอ่ื ฟงใ และเคารพพอแม ทําใหเด็กกลายเป็นคนที่กาวราว ไมเชื่อฟใงกฎระเบียบ เห็นแกต วั และไมใหความ สําคัญกับความถูกหรือความผิด การที่เด็กไมเช่ือฟใงพอแมไมใชเพราะเด็กเกิด มาพรอมกับความด้ือร้ัน แตสาเหตุเพราะเขาไดเรียนรูวาคําพูดของพอแม “ไมศักดิ์สิทธิ์” และเขาไม จําเป็นตองปฏิบัติตามก็ได ยกตัวอยาง พอแมอาจจะมี หามอะไรบางอยางพรอมกับเพิ่มเติมวาถาฝุาฝืน จะไดร ับโทษ (เชน หามออกจากบานโดยไมขออนุญาต ถาฝุาฝืนละ ไมใหออกจากบานท้ังวัน) แตเม่ือลูก ฝุาฝืนขอกําหนดดังกลาว พอแมกลับไมไดทําตามท่ีพูดไว หรือถาจะมีก็เพียง คําบนคําวากลาว เม่ือมี เหตกุ ารณแในลกั ษณะน้ีเกิดขนึ้ ซาํ้ แลวซ้ําเลา ในทสี่ ุดเด็กก็จะสรุปวา คําพูดของพอแมไมมี ความหมาย จะ ทาํ ตามหรอื ไมทําตามก็ได ซึ่งแนวโนมท่ีเด็กจะไมทํายอมมีมากกวา ในท่ีสุดจึงกลายเป็นวาเด็กไมเช่ือ ฟใง
199 พอแมไปโดยปรยิ าย ในทางกลบั กัน ถา พอ แมใ ชก ารบงั คบั ขม ขูใ หล กู ทาํ ตาม เรียกวาเลี้ยงดูแบบเผด็จการ ลกู ก็อาจ จะทําตามคําสงั่ ของพอ แม แตทําดว ยความกลัว ผลที่ตามมาก็คือ เขาจะขาดความนับถือพอแม ดังน้นั พอ แมจึงตอ ง สอนลกู ใหท งั้ เชื่อฟงใ และเคารพพอ แมไปพรอม ๆ กนั เป็นตน นอกจากน้ี การสอนใหเ ดก็ รูถึงความถกู และความผิดถือไดวาเป็นเรื่องท่ีสําคัญมากเชนกัน เพราะ เดก็ ยัง ออนเยาวแ ยังขาดความรคู วามเขาใจ ไมสามารถแยกแยะผิดถูกชั่วดีไดอยางมีประสิทธิภาพ พอแม ตองสอนใหลูกรู อยางชัดเจนวาการกระทําใดที่เกรียกวาเป็นการกระทําที่ถูกตอง และการกรทําใดเป็น การกระทําที่ไมถูกตองสิงใดเรียก วาเป็นสิ่งที่ดี ส่ิงใดเป็นสิ่งที่ไมดี พรอมท้ังสอนหลักในการพิจารณาวา เร่ืองใดหน่ึงจึงเป็นเรื่องท่ีดีเป็นเร่ืองที่ควรกระทํา และเรื่องใดเป็นเร่ืองที่ไมดีเป็นเรื่องท่ีไมควรกระทํา พรอมท้ังการใหเหตุผลประกอบที่เด็กสามารถเขาใจได การปลูก ฝใงจิตสํานึกผิดชอบที่เขมแข็ง ถือไดวา เป็นเขม็ ทศิ ทีอ่ ยูภ ายในจิตใจของมนษุ ยแ ทีท่ ําหนา ทใ่ี นการช้วี าการกระทาํ ใด เปน็ การกระทําท่ี “ถูก” และ การกระทําใดเปน็ การกระทาํ ที่ “ผดิ ” มนั จะชว ยใหม นุษยแสามารถแยกแยะสิ่งดอี อกจาก ส่ิงไมดี ส่ิงท่ีควร ออกจากสิ่งท่ีไมควรไมควรไปเกยี่ วของดวย ซ่ึงในทสี่ ดุ มนั เป็นเสมอื นเสยี งของมโนสาํ นึกทค่ี อยเตือน ในใจ มนุษยแ เปรียบเสมือนผูพิพากษาในจิตใจท่ีคอยบอกวา อะไรคือสิ่งที่ถูก อะไรคือสิ่งท่ีผิด จิตสํานึกที่ เขม แข็งจะ ทาํ ใหคน ๆ นั้นชน่ื ชมกบั ความถกู ตอ ง และรสู กึ ไมด ีส่งิ ทีไ่ มถูกตอ ง เชน การขโมยเป็นสิ่งท่ีไมดี ความซอื่ สัตยเแ ปน็ สิง่ ทดี่ ี เป็นตน โดยพอแมก็ตองมีปฏิกิริยา ซ่ึงอาจจะเป็นการแสดงความเห็น และสอน เด็กวาจะทําอยางถูกตองไดอยางไร การเพิกเฉยตอความไมถูกตอง อาจจะหมายความวาพอแมเห็นดวย ซึ่งอาจทําใหเด็กเขาใจผิดวาเป็นส่ิงท่ีถูกตองและ ทําได และที่สําคัญคือ การสอนใหเด็กมีความกลาหาญ ตอความถูกตอง คือ มีพลังและกลาทําในส่ิงท่ีถูกตอง เป็นความ ทาทายในการดําเนินชีวิตท่ีมีคุณธรรม เปรียบไดด่ังการวายนํ้าทวนคล่ืนของโลกท่ีถูกรุกรานและแพรหลายไปดวยความ เห็นแกตัวและความ ละโมบ แมว าอาจจะตองสูญเสียอะไรบางอยาง ตองเสี่ยงหรืออาจสรางความไมพอใจใหกับคนอ่ืน แตยัง ยนื หยดั และกลาท่ีจะทาํ สิง่ น้ัน ๆ เพราะเปน็ สิ่งทถ่ี กู ตอง และดวย ความกลาหาญ ความซ่ือสัตยแ และการ สํารวจ แหงความบริสุทธ์ิท่ียังคงสองสวางอยูท่ีแกนกลางของจิตสํานึก ตรวจสอบตนเองอยางลึกลํ้าจะ ชวยใหส ามารถเหน็ รูปแบบผิด ๆ ของความเชื่อของผูอ่ืน และพาตนเองออกไปสูแสงสวางอยูที่แกนกลาง ของจติ สํานกึ “ความรัก” เป็นคณุ คาชวี ิตท่ีมีสาํ คัญอีกอยางหน่ึงของมนุษยแ เป็นธรรมชาติแหงจิตวิญญาณ อัน เป็นความ งดงามแหงความเป็นมนุษยแ นอกจากน้ี ความรักยังเป็นคุณธรรมที่สูงสง และเป็นพลังอัน ยงิ่ ใหญท จ่ี ะนําสนั ติสุขกลับ คืนมาสูโลกใบน้ี ซึ่งในเร่ืองการปลูกฝใงความรักน้ีสามารถทําไดทั้งในเด็กและ ผูใหญ โดยเริ่มสรางประสบการณแของ ความรักท่ีแทจริงขึ้นมาจากภายในตนเอง ดวยการตระหนักวา ความรักคือคุณสมบัติด้ังเดิมของทุกคน และดวยหัวใจ ที่สะอาดและบริสุทธิ์ สรางความคิดท่ีดี มีความ ปรารถนาดี และมีความรสู กึ ดีๆ ใหกบั ตนเองและผอู ่ืน ผูที่มีธรรมชาติของความรักจะออนหวาน นิ่มนวล มีเมตตา เปรียบไดกับ “กุหลาบงามอยูกับ หนามอัน แหลมคม” ท่ีดอกกุหลาบไมปฏิเสธหนาม และหนามก็ไมปฏิเสธดอกกุหลาบ ทั้งสองนั้นอยู
200 รวมกัน ผูท ี่มคี วามรกั ไมเคยปฏเิ สธใคร และก็ไมมีใครที่จะปฏิเสธผูที่เต็มไปดวยความรัก เพราะความรัก ทาํ ใหเกิดการรจู ักการยอมรบั กุหลาบ กับหนามจึงเป็นสญั ลกั ษณแของความรักทีแ่ ทจรงิ วาตองไมมีการผลัก ไสใครออกไปจากชีวิต ทุกคนควรจะรูสึกงายดาย ที่จะเดินเขามา และไดรับความรักกลับไปใครก็ตามที่ เขามาดมกล่ินหอมหรือชื่นชมกบั สีสันของดอกกหุ ลาบ มันไมเ คย จะเก่ียงงอนหรือปฏิเสธ ดอกกุหลาบสง กล่ินหอมและอวดสีสันของมันโดยไมเลือกวาเป็นใคร ทุกคนตางก็มีสิทธ์ิตอดอกกุหลาบเทา ๆ กัน กุหลาบเฝูาแตแสดงธรรมชาติอันงดงามของมันกับทุกๆ คนอยางเสมอภาค ปรับตัวเพื่อจะอยู รวมกัน ทั้งนี้ ความรักไมควรที่จะมีเงื่อนไขวา ผูอื่นไดใหความรักกลับมาหรือไม หรือตอบแทนความรักมากหรือ นอ ย ความรักอันจริงแท ไมเคยเป็นสาเหตุของความทุกขแ ความรักที่นํามาซ่ึงความทุกขแและน้ําตา คือ “รักที่เห็นแก ตัว” ซ่ึงเกิดจากความตองการท่ีจะไดรับมีมากกวาความปรารถนาท่ีจะให หรือแบงปใน ความรักไมไดมีไวใหเราเป็นทุกขแ หรือรูสึกหนักหนวงใดๆ ความรักไมใชทั้งเคร่ืองพันธนาการหรือบวง ภาระ แตหากวาเรามีความรูสึกเชนน้ัน ก็รูไดวา ความรักของเรานั้นไมไดอยูบนพ้ืนฐานท่ีถูกตอง แต เม่ือไหรก็ตามท่ีเราไมมีความรัก อะไรที่เราตองรับผิดชอบมันก็ดู เหมือนจะมีน้ําหนักข้ึนมา เป็นภาระใน ใจเรา แตหากเราทําดวยความรัก มีทัศนคติของความรัก และแลวอะไรก็ตามท่ี เป็นความรับผิดชอบของ เราก็จะไมใชความหนักหนว ง การปลูกฝใงคุณคาของความรักทําใหเด็กมีจิตใจเมตตาและมีความกรุณาตอผูอื่น ทําใหเกิด ความเห็นอกเห็นใจ คนอื่น และทําใหรูจักการใหและรูจักการใหอภัยไปพรอม ๆ กัน เด็กสามารถเรียนรู ความรักไดตัง้ แตเ ร่อื งใกลตัวออก ไป เชน รักตัวเอง รกั พอ แม รกั พ่นี อ งรักของเลน ของตวั เอง รักสัตวแเลย้ี ง รักเพ่ือน รักญาติพ่ีนอง รักคุณครู เป็นตน รวมตลอดถึงการรูจักที่จะมีเมตตาตอคนอื่น ที่จะสงผลใหเกิด การแบงปใน เชน การแบงขนม ของเลน หรืออื่น ๆ ให กับผูอ่ืน และการรูจักใหอภัยคนอ่ืน ๆ ไมเคียด แคน ไมอ จิ ฉารษิ ยา ไมร ังเกยี จเดยี ดฉันทแ ไมป องราย และไมใ สร า ย คนอ่นื เปน็ ตน ในเร่อื งของความจริงแทหรือสัจจะ (truth) เป็นการปลูกฝใงใหเห็นคุณคาของตัวตนที่แทจริงของ ตน และ แสดงออกในทุกดานท่ีเป็นตัวตนทแี่ ทจริงในดา นตา งๆ ดังน้ี 1. ความซ่ือตรง หมายถึง ความสอดคลองกันท้ังความคิด คําพูด และการกระทํา และยังหมาย รวมถึงการ ยึดม่ันในคุณธรรมจริยธรรมอยางเครงครัดดวย แมสังคมยุคปใจจุบันจะมองขามความซ่ือตรง ไปมาก แตกระน้ันพอ แมก็ตองปลูกฝใงคุณสมบัติดังกลาวใหกับลูก ท้ังการสอนและการเป็นแบบอยาง เพ่ือวาเมื่อเขาเติบโตขึ้นเป็นผูใหญ เขาจะไดมีพื้นฐานที่ดีในการดําเนินชีวิต และมีความกลาหาญท่ีจะ เอาชนะการย่วั ยุใหท ําในสิ่งที่ขดั แยง กับความซอ่ื ตรง 2. ความซ่ือสัตย์ คํา ๆ น้ีมีความหมายรวมไปถึงความซื่อสัตยแตอคุณความดี หรือคุณคาของ ตนเองทีจ่ ะไม ยอมใหอะไรมาทําใหตนเองตองคดิ พูด หรอื ทาํ ในสิ่งท่ขี ดั กับความดีงามท่ีอยูภายในตนเอง ทพี่ รอ มจะแสดงออกมา ใหผอู น่ื ไดเ ห็นในรูปของความซ่อื ตรง เชน การพูดความจริง ไมพูดโกหก หรือพูด ความจริงไมห มด ไมแ ตง เติม เสริมตอ มีความจรงิ ใจ ทีก่ ารแสดงออกมาตองออกมาจากความจริงใจ ไมใช
201 เสแสรงแกลงทําเพ่ือกลบเกล่ือนหรือทําให คนอ่ืนเขาใจผิด และมีความตรงไปตรงมา ไมบิดเบือนความ จริงและไมแตงเติมเสริมตอ พอแมตองสอนลูกใหเป็นคน ตรงไปตรงมา แตยังแฝงไวดวยความสุภาพ ออนโยนและการใหเกียรติผูอ่ืน เป็นคนรักษาคําพูด รักษาคํามั่นสัญญา เป็นคนตรงตอเวลา เป็นคนท่ี สามารถไววางใจได ไมใ ชเ ป็นคนโลเล ผัดวนั ประกันพรุง การปลูกฝใงคุณคาชีวิตในครอบครัวที่มีเด็กปฐมวัย นับเป็นส่ิงท่ีสําคัญมาก เพราะครอบครัวเป็น สภาพ แวดลอมแรกท่ีเด็กจะเรียนรู และซึมซับประสบการณแตางๆ จากคนในครอบครัว การสราง สภาพแวดลอมท่ีเหมาะสม ตอการเรียนรูของเด็ก จึงเป็นสิ่งที่จําเป็นเป็นอยางยิ่ง การที่จะใหไดเด็กที่มี คณุ ภาพดี เปน็ ทรพั ยากรบุคคลท่ีสําคญั ของสังคมตอไปในอนาคตข้นึ อยูก บั สภาพแวดลอมดังกลาว ซึ่งใน สภาพแวดลอมเหลานั้น มีสิ่งที่เด็กสามารถเรียนรูได งายท่ีสุดคือ ผูใหญท่ีอยูในครอบครัวที่จะเป็น ตน แบบทีส่ ําคัญใหเด็กเลียนแบบรวมกับสภาพแวดลอมอื่นๆ ท่ีประกอบ เขามาใหมีประสบการณแ ดังน้ัน คุณคาชีวิตที่ผูใหญในครอบครัวมีตอเรื่องผูคน สังคม และสถานการณแ ท่ีเกิดขึ้นรอบ ตัวท่ีผูใหญ แสดงออก จะเปน็ ตัวสงผา นคณุ คา ชวี ติ ใหแกเ ดก็ ในครอบครัวนั้นไปตลอดชีวติ 10. หลกั คิดเกี่ยวกบั คุณค่าชีวติ ในครอบครวั ท่ีมีเด็กปฐมวยั การนาํ เอาความเปน็ จิตวิญญาณมาใชในชีวิตครอบครัว ทําใหเราเขาใจความหมายของความเป็น มนุษยแ แทจริง และแลวการมีชีวิตครอบครัวก็มิไดเป็นเพียงการมีชีวิตรอดและการเอาชนะอุปสรรคอีก ตอ ไป แตช ีวติ รวมกนั ระหวา งเด็กปฐมวัยกบั ครอบครัวนัน้ ยงั หมายถงึ การมีประสบการณแของความสุขใน ความสัมพนั ธแทัง้ กับตวั เดก็ เองและ ผูอ นื่ ทงั้ ทอี่ ยูภายในหรือภายนอกครอบครัว 1. การทาความเขา้ ใจกบั ความเปน็ จติ วิญญาณ “ความเป็นจิตวิญญาณ” เป็นเรื่องราวของการกลับมาทําความรูจักกับตนเองในมิติทางจิต วิญญาณ เป็นการ คนพบตัวตนที่แทจริง เป็นโอกาสของการไดคนหาคุณคาภายใน และมองเห็นความ งดงามของชวี ิต เป็นกา วแรกของ การสรางความเคารพในตนเองข้ึนมา ดวยความเช่ือมนั่ และการมีศรทั ธา ตอคุณคาและคุณธรรมภายในตัวเรา สิ่งน้ีจะ นํามาซึ่งเกียรติ ศักดิ์ศรี และความภาคภูมิในความเป็น มนษุ ยแ การตระหนักรูถึงคุณคาทางจิตวิญญาณ และการนําเอาคุณธรรมมาใชในการดําเนินชีวิตถือเป็น หัวใจสําคัญ ความเขาใจเก่ียวกับกลไกอันละเอียดออนของชีวิตวาทํางานอยางไร ชวยทําใหเราเขาใจ ระบบของความคิดในจิตใจของ เรา และรูวิธีท่ีจะจัดการกับความรูสึกและอารมณแของตนเอง ซ่ึงมีผลตอ ความสามารถในการปรับเปล่ียนพฤตกิ รรม และพฒั นาความสัมพันธทแ ้ังกับตนเองและผอู น่ื คําวา “จิตวิญญาณ” ที่เราใชกันทั่วไปน้ันมีหลากหลายความหมาย ต้ังแตเร่ืองราวท่ีเกี่ยวโยงกับ ศาสนา สิง่ ศักดิ์สิทธ์ิ ศรัทธา จนถึงเร่ืองราวทางโลกที่อาจไมเก่ียวอะไรกับความสูงสงหรือความดีงาม จิต วิญญาณเป็นหนึ่งคํา ที่มักกอใหเกิดความเขาใจผิดและอคติไดเสมอ จิตวิญญาณท่ีแทจริงนั้นแตกตาง อยางสิ้นเชิงจากการเขาทรง การใช พลังอิทธิฤทธ์ิอภินิหารหรือเรื่องเหนือธรรมชาติ สําหรับในดานท่ี
202 เกย่ี วขอ งกบั ศาสนา โดยหลักแลว จิตวิญญาณกบั ศาสนาจะมคี วามสอดคลองกันอยางย่ิง แตก็มิไดเป็นสิ่ง เดยี วกัน หนง่ึ ในคําจํากัดความของคาํ วา “ความเป็นจิตวิญญาณ” (Spirituality) คือ “การมองกลับเขาไป ภายในเพ่ือ คนพบเอกลักษณแท่ีแทจริงของตนเอง” แมจะฟใงงาย แตก็หนักแนนและลึกซึ้ง “การมองเขา ไปภายใน” คือ การคนพบ วา เราคือใคร คุณคาของเราคืออะไร และอะไรคือสิ่งที่มีความหมายและให เปูาหมายแกชีวิตเรา สวน “เอกลักษณแที่ แทจริงของเรา” ก็คือ แกนแทของตัวเรา ซ่ึงเกี่ยวโยงกับการ ตระหนกั รู (Awareness) และพฤตกิ รรม ความเป็น จิตวญิ ญาณจงึ เป็นความกระจางอยางสมบูรณแในการ นาํ เอาคณุ คาอนั เป็นเนื้อแทข องตนสะทอนออกมาในทางปฏิบตั ิ ในการดาํ เนนิ ชีวติ ในแตล ะวนั ผทู ่มี คี วามเปน็ จิตวิญญาณ คอื ผูท ่ีบรรลุผลสําเรจ็ ในการนาํ เอาสาํ นกึ ท่ีสูงสง ของตนเองไปใชใ นการ ดาํ เนนิ ชีวิต เปาู หมายท่แี ทจริงของความเปน็ จิตวิญญาณ คือการทําใหคนเรามีประสิทธิภาพมากขึ้น ดวย การชวยปรับปรงุ ใหการ กระทําของผูคนใหดีข้ึน ความเป็นจิตวิญญาณและการกระทําน้ันทํางานดวยกัน ความเป็นจติ วญิ ญาณทําใหก าร กระทาํ ของเรามคี วามหมาย และการกระทําก็ทําใหจิตวิญญาณของเรามี เปาู หมาย แมวาจิตวิญญาณจะเป็นสวนสําคัญในชีวิตประจําวันของคนเรา แตก็ตองอาศัยความเพียร พยายามท่ีจะ เร่ิมตนกระบวนการ การแสวงหาคือกาวแรก ซ่ึงเกิดข้ึนเองอยางเป็นธรรมชาติ เพ่ือจะ คนพบส่งิ ที่เปน็ ความจรงิ ส่ิงอนั จริงแทและเป็นอมตะ อยางไรกต็ าม ยังมีข้ันตอนหลังการแสวงหา ซึ่งถือ เป็นการวางรากฐานทุกสิ่งเกี่ยวกับตัวเรา(ความคิด คําพูด การกระทํา ความสัมพันธแ ฯลฯ ของเรา) และ บนพนื้ ฐานของสิ่งท่เี ราคนพบน่ันเองทคี่ วามเพยี รพยายามของเราไดเริ่มตน ยกตวั อยาง การคดิ ในเชิงบวก” (Positive thinking) ในการแสวงหาทางจิตวิญญาณของเรา เรา อาจจะ เพง่ิ เขา ใจถงึ ประเภทตา งๆ ของความคิด เราไดร วู าความคิดประเภทใดที่ดีสําหรับเรา ความคิดใด ไมด ี ความคดิ ในเชงิ บวกมคี ุณธรรมของความอดกล้ัน ความรกั หรอื คณุ ธรรมอยางใดอยางหน่ึงรวมอยูใน น้ัน และเป็นคุณธรรมเหลาน้ีท่ี ทําใหความคิดเป็นไปในเชิงบวก แตอยางไรก็ตาม เป็นเพียงเมื่อมีการ แสดงออกซึ่งคุณธรรมน้ันในทัศนคติ การพูด หรือพฤติกรรมแลวเทาน้ันท่ีความเป็นจิตวิญญาณในการ กระทาํ จึงจะเรม่ิ ขึ้น ความเปน็ จติ วญิ ญาณในการกระทํา หมายถึงการใชความเขาใจทางจิตวิญญาณในชีวิตประจําวัน น่ีคือส่ิงท่ี ตองอาศัยความเพียรพยายาม มีผูคนมากมายท่ีเชื่อวา “เราไมควรดําเนินชีวิตดวยเพียร พยายาม - ชีวิตนัน้ เป็นไป เพื่อการดําเนินชีวิต” การกลาวเชนนั้นเป็นการแสดงถึงความตองการทําใหส่ิง ตางๆ งา ยดายและใชท กุ ส่งิ รอบตวั เพอ่ื ทําใหตนเองเป็นสุข อยา งไรกต็ าม ส่งิ นี้จริงแทหรือ? มีความแนใจ เพียงใดวาสงิ่ ตางๆ รอบตวั จะสามารถเติมเต็มความ สุขใหกับแตละคนไดจริงๆ ความเป็นจริงก็คือ แหลง ทรพั ยากรเหลานั้น ในเวลานอี้ ยูใ นสภาพทพ่ี รองไปอยา งมาก มี ความขาดแคลนในทุกสิ่งท่ีใชเพ่ือเติมเต็ม ความตอ งการอยางแทจรงิ
203 สําหรับสิ่งนี้ ความเขาใจที่กระจางชัดถึงแหลงทรัพยากรภายในจึงเป็นส่ิงที่จําเป็นเป็นอยางย่ิง รวมท้ังความ เขา ใจถงึ กระบวนการสรา งประสบการณขแ องความสุข ความสงบ ความรัก ความพอใจ และ ความรูสกึ มนั่ คงปลอดภัย นอกจากน้ี จําเป็นตองเขา ใจถึงท่มี าหรือกําเนิดของความคดิ ความรูสึก อารมณแ ของคนเรา และแหลงของทรัพยากร เหลานัน้ นี่คือส่งิ ทีค่ วามรทู างจติ วิญญาณจะเป็นประโยชนแกับคนเรา ท่ีจะทําใหสามารถมีความเขาใจถึงความตองการ ท่ีจําเป็นของชีวิตภายในของคนเราและการเติมเต็ม ความตอ งการเหลานัน้ 2. การตระหนักรู้ถงึ ตัวตนท่แี ทจ้ ริงของชีวิต เม่ือผใู ดมองเขาไปในกระจก ภาพในกระจกจะสะทอ นใหผนู ัน้ เหน็ ของใบหนาตนเองในกระจกน้ัน กระจก สะทอนไดแตเพียงส่ิงภายนอกเทานั้น เชนเดียวกับท่ีคนเรามองดูใครบางคน ก็จะเห็นแตเพียง รา งกายภายนอกของเขา เทา น้ัน มิไดมองเหน็ ตัวตนอันจริงแทของเขา ถาเราตองการตระหนักรูถึงสวนที่ แทจ ริงของชีวิต จําเป็นตองมองเขาไป สูภายใน มุมมองทางจิตวิญญาณทําใหมองเห็นตนเองในมิติที่ตาง ออกไป ในทางจิตวิญญาณน้ันมองเห็นมนุษยแประกอบ ดวย 2 สวน หน่ึงนั้นคือ “รางกาย” และอีกหนึ่ง นัน้ คอื “ดวงวิญญาณ” คาํ วา “มนษุ ยแ” หรือ “Human being” มา จากคําวา “Human” กับ “Being” โดยท่ี “Human” คือ สวนที่เป็นรางกาย (Body) ซ่ึงสามารถมองเห็นและจับตอง ได ตัวตนของรางกาย เกดิ ขนึ้ จากการรวมตวั กนั ของวัตถธุ าตซุ ึ่งคงอยเู พยี งชั่วคราวและแยกสลายคืนสูว ตั ถุธาตเุ ชน เดิม สําหรับ “Being” คือ สวนท่ีมีชีวิต เรียกวา “ดวงวิญญาณ” (Soul) เป็นส่ิงท่ีคงอยูตลอดไป ไม สามารถแยก สลาย เป็นพลังงานท่ีแฝงเรน ไมอาจมองเห็นดวยดวงตา ไมสามารถสัมผัสดวยประสาท สัมผัสของรางกาย ไมมีสภาพ ทางกายภาพ แตมีประสบการณแจากการใชรางกาย ดวงวิญญาณคือ พลังงานที่ละเอียดออนอยางยิ่ง อยูในรูปของ “จุดแหงแสงที่สุดแสนเล็ก” เป็นพลังชีวิตท่ีขับเคลื่อน รางกายน้ี สภาพอนั ละเอยี ดออ นของดวงวิญญาณคือ แหลง กาํ เนิดของทุกสิ่งที่เราทํา ท้ังความคิด คําพูด และการกระทําทั้งหมด ไมวาเราจะพูดหรือทําสิ่งใดก็เป็นดวงวิญญาณ น้ันเอง ท่ีกําลังกระทําส่ิงนั้นผาน รางกาย ดวงวิญญาณเปรียบเหมือนคนขับรถและรางกายเปรียบไดกับรถยนตแ การท่ี จะควบคุมรถได อยางสมบูรณแ คนขบั ตอ งนงั่ ในตําแหนง ทีน่ ั่งคนขบั เพอ่ื จะสามารถควบคุมอุปกรณแทั้งหลาย ดวง วิญญาณ เองกอ็ ยใู นตําแหนงทีส่ ามารถควบคุมรา งกายผานกลไกของสมอง น่ันคือท่ีก่ึงกลางหนาผาก เหนือแนวค้ิว เล็ก หอย ใกลกับตอมพิทูอิทารีและตอมไพเนียล บริเวณนี้คือตําแหนงที่เรียกวา “ดวงตาที่สาม” ผูคน สวนใหญหลงลืม ตัวตนด้ังเดิมของตนเอง หลงใหลอยูกับโลกภายนอก ติดยึดในส่ิงท่ีเป็นวัตถุ ซ่ึงรวมถึง รางกายท่ีดวงวิญญาณใชเพ่ือเลนบทบาทของตน เมื่อเราตระหนักถึงอัตลักษณแ ไป สํานึกรูแหงตัวตน ภายใน ทําใหเ ราตระหน ของเรา สง่ิ น้ชี ว ยสรางความเคารพตนเองใหกับเรา และเติมเต็มของตน เม่ือเรา ตระหนกั ถึงอัตลกั ษณแทางจิตวิญญาณของเรามุมมองของเราตอตนเองและผูอื่นก็จะเปล่ียนภายใน ทําให เราตระหนักวา ความสงบ ความรัก ความสุข และความบริสุทธ์ิ คือธรรมชาติดังเดิมของเราชวยสราง ความเคารพตนเองใหกับเรา และเติมเต็มเราดวยประสบการณแอันหวานช่ืนท่ีหางหายไปเป็นเวลา ยาวนาน สนั ติสุข ความพงึ พอใจ และอสิ รภาพท่ีแทจ รงิ จะกลบั คนื มาสูช วี ติ ของเราอกี คร้งั
204 3. การพัฒนาจิตวิญญาณผ่านกลไกของชวี ิต การตระหนักรวู าคนเราคอื “ดวงวิญญาณ” ผูท่ีใชรางกายเป็นเคร่ืองมือ เป็นสื่อในการแสดงออก ซงึ่ คณุ สมบตั ิ อยภู ายในตวั ของคนเรา อันไดแก ความรัก ความสงบ ความสุข และความปิติ สิ่งเหลานี้คือ ความดงี ามอันเปน็ ความ จริงแทใ นตัวเรา เป็นธรรมชาตดิ ้ังเดิมที่มีอยูใ นเราทกุ คน การตระหนกั รูใ นตนเอง มิไดเป็นเพียงการรูวาเราเป็นใคร แต รวมถึงการเขาใจวาอะไรคือคุณสมบัติของเรา หากไมอยูในการ ตระหนกั รนู นั้ พลังเชงิ ลบกเ็ ริ่มแสดงตัว และจากนั้นจึง มีความโกรธ การตกภายใตอิทธิพล และความไม ระมัดระวงั การอยใู นสาํ นึกรถู ึงคุณสมบัติอันเป็นธรรมชาติไดอยางสมํ่าเสมอถือเป็นสิ่งสําคัญอยางย่ิง เพราะ เม่ือใดท่ีเกิด การตระหนักรู คนเรายอมสามารถทํางานไปตามคุณสมบัติเหลานั้น ดังน้ัน ในการดําเนิน ชีวิตในแตละวันควรสังเกต ตนเองวาในตลอดทั้งวัน กําลังทํางานดวยพลังใด? มีความสับสนไหม? กําลัง ทํางานดวยความสงบหรือความกระสับ กระสาย? ควรมีการเตือนตนเองวาการกระทําทุกสิ่งสามารถทํา ไดอยางดีท่ีสุดเม่ือจิตใจอยูในความสงบ เม่ือใดก็ตาม ท่ีทําส่ิงตางๆ โดยไมไดใชธรรมชาติที่ดีงามภายใน แลว ก็ไมอ าจพอใจไดม ากนกั กบั สง่ิ ที่ไดกระทาํ ไป และสงิ่ นนั้ จะไม กอใหเ กดิ ความสุขและพลัง ในการพัฒนาจิตวิญญาณ เราจําเป็นตองเชื่อมโยงจิตใจกับตัวตนอันจริงแทกอน ซ่ึงหมายถึง “การกลับเขาสู ภายใน” (Introversion) โดยปกติจิตใจมักเก่ียวโยงกับส่ิงตางๆ ภายนอก เชน บาน ครอบครัว ที่ทํางาน ผูคน แต ไมใชกับตนเอง การใสใจกับคุณสมบัติภายในชวยใหสามารถเช่ือมโยงกับ ตวั ตนภายในไดอกี ครัง้ ภายในพลังชีวิตนี้มี “จิตสํานึก” (Consciousness) ภายในดวงวิญญาณมีกลไกในการทํางาน หรือมคี วาม สามารถในการทาํ งานอยู 3 ประการ ดังนี้ ประการแรก คือ จิตใจ (Mind) จิตใจเป็นสวนหน่ึงของดวงวิญญาณซึ่งทําหนาที่ในการสราง ความคิด และ ความคิดก็มีความเช่ือมโยงกับการกระทํา ดังน้ันจึงควรมีการตรวจสอบความคิดทั้งหลาย ของวาเป็นความคิดประเภท ใด เพราะทุกคร้ังท่ีคิด มีการใชพลังงานภายในตัวไปกับความคิดเหลานั้น คนเราไมสามารถหยุดคิดได แตความสบาย ความพอใจเกิดข้ึนจากการคิดในเชิงบวกและการคิดเทาที่ จําเป็นเทาน้นั ดงั นั้น จงึ ไมควรคิดมากเกินไป เพราะนัน่ เป็นการใชพลังงานไปอยางเปลา เปลอื ง ประการที่สอง คือ สติปัญญา (Intellect) ทําหนาท่ีในการแยกแยะและตัดสินใจวาส่ิงใดถูก หรือผิดเมื่อใด ก็ตามท่ีตองตัดสินใจอะไรบางอยาง คนเราอาศัยพลังของสติปใญญา การสนทนาระหวาง จติ ใจและสติปญใ ญาเกิดขึ้น อยูเ สมอ พฤติกรรมและทัศนคติของคนเราขึ้นอยูกับคุณภาพของการสนทนา นี้ หากมีการใสใจท่ีจะคงอยูในจิตสํานึก ของการเป็นดวงวิญญาณอยางสมํ่าเสมอ พลังในการแยกแยะ และตัดสินก็จะเพ่ิมมากขึ้น ซึ่งจะสงผลใหเกิดการเขาใจ วาตองทําอะไร พูดอะไรและคิดอะไร และแลว การกระทาํ ทั้งหลายกจ็ ะดขี ึน้ ประการที่สาม คือ จิตใต้สานึก (Subconscious) คือสวนที่เป็นรอยประทับหรือบางครั้ง เรียกวารอยกรรมภายใน ดวงวิญญาณ ทําหนา ทีบ่ นั ทึกประสบการณแและการกระทําของเรา ซึ่งจะเก็บไว
205 เป็นขอมูลสวนตัวของแตละคนท่ีกลับ กลายมาเป็นอปนิสัยหรือปรากฏเป็นบุคลิกภาพท่ีแตกตางไม เหมือนกัน ดังนั้น จึงควรระมัดระวังเกี่ยวกับการกระทํา ที่จะไมทําในสิ่งไหนท่ีไมดี และใหการกระทํา เป็นไปในสงิ่ ทถ่ี ูกตอ งดงี ามเทาน้นั ความสามารถทง้ั สามประการนี้ (จิตใจ สติปใญญา จิตใตสํานึก) ตางมีความเกี่ยวของกัน ประการ แรก จําเปน็ ตอ งใชจติ ใจคดิ ในฐานะทเ่ี ปน็ ดวงวิญญาณ ซ่ึงมคี ุณสมบัติท่ีดีงามเป็นพ้ืนฐาน การฝึกฝนที่จะ อยูในจิตสํานึกของการ เป็นดวงวิญญาณ (Soul consciousness) จะชวยทําใหสติปใญญามีความ ละเอียดออนและมีพลังที่จะแยกแยะและสินใจไดมากขึ้น เมื่อการกระทํานั้นเป็นไปในหนทางที่มีคุณคา นนั่ ก็เป็นการกําหนดวถิ ชี ีวติ ทมี่ งุ ไปสคู วามเปน็ มนษุ ยแ ที่สงู สงงดงาม 4. การใชค้ ณุ ธรรมในการดาเนินชีวติ การนําคุณคามาสูการกระทํา นิสัยที่ดีเหลาน้ีคือ “คุณธรรม” เราทุกคนมีศักยภาพที่จะเป็นคนดี และทําดี แต ทุกวันนี้ คุณธรรมไมไดเป็นท่ีช่ืนชอบมากนัก ผูคนมากมายคิดวาคุณธรรมกลายเป็นส่ิง ลาสมัย และไมไดนําคุณธรรม มาใชในการกระทําของคนเรา เชน ความยุติธรรม ความโอบออมอารี ความซื่อสัตยแ ความไววางใจ และความเคารพ หลายคนเลือกที่จะอุทิศตนใหกับความเป็นศัตรู ความ อิจฉาริษยา และความละโมบ บางก็ติดกับอยูในความเชื่อที่วา “ชีวิตคือการอยูรอดของผูที่สมบูรณแ แขง็ แรงทีส่ ดุ ” บา งกค็ ดิ วา “หากพวกเขาใชค ณุ ธรรม เขากจ็ ะไมไดในสิ่งที่เขา ตองการหรืออาจสูญเสียส่ิง ท่ีเขามี” หรือบางก็มีขออางวา เป็นเพราะผูอื่นปฏิบัติตอเราในวิธีท่ีไรความเมตตากรุณา และไมดูแลเอา ใจใส และเรากเ็ พยี งแตตอบกลับไปเชน เดียวกนั กบั ท่ีพวกเขาทํากับเรา และบางกค็ ดิ วาในเมือ่ โลกรอบ ตัว เราปรบมือชื่นชมและใหรางวัลกับกิเลส แลวเราจะมีคุณธรรมไปทําไม และน่ีก็กลายเป็นภาพของวันน้ีท่ี คุณธรรม ไดสูญหายไปจากวิถีชีวิตของผูคน แตกระนั้นคุณธรรมก็ไมเคยสูญสิ้นไปจากมนุษยแ เพราะ “คุณธรรมคือพลังแหง ความดีงามอันเป็นธรรมชาติ” ซ่ึงดํารงอยูภายในเราแตละคนและทุกคน โดยไม จําเป็นตองสรางข้ึนมาใหม แตจําเป็น ตองตระหนักในคุณคาของการนําคุณธรรมเหลานั้นมาใชในการ แสดงออกในชีวิตประจําวัน คุณธรรมน้ันเรียบงายและ เต็มไปดวยความงดงาม สงบเงียบ และออนโยน เปน็ พลงั ท่ยี ิง่ ใหญซ ึง่ สอดประสานกับสจั จะอยา งแทจ ริง คุณธรรมเร่ิมจากเจตนาเป็นส่ิงแรก แลวจึงเป็นทัศนคติ และกลายเป็นพฤติกรรม การเป็นคนดี และทาํ ดีเปน็ เร่ืองราวเดยี วกัน คณุ ธรรมมาจากแกนแทภายในของจิตสํานึกของเราที่ซ่ึงความสงบ ความ รัก ความสุข ความปิติ และ ความบริสุทธิ์ด้ังเดิมอันเป็นธรรมชาติแหงจิตวิญญาณดํารงอยู จาก ณ ท่ีนั้น ท่ีการกระทําของเราปรากฏออกมาจาก ภายในนี้ เม่ือใดท่ีเกิดการสูญเสียการเชื่อมโยงภายใน (การ ตระหนักรู) กับตัวตนท่ีแทจริง คนเราก็เริ่มท่ีจะแสดง การกระทํา “นอกทาง” และแลวส่ิงตาง ๆ ก็เร่ิม กระเทือน ติดกับ และเสียงมโนธรรมของคนเราก็จะบอกกับตนเองวา กําลังทําส่ิงที่ตรงกันขามกับส่ิงท่ี จรงิ แทแ ละดีงาม แตบ างคร้ังกไ็ มฟใงหรอื ไมสามารถไดยนิ ความทาทายในการดําเนินชีวิตที่มีคุณธรรม หมายถึง การวายนํ้าทวนคลื่นของโลกท่ีถูกรุกราน และแพรหลาย ไปดว ยความเห็นแกตวั และความละโมบ
206 “กเิ ลส” เปน็ คําท่ดี ที ่ีจะอธิบายนิสัยไมดีซึ่งตรงขามกับคุณธรรม ส่ิงนี้อธิบายวาสํานึกรูของเราถูก ยดึ อยางแนน หนาดวยความคิดในเชิงลบตา งๆ เชน “ความละโมบเปน็ เรือ่ งดี” “อาํ นาจคือความถูกตอง” ฯลฯ การติดอยูกับความเชื่อที่เป็นกิเลสเหลาน้ีทําใหสติปใญญาของคนเราไมสามารถหันกลับเขามา ภายใน และมอง ดูความดีงามด้ังเดิม ดังน้ัน ความกลาหาญ ความซ่ือสัตยแ และการสํารวจตรวจสอบ ตนเองอยางลกึ ลา้ํ จะชว ยใหสามารถ เหน็ รูปแบบผิด ๆ ของความเชื่อเหลา นนั้ และพาตนเองออกไปสูแสง แหง ความบรสิ ทุ ธท์ิ ี่ยังคงสองสวา งอยูท่ีแกนกลาง ของจิตสํานกึ ของคนเราได การนําเอาสง่ิ ทีด่ ที ีส่ ดุ ในตนเองกลับขึ้นมาใชอีกครัง้ เป็นการเสริมสรางความเคารพในตนเอง ชวย เราในการจัดการกับปใญหา หรืออุปสรรคในชีวิต และมองเห็นคุณคาของผูอื่นมากย่ิงข้ึน เป็นวิธีพัฒนา ความเป็นจติ วญิ ญาณในตนเอง และสรางความสัมพันธแทดี่ กี บั ทุกคน จะเห็นไดวา การใชคณุ ธรรมในการดําเนินชีวิตเป็นการดึงความเป็นจิตวิญญาณที่เป็นความดีงาม ด้ังเดิมกลับ มาใชสรางคุณคาชีวิตในครอบครัวใหเกิดความรมเย็นเป็นสุขและเป็นการปลูกฝใงคุณคาชีวิต ใหกับเด็กปฐมวยั อยา งเป็นธรรมชาติ 11.คุณค่าชวี ติ ทพี่ ึงประสงคส์ าหรบั ครอบครัวท่มี เี ด็กปฐมวัย ในยุคขาวสารขอ มูลท่ีทวมทนจนมากเกิน มีเรื่องตางๆ เขามาสูผูคนที่ตองรับรู และตัดสินใจ บาง เร่ืองก็มี คุณคา บางเร่ืองก็ไรคาตอการดําเนินชีวิตในแตละวัน มีความจําเป็นตองคัดกรองสิ่งที่มีคุณคา จากสงิ่ ท่ไี มมคี ุณคา การ แยกแยะวาสง่ิ ใดมีคุณคาซ่ึงอาจมีอยูเพียงนอยนิดในขอมูลท่ีมากมายนั้น ชวยให เราไมตองสูญเสียเวลาและพลังงาน โดยไมจําเป็น ครอบครัวก็เชนเดียวกันจําเป็นตองกลั่นกรองสิ่งท่ีมี คุณคา เพื่อการดําเนินชีวิตและถายทอดคุณคาเหลา นั้นใหกับลูกหลาน คุณคาชีวิตที่พึงประสงคแสําหรับ ครอบครวั ท่มี เี ด็กปฐมวยั จาํ เป็นตอ งไดร บั ความสาํ คัญ โดยเฉพาะ คุณคา “ความรัก ความสงบ ความสุข” ไมไดรอคอยแตละคนอยูที่ปลายทางของชีวิต หากแตเป็นประสบการณแท่ี เกิดขึ้นไดในแตละวันในทุก ขณะของเวลาปใจจบุ ัน เพยี งแคส ามารถลวงรูถึงวธิ กี ารทีจ่ ะหาสง่ิ เหลานั้นใหพบในตนเอง 1. ความรกั -สือ่ กลางเช่ือมโยงความสัมพนั ธใ์ นครอบครวั นิยามของความรักน้ันดาษดื่น มากมายจน “ความรัก” แทบจะกลายเป็นเรื่องธรรมดา แตถึง อยางนั้น ผูคน ตางก็รูวาความรักนั้นทรงคุณคา เป็นหนึ่งในความปรารถนาที่คนเราตองการไดมาในชีวิต และเพราะ “ความรัก” คือ ความจรงิ คือธรรมชาติแหงจิตวิญญาณ คือความงดงามแหงความเป็นมนุษยแ คือคุณธรรมท่ีสูงสง และเป็นพลังอัน ย่ิงใหญที่จะนําสันติสุขกลับคืนมาสูโลกใบน้ีของเรา เริ่มสราง ประสบการณแของความรักที่แทจริงข้ึนมาจากภายในตนเองดวยการตระหนักวาความรักคือคุณสมบัติ ดั้งเดิมของเราทุกคนดวยหัวใจท่ีสะอาดและบริสุทธิ์ สรางความคิดท่ีดี มีความปรารถนาดี และมี ความรูส กึ ดๆี ใหกบั ตนเองและผอู ่ืน แลวก็จะพบวาเปน็ เร่ืองงา ยทีจ่ ะรักและไดร ับความรกั “ความรักกับความทุกข”แ ความรักอันจริงแท ไมเคยเปน็ สาเหตุของความทุกขแ ความรักที่นํามาซ่ึง ความทกุ ขแ และนาํ้ ตา คอื “รกั ที่เหน็ แกต วั ” ซงึ่ เกดิ จากความตองการท่ีจะไดรับมีมากกวาความปรารถนา
207 ท่ีจะให หรือแบงปใน ความรักไมไดมีไวใหเราเป็นทุกขแ หรือรูสึกหนักหนวงใดๆ ความรักไมใชทั้งเครื่อง พันธนาการหรือปวงภาระ แตหากวาเรามี ความรูสึกเชนน้ัน ก็รูไดวาความรักของเราน้ันไมไดอยูบน พ้นื ฐานทถี่ กู ตอ ง “รักทุกสงิ่ ทีเ่ ราทํา” ดงั คาํ พดู ทีว่ า “จงเลอื กทาํ ในส่งิ ทเี่ รารัก” แตทุกวันนี้มีคํากลาวอีกวา “ขอให รกั ในทุกส่ิงทเี่ ราทาํ ” เพราะบางครั้งเราก็ไมมโี อกาสท่จี ะไดทําในสิ่งท่ีเรารักและนั่นก็คงไมสนุกนักกับการ ทาํ อะไรเพราะตอ งทาํ เพราะมันเป็นหนา ทห่ี รอื ความรับผดิ ชอบทไี่ มอาจหลกี เล่ยี ง และแนน อน ถา เล่ียงได เรากค็ งไมทํา โดยเฉพาะอยางย่งิ ถาส่งิ นนั้ ไมดีก็ไมควรจะทํา แตถามันเป็นเรื่องดีๆ ที่เราตองทําแตเราไม ชอบ ไมร กั มันเลย!! เราจะทําอยางไร? นีเ่ ป็น เวลาท่ีตองเรียนรูท่ีจะรัก แลวชีวิตของเราก็จะมีความสุขได ตลอดเวลา วิธีการท่ีเราจะสรางความรักในส่ิงที่เราทํา ก็คือ.. ใหเรารูสึกช่ืนชมกับส่ิงน้ัน “การช่ืนชม” (Appreciation) เกดิ จากการที่เราไดมองเห็นคุณคา บางอยางในสิ่งนั้น เหมือน กับเวลาที่เรารักใครสักคน เรากช็ น่ื ชอบบางอยางในบุคคลน้ัน เราอาจชอบเขาเพราะความออนหวาน เจอกันทีไรก็จะ ไดฟใงคําพูดท่ี ออนโยน พบกนั กค่ี รง้ั ก็รสู กึ สบายใจ แลว เราก็เริ่มทีจ่ ะรกั ใครคนนน้ั ความรกั หมายถึง การมองเหน็ คณุ คา ในคนๆ น้ัน หรือในสิ่งนั้น มันทําใหเราอยากเขาไปใกลมาก ขึน้ และวิธี ท่ีจะเขา ไปใกลไดด ีท่สี ุดกค็ ือรักสง่ิ นนั้ รักคน คนนนั้ และในความใกลชิด กุหลาบแหงความรัก ก็เร่ิมผลิบาน สงกลิ่น หอมของความสุขในความสัมพันธแอันอบอุนและยั่งยืน ในการมองเห็นคุณคาของ ใครหรือสิง่ ใด อยา เพยี งแตร อใหสิ่ง นั้นปรากฏ เราเองควรมองหาและมองเหน็ สง่ิ น้นั ดวยหัวใจที่เปิดกวาง ตระหนักถึงความจริงแทท่ีวา “ทุกสิ่งมีคุณคาและ ทุกคนมีความดีงาม” น่ีคือสัจจะท่ีผูซ่ึงมีความรักใน หวั ใจจะมองเห็นไดเ สมอ อาจจะจรงิ ทว่ี า ทุกคนยอ มตองมีความ ออ นแอ แตถ งึ แมมันจะมากมายเพียงใดก็ ตาม อยา งนอ ยทสี่ ุดก็จะตองมคี ณุ คาอยา งใดอยางหนึ่งอยใู นผูคนเหลา นน้ั เริ่มท่ีการมีความตั้งใจดีที่จะมองหา เพราะวิธีท่ีเรามอง น่ีแหละ คือวิธีท่ีเราจะเห็นคุณคาในส่ิงที่ เราดู บางคร้ัง มองแลวก็ยังไมเห็นนั้นก็อาจเป็นเพราะบางท่ีสายตาของเราก็พรามัว หรือถูกบดบังไวดวย แวนตาของอคติ ทศั นคติมี อิทธิพลอยางมากตอการรับรูของเรา หากในจิตใจของเรา มีความเกลียดชังมี อคติตอใครบางคน ตอใหเขาดีแสนดีเรา ก็ไมสามารถมองเห็นความดีของเขา หรืออาจจะเห็นแตเราก็ไม ยอมรับ ความสามารถในการรับรตู อความดีงามของเรา ถกู ทาํ ใหเสียไป!! “รกั แทเ ป็นเชน แสงสวา ง” ดังนั้น มนั กท็ ําใหเราเห็นทกุ อยางอยางชัดเจน จริงที่วาเราเห็นท้ังสิ่งดี และไมด ใี น คนทเี่ รารัก แตเ ปน็ เพราะความรัก เราจงึ เฝาู แตจ บั จอ งในสวนทีด่ ๆี แทนทจ่ี ะจอ งจับผิด!! เมื่อเรามีความรักใหกับใคร เราก็ไมอาจปลอยใหใครท่ีเรารักจมปลักอยูในความออนแอหรือขอบกพรอง ดงั น้นั บางคร้ังเรากอ็ ยากจะเขาไปแกไปทาํ ส่ิงที่แยๆ ใหกลับมาดี ยกตัวอยาง ความรักของพอแม ยอมตองอยากให ลูกไดดี แตบางทีเราก็ไมไดใชวิธีที่เหมาะสม เราวางเง่ือนไขในความรักของเรา เชน วันนี้ลูกด้ือ ลูกไมเช่ือฟใง ดังนั้น วันน้ีแมจะไมรักลูก!! ใช..เจตนาน้ันดี แตวิธีน้ีอาจสรางปใญหา! เรากําลัง “เวนวรรคในความรัก” การเวน วรรคทางการ เมืองเป็นเร่ืองที่ตา งออกไป แตการเวน วรรคในความรักเป็น สิ่งทไ่ี มควรทาํ
208 “เวน วรรคในความรกั ” เด็กๆ เรียนรูส่ิงตางๆ ท่ีเราปฏิบัติตอเขา หากเขาทําผิดแลว เราก็ลงโทษ โดยการหยุด ใหความรัก เขาก็จะเริ่มเรียนรูวา ในเวลาที่พวกเขาทําความผิด ทําสิ่งที่ไมถูกตอง เขาจะ ไมไดรับความรัก ใช..เราอาจ คิดวานี่เป็นเง่ือนไขหรือขอตอรองท่ีดี เพราะถาเขารูถึงคุณคาของความรัก เขากค็ วรจะใสใจและไมทาํ ผดิ ซา้ํ อกี บางรายมนั ก็เปน็ ไปอยา งนั้น บางท่เี ด็กกเ็ รยี นรใู นวิธที ีต่ างไป เมื่อเขา คิดวา “ฉนั ไมไ ดเป็นเด็กดี วันน้แี มก ็จะไมร ักฉัน” ดังน้ัน วันนี้ เม่ือลูกรูสึกกลุมใจสับสนกับชีวิต และแลวเขาก็เลยเลือกที่จะไปหาคนอ่ืนแทน!! แทนท่ีจะเป็น คุณแมที่ควรจะเป็นผูที่ใหการดูแล ใหคําแนะนําในยามที่ลูกทอแท และสับสน มันก็ กลายเป็นคนอื่นไป ดวยเหตุนี้ ความรักจึงไมควรเวนวรรค ความรักของเราควรจะสมํ่าเสมอ ไมมีวันขาด ตอน รักแทจึงเรียกไดวา เปน็ “รักนริ ันดร”แ แตเราจะทําอยางไร? ในเมื่อพอแมทุกคนก็ตองอยากใหลูกไดดี ถาจะตามใจกันตลอด เด็กก็ อาจจะเสยี คน ไรระเบียบ ขาดวนิ ัย กลายเป็นคนที่ไมมีความรบั ผดิ ชอบ “ความรักกับกฎเกณฑแ” รักแบบตามใจก็อาจจะเสียเด็ก เอาแตกฎเกณฑแมากไปก็อาจเสียใจ สภาพท่ีสมดุล เกิดข้ึนเมื่อเราเขาใจวา “ความรักคือกฎเกณฑแ” เม่ือหัวใจของเราไดรับรูถึงความรักจาก ใครบางคน ใครคนนั้นก็จะ กลายเป็นเหมือนบุคคลสาํ คัญของเรา ทกุ ความคิด ทุกคําพูดของเขาคนน้ันจะ เต็มไปดวยความหมาย เต็มไปดวยพลัง สําหรับเรา ดังนั้น คําพูด คําแนะนําหรือการรองขอใดท่ีมาจาก คนๆ นั้นก็จะกลายเป็นเหมือนกฏอันย่ิงใหญที่เราพรอม จะทําตาม น่ีไมใชเร่ืองของการกดขี่หรือการ บังคับ ไมใชการครอบงํา การทําใหยอมจํานน หรือความพายแพใดๆ แต เป็นความงดงาม ความยิ่งใหญ ของการเอาชนะใจดว ยความรกั ทรงพลังแตออนโยน แผวเบาแตหนักแนน แมแตเป็น คําสั่งก็ยังรูสึกเป็น เหมอื นถอ ยคําแหงการปลอบประโลม “รักและผูกพัน” ความรักและความผูกพันเป็นสิ่งที่อยูคูกัน เพราะความผูกพันนั้นสรางสายใย แหงความรัก ท่ีม่ันคง แตน่ันก็เป็นเพียงเม่ือคําวา “ผูกพัน” นั้นหมายถึงการผูกมัดตนเองไวกับความ รับผิดชอบตอความรัก เชน แม รักลูก แมก็ผูกมัดตัวเองกับการดูแลเอาใจใสลูกของเธอ คูรักท่ีรักกันก็ ผกู พนั กันไวดว ยการมีเวลาใหแกกันเสมอ แต เม่ือไหรก็ตามท่ีความผูกพันถูกใชไปในความหมายของการ ยึดมั่นถือครอง สิ่งน้ีเองที่ทําใหความรักน้ันหลุดลอยไป เพราะวาความผูกพันยึดมั่นเป็นโซตรวนแหง ความสัมพันธแที่กักขังเราไวในความคาดหวังและความเห็นแกตัว ซึ่งก็มัก จะตามมาดวยความผิดหวัง ความไมพ อใจ เม่อื เราไมไ ดในส่ิงทเ่ี ราตอ งการ “หวังกับคาดหวัง” ในโลกแหงความรัก มีคําสองคําท่ีแมจะฟใงดูคลายกัน แตก็มีความแตกตาง “หวัง” และ “คาดหวัง” ความหวังเป็นดั่งดาวนําทางท่ีปรากฏข้ึนมาจากศรัทธา ความปรารถนาดี และ หัวใจที่บริสุทธิ์ ความคาดหวัง เป็นเหมือนเมฆหมอกที่บดบังหนทาง สรางความซับซอน เคลือบแคลง และแฝงไวดวยผลประโยชนแสวนตน เสนแบง ที่คั่นกลางระหวาง “หวัง” และ “คาดหวัง” คือแรงจูงใจ เบื้องหลังความปรารถนา หนึ่งนั้นเป็นไปเพื่อจะให อีกหน่ึงนั้น เป็นไปเพื่อจะรับ ความคาดหวังเกิดจาก การขาดประสบการณแของความพอใจภายในตนเอง จึงเรียกรอง ตองการเอา จากผูอื่นเพ่ือเติมเต็มความ
209 อยากของตน บางคร้งั ความคาดหวังกซ็ อนพรางมากบั ภาพของการแสดงความปรารถนาดี การดูแลเอาใจ ใส ความเป็นหวงเป็นใย แมภายนอกจะดูเหมือนเป็นการให แตแทจริงแลวเป็นเพียงการลงทุนเพ่ือหวัง ผลกําไร ไมงายนักที่ใครจะเห็นแรงจูงใจของใคร นอกจากตัวเราเองที่ตองใสใจกับความคิด ความรูสึก ภายในจิตใจวา มาจากความบรสิ ทุ ธใ์ิ จหรือไม และหากวา เม่ือใดท่เี รารูสึกไดถึงความทุกขแ ก็ขอใหรูเถิดวา ความรักของเราน้ันถกู เจอื ปน ดว ยความเห็นแกตวั ความหวังนั้นแตงแตม ตอเติมความรักใหยืนยาว สวน ความคาดหวังน้ัน บันทอน บดบังความ งดงามของความรัก ความหวังทําใหเราคงความสุขไวอยาง สมํา่ เสมอ แมตองพบเจอปใญหาและอปุ สรรคขณะที่กาวไป บนหนทางแหงความรัก ความคาดหวังจบส้ิน ความสุข เพยี งแคพบวาเสน ทางแหงความรกั มิไดเ ปน็ อยา งทต่ี วั เอง ตอ งการ “ความรักเอาชนะขอบกพรอง” หากเรามีความรักท่ีจริงแท เราก็ไมอาจปลอยใหคนท่ีเรารักจม ปลักอยใู นความ ทกุ ขหแ รอื ติดกับอยใู นความออนแอ แตการชวยใครท่ีเรารักออกมาจากสิ่งน้ัน แนนอนวา ตองไมใชการทุบตี ดุดา หรือ ทําใหเสียใจ ในความรัก เราเลือกท่ีจะมองเห็นคุณคาแลวสรางพละกําลัง ข้นึ มาในผทู เ่ี รารัก เพอื่ ที่เขาจะสามารถจัดการ กับขอบกพรองหรือความออนแอของตนเอง เหมือนเวลา ที่เด็กหดั เดนิ เม่อื เขาลม พอ แมก็ไมไ ดด วุ า หรอื ทุบตี เราเอา เดก็ มากอดและบอกกบั เขาวา ไมเ ป็นไร ลองดู ใหม คอยๆ เป็น คอยๆ ไป จนในที่สุดเขาก็เดินได วันน้ีเขาวิ่งเลนอยาง มีความสุขเพราะวันน้ันเราให โอกาส ใหก าํ ลังใจ เราไดใ หค วามรกั แกเ ขา ดงั นน้ั เม่ือเราพบขอบกพรองในใคร การ แสดงออกของความ รักคือการใหโอกาส ใหพละกําลัง เม่ือเขาเขมแข็งเขาก็จะสามารถแกไขขอบกพรอง เอาชนะความ ออนแอของตวั เองได มเี ด็กชายชนั้ อนุบาลหัดคัดลายมอื เขาสงกระดาษยับยูยี่ท่ีมี ก.ไก ตัวเบ้ียวๆ โยไปโมมา ลองลอย อยูเต็มหนา กระดาษ บางตัวก็อยูเหนือ บางตัวก็อยูใตเสนบรรทัด คุณครูใจดีก็มองดูดวยสายตาชื่นชม แลว ชี้ไปที่ ก.ไก ตัวหนงึ่ (ตัวเดยี ว) ในกระดาษ และพูดกับเขาวา “ครูชอบ ก.ไก ตัวน้ีของเธอนะ ดูซิ มัน ปากแหลม แลวสองขาของมนั ก็วาง อยบู นเสน บรรทัดดว ย” เดก็ นอ ยยิ้มอยางมีความสุขแลวจากนั้นเขาก็ เขียน ก.ไก ทุกตัวเหมือนกับ ก.ไก ตัวท่ีคุณครู ชมการใหความรัก ไมไดแปลวาเราจะไมใสใจตอความผิด หรือขอบกพรอง แนนอนวาความถูกตองยังคงเป็นสิ่งจําเป็น และความออนแอก็ควรจะตองถูกขจัด ออกไป การพูดสอน การตักเตือน ก็ยังเป็นส่ิงที่ทําไดและควรทํา แตการยํ้าซํ้า แตความผิดพลาดและ ความออนแอ อาจไมเป็นวิธีที่ดีนัก โดยเฉพาะตอนท่ีเรากําลังหงุดหงิดรําคาญใจหรือขุนมัวใน อารมณแ บางครั้งน้ําเสยี ง แววตา ทาที่ของเราก็ทํางานมากเสียยิ่งกวาถอยคํา กระแสจิตอันมาจากจิตใจที่ป่ในปุวน จบส้ิน สัจจะของเราเอง ดังนั้น พวกเขาก็เพียงแตรูสึกขัดเคือง ไมพอใจ เริ่มปกปูองตัวเอง พิสูจนแตน ตอตาน หรือแมกระท่ัง ตอบโตกับเรา น่ีไมใชวิถีแหงความรัก พวกเขาไมไดใชเวลาในการสํารวจตนเพื่อ เปลย่ี นแปลงแกไขสิ่งใด แตเ สียเวลา กบั การปกปอู งหรือตอ สูกบั ผูรกุ ราน!! “รักหลุดลอย” ความรักนั้นแสนจะออนหวาน และดังนั้นเราทุกคนตางก็ปรารถนาจะมีความรัก เก็บไวในครอบครอง ความรักน้ันแสนดีถึงขนาดน้ี แตแลวทําไมบางคนถึงปลอยใหความรักหลุดลอยไป บางท่อี าจเปน็ เพราะเราเฝาู แตคิดวาจะเอาความรกั มาเก็บไว หรอื คิดเพียงวาจะไดความรักมาครอบครอง
210 ไดอ ยา งไรจนลืม จะใหล มื ทจ่ี ะแจกจาย ความรักที่เรามี และดวยเหตุนี้ แทนที่จะมีความสุขจากการไดให ความรัก เรากลับเป็นทุกขแหรือกังวลวาไมคอยมีใครมาใหความรักกับเรา ความรักไมไดเพิ่มพูนขึ้นมาจาก การไดรับ แตมันงอกงามจากการท่ีเราไดใหตางหาก ในมุมมองทางจิตวิญญาณ ความรักเป็นธรรมชาติ พน้ื ฐาน คอื ความงดงามแหง ความเป็นมนุษยแ คือคุณธรรมที่สูงสง และเป็นพลังอันย่ิงใหญท่ีจะนําสันติสุข กลับคืนมาสูโลกใบน้ีของเรา เริ่มสรางประสบการณแของความรักท่ีแทจริงขึ้นมาภายในตนเอง จากการ ตระหนักวา “ความรักคือคุณสมบตั ดิ ั้งเดิมของเราทุกคน” ดวยหัวใจที่สะอาดและบริสุทธิ์ สรางความคิดท่ี ดี มคี วามปรารถนาดี และมีความรูสึกดีๆ ใหกับตนเองกอน แลวมันก็จะกลายเป็นสิ่งที่งายดายที่จะหยิบ ยน่ื สง่ิ เหลา นใ้ี หแกผูอ่ืน “อยา กลัวทจ่ี ะรัก” แมความรกั จะเป็นเร่ืองทล่ี ะเอียดออ นอยางยงิ่ แตม ันก็มไิ ดเปราะบาง หรือถูก ทาํ ลายได งา ยๆ หรอก หากวารักนน้ั เปน็ ความรกั ท่ีแทจ ริง “รักแท” น้นั แข็งแกรง และคงอยูช่ัวนริ ันดรแ 2. ความสุข-บรรยากาศของการอยู่ร่วมกันอย่างสรา้ งสรรค์ เราทุกคนตางก็เคยมีความสุขกันมาแลวทั้งน้ัน แตหากถามวาสม่ําเสมอไหม? แตละคนก็คงให คําตอบ ที่แตกตางกันไป แตสวนใหญก็มีความสุขแคเพียงชั่วคราว ความสุขที่มา ๆ ไปๆ ถาเราตองการ ความสขุ ทีย่ นื ยาว ความสุขที่แทจริงเราจะหาสิ่งนี้ไดจากท่ีไหน? ผูรูท่ีปราดเปรื่องมากมาย นักปรัชญาใน ทกุ ๆ ยุค ตางก็พดู วา โดยธรรมชาติแลวมนุษยคแ อื ผทู ีม่ คี วามสุข พวกเขาตา งระบวุ า “ความสุขมีอยูแลวใน ตัวเรา” หากแตละคนมีสิ่งน้ีอยูแลวในตนเอง - แตทําไมเราถึงไมมีความสุข ที่จริงแลวก็ไมใชวาไมมี ความสขุ หรอกแตเ ราขาดประสบการณแกับความสุขที่เรามี เหมือน เรามีเงิน แตจําไมไดวา เอาเงินไปเก็บไว ที่ไหน ถึงแมเรามีแตกลับไมสามารถไดประโยชนแจากมันจนกวาเราจะหาเจอ ส่ิง ท่ีเราแทบจะไมได สังเกตเห็นเลยก็คือ เรามองดูและมองหาความสุขในทิศทางท่ีผิด!! ท้ังหมดท่ีเราตองทําก็คือแผวถาง เอา ความเช่ือผิดๆ เก่ียวกับความสุขออกไปจากจิตสํานึกของเรา เพื่อที่เราจะสามารถมองเห็น และมี ประสบการณแกบั ความสุขอันจริงแทไดอ ีกคร้ัง ความเชื่อผิดๆ ที่วานี้ก็เชน เช่ือวา “รวยแลวจะมีความสุข” ถายังไมรวย ความสุขก็ยังไมมา แต หลายคนก็ รวยแตก็ไมมีความสุข ในความเป็นจริง ความสุขไมไดข้ึนอยูกับความรํ่ารวยหรอก คนจนก็มี ความสขุ ได ดังนนั้ ความ สุขไมไดขึ้นอยูกับฐานะหรือความมั่งคั่งภายนอก หรือที่วา “สะสมไวเยอะๆ จะ ไดมีความสุขมากๆ” คนโลภไมเคยรูสึกถึงความอ่ิมเต็ม ความละโมบทําใหเราไมรูจักพอ มันเป็นรูร่ัวท่ี ความสุขจะไหลออกไปจนหมด!! ดังนั้นความสุข มาพรอมกับความพอใจ แตควรเป็นความพอใจในสิ่งที่ เรามี พอใจกบั ส่งิ ทเี่ ราเป็น “ความสุขคือการไดบรรลคุ วามฝนใ ของตน” นี่คือวิธีเล่ือนความสุขของเราออกไป เอาความสุขไป เก็บไวในอนาคต รอใหลูกเรียนจบ รอไดเป็นผูจัดการ หรือผอนบานผอนรถหมดแลวถึงคอยมีความสุข ความสุขไมไ ดรออยทู ี่ ปลายทางหรอื ปลายฝใน แตควรอยูกบั เราในทุกวัน ในทกุ กาวยา งทีเ่ รากาวไป “ความสุขของเราขึ้นอยูกับผูอื่น เชน พอแมคิดวา ความสุขอยูที่ลูกทําตามที่พอแมตองการ ใคร บางคนอาจ จะไมนารักกับเรา แตนั่นไมไดแปลวา เราจะไมสามารถมีความสุขขณะที่อยูกับเขา ความสุข
211 ไมไ ดเ ป็นบางส่ิงนอกตวั เรา ความสุขทจี่ ริงแทไ มไดข นึ้ อยกู ับใครส่ิงใด หรือท่ีไหน แตความสุขเป็นงานขาง ใน ในจิตใจของเราเอง ความสุขทจ่ี ริงแท ไมใ ชค วามตนื่ เตน เพราะเราสว นใหญเช่ือวา ความสขุ เกดิ จากการถกู กระตุน จึง ทําใหเราแสวงหาสิ่งกระตุนจากภายนอก ดาราคนโปรด สถานที่พักผอนสวนตัว หากเราทําเชนน้ีมาเป็น ระยะเวลาทย่ี าวนานก็ อาจไมง ายนกั ทีจ่ ะเลิกหรอื เป็นอสิ ระจากนสิ ัยน้ี เพราะมแี นวโนมท่จี ะเป็นการเสพ ตดิ กบั บางคนหรือบางสถานที่ และ สิ่งเหลานีไ้ มใ ชส่ิงท่ยี ง่ั ยืน “ความสุขที่แทจริงกับความสุขชั่วคราว” ความสุขที่จริงแทเป็นคนละอยางกับความสนุกเราใจ แมวาความ ตื่นเตนระทึกใจจะใหความสุขกับเรา แตก็เป็นความสุขแบบอายุสั้น ชั่วครูช่ัวคราว พอความ ระทึกใจนั้นผานพนไป ความสุขก็อันตรธานไปดวย เม่ือกิจกรรมท่ีร่ืนรมยแนั้นจบลง ความสุขก็จะคอยๆ เดือดแหง ไปดว ยกนั ความสุขอันจริงแท ซึ่งหมายถึง ความสุขท่ีถาวรและคงอยูกับเราเสมอจึงไมใชความสุขที่มาจาก แรงกระตุน หรือความระทึกใจ ความสุขท่ีไดมาจากการใชสิ่งเราหรือตัวกระตุนนานเขาก็อาจพาเราเขา ไปสูการเสพติด ความสุขท่ี จริงแทจะไมข้ึนๆ ลงๆ บางครั้งสูง บางครั้งต่ํา ความสุขที่จริงแทน้ันม่ันคงอยู ในสภาพท่ีสมํ่าเสมอ ส่ิงนี้เป็นไปไดเม่ือ เราเขาใจวา “ความสุขมีอยูแลวภายในตัวเรา” ดังนั้น การมี ประสบการณแของความสขุ กเ็ ปน็ งานทีจ่ ะตอ งสรางมนั ขน้ึ มาจากภายใน ความสุขจึงเปน็ เรือ่ งของจิตใจทีม่ ีประสบการณแของ “ความพอใจ” ซ่ึงหมายถึงความพอใจในส่ิงที่ เรามี ไมใช ความพอใจกับสิ่งภายนอก หรือจากการไดรับสิ่งไหนที่เราตองการ ขอใหเราพอใจกับตนเอง พอใจในส่ิงที่เรามี พอใจ ในสิ่งที่เราเป็น นั่นคือการยอมรับ การรูคา และการมีความเคารพในตนเอง ทํางานอยางมคี วามสขุ ” จงเลอื กทาํ ในสิ่งทเี่ รารัก เพราะน่ันจะทาํ ใหเ รามีความสุขกบั สิง่ ท่ีเราทํา แตก ารมีความรักในทุกส่ิง ท่เี ราทํา จะ ทําใหเรามคี วามสุขกบั ทกุ ๆ สิ่งในชวี ติ 3. ความสงบ-การใช้ชวี ติ อย่างปราศจากความกา้ วรา้ วรนุ แรง ผูค นสว นใหญค ดิ วาอารมณแท่ปี ใน่ ปุวนของพวกเขาเกิดจากส่ิงตางๆ รอบตัว เชน เมื่อไดยินคําพูดท่ี หยาบคาย ไดเห็นพฤติกรรมที่เลวรายของใครบางคน หรือตองเขาไปสูสถานการณแที่เต็มไปดวยความ ขัดแยง หรือการเผชิญหนา กัน พวกเขามักคิดวาสิ่งเหลาน้ันเป็นเหตุแหงความปใ่นปุวนในอารมณแ แตใน บางกรณี แมในสถานการณแเดียวกัน แต ผูคนก็กลับมีการตอบสนองตอสถานการณแเดียวกันนั้นในวิธีที่ แตกตางกนั ตวั อยาง คนสองคนไปทํางาน ท้ังคูไดรับ มอบหมายใหทํางานอยางเดียวกัน ใหเสร็จในเวลา เดียวกัน หน่ึงน้ันก็เครียดและรูสึกถูกกดดัน ขณะท่ีอีกคนทําอยาง เบาสบาย ทั้งสองคน ทํางานเสร็จ ทันเวลา หนึ่งนนั้ หมดแรง และอีกหนงึ่ น้นั สดชน่ื และพรอ มสําหรับงานช้นิ ตอ ไป อะไรเลา คือความแตกตา ง? ไมใชง านหรือเสน ตายท่ที าํ ใหเ กดิ ความเครียดหรือความกดดันอยางที่ หลายๆ คนเช่ือ แตเป็นวิธีการรับรูตอส่ิงตางๆ เหลานั้นตางหาก ดังน้ัน “วิธีการรับรูของเราคือความจริง สําหรับเรา” และการ รบั รูเป็นทางเลือก เป็นบางสงิ่ ท่เี ราแตละคนเลอื กได
212 “ควบคมุ อารมณไแ ดอ ยางไร เม่อื ประสาทสมั ผสั ของรางกายรับรูตอส่ิงตางๆ รอบตัว จิตใจของเรา ก็มคี วาม คิดบางอยางเกิดข้ึน และเป็นดวยความคิดน้ันที่เราเกิดความรูสึกและกลายมาเป็นอารมณแ บาง ความคิดนําเราไปสูความรูสึกที่ดีแลวเราก็มีอารมณแดี บางครั้งเมื่อเรามีความคิดที่เป็นลบ อารมณแและ ความรูสึกของเราก็เป็นไปตามนั้น เพ่ือที่ เราจะกลายเป็นนายเหนืออารมณแตนเอง เราตองตระหนักวา สถานการณแเปน็ เรอื่ งขา งนอก แตประสบการณอแ ัน หมายถงึ ความรูสึกหรืออารมณแของเรานั้น เกิดขึ้นขาง ใน ซ่ึงขึ้นอยูกับการรับรูของเรา เม่ือเราเขาใจวาการรับรูคือส่ิงที่ เราเองสรางข้ึน และแลวเราก็สามารถ เลือกการรับรูการตีความของตัวเราเองได และในการทําเชนนั้น เราก็สามารถ กลายเป็นนายเหนือ อารมณแของตนเอง แตหากเราหลงลืมสิ่งนี้เราก็มีแนวโนมท่ีจะรูสึกวาเหตุการณแมีพลังเหนือกวา เราตก ภายใตอ ิทธิพลของเหตกุ ารณแ และกลายเปน็ เหยื่อของสถานการณแ : “การเปลยี่ นแปลงกบั ความปน่ใ ปุวนทางอารมณแ” เวลาน้ีจังหวะของการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นบน โลก ในเกือบ ทุกดานของชีวติ อยูในอัตราที่รวดเร็วมาก ซึ่งแนนอน มันสงผลกระทบตอ “คุณภาพชีวิต” และสาํ หรบั คนสวนใหญ การเปลีย่ นแปลงทร่ี วดเรว็ นท้ี ําใหพวกเขาแยลง แมจะมีการเตือนหรือเตรยี มการ มีขอมูลขาวสารที่สงถึงกันไดทั่วทั้ง โลก ผานเทคโนโลยีที่ทําใหระยะทางไมไดเป็นอุปสรรคกีดขวางอีก ตอไป แตกระน้ัน ผูคนสวนใหญทําอะไรเม่ือตอง เผชิญหนากับการเปลี่ยนแปลง พวกเขาตอตาน ทําไม บางก็ตอบวากลัวสิ่งท่ีไมรู แตเราจะกลัวสิ่งที่เราไมรูไดอยางไร ความกลัวที่อยูเบื้องหลังการตอตาน ทัง้ หมดตอ การเปลีย่ นแปลงใดกต็ าม ไมใ ชค วามกลัวตอส่ิงท่ีไมรู แตเป็นความ กลัวตอการสูญเสียสิ่งที่เรา รูอยูแลวหรือมีอยูแลว เชน ตําแหนง อํานาจ รายได ผูคน เกียรติยศ ภาพพจนแในสายตา ของผูอ่ืน หรือ อภิสิทธ์ิบางอยาง เป็นตน แตเราสามารถยึดเหน่ียวส่ิงตางๆ เหลานี้ไวไดจริงหรือ อาจมีหนึ่งหรือสองคน ทย่ี งั อยูในชวี ิตของเรา แตส วนใหญมาแลว ก็จากไป ทุกสิง่ เปลย่ี นแปลงในทุกวัน สิ่งเหลาน้ันคือรูปของพลังงาน ถาเรากาวออกมาชั่วขณะ สังเกตสิ่งตางๆ ในความเงียบสงบ ทั้งหมดที่เราจะ เห็นคือรูปตางๆ ของพลังงาน พลังงานที่เฝูาแตเปล่ียนตําแหนงและรูปของมันอยู ตลอดเวลา ดังน้ัน ถาเรานําท้ังหมด มารวมกัน เราก็จะไดแมนํ้าของพลังงาน สิ่งท่ีเราอาจเรียกวาเป็น “แมนา้ํ แหงชวี ิต” เราทาํ อะไรกับแมนํ้าสายน้ี เรา พยายามสรางเขื่อน ก้ันขวางกักเก็บ ยึดจับส่ิงเหลาน้ัน ทง้ั หมดไว แลว อะไรเกดิ ข้ึนเม่ือเราทาํ เชน นน้ั อะไรถูกสรางข้นึ หลังเข่อื นกั้นน้ํา “ความกดดัน” เหตุนี้เอง ความกดดันจงึ เปน็ สิง่ ที่เราเองสรางมันข้ึนมา ไมมีใครและไมมีส่ิงใดทําใหเรารูสึกกดดัน ได มันเป็น สิ่งสรางของเราเอง เม่ือเราพยายามสรางเขื่อนกั้นขวางแมนํ้าแหงชีวิต ปิดก้ันการไหลเลื่อน อยางเป็นธรรมชาติของมัน ส่ิงที่ตามมาก็คือ นํ้านิ่งและเนา บางคร้ังเราก็อยูนิ่งๆ และสงกล่ินเหม็นใน ความสัมพันธทแ ง้ั กบั ตนเองและผูอ ่ืน เมื่อเรา รบั รูวาการเปลย่ี นแปลงที่เราไมช อบกาํ ลงั จะเกดิ ข้นึ “ทาํ อยา งไรเมื่อตองเผชิญกับการเปลี่ยนแปลง” ลองสังเกตเวลาที่นักยูโดสองคน (สองพลังงาน) เผชิญหนา กัน พวกเขาหันหนาเขาหากัน กมใหแกกันแสดงความเคารพ และรับรูซึ่งกันและกัน พวกเขา กอดกัน ไมใชเพราะรัก กันเราไดเห็นหลักการแรกของการจัดการกับการเปลี่ยนแปลงหรือจัดการกับ พลังงานใดกต็ ามทเี่ ขามาหาเรา การยอมรบั “โอบกอด” แลว มองดวู าเราจะใหส ่งิ น้ันทํางานใหเราอยางไร
213 เมื่อเราสามารถยอมรับวา ไมมีส่ิงอื่นใดอยูรอบตัวเรา นอกจากการเปล่ียนแปลง และมีเพียงการ เปลี่ยนแปลงเทา น้นั ทุกสิ่งและทกุ คนเพยี งแตมาแลว ก็ไป ความกลวั อยาง ไรเ หตุผลตอการสูญเสียซ่ึงเป็น เหตุของความเครียดก็จะคอยๆ ลดกําลังลง เมื่อความเครียดอันเป็นเหมือนรูร่ัวท่ีทําให เราสูญเสีย พลังงานไปอยา งเปลา เปลืองไดร ับการจัดการ เราจะรูส กึ เหมือนมพี ลังงานเพ่มิ มากขน้ึ มีเรี่ยวแรงที่จะเลน บทบาทตางๆ ในความสัมพันธแของเรากับผูอื่น ท่ีบาน ที่ทํางาน เราแมกระท่ังสามารถใหการชวยเหลือ ผูอ่ืนใหเขาใจ และจัดการความเครียดของพวกเขาได หรือน่ันก็คือ จาก “การตอตาน” ไปสู “การ ยอมรบั ” จาก “การหนีไป” เป็น “การเลอ่ื นไหล” จากการเป็น “เหยอื่ ของการเปล่ียนแปลง” กลายเป็น “โอกาสของการเร่ิมตนสิ่งใหม ๆ ท่ดี กี วา” “ความโกรธ” หน่ึงในอารมณแท่ีแยที่สุดที่ทําใหเกิดวิกฤตทางอารมณแคือ “ความโกรธ ความโกรธ ไมเพียง สรางวิกฤตในจิตใจของเรา แตยังอาจนําเราไปสูความวิบัติ หรือสรางความเสียหายไปถึงผูคน รอบตวั ไดอ ยางมากมาย คาํ พูดแมเ พยี งคาํ เดยี วท่ีพูดดว ยความโกรธ อาจท้งิ รอยแผลไวในหัวใจไดย าวนาน หรืออาจถงึ ข้นั ทาํ ลายความสัมพันธแ ใหขาดสะบ้ันกันไปก็มี ถาเราถามผูคนถึงสาเหตุท่ีทําใหพวกเขาโกรธ กเ็ ช่อื ไดว าเราจะไดรบั คาํ ตอบท่หี ลากหลาย กวางใหญเ ลยทีเดียว “การเอาชนะความโกรธ” นักปราชญแที่มีชื่อเสียงทานหน่ึงเคยพูดไววา “จะมีความสงบบนโลกนี้ ไดอยางไร หากหัวใจของผูคนยังเป็นเชนภูเขาไฟ” จนกวาผูคนจะมีความสงบและเป็นอิสระจากความ โกรธ เพยี งเทา นน้ั เองทพี่ วก เขาจึงจะมีชีวติ อยรู ว มกันไดอยางสอดคลอ งกลมกลนื “จะสรางความสงบขึ้น ในตนเองไดอยางไร” เริ่มดวยการตระหนัก วาเรามีทางเลือกที่จะคิด และรูสึกอยางท่ีเราตองการ ถาเรา ลองมองดูสิ่งท่ีทําใหเราโกรธ เราก็อาจจะพบวา มันเป็น เพราะตัวเราเองท่ีปลอยใหบางสิ่งมากระตุน ความโกรธของเรา บางคร้ังก็เหตุการณแ หรือเป็นพฤติกรรมของบางคนท่ีมา กระตุนเรา และเป็นเพราะ เราคนุ เคยอยางยิ่งกับการตอบสนองตอส่ิงเราเหลาน้ันดวยความโกรธเราจึงแสดงความโกรธ ออกมาครั้ง แลวคร้ังเลา และน่ันก็เป็นเพราะเราลืมไปวา เราสามารถเลือกไดวาเราตองการจะรูสึกเชนไร จนกวาเรา จะ สามารถควบคุมความรูสึกและอารมณแของเราไมใหเป็นไปในวิธีท่ีสรางความเสียหายตอตนเองหรือ ผูอ ืน่ นั่นจึงจะกลา ว ไดว า เราเป็นอสิ ระจากความโกรธ เราอาจจะเคยไดยินใครบางคนพูดวา “ฉันเกลียดจริงๆ เลย ที่เธอพูดกับฉันอยางน้ี ไมชอบเลย จริงๆ” หรือ “ฉันบอกเธอ มาก่ีคร้ังก่ีหนแลววาไมใหทําอยางน้ี” บทเรียนหน่ึงที่ไดเรียนรูจากเร่ืองนี้ก็คือ ไมวา เราจะเปน็ ใคร ยงิ่ ใหญเพียงใด แตเราไมม ีวันทจ่ี ะควบคุมทกุ ส่งิ ใหเ ปน็ อยางทใี่ จเราตองการ ไมวาจะ เป็นสภาพแวดลอม ผูคน หรือ สถานการณแ เพราะสิ่งเหลานั้นเปลี่ยนแปลงเสมอ สิ่งเดียวเทาน้ันที่เรา ควบคุมได คือวิธกี ารที่เราจะตอบสนองตอ สิง่ ตา งๆ เหลาน้ัน “การควบคุมตนเอง” ความสามารถในการควบคุมตนเอง เป็นสิ่งท่ีเราพัฒนาข้ึนมาได และเป็น เพียงตัวเราเองเทานั้นท่ีสามารถทําใหส่ิงนี้เกิดข้ึน ชีวิตในปใจจุบันมาพรอมกับความทาทายในการ เผชิญหนา กับความทา ทายเหลาน้ี เราตองมองดูทุกปฏสิ มั พนั ธทแ ี่เกิดขึน้ ในโลกของเราวาเป็นสวนหน่ึงของ เกมหรอื ละครเร่ืองใหญ และภายในละครนี้ แตละคนและทุกคนตา งก็มีบทบาททพ่ี ิเศษสุดของตนเองท่ีจะ
214 แสดงซง่ึ เกย่ี วโยงกับนสิ ัยสว นตวั ความสมั พนั ธแกบั ผูคน และบญั ชีกรรมที่พวกเขาไดกระทํามาในอดีต เม่ือ เรายอมรับในสิ่งน้ี แทนการใชเวลาของเรากับการจับตามองดูสิ่งที่ คนอ่ืนกําลังทํา เราก็เริ่มใสใจที่จะใช พลังงานของเราเพื่อเลนบทบาทของตนเองอยางเต็มความสามารถ เราตระหนักวา เราไมสามารถบังคับ หรือควบคมุ พฤติกรรมของใคร เพราะมนั อาจจะนําไปสคู วามขัดแยงไดในที่สุด แทนที่จะเป็นเชน น้ัน เรา ควรสรางความเขา ใจที่ไมว า ใครจะทําอะไรก็ตาม พวกเขายอมตอ งมีเหตุผลบางอยางท่ีจะทํา ดังน้ันเราไม ควรดวนสรุปเกินไป และแทนการพยายามควบคุมพฤติกรรมของผูอื่น มันจะเป็นสิ่งที่งายกวา และเป็น ประโยชนแมากกวา ทีเ่ ราจะจดจอพลังงานของเรากับการกระทาํ ของตนเอง “การฝึกสมาธิ” ชวยเราใหสราง “เน้ือที่วางสวนตัว” ภายในตนเอง เพ่ือที่เราจะมีโอกาสมองดู ชั่งนํ้าหนัก เหตุการณแและตอบรับตอสถานการณแไดอยางเหมาะสม จากการอยูในสภาพของการควบคุม ตนเอง เม่อื เราโกรธเราก็ ขาดการควบคุมตนเอง ในเวลานน้ั เราอยูในสภาพของความปน่ใ ปุวนภายใน และ ความโกรธเปน็ พลงั ท่ีกอ ใหเ กดิ การ ทาํ ลายลางไดอยา งมากมาย อยา งไรก็ตาม ดวยการตระหนักรวู า เราคือชวี ติ ทเ่ี ป็นจิตวิญญาณ และดวยการตระหนักรูและการ มี ประสบการณแกับความงามของธรรมชาติท่ีจริงแทของเรา การพ่ึงพิง การยกยองหรือการยอมรับจาก ผูอ่ืนก็จะลดลง เม่ือเราไดคนพบความมั่นคงและความนิ่งภายใน และแลวการใชความโกรธเป็นเครื่อง ปกปูองก็ถูกขจัดทิ้งไป รูปแบบน้ีของความม่ันคงสามารถสรางรากฐานท่ีแนนหนา ในรูปของความม่ันใจ ในตนเอง ผอู ื่นอาจพูดอะไรก็ตามทอ่ี ยาก จะพดู และนัน่ กอ็ าจจะเป็นความจริงดว ย แตเ ราไมส ูญเสียความสงบหรือความสุขของเรา น่ีคือ การเคารพตอส่ิงท่ีคงอยูตลอดไปภายในตัว เรา เราให โอกาสแกต นเองที่จะคงความสงบของจติ ใจเอาไว เพราะไมมใี ครอนื่ สามารถหยิบยื่นส่ิงน้ีใหกับ เราได เรามีทางเลือก หากเรารับความทุกขแจากใครบางคน เราก็ไมอาจกลาวโทษบุคคลน้ันและพูดวา “เป็น ความผิด ของเธอท่ีมาพูดกับฉันแบบนี้” เราตระหนักวาเรามีทางเลือกในทุกขณะ เราสามารถใช สติปใญญาของเรากลั่นกรองเพื่อ เลือกสิ่งที่เรากําลังจะปลอยใหเขามา และส่ิงท่ีเรากําลังจะปูองกันไมให เขามาขา งในและมีผลกระทบกับตนเอง ประสบการณขแ องความสงบสามารถกลายเป็นสภาพภายในของเราไดอยางเป็นธรรมชาติ ในวิธีนี้ เหมือนกับ ท่ีน้ําสามารถเปลี่ยนรูปจากของแข็งเป็นของเหลว หรือกลายเป็นไอ ดังน้ัน พลังงานซ่ึงกอน หนา น้ันเคยแสดงออกมา และหลอ เลี้ยงความโกรธกส็ ามารถเปลยี่ นไปเป็นพลังของความมุงมั่นหรือความ กลาหาญ แทนการโกรธใครบางคน เพ่ือพสิ ูจนแความถูกตอง เราสามารถเรียนรูที่จะยืนยันดวยความมั่นใจ “การยืนยันดวยความมั่นใจ” แสดงถึงการมี ความเคารพตอตนเอง ในขณะที่ความโกรธไมแสดงความ เคารพทั้งตอตนเองหรือใคร เพียงดวยการขจัดความโกรธ ออกจากตนเองเทานั้น ที่เราจึงจะเป็นอิสระ พอจะมีประสบการณแความสงบของธรรมชาตทิ ีแ่ ทจ ริงของการเป็น จิตวิญญาณของเราได ดังน้ัน ดวยความเขาใจท่ีลึกซ้ึงทางจิตวิญญาณนี้ พอแมผูปกครองที่ผูเกี่ยวของสามารถพัฒนา คุณคา ชวี ิตเพื่อ เปน็ แบบอยา งในการถายทอดใหกบั ลูกหลาน
215 9.การสร้างบรรยากาศครอบครัวทม่ี ีเดก็ ปฐมวัย บนฐานคิดการเคารพตอ่ คุณค่าชีวิต การปลูกฝงใ คุณคา ชีวติ สาํ หรบั ครอบครัวท่มี ีเดก็ ปฐมวัยมีความสําคัญอยางย่ิง ครอบครัวมีบทบาท หลกั โดยตรงในการทําหนาที่ถายทอดระบบคุณคาชีวิตใหแกลูกหลาน สมาชิกครอบครัวทุกคน ไมวาจะ เป็นพอแม ปูุยาตา ยาย ลุงปูานาอา หรือผูใหญในครอบครัว ลวนเป็นเบาหลอมคุณคาชีวิตท่ีดีงาม ท้ังหลาย ผานกระบวนการเรียนรูรวม กันในครอบครัว ท้ังการเป็นแบบอยาง การอบรมส่ังสอน การ ฝึกฝน การขัดเกลา การหลอหลอม การบมเพาะ และ อื่นๆ ซ่ึงในสังคมวัฒธรรมไทยจะเห็นไดชัดเจนใน วถิ ีชวี ติ ครอบครวั 1. ฐานคิดการเคารพตอ่ ศกั ดิ์ศรีความเป็นมนษุ ย์และคณุ ค่าชีวิต สังคมไทยเป็นสังคมท่ีมิติทางสังคมและวัฒนธรรมซ่ึงมีผลตอการพัฒนาในทุกดาน โดยมีลักษณะเฉพาะ ตรง ท่ีการดํารงชีวิตไดรับผลพวงมาจากความคิดความเช่ือจากสถาบันทางศาสนาท่ีเชื่อมโยงกับหลักคิด คุณธรรมความดี งามในการดําเนินชวี ิต ซ่ึงสาระสาํ คัญจะเนนไปยังลักษณะของความเปน็ จิตวิญญาณและ ความเป็นมนุษยแอยางชัดเจน จึงกลาวไดวา ลักษณะเฉพาะทางสังคมและวัฒนธรรมของสังคมไทยให ความสําคัญกับความเป็นมนษุ ยแแ ละความ * สัมพันธแระหวางมนุษยแเป็นอยา งมาก ศักดิ์ศรีความเปน็ มนุษยแ (Human dignity) เปน็ คาํ ท่ีพบใชในแวดวงสิทธิมนุษยชน ในแงของการ ใหคุณคา แกค วามเป็นคนวา คนทุกคนมีคุณคาเทาเทียมกัน ศักด์ิศรีความเป็นมนุษยแ เป็นหลักการสําคัญ ของสิทธมิ นษุ ยชนท่ี กําหนดสทิ ธิทต่ี ดิ ตัวมาตัง้ แตเกิด ใครจะละเมิดไมได และไมสามารถายโอนใหแกกัน ได สิทธินี้คือ สิทธิในการมีชีวิต และมีความม่ันคงในการมีชีวิตอยู คนทุกคนท่ีเกิดมาบนโลกมีศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษยแ ดังน้ัน การปฏิบัติตอกันของ ผูคนในสังคมจึงตองเคารพความเป็นมนุษยแ หามทําราย รางกาย ทรมานอยางโหดราย หรือกระทําการใดๆ ที่ถือเป็นการ เหยียดหยามความเป็นมนุษยแ ศักด์ิศรี ความเป็นมนุษยแ ไดรับการรับรองไวในปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน กติการะหวางประเทศ อนุสญั ญา และปฏญิ ญาระหวางประเทศหลายฉบบั สังคมปใจจุบันมักละเลยศักดิ์ศรีความเป็นมนุษยแ เพราะมีการใหคุณคาของคนแตกตางกัน สังคม ทัว่ ไปให คุณคา ของความเป็นคนท่ีสถานภาพทางสังคมของผูน้ัน เชน เป็นผูนําชุมชน เป็นนายทหาร เป็น นายกรฐั มนตรี เป็นผพู พิ ากษา สถานภาพทางสังคมของคนแตละคน ไมใชตัวช้ีวัดวามนุษยแหรือคนคนน้ัน มีศักดิ์ศรีของมนุษยแหรือไม แตศักด์ิศรีความเป็นมนุษยแ คือ การใหคุณคาความเป็นคนตามธรรมชาติของ มนษุ ยไแ มวาจะเกดิ มาพิการ เป็นเด็ก เปน็ ผูหญิง ผูช าย เกิดมาเป็นคนปญใ ญาออ น หรอื ยากจน คนทุกคนที่ เกิดมาถอื วามีคณุ คา เทา กนั ตอ งปฏบิ ตั ติ อกนั เย่ียง มนุษยแอยางเสมอภาคกัน เพราะการปฏิบัติตอกันของ ผูค นในสงั คมอยางเสมอหนา กนั เปน็ การเคารพศกั ด์ิศรีความเปน็ มนษุ ยแ ตัวช้ีวัดของการเคารพศักด์ิศรีความเป็นมนุษยแก็คือ ความเสมอภาค หรือการปฏิบัติตอคนทุกคน อยา งเทา เทยี มกัน หากมกี ารปฏบิ ตั ติ อมนษุ ยโแ ดยไมเทาเทียมกนั เราเรียกวา การเลือกปฏิบัติ ความเสมอ ภาคหรือความเทา เทียมกันมิใชแปลวาคนทุกคนตองไดรับเทาน้ัน แตหมายความวา ในสถานการณแที่ เหมอื นกันจะตองปฏบิ ัตติ อ คนดว ย หลักการเดยี วกัน
216 ความหมายของการเคารพในศักด์ิศรีของความเป็นมนุษยแ หมายถึง การยอมรับคุณคาของบุคคล ทุกคนท่ีมี มาพรอมกับความเป็นมนุษยแ โดยรัฐเป็นผูคุมครองศักดิ์ศรีความเป็นมนุษยแวามีคุณคาเทากัน และตองไดรับการปฏบิ ัติ ตอ กันอยางเทาเทียม เสมอภาคตลอดไป ทั้งในเวลาท่ีมีชีวิตอยูหรือสิ้นชีวิตโดย ไมข ึ้นอยกู ับเงอื่ นไขใดๆ ทงั้ สนิ้ การเคารพในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษยแ มอี งคแประกอบ สําคญั 4 ประการดงั นี้ 1. การสานึกรู้ในคุณค่าศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ คือ การยอมรับในเกียรติภูมิของบุคคล โดยไม คํานึงถึง สถานภาพทางสังคม และปราศจากเงื่อนไขตางๆ ไมวาจะเป็น เช้ือชาติ ศาสนา วัย คนพิการ ปใญญาออน เป็นเด็ก ผูหญิง หรือคนชรา เป็นตน พลเมืองดีจึงตองเคารพในศักด์ิศรีของความเป็นมนุษยแ อยา งเทา เทียมกนั 2. ความเท่าเทียมกนั ในฐานะทเ่ี ป็นเจา้ ของประเทศอย่างเสมอภาคกัน ไมวาคนๆ น้ันจะรํ่ารวย - ยากจน เรยี น มาก-เรยี นนอย พลเมืองดีจึงตองเคารพหลกั ความเสมอภาค และจะตองเห็นตนเทาเทียม กบั ผอู ่นื และเหน็ คนอืน่ เทา เทียมกบั ตน การตระหนักในความเสมอภาคของความเป็นมนุษยแ 3. การเคารพในความหลากหลายทางสังคมวัฒนธรรม คือ ความเขาใจและยอมรับความ คิดเห็นทเ่ี กิดจาก ความหลากหลายทาง สังคมวฒั นธรรม โดยพรอมท่ีจะพิจารณาความคิดเห็นที่แตกตาง ดวยใจ เป็นธรรม และพรอม ที่จะเปลี่ยนความคิดเม่ือไดรับรูเหตุผลและขอเท็จจริงที่ดีกวา และถูกตอง กวา พลเมอื งดจี ึงตองมคี วามเขา ใจและ ยอมรับในความแตกตา งระหวา งบคุ คล 4. การอดทน อดกลั้นต่อความคิดเห็นท่ีแตกต่างคือ ความสามารถในการควบคุมอารมณแและ พฤติกรรมเมอ่ื เกดิ สถานการณแท่ีไมพึงประสงคแที่เกิดจากความคิดเห็นที่แตกตางระหวางบุคคล พรอมท้ัง สามารถรับฟใงความคิดเห็น จากผูอื่นอยางมีสติเพ่ือลด ความขัดแยงท่ีเกิดข้ึนได พลเมืองดีจึงควรเคารพ ความคิดเหน็ ที่แตกตางดว ยความอดทน อดกลนั้ จะเห็นไดวา การเคารพในศักด์ิศรีของความเป็นมนุษยแและคุณคาชีวิตเป็นการยอมรับคุณคาของ บุคคลทกุ คนทม่ี ีมาพรอมกับความเป็นมนุษยแ โดยเขาใจและตระหนักในสัจจะท่ีวา มนุษยแทุกคนมีคุณคา ชวี ติ เทา กนั และตองได รบั การปฏบิ ัติตอกันอยา งเทา เทียม เสมอภาค ตลอดไป ท้ังในเวลาที่มชี ีวิตอยูหรอื ส้ินชวี ติ โดยไมขนึ้ อยกู ับเง่ือนไขใดๆ ท้ังสน้ิ 2. แนวทางการสรา้ งบรรยากาศครอบครัวบนฐานคดิ การเคารพต่อคุณคา่ ชวี ติ การเคารพในคุณคาความเป็นคน ในความเป็นมนุษยแ โดยไมแบงชั้นวรรณะ ไมดูถูก ดูแคลนกัน ไมถือยศ ถือศักดิ์ ถือชาติตระกูล ถือชนช้ัน และเคารพในความสามารถของกันและกัน เปิดโอกาสให แสดงความสามารถ แสดง ความคิดเห็น ใหการยกยองชมเชย ยอมรับในความแตกตางและพรอมท่ีจะ อดทน อดกลนั้ และถาคนเราเคารพซ่ึงกัน และกันมากข้ึนเทาใด ก็จะเกิดความเชื่อถือ ศรัทธา อันจะทํา ใหเกิดความรักความปรารถนาดีตอกัน เกิดความรวมมือ ที่ดีตอกันในสังคม เพ่ือสรางสรรคแส่ิงดี ๆ และ รวมกันแกไขปใญหาตางๆ ใหสําเร็จลุลวงไปได ดังนั้น การเคารพตอ คุณคาชีวิตจึงตองเริ่มตนจากการใช
217 ชีวิตอยูรวมกันของสมาชิกครอบครัว บนพื้นฐานของการเรียนรูการใหความเคารพ ตอทุกชีวิตที่อยูใน ครอบครัวเดียวกนั 2.1 การลา้ งความตระหนักในจติ สานึกท่ีสูงสง่ ของตนเอง มนุษยแทกุ คนมีคุณคาภายในที่บริสุทธ์ิ และมี คุณธรรมที่งดงาม ความเคารพเรมิ่ ตนจากภายในของแตละบุคคล มีพื้นฐานมาจากการตระหนักวา ตนเองมีเอกลักษณแ พิเศษที่ไมเหมือนใคร เป็นพลังชีวิตทางจิตท่ีอยูภายใน เรียกวา “ดวงวิญญาณ” (Soul) หรือจุดแหงแสงท่ีสุดแสงเล็ก เปรียบเชนดวงดาวที่เปลงประกายแสงในตนเอง เป็นชีวิตเล็กๆ ภายในที่เป็นอมตะไมสูญสลาย ไมสามารถมองเห็น ไดดวยดวงตาภายนอก แตเป็นพลังขับเคลื่อนการ ทาํ งานของอวยั วะตา งๆ ของรางกาย หากปราศจากดวงวิญญาณ รางกายก็ไมสามารถทําหนาท่ีตางๆ ได การรูจักตนเองอยางแทจริงวา “ฉันคือใคร” ดวยจิตสํานึกที่สูงสง ทําใหเกิดศรัทธาท่ีเต็มเป่ียมและ สมบูรณแตอความดีงามท่ีติดตัวมาของตนเอง จากการหยั่งรูจักตนเองเชนน้ี มนุษยแจึงสามารถ สัมผัสกับ ความเคารพตนเองที่แทจริงและไมถูกหลอกลวงดวยสิ่งภายนอกที่เป็นปใจจัยทางกายภาพและวัตถุ เชน วรรณะ สีผิว เช้ือชาติ ศาสนา เพศ สัญชาติ สถานภาพ ฐานะทางเศรษฐกิจ ชื่อเสียงในสังคม และอื่นๆ มุมมองที่มีตอ ทุกชีวิตก็จะทัดเทียมกัน เพราะคุณคาภายในซ่ึงเป็นคุณสมบัติด้ังเดิมของดวงวิญญาณน้ัน ไมแตกตางกัน อันไดแก ความสงบ ความรัก ความสุข ความบริสุทธิ์ สัจจะ พลัง และปิติสุข หากคุณ พอ คุณแมผ ูปกครองหรือผูใ หญใ นครอบครวั เด็กปฐมวัยมีความรูความเขาใจในตัวตนท่ีแทจริงของตนเอง การสรางความสัมพันธแระหวางกันบนพื้นฐานของการ เคารพตอคุณคาชีวิตยอมเกิดข้ึนอยางเป็น ธรรมชาติ 2.2 การรจู้ กั ให้เกียรตติ อ่ คุณคา่ ชวี ติ ดงั้ เดมิ ของผู้อืน่ การใหความเคารพตอทุกชีวิตในคุณสมบัติ ทีเ่ ปน็ ความ ดงี ามท่ีตดิ ตัวมาของแตละบุคคล มาจากพ้ืนฐานของความมัน่ คงของจติ สาํ นึกในสภาพท่ีสูงสง ของตน ดว ยการตระหนัก ในตวั ตนทแ่ี ทจรงิ ของตนเอง ความเคารพในตนเองและผูอนื่ จึงไมแ ตกตาง มาก เทาที่ตนเองรูคา คุณงามความดภี ายใน ตนเอง การยอมรบั ในศักด์ิศรีของความเป็นมนุษยแที่บงบอกถึงส่ิงดี ในตัวบุคคลแตละคนสะทอนความงดงามภายใน บุคคลนั้นเชนเดียวกัน หากคุณพอคุณแมหรือสมาชิก ครอบครวั ตางมวี ิธีคิดหรอื มมุ มองทตี่ ระหนกั ในคุณคา ของชวี ติ ภายในท่ีงดงามเชนนี้ ก็ยอมมองเห็นแตความเป็นบวกในตัวบุคคลแตละคน การใหเกียรติดวย ความรูสึกใหความ เคารพยอมเกิดขึ้นอยางงายดายและสมัครใจ ผลท่ีตามมาก็คือ ความคิด คําพูดและ การกระทําในการปฏิสัมพันธแตอ กันยอมสอดคลองเป็นไปในทางสรางสรรคแ ปราศจากความกาวราว รนุ แรงหรอื การแสดงออกดว ยอารมณแท่ไี รเหตุผล 2.3 การหล่อหลอมจิตสานึกความเคารพผ่านเมล็ดพันธุ์ของความคิดท่ีเป็นบวก แรงกระตุน ทางบวกจาก พอแมยอมสงเสริมใหเด็กมีพฤติกรรมที่เป็นบวก ยิ่งใหแรงเสริมและกําลังใจบอยคร้ังใน ชีวิตประจําวันของเด็กใน ครอบครัวจะเป็นการสรางเสริมลักษณะนิสัยของเด็กไดตามวัย ท่ีจะกลายเป็น อุปนิสยั ใจคอและพฒั นาเปน็ บุคลกิ ภาพ ของเด็กไดใ นทีส่ ุด ทาํ ใหเด็กกลายเป็นคนมองโลกในแงดี เป็นคน ที่มีสายตา มุมมองและเจตคติทเี่ ป็นบวกตอตนเอง และผคู นรอบขา ง ทัง้ นีพ้ อแมเ องก็ตอ งเปน็ แบบอยา งท่ี
218 ดีของการมีความคิด คําพูดและการกระทําท่ีเป็นบวกไดในการ ใชชีวิตประจําวันกับสมาชิกครอบครัว ถงึ แมว าเด็กอาจแสดงออกถึงพฤตกิ รรมที่เปน็ ลบหรือไมพงึ ประสงคแ พอแมก็ ไมควรแสดงออกดวยทาทีท่ี ใชอารมณแตัดสินหรือใชวิธีการหยุดพฤติกรรมน้ันดวยการตี ดุวา หรือขูดวยคําพูดหรือใช กําลังบีบบังคับ แตค วรใชสนั ติวิธี ดวยการทาํ จติ ใจและอารมณใแ หสงบเย็นเสียกอนและใชก ารส่ือสารอยา งสรางสรรคแ ดวย คาํ พูดที่ออนโยนละมนุ ละไมใ หความเขา ใจใหกาํ ลงั ใจ เพ่อื ใหเ ด็กเกิดความรูสึกทด่ี ๆี 2.4 การแสดงออกและปฏิสัมพันธ์ในครอบครัวด้วยสานึกรู้ของคุณค่าความดีงามภายใน พอ แมท่ีรับรูและ ตระหนักถึงความรักท่ีแทจริงจากสํานึกรูของคุณคาภายใน ยอมแสดงออกถึงความรักอัน บรสิ ุทธนิ์ น้ั ผา นการ กระทํากับลกู ดวยสายตาแหงการชื่นชมรูคาในสิ่งดี ๆ หรือคุณสมบัติท่ีสะทอนตัวตน ท่ีสวยงามของลูก ทาทีแหงการ ถายทอดความรูสึกของความรักความเมตตาและการชื่นชมรูคา และ ถอยคําหรือคําพูดท่ีออนโยนออนหวานนุมนวล จากกระแสความรูสึกแหงความปรารถนาดี ปฏิสัมพันธแ ระหวางสมาชิกในครอบครัวยอมเต็มไปดวยความสงบและ ความรูสึกท่ีเป็นมิตร ปราศจากความกาวราว รุนแรง ทั้งในความคิด คําพูดและทาทีการแสดงออกโตตอบตอกันและ กัน เด็ก ๆ เองก็จะซึมซับ แบบอยางจากการปฏิบตั ขิ องพอแมเ ขามาเปน็ แบบแผนพฤติกรรมตนเอง สรุปไดวา การสรางบรรยากาศครอบครัวท่ีมีเด็กปฐมวัยบนฐานคิดการเคารพตอคุณคาชีวิต จาํ เปน็ ตอ งคํานงึ ถงึ การลา งความตระหนักในจติ สาํ นกึ ที่สงู สงของตนเอง การรูจักใหเกียรติตอคุณคาชีวิต ด้งั เดิมของผูอื่น และการ หลอหลอมจิตสาํ นึกความเคารพผา นเมล็ดพนั ธแขุ องความคดิ ท่เี ปน็ บวก 10.การเสรมิ พลงั ครอบครวั ทม่ี ีเด็กปฐมวัยบนฐานคดิ การมชี ีวติ แบบพอเพียง พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ทรงมีพระราชดํารัสแกพสกนิกรชาวไทย เกยี่ วกับการ ดาํ เนนิ ชีวิตโดยยดึ หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ซงึ่ เป็นปรัชญาท่ตี ั้งอยูบน พื้นฐานของ ทางสายกลางและความ ไมประมาท โดยคํานึงการรูจักพึ่งตนเอง ความพอประมาณ พอมีพอกิน พอมี พอใช ความมีเหตุผล การสรางภูมิคุมกัน ท่ีดีในตัว ตลอดจนใชความรูความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผนตัดสินใจและกระทําในส่ิงที่ควรจะเป็น เพ่ือใหสามารถดํารงชีวิตอยางยั่งยืนภายใต กระแสโลกาภิวัตนแและความเปล่ียนแปลงตางๆ ที่นับวันจะเกิดขึ้นแบบ ทันทีทันใด ครอบครัวในฐานะ หนวยยอ ยเลก็ ท่สี ุดของสังคมจงึ จําเปน็ ตองมีการดาํ เนนิ ชวี ติ อยางพอเหมาะพอควรพรอม รับสถานการณแ การเปลยี่ นแปลงท้งั จากภายในตวั บุคคลและส่งิ แวดลอ มภายนอก 1. ฐานคิดการนอ้ มนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งและการมชี ีวิตครอบครัวแบบพอเพยี ง การมีชีวิตครอบครัวแบบพอเพียงเป็นการนอมนําหลักคิดตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมา ประยกุ ตแใชก าร ดาํ เนินชีวติ ครอบครัวอยางมีความสุข และไมทําใหคนอ่ืนเดือดรอน การที่ครอบครัวจะมี ความสุขไมจําเป็นตองรํ่ารวย เป็นเศรษฐี หรือมีส่ิงอํานวยความสะดวกสบายในชีวิตมากมาย แต ครอบครวั สามารถ “อยไู ดอยางพอเพียง” คือ ดําเนิน ชีวิตโดยยึดหลักทางสายกลางใหอยูไดอยางสมดุล กลาวคือ มีความสุขที่แท ไมใหรูสึกขาดแคลน จนตองเบียดเบียน ตนเอง หรือดําเนินชีวิตอยางเกินพอดี จนตอ งเบยี ดเบยี นผูอ ่นื หรอื เบยี ดเบยี นส่งิ แวดลอ ม โดยมหี ลกั คดิ สาํ คญั ดังน้ี
219 1.1 การมีความพอประมาณพื้นฐานสําคัญสําหรับการสรางเศรษฐกิจอยางพอเพียงก็คือ ตอ งรจู ักพอประมาณ เพราะถาคนเรารูจ กั พอในความตองการของตน ความโลภก็จะเร่ิมนอยลง แตคําวา “พอประมาณ” กไ็ มไ ดห มายถงึ นอยเกินไป บางคนอางวาพอประมาณจึงกินนอยจนเกิดโรค ซ่ึงนั่นไมได แปลวาพอ แตหมายถงึ การเบียดเบียนตนเอง ดงั นนั้ ความหมายของพอประมาณจึงแปลไดวา ความพอดี ไมม ากไป หรือ นอ ยเกินไปจนสุดโตง และที่สําคญั คือตอ ง ไมเบยี ดเบยี นตนเองและผูอ ่ืน 1.2 การรู้จักเหตุและผล การจะใชชีวิตอยางพอเพียงสวนหน่ึงตองมาจากการรูจักเหตุและ ผล ซึ่งไมได หมายถึง เหตุและผลในการจับจายซื้อของหรือใชเงินเพียงอยางเดียว แตหมายถึงการมี เหตุผลทุกการตัดสินใจ ทุกการลงทุน ทุกการกระทําตองคํานึงถึงเหตุปใจจัยท่ีเกี่ยวของ และผลท่ีจะ เกดิ ข้ึนอยางรอบคอบ และถา เราสรา งการ มีเหตแุ ละผลใหตดิ ตวั แลว ตอ ไปถาเราจะหยบิ เงินจากกระเปา ความยบั ยัง้ ช่งั ใจกจ็ ะเกดิ ตามมาเปน็ อตั โนมตั ิในทันที 1.3 การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีให้ชีวิต ในยุคท่ีประเทศชาติมีการเติบโต และผกผันทาง เศรษฐกิจรวดเร็วในทุก วันนี้ การสรางภูมิคุนกันใหพรอมที่จะเผชิญทุกสิ่งดูจะเป็นอีกเร่ืองที่จําเป็น โดย ครอบครัวจะตองเตรยี มตัวใหพ รอ ม ที่จะเผชญิ พรอ มยอมรับผลกระทบ และการเปล่ียนแปลงที่มาจากท้ัง ภายในและภายนอกครอบครัว ท้ังน้ีวัคซีนที่จําเป็น ในการสรางภูมิคุมกันใหกับสมาชิกครอบครัวก็คือ ความรกู บั คณุ ธรรม ความรู คือ การรอบรูร อบคอบ รูจักนํา เทคโนโลยีตางๆ มาวางแผนและปฏิบัติ สวน คุณธรรม คือ ความอดทน ความเพียร และความซ่ือสัตยแ ซ่งึ ทงั้ หมดจะ นาํ ไปสูการเกดิ สติปญใ ญาในการใช ชีวติ 2. แนวทางการเสริมพลังครอบครัวบนฐานคิดการมชี วี ิตแบบพอเพยี ง พลังท่แี ทจ ริง คอื การมอี าํ นาจเหนือตนเองอยางสมบรู ณแ (Self-Sovereignty) คนสวนใหญคิดวา พลงั หมายถงึ ความสามารถที่จะทําในสิ่งท่ีเขาตองการหรือสามารถเปล่ียนแปลงและสรางอิทธิพลใหอยู เหนือผูอ น่ื ซึง่ เปน็ การ เชื่อมโยงพลังเขา กับสง่ิ ภายนอกท่ไี มจ ีรงั ยงั่ ยนื แทจ ริงแลว พลังอยใู นจิตสํานึกของ มนุษยทแ เ่ี ราเรียกวา “พลงั ทางจติ วญิ ญาณ” เปน็ คุณสมบัติพิเศษที่มีอยูแลวในตัวเรา พลังที่ละเอียดออน เกิดจากความสงบภายในและความรักท่ีไมมี เงื่อนไข เป็นพลังท่ีสรางอํานาจในการควบคุมตนเอง เปล่ียนแปลงตนเองใหก ลบั คนื สธู รรมชาติด้ังเดิมที่ดีงาม ซ่ึงไม อาจปิดบังซอนเรนเพราะใหแรงบันดาลใจ แกผ อู ่นื (ศภุ ลักษณแ ทัดศรี และอารยา พรายแยม , 2554: 9) 2.1 การนาพลังทางจิตวิญญาณมาใช้ในชีวิตครอบครัวพลังทางจิตวิญญาณเป็นพลังหลัก ที่พัฒนาขึ้นมาเพ่ือ การเติบโตทางจิตวิญญาณท่ีสามารถนําไปใชในชีวิตครอบครัวใหเหมาะสมตาม เหตุการณแ การเลือกพลังใหถูกตองขึ้น อยูกับความสงบของบุคคลแตละคนและความสามารถในการ มองเห็นสถานการณแน้ันอยางทะลุปรุโปรง (มูลนิธิ บราหแมา กุมารี ราชาโยคะ 2545: 80-89; ศุภลักษณแ ทัดศรี และอารยา พรายแยม 2554: 22-67) ดงั น้ี 2.1.1 พลังการละเลิกสิ่งท่ีไมดี (Power to withdraw) เปน็ ความสามารถของการกลับคืนสู ภายใน ถือได วาเป็นรากฐานของทุกพลัง พลังน้ีนําความแข็งแกรงท่ีจะอยูอยางสงบและดีงามในขณะท่ี
220 อยูทามกลางความทาทาย ตาง ๆ ของชีวิต ผูนําท่ีมีพลังนี้จะถอยความคิดกลับเขาสูภายในและฝึกที่จะ กลับคืนสูสภาวะของความน่ิงเงียบภายใน โดยไมเขาไปของแวะเร่ืองราวที่ไมจําเป็น เป็นพลังของการ ควบคมุ ทแี่ ทจ รงิ 2.1.2 พลังการจดั เก็บส่งิ ทใ่ี หคุณประโยชนแ (Power to pack-up) เป็นความสามารถในการ ตรวจสอบความคิดในจิตใจและเลือกสรรเก็บเฉพาะส่ิงท่ีมีคา สิ่งท่ีสําคัญหรือจําเป็น ส่ิงท่ีเป็นประโยชนแ เทา นั้น โดยไมป ลอ ยให ความคิดที่เป็นลบและความคิดท่ีไรส าระเขามาสจู ติ ใจ 2.1.3 พลังความอดทน (Power to tolerate) เป็นความสามารถของการตอบรับไมใชการ ตอบโต เป็นการ ยอมรับดวยความรักความเขาใจและเปิดใจใหกับการสงมอบความปรารถนาดีกับทุกส่ิง หรอื ทกุ สถานการณยแ ากลาํ บาก ทผ่ี า นเขา มาในชีวติ จึงคงอยอู ยางสงบและมคี วามสขุ ได 2.1.4 พลังการยอมรับ (Power to accommodate) เป็นความสามารถในการอยูเหนือ ความขัดแยงใด ปลอยใหส่ิงตางๆ ล่ืนไหลไปในวิถีทางท่ีเป็นอยูแทนการตอตานสิ่งเหลาน้ัน โดยการ ปรบั ตัวใหเ ขากบั สถานการณแและ ปรับเปล่ียนตนเองเพ่ือการอยูรวมกันไดกับทุกคน แตก็ตองระมัดระวัง ทจ่ี ะไมสูญเสียหลักการหรือจดุ ยนื ของตนเอง 2.1.5 พลงั การแยกแยะ (Power to discriminate) เป็นความสามารถในการหยิบยืน่ คณุ คา ทถี่ ูกตองใหก ับความคิด คาํ พูด และการกระทําของตนเองและผูอน่ื ดุจดังพอคาเพชรที่สามารถแยกเพชร แทออกจากเพชรเทียม ได เชนเดียวกับที่เราสามารถแยกความแตกตางระหวางความคิดท่ีดีมีคุณคาไว และละทิ้งความคดิ ที่ไมด อี อกไป 2.1.6 พลังการตัดสิน (Power to decide) เป็นความสามารถในการสรางความกระจางชัด ใหกับการ ตัดสินใจไดอยางถูกตองแมนยําโดยปราศจากอคติใดๆ เป็นความเขาใจที่ชัดเจนวาส่ิงใดถูกสิ่ง ใดผิด การตัดสินจึง ไมถูกบิดเบือนดวยความปรารถนาใดๆ แตเป็นไปตามลําดับความสําคัญในหนทางที่ ถูกตอง 2.1.7 พลังการเผชิญ (Power to face) เปน็ ความสามารถในการสังเกตและมองเห็นส่ิงตาง ๆ จากการอยู เหนอื ปญใ หาและความยากลําบาก เพอ่ื จะคนพบแงมมุ ทด่ี ีของสง่ิ ที่เป็นอุปสรรคขัดขวาง ซึ่ง ชวยใหมีพละกําลังในการ เอาชนะส่ิงเหลาน้ัน ดวยความแข็งแกรงและความกลาหาญ ไมเกรงกลัวตอ สถานการณแใดๆ ทีเ่ ขามา 2.1.8 พลังความรวมมือ (Power to cooperate) เป็นความสามารถในการมองเห็น คุณสมบัติพิเศษของ แตละบุคคล ทัศนคติของความเคารพในบทบาทที่แตกตางกันของผูรวมงาน สราง ความเป็นหน่ึงเดียวกันและความ แข็งแกรงภายในกลุมคนทํางาน ทําใหภารกิจท้ังหลายกลายเป็นเร่ือง งายดาย การงานจึงสําเร็จลลุ วงไปได 2.2 การนาหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตครอบครัวการดําเนินชีวิตครอบครัวใหสามารถ “อยูไดอยาง พอเพียง” คือ ดําเนนิ ชีวติ โดยยดึ หลกั “ทางสายกลาง” ใหอ ยไู ดอยา งสมดลุ หรอื อีกนัยหนึ่ง คือ มีความสุขที่แทจริง ไมรูสึกขัดสนขาดแคลนจนตองเบียดเบียนตนเอง หรือดําเนินชีวิตอยางเกินพอดี
221 จนตองเบียดเบียนผูอ่ืน หรือ เบียดเบียนสิ่งแวดลอม ข้ันแรกจะตองยึดหลัก “พึ่งตนเอง\" คือ ความ พยายามในการพ่ึงพงิ ตนเองใหไดก อน ในแตล ะ ครอบครวั จะตองมีการบริหารจดั การอยา งพอดี ประหยัด ไมฟุมเฟือย พอแมและสมาชิกในครอบครัวแตละคนตอง รูจักทักษะการจัดการตนเอง เชน รับรูขอมูล รายรบั -รายจายในครอบครวั ของตนเอง สามารถรักษาระดบั การใชจาย ของตน ไมใ หเป็นหนี้ และรูจักดึง ศกั ยภาพในตวั เองในเรอ่ื งของปจใ จัยส่ใี หไดในระดบั หนึ่ง โดยยดึ หลกั ตอไปน้ี 2.1.1 การยึดหลักยึดความประหยัด เป็นการตัดทอนคาใชจาย ลดความฟุมเฟือยในการ ดํารงชีพในส่ิง ที่ไมจําเป็น รูจักพิจารณาตัดสินความตองการท่ีจําเป็นและไมจําเป็น ดวยการใชเหตุและ ผล เรียกไดว า “พออยู พอ กิน พอใช” 2.1.2 การยึดถือการประกอบอาชีพดวยความถูกตองและสุจริต เปล่ียนวิธีคิดของการ แขงขันในการ คาขาย ประกอบอาชีพ แบบตอสูกันอยางรุนแรง มาเป็นพันธมิตรหรือเครือขายที่ ชวยเหลือเก้อื กูลประโยชนแทีเ่ ป็นธรรม รว มกนั เรียกไดว า “ลด ละ เลกิ การแกง แยง ผลประโยชนแ” 2.1.3 การใหค ณุ คา ทางจิตใจและสงั คมมากกวาทางเศรษฐกิจ มุงเนนหาขาวหาปลาเพื่อการ ดํารงชีวติ กอนมงุ เนน หาเงนิ หาทอง ทํามาหากนิ กอนทาํ มาคาขาย ใหความสําคัญภูมิปใญญาชาวบานและ ที่ดินทาํ กนิ คือ ทนุ ทาง สังคม ตั้งสตทิ ่ีมั่นคง รา งกายท่แี ข็งแรง ปใญญาท่ีเฉียบแหลม 2.1.4 การนําความรคู วามเขา ใจอยา งลกึ ซ้งึ มาปรบั วิถีชีวิตสกู ารพัฒนาที่ยั่งยืน ไดแก (1) ดานจิตใจ มีจิตใจเขมแข็ง ฝึกตนเองได มีจิตสานึกท่ีดี เอ้ืออาทร ประณีประนอม และ นึกถึง ประโยชนแสว นรวมเป็นหลัก (2) ดานสังคม มคี วามชว ยเหลือเกื้อกูลกัน รูรักสามัคคี สรางความเขมแข็งใหครอบครัวและ ชมุ ชน รจู ักผนึกกาํ ลงั มีกระบวนการเรียนรูท ่ีเกิดจากรากฐานที่ม่ันคงแข็งแรง (3) ดานเศรษฐกจิ ดาํ รงชีวติ อยอู ยางพอดี พอมี พอกนิ สมควรตามอัตภาพและฐานะของตน ประกอบอาชีพสจุ รติ (สัมมาอาชีวะ) ดวยความขยนั หม่นั เพยี ร อดทน ใชชีวิตเรียบงาย โดยไมเบียดเบียน ตนเองและ ผูอืน่ มรี ายไดสมดุลกับรายจาย รูจักการใชจายของตนเองและครอบครัวอยางมีเหตุผลเทาท่ี จาํ เป็น ประหยดั รูจกั การ เก็บออมเงินและแบง ปในผูอ ่ืน (4) ดานเทคโนโลยีรูจักใชเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม สอดคลองกับความตองการและภูมินิเวศ พัฒนา เทคโนโลยีจากภูมปิ ญใ ญาทอ งถ่นิ มาใชใหเกดิ ประโยชนตแ อตนเองและสงั คม (5) ดานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม รูจักใชและจัดการอยางฉลาดและรอบคอบ สามารถ เลือกใชทรัพยากรท่มี ีอยูใหเกดิ ความยัง่ ยืนสูงสุด สรุปไดวา พอแมผูปกครองจําเป็นตองมีความสามารถในการพัฒนาตนเองตามหลักคิดปรัชญา เศรษฐกิจ พอเพียงและนาํ พลงั ทางจิตวญิ ญาณมาใช ทั้งในการดําเนินชวี ติ ตนเองและการทําหนา ท่ีปลูกฝใง คุณคาชีวิตแกเด็ก โดย เฉพาะในชวงปฐมวัย เริ่มจากการตระหนักรูถึงตัวตนที่แทจริงและฝึกฝนตนเอง อยางจรงิ จงั สมา่ํ เสมอ ทําใหต นเองรูส กึ มีคุณคามีความสําคัญและทําใหสมาชิกครอบครัวและผูเก่ียวของ รสู กึ ดีกบั ตนเอง ชว ยใหป รับตัวและสามารถจดั การ กับแตล ะฉากตอนของชีวิตไดอ ยางราบร่ืนมีความสุข
222 บรรณานุกรม กรมสุขภาพจิต (2542) คูมอื การสอนทักษะชีวติ เพื่อปูองกันสารเสพติดในสถานศึกษาระดบั ประถมศึกษา บริษทั ประชาชน จํากดั _______ (2542) ระดับประถมศกึ ษา กรงุ เทพมหานคร บริษทั วงศแกมลโปรดักช่ัน จาํ กัด _______ (2546) คูม อื ฝึกอบรมสาํ หรับพอแมผปู กครอง เพ่อื พฒั นาความฉลาดทางอารมณแในเด็กอายุ 3- 11 ปี กรงุ เทพมหานคร ______ (2547) ความรูเร่ืองการเสริมสรางความฉลาดทางอารมณแ เด็กอายุ 3-11 ปี กรุงเทพมหานคร สํานกั งานกิจการ โรงพมิ พแ องคกแ ารสงเคราะหทแ หารผา นศกึ ______ (2542) คูมือความรูเพ่ือการพัฒนาความฉลาดทางอารมณแในเด็กอายุ 3-11 ปีสําหรับพอแม ผูปกครอง กรงุ เทพมหานคร สาํ นกั งานกจิ การโรงพมิ พแ องคแการสงเคราะหแทหารผา นศึก ______ (2460) คูมือจัดกิจกรรมการเสริมสรางความเขมแข็งทางใจสําหรับบุคลากรสาธารณสุข กรุงเทพมหานคร โรงพมิ พแ ชมุ นุมสหกรณกแ ารเกษตรแหง ประเทศไทย จาํ กดั เกริกเกียรติ พิพัฒนแเสรีธรรม (2549) แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในประเทศไทย ในวารสาร ราชบัณฑิตยสถาน ปีท่ี 31 ฉบับที่4 ( ต.ค. - ธ.ค. 2549 ) หนา 1104-1136 กรุงเทพมหานคร จรี ะพันธแ พูลพัฒนแ (2556) รายงานการวิจยั นาํ เสนอในการประชมุ วิชาการครบรอบ 56 ปี คณะครศุ าสตรแ จุฬาลงกรณมแ หาวทิ ยาลัย ประไพ ประดิษฐแสุขถาวร (ม.ป.ป.) สอนลูกใหมีทักษะชีวิต (Life Skill) คนคืนวันท่ี 17 ตุลาคม 2556 จาก http://taamkru.com/th/ ประเวช ตันติพิวัฒนสกุล และคณะ (2556) การแตูนพัฒนาทักษะชีวิตสําหรับนักเรียนชั้น ป.1-3 กรุงเทพมหานคร โรงพิมพแชุมนมุ สหกรณกแ ารเกษตรแหง ประเทศไทย จํากดั วิจารณแ พานิช (2554) วิถีสรางการเรียนรูเพ่ือศิษยแในศตวรรษท่ี 21 พิมพแคร้ังท่ี 3 กรุงเทพมหานคร มูลนธิ ิสด ศร-ี สฤษดิว์ งศแ สุวรรณี ล้ิม (2556) คูมือการใชส่ือเสียง (MP3) ชุด พอแมเล้ียงบวก กรุงเทพมหานคร โรงพิมพแชุมนุม สหกรณกแ ารเกษตรแหง ประเทศไทย จาํ กดั สํานกั งานวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา สํานักคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (2554) การพัฒนา ทักษะชีวิตในระบบการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร สํานักงานวิชาการและมาตรฐาน การศึกษา หนังสือพิมพแแนวหนา (14 ธนั วาคม 2555) เล้ียงลกู อยางไรให เกง ดี มีความสุข เคล็ดไมลับ... ทํา ไดงาย ๆ เพียงแคเขาใจคนคืนวันท่ี 1 กุมภาพันธแ 2557 จาก http://www.hiso.or.th/health/data/html/shownews.php?newsid=2291&names=07 พทิ ยาภรณแ สงิ หกานตพงศแ และณัฐวรดา มณีรัตนแ. ทฤษฎีพัฒนาการเด็กปฐมวัย สืบคนวันท่ี 8 มกราคม 2556 จ า ก
223 http://kanokwan1991.files.wordpress.com/2012/09/1e0b89ee0b8b1e0b892e0b899e0b8b 2e0b881e 0b8b2e0b8a3e0b897e0b8b2e0b887e0b894e0b899e0b895e0b8a3e0b8b5.pdf มูลนิธิ บราหแมา กุมารี ราชาโยคะ (2545) โยคะทางจิตเพอ่ื ชีวิตประจาํ วนั นนทบุรี มลู นธิ ิ บราหมแ า กุมารี ราชาโยคะ ศุภลักษณแ ทัดศรี และอารยา พรายแยม (2554) จิตวิญญาณในชีวิตประจําวัน กรุงเทพมหานคร คณะ สาธารณสุขศาสตรมแ หาวทิ ยาลัยมหิดล _______ (2554) จิตวิญญาณในชีวิตประจําวัน ภาค 2 พลังทางจิตวิญญาณ กรุงเทพมหานคร คณะ สาธารณสุขศาสตรแมหาวิทยาลยั มหดิ ล สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2547) กระบวนการเรียนรูการเสริมสรางคุณธรรมจริยธรรมเด็ก ปฐมวยั กรุงเทพมหานคร บริษัทพริกหวานกราฟฟิค จํากัด อภิชัย พันธุเสน และคณะ (2550) สังเคราะหแองคแความรูเศรษฐกิจ พอเพยี ง กรงุ เทพมหานคร สาํ นกั งานกองทนุ สนับสนนุ การวิจยั (สกว.) UNICEF. (2014). Definition of term “Life Skills”. Retrieved February 10, 2014, from http://www.unicef.org/lifeskills/index_7308.html World Health Organization. (1993). Life skills education in school. Geneva.
224 หนว่ ยท่ี 7 การเผชิญภาวะวกิ ฤตและการเสรมิ พลงั ครอบครวั ความหมายและความสาคัญของการเสรมิ พลังครอบครัวท่ีมเี ด็กปฐมวัย ปฐมวัยเป็นชวงวัยที่ลงทุนคุมคาที่สุดของทุกสังคม เพื่อ ครอบครัว ชุมชนและประเทศชาติอยูท่ี คณุ ภาพคนซง่ึ จะเรม่ิ ตน การพฒั นาสมองเป็นพิเศษ เพราะสมองจะพฒั นาไดด ที ่ีสดุ ในชวงปฐม กรรมพันธแุ แตสภาพแวดลอมหลังเด็กคลอดออกมาแลวเป็นปใจจัยสาคะ ชิดท่ีสุดและมีอิทธิพลที่สุดตอเด็กปฐมวัยก็ คอื ครอบครัว ครอบครวั จงึ ตองไดรบั การเสริมพลงั เพอื่ ใหทําหนาทขี่ องตนไดดยี ่ิงขนึ้ 1. ความหมายของการเสริมพลงั ครอบครวั ทีม่ เี ดก็ ปฐมวัย การเสรมิ พลัง (Empowerment) เป็นคําท่ีใชในวงการสังคมศาสตรแ เกิดข้ึนประมาณ 3 ทศวรรษ ท่ีผา นมา โดยมีจุดเร่มิ จากแวดวงสุขภาพจิตกอน ชวงเวลานั้นเปน็ ชวงเดยี วกับท่ีกระบวนการพัฒนาสังคม ในดา นตาง ๆ เริม่ พบวา กระบวนการส่อื สารที่องคแกร สังคม หรือรัฐใชในการชวยเหลือผูดอยโอกาสผาน มานนั้ ไมเ กดิ ผลดงั มุง หวังผทู ี่ไดร ับความชวยเหลือไมว า จะเปน็ คนยากจน คนมีปญใ หาดานจติ ใจ ครอบครัว ท่ตี กอยูในสภาพยากลาํ บาก ฯลฯ ไมไดเขมแข็งข้ึนจนมีพลงั ท่ีชวยดูแลตนเองใหพ น จากสภาวะของปใญหา ไดใ นระยะยาวอยางแทจ ริง จึงมผี ูศ ึกษาคนควาหากระบวนการใหม ๆที่สรางประสทิ ธิผลไดดกี วา และเรมิ่ ใชคาํ วา การเสรมิ พลงั หรือ Empowerment แพรหลายข้นึ แตเดิม ในทางสังคมศาสตรแแนวเกามักเนน “พลังอํานาจ”ในดานการบังคับควบคุม ถือวาพลัง อาํ นาจเป็น โภคภัณฑแหรือโครงสรางท่ีแยกออกตางหาก ไมเก่ียวของกับผูคน (Lips, 1991) ซึ่งถามองใน แงน ี้ พลงั อํานาจกเ็ ป็น สิ่งที่ไมเปลีย่ นแปลงและเปลี่ยนแปลงไมไ ด (Weber, 1946) สวนในสังคมศาสตรแยุคใหม มองวา พลังอํานาจเป็นส่ิงท่ีเกิดข้ึนทามกลางปฏิสัมพันธแของมนุษยแ ไมได อยูโดดเดี่ยว และไมมีใครไดมาแตกําเนิด หรือไมใชกรรมพันธุแที่สงผานใหลูกหลานได หากแตพลัง อํานาจเกิดข้ึน ไดในความสัมพันธแระหวางคนกับคน และเปล่ียนแปลงได (Page, Cheryl, & Czuba1999) อยางไรก็ตาม มผี ใู ช คาํ นีใ้ นหลากหลายมิติและหลากหลายระดับ ดังเชน องคแกรการเสริม พลงั แหงคอรแแนล (Cornel. Empowerment Group, 1989) ของมหาวิทยาลัยคอรแแนล สหรัฐอเมริกา ศึกษาในเรื่อง การเสริมพลัง (Empowerment) ไดอธิบายวา “การเสริมพลัง คือ กระบวนการของการ เปลี่ยนแปลง เป็นกระบวนการที่ตองมีความมุงม่ัน มีความเป็นพลวัต (ไมตายตัว) และเคลื่อนตัวอยู ตลอดเวลา โดยมีฐานอยูในความเป็นชุมชน ในกระบวนการน้ีตองมีความเคารพตอกัน มีการสะทอน ความคิดเห็นอยางตรงไปตรงมาได มคี วามเอาใจใสก ัน และสรา งการมีสวนรวมของกลุม เพื่อชวยใหคน ท่ี ขาดแคลนแหลงทรัพยากร ไดม ีโอกาสเขาถงึ และกําหนดการใชแหลง ทรัพยากรของพวกเขาไดอยางเสมอ ภาคขึน้ ” แม็คคลีแลนดแ (McClelland, 1975) ช้ีวา “เพื่อใหประชาชนมีพลังอํานาจ พวกเขาจะตองไดรับ ขา วสารขอ มูล เกย่ี วกับเร่อื งราวของทัง้ ตนเองและส่งิ แวดลอ ม และพวกเขาจะตอ งเต็มใจที่จะแสดงตนเอง และทํางานรวมกับผูอื่น เพ่ือสรางการเปล่ียนแปลง” และคีฟเฟอรแ (Kieffer, 1984) ยังไดเสริมวา “การ
225 เสริมพลัง คือ กระบวนการปฏิสัมพันธแ บนระหวางบุคคลกับสภาพแวดลอมรอบตัวของเขา เพ่ือเปลี่ยน ความรูส ึกตอตวั เอง จากไมมีคุณคา ไปสกู ารวา เป็นพลเมืองท่ีมีความสามารถทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม ผลลัพธแของการเสริมพลัง คือ มีทักษะตาง ๆ เพ่ิมขึ้น มีความเขาใจท่ีลึกซ้ึงข้ึน เชน สํานึกทางการเมือง และมีความสามารถหลายดานมากขึ้น เชน ความสามารถในการรวมมือกับคนอ่ืน ความสามารถในการ จดั การกับปใญหา หรอื ความสามารถในการตอสูเอาชนะสภาพ ทีแ่ วดลอมอยรู อบตวั ” อยางไรก็ตาม จําเป็นที่จะตองเขาใจใหถูกตองวา การเสริมพลังไมใชการ “ให” พลังอํานาจแก ผคู น เพราะ ผคู นทงั้ หลายตา ง “ม”ี พลังอํานาจอยใู นตนเองแลว ท้ังสิน้ ไมวา เปน็ พลังจากความรทู มี่ อี ยใู น ชีวิตของเขา หรือพลังใจ ในการทําสิ่งตาง ๆ ที่ผานมา ดังนั้นการเสริมพลังจึงหมายถึง การเปิดโอกาสให พลังของพวกเขาไดปรากฏตัวออกมา (Blanchard, Carlos, & Randolph, 2001) และประการสําคัญ ไวทแมอรแ (Whitmore, 1988) ชีว้ า • คนทุกคนเขาใจความตองการของตนเองดีกวาคนอื่น ดังนั้น จึงเป็นอํานาจของเขาท่ีจะตอง นิยาม ความตอ งการและเป็นผูลงมอื ตอบสนองความตอ งการนน้ั ดวยตนเอง • คนทุกคนมีพลังอยูในตนเองซึ่งเป็นพลังที่พัฒนาใหเขมแข็งขึ้นได • การเสริมพลังเป็น กระบวนการที่ตอ งทําตลอดชวี ติ • ทุกความคดิ มคี ณุ คา ทุกประสบการณแมคี วามหมาย โคแครน (Cochran, 1986) ก็มีความเช่ือในทํานองเดียวกันวา “คนทุกคนเขาใจความตองการ ของตนเองได ดีกวาใครอ่ืน ดังน้ัน ตองเสริมพลังใหเขาสามารถแสดงความตองการของเขาเองและสราง ความสามารถที่จะขบั เคลื่อน ความตองการของตนเองได” นอกจากน้ี ชูบา (Cruba, 1999) ยังชี้วา ในการเสริมพลังน้ัน จะตองคํานึงถึงองคแประกอบ 3 ประการ นน่ั คอื • การเสริมพลงั เปน็ กระบวนการหลากมิติ เพราะมีมิติทง้ั ดานสังคมวิทยา จิตวิทยา เศรษฐศาสตรแ ฯลฯ และเกิดขึน้ ไดใ นหลากระดบั ทง้ั ระดับบุคคล กลุม และชุมชน • การเสริมพลังเป็นกระบวนการทางสังคม เพราะเกิดขึ้นทามกลางปฏิสัมพันธแระหวางบุคคลกับ บุคคล หรือบุคคลกับชุมชน • การเสริมพลังเปน็ กระบวนการทีต่ อ งมคี วามตอเนือ่ ง จากคํานยิ ามตา ง ๆ เหลาน้ี จึงควรสรุปไดวา การเสริมพลังนั้นมีความหมาย มีกระบวนการ และ กอ ผลลัพธแ ไดหลายระดบั และหลายมติ ิ ดงั นี้ การเสรมิ พลัง • ครอบคลมุ การเปลย่ี นแปลงไดต้งั แตร ะดบั บุคคล ครอบครวั กลมุ ชมุ ชน จนถงึ การเปล่ียนแปลง นโยบายในสงั คมวงกวา ง
226 • เปน็ กระบวนการทตี่ องมีการจัดวาง มีความมงุ หมายชัดเจนทีจ่ ะสรา งการเปลี่ยนแปลง เพื่อชวย ให ผูท่ีขาดพลังอํานาจ ไดมีพลังอํานาจเพื่อมีโอกาสเขาถึงทรัพยากรที่เกี่ยวของกับพวกเขา และนําไปสู การกําหนดชวี ติ ของตนเองได • ตองสรางการมีสวนรวมของผูคนท่ีเก่ียวของ - ในการมีสวนรวมน้ันจะตองมีการสื่อขาวสาร ขอมลู ท่เี กีย่ วของ สรางการเรยี นรูแ กทกุ ฝาุ ยท่เี ก่ียวของ • ในกระบวนการเสริมพลังน้ันตองมีปฏิสัมพันธแท่ีเหมาะสมบนความเคารพตอกัน เอาใจใสซึ่งกัน และ กนั รบั ฟงใ และแสดงความคิดเห็นวิจารณกแ นั ได • การเปล่ียนแปลงนี้ตองเร่ิมท่ีการเปล่ียนความรูสึกตอตัวเองจากไมมีคุณคา ไปสูการยอมรับ คณุ คา ในตนเอง จะเหน็ ไดช ัดวา ผูคนท่ีเปลีย่ นแปลงน้นั จะมีทักษะและความสามารถดานตาง ๆ มากขึ้น มีความเขาใจท่ีเป็น ระบบและลึกขึ้น เชน มีสํานึกทางสังคมและการเมือง มีความมุงม่ันที่จะเอาชนะ อปุ สรรคตาง ๆ ในชวี ิตและในสภาพ แวดลอมชีวิตของพวกเขา • เป็นกระบวนการท่ีสามารถขยายตอจากคนหน่ึงไปยังคนอ่ืน ๆ ได ท้ังน้ี การเสริมพลังตองมี ความ ตอเนื่องจึงจะรักษาพลังไวได จากท่ีกลาวมาจึงเห็นไดวา การเสริมพลังครอบครัวท่ีมีเด็กปฐมวัยก็เป็นกระบวนการสงเสริม ความเปน็ ไปไดท ี่ทาํ ใหค รอบครวั เดก็ ปฐมวัยสามารถพฒั นาศกั ยภาพของครอบครัว สรางการเปล่ียนแปลง เพื่อไปสูความม่ันคง ครอบครัว จนสามารถพัฒนาเด็กปฐมวัยใหเป็นพลเมืองคุณภาพของสังคมได นอกจากนี้ ชางและ 29 & Bennett, 2003 อางถึงใน Murray, et al., 2013, 146) เสนอวา กระบวนการของการเสรมิ ประสิทธิภาพไดตองใหครอบครัวมีเวลาฝึกปฏิบัติทักษะใหมๆ ในบรรยากาศที่ สงเสริมสนับสนุนการครัวเพื่อไปสูเปูาหมายท่ีกําหนด หรืออาจกลาวไดวา การเสริมพลังครอบครัวเป็น กระบวนการที่พอแมต องพฒั นาความรูค วามสามารถ ทักษะ ทรพั ยากร พลังอาํ นาจ โอกาส และแรงจงู ใจ เพื่อใหบรรลุความตอ งการ ของครอบครัว การเสริมพลังครอบครัวเป็นการกระทําที่มีความสัมพันธแสูงกับ ความเชื่อมนั่ ในความสามารถของตนเอง (self-efficacy) ซึ่งสามารถทําใหพอแมบรรลุผลลัพธแที่คาดหวัง ทเี่ กี่ยวกบั ครอบครวั หรอื ลูกได 2. ความสาคญั ของการเสรมิ พลังครอบครัวที่มีเดก็ ปฐมวัย การเสริมพลังครอบครัวที่มีเด็กปฐมวัยเป็นกระบวนการท่ีมีความสํา คัญและละเอียดออนเป็น อยางยิ่ง ดวย เหตุน้ี กอนที่จะเขาสูเนื้อหาของการเสริมพลังครอบครัวที่มีเด็กปฐมวัย จําเป็นที่จะตอง ทบทวนทําความเขาใจ เก่ียวกับหัวขอสาํ คัญ อนั เปน็ บริบทท่ีเกย่ี วของอยางยิ่งกับการเสริมพลังครอบครัว และจะเปน็ เหตผุ ลท่สี ะทอนใหเห็น ความสําคัญของการเสริมพลังครอบครัวที่มีเด็กปฐมวัย ในหัวขอยอย ตอ ไปน้ี 1) ปฐมวยั : ชว งวยั ทล่ี งทุนคมุ คาทส่ี ุดของสังคม
227 2) ทกุ อยางเริ่มตนท่ีปฐมวยั 3) การพัฒนาสมองในชว งปฐมวยั 4) สภาพแวดลอมสาํ คัญยิง่ ยวด 5) ครอบครัวคอื สภาพแวดลอ มทม่ี ีอิทธพิ ลท่ีสดุ 2.1 ปฐมวยั : ช่วงวยั ทีล่ งทุนค้มุ ค่าที่สดุ ของสังคม “การลงทุนในชวงปฐมวัยเป็นองคแประกอบท่ีสําคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจ ของทุกประเทศ โอกาสในการเรียนรูต้ังแตเ ล็ก บวกกับภาวะโภชนาการท่ีดี จะเพ่ิมความเป็นไปไดที่เด็กจะเขาโรงเรียนให สูงข้ึน เพ่ือเติบโตขึ้นเป็นผูใหญ ท่ีมีรายไดดีข้ึน ทําใหสังคมมีอัตราอาชญากรรมตํ่าลง และมีอัตราการ พึง่ พา สวัสดกิ ารของรัฐตํ่าลงดว ย” อ ง คแ ก า ร อ น า มั ย โ ล ก http://www.who.int/mediacentre/factsheets/fs332/en/ ตนเดือนกุมภาพันธแ พ.ศ. 2556 หลังจากไดรับเลือกต้ังกลับเขามาดํารงตําแหนงเป็นสมัยที่สอง ประธานาธิบดี \" โอบามา แหงสหรัฐอเมริกา ไดแถลงนโยบายตอรัฐสภาสหรัฐอเมริกา หนึ่งในนโยบายที่ เขาแถลงและไดร บั การสนับสนุนจากรฐั สภาอยา งทว มทนดว ยการยืนข้ึนปรบมือของสมาชิกรัฐสภาทุกคน อยา งยาวนาน คอื การประกาศ 2ดานการศึกษา ซ่ึงนโยบายขอแรกสุด คือ ใหการศึกษากอนวัยเรียนแก เดก็ ปฐมวยั ทุกคนทว่ั ประเทศ(Nationwide Early Childhood Pre-school Program) ประธานาธิบดโี อบามาไดย กเอาผลงานวจิ ัยจาํ นวนมากทสี่ อดคลองตรงกันมาแสดงใหเห็นวา การ ลงทนุ เด็กปฐมวัยน้ัน เป็นการลงทุนท่คี มุ คายง่ิ ทั้งตออนาคตของเด็กและตอสังคมเศรษฐกิจของประเทศ โดยจัด ผลตอบแทนจากการลงทุนในเด็กปฐมวัย 1 ดอลลารแในวันนี้ ประเทศจะไดผลตอบแทน คืนกลับมาสงู ถึง 7 เทาใด อนาคต ซ่ึงอาจจะมาในรูปของการเพ่ิมโอกาสการเรยี นจบการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน การลดปใญหาการตั้งครรภแในวยั เรียน การลดอตั ราการกอ อาชญากรรมในอนาคต ฯลฯ ซ่ึงเหลานี้ลวนเป็น คาใชจายในปใจจุบันที่รัฐบาลสหรัฐฯ ตองจายไป ในการบําบัดรักษาและแกไขปใญหาอยางมหาศาล เป็น คาใชจ า ยสงั คมท่ีสูงเสียยงิ่ กวา ตนทนุ ในการสรา งระบบปอู งกัน เดก็ ตงั้ แตระดับปฐมวยั มากมายนกั ศาสตราจารยแเจมสแ เจ. เฮคแมน (Heckman, 2000) ซ่ึงเป็นผูไดรับรางวัลโนเบลสาขา เศรษฐศาสตรแใน พ.ศ. 2543 เป็นผูหน่ึงท่ีไดวิเคราะหแความคุมคาของการลงทุนในโครงการพัฒนาเด็ก ปฐมวัยของสงั คม โดยช้ีใหเ หน็ วา การลงทุนกบั โครงการเพื่อเด็กปฐมวัยน้ัน ใหผลประโยชนแตอบแทนสูง กวาเม่ือเทียบกับการทาํ โครงการเพื่อแก ปใญหาเดก็ เยาวชน หรอื คนเป็นผูใหญในภายหลัง และยังพบอีก วา การลงทนุ เพอื่ การศึกษาปฐมวัยท่ีมีคุณภาพจะให ผลตอบแทนกลับมาประมาณรอยละ 7-10 ตอปี ซ่ึง ถาคิดในแงของการลงทุนทางเศรษฐศาสตรแแลว ผลตอบแทนจาก การลงทุนนี้ดีกวาผลตอบแทนจาก ตลาดหุนสหรฐั อเมรกิ าในชวง พ.ศ. 2488-2551 เฮคแมนชีใ้ หเห็นวา ขอมูลทางเศรษฐศาสตรแ สุขภาพ และสังคมศาสตรแ ทําใหเห็นภาพชัดเจนวา การศึกษา ปฐมวัยมิใชเพียงความจําเป็นทางสังคมเทานั้น หากแตเป็นความจําเป็นทางเศรษฐศาสตรแท่ี
228 สงผลกวางไกลในระดับ ประเทศอยางยิ่ง และจากการศึกษาระยะยาวเกี่ยวกับการพัฒนามนุษยแแตวัย เยาวแ เฮคแมนไดพ บขอสรุปสําคญั ย่งิ 5 ประการ ไดแก 1) ความไมเสมอภาคในประสบการณแการเรียนรูในชวงปฐมวัย จะนําไปสูความไมเสมอภาคใน ความ สามารถ ความไมเสมอภาคในการสรางสัมฤทธิผลตลอดเสนทางการเติบโต ความไมเสมอภาคใน การมสี ขุ ภาพดี และ ความไมเสมอภาคในการไดมาซึง่ ความสาํ เรจ็ เมอ่ื เปน็ ผใู หญ 2) ความสามารถในการเรียนบวกกับคุณลักษณะพึงประสงคแ เป็นตัวขับเคลื่อนการศึกษาและ ความสําเร็จ ในชวี ติ ของเดก็ ไดอ ยางแทจรงิ แมวา ความสามารถในการเรยี นจะเป็นเรื่องสาํ คญั แตถา เดก็ มี ความสามารถนี้เพียงดาน เดียวก็จะไมมีพลังเพียงพอเทากับการมีทั้งความสามารถในการเรียนบวกกับ ความสามารถทางสงั คม ซ่ึงไดแก ความ มุงมั่น ความพากเพียร การควบคุมตนเอง และความสามารถใน การเขา สังคม เปน็ ตน 3) การจัดการศึกษาปฐมวัยที่เทาเทียมกัน จะสามารถเปล่ียนแปลงปใจจัยท่ีกําหนดชีวิตเด็กทั้ง กรรมพนั ธุแ การเลย้ี งดู และสภาพแวดลอม ที่มีมาแตเดิม. 4) การรอไปจนถึงวัยเขาโรงเรียนอยางเป็นทางการ อาจจะสายเกินไปสําหรับเด็กดอยโอกาส เพราะได พลาดโอกาสสรางรากฐานความสําเรจ็ ในชวี ติ ของเด็ก 5) การลงทุนในการศึกษาปฐมวยั ต้งั แตช ว ง 0 ถงึ 5 ปีใหแ กเดก็ ดอยโอกาสจะชวยปูองกันชองวาง ของ สัมฤทธิผล ลดความตองการท่ีจะตองจัดการศึกษาแบบพิเศษ (แกเด็กท่ีถูกเลี้ยงมาอยางไม เหมาะสม) เพิม่ วถิ ีของ สุขภาวะทด่ี ี ลดอัตราอาชญากรรม และลดตนทุนทางสังคมอื่น ๆ ไปในการศึกษา ปฐมวัย จะสรา งผลตอบแทนการลงทุนถงึ รอยละ 10 ตอปี จากขอคน พบของเฮคแมน ท่ีไดย กมาบางสว นขางตน ทําใหเราเขาใจความสัมพันธแท่ีสําคัญหลาย อยางนัน้ คือ เด็กปฐมวัย มิใชเ ป็นเปาู หมายท่แี ตละครอบครัวตองการเพือ่ ใหว งศแตระกูลมีบุตรหลานหรือผู สืบสกุลท่ีมี “คุณภาพ”ใน อนาคตเทาน้ัน หากเป็นเปูาหมายการพัฒนาของท้ังสังคมดวยการพัฒนาเด็ก ปฐมวัยเป็นปใจจัยทีส่ าํ คญั ย่ิงตอการวาง รากฐานอนาคตของทงั้ สงั คม เพราะสังคมท่ปี ระกอบดว ยพลเมือง คุณภาพยอมมีหลักประกันม่ันคง ยิ่งกวาสังคมท่ี ขาดแคลนซึ่งพลเมืองคุณภาพ และ “คุณภาพ” ที่จะ นํามาซึ่งความสําเร็จน้ัน ตองไดรับการฟูมฟใกท้ังดานการเรียนรู และบุคลิกภาพ มิใชเนนเพียงดานการ เรียนเทาน้ัน ซ่ึงเป็นประเด็นท่ยี ังคงเป็นปใญหาอยา งมากในสังคมไทยปใจจุบนั นอกจากนี้ สงิ่ ทเ่ี ราสามารถเขา ใจไดจ ากการคน พบคร้ังนีอ้ กี ก็คอื การจัดการพัฒนาเด็กปฐมวัยหา ใชเป็นเพียง หลักประกันทางเศรษฐกิจของสังคมอนาคตเทาน้ัน หากแตยังเป็นหลักประกันในการสราง ความเสมอภาคในสังคมดวย เพราะครอบครัวที่ยากจนยอมยากท่ีจะพัฒนาลูกหลานใหไดคุณภาพ ทัดเทียมกับครอบครัวที่มีฐานะดีกวา แตหากการ จัดการศึกษาปฐมวัยของสังคมทําไดอยางมีคุณภาพ และทั่วถึง เด็กจากครอบครัวท่ียากจนก็จะมีโอกาสทัดเทียมขึ้น น่ันคือ เสถียรภาพของสังคมโดยรวมยอ มดขี ้นึ จากการท่ีคณุ ภาพของคนทีไ่ ดรบั ประสบการณแการดูแลในชว งปฐมวัย ท่ีไมแตกตา งกัน จะนํามาซึ่ง ชองวางหรือความเหล่ือมล้าํ ทางเศรษฐกจิ และคณุ ภาพชีวิตทีล่ ดลง
229 จึงเป็นท่ีแนชดั วา หากรัฐของประเทศใดไมลงทุนในการพัฒนาเด็กในชวงเวลาปฐมวัยน้ีแลว รัฐก็ จะหมดโอกาสการพัฒนาขีดความสามารถทางสติปใญญาและการวางรากฐานท้ังทางดานพฤติกรรม อารมณแ และสงั คมของ เดก็ ไปตลอดชวี ิต ขาดโอกาสสรา งความมัน่ คงแข็งแรงในทุกดานของสังคมไปดวย และน้ันจะเป็นการเสยี โอกาสจาก การลงทนุ ทม่ี ีคา ท่ีสดุ ของสงั คมอยา งนาเสยี ดายที่สดุ 2.2 ทกุ อย่างเริ่มตน้ ที่ปฐมวัย “ชวงปฐมวัย คือหาปีแรกของชีวิตน้ัน เป็นชวงเวลาท่ีสําคัญอยางยิ่งสําหรับการพัฒนา ชีวิตของ เด็ก สมองของเด็กพัฒนาอยางรวดเร็วในชวงหาปีแรกของชีวิต เป็นชวงเวลา ที่เด็กมีการพัฒนาทางการ รับรู ภาษา สังคม อารมณแแ ละกลา มเน้อื อยา งรวดเรว็ ” องคกแ ารยนู ิเซฟ ใน พ.ศ. 2555 ประเทศไทยมีเด็กแรกเกิด ถึง 2 ปีเป็นจํานวนประมาณ 2.3 ลานคน และวัย 3 ถึง 5 ปีประมาณ 2.4 ลานคน แตจะมีพอแม ผูปกครอง และผูใหญในสังคมไทยสักเทาใดท่ีเขาใจ ความสําคัญของการพัฒนาเด็กปฐมวัย และลงมือพัฒนาเด็กอยางจริงจัง และเราจะมีความมั่นใจสัก เพยี งใดวา สังคมไทยในอนาคตทั้งใกลและไกลนั้น จะมี ความมั่นคงแข็งแรง อุดมสมบูรณแพูนผล เป็นสุข เมื่ออยูในมือของเด็ก ๆ ที่เติบโตมาในรนุ น้ี จึงจําเปน็ ตองกลา วขอ คน พบของนกั วิชาการจากทว่ั โลกวา ปฐมวัยเป็นชวงเวลาท่ีสําคัญที่สุดของ การพัฒนา ตลอดชวงชีวิตของมนุษยแ และเป็นรากฐานของการพัฒนาตอไปจนตลอดชีวิต ชวงเวลาสอง สามปแี รกของชวี ติ น้ี หากมี ความขาดแคลนใด ๆ ไมว าจะเป็นการขาดอาหารและโภชนาการที่เหมาะสม ขาดการอุมชูดูแลใกลชิด ขาดการกระตุน อยางเหมาะสม ขาดความรัก ความเอาใจใส หรือมีโรคภัยไข เจบ็ เรอื้ รงั มีความบกพรอ งทางรางกายและสมอง ฯลฯ ก็จะสงผลตอ การพัฒนาโครงสรางและการทํางาน ของรางกาย จิตใจอารมณแ การเขาสังคม ไปจนถึงการพัฒนา การเรียนรู ซึ่งปใจจัยท้ังหมดในวัยปฐมวัยนี้ จะมีผลตอ บุคคลนนั้ ไปชัว่ ชีวติ ในเอกสารรายงานเก่ียวกับศาสตรแการพัฒนาเด็กปฐมวัย (The Science of Early Childhood Development Report, 2007) ไดเนนวา ทักษะการเรียนรูสภาวะจิตใจที่ดี ความสามารถดานสังคม และสขุ ภาพกายใจที่แขง็ แรง จะสรางรากฐานความสาํ เร็จเม่ือเติบโตเป็นผูใหญ นอกเหนือจากผลสัมฤทธ์ิ ท่ีโรงเรียนซ่ึงสามารถเห็นไดในระยะสั้นที่ จะเป็นไปในทางบวก ความสามารถเหลาน้ียังมีความสําคัญ อยางย่ิงตอผลิตภาพ หรือความสามารถในการสรางผลิตผล ใหแกตนเองและสังคม รวมไปถึงการเป็น พลเมอื งทมี่ คี วามรับผดิ ชอบของสังคมในอนาคตดว ย ดังนั้น จําเป็นย่ิงท่ีจะตองสรางความเขาใจรวมกันของคนในสังคมเกี่ยวกับหลักการพื้นฐานของ การพฒั นาใน เรื่องเดก็ ปฐมวยั ดงั ตอไปน้ี 1) การพัฒนาเด็กเป็นรากฐานท่ีสําคัญท่ีสุดของการพัฒนาชุมชนและเศรษฐกิจสังคมโดยรวม สังคมจะ แข็งแรงไมใชเพียงการพัฒนาโครงสรางสาธารณูปโภค การมีกฎหมายท่ียุติธรรม หรือการมี
230 ทรพั ยากรอดุ มสมบูรณแ ฯลฯ เทาน้นั หากแตการมีเด็กท่ีมีคุณภาพ จะกลายเป็นทรัพยแสินอันมั่นคง มั่งค่ัง และยัง่ ยนื ทีแ่ ทจรงิ ของสังคมไทย 2) เด็กเติบโตขึ้นทุกวัน วินาทีตอวินาที เชนเดียวกับสมอง เด็กท่ีพัฒนาเติบโต งอกเซลลแ เช่ือม เสน ประสาทและเรียนรูตลอดเวลา ดังนั้น เด็กไมสามารถรอได ย่ิงไดรับการพัฒนาก็ยิ่งแข็งแรงงอกงาม เกิดเป็นวงจรที่ แขง็ แรงสมบรู ณแตอ เนือ่ งไปอีก แตห ากถูกละเลยเพิกเฉย ทั้งสมองและรางกายก็จะเติบโต ไมสมวัย เซลลแสมองก็จะ เชนกัน ลิดรอนตัวมันเอง และวงจรของความไมสมบูรณแน้ีก็จะฝใงรากในชีวิต และสรา งวงจรความไมสมบรู ณตแ อ เนอื่ งไปอีก 3) สมองท่ีกําลังพฒั นาเตบิ โตของเดก็ จะพัฒนาไปในรูปใด ขึ้นอยูกับอิทธิพลจากยีนสแท่ีรับมาจาก พอ แม บรรพบรุ ษุ และจากประสบการณแทีเ่ ดก็ ไดร บั นบั ต้งั แตเกิดมา แนนอนประสบการณแทีจ่ ะมบี ทบาท มากทสี่ ุดในชว ง วยั ทเี่ ด็กยงั ออ นเยาวแทสี่ ดุ น้ี ก็มาจากอิทธิพลของบคุ คลทอ่ี ยูรอบตัวเด็กในวัย 0 ถึง 5 ปีนี้ นน่ั คอื พอ แมแ ละผทู ่ไี ด ดูแลเดก็ ในครอบครัวหรือชุมชนนัน่ เอง เป็นท่ีเขาใจกันมากขึ้นเรื่อย ๆ วา การมีพัฒนาการไมสมวัยน้ันมักจะนําไปสู “วงจรอุบาทวแ” เริ่มตนที่เด็กจะเรียนไมคอยไดผลท่ีโรงเรียน ไมคอยสัมฤทธิ์ มีรายไดตํ่า มักมีเพศสัมพันธแเร็วกวาวัยอัน ควร มก ท่ีพอแมมีการศึกษานอย อายุนอยและมีรายไดนอย การกระตุนพัฒนาการตามที่ควรนําไปสู “วงจรอุบาทวแของความยากจน” ตอ ไป จึงกลาวไดวา ทุกดานของทุนมนุษยแที่เติบโตไปสูการเป็นผูใหญ นับจากทักษะการทํางาน ทักษะ การรวมมือกับคนอ่ืน การมีสุขภาพดี พฤติกรรมปฏิบัติตามกฎหมาย และความสําเร็จในชีวิต รุนตอรุน ลวนไดรับอิทธิพลตอเนื่องมาต้ังแตชวงปฐมวัยทั้งส้ิน บรรดาปใญหาท่ีพบเจอในชวงผูใหญ เชน ปใญหา สุขภาพจิต โรคอวน โรคหัวใจ การเป็นอาชญากรรม การไมรูหนังสือ อานไมออก เขียนไมได ก็ลวน สามารถแกะรอยยอยกลับไปไดวา เป็นผลมาจากการเล้ียงดูในชวงปฐมวยั ไดท ั้งสิน้ เชน กัน 2.3 การพฒั นาสมองในช่วงปฐมวยั “ในขณะท่ีเด็กเริ่มมีประสบการณแกบั โลกกวางผานประสาทสมั ผสั ทง้ั 5 การดู การฟใงการสัมผัส การดมและการชิมน้ัน ในสมองของเด็กเกิดการเช่ือมตอ โยงใยและกอรูปข้ึนอยาง รวดเร็ว” The Department of Education and Early Childhood Development, Prince Edward Island, Canada โครงการเก่ียวกับการมีสวนรวมของครอบครัวในการพัฒนาเด็กปฐมวัย (A Project on Engaging Families in the Early Childhood Development Story) ของกระทรวงศึกษาธิการ แหง ประเทศออสเตรเลียแสดงใหเห็นวาศาสตรแทางประสาทวิทยา (Neuroscience) ไดพิสูจนแวา ในการ พัฒนาเด็กน้ัน “ประสบการณแ” ในชวงปฐมวัยมี ความสําคัญกวากรรมพันธแุ ประสบการณแที่เด็กไดรับ ในชวงตน ของชวี ติ จะสง ผลตอ การพัฒนาสมอง และมผี ลตอ คณุ ภาพชวี ิตในระยะยาว (Winter, 2010)
231 การพัฒนาสมองของมนุษยแสวนใหญทสี่ ุดเกดิ ขนึ้ หลังจากท่ีเด็กคลอดออกมาแลว เป็นผลจากการ ทีเ่ ด็กมี ปฏิสัมพนั ธแกับสภาพแวดลอมภายนอก และชวง 3 ปีแรกของชีวิต สมองเด็กจะเติบโตเร็วที่สุด มี งานวจิ ยั ดานประสาท วทิ ยาศาสตรจแ ากประเทศออสเตรเลีย ยา้ํ ใหเ หน็ ชดั เจนวา • ชีวิตในชวง 5 ปีแรกจะสงผลไปถึงความเป็นไปตลอดชีวิต • โภชนาการ สุขภาพและการออก กาํ ลงั กาย คอื ปจใ จยั สาํ คัญพน้ื ฐานท่เี ดก็ ตอ งไดรบั • เด็กทกุ คนเกดิ มากับความพรอมทจี่ ะเรียนรู • การเรียนรทู ด่ี ที ีส่ ดุ เกิดขนึ้ ในความสัมพนั ธแที่มีลกั ษณะเกือ้ กลู สงเสริม • สมองเดก็ จะพฒั นา เมอ่ื มีการใชงาน • ความอยูด มี สี ขุ หรอื คณุ ภาพชวี ติ ของเดก็ มีผลตอพัฒนาการทางสมองและการเรยี นรู • เด็กเรยี นรผู านการเขา รว มและลงมอื ทํา • เด็กเรียนรจู ากการสังเกตและเลียนแบบ • เดก็ เรยี นรภู าษาจากการฟงใ และไดพูด • เดก็ เกดิ มาพรอมกบั ความพรอ มทจี่ ะใชและเรยี นคณิตศาสตรแ • ความสามารถในการควบคุมตนเองมีความสําคัญตอการเรียนรู ตอความรับผิดชอบ และการ สราง ความสมั พันธแกับคนอน่ื ของเด็กสรา งเดก็ ท่ีฉลาดข้ึน จากขอสรุปเบื้องตนไดเช่ือมโยงใหเราเห็นวา สมองของเด็กนั้น คือ ทรัพยากรท่ีมีคาท่ีสุด ที่ จะตอ งได รับการถนอมรกั ษาและดูแลพัฒนาอยางดี เพื่อใหศักยภาพหรือความพรอมท่ีมีมาแตธรรมชาติ เหลานั้น ไดเกิดการ งอกงาม ผานกระบวนการรับรูทางสมอง ไดแก การสัมผัส การเห็น การฟใง การดม การชิม และนําไปสูการจดจํา สั่งสม วิเคราะหแกล่ันกรอง และสังเคราะหแสรุปพัฒนาข้ึนเป็นการเรียนรูท่ี ยกระดบั สงู ขน้ึ เรอ่ื ย ๆ นอกจากนี้ เรายังมีความรูเพิ่มเติมในเรื่องสมองของเด็กปฐมวัยอีกวา มลพิษจากความเครียดท่ี เกิดขึ้น ในชวงปฐมวัยจะสงผลเก่ียวของกับระบบประสาทและระบบฮอรแโมนแหงความเครียด อันจะ นําไปสูความเสียหายใน การกอรางสรางรูปของสมองและจะนําไปสูปใญหาในการเรียนรูพฤติกรรม และ สุขภาวะท้ังกายและจิตใจไดตลอดชีวิต การดูแลพัฒนาสมองอยางเหมาะสม จะทําใหมั่นใจวาเด็กแตละ คนสามารถพัฒนาไปไดเตม็ ศักยภาพของตน และจะ เตบิ โตเป็นผูใหญท่ีมีความสามารถสรางสรรคแในการ ผลติ ทา มกลางสังคมโลกทเ่ี ปลย่ี นแปลงอยางรวดเรว็ ในยคุ ปจใ จบุ นั ดังนั้น จึงจําเป็นท่ีจะตองสรางเงื่อนไขสภาพแวดลอมของการพัฒนาสมองของเด็กที่เหมาะสม เชน การ ไดใชประสาทสัมผัสท้ังหาสม่ําเสมอและมากพอ การไดรับความรักความเอาใจใสอยางอบอุน บรรยากาศเล้ียงดูท่ีราเริง มคี วามสขุ การไดร ับการคมุ ชโู อบกอด ไดย นิ เสียงเพลง ไดฟใงนิทาน ไดเลนของ เลน หรอื อ่นื ๆ เพอื่ ถนอมรกั ษา ศักยภาพสรางการเติบโตงอกงามของสมอง และปูองกันอุบัติเหตุ ความ เจ็บไขไ ดป วุ ย ความเครยี ด ความเหงา เปน็ คน 2.4 สภาพแวดล้อมสาคญั ยง่ิ ยวด
232 “การพัฒนาทางสมองของเด็กข้ึนอยูกับการกระตุนทางส่ิงแวดลอม โดยเฉพาะอยาง ยิงคุณภาพ ของการเลยี้ งดแู ละระดบั การปฏสิ มั พนั ธทแ ่เี ดก็ ไดร บั ” อ ง คแ ก า ร ยู นิ เ ซ ฟ http://www.unicef.org/thailand/tha/education_6555.html จากเอกสารขององคแกรเด็ก เยาวชน และครอบครัว (Child, Youth and Family) ไดชี้ใหเห็นวา ชวงเวลา ท่ีสมองของเด็กปฐมวัยกําลังกอรูปนั้น นับเป็น “หนาตางแหงโอกาส” ทสาคม โอกาส” หมายถึง “ชวงเวลาท่ีเด็กแตละคนมีความพรอมที่สุดท่ีจะรับการพัฒนาทักษะ ใดทักษะหนึ่ง” เชน “หนา ตางแหง ความไวใ จในมนษุ ยแ จะเปิดกวา งมากที่สดุ ในชวงวัย 0 ถึง 14 เดือนแรกของชีวิต ฉะนั้น ถา พอแมหรือครอบครัว ตอบสนองความตองการของเด็กไดดี เชน ใหนมเมื่อเขาหิว เปลี่ยนผาออมใหเมื่อ เปียกแฉะ หรือ ออ อบหมาเสมอ ความรูส กึ ไววางใจตอมนษุ ยแ ตอโลกก็จะฝใงลึกในสมองของเด็กตั้งแตวัย นน้ั จนหยังรากมนั คงใน ท่ีสดุ เป็นตน ดังนั้น พอแม ผูดูแลเด็กในครอบครัวจําเป็นตองมีโอกาสเรียนรูเขาใจวา ชวงวัยใดท่ี “หนาตาง แหงโอกาส” บานใดเปิด เพ่ือที่จะสรางสภาพแวดลอมสงเสริมใหเด็กแตละคนไดรับการพัฒนาจนเต็ม ศักยภาพ ณ หนาตางแหง โอกาสของเขา ไมวาจะเป็นการจัดรูปทักษะทางการศึกษา เสริมสรางทักษะ สงั คม และสรางการเรยี นรูทจี่ ะนําไปสคู วาม สําเร็จในโรงเรยี นและในชีวิตขางหนาตอ ๆ ไปได ดวยเหตุน้ี พอ แมจ งึ ควรทาํ ความเขาใจทัง้ เรือ่ งสภาพแวดลอม ภาษา และการเรยี นรู อาหาร ภาวะจิตใจ และการรับ สอ่ื ดงั น้ี 1) สภาพแวดล้อมเป็นปัจจัยภายนอกที่ส่งผลต่อพัฒนาการและการเจริญเติบโตของเด็กให้ เปน็ ไปใน ทิศทางใดทศิ ทางหนึ่ง แบงออกไดเ ป็น 2 ประเภท คอื • สภาพแวดลอมทางกายภาพ (Physical Environment) ไดแก บานเรือนที่อยูอาศัย โรงเรียน ของเลน สนามเด็กเลน สวนสาธารณะ ศูนยเแ รียนรู อาหาร นิทาน บรรยากาศ ฯลฯ • สภาพแวดลอ มทางสงั คม (Social Environment) ไดแก ครอบครัว ญาติ พี่นอง ครูวัฒนธรรม ความสมั พันธแระหวา งบคุ คล เปน็ ตน 2) ภาษาและการเรียนรู้ชวง 6 เดือนถึง 3 ปีแรกของชีวิตเป็นชวงท่ีภาษาและการเรียนรูของ สมองพัฒนา ไดเร็วมาก แตถาขาดการกระตนุ หรอื อยูในสภาพแวดลอมที่ไมคอยไดสงเสริมในเรื่องภาษา และการเรยี นรู ไมม ีคน พดู ดว ย ไมม ีสิ่งกระตุน ประสาทสมั ผสั ถูกทอดทิ้งบอย ๆ สภาพอารมณแจิตใจและ รางกายรวมทั้งสมองก็จะถูกกระทบ อาจนําไปสูปใญหาการส่ือสาร ความเช่ืองชาทางสังคม พฤติกรรมไม พึงประสงคแ และมีปใญหาในการเรียนรู ครั้นเม่ือโตขึ้น เด็กเหลาน้ีก็อาจจะมีปใญหาในการเผชิญหนากับ สถานการณแ หรือสภาพแวดลอมท่ีซับซอนของโลกสมัยใหม สภาวะของความเครียดหรือไมมีความสุขใน วัยเดก็ จะเพิ่มความเสี่ยงตอ ปใญหาทางจิตใจ ความเครยี ด โรคภัย หรอื ความอยูดมี สี ขุ ในชว งเป็นผใู หญได
233 3) อาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ จะชวยใหสมองและรางกายสามารถทํางานตามหนาที่ได อยางเต็มท่ี พฒั นาการและการเตรยี มความพรอมของเด็กปฐมวัยในดานตาง ๆ ก็จะเป็นไปดวยดี เด็กที่มี ภาวะทางโภชนาการที่จะ เตบิ โตไดสมบรู ณแ มพี ัฒนาการทีส่ มวยั สมองกระฉบั กระเฉง 4) ภาวะจิตใจ หากเด็กปฐมวัยอยูในสภาพแวดลอมท่ีกดดัน เต็มไปดวยเสียงหรือพฤติกรรมรุนแรง ดค วามเครียดในจิตใจ และดวยวยั เยาวแทีไ่ มอ าจแสดงออกหรอื อธบิ ายความรสู กึ ของตนเองได กอ็ าจมี เดก็ ก็จะเกดิ ความเครยี ดในจติ ใจ และพฤตกิ รรมทผ่ี ิดปกติ ความเขา้ ใจพ้ืนฐานและเปา้ หมายการเสรมิ พลังครอบครวั ท่ีมีเดก็ ปฐมวัย “ความไรพ ลงั ในระดบั บคุ คล คือ ความไมส ามารถกาํ หนดผลท่จี ะเกดิ ข้นึ ในชีวิตของตนเองได” Charles H. Kieffer Department of Psychology, The University of Michigan, USA 1.ความเข้าใจพ้ืนฐานและเป้าหมายการเสรมิ พลงั ครอบครัวทีม่ เี ด็กปฐมวยั ในการศกึ ษาการเสริมพลงั ครอบครัวทม่ี เี ด็กปฐมวัยจําเปน็ ตองมคี วามเขา ใจพน้ื ฐานใน 3 ประเด็นตอ ไปน้ี 1.1 การเสริมพลังแตกต่างจากกระบวนการพัฒนาแนวอื่น ดีน (Dean, 1993) แหง มหาวิทยาลยั คอรแแ นล ช้ีใหเ หน็ ความแตกตา งของกระบวนการพัฒนาชีวิตและสังคมท่ีเปลี่ยนมาเป็นแบบ เสรมิ พลังวา ความแตกตางที่สุดคือการเปลย่ี นความเชอ่ื และทศั นคติของทุกฝุายท่เี กย่ี วของ การเสรมิ พลัง : ความเชื่อและทศั นคติท่เี ปลยี่ นไป จากงานวิชาการขางตน จะเห็นวา การเสริมพลังเกิดขึ้นไดเพราะมีความเชื่อพ้ืนฐานเก่ียวกับมนุษยแ เขา ใจใน ธรรมชาติของความเปน็ มนษุ ยแ และเช่อื มั่นในความเปน็ มนุษยแทเ่ี ทาเทียมกัน ในประเดน็ ดังน้ี • ลาํ พังคนคนเดียวไมอาจปกปอู ง หรือแกไขปใญหาใด ๆ ในชวี ติ ไดส าํ เรจ็ ดวยดีตามลําพัง คนท่ีอยู ในหัวอกเดียวกัน เพ่ือนบาน คนในชุมชน สังคม หรือกลไกรัฐฯลฯ จําเป็นที่จะตองเขามารวมมือ ชว ยเหลอื หรือสนบั สนนุ • การเปลีย่ นแปลงไมใ ชก าร “ให” จากผูที่เหนอื กวา มอบแกผูทด่ี อยกวา หากจะตองอยูบนความ เช่ือม่ันในความเทาเทียมและพลังของคนทุกคน ที่วาไมวาจะมีปใญหาหรือความออนดอยอยางไร คนทุก คนลวนมีจุดแข็ง มีความรู มีประสบการณแและคุณคาบางประการในตัวของเขา ที่จะเป็นฐานของการ พฒั นาสสู ง่ิ ท่ดี ีกวา ได • การเปลี่ยนแปลงไมไดเกิดจากมี “คนนอก” ไปทําให หากตองเป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิด จากความ ตองการภายในของบุคคลนนั้ ๆ ทีจ่ ะเปล่ียนแปลงดวยตนเอง • “พลัง” เป็นสิ่งท่ีมีพลวัต เปลี่ยนแปลงไดขึ้นอยูกับเหตุปใจจัย และเป็นสิ่งที่มีอยูแลวตาม ธรรมชาติ ในตัวคน เชน พลังแหงความรัก พลังแหงการเรียนรู แตขณะเดียวกันก็มีพลังที่คนสรางขึ้นบน ฐานความสมั พนั ธแระหวา ง คนกบั คน เชน พลังสามัคคี พลงั ของอํานาจหนา ท่ี พลงั เงนิ เปน็ ตน
234 • ในภาษาไทย คําวา “พลัง” ตางจาก “อํานาจ” ในขณะท่ีในภาษาอังกฤษใชคําคําเดียวกัน คือ power ดังนั้น “พลัง” จึงไมใชเรื่องของการบังคับควบคุม และก็ไมใชส่ิงที่จํากัดเป็นของใครบางคน เทาน้ัน หากเป็นส่ิงที่ แบงปในแชรแกันได รวมมือกันได และเอ้ือประโยชนแแกกันและกันได “ย่ิงแชรแพลัง ตา งฝุายตา งยงิ่ ไดพลงั ” • การเสริมพลังจะนํามาซ่ึงการเปล่ียนแปลงหรือทางออกท่ีดีข้ึน ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว หรอื สงั คม โดยเฉพาะจะตอ งเหน็ ผลลพั ธไแ ดจากการเปลีย่ นแปลงทางความคดิ จติ ใจเป็นสาํ คัญ ไมใชเพียง การเปลยี่ นแปลง ทางวตั ถุหรอื กายภาพเทานัน้ 1.2 การเสริมพลังครอบครัวที่มีเด็กปฐมวัย โดยธรรมชาติแลว มนุษยแทุกคนมีศักยภาพที่จะเติบโต พัฒนาขึ้น จนสามารถกําหนดชีวิตของตนเองได หากไดรับปใจจัยหลากหลายประการท้ังภายในและ ภายนอก ดังกลาวในหัวขอตาง ๆ ขางตน แตกระนั้น การท่ีบุคคลไมสามารถบรรลุซ่ึงเปูาหมายชีวิตของ ตนเองไดกเ็ นอ่ื งจากปใจจัยสําคญั บางประการ เอเลน พินเดอรแฮิวสแ (Pinderhughes, 1983) นักวิชาการดานการเสริมพลังจาก มหาวิทยาลัยทฟั ทแ สหรัฐอเมริกาชี้วา บคุ คลไมไ ดส รางข้นึ จากกรรมพันธุแ กับเง่ือนไขของการอบรมเลี้ยงดู และการเตบิ โตเทาน้นั แตจากโอกาสและประสบการณแจากโลกรอบตัวของเขาดวย ผลจากการเลี้ยงดูท่ีดี ก็คือ บุคคลจะตองมีความสามารถที่จะตัดสินใจและมีความสามารถท่ีจะทําใหการกระทําของตนบรรลุสู เปูาหมายที่ตั้งไว จึงจะกลาวไดวาบุคคลนั้นสามารถกําหนดชะตาชีวิตของเขาเองไดในระดับใด ทํานอง เดียวกัน ครอบครัวก็จะตองมีความสามารถตัดสินใจในเรื่องของครอบครัวของตนเองได และสามรถ ผลักดันใหเปูาหมายของครอบครัวบรรลุผล ไมวาจะเป็นเปูาหมายทางเศรษฐกิจ เชน มีระดับฐานะความ เป็นอยูดีขึ้น มีรายไดเพียงพอตอการดํารงชีวิตและเล้ียงลูก เปูาหมายทางสังคม เชน เป็นท่ียอมรับ มี เกียรติในสังคมของตน สมาชิกครอบครัวเป็นที่ยอมรับนับถือของชุมชน ฯลฯจนกระทั่งไปถึง ความสามารถในการแกปใญหา และสามารถกําหนดชะตาชีวิตของรอบครัวของตนเองไดตามคุณคาและ แนวทางทตี่ นยดึ ถือ แตการจะทําไดเชนนี้ ไมเพียงแตครอบครัวจะตองใช ความพยายาม ฝุาฟในอุปสรรค ตา ง ๆ หรอื แสวงหาการเรียนรูท่ีเป็นประโยชนแดวยปใจจัยภายในตนเองเทานั้น สังคมหรือสภาพแวดลอม รอบขาง กจ็ ะตอ งเขาไปชวยเสรมิ พลังดวย ในครอบครัวที่มีเด็กปฐมวัย ชาวอัฟริกันโบราณมีสภาษิตวา “It takes a whole village to raise a child.” หมายถึง การที่จะเลี้ยงดูเด็กคนหนึ่งใหเติบโตมาอยางสมบูรณแนั้น จะตองใชคนท้ัง หมบู า นหรอื ชุมชนชว ยกนั เอา ใจใสดูแล มีกลไก ระบบท่ีทาํ ใหมั่นใจวา เดก็ จะไดกินอิ่ม นอนอุน ปลอดภัย และเตบิ โตเปน็ สมาชิกกลุมทแี่ ข็งแรง เราเรยี กวา ส่ิงท่ี “ทงั้ หมูบาน” ชวยกันดูแลเอาใจใสน้ีวา “การเสริม พลังครอบครัว” อยางไรก็ตาม เมื่อสังคมซับซอนข้ึน พัฒนาขึ้นจากระบบหมูบานสูความเป็นรัฐประเทศ กลไก ระบบ หรือปใจจัยตาง ๆ ในสังคมก็ยอมมีความซับซอนข้ึน การดูแลครอบครัวในยุคปใจจุบันที่พบเห็นกัน ทว่ั ไป อาจมีตง้ั แต การเออื้ เฟอ้ื วัตถหุ รอื ปจใ จัยทางกายภาพใหพอเพียงตอการเล้ียงดูเด็ก การดูแลสุขภาพ
235 อนามัยแมลูกออน การใหความรูแกพอแม การสงเสริมโภชนาการและการเล้ียงลูกดวยนมแม การจัด กจิ กรรมสําหรับครอบครัวทม่ี ีเด็กปฐมวัย เปน็ ตน 1.3 การเสริมพลังครอบครัว vs. การสนับสนุนครอบครัว มักมีขอสงสัยวา การสนับสนุน ครอบครัว (Family Support) กับการเสริมพลังครอบครัว (Family empowerment) ตางกันอยางไร เชน การใหความรเู ร่อื งโภชนาการและการพัฒนาสมองสําหรับเด็กปฐมวัย หรือการสรางกลุมชวยกันเอง ของแม (Self-help group) จัดวาเป็นการสนบั สนนุ ครอบครวั หรอื เสรมิ พลังครอบครวั กันแน ลอรแดและฮัทชนิ สัน (Lord & Hutchinson, 1993) ใหค วามสาํ คัญตอ การเสรมิ พลังวา จะตองไป ถึงระดับ การเปล่ียนแปลงระบบในสังคม โดยเห็นวาการใหความรูโภชนาการแกครอบครัวเด็กปฐมวัย อาจจะชวยใหครอบครวั มีพฤติกรรมการเลย้ี งดูลกู ไดดีข้ึน แตนัน่ ยงั ไมใ ชก ารเสริมพลัง การมกี ลมุ เพือ่ นมาชว ยเหลอื แมวยั รุนเลีย้ งเดีย่ ว เพอื่ ลดความรูสึกโดดเดี่ยว และชวยใหแมคนนั้น สามารถลุกขึ้นยืน มีงานทําและเล้ียงตนเองก็ยังไมถือวาเป็นการเสริมพลังครอบครัว เขาเห็นวา “การ เสริมแรงครอบครัวตองหมายถึงการที่ครอบครัวพัฒนาความสามารถในการใชพลังอํานาจของตน มิใช เพยี งเพ่ือเปลี่ยนแปลงตนเองเทา นนั้ หากตองไปสรา งเงอื่ นไขเพือ่ เปลย่ี นแปลงสภาพในชุมชนองคแกร หรอื สงั คมดวย” ซ่ึงเป็นการเปล่ียนแปลงท่ีใหญก วา ระดบั บุคคลมาก เขาสรุปวา การสนับสนุนครอบครัว หรือ Family Support นั้นจะเนนไปท่ีการทําใหระบบและ หนวยงานที่มอี ยูอยางเป็นทางการเดิมนั้น ออนตัวลง พัฒนาดานที่เป็นมนุษยแมากข้ึน ในขณะที่การเสริม พลงั ครอบครวั หรอื Family empowerment จะเนนไปท่ีการสรางระบบหรือสถาบันเพ่ือใหครอบครัว ลกุ ขึ้นมาเปน็ ฝุายกําหนดเงื่อนไขในการดํารงชีวิตของพวกเขาเอง นอกจากนี้ นักวิชาการอยางคอรแเดช (Kordesh, 1994) ก็ไดทําการเปรียบเทียบจุดเนนของการ สนับสน ครอบครวั กบั การเสริมพลังครอบครวั ไวในทํานองเดยี วกนั ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบแลวก็จะเห็นวา การเสริมพลังครอบครัวตามแนวคิดดังกลาวนี้ เนนไปที่มิติ ของการเมือง และการเปลีย่ นแปลงในระดบั ระบบและสถาบันเต็มที่ อยางไรกด็ ี ผเู ขยี นเห็นดวยกับนกั วิชาการบางกลุม (Keiffer, 1984; Presby et al., 1990) ทเี่ หน็ วา การ เสรมิ พลงั นนั้ เกดิ ขน้ึ ได 3 ระดบั ไดแ ก 1) ระดับบุคคล ที่สามารถกําหนดควบคุมชีวิตประจําวันของตนได เปล่ียนจาก ความรูสึกวาตนหรือ ครอบครัวไมมีคุณคา มาสูความเช่ือม่ันในตนเองและสรางการเปลี่ยนส่ิงตาง ๆ ใน การกํากับควบคุมของตนเองได รวมทั้งผลลัพธแในรูปของการมีทักษะความสามารถดานตาง ๆ มากข้ึน จนถงึ ระดับเปลย่ี นแปลงบทบาทของตนในสงั คม ข้ึนมาเป็นผนู ําได 2) ระดับกลุม ท่สี รางประสบการณรแ ว มกับคนอื่น ๆ มกี ารถกคดิ วิเคราะหแในเร่ืองตาง ๆ ทเ่ี ก่ียวขอ ง มีความสมั พันธแทเี่ สมอภาคในกลมุ มีความเหน็ อกเหน็ ใจกัน เขา ใจกัน ยอมรับกัน และรวมกัน กําหนดความเป็นไปของ กลุม สามารถสรางการเปล่ียนแปลงท่ีดีข้ึนในกลุมของตนได ย่ิงมีสวนรวมใน
236 กลุมมากเพียงใด สมาชิกท้ังหลายก็จะ ขยายความสามารถหรือบทบาทของตนเองในการกําหนดความ เปน็ ไปของกลุมไดม ากขนึ้ เพียงนัน้ 3) ระดับชุมชน มีการเปล่ียนแปลงเกิดข้ึนในกระบวนการ มีการจัดวางยุทธศาสตรแ หรอื กําหนดนโยบาย เพอื่ จัดสรรทรัพยากรของชุมชนหรือสังคม ใหเกิดประโยชนแแ กผูคนโดยเสมอหนา ซึ่งใน 3 ระดบั ดังกลา วนี้ การสนบั สนนุ ครอบครวั เป็นกระบวนการพ้ืนฐานเบื้องตน หรือ เป็นสวนหนึ่งของกระบวนการเสริมพลังได เชน หากจะเสริมพลังครอบครัวแมเลี้ยงเดียววัยรุนท่ีมีเด็ก ปฐมวยั ในชุมชนยากจน โดยมุงไปผลักดันใหแมใ นครอบครวั นีก้ าํ หนดนโยบาย หรือปรับเปลี่ยนระบบการ ใหบริการสุขภาพเด็กต้ังแตแรก ยอมเป็นไปไดยาก แตหากเริ่มตนที่การสนับสนุน (Family support) เชน จัดหางานใหแมรายนมี้ ีรายได จัดหาเคร่อื งใช อปุ กรณแ อาหารสําหรับเด็กเพื่อบรรเทาความลําบากทางวัตถุเฉพาะหนา ฯลฯ จากน้ันจึงนําไปสูการรวมเรียนรู รวมคิด รวมวางแผนการพัฒนาในระยะยาว ซ่ึงตองใชเวลาเรียนรูตอเนื่องระยะหน่ึงกวาท่ีแมรายน้ีจะ ตระหนักในพลังของตน และกาวขึ้นไปเรื่อย ๆ จนถึงขั้นลุกขึ้นมีบทบาทตอการเปล่ียนแปลงระบบหรือ สถาบัน เปน็ ตน 2. เป้าหมายในการเสรมิ พลังครอบครัวที่มเี ด็กปฐมวยั มนุษยแทุกคนป็นสมาชิกของครอบครัวของตนเอง ไมในบทบาทใดก็บทบาทหนึ่ง หรืออาจหลาย บทบาท ส่ิงที่เกิดข้ึนกับคนคนหน่ึงไมวาในประเด็นใด ๆ ครอบครัวของเขาจะไดรับผลกระทบไมวา ทางบวกหรือทางลบเสมอ ดังนั้น ทุกหนวยงานท่ีทํางานดานการพัฒนาสังคม ไมวาจะเป็นประเด็นทาง เศรษฐกจิ สุขภาพอนามัย ยาเสพตดิ แรงงาน เด็ก ผสู งู อายุ ฯลฯ จาํ เป็นทจ่ี ะตอ งเหน็ ความสัมพันธแที่แยก ไมขาดของสมาชกิ กบั ครอบครัว อาจใชค วามเป็นครอบครัวใหเกิดประโยชนแในการพัฒนาสมาชิก หรือใน ทํานองเดียวกัน การพัฒนาสมาชิกก็สามารถสงผลถึงภาพรวมของครอบครัวไดโดยเฉพาะในการพัฒนา เด็กทุกวัย การเสริมพลังครอบคครัว ก็ทําใหครอบครัว แข็งแรงข้ึน มีศักยาภาพสูงข้ึน ท้ังดานความคิด มุมมอง ความรู ความสามารถ และทักษะดานตางๆ จนครอบครัวมีความพรอมทุกดาน ทั้งเศรษฐกิจ สุขภาพ การศึกษา ความสัมพันธแ วัฒนธรรม สังคม ฯลฯ ในการทําหนาท่ีรับผิดชอบสภาพแวดลอมท่ีดี ท่สี ุดเพ่อื การเติบโตของเดก็ ทกุ คน ดวยเหตุนี้เปาู หมายสาํ คญั สงู สดุ ของการเสรมิ พลงั ครอบครัวที่มีเดก็ ปฐมวยั กค็ อื 2.1 เพ่ือใหครอบครัวตระหนักและเขาใจในบทบาทภาระหนาท่ีของตนในชวงเวลาที่สําคัญท่ีสุด ของกอง ชวี ติ ของลูก 2.2 เพื่อใหครอบครัวมองเห็นความตองการ ความจําเป็น จุดแข็ง จุดออน ขอจํากัดและปใญหา ของตนเอง แลวสามารถเลือกเสนทาง หรือจัดการกับสภาวะของครอบครัวตนเองไดอยางมีพลัง มี ประสทิ ธิภาพ
237 2.3 เพอื่ ใหค รอบครัวตระหนกั ในพลงั ของตน ท่เี ป็นทุนสงั คมอันมีคุณคา และสามารถกระทําการ พัฒนาลูกดวยมอื ตนเอง ไดอ ยางมีคุณภาพ มีศักดิ์ศรี แมครอบครวั จะเผชิญกบั สถานการณแแ บบใดก็ตาม 24 เพ่ือใหครอบครัวตระหนักในสิทธิของครอบครัว และเห็นพลังความรวมมือที่จะตองสรางข้ึน ระหวาง ครอบครัวอ่ืน ๆ มีการเขารวมกลุม ชุมชน เพื่อประสานทุนของทุกสวน เขามาเป็นพลังรวม มี แรงสนบั สนุนจากภาค สว นท่เี กย่ี วของ 2.5 เพอื่ ใหค รอบครัวไดร บั การเสรมิ พลงั จนถึงข้ันรว มขับเคล่ือนใหเกิดการระดมทรัพยากรสังคม อยา งจรงิ จัง มีการจัดระบบ กลไกนโยบาย หรือความเป็นสถาบัน เพ่ือเป็นหลักประกันในการพัฒนาเด็ก ปฐมวยั ของทง้ั สงั คมและในระยะยาว เปูาหมายทง้ั หมดน้ี เพ่ือพัฒนาความสามารถของครอบครัวในการพัฒนาเด็กปฐมวัยใหมีคุณภาพ ขึน้ บนความสามารถที่จะกําหนดความเป็นไปชีวิตของตนไดด วยตนเอง อยางไรก็ตาม อาจมีประเด็นคําถามเกิดขึ้นวา “รูไดอยางไรวาเกิดการเสริมพลังขึ้นแลว” ลอรแด (Lord,1991) ไดแสดงผลของกระบวนการการเสริมพลงั ดังนี้ การเคลื่อนตัวของกระบวนการและผลลัพธแแตละชวงแตละตอนนั้น เป็นไปแบบมีพัฒนาการ กลา วคอื จากความออนดอย ไรพลัง จากการที่แยกตนเองออกจากสังคมดวยความรูสึกดอยคา จากการ พง่ึ พิงผูอ่นื และรูสึกวา ชีวิตตนไมมีทางเลอื กนนั้ เมอ่ื กระบวนการเสรมิ พลงั ดาํ เนินไป ไมวาจะดวยรูปแบบ หรือ รายละเอียดอยางไร หากเป็นไปตามหลักการท่ีกลาวมาทั้งหมดและเป็นไปอยางตอเนื่อง ยอมเห็น ผลของการพัฒนาจนท่ีสุด ยกระดับถึงข้ันการมีพลังอํานาจในตนเอง สามารถเป็นแบบอยางแกผูอ่ืน มี อทิ ธิพลตอ ความคิดของผูอื่น และมีความสามารถในตนเอง หลักการการเสริมพลงั ครอบครวั ทมี่ เี ด็กปฐมวัย ความเขาใจพื้นฐานในการเสริมพลังครอบครัวชัดเจนแลว จะพบวา เมื่อนําเขาสูกระบวนการ เสริมพลังครอบรัวท่ีมีเด็กปฐมวัย ก็มีหลักการสําคัญหลายประการที่พ่ึงไดรับการพิจารณาอยางจริงจัง ดังน้ี 1.ความเชือ่ พนื้ ฐานเพื่อการเสรมิ พลงั ครอบครวั จากทฤษฎี หลกั การ และคณุ สมบตั ติ า งๆ ดังกลาวขา งตน เราสามารถสังเคราะหแขึ้นเป็นหลักการ ในการเสริมพลังครอบครัวท่ีมีเด็กปฐมวัยไดวา กอนที่เขาสูกระบวนการเสริมพลัง ผูตองการมีบทบาท เสริมพลังแกค รอบครวั จะตองทบทวนใหช ัดเจนวา มคี วามเชอื่ พ้นื ฐานใน 5 ประการ ดังที่สถาบันรักลูกได สรุปไวในโครงการสรางเสริมศักยภาพ การเรียนรูเพื่อครอบครัวเขมแข็ง (สุภาวดี หาญเมธี 2550) ดังตอ ไปน้ี 1.1 ครอบครวั (ท่ีมีเด็กปฐมวัย) ล้วนมีพลังพื้นฐานอยู่แล้วในตนเองทั้งส้ิน ซ่ึงเป็นปใจจัยเสริม ความเขมแขง็ ในการพัฒนาเด็กปฐมวัย พลังท่สี ําคัญ ไดแก • พลังแหงความเป็นพอ แม • พลังแหง ความรกั
238 • พลงั แหงการเรยี นรู 1.2 ครอบครัว (ที่มีเด็กปฐมวัย) ไม่ใช่ “แก้วนํ้าที่ว่างเปล่า” ทุกครอบครัวลวนมี “ทุนของ ครอบครัว” ใน มติ ิใดมิติหน่งึ ภาวะเชนนเี้ ป็นศักยภาพที่จะเอื้ออํานวยใหครอบครัวไปสูการเปลี่ยนแปลง และฝึกฝน สรางทักษะ ตา ง ๆ ในการพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ได 1.3 การเสริมพลังจะต้องให้น้าหนักท่ี “การเรียนรู้ของครอบครัว” เป็นสําคัญ เพราะการ เรียนรูเป็น หลักประกันของความเขมแข็งท่ีแทจริงของครอบครัว ท่ีจะสามารถเผชิญหนากับปใญหา นานัปการ พ่ึงพาตนเองและ ดูแลการพัฒนาเด็กในชวงวัยตอไปไดในอนาคต การเรียนรูจะเป็นพลังทาง ความคดิ และจติ ใจทม่ี ่นั คงของครอบครวั 1.4 ครอบครัว (ท่ีมีเด็กปฐมวัย) ต้องได้รับปัจจัยภายนอกมาสนับสนุน เพ่ือสรางโอกาสและ ประสบการณแ รวมทั้งใหการชวยเหลือทางวัตถุ หรือการแกปใญหาท่ีเผชิญหนาอยู บนพื้นฐานที่ตองใส ใจความตอ งการและสอดคลอ ง กบั บริบทท่เี ปน็ จริงของครอบครัว ใหครอบครัวเป็นผูตัดสินใจดวยตนเอง และมีสวนรวม โดยหนวยงานภายนอกเป็น กองผูสนับสนุน ทั้งนี้เพื่อใหครอบครัวมีศักดิ์ศรี ไมตกอยูใน ฐานะ “ผูแบมือรบั ความชว ยเหลือ” 1.5 การเสริมพลังทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ คือ การสร้างเครือข่ายทางสังคม (Social networks) ซึ่ง เปน็ กลมุ สังคม ทีเ่ กดิ การมสี วนรวมของกนั และกนั ทแ่ี ข็งแรงรองรับสถานการณแของครอบครวั และแบงปใน เก้อื กูล ชวยประคับประคองซึ่งกนั และกนั ใหท ุกครอบครวั ที่มเี ด็กปฐมวยั เขมแขง็ ขึ้นในระยะยาว 2. ความตระหนักในพลงั พน้ื ฐานของครอบครัวทมี่ เี ดก็ ปฐมวัย คุณสมบัติท่สี าํ คญั ยงิ่ ของมนษุ ยแ คอื การมีสมองคิดคนและมีอารมณแความรูสึกท่ีลึกซึ้ง ครอบครัวในฐานะ หนวยงานสังคมพื้นฐานท่ีสุดของมนุษยแ จึงพิเศษกวาหนวยสังคมของส่ิงมีชีวิตใด ๆ ท่ีไมเพียงแตมี ศกั ยภาพท่ีจะปรบั ตวั ใหอ ยรู อดเทานนั้ หากครอบครวั ยงั มพี ลังศักยภาพหลายดานทีจ่ ะสามารถรักษาและ ทําใหก ารดาํ รงชีวิตของสมาชกิ เปน็ ไปดว ยดี มคี ณุ ภาพสงู ข้นี ได สาํ หรับในครอบครัวทม่ี ีเด็กปฐมวัยน้นั พลังท่ปี รากฏเดนชัด ไดแก พลังความเป็นพอแม พลังแหง ความรัก ในครอบครวั และพลังแหง การเรยี นรู ซ่ึงจะกลาวพอสังเขปดังนี้ 2.1 พลังแห่งความเป็นพ่อแม่ สุภาวดี หาญเมธี (2550) กลาววา สถาบันรักลูกมีความเช่ือวา ครอบครัว เป็นพื้นที่ท่ีเด็กเริ่มตนชีวิต และเป็นศูนยแกลางการพัฒนาของเด็กปฐมวัย สมาชิกทุกคนใน ครอบครัวทีม่ เี ด็กปฐมวัย จะตอ งตระหนักในบทบาทหนาทีก่ ารเป็นสภาพแวดลอมท่ีดีและจัดหาส่ิงตาง ๆ เพ่อื ตอบสนองความตองการของเดก็ โดยเฉพาะแม ซ่ึงเป็นบุคคลท่ีมีความสําคัญที่สุด พลังของความเป็น พอแมเกิดขึ้นเม่ือมีการสัมผัส การท่ีแมสัมผัสวามีชีวิตใหมกําลังเติบโตอยูในครรภแของตนนั้น เป็น จุดเร่ิมตนของความผูกพัน เมื่อลูกถือกําเนิด การใหแมไดสัมผัสตัว ลูกทันทีหลังคลอดและไดอุมลูก สม่าํ เสมอต้งั แตแรก ใหลูกไดดูดนํ้านมจากอกแม ฯลฯ สัมผัสเหลานี้ลวนสงเสริมให ความผูกพันระหวาง แมกับลูกเกิดข้ึน สําหรับคนเป็นพอก็ทํานองเดียวกัน พอที่หมั่นอุมลูกตั้งแตแรก ๆ อาบน้ําใหนม แกลูก เปล่ียนผาออม เหกลอมลูก ฯลฯ ก็จะมีความผูกพันกับลูกมากกวาและเขาใจในบทบาทหนาที่ความเป็น
239 พอสูง กวา พอสมัยใหมจํานวนมากขึ้นสามารถปรับเปลี่ยนบทบาทและเขามามีสวนรวมกับแมไดเป็น อยางดี สงผลกระทบ ตอเน่ืองในทางบวกไปถึงคุณภาพและความสุขของลูก สังคมจึงตองรณรงคแใหมีพอ เขามามบี ทบาทใหมากขนึ้ จะเห็นไดวา ไมวายากดีมีจนอยางไร เม่ือพอแมเกิดความผูกพันกับลูก เกิดเป็นความรักข้ึนแลว ความรักลูก น้ีจะมันคงไปตลอดชีวิตพอแม เป็นที่ประจักษแกันดีวา พลังแหงความรักของพอแมตอลูกน้ัน เปน็ พลังท่ีย่ิงใหญทีส่ ดุ ทําใหพอ แมย อมเสยี สละส่งิ สําคัญอน่ื ของตนเองเพื่อลกู ได ไมว าความสะดวกสบาย โอกาสกาวหนา หรือแมกระทั่งชีวิต พลังแหงความรักของพอแมตอลูกน้ี สามารถทําใหพอแมพรอมท่ีจะ อดทนอดกลนั้ ใหโอกาส ใหอภัย และยินดีท่ีจะ เปลี่ยนแปลงตนเอง ขอเพียงรูวาการเปลี่ยนแปลงนั้นจะ ทําใหชีวิตลูกดีข้ึน และพลังแหงความรักจะสรางคุณลักษณะพึงประสงคแมากมายในตัวลูก ขณะเดียวกัน สามารถทําใหพอแมทุกคนมีความพรอมท่ีจะทําหนาท่ีของตนในการดูแล พัฒนาและปกปูองลูกไมวา จะตอ งเผชญิ กบั สถานการณแแบบใด อยางไรก็ตาม แมพลังแหงความเป็นพอแมจะเป็นสัญชาตญาณท่ีเกิดขึ้นตามธรรมชาติกับพอแม ทกุ คน แตจ ะ แข็งแรงม่นั คงข้ึน ดว ยการสมั ผัส ใกลช ิดและปฏิสมั พนั ธทแ ่ีมตี อ กนั ระหวา งพอ แมกับลูก และ ดวยการเรยี นรเู ปน็ สาํ คัญ 2.2 พลังแห่งความรักในครอบครัว ในครอบครัวมี “เสนใยแหงความผูกพัน” ซ่ึงเป็น ความสัมพันธแพิเศษ แตกตางจากความสัมพันธแชนิดอื่น ๆ น้ันคือ หากความสัมพันธแน้ีเป็นไปโดยปกติ ไม ถกู กระทบกระเทือนจากปใจจัย ตาง ๆ เราก็จะพบวา พอแมผ กู พนั กบั ลูก พี่นองผูกพันหวงใยกัน เสียสละ ใหก ัน ญาติพนี่ อ งใหค วามชว ยเหลือแกกนั สามภี รรยาดแู ลเอาใจใสซ่ึงกันและกัน ครอบครัวที่มีความสัมพันธแดี อบอุน เอาใจใสหวงใยกัน จึงเป็นปูอมปราการของชีวิตท่ีแข็งแกรง ยามเม่ือครอบครัวประสบปใญหา สมาชิกคนใดคนหนึ่งอาจพรอมเสียสละ ยอมทุกขแลําบาก เชน สตรีที่ ออกไปขายบริการเพื่อ หาเงินมาใชหน้ีแทนพอแม ยามเมื่อสมาชิกคนใดตองออกไปเผชิญโลกกวาง เพ่ือ สรางโอกาสใหม ๆ เชน ลูกชายออกไปขายแรงงานตางประเทศ พลังจากครอบครัวก็จะทําใหเขาเกิด กําลังใจ เกิดความมุงม่ันฮึดสู เพื่อใหไดความสําเร็จที่จะกลับมาเจือจุนครอบครัว ยามเม่ือเศรษฐกิจ ประเทศตกอยูในภาวะวิกฤตในปี 2540-2541 คนหนุมสาวจํานวนมากท่ีตกงานกลับไปอยูกับพอแมใน ชนบท ครอบครัวเป็นกันชนชีวิตที่เขมแข็งและอบอุนของทุกคน พลังแหงความรักในครอบครัว โดยเฉพาะระหวา งสามีภรรยา เปน็ แกนความสมั พนั ธแทีส่ ง ผลแกค วามสมั พนั ธแ อ่ืน ๆ ทั้งหมดในครอบครัว ถาสามีภรรยารกั กันดี ผเู ฒา ในบา นและลูก ๆ ทุกคนก็จะไดรบั อานิสงสไแ ปดวยเสมอ เดวิด (David, 2009) ชีวา แบบแผนของครอบครวั มผี ลอยา งมากตอการพัฒนาคุณคาความดีงามของเด็กเชนกัน ใน ครอบครัว ท่ีมคี วามรักเป็นพื้นฐานท่ีแข็งแรง เด็กปฐมวัยจะเรียนรูถึงความผูกพันในครอบครัวและความไววางใจซ่ึง กันและกัน คุณคาของครอบครัวจะชวยพัฒนาจิตใจและความเขมแข็งทางสติปใญญาของเด็ก ถาสมาชิก ครอบครัวโดยเฉพาะพอแมไมเขามาเกี่ยวของใสใจ ก็แทบจะเป็นไปไมไดท่ีเด็กจะพัฒนารางกาย จิตใจ- อารมณแ สงั คม และสติปใญญาอยางเหมาะสม
240 2.3 พลังแห่งการเรียนรู้ สมองของมนุษยแแตกตางจากของสัตวแอื่นเพราะมีสมองสวนนิโอคอรแที่ ทําใหคดิ ได มนุษยทแ ุกคนจึงเกิดมาพรอมกับศักยภาพในการเรียนรู และการเรียนรูเกิดข้ึนกับคนทุกคนได ทกุ ท่ีทกุ เวลา ทกุ สงิ่ ทผี่ านมาในชวี ิตประจาํ วันเปน็ ประสบการณทแ ่ีพัฒนาส่ังสมข้ึนเป็น “ความรู” เพ่ือการ ดําเนนิ ชวี ติ ไดท งั้ สน้ิ การเรียนรจู งึ ไมไ ดหมายความถึงเฉพาะการไดร ับการศึกษาตามระบบเทา นน้ั การเรียนรู คอื “การรบั รูท่ีพฒั นาเป็นกระบวนขึ้น สูระดบั ของการคิดวเิ คราะหแ คนควา สังเคราะหแ ไปจนถงึ การลงมอื ปฏบิ ตั เิ พื่อหาทางออก” ตลอดกระบวนการเชนน้ีจึงจะกลาวไดวา การเรียนรูไดเกิดขึ้น อยางแทจริง แตเพียงการทองจํา อาน ดู เห็น โดยไมเกิดการคิดคนจนตกผลึกและไมไดนําไปปฏิบัติกับ ชวี ติ ตนเอง ก็ยงั ไมเ รียกวา “เกิดการเรียนรู” ที่ครบกระบวน ในมุมมองน้ี พอแมท่ีมีการศึกษาในระบบไม สูง ก็หาใชจะไมมี “ความรู” หรือไมมีการเรียนรูในทํานองเดียวกัน พอแมที่มีการศึกษาตามระบบ การศึกษาสงู กไ็ มไดหมายความวา พวกเขาจะเรียนรสู งู กวา ดวยพลังแหง การเรยี นรู พอแมไดเขาใจสงิ่ ตางๆ เกยี่ วกบั ลกู ตนเองและครอบครัว เชน เรียนรูวา พฒั นาการเด็กควรเปน็ อยา งไร เรียนรูวา บทบาทพอ แมส าํ คญั มากเพียงไรตอ ความสําเรจ็ ในอนาคตของลกู เรียนรูวิธีปฏิบัติที่เหมาะสมตอลูก เรียนรูวาความสัมพันธแที่ดีของพอกับแมสงผลตอสุขภาพจิตของลูก ฯลฯ เมื่อบวกกับพลังแหงความเป็นพอแม และพลังความรักในครอบครัว พอแมสวนใหญก็สามารถที่จะ ลกุ ข้ึนมาเปล่ยี นแปลงและสรางศุกยาภาพของตนเอง ขอเพียงพวกเขามีโอกาสเรียนรู จึงเห็นไดวา ครอบครัวน้ัน มีพลังตามธรรมชาติหลายดานท่ีเป็นรากฐานสําคัญ ที่จะนําไปสูการ พัฒนาเดก็ ปฐมวยั ไดอ ยางมคี ณุ ภาพ ในบางครอบครัวพลังเหลานั้นอาจถูกปกปิดมิดบังอยู อาจดวยภาระ ชีวิตที่หนักจนลืมตระหนัก อาจดวยความไมเขาใจ อาจดวยเง่ือนไขชีวิตท่ีตองหางไกลในครอบครัว ฯลฯ แตไมวาจะมีปใจจัยใด หากไดมีการเปิดโอกาส สรางเงื่อนไขอยางเหมาะสม พลังทั้งหลายเหลาน้ีก็พรอม ปรากฏตัวและอาํ นวยประโยชนแแกก าร พฒั นาเด็กในชว งปฐมวัยไดอยา งแนน อน 3. ครอบครวั ที่มเี ดก็ ปฐมวยั ล้วนมี “ทุน” แบบใดแบบหนงึ่ แมครอบครัวจะยากจน ขาดแคลนความรู ตกอยูภาวะปใญหาหลายอยาง หรืออยูในสภาพเสื่อม ถอย ก็ไมได หมายความวา “ครอบครัวไมมีอะไรเลย” ดังน้ัน หลักคิดท่ีเป็นหัวใจสําคัญของการทํางาน ดา นการเสรมิ พลัง คอื “ครอบครวั ไมใชแกว ํนาที่วางเปลา ” นอกจากพลังดังกลาวแลวในหัวขอกอนน้ี ยังมีปใจจัยภายในอีกหลายประการที่เรียกไดวาเป็น “ทุน” ท่ีสําคัญ ของครอบครัวที่ทุกครอบครัวมีอยู จะโดยรูตัวหรือไมรูตัวก็ตาม มันสามารถเป็นฐาน สงเสริมการพัฒนาเด็กอยางมี คุณภาพใหเกิดขึ้นได ไดแก ทุนสังคม ทุนวัฒนธรรม ทุนความรู และทุน ชุมชน ทุนตาง ๆ เหลา นี้ หากครอบครวั หรอื ผทู ํางานเสริมพลงั ครอบครัวมีความเขาใจ กจ็ ะสามารถหยิบ ฉวยหรือระดมมาเป็นทรพั ยากรเพอื่ ประโยชนแในการพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ไดท ้งั สิ้น 3.1 ทุนสังคม ญาติพ่ีนองวงศแวานวานเครือ เพื่อน เพื่อนที่ทํางาน ฯลฯ ลวนเป็นทุนสังคมของ ครอบครัว เมื่อ ขอแมเจ็บไขไดปุวยหรือมีภารกิจท่ีเลี่ยงไมได คนท่ีจะชวยรับฝากดูแลลูกออนไดดีที่สุดก็
241 คือ ญาติพ่ีนอง คนขางบาน คน เพ่ือนหรือเพื่อนที่ทํางานก็อาจจะเป็นแหลงความรู แหลงสงเสริม สนบั สนนุ ทางจติ ใจ 3.2 ทุนวัฒนธรรม เป็นทุนท่ีครอบครัวไดรับมาจากภูมิปใญญาทองถ่ิน การดูแลสุขภาพแบบไทย หลักคิดคําสอนด้ังเดิมไดในชีวิตสมัยใหม หลักศาสนา ฯลฯ เป็นกระบวนการหรือภูมิความรูที่พอแม สามารถหยิบมาใชในการพัฒนาเด็กไดทั้งส้ิน เชน การนําของเลนพ้ืนบาน นิทานทองถ่ิน มาใชในการ พัฒนาเด็ก การนําคําสอน ตายาย มาถายทอดแกลูก การนําลูกเขารวมกิจกรรมทางศาสนาท่ีโบสถแ วัด มัสยดิ เพอ่ื กลอ มเกลาสรางนิสยั พึงประสงคแแกเ ดก็ แตย งั เยาวแ เปน็ ตน 3.3 ทุนความรู้ เป็นทุนที่ครอบครัวไดมาจากทั้งการอบรมเล้ียงดูในอดีตของคนเป็นพอแม ทั้ง จากการเรยี น ในระบบโรงเรียน จากการทํางานอาชีพ จากการติดตอสื่อสารกับคนอ่ืน ๆ หรือการเรียนรู จากสื่อ ฯลฯ พอแมหลายคน เลี้ยงลูกตามแบบที่ตนเคยไดรับการอบรมสั่งสอนมา เชน ความมีระเบียบ ชีวิตประจําวันที่สะอาด พอแมทุกคนลวนผานระบบโรงเรียนที่ชวยไดในเรื่องการอานออกเขียนไดและ การฝึกการคดิ วเิ คราะหแ ในการงานอาชีพกม็ ีความรทู ่ี พอ แมน ํามาปรบั ใชก ับชวี ติ ในครอบครัวได เชน การ ทํางานที่เป็นระบบ การบริหารการเงิน หรือพอแมมีการเรียนรูจากสื่อ เชน การปูองกันไขหวัดที่ ประชาสัมพนั ธใแ นโทรทศั นแ เป็นตน 3.4 ทุนชุมชน เปน็ ทนุ ทคี่ รอบครวั ไดรบั มาจากเพอื่ นบาน ชมุ ชนทองถ่นิ ในสวนนเี้ ป็นเร่ืองสําคัญ มาก ชาวยิว มีภาษิตสอนลูกหลานวา “เพื่อนบานติดกัน สําคัญเสียย่ิงกวาญาติพ่ีนองท่ีอยูหางออกไป” เพราะเพ่ือนบาน หรือคนในชมุ ชน จะเปน็ ผทู ่ีชวยเป็นหูเปน็ ตา ชว ยดูแลยามพอแมไมสะดวก คอยเกื้อกูล ท้งั ทางวัตถสุ ิง่ ของ ดา นจิตใจและสงั คม ไดเป็นอยา งดี ในการเสริมพลังครอบครัว จําเป็นที่จะตองดึงเอาพลังธรรมชาติของครอบครัว และ “ทุน” ครอบครัวดงั กลาว ออกมาใหเป็นที่ประจักษแแกท้ังคนในครอบครัวเอง รวมทั้งผูเก่ียวของ เพ่ือเสริมสราง กาํ ลังใจแกค รอบครวั ทําใหม น่ั ใจวา แมจ ะตกอยใู นภาวะที่ดูเสมือนมีปใญหา มีความขาดแคลน มีความไม พรอมใดๆ แตท่ีสุดแลว ครอบครัวก็ยังมีจุดแข็ง อยูมากมายที่สามารถนํามาใชใหเป็นพลังในการพัฒนา ไปสสู ง่ิ ท่ดี ีขึน้ ได 4. การเสริมพลงั ครอบครวั : ต้องคานงึ ถงึ วัฒนธรรมเปน็ พ้ืนฐาน บคุ คลและครอบครัวเป็นสัตวแสังคม ไมสามารถแยกตัวออกจากบริบทท่ีลอมรอบในชุมชน ดังนั้น “วฒั นธรรม” ทีส่ อดสานแทรกซา นอยูใ นวิถีชีวิตของครอบครัว จงึ เป็นสงิ่ ท่จี ะตองไดรับการเอาใจใสอยาง ยิ่ง ในฐานะ ที่เป็นปจใ จยั สําคัญตอการดํารงอยูของครอบครัว จะเห็นไดวา ครอบครัวในภาคอีสานยอมมีความเช่ือเก่ียวกับความสัมพันธแและวิถีการเลี้ยงดูเด็ก ปฐมวัยที่แตกตางไปจากครอบครัวในภาคเหนือ ภาคใต หรือภาคกลาง ครอบครัวท่ีมีเชื้อสายจีนยอมมี การเล้ียงดู หรือวิถีชีวิตแตกตางไปจากครอบครัวที่มีเช้ือสายไทย ลาว ฯลฯ เชนเดียวกับครอบครัวที่นับ ถือศาสนาพทุ ธ อิสลาม คริสตแ ฯลฯ ยอมมวี ถิ ที แ่ี ตกตา ง
242 การส่ังสอนอบรม แนวการปฏิบัติตัว ภาษา อาหารการกิน การนุงหม ฯลฯ ลวนกําหนดโดย วัฒนธรรมของกลมุ ชุมชน ชาติพนั ธแุ ศาสนา ฯลฯ แมวา ปจใ จุบัน วิถชี วี ติ สมัยใหมโ ดยกระแสบริโภคสากล จะมีสวนอยางมากในการกลืนวิถีชีวิตทองถ่ินหรือทําใหวัฒนธรรมกลุมเจือจางลง มีความเหมือนกันมาก ข้ึนใน “ไลฟสไตลแของผูบริโภค” แต กลืนวิถีชีวิตทองถิ่นหรือทําใหวัฒนธรรมกลุมเจือจางลง มีความ เหมอื นกนั มากขน้ึ ความแตกตางทางวฒั นธรรมก็ยังเปน็ ส่งิ ที่จะตองยอมรับและใหความสําคัญ ในการทํางานเสริมพลังครอบครัวจําเป็นอยางยิ่งที่จะตองคํานึงถึงขนบธรรมเนียมประเพณี เรียนรูความเช่ือท่ีแตกตาง และเคารพการตีความหมายทางวัฒนธรรมของครอบครัวน้ัน ๆ ซ่ึงผูทํางาน ดานการเสริมพลังครอบครัวจะนําเอาวัฒนธรรมของกลุมเปูาหมาย กลุมเปูาหมาย มาทําการวิเคราะหแ ศึกษาเรียนรู แลวจึงนําไปสูการพัฒนาทางออกรวมกับกลุมเปูาหมายอยางจริงจัง เชน การทําพิธี กรรมการทําขวัญเด็กในบางทองถิ่น ไมควรถูกตีความวาเป็นเร่ืองไสยศาสตรแ งมงายลาหลัง ไมเป็น วิทยาศาสตรแ เพราะแทที่จริงในโลกสมัยใหม ครอบครัวและชุมชนก็อาจจะมีความเขาใจในการคิดเชิง วิทยาศาสตรแ แตส่ิงท่ีครอบครัวตองการ คือ เรื่องของพลังใจ การใหคุณคาตอชีวิต การเช่ือมโยงวิถีชีวิต ไปสกู ารเคารพบรรพบรุ ุษ เปน็ ตน เม่ือกระบวนการการเสริมพลังมีความเขาใจตอวิถีวัฒนธรรมของกลุมเปูาหมายไดดี ลึกซ้ึง ก็ สามารถนาํ มาใชใหเ ป็นประโยชนแ เพราะผูคนทั้งหลายลวนผูกพัน คุนเคยและยึดม่ันในวัฒนธรรมของตน กจ็ ะเขารวมกระบวนการ เสรมิ พลงั ไดส นทิ แนนย่ิงข้นึ จากบทเรยี นของโครงการเสริมสรา งศักยภาพการเรยี นรูเ พอื่ ครอบครวั เขม แข็ง สถาบนั รักลูก โดย การ สนับสนุนของ สสส. (2003-2008) พบวา วิถีวัฒนธรรมมีสวนอยางสําคัญยิ่งในการเสริมพลัง ครอบครัวท่ีมีเด็กปฐมวัย เชน การฟ้ืนฟูเพลงกลอมเด็ก นิทานพ้ืนบาน คําสอนของปุูยาตายายรวมท้ัง ความรูประเพณีตาง ๆ เกี่ยวกับการเลี้ยงดู เด็ก เชน การทําขวัญ การทําของเลนพื้นบาน ฯลฯ ซ่ึงทําให กิจกรรมและบรรยากาศการเรียนรูมีความสนุกสนาน มีพลัง เกิดการตีความใหเหมาะสม และสรางแรง บันดาลใจแกพอแมและครอบครัวอยางย่งิ 5. โลกยุคใหมส่ ง่ ผลกระทบปญั หาครอบครวั ไทยทมี่ ีเดก็ ปฐมวัย “ครอบครวั ในปจใ จบุ ันเผชิญกบั ภาวการณแเปล่ยี นแปลงอันเปน็ ผลมาจาก ปใจจยั ภายในครอบครวั และปจใ จยั แวดลอมในชุมชน สงั คม และ ส่ิงแวดลอ ม โดยสภาพเศรษฐกิจ สงั คม และสิง่ แวดลอ ม ซงึ่ เปลี่ยนแปลง ตามกระแสโลกาภวิ ัตนแ และความกา วหนาของเทคโนโลยีสมยั ใหม กระทบตอแบบแผนการดําเนนิ ชวี ิตของครอบครวั ใหเปล่ยี นแปลงไป...” สาํ นกั กิจการสตรแี ละสถาบันครอบครวั กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ยแ แมว าครอบครวั ไทยสว นใหญในปใจจุบนั ไดรับบรกิ ารสาธารณสุขพ้นื ฐานที่ดีมากขึ้น มีหลักประกัน ดานสขุ ภาพ บน ลูกมโี อกาสการศกึ ษาท่ีดี (จากนโยบายการศึกษาภาคบังคับ ถึงช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3) มี
243 โอกาสไดรับ จากสาธารณูปโภคท่ีทั่วถึงข้ึน (การคมนาคมขนสง ไฟฟูา นํ้าประปา โทรศัพทแ ฯลฯ) มี โอกาสรับขาวสารขอมูลงายและหลากหลายข้ึน มีเคร่ืองอํานวยความสะดวกตาง ๆ มากขึ้นในราคาท่ีถูก ลง ฯลฯ แตกระน้ันปใญหาท่ีกระทบตอครอบครัวไทยในภาพรวม ก็ยังมีไมนอย (สํานักกิจการสตรีและ สถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมน่ั คงของมนุษยแ 2456) ไดแ ก • ปญใ หาความยากจน การขาดโอกาสทางเศรษฐกจิ • การอพยพยายออกจากถิ่นฐานเดิมเพื่อไปหาโอกาสใหม ตองหางหายจากครอบครัวเดิมและ รากทาง วฒั นธรรม • ชวี ติ เมืองขยายตัว ทาํ ใหเวลาครอบครัวนอ ยลง คา ใชจ ายครอบครวั สงู ขนึ้ • สัมพันธภาพภายใน ครอบครวั เสื่อมถอยลง ไปจนถึงการหยารางแตกแยก • ตองแยกหางจากลูกเนื่องจากตองออกไปทํางาน ตางถิน่ และท้ิงใหลกู ในวัยนี้อยูกบั ปูุยาตายายในชนบท • มีการใชความรุนแรงในครอบครัว • พอ-แม-ลูก ไมไดแสดงบทบาทหนาที่ของตน ครอบครัวละเลยการอบรมปลูกฝใงคานิยมพึง ประสงคแ รวมทง้ั การหลอ หลอมบุคลิกภาพและพฤตกิ รรม • เด็กถกู ทอดทง้ิ ไมไดร บั การอบรมเล้ียงดูเพ่อื ใหมพี ัฒนาการเหมาะสมตามวยั • การติดยาเสพติดของสมาชกิ ครอบครวั • ปใญหาดา นสุขภาพอนามัย โรคภัยไขเจ็บตา ง ๆ • ผสู ูงอายถุ กู ทอดท้งิ • ปฏิสัมพนั ธขแ องครอบครวั ท่มี ตี อชมุ ชนและสงั คมมีแนวโนมลดลง โดยเฉพาะในเขตเมืองใหญ ปใญหาเหลานี้สงผลกระทบทางลบสําหรับครอบครัวท่ีมีเด็กปฐมวัย และอาจสงตอไปยังการ พฒั นาของ เดก็ ไมนอ ย ความยากจนทําใหเ ดก็ ขาดแคลนปจใ จัยที่จําเป็น เชน อาหาร นม ของเลน เสื้อผา การท่ีพอแมยายถ่ินเขา เมือง หากนําเด็กไปดวย เด็กก็อาจจะไดรับแรงกดดัน ขาดอากาศสะอาด ไมมีท่ี ว่ิงเลนท่ีปลอดภยั หากพอแมท ิ้ง ลกู เล็กไวก ับปูยุ าตายาย แมจะมีความรกั จากผูส ูงวยั แตก อ็ าจขาดโอกาส การเรียนรูและการพฒั นาทเี่ หมาะสม และ หากพอ แมยากจน ไมส งเงินกลับบานสม่ําเสมอ เด็กก็จะยิ่งถูก ซํา้ เตมิ จากความขาดแคลนหนักข้นึ เป็นตน 6. ปญั หาความไม่รู้ไมเ่ ขา้ ใจของพ่อแม่ไทยทกุ ระดบั นอกจากปใญหาในดา นเศรษฐกิจสงั คมดังกลา วขา งตนแลว ครอบครัวท่ีมีเด็กปฐมวัยโดยทั่วไป ยัง มีปใญหา ดานความรูความเขาใจตอการพัฒนาเด็กในวัยนี้ดวย อันเนื่องจากขาดโอกาสเรียนรูเก่ียวกับ พัฒนาการและคุณคา ของการพัฒนาเด็ก รวมทั้งการที่ครอบครัวแยกตัวออกมาอยูตามลําพัง เป็น ครอบครวั เดยี ว ทาํ ใหค วามรดู ้งั เดิมจาก ปยูุ า ตายายถกู ตดั ขาด ไมส ามารถสงตอถายทอดมายังคนเป็นพอ แมได ดงั ปรากฏการณทแ ่มี กั พบไดใ นครอบครวั ที่มี เด็กปฐมวัย เชน
244 • พอแมส วนใหญไ มเ ขา ใจเรอื่ งการพฒั นาสมองรวมท้งั ผลของการพัฒนาสมองท่ีสงผลไปจนถึงวัย ผูใหญ ในระยะยาว แมจะพอเขาใจวา ตองใกลชิด พูดดี ๆ กับลูกเล็ก ๆ ตองใหความสําคัญของสุขภาพ และโภชนาการท่ีดี • พอแมที่การศึกษานอยไมเขาใจถึงคุณคาของการลงทุนในสมองและพัฒนาการของลูกดวยการ เลน ดวย การอาน ไมพรอมจายคาหนังสือของลูก (ในขณะที่จายพอจายคาเบียรแไดในราคาเทากับคา หนังสอื หรอื แมซอื้ เสอ้ื ผา และเครอ่ื งสาํ อางคแท่ีราคาแพงกวาหนังสือของลูกหลายเทา เปน็ ตน) • พอแมไ ทยจํานวนไมนอยยังไมเขาใจถึงผลกระทบของการใชวาจารุนแรง การทุบตี วาจะสงผล ตอเด็ก ยัง มีการละเมิดสิทธิเด็กโดยครอบครัวใหเห็นอยูทั่วไป พอแมจํานวนมากยังไมเขาใจวา การให ลูกเลนของเลนอาวุธตาง ๆ น้ัน จะสงผลในทางลบตอพัฒนาการทางสังคมของเด็กและปลูกฝใงความ กาวราว • พอแม สมัยใหมบ างสว นทเ่ี ปน็ ผูมกี ารศกึ ษาดี อาจเขาใจความสําคญั ของ 5 ปีแรกของชีวิต และรูวาควร สงเสรมิ พฒั นาการ ความผกู พัน การเลน และภาษา อาจเขา ใจวา เด็กเรียนรูไดตั้งแตเกิด แต พอแมกลุมน้ีก็ยังไมสามารถเช่ือมโยงสิ่งเหลานี้กับการพัฒนาสมองของลูกไดอยางท่ีควร เชนไมเขาใจวา การเลน คือ การพัฒนาสมอง และการเรงเรียนในวัยนี้เป็นการทําลายสมอง ฯลฯ ดังน้ันจึงไมคอยให ความสนใจแสวงหากิจกรรมทจ่ี ะสงเสรมิ การพัฒนาศักยภาพของสมอง เทากับการแสวงหาโรงเรียนสอน พิเศษตงั้ แตยังอยชู น้ั อนบุ าล • พอแมที่แมมีการศึกษาดีก็ยังไมคอยเขาใจและเชื่อมโยงไมไดวา ความเป็นสุขของเด็กและการ เหน็ คุณคาในตนเอง คอื หัวใจสาํ คัญของความสําเรจ็ ในการเรียนรู • พอแมบ างคนคาดหวังวาลูกจะทําทุกอยางถูกตองต้ังแตเป็นเด็กวัยอนุบาล ทั้งที่ตามพัฒนาการ ของสมอง แลว การมีระเบียบโดยตนเอง (Self-Regulation) การควบคุมอารมณแ จะไปทําไดเม่ือเร่ิมเขา เรียนแลว • พอแมจํานวนไมนอยชมเชยลูกที่ผลลัพธแความสําเร็จ มากกวาช่ืนชมท่ีกระบวนการ เชน ความ พยาย ความมงุ มัน่ • พอแมชนชั้นกลางขึ้นไปจํานวนมาก ไมเขาใจวา การเรียนรูดวยการฝึกปฏิบัติหรือ Learning by doing เป็นการเรียนรูที่ไดผลท่ีสุด การใหลูกปฐมวัยชวยงานบาน เชน จัดชอนสอม การพับผาใหถูก กลุม ฯลฯ แทที่จริงก็เป็น เร่ืองการเรียนรูเก่ียวกับหลักการของคณิตศาสตรแ เชน การแยกแยะกลุม การ จัดระเบยี บ การคัดเลอื ก รวมทงั้ เป็นการ ฝกึ ฝนนิสยั รักการงาน เป็นการเรียนรูข้ันตอนการทํางานในชีวิต จรงิ เปน็ ทกั ษะชวี ติ เป็นตน • พอแมที่มีฐานะดี มักใชเงินเลี้ยงลูก ปรนเปรอดวยวัตถุนานาชนิด ทดแทนเวลาและความใสใจ ของพอ แม ท่ีขาดหาย และไมอ บรมบมเพาะนสิ ยั อันพึงประสงคแ เด็กมกั ถูกตามใจจนเกินงาม ดังนั้น หากสงั เคราะหแจากมุมของสถานภาพทางเศรษฐกจิ สงั คม อาจกลา วรวม ๆ ไดด ังนี้
245 1. ในครอบครัวยากจน เด็กปฐมวัยไทยมักขาดโอกาสท่ีจะพัฒนาศักยภาพของตน ดวยความไม พรอมและ ความไมรู ของพอแม 2. ในครอบครัวปานกลาง เด็กปฐมวัยไทยมักจะมีความเครียด จากการที่พอแมคาดหวังและ กระตุนใหเ รียนรู มากเกนิ ไป 3. ในครอบครัวฐานะดมี าก เด็กปฐมวัยไทยมักถูกตามใจและปลอยปละละเลย พอแมใชเงินและ วัตถทุ าํ งาน แทนบทบาทพอ แม ทําใหเดก็ ขาดการอบรมสงั่ สอนเทา ทคี่ วร อาจกลาวไดวา ทุกกลุมครอบครัวลวนตองการการเสริมพลัง แมในมุมท่ีแตกตางกัน เพ่ือใหมี ศักยภาพทจี่ ะดแู ลเด็กปฐมวัยไดอยางมีคณุ ภาพ ดงั น้นั เง่ือนไขสําคัญท่ีสุดที่จะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ในครอบครัว คือ สรางการเรียนรู ใหเกิดขึ้น กับคนในครอบครัวนั่นเอง เมื่อสมาชิกครอบครัวไดเรียนรู เขาใจ และตัดสินใจท่ีจะ เปลยี่ นแปลง ครอบครัวก็จะ กลับมาเขมแข็ง นําพาตนเองใหอยูรอดปลอดภัยได ดังกลาวมาขางตนแลว วา แคก ารรับรูไดยินไดฟ ใง ไดอ านขา ว ขอ มูล หรอื อ่นื ๆ ยงั ไมถ อื วา เป็นการเรียนรู หากตองมีการนําไปคิด ไตรตรองวิเคราะหแที่มาที่ไป สาเหตุ ความเก่ียวของ แยกแยะขอมูล ฯลฯ จากนั้นสังเคราะหแข้ึนเป็น ขอ สรุปใหม และทส่ี ําคญั คือการนําไปปฏิบตั ิ และทบทวนความรนู ั้น ๆ จึงจะเป็นการเรียนรทู แี่ ทจริง นอกจากนี้ แอมโบรสและคณะ (Ambrose et al. 2010) ยังช้ีใหเห็นวา ในนิยามคําวา “การ เรยี นร”ู จะตอ ง มีองคแประกอบรว ม 3 ประการเสมอ ไดแก 1. การเรยี นรูตอ งเปน็ กระบวนการ ไมใ ชเพยี งผลลัพธแ 2. การเรียนรูตองนํามาซึ่งการเปล่ียนแปลง ทั้งในตัวความรู ความเช่ือ พฤติกรรม และทัศนคติ ดวย เหตนุ ก้ี ารเรียนรูจงึ มกั ใชเ วลา 3. การเรียนรไู มใ ชสง่ิ ทใี่ ครไปทาํ ใหก บั ใคร แตเปน็ สงิ่ ทีผ่ ูนัน้ ทําดวยตนเอง เม่ือเป็นเชนน้ีแลว ครอบครัวควรเรียนรูอะไร ปราชญแแหงตําราพิชัยสงครามซุนวู กลาวอมตะ วาจาไววา “รูเขา รูเรา รอยศึกบพาย” เมื่อนําคํากลาวนี้ไปประยุกตแใชกับครอบครัวก็จะไดคํากลาววา เมื่อ จะเอาชนะปใญหา ส่ิงจําเป็น คือ ตอง “รูเขารูเรา” ซึ่งนํามาปรับใชกับการเรียนรูของครอบครัวท่ีมีเด็ก ปฐมวัยไดด ังนี้ “รูเขา” คือ เรยี นรโู ลกท่กี ําลังเปล่ียนแปลง เรียนรขู อ มูลขาวสาร เชน ปใจจัยตาง ๆ เปล่ียนแปลง อยา งไร ดวยสาเหตใุ ด มีสภาพของการเปล่ยี นแปลงแบบใด และนาํ ไปสกู ารวิเคราะหแวา การเปลยี่ นแปลง เหลานน้ั สงผลกระ ทบตอครอบครัวเราและลูกปฐมวัยของเราอยา งไร ปใญหาหรือปใจจัยจากภายนอกเป็น อยางไร มีใครอ่ืนเกย่ี วขอ งอยา งไร ฯลฯ “รูเรา” คอื เรยี นรูเ กย่ี วกบั ตวั เรา ดว ยการเรียนรูแบบวเิ คราะหแ ถูกคิด เชน • ลกู ของเรา เชน เรอ่ื งพฒั นาการเด็กปฐมวยั การเลย้ี งดเู ดก็ ท่เี หมาะสม บทบาทพอแม ฯลฯ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292