Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้

แผนการจัดการเรียนรู้

Published by ศิริวรรณ มุนินคํา, 2021-03-10 08:30:18

Description: แผนการจัดการเรียนรู้

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ รหสั วชิ า ว 20201 ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 – 3 จัดทาโดย นางสาวศิรวิ รรณ มุนนิ คา ตาแหนง่ พนักงานราชการ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 ตาบลช่างเคิง่ อาเภอแมแ่ จม่ จงั หวดั เชยี งใหม่ สานักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ สานกั งานการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คาอธบิ ายรายวชิ า รายวชิ าทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ รหสั วชิ า ว 20201 ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 ภาคเรยี นที่ 2 เวลาเรียน 40 ช่วั โมง จานวน 1.0 หน่วยกติ คาอธิบายรายวิชา ศึกษา ทดลองเก่ียวกับอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ การใช้อุปกรณ์วิทยาศาสตร์ และทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ขั้นพ้ืนฐาน ได้แก่ การสังเกต การจาแนกประเภท การวัด การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปส กับสเปสและสเปสกับเวลา การสื่อความหมายข้อมูล การลงความคิดเห็น การพยากรณ์ วิเคราะห์ทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้ันพื้นฐานจากการเล่นเกมหรือการทากิจกรรมในชีวิตประจาวันและพัฒนา ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ ดัดแปลง และ/หรือคดิ ประดษิ ฐช์ ้นิ งาน โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสังเกต การวัด การสารวจตรวจสอบ การสบื คน้ ข้อมูล จดั ทาขอ้ มลู การอภปิ รายและการสรุป เพือ่ ให้มีความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถส่ือสาร สงิ่ ที่เรยี นร้แู ล้วนาไปใชป้ ระโยชน์ บูรณาการกบั ภูมิปญั ญาท้องถน่ิ มคี วามสามารถในการตดั สนิ ใจ นาความรู้ไป ใชใ้ นชวี ิตประจาวัน มจี ิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรมและคา่ นยิ มทเ่ี หมาะสม ผลการเรยี นรู้ 1. ระบชุ ่อื อุปกรณ์วิทยาศาสตร์และสามารถใชไ้ ด้อย่างถูกต้อง 2. ทดลองเกย่ี วกับทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ดา้ นการสังเกตได้อย่างถูกต้อง 3. ทดลองเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านความสามารถในการจัดจาแนกได้อย่าง ถกู ตอ้ ง 4. ทดลองเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านความสามารถในการใช้เคร่ืองมือวัดได้อย่าง ถกู ตอ้ ง 5. ทดลองเกี่ยวกบั ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรด์ ้านการระบคุ วามสมั พันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลาได้อย่างถูกตอ้ ง 6. ทดลองเกย่ี วกบั ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรด์ ้านการนาขอ้ มูลมาจดั กระทาเพื่อให้ผ้อู ่ืนเขา้ ใจได้ อยา่ งถูกต้อง 7. ทดลองเกี่ยวกบั ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรด์ ้านการอธิบายข้อมูลได้อย่างถูกต้อง 8. ทดลองเก่ียวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรด์ ้านการทานายหรือคาดคะเนสิ่งที่จะเกดิ ขึ้น ล่วงหน้าไดอ้ ย่างถกู ต้อง 9. นาทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรข์ ัน้ พ้นื ฐานมาใช้ออกแบบและประดิษฐ์ชนิ้ งานได้อยา่ ง สร้างสรรค์ รวม 9 ผลการเรียนรู้

ผงั มโนทัศน์ รายวชิ าทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ รหสั วชิ า ว 20201 ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 – 3 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 รายวชิ าทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 – 3 จานวน 40 ชว่ั โมง หน่วยที่ 1 การใชว้ สั ดอุ ุปกรณ์และเทคนคิ หน่วยท่ี 2 ทักษะทางวิทยาศาสตร์ พื้นฐานทางวทิ ยาศาสตร์ จานวน 28 ช่ัวโมง: 70 คะแนน จานวน 12 ชัว่ โมง: 30 คะแนน

ผงั มโนทศั น์ รายวิชาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ รหสั วชิ า ว 20201 ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1 – 3 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เรื่อง การใชว้ ัสดุอุปกรณ์และเทคนคิ พื้นฐานทางวทิ ยาศาสตร์ จานวน 12 ชัว่ โมง : 30 คะแนน หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรอ่ื ง การใชว้ ัสดุอุปกรณแ์ ละเทคนิคพืน้ ฐาน ทางวิทยาศาสตร์ จานวน 12 ช่ัวโมง 1. ช่ือเรื่อง อปุ กรณ์วิทยาศาสตร์ 2. ชอ่ื เรือ่ ง เทคนิคพื้นฐานทาง จานวน 4 ช่ัวโมง : 10 คะแนน วิทยาศาสตร์ จานวน 8 ชัว่ โมง : 20 คะแนน

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1-3 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 หน่วยที่ 1 เร่อื ง การใช้วัสดุอุปกรณ์และเทคนิคพืน้ ฐานทางวิทยาศาสตร์ เวลา 2 ช่วั โมง แผนการจดั การเรียนรู้ เร่ือง วัสดุอุปกรณ์ทางวทิ ยาศาสตร์ ผู้สอน นางสาว ศริ วิ รรณ มุนินคา 1. ผลการเรียนรู้ 1. ระบุชือ่ อปุ กรณว์ ิทยาศาสตร์และสามารถใชไ้ ดอ้ ย่างถกู ต้อง 2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. นกั เรียนสามารถอธิบายวิธกี ารใช้วัสดอุ ปุ กรณท์ างวิทยาศาสตร์ได้ (K) 2. นักเรยี นเปน็ ผูท้ มี่ วี ินัย ใฝเ่ รยี นรู้ และมุง่ มัน่ ในการทางาน (A) 3. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของวสั ดอุ ุปกรณท์ างวทิ ยาศาสตร์ 2. วสั ดทุ างวทิ ยาศาสตร์ 3. อุปกรณว์ ทิ ยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน 4. ทักษะการเรยี นรู้ 1. ทักษะวทิ ยาศาสตร์ - การสังเกต - การอภปิ รายและลงข้อสรปุ 5. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ - มวี ินยั - ใฝ่เรียนรู้ - ม่งุ มนั่ ในการทางาน 6. สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น/สมรรถนะของศตวรรษท่ี 21 - ความสามารถในการส่ือสาร - ความสามารถในการคดิ - ความสามารถในการแกป้ ัญหา

7. สาระสาคัญ วัสดุอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง วัตถุเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ท่ีนามาใช้ในการศึกษาค้นคว้า มีอยู่ใน ห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ วัสดุอุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์สามารถแบ่งออกเป็นวัสดุทาง วิทยาศาสตร์ เคร่อื งแก้วอปุ กรณ์พน้ื ฐานอ่ืนๆ (เครอื่ งมอื ชา่ งและเครอ่ื งมือทว่ั ไป) 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ข้ันที่ 1 ขน้ั สรา้ งความสนใจ (Engagement) ครใู ช้คาถามเพือ่ นาเขา้ สบู่ ทเรียน ดงั น้ี 1. นกั เรียนรหู้ รอื ไม่ว่าวสั ดุอปุ กรณท์ างวทิ ยาศาสตร์คืออะไร (แนวการตอบ: เครื่องมอื เคร่อื งใชท้ ีน่ ามาใชใ้ นการศึกษาคน้ คว้าทางวทิ ยาศาสตร์) 2. ใหน้ กั เรียนยกตัวอย่างวสั ดุอุปกรณท์ างวทิ ยาศาสตรท์ ่ีนกั เรียนรูจ้ กั มาคนละ 3 ตัวอยา่ ง (แนวการตอบ: บกี เกอร์ ขวดรูปชมพู่ หลอดทดลอง กระบอกตวง ขวดวดั ปรมิ าตร และหลอดหยด) 3. สามารถพบวสั ดุอปุ กรณท์ างวทิ ยาศาสตรไ์ ด้ท่ีไหน (แนวการตอบ: หอ้ งปฏิบตั กิ ารทางวิทยาศาสตร์) ข้ันท่ี 2 ข้ันสารวจและค้นหา (Exploration) 1. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน จากน้ันให้แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาใบความรู้ เร่ือง การ ใช้วสั ดอุ ุปกรณ์ทางวทิ ยาศาสตร์ 2. เมื่อนักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาใบความรู้เสร็จ ครูให้นักเรียนทาแผนผังมโนทัศน์ เร่ือง วัสดุอุปกรณ์ทาง วทิ ยาศาสตร์ 3. หลังจากทน่ี กั เรยี นทาแผนผงั มโนทศั น์เสร็จ ตัวแทนกลุ่มออกมานาเสนอหนา้ ชั้นเรียน ขนั้ ท่ี 3 ข้นั อธิบายและลงขอ้ สรปุ (Explanation) ครูและนักเรียนรว่ มกนั อภิปรายเพ่ือสรา้ งขอ้ สรุปร่วมกนั โดยครูใชค้ าถาม ดงั น้ี 1. วสั ดอุ ปุ กรณใ์ นห้องปฏบิ ัติการวทิ ยาศาสตรส์ ามารถแบง่ ออกเป็นกปี่ ระเภท (แนวการตอบ: 3 ประเภท ได้แก่ วัสดุทางวิทยาศาสตร์ อุปกรณ์วิทยาศาสตร์พ้ืนฐาน และอุปกรณ์ วทิ ยาศาสตรอ์ นื่ ๆ) 2. วัสดอุ ุปกรณแ์ ต่ละประเภทมีอะไรบา้ ง (แนวการตอบ: - วสั ดุทางวิทยาศาสตร์ ไดแ้ ก่ กระดาษลิตมัส กระดาษกรอง กระดาษเซลโลเฟน) - อปุ กรณว์ ิทยาศาสตรพ์ ้นื ฐาน ไดแ้ ก่ บกี เกอร์ ขวดรปู ชมพู่ หลอดทดลอง กระบอก ตวง ขวดวดั ปรมิ าตร หลอดหยด

- อปุ กรณว์ ิทยาศาสตร์อ่นื ๆ ไดแ้ ก่ หลอดฉีดยา กรวยกรอง กระจกนาฬกิ า แทง่ แกว้ คนสาร ช้อนตักสาร ตะเกียงแอลกอฮอล์ กล้องจุลทรรศน์ เทอร์มอมิเตอร์ เครื่อง ชง่ั ) ขน้ั ที่ 4 ขัน้ ขยายความรู้ (Elaboration) ครใู หค้ วามรเู้ พ่มิ เติม เร่ือง เครื่องมอื วทิ ยาศาสตร์ ดังนี้ เคร่ืองมือวิทยาศาสตร์ (Scientific Instrument) มีความหมายรวมถึง เคร่ืองจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ หรือ สิ่งประดิษฐ์ท่ีออกแบบมาใช้ในงานเฉพาะทาง โดยใช้ประโยชน์ในการพิสูจน์หลักการทางกายภาพ ความสัมพันธ์ต่างๆ หรือเทคโนโลยี ด้วยวิธีการวดั การเก็บข้อมูล การบันทึก การแปลงสัญญาณ การวัดข้อมูล ซ้า การตรวจสอบยืนยันข้อมูล โดยปกติแล้วผลการวิเคราะห์จะออกมาในรูปของตัวเลข ทั้งในเชิงปริมาณและ คุณภาพของตัวอย่างที่ไม่ทราบค่า (unknown) ใช้ตรวจสอบคุณสมบัติวัสดุ แรง ฯลฯ โดยใช้เครื่องมือ วิทยาศาสตร์ทีอ่ ยบู่ นพน้ื ฐาน วิธีการวิเคราะห์ทางวทิ ยาศาสตร์ เคร่อื งมอื วทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ สว่ นหน่ึงของอุปกรณ์ ท่อี ยู่ในห้องปฏบิ ัติการ แตกตา่ งจากอุปกรณ์พนื้ ฐาน คือมีความซบั ซ้อน มคี วามพิเศษเฉพาะ ความละเอียดมาก ในปัจจุบันเครื่องมือวิทยาศาสตร์มีการพัฒนาการควบคุมโดยใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อให้ใช้งานง่าย เพิ่มฟังก์ช่ัน ปรับเง่ือนไขสภาวะ ปรับพารามิเตอร์ ใช้ในการเก็บข้อมูล ปรับความละเอียดในการวัด ฯลฯ เคร่ืองมือ วิทยาศาสตร์สามารถเชื่อมต่อเข้ากับระบบ LAN เพ่ือแลกเปลี่ยน เข้าถึงฐานข้อมูลการวิเคราะห์ (databases) เช่น ฐานขอ้ มลู สเปกตรมั (spectra libraries) เป็นต้นเครื่องมือวทิ ยาศาสตร์ของโปรแกรมวชิ าต่างๆ มดี ังน้ี 1. เครื่องมือวิทยาศาสตร์เก่ียวกับโปรแกรมฟิสิกส์ เช่น เวอร์เนียร์คาลิเปอร์ (Vernier) ซึ่งเรียกสั้นๆ ว่า \"เวอร์เนียร์\" เป็นเครื่องมือที่จะใช้สาหรับวัดชิ้นงานที่ต้องการความละเอียดในหน่วยวัดต่างๆ เช่น มิลลิเมตร (mm) โดยลักษณะการใช้งานจาแนกได้ดังนี้ สเกลของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ เวอร์เนียร์คา ลิปเปอร์มีสเกลท่ีใช้วัดชิ้นงาน 2 สเกล คือ 1. สเกลหลักหรือสเกลหยาบ (Course scale) สเกลหลักมีหน่วยเป็นมิลลิเมตร อยู่ด้านล่าง ของแกนหลักมีจานวนทั้งหมด 100 สเกล โดยแต่ละสเกลมีความยาว 1 mm 2. สเกลเวอร์เนียร์หรือสเกลละเอียด ( Vernier or Fine Scale) เป็นสเกลที่ใช้อ่านค่า ละเอียดของการวัด โดยแต่ละสเกลแสดงถึงค่าความละเอียดท่ีสุดหรือจานวนนับที่น้อยที่สุดของเวอร์ เนียร์คาลิเปอร์ เช่น มีจานวนช่องสเกลทั้งหมด 10 ช่อง ค่าของ 1 ช่องสเกลเวอร์เนียร์คาลิเปอร์จะ แสดงถึงค่าความละเอียดท่ีสุดของเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ หาได้โดยความสัมพันธ์ เม่ือ V คือ ค่าของ 1 ช่องสเกลเวอร์เนียร์คาลิเปอร์หรือค่าจานวนนับที่น้อยท่ีสุด S คือ ค่าความยาวของ 1 ช่องสเกลหลัก ซ่ึงมีค่า 1 mm N คือ จานวนช่องทั้งหมดบนสเกลเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ ซึ่งมีทั้งหมด 10 ช่อง

2. เคร่ืองมือวิทยาศาสตร์เก่ียวกับโปรแกรมเคมี เชน่ เครื่องโครมาโทกราฟีของเหลวสมรรถนะสูง (High Performance Liquid Chromatography (HPLC)) เป็นเครื่องมือใช้สาหรับแยกสารประกอบที่ สนใจ ที่ผสมอยู่ในตัวอย่าง โดยกระบวนการแยกสารประกอบที่สนใจจะเกิดขึ้นระหว่างเฟส 2 เฟส คือ เฟสอยู่กับที่ (stationary phase) หรือ คอลัมน์ (column) กับเฟสเคลื่อนที่ (mobile phase) ซึ่งจะถูกแยกออกมาในเวลาที่ต่างกัน สารผสมที่อยู่ในตัวอย่างสามารถถูกแยกออกจากกันได้นั้น จะ ขึ้นอยู่กับความสามารถในการเข้ากันได้ดีของสารนั้น กับเฟสที่เคลื่อนที่หรือเฟสที่อยู่กับที่ โดย สารประกอบตัวไหนที่สามารถเข้ากันได้ดีกับเฟสที่เคลื่อนท่ีสารนั้นก็จะถูกแยกออกมาก่อน ส่วนสารที่ เข้ากันได้ไม่ดีกับเฟสท่ีเคล่ือนท่ี หรือเข้ากันได้ดีกับเฟสอยู่กับที่ก็จะถูกแยกออกมาทีหลัง โดยสารท่ีถูก แยกออกมาได้น้ีจะถูกตรวจวัดสัญญาณด้วยตัวตรวจวัดสัญญาณ (detector) และสัญญาณที่บันทึกได้ จากตัวตรวจวัดจะมีลักษณะเป็นพีค ซ่ึงจะเรียกว่า โครมาโตแกรม(chromatogram) 3. เครอ่ื งมือวทิ ยาศาสตรเ์ กย่ี วกบั โปรแกรมชวี วิทยา เชน่ หม้อน่ึงความดันไอนา้ (Autoclave) เป็นหม้ออัดความดันไอน้าแรงสูง เป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับฆ่าเชื้อโรคจุลินทรีย์ขนาดเล็ก โดยใช้ไอ น้าร้อนและอยู่ในระบบปิด เพื่อให้เกิดแรงดันอากาศสูง ทาให้เครื่องมือ อุปกรณ์ ของที่ผ่านการอบ ไอน้าที่ความดันสูงแล้วอยู่ในสภาพปราศจากเชื้อ จึงมักใช้เครื่องนี้ในการนึ่งฆ่าเชื้อของเสียทาง ชีวภาพเพื่อฆ่ากาจัดต้นตอของเชื้อโรค เครื่อง Autoclave ยังสามารถใช้ทาความสะอาดภาชนะได้ เป็นอย่างดีก่อนจะนามาใช้งานอีกครั้ง ส่วนการใช้งานเครื่อง Autoclave นั้นควรมีการทดสอบ เคร่ืองอย่างสมา่ เสมอเพื่อให้สามารถใช้งานเคร่ือง Autoclave การใช้งาน นาสิ่งของที่ต้องการทาให้ปราศจากเชื้อ ฆ่าเชื้อ วางลงในหม้อ autoclave ที่ให้ความ ร้อนและแรงดันของไอน้าสูงกว่าสภาวะบรรยากาศปกติในระยะเวลาหนึ่ง การนึ่งฆ่าเชื้อโดยทั่วไป จะใช้สภาวะที่อุณหภูมิ 121-132 องศาเซลเซียส แรงดันอากาศของไอนา้ ที่ประมาณ 15 PSI โดยใช้ ระยะเวลาน่ึง 15-20 นาที

ขนั้ ที่ 5 ขน้ั ประเมนิ ผล (Evaluation) 1. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั อภปิ รายเกย่ี วกับ “วสั ดอุ ปุ กรณ์ทางวทิ ยาศาสตร์” 2. นกั เรยี นแต่ละคนพจิ ารณาว่า มจี ดุ ใดบา้ งที่ยังไมเ่ ขา้ ใจหรือยังมีข้อสงสยั ถ้ามีครูช่วยอธบิ ายเพิ่มเติมให้ นักเรยี นเขา้ ใจ 9. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้ 9.1 ส่ือ - สื่อการสอน Power Point เรอื่ ง การใช้วัสดุอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ - ใบความรู้ เรือ่ ง การใช้วัสดุอุปกรณ์ทางวทิ ยาศาสตร์ - แผนผงั มโนทัศน์ เรอ่ื ง การใช้วัสดุอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ - แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน - แบบประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 9.2 แหล่งการเรยี นรู้ - หอ้ งเรยี นวิทยาศาสตร์ - หอ้ งสมดุ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 10. การวัดและการประเมนิ ผล 10.1 การวัดผล จุดประสงค์การเรยี นรู้ วธิ ีการวดั เครอ่ื งมอื 1. ดา้ นความรู้ (K) - ครูสังเกตพฤติกรรมใน - แบบประเมนิ พฤติกรรม - นักเรียนสามารถอธิบายวิธีการใช้วัสดุ การนาเสนอผลงานของ ในการนาเสนอผลงาน อุปกรณท์ างวทิ ยาศาสตรไ์ ด้ นักเรียน

จุดประสงค์การเรยี นรู้ วธิ ีการวดั เครื่องมอื 2. ด้านคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) - ครูประเมินคุณลักษณะ - แบบประเมิน - นักเรียนเป็นผู้ที่มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และ อนั พงึ ประสงค์ คุณลกั ษณะอนั พงึ มุง่ มั่นในการทางาน ประสงค์ 10.2 เกณฑ์การประเมนิ ผล ระดบั คุณภาพ 10.2.1 ด้านความรู้ (K) (4) (3) (2) (1) - นกั เรยี นสามารถอธิบาย ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง วธิ ีการใชว้ ัสดุอุปกรณท์ าง วิทยาศาสตรไ์ ด้ นักเรยี นได้ นกั เรียนได้ นักเรียนได้ นักเรยี นได้ คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ ประเมินการ ประเมนิ การ ประเมินการ ประเมนิ การ นาเสนอผลงาน นาเสนอผลงาน นาเสนอผลงาน นาเสนอผลงานต่า 18-20 คะแนน 14-17 คะแนน 10-13 คะแนน กวา่ 10 คะแนน 10.2.3 คณุ ลักษณะ (A) ระดับคุณภาพ - นักเรยี นเป็นผูท้ ี่มวี นิ ยั ใฝ่เรียนรู้ (4) (3) (2) (1) และมงุ่ มัน่ ในการทางาน ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง นักเรยี นได้ นักเรียนได้ นกั เรียนได้ นักเรียนได้ คะแนนจากการ คะแนนจาก คะแนนจาก คะแนนจากการ ประเมิน การประเมนิ การประเมนิ ประเมิน คณุ ลักษณะ คณุ ลักษณะ คุณลกั ษณะ คุณลกั ษณะอัน อนั พึงประสงค์ อันพงึ ประสงค์ อันพึงประสงค์ พึงประสงค์ตา่ 11-12 คะแนน 9-10 คะแนน 6-8 คะแนน กวา่ 6 คะแนน

ใบความรู้ เรื่อง การใชว้ สั ดุอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ ความหมายของวัสดอุ ุปกรณ์ทางวทิ ยาศาสตร์ พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถานฉบบั พ.ศ. 2542 กล่าวถึงวัสดแุ ละอปุ กรณ์ ดังน้ี วสั ดุ ความหมาย วัตถุที่นามาใช้ อปุ กรณ์ หมายถงึ เคร่อื งมือ เครื่องใช้ เครอื่ งชว่ ย เครอ่ื งประกอบ ดังนั้นวัสดุอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์จึงหมายถึง วัตถุเครื่องมือเคร่ืองใช้ที่นามาใช้ในการศึกษาค้นคว้า มอี ยู่ในหอ้ งปฏบิ ัติการทางวทิ ยาศาสตร์ วัสดุอุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์สามารถแบ่งได้ ดังนี้ วัสดุทางวิทยาศาสตร์ เครื่องแก้ว อุปกรณพ์ ้นื ฐานอืน่ ๆ (เครอื่ งมอื ช่างและเครอ่ื งมอื ท่วั ไป) วัสดุทางวทิ ยาศาสตร์ วัสดุทางวิทยาศาสตร์เป็นวัตถุที่นามาใช้แล้วหมดไป เสื่อมสภาพไป ไม่สามารถนากลับมาใช้ใน การศึกษาค้นควา้ หรือนากลบั มาใชท้ ดลองได้อีก เช่น 1. กระดาษลติ มัส คือ วสั ดทุ ี่ใช้ในการทดสอบความเปน็ กรด-เบสของสารละลายต่างๆ กระดาษลติ มัสเตรียมได้ จากสารละลายของผงลิตมสั ซึง่ สกัดได้จากสง่ิ มีชวี ิตจาพวกไลเคนส์ กระดาษลติ มัสมี 2 สี คอื สีแดงกบั สีน้าเงิน ถ้านากระดาษลิตมัสสีน้าเงินจุ่มลงในสารละลายกรด กระดาษลิตมัสจะเปลี่ยนสีจากสีน้าเงินเป็นสีแดง เม่ือจุ่ม กระดาษลิตมสั สแี ดงลงในสารละลายเบส กระดาษลติ มัสจะเปลยี่ นสีจากสแี ดงเป็นสนี า้ เงนิ ภาพท่ี 1 กระดาษลติ มสั การใชก้ ระดาษลิตมสั ต้องใช้ทลี ะแผ่น โดยตดั ขนาดพอเหมาะกบั ทจ่ี ะใช้ มอื ทห่ี ยิบต้องสะอาดและแห้ง ถ้าจะทดสอบกับของเหลวต้องวางกระดาษลิตมัสบนถ้วยกระเบ้ืองแผ่นกระจกหรือกระดาษที่สะอาด แล้วใช้ แท่งแกว้ สะอาดจมุ่ ของเหลวมาแตะ 2. กระดาษยูนิเวอร์แซลอินดเิ คเตอร์ เป็นอนิ ดิเคเตอร์ท่ีมีการเปลีย่ นสีเกือบทุกค่า pH จงึ ใชท้ ดสอบหาค่า pH ได้ดี อนิ ดเิ คเตอร์ชนิดน้มี ที ั้งแบบท่ีเปน็ กระดาษและแบบสารละลาย

ภาพท่ี 2 กระดาษยูนิเวอร์แซลอินดเิ คเตอร์ การใช้ยูนิเวอร์แซลอินดิเคเตอร์ต้องตัดขนาดพอเหมาะกับที่จะใช้มือที่หยิบต้องสะอาดและแห้ง ถ้าจะ ทดสอบกับของเหลวต้องวางกระดาษยูนิเวอร์แซลอินดิเคเตอร์บนถ้วยกระเบื้องแผ่นกระจกหรือกระดาษที่ สะอาดแลว้ ใช้แทง่ แก้วสะอาดจุ่มของเหลวมาแตะ แลว้ จงึ นาไปเทยี บสบี นตลบั จะทราบคา่ pH 3. กระดาษกรอง คือ กระดาษที่มีคุณสมบัติท่ีคัดเลือกอนุภาคหรือสิ่งเจือปนออกจากสารละลายหรืออากาศ การกรองเป็นวิธีแยกของแข็งออกจากของเหลวหรือสารละลาย หรือเป็นการแยกสารที่เป็นของแข็งที่อยู่ในรูป ผลึกหรือตะกอนออกจากของเหลวหรือสารละลายโดยใช้ตัวกรอง เช่น กระดาษกรอง การกรองท่ีมี ประสิทธิภาพดีนั้นขึ้นอยู่กับการเลือกอุปกรณ์ การกรองท่ีเหมาะสมกับลักษณะของตะกอนและใช้เทคนิคท่ี ถกู ตอ้ ง กระดาษกรองทใี่ ช้ในห้องปฏบิ ตั ิการมีหลายแบบแบบจาเพาะกบั งาน และแบบทใ่ี ชท้ ่ัวไปวัสดุทนี่ ามาใช้ ทากระดาษกรอง เช่น เส้นใยจากไม้คาร์บอนหรือเส้นใยแก้วควอทซ์ โดยใช้กระดาษกรองร่วมกับอุปกรณ์ที่ใช้ ในการกรอง คือ กรวยกรองหรือกรวยบุชเนอร์ กระดาษกรองมีหลายชนิด แต่ละชนิดมีความเหมาะสมกับ ลักษณะและขนาดของตะกอน ตลอดจนจุดประสงค์ของการแยกตะกอนแตกต่างกัน ความเร็วของการกรอง ขึ้นอยู่กับการพับกระดาษกรองและการวางตาแหน่งของกระดาษกรองในกรวยกรอง ตลอดจนชนิดของกรวย กรองท่ีใช้ ผู้ใช้ต้องเลือกกระดาษกรองให้เหมาะสมกับลักษณะขนาดและปริมาณของตะกอน กระดาษกรอง สามารถพบั ได้ 2 วิธี คือ การพับแบบธรรมดาและการพบั แบบจบี ภาพที่ 3 การพบั กระดาษกรองแบบธรรมดา

ภาพท่ี 4 การพบั กระดาษกรองแบบจีบ วธิ กี ารใชก้ ระดาษกรอง เมื่อเลือกกระดาษกรองได้แลว้ นากระดาษกรองมาพับเป็นรปู กรวย ซ่ึงพับได้หลายวิธี เม่ือพับกระดาษ กรองเรียบร้อยแล้วนาใส่ในกรวยกรอง โดยวางกระดาษกรองให้แนบกับกรวย เพ่ือไม่ให้มีอากาศอยู่ระหว่าง กระดาษกรองกับกรวย โดยทากรวยใหเ้ ปยี กกอ่ น การพับแบบธรรมดา กระดาษแนบกับกรวยทุกส่วนใชก้ รอง ของเย็น ส่วนแบบจีบใช้กรองของร้อน เพราะ แบบจีบจะมีชอ่ งว่างระหว่างกระดาษกรองกับกรวย เวลาเทของ ร้อนลงไปอากาศในก้านกรวยขยายตัวจะออกทางช่องว่างน้ัน ถ้าใช้กระดาษกรองที่พับแบบธรรมดาอากาศ ขยายตวั จะดันของเหลวไมใ่ ห้ไหลออกจากกระดาษกรอง ภาพท่ี 5 การกรอง 4. กระดาษเซลโลเฟนหรือกระดาษแก้วชนิดหน่ึง (cellophane) เป็นวัสดุที่ทาจากเซลลูโลส (cellulose) ใน ไม้หรือพืชเส้นใยอ่ืนๆ โครงสร้างทางเคมีเป็นกระดาษแต่รูปร่างลกั ษณะจัดเป็นพลาสติกเป็นวัสดโุ ปรง่ แสงและ ใสความช้ืนผ่านไดม้ ากอากาศผา่ นได้นอ้ ย

การนากระดาษเซลโลเฟนมาใช้ประโยชน์ 4.1 ใช้หอ่ หมุ้ หรือบรรจุผลิตภัณฑ์ต่างๆ เชน่ ใช้หอ่ เนอ้ื แช่แข็ง หอ่ เบคอนทฝี่ าน ใชบ้ รรจุเนือ้ สด ทาให้ การซึมผ่านของออกซิเจนเพียงพอ ทาให้เน้ือมีสีแดงสดและยังป้องกันความชื้นแล้ว กระดาษเซลโลเฟนยัง สามารถปดิ ผนกึ ไดง้ ่ายด้วยความร้อน 4.2 ใช้ในการแยกสารประเภทคอลลอยด์ได้ เน่ืองจากคอลลอยด์ คือสารผสมที่ประกอบด้วยสารที่ อนุภาคมีเส้นผ่านศูนย์กลางระหว่าง 10-4- 10-7เซนติเมตร กระจายอยู่ในสารที่เป็นตัวกลางอีกชนิดหนึ่ง ไม่ สามารถใชก้ ระดาษกรองในการแยกอนุภาคของคอลลอยดไ์ ด้ เนือ่ งจากอนุภาคของคอลลอยด์มีขนาดเล็กกว่ารู ของกระดาษกรองแต่ใหญ่กว่ารูของกระดาษเซลโลเฟน 4.3 ใช้เป็นเย่ือเลือกผ่านในการทดลองการออสโมซีส (การแพร่ของน้า) เน่ืองจากน้ามีขนาดอนุภาค เล็กสามารถแพร่ผา่ นเย่ือเลอื กผ่านไดม้ วี ธิ ีการใช้ ดังนี้ นากระดาษเซลโลเฟนมาตัดให้พอดีกับปริมาณของสารที่จะใช้ในการทดลอง (ตัดให้พอดีที่จะใส่ลงไป ในภาชนะให้เหลือขอบท่ีปากภาชนะเล็กน้อย และภาชนะนั้นต้องบรรจุได้มากกว่าสารท่ีจะนามาทดลอง) นา กระดาษเซลโลเฟนท่ตี ดั มาชุบน้าให้เปยี กค่อยๆ ใส่ลงไปในภาชนะอย่าให้กระดาษเซลโลเฟนขาด แลว้ จึงนาสาร ท่ีต้องการศึกษาใส่ลงไปใช้เชือกรัดปากไม่ให้ในถุงมีฟองอากาศและไม่ให้สารล้นออกมานอกถุงและล้างนอกถุง กอ่ นทกุ ครัง้ ภาพท่ี 6 การทดลองออสโมซิส อุปกรณว์ ทิ ยาศาสตรพ์ ืน้ ฐาน: เครอื่ งแก้ว เครื่องแก้วเปน็ อปุ กรณพ์ ้นื ฐานในหอ้ งปฏิบัตกิ ารทั่วไปแบ่งเป็น 2 ประเภท คอื 1. เครื่องแก้วที่ใช้เป็นภาชนะบรรจุเครื่องแก้วประเภทน้ีจะมีขีดบอกปริมาตรอย่างคร่าวๆ จึงไม่เหมาะท่ีจะ นามาใชว้ ดั ปรมิ าตรใช้เปน็ ภาชนะบรรจุในการเตรยี มสารละลายหรือผสมสารละลาย ได้แก่ บีกเกอร์ (beakers) ขวดรูปชมพู่ (erlenmeyer flasks) และหลอดทดลอง (test tubes) 2. เครื่องแก้วท่ีใช้วัดปริมาตร เครื่องแก้วประเภทน้ีมีขีดบอกปริมาตร ซ่ึงได้ทาการวัดเทียบกับปริมาตร มาตรฐานแล้ว ได้แก่ กระบอกตวง (cylinder) ขวดวัดปริมาตร (volumetric flask) หลอดหยด (dropper) บิวเรตต์ (burette) และปิเปต (pipette) ซ่ึงแต่ละชนิดจะมีขนาดและความละเอียดมีความถูกต้องแม่นยา แตกตา่ งกนั การเลือกใช้งานข้นึ กบั วัตถุประสงคข์ องการทดลอง

ตวั อย่างเครอ่ื งแก้วในห้องปฏบิ ัตกิ ารวทิ ยาศาสตร์ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น ไดแ้ ก่ 1. บีกเกอร์ เป็นแก้วใสใชส้ าหรับบรรจุสารทม่ี ีปรมิ าณมาก เพ่ือละลายสารหรือทาปฏิกิริยาเคมแี ละสามารถเท สารออกได้ง่ายทางปากบกี เกอร์ บีกเกอร์มีขนาดตั้งแต่ 25 cm3 - 1,000 cm3 และมีความจุต่างกัน โดยจะมีขีดบอกปริมาตร แต่มิได้มี จุดประสงคไ์ วเ้ พ่ือการตวงของเหลวได้อย่างแม่นยา ทาให้ผ้ใู ช้สามารถทราบปริมาตรของของเหลวท่บี รรจุอยู่ได้ อย่างคร่าวๆ จึงสามารถใช้ตวงปริมาตรของเหลวโดยประมาณได้ บีกเกอร์ที่นิยมใช้ในห้องปฏิบัติการทาจาก แก้วทนไฟและก็ยังมีชนิดที่ทาด้วยพลาสตกิ ท่ีไม่สามารถตัง้ ไฟได้ แต่ราคาถูกกว่าปากบีกเกอรเ์ ป็นจงอยเหมือน ปากนกสาหรับเทน้าออกจากบีกเกอร์มีประโยชน์ คือ - ทาให้การเทของเหลวออกได้โดยสะดวก - ทาให้สะดวกในการวางแทง่ แกว้ คนสารซึง่ ย่ืนออกมาจากฝาท่ีปดิ บีกเกอร์ - เป็นทางออกของไอน้าหรือแก๊ส เมื่อทาการระเหยของเหลวในบีกเกอร์ท่ีปิดด้วยกระจกนาฬิกา (watch glass) หรือแผน่ กระจก 1.1 ส่วนประกอบและรายละเอียดทีป่ รากฏบนบีกเกอร์ ภาพท่ี 7 บกี เกอร์ 1.2 วธิ ีการใช้งาน 1) เลือกขนาดของบีกเกอร์ให้เหมาะสมกับงานคานึงถึงปริมาณของเหลวที่บรรจุ โดยปกติให้ ระดับของเหลวอย่ตู ่ากวา่ ปากบีกเกอร์ ไม่ควรเกินขีดสงู สดุ ที่ขา้ งบกี เกอร์ 2) การเทสารออกจากบีกเกอร์ ให้จับแท่งแก้วแตะกับปากบีกเกอร์เอียงบีกเกอร์ให้ของ เหลวไหลตามแทง่ แกว้ ลงสูภ่ าชนะท่ีรองรบั 1.3 ประโยชนข์ องบกี เกอร์ 1) ใชต้ วงปริมาตรของเหลวโดยประมาณ 2) ใช้สาหรบั ต้มสารละลายที่มปี รมิ าณมากๆ 3) ใชส้ าหรบั เตรยี มสารละลายต่างๆ 4) ใชส้ าหรับตกตะกอนและใชร้ ะเหยของเหลว 2. ขวดรูปชมพู่ ใชเ้ ป็นภาชนะบรรจุในการเตรียมสารละลายหรือผสมสารละลายมีหลายขนาดต้ังแต่ 25 cm3- 1,000 cm3 ใช้คู่กับอุปกรณ์อีกอย่างหนึ่งคือบิวเรตต์ (burette) ในการทาปฏิกิริยาไทเทรตช่ัน (titration) โดย

สารละลายท่ีใช้ใส่ในขวดรูปชมพู่จะเรียกว่า ไทแทรนด์ (titrand) สารละลายท่ีบรรจุในบิวเรตต์จะเรียกว่า ไท แทนท์ (titrant) มีลักษณะเป็นทรงกรวย มีขีดบอกปริมาตร แต่มิได้มีจุดประสงค์ไว้ เพื่อการตวงของเหลวได้ อย่างแม่นยาทาใหผ้ ู้ใชส้ ามารถทราบปริมาตรของของเหลวที่บรรจุอยู่ได้อยา่ งคร่าวๆ เทา่ นัน้ จงึ สามารถใช้ตวง ปรมิ าตรของเหลวโดยประมาณไดเ้ ชน่ เดยี วกบั บีกเกอร์ ขนาดที่นิยมใช้กันมากคอื 250 cm3- 500 cm3 ภาพที่ 8 ขวดรูปชมพู่ 3. หลอดทดลอง เป็นอุปกรณท์ ่ใี ช้สาหรับใสส่ ารละลายหรอื สารเคมีใดๆ ในปริมาณน้อยๆ เพื่อทดลองปฏิกิริยา เคมีระหว่างสารตา่ งๆ ท่ีเปน็ สารละลายใช้ต้มของเหลวท่มี ปี ริมาณนอ้ ยๆ มีทัง้ ชนดิ ธรรมดาและชนดิ ทนไฟขนาด จะระบุได้ 2 แบบคือ ความยาวกับเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางริมนอกหรอื ขนาดความจุเป็นปริมาตร ภาพที่ 9 หลอดทดลอง 3.1 ข้อควรระวัง: หลอดทดลองแบบทนไฟจะมีขนาดใหญ่และหนากว่าหลอดธรรมดา ใช้สาหรับเผา สารต่างๆ ด้วยเปลวไฟโดยตรงในอุณหภูมทิ ่ีสงู หลอดชนิดน้ไี ม่ควรนาไปใช้สาหรับทดลองปฏิกิรยิ าเคมรี ะหว่าง สารเหมอื นหลอดธรรมดา 3.2 วธิ กี ารเกบ็ รกั ษา: เมื่อใช้แล้วลา้ งทาความสะอาดด้วยแปรงลา้ งหลอดทดดลองและเก็บใส่ตะกร้าต้ัง ไวใ้ ห้แห้งในทีป่ ลอดภยั 4. กระบอกตวง เป็นอุปกรณ์ท่ีใช้ตวงปริมาตรของเหลวท่ีมีอุณหภูมิไม่สูงกว่าอุณหภูมิของห้องปฏิบัติการ กระบอกตวงไม่สามารถใช้วัดของเหลวท่ีมีอุณหภูมิสูงได้ เนื่องจากอาจทาให้กระบอกตวงแตกได้ กระบอกตวง สว่ นใหญ่ทใ่ี ช้งานมีขนาดตง้ั แต่ 5 cm3 - 2,000 cm3 กระบอกตวงขนาดเล็กใช้วดั ปริมาตรได้ใกลเ้ คียงความจริง มากกวา่ กระบอกตวงขนาดใหญ่

4.1 การใช้กระบอกตวง 1) เทสารละลายจากขวดบรรจสุ ารเคมีลงในบีกเกอร์ ควรเทของเหลวให้มีปริมาตรมากกว่าที่ ต้องการใช้เล็กน้อยลงในบีกเกอร์ ของเหลวที่รินออกมาจากภาชนะแล้วห้ามเทส่วนท่ีเหลือกลับคืน ภาชนะเดมิ เมอื่ ถ่ายเทสารจากขวดเสร็จเรียบร้อยต้องปิดฝาหรือจุกทนั ที ห้ามวางสารเคมีทง้ิ ไวโ้ ดยไม่ ปดิ ฝา ก่อนปดิ ตอ้ งแนใ่ จว่าฝาไม่สลบั กบั ขวดอืน่ 2) เทสารละลายจากบีกเกอร์ลงไปในกระบอกตวงจนส่วนโค้งเว้าต่าสุดอยู่ต่ากว่าขีดบอก ปรมิ าตร 3) ใช้หลอดหยดช่วยในการปรับปริมาตรให้ส่วนโค้งเว้าต่าสุดของสารละลายอยู่ตรงกับขีด บอกปริมาตร 4) อ่านปริมาตรของของเหลวในกระบอกตวงทาได้โดยให้ส่วนโค้งเว้าต่าสุดอยู่ระดับสายตา และอา่ นค่าปริมาตรณจดุ ต่าสดุ ของสว่ นโคง้ เว้า 5) ถา่ ยเทของเหลวจากกระบอกตวงไปยงั ภาชนะที่รองรบั ทาได้ โดยเอยี งกระบอกตวงให้แตะ กบั ปากภาชนะที่รองรับ เชน่ บกี เกอร์ แล้วเทของเหลวอยา่ งชา้ ๆ ลงไปจนหมดกระบอกตวง ภาพที่ 10 การใช้กระบอกตวง

4.2 การเก็บรักษากระบอกตวง เม่ือใช้เสร็จแล้วควรล้างให้สะอาดและเก็บตั้งไว้ในตู้เฉพาะ แต่ถ้า กระบอกตวงมีขนาดสูงมากควรวางนอนกบั พน้ื ต้เู พื่อกันลม้ แตก 5. ขวดวัดปริมาตร เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับตวงของเหลวตามปริมาณที่ต้องการ มีขีดแสดงปริมาตรกากับอยู่ รอบคอขวดเพียงขีดเดียวเป็นขวดแก้วคอยาวและมีจุกปิดด้านบน เพ่ือให้เม่ือเขย่าสารแล้วสารนั้นเกิดการ ละลายผสมกันได้อย่างทั่วถึง ขวดวัดปริมาตรใช้สาหรับเตรียมสารละลายท่ีต้องการความเข้มข้นแน่นอน เช่น สารละลายตัวอย่าง, สารละลายมาตรฐานแล้วทาใหส้ ารละลายท่ไี ด้มคี วามเขม้ ข้นนอ้ ยกวา่ สารละลายเดมิ ภาพท่ี 11 ขวดวัดปรมิ าตร 5.1 วธิ ใี ชข้ วดวดั ปริมาตรในการเตรยี มสารละลาย 1) เม่ือทราบความเข้มข้นของสารละลายที่ต้องการเตรียมแล้วจึงตวงสารที่ต้องการลงในขวด ปรมิ าตร (ถา้ เปน็ ของเหลวใชป้ เิ ปตถา้ เป็นของแขง็ ใชเ้ คร่ืองชงั่ ) 2) เติมตัวทาละลายลงไปในขวดปริมาตรใหม่มีปริมาตร ¾ ของขวดปิดจุกขวดแล้วให้ใช้มือ ข้างหนึ่งกดฝาไว้นาไปวางบนอีกฝ่ามือหนึ่งแล้วคว่า-หงายขวด (ไม่ควรหมุนขวดเพราะอาจทาให้คอ ขวดหักได)้ 3) ถ้าเป็นของแข็งให้ละลายในบีกเกอร์ ก่อนใช้ตัวทาละลายเล็กน้อยให้สารละลายหมด แล้ว จึงเทใส่ขวดปริมาตร ล้างบีกเกอร์ด้วยน้าทีละน้อยเทรวมลงไปในขวดหลายๆ คร้ัง เติมน้าให้มีระดับที่ ขีดแลว้ ใชว้ ีธคี วา่ -หงายขวดปรมิ าตร หมายเหตุ ถ้าเป็นการเตรียมสารละลายกรดเข้มข้นให้เจือจาง ต้องเติมน้าลงไปในขวดปริมาตร ประมาณ ¾ ของขวด แลว้ จงึ เติมกรดทต่ี วงลงไป 4) เติมตัวทาละลายลงในขวดปริมาตรจนส่วนโค้งเว้าต่าสุดของสารละลายอยู่ต่ากว่าขีดบอก ปรมิ าตร 5) ใช้หลอดหยดหรือบิวเรตต์เติมตัวทาละลาย จนส่วนโค้งเว้าต่าสุดอยู่ตรงกับขีดกาหนด ปรมิ าตร 6) ปิดจกุ ขวดปรมิ าตร แลว้ คว่าขวดจากบนลงล่าง จากนัน้ เปดิ จุกต้งั ท้ิงไว้ประมาณ 30 วินาที เพ่ือไล่ฟองอากาศภายในขวดวัดปริมาตรออกไป ทาแบบน้ี 2-3 ครั้ง เพ่ือให้สารละลายผสมเป็นเนื้อ เดยี วกันและมเี นอ้ื สารเทา่ เทยี มกันทกุ สว่ น

5.2 ข้อควรระวงั 1) ขณะทาการทดลองควรจับท่ีคอขวดวัดปริมาตร อย่าจับที่ตัวขวดวัดปริมาตร เพราะจะทา ให้สารละลายอนุ่ ข้ึน เนื่องจากความร้อนจากมอื 2) การอ่านปริมาตรต้องให้ระดับสายตาอยู่ในระดับเดียวกันกับขีดบอกปริมาตร เพ่ือป้องกัน การอา่ นปรมิ าตรผิด 3) ในระดับประถมศึกษาหรือมัธยมศึกษาตอนต้น การเตรียมสารท่ีใช้ในการทดลองยังไม่มี ความละเอยี ดซบั ซอ้ นมากนัก สามารถใชห้ ลอดฉีดยาแทนปเิ ปต และใชห้ ลอดหยดแทนบิวเรตต์ 1.หลอดหยด เป็นอุปกรณ์ที่ใชส้ าหรับตวงของเหลวปรมิ าณน้อยๆ โดยการนับจานวนหยดของของเหลวทห่ี ยด ลงไปและสามารถเทียบมาตรฐาน (calibrate) ด้วยกระบอกตวง แล้วใช้เป็นค่าโดยประมาณสาหรับทาการ ทดลองตอ่ ไปได้ มลี กั ษณะเป็นหลอดแก้ว ปลายขา้ งหน่งึ ยาวเรียวเล็กและปลาย อกี ข้างหนงึ่ มีกระเปาะยางสวมอยู่ ภาพที่ 12 หลอดหยด 6.1 การใช้งานหลอดหยด 1) ใช้สาหรับหยดสารละลายหรือใช้ช่วยเตรียมสารละลายร่วมกับขวดวัดปริมาตร โดยหยด เพื่อปรบั ปรมิ าตรให้ถึงขดี บอกปรมิ าตร 2) ใช้สาหรับดูดของเหลวต่างๆ ที่ใช้ในการปฏิบัติการทดลองทางวิทยาศาสตร์ เช่น ดูด สารละลายดา่ งทับทมิ เกลือแกง กรดตา่ งๆ เปน็ ต้น 6.2 วธิ ใี ชง้ าน 1) บบี จุกยางพอประมาณกบั สารที่ตอ้ งการดูดแลว้ จมุ่ ลงในของเหลว 2) ปล่อยมือทบี่ บี จุกยางใหส้ ารเข้าไปในหลอดหยด 3) บีบจกุ ยางให้ของเหลวหยดทีละหยดอย่างสมา่ เสมอและนับจานวนหยด 6.3 ขอ้ ควรระวัง 1) หา้ มหงายหลอดหยด อยา่ ใหป้ ลายหลอดหยดกระทบหรือแตะกับหลอดทดลอง 2) อย่าให้สารละลายสัมผัสกับกระเปาะยาง เพราะจะทาให้สารละลายถูกปนเป้ือนได้และถา้ สารละลายมีฤทธิ์เป็นกรดก็จะกัดกร่อนกระเปาะยางด้วย ดังน้ันเม่ือทาการทดลองเสร็จแล้วควรรบี ดงึ กระเปาะยางออกจากหลอดแกว้ ทนั ที 3) หลอดหยดเมื่อใช้ดูดสารชนิดหนึ่งแล้วห้ามนาไปดูดสารต่างชนิดกัน ถ้ายังไม่ได้ทาความ สะอาด

4) การเก็บรักษาใช้เสร็จเรียบร้อยแล้วทาความสะอาดทิ้งไว้ให้แห้งเองและเกบ็ ไว้ในตู้อุปกรณ์ ถ้ารบี ใช้งานให้ใชว้ ธิ กี ารอบให้แหง้ อปุ กรณว์ ิทยาศาสตรพ์ ืน้ ฐานอ่นื ๆ 1. หลอดฉีดยา เป็นอุปกรณ์วัดและตวงปริมาตรของเหลว เพราะมีขีดบอกปริมาตรและได้มาตรฐานหลอดฉีด ยาที่นิยมใช้ในโรงเรียนจะทาด้วยพลาสติก เพราะราคาถูกและหาซื้อได้ง่าย ส่วนงานท่ีต้องการความถูกต้องสูง หรือใช้กับสารทม่ี เี ปน็ กรดแก่ เบสแก่ จะใช้หลอดฉดี ยาที่ทาด้วยแก้วหลอดฉีดยาในห้องปฏบิ ัติการวิทยาศาสตร์ โดยทั่วไปมขี นาด 5 cm3 - 35 cm3 1.1 สว่ นประกอบและรายละเอียดทปี่ รากฏบนหลอดฉีดยา ภาพท่ี 13 หลอดฉีดยา 1.2 วิธีการใชง้ าน 1) เลอื กขนาดของหลอดฉีดยาใหเ้ หมาะสมกบั ปรมิ าตรท่ตี ้องการวดั 2) ดึงก้านหลอดฉีดยาขึน้ และกดลง เพอ่ื ใหย้ างท่ปี ลายกา้ นหลอดฉดี ยาเลอื นไดค้ ลอ่ ง 3) กดก้านหลอดฉีดยาจนสดุ เพ่ือไลอ่ ากาศออกให้หมด 4) จุ่มปลายหลอดฉีดยาลงในของเหลวค่อยๆ ดึงก้านหลอดฉดี ยาข้ึน ขณะทดี่ ูดสารละลาย เข้าไปในหลอดฉีดยาระวังอยา่ ใหม้ ฟี องอากาศ ถ้ามตี ้องกดกา้ นหลอดฉดี ยาลงไปจนสดุ เพื่อไล่อากาศ แล้วค่อยๆ ดึงก้านหลอดฉีดยาดูดสารขึ้นมาในหลอดตามปริมาณที่ต้องการ ให้ส่วนที่โค้งต่าสุดของลกู ยางตรงกับขดี ปริมาตรทตี่ ้องการ 1.3 การเก็บรักษา ห้ามใช้หลอดฉีดยาที่ทาด้วยพลาสติกตวงสารอินทรีย์ เพราะจะทาให้พลาสติก ละลายเมื่อเสรจ็ งานแลว้ ต้องลา้ งทาความสะอาดเช็ดใหแ้ หง้ สนิท 1.4 ขอ้ ควรระวงั 1) เมื่อดูดสารละลายเข้ามาในหลอดฉีดยาแล้วปรับปริมาตรให้ชี้ปลายเข็มฉีดยาข้ึนแล้วทา การไล่ฟองอากาศออกด้วย 2) หา้ มใช้หลอดฉดี ยาท่ีทาดว้ ยพลาสติกตวงสารอินทรยี ์เพราะพลาสติกจะละลาย 3) เม่ือใชเ้ สรจ็ แล้วต้องล้างให้สะอาด โดยดงึ แยกออกจากกนั และนาแตล่ ะส่วนมาลา้ ง วางไว้ใหแ้ ห้งแล้วจึงนามาสวมเขา้ ตามเดิมตอ่ ไป 2. กรวยกรอง เป็นอุปกรณ์ที่ใช้คู่กับกระดาษกรองในการแยกของแข็งออกจากของเหลว และมักจะใช้ในการ ถ่ายเทสารเคมีจากภาชนะทีม่ ีขนาดใหญล่ งในภาชนะทม่ี ีขนาดเล็ก เช่น เทสารละลายลงในบิวเรต กรวยกรองมี

มุมเกือบๆ 60 องศาและมีทั้งแบบก้านส้ันและก้านยาว กรวยก้านยาวจะกรองได้เร็วกว่ากรวยก้านส้ัน ขนาด ของกรวยกรองจะใหญห่ รอื วา่ เลก็ ข้ึนอยู่กับความยาวของเส้นผ่านศนู ย์กลางวดั ขอบนอก ขนาดทน่ี ิยมใช้มดี งั นี้ ภาพท่ี 14 กรวยแก้ว 3. กระจกนาฬิกา มีรูปคล้ายนาฬกิ าเรือนกลมขนาดขน้ึ อย่กู บั ความยาวของเสน้ ผ่านศนู ยก์ ลาง ภาพท่ี 15 การใชก้ ระจกนาฬิกาปดิ บีกเกอร์ 3.1 การใช้งาน 1) ใช้สาหรับปิดบีกเกอร์หรืออุปกรณ์อ่ืนๆ เพ่ือป้องกันสารอื่นๆ หรือฝุ่นละอองตกลงใน สารละลายที่บรรจุอยู่ในบีกเกอร์ (อาจใช้กระจกเรยี บแทนกไ็ ด้ถา้ ไม่ได้ใส่สารที่กระจกนาฬิกา) 2) ใช้ป้องกนั สารละลายกระเด็นออกจากบีกเกอร์ เมื่อทาการตม้ หรอื ระเหยสารละลาย 3) ใช้เปน็ ภาชนะในการใสส่ ารเคมที ี่เปน็ ของแขง็ เพื่อทดสอบการทาปฏิกริ ิยาของสาร 4) ใช้ระเหยสารท่ีไวไฟเชน่ คาร์บอนไดซลั ไฟดอ์ ีเทอร์แอซีโตนฯลฯ จะระเหยโดยใช้ความรอ้ น จากเปลวไฟโดยตรงไมไ่ ด้เพราะอาจเกิดอุบตั ิเหตุไฟไหม้ 3.2 การเลือกใชค้ วรเลือกให้เหมาะสมกับขนาดของบีกเกอร์ ขนาดท่นี ิยมใช้มดี งั น้ี ภาพท่ี 16 กระจกนาฬิกา

4. แท่งแก้วคนสาร ใช้สาหรับคนสาร ปลายด้านหน่ึงเป็นแบบพาย เพื่อช่วยในการกวนสารหรือใช้เม่ือจะเท สารที่เป็นของเหลวจากภาชนะหนึ่งลงในภาชนะอกี ชนดิ หนึง่ โดยจะเทสารใหไ้ หลไปตามแทง่ แก้วคนสาร ภาพท่ี 17 แทง่ แกว้ คนสาร วธิ ีการใช้แท่งแก้ว ดงั น้ี 4.1 ใช้คนสาร เป็นการคนของแข็งให้ละลายเป็นเนื้อเดียวกันกับตัวทาละลาย หรือเป็นการกวนให้ สารละลายผสมกัน โดยใช้แท่งแก้วการคนสารละลายต้องคนไปในทิศทางเดียว และระวังอย่าให้แท่งแก้ว กระทบกบั ข้างบีกเกอร์ การผสมสารในหลอดทดลองใช้การเขย่าหรือใชก้ ารกระทบกับฝ่ามือแทนการคน จะใช้ แท่งแก้วคนสารในหลอดทดลองเม่ือจาเปน็ จริงๆ เท่าน้นั คอื เมื่อใช้การกระทบกบั ฝา่ มือแล้วสารยังไม่ผสมกันจึง ใช้แท่งแก้วคนและระวังไม่ให้แท่งแก้วกระทบกับข้างหลอดทดลองหรือก้นหลอดทดลอง เพราะจะทาให้หลอด ทดลองทะลไุ ด้ 4.2 ใช้ในการเทสารที่เป็นของเหลวจากภาชนะหน่ึงลงในภาชนะอีกชนิดหน่ึง โดยถือแท่งแก้วคนสาร ให้สัมผสั ปากของบกี เกอรบ์ รเิ วณท่ีจะให้สารไหลออก เอียงบกี เกอร์ เพื่อใหส้ ารไหลลงมาตามแท่งแก้วคนสารลง สภู่ าชนะรองรับ 5. ชอ้ นตักสาร เป็นอุปกรณ์ท่ีใช้สาหรับตักสาร เพื่อนาไปชง่ั น้าหนักให้ได้ปรมิ าณสารเคมีตามทีต่ ้องการหรือใช้ ตวงสารที่เป็นของแข็ง โดยประมาณตามขนาดเบอร์ของช้อน เช่น ตักโซเดียมคลอไรด์ 2 ช้อนเบอร์ 1 ช้อนตัก สารทาด้วยพลาสติกหรือสแตนเลส (stainless steel) เมื่อใช้แล้วต้องทาความสะอาด และผึ่งให้แห้งก่อนที่จะ ใชต้ กั สารชนิดอ่นื ๆ มเิ ชน่ นั้นแล้วจะทาให้สารเคมีในขวดเกิดการปนเปือ้ นได้ ภาพที่ 18 ช้อนตักสาร 5.1 การใช้ชอ้ นตักสาร 1) ค่อยๆ เปิดขวดสารแล้วหงายจุกวางไว้ใช้ช้อนตักสารให้พอดี ใช้น้ิวหรือดินสอเคาะก้าน ช้อนเบาๆ เพอ่ื เทสารในช้อนออกตามปรมิ าณท่ีต้องการ

2) ถ้าเป็นช้อนท่ีมีเบอร์สาหรับตวงสารปริมาณต่างกันให้ใช้ช้อนด้ามที่ 1 ตักสารก่อนให้พูน ช้อนโดยไม่ต้องกดให้แน่นแล้วจึงใช้ด้ามช้อนอีกด้ามหน่ึงปาดผิวให้เรียบจะได้สาร 1 ช้อนในปริมาณ ตามเบอร์น้ันๆ 5.2 การเก็บรักษา 1) เมอื่ ใช้ชอ้ นตกั สารแลว้ ตอ้ งทาความสะอาดชอ้ นให้แห้งก่อนใช้ตกั สารชนิดอนื่ 2) หา้ มใชช้ อ้ นตักสารในขณะท่ีสารยังร้อน ภาพท่ี 19 วิธีการใชช้ อ้ นตกั สาร 6.ตะเกียงแอลกอฮอล์ เป็นอุปกรณ์ใช้ในการให้ความร้อนแก่สารตัวภาชนะที่บรรจุแอลกอฮอล์ที่ใช้เป็น เช้ือเพลิงทาด้วยอลูมิเนียมหรือแก้วขนาดสูงประมาณ 3 นิ้วมีฝาครอบ ทาด้วยอลูมิเนียมหรือแก้วเช่นกัน เพ่ือ ช่วยในการดับไฟและป้องกันแอลกอฮอล์ระเหย มีไส้ตะเกียงทาด้วยเส้นใยฝ้าย แอลกอฮอล์ท่ีใช้เป็นเช้ือเพลิง คือเอทิลแอลกอฮอล์ จะให้ความร้อนสูงและไม่มีควัน (ห้ามใช้เมทิลแอลกอฮอล์หรือเมทานอลเพราะถ้าหายใจ เอาเมทานอลเข้าไปมากๆ จะทาใหเ้ กิดการปวดท้อง เวยี นหวั คล่ืนไส้ อาเจียน กล้ามเนอื้ กระตกุ หายใจลาบาก การมองเห็นจะผิดปกติจนอาจทาให้ตาบอดได้ แต่หากดื่มเข้าไปทางเดินอาหารจะดูดซึมและกระจายเข้าสู่ กระแสเลอื ดทนั ที มผี ลให้เกิดอาการคล่ืนไส้ อาเจยี น ท้องเดิน เหน็ ภาพไม่ชดั มีผลตอ่ ประสาทตา อาจทาให้ตา บอด ที่สาคัญยังมีผลต่อระบบหายใจ ทาให้ไตอักเสบ กล้ามเน้ือตับตาย หรือโลหิตเป็นพิษ อันตรายถึงข้ัน เสยี ชวี ติ ในทีส่ ดุ 6.1 วิธกี ารใช้ตะเกียงแอลกอฮอล์ 1) กอ่ นใช้ต้องตรวจดูสภาพไส้ตะเกียงและท่ียึดว่ามสี ภาพพร้อมใช้งาน ไมแ่ ตกร้าว ความยาว ไส้ตะเกียงเพียงพอได้ เช่น ส่วนยึดไส้ตะเกียงไม่ร้าวหรือแตกและปริมาณแอลกอฮอล์ในตะเกียงมีมาก นอ้ ยเพียงใด 2) เติมแอลกอฮอล์ประมาณครึ่งหน่ึงของตะเกยี งและอย่าให้หกเลอะขอบตะเกียง เชด็ ให้แห้ง โดยใช้กรวยและเติมด้วยความระมัดระวัง อย่าให้หก เพราะเม่ือจุดตะเกียงแล้วอาจทาให้ไฟไหม้ ลกุ ลามได้ 3) ปรบั ไส้ตะเกยี งเพ่อื ให้ได้ขนาดเปลวไฟตามท่ีต้องการ 4) จุดตะเกยี งโดยใช้ไม้ขีดไฟ เม่อื ใช้ตะเกียงแอลกอฮอลเ์ สร็จแล้วต้องดับตะเกียงทันที โดยใช้ ฝาครอบห้ามเปา่ โดยเดด็ ขาด

6.2 ขอ้ ควรระวงั 1) อย่าใช้ตะเกียงไปต่อกับตะเกียงดวงอื่น เพราะอาจทาให้แอลกอฮอล์ในตะเกียงหกออกมา และตดิ ไฟได้ 2) การดบั ตะเกียงห้ามใชป้ ากเป่าใหด้ ับ ให้ใช้ฝาครอบปิดใหส้ นทิ 3) ควรมกี ระป๋องทรายเพอื่ ทง้ิ ไมข้ ีดไฟ ภาพท่ี 20 ตะเกยี งแอลกอฮอลแ์ ละการดับตะเกียง 6.3 การเก็บรักษา: ทาความสะอาดหลังใช้งานครอบฝาตะเกียงให้สนิททุกครั้ง เพ่ือป้องกันมิให้ แอลกอฮอล์ระเหยแลว้ เกบ็ เขา้ ตู้ 7. กล้องจุลทรรศน์ เป็นอุปกรณ์สาหรับดูวัตถุท่ีมีขนาดเล็กเกินกว่ามองเห็นด้วยตาเปล่า กล้องจุลทรรศน์ สามารถแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ 2 ประเภท คือกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง (Optical microscopes) และกลอ้ งจลุ ทรรศน์อิเล็กตรอน (Electron microscopes) กล้องจลุ ทรรศนท์ ่ใี ช้ในห้องปฏบิ ัติการวิทยาศาสตร์ ส่วนใหญ่เปน็ กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงมีเลนส์อย่างน้อย 1 ชน้ิ เพือ่ ทาการขยายภาพวัตถุทวี่ างในระยะโฟกัส ของเลนส์นน้ั ๆ 7.1 สว่ นประกอบของกล้องจลุ ทรรศน์ 1) ฐาน (Base) เปน็ สว่ นท่ีใชว้ างบนโต๊ะทาหน้าท่ีรับนา้ หนักทั้งหมดของกลอ้ งจลุ ทรรศน์ มรี ูปรา่ งส่ีเหล่ยี มหรอื วงกลม ท่ีฐานจะมีป่มุ สาหรบั ปิดเปดิ ไฟฟา้ (กรณีใชแ้ สงจากหลอดไฟ) 2) แขน (Arm) เปน็ ส่วนเช่ือมตัวลากลอ้ งกบั ฐาน ใช้เป็นที่จบั เวลาเคลือ่ นยา้ ยกล้อง จลุ ทรรศน์ 3) ลากลอ้ ง (Body tube) เปน็ ส่วนทปี่ ลายด้านบนมเี ลนสต์ า สว่ นปลายด้านลา่ งตดิ กบั เลนส์วตั ถุ ซง่ึ ตดิ กบั แผน่ หมนุ ได้ เพื่อเปล่ยี นเลนสข์ นาดตา่ งๆ ตดิ อยกู่ บั จานหมุน 4) ปมุ่ ปรับภาพหยาบ (Coarse adjustment) ทาหน้าทป่ี รับภาพโดยเปลีย่ นระยะโฟกัส ของเลนสใ์ กล้วตั ถุ (เล่ือนลากล้องหรือแท่นวางวัตถุขนึ้ ลง) เพอ่ื ทาให้เหน็ ภาพชดั เจน 5) ปมุ่ ปรับภาพละเอยี ด (Fine adjustment) ทาหน้าท่ปี รบั ภาพใหช้ ดั เจนมากข้นึ 6) เลนส์ใกลว้ ัตถุ (Objective lens) เป็นเลนสท์ ่อี ยูใ่ กล้กับแผ่นสไลด์หรือวัตถโุ ดยปกติ เลนส์ใกลว้ ัตถุจะตดิ กับแป้นวงกลมซงึ่ มีประมาณ 3-4 อันแต่ละอนั จะมีกาลังขยายบอกไวเ้ ชน่ 4x, 10x, 40x และ 100x เปน็ ตน้ ภาพทเี่ กิดจากเลนส์ใกลว้ ัตถุเป็นภาพจรงิ หัวกลับ

ภาพที่ 21 ส่วนประกอบของกลอ้ งจุลทรรศน์ 7) เลนส์ใกล้ตา (Eye piece) เป็นเลนส์ที่อยู่บนสุดของลากล้อง โดยทั่วไปมีกาลังขยาย10x หรือ 15x ทาหน้าที่ขยายภาพที่ได้จากเลนส์ใกล้วัตถุให้มีขนาดใหญ่ขึ้น ทาให้เกิดภาพท่ีตาผู้ศึกษา สามารถมองเห็นได้โดยภาพทีไ่ ดเ้ ป็นภาพเสมือนหัวกลบั 8) เลนสร์ วมแสง (Condenser) ทาหน้าที่รวมแสงใหเ้ ขม้ ขนึ้ สวา่ งขนึ้ เพอื่ สอ่ งไปยงั วตั ถุ 9) กระจกเงา (Mirror) ทาหน้าที่สะท้อนแสงจากธรรมชาติภายในห้องให้ส่องผ่านวัตถุ โดยทั่วไปกระจกเงามี 2 ด้าน ด้านหน่ึงเป็นกระจกเงาเว้า อีกด้านเป็นกระจกเงาระนาบ สาหรับกล้อง รุ่นใหม่จะใช้หลอดไฟเปน็ แหล่งกาเนิดแสงซึ่งสะดวกและชดั เจนกว่า 10) ไดอะแฟรม (Diaphragm) อยู่ใต้เลนส์รวมแสงทาหนา้ ที่ปรับปริมาณแสงให้เข้าสู่เลนส์ใน ปริมาณทต่ี อ้ งการ 11) แทน่ วางวัตถุ (Speciment Stage) เปน็ แท่นใชว้ างแผ่นสไลด์ทีต่ อ้ งการศึกษา 12) ที่หนีบสไลด์ (Stage Clip) ใช้หนีบสไลด์ให้ติดอยู่กับแท่นวางวัตถุกล้องรุ่นใหม่จะมีท่ียึด สไลด์ (Mechanical stage) แทน เพื่อควบคมุ การเลอ่ื นสไลดใ์ ห้สะดวกยงิ่ ขึ้น 13) จานหมุน (Revolving nosepiece) ใช้หมุนเม่ือต้องการเปลี่ยนกาลังขยายของเลนส์ใกล้ วตั ถุ 7.2 วิธีการใช้กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง 1) วางกลอ้ งใหฐ้ านอยบู่ นพน้ื รองรับทเี่ รยี บสม่าเสมอเพือ่ ใหล้ ากลอ้ งตัง้ ตรง 2) หมนุ เลนสใ์ กลว้ ตั ถอุ ันทีม่ ีกาลังขยายตา่ ท่สี ุดมาอยู่ตรงกบั ลากล้อง 3) ปรับกระจกเงาใต้แทน่ วางวัตถุใหแ้ สงสะท้อนเขา้ ลากล้องเตม็ ที่ 4) นาสไลด์ท่ีจะศึกษามาวางบนแท่นวางวัตถุให้วัตถุอยู่กลางบริเวณท่ีแสงผ่าน ค่อยๆ หมุน ปุ่มปรับภาพหยาบให้ลากล้องเลื่อนลงมาอยู่ใกล้วัตถุท่ีจะศึกษามากที่สุด โดยระวังอย่าให้เลนส์ใกล้ วตั ถุสมั ผัสกบั กระจกปิดสไลด์

5) มองผ่านเลนส์ใกล้ตาลงตามลากล้องพร้อมกับหมุนปุ่มปรับภาพหยาบขึ้นช้าๆ จนมองเห็น วัตถุท่ีจะศึกษาแล้วจึงเปล่ียนมาหมุนปรับปุ่มภาพละเอียด เพ่ือปรับภาพให้ชัดอาจเล่ือนสไลด์ไปมา ชา้ ๆเพ่ือใหส้ งิ่ ทตี่ ้องการศึกษาอยู่กลางแนวลากล้องขณะปรบั ภาพ 6) ถ้าต้องการขยายภาพให้ใหญ่ขึ้น ให้หมุนเลนส์ใกล้วัตถุอันที่มีกาลังขยายสูงขึ้นเข้ามาใน แนวลากล้อง และไม่ควรขยบั สไลดอ์ ีกแล้วหมนุ ป่มุ ปรบั ภาพละเอยี ดเพอื่ ใหเ้ หน็ ภาพชดั เจนขน้ึ 7.3 การระวังรักษากล้องจุลทรรศน์ เน่ืองจากกล้องจุลทรรศน์เป็นอุปกรณ์ที่มีราคาสูงและมี ส่วนประกอบที่อาจเสียหายง่ายโดยเฉพาะเลนส์จึงต้องใช้และเก็บรักษาด้วยความระมัดระวังให้ถูกวิธี ซึ่งมวี ิธีปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี 1) การยกกล้อง ควรใช้มือหนึ่งจับท่ีแขนกล้องและอีกมือหนึ่งรองรับท่ีฐานลากล้องต้ังตรง เสมอเพ่ือป้องกนั การเล่อื นหลุดของเลนสใ์ กลต้ าซ่งึ สามารถถอดออกได้ง่าย 2) สไลด์และกระจกปิดสไลด์ต้องไม่เปียก เพราะอาจทาให้แท่นวางเกิดสนิมและทาให้เลนส์ ใกล้วัตถุชนื้ และเกดิ ราท่ีเลนสไ์ ด้ 3) ขณะท่ีตามองผ่านเลนส์ใกลต้ า เมือ่ จะตอ้ งหมนุ ปุ่มปรับภาพหยาบต้องหมุนขึน้ เท่าน้ันห้าม หมนุ ลงเพราะเลนส์ใกลว้ ตั ถอุ าจกระทบกระจกสไลด์ทาให้เลนสแ์ ตกได้ 4) การหาภาพต้องเริ่มต้นด้วยเลนส์วัตถุกาลังขยายต่าสุดก่อนเสมอ เพราะปรับหาภาพ สะดวกที่สดุ เมอ่ื ใชเ้ ลนส์ใกลว้ ตั ถทุ ีม่ ีกาลังขยายสูงจะปรบั ภาพโดยหมุนปุ่มปรับภาพละเอยี ดเท่านน้ั 5) ห้ามใชม้ อื แตะเลนส์ ในการทาความสะอาดใหใ้ ช้กระดาษสาหรบั เชด็ เลนสเ์ ทา่ นน้ั 6) เมื่อใช้เสร็จแล้วเอาวัตถุที่ศึกษาออก เล่ือนที่หนีบสไลด์ให้ตั้งฉากกับแท่นวางวัตถุปิดไฟ หรือปรับกระจกให้อยู่ในแนวด่ิงต้ังฉากกับตัวกล้อง หมุนเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยายต่าให้ตรงกับตัว กลอ้ งเลอ่ื นใหอ้ ยใู่ นระดับตา่ สดุ ใชผ้ า้ น่มุ ทาความสะอาดส่วนที่เป็นโลหะเกบ็ เขา้ ตู้ให้เรียบรอ้ ย กาลงั ขยายของกลอ้ งจุลทรรศน์ = กาลังขยายของเลนสใ์ กล้วัตถุ x กาลงั ขยายของเลนส์ใกล้ตา 7.4 สูตรสาคญั เกี่ยวกับกล้องจุลทรรศน์ 8. เทอร์มอมิเตอร์ เป็นเครื่องมือสาหรับวดั ระดับความร้อนภายในบรรจขุ องเหลวท่ีมีสมบัติขยายตัว เมื่อได้รับ ความร้อนและหดตัวเมื่อคายความร้อน ของเหลวที่ใช้บรรจุในกระเปาะแก้วของเทอร์มอมิเตอร์คือ ปรอทหรือ แอลกอฮอล์ที่ผสมกับสีแดง เพราะปรอทหรือแอลกอฮอล์ไวต่อการเปล่ียนแปลงของอุณหภูมิและไม่เกาะผิว ของหลอดแก้ว เมื่อได้รับความร้อนจะขยายตัวขึ้นไปตามหลอดแก้วเล็กๆ เหนือกระเปาะแก้วและจะหดตัวลง ไปอยใู่ นกระเปาะตามเดมิ ถ้าอุณหภมู ลิ ดลง

8.1 ชนดิ ของเทอร์มอมเิ ตอร์ เทอรม์ อมิเตอรท์ ี่นยิ มใชก้ ันมากมี 2 ชนิด คอื 1) เทอร์มอมเิ ตอรแ์ บบหลอดแก้ว ภาพท่ี 22 เทอรม์ อมเิ ตอรแ์ บบหลอดแกว้ 2) เทอรม์ อมิเตอรแ์ บบดจิ ติ อล ภาพท่ี 23 เทอร์มอมเิ ตอรแ์ บบดิจิตอล 8.2 การใช้งานเทอร์มอมิเตอร์แบบหลอดแก้ว: เทอร์โมมิเตอร์ที่นามาใช้งานจะวัดอุณหภูมิได้ต่าสุด และสงู สดุ กี่องศาเซลเซียส (ดไู ดจ้ ากสเกลขา้ งหลอดแก้ว) ข้นึ อย่กู ับการออกแบบ เพื่อนาไปใช้ใหต้ รงกับลักษณะ งานดังนี้ 1) เทอร์มอมิเตอร์แบบธรรมดาหรือเทอร์มอมิเตอร์วัดอุณหภูมิของสาร โดยท่ัวไปมีการกาหนด อุณหภูมิท่ีใช้เป็นมาตรฐานในการแบง่ ชอ่ งสเกล ดังนี้ 1.1) จุดเดือด (boiling point) คือ จุดเดือดของน้าบริสุทธ์ิที่ความดัน 1 บรรยากาศ จุดเดือด น้อี าจเรียกอกี อย่างหนึง่ วา่ จดุ ควบแน่น 1.2) จุดเยือกแข็ง (freezing point) คอื จุดเยอื กแข็งของนา้ บริสุทธ์ิท่ีความดนั 1 บรรยากาศ จุดเยือกแข็งนี้อาจเรียกอีกอย่างหนงึ่ วา่ จุดหลอมเหลว เทอร์มอมเิ ตอร์นจ้ี งึ มสี เกลแบง่ ตามหนว่ ยอณุ หภูมิ ดงั น้ี (1) แบบเซลเซียส แบ่งสเกลไว้ 100 ช่อง มีจุดเยือกแขง็ 0 °C จุดเดือด 100 °C (2) แบบฟาเรนไฮต์ แบง่ สเกลไว้ 180 ชอ่ ง มีจดุ เยือกแข็ง 32 °F จดุ เดอื ด 212 °F (3) แบบโรเมอร์ แบ่งสเกลไว้ 80 ชอ่ ง มีจดุ เยอื กแขง็ 0 °R จุดเดือด 80 °R (4) เแบบเคลวิน แบ่งสเกลไว้ 100 ชอ่ ง มจี ดุ เยอื กแข็ง 273 K จุดเดือด 373 K

2) เทอรม์ อมเิ ตอรว์ ัดไขม้ ลี ักษณะที่สาคญั ดงั น้ี 2.1) ของเหลวท่บี รรจุภายในมกั จะเป็นปรอทเท่านัน้ 2.2) มชี ่วงบอกคา่ อุณหภมู ิชว่ งสั้น คอื ในชว่ งระหว่าง 35 - 42 องศาเซลเซยี ส เพราะเทอร์มอ มิเตอร์วัดไข้ใช้สาหรับวัดอุณหภูมิของร่างกาย และอุณหภูมิปกติของร่างกายมีค่าประมาณ 37 องศา เซลเซียส การท่ีช่วงบอกค่าอุณหภูมิส้ันทาให้ช่วงมาตราส่วนบอกอุณหภูมิขยายใหญ่ขึ้น สามารถอ่าน คา่ ไดช้ ัดเจนละเอียดและมคี วามผดิ พลาดน้อย 2.3) ภายในหลอดแก้วตอนบนเหนือกระเปาะเล็กน้อยจะมีลักษณะงอโค้งและมีรูตีบเล็กลง เพอ่ื ป้องกนั ไม่ใหป้ รอทไหลกลับสู่กระเปาะเรว็ เกินไป กอ่ นทจี่ ะอา่ นค่าอณุ หภมู ิได้ทัน ทาให้การอา่ นค่า ไม่ผดิ พลาดไปมากหลงั จากดงึ ออกจากตัวคนไข้ 2.4) มขี ดี สีแดงแสดงอุณหภูมิปกตขิ องร่างกาย 8.3 หลกั ปฏบิ ตั ิในการใช้เทอร์มอมเิ ตอร์ 1) เทอร์มอมเิ ตอรแ์ บบธรรมดา 1.1) ให้กระเปาะเทอร์มอมิเตอร์จุ่มหรือสัมผัสกับสิ่งท่ีต้องการจะวัดอุณหภูมิเสมอและ ระมัดระวงั ไมใ่ หก้ ระเปาะแตะด้านข้างหรือก้นภาชนะ 1.2) ใหก้ า้ นเทอรม์ อมเิ ตอรต์ ัง้ ตรงในแนวดง่ิ 1.3) อา่ นค่าอุณหภมู เิ ม่อื ระดับของเหลวข้ึนไปจนหยุดนิง่ แล้ว 1.4) ขณะอา่ นคา่ ให้สายตาอยรู่ ะดบั เดียวกับระดบั ของเหลวในเทอร์มอมิเตอร์ 1.5) อา่ นอุณหภมู ิขณะที่กระเปาะเทอร์มอมิเตอร์สัมผัสกับสงิ่ ท่ีวัดอยู่ เมื่ออ่านค่าเสร็จแล้วจึง เอาออกจากการสัมผสั ได้ 1.6) ขอ้ ควรระวังในการใชเ้ ทอรม์ อมเิ ตอร์ (1) เนื่องจากกระเปาะของเทอร์มอมิเตอรบ์ างและแตกง่ายจึงควรใช้อย่างระมัดระวัง ไม่ใหก้ ระเปาะไปกระทบกับของแข็งๆ แรงๆ (2) ไม่ควรใช้เทอร์มอมิเตอร์ใช้วัดอุณหภูมิที่แตกต่างกันมากๆ ในเวลาต่อเนื่องกัน เช่นวัดของท่ีร้อนจัด แล้วเปลี่ยนมาเป็นวัดของท่ีเย็นจัดทันที เพราะหลอดแก้วจะขยายตัว และหดตวั อย่างทนั ทที นั ใดทาใหแ้ ตกหักได้ (3) อย่าใช้เทอร์มอมเิ ตอร์วัดอุณหภมู ิท่สี งู หรอื ตา่ กว่าสเกลสูงสดุ ตา่ สุดหลอดแก้ว จะแตก (4) เมื่อใช้เสรจ็ แล้วควรล้างทาความสะอาดเช็ดใหแ้ หง้ แลว้ เก็บในกลอ่ งหรือรกั ษา ไว้ในที่ปลอดภัย 2) เทอรม์ อมเิ ตอร์วดั ไข้ 1.1) วัดทางรักแร้: เช็ดรักแร้ให้แห้งสอดปลายกระเปาะบริเวณรักแร้หนีบให้แน่นนาน 3-4 นาทแี ลว้ จึงอา่ นอุณหภมู ิ

1.2) วัดทางปาก: สอดปลายกระเปาะไว้บริเวณใต้ลิ้นอมไว้ใต้ลิ้นนาน 2 นาทีแล้วจึงอ่าน อุณหภูมิ 1.3) วดั ทางทวาร: ผปู้ ่วยนอนควา่ นาปลายกระเปาะจมุ่ วาสลิน เพือ่ หลอ่ ลน่ื คอ่ ยๆ สอดปลาย กระเปาะที่ทวารไมค่ วรสอดลกึ เกิน 1 นว้ิ นาน 2-3 นาที จงึ นาออกมาอา่ นอณุ หภูมิ 1.4) ขอ้ ควรปฏบิ ตั ิ (1) กอ่ นใช้ควรจะล้างทาความสะอาดดว้ ยน้าหรอื เชด็ ฆา่ เช้อื ด้วยแอลกอฮอล์ (2) ก่อนใช้สลดั ให้ปรอทไหลกลับลงไปในกระเปาะให้หมด (3) หลังใช้ล้างทาความสะอาดโดยใช้แอลกอฮอล์ฆ่าเช่ือโรคแล้วเก็บไว้ในกล่องหรือ ในท่ปี ลอดภยั 9. เครื่องช่ัง เป็นเคร่ืองมือที่ใช้วัดปริมาณน้าหนักของวัตถุ โดยแบ่งตามโครงสร้างหลักการทางานได้ 2 ระบบ ได้แก่ 1) เครื่องชั่งแบบกลท่ีต้องอาศัยคานและจุดหมุน เช่น เครื่องช่ังจานเดี่ยวแบบสามคานชั่ง เคร่ืองชั่งสอง แขน เครอ่ื งช่งั สปรงิ 2) เคร่อื งช่งั แบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์หรอื เครือ่ งชั่งดจิ ิตอล อาศัยการเปล่ยี นแปลงสนามแม่เหล็ก ไฟฟ้า 9.1 เครอ่ื งชัง่ ที่ใช้ในการทดลองในระดับมัธยมศกึ ษา แบง่ ออกเปน็ ดงั นี้ ภาพที่ 24 เครื่องชง่ั ชนิดจานเดียว (Ohaus Cent-O-Gram) 1) เคร่อื งชัง่ ชนดิ จานเดยี ว เครอ่ื งชั่งนมี้ จี านวางสารเพียงด้านเดียว อาจเปน็ แบบท่ีจานวางอยู่ ในสาแหรกซง่ึ ห้อยจากคาน ได้แก่ เครื่องช่ังจานเดียวแบบแขวน (Ohaus Cent-O-Gram) ซึ่งสามารถ ชั่งได้ละเอียดถึง 0.01 กรัมหรือเป็นแบบท่ีมีจานวางอยู่บนคานด้านซ้ายมือ ได้แก่ เคร่ืองชั่งจานเดียว (Ohaus triple beam) ภาพที่ 25 เคร่ืองชง่ั ชนิดจานเดยี ว (Ohaus triple beam)

2) เครื่องชั่งชนิดสองจานเป็นเคร่ืองชั่งที่มีจานอยู่ทั้ง 2 ด้านของเคร่ืองชั่ง โดยวางอยู่ด้านบน ของคานจานด้านซ้าย ใช้สาหรับวางวตั ถุที่จะช่ังส่วนด้านขวาสาหรับวางตุ้มน้าหนกั ส่ิงทีจ่ ะวางบนจาน ท้ังสองขา้ ง ควรวางตรงบริเวณกึ่งกลางของจานเสมอเครื่องชัง่ แบบนวี้ ดั ได้ละเอยี ดถงึ 0.1 กรมั ก. Ohaus Cent-O-Gram ข. Ohaus Triple Beam ภาพที่ 26 เคร่อื งช่งั ชนิดสองจาน 9.2 วิธกี ารใชเ้ คร่ืองชั่ง 1) เครอ่ื งช่งั ชนดิ จานเดยี ว (1) วางเครือ่ งชั่งบนพนื้ ราบและเรียบ (2) ปรบั เคร่อื งชัง่ ใหช้ เี้ ลขศนู ยก์ รณีคานยงั ไม่ดุลทง้ั ๆ ท่ตี ุ้มน้าหนักอยู่ท่ี 0 กรัมแลว้ ตอ้ งหมนุ ปุ่มปรับทางดา้ นซา้ ยสุดของคานใต้จาน (3) วัตถุทจี่ ะชงั่ ต้องไม่ร้อนและเปียกชืน้ (4) ถ้าเปน็ สารเคมีควรใสภ่ าชนะโดยช่ังภาชนะให้ทราบน้าหนักแน่นอนแล้ว จึงวางตรงก่ึงกลางของจานชัง่ (5) ตอ้ งการตักสารเพม่ิ เทา่ ไร ให้เล่ือนตุม้ น้าหนักบนคานตามที่ตอ้ งการ สงั เกตเข็มชี้ ที่เลขศูนย์หรอื ไม่ ถ้าเข็มชเี้ หนอื ขดี ศูนย์แสดงว่าสารทช่ี ่งั มนี ้าหนกั มากไป แตถ่ ้าเข็มช้ตี ่ากว่าศนู ย์ แสดงวา่ สารทีช่ ัง่ มนี า้ หนักน้อยไป (6) หากตอ้ งการชงั่ วัตถหุ รือสง่ิ ของให้วางตรงกงึ่ กลางของจานเลื่อนตมุ้ น้าหนัก คานหนว่ ยหลกั ร้อยก่อนค่อยๆ เลือ่ นไปทีละชอ่ งจนเข็มต่ากว่าศูนยใ์ ห้ถอยกลบั 1 ชอ่ งแล้วจงึ เลอื่ น ตมุ้ หนว่ ยหลักสบิ ทาเช่นเดิม แลว้ จึงเล่อื นต้มุ หลักหน่วยจนเขม็ ช้ที ่ขี ดี ศนู ย์อ่านค่านา้ หนัก (7) เมือ่ ช่ังเสรจ็ แล้วต้องเล่อื นตุ้มนา้ หนักไปไว้ท่ีขดี ศนู ย์กรมั เชด็ ทาความสะอาด แลว้ เก็บเข้าที่ให้เรียบรอ้ ย (8) ถา้ เปน็ เครื่องชงั่ ทม่ี ีจานเปน็ ชนิดแขวน ใหย้ กสาแหรกออกจากที่แขวนวางไว้ บนแป้นรองจานที่อยู่ดา้ นล่าง เพอื่ ไมใ่ หส้ าแหรกแกว่งไปมา 2) เคร่อื งชั่งชนดิ สองจาน (1) จานซ้ายใชว้ างวตั ถุทีจ่ ะชัง่ จานขวาใช้วางตมุ้ น้าหนักควรวางตรงก่งึ กลางจาน (2) วธิ กี ารใชค้ ลา้ ยคลงึ กับชนิดจานเดยี ว แต่ตา่ งกนั ตรงมจี านสาหรบั วางต้มุ นา้ หนกั และเขม็ ช้ีขดี ศูนย์ เพอ่ื แสดงว่าคานสมดุลและปมุ่ หมนุ สาหรบั ปรับสมดุลจะอยู่ตรงกลาง ของเครื่องช่งั ตมุ้ นา้ หนกั จะเป็นชุดมหี ลายขนาดรวมอยู่ในกล่องเดียวกนั ต้องใช้คีมหยบิ ตุ้มนา้ หนัก เหล่านท้ี กุ ครั้งอยา่ ใชม้ อื หยิบ เพราะจะทาให้เกิดสนิมหรอื มวลผดิ ไปได้

(3) มวลของวตั ถุท่ีชั่งอ่านไดจ้ ากผลรวมของตมุ้ น้าหนกั บนจานทางขวามือกับ น้าหนักที่ใช้ปรับบนคาน เมื่อใช้เสร็จให้กดปุ่มหมุนลงยกตุ้มน้าหนักออกเก็บใส่กล่องและนาวัตถุท่ีชั่ง ออก เลื่อนต้มุ นา้ หนกั ทส่ี าหรบั ใช้เพ่ิมบนคานไปไวท้ ีต่ าแหนง่ 0 กรัม ทาความสะอาดเคร่ืองชั่ง (4) ถ้าเป็นเคร่ืองชั่งท่ีมีจานเป็นชนิดแขวนให้ยกสาแหรกออกจากท่ีแขวนวางไว้บน แปน้ รองจานทอี่ ยดู่ ้านล่างท้งั สองข้าง 10. อุปกรณ์อื่นๆ ท่ีเป็นเครื่องมือประกอบการใช้อุปกรณ์พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ เพ่ือให้เกิดความปลอดภัย หรืออานวยความสะดวกในการทดลองได้แก่อุปกรณ์ ดังน้ี ขาต้ังและข้อต่อ เป็นอุปกรณ์เพ่ือยึดจับกับอุปกรณ์อ่ืนๆ ในการทดลอง เพ่ือ ความสะดวกขณะทาการทดลอง เช่น การกรอง การกลั่น การวัดอุณหภูมิของน้าเดือด การใหค้ วามรอ้ นแก่สาร เป็นตน้ ถ้วยยเู รกา เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการหาปริมาตรของวัตถุท่ีไม่เป็น รูปทรงเรขาคณิต ทาได้โดยการนาวัตถุชนิดน้ันไปแทนที่น้าใน ถ้วยยูเรก้า แล้วตวงหาปริมาตรของน้าที่ล้นออกมา ซ่ึงจะมีค่า เทา่ กบั ปรมิ าตรของวัตถนุ น้ั ตามหลักของอารค์ ิมดิ ิส ทีจ่ บั หลอดทดลอง - ทาจากวัตถุหลายชนิด เช่น ไม้หรือลวดเหล็ก ใช้สาหรับจับ หลอดทดลอง เนื่องจากเม่ือใช้หลอดทดลองท่ีบรรจุของเหลว ต้มไอระเหยท่ีเกิดจากการต้มของเหลว ภายในหลอดจะทาให้ มอื ทจี่ บั ร้อน แต่อย่าใช้จับบีกเกอร์หรือขวดปรมิ าตร เพราะจะ ทาใหล้ ่นื ตกแตกได้ - การใช้ที่จับหลอดทดลองต้องหนีบที่ระยะประมาณ 1 ใน 3 จากปากหลอดทดลอง กรณีทใ่ี ช้ยดึ กับขาตั้งเพื่อหนีบเทอร์มอ มิเตอร์จะต้องใช้เศษผ้าหรือกระดาษชาระหุ้มเทอร์มอมิเตอร์ ให้แนน่ เสียกอ่ น

ทีก่ น้ั ลมและตะแกรงลวด - ที่ก้ันลมทาด้วยโลหะ เพ่ือกั้นลมในการต้มสารโดยใช้ตะเกียง แอลกอฮอลม์ รี ูสาหรับสอดแท่งเหล็กเพ่ือวางตะแกรงลวด - ตะแกรงลวดมีท้ังที่ทาจากลวดเหล็กและท่ีทาด้วยลวดนิโครมหรือ โครเมียม ซง่ึ ไม่เกิดสนมิ และใช้ได้ระยะเวลานานกวา่ ตะแกรงลวดเป็น รูปสเี่ หลีย่ มใชส้ าหรับตง้ั บกี เกอรท์ ีน่ ามาตม้ ดว้ ยเปลวไฟ แปรงลา้ งหลอดทดลอง แปรงใช้สาหรับทาความสะอาดอุปกรณ์ชนิดต่างๆ แปรงล้าง เคร่ืองแก้วมีหลายขนาดและมีหลายชนิด ควรจะเลือกใช้ให้เหมาะสม กับลักษณะของเครื่องแก้วน้ันๆ การใช้แปรงล้างเครื่องแก้วต้อง ระมัดระวังให้มาก อย่าถูแรงเกินไป เนื่องจากก้านแปรงเป็นโลหะ เมื่อ ไปกระทบกับแกว้ อาจทาใหแ้ ตกและเกิดอนั ตรายได้ ท่ตี ั้งหลอดทดลอง ใช้สาหรับตงั้ หลอดทดลองมีท้งั ทาด้วยโลหะไม้และพลาสติก สามารถใช้ ตั้งหลอดทดลองไดห้ ลายขนาด ภาพท่ี 27 อปุ กรณ์วทิ ยาศาสตร์อื่นๆ

แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ ท่ี ชือ่ - สกลุ มีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มั่นในการ รวม ทางาน 432143214321 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27

เกณฑก์ ารให้คะแนน ประเดน็ การ (4) ระดับการปฏิบตั ิ (1) ประเมนิ ดีมาก (3) (2) ปรับปรุง ดี พอใช้ 1. มีวนิ ัย สง่ งานครบทุกชิน้ สง่ งานครบทุกช้นิ ส่งงานช้าเปน็ บางครง้ั สง่ งานช้าเป็นประจา ก่อนเวลาท่ีกาหนด ตามเวลาทีก่ าหนด หรือไม่ส่งงานเลย ทุกครงั้ 2. ใฝ่เรยี นรู้ ต้งั ใจเรยี น มคี วาม ตั้งใจเรยี น มีความ ต้ังใจเรียน แต่ขาด ไมค่ ่อยต้งั ใจเรยี น พยายามในการ พยายามในการเรียนรู้ ความพยายาม ขาดความพยายาม คน้ ควา้ หาความรู้จาก ในห้องเรยี น ซักถาม ซกั ถามคาตอบ ไม่มีการซกั ถามเพื่อ แหลง่ เรียนรู้ต่างๆ บอ่ ยครัง้ บางครงั้ หาคาตอบ ซักถามเพ่ือคาตอบ ทุกครั้ง 3. มงุ่ มน่ั ในการ มคี วามกระตือรอื รน้ มีความกระตือรือร้น มีความกระตือรือร้น ขาดความ ทางาน ทางานสาเรจ็ ถูกต้อง ทางานสาเร็จถูกต้อง ทางานสาเร็จ แต่ กระตือรอื รน้ ต่อการ ตามเวลาทีก่ าหนด แต่ชา้ เกนิ เวลาที่ เนือ้ หาไมถ่ กู ต้อง ทางาน งานไมเ่ สรจ็ กาหนด บางส่วน หรือไม่ ตามเวลาท่ีกาหนด ถูกต้อง และเนือ้ หาไม่ถกู ต้อง เกณฑ์การประเมินต้องได้ระดับคะแนน 2 ข้ึนไปจึงจะผ่านเกณฑ์ (6คะแนน) 11-12 คะแนน อยูใ่ นระดับดีมาก 9-10 คะแนน อยู่ในระดบั ดี 6-8 คะแนน อยูใ่ นระดบั พอใช้ ตา่ กวา่ 6 คะแนน อย่ใู นระดบั ควรปรบั ปรุง สรุปการประเมนิ ลงชื่อ…………………………………………ผู้ประเมิน ผ่าน……………………. (นางสาวศริ วิ รรณ มุนนิ คา) ไม่ผ่าน……………….. ………./………./……….

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 - 3 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 หนว่ ยที่ 1 เร่ือง การใชว้ ัสดุอปุ กรณ์และเทคนิคพ้นื ฐานทางวทิ ยาศาสตร์ เวลา 2 ช่วั โมง แผนการจัดการเรียนรู้ เร่อื ง การใช้วสั ดุอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ ผู้สอน นางสาว ศิรวิ รรณ มุนนิ คา 1. ผลการเรยี นรู้ 1. ระบุชอ่ื อุปกรณ์วทิ ยาศาสตร์และสามารถใชไ้ ด้อยา่ งถูกต้อง 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. นักเรยี นมีความรู้ความเข้าใจเกยี่ วกับการใช้วัสดอุ ปุ กรณ์ทางวทิ ยาศาสตร์ (K) 2. นักเรยี นสามารถปฏิบัตกิ ิจกรรมการใช้วัสดุอปุ กรณ์ทางวทิ ยาศาสตร์ (P) 3. นักเรียนเป็นผูท้ ีม่ ีวนิ ัย ใฝ่เรียนรู้ และม่งุ มน่ั ในการทางาน (A) 3. สาระการเรียนรู้ 1. การใช้วสั ดอุ ุปกรณท์ างวิทยาศาสตร์ 4. ทักษะการเรยี นรู้ 1. ทักษะวทิ ยาศาสตร์ - การสังเกต - การทดลอง - การอภปิ รายและลงข้อสรปุ 5. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ - มีวินัย - ใฝเ่ รยี นรู้ - มงุ่ มนั่ ในการทางาน 6. สมรรถนะสาคัญของผ้เู รียน/สมรรถนะของศตวรรษที่ 21 - ความสามารถในการส่อื สาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการแก้ปัญหา

7. สาระสาคัญ วัสดุอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง วัตถุเคร่ืองมือเครื่องใช้ท่ีนามาใช้ในการศึกษาค้นคว้า มีอยู่ใน ห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ วัสดุอุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์สามารถแบ่งออกเป็นวัสดุทาง วทิ ยาศาสตร์ เครื่องแกว้ อุปกรณพ์ ื้นฐานอน่ื ๆ (เครอื่ งมอื ช่างและเครื่องมือท่ัวไป) 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขัน้ ท่ี 1 ขนั้ สรา้ งความสนใจ (Engagement) ครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ท่ีนักเรียนได้เรียนในคาบที่แล้ว โดยใช้ คาถาม ดังน้ี 1. วัสดอุ ปุ กรณท์ างวิทยาศาสตร์ หมายถงึ อะไร (แนวการตอบ: เครื่องมอื เครอื่ งใชท้ ่ีนามาใชใ้ นการศึกษาค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์) 2. วสั ดุอปุ กรณ์ในห้องปฏิบตั กิ ารวทิ ยาศาสตร์แบง่ ออกเปน็ กป่ี ระเภท อะไรบา้ ง (แนวการตอบ: 3 ประเภท ได้แก่ วัสดุทางวิทยาศาสตร์ อุปกรณ์วิทยาศาสตร์พื้นฐาน และอุปกรณ์ วิทยาศาสตร์อนื่ ๆ) ข้ันที่ 2 ข้ันสารวจและค้นหา (Exploration) 1. ครูแจ้งให้นักเรียนฟังว่า ในคาบน้ีจะให้นักเรียนทากิจกรรมการใช้วัสดุอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ จากนั้นครูอธบิ ายวธิ ีการปฏบิ ัติกิจกรรมและวธิ ีการหาคา่ เฉล่ยี ให้นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ฟงั 2. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม (กลุ่มเดิมจากแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1) ร่วมกันปฏิบัติกิจกรรมการใช้วัสดุ อุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ หลังจากปฏิบัติกิจกรรมเสร็จ ตัวแทนกลุ่มออกมานาเสนอผลการปฏิบัติ กจิ กรรมหนา้ ชัน้ เรยี น ข้นั ที่ 3 ข้ันอธบิ ายและลงข้อสรุป (Explanation) ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันอภิปรายเพอ่ื ลงข้อสรปุ ร่วมกัน โดยใช้คาถาม ดังน้ี 1. วสั ดุอปุ กรณท์ างวิทยาศาสตร์ท่ีนกั เรียนใช้มีอะไรบ้าง (แนวการตอบ: บกี เกอร์ กระบอกตวง ปิเปตต์ ขวดรูปชมพู่ หลอดฉดี ยา หลอดหยด) 2. นักเรยี นมวี ิธกี ารในการเลือกใช้วัสดอุ ุปกรณท์ างวิทยาศาสตรอ์ ยา่ งไร (แนวการตอบ: ตามความคิดของนักเรยี น) 3. สมาชกิ แต่ละคนวัดปริมาตรของเหลวเท่ากนั หรือไม่ เพราะเหตใุ ด (แนวการตอบ: ไม่เทา่ กนั เพราะขนึ้ อยูก่ บั อุปกรณ์ทางวทิ ยาศาสตรท์ ีใ่ ชใ้ นการวดั )

ข้นั ท่ี 4 ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) ครูให้ความรเู้ พม่ิ เตมิ เกีย่ วกบั ความสาคญั ของวัสดุอปุ กรณ์ทางวิทยาศาสตร์ ดังน้ี วิทยาศาสตร์มีบทบาทสาคัญยิ่งในสังคมโลกปัจจบุ ันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตรเ์ ก่ียวข้องกับชีวิต ของทุกคนท้ังในการดารงชีวิตประจาวันและในงานอาชีพต่างๆ เคร่ืองมือเครื่องใช้ ตลอดจนผลผลิตต่างๆ เพ่ือ ใช้อานวยความสะดวกในชีวิตและการทางาน ล้วนเป็นผลของความรู้วิทยาศาสตร์ผสมผสานกับความคิด สร้างสรรค์และศาสตร์อื่นๆ ความรู้วิทยาศาสตร์ช่วยให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยีอย่างมาก วัสดุอุปกรณ์ทาง วทิ ยาศาสตรก์ ส็ าคัญมากทจี่ ะทาใหก้ ารศึกษาคน้ คว้าความรู้ทางวิทยาศาสตร์เพมิ่ ขน้ึ อยา่ งไม่หยดุ ย้ัง ขน้ั ที่ 5 ข้นั ประเมินผล (Evaluation) 1. นกั เรยี นแตล่ ะคนพิจารณาว่า มจี ดุ ใดบา้ งทย่ี ังไมเ่ ข้าใจหรือยังมีข้อสงสยั ถา้ มีครชู ่วยอธบิ ายเพิ่มเติมให้ นักเรยี นเข้าใจ 9. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้ 9.1 ส่อื - สื่อการสอน Power Point เร่อื ง การใช้วัสดุอุปกรณท์ างวิทยาศาสตร์ - ใบงาน เรอื่ ง การใช้วสั ดอุ ปุ กรณท์ างวิทยาศาสตร์ - แบบประเมนิ พฤติกรรมการทางานกลุ่ม - แบบประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 9.2 แหล่งการเรยี นรู้ - หอ้ งเรยี นวิทยาศาสตร์ - หอ้ งสมดุ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 10. การวัดและการประเมินผล 10.1 การวัดผล จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ วธิ ีการวัด เครือ่ งมือ 1. ด้านความรู้ (K) - นกั เรยี นทาใบงาน เร่ือง - ใบงาน เร่ือง การใช้วสั ดุ - นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ การใช้วสั ดุอปุ กรณท์ าง อปุ กรณ์ทางวทิ ยาศาสตร์ การใช้วัสดอุ ปุ กรณท์ างวทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ 2. ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) - ครูสังเกตพฤตกิ รรมใน - แบบประเมนิ พฤติกรรม - นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมการ การทางานกลุ่มของ ในการทางานกลุ่ม เลือกใช้วสั ดอุ ปุ กรณท์ างวทิ ยาศาสตร์ นกั เรยี น 3. ด้านคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) - ครูประเมินคุณลักษณะ - แบบประเมิน - นักเรียนเป็นผู้ท่ีมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และ อนั พึงประสงค์ คุณลกั ษณะอนั พึง มงุ่ มั่นในการทางาน ประสงค์

10.2 เกณฑ์การประเมนิ ผล ระดับคุณภาพ 10.2.1 ดา้ นความรู้ (K) (4) (3) (2) (1) ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรงุ - นักเรียนมคี วามรู้ความ นักเรียนได้ นกั เรียนได้ นกั เรียนได้ นกั เรียนได้ เขา้ ใจเก่ียวกับการใช้วสั ดอุ ุปกรณ์ คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ ทางวทิ ยาศาสตร์ ทาใบงาน 9-10 ทาใบงาน 7-8 ทาใบงาน 5-6 ทาใบงานต่า คะแนน คะแนน คะแนน กว่า 5 คะแนน 10.2.2 ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) ระดบั คณุ ภาพ (1) (4) (3) (2) ปรับปรุง - นกั เรียนสามารถปฏิบตั ิกจิ กรรม ดมี าก ดี พอใช้ นักเรยี นได้ การเลือกใช้วัสดุอุปกรณท์ าง นักเรยี นได้ นักเรยี นได้ นกั เรยี นได้ คะแนนจาก วิทยาศาสตร์ คะแนนจาก คะแนนจาก คะแนนจาก การประเมนิ การประเมนิ การประเมิน การประเมนิ พฤติกรรมการ พฤติกรรมการ พฤติกรรมการ พฤติกรรม ทางานกล่มุ ตา่ ทางานกลุม่ ทางานกลุ่ม การทางาน กวา่ 10 18-20 14-17 กลุม่ 10-13 คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน 10.2.3 คุณลกั ษณะ (A) ระดบั คณุ ภาพ - นักเรียนเปน็ ผูท้ ่มี วี ินัย ใฝ่ (4) (3) (2) (1) เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทางาน ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง นกั เรียนได้ นักเรียนได้ นักเรยี นได้ นกั เรยี นได้ คะแนนจากการ คะแนนจาก คะแนนจาก คะแนนจากการ ประเมนิ การประเมิน การประเมิน ประเมนิ คุณลกั ษณะ คณุ ลักษณะ คณุ ลกั ษณะ คุณลกั ษณะอัน อันพงึ ประสงค์ อนั พึงประสงค์ อันพงึ ประสงค์ พงึ ประสงค์ตา่ 11-12 คะแนน 9-10 คะแนน 6-8 คะแนน กวา่ 6 คะแนน

ใบงาน เรื่อง การใช้วัสดุอปุ กรณ์ทางวิทยาศาสตร์ สมาชกิ 1……………………………………………………………………………………….เลขท่ี………... 2……………………………………………………………………………………….เลขที่………... 3……………………………………………………………………………………….เลขที่………... 4……………………………………………………………………………………….เลขที่………... 5……………………………………………………………………………………….เลขท่ี………... เกมการตวง คาช้แี จง: 1. รับอุปกรณ์การเล่นทคี่ รูเตรยี มไวใ้ ห้และฟังครูอธิบายวธิ กี ารเล่น 2. นกั เรยี นแต่ละคนถือแก้วของเหลวคนละ 1 ใบเพื่อทาการตวงของเหลวในแก้วตามจุด ดงั ภาพ 3. เมือ่ ไดย้ นิ เสียงนกหวดี ใหค้ นท่ี 1 ว่ิงไปจุดที่ 2 แลว้ ให้นกั เรียนเลือกเครอ่ื งมือทม่ี ีอยู่และตวง ของเหลวในแกว้ 4. เม่ือนักเรียนคนแรกเลอื กเครอ่ื งมอื และทาการตวงเสร็จให้วิ่งไปจุดที่ 3 คนตอ่ ไปจงึ ว่ิงมาจุดท่ี 2 ทาเชน่ นี้ไปเรื่อยๆ จนครบทั้ง 5 5. ท่ีจุดที่ 3 แตล่ ะกลุม่ รับแบบบนั ทึก เกมการตวง แลว้ บันทกึ ผลการตวงของแตล่ ะคน แล้วจึง ชว่ ยกันหาคา่ เฉลีย่ ของเหลวในแก้วแต่ละใบลงในแบบบันทึกท่ีแจกให้ หมายเหตุ: โปรดระมดั ระวงั ในการใช้วสั ดอุ ปุ กรณ์เพื่อไม่ให้เกิดอบุ ัติเหตุขณะปฏบิ ตั กิ จิ กรรม ************************

แบบบันทกึ : เกมการตวง 1. อุปกรณว์ ทิ ยาศาสตร์ท่ีใช้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ปรมิ าตรของเหลวในแก้ว สมาชกิ คนท่ี ปริมาตรท่ีวดั ได้ (cm3) วิธีการหาค่าเฉลีย่ 1 2 3 4 5 เฉลย่ี

แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ คาชี้แจง: ให้ครูผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียนแล้วขีด ลงในช่อง ท่ตี รงกบั ระดบั คะแนน พฤตกิ รรม/ระดบั คะแนน ชื่อ - สกลุ ความสนใจในการทา รวม ที่ กิจกรรม คะ แนน การ ีม ่สวนร่วมในการ แสดงความ ิคดเห็น การตอบคาถาม การยอมรับฟังความ คิดเห็น ูผ้ ื่อน การทางานตามที่ได้รับ มอบหมาย 43214321432143214321 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22

เกณฑ์การใหค้ ะแนน ประเด็นการ (4) ระดบั การปฏบิ ัติ (1) ประเมนิ ดีมาก (3) (2) ปรับปรุง ดี พอใช้ ไม่ให้ความสนใจ 1. ความสนใจใน มคี วามสนใจดีมาก มีความสนใจดี และให้ มีความสนใจพอใช้ และความรว่ มมือใน ความรว่ มมือในการ และใหค้ วามรว่ มมอื การทากจิ กรรม การทา และให้ความรว่ มมือใน ทากิจกรรมบอ่ ยครง้ั ในการทากิจกรรม หรือให้แตเ่ ล็กน้อย ไมแ่ สดงความ กจิ กรรม การทากิจกรรม บางครั้ง คิดเห็นเลย มกี ารแสดงความ มกี ารแสดงความ 2. การมีสว่ น มกี ารแสดงความ คิดเหน็ บอ่ ยครัง้ คิดเห็นบางคร้งั ไม่มีการตอบคาถาม ร่วมในการ คดิ เหน็ ทุกครง้ั และถามในสิง่ ที่ แสดงความ มกี ารตอบคาถาม มกี ารตอบคาถาม สงสัยเลย คิดเหน็ มกี ารตอบคาถาม และ ไม่ยอมรับฟังความ ถามในสิง่ ทีส่ งสัยทกุ และถามในสิง่ ทส่ี งสัย และถามในสิง่ ท่ี คดิ เหน็ ผอู้ น่ื เลย 3. การตอบ ครง้ั คาถาม มกี ารยอมรบั ฟังความ บ่อยครงั้ สงสัยบางคร้งั ไม่ทางานตามท่ี คดิ เห็นผู้อื่นทุกครัง้ ไดร้ บั มอบหมาย 4. การยอมรับ มกี ารยอมรบั ฟังความ มีการยอมรบั ฟัง และไมส่ ง่ งานเลย ฟังความ ทางานตามท่ีไดร้ บั คดิ เห็นผู้อนื่ มอบหมาย และส่งงาน คิดเห็นผู้อนื่ บ่อยครัง้ ความคดิ เห็นผ้อู ่ืน ก่อนเวลาท่ีกาหนดทุก 5. การทางาน ครงั้ บางครั้ง ตามที่ไดร้ บั มอบหมาย ทางานตามทีไ่ ดร้ บั ทางานตามท่ไี ดร้ ับ มอบหมาย และสง่ มอบหมาย และส่ง งานตามเวลาที่ งานเลยเวลาท่ี กาหนด กาหนดบางคร้ัง เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพตอ้ งได้ระดบั คะแนน 2 ขนึ้ ไป จึงจะผ่านเกณฑ์ (10 คะแนน) 18-20 คะแนน อยู่ในระดับดีมาก 14-17 คะแนน อยใู่ นระดบั ดี 10-13 คะแนน อยใู่ นระดับพอใช้ ต่ากวา่ 10 คะแนน อยู่ในระดับควรปรับปรุง สรปุ การประเมิน ลงชือ่ …………………………………………ผปู้ ระเมิน ผ่าน……………………. (นางสาวศริ วิ รรณ มุนินคา) ไมผ่ ่าน……………….. ………./………./……….

แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ ท่ี ชือ่ - สกลุ มีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มั่นในการ รวม ทางาน 432143214321 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27

เกณฑก์ ารให้คะแนน ประเดน็ การ (4) ระดับการปฏิบตั ิ (1) ประเมนิ ดีมาก (3) (2) ปรับปรุง ดี พอใช้ 1. มีวนิ ัย สง่ งานครบทุกชิน้ สง่ งานครบทุกช้นิ ส่งงานช้าเปน็ บางครง้ั สง่ งานช้าเป็นประจา ก่อนเวลาท่ีกาหนด ตามเวลาทีก่ าหนด หรือไม่ส่งงานเลย ทุกครงั้ 2. ใฝ่เรยี นรู้ ต้งั ใจเรยี น มคี วาม ตั้งใจเรยี น มีความ ต้ังใจเรียน แต่ขาด ไมค่ ่อยต้งั ใจเรยี น พยายามในการ พยายามในการเรียนรู้ ความพยายาม ขาดความพยายาม คน้ ควา้ หาความรู้จาก ในห้องเรยี น ซักถาม ซกั ถามคาตอบ ไม่มีการซกั ถามเพื่อ แหลง่ เรียนรู้ต่างๆ บอ่ ยครัง้ บางครงั้ หาคาตอบ ซักถามเพ่ือคาตอบ ทุกครั้ง 3. มงุ่ มน่ั ในการ มคี วามกระตือรอื รน้ มีความกระตือรือร้น มีความกระตือรือร้น ขาดความ ทางาน ทางานสาเรจ็ ถูกต้อง ทางานสาเร็จถูกต้อง ทางานสาเร็จ แต่ กระตือรอื รน้ ต่อการ ตามเวลาทีก่ าหนด แต่ชา้ เกนิ เวลาที่ เนือ้ หาไมถ่ กู ต้อง ทางาน งานไมเ่ สรจ็ กาหนด บางส่วน หรือไม่ ตามเวลาท่ีกาหนด ถูกต้อง และเนือ้ หาไม่ถกู ต้อง เกณฑ์การประเมินต้องได้ระดับคะแนน 2 ข้ึนไปจึงจะผ่านเกณฑ์ (6คะแนน) 11-12 คะแนน อยูใ่ นระดับดีมาก 9-10 คะแนน อยู่ในระดบั ดี 6-8 คะแนน อยูใ่ นระดบั พอใช้ ตา่ กวา่ 6 คะแนน อย่ใู นระดบั ควรปรบั ปรุง สรุปการประเมนิ ลงชื่อ…………………………………………ผู้ประเมิน ผ่าน……………………. (นางสาวศริ วิ รรณ มุนนิ คา) ไม่ผ่าน……………….. ………./………./……….

แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 3 กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 - 3 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563 หน่วยที่ 1 เรอ่ื ง การใชว้ ัสดุอปุ กรณ์และเทคนิคพืน้ ฐานทางวิทยาศาสตร์ เวลา 2 ช่ัวโมง แผนการจดั การเรียนรู้ เรอื่ ง เทคนิคพน้ื ฐานทางวิทยาศาสตร์ ผู้สอน นางสาว ศิริวรรณ มนุ นิ คา 1. ผลการเรยี นรู้ 1. ระบุช่ืออุปกรณ์วิทยาศาสตร์และสามารถใชไ้ ด้อย่างถูกต้อง 2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. นักเรียนมคี วามรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับเทคนคิ พ้ืนฐานทางวิทยาศาสตรไ์ ด้ (K) 2. นักเรียนสามารถปฏิบัติกจิ กรรมเทคนิคพ้นื ฐานทางวทิ ยาศาสตรไ์ ด้อย่างถกู ต้อง (P) 3. นักเรยี นเปน็ ผทู้ ม่ี ีวินยั ใฝเ่ รยี นรู้ และมุ่งมั่นในการทางาน (A) 3. สาระการเรียนรู้ 1. เทคนิคพน้ื ฐานทางวทิ ยาศาสตร์ 4. ทักษะการเรยี นรู้ 1. ทกั ษะวิทยาศาสตร์ - การสงั เกต - การทดลอง - การอภิปรายและลงข้อสรปุ 5. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ - มีวินยั - ใฝเ่ รยี นรู้ - มุ่งมั่นในการทางาน 6. สมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น/สมรรถนะของศตวรรษที่ 21 - ความสามารถในการส่ือสาร - ความสามารถในการคดิ - ความสามารถในการแก้ปญั หา

7. สาระสาคญั การเรียนภาคปฏิบัติในห้องปฏบิ ัติการทดลองเพื่อให้การทดลองได้ผลดีหรือมีความผิดพลาดน้อยท่ีสดุ และเกิดความปลอดภัยต่อผู้ทดลองเองจึงมีข้อเสนอแนะ ข้อควรปฏิบัติทั่วๆ ไปหรือที่เรียกว่า เทคนิคพื้นฐาน ทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ การดมสาร การเขย่าสาร การเตรียมสไลด์สด การใช้แว่นขยาย การให้ความร้อนแก่ สาร การลา้ งเคร่อื งแก้ว และข้อปฏิบัติการใชห้ อ้ งปฏิบตั กิ าร 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ ขน้ั ท่ี 1 ขนั้ สร้างความสนใจ (Engagement) ครนู าเขา้ สู่บทเรียน โดยใช้คาถามถามนักเรยี น ดังน้ี 1. นักเรียนรู้หรือไม่วา่ เทคนคิ พ้ืนฐานทางวทิ ยาศาสตร์ คอื อะไร (แนวการตอบ: ขอ้ ควรปฏบิ ัตทิ ่ัวๆ ไปในหอ้ งปฏบิ ัติการทดลอง) 2. แล้วเทคนิคพนื้ ฐานทางวทิ ยาศาสตร์มอี ะไรบา้ ง (แนวการตอบ: การดมสาร การเขย่าสาร การเตรียมสไลด์สด การใช้แว่นขยาย การให้ความร้อนแก่ สาร การลา้ งเครอ่ื งแก้ว และขอ้ ปฏบิ ตั ิการใช้หอ้ งปฏิบตั กิ าร) ขน้ั ที่ 2 ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration) 1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับเทคนิคพื้นฐานทางวทิ ยาศาสตร์จากอินเทอรเ์ นต็ หรอื หอ้ งสมุดโรงเรยี น 2. เมื่อนักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเสร็จ ครูอธิบายเทคนิคพ้ืนฐานทางวิทยาศาสตร์เพ่ิมเติมแก่ นกั เรยี น จากนน้ั ครูใชค้ าถามเพือ่ ทดสอบความเขา้ ใจของนักเรยี น ดังน้ี 2.1 การดมสารมีวิธีการอยา่ งไร (แนวการตอบ: ควรใช้มอื ข้างหน่งึ ถอื ภาชนะโดยใหป้ ากภาชนะอย่ใู นระดับตา่ กว่าจมกู และอยหู่ า่ ง จากจมกู พอสมควร ใช้มอื อกี ขา้ งหนึ่งโบกให้ไอของสารผ่านเข้าจมูกช้าๆ) 2.2 เพราะเหตใุ ดจงึ ไมค่ วรสดู ดมกลน่ิ ของสาร ไอ หรอื ควนั โดยตรง (แนวการตอบ: สารเคมบี างชนิดมีอันตราย) 2.3 การเขยา่ สารในบกี เกอร์หรอื ขวดแกว้ รูปชมพู่ ถา้ ไม่มีเครอื่ งเขย่าสารสามารถทาได้โดยวิธีการใด (แนวการตอบ: หมนุ สารละลายดว้ ยขอ้ มอื ใหส้ ารเป็นเน้อื เดียวกนั โดยจับส่วนปลายของภาชนะที่ ใส่สารแล้วหมนุ ดว้ ยขอ้ มือใหส้ ารข้างในไหลวนไปทศิ ทางเดยี วกัน) 2.4 ในการใหค้ วามรอ้ นแก่สารเคมี เมอื่ สังเกตพบว่าอณุ หภูมิมากจนทาให้สารเดือดแรงเกินไปควรจะ ปฏบิ ัตอิ ย่างไร (แนวการตอบ: ดบั ตะเกียงหรอื เล่อื นตะเกียงออก)

2.5 เม่อื เสอ้ื ผา้ ทีน่ ักเรียนสวมอยู่ติดไฟ นกั เรียนจะมวี ธิ ีการดบั ไฟอย่างไร (แนวการตอบ: พยายามดบั ไฟกอ่ น โดยนอนกล้ิงลงบนพ้ืนแลว้ บอกให้เพ่ือนๆ ช่วย โดย ใช้ผ้าหนาๆ คลุมรอบตัว หรือใชผ้ ้าเช็ดตัวทเ่ี ปยี กคลุมบนเปลวไฟให้ดบั กไ็ ด้) 2.6 เมื่อเกิดไฟไหม้ในหอ้ งปฏิบตั ิการ นักเรียนจะทาอย่างไร (แนวการตอบ: จะตอ้ งรบี ดบั ตะเกยี งในห้องปฏิบัตกิ ารใหห้ มด และนาสารท่ีติดไฟง่ายออกไปให้ ห่างจากไฟมากทสี่ ดุ ) 3. ครูให้นักเรียนทากิจกรรมเทคนิคพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ พร้อมทั้งบันทึกลงในใบงาน เร่ือง เทคนิค พ้ืนฐานทางวิทยาศาสตร์ หลังจากท่ีทากิจกรรมเสร็จตัวแทนกลุ่มออกมานาเสนอผลการทากิจกรรม หนา้ ชนั้ เรยี น ขัน้ ท่ี 3 ขั้นอธิบายและลงข้อสรปุ (Explanation) ครูและนักเรยี นร่วมกันอภปิ รายเพือ่ สร้างข้อสรปุ ร่วมกัน โดยให้ได้ข้อสรปุ ดังน้ี เทคนิคพ้ืนฐานทางวิทยาศาสตร์ช่วยให้การเรียนภาคปฏิบัติในห้องปฏิบัติการทดลองได้ผลดีหรือมี ความผดิ พลาดนอ้ ยทีส่ ดุ และเกิดความปลอดภยั ต่อผทู้ ดลองเอง ขน้ั ที่ 4 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) ครูให้ความร้เู พมิ่ เตมิ เก่ยี วกับการทาความสะอาดบริเวณท่ีปนเปอื้ นสารเคมี ดงั นี้ อุบัติเหตจุ ากสารเคมีหกในห้องปฏบิ ัติการเป็นส่ิงท่เี กดิ ข้ึนได้ตลอดเวลา ถา้ ทาปฏบิ ตั กิ ารโดยขาดความ ระมัดระวัง แต่เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะต้องรีบการจัดสารเคมีที่ปนเป้ือนและทาความสะอาดอย่างถูกวธิ ี เพื่อป้องกัน อันตรายจากสารเหล่านั้น สารเคมีแต่ละชนิดมีสมบัติและความเป็นอันตรายแตกต่างกัน จึงต้องมีความรู้ความ เขา้ ใจเกย่ี วกบั การทาความสะอาดบรเิ วณท่ีปนเปื้อนสารเคมีเหลา่ นน้ั ซ่ึงมีขอ้ แนะนาดงั ต่อไปนี้ (1) สารท่ีเป็นของแข็ง ควรใชแ้ ปรงกวาดสารมารวมกนั ตกั สารใส่ในกระดาษแขง็ แลว้ นาไปทาลาย (2) สารละลายกรด ควรใช้น้าล้างบริเวณท่ีมีสารละลายกรดหก เพ่ือทาให้กรดเจือจางลงและใช้ สารละลายโซเดยี มไฮโดรเจนคารบ์ อเนตเจือจางลา้ ง เพื่อทาลายสภาพกรดแลว้ ลา้ งดว้ ยน้าอีกคร้งั (3) สารละลายเบส ควรใช้น้าล้างบริเวณที่มีสารละลายเบสหกและซับนา้ ให้แห้ง เนื่องจากสารละลาย เบสทีห่ กบนพนื้ จะทาให้พื้นบริเวณน้นั ลนื่ ตอ้ งทาความสะอาดลักษณะดังกล่าวหลายๆ ครัง้ และถา้ ยังไมห่ ายล่ืน อาจตอ้ งใชท้ รายโรยแลว้ เกบ็ กวาดทรายออกไป (4) สารที่เป็นน้ามัน ควรใช้ผงซักฟอกล้างสารท่ีเป็นน้ามันและไขมันจนหมดคราบน้ามันและพ้ืนไม่ลนื่ หรือทาความสะอาดโดยใชท้ รายโรย เพื่อซับนา้ มันให้หมดไป (5) สารที่ระเหยง่าย ควรใช้ผ้าเช็ดบริเวณท่ีสารหยดหลายครั้งจนแห้ง และในขณะเช็ดถูจะต้องมีการ ป้องกนั ไมใ่ ห้สัมผัสผวิ หนัง หรอื สูดไอของสารเขา้ ร่างกาย

(6) สารปรอท กวาดสารปรอทกองรวมกนั แลว้ ใชเ้ ครื่องดูดเก็บรวบรวมไว้ ในกรณที ี่พน้ื ทสี่ ารปรอทหก มรี อยแตกหรอื รอยรา้ วจะมสี ารปรอทแทรกเขา้ ไปอย่ขู า้ งในต้องปดิ รอยแตก หรอื รอยรา้ วนั้นดว้ ยการทาข้ีผ้งึ ทับ รอยดังกล่าว เพ่ือกันการระเหยของปรอทหรืออาจใช้ผงกามะถันโรยบนปรอท เพื่อให้เกิดเป็นสารประกอบ ซัลไฟด์แล้วเกบ็ กวาดอกี ครง้ั หน่งึ ขน้ั ที่ 5 ข้นั ประเมนิ ผล (Evaluation) 2. ครูและนกั เรยี นร่วมกันอภิปรายเก่ยี วกบั “เทคนิคพืน้ ฐานทางวทิ ยาศาสตร์” 3. นักเรียนแต่ละคนพจิ ารณาว่า มีจุดใดบ้างท่ียังไม่เขา้ ใจหรือยังมีข้อสงสัย ถา้ มีครูชว่ ยอธิบายเพ่ิมเติมให้ นกั เรียนเข้าใจ 9. สอื่ /แหล่งการเรยี นรู้ 9.1 ส่อื - สื่อการสอน Power Point เร่ือง เทคนคิ พืน้ ฐานทางวิทยาศาสตร์ - ใบงาน เรอ่ื ง เทคนคิ พน้ื ฐานทางวิทยาศาสตร์ - แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ - แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 9.2 แหลง่ การเรยี นรู้ - ห้องเรยี นวทิ ยาศาสตร์ - ห้องสมดุ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 10. การวัดและการประเมนิ ผล 10.1 การวดั ผล จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ วธิ ีการวัด เครือ่ งมือ 1. ดา้ นความรู้ (K) - นกั เรยี นทาใบงาน เรื่อง - ใบงาน เรอ่ื ง เทคนคิ - นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ เทคนคิ พ้ืนฐานทาง พน้ื ฐานทางวิทยาศาสตร์ เทคนคิ พื้นฐานทางวทิ ยาศาสตร์ได้ วทิ ยาศาสตร์ 2. ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) - ครูสงั เกตพฤตกิ รรมใน - แบบประเมนิ พฤติกรรม - นักเรียนสามารถปฏบิ ัติกิจกรรมเทคนิค การทางานกล่มุ ของ ในการทางานกลมุ่ พืน้ ฐานทางวิทยาศาสตรไ์ ดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง นักเรียน 3. ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) - ครูประเมินคุณลักษณะ - แบบประเมิน - นักเรียนเป็นผู้ท่ีมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และ อันพงึ ประสงค์ คณุ ลกั ษณะอันพึง มงุ่ มนั่ ในการทางาน ประสงค์

10.2 เกณฑก์ ารประเมนิ ผล ระดับคุณภาพ 10.2.1 ด้านความรู้ (K) (4) (3) (2) (1) ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรงุ - นกั เรียนมคี วามรู้ความ นักเรยี นได้ นักเรยี นได้ นักเรียนได้ นกั เรียนได้ เขา้ ใจเกีย่ วกับเทคนิคพ้นื ฐาน คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ คะแนนจากการ ทางวิทยาศาสตร์ได้ ทาใบงาน 9-10 ทาใบงาน 7-8 ทาใบงาน 5-6 ทาใบงานต่ากว่า คะแนน คะแนน คะแนน 5 คะแนน ระดับคุณภาพ 10.2.2 ด้านทักษะกระบวนการ (4) (3) (2) (1) (P) ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรงุ - นักเรียนสามารถปฏบิ ัติ นักเรียนได้ นักเรยี นได้ นักเรยี นได้ นักเรียนได้ กิจกรรมเทคนิคพื้นฐานทาง คะแนนจากการ คะแนนจาก คะแนนจาก คะแนนจากการ วทิ ยาศาสตร์ได้อยา่ งถกู ต้อง ประเมนิ การประเมิน การประเมิน ประเมนิ พฤติกรรมการ พฤติกรรมการ พฤติกรรมการ พฤติกรรมการ ทางานกลุ่ม ทางานกลมุ่ ทางานกลมุ่ ทางานกลุ่มตา่ 18-20 คะแนน 14-17 คะแนน 10-13 คะแนน กว่า 10 คะแนน 10.2.3 คุณลกั ษณะ (A) ระดับคณุ ภาพ - นกั เรยี นเปน็ ผู้ท่มี ีวนิ ยั ใฝ่ (4) (3) (2) (1) เรยี นรู้ และมุ่งมั่นในการทางาน ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง นกั เรียนได้ นกั เรียนได้ นักเรียนได้ นกั เรียนได้ คะแนนจากการ คะแนนจาก คะแนนจาก คะแนนจากการ ประเมนิ การประเมนิ การประเมิน ประเมิน คณุ ลักษณะ คณุ ลกั ษณะ คุณลกั ษณะ คณุ ลักษณะอัน อนั พึงประสงค์ อันพึงประสงค์ อนั พงึ ประสงค์ พึงประสงค์ตา่ 11-12 คะแนน 9-10 คะแนน 6-8 คะแนน กวา่ 6 คะแนน

ใบงาน เรื่อง เทคนคิ พ้นื ฐานทางวิทยาศาสตร์ สมาชกิ 1……………………………………………………………………………………….เลขท่ี………...ชน้ั ………... 2……………………………………………………………………………………….เลขท่ี………...ชั้น………... 3……………………………………………………………………………………….เลขท่ี………...ช้ัน………... 4……………………………………………………………………………………….เลขท่ี………...ชั้น………... 5……………………………………………………………………………………….เลขท่ี………...ช้นั ………... เกมหยดอย่างไร คาช้ีแจง: 1. ตัวแทนกลมุ่ รับอุปกรณท์ ่ีครเู ตรียมไว้ให้และฟงั ครูอธบิ ายวิธีการเลน่ เกม 2. นักเรียนแต่ละคนถือหลอดทดลองขนาดกลางคนละ 1 หลอด 3. นกั เรยี นเข้าแถวเพื่อทาการทดลองตามจุด ดังภาพ 4. จดุ ที่ 2 นกั เรยี นตวงนา้ แปง้ สุกทผ่ี สมสารละลายไอโอดีนแลว้ 3 cm3 ใส่ในหลอดทดลองขนาด กลาง หยดสารละลายวิตามินซีทลี ะหยด เขยา่ จนสารละลายน้าแป้งสกุ ผสมสารละลายไอโอดนี ไม่มีสีและนับ จานวนหยด 5. เมื่อนักเรยี นคนแรกทดลองเสร็จ ใสห่ ลอดทดลองไว้ในท่ีต้งั หลอดทดลอง แล้ววงิ่ ไปจุดที่ 3 คน ตอ่ ไปจึงว่งิ มาจดุ ท่ี 2 ทาเช่นนไ้ี ปเรือ่ ยๆ จนครบทง้ั 5 คน 6. ทจ่ี ุดท่ี 3 แต่ละกลุ่มรบั แบบบนั ทึกและบันทึกผลการทดลอง แลว้ ช่วยกันหาค่าเฉล่ยี จานวนหยด ของเหลวในหลอดทดลองแต่ละหลอดและบันทกึ ลงในแบบบนั ทึกที่ครูแจกให้ หมายเหตุ: โปรดระมดั ระวังในการใชว้ ัสดุอปุ กรณ์เพื่อไมใ่ ห้เกิดอุบัติเหตขุ ณะปฏบิ ัตกิ ิจกรรม ************************


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook