Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อนัตตลักขณสูตร

อนัตตลักขณสูตร

Published by tripika.ebook, 2021-04-01 12:50:55

Description: อนัตตลักขณสูตรเป็นพระสูตรที่ทรงแสดงแก่ปัญจวัคคีย์ผู้ได้บรรลุธรรมเป็นพระโสดาบันแล้ว ส่งผลให้ปัญจวัคคีย์ทุกรูปบรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์ พระสูตรนี้ว่าด้วยขันธ์ ๕ ว่าเป็นสิ่งไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวตน ไม่ควรยึดมั่นว่าเป็นเรา ของเรา บุรุษ หรือสตรี

Keywords: อนัตตลักขณสูตร,พระอภิธรรม,พระไตรปิฎก

Search

Read the Text Version

๑๑๖ อนตั ตลักขณสตู ร พบวารางกายนี้ประกอบดวยปรมาณูเล็กๆ ที่มองไมเห็นดวยตาเปลา เปรียบไดกับกองทรายท่ีกอขึ้นจากทรายเม็ดเล็กจํานวนมากมาย มหาศาล หรืออาจอุปมาไดกับแปงขาวเจาหรือแปงสาลีท่ีทําจาก เมล็ดขาวเจาหรือขาวสาลีบดใหเปนผง ถานําแปงน้ันมาผสมกับนํ้า จํานวนพอเหมาะ ก็จะกลายเปนแปงสําหรับทําขนม ซ่ึงก็นํามาปน ใหเปนกอนขนาดใหญได จะปนใหเปนรูปผูชายรางใหญก็ได แตรูป ท่ีปนข้ึนมานี้ไมมีแกนอยูภายใน ประกอบข้ึนจากผงแปงขนาดเล็ก จํานวนมาก รางกายคนเราก็เชนเดียวกัน ไมมีอะไรเปนแกนสาร แต ประกอบดวยปรมาณูขนาดเล็กๆ จํานวนมากรวมตัวกันเปนกอนใหญ เหมือนกลุมฟองนํ้าซ่ึงปราศจากสาระแกนสาร รางกายไมมีแกนกลางที่ถาวร ไมมีแกนสารที่งดงาม ไมมี อัตตาตัวตน เปนเพียงมวลสารที่ประกอบกันขึ้นจึงเห็นวาเปนตัวตน แตถาเอาสวนที่มองเห็นไดน้ีท้ิงไป ก็จะไมเหลือรูปรางใหเห็น ธาตุดิน (ปฐวีธาตุ) เปนสวนประกอบที่ทําใหรางกายน้ีมีความขรุขระ เรียบ แข็ง หรือออนได ธาตุไฟ ทําใหรอนหรือเย็น ธาตุลมทําใหรางกายนี้ ต้ังอยูได ถาไมมีธาตุ ๓ อยางน้ี รางกายของคนท่ีสามารถจับตองและ รูสึกไดก็จะไมมี กลิ่นก็เปนอีกสวนประกอบ กลิ่นทําใหรับรูรางกาย ของคนได ถาไมมีกล่ินก็จะไมรูวาเปนรางกายคน

อนัตตลักขณสูตร ๑๑๗ เราเห็นส่งิ ตา งๆ ไดเ พราะมีจกั ขุประสาท ถา ไมมจี กั ขปุ ระสาท ก็จะเปนเหมือนคนตาบอด เรามีโสตประสาทท่ีทําใหไดยินเสียงตางๆ มีฆานประสาทที่ทําใหรับรูกลิ่นตางๆ ได มีกายประสาทที่ทําใหรับ ความรูสึกสัมผัส สวนยอยๆ เหลาน้ีมาชุมนุมประกอบกันข้ึนในรูป รางกายของมนุษยจึงทําใหรางกายใชงานได ใชประโยชนได ถาสวนประกอบเหลาน้ีถูกนํามาปนใหเปนผง รางกายมนุษย ก็จะไมมีอีกตอไป คงเหลืออยูเพียงฝุนผง นอกจากนี้ จักขุประสาท และรูปารมณก็ไมใชส่ิงท่ีอยูคงทน เกิดขึ้นแลวก็ดับไป เมื่ออันเกาดับ ไปแลวก็มีอันใหมเกิดขึ้นมาแทนที่ ดังน้ัน รางกายน้ีจึงเปรียบเหมือน กลุมฟองนํ้าที่ไมมีแกนสารอยูภายใน ในการพิจารณา เราควรเร่ิมจากสภาวะท่ีสามารถเห็นได ชัดเจนกอน เชน ในขณะเดิน สภาวะเคล่ือนไหวมีความชัดเจนมาก ดังขอความในสติปฏฐานสูตรวา คจฺฉนฺโต วา คจฺฉามีติ ปชานาติ (เมื่อเดินอยูก็รูวากําลังเดินอยู) ผูปฏิบัติพึงกําหนดวา “เดินหนอ เดินหนอ, ยกหนอ ยางหนอ เหยียบหนอ” เปนตน ในขณะยืน ผู ปฏิบัติพึงกําหนดวา “ยืนหนอ ยืนหนอ” ขณะนั่ง ผูปฏิบัติพึงกําหนด วา “นั่งหนอ นั่งหนอ, ถูกหนอ ถูกหนอ, พองหนอ ยุบหนอ” เปนตน เม่ือมองเห็นแขนขา ก็พึงกําหนดวา “เห็นหนอ เห็นหนอ” เมื่อได กล่ินของรางกาย พึงกําหนดวา “ไดกล่ินหนอ ไดกลิ่นหนอ” เม่ือ

๑๑๘ อนตั ตลกั ขณสตู ร เคล่ือนไหวหรือเหยียดแขนขา พึงกําหนดวา “เหยียดหนอ เหยียด หนอ, เคลื่อนหนอ เคลื่อนหนอ, เปลี่ยนหนอ” เปนตน เมื่อสมาธิไดรับการพัฒนาใหแกกลาขึ้นจากการกําหนดรู อยางระมัดระวังตามที่อธิบายมาขางตน ผูปฏิบัติจะเกิดความเขาใจ ไดวา การเดินประกอบดวยจิตท่ีตองการจะเดิน การเคล่ือนไป และ การเหยียดออก การยืนและการน่ังประกอบดวยจิตที่ตองการจะ ยืนและน่ัง ตามดวยอาการที่คอยๆ เคลื่อนไปและเหยียดออก การ งอ การเหยียด และการเปลี่ยนอิริยาบถ ก็เปนไปในทํานองเดียวกัน สําหรับการเห็นน้ัน ประกอบดวยจักขุวิญญาณและรูป การไดกล่ิน ประกอบดวยฆานประสาทและกล่ิน ผูปฏิบัติจะเห็นวาสภาวธรรม ตางๆ เหลานี้ เกิดข้ึนแลวก็ดับไปในทันที และไมรับรูรูปรางสัณฐาน ของแขน ขา มือ เทา ศีรษะ และรางกาย แตจะรูสึกวาเปนเพียง รูปท่ีเกิดข้ึนและดับไปติดตอกัน ในระยะน้ี ผูปฏิบัติจะรูเห็นไดจาก ประสบการณของตนเองวา รางกายนี้มีลักษณะไมแตกตางจากกลุม ฟองน้ําเลย เม่ือผูปฏิบัติไดรูเห็นอยางนี้ จะเขาใจไดวา รูปไมเท่ียง เพราะ เกิดข้ึนแลวดับไป เปนทุกข เพราะมีการเกิดดับอยูไมขาดสาย และ ไมใชตัวตน เพราะไมเปนไปตามความปรารถนาของตน แตเปนไป ตามปจจัย ไมอยูในอํานาจบังคับบัญชา

อนัตตลักขณสตู ร ๑๑๙ เวทนาเหมือนตอมนํ้า เวทนาเปรียบไดกับตอมนํ้า เมื่อหยาดน้ําฝนตกตองผิวน้ํา ฟองอากาศถูกขังอยูในนํ้าทําใหเกิดเปนตอมนํ้าเล็กๆ ขึ้น ตอมน้ํา เหลาน้ีเกิดขึ้นทุกครั้งที่หยาดนํ้าฝนตกลงถูกผิวนํ้า แลวก็อันตรธาน หายไปในทันที เวทนาที่รับรูความรูสึกตางๆ เปรียบไดกับตอมน้ํา เพราะมีลักษณะเกิดข้ึนแลวดับไปติดตอกันอยางรวดเร็วอยูตลอด เวลา ซ่ึงตรงกับประสบการณท่ีพบเห็นไดจากการปฏิบัติ บุคคลท่ัวไปจะเห็นตรงกันขาม เพราะเมื่อมองดูรูปสวยงาม และไมสวยงามเปนเวลานาน ก็มีความเห็นวารูปน้ันคงทนอยูนาน แมรูปธรรมดาที่มองเห็นอยูเสมอๆ ก็คิดวารูปน้ันคงทนอยูนาน เชนเดียวกัน ในทํานองเดียวกัน คนทั่วไปคิดวาเสียงท่ีไดยินไมวา จะนาฟงหรือไมนาฟงนั้นคงทนอยูนาน โดยเฉพาะอยางยิ่งความ เจ็บปวดก็คงอยูเปนวัน เปนเดือน หรือเปนป ความเห็นดังกลาวน้ี เก่ียวกับเวทนาจึงไมเปนไปตามความเปนจริง คือ เวทนาเกิดขึ้นและ ดับไปติดตอกันอยางรวดเร็ว ซ่ึงผูปฏิบัติที่กําหนดรูสภาวธรรมทาง กายและจิตภายในกายของตนอยางตอเน่ืองอยูตลอดเวลาเทานั้น จึงจะสามารถเห็นแจงความจริงขอนี้

๑๒๐ อนัตตลกั ขณสูตร ผูปฏิบัติที่เฝาสังเกตสภาวธรรมรูปนามอยางตอเนื่องอยู ตลอดเวลา เม่ือปฏิบัติมาถึงอุทยัพพยญาณและภังคญาณแลวจะ เห็นไดวา ส่ิงท่ีไมนาพอใจหรือนาพอใจท่ีไดเห็น ไดยิน หรือไดกลิ่น น้ันดับไปในทันที โดยเฉพาะอยางย่ิง การดับของทุกขเวทนาจะเห็น ไดชัดเจนมาก ทันทีที่ผูปฏิบัติกําหนดวา “เจ็บหนอ เจ็บหนอ” อยูนั้น จะเห็นการดับไปในทันทีของทุกขเวทนา และเมื่อบรรลุสัมมสนญาณ คือ ปญญาหย่ังเห็นความเกิดขึ้น ตั้งอยู และดับไป ทุกขเวทนาก็ย่ิงทวี ความรุนแรงขึ้น แตละคร้ังท่ีกําหนดรู ทุกขเวทนาในบริเวณที่กําหนด รูจะดับไป และเมื่อกําหนดรูทุกขเวทนาในบริเวณอื่น ทุกขเวทนาใน บริเวณนั้นก็ดับไปอีกเชนกัน ทุกขเวทนาดับไปทันทีท่ีกําหนดรูราวกับ ปลิดท้ิง ดังนั้น สําหรับผูปฏิบัติท่ีมีสมาธิแกกลา การชอบใจรูปใน ขณะเห็นยอมดับไปในทันทีท่ีกําหนดรู แตเพราะมีประสาทตาและ มีรูป การเห็นรูปจึงเกิดข้ึนอีก ทุกคร้ังที่มีการเห็นเกิดข้ึนก็จะถูก กําหนดรู และเม่ือกําหนดรู การชอบใจรูปก็ดับไปในทันที กระบวน การนี้เกิดขึ้นติดตอกันคร้ังแลวครั้งเลา สวนการไมชอบรูปหรือ ความรูสึกเปนกลางในรูปที่พบเห็น ก็เชนเดียวกัน สําหรับการไดยิน เสียงทั้งท่ีนาฟงและไมนาฟงน้ัน การชอบหรือไมชอบเสียงก็ดับไป เมื่อถูกกําหนดรูเชนกัน

อนัตตลักขณสตู ร ๑๒๑ การชอบหรือไมชอบกลิ่นก็ดับไปในทันทีท่ีกําหนดรูเชน เดียวกนั ในขณะที่ผูปฏิบตั ิกําลงั กาํ หนดรรู สอาหารอรอยหรือไมอ รอย อยูนั้น การชอบหรือไมชอบรสก็เกิดดับตลอดเวลาที่เขากําหนดรู สําหรับการรูสึกสัมผัสที่ดี ไมดี และเปนกลางๆ ก็มีการเกิดดับอยู ตลอดเวลาท่ีมีการกําหนดรูเชนเดียวกัน สรุปไดวา ความรูสึกเปนสุข ทุกข ดีใจ หรือเสียใจ เม่ือมีการ กําหนดรูอยางระมัดระวังก็จะดับไปในทันทีท่ีกําหนดรู ดังน้ันความ รูสึกจึงเปนเสมือนตอมนํ้าท่ีแตกสลายไปโดยเร็ว ไมคงทน เชื่อถือ ไมได มีลักษณะไมเที่ยง เปนทุกข ไมใชตัวตน สัญญาเหมือนพยับแดด สัญญา คือ การกําหนดจดจําอารมณตางๆ (สิ่งที่เห็น ไดยิน สัมผัส หรือรับรูทางใจ) โดยเขาใจวาเปนความจริง สัญญาเปรียบ ไดกับพยับแดดซ่ึงเปนภาพลวงตาที่เกิดไดในสภาพบรรยากาศที่มี อากาศรอนลอยขึ้นเหนือพ้ืนดินในเวลาเท่ียงวันชวงเดือนสุดทายของ ฤดูรอน ทําใหเห็นเปนภาพผืนนํ้าระยิบระยับ หรือภาพบานเรือน พยับแดดเปนเพียงภาพลวงตา สัตวปาเชนกวางที่เที่ยวไป ในปาเพ่ือหาน้ํากิน เมื่อเห็นผืนนํ้าอยูไกลๆ ก็รีบว่ิงไป แตเม่ือไปถึง กลับมีแตพ้ืนท่ีแหงแลงแทนที่จะเปนแองน้ําหรือทะเลสาบ พวกมัน

๑๒๒ อนัตตลกั ขณสูตร ถูกพยับแดดหลอกใหว่ิงไปอยางความลําบาก สัญญาก็เปนเหมือน กับพยับแดดที่ลวงตาใหเห็นผืนนํ้าและหมูบานท้ังๆ ที่ไมมีอยูจริง คนเราก็ถูกสัญญาหลอกใหเชื่อวา ส่ิงท่ีเห็น ไดยิน สัมผัส หรือคิดนึก น้ัน เปนมนุษย เปนชาย เปนหญิง เปนตน เน่ืองจากเรามีการหมายรู ท่ีผิดจากความเปนจริงในส่ิงท่ีเห็น ไดยิน สัมผัส หรือคิดนึก ทําให คนทั้งหลายขวนขวายทําสิ่งตางๆ เพื่อตอบสนอง เมื่อภาพน้ันลวงตา แลวก็เหมือนกับฝูงกวางในปาท่ีไปหาพยับแดดที่มันคิดวาเปนผืนนํ้า ในการพิจารณาเพ่ือใหรูไดวาสัญญาเปนเพียงภาพลวงตา และหลีกเล่ียงจากความทุกขท่ีเกิดจากการแสวงหาสิ่งที่ไมมีตัวตน อยูจริง เราพึงกําหนดรูสภาวธรรมรูปนามที่เกิดข้ึนใหทันปจจุบันขณะ เม่ือสมาธิแกกลาข้ึนแลว ก็จะเห็นไดวา ในสภาวธรรมทุกอยางมีแต รูปท่ีถูกรูและนามที่เปนผูรู ภายหลังก็จะรูวาสภาวธรรมตางๆ น้ัน เกิดขึ้นโดยอาศัยเหตุปจจัยท่ีเก่ียวของกัน และในที่สุดก็จะรูเห็นดวย ประสบการณของตนเองวา ท้ังจิตท่ีเปนผูรู และรูปท่ีถูกรูไดดับไปใน ทันทีท่ีเรากําหนดรู ดังนั้น สิ่งท่ีสัญญาเคยหมายรูวาเท่ียงแท มีตัวตน เปนคน เปนชาย เปนหญิงนั้น ที่จริงก็เปนเพียงภาพลวงตาท่ีสัญญาสรางขึ้น คลายกับพยับแดด ผูปฏิบัติยอมเห็นดวยประสบการณจากการปฏิบัติ วาเปนเพียงการเกิดข้ึนและดับไปของสภาวธรรมท่ีมีลักษณะไมเที่ยง เปนทุกข และไมใชตัวตน

อนัตตลักขณสตู ร ๑๒๓ สังขารเหมือนปลีกลวย สังขาร ไดแก เจตนาในการกระทํากรรม เปรียบเหมือน ตนกลวย ซึ่งเม่ือดูผิวเผินก็เหมือนเปนตนไมท่ีมีแกน แตเมื่อตัดโคน และปลายออกแลวลอกกาบออกดู ก็จะพบวาประกอบดวยกาบใบ ซอนๆ กันอยูโดยไมมีแกนอยูภายใน สังขารก็เหมือนกับตนกลวย คือไมมีแกนสาร ประกอบดวยเจตสิก (ธรรมชาติที่ปรุงแตงจิต) ๕๐ อยาง มีเจตนาเปนหัวหนา สวนสังขารขันธอันเปนเจตสิกท่ีสําคัญอื่นๆ ไดแก ผัสสะ (การกระทบกับอารมณ), มนสิการ (การใสใจอารมณ), เอกัคคตา (ความมีอารมณเปนอันเดียว), วิตก (การตรึกอารมณ), วิจาร (การตรองอารมณ), วิริยะ (ความเพียร), โลภะ (ความอยาก ได), โทสะ (ความโกรธ, เกลียด), โมหะ (ความหลง), มานะ (ความ ถือตัว), ทิฏฐิ (ความเห็นผิด), วิจิกิจฉา (ความสงสัย), อโลภะ (ความ ไมอยากได), อโทสะ (ความไมโกรธ), อโมหะ (ความไมหลง), ศรัทธา (ความเช่ือ), สติ (ความระลึกได), เมตตา (ความปรารถนาดี), กรุณา (ความสงสาร), มุทิตา (ความพลอยยินดี) เปนตน เหลาน้ีรวมเรียกวา สังขาร โดยมีเจตนาเปนหัวหนาผูรับผิดชอบในการจงใจกระทํากรรม ตางๆ ทั้งท่ีเปนกายกรรม วจีกรรม และมโนกรรม สังขารเหลานี้มี หลากหลาย และเก่ียวของกับการกระทําทางกาย วาจา และใจ จึง มีความสําคัญมาก สังขารนี้เองกอใหเกิดความยึดม่ันในอัตตาตัวตน วาอัตตาน้ีเปนผูกระทํากรรมตางๆ

๑๒๔ อนตั ตลักขณสตู ร สังขารนี้เปนคลายกับแกนสาร (อัตตา) ในตัวบุคคล ทั้งท่ีจริง นั้น สังขารปราศจากแกนสารท่ีเปนประโยชน ผูปฏิบัติจะเห็นความ จริงขอน้ีไดดวยการเฝาสังเกตสภาวธรรมรูปนามอยางตอเนื่อง โดย การกําหนดรูอิริยาบถเดินวา “เดินหนอ เดินหนอ” “ยกหนอ ยาง หนอ เหยียบหนอ” เปนตน จนกระทั่งสมาธิมีกําลังมากขึ้นก็จะสังเกต เห็นวา มีจิตที่ตองการเดินเกิดข้ึนกอน และเห็นจิตที่ตองการเดินนี้ เกิดขึ้นและดับไปติดตอกัน แมวาเราจะกําหนดเรียกวา จิตท่ีตองการ เดิน แตความจริงหมายถึงสังขารท่ีอยูภายใตการนําของเจตนาซ่ึงเปน ผูกระตุนใหทํากิริยาเดิน เม่ือมีเจตนาเปนแรงผลักดันจึงเกิดการเดิน ท่ีแบงออกเปน ๓ ระยะ คือ ยก ยาง เหยียบ สําเร็จลงได กอนท่ีจะเกิดปญญาเห็นจริงอยางน้ีได คนทั่วไปจะคิดวา ฉัน เปนผูท่ีตองการไป, ฉันไป เพราะฉันอยากจะไป ความคิดในลักษณะ นี้เปนการยึดม่ันในอัตตา คร้ันเม่ือไดเห็นความตองการจะเดินดับไป ผูปฏิบัติยอมเกิดปญญารูวาไมมีอัตตาเปนผูเดิน และผูตองการจะ เดิน ทั้งหมดเปนเพียงสภาวธรรมเทานั้น ความตองการจะงอ เหยียด เคล่ือนไหว หรือเปลี่ยนอิริยาบถ ก็เชนเดียวกัน นอกจากน้ี สังขารท่ี เปนความพยายามเพ่ือตอบสนองความตองการจะดู ก็เกิดข้ึนและดับ ไปในทันทีเชนเดียวกัน ผูปฏิบัติจึงเห็นไดวา สังขารเหลาน้ีปราศจาก แกนสาร ไมใชอัตตา เปนเพียงสภาวธรรมท่ีเกิดขึ้นแลวดับไป สําหรับ

อนัตตลักขณสูตร ๑๒๕ ความตองการจะฟงและความพยายามตอบสนองความตองการฟง ก็ เปนสภาวธรรมท่ีเกิดขึ้นและดับไปเชนเดียวกัน นอกจากนี้ ผูปฏิบัติยังสังเกตเห็นดวยวา วิตก วิจาร และ วิริยะท่ีเกิดข้ึนน้ัน เมื่อผูปฏิบัติกําหนดรูก็จะดับไปในทันที จึงไมมี แกนสาร ไมใชตัวตน เปนเพียงสภาวธรรมเทาน้ัน โลภะ และโทสะ ที่เกิดขึ้นก็เชนเดียวกัน จะดับไปทันทีท่ีผูปฏิบัติกําหนดวา “อยากได หนอ” “ชอบหนอ” “โกรธหนอ” แสดงวาสังขารเหลาน้ีปราศจาก แกนสาร เมื่อเกิดศรัทธา เมตตา หรือกรุณาข้ึนในจิต ผูปฏิบัติพึง กําหนดวา “เล่ือมใสหนอ” “หวังดีหนอ” “สงสารหนอ” ความรูสึก เหลานี้ก็จะดับลงทันที จึงไมมีแกนสาร ไมใชตัวตน ปญญาที่เห็น ตามความเปนจริงเชนนี้ ทําใหเขาใจไดวา สังขารเปรียบเหมือน ตนกลวย ประกอบข้ึนจากกาบใบเทานั้น ไมมีแกนอยูภายใน วิญญาณเหมือนมายากล การรับรูของจิตเหมือนการแสดงมายากล ตามปกติเมื่อมอง เห็นคนก็จะรูวา เปนผูชาย ผูหญิง และรูวา ฉันเห็น ฉันเปนผูเห็น เม่ือ ไดยินเสียงก็คิดวาเปนเสียงผูชาย เสียงผูหญิง ฉันไดยิน เมื่อไดกล่ิน ก็คิดวา เปนกลิ่นของสิ่งน้ันสิ่งน้ี ฉันเปนคนไดกล่ิน เมื่อรับประทาน อาหารก็คิดวา อาหารน้ีคนนั้นคนน้ีเปนผูปรุง ฉันเปนผูกิน เมื่อสัมผัส

๑๒๖ อนตั ตลกั ขณสตู ร ถูกตอง ก็คิดวา ฉันสัมผัสสิ่งนั้นสิ่งนี้ ฉันเปนผูสัมผัส เม่ือคิดนึกอยูก็ รูวา ฉันคิด ฉันเปนผูคิด การรูเชนน้ีเปนการรูไมจริง คือไมรูตามความ เปนจริงในข้ันปรมัตถ ความไมรูตามความเปนจริงน้ีไมไดเกิดจาก วิญญาณทั้ง ๕ คือ จักขุวิญญาณ โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหา- วิญญาณ และกายวิญญาณ เพราะวิญญาณทั้ง ๕ นี้รับรูความจริงที่ เปนปรมัตถ คือ รูป เสียง เปนตนเทาน้ัน ไมไดรับรูวาเปนชาย เปน หญิง เปนตน แตเมื่อวิถีจิตที่รับรูอารมณทางทวารท้ัง ๕ ดับลงแลว วิถีจิตทางมโนทวารท่ีเกิดข้ึนรับอารมณตอจากปญจทวารวิถีน้ันได ปรุงแตงไปผิดๆ วาส่ิงที่เห็น (หรือไดยินเปนตน) น้ัน เปนหญิงหรือชาย ขออธิบายอยางสั้นๆ เกี่ยวกับกระบวนการรับรูทางตา (จักขุ- ทวารวิถี) และกระบวนการรับรูทางจิต (มโนทวารวิถี) เพ่ือประกอบ ความเขาใจ ดังนี้ คือ เม่ือตาเห็นรูปอยางหน่ึง กระแสภวังคจะถูกตัดใหขาดลง โดยปญจทวาราวัชชนจิตที่เกิดข้ึนพิจารณาอารมณท่ีปรากฏขึ้นแก จักขุประสาท ตอจากน้ันจักขุวิญญาณจิตก็เกิดขึ้นเห็นรูปารมณคือ สีท่ีมากระทบกับจักขุประสาทโดยไมคํานึงวาเปนชายหรือเปนหญิง เม่ือจักขุวิญญาณจิตดับไป จิตที่เกิดตอมาคือสัมปฏิจฉนจิต ทําหนาที่ รับเอารูปารมณแลวดับไป หลังจากน้ันสันตีรณจิตเกิดขึ้นทําหนาท่ี ไตรตรองรูปารมณแลวดับไป ตอมาเปนโวฏฐัพพนจิตทําหนาที่ตัดสิน อารมณแลวดับไป หลังจากน้ันชวนจิตเกิดขึ้นทําหนาที่เสพอารมณ

อนตั ตลักขณสูตร ๑๒๗ ๗ ขณะ แลวดับไป ตอมาตทารัมมณจิตเกิดข้ึน ๒ ขณะรับอารมณ ตอจากชวนจิตแลวดับไป จากน้ันภวังคจิตซ่ึงเปนจิตที่ไมรับรูอารมณ ปจจุบัน มีลักษณะคลายกับขณะท่ีนอนหลับก็เกิดขึ้น วญิ ญาณจติ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ตอ จากภวงั คจติ คอื ปญ จทวาราวชั ชนจติ ติดตามมาดวยจักขุวิญญาณจิต สัมปฏิจฉนจิต สันตีรณจิต และ โวฏฐัพพนจิต ตอดวยชวนจิต ๗ ขณะ และตทารัมมณจิต ๒ ขณะ ดังน้ัน ทุกครั้งท่ีมีการเห็นเกิดขึ้นเร่ิมต้ังแตรูปารมณมาปรากฏแก จักขุประสาท จนกระท่ังถึงตทารัมมณจิต มีจิตเกิดข้ึน ๑๔ ขณะ นี้ เปนกระบวนการเห็นทางจักขุทวารวิถีโดยปกติ ถารูปารมณที่มาปรากฏแกจักขุประสาทไมคอยชัดเจน วิถีจิต นั้นจะจบลงหลังจากชวนจิตแลนไป ๗ ขณะแลวดับไปโดยที่ตทา- รัมมณจิตไมเกิด ถาเปนวิถีจิตของคนปวยที่ใกลจะตาย ชวนจิต จะเกิดขึ้นเพียง ๕ ขณะเทานั้น ถาหากรูปารมณไมชัดเจนมาก วิถีจิตน้ันก็จบลงเพียงโวฏฐัพพนจิต ๒-๓ ขณะ โดยที่ชวนจิตไมเกิด สําหรับผูปฏิบัติที่มีวิปสสนาญาณแกกลา วิถีจิตก็ไปไมถึงชวนจิต เชนกัน แตจบลงหลังจากโวฏฐัพพนจิตเกิด ๒-๓ ขณะ แลวลงสู ภวังค ที่กลาวมาน้ีเปนไปตามคําสอนของสามเณรท่ีสอนวิปสสนา แกพระโปฏฐิละในสมัยพุทธกาล วาการรับรูทางปญจทวารวิถีน้ันไม ควรดําเนินไปจนถึงชวนจิต๒๒

๑๒๘ อนัตตลักขณสูตร ตามที่กลาวมาขางตนน้ี เปนกระบวนการรับรูอารมณทาง จักขุวิญญาณ ซ่ึงรูปารมณที่รับรูน้ันเปนอารมณปรมัตถ ไมไดมีการ รับรูสัณฐานบัญญัติวาเปนชายหรือเปนหญิง เม่ือจบกระบวนการ รับรูทางจักขุทวารวิถีแลว จิตจะลงสูภวังค หลังจากนั้นมโนทวารวิถี คือวิถีจิตท่ีเกิดทางมโนทวารจะเกิดข้ึนพิจารณาอารมณตอจาก จักขุทวารวิถีตอไป จิตดวงแรกในมโนทวารวิถีที่เกิดขึ้นตัดกระแส ภวังคคือ มโนทวาราวัชชนะ ท่ีทําหนาที่คํานึง (คิด) อารมณ ตาม มาดวยชวนจิตที่แลนเสพอารมณ ๗ ขณะ ตามดวยตทารัมมณจิต ๒ ขณะ มโนทวารวิถีน้ีมีเพียง ๑๐ ขณะจิตกอนท่ีจิตจะลงสูภวังค ในมโนทวารวิถีแรกที่เกิดตอจากจักขุทวารวิถีนี้ เปนเพียงการรับ อารมณที่จักขุวิญญาณจิตไดเห็นมาเทาน้ัน ยังไมมีการปรุงแตงดวย ความจําไดหมายรูที่เกิดจากประสบการณในอดีตแตอยางใด เมื่อมโนทวารวิถีเกิดขึ้นตอมาเปนครั้งท่ี ๒ จะมีการรับรูรูป รางสัณฐานของรูปท่ีเห็นวาเปนชายหรือเปนหญิง วิถีจิตท่ีเกิดขึ้นเปน ครั้งท่ี ๓ เปนการรับรูชื่อของคนที่เห็นนั้น วิถีจิตท่ีเกิดหลังจากน้ัน เปนการคิดคํานึงตามสัญญาท่ีจําไดจากประสบการณในอดีต ซ่ึงเปน การคิดท่ีผิดจากความเปนจริงเสมอ เชน “ฉันเห็นผูชาย ฉันเห็นผูหญิง” สัญญาจึงแสดงมายากลหลอกลวงทําใหเราเห็นผิดจากความเปนจริง กระบวนการรับรูทางตาโดยสรุปเปนไปดังน้ี

อนตั ตลักขณสูตร ๑๒๙ ๑) เมื่อเห็นรูปารมณในวิถีแรก (จักขุทวารวิถี) จักขุวิญญาณ เห็นรูปารมณท่ีเปนปรมัตถไดแก สีตางๆ ๒) ในการคิดคํานึงถึงรูปารมณท่ีเห็น มโนทวารวิถีที่เกิดขึ้น เปนวิถีแรก ยังรับรูเพียงรูปารมณตอจากจักขุทวารเปนอารมณ เทานั้น ยังไมเห็นผิดจากความเปนจริง ถาในระยะนี้ ผูปฏิบัติกําหนด รูอยางระมัดระวัง การเห็นผิดจะไมสามารถกอตัวขึ้นได การรับรูจะ หยุดอยูเพียงข้ันปรมัตถเทานั้น ๓) ในมโนทวารวิถีท่ี ๒ เริ่มมีการรับรูรูปรางสัณฐานของ สิ่งท่ีเห็นวาเปนชาย หรือเปนหญิง ๔) ในมโนทวารวิถีท่ี ๓ มีการรับรูช่ือของชายหรือหญิงที่ เห็น๒๓ สําหรับกระบวนการรับรูเสียง กล่ิน รส และสัมผัส ก็มีขั้นตอน ที่เปล่ียนจากการรับรูปรมัตถ เปนการรับรูสมมุติบัญญัติเชนเดียวกัน ในขณะท่ีจักขุวิญญาณเห็นรูป หรือโสตวิญญาณไดยินเสียง หรือขณะที่มโนวิญญาณเกิดข้ึนรับอารมณตอจากปญจทวารวิถีใน ครั้งแรกน้ัน ถาผูปฏิบัติกําหนดรูไดทันปจจุบันขณะวา “เห็นหนอ ไดยินหนอ ไดกล่ินหนอ รูรสหนอ สัมผัสหนอ” เปนตน ความเห็นผิด จะไมสามารถเกิดข้ึนได จิตในขณะน้ันจะรับรูส่ิงท่ีเห็นหรือไดยินตาม ความเปนจริง นี่เปนเหตุผลที่วาทําไมจึงตองกําหนดรูใหทันปจจุบัน ขณะท่ีเห็น ไดยิน ไดสัมผัส เปนตน ท้ังนี้เพ่ือใหจิตรับรูอยูกับสภาวะ

๑๓๐ อนตั ตลกั ขณสตู ร ปรมัตถ โดยไมมีสมมุติบัญญัติเขามาเก่ียวของ ถาผูปฏิบัติสามารถกําหนดรูการเห็นไดทันปจจุบันขณะท่ี กําลังเห็นวา “เห็นหนอ เห็นหนอ” รูปน้ันก็จะดับไปในขณะท่ีเห็น ทําใหกระบวนการที่รับรูสมมุติบัญญัติเก่ียวกับส่ิงท่ีเห็นไมสามารถ เกิดขึ้นได ดังพระบาลีวา ทิฏเ ทิฏมตฺตํ ภวิสฺสติ.๒๔ “เมื่อเห็น จะเปนเพียงแตเห็น” ขอนี้หมายความวา เม่ือเห็นก็สักแตวาเห็น เพราะจิตท่ีเห็น ไดหยุดอยูเพียงการเห็นเทาน้ัน ไมเลยตอไปวาสิ่งท่ีเห็นคืออะไร หลังจากนั้น ผูปฏิบัติจะเกิดปญญารูวาตาและรูป หูและเสียง เปนรูปท่ีไมสามารถรูอะไรได สวนจิตนั้นเปนผูรูอารมณ และยังรูอีก ดวยวาการเห็นและการกําหนดรูเกิดขึ้นและดับไปอยูตลอดเวลา การ รูเห็นเชนน้ีทําใหสรุปไดวาสภาวธรรมทั้งหลายไมเที่ยง เปนทุกข ไมใช ตัวตน การไดยิน รูกล่ิน ลิ้มรส สัมผัส และคิดนึก ก็เปนไปในทํานอง เดียวกัน การกําหนดรูสภาวธรรมรูปนามอยางตอเน่ืองจะทําใหผู ปฏิบัติสามารถแยกความแตกตางระหวางรูปกับนามได และเห็น ความไมเท่ียง เปนทุกข และไมใชตัวตนของรูปนาม ผูปฏิบัติยอมเกิด ความเขาใจวา เม่ือกอนนี้ เราไมไดกําหนดรูสภาวธรรม เราจึงหลง

อนัตตลักขณสูตร ๑๓๑ ผิด ไมเห็นตามความเปนจริง กลับเห็นไปวามายากลเหลาน้ีเปนของ จริง มาบัดน้ี เราไดกําหนดรูสภาวธรรมรูปนามในทันทีท่ีสภาวธรรม เกิดขึ้น จึงเห็นไดวา ไมมีสิ่งท่ีเรียกวาอัตตาตัวตน มีเพียงสภาวธรรม ท่ีเกิดข้ึนและดับไป เม่ือตาเห็นรูป จักขุวิญญาณก็ดับไปในทันที ไมมี การเห็นท่ีคงอยูเปนเวลานาน มีเพียงจักขุวิญญาณที่เกิดข้ึนเพียงแค ช่ัวขณะแลวก็ดับไปในทันที การไดยิน การสัมผัส และการคิดนึกเปนตนก็ทํานองเดียวกัน ไมมีการไดยินท่ีคงทนอยูเปนเวลานาน ทุกครั้งท่ีมีการไดยินเกิดข้ึน โสตวิญญาณเกิดขึ้นแลวก็ดับไปในทันที ไมมีการสัมผัสที่ยาวนาน ทุกคร้ังที่มีการสัมผัสเกิดขึ้น กายวิญญาณเกิดขึ้นแลวก็ดับไปในทันที ไมมีการคิดนึกท่ียาวนาน ทุกครั้งท่ีมีการคิดนึก มโนวิญญาณเกิดขึ้น แลวก็ดับไปในทันที ดังน้ัน ทุกส่ิงทุกอยางจึงไมยั่งยืน ลวนเกิดขึ้นแลวดับไป ทันที ไมมีอะไรควรเช่ือถือหรือพึ่งพาอาศัยได มีแตความนากลัวและ ความทุกข ไมเปนไปตามความปรารถนา หากแตเกิดข้ึนตามเหตุ ปจจัย ไมใชตัวไมใชตน เนื้อความในเผณปณฑูปมสูตรจึงแสดงใหเห็นวา ขันธ ๕

๑๓๒ อนัตตลักขณสตู ร เปนของวางเปลาจากอัตตาตัวตนท่ีถาวร ดีงาม นาปรารถนา ไม สามารถบังคับบัญชาใหเปนไปตามความตองการของเรา ขันธ ๕ เหลาน้ีไมใชอัตตาตัวตน แตเปนสภาพท่ีไมมีสาระแกนสาร พระสัทธรรมโดยสังเขป คําสอนท่ีถูกตองของพระพุทธเจาสามารถสรุปไดเปน ๓ ขอ ซ่ึงชาวพุทธพึงถือปฏิบัติและสอนผูอ่ืน เพื่อใหพระศาสนาตั้งมั่น และเจริญงอกงาม พระสัทธรรมคําสอนมีดังนี้ ๒๕ ๑) สพฺพปาปสฺส อกรณํ ละเวนการทําชั่วทุกชนิด หมายความวา หลีกเลี่ยงการทําทุจริตทางกาย คือ การ เบียดเบียนผูอื่นการฆา การลักขโมย การประพฤติในกาม ละเวน การทําทุจริตทางวาจา คือ การพูดปด พูดสอเสียด พูดคําหยาบคาย การพูดเพอเจอ และละเวนการทําทุจริตทางใจ การคิดชั่วทั้งหลาย จะถูกกําจัดไดดวยการเจริญสมาธิและวิปสสนาภาวนาเทาน้ัน ๒) กุสลสฺส อุปสมฺปทา ทํากุศลทุกชนิด เชน ใหทาน รักษาศีล และเจริญภาวนา การรักษาศีลอาจกระทําไดดวยการ หลีกเล่ียงการทําความชั่วตามคําสอนขอแรก แตหากจะใหสามารถ ดํารงอยูอยางมั่นคงในอริยมรรคศีล (ศีลท่ีในอริยมรรค) ก็จําเปนตอง เจริญวิปสสนาจนกระทั่งบรรลุมรรคญาณ หรือเจริญสมถกรรมฐาน หรือเจริญฌานสมาธิเทาน้ัน

อนัตตลกั ขณสตู ร ๑๓๓ พระผูมีพระภาคทรงแนะนําใหเจริญสมถกรรมฐาน เมื่อ เจริญจนไดฌานแลว จะสามารถใชฌานเปนบาทฐานในการเจริญ วิปสสนาตอไป หากยังไมไดฌาน ก็ควรพยายามใหไดอุปจารสมาธิ (สมาธิใกลฌาน) ซึ่งสามารถใชเปนบาทฐานสําหรับเจริญวิปสสนาได หรือถาไมไดอุปจารสมาธิ ก็พึงพยายามใหไดขณิกสมาธิ ซ่ึงเปนสมาธิ ที่เกิดข้ึนในขณะเจริญวิปสสนา เม่ือเกิดขณิกสมาธิข้ึนแลว วิปสสนา- ญาณก็จะพัฒนาขึ้นตามลําดับจนกระท่ังบรรลุถึงมรรคญาณได กิจสําคัญที่สุดในพระพุทธศาสนาก็ คือ การสั่งสมบุญดวย การเจริญวิปสสนาภาวนาและวิปสสนาญาณ เพราะจะไมสามารถ บรรลุมรรคผลไดหากไมมีการเจริญวิปสสนา ดังนั้น ผูท่ีตองการจะ บรรลุมรรคผลจึงจําเปนตองเจริญวิปสสนา และเราไมสามารถละเลย การทํากุศล (ไมวาชนิดใด) เพราะในขอน้ี พระพุทธองคทรงย้ําให ทํากุศลท้ัง ๓ ประการใหบริบูรณ ๓) สจิตฺตปริโยทปนํ ทําจิตของตนใหบริสุทธ์ิดวยการ ปฏิบัติวิปสสนาเพื่อพัฒนามรรคใหเจริญข้ึน เม่ือมรรคไดรับการ พัฒนาดวยวิปสสนาแลว ผลญาณก็ยอมเกิดตามมา เม่ือบรรลุ มรรคและผลแลว จิตก็จะหมดจดจากกิเลสท้ังมวล ในคัมภีร อรรถกถา๒๖ไดกลาววา ความบริสุทธิ์ที่สุด ไดแก ความบริสุทธิ์ของ พระอรหันต ขอนี้สอดคลองกับคําสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจาใน

๑๓๔ อนตั ตลักขณสูตร พระบาลี แตถึงกระนั้น บางคนก็ทําความเสียหายใหกับพระศาสนา ดวยการสอนวา “ทําใจใหสงบ หยุดคิด ทําจิตใจใหวางเปลาจาก กิจกรรมที่จะกอใหเกิดอกุศล แคเพียงเทาน้ีจิตก็จะบริสุทธ์ิได” การ สอนนี้ปราศจากเหตุผลดวยประการท้ังปวง เพราะการหามรักษา ศีล เจริญสมถะและวิปสสนา ไมไดทําใหจิตบริสุทธ์ิ จิตเปนสภาวะ ท่ีปราศจากแกนสาร บังคับบัญชาใหเปนไปตามความตองการไมได ดังน้ัน การอางวาสามารถบังคับจิตใหสงบโดยไมมีการเจริญสมถะ และวิปสสนาเปนเคร่ืองชวยน้ันเปนการขัดแยงกับอนัตตลักขณสูตร ท่ีตรัสวา เราไมสามารถสั่งจิตวา จงเปนอยางน้ี (เปนกุศล) จงอยา เปนอยางน้ัน (เปนอกุศล) ประโยคสุดทายในคาถานี้มีความวา เอตํ พุทฺธานสาสนํ (ท้ังสามอยางนี้คือการไมทําบาป ทําแตความดี ทําจิตใหบริสุทธิ์ เปนคําสอนของพระพุทธเจาทั้งหลาย) การปฏิบัติตามคําสอนทั้ง ๓ ประการนี้ จึงเปนการปกปอง และคํ้าจุนพระพุทธศาสนาใหเจริญรุงเรืองสถิตสถาพรไดตอไป

๕ ไตรลักษณ การแสดงธรรมเทศนาเร่ืองอนัตตลักขณสูตรในสวนที่วา ดวยขันธ ๕ ไมใชอัตตา ไดจบลงอยางสมบูรณแลว ลําดับตอไปจะ เริ่มอธิบายสวนที่ ๒ ของพระสูตร เก่ียวกับอนิจจลักษณะ (ลักษณะ ไมเที่ยง) และทุกขลักษณะ (ลักษณะเปนทุกข) ของขันธ ๕ โดยจะ ขอกลาวถึงอนัตตลักษณะ (ลักษณะไมใชตัวตน) ของขันธ ๕ และ เหตุผลที่อนัตตลักษณะเปนเรื่องเขาใจไดยากกอน

๑๓๖ อนตั ตลักขณสูตร อนัตตลักษณะ ขันธ ๕ ซึ่งประกอบดวยรูปและนามนั้น เปนอนัตตา ไมใช อัตตา ในคัมภีรอรรถกถาอธิบายความเปนอนัตตาไววา “ไมเปนไป ตามความปรารถนา” ในอนัตตลักขณสูตรตรัสไวดวยขอความวา “บุคคลยอมไมไดการจัดแจงในรูปวา รูปของเราจงเปนอยางน้ีเถิด” นอกจากน้ี ในพระสูตรน้ียังพบขอความวา “รูปนี้เปนไปเพื่อ เบียดเบียน” คําวา เบียดเบียน จึงเปนอีกลักษณะหนึ่งของอนัตตา และในพระสูตรยังไดตรัสถามวา “รูปใดไมเที่ยง เปนทุกข มีความ แปรปรวนเปนธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นส่ิงน้ันวา รูปน้ีเปนของ เรา รูปน้ีเปนเรา รูปน้ีเปนตัวตนของเรา” ดังน้ัน ความไมเท่ียง ความ แปรปรวนอยูเสมอ จัดเปนลักษณะอีกอยางหน่ึงของอนัตตา เมื่อผูปฏิบัติตามสังเกตลักษณะดังกลาวในขณะที่กําหนดรู สภาวธรรมรูปนามในปจจุบันขณะอยูนั้น จะเกิดปญญาเห็นแจงชัด วา รูปนามขันธ ๕ ไมใชตัวตน เปนเพียงสภาวธรรมเทานั้น ปญญานี้ เรียกวา อนัตตานุปสสนาญาณ อันเปนญาณที่พัฒนาข้ึนจากการหยั่ง เห็นอนัตตลักษณะ

อนัตตลักขณสูตร ๑๓๗ อนัตตลักษณะเปนเร่ืองเขาใจยาก ในคัมภีรสัมโมหวิโนทนี๒๗ กลาววา “อนิจจลักษณะและ ทุกขลักษณะเปนลักษณะท่ีเขาใจไดงาย แตอนัตตลักษณะเปน ลักษณะที่เขาใจไดยาก” เชน เมื่อหมอดินตกลงมาแตก เราจะพูด วา “มันไมเท่ียง ไมทนทาน” เมื่อเปนฝที่รางกาย หรือถูกหนามตํา เราจะพูดวา “แยจริง เปนทุกขจริงๆ” ลักษณะที่ไมเที่ยงและเปน ทุกขจึงเห็นไดชัดเจนและเขาใจไดงาย แตลักษณะที่ไมใชตัวตนน้ัน ไมสามารถท่ีจะเขาใจไดโดยงาย เหมือนกับของอยูในที่มืดซ่ึงเราไม สามารถอธิบายใหผูอ่ืนเขาใจได อนิจจลักษณะและทุกขลักษณะน้ีเปนท่ีรูจักกันดีท้ังในหมู ชาวพุทธและศาสนิกชนในศาสนาอ่ืน แตอนัตตลักษณะเปนท่ีรูจัก และสอนกันในศาสนาพุทธเทาน้ัน ไมมีการพูดถึงในศาสนาอ่ืน แมแต ผูมีปญญา เชน ฤษีสรภังคะ ซ่ึงเปนนักบวชนอกศาสนาพุทธก็สอน ไดเพียงธรรมชาติท่ีไมเท่ียงและเปนทุกขเทานั้น ไมสามารถคิดคน หลักการของอนัตตลักษณะได จึงไมสามารถสอนเร่ืองของอนัตตาได ดังน้ัน การบรรลุมรรคผลจึงไมสามารถมีไดในศาสนาอ่ืน พระบรมศาสดาทรงเปนผูเดียวท่ีสามารถเทศนาสั่งสอน หลักการของอนัตตลักษณะได ไมมีผูใดเลยที่เขาใจหลักการของ อนัตตาซ่ึงเปนเรื่องที่ละเอียดลึกซ้ึงอยางยิ่ง พระอรรถกถาจารยกลาว

๑๓๘ อนตั ตลกั ขณสูตร วาหลักการของอนัตตลักษณะนี้ ลึกซึ้งมากกระท่ังพระพุทธองคตอง ทรงใชอนิจจลักษณะ หรือทุกขลักษณะอยางใดอยางหน่ึง หรือท้ังสอง อยางมาชวยอธิบายหลักการของอนัตตลักษณะดวย๒๘ พระฎีกาจารยยังไดอธิบายเพิ่มเติมอีกวา “ทั้งอนิจจลักษณะ และทุกขลักษณะตามท่ีรูจักกันในศาสนาอ่ืนน้ัน ก็ยังอยูในระดับ สมมุติบัญญัติ ไมสามารถนํามาอธิบายหลักการของอนัตตลักษณะได จะตองเปนอนิจจลักษณะและทุกขลักษณะในระดับปรมัตถเทานั้น จึงจะนํามาใชอธิบายหลักการของอนัตตลักษณะได”๒๙ เราไดนํา แนวทางท่ีไดกลาวไวในคัมภีรฎีกามาใชอธิบายเก่ียวกับอนิจจลักษณะ และทุกขลักษณะทั้งที่เปนสภาวะปรมัตถ และท่ีเปนสมมุติบัญญัติ ผูที่สนใจสามารถคนควาเพ่ิมเติมไดในหนังสือสีลวันตสูตร การอธิบายอนัตตาดวยอนิจจัง ในมัชฌิมนิกาย อุปริปณณาสก ฉฉักกสูตร๓๐ มีการอธิบาย อนัตตาดวยอนิจจัง ในพระสูตรนั้น พระพุทธองคตรัสวา ผูปฏิบัติพึง รูธรรม ๖ อยาง อยางละ ๖ ดังนี้ คือ ๑) อายตนะภายใน ๖ ไดแก ตา หู จมูก ล้ิน กาย และใจ ๒) อายตนะภายนอก ๖ ไดแก รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ (มโนสัมผัส)

อนตั ตลักขณสตู ร ๑๓๙ ๓) วิญญาณ ๖ ไดแก รูเห็น รูไดยิน รูไดกล่ิน รูล้ิมรส รูโผฏฐัพพะ และรูคิดนึก ๔) ผัสสะ ๖ ไดแก กระทบเห็น กระทบไดยิน กระทบรูกล่ิน กระทบลิ้มรส กระทบสัมผัส และกระทบคิดนึก ๕) เวทนา ๖ ไดแก รูสึกเห็น รูสึกไดยิน รูสึกไดกล่ิน รูสึก ล้ิมรส รูสึกสัมผัส และรูสึกคิดนึกรูสึก ๖) ตัณหา ๖ ไดแก หิวรูป หิวเสียง หิวกลิ่น หิวรส หิวโผฏฐัพพะ และหิวธรรมารมณ ในคัมภีรอรรถกถาอธิบายคําวา “พึงรู” วา พึงรูดวยการ เจริญวิปสสนาจนบรรลุมรรคญาณ ดังนั้น เมื่อเห็นอะไรก็ตาม จะตอง กําหนดรูตา รูป จักขุวิญญาณ จักขุสัมผัส เวทนาที่เกิดจากการสัมผัส ทางจักษุ และหากมีความยินดีพอใจ หรืออยากไดอารมณท่ีเห็นนั้น ก็พึงกําหนดความพอใจอยากไดน้ันวา “ชอบหนอ ชอบหนอ” อีก ดวย๓๑ ในทํานองเดียวกัน เม่ือไดยิน รูกลิ่น ล้ิมรส สัมผัส และคิด นึก ผูปฏิบัติพึงระลึกรูธรรม ๖ หมวดน้ีดวยเชนเดียวกัน และเมื่อ ผูปฏิบัติกําหนดรูการไดยิน รูกลิ่น ล้ิมรส สัมผัส และคิดนึกอยูนั้น ปญญาเห็นแจงจะเกิดขึ้นแกผูปฏิบัติวา ตาและรูป หูและเสียง เปนตน เกิดข้ึนและดับไปอยางรวดเร็ว และเกิดความเขาใจไดวา มีเพียง

๑๔๐ อนัตตลักขณสตู ร สภาวธรรมที่เกิดขึ้นและดับไปอยูตลอดเวลาเทาน้ัน ไมมีตัวตนถาวร ทําใหอาจสงสัยวาปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานไปเพื่อใครกัน การเห็น แจงวาไมมีอัตตาตัวตนนี้เกิดข้ึนโดยอาศัยความเขาใจอยางแจมแจง ในอนิจจลักษณะ พระผูมีพระภาคไดตรัสสนับสนุนการปฏิบัติเพื่อ ใหเกิดความเขาใจจากประสบการณของตนเองไวในฉฉักกสูตรวา “รูปใสของตา ซึ่งเปนที่อาศัยเกิดของจักขุวิญญาณน้ี เกิดขึ้น และดับไปทุกครั้งที่มีการเห็น ดังนั้น จึงไมใชตัวตน เพราะไมย่ังยืน ไมคงทนอยูนาน ถาบุคคลกลาววา ตาเปนอัตตาของเรา ก็เทากับ กลาววา อัตตาของเขาเกิดข้ึนและดับไป ไมคงทน ดังนั้นจึงควรสรุป ไดวา ตาที่ไมคงทนนี้ไมใชอัตตาของเรา”๓๒ สําหรับรูปารมณ จักขุวิญญาณ จักขุสัมผัส และเวทนาที่เกิดจากจักขุสัมผัส ความพอใจ และความอยากไดรูปารมณท่ีสวยงามเหลานี้ ก็สามารถพิจารณาวาไมใชอัตตาของเราดวยวิธี เดียวกัน ธรรม ๖ อยางที่เกิดข้ึนในขณะเห็นนั้น และธรรม ๖ อยางในอีก ๕ หมวดท่ีเหลือ คือ ขณะไดยิน รูกล่ิน ลิ้มรส สัมผัส และคิดนึก ก็ สามารถพิจารณาไดวาไมใชตัวตนเพราะมีการ เกิดขึ้นและดับไปเชนกัน

อนัตตลกั ขณสตู ร ๑๔๑ การอธิบายอนัตตาดวยทุกขัง ในอนัตตลักขณสูตรไดตรัสอธิบายความเปนอนัตตาดวย ความเปนทุกข ดังพระดํารัสวา “แตเพราะรูปเปนอนัตตา จึงเปน ไปเพื่อเบียดเบียน” ความจริงแลวสิ่งใดท่ีเปนไปเพ่ือเบียดเบียน ส่ิงนั้นนากลัว เปนทุกข จึงเห็นไดงายวา สิ่งที่เปนทุกขนากลัว ยอม ไมสามารถกลาวไดวาเปนอัตตาของเรา การอธิบายอนัตตาดวยอนิจจังและทุกขัง พระผูมีพระภาคตรัสอธิบายอนัตตาดวยอนิจจังและทุกขังไว ดังน้ี “รูปไมเที่ยง รูปใดไมเที่ยง รูปนั้นยอมเปนทุกข รูปใดเปนทุกข รูปน้ันยอมไมใชอัตตา รูปใดไมใชอัตตา พึงเห็นดวยปญญาวา รูปนี้ มิใชของเรา รูปนี้มิใชเรา รูปนี้มิใชอัตตาของเรา” กลาวโดยสรุปวา “รูปไมเท่ียง เปนทุกข ดังน้ัน รูปจึงไมใช อัตตา ไมควรเห็นรูปท่ีไมใชอัตตาดวยตัณหาวา รูปนี้เปนของเรา รูป น้ีเปนเรา รูปนี้เปนอัตตาของเรา” ผูปฏิบัติพึงพิจารณาเห็นรูปตาม ความเปนจริงดวยวิธีอยางน้ี สําหรับเวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ก็สามารถ พิจารณาเห็นลักษณะที่ไมเท่ียง และเปนทุกขดวยวิธีการทํานอง

๑๔๒ อนัตตลักขณสูตร เดียวกัน ในตอนปลายของอนัตตลักขณสูตรจะพบขอความท่ีทรง อธิบายอนัตตาดวยอนิจจังและทุกขัง แนวคิดเก่ียวกับอนิจจังและทุกขังน้ีสามารถพบไดในคําสอน ศาสนาอ่ืน แตแนวคิดเกี่ยวกับอนัตตาซึ่งปฏิเสธอัตตาน้ัน ไมเปนท่ี ยอมรับในหมูคนนอกศาสนาพุทธ ในสมัยพุทธกาลมีนักบวชนอก ศาสนาช่ือวา สัจจกนิครนถ ไดมาเขาเฝาพระพุทธเจาเพื่อโตวาทะ เรื่องอนัตตา การโตวาทะของสัจจกนิครนถ สัจจกนิครนถเปนอาจารยของพระเจาลิจฉวีในกรุงเวสาลี สัจจกนิครนถถามทานพระอัสสชิที่อาวุโสนอยท่ีสุดในบรรดาพระ ปญจวัคคียวา “พระสมณโคดมทรงแนะนําสาวกอยางไร พระองค ทรงสอนสาวกสวนมากวาอยางไร” พระอัสสชิไดตอบวา “รูป ไมเที่ยง เวทนา...สัญญา...สังขาร...วิญญาณไมเท่ียง ไมใชตัวตน พระบรมศาสดาของเราทรงแนะนําอยางน้ี น้ีเปนคําสั่งสอนของ พระองคแกสาวกเปนสวนมาก เมื่อไดยินดังนั้น สัจจกนิครนถกลาววา “ทานอัสสชิ เรา ไดยินมาอยางน้ี เราไดยินมาวาพระสมณโคดมสอนเกี่ยวกับอนัตตา

อนัตตลกั ขณสูตร ๑๔๓ อยางน้ี ความเห็นน้ีเลวทราม สักวันหน่ึงเราจะหาโอกาสไปพบทาน สมณโคดมเพ่ือเปลื้องพระองคจากความเห็นผิดเกี่ยวกับอนัตตาน้ี” สัจจกนิครนถไมไดศึกษาคําสอนของพระพุทธองคมาอยาง เพียงพอ และมิไดมีประสบการณในการปฏิบัติธรรม แตดูหมิ่น คําสอนของพระองค และคิดวาความเห็นของตนนั้นสูงสงกวา ดังนั้น จึงพยายามเขาไปเฝาพระผูมีพระภาคเพื่อโตตอบวาทะกับพระองค เขาม่ันใจวาจะชนะในการโตวาทะและตองการจะมีพยานรูเห็น ชัยชนะ จึงเขาไปหาพวกเจาลิจฉวีแหงกรุงเวสาลีแลวชักชวนใหไป เขาเฝาพระผูมีพระภาคดวยกัน โดยไดคุยโววาจะฉุดกระชากลาก คําตอบของพระสมณโคดมดวยถอยคําของตน ดุจบุรุษที่มีกําลังจับ ลูกแกะขนยาวท่ีขนแลวเหว่ียงไปโดยรอบ ฉะนั้น เม่ือสัจจกนิครนถหอมลอมดวยบรรดาเจาลิจฉวีไดพากันมา เขาเฝาพระผูมีพระภาคและทูลขอโอกาสเพ่ือจะถามปญหา ครั้นทรง อนุญาตแลว สัจจกนิครนถทูลถามวา “พระสมณโคดมแนะนําพวก สาวกอยางไร ทานสั่งสอนอะไรท่ีเปนหลักสําคัญ” พระผูมีพระภาคตรัสตอบเชนเดียวกับ ท่ีพระอัสสชิไดตอบไปแลววา “รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ไมเที่ยง ไมใช อัตตา เราแนะนําสาวกของเราอยางน้ี น้ีคือ หลักสําคัญที่เราสั่งสอนสาวกของเรา”

๑๔๔ อนัตตลักขณสตู ร สัจจกนิครนถจึงเร่ิมการโตวาทะดวยคําอุปมาวา “ทาน พระโคดมเปรียบเหมือนพืชพันธุไมที่ตองอาศัยแผนดิน จะตองมี แผนดินเปนท่ีต้ังจึงจะเจริญงอกงามเปนตนไมใหญได หรือเปรียบ เหมือนคนท่ีทําการงานที่ตองใชกําลังมาก จะตองมีแผนดินรองรับ จึงจะทําการงานน้ันได ฉันใด บุคคลมีรูปเปนอัตตา ตองตั้งอยูในรูป จึงจะทําการงานทั้งท่ีเปนกุศลและอกุศลได บุคคลมีเวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ เปนอัตตา ตองต้ังอยูในเวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ จึงจะทําการงานท้ังที่เปนกุศลและอกุศลได ฉันน้ัน” อุปมาของสัจจกนิครนถน้ี หมายความวา พืชพันธุไมตอง อาศัยแผนดินเปนท่ีรองรับจึงจะเจริญเติบโตได กิจการงานตางๆ ที่ ตองใชกําลังก็ตองอาศัยผืนแผนดินเปนฐานที่ตั้งอันม่ันคงจึงจะทํา การงานใหสําเร็จได การงานที่เปนกุศลและอกุศลก็เชนเดียวกัน จําเปนตองอาศัยรูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ เปนอัตตา ตัวตน จึงจะมีท่ีต้ังสําหรับทําการงานท่ีเปนกุศลและอกุศลใหสําเร็จได อีกประการหน่ึง อัตตายอมเปนผูเสวยผลวิบากของกุศลและอกุศล นั้น หากรูปไมใชอัตตาแลว จะหาผูทํากุศลและอกุศลกรรมไดจาก ไหน และใครเลาจะเปนผูเสวยผลของกรรมเหลาน้ัน การเปรียบเทียบอัตตากับผืนแผนดินน้ี คัมภีรอรรถกถากลาว วาอยูเหนือปญญาระดับสาวกจะกลาวแกได มีแตพระผูมีพระภาค

อนตั ตลักขณสตู ร ๑๔๕ พระองคเดียวเทานั้นที่จะทรงโตตอบได ๓๓ ดังนั้น พระพุทธองคจึง ตรัสถามสัจจกนิครนถวา “อัคคิเวสสนะ ทานกลาววารูปเปนอัตตา เวทนาเปนอัตตา สัญญาเปนอัตตา สังขารเปนอัตตา วิญญาณเปน อัตตา เชนน้ันหรือ” “ทานพระโคดม ขาพเจากลาวอยางน้ัน คนทั้งหลายในท่ีนี้ก็ กลาวอยางนั้น” พระผูมีพระภาคตรัสวา “อัคคิเวสสนะ ไมตองกลาวถึงความ เห็นของคนอื่น เชิญทานยืนยันคําของทานเถิด” สัจจกนิครนถประสงคจะแบงความผิดใหคนอ่ืนในที่นั้นหาก เกิดผิดพลาด แตพระพุทธองคประสงคจะใหสัจจกนิครนถยืนยัน ความเห็นของตน ดังนั้น สัจจกนิครนถจึงจําตองยืนยันความเห็นของ ตนวา เขาไดกลาววา รูปเปนอัตตา เวทนาเปนอัตตา สัญญาเปนอัตตา สังขารเปนอัตตา วิญญาณเปนอัตตาจริง พระผูมีพระภาคจึงตรัสถามอีกวา “อัคคิเวสสนะ พระราชา เชนพระเจาปเสนทิโกศล และพระเจาอชาตศัตรูเปนตน ผูไดอภิเษก เปนมหากษัตริยในแวนแควนของตนแลว อาจฆาคนท่ีควรฆา ลงโทษ คนท่ีควรลงโทษ เนรเทศคนท่ีควรเนรเทศ พระราชามหากษัตริยผูได อภิเษกแลวยอมมีอํานาจเหนือแวนแควนของพระองคจริงหรือไม”

๑๔๖ อนตั ตลักขณสตู ร “กษัตริยผูท่ีไดอภิเษกแลวยอมมีอํานาจเหนือแวนแควน ของพระองค แมพวกเจาลิจฉวีผูไดรับเลือกตั้งจากประชาชนก็ยัง มีอํานาจฆา ลงโทษ และเนรเทศ คนที่อยูในแวนแควนของตน” สัจจกนิครนถทูลตอบพรอมกับขยายความเพิ่มเติมโดยไมคาดคิดวา คําตอบน้ันจะมีขอขัดแยงกับความเห็นของตน พระผูมีพระภาคตรัสถามตอไปวา “อัคคิเวสสนะ ทานกลาว วา รูปเปนอัตตาของเรา ทานจะบังคับรูปใหเปนไปตามความตองการ ของทานไดหรือไม ทานจะกลาวกับรูปวา จงเปนเชนนี้ จงอยาเปน เชนนั้น” สจั จกนคิ รนถร ตู วั วา ตกทน่ี งั่ ลาํ บาก เพราะหลกั การของอตั ตา คือ ตองสามารถควบคุมใหเปนไปตามความตองการได การยึดมั่น สามีอัตตาจะเชื่อวาสามารถบังคับบัญชาใหเปนไปตามความตองการ ได สัจจกนิครนถไดยอมรับแลววากษัตริยทรงมีอํานาจในแวนแควน ของตนอยางเต็มที่ จึงตองยอมรับวา รูปซ่ึงเขากลาววาเปนอัตตาน้ัน จะตองบังคับบัญชาใหเปนไปตามความตองการของตนได แตถาเขา กลาวเชนน้ันก็จะมีคําถามตามมาวา เขาจะสามารถบังคับใหรูปของ ตนยังคงเปนหนุมเหมือนรูปของเจาลิจฉวีไดหรือไม ถาเขาตอบวาไม สามารถบังคับได ก็เทากับยอมรับวารูปไมอยูในความควบคุมบังคับ บัญชา ดังน้ันรูปจึงไมใชอัตตา สัจจกนิครนถจนปญญาที่จะตอบ จึง น่ังนิ่งเฉยอยู

อนัตตลักขณสูตร ๑๔๗ พระผูมีพระภาคตรัสถามเปนคร้ังท่ีสอง แตสัจจกนิครนถก็ ยังคงนิ่งเฉย กอนท่ีจะตรัสถามเปนครั้งท่ีสาม พระผูมีพระภาคทรง เตือนวา “อัคคิเวสสนะ ทานจงตอบคําถามของเรา เวลานี้ไมใชเวลา ที่ควรน่ิง ผูใดเม่ือพระตถาคตถามปญหาถึงสามครั้งแลวจะตองตอบ คําถามน้ัน มิฉะน้ันศีรษะของเขาจะแตกเปนเจ็ดเสี่ยง” ในขณะนั้นยักษตนหน่ึง๓๔ (ในคัมภีรอรรถกถาของจูฬสัจจก- สูตรกลาววาเปนทาวสักกเทวราช) ถือกระบองลอยอยูเหนือศีรษะ ของสัจจกนิครนถ เตรียมพรอมที่จะฟาดกระบองลงบนศีรษะของ เขาใหแตกเปนเส่ียงๆ ยักษตนนี้เห็นไดเฉพาะพระผูมีพระภาคและ สัจจกนิครนถเทาน้ัน คลายกับผีในสมัยปจจุบันท่ีเห็นไดเฉพาะคน สวนคนอ่ืนมองไมเห็น สัจจกนิครนถตกใจกลัวยักษตนน้ันอยางยิ่ง แตคนอ่ืนในที่น้ันไมมีทาทีตกใจจึงทราบวาพวกเขามองไมเห็นยักษ เขาตระหนักวาจะไมสามารถแกตัวได จึงจําเปนตองตอบอยางน้ัน เพราะถูกยักษขมขู เมื่อสัจจกนิครนถรูวาไมมีท่ีพ่ึงอ่ืนนอกเสียจาก พระผูมีพระภาคจึงทูลวา “ขอพระองคทรงถามเถิด ขาพเจาพรอม จะตอบแลว” พระผูมีพระภาคทรงถามวา “อัคคิเวสสนะ ทานเห็นอยางไร ในเรื่องนี้ ทานกลาววารูปเปนอัตตา ทานจะกลาวกับรูปไดหรือไม วา รูปจงเปนเชนน้ีเถิด จงอยาเปนเชนน้ันเลย จงเปนไปตามความ

๑๔๘ อนัตตลกั ขณสตู ร ปรารถนาของเรา” สัจจกนิครนถทูลวา “ไมสามารถกลาวได พระพุทธเจาขา” คําตอบน้ีขัดกับคําที่เขากลาวไวแตแรกวารูปเปนอัตตา เพราะถารูป เปนอัตตาก็จะตองสามารถบังคับบัญชาใหเปนไปตามความประสงค ได แตมาบัดนี้เขากลาววา ไมสามารถบังคับบัญชาใหรูปเปนไปตาม ความประสงคได จึงเทากับยอมรับวารูปไมใชอัตตา เม่ือพระผูมี- พระภาคไดสดับวา เขาพูดขัดกับคําเดิมของตนเอง จึงทรงเตือนวา “อัคคิเวสสนะ จงคิดใหดี ทานจงระวังคําตอบของทาน เพราะคํา พูดหลังไมตรงกับคําพูดแรก คําที่ทานพูดไวกอนไมตรงกับคําที่ทาน พูดทีหลัง” “อัคคิเวสสนะ ทานเห็นอยางไรในเร่ืองนี้ ทานกลาววาเวทนา เปนอัตตา ทานจะกลาวกับเวทนาไดหรือไมวา เวทนาจงเปนเชนน้ี เถิด จงอยาเปนเชนนั้นเลย จงเปนไปตามความปรารถนาของเรา” “ไมสามารถกลาวได พระพุทธเจาขา” พระผูมีพระภาคตรัสถามตอไปถึงสัญญา สังขาร และ วิญญาณ โดยไดทรงเตือนใหสัจจกนิครนถระวังคําตอบซ่ึงจะขัดแยง กับคําตอบแรก และสัจจกนิครนถก็ไดทูลตอบเชนเดิมวา ไมสามารถ บังคับบัญชาได

อนัตตลักขณสตู ร ๑๔๙ ตอมาพระผูมีพระภาคตรัสถามสัจจกนิครนถวา “รูปเที่ยง หรือไมเท่ียง” “ไมเท่ียง พระพุทธเจาขา” “รูปใดไมเท่ียง รูปน้ันเปนสุขหรือเปนทุกข” “เปนทุกข พระพุทธเจาขา” “รูปใดไมเท่ียง เปนทุกข มีความแปรปรวนอยูเปนธรรมดา ควรหรือท่ีจะเห็นวา รูปน้ีเปนของเรา รูปน้ีเปนเรา รูปน้ีเปนอัตตา ของเรา” “ไมควรเลย พระพุทธเจาขา” จากน้ัน พระองคไดตรัสถามถึง เวทนา สัญญา สังขาร และ วิญญาณ ตามลําดับ และสัจจกนิครนถก็ทูลตอบในทํานองเดียวกัน หลังจากน้ัน พระองคตรัสถามตอไปวา “อัคคิเวสสนะ ทาน มีความเห็นอยางไรในเร่ืองน้ี บุคคลใดติดของอยูในทุกข ยึดมั่นใน ทุกข ยึดติดในทุกข กอดทุกขเอาไว แลวกลาววา นี่เปนของเรา น่ี เปนเรา นี่เปนอัตตาของเรา เปนไปไดหรือไมท่ีบุคคลน้ันจะกําหนด รูทุกขไดอยางแทจริง และดับทุกขใหหมดไปได” คําถามน้ีลึกซ้ึงมาก หมายความวา รูปนามที่เกิดข้ึนทางทวารทั้ง ๖ ในขณะที่เห็น ไดยิน รูกลิ่น ล้ิมรส สัมผัส และคิดนึกเหลาน้ี บุคคลที่ยินดีพอใจในรูปนาม

๑๕๐ อนตั ตลักขณสูตร ท้ังหลายเหลาน้ี โดยคิดวา นี่เปนของเรา นี่เปนเรา น่ีเปนอัตตาของ เรา บุคคลผูนี้จะตระหนักหรือไมวา รูปนามเหลานี้เปนทุกข จะเปน ไปไดหรือไมวาเขาจะสามารถกําจัดทุกขเหลานี้ใหหมดไปได สัจจกนิครนถตอบวา “ทานโคดมผูเจริญ จะเปนไปไดอยางไร ท่ีเขาจะกําหนดรูทุกขไดเอง และดับทุกขใหหมดไป เปนไปไมไดเลย” “อัคคิเวสสนะ เมื่อเปนอยางนี้ ทานเปนผูติดของอยูในทุกข ยึดม่ันในทุกข ยึดติดในทุกข กอดทุกขเอาไว แลวกลาววา นี่เปนของ เรา นี่เปนเรา นี่เปนอัตตาของเรา เปนไปไดหรือไมท่ีทานจะกําหนด รูทุกขไดอยางแทจริง และดับทุกขใหหมดไปได” สัจจกนิครนถมีความเช่ือม่ันในอัตตทิฏฐิของตนอยางรุนแรง เขามีความภูมิใจในความเห็นของตน และมักโออวดกับผูอื่นอยูเสมอ แตเมื่อถูกพระผูมีพระภาคสอบสวนดังนี้ก็จําตองยอมรับวาทิฏฐิของ ตนนั้นผิดมาตลอด ความเชื่อในอัตตา หรือเรียกวา อัตตวาทะของเขา ถูกลมลางจนหมดสิ้น และเพ่ือกําจัดความหลงตัวเองของเขาใหหมด ส้ินไป พระผูมีพระภาคไดตรัสเทศนาดวยอุปมาดังตอไปน้ี “อัคคิเวสสนะ สมมุติวามีชายคนหน่ึง ตองการหาไมที่มีแกน จึงเขาไปในปา เห็นตนกลวยตนหนึ่งก็คิดวาจะไดพบแกนไมอยูภายใน จึงตัดตนกลวยที่โคน หลังจากน้ันก็ตัดปลายออกแลวลอกกาบใบออก

อนตั ตลกั ขณสตู ร ๑๕๑ อยาวาแตแกนไมเลย แมแตกระพี้ก็ยังหาไมไดจากตนกลวยนั้น ตัวอยางท่ียกมานี้ เมื่อเราซักไซสอบสวนทานเร่ืองอัตตา ก็ เห็นวาวางเปลา ทานไดกลาววาจาน้ีทามกลางชุมชนในกรุงเวสาลี มิใชหรือวา ไมมีใครที่จะโตตอบวาทะกับเราแลวจะไมประหมา ไม สะทกสะทาน ไมมีเหง่ือไหลออกจากรักแร เราไมเคยพบสมณะหรือ พราหมณคนใด หรือแมแตผูท่ีปฏิญาณตนวาเปนพระอรหันตจะ โตตอบวาทะกับเราโดยไมประหมา ไมสะทกสะทาน ไมมีเหงื่อไหล ออกจากรักแร แมแตเสาท่ีไมมีชีวิต ไมมีจิตใจ เม่ือถูกเราซักไซก็ยัง ประหมา สะทกสะทาน หวั่นไหว จะปวยกลาวไปไยถึงมนุษยเลา อัคคิเวสสนะ ทานเคยกลาวอยางน้ีมิใชหรือ บัดน้ี เหงื่อของทานไหล ออกจากหนาผากหยดลงสูผาหมจนเปยกชุมแลวหยดสูพื้น สวนเรา ไมมีเหง่ือท่ีกายเลย” ตรัสดังน้ีแลว ทรงเปดแสดงพระกายสวนหนึ่ง เพื่อใหคนทั้งหลายไดเห็นวาไมมีเหงื่อที่พระวรกายเลย สัจจกนิครนถไมมีอะไรจะพูด นิ่งอ้ึง เกอเขิน ไหลตก กมหนา เจาลิจฉวีองคหน่ึงผูเปนสาวกของสัจจกนิครนถ มีนามวา ทุมมุขะ ได ลุกข้ึนยืนแลวทูลขอประทานอนุญาตเพื่อแสดงอุปมา เม่ือพระองค ประทานพุทธานุญาตแลว ไดทูลวา “ขาแตพระองคผูเจริญ เปรียบ เหมือนมีสระแหงหน่ึงไมไกลจากหมูบาน มีปูตัวหน่ึงอาศัยอยูในสระ นั้น พวกเด็กๆ ในหมูบานไปเลนที่สระ ไดจับปูขึ้นจากนํ้า แลววางไว

๑๕๒ อนัตตลกั ขณสูตร บนบก เมื่อปูเดินสายกามไปทางไหน เด็กพวกน้ันก็ตอยกามและขา ของมันดวยไมบาง ดวยกระเบื้องแตกบาง จนกามและขาของมันหัก ไปหมดไมอาจจะเดินกลับลงสูสระนํ้าได ฉันใด ทิฏฐิท่ีผิดอันเปนดุจ เส้ียนหนามของสัจจกนิครนถน้ัน พระองคไดกําจัดไปหมดส้ินแลว ตอไปสัจจกนิครนถก็จะไมเขามาใกลพระองคเพ่ือโตตอบวาทะกับ พระองคอีก” ในขณะท่ีเจาทุมมุขะลิจฉวีกําลังทูลพระผูมีพระภาคอยูนั้น เจาลิจฉวีองคอื่นๆ ก็รอโอกาสท่ีจะยกอุปมาเปรียบเทียบเพ่ือกลาว โทษสัจจกนิครนถบาง ฝายสัจจกนิครนถประเมินสถานการณแลว เห็นวาเจาลิจฉวีจะพากันซํ้าเติมตนใหหนักขึ้นอีก จึงรีบตัดบทวา “เจาทุมมุขะ ทานจงหยุดเถิด เรากําลังพูดอยูกับพระโคดม ไมไดพูด กับทาน” แลวจึงทูลวา “ขาแตทานโคดม ที่เราไดพูดกัน และที่ผูอ่ืน พูดกันนั้นคงเพียงพอแลว ขอใหยุติไวเพียงเทานี้ เปนเพียงการพูด เรื่อยเปอยไปเทาน้ัน” ตอมาสัจจกนิครนถทูลถามวา “สาวกของพระโคดมปฏิบัติ อยางไรจึงจะขามพนความสงสัยปราศจากความคลางแคลงใจ และ ถึงความแกลวกลาไมตองเชื่อผูใดในคําสอนของพระศาสดา” พระผูมีพระภาคตรัสเทศนาวา สาวกผูนั้นจะตองอุทิศตน ใหกับการปฏิบัติวิปสสนาจนกระท่ังบรรลุมรรคญาณ หย่ังรูดวย

อนตั ตลกั ขณสตู ร ๑๕๓ มรรคปญญาวา รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณที่คนท่ัวไป ยึดถือวา น่ันเปนของเรา น่ันเปนเรา น่ันเปนอัตตาของเราน้ัน แท ที่จริงแลวขันธ ๕ นี้ไมใชของเรา ไมใชเรา ไมใชอัตตาของเรา สัจจกนิครนถทูลถามตอไปวา “บุคคลปฏิบัติอยางไรจึงจะ สําเร็จเปนพระอรหันต” พระพุทธองคตรัสตอบวา หลังจากหย่ังรูดวยปญญาวา ขันธ ๕ ไมใชของเรา ไมใชเรา ไมใชอัตตาของเราแลว ผูปฏิบัติจะตองปฏิบัติ ตอไปจนกระทั่งพนจากความยึดม่ันถือม่ัน สรุปผลจากการโตวาทะระหวางสัจจกนิครนถกับพระผูมี- พระภาคก็คือ มีความเห็นผิดประการหน่ึงที่กลาววา ขันธ ๕ ทั้งหมด เปนอัตตา และผูที่ยึดม่ันในอัตตามักจะดูหมิ่นผูที่เชื่อในคําสอน เก่ียวกับอนัตตาอยูเสมอ นอกจากนี้ ยังมีความเห็นผิดอีกประการหนึ่งท่ีกลาววาขันธ อยางใดอยางหนึ่งเพียงอยางเดียวเปนอัตตา เชน การยึดม่ันสติวา เปนอัตตา ซึ่งเราไดอธิบายไวในบทที่ ๔ และการยึดม่ันเวทกอัตตา และการกอัตตาวาเปนอัตตาอีกดวย

๑๕๔ อนัตตลักขณสตู ร อัตตาท่ี ไมเกี่ยวกับขันธ ๕ ในสมัยปจจุบัน ยังเกิดความเช่ือเร่ืองอัตตาอีกแบบหน่ึง ดัง ท่ีบรรยายไวในหนังสือปรัชญาอินเดีย อัตตวาทุปาทานแนวใหมนี้ ไมกลาววาขันธ ๕ เปนอัตตา และไมใชอัตตา ความเช่ือวาอัตตา ไมเก่ียวกับขันธ ๕ น้ีไมพึงยึดถือเปนสาระ เพราะการยึดม่ันอัตตา ยอมมีไมไดหากปราศจากขันธ ๕ ลองคิดดูวา ถาไมมีรูป ก็จะไม สามารถรับรูรูปรางของอัตตาได ถามีเพียงนาม ก็จะมีการยึดม่ัน อัตตาท่ีคลายกับปุถุชนยึดมั่นในอรูปภูมิ แตถาปราศจากนาม ก็จะ ไมมีอะไรเหลือใหยึดม่ันวาเปนอัตตา และถาไมมีเวทนาดวย ก็จะไมมี การยึดม่ันในเวทนาทั้งสุขเวทนาและทุกขเวทนาวาเปนอัตตา ถาไมมี สัญญา ก็จะไมมีการยึดม่ันในการจําไดหมายรูวาเปนอัตตา ถาไมมี จิต ก็ไมมีการรับรูอะไร ถาไมมีสังขาร เชน เจตนาเปนตน อัตตาก็ จะไมสามารถทําอะไรใหสําเร็จได ถาเปนดังน้ีแลว อัตตานี้จะเปน เพียงช่ือเทานั้น ปราศจากความหมายในทางปฏิบัติ และไมสามารถ บรรยายถึงลักษณะได แตอัตตาที่บุคคลทั่วไปยึดมั่นไดแกขันธ ๕ ขันธใดขันธหน่ึงหรือหลายขันธ หรือทั้ง ๕ ขันธ จึงเปนไปไมไดที่ จะมีการยึดม่ันอัตตาท่ีไมเกี่ยวกับขันธ ๕

อนตั ตลักขณสูตร ๑๕๕ ดังน้ัน ในอนัตตลักขณสูตร จึงมีขอความวา “รูปมิใชอัตตา เวทนามิใชอัตตา สัญญามิใชอัตตา สังขารมิใชอัตตา วิญญาณมิใช อัตตา” ซึ่งปฏิเสธขออางวามีการยึดม่ันอัตตาท่ีไมเกี่ยวกับขันธ ๕ โดยส้ินเชิง ถาบุคคลยึดมั่นรูปวาเปนอัตตา ขันธ ๔ ที่เหลือมีเวทนา เปนตน ก็ถูกยึดม่ันวาเปนอัตตาไปพรอมกันในฐานะที่เปนธรรม ที่เกี่ยวเนื่องสนับสนุนกัน หรือถาบุคคลยึดมั่นเวทนาวาเปนอัตตา ขันธ ๔ ท่ีเหลือก็ถูกยึดม่ันวาเปนอัตตาไปดวยในฐานะเปนธรรม ท่ีสนับสนุนกัน พระผูมีพระภาคทรงปฏิเสธการยึดมั่นขันธ ๕ วา เปนอัตตา และไดทรงอธิบายเพ่ิมเติมเกี่ยวกับอนิจจลักษณะ และ ทุกขลักษณะ ดังคําเทศนาตอไปวา ตํ กึ มฺถ ภิกฺขเว รูป นิจฺจํ วา อนิจฺจํ วาติ. อนิจฺจํ ภนฺเต. “ภิกษุท้ังหลาย เธอจะสําคัญขอนี้เปนไฉน รูปเท่ียงหรือ ไมเท่ียง” “ไมเท่ียง พระพุทธเจาขา”

๑๕๖ อนัตตลกั ขณสูตร พระผูมีพระภาคตรัสถามเชนนี้แลว พระปญจวัคคียไดทูล ตอบวา “ไมเท่ียง” คําตอบน้ีอาจเปนความรูที่เกิดจากการไดฟง แต พระองคประสงคใหพระปญจวัคคียตอบจากประสบการณที่ไดรูเห็น ดวยตนเอง และเน่ืองจากพระปญจวัคคียไดบรรลุเปนพระโสดาบัน ไดเห็นความจริงขอนี้โดยประจักษดวยตนเองแลว จึงเปนคําตอบที่ ตรงตามพุทธประสงค ผูที่ปฏิบัติธรรมมาถึงระยะหน่ึงแลว ก็สามารถตอบไดจาก ประสบการณของตนเอง เม่ือกําหนดรูสภาวะพอง ก็จะเห็นการ ขยายตัว ตึง และเคล่ือนไหวของทองไดอยางชัดเจน สภาวะเชนนี้ ไมไดมีมากอน เม่ือทองพองขึ้นจึงเรียกสภาวะนี้วา การเกิด สภาวะ พองนี้เริ่มตนเกิดขึ้นเมื่อทองเร่ิมขยายตัวซ่ึงผูปฏิบัติตองกําหนดรู ใหทันในขณะที่ทองพองขึ้น และเมื่ออาการพองสิ้นสุดลง ก็ไมมี สภาวะที่ขยายตัว ตึง และเคลื่อนไหว จึงเรียกอาการน้ีวาเปนการ ดับ ดังน้ัน ในขณะที่ผูปฏิบัติกําหนดรูสภาวะพองของทองอยูนั้น เมื่อ สภาวะพองน้ันหายไป เขายอมเห็นการดับของสภาวะพองน้ันดวย การเกิดและการดับที่ติดตอกันอยางน้ีแสดงใหเห็นความไมเท่ียง

อนตั ตลกั ขณสตู ร ๑๕๗ การเห็นความไมเท่ียงในขณะกําหนดรูสภาวะพองยุบของ ทองจัดเปนวิปสสนาปญญาที่หย่ังเห็นอนิจจลักษณะเรียกวา อนิจจา- นุปสสนาญาณ สวนปญญาที่เห็นความไมเที่ยงที่เกิดจากการตามรู การเกิดขึ้น ตั้งอยู และดับไปของสภาวธรรม เรียกวา สัมมสนญาณ ซ่ึงเปนวิปสสนาญาณขั้นที่ ๑ ในวิปสสนาญาณ ๑๐ สัมมสนญาณน้ี หยั่งเห็นเฉพาะการเกิดขึ้นและการดับไปของสภาวธรรมอยางเดียว เทาน้ัน สวนรายละเอียดที่เกิดขึ้นในระหวางการเกิดและการดับน้ัน ยังไมเห็นในญาณนี้ เปนแตเพียงปญญาที่เห็นความไมเที่ยงซ่ึงเกิด จากการเฝาสังเกตความเกิดขึ้นและดับไปของสภาวธรรมที่ดําเนินอยู ในปจจุบันขณะเทานั้น ในขณะที่เห็นการเกิดข้ึนของสภาวะพอง ก็นับเปนการเห็น ท้ังการเกิดและดับ การเห็นการเกิดขึ้นของสภาวะพองเปนการรูเห็น ความเกิด การเห็นการส้ินสุดของสภาวะพองเปนการรูเห็นความดับ ผูท่ีตามเห็นการเกิดดับอยูเชนน้ี จะไมมีการเขาใจผิดวาสภาวธรรม เปนส่ิงท่ีเท่ียงแท แตจะเชื่อแนวาสภาวธรรมท้ังหลายไมเท่ียง ในขณะที่กําหนดรูสภาวะยุบของทอง จะรูสึกถึงการหดตัว ของทองอยางชัดเจน น่ันคือ อาการปรากฏของวาโยธาตุ๓๕ การ เห็นขณะเร่ิมตนและขณะส้ินสุดของสภาวะยุบของทอง เปนการ เห็นสภาวลักษณะของวาโยธาตุ ในขณะทองพอง ก็ไมมีรูปทองที่ยุบ

๑๕๘ อนตั ตลกั ขณสูตร เม่ือสภาวะพองดับไป สภาวะยุบจึงเกิดขึ้น และตอมาสภาวะยุบก็ดับ ไปในทันที ดังนั้น จึงเห็นไดวารูปท่ียุบก็ไมเท่ียงเชนกัน เหตุใดจึงเรียกวาไมเท่ียง ในคัมภีรอรรถกถากลาววา อนิจฺจํ ขยฏเน.๓๕ “ไมเท่ียงเพราะหมดสิ้นไป” ตามคําจํากัดความนี้ สภาวะยุบของทองปรากฏใหเห็นได จากการหดตัวของทองท่ีส้ินสุดลง ดังนั้น สภาวะยุบจึงไมเท่ียง ยังมีคําจํากัดความตามคัมภีรอรรถกถา๓๗ อีกอยางหน่ึง คือ หุตฺวา อภาวโต อนิจฺจา (ไมเที่ยง เพราะเกิดขึ้นแลวดับไป) ขณะท่ีผูปฏิบัติกําหนดรูวา “ยุบหนอ” จะเห็นสภาวะเกิดขึ้น และดับไปของสภาวะยุบ จึงประจักษแจงอนิจจลักษณะ ซ่ึงเปน อนิจจานุปสสนาญาณท่ีเขาใจลักษณะไมเท่ียงอยางแทจริง สําหรับ ปญญาที่ในข้ันสัมมสนญาณ เกิดขึ้นดวยการเห็นการเกิดข้ึนและดับ ไปติดตอกันของสภาวธรรมในปจจุบันขณะ และในอุทยัพพยญาณ จะสามารถกําหนดเห็นการเกิดดับ ๓, ๔ หรือ ๕ คร้ังในสภาวะพอง หรือยุบแตละรอบ และเมื่อบรรลุถึงภังคญาณ ผูปฏิบัติจะเห็นการดับ ติดตอกันอยางรวดเร็วในสภาวะพองหรือยุบแตละรอบ ทําใหผูปฏิบัติ

อนัตตลักขณสูตร ๑๕๙ ไดรูเห็นวารูปท่ีเกิดดับติดตอกันอยางรวดเร็วตลอดเวลาเชนน้ี เปน ส่ิงที่ไมเท่ียงโดยแท เมื่อกําลังคูหรือเหยียดแขน ผูปฏิบัติท่ีกําหนดรูอยูอยาง ตั้งใจวา “คูหนอ คูหนอ” “เหยียดหนอ เหยียดหนอ” จะเห็นการ เกิดขึ้นและดับไปของการคูและการเหยียดอยางชัดเจน ท้ังน้ีเปน เพราะไดมีการกําหนดความเคลื่อนไหวนั้นอยางระมัดระวัง ผูท่ีไม ไดกําหนดรูสภาวะคูและเหยียดอาจไมไดรับรูสภาวะคูและเหยียด ของแขน และยอมไมเห็นการเกิดข้ึนและการดับไปของสภาวะคูและ เหยียดวาเปนคนละอยางกัน และจะรูสึกวามือของเขาไมไดเคล่ือน ไปไหน ในขณะคูหรือเหยียดแขนน้ันจะมีการเห็นความเคลื่อนไหว ตอๆ กันไปอยางชาๆ จากระยะหนึ่งไปสูอีกระยะหน่ึงคลายกับ ภาพยนตรที่ฉายอยางชาๆ การคูหรือการเหยียดแตละครั้งเกิดขึ้น เพราะมีวาโยธาตุเกิดข้ึน และหยุดลงเพราะการดับของวาโยธาตุ เม่ือกําหนดรูการเกิดและการดับของการคูก็เทากับเปนการกําหนดรู การเกิดและการดับของวาโยธาตุ ในการกําหนดรูการเกิดดับของการ เหยียด จึงหมายถึงการกําหนดรูการเกิดดับของวาโยธาตุ เพราะวาโย ธาตุมีลักษณะตึงและเคลื่อนไหว การเห็นการเกิดขึ้นและดับไปของ สภาวะคูและเหยียดของแขนอยางชาๆ นี้ ทําใหรูชัดความไมเที่ยง

๑๖๐ อนตั ตลักขณสูตร ของสภาวธรรม ซึ่งถาไมกําหนดอยางตั้งใจก็จะไมอาจเห็นไดเลย ใน ขณะเดิน ผูปฏิบัติท่ีกําลังกําหนดรูวา “ขวายางหนอ ซายยางหนอ” จะเห็นการเริ่มตน และการจบลงของแตละยางกาว น่ีก็เปนการรูถึง การเกิดขึ้นและดับไปของวาโยธาตุท่ีทําใหเกิดการเคลื่อนไหวของขา ในทํานองเดียวกัน ผูปฏิบัติที่กําหนดรูสภาวะยก ยาง และเหยียบของ ขาที่กําลังเดินไป ยอมรูอาการเกิดขึ้นและดับไปของแตละระยะ และ เปนการรูการเกิดขึ้นและดับไปของวาโยธาตุดวยเหมือนกัน ดังน้ัน วาโยธาตุท่ีทําใหเกิดการเคลื่อนไหวในแตละยางกาวก็มีลักษณะไม เท่ียงดวย ในขณะท่ีกาํ หนดรสู ภาวะสมั ผสั ณ สถานท่ีแหงใดแหง หนง่ึ ใน รางกาย ผูปฏิบัติที่เห็นการเกิดข้ึนและการดับไปของสัมผัส เปนการ รูเห็นการเกิดข้ึนและดับไปของรูปธรรมท่ีเก่ียวของในการสัมผัสน้ัน ไดแก กายประสาทในกายของตน และโผฏฐัพพารมณท่ีมากระทบ กายทวาร เขายอมรูถึงการเกิดขึ้นของกายประสาทท่ีไมคงทนถาวร เพราะมีการเกิดขึ้นและดับไปอยูตลอดเวลา

อนัตตลักขณสตู ร ๑๖๑ ในขณะไดยินเสียงและกําหนดวา “ไดยินหนอ ไดยินหนอ” ผูปฏิบัติยอมสังเกตเห็นวาเสียงเกิดข้ึนแลวก็ดับไป ดังน้ัน เสียงท่ี เกิดขึ้นทุกครั้งที่ไดยินนั้นก็ไมเที่ยง ทั้งโสตประสาทและเสียงเกิดข้ึน แลวก็ดับไป จึงกลาวไดวาทุกคร้ังที่ไดเห็นการเกิดแลวดับของเสียง ผูปฏิบัติไดรับรูการเกิดข้ึนและดับไปของโสตประสาท ดังน้ันผูที่ กําหนดรูเสียงวา “ไดยินหนอ ไดยินหนอ” ทุกครั้งที่ไดยินเสียงยอม รูถึงความไมเที่ยงของเสียงและโสตประสาทดวย เสียงหวูดของโรงสี ขาวหรือเสียงสุนัขหอนที่ปกติจะเหมือนเปนเสียงเดียวยาวตอเนื่อง แตผูมีวิปสสนาญาณแกกลาจะไดยินเสียงเกิดดับติดตอกันถี่ยิบ จึง รูไดวาเสียงน้ันเกิดดับอยางรวดเร็ว เชนเดียวกัน ผูปฏิบัติท่ีกําหนดวา “เห็นหนอ เห็นหนอ” ใน ขณะท่ีเห็นส่ิงใดส่ิงหนึ่ง ถามีวิปสสนาญาณแกกลา ก็จะเห็นวา ทั้ง จักขุวิญญาณท่ีเปนผูเห็นและรูปท่ีถูกเห็นมีการเกิดดับอยางรวดเร็ว และเห็นวาทั้งรูปและจักขุวิญญาณที่เกิดดับอยูตลอดเวลาเปนส่ิงไม คงทนถาวร ผูปฏิบัติที่กําหนดรูกล่ินก็รูวา กลิ่นเกิดข้ึนและดับไปอยาง รวดเร็วตลอดเวลา ดังน้ันกล่ินและฆานประสาทจึงไมเท่ียง ในขณะ รับประทานอาหาร ผูปฏิบัติที่กําหนดวา “รูหนอ รูหนอ” จะเห็นวา รสอาหารเกิดขึ้นและดับไป ไมวารสนั้นจะอรอยเพียงใด ก็เกิดข้ึน

๑๖๒ อนตั ตลกั ขณสูตร ต้ังอยูท่ีล้ินเพียงชั่วครูแลวดับไป เหมือนกับชิวหาประสาทท่ีเกิดข้ึน แลวดับไป ดังนั้น ท้ังรสและชิวหาประสาทจึงไมเที่ยง ในขณะท่ีคิดถึงสิ่งใดก็ตาม หรือมีความคิดแทรกเขามาใน ขณะนั่งกําหนดสภาวะพองยุบอยูก็ตาม จะตองกําหนดรูสภาวะ คิดน้ันอยางใสใจ การคิดนั้นจะดับไปในทันทีกําหนด และทุกครั้งท่ี การคิดดับไป หทัยรูปอันเปนท่ีอาศัยเกิดของการคิดก็ดับไปพรอม กัน จึงเห็นไดวาท้ังการคิดและหทัยรูปไมเท่ียง ผูปฏิบตั ิยอมตระหนักรูความไมเที่ยงของรูปในขณะท่ีกําหนด รูสภาวธรรมอยางจดจอตอเนื่อง รูปที่เกิดข้ึนในกายขณะเห็น ไดยิน รูกลิ่น ลิ้มรส สัมผัส และคิดนึก เกิดข้ึนและดับไปอยูตลอดเวลา และอนุมานรูไดวารูปที่อยูในกายของบุคคลอ่ืนก็เกิดข้ึนและดับไป เชนเดียวกัน อนิจจลักษณะ เม่ือรูถึงอนิจจลักษณะเปนอยางดีแลว ก็จะเขาใจทุกข- ลักษณะ และอนัตตลักษณะไดโดยงาย อนิจจลักษณะ คือลักษณะ ที่ไมคงทนอยูนาน ในคัมภีรอรรถกถา๓๘ ไดอธิบายความหมายไววา หุตฺวา อภาวากาโร อนิจฺจลกฺขณํ (อาการที่เกิดข้ึนแลวหมดส้ินไป เปนลักษณะไมเที่ยง) ทุกคนคงเคยเห็นฟาแลบ มันไมไดมีมากอน

อนัตตลกั ขณสูตร ๑๖๓ มันสวางวาบขึ้นแลวดับไปในทันที ไมคงทนอยูนาน ปรากฏการณ ฟาแลบน้ีเปนตัวอยางใหเห็นลักษณะของความไมเท่ียง สิ่งใดท่ีเกิด ข้ึนใหมแลวดับไปทันที เรียกวา มีลักษณะไมเที่ยง หรืออนิจจลักษณะ อนิจจานุปสสนาญาณ ผูปฏิบัติที่ตามกําหนดรูสภาวะเห็นหรือไดยินเปนตนอยู อยางตอเนื่องจนเห็นการเกิดขึ้นและดับไปของสภาวธรรมอยาง ประจักษชัดเทาน้ัน จึงจะเรียกวาไดบรรลุอนิจจานุปสสนาญาณ การ ไดเห็นความดับในขณะท่ีกําลังกําหนดรูสภาวธรรมท่ีเกิดอยูเฉพาะ หนา ทําใหผูปฏิบัติเกิดปญญาเห็นความไมเที่ยง ปญญานี้เรียกวา อนิจจานุปสสนาญาณ ดังน้ันเพ่ือชวยใหญาณน้ีพัฒนาแกกลาขึ้น ในพระสูตรน้ีพระพุทธองคจึงตรัสคําถามวา “รูปเที่ยงหรือไมเท่ียง” ทุกขสองชนิด ยํ ปนานิจฺจํ, ทุกฺขํ วา ตํ สุขํ วาติ. ทุกฺขํ ภนฺเต. พระผูมีพระภาคตรัสถามวา “ส่ิงใดไมเท่ียง ส่ิงนั้นเปนทุกข หรือเปนสุข” พระปญจวัคคียทูลตอบวา “เปนทุกข พระพุทธเจาขา”

๑๖๔ อนตั ตลักขณสูตร ทุกขมีสองชนิด คือ ทุกขท่ีทนไดยาก และ ทุกขที่นากลัว ทุกขชนิดแรกเปนความเจ็บปวด ทรมานที่ทนไดยาก ความทุกขชนิดที่สองเปนทุกข เพราะนากลัว นารังเกียจ นาขยะแขยง ความไม เที่ยงที่มีการเกิดดับอยูอยางไมขาดสายนั้น ไมใช เปนทุกขที่ทําใหเจ็บปวดทรมาน แตเปนทุกขชนิด ท่ีสอง คัมภีรอรรถกถา๓๙ กลาววา ทุกฺขํ ภยฏเน (เปนทุกขเพราะนากลัว) สภาวะที่เกิดดับอยูไมขาด สายน้ีนากลัว นารังเกียจ แตคนท่ัวไปคิดวาเปนสุข เพราะดูเผินๆ เหมือนมีความคงทน เมื่อเห็นดวย ปญญาวาไมไดตั้งอยูแมเพียงวินาทีเดียว แตเกิดดับ อยูไมขาดสาย ก็จะไมเห็นวาสภาวธรรมเหลานั้น เปนสุข เราอาศัยขันธ ๕ เพ่ือใหชีวิตดําเนินอยูได ขันธ ๕ น้ีมีการ เกิดดับอยูตลอดเวลา หากเวลาใดขันธ ๕ ดับไปแลวไมมีการเกิดขึ้น มาใหม ก็จะตองตาย ขอน้ีเปนส่ิงที่นากลัว เหมือนอาศัยอยูในบาน เกาท่ีพรอมจะพังลงมาเม่ือไรก็ได บานหลังนั้นอาจต้ังอยูไดหลายวัน หลายเดือน หรือหลายป โดยไมพังลงมา แตรูปนามในรางกายของ เราน้ีตั้งอยูไดไมถึงหนึ่งวินาทีก็ดับไปแลว มันเกิดดับอยูตลอดเวลา จึงนากลัว ฉะน้ันจึงไดช่ือวา ทุกข ๔๐

อนตั ตลักขณสตู ร ๑๖๕ ทุกขลักษณะ คัมภีรอรรถกถา๔๑ กลาววา อภิณฺหสมฺปฏิปฬนากาโร ทุกฺข- ลกฺขณํ (ลักษณะที่บีบค้ันอยูเสมอเปนลักษณะของทุกข) ในที่นี้ การ บีบค้ันเบียดเบียนอยูตลอดเวลาหมายถึงการเกิดข้ึนแลวดับไปไม ขาดสายของรูปนามขันธ ๕ น้ีจัดเปนความทุกข ทุกขานุปสสนาญาณ การเห็นเคร่ืองหมายของทุกขจากประสบการณในการปฏิบัติ และตระหนักวาเปนความทุกขที่นากลัว เปนส่ิงไมดี ไมนาปรารถนา ไวใจไมได เชนนี้คือ ทุกขานุปสสนาญาณ ทุกขานุปสสนาญาณเกิดข้ึนไดอยางไร ผูปฏิบัติที่กําหนดรูสภาวธรรมรูปนามอยางตอเน่ืองอยู ตลอดเวลา เชน พอง ยุบ คู เหยียด ยก ยาง เหยียบ จะเห็นความ เกิดข้ึนและดับไปของสภาวธรรมเหลาน้ันท่ีเปนไปอยางไมขาดสาย และในขณะที่สัมผัส ไดยิน ลิ้มรส เปนตน เขาก็จะเห็นการเกิดข้ึน และดับไปของสภาวธรรมเหลานั้นเชนเดียวกัน ความตายอาจมาถึง ในขณะใดก็ได ดังนั้น จึงเห็นขันธ ๕ เปนความบีบค้ันที่เปนทุกข น้ีคือ ทุกขานุปสสนาญาณ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook