95 สร้างสรรค์ความรู้ใหม่ที่เชอ่ื มโยงกับประสบการณห์ รือความรเู้ ดิมที่อย่ใู นตัวบคุ คลน้ันมา กอ่ น ผสู้ อนที่เปน็ ผสู้ ร้างสรรคไ์ ม่เพียงแตใ่ ชท้ ักษะนีใ้ นการพฒั นาในด้านของเน้ือหาความรู้ ใหม่สำหรับผเู้ รียน หากยังสามารถนำ ไปใช้ในการสร้างแผนการเรียนรู้ต่างๆ ซึง่ ครอบคลมุ กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผเู้ รียนเปน็ ผู้สรา้ งความรู้ข้นึ ในตนเอง ผ่านการลงมอื ผลติ ชนิ้ งานต่างๆ เชน่ งานศลิ ปะ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ฯลฯ 4. C-Connectivity หมายถึง การที่ผู้สอนมที ักษะในการจัดกิจกรรมที่ เช่อื มโยงระหว่างผู้เรยี นด้วยกนั เพื่อนอาจารยท์ ั้งในสถานศึกษาเดียวกันและตา่ ง สถานศกึ ษา หรอื เช่ือมโยงสถานศกึ ษา บ้าน และ/หรอื ชุมชนเข้าเปน็ สว่ นหนึ่งของ สิง่ แวดล้อมการเรียนรู้ของผู้เรียน เนอื่ งจากแนวคิดที่ว่าการเรียนรจู้ ะเกิดข้ึนได้อยา่ งดี เม่อื สิง่ ที่เรยี นรู้มคี วามสมั พนั ธ์โดยตรง หรอื เกี่ยวข้องกับความสนใจ ประสบการณ์ ความเชอ่ื สงั คม และวฒั นธรรมของผู้เรียน การที่ผสู้ อนสามารถเชือ่ มโยงสง่ิ ที่ผเู้ รียนเรียนรู้ในชั้น เรียนกับเพือ่ น อาจารยใ์ นสถานศกึ ษา บ้านและสังคมแวดล้อมทีผ่ เู้ รียนเป็นส่วนหนึ่งได้มาก เทา่ ใดก็ย่อมทำให้ผู้เรยี นเกิดการเชอ่ื มโยงระหว่างส่ิงที่เรียนรู้กับประสบการณ์ตรงได้มาก เท่าน้ัน 5. C-Collaboration หมายถึง การที่ผู้สอนมคี วามสามารถในการเรียนรู้ แบบรว่ มมอื กนั กับผเู้ รียนได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ กล่าวคือ ผสู้ อนจะต้องมที กั ษะในบทบาท ของการเปน็ โค้ช หรอื ทีป่ รึกษาทีด่ ใี นการเรียนรู้ (สว่ นใหญจ่ ะอยใู่ นลกั ษณะของการเรียนรู้ ด้วยตนเอง) ของผเู้ รียน รวมท้ังการเปน็ ผเู้ รียนเองในบางครง้ั ทกั ษะสำคญั ของการเปน็ โค้ช หรอื ทีป่ รึกษาทีด่ นี ้ัน ได้แก่ การสรา้ งฐานการเรียนรู้ให้กับผเู้ รียนเปน็ ระยะ อยา่ งเหมาะสม อำนวยใหผ้ เู้ รียนเกิดฐานการเรียนรู้ที่จะตอ่ ยอดการเรียนรแู้ บบมีส่วนร่วมข้ึนได้ ท้ังนกี้ าร เรียนรจู้ ะเกิดข้ึนในผเู้ รียนได้อย่างจำกดั หากปราศจากซึ่งฐานการเรียนรู้ทีเ่ หมาะสมจาก ผสู้ อน 6. C-Communication หมายถึง การที่ผสู้ อนมที ักษะในการสอ่ื สารกบั ผเู้ รียนได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ซึง่ มใิ ชเ่ ฉพาะการพฒั นาใหเ้ กิดทกั ษะของเทคนิคการสื่อสาร ทีด่ ี เช่น การอธิบายด้วยคำพูด ขอ้ ความ ยกตัวอย่าง ฯลฯ เท่านั้น หากยงั หมายรวมถึงการ เลือกใช้สอ่ื (Media) ที่หลากหลายที่ชว่ ยให้ผสู้ อนสามารถสง่ ผ่านเน้ือหาสาระทีต่ อ้ งการจะ นำเสนอ หรอื สร้างส่ิงแวดล้อมทีเ่ อือ้ ให้ผู้เรยี นเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองได้อยา่ งเหมาะสม 7. C-Creativity หมายถึง การที่ผสู้ อนเปน็ ผทู้ ี่มคี วามคิดสร้างสรรค์ เพราะบทบาทของผสู้ อนในยุคสมัยหน้าน้ันไม่ได้ม่งุ เน้นการเป็นผู้ป้อน/ส่งผ่านความรู้ใหก้ บั
96 ผเู้ รียนโดยตรง หากมุ่งไปส่บู ทบาทของการสรา้ งสรรค์ ออกแบบสิง่ แวดล้อมการเรียนรู้ที่ เอือ้ ให้ผู้เรยี นเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองของผเู้ รียน ผู้สอนจะได้รับการคาดหวังให้สามารถที่ จะรงั สรรคก์ ิจกรรมใหมๆ่ ต่างๆ ทีส่ ง่ เสริมการเรยี นรู้ของผู้เรยี น 8. C-Caring หมายถึง การทีผ่ ู้สอนจะต้องมีความมทุ ิตา ความรัก ความ ปรารถนาและความหว่ งใยอยา่ งจริงใจแก่ผเู้ รียน ในทกั ษะท้ังหมดทีไ่ ด้กล่าวมาน้ัน ทักษะ Caring นับวา่ เป็นทกั ษะทีส่ ำคัญทีส่ ุด ทั้งนีเ้ พราะความมีมทุ ิตา รกั ปรารถนาดี และหว่ งใย กบั ผเู้ รียนของผู้สอนนั้นจะทำให้ผู้เรยี นเกิดความเชอ่ื ใจต่อผสู้ อน ส่งผลใหเ้ กิดสิ่งแวดล้อม การเรียนรใู้ นลักษณะการต่ืนตัวอยา่ งผ่อนคลาย แทนความรู้สกึ วิตกกงั วลในสิ่งที่จะเรียนรู้ ซึง่ การต่นื ตัวอย่างผอ่ นคลาย ถือว่าเปน็ สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมที่สุดที่จะทำใหส้ มองเกิด การเรียนรไู้ ด้อย่างมปี ระสิทธิภาพอนั ทีจ่ ริง สมรรถนะของครูผสู้ อนในศตวรรษที่ 21 ทีก่ ระทรวงศกึ ษาธิการกำหนด สมรรถนะหลัก (Core Competency) 5 ประการ ได้แก่ 1. การมุ่งผลสัมฤทธิข์ องการปฏิบัติงาน 2. การบริการที่ดี 3. การพัฒนาตนเอง 4. การทำงานเปน็ ทีม 5. จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณครู สมรรถนะตามสายปฏิบัติงาน (Functional Competency) 6 ประการ ได้แก่ 1. การบริหารหลักสูตรและการจดั การเรียนรู้ 2. การพัฒนาผเู้ รียน 3. การบริหารจัดการช้ันเรยี น 4. การวิเคราะห์ สังเคราะห์และวิจยั เพื่อพัฒนาผเู้ รียน 5. ภาวะผนู้ ำ 6. การสร้างความสัมพันธ์ และความรว่ มมอื กับชุมชน เมือ่ สงั คมโลกเปลี่ยนไป ผู้เรียนไมไ่ ด้เรียนรู้จากโรงเรยี นเพียงแห่งเดียวแต่ สามารถเรียนรไู้ ด้จาก แหล่งเรียนรภู้ ายนอกทีเ่ ป็นสงั คมรอบตัว โดยเฉพาะอย่างยิ่งจาก อินเตอร์เนต็ บทบาทของครูไทยใน ศตวรรษที่ 21 จงึ ตอ้ งเปลีย่ นแปลงตามไปด้วย โดยครู ต้องชว่ ยแก้ไขและชีแ้ นะความรทู้ ั้งถกู ผดิ ทีผ่ ู้เรยี น ได้รบั จากสือ่ ภายนอกรวมทั้งสอนให้รจู้ กั
97 การคิดวิเคราะห์กล่ันกรองความรอู้ ย่างมวี ิจารณญาณ กอ่ นนำ ขอ้ มลู ไปใช้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม นอกจากนีค้ รูยังต้องปรบั เปลีย่ นวิธีการสอนและต้องพัฒนาทกั ษะ ครูผสู้ อน จงึ จำเป็นต้องมีทกั ษะสำคัญสำหรับการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 ของตนเอง 8 ประการ คือ C-Teacher (ถนอมพร เลาหจรสั แสง, 2556) ซึง่ ได้แก่ 1. Content: ผสู้ อนต้องมีความรแู้ ละทกั ษะในเรอ่ื งที่สอนเป็นอยา่ งดี เพราะหากผู้สอนไม่เชีย่ วชาญในเรื่องทีส่ อนหรอื ถ่ายทอด กไ็ มส่ ามารถทำให้ผเู้ รียนเรียนรู้ ได้บรรลุเป้าหมาย 2. Computer (ICT) Integration: ผสู้ อนต้องมที กั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยีมา ชว่ ยในการจัดการเรียนการสอน เนอ่ื งจากกิจกรรมการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยีจะชว่ ย กระตนุ้ ความสนใจให้แกผ่ เู้ รียน ยิ่งถ้าได้ผ่านการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนอย่าง มีประสิทธิภาพจะยิง่ ชว่ ยส่งเสริมทกั ษะที่ตอ้ งการได้เป็นอยา่ งดี 3. Constructionist: ผสู้ อนต้องเข้าใจแนวคิดทีว่ ่า ผเู้ รียนสามารถสร้าง องคค์ วามรู้ขึน้ ได้เองจากการเชอ่ื มโยงความรเู้ ดิมทีม่ ีอยู่เข้ากับความรแู้ ละประสบการณ์ ใหม่ ๆ ทีไ่ ด้รับ และได้จากการลงมือปฏิบตั ิในกิจกรรมต่าง ๆ โดยครูสามารถนำแนวคิดนี้ ไปใช้ในการวางแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้เพือ่ ให้ผู้เรียนได้มโี อกาสสร้างความรู้และ สร้างสรรค์ช้นิ งานตา่ ง ๆ ผ่านการประยกุ ต์ความรแู้ ละประสบการณท์ ีไ่ ด้รบั จากในชั้นเรียน และจากการศกึ ษาด้วยตนเอง 4. Connectivity: ผสู้ อนต้องสามารถจัดกิจกรรมใหเ้ ช่อื มโยงระหว่าง ผเู้ รียนด้วยกัน ระหว่างผู้เรียนกบั ผสู้ อนและระหวา่ งผู้สอนในสถานศกึ ษาเดียวกันหรือตา่ ง สถานศกึ ษา รวมถึงความเช่ือมโยงระหว่างสถานศกึ ษาและสถานศกึ ษากับชมุ ชนเพื่อสร้าง สภาพแวดล้อมในการเรียนรู้ทีเ่ ป็นประสบการณต์ รงให้แก่ผเู้ รียนCollaboration: ผสู้ อนมี บทบาทสำคัญในการจัดการเรียนรู้ในลกั ษณะการเรียนรู้แบบร่วมมอื ระหว่างผู้เรียนกับ ผเู้ รียน และระหว่างผู้เรียนกบั ผสู้ อน เพือ่ ฝกึ ทกั ษะการทำงานเป็นทีม การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและสารสนเทศระหว่างกัน ซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนาผเู้ รียนใน ด้านทกั ษะอาชีพและทักษะชีวติ 5. Communication: ผสู้ อนมีทักษะการส่อื สาร ท้ังการบรรยาย การ ยกตวั อยา่ ง การเลือกใช้สอ่ื การนำเสนอสื่อ รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมใหเ้ อื้อต่อการ เรียนรู้ เพื่อถา่ ยทอดความรู้ให้แก่ผเู้ รียนได้อย่างเหมาะสมนำไปสคู่ วามเข้าใจและสามารถ เรียนรู้ได้บรรลเุ ป้าหมายที่กำหนดไว้
98 6. Creativity: ผสู้ อนในศตวรรษที่ 21 จำเปน็ ต้องสรา้ งสรรค์กิจกรรรม การเรียนการสอนทีห่ ลากหลาย แปลกใหมจ่ ัดสภาพแวดล้อมให้เอ้ือต่อการเรียนรู้ของ ผเู้ รียนโดยเน้นการเรียนรู้ดว้ ยตนเองใหม้ ากที่สดุ ผู้สอนต้องเป็นมากกว่าผถู้ า่ ยทอดความรู้ โดยตรงเพียงอย่างเดียว 7. Caring: ผสู้ อนต้องมมี ุทิตาจติ ตอ่ ผเู้ รียน ต้องแสดงออกถึงความรัก ความหว่ งใยอย่างจริงใจต่อผเู้ รียน เพือ่ ให้ผเู้ รียนเกิดความเช่อื ใจส่งผลตอ่ การจดั สภาพการ เรียนรู้ทำให้รู้สกึ ผ่อนคลาย ซึ่งเป็นสภาพทีผ่ ู้เรยี นจะมีความสขุ ในการเรียนรแู้ ละจะเรียนรู้ ได้ดที ี่สุด กล่าวสรปุ วา่ สมรรถนะครูในศตวรรษที่ 21 จากการศึกษาสมรรถะครูใน ประเทศไทยพบวา่ มีลักษณะคล้ายกนั ดงั นี้ ครตู ้องมคี วามรคู้ วามเข้าใจในเรื่องทีส่ อนเป็น อย่างดี สามารถใช้ส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมตา่ งๆได้อยา่ งรู้เท่าทนั คณุ ต้อง เปลี่ยนบทบาทจากผู้สอนทำหน้าทีใ่ นการเอือ้ อำนวยความสะดวกให้กับผเู้ รียนและคอยให้ คำแนะนำ สอนให้เด็กรู้จกั แก้ปญั หา มีทกั ษะในการใช้ชีวิต ตลอดจนคงจะต้องเปน็ แบบอยา่ งทางด้านคุณธรรมและจริยธรรมและสามารถใช้ชีวติ ในสงั คมได้อย่างมคี วามสขุ ผวู้ ิจยั เลือกทักษะสำคญั ในศตวรรษที่ 21 คือ Computer (ICT) Integration ผสู้ อนต้องมี ทกั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยีมาชว่ ยในการจดั การเรยี นการสอน เน่อื งจากกิจกรรมการเรียน การสอนที่ใช้เทคโนโลยีจะช่วยกระตุ้นความสนใจใหแ้ ก่ผเู้ รียน เพื่อให้การจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนมปี ระสิทธิภาพและสง่ เสริมทกั ษะที่ต้องการได้เป็นอย่างดี 11. องค์ประกอบสมรรถนะครู จากการศกึ ษาความหมายสมรรถนะ สมรรถนะครผู สู้ อนจากหนว่ ยงานต่างๆ และงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้อง ดังทีก่ ลา่ วมาข้างตน้ ผู้วิจยั ได้นำมาสังเคราะห์เป็นองค์ประกอบ สมรรถนะครูผสู้ อน ดังตาราง 5 ตาราง 5 การสงั เคราะหอ์ งคป์ ระกอบสมรรถนะครู สรุปองค์ประกอบสมรรถนะครูผู้สอนโดยทว่ั ไป ด้านความรู้ ด้านทกั ษะและความสามารถ ด้านคุณลกั ษณะ 1. มคี วามรู้ในเน้ือหาวิชาทส่ี อน 1. มที ักษะในด้านการจัด 1. มเี จตคตทิ ีด่ ตี ่อวชิ าชพี ครู 2. มคี วามรู้ในเรื่องหลกั สูตร การเรียนการสอน 2. ยอมรับความคิดเหน็ ของ 3. มคี วามรู้เกีย่ วกับวิธี 2. มที กั ษะการใชส้ ่อื การเรียน ผู้เรียน ประเมินผลการเรียนรู้ การสอน 3. มคี ุณธรรมจรยิ ธรรม 4. มคี วามรู้ทางจิตวทิ ยา 3. มที กั ษะการใชค้ ำถาม 4. แสวงหาความรู้อยู่เสมอ
99 สรปุ องค์ประกอบสมรรถนะครูผู้สอนโดยท่วั ไป ด้านความรู้ ด้านทักษะและความสามารถ ด้านคณุ ลักษณะ 4. มคี วามสามารถในการจัด บรรยากาศการเรียนการสอน สรุปองค์ประกอบสมรรถนะของผู้ประกอบวิชาชพี ครทู ีค่ ณะกรรมการครุ สุ ภากำหนด ด้านความรู้ ด้านทักษะการปฏบิ ัติ ด้านคณุ ลกั ษณะของบุคคล 1. การพัฒนาหลักสูตร 1. จัดทำแผนการเรียนรู้ 1. รกั เมตตา และปรารถนาดี 2. ภาษาและเทคโนโลยี 2. ฝึกปฏบิ ตั กิ ารสอน ต่อผู้เรียน สำหรับครู 3. เลอื กใช้ ออกแบบ 2. อดทนและรับผิดชอบ 3. การจดั การเรียนรู้ สร้างและปรับปรงุ นวตั กรรม 3. เปน็ บุคคลแห่งการเรียนรู้ 4. การวดั และประเมนิ ผล 4. พฒั นาเทคโนโลยี 4. เปน็ ผู้นำทางวิชาการ และสารสนเทศ 5. ศรทั ธาในวชิ าชีพครู 5. แสวงหาแหลง่ เรียนรู้ ที่หลากหลาย สรุปองค์ประกอบสมรรถนะครูของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ด้านความรู้ ด้านทักษะการปฏบิ ตั ิ ด้านคุณลักษณะ 1. การสร้างและพฒั นา 1. จดั บรรยากาศทีส่ ง่ เสริม 1. มุ่งพัฒนาผลสมั ฤทธิผ์ ู้เรียน หลักสตู ร การเรียนรู้ ความสขุ 2. เป็นบคุ คลแห่งการเรียนรู้ 2. การออกแบบการเรียนรู้ และความปลอดภัยของผู้เรียน 3. การปฏบิ ัตงิ านอยา่ งไตรต่ รอง 3. การจัดการเรียนรู้ที่เนน้ 2. จดั ทำแผนการเรียนรู้ 4. ศรัทธาในวชิ าชีพครู ผู้เรียนเป็นสำคญั ออกแบบ สรา้ งและปรบั ปรุง 4. การใชแ้ ละพัฒนา นวัตกรรม สอ่ื นวัตกรรมเทคโนโลยี 3. พัฒนาเทคโนโลยี เพอ่ื การจัดการเรียนรู้ และสารสนเทศ 5. การวดั และประเมนิ ผล การเรียนรู้ สรปุ องคป์ ระกอบสมรรถนะครูผู้สอน ด้านความรู้ ด้านทักษะ ด้านคุณลักษณะ 1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั 1. สามารถนำหลกั สูตรไปใช้ 1. มีเจตคติทีด่ ตี อ่ การจดั หลักสตู ร จดั การเรียนรู้ได้ การเรียนรู้ 2. มีความรู้ความเข้าใจ 2. สามารถออกแบบและจัดทำ 2. มีความมุ่งม่นั ในการพฒั นา เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ได้ ผู้เรียน 3. สามารถจัดการเรียนรู้ได้ 3. ศรทั ธาในวชิ าชีพครู
100 สรปุ องคป์ ระกอบสมรรถนะครูผู้สอน ด้านความรู้ ด้านทักษะ ด้านคณุ ลักษณะ 3. มคี วามรู้ความเข้าใจ 4. สามารถสร้าง และพฒั นา 4. เป็นบคุ คลแหง่ การเรียนรู้ เกีย่ วกบั การออกแบบ ส่อื การเรียนรู้ และจดั ทำแผนการเรียนรู้ และนวัตกรรมได้ 4. มคี วามรู้ความเข้าใจ 5. สามารถจัดบรรยากาศที่ เกีย่ วกับสอ่ื ประกอบการ เอ้ือต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนได้ จดั การเรียนรู้ 6. สามารถวดั และประเมิน 5. มคี วามรู้ความเข้าใจ ผู้เรียนได้ เกีย่ วกบั การวดั และประเมินผล การเรียนรู้ สรุปองค์ประกอบสมรรถนะครูด้านการจดั การเรียนรู้เชงิ รุก ด้านความรู้ ด้านทกั ษะ ด้านคณุ ลกั ษณะ 1. มคี วามรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั 1. สามารถนำหลักสตู รไปใช้ 1. มีเจตคติที่ดตี อ่ การจัด หลกั สูตร จดั การเรียนรู้เชิงรุกได้ การเรียนรู้เชงิ รกุ 2. มีความรู้ความเข้าใจ 2. สามารถออกแบบและจดั ทำ 2. มีความมุง่ ม่นั ในการพัฒนา เกีย่ วกับการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้เชงิ รุกได้ ผู้เรียน เชงิ รุก 3. สามารถจัดกิจกรรมการ 3. ด้านความคิดสร้างสรรคใ์ น 3. มีความรู้ความเข้าใจ เรียนรู้เชงิ รกุ ได้ การจัดการเรียนรู้เชงิ รุก เกีย่ วกับการออกแบบและ 4. สามารถใช้ และพฒั นาสือ่ จัดทำแผนการเรียนรู้เชงิ รกุ การเรียนรู้และนวัตกรรมและ 4. มคี วามรู้ความเข้าใจ เทคโนโลยเี พ่อื การเรียนรู้ได้ เกีย่ วกับสอ่ื ประกอบการ 5. สามารถจัดบรรยากาศที่ จัดการเรียนรู้เชิงรุก เอ้อื ตอ่ การเรียนรู้ของผู้เรียนได้ 5. มคี วามรู้ความเข้าใจ 6. สามารถวดั และประเมินผล เกี่ยวกบั การวัดและประเมินผล การเรียนรู้ตามสภาพจริงของ การเรียนรู้ ผู้เรียนได้ จากตาราง 5 สรุปผลการสังเคราะหอ์ งค์ประกอบสมรรถนะครจู ากหน่วยงานต่างๆ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องดังที่ได้กล่าวไว้ได้เป็นองคป์ ระกอบสมรรถนะครูผสู้ อนที่ผวู้ ิจัยจะ นำไปประกอบการสังเคราะห์สมรรถนะและตัวบ่งชสี้ มรรถนะดา้ นการจัดการเรียนรู้เชงิ รุก ซึง่ ประกอบด้วย 3 ดา้ น ดงั นี้
101 1. สมรรถนะด้านความรู้ ประกอบด้วย 5 สมรรถนะ ดงั นี้ 1.1 มีความรคู้ วามเข้าใจเกีย่ วกบั หลักสูตร 1.2 มีความรคู้ วามเข้าใจเกีย่ วกบั การจดั การเรียนรู้เชิงรุก 1.3 มีความรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกับการออกแบบและจดั ทำแผนการ เรียนรู้เชิงรกุ 1.4 มีความรคู้ วามเข้าใจเกีย่ วกับสื่อประกอบการจัดการเรียนรู้ เชงิ รุก 1.5 มีความรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 2. สมรรถนะด้านทกั ษะ ประกอบด้วย 6 สมรรถนะ ดังนี้ 2.1 สามารถนำหลักสตู รไปใช้จดั การเรียนรู้เชงิ รุกได้ 2.2 สามารถออกแบบและจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้เชงิ รกุ ได้ 2.3 สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุกได้ 2.4 สามารถใช้ และพัฒนาสื่อการเรียนรู้และนวัตกรรมและ เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ได้ 2.5 สามารถจดั บรรยากาศที่เอือ้ ต่อการเรียนรขู้ องผู้เรียนได้ 2.6 สามารถวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริงของ ผเู้ รียนได้ 3. สมรรถนะด้านคุณลกั ษณะ ประกอบด้วย 3 สมรรถนะ ดงั นี้ 3.1 มเี จตคติทีด่ ีต่อการจัดการเรียนรู้ 3.2 มคี วามม่งุ มนั่ ในการพัฒนาผเู้ รียน 3.3 ด้านความคิดสร้างสรรค์ในการจดั การเรียนรเู้ ชิงรกุ 12. งานวิจัยท่เี กีย่ วกับการพฒั นาสมรรถนะครู วารุณี ผลเพิ่มพนู และชูชีพ ประทมุ เวียง (2556, บทคัดย่อ) ได้ศึกษา สมรรถนะของข้าราชการครูในโรงเรยี น สังกดั สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษา จงั หวดั อบุ ลราชธานี เขต 3 ผลการศกึ ษาพบว่า 1) สมรรถนะของข้าราชการครูมที ั้งหมด 7 องคป์ ระกอบ ได้แก่ 1) ด้านการมงุ่ ผลสัมฤทธิ์ 2) ดา้ นการบริการ ที่ 3) ดา้ นการพัฒนา ตนเอง 4) ด้านการทำงานเปน็ ทีม 5) ด้านการออกแบบการเรียนรู้ 6) ด้านการพัฒนา ผเู้ รียน และ 7) ด้านการบริหารจดั การชั้นเรยี น พบว่า สมรรถนะด้านการพฒั นาผเู้ รียนมี ค่าเฉลีย่ สงู สุด รองลงมาคือด้านการบริหารจดั การชั้นเรียน และสมรรถนะด้านการ
102 ออกแบบการเรียนรตู้ ามลำดับ โดยภาพรวมพบว่า ข้าราชการครูมกี ารปฏิบตั ิงานตาม สมรรถนะอยู่ในระดับมาก สมรรถนะทั้ง 7 ด้าน มคี วามสมั พันธ์กนั อย่างมีนัยสำคัญ ที่มี ความสมั พันธก์ นั สูงทีส่ ดุ ด้านการมุ่งผลสมั ฤทธิ์กับด้านการพัฒนาตนเอง 2) ผลการ วิเคราะห์ตวั แปรภูมิหลงั ทีส่ ามารถจำแนกสมรรถนะต่างกนั พบวา่ ประสบการณใ์ นการ ทำงาน สง่ ผลตอ่ การปฏิบัติงานตามสมรรถนะหลักของครูอยา่ งมีนัยสำคัญทางสถิติ สมการทำนายกล่มุ ทีม่ ีสมรรถนะหลกั สูงได้ร้อยละ 93.4 และสามารถทำนายกลมุ่ ทีม่ ี สมรรถนะหลกั ตำ่ ได้รอ้ ยละ 6.8 ในภาพรวมตวั แบบจำแนกได้ถูกต้องร้อยละ 59.7 3) ผลการศกึ ษาเชงิ ลกึ ในกล่มุ ข้าราชการครูทีม่ ีสมรรถนะหลักสูง สรุปได้ว่า ขา้ ราชการครทู ี่มี สมรรถนะสูงเป็นผู้ที่ปฏิบตั ิงานโดยคำนงึ ถึงเป้าหมาย พัฒนาตวั เองอย่างตอ่ เนื่อง ได้รับ ขวัญกำลงั ใจ เรยี นรู้เทคนิคการสอนที่ใหม่ ๆ ให้กำลังใจซึ่งกนั และกนั ปฏิบตั ิตนต่อผอู้ ื่น ด้วยความยตุ ิธรรม วเิ คราะห์หลักสูตรสูแ่ ผนการจัดการเรียนรู้ จดั ทำนวัตกรรมตาม แผนการจัดการเรียนรู้ รู้จักผเู้ รียนเปน็ รายบุคคล เยาวลักษณ์ มูลสระคู (2558, บทคดั ยอ่ ) ได้วจิ ัยพฒั นาตวั บงชสี้ มรรถนะครู สอนภาษาอังกฤษ สังกัดสำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาจังหวดั ร้อยเอ็ด ผลการวิจยั พบว่า 1) ตัวบง่ ชี้สมรรถนะครูสอนภาษาอังกฤษมี 3 องคป์ ระกอบ ได้แก่ ดา้ น ความรู้ ด้านทกั ษะ และด้านคุณลักษณะสว่ นบคุ คล ซึง่ วัดจากตัวบ่งชที้ ี่ได้จากการสอบถาม ผเู้ ช่ยี วชาญ ประกอบด้วยตัวบ่งชี้ 13 ตวั และหลังจากการสนทนากลุ่มของครูผเู้ ช่ยี วชาญ ด้านการสอนภาษาอังกฤษ ได้ตวั บ่งชีเ้ พิม่ เป็น 14 ตัว สามารถเรียงลำดบั ตามค่าน้ำหนัก องคป์ ระกอบจากมาก ไปหาน้อยได้ดงั นี้ แรงจงู ใจ รักการเรียนรู้ ความรู้และความเข้าใจ เกีย่ วกบั เทคนิค วธิ ีการสอนภาษาอังกฤษ บคุ ลิกลักษณะ ทักษะการพัฒนาตนเอง ทกั ษะ การใชส้ ื่อเทคโนโลยี ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับผเู้ รียน ทักษะการฟัง พดู อา่ นและเขียน ทักษะการทำงานร่วมกบั ผอู้ ื่น ทักษะการวดั และประเมินผล ทักษะการสือ่ สาร ทกั ษะการ จดั การเรยี นรู้ ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกบั หลักสตู ร การสอนภาษาองั กฤษ และความรู้ และความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะของภาษา 2) ผลการตรวจสอบคุณภาพของตวั บ่งชี้ สมรรถนะครูสอนภาษาอังกฤษ สงั กดั สำนกั งานเขตพืน้ การศกึ ษาประถมศกึ ษาจังหวัด ร้อยเอด็ เมื่อพจิ ารณาผลการวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชิงยืนยัน อันดบั ที่หนึ่ง พบว่า คา่ นำ้ หนกั ตัวบง่ ชีท้ ั้ง 14 ตวั มีค่าเป็นบวก (ต้ังแต่ .533 ถึง .952) อย่างมีนัยสำคญั ทางสถิติ ทีร่ ะดับ .01 แสดงว่าตวั บง่ ชี้ทั้ง 14 ตวั เปน็ ตัวบง่ ชีท้ ีส่ ำคัญขององค์ประกอบสมรรถนะครู สอนภาษาองั กฤษจรงิ สำหรับผลการวิเคราะห์องคป์ ระกอบเชงิ ยืนยนั อันดับทีส่ อง พบว่า
103 คา่ นำ้ หนักองคป์ ระกอบย่อย 3 ตวั มคี ่าเป็นบวก (ตั้งแต่ .887 ถึง .999) อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติทีร่ ะดับ .01 เม่ือพิจารณาน้ำหนกั องคป์ ระกอบโดยเรียง 3 ลำดบั พบว่า องค์ประกอบด้านทักษะมีค่าน้ำหนกั สูงสุด รองลงมาคือองคป์ ระกอบด้านคุณลกั ษณะสว่ น บคุ คล และองคป์ ระกอบด้านความรู้มีค่าน้ำหนกั องค์ประกอบเทา่ กับ .999, .947 และ .887 ตามลำดับ จากน้ำหนักองคป์ ระกอบดงั กล่าว แสดงว่าสมรรถนะครูสอนภาษาอังกฤษ สามารถวดั ได้จากองคป์ ระกอบย่อยทั้ง 3 องคป์ ระกอบ 3) ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบ เชงิ ยืนยนั เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลสมรรถนะครูสอน ภาษาอังกฤษ สงั กดั สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาจงั หวดั ร้อยเอ็ด กับข้อมูล เชงิ ประจกั ษ์ พบวา่ โมเดลมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจกั ษ์ โดยพิจารณา จากการนำค่าสถิตทิ ี่ได้จากการวิเคราะห์ CFA ไปตรวจสอบกบั เกณฑท์ ี่ใช้ในการพิจารณา ได้แก่ x2 = 26.157, df = 20, x2/df = 1.307, P-value = 0.1607, CFI = 0.998, TLI= 0.993, RMSEA = 0.033 และคา่ SRMR = 0.021 พบว่าทกุ ค่าผ่านเกณฑก์ ารพิจารณา ความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดล โดยสรปุ จากผลการวิจยั ช้ีให้เหน็ วา่ ตวั บ่งชี้สมรรถนะ ครูสอนภาษาอังกฤษ สังกดั สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาจงั หวัดร้อยเอ็ด ด้านความรแู้ ละความเข้าใจเกีย่ วกบั ลกั ษณะของภาษา ควรมีการกำหนดแนวทางสนบั สนุน และพัฒนาขึน้ เป็นอนั ดับแรก เพือ่ ใหค้ รูมีศักยภาพในการจัดการเรยี นการสอนให้ผเู้ รียนเกิด การเรียนรอู้ ยา่ งแท้จริง วิไลวรรณ สิทธิ (2560, บทคัดย่อ) ได้วจิ ัยพัฒนาหลักสตู รฝึกอบรมเพื่อ เสริมสร้างสมรรถนะด้านการจดั การเรยี นรู้ตามแนวคิดคอนสตรคั ติวิสตส์ ำหรบั ครู สงั กัด สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครพนม เขต 2 ผลการวิจยั พบวา่ 1) สมรรถนะ ทีพ่ ัฒนาขึน้ ทกุ สมรรถนะมีคุณลักษณะที่ตอ้ งการเสริมสร้างในระดบั มากที่สดุ ประกอบด้วย 10 สมรรถนะ 28 ตวั บง่ ชี้ ดังนี้ 1.1) สมรรถนะด้านความรู้ จำนวน 5 สมรรถนะ 16 ตัวบ่งชี้ 1.2) สมรรถนะด้านทักษะการปฏิบตั ิ จำนวน 4 สมรรถนะ 9 ตวั บง่ ชี้ 1.3) สมรรถนะด้านเจตคติ จำนวน 1 สมรรถนะ 3 ตวั บ่งชี้ 2) ความตอ้ งการจำเป็นเกี่ยวกับ สมรรถนะอยใู่ นระดบั มากทีส่ ดุ 3) หลกั สูตรทีพ่ ัฒนาขึน้ เปน็ หลกั สูตรฝกึ อบรมที่ยึด สมรรถนะเปน็ ฐานของการพัฒนาสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรคั ติวสิ ต์ กิจกรรมการฝกึ อบรมมี 4 ขั้นตอน คอื 1) แบ่งปนั ประสบการณ์ 2) สะท้อนและ อภปิ รายความคิด 3) สรุปเป็นความคดิ รวบยอด และ 4) ประยกุ ตใ์ ช้แนวคิด โดยมีเนือ้ หา
104 7 หนว่ ยการเรียนรู้ ใช้เวลาในการฝึกอบรม 45 ช่วั โมง ซึ่งหลกั สูตรฝกึ อบรมน้มี ี 9 องคป์ ระกอบ คอื 1) ความเป็นมาและความสำคญั 2) วิสัยทศั น์ 3) หลกั การ 4) วตั ถุประสงค์ 5) สมรรถนะสำคญั 6) โครงสร้าง 7) แนวทางการฝกึ อบรม 8) ส่ือและ อปุ กรณ์ และ 9) การวัดและประเมินผล 4) ผลการทดลองใชห้ ลกั สตู รฝึกอบรม พบวา่ 4.1) สมรรถนะด้านความรู้ของครู หลังการฝกึ อบรมสงู กวา่ กอ่ นอบรมอย่างมนี ัยสำคญั ทาง สถิตทิ ี่ระดบั .05 และผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 4.2) สมรรถนะด้านทักษะการปฏิบัติของครู หลังการฝกึ อบรมอยใู่ นระดับดีมาก และสงู กวา่ เกณฑท์ ี่กำหนดไว้ที่ค่าเฉลี่ย 3.51 อย่างมี นัยสำคญั ทางสถิติที่ระดับ .05 4.3) สมรรถนะด้านเจตคติของครู หลังการฝึกอบรมสูงกว่า ก่อนอบรมอย่างมีนยั สำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4.4) ความพึงพอใจของครูต่อการใช้ หลักสตู รฝกึ อบรมอยใู่ นระดับมากที่สุด และสูงกวา่ เกณฑท์ ี่กำหนดไว้ที่คา่ เฉลีย่ 3.51 อยา่ ง มีนยั สำคญั ทางสถิติทีร่ ะดบั .05 นเรศ ปบู่ ุตรชา (2561, บทคัดย่อ) ได้วจิ ยั รูปแบบความสมั พนั ธ์โครงสรา้ งเชิง เส้นของสมรรถนะครูที่สง่ ผลตอ่ คุณภาพผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21 ในภาคตะวันออก เฉียงเหนอื ผลการวิจัยพบว่า 1) รปู แบบความสัมพันธ์โครงสรา้ งเชิงเส้นของสมรรถนะครทู ี่ สง่ ผลต่อคุณภาพผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21 ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบด้วย 5 สมรรถนะ คอื สมรรถนะส่วน บุคคล สมรรถนะด้านภาวะผนู้ ำ สมรรถนะด้านคุณธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ สมรรถนะด้านการบริหารจดั การชั้นเรยี น และ สมรรถนะด้านการจดั การเรียนรู้ 2) รปู แบบที่พฒั นาขนึ้ มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิง ประจักษ์ โดยมีค่าสถิติ ดงั นี้ X2 = 100.47, P-value = 0.97030 - 129, X2/df = - 0.7788, RMSEA = 0.000 GFI = 0.99, AGFI = 0.97, CN = 999.16. CFI = 1.00 RMR = 0.0058 เมื่อพจิ ารณา ค่าสมั ประสิทธิพ์ ยากรณ์ (R) ของสมรรถนะท้ัง 5 สมรรถนะ พบวา่ สามารถ ร่วมกนั อธิบาย ความแปรปรวนคุณภาพผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21 ได้รอ้ ยละ 79 อสั รี สะอีดี (2561, บทคดั ย่อ) ได้วจิ ัยพฒั นาหลักสตู รฝึกอบรมเพื่อ เสริมสรา้ งสมรรถนะของครูพลศึกษาในศตวรรษที่ 21 โดยประยุกต์ใช้การอำนวยความ สะดวกในการเรียนรู้ร่วมกบั การสอนแบบเสริมศกั ยภาพ ผลการวิจยั พบวา่ 1) สมรรถนะครู พลศึกษาในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วยสมรรถนะ 6 ด้าน ได้แก่ 1) ดา้ นความรู้วชิ าการ การจดั การเรียนการสอน ทักษะทางการกีฬาและการออกกำลงั กาย 2) ด้านการส่งเสริม พัฒนาผเู้ รียน โดยเน้นผเู้ รียนเป็นสำคัญ 3) ด้านการส่ือสารและการมีมนุษยสัมพันธ์ทั้งกับ นกั เรียน ผู้ปกครอง เพื่อนครู และผบู้ ริหาร 4) ด้านการรู้เทา่ ทันสื่อ สารสนเทศ และดิจทิ ลั
105 5) ดา้ นการพัฒนาตนเองในความเปน็ ครพู ลศึกษา และ 6) ดา้ นการปรับตัวใหเ้ ข้ากับ นักเรียนและยคุ สมยั ทีเ่ ปลี่ยนแปลงทีม่ ี โดยพบวา่ ค่าความตอ้ งการจำเป็นสูงสดุ คอื ดา้ น การรเู้ ทา่ ทันสื่อ สารสนเทศ และดิจทิ ลั มคี ่า PNI modified เท่ากับ .470 2) หลกั สูตร ฝกึ อบรมทีพ่ ัฒนาขึน้ มี 8 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการและความเป็นมา 2) วัตถปุ ระสงค์ ของหลักสูตรฝกึ อบรม 3) หน่วยการเรียนรู้ของหลกั สตู รฝึกอบรม จำนวน 5 หน่วย 4) ระยะเวลาของการฝกึ อบรม 5) กิจกรรมที่ใช้ในหลกั สตู รฝึกอบรม 6) ส่อื ทีใ่ ชใ้ นหลกั สตู ร ฝกึ อบรม 7) การประเมินผลหลกั สูตร และ 8) แผนการฝึกอบรมแตล่ ะหน่วยการเรียนรู้ 3) ประสิทธิผลของหลักสตู รฝึกอบรมทีพ่ ฒั นาขึน้ ส่งผลให้กลมุ่ ทดลองมสี มรรถนะในศตวรรษ ที่ 21 ด้านการรู้เทา่ ทันสื่อ สารสนเทศ และดิจทิ ัลในด้านความรู้ เจตคติ และทกั ษะปฏิบัติ หลงั การทดลองสงู กวา่ กอ่ นการทดลองอยา่ งมนี ยั สำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ธญั ญลกั ษณ์ เวชกามา (2562, บทคัดยอ่ ) ได้วจิ ยั รปู แบบการพฒั นา สมรรถนะครูด้านการสอนภาษาอังกฤษของโรงเรียนประถมศึกษาในภาคตะวันออก เฉียงเหนอื ตอนล่าง ผลการวิจยั พบว่า 1) สภาพการณป์ จั จบุ นั และสภาพ แวดล้อมที่ เอือ้ อำนวยตอ่ การเรียนการสอนภาษาองั กฤษของโรงเรียนประถมศึกษาในภาค ตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนล่างพบวา่ สภาพปัจจบุ ันการพฒั นาสมรรถนะครดู ้านการสอน ภาษาอังกฤษของโรงเรียนประถมศึกษาในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนลา่ ง โดยรวมอยใู่ น ระดับปานกลางและสภาพทีพ่ ึงประสงค์รปู แบบการพัฒนาครูสอนภาษาอังกฤษของ โรงเรียนประถมศึกษาในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ตอนท้ายโดยรวมอยใู่ นระดับมากที่สุด 2) การสรา้ งและพัฒนารปู แบบการพัฒนาครดู ้านการสอนภาษาองั กฤษของโรงเรียน ประถมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง รูปแบบการพฒั นาสมรรถนะครูการ สอนภาษาอังกฤษของโรงเรียนประถมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง การ พฒั นาสมรรถนะครูด้านความรู้ ด้านทกั ษะและคุณลกั ษณะ มี 3 องคป์ ระกอบ 2.1) การ อบรมสมั มนาเชงิ ปฏิบัติการ 2.2) การนิเทศแบบเพือ่ นช่วยเพื่อน และ 2.3) การเรียนรดู้ ้วย ตนเอง เมอ่ื นำไปใช้จริง มีผลการประเมินการใชร้ ปู แบบอยู่ในระดับที่มากทีส่ ุด 3) ผลการ ประเมินรูปแบบการพัฒนาครดู ้านการสอนภาษาอังกฤษของโรงเรียนประถมศกึ ษาในภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ตอนล่าง มีความเหมาะสม ความเป็นไปได้และมีประโยชน์อยูใ่ นระดบั มากที่สุด สภุ าพรรณ ธะยะธง (2562, บทคดั ย่อ) ได้ศกึ ษาสมรรถนะของครูใน สถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน สงั กัดสำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2
106 ผลการศกึ ษาพบว่า 1) สมรรถนะของครใู นสถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน สังกดั สำนกั งานเขตพืน้ ที่ การศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งราย เขต 2 ในภาพรวมอยูใ่ นระดับปานกลาง 2) การ เปรียบเทียบสมรรถนะหลักของครูในสถานศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานสงั กดั สำนักงานเขตพืน้ ที่ การศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งราย เขต 2 จำแนกตามเพศในภาพรวมและรายด้านแตกต่าง กันอย่างมนี ัยสำคัญทางสถิตทีร่ ะดับ .01 3) การเปรียบเทียบสมรรถนะประจำสายงานของ ครูในสถานศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานสงั กัดสำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งราย เขต 2 จำแนกตามเพศ โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนยั สำคัญทางสถิตทีร่ ะดบั .01 4) การเปรียบเทียบสมรรถนะหลักของครใู นสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สังกัดสำนักงานเขต พืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งราย เขต 2 จำแนกตามวุฒิการศกึ ษา โดยรวมและราย ด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคญั ทางสถิตทีร่ ะดับ .01 5) การเปรียบเทียบสมรรถนะประจำ สายงานของครใู นสถานศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานสังกดั สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษา ประถมศกึ ษา เชยี งรายเขต 2 จำแนกตามวฒุ ิการศึกษา โดยรวมและรายด้านแตกต่างกนั อยา่ งมี นัยสำคัญทางสถิตที่ ระดบั .01 6) การเปรียบเทียบสมรรถนะหลกั ของครใู นสถานศึกษาขั้น พืน้ ฐาน สังกดั สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งราย เขต 2 จำแนกตาม ประสบการณส์ อนโดยรวมและรายด้านแตกตา่ งกันอย่างมนี ยั สำคัญทาง สถิตทิ ีร่ ะดบั .05 จำนวน 2 คู่ และแตกต่างกันอยา่ งมีนัยสำคญั ทางสถิติที่ระดับ .01 จำนวน 4 คู่ 7) การ เปรียบเทียบ สมรรถนะประจำสายงานของครูในสถานศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน สงั กดั สำนักงาน เขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งราย เขต 2 จำแนกตามประสบการณส์ อน โดยรวม และรายด้านไม่แตกต่างกัน 8) ขอ้ เสนอแนะเกี่ยวกับสมรรถนะของครใู นสถานศกึ ษาขั้น พืน้ ฐาน สังกดั สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งราย เขต 2 คือ ด้านมุ่ง ผลสมั ฤทธิก์ ารปฏิบัติงาน การสร้างขวญั และกำลังใจแก่คณะครูในกลมุ่ ที่ปฏิบัติงานดี ด้านการบริหารจัดการชั้นเรียน การอบรมให้ความรเู้ กี่ยวกับการบริหารจัดการชั้นเรียน ด้านการทำงานเป็นทีม การวางแผนการทำงานร่วมกัน และด้านการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจยั เพือ่ พัฒนาผเู้ รียน การใชเ้ ทคนิควิธีการที่หลากหลายในการตรวจสอบการ ประเมินให้เกียรติแก่ผอู้ ื่น Penn-Edwards (2010, p. 49) ได้ศึกษาเรื่องสมรรถนะครูสอนภาษาอังกฤษ กรณีนักศึกษาครู กล่มุ ตวั อย่างเปน็ นกั ศกึ ษาครปู ีหนึ่ง มหาวิทยาลยั ควีนสแ์ ลนด์ ที่คาดหวัง ให้มรี ะดับความสามารถในการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนได้ดีใน 8 คุณลักษณะ ทักษะการสะกดคำศพั ท์ และทักษะเกี่ยวกับไวยากรณ์เปน็ สว่ นสำคญั ที่สุด การใชส้ ื่อ ICT
107 และสื่อทนั สมยั ต่างๆ มคี วามสามารถ ซึง่ ทำการเปรียบเทียบคุณลักษณะเหลา่ น้ดี ว้ ยการ ประมาณค่าของระดับทกั ษะความสามารถของตัวเอง นักศึกษาจัดอนั ดบั ความสามารถใน การสะกดคำของตวั เองในระดับสูงสดุ และความรจู้ ัดอยู่ในระดบั ตำ่ ที่สดุ นักศึกษาถูกต้ัง คำถามถึงความตั้งใจที่จะพัฒนาทกั ษะความสามารถของตนเองในขณะที่ทำการฝึกสอน ผลการสำรวจได้ทราบแนวความคิดของศกึ ษาวา่ การพฒั นาตนเองเปน็ ทกั ษะที่จะต้อง เกิดข้ึน จากการผ่านประสบการณต์ อ่ เนื่องและเป็นรูปธรรมจากกระบวนการเรียนรู้และ การปฏิบัติจรงิ Amin Sikki และคณะ (2013, pp. 139-144) ได้ศกึ ษาเกี่ยวกบั สมรรถนะครู สอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษาในอินโดนีเซีย มีวัตถปุ ระสงค์เพือ่ สำรวจสมรรถนะครู สอนภาษาองั กฤษในระดับประถมศึกษาเกีย่ วกบั สมรรถนะประจำสายงานกบั สมรรถนะ การสอนโดยการใช้แบบทดสอบ และแบบสอบถามแบบปลายเปิด ผลการวิจัยชีใ้ ห้เหน็ วา่ สมรรถนะครูสอนภาษาอังกฤษระดบั ประถมศกึ ษาจะต้องได้รับการปรบั ปรุง โดยเฉพาะครู ที่อายุราชการนอ้ ยกว่า 5 ปีต้องได้รบั การพัฒนา สมรรถนะประจำสายงาน สมรรถนะการ สอน สมรรถนะทางสังคมและสมรรถนะเกี่ยวกบั บคุ ลิกภาพ แนวคิดการพฒั นาหลักสตู ร 1. ความหมายของหลักสูตร นกั การศกึ ษาหลายทา่ นได้ให้ความหมายของหลกั สูตร ไว้หลายลักษณะ สว่ นใหญม่ ีแนวคิดไปในทิศทางเดียวกนั โดยนกั การศกึ ษาให้ความหมายของคำว่า “หลกั สตู ร” ไว้ดงั นี้ ชมพนั ธุ์ กญุ ชร ณ อยธุ ยา (2540, หน้า 3 – 5) ได้อธิบายความหมายของ หลกั สตู รวา่ มคี วามแตกต่างกันไปตั้งแต่ความหมายทีแ่ คบสุดจนถึงกว้างสดุ ซึ่งสามารถ จำแนกความคิดเห็นของนกั การศกึ ษาทีไ่ ด้ให้นยิ ามความหมายของหลักสตู รแบง่ ออกเป็น 2 กลุม่ ใหญ่ๆ ได้ดังน้ี 1. หลกั สูตร หมายถึง แผนประสบการณก์ ารเรียน นักการศกึ ษาที่มี ความคิดเหน็ ว่า หลักสตู ร หมายถึง แผนประสบการณก์ ารเรียนนั้น มองหลักสตู รทีเ่ ป็น เอกสารหรอื โครงการของการศกึ ษาทีส่ ถาบันการศกึ ษาไว้วางแผนไว้ เพือ่ ให้ผู้เรยี นได้ศึกษา ตามแผนหรอื โครงการที่กำหนดไว้ หลกั สูตรตามความหมายนี้ หมายรวมถึง แผนการเรียน
108 หรอื รายวิชาตา่ งๆ ที่กำหนดให้เรียนรวมท้ังเน้ือหาวิชาของรายวิชาต่างๆ กิจกรรมการเรียน การสอน และการประเมินผล ซึง่ ได้กำหนดไว้ในแผนความคิดเห็นของนักการศกึ ษากลมุ่ น้ี ไมร่ วมถึงการนำหลกั สตู รไปใช้หรอื การเรียนการสอนทีป่ ฏิบัติจริง 2. หลักสตู ร หมายถึง ประสบการณ์การเรยี นของผู้เรยี นที่สถาบนั การศกึ ษาจดั ให้แกผ่ เู้ รียนประกอบด้วย จุดมุ่งหมาย เนื้อหา การจดั กิจกรรมการเรียนการ สอน การประเมินผล เจษฎา คะโยธา (2558, หน้า 12) ได้ให้ความหมายของหลกั สตู ร หมายถึง เอกสาร รายวิชาและแนวทางในการจัดการเรยี นรู้ อนั ประกอบด้วยวัตถปุ ระสงค์ของ หลกั สตู ร เนือ้ หาสาระ การจัดกิจกรรมหรอื ประสบการณ์ตา่ งๆ ให้แก่ผเู้ รียนและ กระบวนการวดั ประเมินผลการเรียนรทู้ ี่จะเกิดข้ึนแก่ผเู้ รียน ทีก่ ำหนดข้ึนโดยผพู้ ฒั นาหรอื หนว่ ยงานที่มีสว่ นเกีย่ วข้องกับหลกั สตู รนั้นๆ ช่วย นาคบรรพ์ (2558, หน้า 59) ได้ให้ความหมายของหลักสตู ร หมายถึง โครงร่างทีป่ ระกอบด้วยขอบเขตเนือ้ หาสาระรายวิชา วัตถุประสงคก์ ารเรียนรู้ กิจกรรมการ เรียนการสอน และส่งเสริมประสบการณ์ให้แก่ผเู้ รียน ผลลัพธ์ของการเรียนรู้ ข้อเสนอแนะ การจัดการเรียนการสอน ตำรา และวัสดุอปุ กรณต์ ่างๆ ทีใ่ ช้ประกอบในการเรียนการสอน รวมท้ัง การประเมินผลที่มุ่งเน้นทั้งทางด้านความรู้ เจตคติและสังคมของผเู้ รียน แก้วใจ สีมาคาม (2561, หน้า 61) ได้ให้ความหมายของหลักสูตร หมายถึง การจัดกิจกรรมและมวลประสบการณท์ ้ังหลายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้ที่ สถานศกึ ษาจดั ใหก้ ับนักเรียนเพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายทีพ่ ึงประสงค์ เกียรตภิ ูมิ มะแสงสม (2561, หนา้ 59) ได้ให้ความหมายของหลักสตู ร หมายถึง การประมวลประสบการณท์ ีส่ ร้างขนึ้ เพื่อจัดการเรียนการสอนให้แก่ผู้เรียน โดยมี เนือ้ หาทีจ่ ัดเรียงลำดับอยา่ งเป็นข้ันตอนที่เหมาะสม เพือ่ มุ่งหวงั ให้ผเู้ รียนเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมตามวตั ถปุ ระสงค์ที่กำหนดไว้ วิกานดา เกษตรเอีย่ ม (2561, หนา้ 71) ได้ให้ความหมายของหลกั สตู ร หมายถึง เอกสารทีส่ รปุ เปน็ แผนการเรียนรู้ซึง่ ประกอบด้วยจดุ ประสงค์ของหลักสตู รและ จุดประสงคป์ ระกอบการเรียนรู้ที่กล่าวระบุเฉพาะเจาะจง จุดประสงค์ของหลักสตู รและ จดุ ประสงค์ประกอบการเรียนรู้จะเปน็ เครื่องชใี้ นการกำหนดวิชาหรอื หวั เรื่องที่จะเรียนและ ยงั เป็นการคดั เลือกเน้ือหาทีจ่ ะเป็นสื่อการเรียนรู้ ตลอดจนวธิ ีการใชง้ านการจัดการเรียน การสอนรวมถึงการประเมินผลดว้ ย
109 Taba (1962, p. 10) กลา่ วว่า “หลกั สูตร” หมายถึง เอกสารที่จดั ทำขึ้น เพือ่ ระบุเป้าหมายและวตั ถุประสงคก์ ารเรียนรู้ เน้ือหาสาระ กิจกรรมหรือประสบการณ์ การเรียนรู้ และการประเมินผลการเรียนรู้ การพัฒนาหลักสตู รเปน็ การเปลี่ยนแปลงและ ปรับปรงุ หลกั สตู รอนั เดิมให้ได้ผลดียิ่งข้นึ ในด้านการวางจุดม่งุ หมาย การจัดเนือ้ หาการ เรียนการสอน การวัดและประเมินผล เพื่อบรรลุจดุ ม่งุ หมายใหมท่ ี่วางไว้ Beane & others. (1986, pp. 34 – 35) ได้สรปุ ความหมายของหลักสูตรไว้ โดยใช้เกณฑ์ความเป็นรูปธรรม (Concrete) ไปสูน่ ามธรรม (Abstract) และจากการยึด โรงเรียนเป็นศูนยก์ ลาง (School – centered) ไปสู่การยึดผเู้ รียนเป็นศูนยก์ ลาง (Learner – centered) โดยได้อธิบายไว้ ดังน้ี 1. หลักสตู ร คือ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจากกระบวนการจัดการศกึ ษา (Curriculum as product) 2. หลกั สูตร คือ โครงการหรอื แผนการในการจัดการศึกษา (Curriculum as program) 3. หลักสูตร คอื การเรียนรู้ที่กำหนดไว้อยา่ งมีความหมาย (Curriculum as intended learning) 4. หลกั สตู ร คอื ประสบการณ์ของผเู้ รียน (Curriculum as experience of the learner) Oliva (1992, pp. 8-9) ได้ให้นิยามความหมายของหลักสตู ร คือ แผนงาน หรอื โครงการที่จดั ประสบการณ์ทั้งหมดให้แก่นักเรียนโดยแผนงานต่างๆ จะถกู กำหนดเปน็ ลายลักษณอ์ กั ษร มีขอบเขตกว้างขวาง หลายหลาย เพื่อเปน็ แนวทางในการจัด ประสบการณ์เรียนรู้ทีต่ อ้ งการ ดังนั้น หลักสตู รอาจเป็นหนว่ ย (Unit) เป็นรายวิชา (Course) หรอื เปน็ รายวิชาย่อย (Sequence of Course) ท้ังนีแ้ ผนงานหรอื โครงการทางการศกึ ษา ดงั กล่าว อาจจัดขึน้ ได้ทั้งในและนอกช้ันเรยี น ภายใต้การบริหารและดำเนินงานของ สถานศกึ ษา Sowell. (1996, p. 5) ได้กล่าววา่ มีผู้อธิบายความหมายของหลักสตู รไว้ อยา่ งมากมาย เช่น หลักสตู รเป็นการสะสมความรู้ดงั้ เดิม เป็นวิธีการคิด เปน็ ประสบการณ์ ทีถ่ กู กำหนดไว้ เป็นแผนการจดั สภาพการเรียนรู้ เปน็ ความรู้และคุณลักษณะของผเู้ รียน เป็นเนือ้ หาและกระบวนการ เป็นแผนการเรียนการสอน เป็นจดุ หมายปลายทางและ ผลลพั ธข์ องการจัดการเรียนการสอนและเปน็ ผลผลติ ของระบบเทคโนโลยี เปน็ ต้น โซเวลล์
110 ได้อธิบายวา่ เป็นเรื่องปกติทีน่ ยิ ามความหมายของหลักสูตรมคี วามแตกต่างกันไปเพราะ บางคนให้ความหมายของหลกั สตู รในระดับที่แตกต่างกันหรอื ไมไ่ ด้แยกหลักสตู รกับการ จดั การเรยี นการสอน แตอ่ ย่างไรกต็ าม โซเวลล์ ได้สรปุ ว่า หลักสูตร คอื การสอนอะไร ให้กบั ผเู้ รียน ซึง่ มคี วามหมายทีก่ ว้างขวาง ที่รวมท้ังขอ้ มูลข่าวสาร ทักษะ และ ทัศนคติ ท้ัง ที่ได้กำหนดไว้และไม่ได้กำหนดไว้ให้แก่ผู้เรยี นในสถานศึกษา กลา่ วโดยสรุป หลักสตู ร หมายถึง มวลประสบการณท์ ีก่ ำหนดไว้เพือ่ เปน็ แนวทางในการจดั การศกึ ษาที่มุ่งเน้นพัฒนาผเู้ รียนใหบ้ รรลจุ ุดม่งุ หมายทางการศกึ ษา ประกอบด้วย จดุ มุ่งหมาย เนื้อหา การจดั กิจกรรมการเรียนการสอน และการประเมินผล 2. ความหมายของการพัฒนาหลกั สตู ร นกั การศกึ ษาหลายทา่ นได้ใหค้ วามหมายของ การพฒั นาหลกั สตู ร ไว้หลาย ลักษณะ สว่ นใหญ่มีแนวคิดไปในทิศทางเดียวกนั โดยนกั การศกึ ษาให้ความหมายของคำว่า “การพฒั นาหลักสูตร” ไว้ดังน้ี วิชยั วงษใ์ หญ่ (2525, หนา้ 10) กลา่ ววา่ การพัฒนาหลักสตู ร คือ การ พยายามวางโครงการที่จะช่วยใหน้ ักเรียนได้เรียนรู้ตรงตามจุดหมายทีก่ ำหนดไว้ หรอื การ พฒั นาหลกั สตู รและการสอนคือ ระบบโครงสร้างของการจัดโปรแกรมการสอน กำหนด จุดมุ่งหมาย เนื้อหาสาระ การปรับปรุงตำรา แบบเรียน คู่มอื ครู และสือ่ การเรียนต่าง ๆ การวดั และประเมินผลการใชห้ ลักสูตรการปรับปรุงแก้ไข และการให้ การอบรมครูผใู้ ช้ หลักสูตรใหเ้ ปน็ ไปตามวัตถุประสงคข์ องการพัฒนาหลักสตู รและ การสอน รวมท้ังการ บริหารและบริการหลกั สตู ร สงัด อุทรานนั ท์ (2532, หน้า 30) ได้กล่าวถึงความหมายของการพัฒนา หลกั สูตรวา่ “การพัฒนา” ตรงกบั คำในภาษาองั กฤษว่า “Development” มีความหมายอยู่ 2 ลกั ษณะ คอื การทำให้ดีข้ึนหรอื ทำให้สมบูรณ์ขึ้นและการทำให้เกิดขึน้ ดว้ ยเหตนุ ี้การ พฒั นาหลกั สตู รจงึ มีความหมายใน 2 ลักษณะ คอื การทำหลกั สตู รทีม่ อี ยแู่ ล้วให้ดีขนึ้ หรอื สมบรู ณ์ขึ้น กับการสร้างหลักสูตรข้ึนมาใหม่ โดยไมม่ หี ลักสตู รเดิมเปน็ พืน้ ฐานเลย ช่วย นาคบรรพ์ (2558, หน้า 67) การดำเนินการจดั ทำสูตรขนึ้ มาใหม่ หรอื จัดทำสูตรทีม่ อี ยู่แล้วให้ดขี ึน้ รวมทั้งเป็นการออกแบบหลักสตู ร การร่างหลักสูตร และ ประเมินหลกั สูตรทีส่ ร้างขึน้ โดยนำไปทดลองปฏิบตั ิจรงิ เพือ่ นำผลจากการทดลองมา ปรบั ปรงุ แก้ไขใหมใ่ ห้มคี วามสมบูรณม์ ากยิ่งขึ้น
111 ดนยา อนิ จำปา (2559, หน้า 12) ได้ให้ความหมายของการพฒั นาหลักสูตร หมายถึง การพฒั นาหลักสูตรเปน็ การเปลีย่ นแปลงหรือพฒั นาหลักสูตรเดิมทีม่ อี ยู่ให้ดีเพิ่ม มากยิ่งขึน้ หรอื เป็นการสร้างหลกั สูตรขึ้นมาใหมท่ ีไ่ มเ่ คยมีมากอ่ น โดยมีองค์ประกอบต่างๆ ของหลักสูตรตามที่กำหนดไว้ เกียรตภิ ูมิ มะแสงสม (2561, หนา้ 69) ได้ให้ความหมายของการพัฒนา หลักสูตร หมายถึง กระบวนการวางแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรูทุกประเภทเพื่อให ผเู้ รียนเกิดการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมตามความม่งุ หมายและจดุ ประสงคที่กำหนดไว และ เปน็ การวางแผนการประเมินผลใหทราบถึงการเปลี่ยนแปลงในตวั ผเู้ รียน วาได้บรรลุตาม ความมุง่ หมายและจุดประสงคจรงิ หรอื ไม่ เพื่อจะได้แกไขปรับปรุงตอไป วิกานดา เกษตรเอี่ยม (2561, หนา้ 72) ได้ให้ความหมายของการพัฒนา หลักสูตร หมายถึง การสร้างหลักสตู รขนึ้ มาใหม่ท้ังหมด โดยไม่มีหลกั สตู รเก่าอยู่เลย หรอื ปรบั ปรงุ แก้ไขหลักสตู รเก่าทีม่ อี ยู่แล้ว โชติกา กุณสิทธิ์ (2563, หน้า 150) ได้ให้ความหมายของการพฒั นา หลักสตู ร หมายถึง กระบวนการที่เกี่ยวข้องกบั กิจกรรมต่างๆ ของการจัดทำหลักสูตรขนึ้ มา ใหม่ ให้สอดคล้องกบั ความต้องการของบคุ คลและสภาพสงั คม เพื่อให้ผเู้ รียนมีพฤติกรรม เปลี่ยนแปลงในทางที่ดีตรงตามจุดประสงคท์ ี่วางไว้ Taba (1962. p. 10) ได้กล่าวไว้วา่ “การพัฒนาหลกั สตู ร หมายถึง การ เปลี่ยนแปลงปรบั ปรุงหลกั สูตรอนั เดิมให้ได้ผลดียิง่ ขนึ้ ทั้งในด้านการวางจดุ มุ่งหมาย การ จัดเนอื้ หาวิชา การเรียนการสอน การวัดผลประเมินผลและอื่นๆ เพื่อใหบ้ รรลถุ ึง จดุ มงุ่ หมายอนั ใหมท่ ี่วางไว้ การเปลีย่ นแปลงหลกั สูตรเปน็ การเปลี่ยนแปลงท้ังระบบหรอื เปลี่ยนแปลงท้ังหมด ตั้งแต่จุดมุ่งหมายและวิธีการ และการเปลี่ยนแปลงหลกั สตู รนี้จะมี ผลกระทบกระเทือนทางดา้ นความคดิ และความรสู้ ึกนึกคิดของผทู้ ี่เกีย่ วข้องทุกฝ่าย สว่ น การปรับปรงุ หลักสตู ร หมายถึง การเปลี่ยนแปลงหลักสตู รเพียงบางส่วนโดยไม่ เปลี่ยนแปลงแนวคิดพนื้ ฐาน หรอื รปู แบบของหลกั สูตร” Carter V. Good (1973, p. 157) ได้ให้ความเห็นไว้วา่ การพฒั นาหลักสูตร เกิดข้ึนได้ 2 ลกั ษณะ คอื การปรับปรงุ และเปลีย่ นแปลงหลักสตู ร การปรบั ปรงุ หลักสตู ร เป็นวิธีการพัฒนาหลกั สตู รอยา่ งหนึ่ง เพือ่ ให้เหมาะกับโรงเรียนและระบบโรงเรียน จดุ มงุ่ หมายของการสอนวสั ดอุ ปุ กรณ์ วิธีสอนรวมท้ังการประเมินผล สว่ นคำวา่ การ
112 เปลีย่ นแปลงหลกั สูตร หมายถึงการแก้ไขหลกั สูตรให้แตกต่างไปจากเดิม เปน็ การสร้าง โอกาสทางการเรียนใหม่ Saylor and Alexander (1981. p. 8) ให้ความหมายวา่ การพัฒนาหลักสตู ร หมายถึง การจดั ทำหลกั สูตรเดิมทีม่ อี ยู่แล้วให้ดีข้นึ หรือเป็นการจดั ทำหลกั สตู รใหมโ่ ดยไม่ มีหลกั สตู รเดิมอยกู่ ่อน การพฒั นาหลักสตู ร อาจหมายรวมถึงการสร้างเอกสารอ่นื ๆ สำหรับนกั เรียนด้วย กล่าวโดยสรุป การพัฒนาหลกั สูตร หมายถึง การปรบั ปรงุ และเปลี่ยนแปลง หลกั สตู รเดิมที่มอี ยูแ่ ล้วให้ดีขึน้ หรอื เป็นการสร้างหลกั สูตรข้ึนมาใหมท่ ี่ไมเ่ คยมีมาก่อน ให้ สอดคล้องกบั ความต้องการของบุคคลและบริบทของโรงเรียน เพื่อให้ผเู้ รียนเกิดการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตามความมุ่งหมายและจดุ ประสงคทีก่ ำหนดไว 3. ความสำคัญของหลกั สูตร หลกั สตู รมีความสำคญั ยิ่งต่อการจัดการศกึ ษาเพราะจะเปน็ โครงรา่ งกำหนด ไว้วา่ จะให้นกั เรียนได้รบั ประสบการณอ์ ะไรบ้าง จึงมีนกั การศกึ ษาหลายท่าน ได้กลา่ วถึง ความสำคัญของหลกั สูตร ดังน้ี สนั ต์ ธรรมบำรุง (2527, หน้า 9 - 10) ได้กลา่ วถึงความสำคัญของหลกั สูตร ไว้ว่า 1. หลกั สูตรเป็นแผนปฏิบัติงานของครู เพราะหลกั สูตรจะกำหนด จดุ มุง่ หมายเนื้อหาสาระการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน และการประเมินผลไว้เป็น แนวทาง 2. หลักสูตรเป็นข้อกำหนดแผนการเรียนการสอน อันเป็นส่วนรวมของ ประเทศเพือ่ นำไปสู่ความมุง่ หมายตามแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ 3. หลักสตู รเปน็ เอกสารของทางราชการเปน็ บัญญัติของทางรฐั บาล เพือ่ ให้บุคคลที่ทำงานเกี่ยวข้องกบั การศกึ ษาปฏิบัติตาม 4. หลักสูตรเปน็ เกณฑ์มาตรฐานการศกึ ษา เพือ่ ควบคุมการเรยี นการ สอนในสถาบนั การศกึ ษาระดับตา่ งๆ และยังเปน็ เกณฑ์มาตรฐานอย่างหนึ่งในการจัดสรร งบประมาณ บุคลากร อาคารสถานที่ วสั ดอุ ปุ กรณฯ์ ลฯ ของการศกึ ษาของรฐั ให้แก่ สถานศกึ ษาของรฐั บาลด้วย 5. หลักสตู รเป็นแผนดำเนินงานของผู้บริหารการศกึ ษาทีจ่ ะอำนวยความ สะดวกและควบคุมดูแลติดตามผลใหเ้ ป็นไปตามนโยบายการจดั การศกึ ษาของรัฐบาลด้วย
113 6. หลักสตู รจะกำหนดแนวทางในการส่งเสริมความเจริญงอกงาม และ พัฒนาการของเดก็ ตามจดุ หมายของการศกึ ษา 7. หลกั สตู รจะกำหนดลักษณะและรปู รา่ งของสังคมในอนาคตได้วา่ จะ เป็นไปในรูปใด 8. หลักสูตรจะกำหนดแนวทางให้ความรู้ ทกั ษะและความสามารถความ ประพฤติทีจ่ ะเปน็ ประโยชน์ต่อสังคมอันเปน็ การพัฒนากำลงั คน ซึ่งจะนำไปสู่การพัฒนา เศรษฐกิจ และสงั คมแห่งชาติที่ได้ผล 9. หลกั สตู รจะเปน็ สิง่ ทีบ่ ง่ ชี้ถึงความเจริญของประเทศ เพราะการศกึ ษา เปน็ เครือ่ งมอื ในการพัฒนาคน ประเทศใดจัดการศกึ ษาโดยมีหลกั สูตรทีเ่ หมาะสม ทันสมยั มีประสิทธิภาพ ทันตอ่ เหตุการณ์ และการเปลี่ยนแปลงย่อมได้กำลงั คนทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูง ธำรง บัวศรี (2532, หน้า 6 - 7) ได้กลา่ ววา่ หลกั สตู รมีความสำคญั เพราะ หลกั สตู รเปน็ สว่ นกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ เพือ่ ให้แนใ่ จวา่ ผู้เรยี นได้รบั การศกึ ษาที่มี คุณภาพ โดยมีรายละเอียดที่บ่งชีว้ ่า ผเู้ รียนควรเรียนรู้อะไร มีเน้ือหาสาระมากน้อยเพียงไร ควรได้รบั การฝึกฝนให้มที กั ษะในด้านใด และควรมีพฒั นาการทั้งในสว่ นของร่างกาย จิตใจ สังคม และสติปญั ญาอยา่ งไร อำภา บญุ ช่วย (2533, หน้า 20 - 21) ได้สรปุ ความสำคัญของหลกั สตู ร ดงั น้ี 1. เปน็ เอกสารของทางราชการ หรือเปน็ บญั ญตั ิของรัฐบาล เพือ่ ให้ บุคคลทีท่ ำหน้าที่เกีย่ วกบั การศกึ ษาปฏิบัติ ไม่ว่าเปน็ สถาบันการศกึ ษาของรัฐบาลหรอื เอกชน ดงั น้ันหลักสูตรจงึ เปรียบเสมือน “คำส่งั ” หรือ “ข้อบังคบั ” ของทางราชการชนิด หน่งึ นั่นเอง 2. เปน็ เกณฑ์มาตรฐานทางการศกึ ษา เพือ่ ควบคมุ การเรียนการสอนใน สถาบนั การศึกษาระดบั ต่างๆ รวมทั้งเป็นเกณฑม์ าตรฐานอยา่ งหนึง่ ในการทีจ่ ะจดั สรร งบประมาณ บุคลากร อาคารสถานทีแ่ ละวสั ดอุ ุปกรณ์ทางการศึกษาของรฐั บาลใหแ้ ก่ โรงเรียน 3. เป็นแผนการดำเนินงานของนักบริหารการศกึ ษาที่จะต้องอำนวยการ ควบคมุ ดูแล และติดตามประเมินผลใหเ้ ป็นไปตามนโยบายการจดั การศกึ ษาของรฐั บาล
114 4. เปน็ แผนการปฏิบัติงานหรอื เครือ่ งชี้นำทางในการปฏิบัติงานของครู เพราะหลักสูตรจะเสนอแนะจดุ มุ่งหมาย การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน และการ ประเมินผลการเรียนการสอนซึ่งครูควรจะปฏิบตั ิอย่างจริงจัง 5. เป็นเครือ่ งมอื ของรัฐในอันที่จะพฒั นาคนและพฒั นากำลังคนซึ่งจะเป็น ตวั จักรสำคญั ในการพฒั นาเศรษฐกิจ และสังคมแหง่ ชาติตามแผนของรฐั บาล 6. เป็นเครื่องชีถ้ ึงความเจริญของชาติ เพราะการศกึ ษาเปน็ เครื่องมอื ใน การพัฒนาคน ถ้าประเทศชาติใดมีหลักสูตรทีเ่ หมาะสม ทันสมยั และมีประสิทธิภาพ ก็จะ ทำให้คนในประเทศของตนมีคุณภาพ แก้วใจ สีมาคาม (2561, หน้า 63) ได้กลา่ วไว้ว่า หลักสูตรมคี วามสำคญั ตอ่ การพัฒนาการจัดการศกึ ษา เป็นเครือ่ งมือในการวางแผนการบริหารการศกึ ษาเป็น ตวั กำหนดแนวทางในการจัดประสบการณ์ให้กับนกั เรียน เพือ่ ใหน้ กั เรียนมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีความรู้ ความสามารถพัฒนาได้เต็มตามศกั ยภาพและบรรลุผลตาม จดุ มงุ่ หมายของการศกึ ษา เกียรตภิ ูมิ มะแสงสม (2561, หน้า 61) ได้กล่าวไว้วา่ หลักสูตรมคี วามสำคญั เพราะเป็นเอกสารที่กำหนดแนวทางการจดั มวลประสบการณ และทิศทางการจดั การศกึ ษาใหกบั บุคลากรทีเ่ กี่ยวของกับการจดั การศกึ ษานำไปยึดถือเป็นแนวปฏิบัติ เพื่อให ผเู้ รียนมีคณุ ภาพทางการศึกษาตามเกณฑมาตรฐานการศกึ ษาทีห่ ลกั สูตรกำหนดไว้ จากความสำคัญของหลกั สูตรข้างต้น สรปุ ได้ว่า หลักสูตรมคี วามสำคัญต่อ การวางแผนการศกึ ษาของสถานศกึ ษา เป็นเครื่องมอื และแนวทางในการจดั ประสบการณ์ ให้กบั นักเรียน ประกอบด้วยจุดม่งุ หมายเนื้อหาสาระการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน และการประเมินผล เพื่อพัฒนาความสามารถของผู้เรียนได้เตม็ ตามศกั ยภาพและบรรลุผล ตามจดุ มงุ่ หมายของการศกึ ษา 4. องคป์ ระกอบของหลกั สตู ร หลักสตู รจะต้องมีรายละเอียดที่จำเปน็ ซึ่งจะสื่อใหผ้ ู้อื่นเข้าใจและนำไปใช้ ได้จากการศกึ ษาเอกสารพบวา่ องคป์ ระกอบทีจ่ ำเปน็ ของหลักสูตรได้มีผกู้ ล่าวถึง ไว้ดังน้ี บญุ ชม ศรสี ะอาด (2546, หนา้ 11) ได้อธิบายว่า ในการพัฒนาหลักสตู รและ การสอนจะต้องดำเนินการพฒั นาในองค์ประกอบพืน้ ฐาน 4 องค์ประกอบ คอื 1. จดุ ประสงค์ 2. สาระความรู้ประสบการณ์
115 3. กระบวนการเรียนการสอน 4. การประเมินผล พีระพรรณ ทองศูนย์ (2556, หนา้ 61) ได้สรุปองค์ประกอบของหลักสูตรที่ สำคัญมี 4 สว่ น คือ 1) จุดมุ่งหมายของหลักสูตร 2) เน้ือหาสาระ 3) กระบวนการจดั การ เรียนรู้ และ 4) การประเมินผล กรุณา วิทยารัตน์ (2559, หน้า 22) ได้สรุปองค์ประกอบของหลกั สตู รไว้ 6 องค์ประกอบ คอื 1. หลักการและเหตุผล 2. วัตถปุ ระสงค์ 3. เนือ้ หาสาระของหลักสูตร 4. กิจกรรมการฝึกอบรม 5. สือ่ ประกอบการฝกึ อบรม 6. การวัดและประเมินผลการ ฝกึ อบรม คุณาพร วรรณศลิ ป์ (2560, หนา้ 22) ได้สรปุ องค์ประกอบของหลักสตู ร ประกอบด้วยสิง่ สำคัญ 4 ประการ ได้แก่ 1) จุดประสงค์ของหลักสตู ร 2) เนือ้ หาวิชาหรอื ประสบการณ์ 3) การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้และ 4) การประเมนิ ผล ซึ่งแต่ละ องคป์ ระกอบเหลา่ นีไ้ ม่อาจกำหนดข้นึ ได้โดขอิสระ จะต้องกำหนดให้มีความสัมพนั ธ์ เกี่ยวข้องกนั และกนั เพือ่ ให้การดำเนินงานทกุ ขั้นตอนสอคคล้องและบรรลุผล สำเรจ็ ตามวัตถปุ ระสงค์ที่ต้องการอย่างต่อเน่อื ง วีรนุช สายทอง (2560, หน้า 15-16) ได้สรุปองคป์ ระกอบของหลักสตู รมี 4 ส่วน คือ จดุ มุง่ หมายหรอื จุดประสงค์ของหลกั สูตร เน้ือหาหรอื ประสบการณ์ วธิ ีการ จดั การเรยี นการสอน และการประเมินผลหลักสูตร จะขาดองคป์ ระกอบใดองค์ประกอบ หน่งึ ไมไ่ ด้ เพราะถ้าขาดจดุ ประสงค์กจ็ ะไม่รู้ว่าจะสอนไปเพือ่ อะไร ถ้าขาดเนือ้ หาก็จะไม่รู้ว่า จะนำอะไรมาสอน ถ้าขาดวิธีการจดั การเรยี นการสอนที่ดกี จ็ ะทำให้ ผู้เรยี นไมบ่ รรลุตาม จดุ ประสงค์ และถ้าขาดการประเมินผลก็จะไม่ทราบว่าวิธีการจดั การเรยี น การสอนนั้นดี หรอื ไม่ดีอยา่ งไร ควรจะปรับปรงุ พัฒนาอะไร ตรงไหน และผเู้ รียนบรรลตุ าม จดุ ประสงค์ หรอื ไม่ ปัญญดา จันทกิจ (2562, หน้า 40-41) ได้สรุปองค์ประกอบของหลักสตู รไว้ 4 องค์ประกอบ ดงั นี้ 1. จดุ มงุ่ หมายของหลกั สตู ร เปน็ ผลโดยรวมที่ตอ้ งการใหเ้ กิดข้ึนกบั ผเู้ รียนหลังจากทีไ่ ด้เรียนจบหลักสูตร
116 2. เน้ือหาของหลักสตู ร คอื วิชาความรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรม และ ประสบการณ์ต่าง ๆ ที่ผู้เรยี นจะไห้รบั ในลำดับขั้นตอนต่าง ๆ คามลำดับทีจ่ ัดขึน้ เพื่อให้มี ความรู้ ความสามารถตามจุดมุ่งหมายที่หลักสตู รไส้กำหนดไว้ 3. การจัดการเรียนรู้ ผู้สอนจะต้องคำเนินการจัดการเรียนรู้จากเนื้อหา ในหลักสูตรอย่างเปน็ ระบบ เพื่อให้ผู้เรยี นมีดวามรู้ ความเข้าใจ และสามารถนำไป ประยกุ ต์ใช้ใด้อย่างเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล 4. การประเมิน เพือ่ ใหท้ ราบถึงคุณดำของหลักสูตรที่จะนำไปใช้เป็น แนวทางในการพัฒนาและปรับปรงุ หลักสูตร ฟาดลี ๊ะ แซะเฮง (2563, หน้า 27) ได้สรุปองคป์ ระกอบของหลกั สตู รไว้ 4 องคป์ ระกอบ ได้แก่ 1) จุดมุ่งหมายของหลกั สตู ร 2) โครงสรา้ งเน้ือหาสาระของหลกั สตู ร 3) กิจกรรมการฝกึ อบรม 4) การวดั และประเมินผลการฝกึ อบรมผู้เรยี น สาธนี พรมวงศ์ (2563, หน้า 16) ได้สรปุ องคป์ ระกอบหลักสูตรไว้ 4 ประการ ได้แก่ วตั ถปุ ระสงค์ของหลกั สตู ร เน้ือหาวิชา การนำหลักสตู รไปใช้ และการ ประเมินผล Taba (1962, pp. 422-423) ให้ความเห็นว่าหลักสูตร ประกอบด้วย 4 องคป์ ระกอบ คอื 1. วตั ถปุ ระสงค์ หมายถึง ความมุ่งหวังทีจ่ ะให้เกิดผลแก่ผเู้ รียนภายหลัง การใชห้ ลกั สตู รหรอื สิ่งที่กำหนดคุณลักษณะที่พึงประสงคใ์ ห้เกิดขึ้นแกผ่ เู้ รียน เพือ่ พัฒนาให้ ผเู้ รียนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตามที่ต้องการ และเปน็ พฤติกรรมที่สามารถวดั และ ประเมินได้โดยครอบคลุมลักษณะ 3 ด้าน คอื ความรู้ ทักษะ และเจตคติ การกำหนด วัตถปุ ระสงค์ทีเ่ กิดประโยชนม์ ากที่สดุ ตอ้ งบ่งบอกถึงชนิดของพฤติกรรมทีพ่ ึงประสงค์จะ พฒั นาข้นึ ในตวั ผเู้ รียน และบ่งบอกถึงเน้ือหาที่เกี่ยวข้องกับสภาพชวี ิตทีใ่ ช้พฤติกรรมนนั้ ๆ 2. เน้ือหาของหลักสูตร หมายถึง สาระสำคัญของความรทู้ ีน่ ำมา เปน็ เครือ่ งมอื พัฒนาผเู้ รียนใหม้ ีความรู้ ความสามารถ และเกิดคุณลกั ษณะตามทีก่ ำหนดไว้ ในวัตถปุ ระสงค์ โดยมีเกณฑ์การเลอื กเนื้อหา และเกณฑก์ ารจัดเนือ้ หา ดังนี้ 2.1 เกณฑ์การเลือกเนื้อหา 2.1.1 ขอ้ มลู ด้านปรชั ญาการศกึ ษา ได้แก่ เป้าหมายทางการศกึ ษา องคค์ วามรู้และธรรมชาติของความรู้ 2.1.2 ขอ้ มูลด้านจติ วิทยาการเรียนรู้ ได้แก่ พัฒนาการและ
117 วุฒิภาวะของผเู้ รียน ความสามารถและศักยภาพในตัวของผู้เรยี น ธรรมชาติการเรียนรู้ ของมนุษย์ 2.1.3 ขอ้ มูลด้านสงั คม ได้แก่ ความตอ้ งการและ ความคาดหวังของสงั คม และเกณฑท์ ีใ่ ชใ้ นการตรวจสอบคณุ ภาพของเน้ือหา คอื 2.1.3.1 มเี นือ้ หาเฉพาะใดบ้างที่จะบ่งชใี้ ห้ผเู้ รียนรู้ในสิง่ น้ัน 2.1.3.2 มขี ้อเท็จจริง แนวคิด หลักการใดบ้างทีส่ ัมพันธ์ กบั หัวข้อเน้ือหา 2.1.3.3 เนือ้ หาได้ชีแ้ นวทางเกี่ยวกับกระบวนการเรียน การสอนเป็นข้ันตอน แต่ต่อเนื่องอยา่ งสัมพันธ์กบั หัวข้อเร่อื งอยา่ งไร 2.1.3.4 เนือ้ หาได้บง่ ชใี้ ห้ผเู้ รียนเกิดความรู้ ความคิด ทกั ษะ และคณุ ลกั ษณะ ค่านิยมในรปู แบบใด 2.2 เกณฑ์การจัดเนือ้ หา 2.2.1 จัดตามลำดบั จากเนื้อหาที่ง่ายไปสู่ปญั หาที่ยาก 2.2.2 จดั ตามความจำเปน็ ทีต่ ้องเรียนก่อนเรียนหลงั 2.2.3 จดั ตามลำดับของเวลา 2.2.4 จัดตามหวั ข้อหรอื เรื่อง 2.2.5 จัดลำดับจากสว่ นย่อยไปสสู่ ว่ นรวม 2.2.6 จัดตามลำดับจากสว่ นรวมไปสสู่ ว่ นย่อย 3. กระบวนการเรียนการสอน หมายถึง ปฏิสมั พันธร์ ะหว่างผเู้ รียน กับสถานการณภ์ ายนอกที่ผู้เรียนมีปฏิกิรยิ าต่อการเรียนรู้ โดยเกิดจากสิ่งที่ผู้เรยี นเป็น ผลู้ งมอื กระทำ ดังนน้ั วตั ถปุ ระสงค์และเน้ือหาวิชาเป็นจุดหมายปลายทาง แตป่ ระสบการณ์ การเรียนที่จัดขนึ้ เป็นวิธีการที่จะทำให้บรรลุถึงจดุ หมายปลายทาง โดยมีหลกั ในการเลือก ประสบการณ์การเรียน ดงั นี้ 3.1 เลือกประสบการณก์ ารเรียนทีใ่ ห้โอกาสผู้เรยี นได้ฝึกปฏิบตั ิ ตามวตั ถปุ ระสงค์ 3.2 ควรเปน็ ที่พึงพอใจของผเู้ รียน 3.3 อย่ใู นขอบข่ายความสามารถของผเู้ รียน 3.4 ควรเลือกจดั การเรียนรู้ทีส่ ามารถนำไปสูว่ ตั ถปุ ระสงค์ หลายๆ ด้าน
118 4. วิธีการประเมินผล หมายถึง กระบวนการรวบรวมข้อมูล เพือ่ ตรวจสอบวา่ ประสบการณ์การเรียนที่จัดขนึ้ ได้ผลที่พึงประสงค์หรือไม่ มากน้อยเพียงใด และเปน็ การเสนอข้อมลู เพื่อตัดสินใจเปลี่ยนแปลง ปรับปรงุ หรอื เลือกวิธีการใหม่เกีย่ วกบั การจดั การศกึ ษา พิจารณาให้ครอบคลมุ ท้ังการประเมินความก้าวหนา้ และประเมิน ผลลัพธ์ Beauchamp (1981, pp. 107-109) ให้ความเห็นวา่ หลกั สตู ร ประกอบด้วย 4 องคป์ ระกอบ คอื 1. เนือ้ หาสาระและวิธีการจัด ทีส่ อดคล้องกับจดุ มุ่งหมาย 2. จดุ ม่งุ หมายของหลกั สตู ร ประกอบด้วย จดุ มุ่งหมายทวั่ ไปและ จดุ มุ่งหมายเฉพาะ 3. แนวการนำหลกั สตู รไปใช้สอน หรอื ข้อความทีก่ ล่าวถึงแนวทาง ในการวางแผนการเรียนการสอน 4. การประเมินผล ซึ่งหมายถึง ระบบแนวทางการประเมินคณุ ค่า ของหลกั สูตร จากการศกึ ษาหลักการของนักวิชาการทีก่ ล่าวมาข้างต้น ผวู้ ิจยั สามารถ สังเคราะหอ์ งคป์ ระกอบของหลกั สูตร สรุปได้ดังตาราง 6 ตาราง 6 การสงั เคราะห์องค์ประกอบของหลักสตู ร องคป์ ระกอบของหลักสูตร ุบญชม ศ ีรสะอาด (2546) พีระพรรณ ทอง ูศน ์ย (2556) กรุณา วิทยา ัรต ์น (2559) คุณาพร วรรณศิล ์ป (2560) วีรนุช สายทอง (2560) ัปญญดา ัจนทกิจ (2562) ฟาดี ๊ละ แซะเฮง (2563) สาธ ีน พรมวง ์ศ (2563) Taba (1962) Beauchamp (1981) ความถ่ี ผู้ ิวจัย วตั ถปุ ระสงค์/จุดมุ่งหมายของ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ 10 √ หลักสูตร เน้ือหาสาระ/เน้อื หาวิชา √√√√√√√√√9√ กระบวนการจัดการเรียนรู้/กิจกกรม √ √ √ √ √ 5√ หลักการเหตุผล √ 1 การประเมินผล √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ 10 √ สอ่ื และแหล่งเรียนรู้ √ 1
119 องคป์ ระกอบของหลกั สูตร ุบญชม ศ ีรสะอาด (2546) พีระพรรณ ทอง ูศน ์ย (2556) ก ุรณา วิทยา ัรต ์น (2559) ุคณาพร วรรณศิล ์ป (2560) วีร ุนช สายทอง (2560) ัปญญดา ัจนทกิจ (2562) ฟาดี ๊ละ แซะเฮง (2563) สาธ ีน พรมวง ์ศ (2563) Taba (1962) Beauchamp (1981) ความถี่ ผู้ ิวจัย การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ √ 1 สาระความรู้ประสบการณ์ √ 1 วธิ ีการจัดการเรียนการสอน √ 1 การวางแผนนำไปใช้ √ √2 จากตาราง 6 ผลการสังเคราะห์องคป์ ระกอบของหลกั สูตรของนกั วิชาการ ท้ังในประเทศและต่างประเทศ จำนวน 10 ท่าน พบวา่ มีองค์ประกอบของหลกั สตู รหลาย องค์ประกอบทีม่ คี วามสอดคล้องกนั และมีความแตกต่างกนั หากพิจารณาโดยนัยแล้วก็ ล้วนเป็นหลักการทีม่ ีความสัมพันธก์ ันทั้งสนิ้ ผู้วิจัยจึงใช้เกณฑ์ความถี่รอ้ ยละ 50 ขึน้ ไปใน การเลือก ซึง่ องค์ประกอบของหลักสตู ร สามารถแบง่ ออกได้ 4 องคป์ ระกอบ ดังนี้ 1) จุดมุ่งหมายของหลกั สูตร 2) เนือ้ หาสาระ 3) กระบวนการจัดการเรียนรู้ 4) การ ประเมินผล 5. ประเภทของหลกั สตู ร นักวิชาการศกึ ษาหลายคนได้กลา่ วถึงประเภทของหลักสูตร ไว้ดังนี้ วิชยั วงษ์ใหญ่ (2554, หน้า 24-37) ได้กลา่ วถึงประเภทของหลกั สูตร ไว้ว่า หลกั สตู รแบ่งได้เปน็ 7 ประเภท ดังน้ี 1. หลกั สตู รที่เน้นวิชาเปน็ ศูนย์กลาง (Subject - Centered Designs) เปน็ หลักสตู รที่นยิ มออกแบบกนั มากเพราะออกแบบหลักสตู ร การบริหารจดั การสะดวก เปน็ อิสระของแต่ละรายวิชา เพราะความรู้และเนื้อหาได้รับการยอมรบั วา่ เปน็ สว่ นสำคญั ของหลักสูตร สถาบนั อุดมศึกษาส่วนมากจะออกแบบหลักสูตรที่เน้นรายวิชาเปน็ ศูนยก์ ลาง โดยเฉพาะหลกั สูตรแบบรายวิชา (Subject Design) เป็นหลักสูตรทีร่ จู้ กั และนิยมใชก้ ันมาก ในสถาบนั อดุ มศกึ ษา เพราะมีความเช่ือวา่ ความรู้ และสติปญั ญา การแสวงหาความรแู้ ละ กระบวนการเรียนรู้ทำให้เกิดปัญญา การจัดหลกั สตู รแบบรายวิชาส่วนมากโครงสร้างจะ แบ่งเป็นสว่ นๆ ของแตล่ ะวิชาตามลกั ษณะธรรมชาติของความรู้ แมจ้ ะนำแนวคิดเชิงบูรณา การมาใช้ เพื่อให้เกิดการผสมผสานกลมกลืนกันบ้าง เช่น การจดั กระบวนการเรียนการ
120 สอนแบบวรรณกรรมขึ้นเอกของตะวันตก (The Great Book) แบง่ เปน็ วรรณคดี การเรียน การพูด การอ่านภาษาศาสตร์ และไวยากรณ์ นกั การศึกษาและนกั พัฒนาหลกั สูตรเห็น ตรงกันว่า ควรแบง่ ความรอู้ อกเปน็ รายวิชาต่างๆ เช่น ประวัตศิ าสตร์ มานุษยวิทยา วรรณคดี เศรษฐศาสตร์ คณิตศาสตร์ แตจ่ ดุ อ่อนของการแบง่ ความรอู้ อกเป็นรายวิชานจี้ ะ ทำให้ความรู้แยกออกเป็นส่วนต่างๆ เปน็ จดุ อ่อนทำให้ผู้เรียนไมส่ ามารถคิดเชอ่ื มโยงและคดิ แบบองคร์ วม 2. หลักสูตรแบบสาขาวิชา (Discipline Design) เปน็ การจดั หลกั สตู ร เช่นเดียวกับหลกั สูตรรายวิชา แต่จะนำความรตู้ ามสาขาวิชาเป็นหลกั ในการจัดแบ่งตาม โครงสรา้ งของสาขาวิชา เช่น วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ สังคมศกึ ษา ประวัติศาสตร์ และ ภมู ศิ าสตร์ ภาษาอังกฤษ เปน็ ต้น กระบวนการเรียนรู้ และเป็นการเรียนรู้และเข้าใจ โครงสรา้ ง ผเู้ รียนจะต้องศกึ ษาโครงสรา้ งพื้นฐานของสาขาวิชา ความสมั พันธ์ทีเ่ ชือ่ มโยงกนั และวิธีการศกึ ษาค้นคว้าของสาขาวิชาน้ันๆ จดุ ออ่ นของหลักสูตร สาขาวิชา ผเู้ รียนจะรู้แต่ เฉพาะสาวิชาของตนเอง โดยไม่สนใจทีจ่ ะเช่อื มโยงความรเู้ ข้ากับชีวติ จรงิ และเชือ่ มโยงกับ สาขาวิชาอื่นๆ ผเู้ รียนต้องปรับตัวใหเ้ หมาะสมกบั หลักสูตร แทนทีห่ ลักสตู รจะออกแบบให้ เหมาะสมกับผเู้ รียน 3. หลกั สตู รแบบสัมพนั ธ์วิชา (Correlation Designs) การออกแบบ หลักสตู รนีเ้ พื่อทีจ่ ะลดจุดอ่อนของการแยกเนือ้ หาวิชาออกจากกนั เป็นส่วนๆ โดยไมต่ ้องไป ร้ือระบบการออกแบบหลกั สูตรใหม่ โดยผู้สอนที่อย่ตู า่ งสาขาวิชามารว่ มมอื เพื่อสร้าง หวั ข้อเรอ่ื ง (theme) ในการเรียนรรู้ ว่ มกัน โดยไม่ทำให้เอกลักษณ์ของวิชานั้นสญู เสียไป การจัดหลกั สตู รแบบสมั พันธว์ ิชาจะนำสาระหลกั (main concept) ของรายวิชาในหลกั สตู ร มาจัดให้สัมพันธ์กนั ก็ได้ อาจจะรวมเนือ้ หาที่มคี วามสัมพนั ธก์ ัน การจดั หลกั สตู รแบบ สัมพันธ์วิชานี้ สว่ นมากจะจัดในลักษณะหลักสตู รแกน (core curriculum) โดยจัดเป็นหัวข้อ หรอื หนว่ ย การจดั ตารางสอนจะจัดเปน็ บล็อก เพื่อให้ผสู้ อนต่างสาขา สามารถทำงาน รว่ มกนั และอาจให้ผู้เรยี นศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 4. หลกั สตู รที่เน้นผเู้ รียนเป็นศูนย์กลาง (Learner - Centered Designs) นกั พัฒนาหลักสูตรได้พยายามที่จะสร้างหลักสูตรทีม่ คี ุณค่าตอ่ ผเู้ รียน ไม่มุ่งเน้นรายวิชา เหมอื นหลักสตู รที่เน้นวิชาเปน็ ศนู ยก์ ลาง แต่จะเน้นผเู้ รียนเป็นศนู ย์กลาง การจดั หลักสตู ร และการสอนเพือ่ พฒั นาศกั ยภาพของผเู้ รียนโดยเน้นความเปน็ องค์รวม (holistic) คือ
121 ร่างกาย อารมณ์ ความรสู้ ึก ความคิด และลกั ษณะเฉพาะของบคุ คล ให้เหน็ ความสำคัญ ของคุณค่าแตล่ ะบคุ คล รวมทั้งการพฒั นาตนเองเปน็ มนุษยท์ ีม่ บรู ณ์ (self-actualization) 5. หลกั สตู รที่เปน็ ปญั หาเป็นศูนยก์ ลาง (Problem - Centered Design) เปน็ การออกแบบหลกั สตู รเกีย่ วกับดำรงชีวติ ที่เปน็ ปญั หาส่วนบคุ คล และปัญหาของสงั คม โดยส่วนรวม ลกั ษณะของปญั หาที่จะการนำมาศกึ ษาจะต้องเลือกสมั พันธ์กันกบั ปัญหาของ สังคม เพอ่ื นำไปสกู่ ารสร้างองค์ความรู้ในการดำรงชีวติ เน้ือหาทีเ่ กี่ยวข้องกบั หลาย สาขาวิชา นอกจากนี้ เนือ้ หาควรจะมีพ้ืนฐานความตอ้ งการเร่อื งทีเ่ กี่ยวกบั ความสามารถ ของผู้เรยี น การออกแบบหลักสูตรและการเรียนการสอนโดยเปน็ ปัญหาเป็นศนู ยก์ ลาง จะต้องมองกระบวนการเรียนรทู้ ้ังระบบของหลักสูตร ได้แก่ 1. ความคิดรวบยอดหลกั (main concept) ของสาระวิชาที่ผู้เรยี น จำเป็นต้องรู้ 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนทีจ่ ะเกิดข้ึนกบั ผเู้ รียนในเรื่องใดบ้าง ซึ่งจะ สอดคล้องกับความคิดรวบยอดหลกั 3. การเขียนปัญหาหรอื กรณีศึกษา พรอ้ มทั้งคำถาม (scenario with trigger questions) 4. การตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างความคิดรวบยอดมาก ใน กรณีศึกษากับจุดประสงค์การเรียน (checking leaning concepts) 5. ทรัพยากรเพือ่ การเรียน (leaning resources) หนงั สือ เอกสาร วจิ ัย วสั ดุ สถานที่ แหล่งเรยี นรู้ ตารางเรียน ผสู้ อน (facilitator) วิทยากร (resource persons) 6. การประเมินผลเรียน (student assessment) เครื่องมือการ ประเมินผลต่างๆที่มคี ุณภาพ 6. หลกั สูตรที่เน้นเทคโนโลยีเป็นศูนย์กลาง (Technology Centered Design) ปจั จบุ นั มกี ารเปลีย่ นแปลงค่อนข้างมากและเกิดข้ึนอย่างรวดเรว็ ท้ังด้านความ เจริญทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี เศรษฐกิจ สังคม และการเมอื ง และไมว่ ่ากระแสแห่ง ความเปลีย่ นแปลงจะเกิดข้ึนที่ใดกต็ าม แต่สงั คมโลกในปัจจุบันเปน็ สังคมเปิด จึงมักเกิดผล กระทบท่ัวไปอย่างหลีกเลี่ยงไมไ่ ด้ ยุคของสงั คมขา่ วสารหรอื ยคุ โลกไร้พรหมแดนมีผลทำให้ ประเทศตา่ งๆ หันมาปรับปรุงการศึกษาของตน เพือ่ พัฒนาทรัพยากรมนษุ ยใ์ ห้พร้อมที่จะ รบั มือกบั ความเปลีย่ นแปลงของสงั คม ในอนาคตได้
122 7. หลักสูตรการเรียนรู้ตลอดชวี ิต พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พทุ ธศกั ราช 2542 และทีแ่ ก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3)พุทธศกั ราช 2553 หมวดที่ว่าด้วยระบบ การศกึ ษา มาตรา 19 การจัดการศกึ ษาในระดบั อุดมศกึ ษา ให้จัดในมหาวิทยาลยั สถาบนั วิทยาลยั หรอื หน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอ่ืน ทั้งนีใ้ ห้เปน็ ไปตามกฎหมายเกีย่ วกบั สถานศกึ ษา ระดับอดุ มศกึ ษา กฎหมายว่าด้วยการจดั ต้ังสถาบันศกึ ษาน้ันๆ และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง และปฏิญญาโลกว่าด้วยการอดุ มศกึ ษาสำหรับศตวรรษที่ 21 วิสัยทศั น์และการปฏิบัติ ภารกิจและหนา้ ทีอ่ ดุ มศกึ ษา การให้การศกึ ษา ฝกึ อบรมและการทำวิจยั โดยเน้นการเรยี น การสอนแบบเปิดกว้างเพื่อใหผ้ เู้ รียนสามารถเรียนรไู้ ด้ตลอดชวี ิต เกีย่ วกบั เรือ่ งวิธีการ จดั การเรยี นรู้น้ัน พระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ พุทธศกั ราช 2542 และทีแ่ ก้ไข เพิม่ เติม (ฉบบั ที่ 3) พุทธศกั ราช 2553 ได้กำหนดแนวทางให้สถานศกึ ษาและหนว่ ยงานที่ เกีย่ วข้องดำเนินการโดยเน้นให้ มีการจัดเนือ้ หาสาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความ สนใจ และความถนัดของผเู้ รียน โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ให้ผเู้ รียนได้ฝกึ ทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และประยุกต์ความรมู้ าใช้เพื่อ ป้องกนั ปัญหาและแก้ไขปญั หา 6. รปู แบบการพัฒนาหลักสตู ร นกั วิชาการศกึ ษาหลายคนได้กลา่ วถึงรปู แบบการพัฒนาหลกั สตู ร ไว้ดงั นี้ รปู แบบการพัฒนาหลกั สูตรของ สงดั อุทรานันท์ อุทรานันท์ (2532, หนา้ 38-42) ได้กลา่ วไว้วา่ ประกอบด้วยขั้นตอนทีม่ ี ความต่อเน่อื งกันเปน็ วัฎจกั ร ดังรายละเอียดตอ่ ไปนี้ ข้ันที่ 1 การวิเคราะหข์ อ้ มลู พืน้ ฐานเพือ่ การพัฒนาหลกั สูตรข้อมูลพืน้ ฐาน ของหลกั สตู ร คอื ขอ้ มลู ทางดา้ นประวตั ิและปรัชญาการศกึ ษา ขอ้ มูลเกีย่ วกับผเู้ รียนและ ทฤษฎีการเรียนรู้ ข้อมูลทางสงั คมและวัฒนธรรม และข้อมลู เกีย่ วกับธรรมชาติของ เนือ้ หาวิชา กอ่ นทีจ่ ะมีการร่างหลักสูตรใหม่ขึ้นมา ควรจะทำการศกึ ษาวิเคราะหข์ อ้ มลู ต่าง ๆ ที่เปน็ พืน้ ฐานของหลักสูตรเสียก่อน เพือ่ ใหท้ ราบสภาพปัญหาและความต้องการ ของสังคมและของผู้เรยี น ขั้นที่ 2 การกำหนดความมงุ่ หมายของหลกั สตู ร เพือ่ เป็นการมงุ่ แก้ปญั หา และสนองความตอ้ งการทีไ่ ด้จากการวิเคราะห์ขอ้ มูลดังกล่าวมาแล้ว
123 ข้ันที่ 3 การคดั เลือกและจดั เนือ้ หาสาระและประสบการณก์ ารเรียนรู้ เนือ้ หาสาระและประสบการณ์เปน็ สิ่งทีม่ คี วามสำคญั เป็นอนั มาก เพราะเนือ้ หาสาระที่จะ มาสอนเปน็ เสมือนสื่อกลางที่จะพาผเู้ รียนไปสจู่ ุดมงุ่ หมายที่ได้กำหนดไว้ ข้ันที่ 4 การกำหนดมาตรการวัดและประเมินผล เปน็ การกำหนด มาตรการให้ทราบว่า ควรจะวดั และประเมินะไรบ้างจงึ จะสอดคล้องกับเจตนารมณ์ หรอื ความมงุ่ หมายของหลกั สตู ร ข้ันที่ 5 การนำหลกั สตู รไปใช้ เปน็ การนำหลักสูตรไปสภู่ าคปฏิบัติ หรอื ไปสู่การเรียนการสอนในโรงเรียน การนำหลักสตู รไปใช้อย่างมปี ระสิทธิภาพ จะต้อง อาศยั กิจกรรมและกระบวนการตา่ ง ๆ หลายประเภท เช่น การจัดทำเอกสารและคู่มอื การใชห้ ลกั สตู ร การเตรียมบุคลากร การบริหารและการบริการหลักสตู ร การดำเนินการ สอนตามหลกั สูตร การนเิ ทศและติดตามผลการใชห้ ลักสตู ร เปน็ ต้น ขั้นที่ 6 การประเมินผลการใช้หลักสตู ร มีความมงุ่ หมาย ที่จะประเมินสมั ฤทธิผลของหลกั สตู รเพือ่ ใหท้ ราบว่าผลผลติ ทีไ่ ด้จากหลกั สูตรนน้ั เป็นไป ตามเจตนารมณห์ รือจดุ มุ่งหวงั ของสังคม และผเู้ รียนเพียงใด ข้ันที่ 7 การปรบั ปรงุ แก้ไขหลักสตู ร เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลง หลกั สูตรที่ใชอ้ ยใู่ หม้ ีความเหมาะสม หรอื ให้สอดคล้องกบั สภาพของสังคมมากขึ้น กระบวนการในการแก้ไขปรับปรงุ หลกั สตู รเป็นสว่ นหน่ึงของการพฒั นาหลักสูตร ซึ่งจะเริม่ ปรับปรงุ แก้ไขในข้ันตอนใดของกระบวนการพัฒนาหลกั สตู รก็ได้ แตเ่ ม่อื เริ่มตรงข้ันตอนไหน ก็จะตอ้ งดำเนินการในขั้นตอนตอ่ ไปจนครบทุกกระบวนการ ในวฏั จักรของกระบวนการ พัฒนาหลักสตู ร รูปแบบการพฒั นาหลกั สตู รของ สงัด อุทรานนั ท์ (2532, หนา้ 39) แสดงดัง ภาพประกอบ 4
124 ภาพประกอบ 4 วัฎจกั รพฒั นาหลกั สตู รของ สงัด อุทรานันท์ ที่มา: สงัด อทุ รานันท์ (2532, หนา้ 39) รูปแบบการพัฒนาหลกั สูตรของวิชยั วงษใ์ หญ่ วิชัย วงษ์ใหญ่ (2535, อ้างถึงใน ชัยวฒั น์ สทุ ธิรตั น์, 2556, หนา้ 89-92) ได้เสนอรูปแบบการพัฒนาหลักสตู รแบบครบวงจร (Integrated Curriculum Development Model) ซึ่งเปน็ รปู แบบทีป่ ระกอบด้วยระบบใหญ่ๆ 3 ระบบ คอื ระบบร่างหลักสูตร ระบบ การนำหลกั สตู รไปใช้ และระบบการประเมนิ หลกั สูตร ระบบทั้ง 3 จะสมั พนั ธ์ต่อเนื่องกนั เพือ่ ให้เกิดภาพรวมที่เปน็ เอกภาพของกระบวนการพัฒนาหลกั สตู ร ดงั ภาพตอ่ ไปนี้ ภาพประกอบ 5 รูปแบบการพฒั นาหลักสตู รของ วิชยั วงษใ์ หญ่ ที่มา : วิชัย วงษใ์ หญ่ (2535, อ้างถึงใน ชยั วัฒน์ สทุ ธิรตั น์, 2556, หน้า 89)
125 จากรูปแบบการพฒั นาหลักสูตรของ วิชยั วงษใ์ หญ่ ท้ัง 3 ระบบ มีรายละเอียด ดังนี้ 1. ระบบการร่างหลักสูตร ประกอบด้วย 4 ข้ันตอนยอ่ ยๆ คือ 1.1 สิง่ กำหนดหลกั สูตร คอื ข้ันตอนการเตรียมศกึ ษาข้อมูลพืน้ ฐาน ด้านต่างๆ ทีจ่ ะนำมาใช้สำหรบั การพฒั นาหลกั สตู ร อันได้แก่ 1.1.1 สิง่ กำหนดทางวิชาการ เปน็ สิง่ สำคญั ยิง่ นกั พฒั นา หลักสูตรพยายามหารยทุ ธวิธีปรับความหลากหลายทางความคิดของผู้เชีย่ วชาญสาขา ต่างๆ และความสำคัญของสาขาวิชาตา่ งๆ ให้มีเอกภาพ เปน็ ไปตามหลกั การและโครงสรา้ ง ของหลกั สูตรที่กำหนดไว้ 1.1.2 สิ่งกำหนดทางสังคม วัฒนธรรมและเศรษฐกิจ เป็นสิง่ ที่ นักพัฒนาหลกั สูตรควรต้องศกึ ษาข้อมูลพ้ืนฐานด้านๆ ของส่งิ กำหนดเหล่านีอ้ ย่างชัดเจน และถูกต้องตามหลกั การ จะชว่ ยให้การกำหนดรูปแบบ โครงสร้างและมาตรฐานการศึกษา ได้เหมาะสมกบั กลมุ่ เป้าหมาย ข้อมลู ในด้านนี้ ได้แก่ ความเชอ่ื ค่านิยม ความคาดหวงั ของสังคม ความต้องการด้านการจัดการศกึ ษา หลกั สูตรที่จะพัฒนา ในอนาคต ผสู้ ำเรจ็ การศกึ ษาตามหลกั สูตร ควรมีบทบาทอย่างไรในสังคม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจ 1.1.3 สิ่งกำหนดทางการเมือง จะบง่ ชีถ้ ึงงบประมาณ ระยะเวลา และคุณภาพของการจัดการศกึ ษา เพื่อให้สอดคล้องกบั ความจำเป็นตามสภาพ การเมอื ง 1.2 รูปแบบหลกั สูตร เป็นข้ันของการนำข้อมลู พืน้ ฐาน จากสิง่ กำหนดหลักสูตรต่างๆ มาใช้เพือ่ กำหนดรูปแบบหลกั สูตรว่าควรมีลกั ษณะใด ควรมีโครงสร้าง และองคป์ ระกอบหลักสตู รอย่างไร ซึ่งจะสะท้อนให้เห็นภาพรวมและ มาตรฐานการศกึ ษาของแต่ละหลกั สูตร 1.3 การตรวจสอบหลกั สูตร เปน็ ข้ันของการตรวจสอบคุณภาพ และศกึ ษาความเปน็ ไปได้ของหลักสูตรที่รา่ งข้ึน เพือ่ ปรับปรุงแก้ไขก่อนนำไปใช้จริง วธิ ีการ ตรวจสอบมีหลายวิธี เชน่ จัดประชุมสัมมนาผเู้ ชีย่ วชาญและผู้มีประสบการณ์ตรงในเรื่อง น้ัน วิจัยเอกสารหลกั สูตร การใช้เทคนิคเดลฟาย (Delphi Technique) การทดลองใช้หลกั สตู รเพื่อให้ได้ข้อมูล เพือ่ ให้ได้ข้อมลู ทีน่ ำไปสกู่ ารปรบั แก้กอ่ นนำไปใช้ ตอ่ ไป
126 1.4 การปรับแก้หลักสูตรกอ่ นนำไปใช้ เปน็ การนำข้อมลู จากข้อ 1.3 ทีไ่ ด้จากการจัดหรอื สงั เคราะหเ์ ป็นหมวดหมู่ชัดเจน มาปรบั แก้ไขหลักสตู รอยา่ งเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ ทั้งน้คี วรทบทวนใหร้ อบคอบว่าขอ้ มูลสว่ นใดที่จะใช้เพือ่ ปรับแก้ หลกั สูตรส่วนใด และถ้าปรับแก้แลว้ จะไปกระทบหลักการและโครงสร้างของหลกั สูตร มากน้อยเพียงใด รวมท้ังชีแ้ นวทางปฏิบัติชัดเจนข้นึ หรอื ไม่ 2. ระบบการใช้หลักสตู ร ประกอบด้วย 3 ข้ันตอนย่อย คือ 2.1 การอนุมัติหลักสูตร เม่ือได้ตรวจสอบคณุ ภาพและปรบั แก้ไข หลักสตู รเรียบร้อยแลว้ ข้ันตอนตอ่ ไปก่อนจะนำหลักสตู รไปใช้ กค็ ือต้องนำหลกั สูตรไป เสนอหนว่ ยงานระดบั สูงเพื่อขอความเหน็ ชอบให้นำไปใช้ได้ เช่น ขออนมุ ตั ิผบู้ ริหาร สถานศกึ ษา หรอื ผอู้ ำนวยการเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา หรอื กระทรวงศึกษาธิการหรอื หน่วยงาน ทีม่ อี ำนาจในการอนุมตั ใิ ช้หลกั สูตร 2.2 การวางแผนการใชห้ ลกั สูตร เป็นข้ันตอนที่ดำเนินการควบคู่ กบั ขั้น 2.1 เพราะต้องรออนุมัตหิ ลกั สูตร ข้ันน้เี ปน็ การวางแผนการใช้หลักสูตรประกอบด้วย 2.2.1 การประชาสัมพันธ์หลักสูตร 2.2.2 การเตรียมงบประมาณ 2.2.3 การเตรียมความพร้อมของบุคลากรที่เกีย่ วข้อง 2.2.4 การเตรียมวสั ดหุ ลกั สูตร 2.2.5 การเตรียมงานสนับสนนุ อาคารสถานที่ 2.2.6 การเตรียมระบบบริหารหลกั สูตรของสถานศกึ ษา 2.2.7 การฝึกอบรมเชงิ ปฏิบัติการให้กบั ผสู้ อน 2.2.8 การประเมนิ ผลและติดตามการใชห้ ลักสตู ร 2.3 ขั้นดำเนินการใช้หลกั สูตรและบริหารหลักสูตร ถือเปน็ ข้ันตอน ที่สำคัญ คือ การวางแผนการใชอ้ ย่างเปน็ ระบบและใช้เทคโนโลยีการศกึ ษามาเสริมแล้วยงั จะต้องใชศ้ ลิ ป์ คอื ตอ้ งสร้างความเข้าใจกบั ผใู้ ช้หลักสตู รให้ชัดเจน ซึ่งได้แก่ ผู้บริหาร สถานศกึ ษา ครูผู้สอน และผเู้ กี่ยวข้อง ซึ่งเป็นบคุ คลที่มีบทบาทสำคญั มากในการทำให้การ ใช้หลกั สตู รประสบความสำเร็จ 3. ระบบการประเมินหลกั สูตร คอื ขั้นตอนสดุ ท้ายของ การพฒั นาหลกั สตู รเปน็ กระบวนการเปรียบเทียบระหว่างผลการใช้หลกั สตู รที่วดั ได้กบั วตั ถุประสงคข์ องหลกั สูตรว่า การปฏิบตั ินั้นได้ผลใกล้เคียงกบั วตั ถปุ ระสงคท์ ี่กำหนดไว้
127 หรอื ไม่ วัตถุประสงคข์ องการประเมินหลักสูตร คือ 3.1 เพือ่ ศกึ ษาว่า เมอ่ื นำหลักสูตรไปปฏิบตั ิจริงได้ผลเพียงใด บรรลุวัตถุประสงคห์ รอื ไม่ 3.2 เพื่อค้นหาแนวทางปรบั ปรุงหลกั สตู ร หากพบสิ่งบกพรอ่ ง 3.3 เพื่อวิเคราะห์ขอ้ ดีและข้อเสียของวิธีการจดั ประสบการณก์ าร เรียนรู้ 3.4 เพือ่ ชว่ ยการตัดสินใจของฝ่ายบริหารว่า ควรจะใช้หลกั สตู รนี้ ตอ่ ไปอีกหรอื ไม่ โดยมีระบบการประเมนิ ดังต่อไปนี้ 3.4.1 การวางแผนประเมินหลักสูตร ว่าประเมินหลักสูตรใน ส่วนใดบ้าง เช่น ประเมินเอกสารหลักสตู ร ประเมนิ ระบบย่อย ๆ ของระบบหลักสตู ร หรอื ประเมินท้ังระบบ พรอ้ มท้ังวางแผนการเก็บรวบรวมข้อมูล 3.4.2 การเกบ็ ข้อมลู คอื การรวมรวบข้อมลู ให้เปน็ หมวดหมู่ ตามที่วางแผน 3.4.3 การวิเคราะห์ขอ้ มูล คือ การนำข้อมลู ทีเ่ ก็บรวบรวมจาก ข้อ 3.4.2 มาวิเคราะหต์ ามแผนที่กำหนด 3.4.4 การรายงานข้อมลู คือ การจัดทำรายงาน เพือ่ ประกอบ การตัดสินใจของผู้บริหาร และเพื่อการตดั สินคุณคา่ ของหลกั สตู รว่าเป็นไปตามวัตถุ ประสงคห์ รือไม่ตอ้ งปรบั ปรุงแก้ไขสว่ นใด พระปลัดภมู พิ ัฒเน์ พิมอกั ษร (2564, หน้า 18) ได้สรปุ รูปแบบของการ พัฒนาหลักสตู รเปน็ ข้ันตอนในการจดั ทำหลักสูตรเริ่มจากการศกึ ษาหลกั สูตรและวิเคราะห์ ความตอ้ งการจำเป็นเพือ่ นำมากำหนดจุดมุ่งหมายการคัดเลือกเน้ือหา จัดเนือ้ หา การเลือก ประสบการณ์ การจดั ประสบการณั การประเมินหลกั สูตร การแก้ไขหลกั สูตรก่อนนำไปใช้ และการประเมินหลักสตู ร รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรตามแนวคดิ ของ Tyler Ralph W. Tyler (1949 p. 3) ได้นำเสนอแนวคิดพืน้ ฐานเกี่ยวกับการ พฒั นาหลกั สูตรและการสอนซึ่งกค็ ือหลักการและเหตุผลในการพัฒนาหลักสูตร (Tyler Rationale) ว่าในการพัฒนาหลักสูตรและการสอน ตอ้ งตอบคำถามพื้นฐานทีส่ ำคัญ 4 ประการ คือ
128 1. จุดมงุ่ หมายทางการศกึ ษา (Educational Purposes) อะไรบ้างที่ โรงเรียนต้องการให้ผู้เรยี นได้เรียนรู้ 2. ประสบการณ์ทางการศกึ ษา (Educational Experiences) อะไรบ้าง ที่โรงเรียนจะต้องจัดให้ เพื่อชว่ ยใหบ้ รรลุจดุ มุ่งหมาย 3. จะจัดประสบการณท์ างการศกึ ษาอย่างไรจงึ จะทำให้สอนมี ประสิทธิภาพ 4. ประเมินประสิทธิภาพของการจดั ประสบการณ์การเรียนอย่างไรจึง จะทราบได้ว่าผเู้ รียนได้บรรลุเป้าหมายทางการศกึ ษา ไทเลอรไ์ ด้วางรปู แบบโครงสร้างของหลักสตู รโดยใช้วธิ ีการและเป้าหมาย ปลายทาง (Means and ends approach) ดังน้ี (วิชยั วงษใ์ หญ่, 2537, หน้า 10-11) ในการกำหนดจุดมงุ่ หมายน้ัน ในขั้นแรกต้องกำหนดเปน็ จุดมงุ่ หมายช่ัวคราว ก่อน โดยต้องนำบริบทที่เกยี่ วข้อง เช่น บริบททางดา้ นสงั คมด้วยการนำสิง่ ทีส่ งั คมคาดหวงั ว่าตอ้ งการให้ผู้เรยี นมคี ณุ ลักษณะอย่างไร และมีการศึกษาตวั ผเู้ รียน เช่น ความต้องการ ความสนใจ ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครวั เป็นต้น นอกจากน้ันยงั ต้องศกึ ษาแนวคิด ของนกั วิชาการ (วิชยั วงษ์ใหญ่, 2537, หน้า 12) ความเช่อื ค่านยิ มของสงั คมเปน็ สิ่งจำเป็น ที่ตอ้ งวิเคราะห์ให้ชัดเจน เพราะการศกึ ษาสังคมค่านิยมขนบประเพณี วฒั นธรรมจะให้ คำตอบว่าสังคมตอ้ งการจัดการศกึ ษาเพือ่ อะไร และจะจัดการศึกษาสำหรบั ใคร สิง่ เหล่านี้ ช่วยใหแ้ สวงหาคำตอบทีช่ ัดเจนในการกำหนดเป้าหมายหรอื ทิศทางของการศกึ ษา การพฒั นาหลักสตู รและการเสนอของไทเลอร์ มลี กั ษณะสำคญั คือ (วิชยั วงษ์ใหญ,่ 2537, หน้า 12-14) 1. จุดมุ่งหมายเป็นตวั กำหนดควบคมุ การเลือกและจดั ประสบการณ์การ เรียนดังนนั้ การกำหนดจุดมุ่งหมายจึงมี 2ข้ันตอน คอื ตอนแรกเปน็ การกำหนดจุดมุง่ หมาย ชั่วคราวแล้วจึงหาวิธีการและเกณฑ์จากทฤษฎีการเรียนรู้ปรชั ญาการศกึ ษาและปรัชญา สงั คมมากล่ันกรองจดุ มุง่ หมายชั่วคราว เพือ่ ให้ได้มาเป็นจดุ มุ่งหมายทีแ่ ท้จริงของหลักสูตร พืน้ ฐานทางจติ วิทยาและปรัชญาในการพฒั นาหลักสตู รจะเข้ามามีบทบาทและช่วยในการ ตรวจสอบเพื่อหาความชัดเจนของการกำหนดจุดมุ่งหมายขั้นนเี้ พือ่ ตอบคำถามและหา ความชดั เจนวา่ การจดั หลกั สตู รเพือ่ ตอบสนองใคร ตอบสนองผู้เรยี นหรอื สังคม 2. การเลือกและจดั ประสบการณ์การเรยี นทีค่ าดหวังว่าจะให้ผเู้ รียนมี ประสบการณก์ ารจดั กิจกรรมในการเรียนการสอนและสว่ นเสริมหลักสตู รน้ันมีอะไร ทั้งนี้
129 เพื่อให้กระบวนการเรียนการสอนดำเนนิ ไปเพือ่ ตอบสนองจดุ มุ่งหมายทีก่ ำหนดไว้ ไทเลอร์ ได้เสนอเกณฑ์ในการพิจารณาเลือกประสบการณ์การเรียนรไู้ ว้ดงั นี้ 2.1 ผู้เรยี นควรมโี อกาสฝกึ พฤติกรรมและการเรียนรู้เน้ือหาตามที่ระบุ ไว้ในจุดมุ่งหมาย 2.2 กิจกรรมและประสบการณน์ ั้นทำให้ผเู้ รียนพอใจปฏิบัติการเรียนรู้ อาจนำไปสจู่ ดุ มุง่ หมายทีก่ ำหนดไว้เพียงขอ้ เดียวกไ็ ด้ 2.3 กิจกรรมและประสบการณน์ ั้นอยู่ในข่ายความพอใจทีพ่ ึงปฏิบตั ิได้ 2.4 กิจกรรมและประสบการณ์หลายๆ ด้านของการเรยี นรอู้ าจ นำไปส่จู ดุ มุ่งหมายทีก่ ำหนดไว้เพียงขอ้ เดียวกไ็ ด้ 2.5 กิจกรรมและประสบการณ์เรียนรเู้ พียงหนง่ึ อย่างอาจตรวจสอบ จดุ มงุ่ หมายหลายๆ ขอ้ ได้ 3. การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้วา่ ต้องคำนึงถึงความสมั พันธใ์ นด้าน เวลาต่อเวลา และเนือ้ หาต่อเนือ้ หา เรียกว่าความสมั พนั ธแ์ บบแนวตง้ั (Vertical) กบั แนวนอน (Horizontal) ซึ่งมีเกณฑ์ในการจัดดังน้ี 3.1 ความตอ่ เนือ่ ง (Continuity) หมายถึงความสมั พันธใ์ นแนวตงั้ ของ ส่วนองคป์ ระกอบหลกั ของตัวหลกั สูตรจากระดบั หนึง่ ไปยงั อีกระดับหนึง่ ที่สูงขึน้ ไป เช่น ใน วิชาทักษะ ต้องเปิดโอกาสใหม้ ีการฝกึ ทกั ษะในกิจกรรมและประสบการณบ์ อ่ ยๆ และ ต่อเนือ่ งกนั 3.2 การจัดชว่ งลำดบั (Sequence) หมายถึงความสัมพนั ธแ์ นวต้ังของ สว่ นองค์ประกอบหลกั ของตัวหลกั สูตรจากสิง่ ที่เกิดขึน้ กอ่ นไปสสู่ ิง่ ที่เกิดขึ้นภายหลัง หรอื จากสิง่ ที่มคี วามง่ายไปสู่ที่มคี วามยาก ดงั นั้น การจัดกิจกรรมและประสบการณใ์ ห้มีการ เรียงลำดับกอ่ นหลังเพือ่ ให้ได้เรียนเนือ้ หาที่ลกึ ซึง้ ยิ่งขนึ้ 3.3 บรู ณาการ (Integration) หมายถึง ความสัมพันธก์ ันในแนวนอน ขององค์ประกอบหลักของตัวหลกั สตู ร จากหวั ข้อเนื้อหาหนง่ึ ไปยังอีกหวั ข้อหนึ่งของ รายวิชา หรอื จากรายวิชาหนึ่งไปยังรายวิชาอื่นๆ ทีม่ คี วามเกี่ยวข้องกัน การจัด ประสบการณจ์ ึงควรเป็นในลักษณะทีช่ ว่ ยให้ผู้เรยี นได้เพิ่มพนู ความคดิ เหน็ และได้แสดง พฤติกรรมที่สอดคล้องกัน เน้ือหาที่เรยี นเป็นการเพิ่มความสามารถท้ังหมดของผู้เรียนทีไ่ ด้ ประสบการณ์ในสถานการณต์ ่างๆ กนั ประสบการณก์ ารเรียนรู้จึงเปน็ แบบแผนของ ปฏิสมั พันธ์ (Interaction) ระหว่างผเู้ รียนกบั สถานการณ์สิ่งแวดล้อม
130 4. การประเมินผลเพือ่ ตรวจสอบดวู า่ การจัดการเรียนการสอนได้บรรลุ ตามจุดมุง่ หมายตามที่กำหนดไว้หรอื ไม่ สมควรมีการปรับแก้ในส่วนใดบ้าง พิจารณาจาก สิ่งต่อไปนี้ 4.1 กำหนดจุดมุ่งหมายทีจ่ ะวดั และพฤติกรรมที่คาดหวัง 4.2 วดั และวเิ คราะหส์ ถานการณ์ที่ทำให้เกิดพฤติกรรมเหล่านั้น 4.3 ศกึ ษาสำรวจข้อมลู เพื่อสร้างเครื่องมอื วัดพฤติกรรมเหล่าน้ันได้ อยา่ งเหมาะสม 4.4 ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมอื โดยใช้เกณฑใ์ นการพิจารณา ดงั น้ี 1. ความเปน็ ปรนัย (Objectivity) 2. ความเช่อื ม่นั ได้ (Reliability) 3. ความเทีย่ งตรง (Validity) 4. ความถูกต้อง (Accuracy) 4.5 การพิจารณาผลประเมินให้เป็นประโยชน์เพือ่ อธิบายผลการ เรียนรู้เปน็ รายบุคคลหรือเป็นกล่มุ การอธิบายถึงสว่ นดีของหลกั สูตรหรอื สิ่งที่ต้องปรับแก้ เพือ่ เปน็ แนวทางในการปรับปรงุ หลักสูตรให้มคี ุณภาพยิ่งข้ึน รปู แบบการพัฒนาหลกั สูตรตามแนวความคดิ ของ Taba Taba (1962 pp. 456-459) เแนวคิดของทาบาในการพฒั นาหลกั สตู รใช้ วีแบบรากหญ้า (Grass-roots approach) มีความเช่ือว่าหลกั สูตรควรได้รับการออกแบบโดย ครูผสู้ อนมากกว่าพฒั นาจากองค์กรทีอ่ ยู่ในระดับสงู ข้ึน ประกอบด้วยขั้นตอนตา่ งๆ ดังน้ี 1. วิเคราะหค์ วามตอ้ งการ (Diagnosis of needs) ใช้วธิ ีสำรวจสภาพ ปัญหา ความตอ้ งการ และความจำเป็นของผเู้ รียนและของสังคม 2. กำหนดจุดมงุ่ หมาย (Formulation of objectives) ด้วยข้อมลู ที่ได้จา การวิเคราะห์ความตอ้ งการ 3. คัดเลือกเน้ือหาสาระ (Selection of content) เมื่อกำหนด จดุ มุ่งหมายแล้วกต็ ้องเลือกเนือ้ หาสาระ ซึง่ สอดคล้องกบั จดุ มุ่งหมาย และตอ้ งคำนึงถึง พัฒนาการของผเู้ รียนด้วย
131 4. การจัดรวบรวมเนื้อหาสาระ (Organization of content) เนื้อหา สาระทีร่ วบรวมตอ้ งคำนึงถึงความยากง่ายและความต่อเนื่อง รวมท้ังจัดใหเ้ หมาะสมกบั พัฒนาการและความสนใจของผู้เรยี น 5. คัดเลือกประสบการณ์การเรียนรู้ (Selection of learning experiences) การคัดเลือกประสบการณเ์ รียนรใู้ ห้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายและเน้ือหาวิชา 6. การจัดรวบรวมประสบการณก์ ารเรียนรู้ (Organization of leaning experiences) การจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้ควรคำนึงถึงความต่อเนือ่ งของเน้ือหาสาระ 7. กำหนดวิธีวดั และประเมินผล (Determination of what to evaluate and the ways and means of doing it) มีการประเมินเพื่อตรวจสอบว่า ประสบการณก์ ารเรียนที่จัดให้บรรลุจุดมุ่งหมายที่กำหนดไว้หรือไม่ และกำหนดวิธีการ ประเมินรวมท้ังเครื่องมอื ที่ใช้ในการประเมินด้วย รปู แบบการพฒั นาหลกั สูตรของ Taba แสดงในภาพประกอบ 6 ดงั น้ี (Taba, 1962. p. 456) ภาพประกอบ 6 รูปแบบการพฒั นาหลักสตู รของ Taba ที่มา : Taba (1962, p. 456)
132 จากการพัฒนาหลักสูตรแนวคิดของทาบาจะเริม่ ที่จดุ ใดจดุ หนึ่งกอ่ นก็ได้ แตเ่ มอ่ื เริ่มที่ จุดใดแล้วจะต้องทำการศกึ ษาให้ครบกระบวนการท้ัง 7 ขน้ั ตอน จุดเดน่ ใน แนวคิดของทาบาคือเร่อื งยุทธวิธีการสอน (Teaching Strategies) และประสบการณ์การ เรียนรู้เป็นกระบวนการที่ต้องคำนึงถึง มีอยู่ 2 ประการ คือ (วิชยั วงษใ์ หญ่, 2537, หนา้ 15-16) 1. ยุทธวิธีการสอนและประสบการณ์เรียนรู้ เป็นเครื่องกำหนด สถานการณ์เง่อื นไขการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแต่ละคร้ังมีวัตถุประสงค์ เกี่ยวกับการเรียนรทู้ ีเ่ กิดขึน้ เปน็ ผลผลติ ดงั น้ัน การจดั รูปแบบของการเรยี นการสอนต้อง แสดงลำดับข้ันตอนของการเรียนรู้ดว้ ย 2. ยทุ ธวิธีการสอนเป็นสิ่งที่หลอมรวมหลายสิ่งหลายอยา่ งเขา้ มาไว้ ดว้ ยกันการพิจารณาตัดสินใจเกี่ยวกบั ยทุ ธวิธีการสอนควรคำนงึ ถึงส่ิงตอ่ ไปนี้ คอื 2.1 การจดั เนือ้ หา ตอ้ งกำหนดให้ชดั เจนว่ารายวิชาน้ันๆ ม่งุ ให้ ผเู้ รียนเรียนรู้แบบใด กว้างหรอื ลึกมากน้อยเพียงใด และได้เรยี งลำดบั เนื้อหาวิชาไว้อย่างไร การกำหนดโครงสร้างได้กระทำชัดเจนสอดคล้องกบั โครงการในระดบั ใด เพราะแต่ละระดับ มีจดุ ประสงคเ์ นือ้ หาสาระที่มีความเกี่ยวข้องสัมพนั ธ์กนั 2.2 หน่วยการเรียน สอดคล้องกับวัตถปุ ระสงคท์ ีบ่ ่งชีถ้ ึงการวัด และประเมินได้ชดั เจน มีรายละเอียดและมีความยืดหยุ่นเพื่อเปิดโอกาสใหค้ รูและนักเรียนมี ส่วนรว่ มในการวางแผนการเรียนและทำกิจกรรมตามความต้องการและความสนใจ การตรวจสอบความรพู้ ืน้ ฐานของผู้เรยี นจะช่วยใหผ้ เู้ รียนได้เรียนรู้ในการพฒั นา กระบวนการเรียนได้เป็นลำดบั ขั้นตอนเพื่อนำไปสขู่ ้อค้นพบ ขอ้ สรุปทีเ่ ป็นหลักการที่มงุ่ เนน้ ความคาดหวังเกีย่ วกับการเรียนรทู้ ีจ่ ะเกิดข้ึนกบั ผเู้ รียน และการกระตุ้นใหผ้ เู้ รียนเกิดการ เรียนรู้ดว้ ยตนเอง รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรตามแนวคดิ ของ J. Galen Saylor, William M.Alexander and Arthur J. Lewis แนวคิดของเซยเ์ ลอร์ อเล็กซานเดอร์ และเลวิส ประกอบด้วยกระบวน การ พฒั นาหลกั สูตรทีส่ ำคัญ 4 ขั้นตอน คอื (Saylor and Alexander,1974 p. 265; Saylor, Alexander and Lewis, 1981 p. 181) 1. เป้าหมาย วัตถุประสงค์ และความครอบคลุม (Goals, Objective and domains) หลกั สูตรต้องประกอบด้วย เป้าหมาย วัตถุประสงค์ และในแตล่ ะเป้าหมายควร
133 บง่ บอกถึงความครอบคลมุ ของหลกั สูตร (Curriculum Domain) วตั ถปุ ระสงค์ พัฒนาการ ส่วนบุคคล มนุษยสัมพันธ์ ทกั ษะการเรียนรทู้ ีต่ ่อเนอ่ื ง และความชำนาญเฉพาะด้าน ซึ่ง กำหนดจากความเปน็ โลกาภวิ ตั น์ ความตอ้ งการของสังคมทีอ่ ยู่อาศยั กฎหมาย ข้อบังคบั เปน็ ต้น 2. การออกแบหลกั สูตร (Curriculum Design) คือการวางแผนเพื่อ ตดั สินใจเกีย่ วกับการเลือกและจัดเนื้อหาสาระและจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ที่สอดคล้อง กบั เป้าหมาย วตั ถปุ ระสงค์ โดยคำนึงถึงปรชั ญา ความต้องการของสงั คมและผู้เรยี นมา พิจารณาด้วย 3. การนำหลักสตู รไปใช้ (Curriculum implementation) ครูต้องเปน็ ผู้ วางแผนและวางแผนการจัดการเรียนการสอนในรปู แบบตา่ งๆ (Instructional Plans) รวมท้ัง การจดั ทำส่อื การเรียนการสอน เชน่ ตำรา แบบเรียน วสั ดุอุปกรณต์ า่ งๆ เพื่อช่วยให้ผู้เรยี น ได้เรยี นรู้ในสิ่งที่ครูตั้งเป้าหมายไว้ 4. การประเมินผลหลกั สตู ร (Curriculum Evaluation) ครูและผทู้ ี่มีส่วน เกี่ยวข้องรว่ มกนั ตัดสินใจเพื่อเลือกวิธีการประเมินผลทีส่ ามารถประเมินได้ว่า หลกั สูตรที่ พัฒนาข้นึ ได้ผลตามความมุ่งหมายการประเมินหลักสตู รจะเปน็ ข้อมลู สำคญั ที่บอกผทู้ ีม่ ี สว่ นเกี่ยวข้องได้ว่าควรจะปรบั ปรงุ หลกั สูตรในจุดใด เพื่อประกอบการตัดสินใจในการวาง แผนการใชห้ ลกั สูตรในอนาคต รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรตามแนวคดิ ของ Oliva Oliva (1982 p. 172) ได้นำเสนอรปู แบบการพฒั นาหลักสูตรทีม่ งุ่ เน้น ความสมั พันธ์ระหว่างหลกั สูตรและการเรียนการสอนอย่างเป็นข้ันตอน 12 ตอน ดงั นี้ 1. จุดมุ่งหมายของการศกึ ษา (Aims of Education) และหลักการปรัชญา และจติ วิทยาจากการวิเคราะห์ความตอ้ งการจำเป็นของสงั คมและผู้เรียน 2. วเิ คราะหค์ วามตอ้ งการจำเปน็ ของชุมชนทีส่ ถานศกึ ษานั้นๆ ตง้ั อยู่ ความตอ้ งการจำเป็นของผเู้ รียนในชุมชน และเนือ้ หาวิชาทีจ่ ำเปน็ เพื่อใชใ้ นการจดั การเรียน การสอน 3. เป้าหมายของหลกั สูตร (Curriculum Goals) โดยอาศัยข้อมูลจากข้ัน 1 และ 2
134 4. จดุ ประสงคข์ องหลกั สูตร (Curriculum Objectives) โดยอาศยั ข้อมูล จากขั้นที่ 1, 2 และ 3 แตกต่างจากขั้นที่ 3คือมีลกั ษณะเฉพาะเจาะจงเพื่อนำไปสูก่ าร ประยกุ ต์ใช้หลักสตู ร และการกำหนดโครงสร้างหลกั สูตร 5. รวบรวมและนำไปใช้ (Organization and Implementation of the Curriculum) เป็นข้ันของการกำหนดโครงสร้างหลักสูตร 6. กำหนดเป้าหมายของการสอน (Instructional Goals) ของแตล่ ะระดับ 7. กำหนดจดุ ประสงค์ของการจดั การเรียนการสอน (Instructional Objective) ในแต่ละวิชา 8. เลอื กยทุ ธวิธีในการสอน (Selection of Strategies) เป็นขั้นทีผ่ ู้เรยี น เลือกยทุ ธวิธีทีเ่ หมาะสมกับผเู้ รียน 9. เลือกเทคนิควิธีการประเมนิ ผลก่อนที่นำไปสอนจรงิ คือ 9A (Preliminary selective of evaluation techniques) และกำหนดวิธีประเมินผลหลงั จาก กิจกรรมการเรียนการสอนสิน้ สุดคือ 9B (Find selection of evaluation techniques) 10. นำยุทธวิธีไปใช้ปฏิบตั ิจริง(Implementation of Strategies) เปน็ ขั้น ของการใช้วธิ ีการทีก่ ำหนดในขั้นที่ 8 11. ประเมินผลจากการเรียนการสอน (Evaluation of Instruction) เปน็ ข้ัน ที่เมอ่ื การดำเนินการจดั การเรียนการสอนเสร็จสนิ้ กม็ ีการประเมินผลตามที่ได้เลือกหรอื กำหนดวิธีการประเมินขน้ั ที่ 9 12. ประเมินหลกั สตู ร (Evaluation of curriculum) เป็นข้ันตอนสุดท้ายที่ ทำให้วงจรครบถ้วน การประเมินผลทีม่ ใิ ช่ประเมินผู้เรยี นและผู้สอน แตเ่ ปน็ การประเมิน หลักสตู รทีจ่ ดั ทำขึน้ การพัฒนาหลักสตู รของโอลิวาเป็นความสัมพนั ธ์อย่างละเอียดระหว่าง องค์ประกอบทีเ่ ป็นสาระสำคญั ครอบคลุมกระบวนการพฒั นาหลักสตู รตง้ั แตต่ น้ จนจบ นกั พัฒนาหลักสูตรตอ้ งทำความเข้าใจแตล่ ะขั้นโดยตลอด จากข้อมลู พืน้ ฐานการพัฒนา หลกั สตู รด้านปรัชญาถึงการประเมินหลกั สูตร ดงั ภาพประกอบ จากแนวคิดเกีย่ วกับรูปแบบการพัฒนาหลักสตู รดังกลา่ วขา้ งตน้ นกั การศกึ ษาส่วนใหญ่มากว่ารอ้ ยละ 70 มีความคิดเห็นเหมอื นกนั ว่า รูปแบบการพฒั นา หลกั สูตร ประกอบด้วย 1) การวิเคราะหค์ วามตอ้ งการพัฒนาหลักสตู ร 2) การกำหนด โครงสรา้ งและองคป์ ระกอบของหลกั สตู ร 3) การนำหลักสตู รไปใช้ โดยดำเนินการตามแผน
135 กิจกรรมการเรียนการสอน 4) การประเมินผลหลังการใชห้ ลกั สูตร 5) การปรบั ปรงุ แก้ไข หลักสูตร จากผลสรปุ ดงั กล่าว ผู้วิจัยจึงได้นำข้อสรปุ จากนกั การศกึ ษามากำหนดรูปแบบ การพัฒนาหลักสตู รใหส้ อดคล้องกบั งานวิจัยทีเ่ ปน็ การศกึ ษาการพฒั นาหลกั สูตร โดยมี รูปแบบการพฒั นาหลกั สตู รฝกึ อบรมเสริมสร้างสมรรถนะในการจดั การเรยี นรู้เชิงรุกของ ครผู สู้ อนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา (วิชยั วงษ์ใหญ่, 2535. หน้า 16-17; Taba, 1962, pp. 456-459) ดังน้ี 1) การวิเคราะหค์ วามตอ้ งการพัฒนาหลกั สูตร 2) กำหนด โครงสรา้ งและองค์ประกอบของหลักสูตร ประกอบด้วย 2.1) จุดหมายของหลกั สตู ร 2.2) เนือ้ หาและประสบการณ์การเรียนรู้ 2.3) กิจกรรมการเรียนการสอน2.4) สือ่ วสั ดุ อุปกรณ์ และแหลง่ เรียนรู้ 2.5 การวัดผลประเมินผล 3) การตรวจสอบคุณภาพหลักสูตร ก่อนนำไปใช้ 3.1) ตรวจสอบคุณภาพจากผู้เชีย่ วชาญ 3.2) การตรวจสอบคุณภาพโดย การศกึ ษานำร่อง 4) การนำหลักสตู รไปใช้ โดยดำเนินการตามแผนกิจกรรมการเรียนการ สอน 5) การประเมินผลหลังการใช้หลักสตู รและปรับปรงุ แก้ไขหลักสูตรโดยสรุปได้เป็น 3 ระยะดังน้ี ระยะที่ 1 ศกึ ษาข้อมลู พืน้ ฐาน ระยะที่ 2 การพัฒนาหลักสูตรและระยะที่ 3 การ ทดลองและศึกษาผลการทดลองใช้ 7. กระบวนการพัฒนาหลักสตู ร นักพฒั นาหลกั สูตรได้กล่าวเกีย่ วกับการกระบวนการพัฒนาหลกั สูตรไว้ดงั นี้ วิชัย วงษใ์ หญ่ (2554, หน้า 57-58) ได้สรุปแนวคิดและขั้นตอน กระบวนการพฒั นาหลกั สูตร 1. คณะกรรมการพัฒนาหลักสตู รกำหนดจดุ มุง่ หมาย หลักการและ โครงสรา้ งและการ ออกแบบหลกั สูตรขึ้นมา โดยอาศยั ข้อมูลจากสภาพปัญหาและความ ต้องการของสงั คมปัจจุบัน โดยปรึกษาหารอื กบั ผเู้ ชีย่ วชาญแต่ละสาขาวิชาอย่างสม่ำเสมอ 2. ยกรา่ งเน้ือหาสาระ แต่ละกลุ่มประสบการณ์ แต่ละหน่วยการเรียน และแต่ละรายวิชา โดยปรึกษาหารอื จากผเู้ ช่ยี วชาญแต่ละสาขาวิชา คณะกรรมการพัฒนา หลักสูตรรว่ มกับผเู้ ชีย่ วชาญ แต่ละสาขาวิชาเปน็ ผู้กำหนดผลการเรยี นรู้ จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม หรอื จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วางแผนการสอนทีบ่ ันทึกการสอน ผลิตสือ่ การสอน จดั กิจกรรมการเรียนการสอนเปน็ กลุ่มหรือ รายบุคคล 3. นำหลักสูตรที่พฒั นาได้แล้วไปทดลองใช้ในสถานศกึ ษานำร่อง (สถานศกึ ษาทดลองใช้ หลักสตู รใหม่) โดยคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรกำหนดไว้ ถ้ามี ข้อบกพรอ่ งก็ทำการแก้ไขปรับปรงุ โดยปรึกษาหารอื ผเู้ ชีย่ วชาญเฉพาะสาขาอยู่ตลอดเวลา
136 4. อบรมผสู้ อน ผบู้ ริหารทุกระดับ และบคุ ลากรทางการศกึ ษาให้เข้าใจ หลกั สูตรใหม่เพือ่ จะได้ใชห้ ลกั สตู รใหมใ่ ห้ถกู ต้องเหมาะสม ตามจดุ ม่งุ หมายของหลกั สูตร รวมทั้งการประชาสมั พันธ์หลกั สูตรให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ 5. นำหลักสูตรไปปฏิบตั ิการสอนที่สถานศกึ ษากอ่ นประการใช้หลักสูตร สนับสนนุ ให้ ผู้บริหารและผู้สอนหลกั สตู รไปปฏิบตั ิให้เกิดประโยชน์ในสถานศกึ ษาต่อไป กิจกรรมการใช้หลักสตู ร ใหมม่ ี 4 ประการ คือ 5.1 การแปลงหลกั สตู รไปสู่การสอน คือ จดั ทำวัสดุหลักสูตร ได้แก่ เอกสารหลกั สูตร ส่อื และอุปกรณ์การสอนที่จำเปน็ ทีจ่ ะต้องใช้ประกอบการเรียนการสอน 5.2 ผบู้ ริหารจดั เตรียมสิง่ ต่างๆ เช่น บุคลากร วสั ดหุ ลักสตู ร และ บริการตา่ งๆ เริ่มตั้งแต่ อบรมผู้สอน และบุคลากรฝ่ายสนับสนนุ การใช้หลกั สูตร จดั หอ้ งสมุด ห้องเรียน ห้องปฏิบตั ิการ แหล่งเรียนรู้ และสื่อการสอนทกุ ชนิด รวมท้ังจัด งบประมาณสนับสนนุ การบริหารหลกั สูตร 5.3 การสอน เป็นหน้าที่ของผู้สอนประจำการทว่ั ไปทีจ่ ะต้อง ดำเนนิ การจดั การเรยี นการสอนให้ประสบความสำเร็จ ตามจดุ มุ่งหมายของหลักสูตร 5.4 การประเมินผล เพื่อให้ทราบข้อบกพรอ่ งของหลกั สตู ร แล้ว ดำเนนิ การแก้ไขปรับปรงุ ต่อไป การประเมินผลมี 2 ประเภท คือ การประเมินผลการเรียน ของผู้เรยี น และการประเมินผลหลกั สูตรการประเมินผลหลกั สูตร ได้แก่ การประเมิน เอกสารหลักสตู ร ประเมนิ ผลการนำหลกั สูตรไปปฏิบตั ิ ประเมินผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ประเมินผลการใช้หลกั สูตรในการประเมินผลหลักสูตรน้ันจะต้อง ประเมินผลอยา่ งเปน็ ระบบและตอ่ เน่อื ง เพราะวา่ ทกุ สิ่งทุกอย่างในสงั คมปจั จุบนั ยอ่ มมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ ตลอดเวลา ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง สังคม วฒั นธรรม วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เครือ่ งมือสื่อสาร เครื่องอำนวยความสะดวกในการดำเนินชีวิต และการ ประกอบอาชีพแต่ละสาขาวิชา ก็มีการเปลีย่ นแปลงและพฒั นาอยตู่ ลอดเวลา Taba (1962, pp. 422-425) ได้เสนอแนวคิดการพฒั นาหลกั สูตรตาม รูปแบบของทาบา (Hilden Taba) มีลักษณะจากลา่ งข้ึนบน (grassroots approach) โดยใช้วธิ ี อุปนยั ทาบาเสนอไว้ว่า หลักสูตรควรมาจากครูผสู้ อนมากกวา่ ผู้บริหารระดบั สูง กระบวน การพัฒนาหลกั สตู รของทาบามีท้ังหมด 7 ข้ันตอน ดังนี้
137 ขั้นที่ 1 วิเคราะห์สภาพปญั หา สำรวจความต้องการและความจำเป็น ต่างๆ ของสงั คม ศึกษาพัฒนาการของผู้เรยี น กระบวนการเรียนรู้ และธรรมชาติของการ เรียนรู้ ซึ่งเปน็ แนวทางทีส่ ำคัญในการกำหนดจดุ มงุ่ หมายของหลกั สูตร ข้ันที่ 2 การกำหนดจุดมุ่งหมายของหลกั สตู ร โดยอาศัยข้อมลู ทีไ่ ด้จากขั้น ที่ 1 เป็นหลกั ควรเป็นสิง่ ที่ปฏิบัติได้จริง และเป็นแนวทางในการเลือกและจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ ข้ันที่ 3 การเลอื กเนื้อหาสาระ ตอ้ งให้สอดคล้องกับจดุ มงุ่ หมายที่กำหนด ไว้ เนือ้ หาที่คดั เลือกบรรจุลงในหลักสูตรจะต้องมคี วามสำคญั และถกู ต้อง ข้ันที่ 4 การจดั รวบรวมเนื้อหาสาระ พิจารณาถึงความเหมาะสมในการที่ จะให้ผู้เรียนได้รบั ความรู้ใดกอ่ นหลงั ซึง่ จะต้องมคี วามต่อเนือ่ งและเปน็ ลำดบั ขั้นตอน ข้ันที่ 5 การเลอื กประสบการณ์การเรียนรู้ เป็นการศกึ ษาถึงกระบวนการ เรียนรู้ และวิธีการสอนแบบต่างๆ จะต้องวางแผนเลือกประสบการณใ์ ห้เหมาะสมกับ เนือ้ หาสาระและผเู้ รียน ข้ันที่ 6 การจัดประสบการณ์การเรียนรทู้ ีไ่ ด้เลือกแล้ว เป็นการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน ให้เป็นไปตามลำดับข้ันตอนทีบ่ รรลตุ ามจดุ ประสงค์ทีว่ างไว้ ข้ันที่ 7 การประเมินผล เปน็ การพิจารณาว่าหลักสูตรประสบผลสำเรจ็ มากน้อยเพียงใด มีปญั หาหรอื ข้อบกพรอ่ งในขั้นตอนใด เพือ่ จะได้ทำการปรบั ปรงุ แก้ไข ต่อไป Saylor J.G, Alexander. W.M. and Lewis Arthur J (1981, p. 24) ได้นำเสนอ แบบจำลองในการพฒั นาหลักสูตรประกอบด้วย 4 ข้ันตอน ภายใต้แนวคิดของการวางแผน ให้โอกาสในการเรียนรเู้ พือ่ บรรลผุ ลสมั ฤทธิท์ างการศกึ ษาและวตั ถปุ ระสงคท์ ีเ่ กี่ยวข้อง สำหรับประชากร ดงั นี้ 1. จุดหมาย วัตถุประสงคแ์ ละขอบข่ายทีต่ ้องการพฒั นา จุดหมายและวัตถปุ ระสงค์ของหลักสตู รถกู เลือกหลงั จากการ พิจารณาตวั แปรภายนอก เช่น ผลการศกึ ษาจากการวิจยั ทางการศกึ ษา การรบั รอง มาตรฐาน ความเห็นของกลุ่มสังคม และอื่นๆ 2. การออกแบบหลกั สูตร นกั วางแผนลกั สตู รต้องดำเนินการออกแบบหลกั สตู ร ด้วยการสร้าง โอกาสในการเรียนรทู้ ี่เหมาะสมกบั ขอบขา่ ยที่ตอ้ งการพัฒนา ระบุวันเวลาและวิธีการใน
138 โอกาสการเรียนรู้ดังกล่าว การออกแบบหลักสตู รคำนึงถึง ธรรมชาติของวิชา รูปแบบของ สถาบนั ทางสงั คมที่สมั พนั ธ์กับความตอ้ งการและความสนใจของผู้เรียน 3. การนำหลักสตู รไปใช้ ผสู้ อนนำหลกั สตู รไปใช้ในชั้นเรียน โดยจดั การเรียนการสอนตาม วัตถุประสงค์และเลือกกลยทุ ธวิธีการสอนที่เกี่ยวข้องเพอ่ื บรรลุผลการเรียนรู้ 4. การประเมินหลกั สตู ร นกั วางแผนลกั สูตรและผสู้ อนรว่ มกนั ประเมินด้วยการเลือกเทคนิค การประเมนิ ที่หลากหลาย การประเมนิ มีจดุ เน้น 2 ประเภท คือ 1) การประเมินผลรวมของ การใชห้ ลักสูตรท้ังโรงเรียน ประกอบด้วย เป้าหมาย วัตถปุ ระสงค์ จุดประสงคก์ ารเรียน ประสิทธิภาพของการเรยี นการสอน และผลสัมฤทธิ์ของผู้เรยี น 2) การประเมิน กระบวนการหลกั สูตรทั้งระบบ ตงั้ แตก่ ารออกแบบหลกั สูตร การนำหลักสูตรไปใช้ เพือ่ ตดั สินใจว่าหลกั สูตรมปี ระสิทธิภาพเพียงใด Oliva (1982, p. 172) ได้เสนอแนวคิดในการพัฒนาหลักสูตร โดยขยาย ความคิดของตนเอง จากทีไ่ ด้เสนอรูปแบบการพฒั นาหลักสูตรไว้เมอ่ื ปี ค.ศ. 1976 ไว้แล้ว กระบวนการพัฒนาหลกั สูตรของโอลิวา มอี งค์ประกอบต่าง ๆ ดังนี้ 1. จุดมุ่งหมายของการศกึ ษา (Aims of Education) และหลักการปรัชญา และจติ วิทยาจากการวิเคราะหค์ วามตอ้ งการจำเปน็ ของสงั คมและผเู้ รียน 2. วิเคราะห์ความต้องการจำเปน็ ของชุมชนที่สถานศกึ ษานั้น ๆ ต้ังอยู่ ความตอ้ งการจำเปน็ ของผเู้ รียนในชุมชน และเนือ้ หาวิชาที่จำเป็นเพื่อใชใ้ นการจดั การเรียน การสอน 3. เป้าหมายของหลกั สตู ร (Curriculum Goals) โดยอาศัยข้อมลู จากขั้น 1 และ 2 4. จุดประสงค์ของหลกั สูตร (Curriculum Objectives) โดยอาศัยข้อมลู จากขั้นที่ 1, 2 และ 3 แตกต่างจากขั้นที่ 3คือมีลักษณะเฉพาะเจาะจงเพือ่ นำไปสกู่ าร ประยุกต์ใช้หลักสตู ร และการกำหนดโครงสร้างหลักสตู ร 5. รวบรวมและนำไปใช้ (Organization and Implementation of the Curriculum) เปน็ ข้ันของการกำหนดโครงสร้างหลกั สตู ร 6. กำหนดเป้าหมายของการสอน (Instructional Goals) ของแต่ละระดับ
139 7. กำหนดจดุ ประสงคข์ องการจัดการเรียนการสอน (Instructional Objective) ในแต่ละวิชา 8. เลือกยทุ ธวิธีในการสอน (Selection of Strategies) เปน็ ข้ันทีผ่ ู้เรยี น เลือกยทุ ธวิธีทีเ่ หมาะสมกับผเู้ รียน 9. เลือกเทคนิควิธีการประเมินผลกอ่ นทีน่ ำไปสอนจรงิ คือ 9A (Preliminary selective of evaluation techniques) และกำหนดวิธีประเมินผลหลงั จาก กิจกรรมการเรียนการสอนสิน้ สดุ คือ 9B (Find selection of evaluation techniques) 10. นำยุทธวิธีไปใช้ปฏิบตั ิจริง (Implementation of Strategies) เปน็ ขั้น ของการใช้วธิ ีการทีก่ ำหนดในขั้นที่ 8 11. ประเมินผลจากการเรียนการสอน (Evaluation of Instruction) เป็นข้ัน ทีเ่ ม่อื การดำเนินการจัดการเรียนการสอนเสร็จสนิ้ ก็มีการประเมินผลตามที่ได้เลือกหรอื กำหนดวิธีการประเมินข้ันที่ 9 12. ประเมินหลกั สูตร (Evaluation of curriculum) เปน็ ข้ันตอนสุดท้ายที่ทำ ให้วงจรครบถ้วน การประเมินผลที่มใิ ชป่ ระเมินผเู้ รียนและผู้สอน แตเ่ ป็นการประเมิน หลกั สูตรที่จัดทำขึน้ Walker (1971, pp. 58-59) ได้เสนอแนวคิดในการพัฒนาหลักสตู ร โดยแบ่ง กระบวนการพฒั นาหลักสูตรออกเปน็ 3 ข้ันตอน คอื ข้ันตอนที่ 1 ศกึ ษาข้อมูลพ้ืนฐาน ซึ่งได้มาจากการศกึ ษาเชงิ ประจกั ษท์ ี่ได้ จากมมุ มองต่างๆ ความเช่ือ ค่านิยม ทฤษฎี แนวคิด เป้าหมาย เพื่อเปน็ ข้อมูลพื้นฐานใน การพิจารณาสร้างหลักสูตรต่อไปในอนาคต ท้ังนี้ มคี วามจำเป็นทีต่ ้องวิเคราะห์ปัญหา ต่างๆ ไว้ลว่ งหนา้ ซึง่ เปน็ ประโยชน์ในการดำเนินการขั้นต่อไป ขั้นตอนที่ 2 การพิจารณาไตรต่ รอง (Deliberates) ซึ่งเปน็ การนำข้อมูล พืน้ ฐานท่ัวไปที่ได้จากการวิเคราะห์ปญั หาต่างเข้ามาสูก่ ระบวนการปรึกษาหรือการ อภปิ ราย การวิพากษว์ ิจารณเ์ พื่อพิจารณาทางเลือกตา่ งๆ กอ่ นที่จะออกแบบหลักสตู ร โดย การถ่วงน้ำหนักทางเลือกต่างๆ (eight alternatives) ในทุกๆ ดา้ นอยา่ งเปน็ รูปธรรม ท้ังใน เชงิ ตน้ ทุน ค่าใช้จา่ ยและประโยชน์ที่ได้รบั มา การพิจารณาทางเลือกนี้จะกอ่ ใหเ้ กิดความไม่ แน่ใจว่าเปน็ ทางเลือกที่ดที ีส่ ุด ดังนั้น จึงสามารถที่จะยอมรับหรือปฏิเสธได้อย่างเต็มทีก่ ่อน การกำหนดทิศทางทีถ่ กู ต้องในการออกแบบหลกั สูตรต่อไป
140 ข้ันตอนที่ 3 การออกแบบหลกั สตู ร (Curriculum design) เป็นการวินิจฉัย เกีย่ วกบั สาระสำคัญของหลักสูตรกอ่ น โดยคำนึงถึงองคป์ ระกอบอยา่ งรอบด้านของ กระบวนการพัฒนาหลกั สูตร ซึง่ ไม่กำหนดรปู แบบหลักสตู รไว้ล่วงหน้า แตใ่ ช้ในการ แสวงหาความเหมาะสมที่สอดคล้องกับความเป็นจริงของสถานการณ์ เปน็ การเลือกทีผ่ า่ น การกลั่นกรองมาแล้ว และมีความชัดเจนในองคป์ ระกอบตา่ งๆ โดยสามารถชเี้ ฉพาะเจาะจง ความตอ้ งการหลักสูตรของชมุ ชนได้ชัดเจนมากยิ่งกว่า รปู แบบของหลกั สตู รเชิง วตั ถปุ ระสงคก์ ารออกแบบหลักสูตรเชิงพลวตั เป็นพรรณนาความเช่อื มโยงจากข้อมลู พืน้ ฐาน โดยนำตวั แปรต่างๆ ทีเ่ กี่ยวข้องมาสูก่ ระบวนการพิจารณาไตร่ตรองอย่างรอบคอบ (Deliberations) ซึง่ เปน็ การเลือกวิธีที่ดีที่สุดจากน้ันเริ่มก้าวไปสู่จุดสุดท้าย คือ การออกแบบ หลกั สูตรที่มลี ักษณะเฉพาะเจาะจง จากทีก่ ล่าวมาสรุปได้วา่ กระบวนการพฒั นาหลักสูตรน้ันจำเปน็ ต้องใช้ระยะเวลาในการดำเนินการมากขึ้นอยกู่ ับการเปลี่ยนแปลงและปรบั ปรุงใหม่ ว่ามีการเปลีย่ นแปลงมากน้อยเพียงใด แบ่งออกเปน็ 6 ขั้นตอน ดังน้ี ข้ันตอนที่ 1 การศกึ ษาข้อมูลพืน้ ฐาน ข้ันตอนที่ 2 การยกร่างหลักสูตร ประกอบด้วย 1) การกำหนด จุดมุง่ หมาย 2) การกำหนดเนือ้ หาสาระ 3) การกำหนดประสบการณก์ ารเรียนรู้ 4) การกำหนดวิธีการวดั และประเมินผล ข้ันตอนที่ 3 การตรวจสอบคณุ ภาพหลักสูตร ขั้นตอนที่ 4 การทดลองใช้หลกั สูตร ขั้นตอนที่ 5 การประเมินหลักสูตร ข้ันตอนที่ 6 การปรับปรุงแก้ไขหลกั สูตร 8. การประเมินหลักสูตร การประเมนิ หลกั สูตรเปน็ ขั้นตอนหนึ่งของการพฒั นาหลักสูตรเพราะผล ที่ได้จากการประเมินจะเป็นข้อมลู ชว่ ยในการตดั สินใจ เพือ่ แก้ไขและปรบั ปรงุ หลกั สูตร ตอ่ ไปการประเมนิ ผลหลักสูตรจงึ เปน็ ข้ันตอนทีข่ าดไม่ได้ในกระบวนการพัฒนาหลกั สูตร โดยมีจดุ ม่งุ หมายและรูปแบบการประเมนิ หลักสตู ร ดังนี้
141 จุดมงุ่ หมายของการประเมินหลกั สตู ร นกั การศกึ ษาหลายท่านได้กล่าวถึงจดุ มุ่งหมายของการประเมินหลักสตู ร ไว้ในลกั ษณะต่าง ๆ ดังนี้ ทิศนา แขมมณี (2535, หน้า 13) สรุปจดุ มุ่งหมายในการประเมิน หลักสูตรไว้ ดังน้ี 1) เพื่อหาคุณค่าหลักสูตรนั้น โดยดวู ่าหลกั สตู รทีจ่ ัดขึน้ สามารถสนองตาม วตั ถุประสงคท์ ีห่ ลกั สูตรน้ันต้องการหรอื ไม่ 2) เพือ่ ตดั สินใจว่า การวางเค้าโครงและรปู ระบบของหลักสูตรตลอดจนการบริหารงานและการสอนตามหลกั สตู ร เป็นไปในทางที่ ถกู ต้องแล้วหรอื ไม่ วิชัย วงษใ์ หญ่ (2537, หน้า 218-219) กลา่ ววา่ การประเมินหลกั สูตร โดยทั่ว ๆ ไปจะมีจุดมุ่งหมายดังนีเ้ พื่อหาคุณค่าของหลักสตู รโดยตรวจสอบดูวา่ หลักสูตรที่ พฒั นาข้นึ มาน้ันสามารถบรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์หรอื ไมเ่ พื่อวดั ผลดวู ่าการวางเค้าโครงและ รูปแบบระบบของหลักสตู รรวมทั้งวัสดปุ ระกอบหลักสตู รและการบริหารและบริการ หลกั สูตรเปน็ ไปในทางที่ถกู ต้องแล้วหรือไม่ การประเมินหลกั สตู รจากผู้เรยี นเองหรอื การ ประเมินผลผลติ เพื่อตรวจสอบดวู ่าลักษณะที่พึงประสงคเ์ ป็นไปตามจดุ มุ่งหมายของ หลกั สตู รหรอื ไม่เพียงใด โชติกา กณุ สิทธิ์ (2563, หน้า 194) ได้กล่าวถึงจดุ มุ่งหมายของการ ประเมินหลักสตู ร คือ การพิจารณาคณุ ค่าของหลักสูตรว่าผู้เรยี นเป็นผลผลิตว่ามี คุณลกั ษณะตามจุดมุ่งหมายหรือไม่ และผลการประเมินหลักสตู รนจี้ ะนำไปสกู่ ารตัดสินใจ ของผู้เกี่ยวข้องในการพัฒนาหลกั สูตรเพือ่ ใช้ในการปรบั ปรุงแก้ไข หรอื อาจจะเปลี่ยนแปลง หลักสูตร Taba (1962 p. 310) ได้กล่าวไว้ว่า การประเมินหลักสตู รทำขนึ้ เพื่อ ศกึ ษากระบวนการตา่ งๆ ที่กำหนดไว้วา่ มีการเปลีย่ นแปลงใดบ้างทีส่ อดคล้องหรอื ขดั แย้ง กับวัตถุประสงค์ของการศกึ ษาการประเมินดงั กลา่ วจะครอบคลุมเนือ้ หาท้ังหมดของ หลกั สูตรและกระบวนการต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องซึง่ ได้แก่ จุดประสงค์ ขอบเขตของเน้ือหาสาระ คุณภาพของผู้ใช้บริหารและผใู้ ช้หลกั สตู ร สมรรถภาพของผู้เรยี น ความสัมพนั ธข์ องวิชา ตา่ งๆ การใชส้ ื่อและวัสดกุ ารสอน ฯลฯ McNeil (1981 p. 153) ได้กล่าวไว้ว่า การประเมินหลักสตู รมี จุดมุง่ หมาย เพือ่ ใช้เป็นเครื่องมอื ประกอบการตัดสินใจทีจ่ ะเลือกหลักสตู ร เพื่อนกั พัฒนา
142 หลกั สูตรจะได้รวู้ ่าควรจะปรับปรุงหลักสูตรตรงไหนและอย่างไร และเพื่อทีจ่ ะให้ครูใช้หา คำตอบเกี่ยวกับการเรียนรขู้ องนกั เรียน สรุปได้วา่ การประเมินหลักสตู รมจี ดุ มุ่งหมาย เพือ่ เปน็ เครือ่ งมอื และ ตรวจสอบคณุ ค่าของหลกั สูตรที่พัฒนาข้นึ มาน้ันสามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์หรือไม่ การวางเค้าโครงและรูปแบบระบบของหลักสูตรรวมทั้งวสั ดปุ ระกอบหลักสูตรและการ บริหารและบริการหลักสูตรเป็นไปในทางที่ถกู ต้องแล้วหรอื ไม่ และผลการประเมินหลกั สูตร นจี้ ะนำไปสูก่ ารตัดสินใจของผู้เกีย่ วข้องในการพัฒนาหลกั สตู รเพื่อใชใ้ นการปรับปรุงแก้ไข รปู แบบการประเมินหลักสูตร นักการศกึ ษาด้านหลกั สตู รได้ให้ขอ้ เสนอแนะเกีย่ วกบั รูปแบบ ของการประเมินหลักสูตรไว้ ดังน้ี ใจทิพย์ เช้อื รัตนพงษ์ (2539, หน้า 207 - 208) ได้กล่าวถึงรูปแบบการ ประเมินผลหลักสูตรสามารถแบง่ ออกได้ 2 ประเภท ดังนี้ 1. รปู แบบของการประเมินหลกั สตู รที่สรา้ งเสรจ็ ใหม่ ๆ คอื การ ประเมินกอ่ นนำหลกั สตู ร ไปใช้ในกลมุ่ นี้ทีไ่ ด้รับความนิยม คือ รปู แบบการประเมินผลหลกั สูตรวิธีวเิ คราะหแ์ บบ ปุยแซงค์ (Puissance analysis technique) 2. รปู แบบการประเมนิ หลกั สตู รในระหว่างการใช้หลกั สตู ร หรอื หลงั การใชห้ ลักสูตรในกลุ่มนสี้ ามารถแบ่งย่อย ๆ ออกได้เป็น 3 แบบ ดงั นี้ 2.1 รูปแบบการประเมนิ ทีย่ ึดจดุ มุง่ หมายเปน็ หลัก (Goal attainment model)เป็นรปู แบบการประเมนิ ทีจ่ ะประเมินว่า หลกั สูตรมคี ุณค่ามากน้อย เพียงใด โดยพิจารณาจากจุดม่งุ หมายเปน็ หลกั คือ พิจารณาว่าผลทีไ่ ด้รับเป็นไปตาม จุดม่งุ หมายหรอื ไม่ 2.2 รปู แบบการประเมนิ ทีไ่ ม่ยึดเป้าหมาย (Goal free evaluation model) เปน็ รูปแบบการประเมินที่ไม่นำความคิดของผปู้ ระเมิน มาเป็นตวั กำหนดความคิด ในการประเมิน ผู้ประเมินจะประเมินตามเหตุการณท์ ี่เกิดข้ึนจริง มคี วามอิสระในการ ประเมิน และไมม่ คี วามลำเอียง 2.3 รูปแบบการประเมนิ ที่ยึดเกณฑ์เป็นหลัก (Criterion model) เช่น รปู แบบการประเมินของสเตค
143 Stake (1969, p. 23) มีแนวคิดในการประเมินหลกั สตู รว่าไม่ควร พิจารณาเฉพาะทีเ่ กิดการใช้หลกั สูตรเทา่ นั้น แต่จะพิจารณาส่วนประกอบของการจัดการ เรียนการสอนหลาย ๆ สว่ น ท้ังน้เี พราะผลสำเร็จของหลกั สูตรไมไ่ ด้ข้ึนอยู่กบั วา่ ผู้เรียนจะ สามารถบรรลุถึงจดุ ประสงค์ทีต่ ง้ั ไว้หรอื ไมเ่ ทา่ น้ัน แต่ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบหลาย ๆ อยา่ ง เช่น ผเู้ รียนไมส่ ามารถบรรลุตามจดุ ประสงค์ทีว่ างไว้ อาจมาจากองค์ประกอบด้านเวลา กล่าวคือ ใหเ้ วลาแก่ผเู้ รียนไมเ่ พียงพอ หรือเวลาทีจ่ ัดไม่เหมาะสม ทั้ง ๆ ที่หลักสตู ร น้ันอาจดีอยู่แล้วก็ได้ ดงั นั้น ถ้าจะพิจารณาแตผ่ ลลัพธ์ของการใช้หลกั สูตรอย่างเดียว จะไม่ได้รับข้อมลู เพียงพอในการทีจ่ ะตัดสินวา่ หลักสตู รน้ันดหี รอื ไมด่ ี และจะมองไม่เหน็ ช่องทางที่ชัดเจนและครอบคลมุ ในการปรับปรุงหลักสูตรต่อไป รูปแบบการประเมนิ หลักสตู รของ Stake จะพิจารณา 3 ด้าน ดังน้ี 1. ดา้ นสิ่งทีม่ ากอ่ น หรอื สภาพก่อนเริ่มโครงการ (Antecedent) หมายถึง สิ่งต่างๆ ทีเ่ อือ้ ให้เกิดผลจากหลักสตู รและเป็นสิ่งที่มอี ยู่ก่อนการใช้หลกั สูตรอยู่ แล้วประกอบด้วย 7 หวั ข้อ คือ บุคลิกและนสิ ัยของนกั เรียน บคุ ลิกและนสิ ยั ครู 2. ดา้ นเนือ้ หาในหลักสูตร วัสดอุ ุปกรณ์ การเรียนการสอน อาคาร สถานที่ การจัดโรงเรียน ลกั ษณะของชุมชนขณะทีม่ กี ารเรียนการสอนระหว่างนกั เรียนกบั นักเรียน นกั เรียนกบั ครู ครูกับผปู้ กครอง ฯลฯ เปน็ ขั้นของการใช้หลักสตู ร ซึ่งประกอบด้วย 5 หัวขอ้ คอื การสื่อสาร การจดั แบ่งเวลา การลำดับเหตกุ ารณ์ การให้กำลังใจ และ บรรยากาศของสง่ิ แวดล้อม 3. ดา้ นผลผลิต หรอื ผลที่ได้รบั จากโครงการ (Outcomes) หมายถึง สิ่งทีเ่ กิดขึน้ จากการใชห้ ลกั สตู ร ประกอบด้วย 5หวั ข้อ คือ ผลสมั ฤทธิข์ อง นกั เรียน ทศั นคตขิ องนกั เรียน ทกั ษะของนักเรียน ผลที่เกิดขึ้นกบั ครู และผลทีเ่ กิดขึ้นกบั สถาบนั จากรปู แบบการประเมินผลหลักสตู รดังที่กล่าวข้างต้น สรุปได้ว่า การประเมนิ หลกั สูตรมีหลายรูปแบบ สำหรับงานวิจยั ในครั้งนี้ ผวู้ ิจัยเลือกใช้รปู แบบการ ประเมินหลักสูตรของ Stake ให้ความสำคัญต่อเกณฑ์การตดั สินใจ โดยนาผลไปเทียบกับ เกณฑม์ าตรฐาน
144 9. แนวคดิ การพัฒนาหลักสตู รฐานสมรรถนะ งานวิจยั นี้เป็นการพฒั นาหลักสูตรฐานสมรรถนะ ซึ่งผู้วิจัยจะขอกล่าวถึง รายละเอียดเกี่ยวกับหลักสูตรฐานสมรรถนะ ไว้ดังน้ี แนวคดิ หลกั สตู รฐานสมรรถนะ ธำรง บัวศรี (2542, หนา้ 46) สรุปไว้ว่า สมรรถนะ (Competence) หมายถึง ความสามารถในการปฏิบตั ิภายใต้เงอ่ื นไข ใช้เครือ่ งมอื วัสดุ ถปุ กรณ์ทีร่ ะบุไว้ ให้ ได้มาตรฐาน ตามเกณฑ์การปฏิบตั ิ และมีหลกั ฐานการปฏิบัติ ให้ประเมินผลและตรวจสอบ ได้ ดังนน้ั หลักสูตรฐานสมรรถนะ จึงยึดความสามารถของผู้เรยี นเป็นหลกั การออกแบบ หลกั สตู รตามแนวคิดนีจ้ ะมีการกำหนดเกณฑค์ วามสามารถทีผ่ ู้เรยี นพึงปฏิบัติ ได้หลกั สูตร ทีเ่ รียกวา่ หลักสูตรเกณฑ์ความสามารถ จัดทำขึ้นเพื่อความแน่ใจว่าผทู้ ีจ่ บการศกึ ษาระดบั หน่งึ ๆ จะมีทักษะและความสามารถในด้านต่างๆ ตามที่ต้องการ เปน็ หลกั สตู รที่ไม่ได้มุง่ เรือ่ งความรู้หรอื เนือ้ หาวิชาที่อาจมคี วามเปลี่ยนแปลงได้ตามกาลเวลา แต่จะมุง่ พัฒนาใน ด้านทกั ษะความสามารถ เจตคติและค่านิยม อนั จะมีประโยชน์ตอ่ ชีวติ ประจำวันและ อนาคตของผู้เรยี นในอนาคต หลักสูตรนี้มีโครงสร้างแสดงให้เห็นถึงเกณฑค์ วามสามารถใน ด้านต่างๆ ที่ตอ้ งการให้ผเู้ รียนปฏิบตั ิในแต่ละระดบั การศกึ ษา และในแต่ละระดับช้ัน ทักษะ และความสามารถจะถกู กำหนดให้มคี วามตอ่ เนือ่ งกัน โดยใช้ทกั ษะและความสามารถ ทีม่ ใี นแต่ละระดับเป็นฐานสำหรับเพิม่ พูนทกั ษะและความสามารถในระดับต่อไป ท่มี าของหลักสูตรฐานสมรรถนะ ธำรง บวั ศรี (2542, หนา้ 49) สรปุ ไว้ว่า หลักสูตรฐานสมรรถนะ เรม่ิ ใช้ มาต้ังแตป่ ี 1970 ในประเทศสหรัฐอเมริกา นยิ มใช้ในการจดั หลกั สูตรการฝึกอบรม เพือ่ ควบคมุ คุณภาพของบุคลากรในอาชีพต่างๆ และเพิ่มการแข่งขนั กับนานาชาติ โดยคาดหวัง สิ่งที่ผู้เข้าอบรมจะสามารถปฏิบัติได้เมื่อจบหลกั สตู ร เช่น การฝึกอบรมด้านภาษาองั กฤษ เกีย่ วกับอาชีพตา่ งๆ เชน่ ด้านอาหาร การโรงแรม ท่องเที่ยว เปน็ ต้น ในปจั จบุ นั สถาบัน การศกึ ษาต่างๆ ในหลายประเทศ ได้นำแนวทางการฝกึ อบรมแบบฐานสมรรถนะ (Competency Based Training) มาใช้กบั การจัดการศกึ ษาระดับต่างๆ เปน็ หลกั สตู รฐาน สมรรถนะ (Competency Based Curriculum) ซึง่ เป็นทีย่ อมรับจากผกู้ ำหนดนโยบาย และ ผนู้ ำด้านหลกั สูตรของประเทศต่างๆ อย่างกว้างขวาง
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213