Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างส

การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างส

Published by n_joy1006, 2022-04-02 06:03:29

Description: การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างส

Search

Read the Text Version

เคา้ โครงดษุ ฎีนิพนธ์ ผ้วู ิจัย นางสาวพัชรดิ า ติยะบุตร คณะกรรมการท่ปี รึกษาดษุ ฎีนิพนธ์ ปริญญา ปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑติ ผศ.ดร.วิจิตรา วงศอ์ นุสิทธิ์ ประธานกรรมการ สาขาวิชา วิจัยหลักสูตรและการสอน รศ.ดร.สำราญ กำจดั ภัย กรรมการ ปีการศึกษา 2564 มหาวิทยาลยั ราชภฏั สกลนคร -------------------------------------------------------------- ชือ่ เรอ่ื ง (ภาษาไทย) การพัฒนาหลกั สตู รฝึกอบรมเพือ่ เสริมสรา้ งสมรรถนะในการจัดการ เรยี นรูเ้ ชิงรกุ ของครผู ู้สอนภาษาองั กฤษระดับชั้นประถมศกึ ษา สังกัดสำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 2 ชือ่ เรอ่ื ง (ภาษาอังกฤษ) DEVELOPMENT OF A TRAINING CURRICULUM TO ENCHANCE LEARNING MANAGEMENT COMPETENCIES BASED ON ACTIVE LEARNING FOR ENGLISH TEACHING TEACHERS UNDER NAKHON PHANOM PRIMARY EDUCATION SERVICE AREA OFFICE 2 คำสำคญั : หลกั สูตรฝึกอบรม, สมรรถนะ, การจดั การเรียนรเู้ ชิงรกุ Keywords: Training Curriculum, Competencies, Active Learning

VI สารบัญ บทท่ี หน้า 1 บทนำ .................................................................................................... 1 ภูมหิ ลัง .............................................................................................. 1 คำถามของการวิจยั ............................................................................ 5 ความมุ่งหมายของการวิจัย .................................................................. 6 สมมตฐิ านของการวิจัย ....................................................................... 7 ความสำคัญของการวิจัย ..................................................................... 7 ขอบเขตของการวิจยั ........................................................................... 8 กรอบแนวคิดของการวิจยั ................................................................... 10 นิยามศัพท์เฉพาะ ................................................................................ 12 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ............................................................... 14 แนวคิดการจัดการเรียนรู้เชงิ รุก ........................................................... 15 ความหมายของการเรียนรู้เชงิ รกุ ...................................................... 15 หลักการจดั การเรียนรู้เชิงรุก ............................................................ 19 ลักษณะของการเรียนรู้เชงิ รกุ ........................................................... 25 ขั้นตอนการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รุก ........................................................ 28 แนวทางจัดการเรียนรู้ของการเรยี นรู้เชิงรกุ ....................................... 32 บทบาทของผสู้ อนและผเู้ รียนในการจัดการเรียนรู้เชิงรกุ ................... 36 ประโยชน์ของการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ....................... 45 งานวิจยั ที่เกีย่ วกบั การจดั การเรยี นรู้เชิงรกุ ........................................ 44 แนวคิดเกีย่ วกบั สมรรถนะ .................................................................... 49 ความหมายของสมรรถนะ ................................................................ 50 องค์ประกอบของสมรรถนะ .............................................................. 52 ประเภทของสมรรถนะ ..................................................................... 58 การประเมินสมรรถนะ ..................................................................... 65 การพัฒนาสมรรถนะครู ................................................................... 67

VII สารบัญ (ตอ่ ) หน้า บทท่ี สมรรถนะครู .................................................................................... 80 สมรรถนะครูผสู้ อนโดยท่วั ไป ............................................................ 80 สมรรถนะผปู้ ระกอบวิชาชีพครตู ามประกาศของคุรุสภา .................... 82 สมรรถนะครูของสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ........ 84 สมรรถนะของครูผสู้ อนในศตวรรษที่ 21 ............................................ 88 องคป์ ระกอบสมรรถนะครู ............................................................... 98 งานวิจัยทีเ่ กีย่ วกบั การพัฒนาสมรรถนะครู ....................................... 101 แนวคิดเกี่ยวกบั การพฒั นาหลักสตู ร ..................................................... 107 ความหมายของหลักสูตร ................................................................. 107 ความหมายของการพัฒนาหลักสูตร .................................................. 110 ความสำคัญของหลกั สูตร ................................................................ 112 องคป์ ระกอบของหลักสตู ร ............................................................... 114 ประเภทของหลักสูตร ....................................................................... 119 รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร .............................................................. 122 กระบวนการพัฒนาหลักสูตร ............................................................ 135 การประเมินหลักสูตร ....................................................................... 139 แนวคิดการพฒั นาหลักสูตรฐานสมรรถนะ ........................................ 144 แนวคิดเกีย่ วกบั การฝึกอบรม ............................................................... 146 ความหมายของการฝกึ อบรม ........................................................... 146 ความสำคัญของการฝึกอบรม .......................................................... 148 ประเภทของการฝึกอบรม ................................................................ 149 เทคนิควิธีการฝกึ อบรมและข้ันตอนการฝกึ อบรม .............................. 151 งานวิจัยทีเ่ กีย่ วกบั หลกั สตู รฝกึ อบรม ................................................ 159 3 วิธีดำเนนิ การวิจัย ................................................................................... 164 ระยะที่ 1 ศกึ ษาข้อมลู พื้นฐานเกีย่ วกับสมรรถนะในการจัดการเรียนรเู้ ชิง รกุ ของครูผสู้ อนภาษาอังกฤษระดบั ช้ันประถมศึกษา สังกัดสำนักงาน เขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครพนม เขต 2 ............................. 166

VIII สารบญั (ตอ่ ) บทท่ี หน้า ระยะที่ 2 การพัฒนาหลักสตู รฝึกอบรมเพือ่ เสริมสร้างสมรรถนะในการ จัดการเรยี นรู้เชิงรกุ ของครูผู้สอนภาษาอังกฤษระดับช้ันประถมศึกษา สังกดั สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต 2 ..... 176 ระยะที่ 3 การทดลองและศึกษาผลการทดลองใชห้ ลกั สูตรฝึกอบรมเพือ่ เสริมสร้างสมรรถนะในการจดั การเรียนรู้เชิงรุกของครผู ู้สอน ภาษาอังกฤษระดับชั้นประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพืน้ ที่ การศกึ ษาประถมศึกษานครพนม เขต 2 ......................................... 183 บรรณานุกรม ................................................................................................... 194

IX บญั ชีตาราง ตาราง หน้า 1 การสังเคราะห์หลกั การเรียนรเู้ ชงิ รกุ ........................................................ 22 2 ขั้นตอนการจดั การเรยี นรอู้ ย่างกระตือรอื ร้นในเวลา 50 นาที .................... 31 3 บทบาทของผู้เรยี นในการจัดการเรียนรู้เชิงรุกกับการเรียนรู้แบบปกติ ตามแนวคิดของNist and Holschuh 2000) ............................................... 42 4 การสังเคราะห์องคป์ ระกอบของสมรรถนะ .............................................. 57 5 การสังเคราะห์องคป์ ระกอบสมรรถนะครู ................................................ 98 6 การสังเคราะห์องคป์ ระกอบของหลักสตู ร ................................................ 118 7 กลมุ่ ตัวอยา่ งทีใ่ ชใ้ นการศกึ ษาข้อมูลพ้ืนฐาน ............................................. 172

X บัญชีภาพประกอบ ภาพประกอบ หนา้ 1 กรอบแนวคิดของการวิจัย ...................................................................... 10 2 ลกั ษณะของการจดั การเรียนรเู้ ชงิ รกุ ........................................................ 28 3 แบบจำลองภูเขาน้ำแข็ง (The Iceberg Model) .......................................... 49 4 วัฎจักรพัฒนาหลักสูตรของ สงดั อทุ รานันท์ ............................................ 124 5 รูปแบบการพฒั นาหลกั สตู รของ วิชยั วงษใ์ หญ่ ........................................ 124 6 รปู แบบการพัฒนาหลกั สูตรของ Taba ..................................................... 131 7 กระบวนการวิจยั และการพัฒนาหลกั สูตรฝึกอบรม ระยะที่ 1 การศกึ ษาข้อมูลพืน้ ฐาน .......................................................................... 176 8 กระบวนการวิจัยและการพัฒนาหลกั สูตรฝึกอบรม ระยะที่ 2 การพัฒนาหลกั สตู รฝกึ อบรม .................................................................. 182 9 กระบวนการวิจัยและการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม ระยะที่ 3 การทดลองและศกึ ษาผลการทดลองใชห้ ลกั สตู รฝึกอบรม ........................ 193

บทที่ 1 บทนำ ภมู ิหลงั การศกึ ษาเปน็ เครื่องมอื สำคญั ในการสรา้ งคน สร้างสังคม และสร้างชาติ เปน็ กลไกหลกั ในการพัฒนากำลังคนให้มคี ณุ ภาพ สามารถดำรงชีวติ อยรู่ ว่ มกบั บคุ คลอื่นใน สังคมได้อย่างเปน็ สขุ ในกระแสการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของโลกศตวรรษที่ 21 เนื่องจากการศกึ ษามีบทบาทสำคญั ในการสร้างความได้เปรียบของประเทศเพือ่ การแข่งขนั และยืนหยดั ในเวทีโลกภายใต้ระบบเศรษฐกิจและสงั คมที่เป็นพลวตั ประเทศต่าง ๆ ท่ัวโลก จงึ ให้ความสำคัญและทุ่มเทกับการพฒั นาการศกึ ษาเพื่อพฒั นาทรัพยากรมนุษยข์ องตนให้ สามารถก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ภูมิภาค และ ของโลก ควบค่กู บั การธำรงรกั ษาอตั ลักษณ์ของประเทศ ในสว่ นของประเทศไทยได้ให้ ความสำคญั กบั การจัดการศกึ ษา การพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถของคนไทยให้ มีทกั ษะ ความรคู้ วามสามารถ และสมรรถนะทีส่ อดคล้องกบั ความตอ้ งการของตลาดงาน และการพัฒนาประเทศ ภายใต้แรงกดดนั ภายนอกจากกระแสโลกาภิวัตน์ และแรงกดดัน ภายในประเทศทีเ่ ปน็ ปญั หาวิกฤตทีป่ ระเทศตอ้ งเผชิญ เพือ่ ให้คนไทยมีคุณภาพชีวติ ทีด่ ี สงั คมไทยเป็นสังคมคณุ ธรรม จริยธรรม และประเทศสามารถก้าวข้ามกับดักประเทศที่มี รายได้ปานกลางไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว รองรับการเปลีย่ นแปลงของโลกทั้งในปัจจบุ ัน และอนาคต โดยการเปลีย่ นแปลงทีส่ ำคัญและส่งผลกระทบต่อระบบการศกึ ษา ระบบ เศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย (สำนกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา, 2560, หนา้ 1) การจดั การเรียนรเู้ ชิงรกุ (Active Learning) เปน็ กระบวนการจดั การเรียนรตู้ าม แนวคิดการสร้างสรรคท์ างปญั ญา (Constructivism) ทีเ่ น้นกระบวนการเรียนรมู้ ากกว่า เนือ้ หาวิชา เพื่อชว่ ยให้ผเู้ รียนสามารถเชือ่ มโยงความรู้ หรอื สร้างความรใู้ ห้เกิดข้ึนในตนเอง ด้วยการลงมอื ปฏิบัติจรงิ ผ่านสื่อหรือกิจกรรมการเรยี นรู้ที่มคี รผู สู้ อนเปน็ ผแู้ นะนำ กระตนุ้ หรอื อำนวยความสะดวก ให้ผเู้ รียนเกิดการเรยี นรู้ข้ึน โดยกระบวนการคิดขน้ั สูง (Higher order thinking) กลา่ วคือ ผู้เรียนมกี ารวิเคราะห์สงั เคราะห์ และการประเมินค่าจากสิง่ ที่

2 ได้รบั จากกิจกรรมการเรียนรู้ ทำให้การเรยี นรเู้ ป็นไปอย่างมีความหมาย และนำไปใช้ใน สถานการณอ์ ่ืนๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (สถาพร พฤฑฒกิ ลุ , 2558) ซึง่ สำนกั งาน คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน (2562, หน้า 26) ได้สรปุ ไว้วา่ การจดั การเรียนรเู้ ชงิ รกุ (Active Learning) ครูผสู้ อนต้องออกแบบกิจกรรมที่สะท้อนการพฒั นาผเู้ รียนใหเ้ กิดการ เรียนรู้ และเน้นการนำไปใช้ประโยชน์ในชวี ิตจรงิ โดยการสร้างบรรยากาศการมีสว่ นร่วม และการเจรจาโต้ตอบ ส่งเสริมให้ผู้เรยี นมีปฏิสัมพันธท์ ี่ดีกบั ผสู้ อนและเพือ่ นในชนั้ เรียน ลดบทบาทการสอนและการให้ความรู้โดยตรง เปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนมีสว่ นรว่ มในการ จัดระบบการเรียนรู้ แสวงหาความรู้และสร้างองค์ความรู้ดว้ ยตนเอง ออกแบบกิจกรรมการ เรียนรู้ให้เปน็ พลวตั (มีการเคลื่อนไหว/การขับเคลือ่ น) ส่งเสริมให้ผู้เรยี นมสี ่วนร่วมในทุก กิจกรรม กระตุ้นให้ผเู้ รียนค้นพบความสำเร็จในการเรียนรู้ สามารถนำความรคู้ วามเข้าใจ ไปประยุกตใ์ ช้สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินคา่ และคดิ สร้างสรรคส์ ิ่งต่างๆ โดย เช่อื มโยงกบั สภาพแวดล้อมใกล้ตัว ปญั หาของชุมชน สังคม หรือประเทศชาติ จดั การเรียนรู้ แบบร่วมมอื ส่งเสริมให้เกิดความรว่ มมอื ในกลุ่มผู้เรยี น วางแผนเกี่ยวกบั เวลาในจดั การ เรียนรู้อยา่ งชดั เจน รวมถึงเนื้อหาและกิจกรรม จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ท้าทาย เปิดโอกาส ให้ผู้เรยี นได้เรียนรจู้ ากวิธีการสอนที่หลากหลาย เปิดใจกว้างยอมรบั ในความสามารถ การ แสดงออกและการแสดงความคิดเห็นของผู้เรียน ผู้สอนควรทราบว่าผู้เรียนมคี วามถนัดที่ แตกต่างกัน และทราบความรพู้ ืน้ ฐานของผเู้ รียน ผสู้ อนควรสร้างบรรยากาศในการเรียน ให้ผู้เรยี นกล้าพดู กล้าตอบและมีความสขุ ในการเรียนรู้ ดงั น้ันการจัดการเรียนรู้ Active learning ให้สำเรจ็ ทีส่ ำคญั คือ ครจู ะต้องเปลี่ยนบทบาทจากผู้สอนมาเปน็ ผใู้ ห้คำแนะนำ ผชู้ ว่ ยเหลอื ผสู้ อนจะต้องคำนึงถึงการออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้ที่จะสามารถพัฒนา ผเู้ รียนใหเ้ กิดทกั ษะการเรียนรใู้ นด้านต่างๆ และควรเริ่มตน้ จากจดุ เล็ก (Start Small โดย เริม่ จากเทคนิคง่ายๆ และบางห้องเรียนที่รับผิดชอบ ควรคำนึงถึงการอำนวยความสะดวก ช่วยเหลอื ผเู้ รียนในแต่ละกระบวนการขั้นตอน ใหก้ ารจัดการเรียนรแู้ ละกิจกรรมต่างๆ ประสบความสำเร็จท้ังด้านกิจกรรม อุปกรณ์ เวลา ควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ หลากหลาย เช่น กิจกรรมกลุม่ ย่อย มกี ารสรปุ ทบทวนความรู้ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างกลมุ่ สำคัญคือต้องให้ผู้เรยี นได้ใชเ้ ทคโนโลยีเข้ามาเป็นส่วนหน่ึงของกิจกรรม ผลที่ เกิดจากการเรียนรู้แบบ Active learning จะทำให้ผเู้ รียนเรียนอยา่ งมีความสขุ ทำให้ผู้เรียน สามารถสร้างองคค์ วามรดู้ ้วยตนเอง ซึง่ แสดงถึงผลการเรียนรู้ของผเู้ รียน นำไปสูก่ ารเกิด ความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างผลงาน มีความสามารถในการสอ่ื สาร มคี วามเช่ือมน่ั ใน

3 ตนเอง ซึง่ เปน็ คณุ ลกั ษณะของผู้เรยี นทีพ่ ึงประสงค์ เป็นไปตามเป้าหมายการเรียนรู้ที่ กำหนดไว้ (วารินท์พร ฟนั เฟือ่ งฟู, 2562, หน้า 143) การจดั ศึกษาและการเรียนรู้ควรมีเป้าหมายสำคญั ในการพัฒนาคนในฐานะ พลเมอื งให้เปน็ มนุษย์ที่สมบรู ณท์ ้ังร่างกายและจติ ใจ สติปัญญา ความรแู้ ละคณุ ธรรม มีจริยธรรมและวฒั นธรรมในการดำรงชีวิตอยา่ งสมดลุ มีทักษะจำเปน็ และสามารถอยู่ ร่วมกบั ผอู้ ืน่ อยา่ งมคี วามสขุ มภี าวะผนู้ ำการเรียนรู้ดว้ ยตนเองอย่างต่อเน่อื งตลอดชีวิต โดย เน้นการเรยี นรู้เพือ่ สร้างเสริมแรงบนั ดาลใจให้มีชีวติ อยู่อยา่ งมีความหมาย การเรียนรเู้ พื่อ บม่ เพาะความคิดสร้างสรรค์ ความสามารถในการรังสรรค์สิ่งใหม่ๆ การเรียนรู้เพื่อปลูกฝงั จติ สาธารณะ ยึดประโยชน์สว่ นรวม และการเรียนรู้เพ่ือการนำไปปฏิบัติ มุ่งสร้างการ ทำงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์ เป็นพลเมืองที่มคี ุณภาพ พึ่งพาตนเองได้ และดำเนินชีวติ อย่างมี ความสุข ท้ังนี้ หลักสตู รและวิธีการจดั การศกึ ษาและการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ควรจดั ให้ ผเู้ รียนได้เรียนรแู้ ละพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่อื ง มิใช่การจดจำเนื้อหาวิชา เน้นการเรียนรทู้ ี่ เกิดจากความต้องการของผู้เรียนอย่างแท้จริงและลงมอื ปฏิบตั ิเพื่อใหเ้ กิดประสบการณต์ รง และตอ่ ยอดความรู้นั้นได้ดว้ ยตนเอง ผู้สอนต้องสามารถสร้างและออกแบบสภาพแวดล้อม ในการเรียนรู้ทีม่ บี รรยากาศเกือ้ หนุนและเอ้ือต่อการเรียนรู้อยา่ งมีเป้าหมาย การเช่ือมโยง ความรหู้ รอื แลกเปลี่ยนความรกู้ บั ชมุ ชนและสงั คมโดยรวม จัดการเรียนรู้ผ่านบริบทความ เปน็ จรงิ และการสร้างโอกาสใหผ้ เู้ รียนได้เข้าถึงส่ือเทคโนโลยี เครือ่ งมือ และแหล่งเรียนรทู้ ี่ มีคณุ ภาพ (สวุ ิธิดา จรงุ เกียรตกิ ลุ , 2561, ออนไลน)์ ตามพระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พทุ ธศักราช 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบบั ที่ 2) พทุ ธศักราช 2545 มาตรา 22 ระบวุ า่ การจัดการศกึ ษาต้องยึดหลกั ว่าผเู้ รียนทกุ คนมี ความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผเู้ รียนมคี วามสำคญั ที่สุด กระบวน การจดั การศกึ ษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรยี นสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเตม็ ตามศักยภาพ มาตรา 24 มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้สถานศกึ ษาและหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ดำเนนิ การ 1) จดั เนือ้ หาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนดั ของ ผเู้ รียน โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล 2) ฝึกทกั ษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ความรมู้ าใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปญั หา 3) จัด กิจกรรมให้ผู้เรยี นได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบตั ิให้คิดได้ คิดเปน็ ทำเป็น รักการอา่ น และเกิดการใฝ่รู้อยา่ งตอ่ เน่ือง 4) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระ ความรดู้ ้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดลุ กนั รวมท้ังปลูกฝังคณุ ธรรม ค่านิยมที่ดีงามและ

4 คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ไว้ในทกุ วิชา 5) สง่ เสริมสนบั สนนุ ให้ครสู ามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมสอ่ื การเรียน และอำนวยความสะดวกเพือ่ ให้เกิดการเรยี นรู้และมีความรอบ รู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการจัดการเรียนรู้ ท้ังน้คี รูและผู้เรยี น อาจเรียนรไู้ ปพร้อมกัน จากสื่อการเรียนการสอนและแหลง่ วทิ ยาการประเภทต่าง ๆ 6) จดั การเรียนรู้ใหเ้ กิดข้ึนได้ทกุ เวลา ทกุ สถานที่ มกี ารประสานความรว่ มมอื กับบิดา มารดา ผู้ปกครอง และบคุ คลในชุมชนทกุ ฝ่าย เพือ่ ร่วมกนั พฒั นาผเู้ รียนตามศกั ยภาพ (สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาแห่งชาติ, 2542, หน้า 13-14) สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2561) ที่มุ่งเน้นพัฒนา คุณภาพคนไทยยคุ ใหม่ ทีม่ ีนิสยั ใฝเ่ รยี นรู้ ต้ังแตป่ ฐมวยั สามารถเรียนรดู้ ้วยตนเองและ แสวงหาความรู้อยา่ งตอ่ เนอ่ื งตลอดชีวิต มีความสามารถในการส่อื สาร สามารถคิด วิเคราะห์ แก้ปญั หา คิดรเิ ริ่มสร้างสรรค์ มีจติ สาธารณะ มรี ะเบียบวินัย คำนึงถึงประโยชน์ ส่วนรวม สามารถทำงานเป็นกลมุ่ ได้อยา่ งเปน็ กัลยาณมิตร มีศีลธรรม คณุ ธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม มีจติ สำนึกและความภมู ิใจในความเป็นไทย ยึดมน่ั การปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ รังเกียจการทุจริตและตอ่ ต้านการซื้อ สิทธิ์ ขายเสียง สามารถก้าวทนั โลก มสี ุขภาพกาย สุขภาพใจทีส่ มบรู ณ์แข็งแรง เปน็ กำลังคนทีม่ ีคุณภาพ มีทกั ษะความรู้พ้ืนฐานที่จำเปน็ มีสมรรถนะ ความรู้ ความสามารถ สามารถทำงานได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ รวมท้ังมโี อกาสเรียนรอู้ ย่างเท่าเทียม เสมอภาค และพฒั นาคณุ ภาพครยู ุคใหม่ ทีเ่ ป็นผู้เอ้ืออำนวยให้ผเู้ รียนเกิดการเรยี นรู้ เป็นวิชาชีพที่มี คณุ ค่า มีระบบ กระบวนการผลิต และพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษาที่ มีคุณภาพมาตรฐานเหมาะสมกับการเปน็ วิชาชีพชั้นสงู สามารถดึงดูดคนเก่ง คนดี มใี จรกั ในวิชาชีพครมู าเปน็ ครู คณาจารย์ มปี ริมาณครู คณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา อย่างเพียงพอตามเกณฑ์ และสามารถจดั การเรียนการสอนได้อยา่ งมคี ุณภาพ มาตรฐาน ขณะเดียวกนั สามารถ พัฒนาตนเองและแสวงหาความรู้อย่างตอ่ เน่ือง มีสภาวิชาชีพที่ เข้มแข็ง บริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล เพือ่ พัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากร ทางการศึกษาให้มคี ุณภาพชีวติ ทีด่ ี มีความม่ันคงในอาชีพ มีขวญั กำลังใจ อยูไ่ ด้อย่างยัง่ ยืน (สำนักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา, 2552, หน้า 14-19) จากความสำคญั และปญั หาดงั กลา่ ว ผวู้ ิจยั จึงเหน็ ความจำเปน็ ในการพฒั นา สมรรถนะในการจัดการเรียนรเู้ ชงิ รกุ ของครูผสู้ อนภาษาอังกฤษระดบั ประถมศึกษา ในลักษณะการพัฒนาหลักสตู ร ให้สอดคล้องกับปญั หาที่เกิดขึน้ ในปจั จบุ ัน อกี ท้ังเป็นการ

5 เสริมสรา้ งความสามารถในการจดั การเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ และสง่ ผลต่อการ ยกระดบั คณุ ภาพผเู้ รียนให้สงู ข้ึนต่อไป คำถามของการวจิ ยั ในการวิจยั คร้ังนี้ผวู้ ิจยั ได้กำหนดคำถามของการวิจยั ไว้ดงั น้ี 1. สมรรถนะในการจัดการเรียนรเู้ ชงิ รุก ประกอบด้วยอะไรบ้าง อย่างไร 2. สภาพที่มอี ยู่จรงิ สภาพที่คาดหวัง และความต้องการจำเป็นเกี่ยวกบั สมรรถนะในการจัดการเรียนรเู้ ชงิ รกุ ของครูผสู้ อนภาษาอังกฤษระดบั ประถมศึกษา สงั กดั สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษานครพนม เขต 2 เป็นอยา่ งไร 3. หลักสตู รฝกึ อบรมเพือ่ เสริมสร้างสมรรถนะในการจัดการเรียนรเู้ ชิงรุก ของครูผู้สอนภาษาองั กฤษระดบั ประถมศึกษา สงั กัดสำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา ประถมศึกษานครพนม เขต 2 มอี งค์ประกอบอะไรบ้าง อยา่ งไร 4. ผลการทดลองใช้หลกั สตู รฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะในการ จดั การเรยี นรู้เชิงรกุ ของครูผสู้ อนภาษาอังกฤษระดบั ประถมศึกษา สงั กัดสำนกั งาน เขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษานครพนม เขต 2 ในประเด็นต่อไปนี้ 4.1 สมรรถนะด้านความรใู้ นการจัดการเรียนรเู้ ชิงรุกของครผู สู้ อน ภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา หลังการฝึกอบรมสูงข้ึนหรอื ไม่ อย่างไร 4.2 สมรรถนะด้านทักษะในการจดั การเรียนรเู้ ชิงรกุ ของครูผสู้ อน ภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา หลงั การฝึกอบรมเปน็ อยา่ งไร 4.3 สมรรถนะด้านคณุ ลกั ษณะในการจดั การเรยี นรู้เชิงรกุ ของครผู ู้สอน ภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา หลังการฝึกอบรมสูงข้ึนหรอื ไม่ อย่างไร 5. ความพึงพอใจของครูตอ่ การใชห้ ลกั สตู รฝึกอบรมเพื่อเสริมสรา้ ง สมรรถนะในการจดั การเรียนรเู้ ชงิ รกุ ของครูผสู้ อนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา สงั กัด สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษานครพนม เขต 2 หลงั การฝึกอบรมเปน็ อยา่ งไร

6 ความมงุ่ หมายของการวิจยั ในการวิจัยครั้งนี้ผวู้ ิจยั ได้กำหนดความมงุ่ หมายของการวิจัย ไว้ดังน้ี 1. เพื่อศกึ ษาองค์ประกอบของสมรรถนะในการจดั การเรียนรเู้ ชงิ รุกของครู สอนภาษาองั กฤษระดับประถมศึกษา 2. เพือ่ ศึกษาสภาพทีม่ อี ยจู่ ริง สภาพทีค่ าดหวงั ความต้องการจำเปน็ เกีย่ วกบั สมรรถนะในการจัดการเรียนรู้เชิงรกุ ของครผู ู้สอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา 3. เพือ่ พฒั นาหลักสตู รฝกึ อบรมเพือ่ เสริมสร้างสมรรถนะในการจดั การ เรียนรู้เชิงรกุ ของครผู ู้สอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา สงั กัดสำนกั งานเขตพืน้ ที่ การศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต 2 4. เพื่อศกึ ษาผลการทดลองใช้หลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะใน การจัดการเรียนรเู้ ชิงรกุ ของครูผสู้ อนภาษาองั กฤษระดับประถมศึกษา สังกัดสำนกั งานเขต พืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต 2 ในประเด็นต่อไปนี้ 4.1 เปรียบเทียบสมรรถนะด้านความรใู้ นการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ ของ ครูผสู้ อนภาษาองั กฤษระดับประถมศึกษาก่อนและหลังการฝึกอบรม และหลังการทดลอง เทียบกบั เกณฑท์ ี่ตงั้ ไว้ทีร่ ้อยละ 80 ของคะแนนเตม็ 4.2 เปรียบเทียบสมรรถนะดา้ นทักษะในการจัดการเรียนรเู้ ชงิ รุกของ ครูผสู้ อนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษาหลงั การฝกึ อบรมและเทียบกบั เกณฑท์ ี่ตั้งไว้ที่ ร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม 4.3 เปรียบเทียบสมรรถนะด้านคุณลักษณะในการจดั การเรียนรู้เชิงรกุ ของครผู ู้สอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษากอ่ นและหลงั การฝกึ อบรม 5. ศกึ ษาความพึงพอใจของครูตอ่ การใช้หลกั สตู รฝกึ อบรมเพือ่ เสริมสร้าง สมรรถนะในการจัดการเรียนรเู้ ชงิ รกุ ของครูผสู้ อนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษาหลงั การ ฝกึ อบรม

7 สมมตฐิ านของการวิจยั ในการวิจัยคร้ังนี้ผวู้ ิจัยได้ตั้งสมมตฐิ านของการวิจัย ไว้ดังน้ี 1. สมรรถนะด้านความรู้ในการจดั การเรียนรเู้ ชิงรุกของครูผสู้ อน ภาษาอังกฤษระดบั ประถมศึกษา หลงั การฝึกอบรมสูงกว่ากอ่ นการฝกึ อบรมอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติและมีคะแนนรวมมากกวา่ ร้อยละ 80 ของคะแนนเตม็ 2. สมรรถนะด้านทักษะในการจัดการเรียนรู้เชิงรกุ ของครูผู้สอน ภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา หลังการฝึกอบรมอยใู่ นระดบั ดีข้ึนไป และมีค่าเฉลี่ย ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 70 ของคะแนนเต็ม 3. สมรรถนะด้านด้านคุณลักษณะในการจัดการเรียนรู้เชิงรุกหลังการ ฝกึ อบรมสูงกว่ากอ่ นการฝกึ อบรม 4. ความพึงพอใจของครตู อ่ การใชห้ ลกั สตู รฝึกอบรมเพื่อเสริมสรา้ ง สมรรถนะในการจัดการเรียนรเู้ ชงิ รกุ ของครูผสู้ อนภาษาองั กฤษระดับประถมศึกษาอยใู่ น ระดบั มากขึ้นไป ความสำคัญของการวจิ ยั ในการวิจยั คร้ังนี้ผวู้ ิจัยได้กำหนดความสำคัญของการวิจัย ไว้ดงั น้ี 1. ได้หลกั สูตรฝกึ อบรมเพือ่ เสริมสรา้ งสมรรถนะในการจดั การเรยี นรู้เชิงรุก ของครูผู้สอนภาษาอังกฤษระดบั ประถมศึกษา สังกัดสำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษา ประถมศึกษานครพนม เขต 2 เพือ่ เสริมสร้างให้ครูผสู้ อนภาษาองั กฤษมีสมรรถนะในการ จัดการเรยี นรู้เชิงรุกเพิม่ ข้ึน และนำไปพฒั นาผเู้ รียนได้อย่างมีคุณภาพ 2. เป็นแนวทางในการพัฒนาหลกั สตู รฝกึ อบรมเพือ่ เสริมสร้างสมรรถนะใน การจดั การเรียนรเู้ ชิงรุก สำหรบั โรงเรยี นอื่น ๆ ทีม่ คี วามตอ้ งการพัฒนาสมรรถนะในการ จัดการเรยี นรู้เชิงรุก

8 ขอบเขตของการวจิ ัย ในการวิจยั คร้ังนี้ผวู้ ิจยั ได้กำหนดขอบเขตของการวิจัย ไว้ดังน้ี 1. ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง 1.1 ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่างที่ใชใ้ นการสำรวจปญั หาและความ ต้องการสมรรถนะ มดี ังน้ี 1.1.1 ประชากร คือ ครูผสู้ อนทีจ่ บวิชาเอกภาษาอังกฤษระดับ ประถมศึกษา สังกดั สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต 2 ปีการศกึ ษา 2564 จำนวน 203 คน 1.1.2 กลมุ่ ตัวอย่าง คือ ครผู ู้สอนทีจ่ บวิชาเอกภาษาอังกฤษระดบั ประถมศึกษา สังกดั สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต 2 ปีการศกึ ษา 2564 จำนวน 136 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสมุ่ แบบหลายขั้นตอน (Multi-stage Random Sampling) 1.2 ประชากรและกลุ่มตวั อย่างในการทดลองใชห้ ลักสูตร มีดงั นี้ 1.2.1 ประชากร คือ ครูผสู้ อนที่จบวิชาเอกภาษาอังกฤษระดบั ประถมศึกษา สังกดั สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต 2 ปีการศกึ ษา 2564 จำนวน 203 คน 1.2.2 กลุม่ ตัวอย่างในการทดลองใชห้ ลกั สูตร คอื ครูผู้สอนที่จบ วิชาเอกภาษาอังกฤษระดบั ประถมศึกษา สังกัดสำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา นครพนม ปีการศกึ ษา 2564 จำนวน 30 คน ที่ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จากครูผสู้ อนที่สมัครใจและยินดีเข้ารว่ มการฝกึ อบรม ไม่เคยเข้ารบั การ ฝกึ อบรมลักษณะนี้มาก่อน อยู่ในโรงเรียนทีม่ คี รเู พียงพอและจดั การเรียนการสอนระดบั ประถมศึกษาครบทกุ ช้ัน ผู้บริหารสถานศกึ ษามีความตระหนักและเห็นความสำคัญ ยินดีที่ จะอำนวยความสะดวกและสนับสนุนตลอดการฝึกอบรม 2. ตัวแปรที่ศึกษา ผวู้ ิจยั ได้พัฒนาหลกั สูตรฝกึ อบรมตามกระบวนการวิจยั ซึง่ แบง่ เปน็ 3 ระยะ โดยตวั แปรที่ศึกษาในระยะที่ 1 ถึงระยะที่ 3 มีดงั นี้ ระยะที่ 1 ศกึ ษาข้อมูลพืน้ ฐาน ตวั แปรทีส่ นใจศกึ ษา ได้แก่ 1. ความเหมาะสมและความเปน็ ไปได้ขององค์ประกอบสมรรถนะ ในการจดั การเรียนรเู้ ชิงรกุ ของครผู ู้สอนภาษาองั กฤษระดับประถมศึกษา

9 2. สภาพทีม่ อี ยู่จรงิ เกีย่ วกบั สมรรถนะการจดั การเรียนรู้เชงิ รกุ 3. สภาพทีค่ าดหวังเกี่ยวกับสมรรถนะการจัดการเรียนรู้เชงิ รกุ 4. ความตอ้ งการจำเปน็ ในการพัฒนาสมรรถนะในการจัดการ เรียนรู้เชงิ รุกของครูผู้สอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษาตอ่ การใช้หลักสูตรฝกึ อบรม ระยะที่ 2 การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม ตัวแปรที่สนใจศกึ ษา ได้แก่ 1. ความเหมาะสมและความสอดคล้องของรา่ งหลักสูตรฝกึ อบรม 2. ความเหมาะสมของรา่ งคู่มอื การใช้หลกั สูตรฝกึ อบรม ระยะที่ 3 การทดลองและศึกษาผลการทดลองหลกั สูตรฝึกอบรม ตัวแปรที่สนใจศกึ ษา ประกอบด้วย ตัวแปรต้น คือ การใช้หลักสูตรฝึกอบรมเพือ่ เสริมสร้าง สมรรถนะในการจัดการเรียนรเู้ ชงิ รกุ ของครูผสู้ อนภาษาอังกฤษระดบั ประถมศึกษา ตัวแปรตาม คอื 1. สมรรถนะในการจัดการเรียนรเู้ ชงิ รุก ได้แก่ 1.1 ด้านความรู้ 1.2 ด้านทักษะ 1.3 ด้านคุณลักษณะ 2. ความพึงพอใจตอ่ การใช้หลกั สูตรฝกึ อบรม 3. เนื้อหา หลักสตู รฝกึ อบรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะในการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ของครูผู้สอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา ประถมศึกษานครพนม เขต 2 ผวู้ ิจัยได้วิเคราะห์องคป์ ระกอบในการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ของครทู ้ังหมด 4 ดา้ น ได้แก่ 1) บทนำ 2) แนวคิดการจัดการเรียนรู้เชิงรุก 3) การออกแบบ และจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้เชงิ รกุ 4) กิจกรรมการจัดการเรยี นรู้เชิงรุก 5) การใช้สือ่ และแหล่งเรยี นรู้การจัดการเรียนรู้เชิงรกุ และ 6) การวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ เชงิ รุก 4. ระยะเวลาท่ใี ช้ในการวจิ ัย ผวู้ ิจัยได้กำหนดระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัยไว้ในปีการศกึ ษา 2565 ใน โรงเรียนระดบั ประถมศกึ ษา สังกัดสำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษานครพนม เขต 2

10 กรอบแนวคดิ ของการวิจยั ในการวิจยั คร้ังนีเ้ ปน็ การวิจัยและพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพือ่ เสริมสร้าง สมรรถนะในการจดั การเรียนรเู้ ชงิ รกุ ของครูผสู้ อนภาษาองั กฤษระดับประถมศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษานครพนม เขต 2 ครั้งนี้ ผวู้ ิจยั ศกึ ษาเอกสาร แนวคิดและหลักการทีเ่ กี่ยวข้องกบั สมรรถนะครู แนวคิดการจดั การเรียนรเู้ ชิงรกุ แนวคิด การพฒั นาหลักสูตรฝกึ อบรมฐานสมรรถนะ แนวคิดการพัฒนาหลกั สตู รฝกึ อบรม และ งานวิจัยที่เกีย่ วข้อง นำมาสังเคราะหเ์ พื่อให้ได้แนวคิดและหลกั การต่าง ๆ นำมาสู่กรอบ แนวคิดของการวิจยั ดังน้ี

11 แนวคิดการเรียนรเู้ ชิงรกุ ร่างสมรรถนะและตัวบง่ ชี้สมรรถนะในการ ผู้วิจัยและ เป็นกระบวนการเรียนรู้ทีเ่ น้นผู้เรียนเปน็ จดั การเรียนรู้เชิงรุก ผู้เชีย่ วชาญ สำคัญ ผู้สอนเปดิ โอกาสหรืออำนวยความ พิจารณาร่าง สะดวกให้ผู้เรียนมีสว่ นรว่ มใกระบวนการเรียนรู้ ความตอ้ งการจำเป็นเกี่ยวกับสมรรถนะและ สมรรถนะฯ หรือในการทำกิจกรรมการเรียนรู้ตา่ ง ๆ อย่าง ตวั บ่งชี้สมรรถนะในการจดั การเรยี นรเู้ ชิงรกุ ตืน่ ตวั ทั้งทางด้านรา่ งกาย สงั คม อารมณ์ และ ผ้วู ิจัยและ สติปญั ญา โดยเน้นกระตนุ้ ให้ผู้เรียนเกิดกระบวน ครผู ู้สอนความ การคิดข้ันสงู คือ คิดวิเคราะห์ สงั เคราะห์ และ ต้องการจำเป็น ประเมินค่า อีกทงั้ ผู้เรียนสามารถเชือ่ มโยง เกีย่ วกับสมรรถนะ ความรู้เดิมกบั ความรใู้ หม่ทีส่ รา้ งขึน้ ดว้ ยตนเอง องค์ประกอบสมรรถนะครผู ู้สอนภาษาองั กฤษ สมรรถนะครผู ู้สอนมี 3 ด้าน ประกอบด้วย ความรู้ ทกั ษะการปฏิบัติ และคุณลักษณะ การพัฒนาหลกั สตู รฐานสมรรถนะ ร่างหลักสูตรฝกึ อบรมเพือ่ สริมสรา้ ง ผวู้ ิจัยและ เปน็ การพัฒนาความสามารถของคนในการ สมรรถนะในการจัดการเรยี นรเู้ ชิงรุกของ ผ้เู ชีย่ วชาญ ทำงานในระบบฐาน โดยการนำสมรรถนะหรือ ครูผสู้ อนภาษาองั กฤษระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษา ประเมนิ ความ ความต้องการที่จำเปน็ สำหรับการทำงานมาใช้ เหมาะสมและ เป็นเนื้อหาของการฝึกอบรม เนือ้ หามี 7 หน่วยการเรียนรู้ ใช้เวลา 45 ความสอดคลอ้ ง ชว่ั โมง และ มี 8 องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่ ความ แนวคิดเกีย่ วกับการฝึกอบรม เปน็ มา หลกั การ จดุ มงุ่ หมาย สมรรถนะสำคญั ผู้วิจยั และ การฝึกอบรมมีความสำคญั ตอ่ การพัฒนา โครงสรา้ งเนือ้ หา กิจกรรมฝกึ อบรม สือ่ และ ผูเ้ ชี่ยวชาญ บคุ ลากรของทุกองคก์ รให้เปน็ ผู้ที่มีความรู้ ทกั ษะ แหลง่ เรียนรู้ และการวดั และประเมินผล ปรบั ปรงุ แกไ้ ขให้ และเจตคติทีด่ ใี นการปฏบิ ัติงานนนั้ ๆ ให้มี เป็นหลกั สูตรฉบับ ประสิทธิภาพ การฝึกอบรมทำใหบ้ ุคลากรได้ หลักสูตรฝึกอบรมเพือ่ เสริมสรา้ งสมรรถนะในการ สมบูรณ์พร้อมที่ พัฒนาความสามารถของตนเอง และเป็นการ จัดการเรียนร้เู ชิงรกุ ของครูผ้สู อนภาษาอังกฤษ จะนำไปทดลองใช้ สรา้ งขวัญและกำลังใจให้พนกั งานขององคก์ าร ให้เกิดความมน่ั คงการทำงาน ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษา ฉบบั สมบูรณ์ ผ้วู ิจยั และผเู้ ข้ารับ การอบรม ทดลองและศกึ ษาผลการทดลองใช้หลกั สูตรฝกึ อบรม ประเมนิ ผลและ สมรรถนะในการจัดการเรยี นรู้เชิงรกุ ประกอบด้วยสมรรถนะ ความพึงพอใจของครูผสู้ อน ปรับปรุงแกไ้ ข 3 ด้าน คือ ความรู้ ทกั ษะการปฏบิ ัติ และคณุ ลกั ษณะ ภาษาอังกฤษตอ่ การใชห้ ลักสูตร ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดของการวิจยั

12 นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ ในการวิจัยครั้งนี้ผวู้ ิจยั ได้นิยามศัพท์เฉพาะ ไว้ดังน้ี 1. หลักสูตรฝึกอบรมเพือ่ เสริมสรา้ งสมรรถนะในการจดั การเรียนรูเ้ ชิง รุก หมายถึง แนวทางการจัดประสบการณ์ให้แกค่ รูผสู้ อนทีเ่ ข้ารบั ฝกึ อบรม เพื่อให้มีความรู้ ทกั ษะการปฏิบัติ และคุณลักษณะในการจัดการเรียนรู้เชิงรุก โดยมีการกำหนดและ ออกแบบกิจกรรมการฝกึ อบรมให้สอดคล้องกับสิง่ ทีต่ ้องการใหบ้ รรลุผลและคาดหวังไว้ อยา่ งชดั เจน โดยยึดสมรรถนะเป็นฐานของการพัฒนาการฝึกอบรม ซึ่งองคป์ ระกอบของ หลกั สตู ร ประกอบด้วย ความเปน็ มา หลักการ จุดมงุ่ หมาย สมรรถนะสำคญั โครงสร้าง เนือ้ หา กิจกรรมฝกึ อบรม สื่อและแหลง่ เรยี นรู้ และ การวัดและประเมินผล 2. การจัดการเรียนรูเ้ ชิงรุก หมายถึง กระบวนการเรียนรู้ทีเ่ น้นผู้เรยี นเป็น สำคัญ ผู้สอนเปิดโอกาสหรืออำนวยความสะดวกให้ผเู้ รียนมีสว่ นรว่ มใกระบวนการเรียนรู้ หรอื ในการทำกิจกรรมการเรียนรู้ตา่ ง ๆ อย่างต่นื ตัว ท้ังทางดา้ นรา่ งกาย สังคม อารมณ์ และสติปัญญา โดยเน้นกระตุ้นใหผ้ เู้ รียนเกิดกระบวน การคิดขน้ั สูง คือ คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่า อีกท้ังผเู้ รียนสามารถเชื่อมโยงความรเู้ ดิมกบั ความรใู้ หม่ที่สร้าง ขึน้ ด้วยตนเอง ซึง่ ประกอบด้วย องคป์ ระกอบสำคัญ 4 องคป์ ระกอบ ดังนี้ การออกแบบและจัดทำแผนการจัดการเรียนร้เู ชิงรุก หมายถึง การ วิเคราะห์หลกั สตู รการเรียนรู้ การจัดทำกำหนดการสอน การกำหนดเวลาในการจัดการ เรียนรู้ การกำหนดเป้าหมายการจัดการเรยี นรู้ การกำหนดรูปแบบของการจดั การเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการจัดการเรียนร้ชู งิ รุก หมายถึง การจดั การเรยี น การสอนทีเ่ น้นนักเรียนมีสว่ นรว่ มในการจัดการเรียนการสอนมกื ารลงมอื ปฏิบตั ิมีการ อภปิ ราย ชกั ถาม มกี ิจกรรมที่นกั เรียนได้แสวงหาความรดู้ ้วยตนอง การใชส้ ือ่ เทคโนโลยีในการจดั การเรียนรเู้ ชิงรกุ หมายถึง การคำเนิน การจัดหาวัสดุ อปุ กรณว์ ิธีการ เครอ่ื งมอื ที่จะช่วยสนบั สนุนให้ผู้เรยี นเกิดการเรียนรู้ได้ อยา่ งรวดเร็วมาใช้ใน การจัดการเรียนรู้ตลอดหนถึงการปรับปรุงส่งิ ของหรอื วิรกี ารเหลา่ นน้ั ให้มสี ามารถใช้งานได้อย่างเหมาะสมมากอิงข้ึน การวดั ผลประเมินผลการจัดการเรียนรเู้ ชิงรุก หมายถึง การ ดำเนนิ การจดั เกบ็ รวบรวมข้อมลู ความสามารถจากการเรียนรู้ขงิ ผู้เรยี นด้วยวิธีการที่ หลากหลาย ผเู้ รียน ผู้ปกครอง และเพือ่ น ได้มสี ่วนรว่ มในการวดั ผลประเมินผล มีการ

13 ตรวจสอบการเรียนรู้ของผู้เรียน ด้วยการปฏิบตั ิจริงมีการนำผลการตรวจสอบไปใช้ในการ พัฒนาคณุ ภาพของผู้เรยี นใหด้ ียิง่ ขนึ้ 3. สมรรถนะการจัดการเรียนรู้เชิงรุก หมายถึง ความสามารถเชิง พฤติกรรมของของครูผู้สอน โดยใช้ความรู้ ทกั ษะและคุณลักษณะเปน็ ตวั ผลักดนั ให้ ครผู สู้ อนนั้นจดั กิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นให้นักเรียนได้มีสว่ นร่วม โดยเปิดโอกาสให้ นักเรียนได้ลงมอื ปฏิบตั ิ แลกเปลีย่ นเรียน สรา้ งองค์ความรดู้ ้วยตนเองมากกวา่ การ บรรยายความรู้ หรอื เป็นไปตามเกณฑ์ทีก่ ำหนด ส่งผลใหก้ ารดำเนินงานบรรลตุ าม วตั ถปุ ระสงค์ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล 4. ความตอ้ งการจำเป็นเกี่ยวกบั สมรรถนะในการจัดการเรียนรูเ้ ชิงรุก หมายถึง สภาพทีเ่ ปน็ อยแู่ ละสภาพที่ควรจะเปน็ เกี่ยวกับสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ เชงิ รกุ ของครผู ู้สอนภาษาองั กฤษระดบั ประถมศึกษา ซึง่ เป็นผลทีเ่ กิดจากกระบวนการ วิเคราะหค์ วามแตกต่างของสภาพที่เปน็ อยแู่ ละสภาพทีค่ วรจะเปน็ เกี่ยวกับสมรรถนะด้าน การจดั การเรียนรเู้ ชิงรุกของครูผสู้ อนภาษาองั กฤษ 5. การพัฒนาหลกั สตู รฝึกอบรมเพื่อเสริมสรา้ งสมรรถนะในการ จดั การเรียนรูเ้ ชิงรกุ หมายถึง กระบวนการดำเนินงาน เพือ่ ใหไ้ ด้มาซึ่งหลกั สูตรฝึกอบรม และคมู่ ือการใช้หลกั สตู รฝกึ อบรม จากการศกึ ษา สมรรถนะด้านการจดั การเรียนรู้เชิงรกุ และความตอ้ งการจำเปน็ ในการพฒั นาสมรรถนะ เพื่อสร้างหลกั สูตรฝึกอบรมที่ตอบสนอง ความตอ้ งการดังกล่าว แล้วนำหลักสูตรไปใช้อบรมครผู ู้สอนภาษาอังกฤษ และนำความรู้ จากการอบรมไปปฏิบตั ิจริงในช้ันเรียน อกี ท้ัง ติดตามและประเมินผลการใช้ และปรบั ปรุง แก้ไขหลักสตู ร โดยแบ่งการพัฒนา หลกั สูตร เปน็ 3 ระยะ ดงั น้ี ระยะที่ 1 ศกึ ษาข้อมูล พืน้ ฐาน ระยะที่ 2 พัฒนาหลักสตู รฝกึ อบรม และระยะที่ 3 ทดลองและศกึ ษาผลการ ทดลองใช้หลกั สูตรฝกึ อบรม 6. ความพึงพอใจตอ่ การใช้หลักสตู รฝึกอบรม หมายถึง ระดบั ความรสู้ ึก ชอบ หรอื พอใจของครู ในการใชห้ ลกั สตู รฝึกอบรมเพือ่ เสริมสร้างสมรรถนะในการจัด การเรียนรเู้ ชิงรกุ ซึ่งวดั ได้จากแบบสอบถามที่ผู้วจิ ัยพัฒนาขนึ้

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกย่ี วข้อง การศกึ ษาครั้งน้ีผู้วิจยั ได้ศกึ ษาค้นคว้าเอกสารและงานวิจยั ที่เกีย่ วข้องกับ หลักสตู รฝกึ อบรมเพือ่ เสริมสร้างสมรรถนะในการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูผสู้ อน ภาษาอังกฤษระดับชั้นประถมศกึ ษา สงั กดั สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา นครพนม เขต 2 โดยสามารถสรปุ สาระสำคัญตามลำดับ ดงั นี้ 1. แนวคิดการจัดการเรียนรู้เชงิ รุก 1.1 ความหมายของการเรียนรเู้ ชงิ รกุ 1.2 หลกั การจัดการเรียนรู้เชิงรกุ 1.3 ลกั ษณะของการเรยี นรู้เชิงรุก 1.4 ข้ันตอนการจดั การเรยี นรู้เชิงรกุ 1.5 แนวทางจัดการเรียนรู้ของการเรยี นรู้เชิงรุก 1.6 บทบาทของผู้สอนและผู้เรียนในการจัดการเรียนรู้เชิงรกุ 1.7 ประโยชน์ของการจัดการเรียนรู้แบบ Active learning 1.8 งานวิจัยทีเ่ กีย่ วกับการจัดการเรียนรู้เชิงรกุ 2. แนวคิดเกีย่ วกับสมรรถนะ 2.1 ความหมายของสมรรถนะ 2.2 องคป์ ระกอบของสมรรถนะ 2.3 ประเภทของสมรรถนะ 2.4 การประเมินสมรรถนะ 2.5 การพฒั นาสมรรถนะครู 2.6 สมรรถนะครู 2.7 สมรรถนะครูผสู้ อนโดยทั่วไป 2.8 สมรรถนะผปู้ ระกอบวิชาชีพครูตามประกาศของคุรุสภา 2.9 สมรรถนะครูของสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน 2.10 สมรรถนะของครผู ู้สอนในศตวรรษที่ 21 2.11 องคป์ ระกอบสมรรถนะครู

15 2.12 งานวิจยั ที่เกีย่ วกับการพัฒนาสมรรถนะครู 3. แนวคิดเกีย่ วกับการพัฒนาหลกั สตู ร 3.1 ความหมายของหลักสูตร 3.2 ความหมายของการพัฒนาหลกั สตู ร 3.3 ความสำคญั ของหลกั สูตร 3.4 องค์ประกอบของหลักสูตร 3.5 ประเภทของหลกั สูตร 3.6 รปู แบบการพัฒนาหลักสตู ร 3.7 กระบวนการพัฒนาหลักสตู ร 3.8 การประเมินหลักสูตร 3.9 แนวคิดการพัฒนาหลกั สูตรฐานสมรรถนะ 4. แนวคิดเกี่ยวกบั การฝกึ อบรม 4.1 ความหมายของการฝึกอบรม 4.2 ความสำคญั ของการฝกึ อบรม 4.3 ประเภทของการฝกึ อบรม 4.4 เทคนิควิธีการฝกึ อบรมและขั้นตอนการฝกึ อบรม 4.5 งานวิจยั ที่เกี่ยวกบั หลักสตู รฝกึ อบรม แนวคิดการจัดการเรียนรู้เชิงรกุ 1. ความหมายของการเรียนรเู้ ชิงรกุ นักการศกึ ษาหลายท่าน ได้ให้ความหมายของการเรยี นรู้เชงิ รุก (Active learning) ทีแ่ ตกต่างกนั ไป ดังน้ี บหุ งา วัฒนะ (2546, หนา้ 30-31) ได้ให้ความหมายของการเรยี นรู้เชิงรุก หมายถึง กระบวนการเรียนรู้ทีใ่ ห้นักเรียนได้เรียนรอู้ ยา่ งมคี วามหมาย โดยการ ร่วมมอื ระหว่างนกั เรียนด้วยกัน ในการน้ี ผสู้ อนต้องลดบทบาทในการสอน และการให้ขอ้ ความรู้ แก่ ผู้เรยี นโดยตรง แต่ไปเพิ่มกระบวนการและกิจกรรมทีจ่ ะทำให้ผู้เรียนเกิดความ กระตอื รอื ร้นในการที่จะทำกิจกรรมต่างๆ มากขึ้นอยา่ งหลากหลาย ไม่วา่ จะเปน็ การ แลกเปลี่ยนประสบการณโ์ ดยการพดู การ เขียน หรอื การอภปิ รายกบั เพือ่ นๆ

16 อาภรณ์ ใจเที่ยง (2553, หน้า 100) ได้ให้ความหมายของการจัดการเรียนรู้ เชงิ รกุ ไว้วา่ การจัดการเรียนรู้เชิงรุก คือ กระบวนการที่เน้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญ ผเู้ รียนจะเป็น ผปู้ ฏิบัติ ได้คิด ค้นคว้า อภิปรายและสรปุ พร้อมทั้งได้นำความรไู้ ปใช้ในสถานการณ์ใหม่ สพุ ิษ ชยั มงคล (2556, หนา้ 56) ได้ให้ความหมายของการเรียนรู้เชิงรุก หมายถึง การจดั การเรียนรู้ที่เน้นให้นกั เรียนได้ลงมือปฏิบัติ เพือ่ ให้เกิดการเรยี นรู้ที่ลมุ่ ลึก โดยเป็นการเรียนรทู้ ีผ่ ู้เรยี นสามารถเชื่อมโยงความรเู้ ดิมกับความรใู้ หมท่ ีส่ ร้างข้ึนด้วยตนเอง แพทยศาสตร์ศกึ ษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (2559, หนา้ 2) ได้ให้ ความหมายของการเรียนรู้เชิงรกุ ไว้ว่า การเรียนรู้เชิงรกุ เปน็ การเรียนรทู้ ี่เปิดโอกาสให้ ผเู้ รียน ได้ลงมือกระทำกิจกรรม มีท้ังทักษะทั้งในเชิงความคิด และเทคนิควิธีที่จะใช้ ปฏิบตั ิงานและแก้ปัญหาในชีวติ จริง ผู้เรียนสามารถพูดคุยและเขียนสื่อสารในสิง่ ทีเ่ รียน วิจารณ์โต้แย้ง ระหว่างเพื่อนและอาจารยผ์ สู้ อนได้ ผู้เรียนยงั สามารถจดั ระบบการคิด และ สร้างวินยั ต่อกระบวนการแก้ปัญหา รบั ผิดชอบตอ่ การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง พิมพันธ์ เดชะคุปตแ์ ละพเยาว์ ยินดีสุข (2560, หน้า 94) ได้ให้ความหมาย ของการจัดการเรียนรู้เชิงรุก คอื กิจกรรมการเรียนรู้ทีเ่ ปิดโอกาสใหผ้ ู้เรียนได้ฟังพดู อ่าน เขียน และแสดงความคิดเห็นขณะลงมอื ทำกิจกรรมโดยขณะที่ผู้เรยี นปฏิบตั ิกิจกรรมผู้เรยี น ต้องใช้กระบวนการคิดขน้ั สูง คือ การคิดวิเคราะห์ การคิดสงั เคราะห์ และการประเมินค่า ณฐั วดี ธาตุดี (2561, หน้า 41) ได้ให้ความหมายของการจดั การเรยี นรู้เชิงรุก หมายถึง กระบวนการเรียนรู้ทีเ่ น้นผู้เรยี นเปน็ ศนู ยก์ ลาง โดยผเู้ รียนจะได้ร่วมคดิ วิเคราะห์ อภปิ ราย ฝกึ ทกั ษะการอ่าน เขียน ฟังดแู ละพดู นำเสนอซึง่ กระบวนการเรียนรู้เชิงรุกจะเปิด โอกาสใหผ้ เู้ รียนได้มปี ฏิสัมพันธ์กบั เพื่อน ๆ ในชนั้ เรียน และผู้สอนรวมท้ังผเู้ รียนจะได้ลงมอื เรียนรู้จากการปฏิบัติจรงิ ทำให้เกิดการเรยี นรู้ที่แบบเข้าใจและเปน็ ความรทู้ ี่คงทนมากกว่า การเรียนรจู้ ากความจำหรอื ฟงั บรรยาย กชภัทร์ สงวนเครือ (2562, หนา้ 84) ได้ให้ความหมายของการจัดการ เรียนรู้เชิงรุก หมายถึง กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นการจัดการเรียนรู้ด้วย เทคนิควิธีทีห่ ลากหลาย โดยใหค้ วามสำคญั กับผเู้ รียนให้ผู้เรยี นได้เข้ามามีส่วนร่วมใน กระบวนการ เพื่อใหเ้ กิดปฏิสัมพนั ธ์ระหว่างผสู้ อนกบั ผเู้ รียนและผู้เรยี นด้วยกันเอง เน้นการ เรียนรู้จากการลงมอื ปฏิบัติจรงิ และใช้การสนทนาแลกเปลีย่ นเรียนรู้ เพือ่ ให้ผู้เรยี นสามารถ สร้างองค์ความรู้ข้นึ ได้ด้วยตนเองและสามารถนำไปใช้ในสถานการณอ์ ่ืน ๆ ได้ บทบาทของ

17 ผสู้ อนเปน็ เพียงผู้อำนวยความสะดวก และเปน็ ผู้วางแผนในการจัดกิจกรรมในชน้ั เรียน เทา่ นั้นในการจดั การเรียนรู้แบบ Active learning สามารถสร้างให้เกิดขนึ้ ได้ท้ังในห้องเรียน และนอกห้องเรียนรวมทั้งสามารถใช้ได้กบั นกั เรียนนักศึกษาทุกระดบั ทั้งการเรียนรู้เป็น รายบุคคล การเรียนรู้แบบกล่มุ เลก็ และการเรียนรู้แบบกลมุ่ ใหญ่ กนกวรรณ ฉตั รแก้ว (2562, หนา้ 25) ได้ให้ความหมายของการจัดการ เรียนรู้เชิงรกุ ว่า เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการสรา้ งสรรคท์ างปัญญา (Constructivism) ทีเ่ น้นการเรียนมากกว่าการสอน ผู้เรยี นเป็นศนู ยก์ ลางในการเรียนรู้ ปฏิบัติดว้ ยตนเอง เรียนรู้แบบกล่มุ กระตุ้นให้ผเู้ รียนมีความสนใจในการเรียน เกิดการ เรียนรู้ดว้ ยตนเอง ใช้กระบวนการเรียนขน้ั สูง ได้แก่การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมิน คา่ การใช้เทคนิคการเรยี นรู้ที่หลากหลาย รจู้ ักการเผชิญหน้ากบั สถานการณจ์ ริง สามารถ เชอ่ื มโยงความรู้ ความคิด และจินตนาการเข้าด้วยกนั ได้อยา่ งมีเหตุมผี ล และเกิดแรง บนั ดาลใจในการเรียน วาสนา บญุ มาก (2562, หน้า 77) ได้ให้ความหมายของการเรยี นรู้เชิงรกุ ว่า เปน็ กิจกรรมทีผ่ เู้ รียนมสี ่วนร่วมในการเรียนด้วยกิจกรรมต่าง ๆ ทีห่ ลากหลายวิธี ด้วยการ ลงมอื ปฏิบตั ิ ผา่ นการฟัง พูด อา่ น และเขียน โดยเน้นกระตุ้นให้ผเู้ รียนเกิดกระบวนการคิด ขั้นสูง คอื คิดวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ และประเมินคา่ วารนิ ท์พร ฟันเฟือ่ งฟู (2562, หนา้ 138) ได้ให้ความหมายของการจดั การ เรียนรู้เชิงรกุ ว่า การจัดการเรียนรแู้ บบ Active learning เป็นกระบวนการจดั กิจกรรมการ เรียนรู้ ทีใ่ ห้ผู้เรียนได้มสี ่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรทู้ กุ ข้ันตอน โดยลงมอื ปฏิบตั ิใน กิจกรรมการเรียนรู้และเป็นศนู ย์กลาง ในการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ มพี ฤติกรรมที่ แสดงออกถึงความรบั ผดิ ชอบรว่ มกันในกระบวนการเรียนรใู้ ช้กระบวนคิดขั้นสงู (Higher order thinking) ในการแก้สถานการณ์ปญั หาอยา่ งเปน็ ระบบอยา่ งสร้างสรรค์nสามารถใช้ การปฏิสัมพันธ์ร่วมกนั แลกเปลี่ยนเรียนรู้สะท้อนผลของการเรียนรรู้ ะหว่างผู้เรยี นด้วย กนั เองและระหว่างผเู้ รียนกับผสู้ อน จนสามารถสร้างองคค์ วามรู้จากกิจกรรมการเรียนรไู้ ด้ ด้วยตนเองและสง่ ผลใหผ้ เู้ รียนบรรลตุ ามผลลพั ธท์ ีพ่ ึงประสงค์ อันเป็นคุณลกั ษณะของคน ไทย 4.0 ตามมาตรฐานการศกึ ษาของชาติทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ 1) เปน็ ผู้เรยี นรู้ 2) เป็นผู้ร่วม สร้างสรรคน์ วตั กรรมและ 3) เปน็ พลเมืองที่เข้มแข็ง ลีลาวดี ชนะมาร (2563, หน้า 34) ได้ให้ความหมายของการจัดการเรียนรู้ เชงิ รกุ หมายถึง กระบวนการจัดการเรยี นรู้ทีเ่ น้นผู้เรยี นเปน็ สำคญั โดยผู้สอนจะจัด

18 กิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายและเปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนได้ลงมือปฏิบตั ิกิจกรรมด้วย ตนเอง ผา่ นกระบวนการกลุ่มหรอื รายบุคคล ส่งผลใหผ้ เู้ รียนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและ กนั อีกท้ังผเู้ รียนได้ใชก้ ระบวนการคิดขนั้ สูง คือ การคิดวิเคราะห์การคิดสังเคราะห์ และ การประเมนิ ค่า ซึ่งการจดั การเรียนรู้เชิงรกุ จะช่วยให้ผเู้ รียนสามารถสร้างความรไู้ ด้ด้วย ตนเอง Bonwell and Eison (1991, pp.1-2) ได้ให้ความหมายของการจัดการเรียนรู้ เชงิ รกุ ไว้วา่ การจดั การเรียนรู้เชิงรุก เป็นการจดั การเรียนรทู้ ีเ่ ปิดโอกาสให้ผู้เรยี นได้พดู ฟัง อา่ น เขียน และแสดงความคิดเหน็ ขณะลงมอื ปฏิบตั ิกิจกรรมในกระบวนการแก้ปัญหา การ อภปิ รายกลุ่มย่อยแบบไม่เป็นทางการ สถานการณจ์ ำลอง กรณีศกึ ษา การแสดงบทบาท สมมุติ และกิจกรรมอ่นื ๆซึ่งผู้เรยี นต้องประยุกต์ใช้ส่ิงที่ได้เรียนรู้ในการทำกิจกรรมดงั กลา่ ว ด้วย Mayer and Jones (1993, p. 6) ได้ให้ความหมายของการจดั การเรียนรู้เชิง รุกไว้ว่า เปน็ การเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรยี นประยุกตข์ ้อมลู สารสนเทศมโนทศั น์ หรอื ทกั ษะใหม่ๆ ในการเรียนรู้ เป็นความรู้ทีเ่ กิดจากประสบการณ์ การสร้างสรรค์ การทดสอบ และปรับปรุงแก้ไขของผู้เรยี น Petty (2004, อ้างถึงใน วาสนา บญุ มาก, 2562, หนา้ 76) กลา่ วว่า การ จดั การเรยี นรู้เชิงรุก เป็นการจัดการเรยี นรู้ที่ให้โอกาสผู้เรียนได้มปี ฏิสมั พนั ธก์ ัน ผสู้ อนจะ เป็นผู้สนบั สนนุ ให้ผู้เรียนเกิดการเรยี นรู้มากกวา่ การที่ผู้เรียน จะได้รบั ความรจู้ ากการ บรรยายเพียงอย่างเดียว Silberman and Auerbach (2006, p. 10-11) ได้ให้ความหมายการเรียนรู้เชิง รกุ Active learning เปน็ การจดั การเรยี นรู้ที่เน้นกระบวนการกลุม่ โดยผเู้ รียนจะร่วมมอื กัน และนำความรู้ไปสกู่ ารปฏิบัติ Felder & Brent (2009, p. 2) กลา่ ววา่ การจัดการเรียนรเู้ ชงิ รกุ คือสิง่ ที่ เกีย่ วกับการจดั การเรียนรู้ที่ทำให้นักเรียนทุกคนในห้องเรียนได้ทำมากกว่าฟังและจดบันทึก สรุปได้ว่า การเรียนรู้เชิงรกุ หมายถึง กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรยี นเป็น สำคัญ ผู้สอนเปิดโอกาสหรืออำนวยความสะดวกให้ผเู้ รียนมีสว่ นรว่ มใกระบวนการเรียนรู้ หรอื ในการทำกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ อย่างตน่ื ตวั ท้ังทางดา้ นร่างกาย สังคม อารมณ์ และสติปญั ญา โดยเน้นกระตุ้นใหผ้ เู้ รียนเกิดกระบวนการคิดขนั้ สงู คือ คิดวเิ คราะห์

19 สงั เคราะห์ และประเมินค่า อีกท้ังผเู้ รียนสามารถเชื่อมโยงความรเู้ ดิมกับความรใู้ หม่ทีส่ ร้าง ขึน้ ด้วยตนเอง 2. หลกั การจดั การเรียนรู้เชิงรกุ สภุ ามาศ บุญเชิด (2555, หน้า 33) กล่าวถึงหลักการเรียนรู้เชงิ รุก ไว้ว่า เป็นการเรียนรทู้ ี่ผู้สอนถ่ายทอดความรใู้ ห้ผเู้ รียนน้อยลงเพื่อพฒั นาทกั ษะให้เกิดกบั ผเู้ รียน โดยมีลกั ษณะผเู้ รียนทำงานเป็นกลมุ่ มสี ่วนร่วมในการเรียนรู้ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รู้จักแก้ปัญหามกี ารพฒั นาทักษะการคิดขนั้ สงู มคี วามกระตอื รอื ร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม มีปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งผู้สอน เพื่อน สอ่ื และภาษาจากผู้เรียนที่พูดกบั สิ่งทีต่ นเองกระทำ วาสนา เจริญไทย (2557, หน้า 28) ได้กล่าวถึงหลักการเรียนรู้เชิงรุกไว้วา่ เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรทู้ ีห่ ลากหลาย เพือ่ ชว่ ยใหผ้ เู้ รียนได้พัฒนาตนเองผ่านการ เรียนรู้ที่ผู้เรยี นได้มสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมตา่ ง ๆ โดยไมเ่ น้นการแข่งขันแต่เปน็ การเรียนรทู้ ี่เน้น ความร่วมมอื ระหว่างผู้เรยี น ทำให้ความรู้เกิดจากประสบการณแ์ ละการสร้างความรู้โดย ผเู้ รียน ซึง่ ผสู้ อนเป็นเพียงผู้อำนวยความสะดวกให้ผเู้ รียนเกิดการเรยี นรู้ และได้รบั ข้อมูล ป้อนกลบั จากการสะท้อนความคิด พฤทธิวรรณ ชว่ งพิทกั ษ์ (2560, หน้า 25) ได้กล่าวถึงหลกั การเรียนรู้เชิงรุก ไว้วา่ เป็นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ทีห่ ลากหลาย เพื่อช่วยใหผ้ เู้ รียนได้พฒั นาตนเองผ่าน การเรียนรทู้ ีผ่ ู้เรยี นได้มสี ่วนรว่ มในกิจกรรมต่างๆ โดยไมเ่ น้นการแขง่ ขนั แต่เป็นการเรียนรู้ที่ เน้นความร่วมมอื ระหว่างผู้เรียน ทำใหค้ วามรเู้ กิดจากประสบการณ์และการสร้างความรู้ โดยผู้เรยี น ซึง่ ผสู้ อนเปน็ เพียงผอู้ ำนวยความสะดวกให้ผเู้ รียนเกิดการเรยี นรู้ และได้รบั ข้อมูลป้อนกลับจากการสะท้อนความคิด นพดล ยิ่งรกั ชยั (2561, หน้า 28) ได้กล่าวถึงหลักการเรียนรเู้ ชงิ รกุ ไว้ว่า เป็น การพฒั นาทกั ษะให้เกิดกับผเู้ รียนเป็นการเรียนรทู้ ี่ครูผู้สอนถา่ ยทอดความรู้ใหก้ ับผเู้ รียน น้อยลง โดยลักษณะการเรียนรู้ผู้เรยี นทำงานเปน็ กลุ่ม มีสว่ นร่วมในการเรียนรู้ แสวงหา ความรดู้ ้วยตนเอง มีปฏิสัมพันธร์ ะหว่างครูผสู้ อน เพือ่ น ส่อื และภาษา แพรทิพย์ พูดเพราะ (2561, หนา้ 18) ได้กล่าวถึงหลักการเรียนรู้เชิงรุก ไว้ว่า หลกั การของการเรียนรู้แบบ Active learning มีดงั น้ี 1) ผเู้ รียนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม ต่าง ๆ ดว้ ยการลงมอื ปฏิบัติจรงิ นำไปสู่การสร้างองคค์ วามรู้ดว้ ยตนเอง 2) ผเู้ รียนได้ ร่วมกนั แก้ปญั หาจากสภาพจรงิ โดยกระบวนการกล่มุ 3) ผู้เรยี นมีปฏิสมั พันธร์ ะหว่างผู้สอน และเพือ่ นในชั้นเรยี น จากการทำ กิจกรรมในชั้นเรียน 4) ผู้เรยี นมีความกระตือรอื ร้นในการ

20 ทำกิจกรรม 5) ผเู้ รียนได้พัฒนาทกั ษะกระบวนการคิดขั้นสงู 6) ครูผสู้ อนเป็นผกู้ ระตุ้นและ อำนวยความสะดวกในการทำกิจกรรม จันทิมา มีลา (2562, หนา้ 16) ได้กลา่ วถึงหลกั การเรียนรู้เชิงรุก ไว้ว่า หลกั การในการเรียนรู้เชิงรุก เปน็ การเรียนการสอนทีพ่ ัฒนาศกั ยภาพทางสมอง ได้แก่ การ คิดการแก้ปญั หาและการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ เปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนมีส่วนร่วมใน กระบวนการเรียนรู้สูงสดุ มีการสรา้ งสถานการณ์ให้ผเู้ รียนอ่านพดู ฟังคิดอยา่ งลุ่มลึก ผเู้ รียนจะเปน็ ผู้จดั ระบบการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง โดยผสู้ อนจะเปน็ ผู้อำนวยความสะดวกใน การจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผเู้ รียนเปน็ ผู้ปฏิบัติด้วยตนเอง ความรเู้ กิดจากประสบการณก์ าร สร้างองค์ความรู้และการสรุปทบทวนของผู้เรยี น เฉลิมพล สุปญั ญาบตุ ร (2562, หนา้ 44) ได้กล่าวถึงหลักการเรียนรู้เชิงรุก ไว้ว่า เป็นการเรียนรทู้ ี่มุ่งลดการถา่ ยทอดความรจู้ ากผู้สอนสู่ผเู้ รียนใหน้ ้อยลง และพัฒนา ทักษะให้เกิดกบั ผเู้ รียน ผู้เรียนมีส่วนร่วมมปี ฏิสัมพันธ์ในชั้นเรยี น ลงมอื กระทำมากกวา่ น่ัง ฟงั เพียงอยา่ งเดียว มีสว่ นร่วมในการเรียนการสอนทั้งในด้านการสร้างองค์ความรู้ การ สร้างปฏิสัมพันธ์รว่ มกนั และร่วมมอื กนั มากกวา่ การแข่งขนั เปน็ กิจกรรมการเรียนการสอน ทีเ่ น้นทกั ษะการคิดขนั้ สูง การเรียนรู้ที่เกิดจากประสบการณข์ องผู้เรยี น โดยผเู้ รียนสร้าง ความรไู้ ด้ดว้ ยตนเองโดยการแลกเปลีย่ นความรู้ ตลอดจนมโี อกาสประยกุ ต์ใช้ความรู้ Mayer and Jones (1993 อ้างถึงใน สุภทั รา ภูษิตรัตนาวลี 2560, หน้า 11) กลา่ วถึงหลกั การของการเรียนรู้เชงิ รุกว่าประกอบด้วยลักษณะสำคัญ คอื 1. เป็นการเรียนรทู้ ี่มุ่งการถ่ายทอดความรู้จากผสู้ อนสู่นกั เรียนให้นอ้ ยลง ผสู้ อนจะเป็นผู้อำนวยความสะดวกในการจดั การเรีนรู้ เพื่อให้นกั เรียนเป็นผู้ปฏิบตั ิด้วย ตนเองจัดระบบการเรียนรดู้ ้วยตนเอง 2. เปน็ การเรียนรทู้ ี่เปิดโอกาสให้นักเรียนมีสว่ นรว่ มในกระบวนการเรียนรู้ สงู สดุ นกั เรียนมสี ่วนร่วมในช้ันเรยี นโดยลงมอื กระทำมากกวา่ นั่งฟังเพียงอย่างเดียว เชน่ อ่าน อภปิ ราย เขียน เป็นต้น 3. เป็นกิจกรรมการเรียนการสอนเน้นทกั ษะการคิดขั้นสูง นักเรียนได้ พัฒนาการคิดระดบั สูง คือ การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินผลการนำไปใช้ 4. นกั เรียนมสี ่วนรว่ มในการเรียนรู้ท้ังในด้านการสร้างองคค์ วามรู้ การ สร้างปฏิสมั พันธ์รว่ มกัน และรว่ มมอื กันมากกวา่ การแข่งขนั

21 5. เปน็ กิจกรรมทีเ่ ปิดโอกาสใหน้ กั เรียนบรู ณาการข้อมูล ขา่ วสาร สารสนเทศ และหลักการสู่การสรา้ งความคิดรวบขอด นักเรียนและผู้สอนรับข้อมูล ป้อนกลบั จากการสะท้อนความคิดอยา่ งรวดเร็ว 6. นกั เรียนได้เรียนรู้ความรับผดิ ชอบรว่ มกนั การมีวินัยในการทำงาน และการแบ่งหน้าทีค่ วามรับผดิ ชอบ Bonwell (1995, p. 63) กล่าวถึงหลักการเรียนรเู้ ชิงรกุ ไว้ว่า การเรียนรู้เชิง รุกประกอบด้วยหลักการสำคญั ดังตอ่ ไปนี้ 1) เป็นการเรียนรูที่มงุ ลดการถ่ายทอดความรู จากผู้สอนสู่ผเู้ รียนใหน้อยลง และพฒั นาทักษะใหเกิดกบั ผเู้ รียน 2) ผเู้ รียนมีสวนร่วมในชน้ั เรียนโดยลงมอื กระทำมากกวานง่ั ฟังเพียงอยา่ ง 3) ผเู้ รียนมสี วนในกิจกรรม เชน อ่าน อภปิ ราย และเขียน 4) เน้นสำรวจเจตคติและคณุ คาทีม่ อี ยใู่ นผู้เรยี น 5) ผเู้ รียนได้ พัฒนาการคิดระดับสูงในการวิเคราะห์ สงั เคราะห์ และประเมินผลการนำไปใช 6) ท้ัง ผเู้ รียนและผสู้ อนรับขอมูลปอนกลบั จากการสะทอนความคิดเหน็ อย่างรวดเร็ว Shenker and Bernstein (1996, p. 1) กล่าวถึงหลกั การเรียนรเู้ ชงิ รุก ไว้ดงั นี้ 1) เป็นการเรียนรทู้ ีม่ ุง่ ลดการถ่ายทอดความรู้จากผสู้ อนสู่ผเู้ รียนใหน้ ้อยลง และพฒั นาทักษะให้เกิดกับผเู้ รียน 2) ผเู้ รียนมีสว่ นรว่ มในชั้นเรียนโดยลงมอื กระทำมากกว่านง่ั ฟังเพียงอยา่ ง เดียว 3) ผเู้ รียนมีส่วนในกิจกรรม เชน่ อ่าน อภปิ ราย และเขียน 4) เน้นการสำรวจเจตคติและคุณค่าที่มีอยใู่ นผเู้ รียน 5) ผเู้ รียนได้พฒั นาการคิดระดบั สงู ในการวิเคราะห์ สงั เคราะห์ และ ประเมินผลในการนำไปใช้ 6) ทั้งผเู้ รียนและผสู้ อนรบั ข้อมูลป้อนกลับจากการสะท้อนความคดิ ได้อย่าง รวดเรว็ จากการศกึ ษาหลักการของนักวิชาการที่กล่าวมาข้างต้น ผวู้ ิจยั สามารถสังเคราะห์ หลกั การเรียนรู้เชิงรกุ สรุปได้ดงั ตาราง 1

22 ตาราง 1 การสงั เคราะห์หลักการเรียนรู้เชิงรกุ หลกั การเรียนรู้เชิงรุก สุภามาศ บุญเชิด (2555) วาสนา เจ ิรญไทย (2557) พฤท ิธวรรณ ่ชวงพิ ัทกษ์ (2560) นพดล ่ยิง ัรก ัชย (2561) แพร ิทพ ์ย ูพดเพราะ (2561) ัจน ิทมา มีลา (2562) เฉลิมพล สุปัญญา ุบตร (2562) Mayer and Jones (1993) Bonwell (1995) Shenker and Bernstein (1996) ความถี่ ผู้ ิว ัจย ผู้เรียนมสี ่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ 10 √ ผู้เรียนได้ร่วมกันแกป้ ญั หาจากสภาพจริง √ √√ √ 4 โดยกระบวนการกลุ่ม ผู้เรียนมปี ฏสิ มั พันธ์ระหวา่ งผู้สอน และเพื่อน √ √√ √√ 5√ ในชั้นเรียน จากการทำกิจกรรมในชนั้ เรียน แสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง √√ ผู้เรียนมคี วามกระตอื รือร้นในการทำ √ √√ √ √√6√ กิจกรรม เป็นการเรียนรู้ทีเ่ นน้ ความรว่ มมือระหว่าง √ ผู้เรียน ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะกระบวนการคิดขน้ั สงู √ √√ √√√√7√ ครูผู้สอนเปน็ ผู้กระตนุ้ และอำนวยความ √√√√√ 5√ สะดวกในการทำกิจกรรม ทักษะและเจตคติที่ดตี อ่ การเรียน √√2 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย √√ 2 ผู้เรียนและผู้สอนรับขอมลู ปอนกลับจากการ √ √√√4 สะทอนความคิดเห็นอย่างรวดเรว็ เปน็ การเรียนรู้ที่มุ่งลดการถ่ายทอดความรู้ จากผสู้ อนสู่ผู้เรียนให้นอ้ ยลง และพฒั นา √ √√√4 ทกั ษะให้เกิดกับผู้เรียน นักเรียนได้เรียนรู้ความรับผิดชอบร่วมกัน การมวี นิ ัยในการทำงาน และการแบง่ หนา้ ท่ี √1 ความรบั ผิดชอบ

23 จากตาราง 1 ผลการสังเคราะห์หลักการเรียนรู้เชิงรกุ ของนักวิชาการทั้งใน ประเทศและต่างประเทศ จำนวน 10 ท่าน พบว่า มหี ลักการเรียนรู้เชงิ รุก ทีม่ คี วาม สอดคล้องกนั และมีความแตกต่างกนั หากพิจารณาโดยนัยแล้วก็ล้วนเป็นหลกั การทีม่ ี ความสัมพันธก์ ันทั้งสิน้ เพื่อให้การจดั การเรียนการสอนบรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์ ผวู้ ิจัยจึงใช้ เกณฑ์ความถี่ร้อยละ 50 ข้ึนไปในการเลือก ซึ่งหลกั การเรียนรู้เชงิ รกุ ที่มุ่งศึกษา สามารถ แบ่งออกได้ 5 หลกั การ ดังนี้ 1) หลักการที่ผเู้ รียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้โดยลงมอื กระทำ มากกวา่ นั่งฟังเพียงอยา่ งเดียว 2) หลักการทีผ่ เู้ รียนมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผสู้ อน และเพื่อนในช้ันเรยี น จาก การทำกิจกรรมในชั้นเรยี น 3) หลักการที่ผเู้ รียนมีความกระตอื รอื ร้นในการทำกิจกรรม 4) หลักการทีผ่ เู้ รียนได้พัฒนาทักษะกระบวนการคิดขน้ั สูง 5) หลักการทีค่ รูผสู้ อนเปน็ ผกู้ ระตนุ้ และอำนวยความสะดวกในการทำ กิจกรรมการเรียนรู้ 3. ลกั ษณะของการเรียนรู้เชิงรุก นกั การศกึ ษาหลายท่าน ได้กล่าวถึงลักษณะสำคญั ของการเรียนรเู้ ชิงรกุ แตกตา่ งกันไป ดังน้ี ไชยยศ เรืองสุวรรณ (2553, หนา้ 66) ได้อธิบายถึงลกั ษณะของการจัดการ เรียนการสอนแบบ Active learning ดังนี้ 1. เปน็ การเรียนการสอนที่พัฒนาศกั ยภาพทางสมอง ได้แก่ การคดิ การแก้ปัญหา และการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ 2. เปน็ การเรียนการสอนทีเ่ ปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนมีส่วนรว่ มในกระบวนการ เรียนรู้สงู สดุ 3. ผเู้ รียนสร้างองค์ความรแู้ ละจดั กระบวนการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง 4. ผเู้ รียนมีสว่ นร่วมในการเรียนการสอนท้ังในด้านการสร้างองค์ความรู้ การสรา้ งปฏิสัมพันธ์รว่ มกนั ร่วมมือกันมากกว่าการแข่งขัน 5. ผเู้ รียนเรียนรู้ความรบั ผิดชอบรว่ มกัน การมวี ินยั ในการทำงาน และ การแบง่ หน้าที่ความรับผดิ ชอบ

24 6. เปน็ กระบวนการสร้างสถานการณใ์ ห้ผเู้ รียนอ่าน พูด ฟงั คิดอย่างลุ่ม ลึก ผู้เรยี นจะเปน็ ผู้จัดระบบการเรียนรดู้ ้วยตนเอง 7. เปน็ กิจกรรมการเรียนการสอนทีเ่ น้นทกั ษะการคิดขน้ั สงู 8. เปน็ กิจกรรมที่เปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนบูรณาการขอ้ มลู ข่าวสาร หรอื สารสนเทศ และหลักการความคิดรวบยอด 9. ผสู้ อนจะเปน็ ผอู้ ำนวยความสะดวกในการจดั การเรียนรู้ เพือ่ ให้ผู้เรยี น เปน็ ผู้ปฏิบตั ิด้วยตนเอง 10. ความรเู้ กิดจากประสบการณ์ การสร้างองคค์ วามรู้ และการสรุป ทบทวนของผู้เรยี น บุญเลีย้ ง ทุมทอง (2556, หน้า 81) ได้กลา่ วถึงลกั ษณะสำคัญของการ จัดการเรยี นรู้เชิงรกุ ดังน้ี 1) เปน็ การเรียนรทู้ ีม่ ุ่งถดการถา่ ยทอดความรู้ จากผู้สอนสู่ผเู้ รียนให้ น้อยลง และ พัฒนาทกั ษะใหเ้ กิดกับผเู้ รียน 2) ผเู้ รียนมีส่วนรว่ มในชั้นเรียน โดยลงมอื กระทำมากกวา่ การน่ังฟงั เพียง อย่างเดียว 3) ผเู้ รียนมีส่วนในกิจกรรม เชน่ อ่าน อภปิ ราย เขียนเป็นตน 4) เน้นการสำรวจเจดคติและคุณค่าที่อยู่ในตัวผเู้ รียน 5) ผเู้ รียนพัฒนาการคิดระดับในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และ ประเมินผลการนำไปใช้ สุพรรณี ชาญประเสริฐ (2557, หน้า 3) กล่าวว่า ลักษณะสำคัญของการ เรียนรู้เชิงรุก Active learning ดังน้ี 1. การจดั การเรียนรู้ที่เน้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั 2. มีเป้าหมายเพื่อพฒั นาศักยภาพการเรียนรู้ของผเู้ รียนสงู สุดโดยเฉพาะ อยา่ งยิ่งทักษะการคิดข้ันสูง 3. จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ที่เน้นใหผ้ เู้ รียนมีการลงมอื ปฏิบตั ิ ทำงาน คิด และแก้ปัญหารว่ มกนั 4. ผสู้ อนมบี ทบาทเปน็ ผู้อำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรเู้ พื่อให้ ผเู้ รียนเปน็ ผู้ปฏิบตั ิได้ด้วยตนเอง ออกแบบกิจกรรมและจัดการเรียนรทู้ ี่ให้ผู้เรยี นได้ฝึก ทกั ษะ การฟงั อ่าน เขียน แสดงความคดิ เหน็ และการคิดขั้นสงู

25 5. ผเู้ รียนมีอิสระและมีสว่ นร่วมในกระบวนการเรียนรอู้ ยา่ งมากและมี ผเู้ รียนสว่ นรว่ มในการจัดระบบการเรียนรดู้ ้วยตัวเอง สมชาย สุนทรโลหะนะกลุ (2559, หนา้ 2) ได้กลา่ วถึง การเรียนรเู้ ชิงรุกเปน็ การเรียนรทู้ ีผ่ ู้เรยี นจะต้องค้นหาเพือ่ ให้เกิดองค์ความรู้ โดยการลงมอื ปฏิบัติอย่างมี ความหมาย เพือ่ ให้สามารถนำความรไู้ ปใช้ประโยชนไ์ ด้ ซึง่ มีลักษณะที่สำคัญของการ จดั การเรยี นรู้ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ผเู้ รียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้สูงสุด 2. ผเู้ รียนได้เรียนรคู้ วามรบั ผดิ ชอบรว่ มกนั มวี ินัยในการทำงาน และการ แบง่ หนา้ ทีค่ วามรับผดิ ชอบ 3. ผเู้ รียนได้เรียนรู้จากกิจกรรมที่ได้อ่าน พูด ฟงั คิดอย่างลุม่ ลกึ และ เปน็ ผู้จดั ระบบการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง 4. ผเู้ รียนมีโอกาสประยกุ ต์ และบรู ณาการขอ้ มูลขา่ วสาร หรอื สารสนเทศ และหลกั การความคิดรวบยอด 5. อาจารย์ผสู้ อนเป็นผู้อำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ เพือ่ ให้ ผเู้ รียนได้ปฏิบัติด้วยตนเอง 6. ความรเู้ กิดจากประสบการณ์ การสร้างองคค์ วามรู้ และการสรปุ ทบทวนของผู้เรยี น ธนวรรณ นัยเนตร (2560, หนา้ 28) ได้กล่าวถึง การจัดการเรียนรู้เชิงรุกมี ลักษณะ ดงั น้ี 1) สง่ เสริมใหผ้ เู้ รียนได้มีสว่ นรว่ ม ในกิจกรรมของช้ันเรียนอย่าง กระตอื รอื ร้น ให้ผเู้ รียนเป็นผลู้ งมอื ปฏิบัติและสร้างองค์ความรู้ ดว้ ยตัวผเู้ รียนเอง ไมเ่ ปน็ ผรู้ บั ข้อมูลเพียงฝ่ายเดียว 2) สง่ เสริมการอภปิ รายในชั้นเรียน เพือ่ ให้ผู้เรยี นมีปฏิสัมพนั ธต์ ่อผู้สอน และเพือ่ นร่วมชั้น 3) สง่ เสริมผู้เรยี นให้เกิดการพัฒนาทักษะบนพืน้ ฐานของ ประสบการณ์ ความรแู้ ละความสามารถมากกว่าการรบั ความรอู้ ย่างเดียว ให้ผู้เรยี นมีเจตคตทิ ีด่ ตี ่อการ เรียนรู้ เกิดแรงจงู ใจในการเรียน 4) ผสู้ อนเปน็ ผชู้ แี้ นะแนวทางสง่ เสรมิ อำนวยความสะดวก และให้ สะท้อนผลกลับแก่ผเู้ รียน

26 สภุ ทั รา ภษู ิตรัตนาวลี (2560, หน้า 17) ได้กล่าวถึง ลักษณะของการเรียนรู้ เชงิ รกุ และองค์ประกอบของการเรียนรเู้ ชิงรุก คือ การเรียนเชิงรกุ เป็นการจดั การเรยี นรทู้ ี่ มงุ่ เนน้ ให้ผู้เรียนมสี ่วนร่วมในการเรียนรู้ของตนเองมากกว่ารับความรู้ฝ่ายเดียว ให้ผเู้ รียนได้ พัฒนาการคิดระดบั สูง ด้วยการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่า มีองคป์ ระกอบของ การจัดการเรียนรเู้ ชิงรกุ 3 ประการคอื ปัจจยั พืน้ ฐานที่จะชว่ ยในการเรียนรู้เชิงรุกท้ังการ พดู ฟัง เขยี น อา่ น สะท้อนความคิด รว่ มกบั การใชก้ ลวิธีในการสอนตา่ งๆ และทรัพยากร ทางการสอนทีห่ ลากหลาย มาหะมะ ขาเดร์ (2562, หน้า 35) ได้กลา่ วถึง ลกั ษณะสำคญั ของการเรียนรู้ เชงิ รุก คอื เปน็ กระบวนการเรียนการสอนทีเ่ น้นการมี ปฏิสัมพนั ธ์ระหวา่ งกัน ผู้เรยี นมสี ่วน รว่ มในกิจกรรม ได้เรียนรู้จากการอา่ น ฟงั พูดอภปิ ราย เขียนสื่อสาร สร้างองค์ความรดู้ ้วย ตนเอง รบั ผดิ ชอบต่อการเรียนรู้ มีวนิ ยั ในการทำงาน มีความกระตือรอื ร้น ในการเรียน และ มีการพฒั นาทักษะการคิดขั้นสูง การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่า สำหรบั บทบาท ผสู้ อนเปน็ ผู้อำนวยความสะดวก และชีแ้ นะและกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ ลีลาวดี ชนะมาร (2563, หน้า 35) ได้กลา่ วถึง ลักษณะสำคัญของการ จัดการเรยี นรู้เชิงรุก คือ การให้ผู้เรยี นได้มสี ่วนรว่ มในการปฏิบัติกิจกรรมผา่ นกิจกรรมการ เรียนรู้ทีห่ ลากหลาย โดยให้ผเู้ รียนได้ลงมือทำและมี โอกาสแลกเปลีย่ นเรียนรู้ระหว่าง ผเู้ รียนกับผสู้ อน และผเู้ รียนกับผเู้ รียนเพือ่ ใหผ้ เู้ รียนได้พัฒนาทักษะการแสวงหาความรดู้ ้วย ตนเอง จนกอ่ ใหเ้ กิดการพัฒนาทกั ษะการคิดขั้นสงู ได้แก่ การคดิ วิเคราะห์ การคิด สงั เคราะห์ การคิดแก้ปัญหา และการคิดประเมินผล ดังนนั้ หากผู้ที่สนใจนำแนวคิดการ จัดการเรยี นรู้เชิงรกุ ไปใช้ในการพฒั นาผเู้ รียน ควรทำการศกึ ษาหลักการจดั การเรียนรู้เชงิ รุกเพือ่ ใชเ้ ปน็ แนวทางในการจดั การเรยี นรู้ต่อไป Bonwell and Eison (1991, pp. 3-4) ได้ให้ลักษณะสำคัญของการเรียนรู้เชิง รุก Active learning ดงั น้ี 1. เปน็ การเรียนรทู้ ีม่ ุ่งลดกระบวนการสือ่ สาร และการถ่ายทอดเนือ้ หา ให้กบั นกั เรียนเพียงอย่างเดียว เน้นการพัฒนาการคิดระดบั สูง 2. เน้นให้นกั เรียนลงมอื ปฏิบตั ิมากกว่าฟังบรรยาย 3. นกั เรียนมสี ว่ นรว่ มในกิจกรรม เช่น อา่ น เขียน และอภปิ ราย 4. เน้นการสาํ รวจเจตคติและคณุ คา่ ที่มีอยใู่ นตัวนักเรียน 5. เน้นการวดั และประเมินด้านการคิดระดบั สงู

27 6. ทั้งครแู ละนักเรียนได้รบั ข้อมลู ย้อนกลบั จากการสะท้อนความคดิ อย่าง รวดเรว็ Shenker, Goss และ Bernstein (1996, อ้างถึงใน เชิดศักดิ์ ภกั ดีวิโรจน์, 2556, หนา้ 15) กล่าวถึงลักษณะสำคัญของการเรยี นรู้เชงิ รกุ ดังนี้ (1) เปน็ การเรียนรทู้ ีม่ ุ่ง ลดการถ่ายทอดความรจู้ ากผสู้ อนสู่ผเู้ รียนใหน้ ้อยลงและพัฒนาทักษะให้เกิดกับผเู้ รียน (2) ผเู้ รียนมีสว่ นรว่ มในชนั้ เรียนโดยลงมือกระทามากกว่านั่งฟงั อยา่ งเดียว (3) ผเู้ รียนมีสว่ นรว่ ม ในกิจกรรม เช่น อ่าน อภปิ ราย และเขียน(4) เน้นการสำรวจเจตคติและคณุ ค่าที่มอี ยู่ใน ผเู้ รียน (5) ผเู้ รียนได้พัฒนาการคิดระดับสูงในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการประเมินคา่ (6) ท้ังผเู้ รียนและผสู้ อนรับข้อมูลป้อนกลบั จากการสะท้อนความคดิ ได้อย่างรวดเร็ว Fink (1999, อ้างถึงใน วาสนา บุญมาก 2562, หนา้ 78-79) ได้กล่าวถึง ลกั ษณะของการจัดการเรียนรเู้ ชงิ รกุ ไว้ว่า 1) เป็นการสนทนากับตนเองเพือ่ สะท้อนความคิด ถามตวั เองวา่ คิดอะไร มีความรสู้ ึกอย่างไร โดยการ บนั ทึกการเรียนรู้ หรือแฟ้มสะสมงาน วา่ กำลังเรียนอะไร เรียนอยา่ งไร ส่ิงที่เรียนมีบทบาทอยา่ งไรใน ชีวติ ประจำวัน 2) เปน็ การสนทนาส่อื สารกับผอู้ ืน่ ซึ่งในการสอนแบบเดิมผู้เรียนถูก จำกัดความคิดไว้ เพียงการอา่ นหรือฟงั บรรยาย ไมม่ กี ารแลกเปลีย่ นความคิดเหน็ กับผอู้ ื่น ขาดความกระตอื รอื ร้นในการ ส่อื สาร หากผสู้ อนมอบหมายใหอ้ ภปิ รายกล่มุ ย่อยในหัวข้อที่ ผเู้ รียนสนใจจะช่วยสร้างสถานการณใ์ น การสนทนาสอื่ สารให้มคี วามสนกุ สนาน ท้าทาย 3) เป็นประสบการณท์ ี่ได้จากการลงมือกระทำ ซึ่ง ผู้เรยี นจะเกิด ประสบการณโ์ ดยตรงจากการออกแบบและทำการทดลอง หรอื ได้ประสบการณ์ทางออ้ ม จากกรณีศึกษา บทบาทสมมติ กิจกรรมสถานการณจ์ ำลอง เปน็ ต้น 4) เปน็ ประสบการณท์ ี่ได้จากการ สังเกต ที่ผเู้ รียนอาจสังเกตโดยตรง จากสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ จริง หรอื จากการสงั เกตสถานการณจ์ ำลอง ซึ่งทำให้ ผู้เรยี นได้รบั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ทีม่ ีคุณคา่ ดงั ภาพประกอบ 1

28 ภาพประกอบ 2 ลักษณะของการจัดการเรียนรู้เชิงรกุ ทีม่ า: Fink. (1999). Active earning. Reprinted with permission of University of Oklahoma. P. 4. จากที่กล่าวมาสรุปได้ว่า ลักษณะของการเรียนรู้เชิงรุก เปน็ การเรียนรู้ที่ นกั เรียนมสี ว่ นร่วมในกิจกรรมการเรยี นรู้ทีห่ ลากหลายและก่อใหเ้ กิดการมีปฏิสมั พันธ์ทั้ง ระหว่างผู้เรียนด้วยกันและผู้เรียนกับผสู้ อน โดยผู้สอนเป็นผู้อาํ นวยความสะดวกในการ เรียนรู้ของผเู้ รียน ให้ผเู้ รียนมีโอกาสได้ใชท้ กั ษะการฟงั พดู อา่ น คิด และเขียนในการลงมอื ปฏิบตั ิ กิจกรรมด้วยตนเอง ได้พัฒนาทกั ษะการสอ่ื สาร และทักษะการคิดไปสู่ระดับทีส่ ูงขึน้ ตลอดจนเกิดเจตคตทิ ี่ดตี ่อวิชาที่เรยี นและเกิดแรงจูงใจในการเรียน 4. ข้ันตอนการจัดการเรียนรเู้ ชิงรุก ธนวรรณ นยั เนตร (2560, หนา้ 33) ได้สรปุ ข้ันตอนการจดั การเรยี นรู้เชิงรกุ มีท้ังหมด 4 ขั้นตอน ดังน้ี 1. ขั้นเตรยี มความพร้อม เป็นขั้นทีผ่ ู้สอนทบทวนความรู้เดิมหรอื นำเสนอ กิจกรรมใหม่ที่ผเู้ รียนไม่คุ้นเคย เพือ่ กระตุ้นให้ผเู้ รียนเกิดความสนใจและนำไปสู่การ แลกเปลี่ยนประสบการณใ์ นการเรียนรรู้ ว่ มกนั ซึง่ ผู้เรยี นสามารถเรียนรแู้ บบเดี่ยวหรือแบบ คหู่ รอื แบบกลมุ่ 2. ข้ันปฏิบัติกิจกรรม เป็นขั้นทีผ่ ู้เรยี นลงมือปฏิบตั ิกิจกรรมทีไ่ ด้รบั มอบหมาย โดยมีการแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ ระหว่างกัน ซึ่งผสู้ อนคอยชแี้ นะและให้ คำแนะนำแกผ่ เู้ รียน เพือ่ นำไปสู่การสร้างข้อสนั นิษฐานทีไ่ ด้จากการปฏิบตั ิกิจกรรม

29 3. ข้ันอภิปรายและสรุป เป็นข้ันที่ผู้เรยี นนำเสนอและอภปิ รายสิ่งที่ได้จาก การปฏิบตั ิกิจกรรม จนได้ข้อสรุปทีส่ มเหตุสมผล 4. ข้ันสะท้อนผลและประยุกต์ใช้ เปน็ ข้ันทีผ่ ู้เรยี นเกิดการสะท้อนความ คิดเหน็ เกีย่ วกบั สิง่ ได้จากการเรียนรู้ในช้ันเรยี น และนำความรู้ทีไ่ ด้ไปประยกุ ต์ใช้กบั สถานการณ์ใหมบ่ ทบาทของผู้สอนในการจดั การเรียนรู้เชงิ แพรทิพย์ พดู เพราะ (2561, หนา้ 18) ได้กล่าวถึงขั้นตอนการจัดการเรียน การสอนแบบเชิงรกุ ไว้ว่า ข้ันตอนการจัดการเรยี นการสอนแบบเชงิ รุกมีดังน้ี ข้ันนำ เปน็ ขั้น เตรียมความพร้อมเข้าสู่บทเรียน เปน็ ขั้นที่ผู้สอนดึงดูดความสนใจในการเรียน แจง้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนให้ผเู้ รียนทราบ สรา้ งขอ้ ตกลงต่างๆรว่ มกัน จากนั้นนำเสนอ สถานการณ์ปัญหา และเปิดโอกาสให้ผู้เรยี นได้ซกั ถามข้อสงสยั กอ่ นลงมือปฏิบัติ ขั้นลงมอื ปฏิบตั ิ เปน็ ข้ันทีผ่ ู้เรยี นลงมือแก้ปัญหา ซึ่งทกุ คนภายในกลุ่มแลกเปลีย่ นแนวคิดกนั และมี ส่วนรว่ มในการแก้ปัญหา สรปุ องค์ความรู้ร่วมกัน โดยผู้สอนเปน็ ผู้อำนวยความสะดวกและ ให้คำแนะนำ หลังจากน้ันเลือกตวั แทนนำเสนอหน้าชั้นเรียน ขั้นสรุป ผเู้ รียนและครูร่วมกนั สรปุ องคค์ วามรู้ เพือ่ สะท้อนความคดิ ที่ได้จากการลงมือทำกิจกรรม วาสนา บญุ มาก (2562, หน้า 84) ได้สรปุ ขั้นตอนการจดั การเรยี นรู้เชิงรกุ มี ดงั ตอ่ ไปนี้ ข้ันที่ 1 ข้ันนำเข้าสบู่ ทเรียน เปน็ ขั้นที่ผู้สอนกระตุ้นผู้เรียนให้เกิดแรงจูงใจ ในการเรียนรู้ ขั้นที่ 2 ข้ันนำเสนอสถานการณ์ เป็นขั้นทีผ่ สู้ อนนำเสนอสถานการณ์ที่ ท้าทาย และมีความสมั พันธ์กับประสบการณ์ของผเู้ รียน เละเปิดโอกาลใหผ้ เู้ รียนได้ซักถาม ข้อสงสัย ข้ันที่ 3 ขั้นดำเนินกิจกรรม เปน็ ข้ันที่ผู้เรยี นต้องวเิ คราะห์ปัญหาและ ร่วมกนั วางยุทธวิธีในการแก้ปัญหา ข้ันที่ 4 ขั้นสร้างองค์ความรู้ เป็นข้ันทีผ่ ู้เรยี นออกมานำเสนอแนวคิดของ ตนเอง หรอื ของกลุ่มให้ผู้เรียนคนอื่น ๆ ได้รับรู้ และแลกเปลี่ยนความคิดระหว่างกันจนเกิด ความเข้าใจที่ซัดเจน ข้ันที่ 5 ขั้นสรุป เปน็ ขั้นทีผ่ เู้ รียนร่วมกนั สรุปองค์ความรทู้ ี่ได้จากการเรียน เพื่อสะท้อนความคิดหรือความรทู้ ีไ่ ว้ และตรวจสอบความคลาดเคลื่อนทีอ่ าจเกิดขึ้น ระหว่างการเรียนด้วย

30 สรัญญพัชร์ แก้วศรไี ตร (2563, หนา้ 57) ได้สรุปข้ันตอนการจดั การเรียนรู้ เชงิ รกุ ดงั นี้ ขั้นที่ 1 ขั้นเปิดประสบการณ์ เปน็ ขั้นทีผ่ สู้ อนกระตุ้นผเู้ รียนให้เกิดการ เรียนรู้ ให้เกิดแรงจูงใจในการเรียน โดยใช้การสนทนา การตง้ั คำถามหรอื นำเสนอสื่อสิ่งใด สิ่งหน่งึ และทบทวนความรเู้ ดิมที่จำเป็นสำหรับความรู้ใหม่ แจง้ จดุ ประสงค์การเรียนรใู้ ห้ ผเู้ รียนทราบ ขั้นที่ 2 ข้ันนำเสนอสถานการณ์ เป็นขั้นตอนที่ผสู้ อนนำเสนอสถานการณ์ ที่ท้าทายความสามารถของผเู้ รียน และสถานการณ์น้ันสามารถเปิดประสบการณค์ วามรู้ เชอ่ื มโยงประสบการณ์เดิม เป็นขั้นการสร้างกติกาหรอื เงอ่ื นไขการนำไปส่กู ารคิดต่อไป โดย ข้ันน้จี ะเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนซกั ถามข้อสงสยั ขั้นที่ 3 ข้ันระดมความคิดดำเนินกิจกรรม เปน็ ช้ันที่ผเู้ รียนอ่าน หรอื รบั สถานการณข์ ้อมูลมาแล้ว ร่วมกนั ลงมือคดิ วเิ คราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่าสิ่งที่กำลัง ศกึ ษาหรอื รว่ มกันแก้ไขปัญหา อภปิ รายภายในกล่มุ โดยผู้เรยี นสามารถอภปิ รายสะท้อนผล ความคิดของตนเองได้อย่างเต็มที่ ข้ันที่ 4 ข้ันสร้างองคค์ วามรู้ เปน็ ข้ันตอนที่ผเู้ รียนออกมานำเสนอแนวคิด ของตนเอง หรอื แนวคิดของกลมุ่ จากนั้นผู้เรยี นจะได้รับแนวคิดที่กลมุ่ ๆรว่ มกันนำเสนอ รว่ มท้ังได้แลกเปลีย่ นข้อแตกตา่ ง เปรียบเทียบความเหมอื นและตา่ งระหว่างกลุ่ม โดยทุกคน ต้องมีสว่ นร่วมภายในกลุม่ โดยผู้สอนจะคอยสังเกตแนวคิดของนักเรียน Johnson et al. (1991, pp. 29-30) ได้กลา่ วถึง การจดั การเรียนรู้อย่าง กระตอื รอื ร้นสามารถทำตามขั้นตอนได้ ดังน้ี 1. ข้ันนำ (3-5 นาที) เปน็ ข้ันที่แสดงให้ผู้เรยี นเหน็ ถึงความเชอ่ื มโยง ระหว่างเน้ือหาทีจ่ ะสอนกบั สิง่ ทีผ่ ู้เรยี นมีพื้นฐานอยกู่ ่อนแล้ว พร้อมท้ังระบโุ ครงร่างของ เนือ้ หาแนวคิดประเดน็ หลักในการสอน ผเู้ รียนจะเห็นความสำคญั และอยากเรียนรเู้ ร่อื งนน้ั มากขึ้น 2. ขั้นสอน เป็นขั้นที่ผสู้ อนสอนเนือ้ หา (10-15 นาที) ตามด้วย กิจกรรมอน่ื (3-4 นาที) ปกติผู้สอนมกั จะสอนติดต่อกันเปน็ เวลานาน ซึ่งจะทำให้ผู้เรียน เฉือ่ ยและไม่กระตุ้นการเรียนรู้ จากการศกึ ษาพบว่า สมาธิหรอื ความสนใจของผเู้ รียนจะ ลดลงอย่างรวดเร็วภายใน 15 นาที ดังนน้ั ในรปู แบบการสอนจงึ แนะนำการสอน 10-15 นาทีตามด้วยกิจกรรมอืน่ 3-4 นาที เพือ่ เปลี่ยนบรรยากาศและเปน็ การให้โอกาส ผสู้ อน

31 มีปฏิสัมพนั ธก์ บั ผเู้ รียน เชน่ การตง้ั คำถามให้ผเู้ รียนตอบหรอื จะให้ผเู้ รียนชว่ ยกนั คิด เป็นกลมุ่ เพื่อตอบ ผู้เรยี นจะเข้าใจเนื้อหาและจำได้นานกว่า ถ้ามีการอภปิ รายรว่ มกัน ผสู้ อนทำซ้ำโดยสอนเนือ้ หาสลับกับกิจกรรมเรือ่ ย ๆ ไปจนใกล้หมดเวลาสอน 3. ขนั้ สรุป เป็นข้ันที่ผเู้ รียนสรุปเน้ือหาที่ได้เรียนด้วยตนเอง (4-6 นาที) โดยผู้สอนใหผ้ เู้ รียนสรปุ ความเข้าใจของตนเอง โดยเขียนใจความสำคญั ของเนื้อหาลงใน แผ่นกระดาษ และแลกเปลี่ยนกับเพือ่ นข้าง ๆ กันอ่าน หรอื ผสู้ อนอาจสุ่มให้ผเู้ รียนมาอา่ น ในช้ันเรียน ตาราง 2 ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้อย่างกระตอื รอื ร้นในเวลา 50 นาที นาทีที่ 0-20 นาทีที่ 21- 30 นาทีที่ 31-40 นาทีที่ 41- 50 ข้ันนำ สอนเนือ้ หา 1 กิจกรรม สอนเนือ้ หา 2 กิจกรรม สอนเนือ้ หา 3 กิจกรรม ขั้นสรปุ ที่มา : D. W. Johnson et al. (1991, p. 30) Baldwin & Williams (1998, p.187) ได้เสนอขั้นตอนการจัดการเรยี นรู้เชิงรกุ ไว้ 4 ข้นั ตอน ดังน้ี 1. ข้ันเตรยี มความพร้อม เป็นการนำเข้าสู่เนือ้ หาการเรียนรู้ โดยครูสร้าง แรงจูงใจให้กับนักเรียนเพือ่ ให้เกิดความกระตือรอื ร้นที่อยากจะเรยี นรู้ตอ่ ไป 2. ขั้นการปฏิบัติงานกลุม่ เปน็ ขั้นที่ครูใหน้ กั เรียนเข้ากลุ่มยอ่ ยเพือ่ ทำงาน ร่วมกันและสรุปความคิดเห็นของกลุม่ อกี ท้ังต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันระหว่างกลุ่มอน่ื ๆ โดยทีค่ รูต้องเสริมข้อมลู ให้สมบรู ณ์ 3. ขั้นการประยกุ ตใ์ ช้ เปน็ ขั้นของการให้นักเรียนทำแบบฝกึ หัด หรอื ทำ แบบทดสอบหลงั เรยี น 4, ขั้นตดิ ตามผล เปน็ ข้ันของการใหน้ กั เรียนได้นคว้าอิสระเพิ่มเติมโดย จดั ทำเป็นรายงาน หรอื ให้นักเรียนเขียนบนั ทึกประจำวัน รวมถึงให้นักเรียนเขียนสรุป ความรทู้ ี่ได้รับในคาบเรียนน้ันๆ Hazzan, Lapidot, and Ragonis (2011, pp. 19-20) ได้นำเสนอรูปแบบการ สอนบนพืน้ ฐานของการจดั การเรียนรเู้ ชิงรกุ ซึง่ ประกอบด้วย 4 ข้ันตอน ดังน้ี 1. ข้ันกระตุ้น (Tigger) เปน็ ขั้นทีผ่ ู้สอนแนะนำหัวข้อ หรอื กิจกรรมแบบ ใหม่ที่ผู้เรียนไมค่ ุ้นเคย มีความซับซ้อนและสัมพนั ธ์กับผู้เรียน เพอื่ ให้ผู้เรยี นได้อภปิ ราย อธิบาย ขดั เกลา และจัดระบบองค์ความรู้ของตนเอง ผู้สอนควรสนบั สนนุ ผเู้ รียนให้เกิดการ

32 เรียนรู้อย่างมคี วามหมายควรเลือกสื่อการสอนที่หลากหลายและเหมาะสมกับเนือ้ หา และ ควรตั้งคำถาม สถานการณ์ปัญหาทัศนตติ และความเข้าใจใหห้ ลากหลายมากยิง่ ขึ้น โคย ขั้นน้สี ามารถเรียนรู้แบบเดี่ยว แบบจบั คู่หรือแบบกลมุ่ ขนาคเล็ก ขึน้ กับวัตถุประสงค์หลกั ของการกระตุ้นผเู้ รียน 2. ขั้นกิจกรรม (Activity) เป็นขั้นทีผ่ ู้เรยี นลงมอื ทำกิจกรรมหลังจากได้รับ การกระตนุ้ ในขั้นกระตุ้น ซึ่งเปน็ ขั้นที่ใชเ้ วลาไมน่ าน หรืออาจจะใช้เวลานานกไ็ ด้ ขนึ้ อยกู่ บั วตั ถปุ ระสงค์ของการจดั การเรียนรู้และเน้ือหาที่ผู้สอนนำเสนอในข้ันที่ 1 เพือ่ ให้ผู้เรียนได้ เรียนรู้บทเรียนหลกั 3. ข้ันอภิปราย (Discussion) เป็นขั้นที่ผู้เรยี น ได้นำเสนอและอภปิ รายสิ่งที่ ได้เรยี นรหู้ วั ข้อ และแนวความคิดที่เกิดจากขั้นกิจกรรม ในข้ันน้ผี ู้เรยี นจะได้ขัดเกลาความ เข้าใจในมโนทศั นท์ ัศนคติ และแนวคิดของตนเอง ซึง่ เป็นสว่ นหน่งึ ของกระบวนการสร้าง องคค์ วามรู้ของผเู้ รียน 4. ขั้นสรปุ (Summary) เปน็ ขั้นที่ใชเ้ วลาไมน่ าน เนือ่ งจากผู้สอนทำหน้ที่ สรุปความคิดรวบยอด แนวการสอน กรอบแนวคิด และประเดน็ อื่น ๆ ทีส่ ำคญั ที่เกิดจาก การอภิปรายของผเู้ รียนในขั้นอภปิ ราย จากที่กลา่ วมาสรปุ ได้ว่า ข้ันตอนการจัดการเรียนการสอนแบบเชงิ รกุ ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ขั้นการนำเข้าสบู่ ทเรียน 2) ข้นั นำเสนอสถานการณ์ 3) ข้ัน อภปิ ราย 4) ข้ันสรุป 5. แนวทางจดั การเรียนรู้ของการเรียนร้เู ชิงรุก สุพรรณี ชาญประเสริฐ (2557, หน้า 3-6) กล่าววา่ แนวทางจดั การเรียนรู้ ของการเรยี นรู้เชิงรุก Active learning ดงั น้ี 1. การจดั การเรียนรู้ควรออกแบบกระบวนการเรียนรู้โดยใหม้ ีกิจกรรม เชงิ ปฏิบัติการ ไม่เน้นการสอนแบบบรรยายที่ใช้เวลานานๆ หากเปน็ การบรรยายควรมี กิจกรรมข้ันเปน็ ชว่ งๆซึ่งกิจกรรมน้ันอาจมคี วามหลากหลาย เชน่ การบันทึกอย่างมี โครงสรา้ ง การทำแผนภาพ ผงั มโนทัศน์ การวาดรูป การยกตัวอยา่ ง การนำเสนองาน การร่วมแสดงความคิดเหน็ การสรุปความรู้ ด้วยการใช้ภาษาของตนเอง 2. ผสู้ อนควรออกแบบหรอื เลือกกิจกรรมที่มีความหลากหลายมีความ เหมาะสม และทีส่ ำคญั กิจกรรมนั้นตอ้ งให้นักเรียนมีสว่ นรว่ มใน 2 ลกั ษณะ คอื การมสี ่วน

33 ร่วมในการทำงานหรอื ลงมือปฏิบัติและการมสี ่วนรว่ มในการคิด (Bonwelle & Eison 1991) ซึง่ เป้าหมายของการทำกิจกรรมเพื่อใหน้ กั เรียนบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ ดังน้ี 1) ให้เกิดความคิดข้ันสงู หรือความคิดสร้างสรรค์ 2) ให้มกี ารสอ่ื สาร แลกเปลี่ยนความคิดกนั ระหว่างผู้เรียนในลกั ษณะ ตา่ งๆอาจจะจับเปน็ คู่ จดั เป็นกลุ่มเลก็ หรอื กับเพือ่ นในช้ันเรยี น 3) มีการแสดงออกหรอื ถ่ายทอดความคิดเห็นผ่านการเขียน 4) มีการสำรวจเจตคติและคณุ ค่าเฉพาะบคุ คล 5) มีบรรยากาศของการให้และรับรู้ขอ้ มลู ย้อนกลับ 6) เปิดโอกาสใหม้ ีการสะท้อนความคดิ ต่อกระบวนการจัดการเรยี นรู้ 3. ผสู้ อนควรให้ผู้เรยี นมีอสิ ระในการดำเนินกิจกรรมการเรียนรู้ดว้ ย ตนเอง โดยไมจ่ ำเป็นต้องดำเนินกิจกรรมแต่ละขน้ั ตอนในเวลาทีพ่ ร้อมกนั เชน่ ขณะที่ ผเู้ รียนกลุ่มหนึ่งกำลังดำเนินกิจกรรมตามใบงาน อกี กลุม่ หน่งึ อาจศกึ ษาข้อมลู เพิม่ เติมจาก หนังสือ เอกสาร แตอ่ กี กลุม่ หนง่ึ อาจดำเนินกิจกรรมการเรียนรู้ได้เร็วหรอื ช้าแตกต่างกัน ดังนนั้ ผู้สอนต้องมีการออกแบบกิจกรรมหรอื วิธีการดำเนินการเรียนรนู้ อกเหนอื จาก บทเรียนปกติ 4. ผสู้ อนควรแบ่งสดั สว่ นเวลาส่วนใหญ่ในการจดั การเรียนรู้เพือ่ ช่วยให้ ผเู้ รียนพฒั นาความรคู้ วามเข้าใจและทักษะ มกี ารส่งเสริมการเรียนรเู้ ชิงลึก โดยใช้เวลาใน การถ่ายทอดข้อมูลในส่วนที่ส่งเสริมการเรียนรแู้ บบผวิ เผนิ ในสัดส่วนทีน่ อ้ ยกว่านอกจากนี้ ผสู้ อนจะต้องเปิดโอกาสให้นกั เรียนสามารถประยกุ ตค์ วามรู้ไปใช้ประโยชน์ และแสดงออก ถึงประสบการณ์ทีพ่ วกเขาได้เรียนรู้ รวมทั้งมีโอกาสได้รับข้อมลู ย้อนกลบั ทันทีจากเพือ่ น หรอื ครูผสู้ อน 5. รูปแบบของการทำกิจกรรมการเรยี นรู้ที่นิยมนำมาใช้ในห้องเรยี นแบบ Active learning 1) กิจกรรมเป็นรายบุคคล (individual activities) 2) กิจกรรมแบบจับคู่ (paired activities) 3) กิจกรรมกลุ่มย่อย (small group activities) 4) กิจกรรมแบบโครงสร้าง (project activities) การเลือกใช้กิจกรรมรูปแบบใดนั้นข้นึ อยู่กบั วัตถปุ ระสงคข์ องการจัด กิจกรรม จำนวนผเู้ รียน ระยะเวลาในการทำกิจกรรม ขนาดของห้องเรียน พ้ืนที่ในการทำ

34 กิจกรรม รวมท้ังทกั ษะความสามารถในการดำเนินกิจกรรมของผสู้ อน สำหรบั แนวทางการ วัดและการประเมินควรเปน็ Authentic assessment และ Alternative assessment แต่ส่งิ ที่ ผสู้ อนควรคำนึงถึงคือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในลกั ษณะนีจ้ ะใช้เวลามากขึ้น ดังน้ันควรมี การบริหารจดั การเวลาในชั้นเรียนให้คุ้มคา่ มากทีส่ ุด ผู้สอนต้องให้ความสำคัญกับการ วางแผนและการเตรยี มความพร้อมของการจัดกิจกรรมการเรียนรทู้ ้ังนีค้ วรให้ผเู้ รียนมีส่วน ร่วมด้วย การจัดการเรียนรปู้ ระสบความสำเร็จได้ท้ังด้วยการจัดการเรยี นรู้ในช้ัน เรียนและนอกช้ันเรยี น จากจดั การเรยี นรู้น้ันเกิดจากการลงมอื ปฏิบตั ิของนักเรียนทั้ง รายบคุ คลหรือเปน็ กลุ่ม และสุดท้ายการจดั การเรยี นรู้สำเร็จได้อาจมกี ารเปลี่ยนใช้หรอื ไม่ ใชแ้ ตก่ ารจดั การเรยี นรู้จะประสบความสำเรจ็ มากหรอื น้อยน้ันขนึ้ อยู่กบั ความรบั ผิดชอบ ของทั้งผู้สอนและผเู้ รียนในบทบาททีต่ ่างกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งนกั เรียนคอ่ นข้างมีอิสระใน การเรียนรู้ ดังนน้ั ในลำดับแรกผู้สอนต้องฝึกใหม้ ีทกั ษะพืน้ ฐานทีจ่ ำเปน็ ต่อการเรียนรอู้ ย่างมี ประสิทธิภาพ ซึ่งได้แก่ 1. ทักษะการฟงั ตอ้ งเป็นการฟังอยา่ งมีประสิทธิภาพ 2. ทกั ษะการอา่ น การดู การมอง และการสงั เกต 3. ทกั ษะการพูด ต้องเปน็ การพูดอยา่ งมคี วามหมาย 4. ทกั ษะการเขียน ตอ้ งเปน็ การเขียนอยา่ งมีความหมาย 5. ทักษะการทำงานแบบรว่ มมอื ตอ้ งเป็นการทำงานที่มีความ รับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตน Wellington and Ireson (2012, pp. 271-272) ได้กลา่ วถึง แนวการจัด กิจกรรมที่ชว่ ยสง่ เสริมการจัดการเรยี นรู้เชิงรุก ดังน้ี 1. การระดมสมอง (Brainstorming) เปน็ กิจกรรมที่ชว่ ยเปิดประเดน็ ทาง ความคิดของผเู้ รียน มกี ารรวบรวมแนวความคิด การสื่อสาร และการแสดงออกในทกุ ประเดน็ ที่นำเสนอโดย ผสู้ อนอาจจะเป็นผู้เปิดประเด็นเพือ่ กระตุ้นความสนใจของผู้เรียน และเตรียมข้อมลู ทีจ่ ะช่วยทบทวนความรขู้ องผเู้ รียน การระดมสมองน้ที ำให้ผู้เรยี นเรียนรู้ และยอมรับทัศนคติ และการแสดงความคิดเหน็ ของผู้อื่น เหมาะสำหรับการเรียนรู้เป็น กลุ่มยอ่ ย เป็นคู่ หรอื รายบุคคลก็ได้ 2. การใชว้ สั ดอุ ปุ กรณ์ เชน่ รปู ภาพ การสาธิต หรอื การนำเสนอภาพนิ่ง เพือ่ กระตนุ้ การอภปิ รายของผู้เรยี น ให้ผเู้ รียนได้แลกเปลีย่ นความคิดเกีย่ วกบั สิง่ ทีน่ ำเสนอ

35 (ค่อนข้างเหมือนการระดมสมอง) และสดุ ท้ายอภปิ รายถึงความคิดเห็นของแตล่ ะคนวา่ เหตุ ใดจงึ คิดเช่นน้ัน 3. การแสดงบทบาทสมมติ เปน็ วิธีการทีเ่ หมาะสำหรับเนื้อหาที่มปี ระเดน็ การสนทนา ซึ่งการฝกึ ฝนผเู้ รียนทีแ่ ท้จรงิ นนั้ ขึน้ อยกู่ ับรูปแบบ ความชำนาญ และ จนิ ตนาการของผู้สอน กิจกรรมของการจัดการเรยี นรู้แบบ Active Learning McKinney (2008 อ้างถึงใน สถาพร พฤฑฒิกลุ , ออนไลน์) ได้เสนอตวั อยา่ ง รปู แบบหรอื เทคนิค การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่จะชว่ ยให้ผู้เรยี นเกิดการเรียนรู้แบบ Active Learning 1. การเรียนรู้แบบแลกเปลีย่ นความคิด (Think-Pair-Share) คือ การจัด กิจกรรมการเรียนรู้ทีใ่ ห้ผู้เรียนคิดเกี่ยวกับประเดน็ ทีก่ ำหนดแต่ละคน ประมาณ 2-3 นาที (Think) จากนั้นให้แลกเปลี่ยนความคดิ กบั เพื่อนอีกคน 3-5 นาที (Pair) และนำเสนอความ คิดเหน็ ตอ่ ผู้เรยี นท้ังหมด (Share) 2. การเรียนรแู้ บบร่วมมอื (Collaborative learning group) คือการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้ทำงานร่วมกับผอู้ ื่น โดยจัดเป็นกลุม่ ๆ ละ 3-6 คน 3. การเรียนรู้แบบทบทวนโดยผู้เรยี น (Student-led review sessions) คือ การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ทีเ่ ปิดโอกาสให้ผู้เรยี นได้ทบทวนความรแู้ ละพิจารณาข้อสงสัย ต่าง ๆ ในการปฏิบตั ิกิจกรรมการเรยี นรู้ โดยครูจะคอยช่วยเหลอื กรณีที่มปี ัญหา 4. การเรียนรู้แบบใช้เกม (Games) คือการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ที่ผสู้ อน นำเกมเข้าบูรณาการในการเรียนการสอน ซึ่งใช้ได้ทั้งในข้ันการนำเข้าสู่บทเรียน การสอน การมอบหมายงาน และหรือข้ันการประเมินผล 5. การเรียนรู้แบบวิเคราะห์วีดีโอ (Analysis or reactions to videos) คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทีใ่ ห้ผู้เรยี นได้ดูวีดโี อ 5-20 นาที แล้วให้ผเู้ รียนแสดงความ คิดเหน็ หรอื สะท้อนความคิดเกีย่ วกับสิ่งที่ได้ดู อาจโดยวิธีการพดู โต้ตอบกัน การเขียน หรอื การร่วมกนั สรปุ เปน็ รายกล่มุ 6. การเรียนรู้แบบโต้วาที (Student debates) คือการจดั กิจกรรมการ เรียนรู้ที่จดั ให้ผู้เรยี นได้นำเสนอข้อมูลที่ได้จากประสบการณแ์ ละการเรียนรู้ เพือ่ ยนื ยัน แนวคิดของตนเองหรอื กลมุ่

36 7. การเรียนรแู้ บบผเู้ รียนสร้างแบบทดสอบ (Student generated exam questions) คือการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ทีใ่ ห้ผเู้ รียนสร้างแบบทดสอบจากสิ่งที่ได้เรียนรู้ มาแล้ว 8. การเรียนรู้แบบกระบวนการวิจยั (Mini-research proposals or project) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรทู้ ี่องิ กระบวนการวิจยั โดยใหผ้ เู้ รียนกำหนดหัวข้อที่ ต้องการเรียนรู้ วางแผนการเรียน เรียนรตู้ ามแผน สรุปความรู้หรอื สร้างผลงาน และ สะท้อนความคิดในสิง่ ที่ได้เรียนรู้ หรอื อาจเรียกว่าการสอนแบบโครงงาน (project-based learning) หรอื การสอนแบบใช้ปญั หาเปน็ ฐาน (problem-based learning) 9. การเรียนรู้แบบกรณีศกึ ษา (Analyze case studies) คือการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้อา่ นกรณีตวั อย่างทีต่ ้องการศึกษา จากนั้นให้ผู้เรียน วิเคราะห์และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรอื แนวทางแก้ปัญหาภายในกลมุ่ แล้วนำเสนอ ความคิดเห็นต่อผเู้ รียนทั้งหมด 10. การเรียนรู้แบบการเขียนบันทึก (Keeping journals or logs) คือการ จดั กิจกรรมการเรียนรู้ทีผ่ ู้เรียนจดบนั ทึกเรือ่ งราวต่างๆ ทีไ่ ด้พบเห็น หรอื เหตกุ ารณ์ที่เกิดขึน้ ในแต่ละวัน รวมทั้งเสนอความคิดเพิ่มเติมเกีย่ วกับบันทึกทีเ่ ขียน 11. การเรียนรู้แบบการเขียนจดหมายข่าว (Write and produce a newsletter) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรยี นร่วมกนั ผลิตจดหมายข่าว อนั ประกอบด้วย บทความ ข้อมลู สารสนเทศ ข่าวสาร และเหตกุ ารณท์ ี่เกิดขึน้ แล้วแจกจา่ ยไป ยงั บคุ คลอื่นๆ 12. การเรียนรแู้ บบแผนผังความคิด (Concept mapping) คือการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ทีใ่ ห้ผู้เรียนออกแบบแผนผงั ความคิด เพื่อนำเสนอความคิดรวบยอด และความเช่อื มโยงกันของกรอบความคิด โดยการใชเ้ ส้นเปน็ ตวั เช่อื มโยง อาจจัดทำเปน็ รายบุคคลหรืองานกลุ่ม แล้วนำเสนอผลงานตอ่ ผเู้ รียนอื่นๆ จากน้ันเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนคน อื่นได้ซักถามและแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม 6. บทบาทของผสู้ อนและผเู้ รยี นในการจัดการเรียนรู้เชิงรกุ การจดั การเรียนรเู้ ชิงรุก (Active learning) ท้ังผู้สอนและผเู้ รียนต่างตอ้ ง ปรับเปลีย่ นพฤติกรรม บทบาทหนา้ ทีข่ องตนเองใน การจัดการเรยี นรู้ ผู้เรยี นต้องมีบทบาท สำคัญในการสร้างองค์ความรดู้ ้วยตนเอง โดยที่ผู้สอนจะต้องเปลี่ยนบทบาทจากการทำ

37 หนา้ ที่สอนเป็นผอู้ ำนวยความสะดวก แนะนำ ช่วยเหลอื ดูแล และกระตุ้นผู้เรยี นในการ เรียนรู้ 6.1 บทบาทของผู้สอน ทวีวัฒน์ วัฒนกุลเจริญ (2557, หน้า 3) ได้กลา่ วถึงบทบาทของครูในการ จดั การเรยี นรู้เชิงรกุ ดังน้ี 1. จดั ให้ผู้สอนเปน็ ศูนยก์ ลางของการเรียน กิจกรรมหรือเป้าหมายที่ ต้องการต้องสะท้อนความต้องการที่จะพฒั นาผรู้ ีขน และเน้นการนำไปใช้ประโชชน์ในชีวติ จรงิ ของผเู้ รียน 2. สร้างบรรยากาศของการมีส่วนร่วม และการเจรจาโต้ดอบที่ส่งเสริม ให้ผู้เรยี นมีปฏิสัมพันธ์ที่ดกี ับผสู้ อน และเพือ่ นในช้ันเรยี น 3. จดั กิจกรรมการเรยี นการสอนให้เปน็ พลวัต ส่งเสริมให้ผู้เรยี นมีสว่ น รว่ มในทกุ กิจกรรมที่สนใจรวมท้ังกระตุ้นให้ผเู้ รียนประสบความสำเร็จในการเรียน กิจกรรม ที่เปน็ พลวตั ได้แก่การฝึกแก้ปญั หา การศกึ ษาคิ้วยตนเอง เปน็ ต้น 4. จัดสภาพการเรียนรู้แบบร่วมมอื (Collaboratory Learning) ส่งเสริมให้ เกิดการรว่ มมอื ในกลุม่ ผเู้ รียน 5. จดั กิจกรรมการเรยี นการสอนให้ท้ทาย และให้โอกาสผเู้ รียนได้รับ วิธีการสอนทีห่ ลากหลายมากกว่าการบรรยายเพียงอย่างเดียว แม้รายวิชาที่เน้นทางค้าน การบรรยายหลักการและทฤษฎีเปน็ หลักก็สามารถจัดกิจกรรมเสริม เช่น การอภิปราย การแก้ไขสถานการณท์ ี่กำหนดเสริมเข้ากบั กิจกรรมการบรรยาย 6. วางแผนในเร่ืองของเวลาการสอนอย่างชัดเจน ท้ังในเรอ่ื งของเนือ้ หา และกิจกรรมในการเรียน ทั้งน้เี น่อื งจากการจัดการเรยี นรทู้ ีก่ ระตอื รอื ร้น จำเปน็ ต้องใชเ้ วลา การจดั กิจกรรมมากกว่าการบรรยาย ดงั น้ันผู้สอนจำเปน็ ต้องวางแผนการสอนอยา่ งชัดเจน โดยสามารถกำหนดรายละเอียดลงในประมวลรายวิชา เปน็ ต้น 7. ใจกว้าง ยอมรบั ในความสามารถในการแสดงออกและความคิดเห็นที่ ผเู้ รียนนำเสนอ ธนวรรณ นัยเนตร (2560, หนา้ 35) ได้กลา่ วถึงบทบาทของผู้สอนในการ จัดการเรยี นรู้เชิงรกุ ได้แก่ 1) วางแผนออกแบบกิจกรรมและเลือกใช้ส่อื การสอนให้ เหมาะสมกับเนือ้ หาและการสร้างองคค์ วามรู้ของผเู้ รียน 2) อำนวยความสะดวกในการ เรียนรู้ของผเู้ รียน พรอ้ มทั้งส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนได้อภปิ ราย สืบค้นหาคำตอบ สร้างองค์

38 ความรดู้ ้วยตนเอง โดยอาจใชค้ ำถามช่วยกระตุ้นการคิดของผู้เรยี นให้สามารถแก้ปัญหาได้ 3) เป็นแบบอย่างที่ดแี กผ่ เู้ รียนในการเรียนรอู้ ย่างกระตือรอื ร้นดว้ ยตนเอง 4) มีความ เชย่ี วชาญในรายวิชาที่ตนสอน มีเหตุผล มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ รับผดิ ชอบต่อหนา้ ที่ และรบั ฟังความคิดเห็นของผเู้ รียนและเพื่อนร่วมงาน 5) วดั และประเมินผลการเรียนรขู้ อง ผเู้ รียน และนำมาปรับปรงุ การจัดการเรียนการสอน จฑุ ามาศ เพิ่มพนู เจรญิ ยศ (2561, หน้า 24) ได้กลา่ วถึงบทบาทครูในการ จัดการเรยี นรู้เชิงรุก คือ ครูต้องวางแผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้อย่างชดั เจน ท้ังเนือ้ หา และเวลา ตอ้ งจดั กิจกรรมที่หลากหลาย มีความท้าทาย เร้าใจ สามารถกระตุ้นผู้เรียนให้ เกิดแรงจงู ใจในการเรียน อีกท้ังสนบั สนนุ และส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนค้นหาคำตอบด้วยตนเอง มากขึ้น กล้าคิด กล้าแสดงความคิดเหน็ รวมถึงสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่ผเู้ รียนมสี ่วน ร่วม ส่งเสริมการมีปฏิสมั พันธท์ ี่ดรี ะหว่างผู้เรยี นกบั ผสู้ อนและผู้เรียนกบั เพื่อนในช้ันเรียน ลดบทบาทของตนเองเปน็ เพียงผู้ชี้แนะแนวทางและจดั หา จดุ มงุ่ หมายใหก้ ับผเู้ รียน นนทลี พรธาดาวิทย์ (2561, หน้า 27-28) ได้กลา่ วถึงบทบาทของครผู ู้สอน ทีท่ ำให้ผู้เรยี นมีส่วนรว่ มในการจดั การเรียนรเู้ ชิงรกุ (Active Learning) คือ 1) ผสู้ อนเปน็ ผู้วางแผนกิจกรรม หรอื เป้าหมายที่ตอ้ งการพฒั นาผเู้ รียน เน้นผลทีผ่ ู้เรยี นสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง โดยเปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนมีสว่ นร่วมในการ วางแผนกำหนดวิธีการเรยี นรู้ของตนเอง 2) สรา้ งบรรยากาศการมสี ่วนร่วม และการเจรจาโต้ตอบในการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ เพือ่ ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนมีปฏิสัมพนั ธท์ ี่ดี แลกเปลีย่ นเรียนรู้ซึ่งกนั และกนั ระหว่างผู้สอนและเพื่อน ๆในชั้นเรยี น ซึง่ ครูผู้สอนจะต้องใจกว้าง ยอมรับในความสามารถ ในการแสคงออก และความคิดเห็นที่ผเู้ รียนนำเสนอ 3) จดั กิจกรรมการเรียนรู้ แบบบรู ณาการท้ังเน้ือหาสาระ วธิ ีการ และฝกึ ให้ผู้เรยี นได้มกี ารบูรณาการเนือ้ หาสูก่ ารประยุกตใ์ ช้ในสถานการณ์จรงิ สง่ เสริมให้ผู้เรียนมี ส่วนรว่ มในทุกกิจกรรมทีส่ นใจ กระตนุ้ ให้ผเู้ รียนประสบความสำเร็จในการเรียน รวมถึงการ จัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบรว่ มมอื (Collaborative learning) ให้เกิดการร่วมมอื ใน กลุม่ ผู้เรยี น (4) วางแผนในเรอ่ื งของเวลาการสอนอย่างชดั เจน ท้ังในประเดน็ เนือ้ หา และการจดั กิจกรรมการเรยี นรใู้ ห้เหมาะสม เนอ่ื งจากการเรียนรู้เชิงรกุ (Active Leaning) ต้องจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนให้มคี วามหลากหลาย ท้ังการบรรยายหลักการ และ

39 ทฤษฎี รว่ มกับการกิจกรรมเสริม อาทิ การอภปิ ราย พูดคุย การจำลองสถานการณ์ ซึ้ง ต้องใช้เวลาการจดั กิจกรรมทั้งสิน้ แพรทิพย์ พดู เพราะ (2561, หนา้ 33) ได้กล่าวถึง บทบาทของครใู นการ จัดการเรยี นรู้แบบ Active L earning มีดังน้ี 1. สร้างบรรยากาศการเรยี นรทู้ ีผ่ ู้เรยี นได้มสี ว่ นรว่ ม และมีการ ปฏิสัมพนั ธร์ ะหว่างผเู้ รียนกับผสู้ อน และผเู้ รียนกบั เพือ่ นในชน้ั เรียน 2. เลือกกิจกรรมทีห่ ลากหลาย มีความท้าทาย กระตุ้นให้ผู้เรยี นเกิด ความสนใจในการเรียน 3. สง่ เสริมให้ผเู้ รียนค้นหาคำตอบและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง กล้ คิดกล้าแสดงความคิดเห็นในการเรียน 4. วางแผนการจัดการเรยี นรู้อยา่ งชดั เจน ทั้งในด้านเนือ้ หาและเวลา 5. มีความอดทนในการรอคอยคำตอบ ยอมรบั ความสามารถของผเู้ รียน 6. เปลีย่ นบทบาทของผู้สอนจากผู้ใหค้ วามรู้อย่างเดียวเป็นผู้ชแี้ นะ แนวทางและอำนวยความสะดวกในการเรียน สรญั ญพชั ร์ แก้วศรไี ตร (2563, หนา้ 69) ได้กล่าวถึงบทบาทของครูกบั การ จัดการเรยี นรู้เชิงรกุ คือ ครูต้องเป็นผู้ชแี้ นะแนวทางให้แกน่ กั เรียน มกี ารสร้างบรรยากาศใน การสอน มีกระบวนการจดั การเรียนรเู้ น้นเดก็ เป็นศนู ย์กลาง เน้นการปฏิบตั ิจริง มี กระบวนการคิดวิเคราะห์ มีการวดั และประเมินผล ตามสภาพจริง Biggs and MacLean (1969, pp. 55-59) ได้กลา่ วถึงบทบาทของผู้สอนใน การจัดการเรียนรู้ เชิงรกุ วา่ แตกต่างจากการเรียนรู้แบบปกติ ซึง่ สามารถสรุปได้ดังน้ี 1. ผู้สอนมีการวางแผนและเตรยี มการเรียนการสอนที่หลากหลาย สามารถสร้างความสนใจให้แก่ผเู้ รียน ซึง่ เป็นส่วนที่สำคัญมากทีส่ ่งผลต่อการเรียนรู้ของ ผเู้ รียน 2. ผู้สอนอาจเกริ่นนำให้ผเู้ รียนมีการอภิปราย สืบค้นหาคำตอบ หาแหล่ง อ้างองิ วสั ดอุ ุปกรณต์ ่าง ๆ มาช่วยในการเรียนรู้ 3. ใชค้ ำถามเพื่อกระตุ้นการแก้ปญั หาของผเู้ รียน ควรทราบว่าเมื่อใดควร ถาม เมือ่ ใดควรเงยี บเพื่อสงั เกตการคิดของผเู้ รียน 4. คอยส่งเสริมการเรยี นรู้และเปน็ แบบอยา่ งที่ดแี ก่ผเู้ รียน ไม่ใชเ่ ปน็ เพียง ผใู้ ห้ข้อมลู เพียงฝ่ายเดียว

40 5. ผู้สอนควรให้เวลาผเู้ รียนได้ใชค้ วามสามารถในการคิดด้วยตัวเอง 6. ผู้สอนควรมคี วามเช่ยี วชาญด้านเนื้อหาทีไ่ ด้รับผิดชอบ มเี หตุผล มี ความคิดริเรม่ิ สร้างสรรค์ และสามารถสร้างพื้นฐานความรใู้ ห้แก่ผเู้ รียนได้ 7. ผสู้ อนจำเปน็ ต้องประเมินและบนั ทึกผลการเรียนรู้ของผู้เรยี น รายบุคคล 8. อภิปรายถึงการจัดการเรียนการสอนของตวั เองร่วมกบั ผสู้ อนท่านอ่ืน ทีอ่ ยู่ในสถาบันเดียวกนั เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณก์ ารสอน และสามารถนำมาปรบั ใช้ กับการจัดการเรียน 9. แลกเปลีย่ นประสบการณจ์ ดั การเรียนการสอนกับสถาบนั อื่น ๆ เพือ่ ให้เห็นปญั หาและ อุปสรรคในการจดั การเรียนการสอนของตน หรอื เพื่อให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรสู้ ิ่งใหม่ และ การจัดการเรยี นรู้จะเกิดประสทิ ธิภาพมากที่สดุ หากมีการ แลกเปลีย่ นผสู้ อนอย่างนอ้ ย 1 วัน 10. เปิดโอกาสให้ผปู้ กครองมีสว่ นร่วมในประเมินการเรียนการสอน ของตน จากทีก่ ล่าวมาสรปุ ได้ว่า บทบาทของครกู ับการเรียนรเู้ ชิงรกุ ครูต้องเป็นผู้ ชีแ้ นะแนวทาง อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน สร้างบรรยากาศของการมี ส่วนร่วม และการเจรจาโต้ดอบที่ส่งเสริมให้ผู้เรยี นมีปฏิสัมพันธท์ ี่ดกี ับผสู้ อน และเพื่อนใน ชั้นเรยี น วางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างชัดเจน ทั้งเน้ือหา และเวลา ตอ้ งจัด กิจกรรมทีห่ ลากหลาย มีความท้าทาย เรา้ ใจ สามารถกระตุ้นผเู้ รียนใหเ้ กิดแรงจูงใจในการ เรียน เน้นการปฏิบัติจรงิ มีกระบวนการคิดวิเคราะห์ มีการวดั และประเมินผล ตามสภาพ จรงิ 6.2 บทบาทของผู้เรียน สถาพร พฤฑฒิกลุ (2555, หนา้ 9) ได้กล่าวถึงบทบาทของผู้เรยี นใน หอ้ งเรียนที่เรียนรู้แบบ Active learning ดังน้ี 1. นักเรียนมสี ่วนร่วมในการเรียนรู้มากกว่าการรับฟังการบรรยาย 2. ให้ความสำคัญต่อการถ่ายทอดความรใู้ ห้นอ้ ยลงและเน้นการพฒั นา ด้านทักษะของผเู้ รียนมากขึ้น 3. นกั เรียนใชก้ ารเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการเรยี นรู้ และสื่อ นวัตกรรม เพือ่ ให้เกิดความคิดวิเคราะหใ์ นระดับสูง (วเิ คราะห์ สังเคราะห์ และประเมินผล)

41 4. เน้นบทบาทให้ผู้เรยี นได้ค้นหาคณุ ค่าและคา่ นิยมของตนเอง ธนวรรณ นัยเนตร (2560, หนา้ 38) ได้กลา่ วถึงบทบาทของผู้เรยี นในการ จดั การเรยี นรู้เชิงรกุ ควรมี ดังน้ี 1) มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม ต้ังใจฟังผสู้ อน จดบันทึก และทำความเข้าใจในสิง่ ทีเ่ รียนอยู่เสมอ 2) สะท้อนความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรกู้ ับ ผอู้ ืน่ 3) พยายามพัฒนาปรับเปลีย่ นการเรียนรขู้ องตนใหด้ ีข้ึน และนำความรทู้ ีไ่ ด้ไปปรับใช้ 4) สืบคน้ และแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง หรือขอคำปรึกษาจากผู้รู้ และ 5) รับผิดชอบใน หนา้ ทีแ่ ละงานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย พร้อมตรวจสอบความถกู ต้องอย่เู สมอ นนทลี พรธาดาวิทย์ (2561, หนา้ 28) ได้กลา่ วถึงบทบาทของผู้เรยี นในการ จัดการเรยี นรู้เชิงรกุ (Active learning) นั้นต้องการให้ผู้เรียนมบี ทบาทสำคญั ในการ แสดงออก โดยการพูด การฟงั เขียน อ่าน และสะท้อนความคิดของตวั ผเู้ รียนเอง ใน เนือ้ หาวิชาทีศ่ ึกษา โดยการเรียนรู้ทีเ่ กิดข้ึนเปน็ ดงั น้ี 1) มคี วามรบั ผดิ ชอบ เตรียมตัวล่วงหน้าให้พร้อมที่จะเรียนรู้ ศึกษา และ ปฏิบตั ิงานในสิง่ ที่ผสู้ อน มอบหมายใหศ้ กึ ษาลว่ งหน้า 2) ให้ความร่วมมอื กับผสู้ อนในการจัดการเรียนรู้ เรม่ิ จากการวาง แผนการ จัดการเรียนรู้ การดำเนนิ กิจกรรม และการประเมินผล 3) มสี ว่ นร่วมในการเรียนรู้มากกว่าการเปน็ ผรู้ บั เพียงอย่างเดียว กระตอื รอื ร้น ทีจ่ ะเรียนรู้ ได้ลงมอื ปฏิบัติในสถานการณ์จรงิ ดว้ ยตนเอง เพือ่ ให้เกิดการ เรียนรู้ดว้ ยตนเอง ให้ความสำคญั กับการเรียน เนน้ บทบาทให้ผู้เรยี น ได้ค้นคว้า ค้นหา เพือ่ การค้นพบคุณค่า และคา่ นิยม ของตนเอง และเป็นการพฒั นาทางดา้ นทักษะของผู้เรียนให้ มากขึ้น 4) มีทัศนคติที่ดตี ่อการเรียนรู้ เพราะการเรียนรู้ไมใ่ ชเ่ รือ่ งทีน่ า่ เบือ่ แต่ การเรียน แบบสนกุ สนานมีชีวติ ชีวา และการมปี ฏิสมั พันธ์ระหว่างผู้สอนกบั ผเู้ รียน เพือ่ สร้างองค์ความรู้ใหม่ การทำงานเป็นทีม และการยอมรับฟังความคดิ เห็นของผอู้ ื่น 5) การเรียนผเู้ รียนจะต้องเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้และสื่อ นวตั กรรม เพือ่ ให้เกิดกระบวนการทางความคิด มกี ารใช้ความคิดเชิงระบบ สามารถ วิเคราะห์ ในระดับสงู (วิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินผล) การคิดเชิงเหตผุ ล การคิด อย่างมีวจิ ารณญาณ การคิดเชอ่ื มโยง และการคิดอย่างสรา้ งสรรค์ สรญั ญพัชร์ แก้วศรไี ตร (2563, หน้า 71) ได้สรุปบทบาทของนักเรียนกับ การเรียนรเู้ ชิงรกุ คือ ความสามารถในการสอ่ื สาร ถ่ายทอด การมีปฏิสมั พันธ์ทีแ่ สดงออก

42 ถึงการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ระหว่างนกั เรียนด้วยกันเองและระหว่างนักเรียนกบั ครู สามารถ แสดงความสมั พนั ธเ์ ชือ่ มโยงระหว่างส่ิงที่เคยเรียนรู้มาแล้วให้เขา้ กบั สถานการณ์ปัญหา ใหม่ๆ มีความคิดรเิ ริ่มสร้างสรรค์ สามารถแสดงผลของการเรียนรจู้ ากการสร้างองค์ ความรไู้ ด้ดว้ ยตนเองมกี ารวางแผน มีสว่ นร่วมในการแก้ปัญหาดว้ ยตนเอง มคี วามผูกพัน กับการเรียนรู้ ได้ทดสอบแนวคิดของตนเองอย่างสมำ่ เสมอ มีสว่ นรว่ มในกิจกรรมการ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง สามารถแสดงออกถึงการทำงานแบบรว่ มกันในการเรียนรแู้ ละการ รบั ผิดชอบตอ่ บทบาทหน้าที่ของตน Nist and Holschuh (2000, p. 15) ได้เปรียบเทียบบทบาทของผู้เรยี นในการ จัดการเรยี นรู้เชิงรกุ กับการเรียนรแู้ บบปกติ ดงั ตารางที่ 3 ตารางที่ 3 บทบาทของผู้เรียนในการจัดการเรียนรู้เชิงรุกกับการเรียนรแู้ บบปกติตาม แนวคิดของNist and Holschuh (2000) การกระทำ ผู้เรยี นท่เี รยี นรแู้ บบเชิงรุก ผู้เรยี นทเ่ี รยี นรแู้ บบปกติ 1. การอ่าน 1. ผเู้ รียนอ่านเพื่อทำความเข้าใจ 1. ผู้เรยี นอ่านแต่อาจจะไมเ่ ข้าใจ และเพื่อให้สามารถจำได้ หรอื จำไม่ได้ 2. การสะท้อนผล 2. ผเู้ รียนมีการสะท้อนความคิด 2. ผู้เรยี นไม่ได้คิดอย่างมี และการคิดอย่างมี ของตนและเช่อื มโยงระหวา่ ง วิจารณญาณและลงมอื ปฏิบตั ิ วิจารณญาณ ความรเู้ ดิมกับความรใู้ หม่ทีไ่ ด้ เกีย่ วกบั สิง่ ที่อา่ นและได้ยิน จากการอ่าน การฟังบรรยาย และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับ เพื่อน 3. การฟงั 3. ผเู้ รียนได้รับการส่งเสริมใน 3. ผเู้ รียนไม่ได้ให้ความสนใจใน หอ้ งเรียนและจดั ระบบการจด หอ้ งเรียนและไมม่ ีการจดั ระบบ บันทึกด้วยตนเอง หรอื เติมเต็มสมุดบันทึกของตน 4. การจดั การ 4. ผเู้ รียนได้เรียนรู้ในเวลาที่ 4. ผเู้ รียนมีคาบการเรียนการ กบั เวลา เหมาะสม สอนมากเกินไป 5. การ ได้รับ 5. ผู้เรยี นมีการสืบก้นมากและ 5. ผเู้ รียนมีการสบื ค้นนอ้ ยและ การสนบั สนุน ได้รับการชว่ ยเหลือจากผู้สอน ได้รับการช่วยเหลอื จากผู้สอนช้า อยเู่ สมอ เกินไป

43 การกระทำ ผูเ้ รยี นท่เี รยี นรู้แบบเชิงรุก ผเู้ รยี นทเ่ี รยี นร้แู บบปกติ 6. ความรับผดิ ชอบ 6. ผู้เรยี นเข้าใจหน้าทีใ่ นการ 6. ผเู้ รียนมักจะตำหนิผอู้ ื่น เรียนรขู้ องตนเองเม่อื ทราบว่า 7. ผเู้ รียนไม่ถามคำถามใด ๆ ตนเองไมช่ ำนาญในเรื่องใดและ ขณะที่ หรือหลงั จากเรียนรู้ใน จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของ หอ้ งเรียน ตนเองอย่างต่อเนอ่ื ง 7. การสอบถาม 7. ผเู้ รียนมักจะถามคำถาม ข้อมลู ใหม่ ๆ เมือ่ ได้เรียนรสู้ ิ่งที่ไม่ คุ้นเคย จากที่กลา่ วมาสรุปได้ว่า บทบาทของครกู บั การเรียนรเู้ ชิงรุก ผเู้ รียนมีความ กระตอื รอื ร้นที่จะเรียนรู้ ได้ลงมอื ปฏิบตั ิในสถานการณ์จรงิ ดว้ ยตนเอง มีสว่ นรว่ มใน กิจกรรมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง สามารถแสดงออกถึงการทำงานแบบรว่ มกนั ในการ เรียนรู้และการรบั ผดิ ชอบต่อบทบาทหนา้ ทีข่ องตน มีปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งผู้สอนกบั ผเู้ รียน เพือ่ สร้างองคค์ วามรู้ใหม่ การทำงานเปน็ ทีม และการยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สะท้อนความคิดเหน็ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผอู้ ืน่ พยายามพัฒนาปรบั เปลี่ยนการเรียนรู้ ของตนใหด้ ีข้ึน และนำความรู้ที่ได้ไปปรบั ใช้ 1.7 ประโยชน์ของการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning แพรทิพย์ พดู เพราะ (2561, หนา้ 34) ได้กล่าวถึงประโยชนข์ องการจดั การ เรียนรู้แบบ Active learning มีดังนี้ 1. ผเู้ รียนได้มสี ่วนร่วมในการเรียนรู้ ได้ลงมือปฏิบตั ิจริง ทำให้เกิดองค์ ความรทู้ ี่คงทน สามารถนำไปใช้ในชีวติ จริงได้ 2. ทำให้การจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์มคี วามสนุก นา่ สนใจ และท้า ทายความสามารถของผเู้ รียน 3. ทำให้ผู้เรยี นมเี จตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ 4. ผเู้ รียนสามารถจดั ลำดบั ความคิด และเชือ่ มโยงความรใู้ นการ แก้ปญั หาได้ Bonwell and Eison (1991, pp.2-3) กล่าวว่า การจดั การเรียนรู้แบบ Active learning ชว่ ยพฒั นาทักษะความคิดระดบั สูงอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ช่วยให้ผเู้ รียนวิเคราะห์

44 สังเคราะห์ และประเมินขอ้ มูลในสถานการณใ์ หมไ่ ด้ดี รวมถึงช่วยให้ผเู้ รียนเกิดแรงจงู ใจจน สามารถช้ีนำตนเองตลอดชีวิต ในฐานะผู้ฝักใฝ่การเรียนรู้ Meyers and Jones (1993, p.9) กลา่ ววา่ การจดั การเรียนรู้แบบ Active learning ก่อใหเ้ กิดประโยชนก์ ับผเู้ รียน โดยเพิ่มแรงจงู ใจตอ่ การเรียนรู้ ถดการแข่งขัน และ การแยกตวั จากชั้นเรยี นของผเู้ รียนทกุ ๆ คนเรียนรทู้ ี่จะทำงานร่วมกัน และสามารถได้ ข้อมลู ป้อนกลับทันที เนอ่ื งจากธรรมชาตขิ องการจดั การเรียนรู้เป็นแบบที่ส่งเสริมการมี ปฏิสมั พันธ์ต่อกัน ทำให้ผเู้ รียนรู้สึกวา่ คำแนะนำที่ได้รับจากเพื่อนมีคุณค่า จากที่กลา่ วมาสรปุ ได้วา่ ประโยชนข์ องการจัดการเรียนรู้แบบ Active learning มีดังน้ี 1) ผเู้ รียนได้แสวงหาความรู้และลงมอื ปฏิบัติจริงด้วยตนเอง ทำให้เกิดองค์ ความรทู้ ีค่ งทน สามารถนำไปใช้ในชีวติ จริงได้ 2) ช่วยให้ผเู้ รียนวิเคราะห์ สงั เคราะห์ และ ประเมินขอ้ มลู ในสถานการณ์ใหมไ่ ด้ดี 3) ผู้เรยี นได้มีปฏิสมั พนั ธ์กับครู และเพื่อนในช้ันเรยี น 8. งานวจิ ยั ท่เี กีย่ วกบั การจดั การเรียนร้เู ชิงรุก เชดิ ศักดิ์ ภักดีวโิ รจน์ (2562, บทคัดย่อ) ได้วิจยั ผลการจัดการเรียนรู้เชิงรุก เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรท์ ี่มีต่อความสามารถในการแก้ปญั หาทาง คณิตศาสตร์ การคิดอยา่ งมีวิจารณญาณและความเช่อื มนั่ ในตนเอง ของนักเรียนช้ัน มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ผลการวิจยั พบวา่ 1) ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 หลงั ได้รับการจดั การเรียนรู้เชิงรกุ เรื่อง ทักษะ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ สูงกว่าก่อนได้รบั การจัดการเรียนรู้ อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิตทิ ีร่ ะดบั .01 2) ความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ของนกั เรียนช้ัน มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 หลังได้รับการจดั การเรียนรู้เชิงรกุ เร่อื ง ทกั ษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ สูงกวา่ เกณฑ์ร้อยละ 65 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทีร่ ะดบั .01 โดยมีคะแนน เฉลีย่ 16.78 คิดเปน็ รอ้ ยละ 83.90 ของคะแนนเตม็ 3) ความสามารถในการคิดอย่างมี วิจารณญาณของนกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 หลังได้รับการจัดการเรียนรเู้ ชิงรกุ เรือ่ ง ทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ สงู กว่าก่อนได้รับการจดั การเรียนรู้ อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติทีร่ ะดับ .01 4) ความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนกั เรียนช้ัน มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก เร่อื ง ทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ สูงกวา่ เกณฑ์ร้อยละ 65 อย่างมีนยั สำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีคะแนน เฉลี่ย 22.64 คิดเป็นรอ้ ยละ 75.47 ของคะแนนเต็ม 5) ความเชือ่ มั่นในตนเองของนักเรียน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook