145 ขอ้ ดีของการจัดหลักสูตรการเรียนการสอนแบบฐานสมรรถนะ ธำรง บวั ศรี (2542, หนา้ 53) มีดงั นี้ 3.1 กำหนดผลการเรียนรู้อยา่ งชัดเจน ว่าผเู้ รียนสามารถทำอะไรได้ เมือ่ จบหลกั สูตร 3.2 ใช้มาตรฐานสมรรถนะเป็นกรอบในการพัฒนาหลกั สูตร วางแผน การจัดการเรียนการสอน ทำให้การเรยี นการสอนเชือ่ มโยงกบั การประเมนิ ผล และ การรับรองคณุ วุฒิ 3.3 มีเกณฑก์ ารปฏิบตั ิ เพื่อใช้ในการประเมินผลผเู้ รียนทีแ่ น่นอน กรอบมาตรฐานสมรรถนะ ธำรง บวั ศรี (2542, หนา้ 62-63) ได้สรปุ ว่า มาตรฐานสมรรถนะ เปน็ ข้อกำหนดความรแู้ ละทักษะ และนำความรแู้ ละทักษะน้ันๆ ไปประยุกตใ์ ช้ในการทำงาน โดยปฏิบตั ิงานให้ได้ตามมาตรฐานที่กำหนด การจัดหลักสตู รการเรยี นการสอนในหลักสตู ร แบบฐานสมรรถนะ จึงมกี รอบมาตรฐานสมรรถนะเปน็ ตัวกำหนดความรู้และทักษะที่ คาดหวงั ว่าผเู้ รียนจะสามารถปฏิบตั ิภาระงานหรือกิจกรรมตา่ งๆ ได้เม่ือเรียนจบหลักสูตร และสามารถวดั และประเมินผลได้ตามเกณฑก์ ารปฏิบัติที่กำหนด โดยองคป์ ระกอบ ของมาตรฐานสมรรถนะ ประกอบด้วย 1. หนว่ ยสมรรถนะ (Unit of Competence/Competency) เป็นขอบขา่ ย กว้างๆ ของงานในอาชีพหน่ึงๆ ที่ต้องปฏิบัติ โดยใช้ความรแู้ ละทักษะ หรอื อาจรวมถึง เจตคติ 2. สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competence) เปน็ ภาระงานย่อย ที่ประกอบขึน้ ภายใต้งานในหน่วยสมรรถนะน้ันๆ 3. เกณฑก์ ารปฏิบัติ (Performance Criteria) เปน็ กิจกรรมยอ่ ยๆ ภายใต้สมรรถนะยอ่ ย ซึง่ เป็นผลการเรียนรู้ทีค่ าดหวังว่าผเู้ รียนจะสามารถปฏิบัติได้เมอ่ื เรียนจบหลักสตู ร 4. เงอื่ นไขขอบเขตการปฏิบัติ (Conditions/Range of Variables) การปฏิบัติภายใต้เง่ือนไขทีก่ ำหนด อาจรวมถึงวสั ดุ เครื่องมอื หรอื อุปกรณต์ ่าง ๆ ทีก่ ำหนดให้ เพื่อใหก้ ารปฏิบัติงานน้ันสำเร็จเม่อื ได้กรอบมาตรฐานสมรรถะแล้ว การจดั หลักสูตรการเรียนการสอนการกำหนดเน้ือหา และกิจกรรมการเรียนการสอน จะสร้างข้นึ
146 ภายใต้กรอบมาตรฐานสมรรถนะทีก่ ำหนด และจะเชอ่ื มโยงกับการวัดและประเมินผล ซึ่ง อาจเรียกวา่ การทดสอบวดั ตามสมรรถนะ สรปุ ได้ว่า การพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิดสมรรถนะเป็นฐาน เป็นการพฒั นาขีดความสามารถบคุ คลตามกรอบมาตรฐานสมรรถะที่เปน็ ตัวกำหนด ดวามรู้ ทักษะ และคุณลกั ษณะที่คาดหวังว่าบตุ คลนั้นจะสามารถปฏิบตั ิภาระงานหรอื กิจกรรมต่าง ๆ ได้เม่อื จบหลกั สูตร โดยสามารถวัตและประเมินผลไต้ตามเกณฑก์ ารปฏิบัติ ทีก่ ำหนต ซึง่ ในงานวิจยั นีใ้ ด้ใชว้ ิธีการฝึกอบรมสัมมนาเป็นหน่งึ กิจกรรมของการพัฒนา สมรรถนะสมรรถนะในการจดั การเรยี นรู้เชิงรุกของครูผสู้ อนภาษาอังกฤษระดับ ประถมศึกษา แนวคิดเกี่ยวกบั การฝกึ อบรม 1. ความหมายของการฝึกอบรม มีนักการศกึ ษาและนกั วิชาการหลายท่านได้ใหค้ วามหมายของการฝึกอบรม ไว้หลากหลาย ดังนี้ กิตติ พัชรวิชญ์ (2544, หน้า 445) สรปุ ไว้วา่ การฝกึ อบรม หมายถึง กระบวนการจดั กิจกรรมที่ตรงกบั ความเป็นจริงของปญั หา เพื่อพฒั นาความรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะและเปลี่ยนเจตคติของบคุ ลากร และสามารถนำประสบการณท์ ั้งหมดที่ได้รับจากการ ฝกึ อบรมไปใช้แก้ปัญหาของงานทีท่ ำอยู่ใหบ้ รรลคุ วามสำเรจ็ ตามความตอ้ งการของ องคก์ าร เพช็ รี รปู ะวเิ ชตร์ (2554, หน้า 7) กล่าววา่ การฝกึ อบรม หมายถึง กระบวนการ ทีอ่ งค์กรได้จดั ขึน้ มา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ ความสามารถในการทำงานของบคุ ลากร และเพือ่ การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ พฤติกรรม อันไม่พึงประสงค์ของบุคลากร ทั้งนเี้ พื่อให้บุคลากรได้เป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ และมีคณุ สมบตั ิที่องคก์ รคาดหวังหรอื ต้องการ ซึง่ จะนำพาองคก์ รให้สามารถดำเนินการไป ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ สมหวัง มหาวัง (2554, หน้า 100) ได้ให้ความหมายของการฝึกอบรม หมายถึง กระบวนการจดั ประสบการณการเรียนรูทีเ่ ป็นระบบ ซึ่งเปน็ กระบวนการทีส่ ำคัญ ยิ่งที่จะชว่ ยฝกฝน พฒั นาใหบุคลากรในองคกรมีความรูความสามารถ มที กั ษะปฏิบตั ิหรอื ความชำนาญการกับภาระงานที่ได้รับผิดชอบ และมีเจตคติทีด่ ีตอการปฏิบัติงานอันจะ
147 ส่งผลใหบคุ ลากรแต่ละคนในองคกรมีสมรรถนะสูงข้ึน สามารถทำงานรว่ มกนั กับผู้อื่นได้ดี ซึง่ จะทำใหองคกรเป็นองคกรที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลดียิ่งขึน้ ดนยา อนิ จำปา (2559, หน้า 18) ได้ให้ความหมายของการฝึกอบรม หมายถึง กระบวนการที่จดั ให้กบั ผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรมได้เกิดความรู้ ความเข้าใจทกั ษะและ เจตคติตามวัตถปุ ระสงคท์ ี่กำหนดไว้เพื่อใหป้ ฏิบตั ิงานได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ วิไลวรรณ สิทธิ (2560, หน้า 67) ได้ให้ความหมายของการฝึกอบรม หมายถึง การฝกึ อบรมเป็นวิธีการในการพฒั นาบุคลากรให้มคี วามรู้ความเข้าใจ มี ความสามารถ และมีทกั ษะ เกิดเจตคตทิ ีด่ ตี อ่ การปฏิบตั ิงานโดยใช้กลวิธีที่เหมาะสมในการ สร้างประสบการณ์จากการฝกึ ปฏิบตั ิจริงของผู้เข้ารับการฝึกอบรมเพือ่ พัฒนาตนเอง และ หนว่ ยงานใหม้ ีความก้าวหน้ายิง่ ข้ึน แก้วใจ สีมาคาม (2561, หน้า 88) ได้ให้ความหมายของการฝึกอบรม หมายถึง กระบวนการจดั การเรียนรู้เพ่ือเพิม่ พูนความรู้ ทักษะ ความสามารถและเจตคติ ของบคุ คลใหพ้ ัฒนาไปในทิศทางที่ดีข้นึ ภายใต้เงอ่ื นไขของสถานการณแ์ ละระยะเวลาที่ เหมาะสม วิกานดา เกษตรเอี่ยม (2561, หนา้ 87) ได้ให้ความหมายของการฝกึ อบรม หมายถึง กระบวนการเสริมสร้างสมรรถภาพบุคคลใหม้ ีความรคู้ วามสามารถ ทกั ษะ และ ทัศนคตเิ พิม่ ขึน้ และยังสามารถเป็นการเชือ่ ม ความสมั พนั ธ์ระหว่างองคก์ ารและพนกั งาน ในองค์การ ซึง่ จะทำใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการทำงานในขอบเขตของการ ปฏิบตั ิงานเฉพาะด้าน อันมีผลตอ่ ความสำเร็จขององค์กร สิวะนน พรหมมาศ (2561, หนา้ 48-49) ได้ให้ความหมายของการฝึกอบรม หมายถึง กระบวนการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของบุคลากร มุ่งเพิ่มความรู้ (Knowledge) ให้มคี วามเข้าใจ ในการปฏิบัติงาน เพิ่มพนู ทกั ษะ (skill) ในการทำงาน และ เพื่อเปลีย่ นแปลงทัศนคต(ิ attitude) ที่ดตี ่อการทำงาน อันจะนำไปสกู่ ารปรับระดับขีด ความสามารถขององค์การใหม้ ีประสิทธิภาพสูงขึน้ วิไลวรรณ สิทธิ (2561, หน้า 67) ได้ให้ความหมายของการฝึกอบรม หมายถึง วิธีการในการพัฒนาบคุ ลากรใหม้ ีความรคู้ วามเข้าใจ มคี วามสามารถและมีทกั ษะ เกิดเจตคตทิ ี่ดตี ่อการปฏิบตั ิงานโดยใช้กลวิธีที่เหมาะสมในการสร้างประสบการณ์จากการ ฝกึ ปฏิบัติจริงของผู้เข้ารบั การฝึกอบรมเพื่อพัฒนาตนเอง และหน่วยงานให้มีความก้าวหน้า ยิ่งข้นึ
148 Good (1973, p. 163) กล่าวว่า การฝกึ อบรมเปน็ กระบวนการที่ช่วยใหบ้ คุ คล อื่นมีทักษะ และความรู้ โดยจัดขนึ้ ภายใต้สภาวะเงอ่ื นไขบางประการ และการฝกึ อบรมเปน็ การจดั กิจกรรม ระยะสั้น ไม่เหมอื นกับการจัดการศึกษาในสถาบันการศกึ ษาทั่วไป สรปุ ได้ว่า การฝกึ อบรม หมายถึง กระบวนการในการพัฒนาประสิทธิภาพ ในการทำงานของบคุ ลากร ให้มคี วามรู้ ความสามารถ ทกั ษะ และทัศนคติของบคุ คลให้ พัฒนาไปในทิศทางที่ดีข้นึ ภายใต้เง่อื นไขของสถานการณ์และระยะเวลาที่เหมาะสม และ สามารถนำประสบการณ์ท้ังหมดที่ได้รับจากการฝกึ อบรมไปแก้ไขปญั หาของงานทีท่ ำอย่ใู ห้ บรรลุความสำเรจ็ ตามความตอ้ งการ ซึ่งจะทำใหองคกรเป็นองคกรทีม่ ปี ระสิทธิภาพและ ประสิทธิผลดียิง่ ข้นึ 2. ความสำคญั ของการฝึกอบรม กิตติ พัชรวิชญ์ (2544, หน้า 447-448) ได้กล่าวถึงความสำคญั การ ฝกึ อบรมไว้ดังน้ี 1. สร้างความประทับใจใหพ้ นักงานที่เร่มิ ทำงาน 2. เพิม่ ประสิทธิภาพในการทำงานให้สูงข้ึน 3. เตรียมขยายงานขององค์การ 4. พัฒนาพนักงานขององค์การให้ทนั กับความก้าวหนา้ ของเทคโนโลยี 5. สร้างขวญั และกำลังใจให้พนักงานขององคก์ ารให้เกิดความมน่ั คงการ ทำงาน 6. เพิม่ พูนวิทยาการที่เปน็ ประโยชนก์ บั การพฒั นาคุณภาพชวี ิตพนักงาน องคก์ าร 7. ลดงบประมาณค่าวสั ดสุ ูญเปล่า 8. สร้างความสามคั คีในหมู่พนักงาน 9. เปน็ วิธีการแห่งประชาธิปไตย 10. เป็นการส่งเสริมการศกึ ษาตลอดชวี ิตของบุคคล มนูญ ไชยทองศรี (2544, หน้า 16) กล่าวไว้ว่า หน่วยงานต่างๆ จำเปน็ ต้องการฝกึ อบรมให้แก่ผปู้ ฏิบัติงานในหนว่ ยงาน เน่อื งจาก 1. สถานศกึ ษาไมส่ ามารถผลิตบคุ คลที่สามารถปฏิบัติงาน ได้ทนั ทีทีจ่ บ การศกึ ษาจำเปน็ ต้องทำการฝึกอบรมให้ผู้ปฏิบตั ิงานมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและ ทศั นคตทิ ี่ดแี ละเพียงพอกอ่ นที่จะเริ่มลงมอื ปฏิบัติงานน้ันๆ
149 2. ปัจจบุ ันเทคโนโลยีมคี วามเจรญิ ก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว สภาพแวดล้อม ท้ังภายในและภายนอกหนว่ ยงานมีการเปลีย่ นแปลงอยู่เสมอ ผู้ปฏิบัติงานจงึ ควรได้รับการ พฒั นาใหส้ ามารถทำงานได้สอดคล้องกบั สถานการณต์ ่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งการ ฝกึ อบรมเปน็ วิธีการทีด่ ีที่สดุ 3. ความต้องการของผปู้ ฏิบัติงานในการทีจ่ ะมีความเจริญก้าวหน้าใน อาชีพนั้นๆ จงึ พัฒนาความรู้ ความสามารถของตนเอง เพื่อให้มีโอกาสเลื่อนตำแหน่งหน้าที่ การงานซึ่งจะสง่ ผลให้เกิดความเจริญก้าวหน้าตอ่ หน่วยงาน และสร้างขวญั กำลังใจต่อ ผปู้ ฏิบัติงานอีกด้วย แก้วใจ สีมาคาม (2561, หน้า 88) ได้สรปุ ความสำคญั ของการฝกึ อบรมไว้ วา่ การฝกึ อบรมมคี วามสำคัญตอ่ การพัฒนาองค์กรทุกองคก์ ร ทำให้องค์กรเข้มแขง็ มี ศักยภาพ สร้างแรงจงู ใจในการทำงาน ส่งเสริมให้พนักงานมคี วามรทู้ ีท่ นั สมัยก้าวทัน เทคโนโลยีใหมๆ่ ทนั ต่อการเปลีย่ นแปลงทางสงั คม และช่วยป้องกนั และแก้ไขปัญหาทีอ่ าจ เกิดข้ึนกบั องคก์ ร โชติกา กณุ สิทธิ (2563, หน้า 200) ได้สรปุ ความสำคัญของการฝกึ อบรมไว้ วา่ การฝกึ อบรมสามารถทำให้บคุ ลากรได้รบั การพัฒนาความรู้ความสามารถ ทกั ษะและ เจตคติที่ดีต่อการปฏิบตั ิงานนั้นๆ ทำให้การทำงานมปี ระสิทธิภาพ ลดค่าใช้จ่าย แรงงาน และเวลาในการปฏิบตั ิงานน้อยลง ชว่ ยแบ่งเบาภาระการปฏิบตั ิงานของผู้บริหารเกิดการ ประสานงานทีด่ ีและยังเป็นการสรา้ งขวัญและกำลังใจในการปฏิบตั ิงาน สรปุ ได้ว่า การฝกึ อบรมมคี วามสำคัญตอ่ การพัฒนาบุคลากรของทุกองคก์ ร ให้เป็นผู้ทีม่ คี วามรู้ ทักษะ และเจตคตทิ ี่ดใี นการปฏิบตั ิงานนั้นๆ ให้มีประสิทธิภาพ การ ฝกึ อบรมทำให้บุคลากรได้พัฒนาความสามารถของตนเอง และเปน็ การสร้างขวญั และ กำลังใจให้พนกั งานขององค์การให้เกิดความมั่นคงการทำงาน 3. ประเภทของการฝึกอบรม จงกลนี ชตุ ิมาเทวินทร์ (2542, หนา้ 9-11) แบ่งประเภทของการฝกึ อบรมไว้ เป็น 4 ประเภท ดังนี้ 1. การฝกึ อบรมก่อนประจำการ (Pre - entry training) เปน็ การฝึกอบรม ให้กบั ผเู้ ข้ารับการงานใหม่ โดยทั่วไปมกั อยใู่ นระยะทดลองงาน ซึ่งเนือ้ หาของการอบรมจะ เน้นเรอ่ื งของภารกิจแรกเริ่มและภารกิจทว่ั ๆ ไปขององคก์ ร เน้ือหาโดยท่วั ไปจะมีลักษณะ
150 ผสมผสาน คอื มีทั้งการฝึกอบรมในห้องและการฝกึ อบรมภาคสนาม ปกติจะมีชว่ งไม่นาน ประมาณ 2-3 วัน 2. การฝึกอบรมระหว่างประจำการ (In - service training) เปน็ การ อบรมชว่ งทีเ่ ข้าไปทำงานแล้ว หรือผ่านระยะการทดลองงานแลว้ การฝกึ อบรมจะจัดเป็น ระยะ ๆ ให้กบั ระดับของบุคคลที่แตกตา่ งตามที่ต้องการและความสนใจในหลายๆ เรอ่ื งหรอื เปน็ การอบรมเฉพาะเร่อื งคล้ายๆ กับ On The Job Training ซึง่ ระยะเวลายืดหยุ่นได้ตาม ความตอ้ งการส่วนใหญ่ใช้เวลาไม่มากนกั ประมาณ 1-3 สปั ดาห์ 3. การฝกึ อบรมในโครงการ (Project relate training) เป็นการอบรมทีจ่ ัด ให้เจ้าหน้าทีท่ ี่ปฏิบตั ิงานในโครงการเป็นการอบรมเฉพาะเรือ่ ง หรอื ประเภทของบคุ ลากรมี ท้ังการอบรมด้านเทคนิค และการอบรมเชิงปฏิบัติการ การจดั การปกติระยะส้ันใช้เวลา 1 - 3 เดือน หรอื ขึน้ อยกู่ ับความจำเป็นของโครงการ 4. การฝกึ อบรมเพือ่ พัฒนาตนเอง (Self - development training) เปน็ การฝึกอบรมที่มคี วามหมายกว้าง ครอบคลุมผทู้ ีท่ ำงานมานานและความรเู้ ริม่ ไม่ทันกับ ข้อมูลหรอื วิทยาการสมัยใหม่ จึงจำเป็นต้องพัฒนาตนเอง ซึง่ อาจเปน็ การอบรมเพือ่ เพิม่ พูน ความรใู้ หม่ เพื่อพฒั นาตนเองส่วนใหญจ่ ะเปน็ การอบรมนอกสถานที่ ระยะเวลาขึน้ อยู่กบั ความตอ้ งการของผู้เข้ารับการฝึกอบรม มที ั้งระยะส้ันและระยะยาว หรอื รวมทั้งการลาไป ศกึ ษาต่อก็คือการอบรมอย่างหนึ่งเป็นทางการเชน่ กัน ชูชยั สมิทธิไกร (2554, หนา้ 138) ได้แบ่งประเภทของการฝึกอบรมโดยใช้ เกณฑ์ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. แหล่งของการฝึกอบรม เป็นการบง่ บอกถึงแหลง่ ของผรู้ บั ผิดชอบการ ฝกึ อบรม สามารถแบง่ ได้เปน็ 2 ลกั ษณะ คอื 1.1 การฝกึ อบรมภายในองค์การ (in-house training) เป็นการจัด ฝกึ อบรมในสถานที่ทำงาน โดยหนว่ ยฝกึ อบรมขององค์การจะเป็นผอู้ อกแบบ และพฒั นา หลกั สูตร กำหนดตารางเวลา และเชญิ ผทู้ รงคณุ วุฒิท้ังจากภายในและภายนอกมาเป็น วิทยากร 1.2 การซื้อการฝกึ อบรมจากภายนอก การอบรมประเภทนีอ้ งคก์ าร ไมไ่ ด้จดั เอง แต่เป็นการจ้างองคก์ ารจากภายนอกมาใหเ้ ป็นผู้จดั การฝกึ อบรมให้กบั พนักงาน
151 2. การจัดประสบการณก์ ารฝกึ อบรม การฝึกอบรมได้รับการจดั ข้นึ ใน ขณะที่ผู้รับการฝึกอบรมกำลงั ปฏิบัติงาน แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 2.1 การฝึกอบรมในงาน เป็นการให้ผู้เข้ารบั การอบรมได้ฝึก ปฏิบตั ิงานจริงในสถานที่จริง โดยมีพีเ่ ลี้ยงดแู ล 2.2 การฝึกอบรมนอกสถานที่ เปน็ การจัดฝกึ อบรมโดยใหฝ้ กึ อบรมได้ เรียนรู้ส่งิ ใหมๆ่ ในสถานทีฝ่ ึกอบรม และทำการหยดุ ปฏิบัติงานภายในองคก์ ารช่ัวคราว สมหวัง มหาวัง (2554, หน้า 104) ได้สรปุ ประเภทของการฝกอบรม ออกเป็น 4 ประเภท คือ การฝึกอบรมก่อนประจำการ ระหว่างประจำการ การฝกอบรมใน โครงการ และการฝกอบรมเพื่อพฒั นาตนเองซึ่งมีจุดมุ่งหมายของการฝกอบรมที่แตกตา่ ง กันตามความตองการขององคกรเพื่อพฒั นาสมรรถนะของบุคลากรในองคกร ดังนั้นการ พัฒนาครูผสู้ อนเพือ่ พัฒนาตนเองนน้ั ตองใหความสนใจเป็นพิเศษเพราะครูผสู้ อนเป็นบคุ คล ที่สำคัญเป็นอยา่ งมากตอการพฒั นาหลักสูตรสถานศกึ ษาและเปน็ ผนู้ ำหลกั สตู ร สถานศกึ ษาไปสู่การปฏิบตั ิอนั จะส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาโดยรวมต่อไป สรุปได้ว่า ประเภทของการฝกึ อบรมแบง่ ออกเปน็ 4 ประเภทคือ การ ฝกึ อบรมประจำการ (Pre-Easy Training) การฝึกอบรมระหว่างประจำการ (In-Service Training) การฝึกอบรมในโครงการ (Project Related Training) และการฝกึ อบรมเพือ่ พัฒนา ตนเอง (Self-Development Training ซึ่งวตั ถปุ ระสงคข์ องการอบรมจะแตกต่างกนั ตาม ความตอ้ งการ ซึง่ การวิจยั คร้ังนีเ้ ป็นการฝกึ อบรม ประเภทการฝึกอบรมเพือ่ พัฒนาตนเอง (Self-Development Training) 4. เทคนิควธิ ีการฝึกอบรมและขนั้ ตอนการฝึกอบรม 4.1 เทคนิควิธีการฝึกอบรม สุภาพร เทศวิรชั (2548, หน้า 16-18 อ้างถึงใน รตั นา พิชิตปรีชา 2561, หนา้ 46-48) กล่าวว่า เทคนิควิธีการฝึกอบรมมคี วามเหมาะสมกับบคุ คล และสภาพการณ์ ที่แตกตา่ งกัน จงึ ต้องพิจารณาเลือกนำไปใช้ใหเ้ หมาะสมด้วย ซึง่ ได้รวบรวมรายละเอียดไว้ เพือ่ ให้ได้เข้าใจเกีย่ วกบั ลกั ษณะข้ันตอนการนำไปใช้ใหเ้ หมาะกับจดุ มงุ่ หมายของการ ฝกึ อบรม ดงั นี้ 1) การบรรยาย (Lecture) ใช้ถา่ ยทอดความรู้ ขอ้ มลู ข้อเทจ็ จริงและแนว การปฏิบตั ิต่างๆ พิจารณาจากความรู้ในเนื้อหา และความสามารถในการถา่ ยทอดของ วิทยากร เป็นเรื่องทีก่ อ่ นให้เกิดความรคู้ วามเข้าใจ ขอ้ ดีคือ สามารถถ่ายทอดสาระต่างๆ
152 ให้แกผ่ รู้ ับการฝกึ อบรมจำนวนมากได้ในเวลาอนั รวดเร็ว ประหยัดเวลาและทรพั ยากร เป็น เทคนิคพืน้ ฐานของเทคนิคอ่ืนๆ หากมีการซักถามด้วยจะเหมาะกับการฝกึ อบรมที่ต้องการ ให้เกิดทักษะ ความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคล การแก้ปัญหา การยอมรับของผทู้ ี่มสี ว่ นร่วม ข้อจำกัดคือ เปน็ การส่อื สารทางเดียวผฟู้ ังอาจเบื่อหน่าย และไม่อาจใช้ได้กับทกุ เร่อื ง โดยเฉพาะเรื่องที่ตอ้ งสรุปนำไปปฏิบัติการ วทิ ยากรต้องมคี วามรู้ในเนือ้ หาการอบรมเป็น อย่างดี และมีความสามารถในการบรรยายได้ดีดว้ ย 2) การอภิปรายกลมุ่ (Group Discussion) เป็นเทคนิคที่ต้องการให้ผรู้ บั การฝึกอบรม ได้แสดงความคิดเหน็ อย่างอสิ ระ วธิ ีการคือ แบ่งผู้รับการอบรมเป็นกลมุ่ ยอ่ ย กลุ่มละ 4-6 คน และให้ สมาชิกในกลุ่มเลือกประธาน ประธานเลือกเลขานกุ าร ประเดน็ ที่ ได้รบั มอบหมายให้กลมุ่ ทราบ สมาชิกกลุม่ รว่ มแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ หรอื ประสบการณ์ ซึง่ กันและกัน และหาข้อสรุปหรอื ขอ้ เสนอแนะ เลขานุการจดบนั ทึก ตวั แทนกลมุ่ เสนอผล การอภิปรายกลุม่ ตอ่ ที่ประชุมใหญ่ ข้อดคี ือ ได้ แสดงความคิดเห็นของตนอย่างอสิ ระเต็มที่ รวบยอดความคิดและประสบการณ์จากบคุ คลหลายฝ่าย ข้อสรปุ ที่ได้เป็นประโยชน์ตอ่ การ แก้ไขปญั หาอยา่ งแท้จริง และเกิดความสัมพนั ธก์ ับบคุ คลอืน่ ขอ้ จํากดั ไมเ่ หมาะกับคนกลุ่ม ใหญ่ ประธานกลุ่มย่อยต้องสามารถควบคุมการอภปิ รายใหด้ ำเนนิ ไปสู่ เป้าหมายได้ 3) การระดมสมอง (Brain Storming) เป็นการประชมุ กลุ่มที่เปิดโอกาส และกระตุ้น ให้สมาชิกทกุ คนแสดงความคิดเหน็ อย่างเสรี โดยไมม่ ขี ้อจำกัด ไม่วิพากษ์ วิจารณ์ หรอื ตัดสินคณุ ค่า ใดๆ เพื่อให้ได้ความคิดที่หลากหลายและมีปริมาณมากที่สดุ จนกวา่ สมาชิกจะเสนอความคิดหมดแล้ว จึงวิเคราะหเ์ ปน็ ข้อสรปุ เป็นกลุม่ ใหญ่ หรือเปน็ กลุ่มย่อยกไ็ ด้ ขั้นตอนคือ วิทยากรนำหวั ข้อเสนอใน ลกั ษณะคำถาม ใหส้ มาชิกเสนอ ความคิดตามลำดบั ทีน่ งั่ จดบนั ทึกทุกความคิดเดิมให้สมบูรณ์ ขอ้ ที่ไม่ เหมาะสมอาจตัดทิ้ง ไป ขอ้ ดีคือ สง่ เสริมใหท้ ุกคนได้แสดงความคิดเหน็ อย่างเทา่ เทียมกัน ฝึกใหร้ ู้จัก รับฟัง ความคิดเหน็ ของคนอ่นื และส่งเสริมใหไ้ ด้แนวทางแก้ปญั หาจากหลายแนวคิดที่อาจคิด ออก นอกกรอบเดิมของตน ทำให้ได้รปู แบบการแก้ปัญหาหลายแนวทาง ข้อจำกัดคือ ขนาดของกลุม่ ถ้ามีขนาดใหญเ่ กินไปจะขาดความเข้มข้นทำใหค้ วามสนใจของสมาชิกลดลง และหากสมาชิกขาดความรู้ พ้ืนฐาน เรอ่ื งหรอื ปัญหาทีเ่ สนอมาอาจทำให้ความคดิ ที่ได้ไม่ ตรงจดุ 4) กรณีศกึ ษา (Case Study) กำหนดหรือบรรยายสถานการณ์ในรปู ของ งานเขียน เทปบนั ทึกเสียง หรอื วีดีทัศน์ ให้ใช้หลกั วิชาการและประสบการณ์จากการ
153 ปฏิบัติงาน มาวิเคราะหแ์ ลว้ อภิปรายใต้การแนะนำของวิทยากร ขั้นตอนคือ วทิ ยากรเสนอ ภาพของเน้ือหาว่ามีความสัมพนั ธ์ เกี่ยวข้องกับสถานการณ์การทำงานจริงอย่างไร ควรมี รายละเอียดมากพอที่ทำให้เหน็ จุดสำคัญของ ปัญหา เพื่อนำไปส่กู ารตัดสินใจแก้ปญั หาได้ ข้อดคี ือ ผู้รบั การฝึกอบรมมีโอกาสฝกึ ฝนวิเคราะห์ปัญหา และตดั สินใจเลือกวิธีการ แก้ปัญหา เพือ่ นำไปส่กู ารตัดสินใจแก้ปัญหาซึง่ ใกล้เคียงกับความเปน็ จริง ได้แลกเปลีย่ น ความคิดเห็น และเรียนรู้ซึ่งกนั และกันทำให้ได้แนวทางการแก้ปญั หาหลายแนวทาง ชว่ ย เพิม่ พูนประสบการณ์ในการปฏิบตั ิงานให้มากขึ้น เหมาะสำหรับการฝกึ อบรมด้านการ บริหารงาน และด้านทีเ่ กี่ยวข้องกับความสำคัญของมนุษย์ บคุ คลที่เหมาะกับการฝึกอบรม วิธีนคี้ ือ ผบู้ ริหาร ผจู้ ดั การและผู้ทีเ่ ข้าสู่ระดับมืออาชีพ ข้อจำกดั คือ วทิ ยาการตอ้ งมี ความสามารถในการสร้างกรณีศึกษา และตอ้ งมคี วามรู้ความเข้าใจในเรื่องนน้ั เป็นอย่างดี ซึง่ จะชว่ ยใหส้ มาชิกในกลุ่มบรรลุวัตถุประสงค์ได้ 5) การแสดงบทบาทสมมติ (Role Playing) กรณีตัวอย่างมาเสนอใน รูปแบบการ แสดงบทบาทเพือ่ ให้ได้เห็นภาพชัดขึน้ ได้สัมผัสกบั ประสบการณ์และความรู้สกึ ทีแ่ ท้จริงเกีย่ วกบั เรื่อง นน้ั ข้ันตอนคือ ให้ผรู้ บั การอบรมแสดงบทบาทตามสถานการณท์ ี่ วิทยาการกำหนดไว้ล่วงหน้า หรือให้ สร้างบทบาทขึน้ เอง อภปิ รายและวิเคราะหเ์ พื่อ พิจารณาว่ามีสง่ิ ใดเกิดขึ้นบ้างเพราะอะไร โดย สนับสนุนให้ได้ฝึกทักษะต่างๆ และมีความ เช่อื มนั่ ในการจดั การกบั สถานการณ์จรงิ ให้ข้อมูลย้อนกลบั แกผ่ แู้ สดงบทบาทน้ัน เช่น ให้ วิเคราะห์ลกั ษณะผู้นำที่มีผลต่อการปฏิบตั ิงานในองค์การ ควรแสดง บทบาทสมมติผู้นำ หลายแบบเปรียบเทียบกนั ข้อดคี ือ สมาชิกกลุ่มเกิดความสนใจเรือ่ งทีอ่ บรมมากขึ้น ได้ทดลองปฏิบัติจริง ทำให้การเรียนรมู้ ีประสิทธิภาพมากขึ้น สง่ เสริมให้สมาชิกได้แสดง บทบาทตาม แนวคิดของตน เกิดความมั่นใจในตนมากขึ้น เหมาะสำหรบั ฝกึ อบรมบคุ ลากร ระดับผบู้ ริหาร เร่อื งที่ เหมาะกบั วิธีนคี้ ือความสมั พันธร์ ะหว่างผบู้ งั คับบญั ชากับผใู้ ต้บงั คับ บัญชา หรือผบู้ งั คบั บัญชาด้วยกนั ขอ้ จำกดั คือ ใชเ้ วลามากในการหาอาสาสมัครเพือ่ แสดง บทบาท อาจเป็นอุปสรรคเพราะบางคนยงั ไม่ กล้าแสดงออก 6) การฝึกปฏิบัติ (Exercise) เป็นการนำแนวคิดหรอื ทฤษฎีทีไ่ ด้เรียนรู้มา ทดลอง ปฏิบัติในตอนท้ายของการฝกึ อบรม ภายใต้การดูแลของวทิ ยากร ซึ่งจะเตรียม กิจกรรมทีจ่ ะฝกึ ปฏิบตั ิ ทำตาม ขอ้ ดีคือ ผู้รับการฝกึ อบรมได้ปฏิบัติจริงก่อนที่จะนำทักษะ ไปใช้และทกุ คนได้เรียนรดู้ ้วย ตนเอง และเป็นเทคนิคที่จงู ใจใหท้ กุ คนอยากเรียนรู้
154 7) การให้ขอ้ สนเทศ (Information Services) เปน็ การรวบรวมข้อมลู จาก หนงั สือ เอกสาร ตำรา บทความต่างๆ ซึ่งช่วยใหบ้ คุ คลเกิดความคิด ความรู้ และช่วยให้ เกิดการเรยี นรู้ ข้อสนเทศประเภทส่วนตวั และสังคม จะทำให้เกิดความเข้าใจตนเองดีข้ึน และปรบั ปรงุ ความสัมพนั ธ์ กับผอู้ ื่น ขน้ั ตอนคือ จัดนิทรรศการ ทำแผ่นใบปลิวและแผ่นพบั แจกหนังสือเชญิ วิทยากรมาร่วม บรรยายประกอบ ขอ้ ดีคือ ได้รับข้อสนเทศที่มคี ุณค่า เกีย่ วกบั สภาพแวดล้อมอย่างถกู ต้อง ทั้งด้านชีวิต ครอบครัว หรอื การทำงาน เกิด ความสามารถในการตดั สินใจทีด่ ขี นึ้ เพราะมีรากฐานมาจากข้อมูลที่ ถกู ต้องครอบคลุมทุก เรือ่ ง 8) การพิจารณาไตรต่ รอง (Reflection) เปน็ การเรียนรถู้ ึงความคิด ความรสู้ ึกของตนเอง แล้วใช้เหตผุ ลในการพิจารณาหาข้อสรุป ข้อดคี ือ ทำให้ควบคุม ตนเองได้มีโอกาสทบทวนสิ่งทีไ่ ด้กระทำ นอกจากนี้ ผวู้ ิจยั ได้เสนอเทคนิคการฝึกอบรมประเภทต่างๆ เพิม่ เติมตาม แนวคิดของไปแล้วเพื่อหาข้อปรับปรงุ ทีด่ ขี ึน้ สมคิด บางโม (2556, หน้า 85-94 อ้างถึงใน รัตนา พิชิตปรีชา 2561, หน้า 48-49) ดังนี้ 1) การสาธิต (Demonstration) เปน็ การแสดงให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้ เหน็ การ ปฏิบัติจรงิ ซึง่ การกระทำหรือปฏิบตั ิจริงจะมีลักษณะคล้ายการสอนงาน การ สาธิตนยิ มใช้กบั หวั ข้อ วชิ าทีม่ กี ารปฏิบตั ิ เช่น การฝกึ อบรมเกี่ยวกบั การใชเ้ ครือ่ งมือหรอื อุปกรณต์ ่างๆ วิธีการคือ วิทยากรท ให้ดแู ล้วผู้เข้ารับการฝึกอบรมทดลองทำตาม ข้อดี เกิดความรู้ความเข้าใจเร็ว และมีความน่าเชอ่ื ถือสูง เพิ่มทักษะของผู้เข้ารับการฝกึ อบรมได้ ดี ไมเ่ บื่อหนา่ ย สามารถปฏิบัติได้หลายคร้ัง ข้อจำกดั ต้องใช้ เวลาเตรียมการมาก เหมาะ กบั การฝึกอบรมกล่มุ เล็กๆ วิทยากรต้องมีความชำนาญจรงิ ๆ และต้อง ไม่พลาด 2) เกมการบริหาร (Management Games) เป็นการแข่งขันระหว่างกล่มุ บุคคลต้ังแต่ 2 กลมุ่ ขึน้ ไป โดยแข่งขนั เพือ่ ดำเนินการให้บรรลุวตั ถปุ ระสงค์อย่างใดอยา่ ง หนง่ึ เป็นการให้ปฏิบัติ เหมือนเหตกุ ารณ์จรงิ อาจเป็นเรือ่ งเกีย่ วกบั การสอ่ื สาร การ ตัดสินใจ การวางแผน การเปน็ ผู้นำ มนษุ ย์ สัมพันธ์ เปน็ ต้น ขนาดของกลุ่มในการแข่งขัน ขนึ้ อยู่กับเกมทีน่ ำมาใช้วธิ ีการคือ ทุกคนในกลมุ่ รว่ มกันแข่งขันดามเกม ขอ้ ดี เป็นการยอ่ สถานการณ์จรงิ ให้ฝกึ ในชว่ งสนั้ ๆ ผเู้ ข้ารับการฝกึ อบรมมีสว่ น ร่วม ชว่ ยกันคิดชว่ ยกนั ทำ ทำให้มบี รรยากาศเปน็ กนั เอง ได้รับความรู้ โดยไม่รู้ตัว ข้อจำกดั การเลือก เกมที่ไม่
155 เหมาะสมจะไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ การแบ่งกลุม่ มากเกินไปจะเป็นอปุ สรรคในการแข่งขัน และเกมบางชนิดต้องใช้อปุ กรณ์และเวลามาก 3) การศกึ ษาดงู านนอกสถานที่ (Field Trip) เป็นการนำผู้เขา้ รบั การ ฝกึ อบรมไป ศึกษายงั สถานทีอ่ ่นื นอกสถานทีฝ่ กึ อบรม เพื่อให้พบเห็นของจริงซึง่ ผู้จัดจะต้อง เตรียมการเปน็ อยา่ งดี วธิ ีการคือ นำผเู้ ข้ารบั การฝึกอบรมไปศกึ ษาดงู านนอกสถานที่ ข้อดี เพิ่มความรคู้ วามเข้าใจได้เห็นการ ปฏิบัติจริงสร้างความสนใจและกระตอื รือร้น สร้าง ความสมั พนั ธ์ระหว่างผเู้ ข้ารับการฝึกอบรม ข้อจํากดั ต้องใชเ้ วลาและเสียค่าใช้จ่ายมาก ต้องได้รับความร่วมมอื จากทุกฝา่ ย โดยเฉพาะเจ้าของ สถานทีท่ ีจ่ ะไปศกึ ษา 4) การใชก้ ิจกรรมนันทนาการ (Recreational Activity) เป็นการให้ผู้เข้ารับ การ ฝกึ อบรมรว่ มกันทำกิจกรรมอยา่ งใดอย่างหนึง่ หรือหลายอย่าง เช่น การรอ้ งเพลง การ ปรบมือเปน็ จังหวะพร้อมกัน การร้องเพลงประกอบทา่ ทาง การเล่นเกมส้ันๆ เป็นต้น โดย เน้นการทำกิจกรรมเปน็ กลุ่ม ท้ังนีเ้ พื่อมุ่งเปลีย่ นทัศนคติและสร้างความสมั พันธ์ ตลอดจน สร้างความสนกุ สนานในระหวา่ ง การฝกึ อบรม วิธีการคือ ผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรมทำ กิจกรรมอยา่ งใดอย่างหน่งึ ในทางนนั ทนาการ ขอ้ ดี ผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรมมสี ว่ นร่วมทุกคน บรรยากาศสนุกสนานร่นื เริง ผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรมมโี อกาส แสดงออกทุกคน ขอ้ จำกัด ใช้ได้กับบางหัวข้อวิชาเทา่ น้ัน ส่วนมากจะใช้เพื่อเป็นการสลบั กับการ บรรยาย บางคนมี ความรสู้ ึกว่าเป็นการเลน่ วิทยากรต้องมีทกั ษะในการนำกลุม่ การใชฐ้ านกิจกรรม เทคนิคการใชฐ้ านกิจกรรมประยกุ ต์มาจากกิจกรรม วอล์ค แรลล่ี แต่ไมต่ ้องมกี ารเดินแข่งขันกันจรงิ ๆ เพียงแตใ่ ช้สถานที่กว้างพอทีจ่ ะจัดฐาน กิจกรรมได้หลายฐานครบ ตามตอ้ งการ หรอื ใช้ห้องเรียนในอาคารเป็นสถานทีจ่ ัดกิจกรรม แต่ละฐานกไ็ ด้ วิธีการคือ แบง่ ผู้เข้า รับการฝกึ อบรมเปน็ กลุ่ม กล่มุ ละ 5-8 คน ตามความ เหมาะสม จดั ฐานกิจกรรมตามจำนวนกลุ่มที่แบง่ ในแต่ละฐานจดั กิจกรรมให้ปฏิบตั ิโดยมี คำส่ังหรือลายแทงไว้ให้ทุกงาน กำหนดเวลาทำกิจกรรมแต่ละ ฐาน จัดวิทยากรประจำฐาน ไว้ดว้ ยฐานละ 1-2 คน เพื่อแจ้งกติกาหรอื ช่วยเหลอื และเปน็ ผู้สงั เกต พฤติกรรมของแตล่ ะ กลุม่ กิจกรรมทีจ่ ดั ไว้ในแต่ละฐานต้องมุ่งให้เกิดความรู้ และทกั ษะตามความ มุง่ หมายของ โครงการฝกึ อบรมนน้ั ๆ ให้เริ่มทำกิจกรรมพร้อมกนั ทกุ กลมุ่ แลว้ หมุนเวียนกันไปจนครบ ทกุ ฐานหรอื อีกแบบหนง่ึ ให้ทกุ กลมุ่ เริม่ จากฐานที่ 1-2-3 เรอ่ื ยไปจนครบ เมื่อเสรจ็ ส้ินการทำ กิจกรรม ทกุ ฐานแล้วให้มีการประชุมใหญ่ รายงาน และสรุปผลการทำกิจกรรมทกุ กลุ่ม หวั หนา้ วิทยากรสรุป อกี คร้ัง ข้อดี ผเู้ ข้ารบั การฝึกอบรมมสี ว่ นรว่ มทำกิจกรรมทุกคน
156 บรรยากาศสนุกสนาน ท้าทาย ไม่นา่ เบื่อ เป็นการฝึกอบรมภาคสนาม ขอ้ จำกดั ต้องใช้ สถานทีก่ ว้างขวาง ใช้ทีมวิทยากรหลายคน ใชเ้ วลา เตรียมการนาน สรปุ ได้ว่า เทคนิคการฝกึ อบรมกค็ ือ วธิ ีการถา่ ยทอดความรทู้ ักษะ ความ คิดเหน็ ขอ้ เทจ็ จริง ประสบการณ์และทัศนคติ ระหวา่ งผใู้ ห้การอบรมและผเู้ ข้ารบั การ อบรม เพือ่ ให้ผู้ข้ารบั การฝกึ อบรมได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้มากทีส่ ดุ ในเวลาที่จำกัด การ เลือกใช้เทคนิคการฝึกอบรมขนึ้ อย่กู ับจดุ มงุ่ หมายของการฝึกอบรม ลักษณะและจำนวน ของผู้เข้ารับการฝกึ อบรมสถานที่ระยะเวลาในการฝกึ อบรม ความเชี่ยวชาญของวิทยากร มี ความน่าสนใจส่งเสริมกันระหวา่ งประสบการณเ์ ดิมกับประสบการณ์ใหม่ ส่งเสริมการ เรียนรู้ได้หลายทาง ทั้งนีเ้ พราะการเลือกใช้เทคนิควิธีการอบรมที่เหมาะสมส่วนใหญ่ ข้นึ อยู่ กบั วตั ถปุ ระสงคข์ องการฝึกอบรมเป็นสำคัญ 4.2 ข้ันตอนการฝึกอบรม สมคิด บางโม (2551, หนา้ 19 -21) เห็นว่าขั้นตอนการฝกึ อบรมที่มคี วาม กระชบั และสามารถนำไปใช้ได้ง่าย มีดังตอ่ ไปนี้ ข้ันตอนที่ 1 การวิเคราะห์ความต้องการหรอื การหาความจำเป็นใน การฝึกอบรม การวิเคราะห์ความตอ้ งการ หรอื การหาความจำเป็นในการฝึกอบรม เป็นข้ันตอนแรกของการจดั การอบรม กอ่ นที่จะมีการสร้างหลกั สูตรฝึกอบรม เพราะการ วิเคราะห์ดงั กลา่ วจะช่วยให้ทราบข้อมลู ทีจ่ ำเป็นสำหรบั การออกแบบและพัฒนาโครงการ ฝกึ อบรม เพือ่ ให้การฝึกอบรมสอดคล้องกบั ความตอ้ งการและปญั หาขององคก์ าร และเกิด ประโยชน์สูงสุด เมือ่ ทราบความต้องการในการฝึกอบรมแลว้ จึงเตรียมการในขั้นตอนต่อไป ขั้นตอนที่ 2 การกำหนดวัตถปุ ระสงค์ของการฝึกอบรม วตั ถปุ ระสงคข์ องการฝกึ อบรมได้จากการวิเคราะหค์ วามตอ้ งการหรอื ความจำเป็นจากขั้นตอนแรก เปน็ เสมือนเขม็ ทิศสำหรับการออกแบบและพัฒนาหลักสูตร ตอ่ ไป และยังเปน็ สิ่งกำหนดแนวทางการประเมินผลอีกด้วย วตั ถุประสงค์ของการฝึกอบรม ทีด่ คี วรเป็นวตั ถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม (Behavioral Objective) ซึง่ หมายถึงพฤติกรรมที่ แสดงออกมาและสามารถวัดได้ ข้ันตอนที่ 3 การสร้างหลักสูตรฝึกอบรม หลกั สตู รในการฝกึ อบรมยอ่ มแตกตา่ งกันไปตามวัตถุประสงคข์ อง
157 การฝึกอบรม ในการสร้างหลักสตู รฝึกอบรมนนั้ ควรต้ังคณะกรรมการซึง่ ประกอบด้วย ผเู้ ช่ยี วชาญเฉพาพะสาขา หัวหน้าพนกั งาน และผเู้ กีย่ วข้องโดยตรงรว่ มกนั ร่างหลกั สูตร ก่อนทีจ่ ะพฒั นาให้เปน็ หลักสูตรที่สมบูรณต์ อ่ ไป ขั้นตอนที่ 4 การออกแบบโครงการฝกึ อบรม การออกแบบโครงการฝกึ อบรมนับว่ามคี วามละเฮียดอ่อนต้องอาศัย การพิจารณาไตรต่ รองอยา่ งรอบครอบ ผู้ดำเนินการฝึกอบรมหรือวทิ ยากรจะต้องรู้วา่ จะ ดำเนนิ การฝกึ อบรมแบบใดจงึ จะช่วยให้ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมเกิดการเรียนรู้ และพัฒนา ตามจดุ ประสงคท์ ีว่ างไว้ การออกแบบโดรงการฝกึ อบรมจึงต้องคำนึงถึงปัจจยั ต่างๆ มากมายไมว่ ่าจะเปน็ เนือ้ หา หวั ข้อวิชา เทคนิค วธิ ีการฝึกอบรม การเลือกสื่อ การสร้าง เกณฑ์การวดั และประเมินผล วัยของผู้เข้าอบรม และเวลาสำหรับการฝกึ อบรม เป็นต้น ข้ันตอนที่ 5 การดำเนินการฝกึ อบรม การดำเนินการฝกึ อบรมจะต้องบริหารโครงการเป็น 3 ระยะ ดังน้ี ระยะเตรียมการ คือการเตรียมการก่อนฝกึ อบรม เชน่ การจดั ทำ หลักสตู รฝกึ อบรม การประสานงานกับวิทยากร การเตรียมส่อื การเตรียมสถานทีใ่ หพ้ ร้อม เป็นต้น ระยะฝกึ อบรม คือ ต้ังแต่วันแรกของการฝกึ อบรมจนถึงวันสิ้นสดุ การฝึกอบรมในระหว่างน้ีอาจมปี ัญหาและอปุ สรรคต่างๆ เกิดขึ้นได้ ดังนั้นจงึ ควรมีการ ตระเตรียมการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าไว้ดว้ ย ระยะหลังฝึกอบรม จะต้องมีการประเมินผล การส่งหนังสอื ขอบคุณ การจัดทำรายงานโดรงการฝกึ อบรม เปน็ ต้น ข้ันตอนที่ 6 การประเมินผลการฝึกอบรม การประเมนิ ผลการฝึกอบรมเปน็ การวดั และประเมินว่า การฝกึ อบรม เป็นไปตามที่กำหนดไว้และบรรลุวตั ถปุ ระสงค์หรอื ไม่เพียงใด มีปญั หาอปุ สรรคอะไรบ้าง อาจประเมินเมื่อส้ินสุดการฝกึ อบรมทนั ที หรอื ประเมินติดตามผลเมอ่ื ผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรม กลบั ไปปฏิบัติงานแลว้ กระบวนการชองการประเมินผลมี 2 ชนิด คอื การสร้างเกณฑ์ สำหรบั การประเมิน และการวัดผลโดยใช้วธิ ีการทดลอง หรอื วิธีการทีไ่ มใ่ ชก่ ารทดลองกไ็ ด้ สายสุนีย์ กลางประพันธ์ (2558, หนา้ 57) ได้สรปุ ข้ันตอนการฝึกอบรมโดย ท่ัว ๆ ไป มี 6 ข้ันตอน ได้แก่ 1) การวิเคราะห์ความต้องการหรือการหาความจำเป็นในการ ฝกึ อบรม 2) การกำหนดวัตถปุ ระสงค์ของการฝึกอบรม 3) การสร้างหลักสูตรฝึกอบรม4)
158 การออกแบบโครงการฝกึ อบรม 5) การดำเนินการฝึกอบรม 6) การประเมินผลการ ฝกึ อบรม Goldstein (1993, p. 10) สรุปกระบวนการฝึกอบรมอย่างเปน็ ระบบได้ ดังน้ี 1) ระบบของการฝกึ อบรมเปน็ เพียงระบบยอ่ ยระบบหน่ึงขององค์การ และมีปฏิสัมพนั ธ์ (Interaction) กบั ระบบอืน่ ๆ อย่างต่อเนอ่ื ง ตวั อย่าง เช่น นโยบายของ องคก์ ารในด้านการคัดเลือก บคุ ลากร หรอื การจัดการ ย่อมมีอทิ ธิพลอย่างมากต่อการ จดั การฝึกอบรม 2) แนวคิดแบบระบบเน้นการนำข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) มาใช้เพื่อ การปรบั ปรุง กระบวนการฝึกอบรมอยา่ งตอ่ เนื่อง ดังนน้ั โครงการฝกึ อบรมจึงไม่เคยเป็น เพียงจุดหมายปลายทาง แต่จะเป็นสิ่งที่จะต้องได้รับการปรบั เปลี่ยนตามข้อมูลทีไ่ ด้รับมา อยู่เสมอ เพื่อใหบ้ รรลถุ ึงวตั ถุประสงค์ ทีก่ ำหนดไว้ 3) แนวคิดแบบระบบจะทำหนา้ ที่เปน็ เสมือนกรอบความคิด (Frame of reference) สำหรับการวางแผนและดำเนินการการฝึกอบรม Chang (1995, pp.15-16) ได้เสนอแนวคิดในการดำเนนิ การฝึกอบรม แบบ High-IMPACT โดยมีขั้นตอน ดังนี้ 1. กำหนดความต้องการของการฝึกอบรม (Identify Training Needs) โดยการกำหนดเป้าหมายที่ต้องการและความเป็นไปได้ของการฝกึ อบรม เมือ่ การฝึกอบรม สิน้ สุดลง 2. กำหนดวิธีการทีเ่ หมาะสม (Map the Approach) โดยการเลือกวิธี ที่สามารถทำใหก้ ารฝกึ อบรมบรรลุเป้าหมายตามตอ้ งการ 3. สรา้ งเครือ่ งมอื การเรียนรู้ในการฝึกอบรม (Produce Learning Tools) เป็นขั้นตอนที่ผวู้ างแผนการฝกึ อบรม กำหนดสิ่งประกอบตา่ ง ๆ ทีจ่ ะใช้การฝกึ อบรม ท้ังหมด เช่น วัสดุอปุ กรณ์ที่ใช้ในการฝึกอบรม เครื่องมือโสตทัศนอปุ กรณ์ แบบฝกึ กิจกรรม ฯลฯ เพือ่ ทำให้การฝึกอบรมสมบรู ณ์แบบมากทีส่ ดุ 4. กำหนดเทคนิควิธีในการฝกึ อบรม (Apply Training Techniques) เป็นกระบวนการออกแบบรูปแบบการฝึกอบรม โดยการเลือกเทคนิคต่าง ๆ ที่จะทำให้ ประสบผลสำเร็จในการดำเนินการฝึกอบรม 5. กำหนดการวดั และประเมินผล (Calculate Measurable Result) เปน็ การนำผลการประเมินการฝึกอบรมมาพิจารณาว่า การฝึกอบรมสามารถเปลี่ยนแปลง
159 พฤติกรรมของผเู้ ข้ารับการฝกึ อบรมได้หรอื ไม่ ผลของการฝึกอบรมเปน็ อย่างไรซึ่งอาจตอ้ ง กำหนดวิธีการใหมห่ ากจำเปน็ 6. ทดลองดำเนินการฝกึ อบรมตามที่กำหนด (Track Ongoing Follow-Through) เปน็ ข้ันตอนฝึกหดั และทบทวนดำเนินการตามทีก่ ำหนดไว้ให้แนใ่ จว่า ไมม่ ีสิง่ ใดสง่ ผลกระทบให้การฝึกอบรมมขี ้อบกพรอ่ ง จากการศกึ ษาพบวา่ การฝึกอบรมมกี ระบวนการที่เปน็ ระบบ มขี ั้นตอนใน การ ดำเนินการที่ชดั เจนและเปน็ ไปตามลำดบั หากการฝกึ อบรมดำเนินไปตามข้ันตอนทีไ่ ด้ กำหนดไว้จะทำให้เกิดประสิทธิภาพสงู สุดในการพัฒนาคน ผวู้ ิจัยสรุปข้ันตอนในการ ฝกึ อบรมมี 6 ข้ันตอน ดงั นี้ 1) การวิเคราะหค์ วามตอ้ งการหรอื การหาความจำเปน็ ในการ ฝกึ อบรม 2) การกำหนดวัตถุประสงคข์ องการฝึกอบรม 3) การสร้างหลักสูตรฝึกอบรม 4) การออกแบบโครงการฝกึ อบรม 5) การดำเนินการฝึกอบรม 6) การประเมินผลการ ฝกึ อบรม 5. งานวิจยั ท่เี กี่ยวกบั หลกั สูตรฝึกอบรม ผวู้ ิจัยได้ศึกษางานวิจัยเกี่ยวกับการพฒั นาหลักสูตรฝึกอบรมไว้ดงั ตอ่ ไปนี้ คุณาพร วรรณศลิ ป์. (2560, บทคดั ย่อ) ได้วจิ ยั การพัฒนาหลักสูตร ฝกึ อบรมครูด้วยรปู แบบผสมผสาน เรื่อง การทำวิจัยในช้ันเรยี นผลการวิจัย พบวา่ 1) หลกั สูตรอบรมครูด้วยรปู แบบผสมผสาน เร่ือง การทำวิจัยในชนั้ เรียนประกอบด้วย หลกั การ วตั ถปุ ระสงค์ เน้ือหาหลักสูตรฝึกอบรม การจัดกิจกรรมฝกึ อบรมส่ือการ เรียนรู้ การวัดและประเมินผล การจดั กิจกรรมการฝกึ อบรมเป็นแบบผสมผสาน โดยใช้ แบบเผชิญหน้า (Face to Face) ในขณะปฏิบตั ิงานสอนปกติ ผ่านระบบบนเว็บไซต์ ออนไลน์ และการติดตอ่ ส่อื สาร มีการฝึกอบรมเป็น 3 ระยะ ดงั นี้ การฝกึ อบรม ระยะที่ 1 ใช้เวลา 2 วัน เป็นการอบรมเชิงปฏิบตั ิการให้ความรู้เน้ือหาการทำวิจัยในชนั้ เรียน โดยวิทยากร การฝึกอบรม ระยะที่ 2 ใชเ้ วลาตลอดปีการศกึ ษา เป็นการปฏิบัติการทำวิจัยในชั้นเรียน ใน สถานศกึ ษา มีการนเิ ทศให้คำปรึกษา เรียนรู้เน้ือหาผา่ นทางเว็บไซต์ ออนไลน์ และการ ติดตอ่ ส่อื สาร และการฝกึ อบรม ระยะที่ 3 ใชเ้ วลา1 วนั เป็นการนำเสนอผลงานวิจัยโดย การจดั นทิ รรศการเผยเพร่ผลงาน หลักสตู รฝกึ อบรมครูด้วยรูปแบบผสมผสาน เร่อื ง การ ทำวิจัยในชน้ั เรียน มคี ณุ ภาพเหมาะสมมากทีส่ ดุ ทกุ องคป์ ระกอบ และในภาพรวมมีความ เหมาะสมมากที่สดุ 2) ผลการใชห้ ลักสูตร (1) ความรู้ ความเข้าใจในการทำวิจัย
160 ในช้ันเรียนของครหู ลังการฝึกอบรมสงู กวา่ กอ่ นการฝึกอบรม อยา่ งมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดบั .05 (2) ความสามารถในการทำวิจัยในชั้นเรียนของครมู คี ะแนนผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 80 และมีคะแนนเฉลีย่ คิดเป็นรอ้ ยละ 85.17 (3) ความพึงพอใจของครูทีม่ ีตอ่ การอบรม หลักสตู รฝกึ อบรมครดู ้วยรูปแบบผสมผสาน เรอ่ื ง การทำวิจัยในชน้ั เรียน โดยภาพรวมมี ความพึงพอใจอยูใ่ นระดบั มากที่สดุ (������̅ = 4.52 S.D. = 0.50) (4) ความคิดเห็นของผู้บริหาร ที่มตี อ่ การอบรมหลักสตู รฝึกอบรมครดู ้วยรูปแบบผสมผสาน เรอ่ื ง การทำวิจัยในช้ันเรียน โดยภาพรวมมีความคิดเห็นอยใู่ นระดับเห็นด้วยมากทีส่ ดุ (������̅ =4.57, S.D. = 0.50) นีรนาท จุลเนียม (2560, บทคัดย่อ) ได้วจิ ยั การพฒั นาหลักสตู รฝกึ อบรม เพื่อเพิม่ สมรรถนะความฉลาดทางอารมณข์ องนกั ศกึ ษาสหกิจศึกษา มหาวิทยาลยั หอการค้าไทย มีวตั ถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาหลกั สตู รฝึกอบรมเพือ่ เพิม่ สมรรถนะความ ฉลาดทางอารมณ์ของนกั ศึกษาสหกิจศึกษา มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย และ 2) ประเมินผลการใช้หลักสตู รฝกึ อบรมเพือ่ เพิ่มสมรรถนะความฉลาดทางอารมณน์ ักศกึ ษาสห กิจศกึ ษา มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ดำเนินการวิจยั ใช้ลกั ษณะการวิจยั กึ่งทดลอง (Quasi experimental research) การพฒั นาหลกั สตู รอาศยั แนวคิดของ (Tyler) มี 4 ข้ัน คือ ขั้นที่ 1 การวิเคราะห์ความตอ้ งการจำเป็นในการพฒั นาหลักสตู ร ข้ันที่ 2 การออกแบบ และการ พัฒนาหลกั สูตร ขน้ั ที่ 3 การทดลองใชห้ ลักสตู ร และขั้นที่ 4 การประเมินคุณภาพหลักสตู ร ด้วย CIPP Model กลุ่มตวั อย่างในการทดลองคอื นักศึกษาสหกิจศึกษา มหาวิทยาลัย หอการค้าไทย ทีล่ งทะเบียนภาคการศกึ ษาที่ 2 ปีการศึกษา 2558 ที่มคี ะแนนความฉลาด ทางอารมณ์ต่ำกวา่ 140 คะแนน จำนวน 30 คน จากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) โดยใช้แบบแผนการวิจยั แบบหน่ึงกลุม่ สอบก่อนสอบหลงั (The one-group pretest-posttest design) เคร่อื งมอื ที่ใช้ ได้แก่ 1) แบบวัดความฉลาดทางอารมณ์ 2) แบบสอบถามความพึงพอใจทีม่ ตี อ่ หลกั สตู รฝกึ อบรมเพื่อเพิม่ สมรรถนะความฉลาดทาง อารมณ์ของกล่มุ ตวั อย่าง และ 3) แบบประเมินเจตคติของผู้ประกอบการที่มีต่อการใช้ หลกั สูตรฝึกอบรมเพื่อเพิ่มสมรรถนะความฉลาดทางอารมณข์ องนกั ศึกษาสหกิจศึกษา มหาวิทยาลยั หอการค้าไทย วิเคราะห์ข้อมลู โดยการหาคา่ รอ้ ยละ ค่าเฉลี่ย สว่ นเบี่ยงเบน มาตรฐาน และ t-test ผลการวิจยั พบว่า 1. หลักสูตรฝึกอบรมที่พฒั นาขึน้ มีคณุ ภาพเหมาะ สำหรับเพิม่ สมรรถนะความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษา มอี งค์ประกอบสมรรถนะ 3 ด้าน คอื 1) การเข้าใจตนเอง 2) การเข้าใจผอู้ ื่น และ 3) การอยู่รว่ มกนั ในสังคม โดยมีความ เหมาะสมของหลกั สูตร เท่ากบั 4.69 และค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างองคป์ ระกอบของ
161 หลักสูตร เท่ากับ 0.98 2. ผลการประเมินการใช้หลักสูตรฝึกอบรม หลังจากการฝึกอบรม สงู กวา่ กอ่ นการฝกึ อบรม อยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถิติที่ระดบั .05 3. ความพึงพอใจของ นักศึกษาตอ่ หลกั สตู ร ภายหลงั การฝกึ อบรมสูงขึน้ กวา่ ก่อนการฝึกอบรม อยู่ในระดบั มาก ที่สุด เท่ากบั 4.55 4. เจตคติของผปู้ ระกอบการทีม่ ีต่อการใชห้ ลักสตู รฝึกอบรม อย่ใู นระดับ มากทีส่ ดุ ทีค่ ่าเฉลี่ย 4.50 5. การประเมินหลักสตู รด้วย CIPP Model มีคณุ ภาพอยูใ่ นระดบั มาก คา่ เฉลีย่ 4.22 แสดงใหเ้ หน็ ว่าหลกั สตู รฝกึ อบรมนี้ มคี วามเหมาะสมสามารถนำไปใช้ จัดฝึกอบรมได้ รตั นา พิชิตปรีชา. (2561, บทคดั ยอ่ ) ได้วจิ ัยการพัฒนาหลกั สูตรฝกึ อบรม เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารสำหรับนกั ศึกษา สถาบันเทคโนโลยีปทมุ วัน มี วตั ถปุ ระสงค์เพื่อ 1) พัฒนาหลักสูตรฝกึ อบรม เรอ่ื ง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร สำหรับนกั ศกึ ษา สถาบนั เทคโนโลยีปทุมวนั 2) ศกึ ษาผลการทดสอบการใช้หลกั สูตร ฝกึ อบรม เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร สำหรับนกั ศกึ ษา สถาบันเทคโนโลยี ปทุมวนั กลุม่ ตัวอย่าง ได้แก่ นกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี (ภาคปกติ) ช้ันปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศกึ ษา 2560 สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน จำนวนนักศึกษา 20 คน ระยะเวลาทีใ่ ชใ้ น การฝึกอบรม 15 ชัว่ โมง แผนการฝึกอบรมแบบกลุ่มเดียวทดสอบก่อนและหลังฝกึ อบรม (one group pretest-posttest design) เครือ่ งมือที่ใชใ้ นการวิจัย ประกอบด้วย 1) หลักสูตร ฝกึ อบรม เรือ่ ง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สาหรับนักศกึ ษา สถาบนั เทคโนโลยี ปทมุ วัน จำนวน 3 หน่วย 2) แบบทดสอบวัดผลการทดสอบกอ่ นและหลังการฝกึ อบรม สถิตทิ ี่ใชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มลู ได้แก่ คา่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย (������̅) คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และสถิตกิ ารทดสอบที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1) หลักสตู รฝึกอบรม เรื่อง เทคโนโลยี สารสนเทศและการส่อื สาร สำหรบั นกั ศกึ ษา สถาบันเทคโนโลยีปทมุ วนั มีความเหมาะสม อยใู่ นระดับมากทีส่ ดุ (������̅ =4.74, S.D.=0.282) ประกอบด้วย 9 องค์ประกอบ ได้แก่ (1) แนวคิด (2) หลกั การ (3) จุดประสงคข์ องหลักสตู ร (4) เนือ้ หา (5) โครงสร้างของหลกั สูตร (6) เวลาการฝึกอบรม (7) วิธีการฝึกอบรม (8) สือ่ การฝึกอบรม (9) การวดั และประเมินผล โดยใช้เวลาในการฝึกอบรม จำนวน 15 ชัว่ โมง 2) ผลการทดสอบการใชห้ ลักสตู รฝกึ อบรม เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สาหรบั นกั ศกึ ษา สถาบันเทคโนโลยีปทมุ วัน พบวา่ ผลการทดสอบหลงั การฝึกอบรม มคี ่าเฉลี่ยสูงกว่ากอ่ นการฝกึ อบรม อย่างมี นัยสำคัญทางสถิตทิ ีร่ ะดับ 0.05
162 โชติกา กณุ สิทธิ์ (2563, บทคัดยอ่ ) ได้วจิ ยั การพฒั นาหลกั สูตรฝกึ อบรม เสริมสรา้ งสมรรถนะการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ตามแนวคิดการใช้สมอง เป็นฐานสำหรับครปู ฐมวัย สงั กัดสำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสกลนคร เขต 1 ผลการวิจัยพบว่า 1) หลกั สูตรทีพ่ ัฒนาข้นึ มีองค์ประกอบ ดังนี้ (1) ความเปน็ มา (2) หลักการ (3) จุดมุ่งหมาย (4) สมรรถนะสำคญั (5) โครงสร้างเน้ือหา (6) กิจกรรมการ ฝกึ อบรม (7) ส่ือและแหลง่ เรียนรู้ และ (8) การวัดผลและประเมินผล โดยที่สมรรถนะ สำคญั แบ่งเปน็ 3 ดา้ น คอื 1) ดา้ นความรู้ 5 สมรรถนะ 25 ตวั บง่ ชี้ 2) ดา้ นทกั ษะ 2 สมรรถนะ 4 ตวั บ่งชี้ และ 3) ดา้ นคุณลักษณะ 3 สมรรถนะ 6 ตัวบ่งชี้ โครงสรา้ งเน้ือหามี 6 หน่วยการเรียนรู้ คือ (1) การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตรส์ ำหรบั เด็กปฐมวัย (2) การเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน (3) สอ่ื แหล่งเรียนรู้ และสภาพแวดล้อมในการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้วทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคิดการใช้สมองเป็นฐาน 4) การวัดและ ประเมินพฒั นาการของเด็กปฐมวัย (5) การออกแบบและการจัดทำแผนการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ตามแนวคิดการใช้สมองเป็นฐาน และ (6) การนำ แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สูก่ ารปฏิบัติในสถานศกึ ษา กิจกรรมการฝกึ อบรม มี 4 ขั้นตอน คือ (1) ขน้ั ประสบการณ์ (2) ขน้ั การสะท้อนและอภปิ ราย (3) ขนั้ ความคิดรวบ ยอด และ (4) ข้ันการประยุกต์ใช้แนวคิด 2) ผลการทดลองใชห้ ลักสูตรฝึกอบรม พบว่า (1) สมรรถนะด้านความรขู้ องครู หลังการฝึกอบรมสงู กวา่ กอ่ นการฝึกอบรม และสงู กวา่ เกณฑ์ ทีต่ ง้ั ไว้ทีร่ ้อยละ 80 อย่างมีนัยสำคญั ทางสถิติที่ระดบั .05 (2) สมรรถนะด้านทกั ษะของครู ทีไ่ ด้รบั การฝึกอบรมอยใู่ นระดบั ดีมาก (������̅ = 4.86, S.D. = 0.07) และสงู กว่าเกณฑ์ที่ตง้ั ไว้ที่ ค่าเฉลี่ย 3.50 อยา่ งมนี ยั สำคญั ทางสถิติทีร่ ะดบั .05 และ (3) สมรรถนะด้านคุณลักษณะ ของครูหลังการฝกึ อบรมสูงกวา่ กอ่ นการฝกึ อบรม อย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกจากน้ัน ครูยงั มคี วามพึงพอใจตอ่ การใช้หลักสตู รฝึกอบรมอยู่ในระดบั มากทีส่ ุด (������̅ = 4.67, S.D. = 0.32) พระปลดั ภมู พิ ัฒเน์ พิมอักษร (2564) ได้วจิ ยั การพัฒนาหลักสตู รฝกึ อบรม เพือ่ เสริมสรา้ งคุณธรรมจริยธรรมสำหรบั นักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 มีวตั ถุประสงค์เพื่อ 1)พัฒนาหลกั สูตรฝกึ อบรมเพือ่ เสริมสร้างคุณธรรมจรยิ ธรรมสำหรบั นักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 12)เปรียบเทียบความเข้าใจในคณุ ธรรมจริยธรรมของนกั เรียนระหว่างกอ่ น และหลังการฝกึ อบรมและ3)ศกึ ษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ทีม่ ตี ่อ หลกั สูตรฝกึ อบรมเพือ่ เสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมกลมุ่ ตวั อย่าง เป็นนกั เรียนชนั้ มัธยม
163 ศกึ ษาปีที่ 1/1 จำนวน 27 คน ภาคเรียนที่ 1ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรียนสะแกโพรงอนสุ รณ์ สงั กดั สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาบรุ ีรัมย์ เขต 1 ได้มาจากการสมุ่ อย่างง่าย โดยการจบั สลาก เครื่องมอื ได้แก่ หลักสูตรฝึกอบรมคู่มือการใชห้ ลกั สูตร แผนการจดั กิจกรรมฝึกอบรม จำนวน 10 แผน แบบทดสอบวัดความเข้าใจในคุณธรรมจรยิ ธรรม มีลักษณะเปน็ แบบปรนัย 4 ตวั เลือก จำนวน 30 ขอ้ มคี ่าความเชือ่ มั่น 0.88 และ แบบสอบถามความพึงพอใจ จำนวน 12 ข้อ วเิ คราะห์ข้อมลู โดยใช้คา่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่า ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน และการทดสอบคา่ ทีแบบไมเ่ ป็นอิสระตอ่ กัน ผลการวิจัย พบวา่ 1) หลกั สตู รฝกึ อบรมเพื่อเสริมสร้างคณุ ธรรมจริยธรรมทีพ่ ัฒนาข้นึ มี 7 องคป์ ระกอบ ได้แก่ ความเปน็ มาและหลกั การ วัตถุประสงค์ เน้ือหาสาระโครงสรา้ งหลักสูตร การจดั กิจกรรม ฝกึ อบรม สือ่ /วัสดุการฝกึ อบรม การวัดและประเมินผลและมีคณุ ภาพอย่ใู นระดับมาก 2) นักเรียนมีความเข้าใจในคณุ ธรรมจริยธรรมหลังการฝกึ อบรมสงู กวา่ กอ่ นฝึกอบรมอย่าง มีนยั สำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) นักเรียนมคี วามพึงพอใจตอ่ หลกั สตู รฝึกอบรมเพื่อ เสริมสรา้ งคณุ ธรรมจรยิ ธรรมภาพรวมอย่ใู นระดับมาก Brun (1997, p. 728) ได้พัฒนาหลักสตู รฝึกอบรมผนู้ ำสำหรบั ผู้สนใจ ทางวิทยาศาสตรท์ ี่ต่ำกวา่ ปริญญา ซึง่ เปน็ นักเรียนหญิงและทำการประเมินสะสม (Evaluation) ใช้เน้ือหาจากผู้เช่ยี วชาญที่กำหนดตามแนวทางภาวะผนู้ ำแบบเชอ่ื มโยงโครง ร่างหลักสูตรน้ี ได้ทำการทดลองโดยใช้วธิ ีการวัดกอ่ นและหลังการฝึกอบรม (Pre-post Evaluation) กลุ่มนกั เรียนหญิง 59 คน ฝึกอบรม 15 ชั่วโมง 1 หน่วยการเรียน มีกลุ่ม ทดลองและกลมุ่ ควบคุม ใช้แบบ LPI (Leadership Practices Inventory) แบบรายงาน ประเมินตนเองของคูซ และพอสเนอร์ (Kouzes & Posner) ปี 1993 และใช้แบบสอบถาม พฒั นาข้นึ เพือ่ วัดผลกระทบของหลกั สูตร ผลการวิจัยไม่พบนัยสำคญั ของความแตกต่าง ระหว่างการวัดครั้งหลงั (Posttest) ของกลมุ่ ทดลองและกลมุ่ ควบคุมในเร่อื ง ตัวแปรรว่ มแต่ พบว่า มีความแตกต่างในเรื่องการเปลีย่ นแปลง การวางแผนอาชีพ การพิจารณาตำแหน่ง ผนู้ ำ สรปุ ผลว่า หลักสตู รฝึกอบรมน้ี สามารถจูงใจกลุ่มทดลองให้มีความกระตอื รือร้น มีความเป็นผู้นำมากขึ้นและเรียนรู้กาวะผู้นำเพิม่ ขึน้ และความเชือ่ ม่นั ในตนเองมากขนึ้ ด้วย จากการศกึ ษางานวิจยั เกีย่ วกับการพฒั นาหลกั สตู รฝึกอบรม พบวา่ หลักสตู รฝกึ อบรมที่นกั การศกึ ษาได้พัฒนาขึ้นอยา่ งเป็นระบบสามารถเปลีย่ นแปลง พฤติกรรมความรู้ความเข้าใจ ทักษะและคุณลักษณะของผู้เรยี นใหส้ ูงขึน้ กวา่ กอ่ นการ ฝกึ อบรม
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวจิ ยั การวิจัยครั้งนี้ เปน็ การวิจัยเพือ่ พฒั นาหลกั สูตรฝึกอบรมเพือ่ เสริมสร้าง สมรรถนะในการจัดการเรียนรเู้ ชงิ รุกของครูผสู้ อนภาษาองั กฤษระดับช้ันประถมศึกษา สงั กัดสำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต 2 โดยใช้รูปแบบการวิจยั และพฒั นา (Research and Development) โดยแบง่ การดำเนนิ งานออกเปน็ 3 ระยะ ดงั นี้ ระยะที่ 1 ศึกษาข้อมลู พืน้ ฐานเกี่ยวกบั สมรรถนะในการจัดการเรยี นรู้เชิงรุก ของครผู ู้สอนภาษาองั กฤษระดบั ช้ันประถมศึกษา สังกัดสำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษา ประถมศึกษานครพนม เขต 2 ผวู้ ิจยั แบง่ ข้ันตอนการดำเนินงานออกเป็น 2 ขั้นตอน ดงั น้ี ขั้นตอนที่ 1 ศกึ ษาสมรรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้เชิงรกุ ของครูผสู้ อน ภาษาอังกฤษระดับช้ันประถมศกึ ษาจากเอกสาร ตำรา และงานวิจยั ที่เกีย่ วข้องกับ สมรรรถนะในการจดั การเรียนรู้เชงิ รุก และสัมภาษณ์ผเู้ ชี่ยวชาญจำนวน 5 คน เพือ่ สังเคราะหเ์ ป็นกรอบสมรรถนะและตวั บง่ ชี้ด้านการจัดการเรียนรู้เชิงรกุ และศกึ ษาความ คิดเหน็ ของผเู้ ชย่ี วชาญเกีย่ วกับความเหมาะสมและความเปน็ ไปได้ของกรอบสมรรถนะและ ตวั บง่ ชี้ ข้ันตอนที่ 2 ศกึ ษาสภาพที่มีอย่จู รงิ สภาพที่คาดหวังและความต้องการ จำเปน็ เกีย่ วกบั สมรรถนะและตวั บ่งชี้ ดา้ นการจัดการเรียนรเู้ ชงิ รกุ ของครูผสู้ อน ภาษาอังกฤษระดบั ประถมศึกษา ระยะที่ 2 การพฒั นาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะในการ จัดการเรยี นรู้เชิงรกุ ของครูผสู้ อนภาษาอังกฤษระดับชั้นประถมศึกษา สงั กัดสำนกั งานเขต พืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต 2 ผวู้ ิจัยแบ่งขน้ั ตอนการดำเนินงานออกเป็น 4 ขั้นตอน ดังน้ี ข้ันตอนที่ 1 ศกึ ษาแนวคิดเกี่ยวกบั การพฒั นาหลักสตู รฝึกอบรมเพือ่ เสริมสรา้ งสมรรถนะในการจดั การเรยี นรู้เชิงรกุ ขั้นตอนที่ 2 ยกรา่ งหลักสูตรและคูม่ ือการใช้หลกั สตู รฝึกอบรมเพื่อ เสริมสรา้ งสมรรถนะในการจดั การเรยี นรู้เชิงรุกของครูผสู้ อนภาษาอังกฤษระดบั ชั้น ประถมศึกษา สังกดั สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต 2
165 ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบคุณภาพของรา่ งหลกั สูตรและคู่มอื การใช้ หลกั สูตรฝกึ อบรมเพือ่ เสริมสร้างสมรรถนะในการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูผสู้ อน ภาษาอังกฤษระดับชั้นประถมศกึ ษา สังกัดสำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา นครพนม เขต 2 ขั้นตอนที่ 4 ปรบั ปรุงแก้ไขหลักสตู รและคู่มอื การใช้หลักสูตรฝึกอบรม เพื่อเสริมสรา้ งสมรรถนะในการจัดการเรียนรเู้ ชิงรกุ ของครูผสู้ อนภาษาองั กฤษระดับช้ัน ประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต 2 ระยะที่ 3 การทดลองและศึกษาผลการทดลองใชห้ ลกั สูตรฝึกอบรมเพือ่ เสริมสรา้ งสมรรถนะในการจดั การเรยี นรู้เชิงรุกของครูผสู้ อนภาษาอังกฤษระดบั ชั้น ประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต 2 ผวู้ ิจัยแบ่ง ขั้นตอนการดำเนินงานออกเปน็ 3 ข้ันตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 เตรียมการก่อนการทดลองหลักสูตรฝึกอบรมเพือ่ เสริมสร้าง สมรรถนะในการจดั การเรียนรเู้ ชงิ รกุ ของครูผสู้ อนภาษาอังกฤษระดับชั้นประถมศึกษา สงั กัดสำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต 2 ข้ันตอนที่ 2 ดำเนินการทดลองหลักสูตรฝกึ อบรมเพื่อเสริมสร้าง สมรรถนะในการจดั การเรียนรเู้ ชงิ รกุ ของครูผสู้ อนภาษาอังกฤษระดับชั้นประถมศึกษา สังกดั สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต 2 โดยใช้รปู แบบการทดลอง แบบกลมุ่ เดียว มีการทดสอบกอ่ นและหลังการทดลอง (One Group Pretest-Posttest Design) ข้ันตอนที่ 3 ศกึ ษาผลดำเนินการทดลองหลกั สตู รฝึกอบรมเพือ่ เสริมสรา้ งสมรรถนะในการจัดการเรียนรู้เชิงรกุ ของครูผสู้ อนภาษาอังกฤษระดบั ช้ัน ประถมศึกษา สังกัดสำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต 2 โดยนำ ข้อมูลมาวิเคราะห์ในประเด็น ดังนี้ 1. เปรียบเทียบสมรรถนะดา้ นความรใู้ นการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รุกของ ครูผสู้ อนภาษาองั กฤษระดับประถมศึกษากอ่ นและหลังการฝึกอบรม และหลังการทดลอง เทียบกับเกณฑท์ ี่ตงั้ ไว้ทีร่ ้อยละ 80 ของคะแนนเต็ม 2. เปรียบเทียบสมรรถนะดา้ นทกั ษะในการจัดการเรียนรู้เชงิ รุกของ ครูผสู้ อนภาษาองั กฤษระดับประถมศึกษาหลงั การฝกึ อบรมและเทียบกบั เกณฑ์ทีต่ ้ังไว้ที่ ร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม
166 3. เปรียบเทียบสมรรถนะดา้ นคณุ ลกั ษณะในการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ของครูผู้สอนภาษาองั กฤษระดบั ประถมศึกษาก่อนและหลงั การฝกึ อบรม 4. ศกึ ษาความพึงพอใจของครูต่อการใช้หลกั สูตรฝกึ อบรมเพือ่ เสริมสรา้ งสมรรถนะในการจดั การเรยี นรู้เชิงรุกของครูผสู้ อนภาษาอังกฤษระดบั ประถมศึกษาหลังการฝกึ อบรม 5. ศึกษาข้อมูลเชิงคุณภาพถึงผลการพัฒนาสมรรถนะของครผู ู้สอน ภาษาอังกฤษโดยการวิเคราะห์ขอ้ มลู จากการสมั ภาษณ์ ครูกลมุ่ เป้าหมายในกิจกรรมการ ฝกึ อบรม และสัมภาษณ์ผเู้ รียน 6. ปรบั ปรุงหลุกสูตรฝกึ อบรม ผวู้ ิจยั ได้ดำเนินการวิจยั เร่อื งการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพือ่ เสริมสร้าง สมรรถนะในการจัดการเรียนรเู้ ชงิ รุกของครูผสู้ อนภาษาองั กฤษระดับช้ันประถมศึกษา สงั กัดสำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต 2 มีรายละเอียดแต่ละ ข้ันตอน ดังน้ี ระยะที่ 1 การศึกษาขอ้ มลู พ้นื ฐานเพื่อการพัฒนากรอบความคดิ ของ หลกั สูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสรา้ งสมรรถนะในการจดั การเรียนรเู้ ชิงรุกของ ครผู ้สู อนภาษาอังกฤษระดับชน้ั ประถมศึกษา สงั กัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศกึ ษานครพนม เขต 2 การดำเนินการในระยะที่ 1 ผวู้ ิจัยได้แบง่ ขั้นตอนการดำเนินงานออกเปน็ 4 ข้ันตอน ประกอบด้วย ขัน้ ตอนท่ี 1 ได้ศกึ ษาสมรรรถนะดา้ นการจัดการเรียนรู้เชงิ รุกของครผู ู้สอน ภาษาอังกฤษระดับช้ันประถมศกึ ษาจากเอกสาร ตำรา และงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้องกบั สมรรรถนะในการจดั การเรียนรู้เชงิ รกุ และสัมภาษณ์ผเู้ ชี่ยวชาญจำนวน 5 คน เพื่อ สงั เคราะหเ์ ป็นกรอบสมรรถนะและตัวบ่งชี้ด้านการจัดการเรียนรู้เชิงรกุ และศกึ ษาความ คิดเหน็ ของผเู้ ชย่ี วชาญเกีย่ วกบั ความเหมาะสมและความเปน็ ไปได้ของกรอบสมรรถนะและ ตัวบง่ ชี้ ดังตอ่ ไปนี้ 1. ดำเนนิ การศกึ ษาสมรรถนะจากเอกสาร ตำรา และงานวิจัยที่เกีย่ วกบั สมรรถนะในการจัดการเรียนรเู้ ชงิ รกุ ของครูผสู้ อนภาษาอังกฤษ เพือ่ กำหนดเปน็ กรอบ สมรรถนะในการจดั การเรียนรเู้ ชงิ รกุ ของครูผสู้ อนภาษาองั กฤษ ประกอบด้วย สมรรถะ 3
167 ด้าน 14 สมรรถนะ ได้แก่ ด้านความรู้ จำนวน 5 สมรรถนะ ดา้ นทักษะ จำนวน 6 สมรรถนะ และด้านคุณลกั ษณะ จำนวน 3 สมรรถนะ มีรายระเอียตดังตอ่ ไปนี้ 1.1 สมรรถนะด้านความรู้ ได้แก่ 1) มีความรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกบั หลกั สตู ร 2) มีความรคู้ วามเข้าใจเกีย่ วกบั การจัดการเรียนรู้เชงิ รุก 3) มีความรคู้ วามเข้าใจ เกีย่ วกบั การออกแบบและจัดทำแผนการเรียนรู้เชิงรุก 4) มีความรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกับสื่อ ประกอบการจัดการเรียนรู้เชิงรกุ 5) มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั การวดั และประเมินผล การเรียนรู้ 1.2 สมรรถนะด้านทักษะ ได้แก่ 1) สามารถนำหลักสตู รไปใช้จดั การ เรียนรู้เชิงรุกได้ 2) สามารถออกแบบและจดั ทำแผนการจดั การเรียนรู้เชิงรกุ ได้ 3) สามารถจดั กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุกได้ 4) สามารถใช้ และพฒั นาสื่อการเรียนรู้และ นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพือ่ การเรียนรู้ได้ 5) สามารถจดั บรรยากาศที่เอือ้ ต่อการเรียนรู้ ของผู้เรยี นได้ 6) สามารถวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริงของผู้เรยี นได้ 1.3 สมรรถนะด้านคุณลกั ษณะ ได้แก่ 1) มีเจตคติทีด่ ีต่อการจัด การเรียนรเู้ ชิงรกุ 2) มีความมุ่งม่ันในการพัฒนาผเู้ รียน 3) มีความคิดสร้างสรรค์ในการ จดั การเรียนรเู้ ชิงรกุ 2. ผวู้ ิจยั ดำเนินการสัมภาษณ์ผเู้ ช่ยี วชาญ จำนวน 5 คน โดยนำกรอบ สมรรถนะท้ัง 3 สมรรถนะ ที่ได้จากการศกึ ษาเอกสาร ตำรา ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง มาเป็นกรอบการสัมภาษณ์เพื่อหาสมรรถะและตวั บ่งชดี้ ้านการจัดการเรยี นรู้เชงิ รุกของ ครูผสู้ อนภาษาองั กฤษระดับประถมศึกษา โดยผู้เชีย่ วชาญทั้ง 5 คน มีคณุ สมบัติดังนี้ 2.1 ผเู้ ชย่ี วชาญด้านการจดั การเรียนรู้เชิงรุก จำนวน 1 คน ซึ่งเปน็ ผสู้ อนที่เกีย่ วข้องหรือมีประสบการณใ์ นการจดั การเรียนรรู้ ะดบั ประถมศกึ ษา และยินดีให้ ความรว่ มมอื ในการวิจัย 2.2 ผเู้ ช่ยี วชาญด้านหลักสตู รและการสอนระดับประถมศกึ ษา จำนวน 2 คน ซึง่ เป็นอาจารยผ์ ู้สอนในสาขาวิชาหลกั สตู รและการสอนในระดบั อดุ มศกึ ษาที่ มีประสบการณ์ด้านหลักสูตรการสอนประถมศึกษาไมน่ ้อยกว่า 10 ปี และยินดีให้ความ รว่ มมอื ในการวิจัย 2.3 ผเู้ ช่ยี วชาญด้านการจดั การเรียนร้เู ชิงรกุ ในสถานศึกษา จำนวน 1 คน ซึง่ มปี ระสบการณ์การสอนระดบั ประถมศกึ ษาไม่น้อยกว่า 10 ปี และยินดีให้ความ ร่วมมอื ในการวิจัย
168 2.4 ผเู้ ช่ยี วชาญด้านการจัดทำหลักสูตรการจดั การเรียนรู้เชงิ รุก จำนวน 1 คน ซึ่งเป็นศึกษานิเทศก์ ที่มปี ระสบการณ์ในการจัดทำหลักสูตรการจัดการ เรียนรเู้ ชงิ รกุ ระดบั ประถมศึกษาไมน่ ้อยกวา่ 10 ปี และยินดีให้ความรว่ มมอื ในการวิจัย เครื่องมือที่ใชใ้ นการวิจยั คือ แบบสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสรา้ ง เกี่ยวกับสมรรถนะและตวั บง่ ชีด้ ้านการเรียนรู้เชงิ รกุ ของครผู สู้ อนภาษาองั กฤษระดับ ประถมศึกษา จำนวน 1 ฉบับ การสรา้ งและหาประสิทธิภาพของเครอ่ื งมือท่ใี ชใ้ นการวจิ ัย โดยผู้วจิ ัยดำเนินการ ดังน้ี ศกึ ษาเอกสารแนวคิดการสร้างแบบสัมภาษณ์แบบไมม่ ี โครงสรา้ ง กำหนดประเด็นการสมั ภาษณ์ตามกรอบสมรรถนะที่สังเคราะห์ได้จากเอกสาร ตำรา (ตามรายละเอียดในข้อที่ 1.1-1.3/ สร้างเปน็ แบบสมั ภาษณ์ และนำแบบสัมภาษณ์ แบบไมม่ ีโครงสร้างไปเสนออาจารยท์ ีป่ รึกษาวิทยานิพนธ์พิจารณาเสนอแนะเพือ่ ปรับปรงุ และแก้ไขเป็นฉบบั สมบูรณเ์ พื่อนำไปใช้ในการเก็บข้อมลู ต่อไป การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล โดยผู้วจิ ยั ประสานงานกับสำนักงาน บณั ฑติ วิทยาลยั เพื่อจัดทำหนงั สือราชการของความอนเุ คราะหผ์ เู้ ชี่ยวชาญ เพือ่ สัมภาษณ์ ให้ได้กรอบสมรรถนะและตัวบ่งชีด้ ้านการเรียนรู้เชิงรกุ ของครผู ู้สอนภาษาอังกฤษระดับ ประถมศึกษา และนัดหมายผเู้ ชย่ี วชาญ จำนวน 5 คน การวเิ คราะหข์ ้อมลู นำข้อมลู ที่ได้จากการศกึ ษาเอกสาร ตำรา แนวคิดทฤษฎี งานวิจัย มากำหนดเปน็ กรอบสมรรถนะด้านการเรียนรู้เชงิ รกุ ของครผู ู้สอน ภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา จากนั้นดำเนนิ การสมั ภาษณเ์ ชิงลกึ (In Depth) โดย ผเู้ ช่ยี วชาญใหค้ วามคิดเหน็ ที่ตรงกนั วา่ สมรรถนะควรครอบคลุมตามกรอบสมรรถะทั้งด้าน ความรู้ ทักษะ และคุณลกั ษณะ จำนวน 3 สมรรถะ ซึ่งผเู้ ช่ยี วชาญไมไ่ ด้เพิ่มเตมิ สมรรถนะ แต่ให้รายละเอียดตัวบ่งชีข้ องสมรรถนะแต่ละสมรรถนะ โดยผวู้ ิจัยได้นำผลการสมั ภาษณ์ สรุปออกมาเปน็ สมรรถะและตวั บ่งชี้ ดงั นี้ สมรรถนะด้านความรู้มี 5 สมรรถนะ สมรรถนะ ด้านทักษะมี 6 สมรรถนะ สมรรถนะด้านคุณลกั ษณะมี 3 สมรรถนะ จากนั้นผวู้ ิจยั ได้นำ กรอบสมรรถนะและตวั บง่ ชี้ที่ได้ไปให้อาจารย์ทีป่ รึกษาวิทยานิพนธไ์ ด้พิจารณาตรวจสอบ ความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) ปรบั เปลีย่ นภาษาในข้อที่ซ้ำซ้อนและกระชับ เช่น สมรรถนะด้านทกั ษะ ตัวบ่งชีใ้ นการออกแบบจดั ทำแผนการสอนปรบั เปน็ การจดั ทำ แผนการจัดการเรียนรู้ จากนั้นสรปุ กรอบสมรรถนะและตวั บ่งชี้ด้านการเรียนรู้เชิงรุกของ ครผู สู้ อนภาษาองั กฤษระดับประถมศึกษา เพื่อนำไปใช้ในข้ันตอนตอ่ ไป
169 3. ศกึ ษาความคิดเห็นของผู้เช่ยี วชาญเกีย่ วกับกรอบสมรรถนะและตวั บง่ ชีด้ ้านการเรียนรู้เชิงรุกของครูผู้สอนภาษาองั กฤษระดบั ประถมศึกษา โดยนำกรอบ สมรรถนะและตัวบ่งชีท้ ีไ่ ด้จากข้อ 1 ไปให้ผู้เชีย่ วชาญได้ประเมินความเหมาะสมและความ เปน็ ไปได้ ดังน้ี เครื่องมือทีใ่ ช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามประเมินความเหมาะสม และเป็นไปได้เกี่ยวกบั กรอบสมรรถะและตวั บง่ ชี้ ด้านการเรียนรู้เชิงรุกของครูผสู้ อน ภาษาอังกฤษระดบั ประถมศึกษา จำนวน 1 ฉบบั การสร้างและหาประสิทธิภาพของเครอ่ื งมือท่ใี ชใ้ นการวจิ ัย โดยผู้วจิ ยั ดำเนินการ ดังน้ี 1. สร้างและศกึ ษาเอกสาร แนวคิด และทฤษฎีทีเ่ กี่ยวข้องกบั การสรา้ งแบบประเมินกรอบสมรรถนะด้านการเรียนรเู้ ชิงรุกของครผู ู้สอนภาษาองั กฤษ ระดับประถมศึกษา ที่ได้จาการสังเคราะห์ขนึ้ ในข้ันตอนที่ 1 2. กำหนดกรอบโครงสร้างและประเด็นความคดิ เห็นเกี่ยวกับ กรอบสมรรถนะและตัวบ่งชี้ ดา้ นการเรียนรู้เชิงรกุ ของครูผู้สอนภาษาอังกฤษระดบั ประถมศึกษา ซึ่งเปน็ แบบสอบถาม มาตราวัดประมาณคา่ 5 ระดบั และชนิดปลายเปิด ใน ประเด็น ดังนี้ ตอนที่ 1 ความเหมาะสมและดวามเปน็ ไปได้ของกรอบสมรรถนะและตัวบ่งชี้ การเรียนรเู้ ชิงรุกของครูผสู้ อนภาษาองั กฤษระดบั ประถมศกึ ษา มรี ะดบั ความคิดเห็น 5 ระดบั และตอนที่ 2 ความคิดเหน็ เพิม่ เตมิ และข้อเสนอแนะ 3. นำร่างแบบประเมินดงั กล่าวเสนออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ พิจารณาเสนอแนะเพือ่ ปรับปรุงและแก้ไขในเบือ้ งตน้ 4. นำร่างแบบประเมินที่ปรับปรงุ แล้วเสนอต่อคณะผเู้ ชี่ยวชาญ พิจารณาตรวจสอบความตรงเชิงเนือ้ หา (Content Validity) ปรับเปลีย่ นภาษาในข้อที่ ซ้ำซ้อน ปรับสำนวนภาษาใหก้ ระชับ และจดั หมวดหมู่ของสมรรถนะและตัวบง่ ชี้ จากนั้น เลือกผลการประเมินในรายประเด็นสมรรถนะจากข้อที่มีคา่ I0C รายข้อ อยู่ระหว่าง 0.80- 1.00 และปรับปรงุ ตามคำแนะนำของผเู้ ช่ยี วชาญอีกคร้ัง ได้แก่ การจดั หมวดหมขู่ อง สมรรถนะและตัวบ่งชี้ การใช้ภาษาคำที่ให้ความหมายที่ชัดเจน 5. ปรับปรงุ แก้ไขแบบประเมินตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ และจัดทำเปน็ แบบประเมินฉบบั สมบรู ณเ์ พือ่ นำไปใช้เกบ็ รวบรวมข้อมูลตอ่ ไป
170 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู โดยผู้วจิ ยั ประสานงานกบั สำนักงานบณั ฑิต วิทยาลัย เพื่อจดั ทำหนงั สอื ราชการของความอนุเคราะห์ผู้เชี่ยวชาญในการประเมิน ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของกรอบสมรรถนะและตวั บง่ ชีก้ ารจดั การเรียนรู้เชิงรุก ของครูผู้สอนภาษาองั กฤษระดับประถมศึกษา และนดั หมายผู้เชีย่ วชาญ จำนวน 5 คน โดย มีคุณสมบตั ิดงั น้ี 1. ผเู้ ชย่ี วชาญด้านหลกั สูตรและการสอน จำนวน 1 คน ซึ่งเป็น อาจารยผ์ สู้ อนในสาขาหลักสตู รและการสอนในระดับอุดมศกึ ษา มีประสบการณ์อยา่ งน้อย 5 ปี ที่มวี ฒุ ิการศกึ ษาระดับปริญญาโทขึน้ ไป และยินดีใหค้ วามรว่ มมอื ในการวิจยั 2. ผเู้ ช่ยี วชาญด้านการจดั การเรียนรู้เชิงรุกของครผู ู้สอน ภาษาอังกฤษระดบั ประถมศึกษา จำนวน 1 คน ซึง่ เปน็ ครูผู้สอนที่มปี ระสบการณ์ในการจัด การเรียนรเู้ ชิงรุก ทีม่ ปี ระสบการณอ์ ย่างน้อย 5 ปี ที่มีวุฒิการศกึ ษาระดับปริญญาโทขึน้ ไป และยินดีให้ความรว่ มมอื ในการวิจยั 3. ผเู้ ชย่ี วชาญด้านการวิจยั ทางการศึกษา หรือการวดั และ ประเมินผล จำนวน 3 คน ซึ่งเปน็ ศึกษานิเทศก์ หรืออาจารย์ผสู้ อนในระดบั อุดมศกึ ษา ทีม่ ปี ระสบการณอ์ ย่างนอ้ ย 5 ปี ที่มวี ุฒิการศกึ ษาระดับปริญญาโทขึน้ ไป และยินดใี ห้ ความรว่ มมอื ในการวิจัย การวเิ คราะห์ข้อมลู ผวู้ ิจยั นำข้อมลู คะแนนระดับคุณภาพ ทีเ่ ก็บรวบรวมได้จากการสอบถามความคิดเห็นเกีย่ วกับกรอบสมรรถะและตัวบ่งชี้ ด้านการจดั การเรยี นรู้เชิงรุกของครผู สู้ อนภาษาองั กฤษระดบั ประถมศึกษา มาตรวจให้ คะแนนตามเกณฑน์ ำ้ หนกั ของคะแนนที่กำหนดไว้ ดงั น้ี (บุญชม ศรสี ะอาด, 2553, หนา้ 121) 5 หมายถึง คุณลักษณะที่ทา่ นต้องการเสริมสร้างมากทีส่ ุด 4 หมายถึง คุณลักษณะทีท่ า่ นตอ้ งการเสริมสร้างมาก 3 หมายถึง คณุ ลกั ษณะที่ท่านตอ้ งการเสริมสร้างปานกลาง 2 หมายถึง คุณลกั ษณะที่ทา่ นตอ้ งการเสริมสร้างน้อย 1 หมายถึง คณุ ลักษณะที่ทา่ นตอ้ งการเสริมสร้างน้อยที่สดุ นำคะแนนทีไ่ ด้ไปทำการวิเคราะห์หาค่าเฉลีย่ (������̅) และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.) แล้วนำค่าเฉลีย่ ที่ได้จากการวิเคราะหไ์ ปเปรียบเทียบกบั เกณฑ์เพือ่ ใชใ้ น
171 การแปลความหมาย โดยใช้เกณฑก์ ารแปลความหมายคา่ เฉลี่ย ดงั ตอ่ ไปนี้ (บญุ ชม ศรี สะอาด, 2554, หน้า 121) 4.51-5.00 หมายถึง มคี ุณลักษณะทีท่ า่ นตอ้ งการเสริมสร้างมาก ที่สุด 3.51-4.50 หมายถึง มคี ณุ ลกั ษณะทีท่ า่ นตอ้ งการเสริมสร้างมาก 2.51-3.50 หมายถึง มคี ณุ ลักษณะทีท่ ่านตอ้ งการเสริมสร้าง ปานกลาง 1.51-2.50 หมายถึง มคี ณุ ลักษณะทีท่ ่านตอ้ งการเสริมสร้างนอ้ ย 1.00-1.50 หมายถึง มีคณุ ลักษณะทีท่ ่านตอ้ งการเสริมสร้างนอ้ ย ที่สุด ผลจากการประเมินโดยคณะผเู้ ชย่ี วชาญที่ประเมินความเหมาะสมและ เปน็ ไปได้ ปรากฎรายละเอยี ดในบทที่ 4 ซึง่ ผเู้ ช่ยี วชาญทั้ง 5 คนยงั ใหข้ ้อเสนอแนะและ ข้อคิดเห็นเพิ่มเตมิ มาปรบั ข้อความของตัวบง่ ช้ใี ห้สื่อความหมายได้ชัดเจน ดงั นี้ ควรปรบั ภาษาให้สือ่ ความหมายได้ตรงประเดน็ และชดั เจน เชน่ ปรับคำวา่ \"ขอบข่าย\" เป็น \"วิธีการ\" ให้ใชค้ ำว่า \"วิเคราะห์\"และ \"สังเคราะห\"์ แทนคำวา่ อธิบายในบางตัวบ่งชี้ การ จัดการเรยี นรู้เชิงรกุ ของครูผสู้ อนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา ขยายข้อความให้ ครอบคลมุ เนือ้ หา ซึ่งผู้วิจัยได้ดำเนินการปรบั ปรงุ เพื่อใหไ้ ด้สมรรถะและตัวบง่ ชีท้ ีส่ ่ือ ความหมายสมบูรณ์เพื่อนำไปใช้ในข้ันตอนต่อไป ขั้นตอนท่ี 2 ศกึ ษาสภาพที่มีอยู่จรงิ สภาพที่คาดหวังและความต้องการ จำเปน็ เกี่ยวกบั สมรรถนะและตวั บ่งชี้ ด้านการจัดการเรียนรเู้ ชงิ รกุ ของครูผสู้ อน ภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา โดยดำเนินการ ดังนี้ ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาขอ้ มูลพื้นฐาน ประชากร คือ ครูผสู้ อนทีจ่ บวิชาเอกภาษอังกฤษในระดบั ประถมศึกษา สังกัดสำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต 2 จำนวน 203 คน กล่มุ ตัวอย่าง คือ ครผู ู้สอนที่จบวิชาเอกภาษองั กฤษในระดบั ประถมศึกษา สังกดั สำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต 2 จำนวน 136 คน ที่ได้มาจากการสมุ่ แบบหลายขั้นตอน (Multi-stage Random Sampling) ดังนี้
172 1. กำหนดขนาดของกลมุ่ ตวั อย่างโดยใช้ตารางของ Krejcie and Morgan (1970 อ้างถึงใน บุญชม ศรีสะอาด, 2554, หน้า 42-43) ทีร่ ะดับความเช่อื ม่ัน ในการสมุ่ เลือกกลุ่มตวั อย่าง 95% จากจำนวน 203 คน ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 136 คน 2. กำหนดให้อำเภอเปน็ ช้ันข้อมูล ซึ่งมี 6 อำเภอ ได้แก่ นาหว้า นาทม ศรีสงคราม ท่าอุเทน โพนสวรรค์ และบ้านแพง แล้วสุ่มอยา่ งง่ายโดยวิธีจบั ฉลาก ได้มา 3 อำเภอ ได้แก่ นาหว้า ศรีสงคราม และบ้านแพง 3. กำหนดใหป้ ระเภทโรงเรียนเป็นกลุม่ ข้อมูล จำนวน 84 โรงเรียน มคี รูผสู้ อนทีจ่ บวิชาเอกภาษอังกฤษในระดบั ประถมศึกษา จำนวน 136 คน ผวู้ ิจัยเลือก ทกุ คนเป็นกลมุ่ ตวั อย่าง ดังตาราง 7 ตาราง 7 กลุ่มตัวอย่างทีใ่ ช้ในการศึกษาข้อมลู พืน้ ฐาน รายช่อื อำเภอทีส่ ่มุ ได้ จำนวนโรงเรียน กลุ่มตวั อย่าง (คน) นาหว้า 24 36 44 60 ศรสี งคราม 26 40 บ้านแพง 84 136 รวม เครือ่ งมือทีใ่ ชใ้ นการวิจัย คือ แบบสอบถามสภาพที่มีอยจู่ รงิ และสภาพ ที่คาดหวงั เกี่ยวกบั สมรรถนะและตัวบง่ ชี้ด้านการจดั การเรียนรู้เชงิ รกุ จำนวน 1 ฉบับ การสร้างและหาประสิทธิภาพของเคร่อื งมือทใ่ี ช้ในการวจิ ัย ผวู้ ิจยั ได้ ดำเนนิ การสร้างและหาประสิทธิภาพของแบบสอบถามเพือ่ ใชเ้ ปน็ เครื่องมอื ในการสำรวจ ความคิดเห็น สภาพที่มอี ยูจ่ ริงและสภาพที่คาดหวังเกีย่ วกบั สมรรถนะและตวั บ่งชี้ด้านการ จัดการเรยี นรู้เชิงรกุ โดยดำเนินการ ดังน้ี 1. ศึกษาแนวทางการสร้างแบบสอบถามความคิดเห็นจากเอกสาร ตำราที่เกี่ยวข้อง 2. นำข้อมลู ที่ได้มากำหนดกรอบโครงสรา้ ง และประเด็นในการ สอบถามความคิดเห็นด้านความตอ้ งการจำเปน็ เกี่ยวกับสมรรถนะด้านการจดั การเรียนรู้ เชงิ รกุ ซึง่ เป็นมาตราวดั ประมาณค่า 5 ระดบั ชนิดปลายเปิด โดยกำหนดเป็น 2 ตอน ดังนี้ 2.1 ตอนที่ 1 ขอ้ มลู สภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม มลี กั ษณะเป็น แบบตรวจสอบรายการ (Check List)
173 2.2 ตอนที่ 2 ความคิดเห็นด้านความตอ้ งการจำเปน็ เกี่ยวกับ สมรรถนะด้านการจดั การเรียนรู้เชงิ รุก ซึง่ เป็นมาตราวดั ประมาณค่า 5 ระดบั และ ส่วนท้ายของแบบสอบถามมีช่องว่างไว้ให้แสดงความคิดเหน็ เพิม่ เตมิ เกีย่ วกับความต้องการ จำเป็นเกีย่ วกบั สมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้เชิงรกุ 3. นำร่างแบบสอบถามทีส่ ร้างข้ึนเสนออาจารยท์ ีป่ รึกษาวิทยานิพนธ์ พิจารณาเสนอแนะเพื่อการปรับปรงุ และแก้ไขในเบือ้ งต้น 4. นำร่างแบบสอบถามที่สร้างข้นึ ไปให้ผู้เชีย่ วชาญชดุ เดิมกับ ข้ันตอนที่ 2 พิจารณาตรวจสอบความตรงเชิงเนือ้ หา (Content Validity) และความเทีย่ ง (Reliability) ปรบั เปลีย่ นภาษาในข้อที่ซ้ำซ้อน ปรบั สำนวนภาษาให้กระชบั และจัดหมวดหมู่ ของสมรรถนะและตัวบ่งชีส้ มรรถนะในบางขอ้ ซึ่งค่า I0C ที่สามารถนำไปใช้ได้ควรอยู่ ระหว่าง 0.80-1.00 5. ปรับปรงุ แก้ไขแบบสอบถามตามข้อเสนอแนะของผเู้ ช่ียวชาญ และจัดทำเป็นแบบสอบถามฉบับสมบรู ณเ์ พือ่ นำไปใช้เกบ็ รวบรวมข้อมลู ตอ่ ไป การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยประสานงานบณั ฑติ วิทยาลยั เพื่อจัดทำ หนงั สือราชการขอความอนุเคราะหเ์ กบ็ รวบรวมข้อมูลการวิจัยเกีย่ วกับความตอ้ งการ จำเป็นเกี่ยวกบั สมรรถนะด้านการจดั การเรียนรู้เชิงรุก และส่งแบบสอบถามไปเกบ็ ข้อมูล จากกลมุ่ ตัวอย่าง จำนวน 136 คน โดยสง่ ทางไปรษณีย์ถึงโรงเรียนทีเ่ ปน็ กลุ่มตวั อยา่ ง แล้ว ส่งกลบั คืนมาทางไปรษณีย์ และสำหรับบางโรงเรียนทีอ่ ยใู่ กล้เคียง ผวู้ ิจยั ได้ดำเนินการสง่ และเกบ็ แบบสอบถามด้วยตนเอง การวเิ คราะห์ข้อมลู ผวู้ ิจยั ได้ดำเนินการวเิ คราะหข์ อ้ มูลของ แบบสอบถาม ดังน้ี 1. วิเคราะหห์ าคา่ ความถี่ และคา่ ร้อยละ ของสถานภาพผตู้ อบ แบบสอบถาม 2. วเิ คราะห์ “สภาพทีม่ ีอยู่จริง” และ “สภาพทีค่ าดหวงั ” โดยผวู้ ิจยั นำข้อมลู คะแนนระดบั คุณภาพที่เกบ็ รวบรวมได้จากการวิเคราะห์สภาพที่มอี ยจู่ ริงและ สภาพทีค่ าดหวงั เกีย่ วกับสมรรถนะด้านการจัดการเรยี นรู้เชงิ รุก มาตรวจให้คะแนนตาม เกณฑ์นำ้ หนกั ของคะแนนที่กำหนดไว้ ดังนี้ (บญุ ชม ศรีสะอาด, 2554, หน้า 121) 5 หมายถึง มีสภาพทีม่ อี ยู่จริง/สภาพที่คาดหวัง ระดับมากทีส่ ุด 4 หมายถึง มีสภาพที่มีอย่จู ริง/สภาพทีค่ าดหวัง ระดบั มาก
174 3 หมายถึง มีสภาพที่มอี ยู่จริง/สภาพที่คาดหวัง ระดบั ปานกลาง 2 หมายถึง มีสภาพที่มอี ย่จู ริง/สภาพที่คาดหวัง ระดบั น้อย 1 หมายถึง มีสภาพทีม่ อี ย่จู ริง/สภาพที่คาดหวัง ระดบั น้อยทีส่ ุด นำคะแนนที่ได้ไปทำการวิเคราะห์หาค่าเฉลีย่ (������̅) และส่วน เบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) แปลความโดยพิจารณาตามเกณฑ์ของ บุญชม ศรสี ะอาด ๖ (2554, หนา้ 121) ดังน้ี 4.51-5.00 หมายถึง มีสภาพทีม่ อี ย่จู ริง/สภาพที่คาดหวัง ในระดับมากที่สุด 3.51-4.50 หมายถึง มีสภาพที่มอี ยู่จริง/สภาพที่คาดหวัง ในระดับมาก 2.51-3.50 หมายถึง มีสภาพที่มอี ยจู่ ริง/สภาพที่คาดหวัง ในระดับปานกลาง 1.51-2.50 หมายถึง มีสภาพที่มอี ยู่จริง/สภาพทีค่ าดหวัง ในระดบั น้อย 1.00-1.50 หมายถึง มีสภาพที่มอี ยู่จริง/สภาพที่คาดหวัง ในระดับน้อยที่สุด 3. วิเคราะหค์ วามตอ้ งการจำเป็นเกี่ยวกับสมรรถนะดา้ นการจัดการ เรียนรเู้ ชงิ รกุ โดยการหาค่าความตอ้ งการจำเปน็ (Modified Priority Needs Index: PNI modified) (สุวิมล ว่องวานิช, 2550, หน้า 279) ซึ่งเปน็ ค่าที่คานวณจากการเอา “ค่าเฉลี่ย สภาพทีค่ าดหวัง” ลบด้วย “ค่าเฉลีย่ สภาพทีม่ อี ยู่จรงิ ” จากน้ันหารด้วย “คา่ เฉลี่ยสภาพ ทีม่ อี ยจู่ ริง” ดงั สูตร PNI modified = (I – D)/D เมื่อ PNI modified หมายถึง ค่าดัชนีความตอ้ งการจำเปน็ I หมายถึง ค่าเฉลีย่ คะแนนสภาพทีค่ วรจะเปน็ หรอื สภาพทีค่ าดหวัง D หมายถึง ค่าเฉลีย่ คะแนนสภาพที่มีอยู่จริง PNI modified มีคา่ เปน็ + หมายถึง มคี วามตอ้ งการจำเป็น ในการดำเนินการ เพราะสิ่งที่เป็นปจั จบุ นั ยังอยใู่ นระดับที่ต่ำกวา่ สิง่ ที่ตอ้ งการจะให้เปน็ PNI modified มีคา่ เปน็ 0 หมายถึง ไมม่ คี วามตอ้ งการจาเปน็ ในการดำเนินการสิ่งทีเ่ ป็นอยูใ่ นปัจจบุ ันกบั สิง่ ที่ตอ้ งการจะให้เป็นมคี ่าเท่ากนั
175 PNI modified มีคา่ เปน็ - หมายถึง ไม่ต้องดาเนินการ เพราะสิ่งทีเ่ ปน็ อย่ใู นปจั จบุ นั อย่ใู นระดบั ที่ดมี ากกว่าสิ่งทีต่ อ้ งการจะให้เป็น จากสตู รการหาดชั นคี วามต้องการจาเป็น PNI modified ดังกลา่ ว ข้างตน้ จะเหน็ ว่าคา่ PNI modified เปน็ ได้ท้ังบวกและลบ หรอื ศูนย์ โดยที่คา่ บวกน่ันแสดงวา่ สภาพที่มอี ยู่จริงในปจั จบุ ัน มีน้อยกวา่ สภาพที่คาดหวงั (เกิดปัญหา) เชน่ ถ้า PNI modified = 0.25 หรอื ร้อยละ 25 แปลว่า อตั ราการเปลีย่ นแปลงในเชิงพฒั นาจากสภาพที่มอี ยจู่ ริงใน ปัจจบุ ัน ไปยังสภาพที่คาดหวังมคี ่าเท่ากับ 0.25 หรือร้อยละ 25 ดังน้ัน ถ้าค่า PNI modified ที่ เป็นคา่ บวก ยิง่ มากเท่าไร ยิ่งแสดงให้เห็นว่า มคี วามตอ้ งการจาเป็นทีจ่ ะต้องได้รบั การ พฒั นามากขึ้นเพื่อให้ไปสู่สภาพทีค่ าดหวังไว้ และค่า PNI modified ตา่ ง ๆ ที่คานวณได้ในแต่ละ ประเด็นทีท่ างการศกึ ษา สามารถเปรียบเทียบกนั ได้ ดังนน้ั จงึ สามารถจดั ลำดับ ความสำคัญของความตอ้ งการจำเปน็ ได้ 4. จดั ลำดับความสำคญั ของความต้องการจำเป็น จากนั้นคัดเลือก “ตวั บ่งชี”้ หรือ “สมรรถนะ” ที่มีคา่ PNI modified ตั้งแต่ 0.30 ขึ้นไป (สวุ ิมล ว่องวานิช, 2550, หนา้ 279) ซึง่ เปน็ ค่าบง่ บอกวา่ มสี ภาพปญั หาค่อนข้างสงู อนั เนื่องมาจากสภาพที่เปน็ อยู่ ปจั จบุ นั เกีย่ วกบั สมรรถนะของครปู ฐมวัยในตัวบง่ ชนี้ ั้น ๆ ไม่ถึงเกณฑ์ตามสภาพที่คาดหวัง ไว้ สำหรบั นำไปเป็นเป้าหมายในการพฒั นาตอ่ ไป จากการศกึ ษาวิเคราะหข์ อ้ มลู พืน้ ฐานจากเอกสาร ตำรา และงานวิจยั เกีย่ วกับสมรรถนะดา้ นการจัดการเรยี นรู้เชิงรุก แล้วผู้วิจยั ได้นำองคค์ วามรดู้ ังกลา่ วมา แสดงเป็นแผนภูมิดังภาพประกอบ 7
176 การพัฒนาหลกั สตู รฝึกอบรมเพื่อเสริมสรา้ งสมรรถนะในการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของ ครผู สู้ อนภาษาอังกฤษระดบั ประถมศกึ ษา สงั กดั สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต 2 ระยะท่ี 1 การศึกษาข้อมลู พืน้ ฐาน ข้ันตอนที่ 1 วิเคราะห์และสงั เคราะห์รา่ งสมรรถนะ รา่ งสมรรถนะและตัวบ่งชี้ ศึกษาสมรรถนะ และตวั บง่ ชีส้ มรรถนะด้านการจดั การเรียนรู้ สมรรถนะ เชิงรุก ข้ันตอนที่ 2 - ผู้เชีย่ วชาญพิจารณาร่างสมรรถนะ สมรรถนะทีส่ มบูรณแ์ ละ ศึกษาความคิดเหน็ - ปรับปรุงแก้ไขร่างสมรรถนะ พร้อมทีจ่ ะนำไปยกรา่ ง เกีย่ วกบั ร่างสมรรถนะ หลกั สูตรฝึกอบรม ขั้นตอนที่ 3 - สอบถามความคิดเห็นด้านความตอ้ งการ คา่ ดชั นี ศึกษาความต้องการ จำเปน็ เกีย่ วกับสมรรถนะ ความต้องการจำเปน็ จำเปน็ เกี่ยวกับ (PNI )modified สมรรถนะ ภาพประกอบ 7 กระบวนการวิจยั และการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม ระยะที่ 1 การศกึ ษาข้อมลู พ้ืนฐาน ระยะที่ 2 การพฒั นาหลักสตู รฝึกอบรมเพือ่ เสริมสรา้ งสมรรถนะในการ จดั การเรียนรเู้ ชิงรุกของครผู สู้ อนภาษาองั กฤษระดบั ช้นั ประถมศึกษา สงั กัดสำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต 2 ผวู้ ิจยั นำข้อมลู พ้ืนฐานทีไ่ ด้จากระยะที่ 1 มากำหนดเปน็ รา่ งหลกั สูตรและ เอกสารประกอบหลกั สูตรฝึกอบรมแบบมีสว่ นรว่ มเพือ่ เสริมสร้างสมรรถนะในการจัดการ เรียนรู้เชิงรกุ ของครูผู้สอนภาษาอังกฤษระดับช้ันประถมศกึ ษา สังกัดสำนกั งานเขตพืน้ ที่ การศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต 2 ดำเนินการตามขั้นตอน ดังน้ี ขนั้ ตอนท่ี 1 ศกึ ษาแนวคิดเกี่ยวกบั การพัฒนาหลกั สตู รฝกึ อบรมเพือ่ เสริมสรา้ งสมรรถนะในการจดั การเรยี นรู้เชิงรุก ผวู้ ิจยั ได้ดำเนินการ ดังนี้ 1. ผู้วจิ ยั ได้ศกึ ษาแนวคิดหลักการของการพฒั นาหลักสูตรฐานสมรรถนะ การพัฒนาหลักสูตรฝกึ อบรม และองคป์ ระกอบหลกั สูตรฝึกอบรมจากงานวิจยั ทีเ่ กี่ยวข้อง
177 แล้วนำแนวคิดที่ได้มาสังเคราะหเ์ ปน็ กรอบในการกำหนดองคป์ ระกอบของหลักสูตร จำนวน 8 องค์ประกอบ ดังนี้ 1) ความเป็นมา 2) หลกั การ 3) จุดม่งุ หมาย 4) สมรรถนะ สำคัญ 5) โครงสร้างเน้ือหา 6) กิจกรรมการฝึกอบรม 7) สื่อและแหล่งเรยี นรู้ และ 8) การ วดั ผลประเมินผล 2. ผู้วจิ ยั ได้ศกึ ษาแนวคิดการพฒั นาหลักสูตรฝกึ อบรม และงานวิจัยที่ เกี่ยวข้อง แล้วนำมาสังเคราะหเ์ ป็นขั้นตอนการฝกึ อบรม ขั้นตอนท่ี 2 ยกร่างหลักสูตรและค่มู ือการใช้หลกั สตู รฝึกอบรม เพื่อเสริมสรา้ งสมรรถนะในการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูผสู้ อนภาษาองั กฤษระดับชั้น ประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต 2 ผวู้ ิจัยได้ ดำเนนิ การ ดงั นี้ 1. ยกรา่ งหลกั สตู ร์ฝกึ อบรมเพื่อเสริมสรา้ งสมรรถนะด้านการจดั การ เรียนรเู้ ชงิ รกุ ของครูผู้สอนภาษาอังกฤษระดบั ชั้นประถมศกึ ษา สังกัดสำนกั งานเขตพืน้ ที่ การศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต 2 ผวู้ ิจัยดำเนินการ ดงั นี้ 1.1 ศกึ ษาข้อมูลพืน้ ฐานเกี่ยวกบั การพฒั นาหลกั สูตรฝึกอบรมแบบมีส่วน ร่วมเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะด้านการจดั การเรียนรู้เชิงรุก โดยการรวบรวมสาระสำคญั ของแตล่ ะแนวคิด นำมาพิจารณาในสาระที่สอดคล้องกัน คล้ายคลึงกันหรอื อยใู่ นประเด็น เดียวกนั แล้วเชอ่ื มโยงผสานเปน็ กลุ่มเดียวกนั และตั้งเปน็ ประเด็นใหมท่ ี่ครอบคลมุ สาระที่ นำมาเช่อื มโยงกัน ส่วนสาระสำคญั ทีแ่ ตกต่างไมส่ ามารถเชื่อมโยง ผสมผสานกบั สาระอืน่ ๆ ได้นนั้ นำมาสังเคราะห์กำหนดเป็นประเด็นใหมแ่ ยกไว้ นำประเด็นที่สงั เคราะห์ได้ทั้งหมดมา จดั เรียงและสรุปเปน็ องคป์ ระกอบของหลกั สตู รฝึกอบรม 1.2 กำหนตรายละเอียตแต่ละองคป์ ระกอบของหลกั สูตรฝึกอบรม และจดั ทำเปน็ หลกั สตู รฝกึ อบรมฉบบั รา่ ง เพือ่ นำไปให้ผู้เชย่ี วชาญตรวจสอบคณุ ภาพต่อไป 2. ยกรา่ งคู่มอื การใชห้ ลักสตู รฝึกอบรมเพือ่ เสริมสร้างสมรรถนะ ด้านการจัดการเรยี นรู้เชงิ รุกของครูผู้สอนภาษาอังกฤษระดบั ชั้นประถมศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครพนม เขต 2 ผวู้ ิจัยตำเนินการ ตังน้ี 2.1 ผวู้ ิจยั ได้ศึกษาข้อมูลพืน้ ฐานเกี่ยวกบั สมรรถนะต้านการจตั การ เรียนรเู้ ชงิ รกุ ข้อมลู ความต้องการจำเป็นเกีย่ วกับสมรรถนะและการพัฒนาหลักสูตร ฝกึ อบรม โดยการรวบรวมสาระสำคญั ของแต่ละแนวศิตนำมาพิจารณาในสาระที่ สอดคล้องกนั คล้ายคสิ่งกนั หรอื อยู่ในประเด็นเตียวกันแล้วเช่อื มโยงผสานเปน็ กลุ่มเดียวกนั
178 และตั้งเปน็ ประเด็นใหมท่ ี่ครอบคลุมสาระที่นำ้ มาเช่อื มโยงกนั สว่ นสาระสำคญั ที่แตกต่างไม่ สามารถเชื่อมโยง ผสมผสานกับสาระอื่นๆ ได้นนั้ นำมาสังเคราะหก์ ำหนดเปน็ ประเดน็ ใหม่ แยกไว้ นำประเดน็ ที่สังเคราะหไ์ ด้ท้ังหมดมาจัดเรียงและสรปุ เปน็ องคป์ ระกอบของคู่มอื การ ใช้หลักสูตร์ฝึกอบรม 2.2 กำหนดรายละเอียดแต่ละองคป์ ระกอบของค่มู อี การใชห้ ลกั สตู ร ฝกึ อบรม และจดั ทำเป็นคู่มือการใชห้ ลักสูตรฝึกอบรมฉบบั ร่าง เพื่อนำไปให้ผู้เชี่ยวชาญ ตรวจสอบคณุ ภาพตอ่ ไป ข้ันตอนท่ี 3 ตรวจสอบคณุ ภาพของร่างหลกั สตู รและคู่มอื การใช้หลกั สูตร ฝกึ อบรมเพือ่ เสริมสร้างสมรรถนะในการจัดการเรยี นรเู้ ชิงรกุ ของครผู ู้สอนภาษาองั กฤษ ระดบั ประถมศึกษา สังกดั สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครพนม เขต 2 โดย ดำเนนิ การ ดังนี้ เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจัย ผวู้ ิจยั ได้พัฒนาเครือ่ งมือที่ใชใ้ นการเก็บ รวบรวมข้อมลู ในการวิจัยขึ้นมา คอื แบบประเมินความเหมาะสมและความสอดคล้อง ของร่างหลักสูตรฝกึ อบรมจำนวน 1 ฉบับ และคมู่ ือการใชห้ ลักสตู รฝกึ อบรม จำนวน 1 ฉบบั การสรา้ งและหาประสิทธิภาพของเครอ่ื งมือท่ใี ชใ้ นการวจิ ยั ผวู้ ิจัยได้ ดำเนินการ ดังนี้ 1. ศึกษาเอกสาร แนวคิด และทฤษฎีที่เกีย่ วข้องกับการสรา้ ง แบบประเมิน ร่างหลักสูตรและคู่มอื การใชห้ ลักสูตรการฝกึ อบรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะ ด้านการจัดการเรยี นรู้เชงิ รุก 2. กำหนดกรอบโครงสร้าง รปู แบบ และประเดน็ ในการประเมิน ความเหมาะสมและความสอดคล้องของรา่ งหลักสตู รและคู่มอื การใชห้ ลักสตู รฝึกอบรม 3. สรา้ งแบบประเมินความเหมาะสมและสอดคล้องของร่างหลกั สูตร ฝกึ อบรมและคมู่ ือการใชห้ ลักสูตรการฝึกอบรม ซึง่ เปน็ มาตราวัดประมาณค่า 5 ระดบั ชนิดปลายเปิด 4. นำรา่ งแบบประเมินดังกล่าวเสนออาจารยท์ ีป่ รึกษาวิทยานิพนธ์ พิจารณาเสนอแนะเพื่อปรับปรุงและแก้ไขในเบือ้ งตน้ 5. นำร่างแบบประเมินทีป่ รับปรุงแล้วเสนอตอ่ ผเู้ ช่ยี วชาญตรวจสอบ เครือ่ งมือวจิ ัยชุดเดิม ได้พิจารณาตรวจสอบความตรงเชิงเนือ้ หา (Content Validity) และ
179 ความเที่ยง (Reliability) ปรับเปลี่ยนภาษาในข้อทีซ่ ้ำซ้อน ปรับสำนวนภาษาใหก้ ระชับ โดยพิจารณาคดั เลือกข้อคำถามที่มีคา่ IOC (Index of Item Objective Congruence: IOC) อย่รู ะหว่าง 0.60–1.00 ไว้ใช้ต่อไป เน่อื งจากถือว่าเปน็ ข้อคำถามทีว่ ดั ได้ตรงตามจดุ ประสงค์ สว่ นข้อคำถามที่มีค่า IOC ต่ำกวา่ 0.60 ได้ทำการปรับปรุงใหมใ่ ห้ดขี นึ้ และให้มคี ่า IOC อยูร่ ะหว่าง 0.60–1.00 โดยกำหนดระดับความคิดเหน็ ของผู้เชีย่ วชาญ ดังนี้ ค่าคะแนน + 1 หมายถึง เห็นด้วย คา่ คะแนน 0 หมายถึง ไม่แน่ใจ คา่ คะแนน -1 หมายถึง ไม่เหน็ ดว้ ย 6. ปรับปรงุ แก้ไขแบบประเมินตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ และจดั ทำเป็นแบบประเมินฉบับสมบูรณ์เพื่อนำไปใช้เก็บรวบรวมข้อมลู ตอ่ ไป การเกบ็ รวบรวมข้อมลู โดยผวู้ ิจัยประสานงานกบั สำนักงานบัณฑิต วิทยาลัย เพือ่ จดั ทำหนงั สอื ราชการขอความอนเุ คราะห์ผเู้ ช่ยี วชาญในการประเมินร่าง หลักสูตรและคู่มือการใชห้ ลักสตู รฝึกอบรม นัดหมายผู้เชี่ยวชาญ และสง่ เอกสารให้ ผเู้ ช่ยี วชาญพิจารณาประเมิน ซึง่ ประกอบด้วย โครงร่างวิทยานิพนธ์ ร่างหลักสตู รฝึกอบรม ค่มู ือการใช้หลักสตู รฝกึ อบรม แบบประเมินความเหมาะสมและความสอดคล้องของร่าง หลกั สูตรและคู่มอื การใชห้ ลักสูตรฝึกอบรม พร้อมแนบ ซองเปล่า จ่าหน้าซอง และติดแสตมป์ เพือ่ ความสะดวกในการสง่ กลับคืนผวู้ ิจัย โดยใช้ระยะเวลาประมาณ 1 เดือน โดยผเู้ ชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน มีคณุ สมบัติดังน้ี 1. ผู้เชีย่ วชาญด้านหลกั สูตรและการสอน จำนวน 1 คน มีคุณสมบตั ิ ดังน้ี 1.1 มีวุฒกิ ารศกึ ษาระดับปริญญาโทขนึ้ ไปในสาขาหลักสตู ร และการสอน 1.2 เป็นอาจารย์ผสู้ อนในสาขาหลกั สูตรและการสอนใน ระดับอุดมศกึ ษา อย่างนอ้ ย 5 ปี 1.3 มปี ระสบการณใ์ นการวิจยั และพัฒนาหลกั สตู รอย่างนอ้ ย 5 ปี 1.4 ยินดีให้ความรว่ มมอื ในการวิจัย 2. ผู้เช่ยี วชาญด้านการจัดการเรียนรู้เชิงรุก จำนวน 2 คน มีคณุ สมบตั ิ ดงั น้ี 2.1 มวี ฒุ ิการศกึ ษาระดับปริญญาโทขนึ้ ไป
180 2.2 เปน็ ศกึ ษานิเทศก์ หรอื ครูผสู้ อนทีม่ ปี ระสบการณ์การจดั การ เรียนรเู้ ชงิ รกุ อย่างน้อย 5 ปี 2.3 ยินดใี ห้ความรว่ มมอื ในการวิจยั 3. ผู้เชีย่ วชาญด้านการวดั และประเมินผล จำนวน 2 คน มีคณุ สมบัติ ดังน้ี 3.1 มีวุฒกิ ารศกึ ษาระดับปริญญาโทขึน้ ไปในสาขาหลกั สตู ร และการสอน 3.2 เป็นอาจารยผ์ สู้ อนด้านการวัดและประเมินผลใน ระดบั อดุ มศกึ ษา อยา่ งนอ้ ย 5 ปี 3.3 มีประสบการณใ์ นการวิจยั และการวดั และประเมินผล 3.4 ยินดีให้ความร่วมมอื ในการวิจัย การวเิ คราะหข์ อ้ มูล ผวู้ ิจัยดำเนินการตามข้ันตอน ดงั นี้ 1. ผู้วจิ ัยนำข้อมูลจากการวิเคราะหค์ วามเหมาะสมและ ความสอดคล้องของร่างหลักสูตรและคูม่ ือการใช้หลกั สูตรฝึกอบรม มาตรวจให้คะแนน ตามเกณฑ์น้ำหนักของคะแนนที่กำหนดไว้ ดังน้ี (บญุ ชม ศรีสะอาด, 2554, หน้า 121) 5 หมายถึง มคี วามเหมาะสมและความสอดคล้องมากทีส่ ุด 4 หมายถึง มคี วามเหมาะสมและความสอดคล้องมาก 3 หมายถึง มคี วามเหมาะสมและความสอดคล้องปานกลาง 2 หมายถึง มีความเหมาะสมและความสอดคล้องนอ้ ย 1 หมายถึง มคี วามเหมาะสมและความสอดคล้องนอ้ ยที่สดุ 2. นำคะแนนที่ได้ไปวิเคราะห์หาค่าเฉลีย่ (������̅) และสว่ นเบีย่ งเบน มาตรฐาน (S.D.) แล้วนำค่าเฉลี่ยที่ได้ ไปเปรียบเทียบกบั เกณฑ์ เพือ่ ใช้ในการแปล ความหมาย โดยใช้เกณฑก์ ารแปลความหมายคา่ เฉลี่ย ดงั ต่อไปนี้ (บญุ ชม ศรสี ะอาด, 2554, หนา้ 121) 4.51-5.00 หมายถึง มีความเหมาะสมและความสอดคล้องมากที่สดุ 3.51-4.50 หมายถึง มีความเหมาะสมและความสอดคล้องมาก 2.51-3.50 หมายถึง มีความเหมาะสมและความสอดคล้องปานกลาง 1.51-2.50 หมายถึง มีความเหมาะสมและความสอดคล้องน้อย 1.00-1.50 หมายถึง มีความเหมาะสมและความสอดคล้องน้อยที่สุด
181 โดยกำหนดเกณฑ์ทีย่ อมรับได้ คือ มีค่าเฉลีย่ ต้ังแต่ 3.51 ข้ึนไป และมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1 3. นำข้อเสนอแนะเพิ่มเติมจากผู้เชีย่ วชาญมาวิเคราะห์และสรปุ ประเด็นเพื่อใชใ้ นการปรับปรุงแก้ไขร่างหลกั สูตรฝกึ อบรมและคู่มอื การใช้หลักสตู รการ ฝกึ อบรมในข้ันตอนต่อไป ขั้นตอนท่ี 4 เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะในการจัดการเรียนรเู้ ชงิ รุกของ ครูผสู้ อนภาษาองั กฤษระดับประถมศึกษา สงั กัดสำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษา นครพนม เขต 2 ผวู้ ิจยั ได้นำข้อแนะนำของผเู้ ช่ยี วชาญมาปรบั ปรงุ แก้ไขในประเด็นที่ได้รับ ข้อเสนอแนะทกุ รายการเพื่อให้ได้หลกั สตู รฝกึ อบรมและคู่มือการใช้หลกั สูตรฝกึ อบรมที่มี คณุ ภาพ เพือ่ นำไปใช้กบั กลุ่มตวั อย่างต่อไป กระบวนการวิจัยและพัฒนาหลักสูตรฝกึ อบรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะในการ จัดการเรยี นรู้เชิงรุก ระยะที่ 2 การพฒั นาหลักสูตรฝึกอบรม แสดงได้ดังภาพประกอบ 8
182 การพัฒนาหลักสตู รฝึกอบรมเพือ่ เสริมสร้างสมรรถนะในการจดั การเรียนรู้เชิงรุก ของครูผู้สอนภาษาองั กฤษระดบั ชั้นประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา ประถมศึกษานครพนม เขต 2 ระยะท่ี 2 การพฒั นาหลักสตู รฝึกอบรม ขั้นตอนที่ 1 วิเคราะห์และสงั เคราะห์ 1. องคป์ ระกอบหลักสตู ร ศกึ ษาแนวคิดทีเ่ กี่ยวข้อง แนวคิดทีเ่ กีย่ วข้องกับการ ฝกึ อบรม กับการพัฒนาหลกั สตู ร พัฒนาหลกั สตู รฝึกอบรม 2. ขน้ั ตอนการฝึกอบรม ฝกึ อบรม ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์/สงั เคราะห์ รา่ งหลักสูตรและคู่มือการใช้ ยกร่างหลักสูตร ข้อมลู พ้ืนฐาน หลกั การ/ หลักสูตรฝกึ อบรม และคู่มอื แนวคิด ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบคณุ ภาพ ระดับความเหมาะสม ตรวจสอบคุณภาพ ของหลกั สตู รและคู่มอื และความสอดคล้อง ของหลักสูตรและคู่มือ ของหลักสูตรและคู่มอื โดยผู้เชี่ยวชาญ ข้ันตอนที่ 4 ปรับปรงุ แก้ไขหลกั สตู ร หลักสูตรและคมู่ ือทีส่ มบรู ณ์ ปรับปรงุ แก้ไข และคู่มือตามข้อเสนอแนะ พร้อมที่จะนำไปทดลองใช้ หลกั สตู รและคูม่ ือ ของผู้เชี่ยวชาญ ภาพประกอบ 8 กระบวนการวิจัยและการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม ระยะที่ 2 การพัฒนาหลกั สูตรฝกึ อบรม
183 ระยะที่ 3 การทดลองและศึกษาผลการทดลองใช้หลกั สูตรฝึกอบรมเพื่อเสรมิ สรา้ ง สมรรถนะในการจัดการเรยี นรเู้ ชิงรกุ ของครผู ู้สอนภาษาองั กฤษระดบั ชั้น ประถมศึกษา สังกดั สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 2 การทดลองและศกึ ษาผลการทดลองใชห้ ลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้าง สมรรถนะในการจดั การเรียนรเู้ ชงิ รกุ ในการทำวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย 3 ข้ันตอน ดงั น้ี ข้นั ตอนท่ี 1 เตรียมการก่อนการทดลองใช้หลกั สูตรฝกึ อบรมเพื่อเสริมสร้าง สมรรถนะในการจดั การเรียนรเู้ ชงิ รกุ ของครูผสู้ อนภาษาอังกฤษระดับชั้นประถมศึกษา สงั กัดสำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต 2 โดยนดั ประชุม กลุ่มเป้าหมายในการทดลองใชห้ ลักสตู ร เพือ่ ชี้แจงวัตถุประสงค์ รายละเอียดของกิจกรรม การฝึกอบรม นดั หมายวันสังเกตการสอน และทดสอบสมรรถิ ะกลุ่มเป้าหมายในการ ทดลองก่อนเข้ารบั การฝึกอบรม โดยใช้แบบทดสอบสมรรถะผู้วิจัยทีพ่ ฒั นาขึ้น ขน้ั ตอนท่ี 2 ดำเนินการทดลองใชห้ ลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสรา้ ง สมรรถนะในการจดั การเรียนรเู้ ชงิ รุกของครูผสู้ อนภาษาอังกฤษระดับช้ันประถมศึกษา สังกดั สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต 2 โดยทดลองกบั กลุ่มเป้าหมายในการทดลองใชห้ ลักสูตร โดยใช้รปู แบบการทดลองแบบกลมุ่ เดียวมีการ ทดสอบก่อนและหลังการทดลอง (One Group Pretest-Posttest Design) (Kerlinger, 1986, p. 295) ดังน้ี O1 X O2 O1 หมายถึง คะแนนการทดสอบกอ่ นการทดลองใชห้ ลักสูตรฝึกอบรม แบบมีสว่ นรว่ มเพือ่ เสรมิ สร้างสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตามเชงิ รกุ O2 หมายถึง คะแนนการทดสอบหลังการทดลองใช้หลกั สูตรฝึกอบรม แบบมีส่วนรว่ มเพื่อเสรมิ สร้างสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตามเชงิ รุก X หมายถึง การฝกึ อบรมแบบมีสว่ นรว่ มเพือ่ เสรมิ สร้างสมรรถนะด้าน การจดั การเรียนรตู้ ามเชิงรุก กล่มุ ตัวอยา่ งในการทดลองใช้หลักสตู ร กลุ่มตัวอยา่ ง คอื ครูผสู้ อนทีจ่ บวิชาเอกภาษาองั กฤษ สงั กัด สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษานครพนม เขต 2 จำนวน 30 คน ทีไ่ ด้มาจากการ
184 เลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยการประกาศรบั สมคั รครผู ู้สอนทีม่ ีคุณสมบัติ ตามเกณฑ์ ดังนี้ 1. เป็นครูผสู้ อนทีไ่ มเ่ คยเข้ารับการฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้าง สมรรถนะในการจัดการเรียนรเู้ ชงิ รกุ 2. เป็นครูผสู้ อนทีม่ คี วามยินดีและสมคั รใจเข้ารว่ มกิจกรรม การฝึกอบรมได้ตลอดหลกั สตู ร 3. เปน็ ครูผสู้ อนในโรงเรยี นทีม่ คี รเู พียงพอและจัดการเรียนการ สอนระดบั ประถมศกึ ษาครบทุกช้ัน 4. เปน็ ครูผู้สอนในโรงเรียนทีม่ ผี บู้ ริหารสถานศกึ ษามีความตระหนัก และเหน็ ความสำคญั ในการฝกึ อบรมเพือ่ เสริมสร้างสมรรถนะในการจัดการเรยี นรเู้ ชิงรกุ และยินดีที่จะอำนวยความสะดวกและสนบั สนุนตลอดการฝึกอบรม เครื่องมือทีใ่ ชใ้ นการวิจัย คือ หลกั สูตรฝกึ อบรมและคู่มือการใช้ หลกั สตู รฝกึ อบรม การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ผู้วิจยั จัดทำหนังสอื ราชการเพือ่ ประชาสมั พนั ธ์ หลักสูตรฝกึ อบรมไปยังโรงเรียนในสังกดั สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา นครพนม เขต 2 และรบั สมัครโรงเรยี นทดลองใช้หลักสูตรตามเกณฑ์ที่กำหนด แล้วสุ่ม กลมุ่ ตัวอยา่ งในการทดลองใช้หลักสตู รให้ได้ จำนวน 30 คน จากน้ันผวู้ ิจยั ประสานงาน กับสำนกั งานบัณฑติ วิทยาลัย เพื่อจดั ทำหนังสอื ราชการขอความอนุเคราะห์โรงเรียน เพื่อทดลองใชห้ ลกั สตู รฝกึ อบรมและดำเนินการฝึกอบรมตามที่กำหนด ข้นั ตอนท่ี 3 ศกึ ษาผลการทดลองใช้หลกั สตู รฝกึ อบรมเพื่อเสริมสร้าง สมรรถนะในการจัดการเรียนรเู้ ชงิ รกุ ของครูผสู้ อนภาษาอังกฤษระดบั ชั้นประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต 2 ในประเด็นยอ่ ย ดังน้ี 1. เปรียบเทียบสมรรถนะดา้ นความรู้ในการจดั การเรียนรู้เชงิ รกุ ก่อนและ หลงั การฝกึ อบรม 2. เปรียบเทียบสมรรถนะดา้ นทกั ษะการปฏิบตั ิในการจัดการเรียนรู้ เชงิ รกุ หลังการฝกึ อบรมกับเกณฑท์ ี่กำหนด 3. เปรียบเทียบสมรรถนะด้านคุณลักษณะในการจดั การเรียนรู้เชงิ รกุ ก่อนและหลังการฝกึ อบรม
185 4. ศกึ ษาความพึงพอใจของครูที่มตี อ่ การใช้หลักสูตรฝกึ อบรม และเปรียบเทียบกบั เกณฑท์ กี่ ำหนด เครือ่ งมือทีใ่ ชใ้ นการวิจัย ประกอบด้วย 1. แบบทดสอบสมรรถนะด้านความรใู้ นการจัดการเรยี นรู้เชงิ รุก จำนวน 1 ฉบับ 2. แบบประเมินสมรรถนะด้านทักษะการปฏิบตั ิในการจัดการเรียนรู้ เชงิ รุก จำนวน 1 ฉบับ 3. แบบวัดสมรรถนะด้านคุณลกั ษณะในการจดั การเรียนรู้เชงิ รุก จำนวน 1 ฉบับ 4. แบบสอบถามความพึงพอใจของครูต่อการใช้หลักสูตรฝกึ อบรม จำนวน 1 ฉบับ 5. แบบสัมภาษณ์ จำนวน 2 ฉบบั การสรา้ งและหาประสิทธิภาพของเครอ่ื งมือท่ใี ชใ้ นการวจิ ยั มีรายละเอียด ดงั นี้ 1. การสร้างและหาประสิทธิภาพของแบบทดสอบสมรรถนะด้านความรู้ ในการจดั การเรียนรู้เชิงรกุ มีลำดับข้ันตอน ดงั นี้ 1.1 ศกึ ษาเอกสาร และตำราตามเนือ้ หาของหลกั สูตรฝกึ อบรม และวิธีการสร้างแบบทดสอบแบบปรนยั 1.2 กำหนดจดุ ประสงค์แบบทดสอบและทำตารางวิเคราะห์ แบบทดสอบตามจุดประสงค์ และเนือ้ หาของแบบทดสอบ เพื่อกำหนดคำถามให้ครอบคลมุ จดุ ประสงค์ และเนือ้ หาตามจำนวนข้อทดสอบทีต่ อ้ งการ 1.3 สร้างแบบทดสอบชนิดปรนัย 4 ตัวเลือก จำนวน 75 ข้อ ตามเนอื้ หาของหลักสูตร โดยมีเกณฑ์การใหค้ ะแนน คอื ตอบถกู ได้ 1 คะแนน ไมต่ อบ หรอื ตอบมากกว่า 1 ตวั เลือก ได้ 0 คะแนน 1.4 นำแบบทดสอบทีส่ รา้ งข้ึน เสนออาจารย์ทีป่ รึกษาวิทยานิพนธ์ เพือ่ พิจารณาความเหมาะสมของประเดน็ คำถาม ภาษาทีใ่ ช้ และปรับปรงุ แก้ไขตาม คำแนะนำของอาจารยท์ ีป่ รึกษาวิทยานิพนธ์ 1.5 ตรวจสอบความตรงเชิงเนือ้ หา (Content Validity) เพือ่ หา ประสิทธิภาพของแบบทดสอบ โดยนำไปให้ผู้เชี่ยวชาญชุดเดิม ตรวจสอบความสอดคล้อง
186 ระหว่างเน้ือหาของแบบทดสอบกบั วตั ถุประสงคข์ องการฝึกอบรม และความเหมาะสมของ เนือ้ หา และภาษาทีใ่ ชใ้ นข้อคำถาม โดยการหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ทีส่ ามารถ นำไปใช้ได้ ควรอยู่ระหวา่ ง 0.67-1.00 1.6 นำแบบทดสอบ จำนวน 75 ข้อ ไปทดลองใช้ (Try out) กับครผู สู้ อนที่ไมใ่ ชก่ ลุม่ ตัวอย่างในการทดลอง จำนวน 30 คน แล้วหาค่าความเชือ่ มัน่ รายข้อ โดยใช้เกณฑ์ค่าความยาก (P) ระหว่าง 0.20-0.80 และค่าอำนาจจำแนก (B) มากกวา่ หรือเทา่ กับ 0.20 และค่าความเช่ือมน่ั ทั้งฉบบั (Reliability) โดยใช้สูตร KR-20 ของคเู ดอร์ ริชารด์ สัน (Kuder Richardson) จากน้ันผวู้ ิจัยคดั เลือกข้อสอบที่มคี วาม เหมาะสม จำนวน 60 ขอ้ 1.7 นำแบบทดสอบมาปรับปรงุ และจัดทำเป็นฉบับสมบรู ณเ์ พื่อใช้ เก็บรวบรวมข้อมูลตอ่ ไป 2. การสร้างและหาประสิทธิภาพของแบบประเมินสมรรถนะดา้ นทักษะ การปฏิบตั ิในการจดั การเรียนรู้เชงิ รุกมีขั้นตอน ดงั นี้ 2.1 ศึกษาเอกสาร ตำรา และงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับการพัฒนา หลกั สตู รฝกึ อบรมสมรรถนะด้านทักษะการปฏิบตั ิในการจัดการเรยี นรู้เชิงรกุ และวิธีการ สร้างแบบประเมินสมรรถนะด้านทักษะการปฏิบัติ 2.2 กำหนดจดุ มุ่งหมายและโครงสรา้ งของแบบประเมินสมรรถนะ ด้านทกั ษะการปฏิบตั ิในการจดั การเรยี นรู้เชิงรุก 2.3 สร้างแบบประเมินสมรรถนะดา้ นทักษะการปฏิบตั ิในการจดั การ เรียนรเู้ ชงิ รุกโดยกำหนดกรอบในการประเมิน ได้แก่ การเตรียมการสอน การจดั กิจกรรม การเรียนรู้ ส่อื และแหลง่ เรียนรปู้ ระกอบการสอน การวัดและประเมินผล โดยกำหนดเป็น แบบมาตราวัดประมาณค่า 5 ระดับ และมีเกณฑ์ระดบั ความคิดเหน็ ในการประเมิน (บุญชม ศรสี ะอาด, 2554, หนา้ 121) ดังนี้ 5 หมายถึง มกี ารปฏิบัติในระดบั ดีมาก 4 หมายถึง มกี ารปฏิบตั ิในระดับดี 3 หมายถึง มกี ารปฏิบัติในระดบั ปานกลาง 2 หมายถึง มีการปฏิบตั ิในระดบั น้อย 1 หมายถึง มกี ารปฏิบัติในระดับน้อยทีส่ ดุ ควรปรบั ปรุง เกณฑ์ตดั สินระดบั ความคิดเห็น (บุญชม ศรสี ะอาด, 2554, หนา้ 121)
187 คา่ เฉลี่ย 4.51-5.00 หมายถึง มีการปฏิบัติในระดบั ดีมาก ค่าเฉลี่ย 3.51-4.50 หมายถึง มีการปฏิบตั ิในระดบั ดี คา่ เฉลีย่ 2.51-3.50 หมายถึง มีการปฏิบตั ิในระดับปานกลาง ค่าเฉลีย่ 1.51-2.50 หมายถึง มีการปฏิบตั ิในระดบั น้อย คา่ เฉลีย่ 1.00-1.50 หมายถึง มีการปฏิบตั ิในระดบั น้อยทีส่ ุด โดยกำหนดเกณฑท์ ี่ยอมรบั ได้ คือ มีคา่ เฉลีย่ ตั้งแต่ 3.51 ข้ึนไป และมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1 2.4 นำแบบประเมินที่สรา้ งขึน้ ไปนำเสนออาจารยท์ ีป่ รึกษา วิทยานิพนธ์ เพื่อพิจารณาความเหมาะสมของประเด็นการประเมิน ภาษาที่ใช้ และปรบั ปรงุ แก้ไขตามคำแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ 2.5 ตรวจสอบความตรงเชิงเนือ้ หา (Content Validity) ของแบบ ประเมิน โดยนำไปให้ผู้เชีย่ วชาญชดุ เดิม ตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างเน้ือหาของ แบบประเมินกับจุดประสงค์การฝึกอบรม และความเหมาะสมของเน้ือหา และภาษาทีใ่ ช้ โดยการหาค่าดัชนคี วามสอดคล้อง (IOC) ทีส่ ามารถนำไปใช้ได้ ควรอยู่ระหว่าง 0.80-1.00 2.6 นำแบบประเมินมาปรบั ปรุงและจัดทำเป็นฉบับสมบูรณ์เพือ่ ใชเ้ ก็บ รวบรวมข้อมลู ตอ่ ไป 3. การสร้างและหาประสิทธิภาพของแบบวดั สมรรถนะด้านคุณลักษณะ ในการจัดการเรียนรู้เชิงรกุ มีขน้ั ตอนดังน้ี 3.1 ศกึ ษาเอกสาร ตำรา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพฒั นา หลักสตู รฝกึ อบรม สมรรถนะด้านเจตคตใิ นการจดั การเรียนรู้เชงิ รกุ และวิธีการสร้างแบบ วดั เจตคตติ ามวิธีของ ลิเคิร์ท (Likert) 3.2 กำหนดจุดมุง่ หมายและโครงสรา้ งของแบบวัดสมรรถนะด้าน คณุ ลกั ษณะในการจดั การเรียนรู้เชงิ รุก 3.3 สร้างแบบวดั สมรรถนะด้านเจตคติในการจดั การเรียนรู้เชงิ รุกได้ กำหนดกรอบในการวดั สมรรถนะดา้ นคุณลักษณะ จำนวน 3 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านเจตคติที่ดี ตอ่ การจดั การเรียนรู้เชิงรุก 2) ดา้ นความมุ่งมนั่ ในการพัฒนาผเู้ รียน และ 3) ด้านความคิด สร้างสรรค์ในการจัดการเรียนรู้เชงิ รุก โดยเขียนข้อความที่แสดงความรสู้ ึกต่อสมรรถนะ ดา้ นคณุ ลักษณะในการจดั การเรียนรู้เชิงรกุ ซึ่งเป็นข้อความทีแ่ สดงความรสู้ ึก ไมใ่ ช่ ข้อเทจ็ จริง แตม่ ที ิศทางท้ังทางบวกและทางลบ เป็นข้อความทีส่ มบูรณ์และชชี้ ัดประเด็น
188 เดียว เข้าใจง่าย ไม่ซบั ซ้อน โดยกำหนดเปน็ แบบมาตราวดั ประมาณค่า 5 ระดับ และมีเกณฑ์ระดบั ความคิดเห็น (บญุ ชม ศรสี ะอาด, 2554, หนา้ 121) ดงั นี้ 5 หมายถึง เห็นดว้ ยอย่างยิ่ง 4 หมายถึง เห็นด้วย 3 หมายถึง ไมแ่ นใ่ จ 2 หมายถึง ไมเ่ ห็นดว้ ย 1 หมายถึง ไมเ่ ห็นด้วยอย่างยิ่ง เกณฑต์ ัดสินระดับความคิดเห็น (บญุ ชม ศรสี ะอาด, 2554, หนา้ 121) คา่ เฉลี่ย 4.51-5.00 หมายถึง เหน็ ด้วยอย่างยิ่ง คา่ เฉลีย่ 3.51-4.50 หมายถึง เห็นด้วย คา่ เฉลี่ย 2.51-3.50 หมายถึง ไมแ่ น่ใจ คา่ เฉลี่ย 1.51-2.50 หมายถึง ไม่เห็นด้วย ค่าเฉลี่ย 1.00-1.50 หมายถึง ไมเ่ ห็นดว้ ยอย่างยิง่ 3.4 นำแบบวดั สมรรถนะทีส่ ร้างข้ึนไปนำเสนออาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์ เพื่อพิจารณาความเหมาะสมของประเดน็ การวดั ภาษาที่ใช้ และปรบั ปรงุ แก้ไข ตามคำแนะนำเป็นการเบอื้ งต้น 3.5 ตรวจสอบความตรงเชิงเนือ้ หา (Content Validity) ของแบบวดั ทีพ่ ฒั นาขึน้ โดยนำไปให้ผู้เชี่ยวชาญชุดเดิม ตรวจสอบความสอดคล้องระหวา่ งเน้ือหาของ แบบประเมินกบั จดุ ประสงค์การฝึกอบรม และความเหมาะสมของเน้ือหา และภาษาที่ใช้ ข้อทีส่ ามารถนำไปใช้ได้ควรมีคา่ ดชั นีความสอดคล้อง (IOC) อยู่ระหว่าง 0.80-1.00 3.6 นำแบบวัดสมรรถนะมาปรับปรงุ และจัดทำเป็นฉบบั สมบูรณ์ เพื่อใช้เกบ็ รวบรวมข้อมลู ต่อไป 4. การสร้างและหาประสิทธิภาพของแบบสอบถามความพึงพอใจของครู ตอ่ การใชห้ ลกั สตู รฝึกอบรม มขี ้ันตอนดงั น้ี 4.1 ศึกษาเอกสาร ตำรา และงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา หลกั สตู รฝกึ อบรม และวิธีการสร้างแบบวัดความพึงพอใจ 4.2 กำหนดจุดมงุ่ หมายและโครงสรา้ งของแบบวดั ความพึงพอใจ
189 4.3 สร้างแบบวัดความพึงพอใจ จำนวน 1 ฉบับ คอื แบบวัด ความพึงพอใจของครตู ่อการใชห้ ลักสูตรฝกึ อบรม โดยกำหนดกรอบในการประเมิน ได้แก่ ความรสู้ ึกนึกคิด ความคิดเห็น ความตระหนกั และเห็นคุณค่าใน 3 ด้าน คอื ความสำคญั กระบวนการจัดการฝกึ อบรม และการวัดและประเมินผลสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ เชงิ รกุ โดยกำหนดเปน็ แบบมาตราวัดประมาณค่า 5 ระดับ และมีเกณฑร์ ะดับความพึงพอใจ (บญุ ชม ศรสี ะอาด, 2554, หนา้ 121) ดงั นี้ 5 หมายถึง มคี วามพึงพอใจมากที่สุด 4 หมายถึง มคี วามพึงพอใจมาก 3 หมายถึง มคี วามพึงพอใจปานกลาง 2 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อย 1 หมายถึง มคี วามพึงพอใจน้อยที่สุด เกณฑต์ ัดสินระดบั ความพึงพอใจ (บุญชม ศรีสะอาด, 2554, หน้า 121) ค่าเฉลี่ย 4.51-5.00 หมายถึง มีความพึงพอใจมากที่สุด คา่ เฉลีย่ 3.51-4.50 หมายถึง มีความพึงพอใจมาก ค่าเฉลีย่ 2.51-3.50 หมายถึง มีความพึงพอใจปานกลาง ค่าเฉลี่ย 1.51-2.50 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อย ค่าเฉลี่ย 1.00-1.50 หมายถึง มีความพึงพอใจน้อยทีส่ ุด 4.4 นำแบบสอบถามความพึงพอใจที่สรา้ งขึน้ ไปเสนออาจารย์ที่ ปรึกษาวิทยานิพนธ์ เพื่อพิจารณาความเหมาะสมของประเดน็ การสอบถาม ภาษาที่ใช้ และ ปรับปรุงแก้ไขตามคำแนะนำของอาจารย์ทีป่ รึกษาวิทยานิพนธ์ 4.5 ตรวจสอบความตรงเชิงเนือ้ หา (Content Validity) ของแบบวดั ความพึงพอใจ โดยนำไปให้ผเู้ ช่ยี วชาญชุดเดิมตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างเน้ือหา ของแบบวดั ความพึงพอใจกับวตั ถปุ ระสงค์การฝกึ อบรม และความเหมาะสมของเน้ือหา และภาษาที่ใช้ ขอ้ สามารถนำไปใช้ได้ควรมีคา่ ดัชนีความสอดคล้อง (IOC) อย่รู ะหว่าง 0.67-1.00 4.6 นำแบบสอบถามความพึงพอใจมาปรบั ปรุงและจดั ทำเป็นฉบับ สมบูรณ์เพื่อใชเ้ ก็บรวบรวมข้อมลู ต่อไป
190 5. การสร้างและหาประสิทธิภาพของแบบสัมภาษณ์ ในการหาข้อมูล เชงิ คณุ ภาพของผลการพัฒนาสมรรถนะของครูผสู้ อนภาษาอังกฤษระดบั ประถม มีข้ันตอน ดงั น้ี 5.1 ศกึ ษาเอกสาร ตารา และแนวคิดทฤษฎีทีเ่ กี่ยวข้องกับ การจัดหลกั สตู รฝึกอบรม การจดั การเรียนรู้เชิงรุกของครูผสู้ อนภาษาอังกฤษระดับประถม การสรา้ งแบบสัมภาษณ์ 5.2 กำหนดจุดมุง่ หมายและโครงสรา้ งของแบบสัมภาษณ์ ในการจัดการเรียนรเู้ ชิงรกุ ของครูผสู้ อนภาษาองั กฤษระดับประถม และสร้างแบบบนั ทึก 5.3 นำเครื่องมอื ที่สร้างข้ึน ไปเสนออาจารย์ทีป่ รึกษาวิทยานพิ นธ์ เพื่อพิจารณาความเหมาะสมตามโครงสรา้ งทีก่ าหนด แก้ไขตามคาแนะนาของอาจารย์ ทีป่ รึกษาวิทยานิพนธ์ 5.4 ตรวจสอบความตรงเชิงเนือ้ หา (Content Validity) ของแบบ สมั ภาษณ์ โดยนำไปให้ผู้เชี่ยวชาญคณะเดิมตรวจสอบความสอดคล้องระหวา่ ง เนือ้ หาของเครื่องมอื กับวัตถุประสงค์ และความเหมาะสมของเน้ือหาและภาษาที่ใช้ ข้อคำถามควรมีค่าความสอดคล้องอยรู่ ะหว่าง 0.67-1.00 และปรับปรุงแก้ไขตาม ข้อเสนอแนะ การวเิ คราะหข์ อ้ มูล ผวู้ ิจัยได้นำข้อมลู ที่เกบ็ รวบรวมได้ มาดำเนินการ วิเคราะห์ข้อมูล ดังน้ี 1. การวิเคราะหข์ อ้ มูลผลการทดสอบการวดั ความแตกตา่ ง ของสมรรถนะด้านความรใู้ นการจดั การเรียนรู้เชิงรุกของกลุม่ ตวั อยา่ งในการทดลองก่อน และหลังการฝกึ อบรม โดยการหาค่าเฉลี่ย (������̅) ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) และสถิติ ทดสอบทีแบบไมอ่ ิสระ (t-test Dependent Samples) กำหนดนยั สำคัญทางสถิตทิ ีร่ ะดับ .05 คำนวณโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรปู 2. การวิเคราะห์ขอ้ มลู ผลการประเมินสมรรถนะด้านทกั ษะการปฏิบตั ิ ในการจัดการเรียนรู้เชิงรกุ หลงั ฝึกอบรม ดังนี้ 1. วิเคราะห์ “ตัวบ่งชี”้ ของสมรรถนะด้านทักษะการปฏิบตั ิในการ จดั การเรยี นรู้เชิงรกุ โดยกำหนดเป็น “ภาระงานหรอื ชิน้ งาน” ทีต่ อ้ งการให้ครูผสู้ อนได้ลง มอื ปฏิบตั ิจริง
191 2. พิจารณาเลือกชนิดของ Rubrics ให้เหมาะสม สำหรับใช้ใน ประเมินเพื่อให้คะแนน “สมรรถนะด้านทักษะการปฏิบัติ” จากการลงมอื ปฏิบตั ิแต่ละภาระ งาน หรอื ชิน้ งาน ซึ่งบางงานอาจประเมินเฉพาะ “กระบวนการ (Process)” บางงานอาจ ประเมินเฉพาะ “ผลผลติ (Product)” หรอื บางงานอาจประเมินท้ังสองอย่าง โดยทีช่ นิดของ Rubrics ที่ใช้แบ่ง 2 ลักษณะ ได้แก่ 1) Holistic Rubrics (แบบรวม) กบั Analytic Rubrics (แบบแยกสว่ น) และ 2) General Rubrics (แบบทวั่ ไปใช้ประเมินได้หลายงานทีม่ ีลักษณะ คล้ายกัน) กับ Specific Rubrics (แบบเฉพาะงานใดงานหนง่ึ เท่าน้ัน) 3. สร้าง Rubrics ตามชนิดของ Rubrics ทีเ่ ลือก เพื่อใชป้ ระเมิน “ภาระงาน หรอื ชิน้ งาน” ที่ผเู้ รียนสร้างขึ้นจากการใช้ทักษะการปฏิบัติงานต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้อง โดยดำเนินการ ดังน้ี 1) กำหนดเกณฑ์หรอื รายการประเมิน “ภาระงาน หรอื ชิน้ งาน” ซึง่ ถ้าเป็น Analytic Rubrics จะมีการกำหนด “น้ำหนักคะแนน” ในแตล่ ะเกณฑ์ด้วย 2) กำหนดจำนวนระดับคุณภาพ ซึ่งในทีน่ ้ี ผวู้ ิจัยใช้ 4 ระดบั คุณภาพ คอื คุณภาพระดับ เยี่ยม (3 คะแนน) ระดับดี (2 คะแนน) ระดบั พอใช้ (1 คะแนน) และระดับต้องปรบั ปรุง (0 คะแนน) 3) เขียนคาอธิบายระดบั คณุ ภาพ ซึง่ ถ้าเปน็ Analytic Rubrics จะต้องอธิบายระดับ คุณภาพท้ัง 4 ระดบั แยกในแต่ละเกณฑ์หรอื รายการประเมิน 4) นำ Rubrics ท้ังหมดที่ สร้างข้ึนเสนอให้ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ซึ่งเปน็ ชดุ เดียวกันกับการประเมนิ คุณภาพของ แบบทดสอบ ตรวจสอบความเหมาะสมของRubrics ใน 3 ประเด็นหลกั คอื ประเด็นที่ 1 ความเหมาะสมของเกณฑ์หรอื รายการประเมิน ประเด็นที่ 2 ความเหมาะสมของจำนวน ระดับคณุ ภาพ และประเด็นที่ 3 ความเหมาะสมของคำอธิบายระดับคุณภาพ โดยใช้แบบ ประเมินความเหมาะสมของ Rubrics ที่ผู้วจิ ยั สร้างข้ึน ซึ่งมลี กั ษณะเปน็ มาตรประมาณค่า 5 ระดับ มกี ารให้คะแนน 5,4,3,2 และ 1 หมายถึง มีความเหมาะสมมากทีส่ ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย และ น้อยทีส่ ดุ ตามลาดับ 5) ปรับปรงุ แก้ไขในส่วนที่บกพรอ่ งและไม่ผ่าน เกณฑ์การประเมินทีต่ ้ังไว้ที่ “ค่าเฉลีย่ ความเหมาะสมไม่น้อยกว่า 3.50” ตามข้อเสนอแนะ ของผู้ทรงคุณวุฒิ และ 6) จัดทำ Rubrics ทีส่ มบรู ณ์ สาหรบั นำไปใช้ประเมินทกั ษะการ ปฏิบัติงานของกลุ่มตัวอย่าง จากการลงมอื ทำ“ภาระงานหรอื ชิ้นงาน” ในข้ันตอนการ ทดลองใช้รปู แบบตอ่ ไป 3. การวิเคราะหข์ อ้ มลู ผลการทดสอบการวดั ความแตกต่างของ สมรรถนะด้านคณุ ลักษณะในการจัดการเรียนรู้เชิงรกุ ของครผู ู้สอนภาษาอังกฤษ ระดบั ประถมของกลุ่มตัวอย่างในการทดลองกอ่ นและหลังการฝึกอบรม โดยการหา
192 คา่ เฉลีย่ (������̅) และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) จากน้ันทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย กอ่ นและหลังการใช้หลักสตู รฝึกอบรม โดยใช้สถิตทิ ดสอบ Dependent Samples t-test กำหนดนยั สำคญั ทางสถิติที่ระดบั .05 ทั้งน้ีผวู้ ิจยั ตรวจสอบข้อตกลงเบือ้ งตน้ เกีย่ วกับ Normality ของการทดสอบที (t-test) โดยวธิ ี Kolmogorov-Smirnov 4. การวิเคราะหข์ อ้ มลู ผลการศึกษาความพึงพอใจของครตู อ่ การใช้ หลกั สูตรฝกึ อบรม โดยการหาค่าเฉลี่ย (������̅) และค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) แล้วนำมา เปรียบเทียบกับเกณฑ์ ดังน้ี คา่ เฉลีย่ 4.51-5.00 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด ค่าเฉลีย่ 3.51-4.50 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดบั มาก คา่ เฉลีย่ 2.51-3.50 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดบั ปานกลาง ค่าเฉลีย่ 1.51-2.50 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับน้อย ค่าเฉลี่ย 1.00-1.50 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดบั น้อยที่สุด โดยกำหนดเกณฑท์ ี่ยอมรบั ได้คอื ค่าเฉลีย่ 3.51 ขึ้นไป มีค่าเบีย่ งเบน มาตรฐาน ≤ 1 และสถิตทิ ดสอบทีแบบทดสอบค่าเฉลีย่ ของกลุ่มตวั อย่างกลุม่ เดียว (One Sample t-test) กำหนดนัยสำคญั ทางสถิติที่ระดบั .05 คำนวณโดยใช้โปรแกรม 5. การวิเคราะหข์ อ้ มลู เชิงคุณภาพ โดยการสังเกตพฤติกรรม และสมั ภาษณค์ วามคิดเห็นของครูผเู้ ข้ารับการฝกึ อบรม ขณะร่วมกิจกรรมการฝกึ อบรม และนำข้อสังเกตดังกลา่ ว มาพิจารณาความสัมพันธข์ องขอ้ มลู วเิ คราะห์ แล้วเขียนบรรยาย สรุป 6. ปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรฝึกอบรมให้สมบูรณ์อีกตาม ข้อเสนอแนะ ของผู้เชี่ยวชาญและข้อค้นพบทีเ่ กิดจากการทดลองใช้หลักสูตรฝกึ อบรม กระบวนการวิจัยและพฒั นาหลกั สูตรฝกึ อบรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะ ด้านการจัดการเรยี นรู้เชงิ รุก ระยะที่ 3 การทดลองและศกึ ษา ผลการทดลองใชห้ ลกั สูตร ฝกึ อบรม แสดงได้ดงั ภาพประกอบ 9
193 การพัฒนาหลกั สูตรฝึกอบรมเพือ่ เสริมสรา้ งสมรรถนะในการจดั การเรียนรเู้ ชิงรกุ ของ ครผู สู้ อนภาษาอังกฤษระดบั ช้นั ประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา ประถมศึกษานครพนม เขต 2 ระยะท่ี 3 การทดลองและศึกษาผลการทดลองใชห้ ลกั สตู ร ฝึกอบรม ขั้นตอนที่ 1 - ประสานงานผเู้ กีย่ วข้อง เตรียมการก่อน - เตรียมเอกสารและอุปกรณ์ประกอบการฝึกอบรม ทดลองใช้หลักสูตร ขั้นตอนที่ 2 ทดลองใช้หลักสตู รฝกึ อบรม โดยใช้รปู แบบการทดลองแบบกลมุ่ เดียว ดำเนินการทดลอง มีการทดสอบก่อนและหลงั การทดลอง (One Group Pretest-Posttest Design) ใช้หลกั สตู ร ข้ันตอนที่ 3 - เปรียบเทียบสมรรถนะดา้ น - ความแตกต่าง ศกึ ษาผลการ ความรแู้ ละคณุ ลักษณะ ก่อนและ สมรรถนะความรู้และ ทดลองใช้ หลงั การฝกึ อบรม คณุ ลักษณะ - ศกึ ษาสมรรถนะด้านทักษะการ - ระดบั สมรรถนะด้าน หลกั สูตร ปฏิบัติ ทกั ษะการปฏิบัติ - ศกึ ษาความพึงพอใจของครตู ่อ - ระดบั ความพึงพอใจ การใชห้ ลักสตู รฝึกอบรม - ข้อมูลเชิงคุณภาพ ภาพประกอบ 9 กระบวนการวิจยั และการพัฒนาหลักสตู รฝึกอบรม ระยะที่ 3 การทดลองและศึกษาผลการทดลองใช้หลกั สูตรฝกึ อบรม
บรรณานกุ รม
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213