Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการบริหารจัดการพลังงานไฟฟ้า (1)

คู่มือการบริหารจัดการพลังงานไฟฟ้า (1)

Published by Chalermkiat Deesom, 2022-06-21 08:33:33

Description: คู่มือการบริหารจัดการพลังงานไฟฟ้า (1)

Search

Read the Text Version

หลกั สตู ร การบริหารจัดการพลงั งานไฟฟ้า สารบัญ บทที่ 1 กฎหมายวา่ ดว้ ยการส่งเสรมิ การอนุรักษ์พลงั งาน(ฉบับแกไ้ ขเพิ่มเติม พ.ศ. 2550) หนา้ 1 1.1 พระราชบญั ญตั กิ ารสง่ เสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 1 (ฉบบั แกไ้ ขเพ่มิ เตมิ พ.ศ. 2550) 3 1.2 แนวทางการปฏบิ ัติพระราชบัญญัตกิ ารสง่ เสริมการอนรุ ักษพ์ ลงั งาน พ.ศ. 2535 (ฉบบั แก้ไขเพ่ิมเติม พ.ศ. 2550) 3 1.2.1 ลักษณะของอาคารควบคมุ และโรงงานควบคุม 3 1.2.2 หน้าที่ของอาคารควบคมุ และโรงงานควบคมุ 3 1.2.3 ผรู้ ับผดิ ชอบด้านพลงั งาน 5 1.2.4 ผ้ตู รวจสอบพลังงาน 5 1.2.5 แนวทางการจัดการพลังงาน 6 1.3 บทกาหนดโทษตามพระราชบัญญัตกิ ารส่งเสรมิ การอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 8 (ฉบบั แก้ไขเพิม่ เติม พ.ศ. 2550) 10 1.4 คาถามทพี่ บบอ่ ยในการดาเนนิ การตามพระราชบัญญตั ิการสง่ เสริม 10 การอนุรักษ์พลงั งาน พ.ศ. 2535 (ฉบบั แก้ไขเพมิ่ เตมิ พ.ศ. 2550) 10 10 บทที่ 2 ระบบการจัดการพลังงานและการสรา้ งจติ สานกึ การอนุรกั ษ์พลังงาน 17 22 2.1 ระบบการจดั การพลังงาน 31 2.1.1 บทนา 42 2.1.2 ขั้นตอนที่ 1 การกาหนดโครงสร้างการจัดการพลงั งาน 2.1.3 ขั้นตอนท่ี 2 การประเมนิ สถานะเบอ้ื งตน้ 50 2.1.4 ขั้นตอนที่ 3 การกาหนดนโยบาย และการประชาสัมพนั ธ์ 51 2.1.5 ขั้นตอนที่ 4 การประเมินศกั ยภาพทางเทคนิค 53 2.1.6 ขน้ั ตอนท่ี 5 การกาหนดมาตรการ เป้าหมาย และการคานวณผลตอบแทน 54 ทางการเงิน 54 2.1.7 ขน้ั ตอนที่ 6 การจัดทาแผนปฏบิ ัติการ 77 2.1.8 ขน้ั ตอนที่ 7 การดาเนินการตามแผนปฏิบัตกิ าร 77 2.1.9 ขัน้ ตอนท่ี 8 การทบทวนผลการดาเนินการ 77 78 2.2 การสร้างจติ สานึกการอนุรักษ์พลงั งาน 79 2.2.1 ความจาเป็นในการสรา้ งจิตสานึก 2.2.2 องค์ประกอบในการสร้างจติ สานึกดา้ นอนุรักษพ์ ลังงาน 2.2.3 ขั้นตอนในการสร้างจติ สานึก 2.2.4 กจิ กรรมตา่ ง ๆ ในการสรา้ งจิตสานึก 2.2.5 แผนการรณรงคป์ ระชาสมั พนั ธเ์ พ่ือสรา้ งจติ สานึก 2.2.6 บนั ได 5 ขั้นสู่ความสาเรจ็ ในการอนรุ ักษพ์ ลังงานอย่างมัน่ คงและย่ังยนื ก

หลกั สตู ร การบริหารจดั การพลังงานไฟฟ้า สารบญั (ต่อ) บทที่ 3 การจัดการพลังงานในระบบไฟฟ้าแสงสวา่ ง หนา้ 80 3.1 ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง 80 3.2 หนว่ ยวดั และการคานวณทางแสง 81 3.3 มาตรฐานทีเ่ ก่ียวขอ้ งกับระบบแสงสวา่ ง 84 3.4 อปุ กรณ์ประหยดั พลงั งานในระบบไฟฟา้ แสงสว่าง 85 85 3.4.1 ความรู้เบือ้ งตน้ ของระบบแสงสว่าง 86 3.4.2 องคป์ ระกอบในระบบแสงสวา่ ง 97 3.4.3 การวเิ คราะห์การประหยัดพลังงานในระบบไฟฟา้ แสงสวา่ ง 100 3.4.4 การบรหิ ารและการจัดการเพ่อื ใหเ้ กิดการอนุรักษพ์ ลงั งาน 106 ในระบบแสงสว่าง 106 112 บทท่ี 4 การอนรุ ักษ์พลงั งานสาหรับมอเตอร์ 121 123 4.1 ชนิดของมอเตอรแ์ ละการใช้งาน 129 4.2 การเลือกและใชม้ อเตอร์ใหม้ ีประสิทธภิ าพ 133 4.3 กาลงั สญู เสยี และประสทิ ธภิ าพของมอเตอร์ 135 4.4 การใชอ้ ุปกรณ์ควบคมุ พลังงานสาหรับมอเตอร์ 4.5 การใช้มอเตอร์ประสทิ ธภิ าพสูงและการหาความคุม้ ทุน 140 4.6 การใชแ้ ละบารงุ รักษา 140 146 ภาคผนวก 149 152 บทที่ 5 การอนรุ ักษ์พลังงานในระบบอดั อากาศ 156 162 5.1 การผลิตอากาศอัด 5.2 การส่งจา่ ยอากาศอดั 163 5.3 เคร่อื งมือที่ใชอ้ ากาศอดั 163 5.4 การหาสมรรถนะและประสิทธภิ าพของเคร่ืองอัดอากาศ 189 5.5 การประหยดั พลังงานในระบบอัดอากาศ 190 5.6 การดูแลรกั ษาระบบอัดอากาศอย่างมีส่วนร่วม 194 บทท่ี 6 การอนุรักษ์พลังงานในระบบปรบั อากาศและระบบทาความเย็น 6.1 ระบบปรับอากาศ 6.2 การประหยดั พลังงานโดยการปรับปรงุ กรอบอาคารและทิศทางของอาคาร 6.3 การเลือกอุปกรณร์ ะบบปรบั อากาศเพอื่ การประหยัดพลงั งาน 6.4 การดแู ลระบบปรบั อากาศเชิงอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วม ข

หลักสูตร การบรหิ ารจดั การพลังงานไฟฟ้า สารบญั (ต่อ) บทที่ 7 การจดั การพลังงานโดยการควบคุมกาลังไฟฟา้ หนา้ 195 7.1 การแยกประเภทผใู้ ช้ไฟฟา้ และสว่ นประกอบของค่าไฟฟา้ 195 7.2 การวัดความตอ้ งการกาลงั ไฟฟา้ สงู สุด 214 7.3 แนวทางการควบคมุ ความต้องการกาลังไฟฟ้า 218 บทที่ 8 การใชห้ ม้อแปลงไฟฟา้ อยา่ งมีประสิทธภิ าพ 239 239 8.1 นิยามและชนดิ ของหมอ้ แปลง 242 8.2 การเลอื กขนาดและตดิ ตัง้ หมอ้ แปลงทีเ่ หมาะสม 247 8.3 กาลงั สูญเสยี และประสทิ ธิภาพของหมอ้ แปลง 249 8.4 การใช้หมอ้ แปลงอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 251 8.5 การเลอื กซือ้ หม้อแปลง 252 8.6 การวิเคราะห์การประหยัดพลังงาน 255 บทท่ี 9 อุปกรณ์ เครื่องมอื และเทคนิคการตรวจวิเคราะห์พลังงานไฟฟา้ 263 260 9.1 เคร่อื งมือวัดทางไฟฟ้าประเภทต่าง ๆ 265 9.2 ขอ้ มลู ทีใ่ ชใ้ นการตรวจวเิ คราะห์พลังงานไฟฟ้า 269 9.3 การคานวณเบอ้ื ตน้ ในการตรวจวเิ คราะหก์ ารใชพ้ ลงั งานไฟฟา้ 275 9.4 การใชง้ านเคร่อื งมอื วัดและการบนั ทกึ ทางไฟฟา้ 284 9.5 การตรวจวเิ คราะหก์ ารใช้พลังงานไฟฟ้าในระบบตา่ ง ๆ 9.6 ตัวอยา่ งการตรวจวิเคราะห์การใช้พลังงานไฟฟา้ ค

หลักสูตร การบรหิ ารจดั การพลงั งานไฟฟ้า สารบัญตาราง ตารางท่ี 2.1 ลักษณะทั่วไปของวัฒนธรรมภายในองค์กร หน้า ตารางที่ 2.2 คาอธิบายลกั ษณะเสน้ แบบต่าง ๆ 15 ตารางท่ี 2.3 คาถามเพ่อื ประเมนิ สถานการณ์ปัจจบุ นั ด้านจติ สานกึ 21 ตารางท่ี 2.4 สอ่ื ในการประชาสมั พันธ์และเปา้ หมาย 26 ตารางที่ 2.5 ตวั อย่างขอ้ มลู ท่ีใช้ในการแสดงแผนภูมิควบคุม 31 ตารางที่ 2.6 แสดงปริมาณพลังงานสารองของโลก 52 ตารางท่ี 2.7 การใช้ การผลติ การนาเข้าพลงั งานเชงิ พาณิชยข์ ั้นต้น 59 ตารางที่ 2.8 การใช้พลงั งานเชิงพาณชิ ยข์ ้นั ตน้ 60 ตารางท่ี 2.9 การผลิตพลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น 61 ตารางที่ 2.10 การใชพ้ ลงั งานเชงิ พาณชิ ยข์ ้ันสุดทา้ ย 62 ตารางท่ี 2.11 มูลคา่ การใชพ้ ลังงานขัน้ สดุ ท้าย 62 ตารางท่ี 2.12 มูลคา่ การนาเข้าพลงั งาน 63 ตารางที่ 2.13 มูลค่าการสง่ ออกพลังงาน 63 ตารางที่ 2.14 มลู ค่าการนาเข้าพลังงานสุทธิ 64 ตารางที่ 2.15 มูลค่าการนาเข้านา้ มนั ดิบ 64 ตารางท่ี 2.16 มูลคา่ การนาเข้าพลงั งานสทุ ธิ 65 ตารางท่ี 2.17 สถานการณ์ NGV ณ วนั ที่ 1 ธนั วาคม 2551 65 ตารางท่ี 2.18 ปรมิ าณการใชน้ ้ามนั แกส๊ โซฮอล์รายเดอื น 66 ตารางท่ี 2.19 รายชื่อโรงงานทด่ี าเนนิ การผลติ เอทานอลเพอื่ ใช้เปน็ เชือ้ เพลงิ แล้ว 67 ตารางท่ี 2.20 ปรมิ าณการใชน้ ้ามนั แกส๊ โซฮอลร์ ายเดอื น 67 ตารางที่ 2.21 ปรมิ าณการจาหน่ายนา้ มนั ดเี ซลหมนุ เร็วบี 5 68 ตารางที่ 2.22 การจดั หาและความต้องการ LPG 69 ตารางท่ี 2.23 เปรียบเทยี บสัดสว่ นการใช้ LPG 69 ตารางท่ี 2.24 การใช้ก๊าชธรรมชาตริ ายสาขา 70 ตารางที่ 2.25 การใชล้ ิกไนท์/ถา่ นหนิ 71 ตารางที่ 2.26 ปรมิ าณการใช้ไฟฟา้ 71 ตารางที่ 2.27 ปริมาณการใชไ้ ฟฟา้ รายสาขา 73 ตารางท่ี 2.28 ค่าเอฟที 74 ตารางที่ 2.29 ประมาณการใชพ้ ลงั งานเชิงพาณิชย์ข้นั ต้น 75 ตารางท่ี 2.30 ประมาณการใช้น้ามันสาเรจ็ รปู 75 ตารางที่ 2.31 แสดงตัวอยา่ งกจิ กรรมในการสรา้ งจติ สานึก 76 ตารางที่ 2.32 แสดงตัวอยา่ งแผนการรณรงค์ประชาสัมพนั ธ์เพอื่ สรา้ งจิตสานึก 78 ตารางท่ี 3.1 ตารางแสดงคุณสมบัติของหลอดฟลูออเรสเซนต์แบบต่าง ๆ 78 ตารางท่ี 3.2 ตัวอยา่ งแบบฟอรม์ ในการสารวจ 89 ตารางที่ 3.3 ขอ้ เสนอแนะการเปลย่ี นหลอดไฟเดิมแตล่ ะประเภท 97 98 ง

หลักสูตร การบริหารจดั การพลงั งานไฟฟ้า สารบญั ตาราง ตารางที่ 3.4 การเปลีย่ นหลอดตามอายกุ ารใช้งาน หน้า ตารางท่ี 3.5 แสดงขอ้ ดแี ละข้อเสียของอปุ กรณต์ รวจจับแต่ละชนิด 99 ตารางที่ 3.6 สรุปการใช้งานระบบควบคุมการเปิดปิด อตั โนมตั ิ 103 ตารางที่ 3.7 สรุปการใชง้ านระบบควบคุมอัตโนมัติ 103 ตารางที่ 4.1 ชนิดของมอเตอรเ์ หนี่ยวนาแบบกรงกระรอกตามมาตรฐาน 105 การออกแบบของ NEMA 111 ตารางที่ 4.2 คุณสมบัติที่เปล่ียนแปลงเมอื่ แรงดนั ไฟฟา้ และความถเ่ี ปลยี่ นไป ตารางท่ี 4.3 การจาแนกประเภทของมอเตอรโ์ ดยคุณสมบตั ิ ความเรว็ รอบแรงบิด 113 ตารางท่ี 4.4 การเทียบ Class ของฉนวนระหวา่ งมาตรฐาน IEC กับ NEMA (เป็น °C) 114 ตารางท่ี 4.5 เปรยี บเทยี บสภาพกอ่ นปรบั ปรุงและหลังการปรับปรงุ ขนาดมอเตอร์ไฟฟา้ 115 ตารางท่ี 5.1 การเปรยี บเทยี บขอ้ ดี ขอ้ เสีย ของเคร่อื งอัดอากาศแบบต่างๆ 128 ตารางที่ 5.2 แสดงพลังงานจาเพาะของเคร่ืองอัดอากาศแบบต่างๆ 145 ตารางที่ 5.3 แสดงขนาดของรจู ่ายอากาศเทยี บกับปริมาณการไหลของอากาศ 146 ตารางที่ 5.4 แสดงการใช้งานของอากาศอดั แบง่ ตามชนิดของอุตสาหกรรม 149 ตารางท่ี 5.5 ปริมาณอากาศรั่วและค่าพลงั งานที่สญู เสยี 150 ตารางท่ี 5.6 ประมาณการประหยัดจากการลดความดันเครอ่ื งอดั อากาศ 156 ตารางที่ 5.7 แสดงการประหยัดพลังงานเม่อื ลดอุณหภูมิของอากาศอดั 157 ตารางที่ 5.8 แสดงความรอ้ นที่ทิง้ ออกมาจากเครอ่ื งอดั อากาศและสว่ นประกอบ 158 ตารางท่ี 5.9 ขอ้ แนะนาการประหยัดพลังงานในการอดั อากาศ 159 ตารางที่ 6.1 แสดงตัวอยา่ งวิธกี ารเปิดระบบปรับอากาศแต่ละประเภท 160 ตารางที่ 6.2 (ก) เครือ่ งทาน้าเยน็ มแี นวทางเบื้องต้นในการตรวจสอบ ดงั นี้ 176 ตารางท่ี 6.3 (ข) หอผ่งึ น้า มแี นวทางเบือ้ งต้นในการตรวจสอบ ดังน้ี 181 ตารางที่ 6.4 (ค) เครอื่ งสบู นา้ มแี นวทางเบ้ืองต้นในการตรวจสอบ ดังน้ี 183 ตารางท่ี 6.5 (ง) เคร่ืองสง่ ลมเยน็ มีแนวทางเบอื้ งต้นในการตรวจสอบ ดังน้ี 184 ตารางท่ี 7.1 อตั ราค่าไฟฟ้าที่การไฟฟ้าเรยี กเก็บจากผู้ใช้ไฟฟ้าแต่ละประเภท 185 ตารางท่ี 7.2 สว่ นประกอบค่าไฟฟา้ ต่าง ๆ 205 ตารางท่ี 7.3 รายละเอียดค่าไฟฟ้าของผ้ใู ชไ้ ฟฟ้าตวั อยา่ ง 206 ตารางท่ี 7.4 สว่ นของค่าไฟฟา้ (เฉล่ยี เป็นบาทตอ่ หน่วย) ท่ีผใู้ ชไ้ ฟฟ้าสามารถควบคุมได้ 213 ตารางที่ 8.1 การเลอื กขนาดหม้อแปลง 2 ตวั ใหเ้ หมาะสมกบั ภาระ 228 ตารางท่ี 8.2 การเลือกขนาดหมอ้ แปลง 3 ตัวหรือ 4 ตัว ใหเ้ หมาะสมกับภาระ 245 ตารางที่ 8.3 แสดงมาตรฐานกาลงั สูญเสยี ของหม้อแปลงของการไฟฟ้าสว่ นภูมภิ าค 247 ตารางที่ 8.4 คา่ ไฟฟ้าทป่ี ระหยดั ไดจ้ ากการปลดหม้อแปลงออกจากระบบ 22 KV 248 ตารางที่ 8.5 เปรียบเทียบการสญู เสยี ของหม้อแปลงแบบแห้ง 12 kV / 400230 V 249 ตารางที่ 8.6 แสดงคุณสมบัติของหม้อแปลงแบบ 3 เฟส 251 ตารางที่ 9.1 ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งค่าตัวแปรในระบบไฟฟา้ 3 เฟส 254 268 จ

หลักสูตร การบรหิ ารจัดการพลงั งานไฟฟ้า สารบัญตาราง ตารางที่ 9.2 การตรวจวัดระบบสง่ จา่ ยไฟฟ้า หน้า ตารางท่ี 9.3 การตรวจวัดระบบปรับอากาศแบบหนว่ ยเดยี ว ตารางท่ี 9.4 การตรวจวัดเครือ่ งส่งลมเยน็ 276 ตารางที่ 9.5 การตรวจวัดเครือ่ งทาน้าเย็น 276 ตารางที่ 9.6 การตรวจวัดระบบแสงสว่าง 277 ตารางที่ 9.7 ตวั อย่างแบบฟอร์มทีใ่ ชใ้ นการสารวจความสวา่ งทจี่ ุดทางานต่าง ๆ 278 ตารางท่ี 9.8 ตวั อย่างแบบฟอร์มทใ่ี ช้ในการสารวจความสว่างเฉล่ยี 278 ตารางท่ี 9.9 การตรวจวัดระบบอัดอากาศ 280 ตารางที่ 9.10 การตรวจวัดปั๊มน้า 281 ตารางที่ 9.11 การตรวจวัดมอเตอร์และอปุ กรณท์ างไฟฟา้ 282 ตารางที่ 9.12 การตรวจวัดหม้อไอนา้ 282 ตารางท่ี 9.13 การตรวจวัดระบบส่งจา่ ยไอน้า 282 ตารางที่ 9.14 การวัดค่ากระแสในแต่ละเฟส 283 ตารางที่ 9.15 คา่ กาลังงานของมอเตอร์ 284 ตารางที่ 9.16 พลังงานไฟฟา้ ท่ลี ดลงจากการเลอื่ นเวลา 286 ตารางท่ี 9.17 ขอ้ มลู ทต่ี รวจวดั ก่อนทาการปรับอัตราการไหล 286 ตารางท่ี 9.18 ขอ้ มลู ทต่ี รวจวดั หลงั ทาการปรับอัตราการไหล 286 ตารางที่ 9.19 การตรวจวัดค่าความสว่าง 288 289 291 ฉ

หลกั สตู ร การบรหิ ารจัดการพลังงานไฟฟ้า สารบัญรูป รูปท่ี 1.1 โครงสรา้ งของพระราชบัญญตั กิ ารส่งเสริมการอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน พ.ศ. 2535 หน้า รปู ที่ 1.2 โครงสรา้ งของพระราชบัญญัติการสง่ เสรมิ การอนุรกั ษพ์ ลงั งาน พ.ศ. 2535 2 (ฉบบั แก้ไขเพิม่ เตมิ พ.ศ. 2550) 2 รูปท่ี 1.3 ผ้รู ับผิดชอบด้านพลงั งานตามพระราชบญั ญตั ิการส่งเสรมิ การอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 (ฉบบั แก้ไขเพ่มิ เติม พ.ศ. 2550) 4 รูปท่ี 1.4 แนวทางการจัดการพลงั งาน รูปท่ี 2.1 ขนั้ ตอนการพฒั นาระบบการจดั การพลังงาน 6 รูปท่ี 2.2 วัฒนธรรมขององคก์ ร 11 รูปท่ี 2.3 โครงสร้างการจัดการภายในองค์กรทวั่ ไป 13 รูปท่ี 2.4 Energy Management Matrix 16 รูปท่ี 2.5 ลกั ษณะเส้นแบบตา่ ง ๆ เพือ่ ประเมินสถานะเบ้อื งตน้ ของระบบการจดั การพลังงาน 19 รูปท่ี 2.6 ปจั จัยหลักทมี่ ีผลตอ่ ความสาเรจ็ ของนโยบายพลังงาน 20 รูปท่ี 2.7 ตวั อยา่ งคาถามในแบบสอบถามสารวจทศั นคติ 24 รูปที่ 2.8 การจดั กลมุ่ พนกั งานตามขอ้ มูล – ปริมาณทใี่ ช้ 28 รูปที่ 2.9 กระบวนการผลิตเสาอากาศกอ่ นและหลงั การพัฒนาตามแนว LEAN 30 รูปที่ 2.10 PDiagram 34 รูปที่ 2.11 แสดงการกาหนดกระบวนการย่อย 35 รปู ท่ี 2.12 แนวทางสรุปอปุ กรณ์ที่ควรวัดการใชพ้ ลงั งานอยา่ งละเอียด 35 รูปท่ี 2.13 การเปรยี บเทียบประสิทธภิ าพของอปุ กรณ์ 36 Lubricated Screw Type Air Compressor 41 รปู ท่ี 2.14 Cause –andEffect Diagram (หรอื Fishbone Diagram) รปู ที่ 2.15 แนวทางการกาหนดมาตรการอนุรักษพ์ ลังงาน 42 รปู ที่ 2.16 แผนภมู คิ วามสัมพนั ธ์ระหว่างพลังงานที่ใช้กบั ปริมาณ Steam ทผี่ ลิต 44 และเส้นกาหนดเป้าหมายการอนรุ ักษพ์ ลงั งาน 46 รปู ที่ 2.17 Simple Control Chart รปู ที่ 2.18 Moving Average Control Chart 51 รปู ที่ 2.19 แสดงพลังงานหมุนเวียนชนดิ ตา่ ง ๆ เชน่ แสงอาทติ ย์ ลม นา้ ก๊าชชวี ภาพ 52 และชีวมวล 55 รปู ที่ 2.20 แสดงลักษณะการเกดิ พลงั งานสิ้นเปลอื งหรอื Fossil รปู ที่ 2.21 แสดงพลังงานส้ินเปลอื งชนดิ ต่าง ๆ เช่น น้ามนั และถา่ นหิน 55 รูปท่ี 2.22 แสดงความต้องการใชพ้ ลังงานของโลกในภูมิภาคต่าง ๆ 56 รูปที่ 2.23 แสดงแผนที่ประเทศทผี่ ลติ น้ามนั ในตะวนั ออกกลางกับการขนส่ง 57 รปู ท่ี 2.24 กาลังการผลติ ตดิ ต้งั ไฟฟ้าปี พ.ศ. 2551 58 รปู ที่ 2.25 สัดสว่ นการติดต้งั ไฟฟา้ จากเชอ้ื เพลิงตา่ ง ๆ ปี พ.ศ. 2551 72 รปู ที่ 3.1 ความยาวคลืน่ ของรังสี 72 80 ช

หลกั สูตร การบรหิ ารจัดการพลังงานไฟฟ้า สารบัญรูป (ต่อ) รูปท่ี 3.2 การสะท้อนของสเปคตรมั หน้า รูปที่ 3.3 แสดงการคานวณค่าความสอ่ งสว่าง 81 รปู ท่ี 3.4 แสดงการคานวณคา่ ความส่องสว่างทจี่ ดุ ไมต่ ้งั ฉากกับแสงท่ีพ่งุ 83 รปู ที่ 3.5 หลอดทงั สเตนฟลิ าเมนท์ 84 รูปท่ี 3.6 หลอดทังสเตน ฮาโลเจน 87 รูปที่ 3.7 หลอดฟลูออเรสเซนต์ 87 รปู ที่ 3.8 Compact Fluorescent Lamps 88 รูปท่ี 3.9 รปู แสดงรูปร่างหลอดฟลอู อเรสเซนตแ์ บบตา่ ง ๆ 88 รูปที่ 3.10 รปู แสดงค่าความสวา่ งหลอดฟลอู อเรสเซนตแ์ บบตา่ ง ๆ 89 รูปท่ี 3.11 Mercury Vapour (หลอดแสงจนั ทร)์ 90 รูปที่ 3.12 Metal Halide 90 รูปที่ 3.13 แผนภาพแสดงประสิทธภิ าพของหลอดประเภทต่างๆ 91 รปู ท่ี 3.14 โคมเปลือย (Bare Batten Type) 92 รปู ที่ 3.15 โคมโรงงาน (Industrial Type) 93 รปู ที่ 3.16 โคมตะแกรง (Fin Louver Type) 93 รปู ที่ 3.17 โคมพรสี เมตกิ (Prismatic Diffuser Type) 94 รปู ท่ี 3.18 โคมกรองแสงขาวขุ่น (Opal Type) 94 รูปท่ี 3.19 บลั ลาสตแ์ บบแกนเหล็ก 95 รูปที่ 3.20 บัลลาสตแ์ บบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (Electronic ballast) 95 รูปท่ี 3.21 แผนภาพแสดงผลของการบารุงรักษาต่อการสอ่ งสว่างของหลอด 96 รูปท่ี 4.1 มอเตอรก์ ระแสตรง 99 รูปท่ี 4.2 มอเตอร์กระแสสลบั แบบซงิ โครนสั 106 รูปท่ี 4.3 มอเตอรก์ ระแสสลับแบบเหนยี่ วนา 107 รูปที่ 4.4 โรเตอร์แบบวาวด์โรเตอร์และแบบกรงกระรอก 108 รูปที่ 4.5 ประสทิ ธิภาพของมอเตอร์ 109 รูปที่ 4.6 ระดบั ทอ่ และระยะตา่ ง ๆ ของการสูบนา้ 112 รปู ท่ี 4.7 กาลังสญู เสยี ในมอเตอร์ 120 รปู ท่ี 4.8 การทางานของ Frequency Inverter หรอื Motor ตาม Load 121 รปู ที่ 4.9 ความสัมพันธ์ของความเร็วรอบกับกาลังไฟฟ้าทมี่ อเตอรใ์ ช้ 124 รปู ที่ 4.10 ตาแหน่งที่ปรับปรุงเปน็ มอเตอร์ประสิทธิภาพสงู 124 รปู ท่ี 5.1 แสดงภาคการทางานของเคร่ืองอัดอากาศ 130 รูปท่ี 5.2 แสดงผงั การทางานของเครื่องอัดอากาศ 141 รูปที่ 5.3 แสดงเคร่อื งอดั อากาศแบบลกู สบู 141 รปู ท่ี 5.4 แสดงเครื่องอดั อากาศแบบโรตารีเวน 143 รปู ที่ 5.5 แสดงเคร่ืองอดั อากาศแบบโรตารีสกรู 143 144 ซ

หลักสตู ร การบรหิ ารจัดการพลังงานไฟฟ้า สารบัญรปู (ต่อ) รูปท่ี 5.6 แสดงเครอ่ื งอดั อากาศแบบแรงเหวีย่ งหนีศนู ย์ หน้า รปู ท่ี 5.7 แสดงเครือ่ งอดั อากาศ 144 รปู ที่ 5.8 ระบบจ่ายอากาศอดั แบบท่อเดีย่ ว 145 รูปท่ี 5.9 ระบบจา่ ยอากาศอัดแบบวงแหวน 147 รปู ที่ 5.10 แสดงความสมั พนั ธข์ องขนาดท่ออัตราการไหลของอากาศอัด 147 และความดนั ตกในท่อเหลก็ 148 รูปท่ี 5.11 แสดงลักษณะการใช้งานของอากาศอดั รปู ที่ 5.12 แสดงหาสมรรถนะของเคร่ืองอัดอากาศ 151 รูปที่ 6.1 แสดงอุณหภูมิและความสบายของคน 154 รูปที่ 6.2 แสดงวฎั จักรในการทาความเย็น 163 รปู ท่ี 6.3 ผลกระทบต่อปรมิ าณโอโซน และสภาวะโลกรอ้ น 164 ของสารประกอบกลุ่ม CFC, HCFC และ HFC 165 รูปที่ 6.4 แสดงวฏั จกั รการทาความเยน็ แบบอัดดนั ไอ รูปท่ี 6.5 น้าท่เี ป็นสารทาความเย็นระเหยภายในถงั สุญญากาศและดูดความร้อนจากบรเิ วณโดยรอบ 166 รปู ท่ี 6.6 ลิเธยี มโบรไมด์จะทาการดูดซมึ น้า ท่ีระเหยและไหลลงก้นถัง 167 รูปที่ 6.7 เครือ่ งสูบสารละลายลิเธียมโบรไมด์ และนา้ สูบสารละลายดงั กลา่ ว 167 ไปเครอ่ื งแยกนา้ ออกจากลเิ ธียมโบรไมด์ทถ่ี งั เจนเนอเรเตอร์ 167 รูปท่ี 6.8 ไอนา้ ท่รี ะเหยจากถงั เจนเนอเรเตอรจ์ ะถูกทาใหค้ วบแน่นเป็นนา้ เพอื่ นากลบั มาทาความเยน็ ที่ถงั สญุ ญากาศ 167 รปู ท่ี 6.9 วฏั จักรการทาความเย็นแบบดดู ซึม รปู ท่ี 6.10 ภาพจาลองแสดงการทางานของเครื่องทานา้ เย็นแบบดูดซมึ 167 รูปที่ 6.11 เครื่องทานา้ เยน็ แบบดูดซึม 168 รปู ท่ี 6.12 เคร่อื งทาน้าเยน็ แบบระบายความร้อนด้วยน้า 168 รูปที่ 6.13 เครื่องทาน้าเย็นแบบระบายความร้อนด้วยอากาศ 169 รปู ท่ี 6.14 เคร่อื งสูบนา้ 170 รูปที่ 6.15 หอผึ่งน้า 170 รูปท่ี 6.16 แบบใช้สารทาความเย็นทาความเยน็ โดยตรง 170 รูปท่ี 6.17 เคร่ืองปรบั อากาศแบบแยกส่วนแบบตา่ งๆ 171 รูปที่ 6.18 ลาดับข้นั ตอนในการใช้งานระบบปรบั อากาศ 171 รูปท่ี 6.19 ลาดับข้นั ตอนในการเปิดระบบปรับอากาศ 173 รูปท่ี 6.20 แนวทางเบื้องตน้ สาหรับการบารงุ รกั ษาเครอ่ื งทานา้ เย็น 174 รปู ที่ 6.21 แนวทางเบอ้ื งต้นสาหรับการบารุงรกั ษาหอผงึ่ นา้ 178 รูปท่ี 6.22 แนวทางเบือ้ งต้นสาหรับการบารงุ รกั ษาเครอ่ื งสบู น้า 179 รูปที่ 6.23 แนวทางเบอ้ื งต้นสาหรบั การบารงุ รักษาเคร่อื งสง่ ลมเยน็ 179 180 ฌ

หลักสตู ร การบริหารจัดการพลังงานไฟฟ้า สารบญั รูป (ต่อ) รูปท่ี 6.24 เครอ่ื งแลกเปลี่ยนความร้อนระหวา่ งอากาศแบบล้อความร้อน หน้า (HEAT WHEEL AIR TO AIR HEAT EXCHANGER) 188 รปู ที่ 6.25 เครอื่ งแลกเปลยี่ นความร้อนระหวา่ งอากาศแบบแผน่ รปู ท่ี 7.1 แสดงใบแจ้งหนส้ี าหรบั ผใู้ ช้ไฟฟา้ ในอตั รา TOD 188 รูปท่ี 7.2 แสดงใบแจ้งหนส้ี าหรบั ผใู้ ช้ไฟฟา้ ในอตั รา TOU 207 รูปท่ี 7.3 แสดงใบแจง้ หนีส้ าหรบั ผใู้ ช้ไฟฟา้ ในอตั ราปกติ 208 รูปท่ี 7.4 การวัดความตอ้ งการกาลังไฟฟา้ 209 รูปท่ี 7.5 ตวั อย่างการวัดความตอ้ งการกาลงั ไฟฟา้ (Demand) ใน 5 คาบเวลา (75 นาที) 214 รูปที่ 7.6 ค่ากาลงั ไฟฟา้ ทใ่ี ชจ้ รงิ และความตอ้ งการกาลังไฟฟา้ สงู สดุ 215 รปู ที่ 7.7 รปู แบบของความตอ้ งการกาลังไฟฟา้ (คา่ นเ้ี ปน็ ค่าเฉลีย่ และบนั ทึกทกุ ๆ 15 นาที) 216 รปู ที่ 7.8 แสดงค่าความต้องการกาลังไฟฟ้าตามชว่ งเวลาของอัตรา TOD 217 รปู ที่ 7.9 แสดงการควบคุมความตอ้ งการกาลังไฟฟ้า 217 รปู ที่ 7.10 ความสมั พนั ธ์ของ P กับ E ในรูปแบบตา่ ง ๆ 218 รูปที่ 7.11 กราฟแสดงรูปแบบการใช้ไฟฟ้าตามอตั รา TOD 223 รูปที่ 7.12 กราฟแสดงรูปแบบการใช้ไฟฟ้าตามอัตรา TOU 224 รูปท่ี 7.13 รูปแบบการใช้ไฟฟ้าอัตราปกติ 227 รปู ท่ี 7.14 การปรับรูปแบบการใชพ้ ลงั งานของอตั รา TOU 229 รูปท่ี 7.15 แสดงเว็กเตอรส์ ามเหล่ียมกระแส และสามเหลยี่ มกาลัง 230 รูปท่ี 7.16 แสดงการใช้คาปาซิเตอร์ชว่ ยจา่ ยกาลังงานรแี อ็กตฟี 234 ณ จุดทีต่ ้องการทาใหก้ ระแสไฟฟา้ รวมที่ดึงจากระบบไฟฟ้าลดลง 235 รูปท่ี 7.17 แสดงความสัมพนั ธข์ องกาลงั งานส่วนตา่ ง ๆ ทง้ั กอ่ นและหลงั ปรับค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ 236 รูปท่ี 8.1 ระบบจาหนา่ ยไฟฟ้าในประเทศไทย รปู ท่ี 8.2 ระบบจาหนา่ ยไฟฟ้าในเขตการไฟฟา้ นครหลวง 239 รปู ท่ี 8.3 ระบบจาหนา่ ยไฟฟา้ ในเขตการส่วนภูมภิ าค 240 รูปท่ี 8.4 โครงสรา้ งของหมอ้ แปลงไฟฟ้า 240 รปู ที่ 8.5 a. หม้อแปลงไฟฟ้าแบบระบายความรอ้ นด้วยน้ามนั 241 b. หมอ้ แปลงไฟฟ้าแบบระบายความรอ้ นดว้ ยอากาศ 242 รปู ที่ 8.6 ระบบสายประธานเด่ียว รูปที่ 8.7 ระบบสายประธานคู่ 243 รูปที่ 8.8 ระบบสายประธานสองชุด 243 รปู ท่ี 8.9 สปอตเนตเวริ ์ค 244 รูปที่ 8.10 หม้อแปลง ขนาด 1,250 kVA 245 รูปที่ 8.11 การจัดบัส 246 รูปที่ 8.12 แสดงการสูญเสียพลงั งานไฟฟา้ ในหมอ้ แปลง 246 247 ญ

หลกั สตู ร การบริหารจดั การพลงั งานไฟฟา้ สารบญั รูป (ต่อ) รูปท่ี 8.13 แสดงคา่ กาลงั สูญเสยี ในแกนเหล็กและลวดทองแดง หนา้ รปู ที่ 9.1 เทอรโ์ มมเิ ตอร์ (Thermometer) ประเภทตา่ ง ๆ กนั 253 รปู ที่ 9.2 เคร่ืองวัดอุณหภมู ิผวิ (Surface Pyrometer) และหัววดั ประเภทต่าง ๆ กัน 255 รปู ท่ี 9.3 เครือ่ งวดั ความชนื้ (Psycrometer) ประเภทตา่ ง ๆ กัน 256 รูปท่ี 9.4 เครื่องวดั กระแส (Ammeter) 256 รปู ที่ 9.5 เครอ่ื งวัดแรงดนั ไฟฟ้า (Voltmeter) 257 รปู ท่ี 9.6 เครื่องวดั กาลงั ไฟฟ้า (Wattmeter) 257 รปู ที่ 9.7 เคร่อื งวดั ตัวประกอบกาลังไฟฟ้า (Power Factor Meter) 258 รปู ที่ 9.8 เครอ่ื งมอื ทดสอบการเผาไหม้ (Combustion Tester) 258 รูปที่ 9.9 เครอ่ื งมอื วัดความดันก๊าซ (Draft Gauge) 259 รูปที่ 9.10 เครอ่ื งมือวัดระดับแสงสวา่ ง (Lux Meter) 259 รูปที่ 9.11 เครอื่ งมือทดสอบควนั (Smoke Tester) 260 รูปที่ 9.12 ANEMOMETER : ใชต้ รวจสอบความเร็วลมของเครอ่ื งปรับอากาศ 260 ทั้งชนิดใบพดั หมนุ และชนิดขดลวดความร้อน 261 รูปท่ี 9.13 แสดงเคร่อื งวัดความเรว็ รอบ รูปท่ี 9.14 เคร่ืองวดั อุณหภมู แิ ละความช้นื 262 รูปท่ี 9.15 เคร่อื งวัดอตั ราการไหลแบบอลุ ตรา้ โซนกิ 262 รูปที่ 9.16 เครื่องวดั อุณหภมู แิ บบอนิ ฟราเรด 263 รูปที่ 9.17 แสดงการวดั คา่ ในระบบไฟฟา้ 1 เฟส 263 รปู ที่ 9.18 แสดงตัวอยา่ งการวัดค่าในระบบไฟฟ้า 3 เฟส 266 รปู ที่ 9.19 แสดงเคร่อื งมอื วัดทใี่ ชว้ เิ คราะห์การใช้พลังงานไฟฟ้า 267 รปู ท่ี 9.20 การวัดค่าแรงดันไฟฟ้า 268 รปู ท่ี 9.21 แสดงการคลอ้ งวดั กระแสให้ถกู ทศิ ทางตามการไหลไปยงั โหลด 270 รูปที่ 9.22 แสดงการต่อวัดกาลงั ไฟฟ้า 3 เฟส ท่ีสามารถวัดระบบไฟฟ้า 3 เฟส กรณสี มดลุ ได้ 271 รปู ที่ 9.23 แสดงการต่อวัดกาลงั ไฟฟา้ โดยใชว้ ัตต์มเิ ตอร์ 2 ตัวในระบบไฟ 3 เฟส 272 กรณีทีภ่ าระไฟฟ้าไม่สมดุล 273 รปู ที่ 9.24 แสดงการตอ่ วัดกาลังไฟฟ้ากรณที ภ่ี าระไฟฟ้าไมส่ มดลุ โดยวัดครั้งละ 1 เฟส รปู ท่ี 9.25 แสดงการต่อเครื่องบนั ทกึ กาลังไฟฟา้ 1 เฟส 273 รูปที่ 9.26 แสดงการต่อวัดระบบไฟ 3 เฟส 4 สาย 274 รูปท่ี 9.27 แสดงการตอ่ วัดระบบไฟ 3 เฟส 3 สาย 274 รปู ที่ 9.28 แสดงตาแหนง่ วดั ความสวา่ งของห้องแบบต่าง ๆ เพื่อหาความสว่างเฉล่ีย 275 รปู ท่ี 9.29 ตวั อย่างการบนั ทึกค่ากาลังงานไฟฟ้า 279 รปู ที่ 9.30 การตรวจวิเคราะหก์ ารใช้พลงั งานไฟฟา้ ของมอเตอร์ในระบบ 285 รปู ที่ 9.31 การตรวจวัดอตั ราการไหลของนา้ ระบายความร้อนด้วยเครื่องวัดอัตราการไหล 285 แบบอลุ ตรา้ โซนิกและวดั อณุ หภูมแิ บบอินฟาเรด 287 ฎ

หลักสตู ร การบรหิ ารจดั การพลังงานไฟฟ้า สารบัญรูป (ต่อ) รูปที่ 9.32 การบันทึกการใช้พลงั งานไฟฟ้าด้วยเครอื่ งบันทึกกาลงั งานไฟฟ้า หน้า วดั ท่ีเบรกเกอร์หลักท่ีจา่ ยกาลังงานไฟฟ้าให้อุปกรณ์ในระบบระบายความร้อน 288 รูปท่ี 9.33 ท้ังระบบ รูปที่ 9.34 ผลการบันทกึ ค่าการกาลังงานไฟฟ้าของระบบระบายความร้อน 288 รปู ท่ี 9.35 การลดจานวนหลอดไฟจากเดิม 3 ดวงเหลอื 2 ดวง 289 การตรวจวัดค่าความสว่างของหลอดไฟฟ้าตามเกณฑ์มาตรฐาน 290 ฏ

หลักสูตร การบริหารจัดการพลงั งานไฟฟา้ บทท่ี 1 กฎหมายว่าด้วยการสง่ เสริมการอนรุ ักษพ์ ลังงานพระราชบญั ญตั ิ การส่งเสริมการอนุรักษ์พลงั งาน พ.ศ. 2535 (ฉบับแก้ไขเพม่ิ เติม 2550) 1.1 พระราชบญั ญตั ิการสง่ เสริมการอนรุ ักษพ์ ลงั งาน พ.ศ. 2535 (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม 2550) ตามท่ีมีการตราพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 โดยมีผลบังคับใช้ต้ังแต่ วันที่ 3 เมษายน 2535 ซึ่งมงุ่ เนน้ ที่จะสง่ เสริมสนบั สนุนให้ผปู้ ระกอบการธรุ กิจ ท่มี ีการใช้พลังงานมาก อันประกอบด้วย ภาคอุตสาหกรรมการผลิตและการบริการต่าง ๆ มีการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและประหยัด ท่ีผ่านมาได้ออก พระราชกฤษฎีกากาหนดอาคารควบคุม และพระราชกฤษฎีกากาหนดโรงงานควบคุมขึ้นมาในปี พ.ศ. 2535 และปี พ.ศ. 2540 ตามลาดับ เพื่อกาหนดว่ากลุ่มเป้าหมายใดที่จะต้องดาเนินการอนุรักษ์พลังงานให้เป็นไปตามที่กฎหมาย กาหนด รวมทั้งการออกกฎกระทรวง ประกาศกระทรวงต่าง ๆ ซง่ึ ท่ีผ่านมาได้ประกาศใช้เป็นเวลานานแล้ว และเพ่ือให้ เหมาะสมกบั สภาวการณ์ท่เี ปล่ยี นแปลงไปในปัจจบุ นั จึงไดม้ กี ารแกไ้ ขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์ พลงั งาน พ.ศ. 2535 ขึ้น ซึ่งจะมีผลใชบ้ ังคบั วนั ที่ 1 มิถนุ ายน 2551 การแก้ไขในคร้ังน้ี เป็นการแก้ไขและยกเลิกข้อความโดยใช้ข้อความใหม่เพียงบางมาตราและเพ่ิมเติม บทบัญญัติขึ้นมาใหม่ในบางส่วน มิได้มีการแก้ไขหรือยกเลิกเนื้อความในพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์ พลงั งาน พ.ศ. 2535 ทงั้ ฉบับ ท้ังนี้ เพ่ือให้ทันสมัยและสอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบันรวมถึงลดขั้นตอนท่ีไม่ จาเปน็ โดยนารายละเอียดไปกาหนดไวใ้ นกฎกระทรวงเพือ่ ง่ายตอ่ การปรบั ปรงุ แก้ไขในอนาคต โครงสร้างของพระราชบญั ญตั กิ ารสง่ เสรมิ การอนุรักษพ์ ลงั งาน พ.ศ. 2535 และโครงสร้างของพระราชบัญญัติ การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2550) แสดงรายละเอียดในรูปที่ 1.1 และ รูปท่ี 1.2 1

หลักสูตร การบริหารจัดการพลังงานไฟฟา้ รปู ที่ 1.1 โครงสร้างของพระราชบัญญตั ิการสง่ เสรมิ การอนุรักษพ์ ลงั งาน พ.ศ. 2535 รูปท่ี 1.2 โครงสรา้ งของพระราชบญั ญตั กิ ารส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 (ฉบบั แก้ไขเพมิ่ เตมิ พ.ศ. 2550) 2

หลกั สตู ร การบรหิ ารจัดการพลังงานไฟฟ้า 1.2 แนวทางการปฏบิ ตั พิ ระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 (ฉบับแก้ไขเพ่ิมเติม พ.ศ. 2550) 1.2.1 ลักษณะของอาคารควบคุมและโรงงานควบคุม ผู้ที่อยู่ภายใต้กฎหมายฉบับน้ี มีหน้าท่ีต้อง ดาเนนิ การอนุรักษพ์ ลงั งานตามพระราชบัญญตั ิการสง่ เสรมิ การอนุรักษ์พลงั งาน พ.ศ. 2535 น้ันจะถูกเรียกว่า “อาคาร ควบคมุ ” หรือ “โรงงานควบคุม” แลว้ แต่กรณี โดยจะเนน้ ไปที่อาคารและโรงงานท่ีมีการใช้พลังงานในปริมาณท่ีมาก และมีศกั ยภาพในการอนุรกั ษ์พลังงาน โดยประกาศออกมาเป็นพระราชกฤษฎีกากาหนดอาคารควบคุม และพระราช กฤษฎีกากาหนดโรงงานควบคุมมาใชบ้ งั คับอาคารหรือโรงงานทเ่ี ข้าข่ายเป็นอาคารควบคุมหรือโรงงานควบคุมนั้น ต้อง มลี กั ษณะการใช้พลงั งานอยา่ งใดอย่างหนง่ึ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1) ได้รบั อนุมัติจากผู้จาหน่ายไฟฟ้าให้ ติดต้ังเคร่ืองวัดไฟฟ้าตั้งแต่ 1,000 กิโลวัตต์ขึ้นไป หรือ ติดตั้งหม้อแปลงตัวเดียวหรือหลายตัวรวมกันขนาดตั้งแต่ 1,175 กิโลโวลท์แอมแปร์ข้ึนไป หรือ 2) มีการใช้พลังงานไฟฟ้า ความรอ้ นจากไอน้า หรือพลงั งานส้นิ เปลือง อย่างใดอย่างหน่ึงรวมกัน ต้ังแต่วันท่ี 1 มกราคม ถึงวันท่ี 31 ธันวาคมของปีท่ีผ่านมา มีปริมาณพลังงานเทียบเท่า พลงั งานไฟฟ้าต้ังแต่ 20 ลา้ นเมกะจูลข้นึ ไป พระราชกฤษฎีกากาหนดอาคารควบคมุ และพระราชกฤษฎกี ากาหนดโรงงานควบคุม น้ี มีผลบังคับ ใช้แล้วตั้งแต่วันที่ 12 ธันวาคม 2538 และวันท่ี 17 กรกฎาคม 2540 ตามลาดับ ดังนั้นอาคารหรือโรงงานที่มีการใช้ พลงั งานดังกล่าวข้างต้น ตอ้ งเรม่ิ ดาเนินการอนรุ ักษพ์ ลงั งานตามที่กฎหมายกาหนดไว้ สาหรับโรงงานหรืออาคารใด ๆ ทีม่ ีลกั ษณะการใช้พลังงานตามเกณฑ์ที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกาฯ หลังวันที่มีผลบังคับใช้แล้ว จะมีผลเป็นอาคาร ควบคุมหรือโรงงานควบคมุ ในทันที 1.2.2 หน้าท่ีของอาคารควบคมุ และโรงงานควบคุม ในพระราชบญั ญตั ิการส่งเสรมิ การอนรุ ักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 ได้กาหนดให้ผู้ที่เป็นเจ้าของอาคาร ควบคุมและโรงงานควบคมุ มีหน้าท่ีตอ้ งดาเนินการอนุรกั ษพ์ ลงั งานดังต่อไปนี้ 1) จัดให้มีผู้รับผิดชอบด้านพลังงานที่มีคุณสมบัติและจานวนตามที่กาหนดใน กฎกระทรวง ภายในเวลาท่ีกาหนด 2) ต้องดาเนินการจัดให้มีการอนุรักษ์พลังงานตามมาตรฐานหลักเกณฑ์ แ ละวิธีการ การจัด การพลงั งานท่ีกาหนดในกฎกระทรวง 3) สง่ รายงานผลการตรวจสอบและรบั รองการจัดการพลังงานให้ พพ. ภายในเดือนมีนาคมของ ทุกปี โดยต้องได้รบั การตรวจสอบและรับรองงานจากผ้ตู รวจสอบพลังงานที่ได้รับอนุญาตจาก พพ. 1.2.3 ผูร้ ับผดิ ชอบด้านพลังงาน ผูร้ ับผดิ ชอบดา้ นพลังงานตอ้ งไดร้ บั การขึ้นทะเบียนจาก พพ. ซึ่งโรงงานควบคุม/อาคารควบคุมต้อง แจง้ แต่งตงั้ ผู้รับผิดชอบด้านพลงั งานภายใน 180 วนั นบั ตั้งแต่วนั ที่เป็นโรงงานควบคุม/อาคารควบคุม โดยผู้รับผิดชอบ ด้านพลงั งานตอ้ งมีคุณสมบตั ิและจานวนอยา่ งนอ้ ยตามท่ี พพ. กาหนด ดงั นี้ 3

หลกั สูตร การบริหารจัดการพลงั งานไฟฟ้า รปู ท่ี 1.3 ผ้รู บั ผิดชอบด้านพลงั งานตามพระราชบัญญตั กิ ารสง่ เสริมการอนุรักษ์พลงั งาน พ.ศ. 2535 (ฉบับแก้ไขเพ่ิมเตมิ พ.ศ. 2550) คณุ สมบตั ขิ องผ้รู ับผดิ ชอบด้านพลังงาน ผรู้ บั ผิดชอบดา้ นพลังงานต้องมคี ณุ สมบัตอิ ยา่ งใดอยา่ งหนึง่ ดงั ต่อไปน้ี - เป็นผู้ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูงและมีประสบการณ์การทางานในโรงงานหรืออาคารควบคุม อยา่ งน้อยสามปี โดยมีผลงานด้านการอนุรักษ์พลังงานตามการรับรองของเจ้าของโรงงานควบคุมหรือ เจ้าของอาคารควบคมุ - เป็นผูไ้ ด้รบั ปริญญาทางวศิ วกรรมศาสตร์หรอื ทางวทิ ยาศาสตร์โดยมีผลงานด้านการอนุรักษ์พลังงานตาม การรบั รองของโรงงานควบคมุ หรอื เจา้ ของอาคารควบคมุ - เป็นผู้สาเร็จการฝกึ อบรมดา้ นการอนุรักษพ์ ลังงานหรือการฝึกอบรมทมี่ วี ตั ถปุ ระสงค์คล้ายคลึงกันที่อธิบดี (พพ.) ใหค้ วามเห็นชอบ - เป็นผู้สาเร็จการฝึกอบรมหลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานอาวุโสหรือการฝึกอบรมที่มีวัตถุประสงค์ คลา้ ยคลึงกันทีอ่ ธิบดี (พพ.) ให้ความเห็นชอบ - เปน็ ผทู้ ีผ่ ่านการสอบตามเกณฑ์หลักสูตรผูร้ ับผิดชอบด้านพลังงาน ซ่ึงจดั โดยกรมพฒั นาพลังงานทดแทน และอนุรกั ษ์พลงั งาน พพ.) 4

หลกั สตู ร การบรหิ ารจดั การพลังงานไฟฟ้า หน้าทีข่ องผรู้ บั ผิดชอบด้านพลังงาน - บารุงรักษาและตรวจสอบประสิทธภิ าพของเครื่องจกั รและอุปกรณท์ ี่ใช้พลงั งานเป็นระยะ ๆ - ปรบั ปรุงวิธีการใชพ้ ลังงานให้เปน็ ไปตามหลกั การอนรุ ักษ์พลังงาน - ชว่ ยเจ้าของโรงงานควบคมุ หรอื เจ้าของอาคารควบคมุ ในการจัดการพลงั งาน - ช่วยเจา้ ของโรงงานควบคมุ หรอื เจ้าของอาคารควบคมุ ปฏิบตั ิตามคาส่ังของอธิบดี (พพ.) ตามมาตรา10 การเปลี่ยนแปลงผู้รบั ผดิ ชอบดา้ นพลงั งาน เจ้าของโรงงานควบคมุ หรอื เจ้าของอาคารควบคุม ต้องดาเนนิ การดังตอ่ ไปนี้ - แจ้งช่อื ผรู้ ับผดิ ชอบดา้ นพลงั งานทพ่ี ้นจากหน้าที่ - แจ้งช่อื บุคคลซงึ่ เป็นผู้ทาหนา้ ทผ่ี ู้รบั ผิดชอบดา้ นพลงั งานคนใหม่ โดยสง่ แบบแจ้งแตง่ ต้งั (แบบ บพช.) - ทง้ั น้ใี หร้ ีบดาเนนิ การแจ้งต่อ พพ. ภายใน 90 วันนับแต่ผรู้ ับผิดชอบด้านพลงั งานเดมิ พน้ จากหนา้ ที่ 1.2.4 ผู้ตรวจสอบพลงั งาน นติ บิ ุคคลทีไ่ ดร้ ับใบอนญุ าตจาก พพ. ให้เป็นผตู้ รวจสอบและรบั รองการจัดการพลังงาน ตามมาตรา 48/1 ซ่ึงมีหน้าท่ีในการตรวจสอบ และรับรองการจัดการพลังงานให้กับโรงงานควบคุม/อาคารควบคุมให้เป็นไปตาม กาหนดของ พพ. 1.2.5 แนวทางการจัดการพลังงาน แนวทางการจัดการพลังงานที่สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 (ฉบบั แก้ไขเพิม่ เติม พ.ศ. 2550) แสดงดังรปู ที่ 2.4 5

หลักสูตร การบริหารจัดการพลงั งานไฟฟา้ 1. โรงงาน/อาคารควบคมุ กาหนดโครงสร้างการจัดการพลังงาน และอานาจหนา้ ที่ ของคณะกรรมการ/คณะทางานในเร่ืองการจดั การพลงั งาน 2. ประเมินสถานการณ์การจัดการพลังงานเบอื้ งต้น 3. กาหนดนโยบายอนุรักษ์และประชาสัมพนั ธ์ 8. การทบทวน วเิ คราะห์ แกไ้ ข 4. การประเมนิ ศกั ยภาพ ข้อบกพรอ่ งของระบบ 5. การกาหนดมาตรการ 7. ดาเนินงานตามแผน เป้าหมาย ปฏบิ ัติการ 6. การจัดทาแผนอนรุ ักษ์พลงั งาน รูปที่ 1.4 แนวทางการจดั การพลังงาน 1.3 บทกาหนดโทษตามพระราชบัญญตั กิ ารส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2550) เจ้าของโรงงานควบคุมหรอื เจา้ ของอาคารควบคุม - แจง้ รายละเอียด หรือเหตอุ นั เปน็ เท็จในการขอผอ่ นผนั การปฏิบัตติ าม พ.ร.บ. จาคุกไม่เกนิ 3 เดือน หรือ ปรับไมเ่ กนิ 150,000 บาท หรือทัง้ จาท้ังปรับ (มาตรา 53) - ไม่ช้แี จงขอ้ เท็จจริงเกย่ี วกับการใชพ้ ลงั งานภายใน 30 วัน นบั แตไ่ ดร้ ับคาส่ังจากอธบิ ดี ปรบั ไม่เกนิ 5 หมื่นบาท (มาตรา 54) ถา้ ช้ีแจงเปน็ เท็จมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา - ไม่ปฏิบัติหน้าท่ีตามที่ พ.ร.บ. กาหนด เช่น การจัดการด้านพลังงาน หรือจัดให้มีผู้รับผิดชอบ ดา้ นพลงั งาน ปรับไมเ่ กิน 2 แสนบาท (มาตรา 55) - ขดั ขวางหรือไม่อานวยความสะดวกแก่พนักงานเจ้าหน้าท่ี ในการเข้าตรวจสอบโรงงานควบคุม หรือ อาคารควบคุมใหเ้ ป็นไปตามท่กี ฎหมายกาหนด ปรบั ไมเ่ กนิ 5 พันบาท (มาตรา 59) 6

หลักสูตร การบรหิ ารจดั การพลังงานไฟฟา้ ผู้รบั ผิดชอบดา้ นพลงั งาน ไม่ปฏิบตั ิหนา้ ทเ่ี ชน่ - บารงุ รกั ษาและตรวจสอบประสทิ ธิภาพของเครือ่ งจกั รและอปุ กรณ์ท่ีใช้พลังงานเป็นระยะ ๆ - ปรับวิธกี ารใชพ้ ลังงานให้เปน็ ไปตามหลักการอนรุ กั ษ์พลังงาน - ช่วยเจา้ ของโรงงานควบคุมหรอื เจ้าของอาคารควบคุมในการจดั การพลงั งาน - ช่วยเจ้าของโรงงานควบคุมหรือเจ้าของอาคารควบคุมชี้แจงต่อข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการใช้พลังงาน ต่อ พพ. ภายใน 30 วนั นบั แตม่ ีคาสั่งปรับไมเ่ กนิ 2 แสนบาท (มาตรา 55) ผตู้ รวจสอบพลังงานและรบั รองการจัดการพลังงาน รายงานผลการตรวจสอบและรบั รองเป็นเทจ็ หรือ ไมต่ รงความจรงิ - จาคกุ ไมเ่ กนิ 3 เดอื น หรือ - ปรับไมเ่ กนิ 2 แสนบาท หรอื - ทง้ั จาทัง้ ปรับ (มาตรา 56) หมายเหตุ - ถ้าผู้รบั ใบอนุญาตถูกฟอ้ งต่อศาล อธิบดีมีอานาจส่งั พกั ใบอนญุ าต (มาตรา 48/3) - ถ้าศาลพิพากษาถงึ ท่สี ุด อธบิ ดีเพิกถอนใบอนุญาต (มาตรา 48/2) บุคคลที่มีหน้าท่สี ง่ เงนิ เขา้ กองทนุ 1. ผผู้ ลติ น้ามันเช้ือเพลิง ณ โรงกลน่ั และจาหน่าย เพื่อใช้ในราชอาณาจกั ร 2. ผู้นาเข้าน้ามนั เชื้อเพลงิ เพ่ือใช้ในราชอาณาจกั ร 3. ผซู้ ้อื หรือไดม้ าซึ่งกา๊ ชจากผรู้ บั สมั ปทาน ตามกฎหมายวา่ ด้วยการปโิ ตรเลยี ม ซ่งึ เป็นผู้ผลิตได้จากการ แยกกา๊ ชธรรมชาติ ผู้มีหน้าทดี่ งั กล่าว - ไม่สง่ เงินเขา้ กองทุน หรือ - ส่งเงินเข้ากองทุนแตไ่ มส่ ง่ ครบตามกฎหมายกาหนด บทลงโทษ - จาคุกตง้ั แต่ 3 เดือนถึง 2 ปี หรือ - ปรับตงั้ แต่ 1 แสนบาทถึง 10 ล้านบาท หรือท้งั จาทั้งปรบั (มาตรา 58) ค่าธรรมเนียมพิเศษ เจ้าของโรงงานควบคุม หรือเจ้าของอาคารควบคุมจะต้องดาเนินการตามกฎกระทรวง ในเร่ืองการจัดการ พลังงาน โดยมีกาหนดระยะเวลาให้ดาเนินการ 3 ปี หากฝ่าฝืน ไม่ดาเนินการตามกฎกระทรวงในเรื่องการจัด การพลังงานจะตอ้ งชาระค่าธรรมเนยี มพิเศษการใชไ้ ฟฟา้ (มาตรา 42) - กรณีเป็นโรงงานควบคุม หรืออาคารควบคุมอยู่ก่อน/ในวันที่กฎกระทรวงมีผลบังคับแล้ว จะต้ อง ดาเนนิ การจัดการพลงั งานภายใน 3 ปีนับแตก่ ฎกระทรวงมผี ลบงั คับ 7

หลักสูตร การบรหิ ารจัดการพลังงานไฟฟา้ - กรณีเป็นโรงงานควบคุม หรืออาคารควบคุมอยู่ภายหลังวันที่กฎกระทรวงมีผลบังคับแล้ว จะต้อง ดาเนินการจัดการพลังงานภายใน 3 ปีนับแต่วันท่ีเข้าเป็นโรงงานควบคุม/อาคารควบคุมต้องชาระ ค่าธรรมเนียมพิเศษการใช้ไฟฟ้ า ตามท่ีคณะกรรมการกองทุนโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติกาหนด 1.4 คาถามท่ีพบบ่อยในการดาเนินการตามพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 (ฉบับแก้ไขเพม่ิ เติม พ.ศ. 2550) 1. พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 ฉบับแก้ไขเพ่ิมเติม พ.ศ. 2550 มีผลให้เกิด การเปล่ียนแปลงแกอ่ าคารควบคุมหรอื โรงงานควบคุมในการปฏิบัติตามกฎหมายอย่างไรบ้าง ตอบ แมว้ า่ พระราชบญั ญัติการส่งเสรมิ การอนรุ กั ษ์พลงั งาน พ.ศ. 2535 (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2550) ซ่ึง ได้มีการใช้บังคับวันที่ 1 มิถุนายน 2551 เป็นต้นมา แต่การกาหนดหลักเกณฑ์การเข้าเป็นอาคารควบคุม/โรงงาน ควบคมุ กาหนดตามพระราชกฤษฎกี าที่ออกตามความในมาตรา 8 และ มาตรา 18 มไิ ดม้ กี ารแก้ไขเพ่ิมเติม หลักเกณฑ์ การเข้าเปน็ อาคารควบคุม/โรงงานควบคุมจงึ คงเป็นตามที่กาหนดไว้เดิม คือ อาคารควบคุม หรือโรงงานควบคุมติดต้ังมิเตอร์ตัวเดียวหรือหลายตัวรวมกันขนาดต้ังแต่ 1,175 กิโลโวลท์แอมแปร์ข้ึนไป โดยกาหนดการตามกฎหมายสว่ นใหญจ่ ะยงั คงเหมอื นเดมิ แต่จะมีการจดั การใหเ้ ป็นระบบยิ่งขึ้น เช่น ผู้รับผิดชอบด้าน พลังงานมีการกาหนดจานวนและคุณสมบัติตามขนาดของอาคารและโรงงาน ถ้ามีการติดต้ังมิเตอร์ 3,000 กิโลวัตต์ หรอื หม้อแปลงตงั้ แต่ 3,530 กโิ ลโวลท์แอมแปรข์ ้ึนไป จะตอ้ งมผี ้รู ับผดิ ชอบดา้ นพลงั งานเพิ่มอีก 1 คน ตามคุณสมบัติท่ี กาหนดในกฎกระทรวง การเก็บข้อมูลการใช้พลังงาน เช่น การส่ง บพอ.1 หรือ บพร.1 ทุก 6 เดือน หรือการทา เป้าหมายและแผน ปัจจุบนั จะอยูใ่ นรปู แบบของรายงานการจัดการพลังงาน และจัดทาเป็นรายงานส่งปีละคร้ังภายใน เดอื นมนี าคมของทุกปี โดยตอ้ งได้รบั การตรวจสอบพลังงานท่ไี ดร้ ับอนุญาตจาก พพ. กอ่ นนาสง่ ให้ พพ. ด้วย 2. นอกจากพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2550 อาคารควบคุมและโรงงานควบคมุ ยังคงตอ้ งตดิ ตามกฎกระทรวง หรอื ระเบียบอนื่ อีกหรอื ไม่ ตอบ ยังมีกฎกระทรวงอีก 4 ฉบับ ทอี่ าคารควบคุมและโรงงานควบคุมตอ้ งติดตาม คือ - กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐาน หลกั เกณฑ์ และวธิ ีการจดั การพลงั งาน - กฎกระทรวงกาหนดผูร้ บั ผดิ ชอบดา้ นพลงั งาน - กฎกระทรวงกาหนดคุณสมบัตผิ ้ตู รวจสอบพลังงาน - กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐาน หลกั เกณฑแ์ ละวิธใี นการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน 3. การจดั การพลงั งานคอื อะไร ตอบ การจัดการพลงั งาน คอื การจดั การเก่ียวกับพลงั งานภายในองคก์ รอย่างเป็นระบบ ประกอบไปดว้ ย - การทบทวนสถานะเบอ้ื งตน้ - การกาหนดนโยบายพลังงาน - การวางแผน - การนาไปใช้และการปฏบิ ัติ - การตรวจสอบและแก้ไข - การทบทวนการจดั การ 8

หลกั สูตร การบรหิ ารจัดการพลังงานไฟฟ้า ซงึ่ จะมีการดาเนินการเก่ียวกับการใชพ้ ลังงานในองคก์ รอยา่ งเปน็ ขนั้ ตอนทง้ั บคุ ลากร ทรัพยากร นโยบายและ ขน้ั ตอนการดาเนินการอย่างมรี ะเบยี บและแบบแผนเพอื่ ให้บรรลแุ ละรกั ษาเป้าหมายท่ีกาหนดได้ โดยองค์กรดาเนินการ ได้เองทั้งหมด พพ. เพียงออกกฎกระทรวงในการปฏิบัติและทาการตรวจสอบดาเนินการในภายหลัง ทั้งนี้สามารถ ติดตามรายละเอียดข้อกาหนดในกฎกระทรวงกาหนดมาตรฐาน หลกั เกณฑแ์ ละวิธีการจดั การพลังงาน 4. การตรวจสอบและรบั รองการจัดการ พลงั งาน ใครคอื ผ้รู บั ผดิ ชอบ ตอบ ผู้ตรวจสอบพลังงาน คือ นิติบุคคลที่ได้รับใบอนุญาตจาก พพ. ให้เป็นผู้ตรวจสอบและรับรองการจัด การพลังงาน มีหน้าท่ีตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานให้กับอาคารควบคุม/โรงงานควบคุมให้เป็นไปตาม กาหนดของ พพ. 5. หากไมเ่ คยปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ไม่ว่าท้ังหมดหรือ บางส่วน เช่น การส่ง บพอ.1 หรอื บพร.1 ผชอ.ผชร. หรือการจัดทาเป้าหมายและแผน เมื่อกฎหมายฉบับที่มีการแก้ไข เพ่ิมเติมมีผลบังคับใช้ หากต้องการเข้าร่วมเป็นอาคารควบคุม/โรงงานควบคุม จะต้องดาเนินการ ดงั กลา่ วย้อนหลงั หรอื ไม่ มผี ลลงโทษอยา่ งไร ตอบ เน่อื งจากพระราชบัญญัติการสง่ เสรมิ การอนรุ ักษพ์ ลังงาน พ.ศ. 2535 (ฉบับแก้ไขเพ่ิมเติม พ.ศ. 2550) ซึ่งมีผลบังคับใช้บังคับวันที่ 1 มิถุนายน 2551 ได้กาหนดวิธีดาเนินการสาหรับอาคารควบคุม/โรงงานควบคุมที่จะให้ ปฏิบัตติ ามกฎหมายโดยใหอ้ อกเปน็ กฎกระทรวงกาหนดวิธีการ และขณะนี้ร่างกฎกระทรวงดังกล่าวยังอยู่ระหว่างการ ดาเนินการนาเสนอเป็นกฎหมายใช้บังคับ จึงอยู่ในระหว่างการรอผลบังคับใช้ของกฎหมาย ซึ่งเมื่อกฎกระทรวงมีผล บงั คบั ใชก้ จ็ ะมีบทกากับการอันจะทาใหอ้ าคาร/โรงงานต้องดาเนินการ และหากไม่ปฏิบัติตามจะมีบทลงโทษแก่อาคาร ควบคุม/โรงงานควบคมุ แม้ก่อนหน้านี้อาคารควบคุม/โรงงานควบคุม จะยังมิได้ดาเนินการตามที่กฎหมายเดิมกาหนดก็ตาม แต่ เนื่องจากพระราชบญั ญตั กิ ารสง่ เสริมการอนุรกั ษพ์ ลงั งาน พ.ศ. 2535 (ฉบบั แก้ไขเพมิ่ เตมิ พ.ศ. 2550) มีผลบังคับใช้ได้ ปรับเปล่ียนวิธีการกากับดูแล โดยไม่ต้องดาเนินการตามแนวทางเดิมแล้ว จึงไม่ต้องดาเนินการตามข้อกาหนดเดิม ย้อนหลงั และการงดเวน้ ไมก่ ระทาตามขอ้ กาหนดเดมิ จึงไมม่ ีบทลงโทษอกี 6. การส่งข้อมูลการใช้พลังงานและการอนุรักษ์พลังงานให้ พพ. ทุก 6 เดือน ยังคงจาเป็นหรือไม่ และ การส่งรายงานเปา้ หมายและแผนอนุรกั ษพ์ ลังงานทกุ 3 ปียงั คงจาเปน็ ต้องสง่ หรือไม่ ตอบ สาหรับ บพอ.1 บพร.1 ต้งั แต่ 1/2551 อาคารควบคมุ /โรงงานควบคมุ ไม่ต้องจดั ส่งให้แก่ พพ. แต่ยังคง ต้องจดั เกบ็ ข้อมูลโดยให้ส่งขอ้ มูลในรูปแบบของการจดั การพลงั งาน จัดทาเปน็ รายงานส่งปีละคร้ัง ภายในเดือนมีนาคม ของทุกปี เช่น หากกฎกระทรวงฯ จัดการพลังงานมีผลบังคับใช้ในปี 2552 ก็จะต้องจัดเก็บและส่งข้อมูลของปี 2552 จัดทาเป็นรายงานส่ง พพ. ภายในเดือนมีนาคม 2553 ให้ติดตามรายละเอียดการส่งข้อมูลเร่ืองดังกล่าวได้ใน กฎกระทรวง กาหนดมาตรฐาน หลกั เกณฑ์และวธิ กี ารจัดการพลงั งาน สาหรบั การจัดทารายงานเป้าหมายและแผนอาคารควบคุม/โรงงานควบคมุ ไม่ตอ้ งจัดส่งให้แก่ พพ. เนื่องจาก อาคารควบคมุ /โรงงานควบคุม ตอ้ งกาหนดเป้าหมายและจัดทาแผนอนุรักษ์พลังงานในองค์ประกอบของระบบการจัด การพลังงาน ทงั้ นีส้ ามารถติดตามรายละเอยี ดการจัดทาเรื่องดังกล่าวได้ในกฎกระทรวงกาหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธกี ารจดั การพลังงาน 9

หลกั สตู ร การบริหารจดั การพลงั งานไฟฟา้ การพลงั งานความ บทท่ี 2 ระบบการจัดการพลงั งานและการสรา้ งจิตสานึกการอนรุ กั ษ์พลังงาน 2.1 ระบบการจัดการพลังงาน 2.1.1 บทนา การพฒั นาระบบการจดั การพลงั งานเปน็ ภารกจิ ทสี่ ามารถดาเนินการอย่างเปน็ ขนั้ ตอน โดยสามารถแบ่งออกเป็น 8 ข้นั ตอน ดงั แสดงในรปู ที่ 2.1 ซึง่ ประกอบดว้ ย ขน้ั ท่ี 1 การกาหนดโครงสร้างการจดั การพลังงาน ขน้ั ท่ี 2 การประเมนิ สถานะเบ้ืองตน้ ขัน้ ท่ี 3 การกาหนดนโยบายและการประชาสัมพนั ธ์ ขน้ั ที่ 4 การประเมินศักยภาพด้านเทคนิค ขั้นที่ 5 การกาหนดมาตรการ เป้าหมาย และการคานวณผลตอบแทนทางการเงิน ขน้ั ท่ี 6 การจดั แผนปฏิบัตกิ าร ขน้ั ที่ 7 การดาเนินการตามแผนปฏบิ ตั ิการ ขั้นท่ี 8 การทบทวนผลการดาเนนิ การ เป้าหมายของการนาระบบการจัดการพลังงานตามข้ันตอนท่ีระบุในคู่มือเล่มนี้ไปประยุกต์ใช้ก็เพื่อให้เกิดการ อนุรกั ษ์พลงั งานภายในองค์กรอย่างยง่ั ยืน ซ่ึงจะนาไปสู่การเพมิ่ ขดี ความสามารถขององคก์ รและของประเทศ 2.1.2 ข้นั ตอนท่ี 1 การกาหนดโครงสรา้ งการจัดการพลงั งาน ขอ้ กาหนดโครงสรา้ งและความรบั ผิดชอบ ( 1 ) องคก์ รตอ้ งกาหนดโครงสร้าง อานาจหนา้ ท่ี และความรบั ผิดชอบของพนักงานท่ีเกีย่ วข้องกบั การ จดั การในด้านพลงั งาน รวมทั้งจัดทาเป็นเอกสาร และเผยแพร่ใหบ้ ุคคลที่เก่ียวขอ้ งภายในองคก์ รทราบ ลกู จ้างที่ตอ้ งปฏบิ ตั ิหนา้ ทซี่ ึง่ มีผลกระทบด้านพลังงานตอ้ งมคี ุณสมบัติที่เหมาะสม (2) องค์กรต้องแต่งตง้ั ผจู้ ดั การพลังงาน ( E n e r g y M a n a g e r ) เพือ่ ปฏบิ ตั ิงาน โดยมอี านาจหน้าท่ี ดงั น้ี  ดูแลใหร้ ะบบการจดั การพลงั งานทจ่ี ดั ทาข้ึน มีการนาไปใชแ้ ละดาเนินการเปน็ ไปตามขอ้ กาหนดใน มาตรฐานนี้อย่างต่อเนอื่ ง  รายงานผลการปฏิบตั ิตามระบบการจัดการพลงั งานตอ่ ผู้บรหิ ารระดับสูง เพื่อนาไปใช้ในการทบทวน การจดั การ และเป็นแนวทางสาหรับการปรบั ปรงุ ระบบการจัดการพลงั งาน (3) ผู้บรหิ ารระดับสูงตอ้ งเปน็ ผูน้ าในการแสดงความรบั ผิดชอบด้านพลังงานและดูแลใหม้ กี ารปรบั ปรุงระบบ การจัดการพลังงานอย่างสมา่ เสมอ 10

หลักสตู ร การบรหิ ารจดั การพลงั งานไฟฟา้ การพลงั งานความ การกาหนดโครงสร้างการจัดการพลังงาน การประเมินสถานะเบื้องต้น การกาหนดนโยบายและ การประเมินศักยภาพ การประชาสมั พันธ์ ด้านเทคนิค การทบทวนผลการดาเนินการ กาหนดมาตรการ เปา้ หมาย และคานวณผลตอบแทน การดาเนินการตามแผนฯ ทางการเงนิ การจัดทาแผนปฏิบัตกิ าร รูปที่ 2.1 ข้นั ตอนการพฒั นาระบบการจัดการพลังงาน เมือ่ องคก์ รตดั สนิ ใจนาระบบการจดั การใหม่มาใช้ จาเป็นต้องมีผู้ท่ีรับผิดชอบในการประสานระบบใหม่ให้เข้า กับระบบที่มีอยู่เดิมให้เกิดปัญหาหรืออุปสรรคน้อยที่สุด ความรับผิดชอบน้ีมีขอบเขตท่ีกว้างมาก ได้แ ก่ การผลักดัน การประสานงาน การแก้ไขปัญหาเฉพาะหนา้ และยงั รวมถงึ การพัฒนาบคุ ลากรภายในองคก์ รให้มีความรู้ความสามารถ ท่จี าเปน็ เป็นตน้ นอกจากนน้ั หลงั จากที่องค์กรพัฒนาระบบการจัดการพลังงานเป็นที่เรียบร้อยแล้ว จาเป็นต้องมีหน่วยงานที่ รบั ผดิ ชอบให้ระบบฯ สามารถดาเนินไปไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล ระบบการจัดการท่ีเป็นสากลมักกาหนดให้มี “ผู้แทนฝ่ายบริหาร” เช่น ISO 9001:2000 กาหนดให้มี Quality Management Representative (QMR), ISO 14001 ให้มี Environmental Management Representative (EMR) และ มอก.-18001 มี Occupational Health and Safety Management Representative (OH&SMR) สว่ น Six Sigma ระบบการจัดการคุณภาพท่กี าลงั เป็นทแ่ี พรห่ ลาย กาหนดใหม้ บี ุคลากรในหลาย ๆ ระดับ ไดแ้ ก่ (1) Executive Champion เปน็ ผซู้ ึ่งผู้บรหิ ารระดับสูงขององค์กรกาหนดให้เป็นผู้ดแู ลและสนับสนุนภารกิจ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับการนา Six Sigma มาประยุกต์ใช้ท้ังหมด การกาหนดบุคลากรในตาแหน่งน้ี เป็นการ ส่งสัญญาณบอกทุก ๆ คนว่าองค์กรมีความตั้งใจจริง โดยบุคคลท่ีได้รับการคัดเลือกมักเป็นคนที่มี ความโดดเดน่ และเปน็ ท่ยี อมรับของพนกั งานในองคก์ ร 11

หลักสูตร การบรหิ ารจดั การพลังงานไฟฟ้า การพลังงานความ (2) Project Champion ได้รับการคัดเลือกโดย Executive Champion ให้มีหน้าที่กากับดูแล Black Belt และโครงการต่าง ๆ มีหน้าท่ีช่วย Black Belt คัดเลือก ประเมินผล และสนับสนุนการทาโครงการ ต่าง ๆ (3) Deployment Champion ได้รับการคัดเลือกโดย Executive Champion ให้มีหน้าท่ีเป็นผู้ช้ีนาและ เตรียมงานเพอ่ื การเรม่ิ ตน้ โครงการ Six Sigma (4) Black Belt เป็นพนกั งานระดบั กลาง โดยส่วนใหญ่มีความรับผิดชอบเก่ียวกับ Six Sigma เพียงอย่าง เดียวจนกว่างานท่ีได้รับมอบหมายจะสาเร็จ เป็นคนท่ีทางานจริง ๆ เป็นบุคคลที่สาคัญท่ีสุดในการ พฒั นา Six Sigma (5) Green Belt คอยให้ความช่วยเหลือ Black Belt ในงานต่าง ๆ เพ่ือให้โครงการต่าง ๆ ประสบ ความสาเร็จ ได้รับการมอบหมายงานจาก Black Belt หากเปรียบเทียบก็เป็น “ผ้ึงงาน” หากแต่ สามารถทางานได้ดว้ ยตนเอง จะเหน็ ว่าการกาหนดโครงสร้างเปน็ สิ่งทสี่ าคัญที่สุดไม่ว่าจะนาระบบใดมาใช้ภายในองค์กร สาหรับระบบการ จดั การพลังงาน เปา้ หมายของโครงสร้าง คือ การพัฒนาอย่างย่ังยืน ดังนั้น จึงจาเป็นต้องมีโครงสร้างสาหรับ 2 ระยะ ไดแ้ ก่ ระยะการพัฒนาระบบการจัดการพลังงาน และระยะบริหารระบบการจดั การพลงั งาน 2.1.2.1 ระยะการพัฒนาระบบการจดั การพลงั งาน ในระหว่างการพัฒนาระบบการจัดการพลังงาน องค์กรควรจัดตั้ง “คณะทางานด้านอนุรักษ์ พลังงาน” โดยให้มีสมาชิกอย่างน้อย 7 ท่าน แต่ไม่ควรเกิน 10 ท่าน (โดยเหตุผลของการเรียกประชุม) สมาชิกของ คณะทางานด้านอนุรกั ษ์พลงั งานควรประกอบด้วยบุคลากรท่ีมีความรู้ในดา้ นตา่ ง ๆ ดงั นี้ (1) หัวหน้าคณะทางานฯ อย่างน้อยท่ีสุดต้องเป็นผู้บริหารระดับกลาง มีความสามารถในการ ดาเนินการประชุม มคี วามรดู้ า้ นพลงั งานและกิจกรรมทีเ่ กิดขน้ึ ในองคก์ ร (2) พนักงานที่มีความรู้เก่ียวกับกิจกรรมขององค์กรที่ใช้พลังงาน เช่น วิศวกรกระบวนการผลิต (Process Engineer) เปน็ ตน้ (3) พนักงานท่มี ีความรู้เกีย่ วกับพลังงานไฟฟ้า เช่น วิศวกรไฟฟ้า (Electrical Engineer) เป็นต้น (4) พนักงานที่มีความรู้เก่ียวกับระบบสาธารณูปโภค (Utilities) เช่น ระบบ Steam, ระบบ Compressed Air เป็นตน้ ในบางกรณี องค์กรอาจแต่งต้ังเจ้าหน้าท่ีฝ่ายบริหาร (Administrative Staff) เพื่อช่วยคณะทางานฯ ด้านงานเอกสาร หรือเจ้าหน้าที่ด้านประชาสัมพันธ์ (Public Relation) เพ่ือช่วยงานด้านส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน การสรา้ งจิตสานึก การกระจายข้อมูล ขา่ วสาร คณะทางานฯ ชดุ น้อี าจคงอยู่ (โดยมกี ารปรับเปลี่ยนให้เหมาะสม) หรือพ้นวาระเมื่อภารกิจการพัฒนา ระบบฯ บรรลุเปา้ หมายที่กาหนด การประกาศแต่งตั้ง “คณะทางานด้านอนุรักษ์พลังงาน” ต้องมีเอกสารเป็นลายลักษณ์อักษร ลงนาม โดยผ้บู รหิ ารสงู สุดขององคก์ ร หรอื สว่ นขององค์กรท่นี าระบบการจัดการพลังงานมาประยุกต์ใช้ 12

หลักสูตร การบริหารจดั การพลังงานไฟฟา้ การพลงั งานความ 2.1.2.2 ระยะบรหิ ารระบบการจัดการพลังงาน การกาหนดโครงสรา้ งและบุคลากรท่ีเหมาะสมมีความสาคัญเป็นอย่างย่ิงต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ขององค์กร ซง่ึ โครงสรา้ งที่ดตี ้องเหมาะสมกบั วัฒนธรรมขององคก์ รนน้ั ๆ โดยท่วั ไปแล้ว หากต้องการทราบวัฒนธรรม องค์กร สามารถประเมินโดย  วิธที ี่ 1 การประเมินโดยทดลองตอบคาถาม 2 ข้อ ดังตอ่ ไปน้ี ( 1 ) องค์กรของทา่ นยอมรับ (ชอบ) ความไมแ่ น่นอน (Uncertainty) หรือไม่ (2) องค์กรของท่านมกี ารมอง (วางแผนงาน) ระยะสัน้ หรอื ระยะยาว เม่อื ได้คาตอบแลว้ ลองพจิ ารณาเปรียบเทียบกบั รูปที่ 2 และประเมนิ วฒั นธรรมทเี่ ป็นไปได้ขององคก์ รของท่าน  วิธีที่ 2 การประเมินโดยตอบแบบสอบถามในตารางท่ี 2.1 และรวมดูว่าคะแนนในแถวแนวต้ัง (Column) ใดทีม่ คี ะแนนสูงสดุ ซ่ึงแสดงวัฒนธรรมท่มี อี ทิ ธิพลตอ่ องค์กรมากทสี่ ุด จากตารางที่ 2.1 วฒั นธรรมองค์กรสามารถแบ่งไดเ้ ปน็ 4 ประเภท ได้แก่ A B สงู Entrepreneurial Team D C ตา่ Market Hierarchic ระยะสน้ั ระยะยาว การวางแผน รปู ท่ี 2.2 วัฒนธรรมขององคก์ ร (1) กลุ่ม A วัฒนธรรมแบบ Entrepreneurial เป็นองค์กรที่ยอมรับความเสี่ยงได้สูง มี จดุ ม่งุ หมายระยะส้นั มกั เปน็ องค์กรทสี่ รา้ งนวัตกรรมใหม่ ๆ พบได้มากในองค์กรที่เกิดใหม่ ฉับไว และโครงสร้างการจัดการที่ยืดหยุ่นได้ การควบคุมการบริหารองค์กรมักอยู่กับผู้ ก่อตัง้ บริษทั โครงสรา้ งท่ีเหมาะสม : ใช้ผู้จัดการพลังงานเป็นศูนย์กลาง ต้องพยายามให้ได้รับการ ยอมรับ สนับสนนุ จากผู้บริหารสงู สดุ (เจา้ ของ) เพ่ือให้สามารถดาเนินงานข้ามหน่วยงาน ภายใน ม่งุ ที่ผ้ใู ชพ้ ลังงานหลัก ๆ การลงทุนควรมุ่งท่ีโครงการที่คืนทุนเร็วเพ่ือสร้างความ ม่ันใจ 13

หลักสตู ร การบริหารจดั การพลังงานไฟฟา้ การพลงั งานความ (2) กล่มุ B วัฒนธรรมแบบ Team เป็นองค์กรท่มี ักมองการณไ์ กล ยอมรับความเสี่ยงได้สูง มี ความเป็นประชาธิปไตยในการตัดสินใจ มีการมีส่วนร่วมและความร่วมมือในองค์กร อานาจการตัดสินใจมักอยู่กับคณะกรรมการแทนที่จะอยู่กับตัวบุคคล ทาให้ในบางกรณี ขาดความฉับไว ให้ความสาคัญกบั พนกั งาน โครงสร้างที่เหมาะสม : แต่งตั้งคณะกรรมการด้านพลังงานโดยประกอบด้วยตัวแทน จากส่วนงานท่ีใช้พลังงานเพ่ือช่วยกันกาหนด ทิศทางการอนุรักษ์พลังงาน และแต่งตั้ง ผู้รับผิดชอบด้านพลังงานซึ่งอาจมีหลายคน (คล้ายกับการต้ัง Black Belt/Green Belt ใน กรณี Six Sigma) เพื่อช่วยกันผลักดันมาตรการอนุรักษ์พลังงานท่ีกาหนดโดยคณะ กรรมการฯ (3) กลุ่ม C วัฒนธรรมแบบ Hierarchic ไมช่ อบเส่ยี ง มกั มองชว่ งระยะเวลาปานกลาง เน้นการ ควบคุม ความปลอดภัย และความมั่นใจ ผู้นามักจะเป็นพวกอนุรักษ์นิยม คุ้นเคยกับ กฎระเบียบ ให้ความสาคัญกับโครงสร้าง เป้าหมายท่ีสาคัญคือการอยู่รอดขององค์กร อานาจการตดั สนิ ใจกาหนดภายใตก้ ฎระเบยี บ มักมี “แนวทางปฏิบัติ” ขององคก์ ร โครงสรา้ งทเ่ี หมาะสม: ผลกั ดนั ให้กาหนดการจัดการพลงั งานเป็นส่วนหนง่ึ ของโครงสร้าง ขององคก์ ร มี Accountability และขนั้ ตอนการรายงานท่ีชัดเจน สร้างระบบรายงานข้อมูล ตดิ ตาม ตรวจสอบ การใช้พลงั งานที่ชัดเจน ครอบคลุม (4) กลมุ่ D วฒั นธรรมแบบ Market เปน็ องค์กรทีร่ บั ความเส่ียงไดต้ ่า และมองระยะสนั้ ตาม กระแส มกั ตอบรบั กบั ความตอ้ งการของลกู ค้าได้ดี เน้น Productivity, Competence และ Ac h i e v e m e n t อานาจการบริหารมกั ถ่ายมอบจากผบู้ รหิ ารไปยงั หวั หนา้ ระดบั ส่วนงาน พรอ้ มกับการกาหนดเปา้ หมายในการทางาน โครงสรา้ งทเี่ หมาะสม: กาหนด Cost Center ดา้ นพลังงานภายในองค์กรเพื่อมอบหมาย หน้าที่ให้หัวหน้าของแต่ละ Cost Center มีหน้าที่ดูแลการใช้พลังงานในส่วนงานของตน สร้างระบบการรายงานข้อมูล การติดตาม ตรวจสอบ กลับไปยังหัวหน้า Cost Center เพอื่ ใหท้ ราบข้อมูลที่ทันสมยั จดั การไดท้ นั ท่วงที ในทางปฏิบัติ องค์กรอาจมีวัฒนธรรมผสม ซึ่งผลจากตารางที่ 2.1 จะแสดงลักษณะท่ีสาคัญ ดงั นนั้ โครงสร้างอาจเปน็ แบบผสมท่ีต้องเหมาะสมกับวัฒนธรรมขององค์กรเช่นกัน มาตรฐานการจัดการพลังงาน กาหนดไวอ้ ย่างกว้างๆ วา่ องค์กรต้องมีผู้จัดการพลังงานและมีผู้บริหารระดับสูงท่ีดูแล ให้การสนับสนุนการ จดั การพลังงาน ในท่สี ุดแล้ว จงึ ข้นึ กบั องค์กรน้ันท่จี ะเปน็ ผูก้ าหนดโครงสรา้ งทเี่ หมาะสม 14

หลักสูตร การบริหารจัดการพลงั งานไฟฟ้า การพลงั งานความ ตารางท่ี 2.1 ลกั ษณะท่ัวไปของวัฒนธรรมภายในองค์กร CD AB ลกั ษณะของ    วัฒนธรรม สรา้ งนวตั กรรมใหม่ ภายในองคก์ ร องคก์ รท่ที ุกคน องคก์ รที่มี องค์กรท่ีเน้นผล Cultural หรือ องคก์ รทเ่ี กิด characteristic ต้องการการมสี ว่ นร่วม กฎระเบียบ หรือ มี ผลิตผลหรือ การทา ข้ึนมาใหม่ หรือทางานเป็นทมี การควบคุมเปน็ ให้สาเร็จตาม innovation/growth participation/co- ลาดับชั้น เป้าหมายที่ได้วางไว้ productivity/achiev operation structure/control ement เป้าหมาย     Focus การมองเป้าหมาย การมองเปา้ หมายไป การมองเปา้ หมาย การมองเปา้ หมายไป ภายนอกองค์กร ทพ่ี นักงาน ไปท่ีองคก์ ร ท่คี แู่ ข่ง การยอมรับความ anywhere outside staff-oriented organization- towards เส่ยี ง oriented competitors Risk tolerance    ยอมรบั ความเสย่ี งได้ ยอมรับความเสีย่ งได้ ต้องการความ  ลักษณะของ ผู้นา สงู ไม่แนน่ อน แนน่ อน หรือ ไม่ ชอบทานายล่วงหน้า Leadership tolerates high risk tolerates uncertainty ยอมรบั ความเส่ยี ง มากกว่า หรือ needs certainty ยอมรบั ความเสย่ี งได้   ตา่ ทกุ คนอย่ใู ตบ้ ังคับ มีความเปน็  prefers redictability บัญชา ประชาธิปไตย มีความเป็นอนรุ ักษ์ charismatic supportive นิยม  conservative มีความเป็นผนู้ าหรอื ตามกระแสลกู ค้า managerial โครงสรา้ งในการ     บริหาร สามารถยืดหยนุ่ ได้ ทางานเปน็ ทมี ไม่ยืดหยนุ่ เปน็ ไป แบง่ กลุ่มการทางาน Structure flexible co-operative ตามกฎระเบยี บ cost-centres rigid อานาจในการ     การตดั สินใจ ใหห้ วั หนา้ ในส่วน ตัดสินใจ ตดั สนิ ใจเพียงผู้เดยี ว ปรกึ ษาหารอื กัน เป็นไปตามข้ันตอน น้ัน ๆ ตดั สินใจ A u t h o r i t y personal meeting rules delegated TOTAL 15

หลักสูตร การบริหารจดั การพลังงานไฟฟ้า การพลงั งานความ Energy Managers Top Management Senior Management Department Heads Line Managers Premises Managers Energy Management Staff Energy Representatives รูปที่ 2.3 โครงสร้างการจัดการภายในองค์กรทว่ั ไป  ผู้จัดการพลงั งาน (Energy Manager) โครงสร้างองค์กรในระบบการบริหารงานโดยท่ัวไป สามารถสร้างเป็นรูปปิรามิด (รูปที่ 2.3) โดย มผี ู้บรหิ ารระดบั สงู อย่ทู ย่ี อด และพนกั งานระดบั ปฏิบัติการอยู่ที่ฐานของปิรามิด ปัญหาของการพัฒนาด้านพลังงานใน อดีต มักเกิดขึ้นเน่ืองจากการกาหนดให้ช่างเทคนิค วิศวกร เป็นผู้ดูแลพลังงาน หรือ Energy Representative แม้ว่า พนกั งานดังกลา่ วจะมคี วามสามารถด้านเทคนคิ เกีย่ วกับพลังงาน แต่ยังขาดทักษะในด้านการจัดการ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่ง เม่ือจาเป็นต้องของบประมาณเพื่อการลงทุน มักเป็นประเด็นท่ีทาให้การอนุรักษ์พลังงานไม่ประสบผลสาเร็จ เทา่ ทีค่ วร บุ ค ล า ก ร ที่ เ ห ม า ะ ส ม จึ ง จ า เ ป็ น อ ย่ า ง ย่ิ ง ส า ห รั บ ค ว า ม ส า เ ร็ จ ข อ ง ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ ก า ร จั ด การพลังงาน จึงเป็นเหตุผลท่ีมาตรฐานการจัดการพลังงานกาหนดให้มีตาแหน่ง “ผู้จัดการพลังงาน (Energy Manager)” โดยมหี นา้ ทค่ี วามรับผิดชอบขน้ั ตา่ ดงั ตอ่ ไปนี้ (1) ดูแลให้ระบบการจัดการพลังงานที่จัดทาขึ้น มีการนาไปใช้และดาเนินการเป็นไปตาม ขอ้ กาหนดในมาตรฐานนีอ้ ยา่ งต่อเนอื่ ง (2) รายงานผลการปฏิบัติตามระบบการจัดการพลังงานต่อผู้บริหารระดับสูง เพ่ือนาไปใช้ใน การทบทวนการจดั การ และเปน็ แนวทางสาหรบั การปรับปรุงระบบการจดั การพลงั งาน ใบอธิบายลกั ษณะงาน (Job Description) ของผู้ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้จัดการพลังงานต้อง ระบุหน้าท่ีรับผิดชอบอย่างชัดเจน นอกจากน้ี เพื่อความต่อเน่ืองของการดูแลระบบฯ องค์ กรควรพิจารณาแต่งต้ัง “หัวหน้าคณะทางานด้านอนุรักษ์พลังงาน” ให้รับตาแหน่งดังกล่าว นอกจากน้ีระดับของผู้จัดการพลังงานก็เป็นสิ่ง สาคญั ดังที่แสดงในรปู ที่ 2.3 ผ้จู ดั การพลงั งานควรเป็นพนกั งานในระดับกลาง W. C. Turner กาหนดหลักการกว้าง ๆ ไว้สาหรบั ผู้จัดการพลงั งานว่าควรจะเปน็ ตาแหน่งท่ีสูงพอเพ่ือให้สามารถเข้าถึงผู้บริหารระดับสูงที่มีผลต่อการอนุรักษ์ พลังงาน รบั ทราบความเคลอ่ื นไหวท่เี กิดข้ึนในองคก์ ร เชน่ จังหวะทีเ่ หมาะสมสาหรับการนาเสนอโครงการด้านอนุรักษ์ พลงั งานตอ่ ท่ีประชมุ ผบู้ ริหาร เป็นต้น นอกจากนี้ ผู้จัดการพลังงานยังต้องมีความรู้ด้านเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับองค์กร เชน่ กระบวนการผลิต เป็นต้น Turner ได้ตั้งข้อสังเกตเพ่ิมเติมเก่ียวกับความสาคัญของผู้จัดการพลังงานไว้ว่า “โครงการท่ีดี มกั ไดร้ ับการริเรม่ิ ส่งเสริม โดยคนหน่ึงคน ซึ่งมองเห็นศักยภาพ และพร้อมที่จะทางานนอกเหนือจากหน้าท่ี ประจาเพือ่ ผลักดนั ใหเ้ กดิ ผลสาเรจ็ ” การประกาศแต่งต้งั “ผูจ้ ัดการพลังงาน” ต้องมีเอกสารเปน็ ลายลักษณ์อักษร ลงนามโดยผู้บริหาร สูงสดุ ขององค์กร หรือส่วนขององคก์ รที่นาระบบการจดั การพลังงานมาประยุกตใ์ ช้ 16

หลักสตู ร การบริหารจดั การพลังงานไฟฟ้า การพลงั งานความ  คณะกรรมการบริหารด้านพลังงาน (Energy Management Committee) (หรือผู้บริหาร ระดบั สงู ทีด่ แู ลดา้ นพลงั งาน) เพอ่ื กาหนดทิศทางด้านพลังงาน องค์กรต้องแต่งตั้ง ผู้บริหารระดับสูงในรูปแบบที่เหมาะสมกับ วัฒนธรรมขององคก์ ร ซ่ึงอาจเป็นกรรมการผู้จัดการเพียงท่านเดียวหรือเป็น “คณะกรรมการบริหารด้านพลังงาน” ซึ่ง ประกอบด้วย (1) ผู้บริหารสงู สดุ ขององค์กรหรอื ส่วนขององค์กรทีน่ าระบบฯ มาประยุกตใ์ ช้ (2) หัวหน้าสายงานที่มีการใช้พลังงาน (Major Energy Cost Center) เช่น ผู้จัดการโรงงาน เป็นตน้ (3) ผูท้ ี่มคี วามรู้ ความสามารถ ท่จี ะให้คาปรึกษาตอ่ คณะกรรมการฯ (4) ผ้จู ัดการพลงั งานเป็นเลขานุการของคณะกรรมการฯ เพ่ือความสะดวกในการนาเสนอ ขอเรียกรวมรูปแบบต่าง ๆ กันว่า “คณะกรรมการบริหารด้าน พลังงาน” เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง คณะกรรมการบริหารด้านพลังงานจะต้องมีการทบทวน ผลการดาเนินงานดา้ นพลังงานอยา่ งนอ้ ยปีละ 1 คร้งั อย่างไรกต็ าม ความถีข่ องการทบทวนจะขึ้นอยู่กับโครงสร้างย่อย ขององค์กรนั้น ๆ เช่น หากมีการกาหนดผู้ดูแลการใช้พลังงานในระดับหน่วยงานย่อย และมีการรายงานให้ผู้จัดการ พลงั งานรบั ทราบเพื่อทาการปรบั ปรุง แก้ไข ให้ทนั เวลาแลว้ การทบทวนกส็ ามารถเป็นเพียงปีละ 1 คร้ัง หากแต่ถ้าทุก การตดั สินใจ ต้องทาโดยคณะกรรมการบริหารดา้ นพลงั งาน (เช่น องค์กรแบบ Entrepreneurial เป็นต้น) การทบทวนก็ ควรจะเปน็ อย่างน้อยสปั ดาหล์ ะ 1 ครัง้ เพ่ือใหแ้ ก้ไขเหตุการณ์ต่าง ๆ ไดท้ นั ท่วงที เป็นตน้ ในการทบทวนแต่ละครั้ง คณะกรรมการบริหารพลังงานตอ้ งพิจารณาทศิ ทางการอนุรักษ์พลังงาน ผลการดาเนินงานท่ีผ่านมา การสนับสนุนท่ีได้รับ และประเมินเพื่อปรับปรุงให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล นอกจากนี้ คณะกรรมการบรหิ ารดา้ นพลงั งานจะตอ้ งทบทวนความเหมาะสมของเปา้ หมายการอนุรักษ์พลังงานเป็นคร้ัง คราว การประกาศแต่งต้งั “คณะกรรมการบริหารด้านพลังงาน” ต้องมีเอกสารเป็นลายลักษณ์อักษรลง นามโดยผู้บริหารสูงสดุ ขององค์กร หรอื ส่วนขององคก์ รที่นาระบบการจัดการพลงั งานมาประยกุ ต์ใช้  ผ้ดู แู ลโครงการต่าง ๆ หากจาเปน็ องคก์ รสามารถแต่งต้ังเจ้าหน้าทใี่ ห้รับผดิ ชอบในโครงการตา่ ง ๆ ซ่งึ มวี ัตถุประสงค์ใน การอนุรกั ษพ์ ลงั งาน โดยเจ้าหน้าที่นัน้ ๆ จะมีตาแหนง่ เป็น “ผู้จัดการโครงการ” เป้าหมายหลักเพื่อใหโ้ ครงการต่าง ๆ มี “เจ้าของ” เพ่ือให้เหมาะสมกับหลักการ Responsibility & Accountability องค์กรสามารถนาผลงาน ที่ได้จากการ บรหิ ารโครงการไปเปน็ ส่วนหนงึ่ ของการประเมนิ ผลงาน (Performance Appraisal) ของพนักงานคนนนั้ 2.1.3 ขั้นตอนที่ 2 การประเมินสถานะเบอ้ื งต้น ขอ้ กาหนดการทบทวนสถานะเบือ้ งต้น องคก์ รตอ้ งทบทวนการดาเนนิ งานด้านพลังงานทีม่ อี ยู่กับ (1) เกณฑ์การอนรุ ักษพ์ ลงั งานท่ีดี ซ่งึ ประกาศใชห้ รือเปน็ ท่ียอมรับหรือกาหนดเปน็ ข้อแนะนา (Guideline) ในการตรวจประเมนิ (2) ข้อกาหนดตามกฎหมายที่เกยี่ วข้องกบั พลังงาน (3) ประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ลของทรัพยากรทมี่ อี ยู่ ซ่ึงนาไปใช้ในการจัดการพลังงาน (4) แนวทางการดาเนินงานด้านพลงั งานท่มี อี ยใู่ นองค์กรในอดีต 17

หลกั สตู ร การบริหารจัดการพลังงานไฟฟา้ การพลงั งานความ (5) ขอ้ ปฏิบัติและการดาเนินงานทีด่ กี วา่ ซ่ึงองค์กรหรอื หน่วยงานอ่ืนไดจ้ ัดทาเอาไว้ (Best Practice) ขอ้ มูลจากการทบทวนสถานะเรม่ิ ตน้ จะใช้ในการพิจารณากาหนดนโยบายและกระบวนการจดั ทาระบบ การจัดการพลงั งาน การทบทวนสถานะเริ่มตน้ นจ้ี ะใช้เฉพาะเมื่อมีการนามาตรฐานน้ีมาใช้เปน็ ครง้ั แรกเท่านั้น เมื่อระบบการ จัดการดาเนินไปได้ครบถ้วนตามขอ้ กาหนดแลว้ ผลจากการทบทวนการจดั การจะนาไปใชใ้ นการทบทวนนโยบายและ พจิ ารณาปรบั ปรงุ ระบบการจดั การตอ่ ไป ขัน้ ตอนนี้เปน็ การประเมินการจดั การพลงั งานภายในองค์กรกอ่ นทจี่ ะนาระบบการจดั การพลังงาน มาประยุกต์ใช้ ผลทไ่ี ด้จากการประเมินจะช่วยทาให้ทราบว่าการจัดการในปัจจุบันมีจดุ อ่อน-จุดแขง็ ในเรื่องใด เพ่ือเป็น แนวทางในการกาหนดนโยบาย ทศิ ทางการอนุรักษ์พลงั งานประเดน็ ท่ตี ้องใหค้ วามสนใจเป็นลาดับตน้ ๆ เครอื่ งมือทใ่ี ช้ในการประเมนิ มีอยู่ดว้ ยกนั หลายรปู แบบ องค์กรสามารถนารูปแบบที่คุน้ เคยมาประยุกต์ใช้ได้ โดยพิจารณาให้มปี ระเด็นครบถว้ นตามที่มาตรฐานกาหนด ในท่ีน้ีนารูปแบบ Energy Management Matrix ซึ่งได้รับ การพัฒนาโดย Energy Technology Support Unit (ETSU) ของบริษทั AEA Technology plc แหง่ สหราชอาณาจักร มาประยุกต์ใช้ กองฝกึ อบรม กรมพัฒนาพลงั งานทดแทนและอนรุ กั ษ์พลังงาน ได้นา M a t r i x ดังกลา่ วมาแปล และเผยแพร่ในเอกสารเผยแพรแ่ นวทางการปฏบิ ตั งิ านท่ีดี เลม่ ที่ 7 เรื่อง “คู่มอื ฝึกอบรมดา้ นการจัดการพลังงาน” รูปที่ 2 . 4 แสดง M a t r i x จากคู่มือดงั กล่าว ในการใช้ Matrix ผ้ปู ระเมนิ จะพิจารณาประเด็นต่าง ๆ 6 ประเด็นท่ีมีความสาคญั ตอ่ การจดั การพลังงาน ภายในองค์กร ไดแ้ ก่ นโยบาย การจดั องค์กร การกระตุน้ และสรา้ งแรงจงู ใจ ระบบข้อมลู ข่าวสาร ประชาสัมพนั ธ์ และ การ ลงทนุ โดยให้คะแนนแตล่ ะประเดน็ ระหว่าง 0 ถึง 4 โดยเปรียบเทียบลกั ษณะจรงิ ทีเ่ กิดในองค์กรกับข้อแนะนาท่ใี ห้ ไวใ้ นตาราง ลักษณะท่ีปรากฏเป็นคะแนนระดับ 4 ถือได้ว่าเป็น Best Practices สาหรับประเดน็ ท่พี จิ ารณานน้ั ๆ เมือ่ ให้คะแนนทุกประเด็นแล้ว ใหล้ ากเส้นตรงเชอ่ื มต่อจดุ เข้าด้วยกัน และพิจารณารปู แบบของเส้นทไ่ี ด้ เปรยี บเทียบกับรูปแบบทนี่ าเสนอในรปู ที่ 2.5 ว่าใกลเ้ คยี งกบั หมายเลขใดมากที่สุด ตารางที่ 2.3 ให้คาจากัดความของ ลกั ษณะเสน้ แต่ละหมายเลข รวมถงึ การวเิ คราะห์เบอ้ื งต้นของแตล่ ะเสน้ ในกรณที ี่ลกั ษณะเสน้ ท่ไี ดไ้ ม่ตรงหรอื ใกลเ้ คยี ง กับเส้นใดเลยในรปู ที่ 2.5 ใหจ้ ดั ใหใ้ กล้เคียงมากที่สุด กรณีที่ประเดน็ “นโยบาย” “การจัดองค์กร” “การกระตุน้ และสร้างแรงจงู ใจ” หรอื “การประชาสัมพันธ์” มคี ะแนนต่า แผนการพัฒนาระบบการจัดการพลงั งานควรจะให้ความสนใจกับข้ันตอนที่ 3 การกาหนดนโยบาย โครงสร้าง และการประชาสมั พนั ธ์ 18

หลกั สตู ร การบรหิ ารจดั การพลังงานไฟฟา้ การพลงั งานความ นโยบาย การจดั องคก์ ร การกระตุ้นและ ระบบข้อมลู ประชาสมั พันธ์ การลงทนุ สร้างแรงจงู ใจ ขา่ วสาร กมาีนรโพยล4บังางยากนาจราจกัด มีการจัดองค์กรและ มีการประสานงาน กาหนดเป้าหมายท่ี ประชาสมั พนั ธ์ จัดสรร ฝา่ ยบรหิ ารและถอื เป็นโครงสร้างส่วน ระหวา่ งผรู้ บั ผิดชอบ ครอบคลุม ตดิ ตาม คุณค่าของการ งบประมาณ 4 หนึง่ ของฝ่ายบริหาร ดา้ นพลังงานและ ผล หาข้อผิดพลาด ประหยดั พลงั งานและ โดยละเอียด ประเมินผล และ ผลการดาเนินงาน โดยพิจารณา เปน็ ส่วนหนึง่ ของ กาหนดหนา้ ท่ีความ ทมี งานทุกระดบั อย่าง ควบคมุ การใช้ ของการจัด ถงึ ความสาคัญ นโยบายบริษัท รับผดิ ชอบไว้ สม่าเสมอ งบประมาณ การพลงั งาน ของโครงการ ชดั เจน 3 กมาีนรโสยน3บับาสยนแลนุ ะเปมีน็ ผู้รบั ผิดชอบดา้ น คณะกรรมการอนรุ ักษ์ แจ้งผลการใช้ ใหพ้ นกั งานรับทราบ ใช้ระยะเวลา ครงั้ คราวจากฝ่าย พลังงานรายงาน พลงั งานเปน็ ชอ่ งทาง พลงั งานจากมิเตอร์ โครงการอนุรกั ษ์ คุ้มทุนเป็นหลกั บริหาร โดยตรงตอ่ หลักในการดาเนินงาน ย่อยใหแ้ ต่ละฝา่ ย พลงั งานและใหม้ ีการ ในการพิจารณา คณะกรรมการจดั คณะกรรมการเฉพาะ ทราบ แตไ่ ม่มีการ ประชาสมั พันธ์อยา่ ง การลงทุน 2 นไมโยม่ บีก2าายรทกาี่ชหัดนเจดน การพลงั งาน ซงึ่ กิจเป็นผ้ดู าเนินการ แจง้ ถงึ ผลการ สมา่ เสมอ โดยผบู้ ริหารหรือ ประกอบดว้ ย ประหยดั จัดฝึกอบรมให้ ลงทนุ โดยดู ผรู้ บั ผดิ ชอบด้าน หวั หน้าฝา่ ยตา่ ง ๆ มกี ารตดิ ต่ออยา่ งไม่ พนกั งานรับทราบ มาตรการท่มี ี พลังงาน มีผูร้ บั ผิดชอบด้าน เป็นทางการระหวา่ ง ทารายงานติดตาม เปน็ ครั้งคราว ระยะเวลาค้มุ พลงั งานรายงานตอ่ วิศวกรกับผใู้ ช้ ประเมนิ ผลโดยดูจาก ทุนเร็ว 1 ปไมฏม่ บิ ีแตั 1นิทวี่ททาาไงวเ้ ปน็ คณะกรรมการ พลงั งาน (พนักงาน) มิเตอร์ ให้ แจง้ ใหพ้ นกั งาน ลายลักษณอ์ ักษร เฉพาะกจิ แตส่ าย ไมม่ ีการติดตอ่ กบั ผู้ใช้ คณะกรรมการเฉพาะ ทราบอย่างไมเ่ ปน็ พจิ ารณา งานบงั คับบัญชาไม่ พลังงาน กจิ เขา้ มาเก่ียวข้อง ทางการ เพือ่ สง่ เสริม เฉพาะ 0 ชไมัดม่เจนี น0โยบายที่ ชัดเจน กบั การตั้ง การใช้พลงั งานอย่าง มาตรการท่ี งบประมาณ มีประสทิ ธิภาพ ลงทนุ ตา่ ผรู้ ับผิดชอบด้าน มีการสรุปรายงาน ไม่มกี ารสนบั สนุน ไม่มีการลงทุน พลงั งานมีขอบเขต ด้านค่าใช้จ่ายการใช้ การประหยัดพลังงาน ใด ๆ ในการ หนา้ ที่ความ พลงั งานเพื่อใชก้ ัน ปรับปรงุ รบั ผดิ ชอบจากดั ภายในฝ่ายวศิ วกรรม ประสทิ ธิภาพ การใชพ้ ลังงาน ไม่มีผูร้ ับผิด ไม่มรี ะบบรวบรวม ชอบดา้ นพลงั งาน ขอ้ มลู และบัญชีการ ใชพ้ ลงั งาน รปู ท่ี 2.4 Energy Management Matrix 19

หลักสตู ร การบรหิ ารจัดการพลังงานไฟฟ้า การพลังงานความ ตวั อยา่ งการประเมนิ ด้านนโยบาย คาถาม คะแนน 0 องคก์ รไมม่ ีนโยบายพลงั งาน ผู้บรหิ ารไม่เคยช้แี จง ไมใ่ ช่ ใช่ นโยบายขององค์กรดา้ นพลังงาน พนกั งานทางานโดยไม่ มีกรอบดา้ นพลังงานกาหนด คาถาม คะแนน 1 มีนโยบายพลงั งาน แต่ไม่มกี ารประกาศ กาหนดเปน็ ลาย ไม่ใช่ ใช่ ลักษณ์อักษร เป็นเพียงการชแี้ จงโดยวาจา คาถาม ไม่ใช่ คะแนน 2 มนี โยบายเป็นลายลักษณอ์ ักษร แตไ่ ม่ได้รับความสนใจ จากผจู้ ดั การพลงั งานหรือผใู้ ชพ้ ลงั งาน คาถาม ไม่ใช่ ใช่ คะแนน 3 มนี โยบายเป็นลายลักษณอ์ ักษร แต่ไมไ่ ด้รับความสนใจ หรือสนบั สนุนจากผู้บรหิ ารระดับสงู คาถาม คะแนน ใช่ 4 มนี โยบายเปน็ ลายลักษณอ์ ักษร มีแผนการอนุรักษ์ พลงั งานซึง่ ถูกทบทวนอย่างสมา่ เสมอ    รปู ที่ 2.5 ลักษณะเสน้ แบบต่าง ๆ เพอ่ื ประเมนิ สถานะเบื้องต้นของระบบการจดั การพลงั งาน 20

หลกั สตู ร การบริหารจัดการพลังงานไฟฟา้ การพลงั งานความ ตารางท่ี 2 .2 คาอธิบายลักษณะเส้นแบบต่าง ๆ รายละเอียด การวเิ คราะห์ ลกั ษณะเส้น 1 High Balance ทกุ ประเดน็ มีคะแนนมากกว่า 3 ระบบการจัดการดมี าก เป้าหมาย คอื รกั ษาใหย้ งั่ ยนื 2 Low Balance ทุกประเด็นคะแนนน้อยกว่า 3 เป็นอาการของการพฒั นาท่ีสม่าเสมอหรือ ภาวะนง่ิ เฉย ไม่มคี วามกา้ วหนา้ 3 U - S h a p e d 2 ประเดน็ ดา้ นนอกมีคะแนนสงู กวา่ ประเดน็ ความคาดหวงั สูง อาจจาเปน็ ต้องเปลีย่ น อื่น ๆ ผู้รับผดิ ชอบดา้ นพลังงาน 4 N - S h a p e d 2 ประเดน็ ด้านนอกมคี ะแนนต่ากวา่ ประเดน็ ความสาเร็จท่ีบรรลใุ นประเดน็ ทม่ี ีคะแนน อืน่ ๆ สงู เปน็ การเสียเปล่า 5 Trough 1 ประเดน็ มีคะแนนต่ากวา่ ประเดน็ อนื่ ประเด็นท่ีล้าหลงั อาจทาใหร้ ะบบไม่ กา้ วหนา้ เท่าทคี่ วร 6 P e a k1 ประเด็นมคี ะแนนสงู กว่าประเด็นอื่น ความสาเร็จในประเดน็ ทคี่ ะแนนสูงสุดจะ เป็นการสญู เปล่า 7 Unba lance d มี 2 ประเดน็ หรือมากกว่าท่ีมคี ะแนนสูงกว่า ยงิ่ มีความไม่สมดลุ เท่าไร ยิง่ จัดการยาก หรอื ตา่ กว่าค่าเฉลย่ี กรณีที่ประเด็น “ขอ้ มูลข่าวสาร” หรอื “การลงทนุ ” มคี ะแนนต่า แผนการพัฒนาระบบการจัดการพลังงานควร จะให้ความสนใจกับขั้นตอนที่ 4 การประเมินศักยภาพด้านเทคนิคและการเงิน ข้ันตอนท่ี 5 การจัดลาดับ กาหนด มาตรการ และเป้าหมาย และขนั้ ตอนท่ี 6 การกาหนดระยะเวลาดาเนนิ การ ผู้รับผดิ ชอบ และงบประมาณ อย่างไรก็ตาม การกาหนดแผนการพัฒนาระบบการจัดการ เป็นการทางานร่วมระหว่างผู้บริหารกั บ คณะทางานทจี่ ะช่วยกนั หาแนวทางทีด่ ีท่สี ดุ กบั องคก์ ร 21

หลกั สูตร การบรหิ ารจัดการพลังงานไฟฟ้า การพลังงานความ 2.1.4 ขั้นตอนที่ 3 การกาหนดนโยบาย และการประชาสัมพนั ธ์ ข้อกาหนดนโยบายพลงั งาน ผบู้ ริหารสงู สดุ ขององค์กรตอ้ งกาหนดนโยบาย โดยจดั ทาเปน็ เอกสารพร้อมท้ังลงนามโดยผบู้ ริหาร ระดับสูง เพอ่ื แสดงเจตจานงในการจัดการพลงั งาน นโยบายดังกล่าวตอ้ ง (1) เป็นสว่ นหนง่ึ ของธรุ กิจ (2) เหมาะสมกับลักษณะและปริมาณพลังงานที่ใช้ (3) แสดงเจตจานงทจี่ ะปฏบิ ตั ิตามกฎหมายและขอ้ กาหนดอืน่ ๆ ที่องคก์ รได้ทาข้อตกลงไว้ (4) แสดงเจตจานงท่ีจะปรับปรงุ ประสทิ ธิภาพการใช้พลงั งานอย่างต่อเนอื่ ง (5) แสดงเจตจานงทจ่ี ะจัดสรรทรัพยากรให้เพยี งพอเหมาะสมในการดาเนนิ การตามระบบการจัด การพลงั งาน นอกจากน้ตี อ้ งใหล้ กู จา้ งไดท้ ราบและเข้าใจจดุ ม่งุ หมายของนโยบาย โดยการเผยแพรแ่ ละเปดิ โอกาสให้ ลกู จา้ งมีสว่ นรว่ มในการใหข้ ้อคดิ เหน็ และปฏิบตั ิตามนโยบาย รวมทัง้ มีการทบทวนเปน็ ระยะ ๆ เพอ่ื ให้ แนใ่ จวา่ นโยบายท่ีกาหนดข้ึนยงั มีความเหมาะสมกบั องค์กร ขอ้ กาหนดการสอื่ สาร องค์กรต้องจัดทาและปฏิบัตติ ามเอกสารขัน้ ตอนการดาเนินงานในการส่ือสารด้านพลงั งานโดยใหอ้ งคก์ ร รบั ฟังขอ้ คิดเหน็ และคาแนะนา การประชาสมั พนั ธ์ การรับและการตอบสนองข้อมลู ข่าวสารระหว่าง บุคคล ผู้เชย่ี วชาญและหนว่ ยงานระดบั ต่าง ๆ ทง้ั ภายในและภายนอก โดยทั่วไป เป้าหมายหลักของโครงการอนุรักษ์พลังงานมักเป็นการลดค่าใช้จ่ายภายในองค์กร ผู้บริหาร ระดบั สูงมกั มีบทบาทจากดั มาก ปล่อยให้เป็นหน้าที่ของฝ่ายเทคนิคท่ีจะดาเนินให้บรรลุเป้าหมายที่กาหนด อย่างไรก็ ตาม ในโลกยุคปัจจุบัน พลังงาน สิ่งแวดล้อม และเศรษฐกิจ เช่ือมโยงกันอย่างมีพลวัตยากท่ีจะพิจารณาแบบ “แยก สว่ น” จึงเปน็ หน้าที่ของผ้บู รหิ ารระดบั สูงทจี่ ะแสดงบทบาทมากกวา่ “ผคู้ มุ คา่ ใช้จ่าย” แต่ต้องกาหนด วิสัยทัศน์ (Vision) และทิศทาง (Direction) ด้านพลังงานขององค์กรผ่านนโยบาย (Policy) และการกาหนดโครงสร้าง (Organization Structure) เพื่อให้บุคลากรดาเนินงานไปในทิศทางเดียวกัน เกิดประโยชน์สูงสุด และมีผล (Impact) ต่อองค์กรและ ชุมชน เป้าหมายของการนาระบบการจัดการพลังงานมาประยุกต์ใช้ เป็นกลยุทธ์ท่ีช่วยนาองค์กรให้เคลื่อนจาก Operational Energy Efficiency ไปสู่ “Design for Energy Efficiency” เพ่ือให้เวทีของการอนุรักษ์พลังงานย้ายจาก โรงงาน (Production Floor) ไปส่หู ้องประชุมผบู้ ริหาร (Boardroom) 2.1.4.1 การกาหนดนโยบาย องค์กรส่วนใหญ่ ไม่ว่าขนาดเล็กหรือใหญ่ มีการดูแลพลังงานดีเพียงใด มักไม่ตระหนักถึงความ จาเป็นของการมีนโยบายดา้ นพลงั งาน รูปท่ี 2.6 แสดง 5 ปัจจัยหลักท่ีมีผลต่อนโยบายที่จะประสบผลสาเร็จ โดยหาก พิจารณาโดยละเอียดและเปรียบเทียบกับที่กาหนดโดยมาตรฐานการจัดการพลังงาน จะพบว่านโยบายควรมี คุณลกั ษณะดังตอ่ ไปน้ี 22

หลกั สตู ร การบริหารจัดการพลงั งานไฟฟา้ การพลังงานความ (1) นโยบายต้องเหมาะสมกบั ขนาดและธรุ กิจขององค์กร เช่น บริษัทท่ี 1 ผลิตสินค้าซ่ึงกระบวนการ ผลิตเป็นการประกอบชน้ิ สว่ นซึง่ ซ้อื มาจาก Suppliers อีกทอดหน่ึง ในขณะที่ บริษัทท่ี 2 ซึ่งผลิตยา กระบวนการผลิต มกี ารใชน้ ้ามันเตาเพ่ือผลติ ไอนา้ สาหรับใช้ในอุปกรณ์ทาปฏิกิริยา (Continuous Stired Tank Reactor, CSTR) และหอ กล่ันสารละลาย (Solvent) เพื่อนาสารละลายที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ นโยบายของบริษัทท่ี 2 ย่อมต้องมีรายละเอียด ความชดั เจน และความสาคญั มากกวา่ นโยบายของบริษทั ที่ 1 เป็นต้น (2) นโยบายพลังงานจะต้องลงนามโดยผู้บริหารระดับสูงขององค์กร ในที่น้ี ข้ึนกับขอบเขตการนา ระบบมาประยุกต์ใช้ เช่น หากเป็นการพัฒนาระบบท่ีโรงงานแห่งหนึ่งในกลุ่มโรงงานขององค์กร มิได้ครอบคลุมทั้ง บรษิ ัท ผู้ลงนามอาจเปน็ รองกรรมการผจู้ ดั การทดี่ แู ลโรงงาน ผอู้ านวยการผลิต หรอื ผู้จดั การโรงงาน (3) นโยบายจะต้องแสดง “ข้อผูกมัด (Commitment)” ขององค์กรที่จะรับผิดชอบการใช้พลังงานใน การดาเนนิ งาน ซ่งึ รวมถงึ การจดั หาอปุ กรณ์ที่เหมาะสมมาใช้ในการดาเนนิ งาน (4) นโยบายต้องแสดงเป้าหมายขององค์กรในระยะยาว (Long Term Corporate Goals) ซ่ึงแสดง ข้อผกู มัดในรายละเอียดวา่ จะปรับปรงุ ประสิทธิภาพดา้ นพลงั งานในแงม่ ุมใด เช่น  สนบั สนนุ “โครงสรา้ ง ( O r g a n i z a t i o n S t r u c t u r e ) ” การบริหารงานด้านพลงั งาน  ใหค้ วามสาคญั กบั การลงทนุ ด้านการเพม่ิ ประสิทธภิ าพการใชพ้ ลังงาน  ลดการปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจก ( G r e e n h o u s e G a s E m i s s i o n )  สนบั สนุนการใช้พลงั งานหมนุ เวียน ( R e n e w a b l e E n e r g y ) (5) นโยบายต้องแสดง “ความรับผิดชอบ (Responsibility)” ในการควบคุมการใช้พลังงาน และเป็น การกระจายความรับผิดชอบไปยังผใู้ ช้งานทป่ี ลายทาง (End Users) และ ผ้ทู ี่ดูแลงบประมาณ (Cost Center Holder) (6) นโยบายต้องแสดง “การสอ่ื สาร (Communication)” เพ่อื สร้างความรู้ ความเขา้ ใจ เก่ียวกับการใช้ พลังงานให้ทงั้ พนกั งานภายในองคก์ ร และผู้ที่มสี ่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) โดยอาจแสดงในรูปของรายงาน หรือ เปน็ ส่วนหนึ่งของการแสดง ผลกระทบด้านส่ิงแวดลอ้ มจากการดาเนินงานขององค์กร (7) นโยบายต้องแสดง “การพัฒนาอย่างต่อเน่ือง (Continual Improvement)” โดยมีการปรับปรุง เปา้ หมายการอนรุ กั ษ์พลังงานและทบทวนการดาเนินงานอยา่ งสมา่ เสมอ ในบางองค์กร โดยเฉพาะท่ีได้รับการรับรองระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐาน ISO 14001 แลว้ สามารถปรับนโยบายสง่ิ แวดล้อมให้มีประเด็นพลังงาน ก็สามารถใช้เป็นนโยบายพลังงานได้แล้ว แต่บางองค์กร อาจเลอื กท่จี ะแยกนโยบายเพ่ืองา่ ยต่อการบรหิ ารจัดการก็สามารถทาไดเ้ ช่นกัน ขอ้ มลู ด้านพลงั งานเป็นขอ้ มลู ท่ีมีความสาคัญมากในเชิงธุรกิจในบางคร้ัง โดยเฉพาะในตลาดท่ีมีการ แขง่ ขนั กันดา้ นราคาสงู มาก การเปิดเผยข้อมูลการใช้พลังงานต่อสาธารณะอาจมีผลในเชิงลบต่อความสามารถในการ แขง่ ขนั ดังน้นั มาตรฐานการจดั การพลังงานจึงมิได้กาหนดให้ระบุข้อมูลการใช้พลังงานในรายละเอียด เช่น ค่า SEC เป็นตน้ บรษิ ัท แอดวานซ์ เทคโนโลยี จากดั ดาเนนิ กิจการผลติ ผลติ ภณั ฑ์อาหารทะเลแช่แขง็ เพื่อจาหน่ายทั้ง ในประเทศและต่างประเทศ บริษัทฯ ได้ดาเนินการนาระบบการจัดการส่ิงแวดล้อมตามมาตรฐาน ISO 14001 มา ประยกุ ต์ใชภ้ ายในบรษิ ทั ฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 เน่อื งจากเล็งเห็นว่า ส่งิ แวดลอ้ มเปน็ ชวี ติ จิตใจ ของมนุษยชาติ และเป็น หนา้ ท่ที ่ที ุกคนต้องรว่ มกันอนุรกั ษ์ให้คงอย่อู ยา่ งยัง่ ยืน 23

หลักสูตร การบริหารจดั การพลังงานไฟฟา้ การพลังงานความ ข้อผูกมดั แรงผลักดนั (Thrust) นาไปใชไ้ ด้ (Commitment) นโยบายพลงั งาน (Applicability) การนาไปปฏิบตั ิ การทบทวน (Review) (Implementation) รูปที่ 2.6 ปจั จัยหลกั ทีม่ ีผลต่อความสาเรจ็ ของนโยบายพลังงาน เพ่ือเป็นส่วนหนงึ่ ของระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ ได้ตัดสินใจนาระบบการจัดการพลังงาน มาประยุกต์ใช้ ภายใต้กรอบใหญ่ของระบบการจัดการส่ิงแวดล้อม เพ่ือส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรร มชาติให้เกิด ประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด ดังน้ัน บริษัทฯ จึงกาหนดนโยบายด้านพลังงานเพ่ือใช้เป็นแนวทางในการ ดาเนินงานดา้ นพลงั งาน ดงั นี้ (1) บริษัทฯ จะดาเนนิ การและพฒั นาระบบการจัดการพลังงานอย่างเหมาะสม โดยกาหนดให้ เป็นส่วนหน่ึงของการดาเนินงานของบริษัทฯ สอดคล้องกับกฎหมายและข้อกาหนดอื่น ๆ ทเี่ กยี่ วข้อง (2) บริษัทฯ จะดาเนินการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานขององค์กรอย่างต่อเนื่อง เหมาะสมกับอุตสาหกรรม เทคโนโลยีท่ีติดต้ัง และแนวทางการปฏิบัติงานท่ีดี (Best Practices) (3) บรษิ ัทฯ จะกาหนดเป้าหมายการอนุรกั ษ์พลงั งานในแต่ละปี และสื่อสารให้พนักงานทุกคน เข้าใจและปฏิบตั ิไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง (4) บรษิ ทั ฯ ถือวา่ การอนุรักษ์พลังงานเป็นหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้บริหารและพนักงาน ของบริษัทฯ ทุกระดับที่จะให้ความร่วมมือในการปฏิบัติตามมาตรการท่ีกาหนด ติดตาม ตรวจสอบ และรายงานต่อคณะกรรมการดา้ นอนุรกั ษ์พลังงาน (5) บรษิ ัทฯ จะให้การสนับสนนุ ทีจ่ าเป็นรวมถงึ ทรพั ยากรดา้ นบคุ ลากร ดา้ นงบประมาณ เวลา ในการทางาน การฝึกอบรม และการมีส่วนร่วมในการนาเสนอข้อคิดเห็นเพื่อพัฒนางาน ด้านพลงั งาน (6) บริษัทฯ โดยคณะกรรมการฝ่ายบริหาร (Management Committee) จะทบทวนและ ปรบั ปรงุ นโยบาย เป้าหมาย และแผนการดาเนินงานดา้ นพลงั งานทุกปี (นายสมสมยั ประหยดั ) กรรมการผู้จัดการ 24 เมษายน 2547 24

หลกั สูตร การบรหิ ารจัดการพลังงานไฟฟา้ การพลงั งานความ 2.1.4.2 การประชาสมั พนั ธ์ จิตสานกึ ในการอนรุ กั ษ์พลังงานขององค์กรเปน็ ปจั จัยท่สี าคัญต่อความสาเร็จ เงินทุนที่ลงไปสาหรับ อุปกรณ์ท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพสงู จะสญู เปล่าหากพนกั งานมจี ติ สานึกต่า เชน่ การติดตง้ั เครื่องปรับอากาศ เบอร์ 5 จะไม่ช่วย ลดค่าไฟฟา้ ขององคก์ รได้มากเทา่ ทคี่ วรหากพนักงานไม่มีจติ สานกึ ทีจ่ ะปดิ เคร่ืองปรบั อากาศทุกคร้งั ท่ีออกจากห้อง เป็น ตน้ ดงั น้นั จติ สานกึ และผลจากการมจี ติ สานึก (ต้องการมีส่วนร่วมของพนักงานในองค์กร) เป็นปัจจัยท่ีสาคัญที่สุดใน การพฒั นาระบบการจัดการพลังงาน มีความสาคญั มากกว่างบประมาณ มากกว่าเทคโนโลยี การสร้างจิตสานึกเพื่อให้ เกิดการมีส่วนร่วมจึงควรเป็นภารกิจท่ีตอ้ งไดร้ ับการเอาใจใสม่ ากจากผูบ้ ริหาร ลองทดสอบพนักงานของท่านโดยการถามว่า “ทาไม” ถึงต้องอนุรักษ์พลังงาน หากพนักงาน สามารถใหข้ ้อคดิ เห็นไดเ้ หมาะสม แสดงว่าพนกั งานคนนัน้ มจี ิตสานึกดดี า้ นพลงั งาน จะสร้างจิตสานึกได้อย่างไร มีแนวทางท่ีหลากหลาย ตารามากมายท่ีกล่าวถึงการสร้างการมีส่วน ร่วม คู่มือนี้ใช้ “หลักการตลาด” เปน็ เคร่ืองมอื ในการสร้างจิตสานึกภายในองคก์ ร โดยม่งุ หวงั ว่าจะสามารถก่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงที่ “ถาวร” (ไม่ใช่เปล่ียนแปลงเฉพาะช่วงที่กาลังจะถูก Audit) ต่อทัศนคติและพฤติกรรม การติด Poster หรือแสดงวดี ีทศั นม์ ีผลเพยี งระยะสั้น ตอ้ งทาอย่างไร จงึ จะเกิดผลระยะยาว และย่งั ยืน ลองพิจารณาว่า “การอนุรักษ์พลังงาน” เป็น “ผลิตภัณฑ์” ท่ีต้องการจะขาย และลูกค้า (Target Customers) คือกลุ่มพนกั งานขององค์กร ก. ประเมินสถานการณป์ ัจจบุ นั ลองประเมินระดับจิตสานึกของพนักงาน ถามเก่ียวกับระดับความรู้ ค่าใช้จ่าย และทัศนคติต่อ การเปล่ียนแปลงวฒั นธรรมของพนกั งานในองค์กร การสอบถามอาจทาได้โดยออกแบบสอบถามแจกจ่ายพนักงาน หา ข้อมูลจากผู้รู้ เช่น ข้อมูลค่าใช้จ่าย เป็นต้น หรือเปรียบเทียบกับองค์กรอ่ืน ๆ ทดลองตอบคาถามในตารางท่ี 2.3 มี คาถามใดทีต่ อบได้ และคาถามใดทไ่ี มท่ ราบคาตอบ ในการจัดการพลังงานบ่อยครั้งที่ต้องเปลี่ยนพฤติกรรมของพนักงาน ข้อมูลท่ีจาเป็นต่อการ กาหนดมาตรการเพื่อเปลยี่ นพฤตกิ รรม ได้แก่ ทศั นคติของพนกั งานและผบู้ รหิ าร ในการประเมินทศั นคติบางครั้งจาเป็นต้องทาการสารวจโดยใช้แบบสอบถาม ปัจจัยท่ีสาคัญต่อ ผลการสารวจ ได้แก่ ขนาดของกล่มุ ตัวอยา่ ง (Sampling Size) แนวทางการคดั เลือกกลุ่มตวั อย่าง และแบบสอบถาม สาหรับการกาหนด Sampling Size ในทางสถิติมแี นวทางการคานวณได้หลากหลายวิธี เช่น ใช้ สมการของ Taro Yamane (สมการท่ี 2.1) 25

หลกั สตู ร การบรหิ ารจดั การพลงั งานไฟฟ้า การพลังงานความ ตารางท่ี 2.3 คาถามเพอื่ ประเมินสถานการณ์ปัจจบุ ันดา้ นจติ สานกึ ทัศนคติ  นโยบายปัจจุบันเกย่ี วกับประสทิ ธิภาพการใชพ้ ลังงาน  อะไรเป็นสาเหตหุ ลกั ตอ่ ความเฉื่อยชาของ พนักงาน  ทัศนคตขิ องผบู้ ริหารระดับสูงเกี่ยวกบั ประสทิ ธิภาพการใช้  อะไรเป็นประเดน็ หลักท่จี ะสามารถ “ซ้อื ใจ” พลงั งานและประเดน็ ดา้ นสิ่งแวดล้อม พนักงาน เพอื่ ให้ร่วมกนั อนรุ กั ษพ์ ลงั งานอยา่ ง ย่งั ยนื  ทศั นคติของพนักงานท่สี นับสนุนการใช้พลังงานอยา่ งมี  มีการเมอื งภายในหรือไม่ ประสิทธภิ าพ พนกั งานทต่ี ่อตา้ น พนกั งานทีไ่ ม่มีความคดิ เห็น (ไม่เห็นด้วย/ไม่ตอ่ ต้าน) เป็นอยา่ งไร ความรู้  เพอื่ นรว่ มงานของทา่ นทราบเก่ียวกบั โอกาสในการเพมิ่  อุปกรณ์/ระบบใดทเี่ ป็นตัวถ่วงการใชพ้ ลงั งาน ประสิทธิภาพการใชพ้ ลังงานมากน้อยเพียงใด อย่างมีประสิทธภิ าพ  คา่ ใชจ้ า่ ยด้านพลังงานของบรษิ ัทของท่านเท่าไร  อุปกรณ์/ระบบใดทจี่ ะช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพการ ใช้พลังงาน  อุปสรรคต่อการออกมาตรการรณรงคเ์ พื่อให้เกดิ ผลิตอย่าง  บริษัทอนื่ ในธรุ กจิ เดียวกนั มคี วามตระหนักด้าน ย่ังยนื พลงั งานระดับใด  จดุ แขง็ ของมาตรการรณรงคท์ ท่ี า่ นมอี ยู่ในใจ  ทา่ นต้องทาการศกึ ษาเพ่มิ เตมิ อะไรบา้ ง ตอ้ งใช้ เวลาเทา่ ไร  จุดออ่ นของมาตรการรณรงคท์ ที่ ่านมอี ยู่ในใจ  ปัจจบุ นั มีช่องทางการสือ่ สารอะไรบ้าง (formal/informal)  อะไรจะเกดิ ข้ึนตอ่ บริษัทหากท่านไมท่ าอะไร  ทา่ นต้องการเพิ่มช่องทางอื่น ๆ ใดบ้าง ค่าใช้จ่าย  การเปลยี่ นแปลงของค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน ในชว่ ง 5 ปีที่ผ่าน  งบประมาณเพิ่มประสทิ ธิภาพการใชพ้ ลงั งาน มา  หากสามารถลดคา่ ใชจ้ า่ ยด้านพลังงานลง 10% จะมีผลต่อกาไร/  ระบบกระจายค่าใช้จา่ ยดา้ นพลงั งานไปยงั ๆ ขาดทนุ หรือชว่ ยเพม่ิ การบริการตา่ ง ๆ (เช่น มี Compressed หน่วยงานตา่ ง A i r เพมิ่ ขน้ึ เปน็ ตน้ ) ได้มากน้อยเทา่ ไร  แนวโน้มค่าใชจ้ ่ายในอนาคตจะเปน็ อย่างไร สมมติว่าไม่มกี ารเพิม่ ประสทิ ธิภาพการใช้ การเปลยี่ นแปลง  ทา่ นมอี านาจในการเปลี่ยนแปลงมากนอ้ ยเพียงไร  การตัดสนิ ใจเกดิ ข้ึนอย่างไร แนวทางนช้ี ่วยหรอื เป็นอุปสรรค  ใครมีอานาจสูงสุด  หนว่ ยงานใดสามารถดงึ เขา้ มาชว่ ย  ระบบตา่ ง ๆ ทบ่ี ริษทั เคยทดลองเอามาใช้แล้วลม้ เหลว/สาเร็จ  ในบริษัทมีการเข้ากลุ่มหรือไม่ กลมุ่ เหล่านี้มี เกดิ อะไรขน้ึ ทาไมถงึ ล้มเหลว/สาเร็จ อทิ ธพิ ลมากน้อยเพยี งไร สามารถดึงเขา้ มาช่วย หรือไม่  ใครมคี วามตั้งใจทสี่ ามารถชว่ ยทา่ นผลักดนั การ เปลย่ี นแปลง 26

หลกั สูตร การบริหารจดั การพลังงานไฟฟ้า การพลังงานความ Sampling Size  1  Numberof Employees Error2 2.1 Numberof EmployeesMarginof โดยทั่วไป การใช้ Margin of Error เท่ากับ 5% (หรือ 0.05 ในสมการ) ก็เพียงพอ อย่างไรก็ตาม เน่ืองจากองคก์ รส่วนใหญม่ ีพนักงานไม่มาก (น้อยกวา่ 500 คน) ดังน้ัน จะต้องพิจารณาความเหมาะสมในการคานวณ Sampling Size เปรียบกับผลที่อาจได้หากทาการสารวจความคิดเห็นของพนักงานทุกคน หากตัดสินใจท่ีจะสารวจ ความคิดเหน็ ของกล่มุ ตัวอย่าง ข้ันตอนถัดไป คือ การคัดเลอื ก มี 3 แนวทางทใ่ี ช้กันท่ัวไป ได้แก่ (1) Simple Random Sampling ไม่เป็นที่นิยมมากนักเน่ืองจากตั้งอยู่บนสมมติฐานที่ว่าทุกคนใน ประชากรมโี อกาสทีจ่ ะได้รับเลือกเปน็ ตัวอย่างเทา่ เทียม ซงึ่ เปน็ จรงิ ไดย้ ากมากและใช้เวลาในการทาการสารวจมาก (2) Stratified Random Sampling เปน็ การแบ่งประชากรทง้ั หมดออกเป็นกลมุ่ ย่อย เพื่อให้ประชากร ภายในแต่ละกลุม่ มคี วามแตกตา่ งกันน้อยลง เชน่ แบง่ ตามสดั สว่ นของพนักงานในแตล่ ะหนว่ ยงาน เป็นต้น (3) Systematic Sampling เป็นการเลือกโดยใช้เกณฑ์ท่ีมีอยู่ก่อน เช่น เฉพาะบ้านท่ีเป็นเลขค่ี เป็น ต้น ขน้ั ตอนถัดไป คือ การออกแบบสอบถาม รูปที่ 2.7 แสดงตัวอย่างของคาถามในแบบสอบถาม การ ออกแบบสอบถามท่เี หมาะสมเป็นสง่ิ ที่สาคญั ในบางกรณีอาจจาเป็นตอ้ งหาผ้ทู ีม่ ีความชานาญในการศึกษาทัศนคติโดย ใช้แบบสอบถาม เชน่ เจา้ หนา้ ทกี่ ารตลาดหรือฝา่ ยบุคคล เปน็ ต้น เขา้ มาช่วยดาเนินการ แบบสอบถามท่ีเหมาะสมต้อง สามารถสารวจทัศนคติของพนักงานในทุกสายงาน และบางคร้ังอาจจาเป็นต้องทดสอบกับกลุ่มตัวอย่างเล็ก ๆ ก่อน นาไปใชจ้ รงิ นอกจากใชแ้ บบสอบถามแล้ว การประเมินทัศนคติยังสามารถทาได้โดยการจัดประชุมกลุ่มย่อยเพื่อ รับฟงั ข้อคดิ เห็น กระต้นุ แนวคดิ การมสี ่วนรว่ ม/นาเสนอขอ้ คิดเห็น ผลทไ่ี ดจ้ ากการประเมนิ สถานการณ์ปจั จุบัน เป็นขอ้ มูลช่วยกาหนดแผนงานที่จะใชใ้ นการประชาสัมพันธ์ใน อนาคต ข. ประเมินสถานการณห์ ากไมท่ าอะไร วัตถุประสงค์ของข้ันตอนนี้ก็เพื่อประเมินว่าหากองค์กรไม่ทาอะไรเลยจะเกิดอะไรขึ้นโดยให้ พิจารณาประเด็นดงั ตอ่ ไปน้ี (1) ประสิทธิภาพที่ลดลง องคก์ รสว่ นใหญ่มองการใช้พลังงานว่าเป็นค่าใช้จ่ายท่ีควบคุมไม่ได้ (จาเป็นต้องใช้) แต่ในความเป็นจริง องค์กรสามารถควบคุม “การใช้พลังงาน” ของตนได้ ซ่ึงเป็นผลมาจากปัจจัย หลาย ๆ ประการ (2) กาไรที่ลดลง การลดการใช้พลังงานช่วยลดต้นทุนของการผลิตสินค้าหรือบริการ หาก องค์กรสามารถลดปริมาณพลงั งานที่ใช้ อาจช่วยลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน (ในบางกรณี ขณะท่ีลดปริมาณแต่ราคาค่า ไฟฟ้าอาจเพม่ิ ดังนน้ั คา่ ใชจ้ ่ายโดยรวมอาจไมล่ ด) ซ่งึ มีผลตอ่ กาไร/ขาดทุนทนั ที แสดงให้พนักงานเห็นว่า หากช่วยลด การใช้พลงั งานลงจะเทยี บเท่ากบั การเพิม่ ยอดขายกี่เปอรเ์ ซ็นต์ (3) โอกาสทจ่ี ะได้/สญู เสยี พนกั งานท่ีดี แนวโน้มโดยท่วั ไปพบวา่ องค์กรทีม่ กี ารดูแลสิ่งแวดล้อม รวมถึงพลังงาน มักเป็นองค์กรท่ีดี น่าทางาน เป็นที่ต้องการของพนักงาน ดังน้ัน หากองค์กรใดไม่ใส่ใจสิ่งเหล่านี้ ก็ อาจจะเสียพนักงานทด่ี ี หรืออาจเสยี โอกาสท่จี ะไดพ้ นักงานทีด่ เี ข้ามาร่วมงาน 27

หลักสูตร การบริหารจดั การพลังงานไฟฟ้า การพลงั งานความ โอกาสทอี่ งคก์ รสญู เสียไปท้ังด้านการตลาดและอืน่ ๆ องค์กรท่ีได้รับการรับรองระบบการจัดการ สิ่งแวดลอ้ มตามมาตรฐาน ISO 14001 ส่วนใหญใ่ หค้ วามเห็นว่าผลตอบแทนอย่างหนึ่งท่ีได้รับจากการรับรองดังกล่าว คือ การได้ประชาสัมพันธ์องค์กร ถ้าองค์กรละเลยการใช้พลังงาน ก็อาจจะสูญเสียโอกาสที่จะได้ร่วมแสดงวิสัยทัศน์ รว่ มกบั องคก์ รสว่ นใหญ่ ขอ้ มูลจากการประเมนิ นี้ ช่วยให้ผู้บริหารตระหนักถึงโอกาสที่สูญเสียไป หากเป็นมูลค่าที่สูง จะ ย่ิงเนน้ ใหเ้ ห็นความจาเปน็ ในการอนรุ กั ษ์พลังงานอย่างเร่งดว่ น กรุณาเลือกคาตอบทีเ่ หมาะสมที่สุด มาก กลาง ่ตา ระดบั ความจาเปน็ ทจ่ี ะลดการใช้พลังงานของบริษัท   ระดับความเป็นไปไดท้ ี่ท่านจะช่วยลดการใชพ้ ลังงาน   ระดบั ความตระหนักถึงปริมาณพลังงานท่สี ูญเสียโดยท่านหรือหน่วยงาน    ระดับการสนบั สนนุ ทีท่ า่ นใหต้ ่อมาตรการประหยัดพลงั งาน   ระดับขอ้ มูลท่ีท่านได้รับเกย่ี วกบั แนวทางทีท่ ่านสามารถประหยดั พลงั งาน    ทา่ นทราบเก่ยี วกบั แนวนโยบายของบริษัทเกยี่ วกับประสิทธิภาพการใชพ้ ลังงาน    มากน้อยเพยี งไร ทา่ นรสู้ ึกตอ้ งการมสี ว่ นร่วมในคณะกรรมการด้านพลังงานระดับใด   ท่านมีข้อคิดเห็นเก่ยี วกับแนวทางการประหยดั พลังงานมากนอ้ ยเพียงไร    รปู ที่ 2.7 ตวั อยา่ งคาถามในแบบสอบถามสารวจทัศนคติ ค. เปา้ หมายขององค์กร อยากไปให้ถงึ จดุ ใด องค์กรตอ้ งกาหนดเป้าหมายการอนุรักษ์พลังงาน เป้าหมายนี้เป็นเป้าหมายรวมของท้ังองค์กร ในกรณที ยี่ ังไม่มขี ้อมลู เพยี งพอ อาจกาหนดหลังจากท่ีมีการดาเนินการข้ันที่ 4 และ 5 จนแล้วเสร็จก็ได้ จากน้ันต้องมี การประกาศเป้าหมายดังกล่าวต่อพนักงาน อาจจะอยู่ในรูปแบบของประกาศหรือเป็นส่วนหนึ่งของนโยบาย ส่ิงที่ ประกาศตอ้ งรวมถงึ แนวทางการตดิ ตามตรวจสอบ เป้าหมายน้ีต้องสอดคล้องกับเป้าหมายขององค์กรท่ีประกาศไว้ใน นโยบายพลงั งาน ลักษณะสาคัญของเป้าหมายได้แก่ SMART กล่าวคือ ง่ายและเฉพาะเจาะจง (S, Simple & Specific) วัดได้ (M, Measurable) สามารถทาได้ (A, Achievable) เป็นจริง (R, Realistic) และ ภายใต้กาหนดเวลา และติดตามได้ (T, Timely & Trackable) การกาหนดเป้าหมายต้องกาหนดท้ังค่าที่ต้องการให้เป็นและกาหนดเวลาที่ ต้องทาใหส้ าเร็จ ตวั อยา่ งของเป้าหมาย เช่น  บรษิ ทั มุ่งม่นั ท่ีจะลดการใช้พลังงานไฟฟ้าลง 5% ของปริมาณใช้ปี พ.ศ. 2545 ภายในปี พ.ศ. 2 5 4 8  บริษัทตงั้ เปา้ หมายทจี่ ะจดั ให้มีการรณรงคด์ ้านสร้างจิตสานึกอย่างนอ้ ย 2 ครัง้ ภายใน 6 เดอื น 28

หลักสตู ร การบริหารจัดการพลงั งานไฟฟา้ การพลงั งานความ ง. กาหนดประเภทข้อมลู และผู้ทตี่ ้องรับรู้ ในการสือ่ สารนโยบาย เป้าหมาย และแผนการดาเนนิ งาน ผู้รับผิดชอบต่อการประชาสมั พันธต์ อ้ ง วเิ คราะห์ใหท้ ราบกลมุ่ พนกั งานทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับการใช้พลังงานและข้อมูลที่แต่ละกลมุ่ ตอ้ งทราบ ดงั ท่ีแสดงในรูปที่ 2.8 จะ เห็นว่า  กลุ่มพนกั งานที่ O p e r a t e อปุ กรณ์เคร่ืองจักร เช่น B o i l e r เปน็ ต้น มักจะเป็นผ้ทู มี่ ี ผลกระทบตอ่ ความพยายามในการประหยัดพลังงาน เพราะเปน็ ผปู้ ฎิบตั จิ ริง เป็นผทู้ ่ี ควบคมุ ปรมิ าณพลังงานอย่างแทจ้ ริง ตอ้ งการทราบข้อมูลปริมาณทีใ่ ชจ้ รงิ เพอื่ สามารถ นาไปเปรยี บเทียบแนวโนม้ ในแต่ละชว่ งระยะเวลาท่ีกาหนด นอกจากน้นั ยังต้องการทราบ การปฏิบัตทิ ี่ดี จติ สานึกมีความสาคญั มาก รวมถงึ ความเข้าใจเจตนารมณข์ ององคก์ รใน การนาระบบการจดั การพลังงานมาประยุกต์ใช้ เพอื่ ใหม้ ีสว่ นรว่ มในการลดการใชพ้ ลงั งาน  กลมุ่ พนกั งานในระดับวศิ วกรท่ีมคี วามรู้ความเขา้ ใจทางทฤษฎี จาเปน็ ตอ้ งการทราบ ปริมาณพลังงานที่ใช้ในหนว่ ยทตี่ นดูแล และตอ้ งการทราบความรทู้ ่ีเหมาะสมรวมถงึ วตั ถุประสงคข์ องขั้นตอนการผลติ นั้น ๆ เพื่อนามาตดิ ตาม ตรวจสอบ และถ่ายทอดความรู้ น้ัน ๆ ใหแ้ ก่พนักงานในระดับปฏิบัติ  ผจู้ ัดการโรงงาน ซง่ึ เป็นผู้ดูแล Co s t Ce nt e r ต้องการทราบทง้ั ขอ้ มลู ดา้ นปริมาณและ ค่าใชจ้ ่าย ทงั้ น้เี พือ่ วตั ถปุ ระสงคท์ ่ีแตกต่างกัน ข้อมลู ปรมิ าณเพ่อื ใหท้ ราบปัญหา อปุ สรรค และแนวโน้มของกระบวนการผลิตเพอื่ ใชว้ างแผนการซอ่ มบารงุ (เช่น B o i l e r เรมิ่ ใช้ พลงั งานมาก หากวิเคราะหห์ าสาเหตอุ าจพบวา่ มี Deposit สงู มาก จาเป็นตอ้ งหยุดเพือ่ ทา Chemical Cleaning เปน็ ตน้ ) ส่วนขอ้ มูลค่าใช้จา่ ยเพอ่ื ควบคุมใหอ้ ย่ภู ายในงบประมาณท่ี ได้รบั  กล่มุ พนักงานบัญชีใชพ้ ลังงานนอ้ ย (เมอื่ เทยี บกบั กลุ่มอื่น ๆ) แต่ต้องรูข้ ้อมูลดา้ นค่าใชจ้ า่ ย โดยรวม เพ่ือสนับสนนุ ผบู้ รหิ ารในการจัดการทางการเงนิ ในขณะท่พี นักงานเองสามารถ ช่วยลดการใช้พลังงานหากมจี ิตสานึกที่ดี เช่น ปิดอปุ กรณ์สานักงานเมื่อไม่ใช้ เป็นต้น จะเห็นวา่ กลุ่มตา่ งกัน ตอ้ งการข้อมลู ตา่ งกัน และส่อื ทต่ี อ้ งใช้เพ่ือการประชาสัมพนั ธ์ก็จะต่างกัน ดังทีจ่ ะได้กล่าวถึงในหวั ข้อถดั ไป การสร้าง 2 x 2 Matrix แบบน้ยี ังนามาประยุกตใ์ ชก้ ับข้อมลู สาหรับสร้างทศั นคตขิ อง กลมุ่ พนกั งานที่จากผลสารวจพบว่ามคี ่าทศั นคตติ า่ กวา่ เกณฑ์มาตรฐานของบรษิ ัท 29

การพลังงานความ หลกั สูตร การบรหิ ารจดั การพลงั งานไฟฟ้า ปริมาณพลังงานสทงู ่ใี ช้ พนักงานดแู ล Boilerต้องการ ทราบเฉพาะ ข้อมลู ปรมิ าณ ค่าใชจ้ ่าย ผู้จัดการโรงงาน หน่วยทีใ่ ช้ ต้องการทราบท้ัง กลุ่มพนักงาน ปรมิ าณและค่าใชจ้ ่าย ประเภทข้อมลู บญั ชตี อ้ งการ ทราบเฉพาะ ตำ่ กลมุ่ วิศวกร ข้อมลู ค่าใช้จ่าย ต้องการทราบ เฉพาะข้อมลู ปรมิ าณปรมิ าณ รูปท่ี 2.8 การจดั กล่มุ พนักงานตามข้อมูล - ปริมาณทใ่ี ช้ จ. จะทาใหป้ ระสบผลสาเรจ็ ได้อยา่ งไร การทพ่ี นกั งานจะเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พลังงานจาเป็นต้องสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ ถูกต้อง ลึกซึ้ง เพียงพอ ดังที่ได้แสดงให้เห็นในหัวข้อก่อนหน้าน้ี พนักงานแต่ละกลุ่มมีความจาเป็นต้องรู้ เข้าใจ รบั ทราบข้อมลู พลงั งานในระดบั ทต่ี า่ งกนั ตัวอยา่ งเชน่ พนักงานตาแหน่งแม่บ้านในบริษัทมีหน้าท่ีดูแลทาความสะอาด ของสานักงาน ไม่มีบทบาทรับผิดชอบด้านพลังงาน ผลที่คาดหวังจากการประชาสัมพันธ์จะเป็นเพียงระดับ ให้มี จติ สานกึ ช่วยสอดสอ่ งดแู ล หากแต่ไม่หวังผลทางด้านปฏิบตั ทิ ่จี ะเขา้ มาลดปรมิ าณการใช้พลังงานอย่างจริงจัง หากแต่ ถ้าเป็นพนักงานตาแหน่งแม่บ้านในสถาบันการศึกษาท่ีมีหน้าที่ เปิด/ปิด เคร่ืองปรับอากาศและระบบแสงสว่างใน หอ้ งเรยี น (นักศึกษามักไมไ่ ด้รับอนุญาตให้ควบคุมส่วนน้ี) ความร่วมมอื อย่างจริงจังในการควบคุมอย่างมีประสิทธิภาพ เปน็ ท่คี าดหวงั ดงั น้ันระดบั การประชาสมั พันธต์ อ่ กลุม่ นจี้ ะเข้มข้น ละเอียดมากกว่าแม่บ้านกลุ่มแรก เป็นต้น โดยท่ัวไป แล้ว ในการประชาสมั พันธ์ ขอ้ มลู หรอื Message ทสี่ อื่ ออกไปนส้ี ามารถสร้างผลต่อพนกั งานได้ 4 ระดับ ได้แก่  ระดบั Awareness คอื เพยี งแค่ทราบว่าองค์กรใช้พลังงานอยเู่ ท่าไร ทาไมองคก์ รต้องลดการ ใช้พลงั งาน แตค่ วามสนใจหยุดอยเู่ พยี งเทา่ น้ัน  ระดับ I n t e r e s t คอื สนใจที่จะทราบวา่ จะช่วยลดการใชพ้ ลังงานไดอ้ ย่างไร  ระดบั D e s i r e คือ ทราบว่าจะลดพลังงานได้อยา่ งไร และตอ้ งการมีส่วนร่วมในการลด การพลงั งาน  ระดบั A c t i o n คอื ทราบแนวทาง มคี วามตง้ั ใจ และปฏิบตั ิจรงิ เพือ่ ชว่ ยองคก์ ร ในการผลักดันการมีส่วนร่วม จาเป็นต้องเริ่มสร้างให้พนักงานได้รับผลท่ีละขั้น และสื่อในการ ประชาสมั พันธก์ ็จะมผี ลทแ่ี ตกต่างกัน ดังทีแ่ สดงในตารางที่ 4 การประชาสัมพันธ์ที่ดีควรจะมีความหลากหลาย และมี การวางแผนท่ีสอดคล้องกันเพอ่ื ผลสูงสดุ 30

หลกั สตู ร การบรหิ ารจัดการพลงั งานไฟฟา้ การพลงั งานความ ตารางท่ี 2. 4 สือ่ ในการประชาสมั พันธ์และเป้าหมาย Presentation Awareness I nt e r e s t Desire Action Workshops  Other direct communications    Training    Videos    House magazines   Energy newsletter    Posters   Competitions   Promotional gifts    Promotion   Sponsorship   Publicity    Public relations   Local groups    2.1.5 ขัน้ ตอนท่ี 4 การประเมนิ ศักยภาพทางเทคนิค ข้อกาหนดการวางแผน 1) การประเมนิ การใชพ้ ลงั งานท่มี ีนยั สาคัญ องค์กรต้องจัดทาและปฏิบัติตามเอกสารข้ันตอนการดาเนินงานท่ีชว่ ยในการบง่ ชีล้ ักษณะการใชพ้ ลงั งาน ขององคก์ ร ระดบั พลงั งานทใี่ ช้ และการประมาณระดบั การใช้พลังงานทกุ กิจกรรม ในการประเมนิ องค์กรจะตอ้ งพจิ ารณา (1) ข้อมลู การใชพ้ ลงั งานทง้ั ในอดีต และปจั จุบัน (2) รายการอปุ กรณท์ ีใ่ ช้พลังงานในสัดสว่ นท่สี ูง (3) แผนงานด้านอนุรักษ์พลังงาน (4) ศกั ยภาพในการอนรุ ักษ์พลังงาน องค์กรต้องทบทวนการช้บี ง่ และประเมนิ นี้ ในกรณที มี่ ีการดาเนนิ กิจกรรมใหมห่ รอื มกี ารปรับปรุง เปลี่ยนแปลงกิจกรรมทป่ี ระเมินว่ามีการใช้พลังงาน 31

หลักสูตร การบริหารจดั การพลังงานไฟฟ้า การพลงั งานความ 2) กฎหมายและขอ้ กาหนดอืน่ ๆ องค์กรต้องจัดทาและปฏิบัติตามเอกสารข้ันตอนการดาเนินงานในการติดตามข้อกาหนดตา ม กฎหมาย และขอ้ กาหนดอื่น ๆ ทีอ่ งค์กรนามาใชใ้ นการจดั การพลังงานใหท้ นั สมัย วัตถุประสงค์ของข้ันตอนน้ีก็เพ่ือค้นหาศักยภาพขององค์กรในการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้ พลงั งาน เป็นท่ีเขา้ ใจกนั โดยทั่วไปวา่ ของเสยี (Waste) มีด้วยกันท้ังสิ้น 7 ประเภท ได้แก่ การผลิตที่มากเกินความ ต้องการ (Over-production), การรอ (Waiting), การขนย้าย (Transportation), ขั้นตอนการผลิตมากเกินความจาเป็น (Over-processing), พัสดุคงคลัง (Inventory), การเคล่ือนไหว (Motion), และการซ่อมแซม/ปรับสภาพ (Rework) นอกจากน้ี บางคร้งั ยงั มีประเภทท่ี 8 คอื การทไี่ ม่สามารถใช้ความสามารถของพนักงานอย่างเต็มท่ี ไม่ว่าเป็นของเสีย ประเภทใด ลว้ นแลว้ แตก่ อ่ ใหเ้ กิดการสญู เสียพลงั งานทัง้ ส้ิน ตัวอย่างเช่น กรณีที่มีสินค้าคงคลังสูง หากสมมติว่าสินค้า ประเภทหนง่ึ ใชพ้ ลงั งานในการผลิตท้ังสน้ิ 1.25 kWh ต่อชน้ิ อยา่ งไรก็ตาม หลงั จากทสี่ นิ คา้ น้นั ออกจากสายการผลิตจะ ถูกเก็บไว้ที่คลงั สินค้าอีกโดยเฉล่ยี ประมาณ 1 สปั ดาห์ ทุก ๆ วนั ทส่ี ินคา้ อยู่ในคลังพัสดุ มีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นทุกวัน กรณี พลังงานอาจไดแ้ ก่ ไฟฟา้ แสงสว่าง บางครัง้ อาจรวมถึงเคร่ืองทาความเยน็ และหากตอ้ งมีการเคลื่อนไหว/เคล่ือนย้าย ก็ จะรวมถงึ เชอื้ เพลิง เป็นตน้ ดงั น้ัน การพิจารณาเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานจึงจาเป็นต้องวิเคราะห์กระบวนการ ผลิต และ Flow ของการผลิตอยา่ งละเอียด การประเมนิ สภาวะการใช้พลังงานจึงแบง่ ออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ I. การประเมินระดบั องคก์ ร เปน็ การประเมนิ การใช้พลังงานทงั้ องคก์ ร ไม่แยกเปน็ หนว่ ยหรอื อุปกรณ์ โดยส่วนใหญอ่ าศัย ขอ้ มูลใบเรียกเก็บเงนิ คา่ ไฟฟ้าหรอื ค่าเชื้อเพลงิ การประเมนิ แบบน้ี สามารถใชป้ ระโยชนไ์ ด้ 2 รปู แบบ  เปรียบเทยี บการใช้แบบภายใน เปน็ การเปรยี บเทียบกับข้อมลู ในอดตี ว่าโดยรวมแลว้ องคก์ รใช้พลงั งานมากขน้ึ น้อยลง หรือเทา่ เดิม เม่ือเทยี บทีก่ าลงั การผลติ เดยี วกนั  เปรยี บเทียบกับโรงงานอ่นื ทมี่ ขี นาดเทา่ กนั มีกระบวนการผลติ คล้ายกัน การเปรยี บเทยี บ มกั ทาไดย้ ากเพราะไมส่ ามารถหาขอ้ มูลหรือโรงงานท่ีเหมอื นกันได้ II. การประเมนิ ระดับประเภทสินคา้ องค์กรสว่ นใหญ่ต้องการข้อมูลระดบั สนิ ค้าเพ่ือใช้ในการคานวณต้นทนุ การจะคานวณข้อมลู ดังกล่าวสามารถทาได้ 2 วธิ ี ได้แก่  ระบบไฟฟา้ /เชื้อเพลิงของกระบวนการผลิตจัดทาไว้ดี กล่าวคือ แยกระบบสอดคล้องกับ กระบวนการผลิตแต่ละผลิตภัณฑ์ ไมม่ ีการเชือ่ มต่อสายไฟฟ้าหรือท่อทางแบบ “ชัว่ คราว อย่างถาวร” ทาใหส้ ามารถใช้อุปกรณ์ประเภท Data Logger เก็บขอ้ มลู แบบ Real Time ทงั้ พลังงานและ Throughput เม่ือได้ข้อมูลแลว้ กจ็ ะคานวณดชั นี พลงั งาน/ชิ้น ได้งา่ ย  ระบบไฟฟ้า/เชอ้ื เพลิงไมเ่ ป็นระบบเท่าท่ีควร จาเปน็ ตอ้ งใชข้ ้อมลู สัดส่วนการใชพ้ ลังงาน ของแต่ละอุปกรณใ์ นสายการผลิตมาประกอบการคานวณ ในกรณนี ี้ ย่อมมีความ คลาดเคลอื่ น อกี ทง้ั สดั สว่ นทีใ่ ชใ้ นการ “กระจายค่าใชจ้ ่าย” กม็ ักจะเปน็ ค่าคงท่ีช่วงระยะ เวลานาน ๆ ค่าพลังงานทไ่ี ดจ้ งึ ไมส่ มจริง 32

หลักสตู ร การบรหิ ารจัดการพลังงานไฟฟ้า การพลงั งานความ III. การประเมนิ ระดับอุปกรณ์ เป็นการประเมินประสิทธิภาพของอุปกรณ์แต่ละช้ิน เรียกว่า Benchmarking ต้องมีการเก็บ ข้อมูลท่ีพอเพียง มีการวางแผนการเก็บข้อมูลเพ่ือใช้ในการคานวณ Specific Energy Consumption (SEC) ที่ เหมาะสม ปัญหาในประเทศไทยในปัจจุบัน คือ การขาดข้อมูลท่ีจะใช้ในการเปรียบเทียบท้ังระดับ อุตสาหกรรมและระดับอุปกรณ์ ในบางกรณีจึงจาเป็นต้องเทียบกับข้อมูลจากต่างประเทศ ซ่ึงมีความแตกต่างในหลาย ๆ ด้าน เช่น ภูมอิ ากาศ (สง่ ผลต่อคา่ พลังงานที่ใช้ในการให้ความอบอ่นุ ในโรงงาน) เป็นต้น กรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน ตระหนักในอุปสรรคนี้และกาลังเร่งดาเนินการจัดทาฐานข้อมูลซ่ึงจะเป็น ประโยชน์ตอ่ ผปู้ ระกอบการ 2.1.5.1 การวเิ คราะห์กระบวนการผลิต ก. Value Stream Mapping การปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการผลิตโดยใช้หลักการ “LEAN” ซึ่งคิดค้นโดย Toyota ประเทศญ่ีปุ่น เป็นการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองเพื่อให้ได้กระบวนการผลิตท่ีสมบูรณ์ท่ีสุด โดยการกาจัดจุดต่าง ๆ ใน กระบวนการผลติ ที่ทาให้เกดิ การสญู เสีย การนาหลกั การ Lean มาใชม้ ดี ้วยกนั 5 ขัน้ ตอน ได้แก่  กาหนดผู้ทจ่ี ะชว่ ยผลกั ดนั การเปลี่ยนแปลง  กาหนดผู้ทส่ี ามารถถ่ายทอดความรู้เกย่ี วกับ L e a n แก่ผู้ทจ่ี ะผลกั ดัน  กุมสภาวะวิกฤตในองคก์ รเพื่อใช้เป็นแรงกระตุ้นให้เกิดการเปลีย่ นแปลง  สรา้ ง Map ของกระบวนการผลิต (Value Stream Map) ของสนิ ค้า จากท่ารบั /ส่ง ถึง ทา่ รับ/สง่  เลอื กจุดทมี่ คี วามสาคัญและลงมือกาจัดของเสีย (Waste) ทันทีเพอ่ื ให้เกิดผลทางจติ ใจสูงสุด ขั้นตอนการสร้าง Value Stream Map เป็นขั้นที่สาคัญที่สุด หากแต่เป็นข้ันตอนท่ีมักได้รับการ ละเลยมากที่สุด เน่ืองจากการจะทา Value Stream Map ให้สมบูรณ์นั้นทาได้ยากมาก ในคู่มือฉบับนี้ จะไม่พูดถึง รายละเอียดการสรา้ ง Value Stream Map หากแตจ่ ะแสดงให้เห็นความสมั พันธก์ ับพลงั งาน Jeffrey K. Liker ได้แสดงตัวอย่างของผลการนา Lean มาใช้ในกระบวนการผลิตเสาอากาศท่ี บรษิ ัท Will -Burt รฐั Ohio ประเทศสหรัฐอเมริกา (รปู ที่ 2.9) และสรปุ ข้อมูลกอ่ นและหลังการปรับปรุง ไว้ดงั ต่อไปน้ี  Production Lead Time (dock to dock) ลดจาก 37.8 วนั เหลอื 29.2 วนั  Pr o d u c t io n L e a d T im e ( s a w t o we l d ) ลดจาก 3 . 7 5 วนั เหลือ 0 . 8 วัน  จานวนครั้งที่ต้องขนย้ายโดยรถ F o r k l i f t ลดจาก 1 1 ครง้ั เหลอื 2 ครัง้  ระยะทางทีส่ นิ ค้า (รวมถึง Intermediate) ต้องเดนิ ทาง (dock to dock ต่อเสาอากาศ 1 ช้ิน) ลดจาก 1 , 7 9 2 ฟตุ เหลอื 1 , 0 3 2 ฟุต จะเห็นวา่ ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการผลิตเสาอากาศ 1 ช้ัน (ผลิตสินค้าเท่าเดิม ใช้เวลาลดลง ใช้ไฟฟ้า แสงสว่างลดลง) การใช้ Forklift ลดลง (เชอื้ เพลิงลดลง) ระยะเดนิ ทางลดลง (เช้ือเพลิงลดลง) และลกู ค้าไดส้ นิ ค้าเร็วกว่า กาหนด 33

หลกั สตู ร การบริหารจัดการพลงั งานไฟฟา้ การพลังงานความ การทา Lean Transformation เป็นกระบวนการที่จาเป็นต้องศึกษาและปรับปรุง/เปลี่ยนแปลง กระบวนการผลติ ในแนวคิดหลกั มีผลต่อระดับการใช้พลังงานอย่างเห็นไดช้ ัด รปู ท่ี 2.9 กระบวนการผลติ เสาอากาศก่อนและหลงั การพฒั นาตามแนว LEAN ข. การทา Process Mapping กระบวนการ (Process) เป็นหน่วยย่อยพ้ืนฐานขององค์กร และเป็นหัวใจของการปรับปรุงทุก อย่าง ไม่ว่าจะเป็น พลังงาน, คุณภาพ (Six Sigma หรือ ISO 9001:2000) ส่ิงแวดล้อม (ISO 14001) และเป็น กระบวนการหลักในการพัฒนาระบบการจัดการพลงั งาน ในการประยุกต์ใช้ในระบบการจัดการพลังงาน องค์กรต้องวิเคราะห์กระบวนการผลิต/กิจกรรม ของตน และสร้าง P-Diagram (รปู ที่ 2.10) สาหรับ Process ของตนเอง ขอ้ มูลหลักทต่ี ้องมีใน Diagram ได้แก่ วัตถุดิบ พลังงาน ผลิตภณั ฑ์ สาธารณูปโภค (Utilities) ท่ีใช้ เป็นต้น การทา Process Mapping สามารถแบ่งเป็นข้ันตอนย่อย ได้ดงั ต่อไปนี้ 34

 ขั้นท่ี การพลงั งานความ หลกั สูตร การบรหิ ารจดั การพลังงานไฟฟา้ 1 Input: กาหนดวตั ถุดิบและผลิตภัณฑ์ พลงั งาน Design Parameters วัตถดุ ิบ Output: ความต้องการของผใู้ ช้ Process ผลิตภณั ฑ์ ผลการทางาน  ขน้ั ที่ Noise Factors รูปที่ 2.10 P-Diagram กาหนดกระบวนการผลติ ย่อย 2 1 23 456 Raw Product Material BFW Boiler Steam Air Air Compressed Water Cooling Cooling Compressor Air 10% Tower Water 25% 12% 5 8.2 % 8.8 11% 4% 18% 3% Raw % Product Material 2 1 34 6 รูปท่ี 2.11 แสดงการกาหนดกระบวนการย่อย  ขนั้ ท่ี 3 แต่ละกระบวนการผลติ ยอ่ ย กาหนด Input และ Output เมื่อปฏิบัติถึงขั้นตอนนี้  ขน้ั ที่ 4 สาหรบั แต่ละสาย Input, Output, พลงั งาน และ Waste Stream ใหห้ าขอ้ มูลใหไ้ ด้ มากท่ีสุด ในบางกรณอี าจจาเปน็ ตอ้ งทาสมดลุ มวลสาร (Mass Balance) และ/หรอื สมดลุ พลงั งาน ( E n e r g y B a l a n c e )  ขน้ั ที่ 5 สาหรับพลงั งาน ให้คานวณ รอ้ ยละของการใชพ้ ลงั งานสาหรบั แต่ละกระบวนการ ผลิตย่อยเมอื่ เทยี บกับท้งั โรงงานซ่งึ รวมท้ังท่ีใช้ในระบบสาธารณูปโภค จะไดด้ ังทแี่ สดง ด้านลา่ ง ซ่งึ แสดงวา่ กระบวนการผลิตสามารถแบง่ ได้เปน็ 6 ข้นั ตอนยอ่ ยและระบบ สาธารณูปโภค 3 ระบบ โดยระบบผลิต Compressed Air มกี ารใชพ้ ลังงานคิดเปน็ 25% ของท้ังโรงงาน (สงู สุด) และข้นั ตอนยอ่ ยท่ี 6 ใช้ 3 % ของทั้งโรงงาน (ตา่ สดุ ) 35

หลกั สูตร การบริหารจัดการพลงั งานไฟฟา้ การพลังงานความ  ขั้นท่ี 6 เมอ่ื ทราบระดบั การใช้พลังงานในแตล่ ะขนั้ ตอนของกระบวนการผลติ ให้ เปรียบเทียบระดับการใช้กับค่าที่กาหนดไว้เปน็ เกณฑใ์ นการพจิ ารณา “การใช้พลังงานทม่ี ี นยั สาคัญ” สาเหตุทีจ่ าเปน็ ตอ้ งมเี กณฑ์ดังกล่าวเนอ่ื งจากองค์กรมที รพั ยากร เชน่ บุคลากร เวลา เงินทุน เป็นต้น ที่จากัดจึงจาเป็นท่จี ะม่งุ ให้ความสาคัญกับขนั้ ตอนทีม่ ีการใช้พลงั งาน สงู ๆ ข้ันตอนทมี่ กี ารใชพ้ ลังงานตา่ กวา่ เกณฑ์ดังกล่าวจะถูกหยิบยกขน้ึ มาจดั การเม่อื มี ทรัพยากรเพยี งพอ ตวั อย่างเช่น ในกรณที ีแ่ สดงในข้นั ท่ี 5 หากระดับการใชพ้ ลงั งานท่ใี ช้ ในการตัดสิน คอื มากกวา่ หรือเทา่ กบั รอ้ ยละ 10 แสดงวา่ ข้ันตอนการผลิตที่ 1, 3, 6 และ การผลติ C o o l i n g W a t e r จะไม่ไดร้ บั การพิจารณาในครง้ั น้ี เป็นต้น % Energy Equipment Inventory Consumed Unit Group 1 % Energy Consumed: 35 1 35% 4 18% Electricity Fuel 2 10% 5 9% 1. 1. 6 8% 2. 2. 3 6% 3. 3. 4. 4. 5. 5. .. .. .. Etc. Etc. รูปท่ี 2.12 แนวทางสรปุ อปุ กรณท์ ี่ควรวดั การใชพ้ ลังงานอย่างละเอยี ด  ข้นั ที่ 7 พิจารณาประเภทและจานวนอุปกรณท์ ใี่ ช้พลงั งานในแตล่ ะข้ันตอนย่อยท่ีผ่าน เกณฑน์ ยั สาคญั โดยเร่ิมจากขนั้ ตอนย่อยทใ่ี ช้พลังงานสูงสดุ แบ่งอุปกรณ์ออกเป็น 2 กลมุ่ คอื กลุ่มท่ใี ช้พลังงานไฟฟ้า (เชน่ Ball Mills, Pumps, Air Compressor เปน็ ต้น) และ กลุ่มทใี่ ชเ้ ชอ้ื เพลิง (เชน่ K i l n , B o i l e r เปน็ ต้น) (รปู ที่ 2 . 1 2 ) 36

หลกั สูตร การบรหิ ารจดั การพลังงานไฟฟา้ การพลังงานความ ค. การสรา้ งความสัมพันธ์ สาหรับอุปกรณ์แต่ละรายการที่สรปุ ได้ในขน้ั ท่ี 7 ของการสรา้ ง Process Map ใหห้ าตวั แปร (Driver) ทก่ี าหนดปรมิ าณพลงั งานท่ตี อ้ งใช้ ตัวอยา่ งเช่น ปริมาณเชื้อเพลงิ ท่ใี ชใ้ น Boiler ทมี่ ีการควบคมุ ค่าความดนั และอุณหภมู ถิ กู กาหนดโดยปริมาณไอน้าทผ่ี ลิต เป็นต้น เม่อื กาหนดตัวแปรแล้ว ในกรณีที่มขี อ้ มูลในอดีตระหว่างค่าตัว แปรกับปรมิ าณพลงั งานที่ใช้ ใหส้ ร้างแผนภูมิแบบจุดเพื่อดูลกั ษณะความสัมพันธ์นั้น แผนภูมิที่ไดส้ ามารถบอกแนว ทางการกาหนดมาตรการอนุรักษพ์ ลังงานในเบอ้ื งตน้ กล่าวคือ  ความชันของเส้นที่ได้จากการทา Linear/Nonlinear Regression แสดงถงึ ประสิทธิภาพ ของอปุ กรณ์ท่ีวเิ คราะห์  การกระจายของจุดที่ไดแ้ สดงความสามารถในการควบคุมการทางาน  จดุ ตัดแกนตั้งแสดงค่าพลังงานที่ใช้ที่ไม่เก่ียวกบั ตัวแปร หรอื แสดงปรมิ าณ W a st e หรอื แสดงปรมิ าณท่ีใช้ชว่ ง S t a r t Up โดยทว่ั ไป แผนภูมิที่ไดจ้ ากการสร้างความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งตวั แปรกบั ค่าพลงั งานทใ่ี ชส้ ามารถมี ไดท้ ้ังสน้ิ 8 รปู แบบ ได้แก่  รูปแบบท่ี 1 สามารถสร้างเสน้ ตรงทม่ี คี วามชันและจดุ ตดั ผ่านแกนต้ัง  รูปแบบท่ี 2 สามารถสรา้ งเส้นตรงทีม่ คี วามชัน ตดั ผ่านจดุ ( 0 , 0 ) 37


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook