Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ยุทธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย

ยุทธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย

Published by Thalanglibrary, 2021-06-21 04:23:58

Description: ยุทธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย

Search

Read the Text Version

จดั กจิ กรรมใหผ้ ตู้ อ้ งขงั ไมก่ ลวั ทจ่ี ะแสดงอตั ลกั ษณข์ องตน การเสนอเปดิ โอกาส ใหม้ สี ว่ นรว่ มหาวธิ แี กไ้ ขปญั หาความรนุ แรงทางเพศในเรอื นจำ� รวมถงึ การเสนอ เปดิ โอกาสใหผ้ ตู้ อ้ งขงั ทมี่ คี วามหลากหลายทางเพศใหเ้ ขา้ ถงึ บรกิ ารดา้ นสขุ ภาพ ทีเ่ ก่ียวพันกับเพศสภาพของตน เช่น การเข้าถงึ ผา้ รดั อกของทอม (ประชาไท, 2561)172 ผพู้ กิ าร มีการจดุ ประเด็นใหส้ ังคมใหค้ วามส�ำคัญกับผู้ป่วยคนพิการที่มี ความหลากหลายทางเพศ ซ่ึงมักถูกละเลย ไม่มีท่ียืนในสังคม และถูกเลือก ปฏิบตั ซิ ำ�้ สอง รวมถึงถูกตีตราให้เปน็ ชายขอบซอ้ นชายขอบ เชน่ ถูกตตี ราวา่ คนท่ีเกิดมาเป็นบุคคลท่ีมีความหลากหลายทางเพศเพราะชาติท่ีแล้วลักลูก ลกั เมยี เขา และเกิดเปน็ คนพิการเพราะชาตทิ ่ีแลว้ ไปทำ� รา้ ยคนอน่ื (The 101. world, 2562)173 นอกจากนย้ี งั มกี ารสนใจประเดน็ การสรา้ งทางเลอื กใหผ้ พู้ กิ าร กลมุ่ ทม่ี คี วามหลากหลายทางเพศสามารถเขา้ ถงึ ชวี ติ ทางเพศได้ เชน่ การพฒั นา แอปพลิเคชนั นัดพบคูอ่ อนไลน์ (ประชาไท, 2559)174 9. การรณรงคส์ รา้ งหอ้ งนำ�้ สาธารณะแบบไมแ่ บง่ แยกเพศ ภายหลงั จาก สหรฐั อเมรกิ ารเิ รมิ่ การสรา้ งหอ้ งนำ้� สาธารณะเพอ่ื ความเทา่ เทยี ม ในไทยจงึ เรม่ิ มีการรณรงค์ล่ารายชื่อให้ออกแบบ/สร้างห้องน้�ำสาธารณะเพ่ือทุกคน (All Gender Toilet) ตามจุดต่างๆ เช่น ตามห้างสรรพสินค้า เพ่ือให้สามารถ 172 ทีมข่าวประชาไท, คุกไทยไม่ได้มีแค่ชาย–หญิง ‘LGBT’ อคติและการเลือกปฏิบัติหลัง ลกู กรง, 3 มนี าคม 2561, สบื คน้ เมอื่ 23 กมุ ภาพนั ธ์ 2563, จาก prachatai.com/journal/2018/10/78971 173 Wajana Wanlayangkoon, ผู้พิการ LGBT ชายขอบแห่งขอบของความแปลกแยก, 16 เมษายน 2562 สบื ค้นเมือ่ 23 กมุ ภาพันธ์ 2563, จาก www.the101.world/disabled–lgbt/ 174 ทมี ขา่ วประชาไท, แอป Grindr สรา้ งทางเลอื กเกยค์ นพกิ ารเขา้ ถงึ ชวี ติ ทางเพศ, 27 ธนั วาคม 2559, สืบคน้ เมอื่ 23 กุมภาพันธ์ 2563, จาก prachatai.com/journal/2016/12/69411 117 ยทุ ธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย 

คลายปัญหาความเป็นส่วนตัว ลดความเหลื่อมล้�ำในสังคมไทย และสร้าง ความเท่าเทียมทางเพศ (ประชาไท, 2562)175 10. การสร้างความตระหนักในอันตรายจากการใช้ยาเสพติดระหว่าง มีเพศสัมพันธ์ มีการจุดประเด็นเตือนอันตรายจากการใช้สารเสพติดระหว่าง การปาร์ต้ีร่วมเพศ เช่น ยาป๊อปเปอร์ หรือสารเอมิลไนไตรท์ ซ่ึงมีสรรพคุณ ท่ีสูดดมแล้วท�ำให้เลือดสูบฉีดเป็นระยะเวลาสั้นๆ ท�ำให้เกิดอาการลอย กลา้ มเนอ้ื คลายตวั ลดอาการเจบ็ ปวดจากการรว่ มเพศทางทวารหนกั และเปน็ ที่นิยมในกลุ่มหลากหลายทางเพศ แต่อาจส่งผลกระทบในทางลบต่อร่างกาย ได้ (The 101.world, 2560)176 11. การคิดค้นนวัตกรรมสุขภาพทางเพศส�ำหรับกลุ่มหลากหลายทาง เพศ วาระประเดน็ สำ� คญั ในปี พ.ศ. 2562 ทผี่ า่ นมา คอื การสง่ เสรมิ การคดิ คน้ นวตั กรรมตา่ งสขุ ภาพทางเพศตา่ งๆ ใหแ้ กก่ ลมุ่ บคุ คลทม่ี คี วามหลากหลายทาง เพศ อาทิ การทดลองผลิตถุงยางอนามยั ที่สามารถเปลีย่ นเฉดสีและเรืองแสง ไดใ้ นความมดื เมอื่ สมั ผสั กบั โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธท์ วั่ ไป (STD) การทดลอง ยาคมุ กำ� เนดิ สำ� หรบั ผชู้ าย ปลกู ถา่ ยอณั ฑะใหช้ ายขา้ มเพศ การทดลองผลติ วคั ซนี ต่อต้านเช้ือเอชไอวี การเปิดตัวธนาคารสเปิร์มส�ำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวีรวมถึง การออกแบบชุดวงแหวนซิลิโคนเพื่อลดแรงกระแทกต่อปากมดลูกและเนื้อเยื่อ ของกลา้ มเนอ้ื ระหวา่ งมเี พศสมั พนั ธส์ ำ� หรบั ผหู้ ญงิ เปน็ ตน้ (Spectrum, 2563)177 175 ทีมข่าวประชาไท, Tai Pride 2019 กิจกรรมที่ภูมิใจในความหลากหลาย หวังขจัดการ เลือกปฏิบัติ, 12 ธันวาคม 2562, สืบค้นเมื่อ 23 กุมภาพันธ์ 2563, จาก prachatai.com/journal/ 2019/12/85509 176 Theppitak Maneepong, สขุ ดารค์ จากยาเสพตดิ : ความสขุ ทตี่ อ้ งเสยี่ ง, 27 มนี าคม 2562, สบื คน้ เมอื่ 23 กมุ ภาพนั ธ์ 2563, จาก www.the101.world/dark–happiness–from–drug–addiction/ 177 นภัสชล บุญธรรม, นวัตกรรมสุขภาพทางเพศ 2019, 14 กุมภาพันธ์ 2563, สืบค้นเมื่อ 23 กมุ ภาพนั ธ์ 2563, จาก spectrumth.com/2020/01/09/นวัตกรรมสขุ ภาพทางเพศ–2019/ 118  ยทุ ธศาสตรส์ ุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย 

12. การปรบั ปรงุ การใหบ้ รกิ ารของสถานพยาบาลและการตง้ั ศนู ยส์ ขุ ภาพ สำ� หรบั บคุ คลขา้ มเพศ ด้วยเหตผุ ลเพื่อแกไ้ ขปัญหาโรคติดตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์ และเพ่ือรณรงค์ให้กลุ่มบุคคลท่ีมีความหลากหลายทางเพศใช้บริการสถาน พยาบาลมากขนึ้ จงึ มขี อ้ เสนอใหป้ รบั ปรงุ การใหบ้ รกิ ารของสถานพยาบาลทวั่ ไป ให้เป็นมิตรต่อกลุ่มบุคคลท่ีมีความหลากหลายทางเพศ โดยเจ้าหน้าท่ีต้อง ไม่เลือกปฏิบัติต่อคนทุกกลุ่ม เพื่อให้คนเหล่านี้เข้าถึงบริการด้านสุขภาพ มีสุขภาพทางเพศที่ดี และเข้าถึงยารักษาโรคได้ ท้ังนี้ยังมีองค์กรอิสระได้ตั้ง ศนู ยส์ ขุ ภาพสำ� หรบั คนขา้ มเพศไวเ้ ปน็ ตน้ แบบทส่ี รา้ งความเปน็ มติ ร สรา้ งความ รสู้ กึ ปลอดภัยและสบายใจ ใหแ้ ก่คนข้ามเพศทเี่ ขา้ มาใช้บรกิ ารโดยไมถ่ ูกเลอื ก ปฏบิ ตั ิ (ThaiPBS, 2558)178 13. การสรา้ งพน้ื ทบ่ี นั เทงิ และชมุ ชนทป่ี ลอดภยั สำ� หรบั กลมุ่ หญงิ รกั หญงิ เนื่องจากท่ีผ่านมา กลมุ่ หญิงรกั หญิงมกั ถูกมองขา้ มและไมม่ ีพนื้ ทแ่ี สดงออกที่ ปลอดภยั จงึ มกี ารรณรงคส์ ง่ เสรมิ ใหม้ พี นื้ ทปี่ ลอดภยั และเออ้ื ตอ่ การใชช้ วี ติ ของ กลุ่มหญิงรักหญิง ให้สามารถเข้ามาพบปะพูดคุย พักผ่อนหย่อนใจ รวมถึง ปลดปลอ่ ยจินตนาการได้ โดยสามารถเขา้ ถงึ ไดท้ ัง้ ออนไลนแ์ ละออฟไลน์ เชน่ เว็บบอร์ดในโลกออนไลน์ พื้นที่วรรณกรรมหรือพ้ืนท่ีการอ่านและการเขียน รวมถงึ พน้ื ท่คี าเฟส่ �ำหรับพบปะในโลกออฟไลน์ (Spectrum, 2563)179 178 ทมี ขา่ วสงั คม, ศนู ยส์ ขุ ภาพคนขา้ มเพศ “แทนเจอรนี ” อกี ทางเลอื กชว่ ยลดอตั ราโรคตดิ ตอ่ ทางเพศสัมพันธ์, 1 ธันวาคม 2558, สืบค้นเม่ือ 23 กุมภาพันธ์ 2563, จาก news.thaipbs.or.th/ content/6439 179 ดาราณี ทองศริ ,ิ สำ� รวจพน้ื ทปี่ ลอดภยั ของหญงิ รกั หญงิ ผา่ นเวบ็ บอรด์ เลสลา่ สำ� นกั พมิ พ์ สะพาน และคาเฟ่ THE KLOSET, 14 มกราคม 2563, สืบค้นเมื่อ 23 กุมภาพันธ์ 2563, จาก spectrumth.com/2020/01/14/ส�ำรวจพ้นื ทีป่ ลอดภัยของ/ 119 ยุทธศาสตรส์ ุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย 

14. การรณรงค์ยุติความรุนแรงต่อกลุ่มบุคคลท่ีมีความหลากหลาย ทางเพศ ทผ่ี า่ นมา มกี ารรณรงคใ์ หย้ ตุ ลิ อ้ เลยี น การกลนั่ แกลง้ การบลู ลน่ี กั เรยี น ข้ามเพศในโรงเรียน ท้ังจากเพื่อนและจากครูผู้สอน เพ่ือมิให้เด็กเกิด ประสบการณ์ความทรงจ�ำท่ีเจ็บปวดจนไม่เกิดทัศนคติแง่ลบในตนเอง (บีบีซี ไทย, 2561)180 ในขณะเดียวกันก็มีการจุดกระแสตีแผ่การใช้ความรุนแรงใน ค่ายทหาร เช่น การซ้อม/การท�ำร้ายร่างกายชายรักชายท่ีเป็นทหารเกณฑ์ (ไทยรฐั , 2562)181 รวมถึงการแซว การคกุ คาม การลว่ งละเมดิ ทางเพศกลุ่ม บุคคลทีม่ คี วามหลากหลายทางเพศ (โพสตท์ เู ดย,์ 2559)182 15. การรณรงคล์ ดการลอ้ เลยี นกลมุ่ บคุ คลทม่ี คี วามหลากหลายทางเพศ มีการต้ังประเด็นวิพากษ์วิจารณ์ว่า การล้อเลียนคู่รักเกย์และความสัมพันธ์ ระหวา่ งชายรกั ชายดว้ ยค�ำประเภท ระเบิดถงั ขี้ สายเหลือง ขุดทอง ฟักทอง บด ฯลฯ เพยี งเพราะมองว่าเป็นกลมุ่ เพศวถิ ีทมี่ กั มีเพศสมั พันธ์ทางทวารหนัก เป็นการทอนลดคุณค่าความเป็นมนุษย์และเพศวิถีของเกย์ให้เท่ากับอุจจาระ นอกจากนี้ ยังเป็นการมองคนรกั เพศเดียวกันเปน็ ตวั ประหลาด เร่ืองตลกทีจ่ ะ ตอ้ งเอามาล้อเลียน (The Matter, 2562)183 180 บบี ซี ไี ทย. บลู ล:่ี ประสบการณท์ เ่ี ลวรา้ ยในหอ้ งเรยี นของคนขา้ มเพศ, 7 พฤศจกิ ายน 2561, สบื ค้นเม่อื 23 กุมภาพนั ธ์ 2563, จาก www.bbc.com/thai/features–46107153 181 ทีมข่าวบันเทิง, ทหารซ่อมชายรักชายมีจริง! มะเดี่ยว จ�ำฝังใจ, 8 พฤศจิกายน 2562, สบื ค้นเมือ่ 23 กมุ ภาพันธ์ 2563, จาก www.thairath.co.th/entertain/news/1698658 182 อนิ ทรชยั พาณชิ กลุ , ไขขอ้ สงสยั ทคี่ นไมค่ อ่ ยรู้ “เมอื่ กะเทยตอ้ งไปเกณฑท์ หาร, 31 มนี าคม 2559, สบื คน้ เมื่อ 23 กมุ ภาพนั ธ์ 2563, จาก www.posttoday.com/politic/report/424568 183 Yodhong, Chanan, “มนต์รักฟักทองบด” ว่าด้วยสามัญส�ำนึก อารมณ์ขัน และการ พดู ถึง LGBTQ, 15 มกราคม 2563, สืบค้นเม่อื 23 กุมภาพนั ธ์ 2563, จาก thematter.co/thinkers/ homophobia–with–in–words/68832 120  ยทุ ธศาสตรส์ ุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย 

16. การแกไ้ ขทศั นคตวิ า่ ความเปน็ เกยส์ ามารถบำ� บดั รกั ษาได้ มกี ารจดุ วาระประเด็นต่อต้านการบ�ำบัดแก้เกย์ ว่าเป็นสิ่งท่ีไร้มนุษยธรรม เป็นส่ิงที่ คุกคามศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ (Spectrum, 2562)184 อีกท้ังมีการเสนอ ผลการวิจัย เพ่ือชี้ว่าไม่มีหน่วยพันธุกรรมใดโดยเฉพาะซึ่งท�ำหน้าที่ก�ำหนดให้ มนษุ ยม์ พี ฤตกิ รรมรกั เพศเดยี วกนั ผลวจิ ยั นถี้ กู นำ� มาใชส้ นบั สนนุ จดุ ยนื ทางสทิ ธิ มนษุ ยชนทวี่ า่ พฤตกิ รรมรกั เพศเดยี วกนั เปน็ เรอื่ งธรรมชาติ และไมค่ วรพยายาม คิดค้นวิธีรักษาหรือแก้ไขความเป็นเกย์ เนื่องจากจะไม่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใด ทั้งสนิ้ (บบี ซี ไี ทย, 2562)185 17. การรณรงค์ยตุ ิการรังเกียจบุคคลรักเพศเดียวกัน (Homophobia) อคติ การตีตรา และการเลือกปฏิบัติต่อกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทาง เพศ ทผี่ า่ นมามกี ารตแี ผป่ ญั หาการรงั เกยี จบคุ คลรกั เพศเดยี วกนั (Homopho- bia) เพอ่ื เรยี กรอ้ งใหย้ ตุ ิ อาทิ การตตี ราโดยรฐั วา่ กลมุ่ หลากหลายทางเพศเปน็ โรคจิตถาวร/มีพฤติกรรมเบ่ียงเบนทางเพศ ความเชื่อว่าการเป็นเกย์สามารถ แกไ้ ขบำ� บดั รกั ษาได้ รวมถงึ ความคดิ ทว่ี า่ ปรากฎการณเ์ ชงิ นเิ วศสมั พนั ธก์ บั เพศ ทผี่ ดิ เพยี้ น (Transxenoestrogenesis) ตลอดจนการทำ� ใหก้ ลมุ่ บคุ คลทม่ี คี วาม หลากหลายทางเพศเป็นตวั ตลก การสร้างภาพเหมารวมวา่ ทอมทกุ คนเป็นคน อ้วน การผูกติดภาพกลุ่มชายรักชายว่าเป็นผู้มีความเสี่ยงต่อเชื้อเอชไอวีและ เอดส์ รวมถึงแนวคดิ อ่ืนๆ ที่น�ำปสคู่ วามรุนแรง เชน่ แนวคดิ เรอ่ื งการแก้ทอม ซ่อมดี้ 184 ทีมข่าวท่ัวไป, “เพศไหนก็ไม่ใช่โรค ไม่ต้องมารักษา” ปวยร์โตรีโกยกเลิก “กฎหมายการ แกบ้ ำ� บัดเกย”์ ในผูเ้ ยาว์ เพอื่ สนบั สนุนสิทธขิ องเด็กๆ, 19 กรกฎาคม 2562, สืบค้นเมอ่ื 23 กมุ ภาพนั ธ์ 2563, จาก spectrumth.com/2019/07/19/เพศไหนก็ไม่ใชโ่ รค– 185 หทยั กาญจน์ ตรสี วุ รรณ, LGBT: วจิ ยั ชไี้ มพ่ บ “ยนี เกย”์ หนว่ ยพนั ธกุ รรมเฉพาะทที่ ำ� ใหร้ กั เพศเดียวกัน, 31 สิงหาคม 2562, สืบค้นเม่ือ 23 กุมภาพันธ์ 2563, จาก www.bbc.com/thai/ features–49523329 121 ยทุ ธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย 

ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา เริ่มมีการต้ังค�ำถามต่อบทบาทของสถาบัน ทางสงั คมตา่ งๆ ในการเคารพความหลากหลายทางเพศ โดยเฉพาะในสถาบนั ครอบครัว เริ่มมีการรณรงค์ไม่ให้ผู้ปกครองเห็นว่าความหลากหลายทางเพศ ของบุตรหลานเป็นพฤติกรรมเบี่ยงเบน ดังกรณีการวิพากษ์วิจารณ์การจัด บรรยายหวั ขอ้ “เลย้ี งลกู อยา่ งไร ไมใ่ หเ้ บยี่ งเบน” ของสมาคมผปู้ กครองโรงเรยี น กรงุ เทพครสิ เตยี นวทิ ยาลยั (ThaiPBS, 2561)186 รวมถงึ มวี าระประเดน็ ทสี่ รา้ ง ความตระหนกั วา่ การปดิ กนั้ ความหลากหลายทางเพศในครอบครวั อาจน�ำไป ส่กู ารท�ำร้ายรา่ งกาย ด่าทอ ประจาน ไลอ่ อกจากบ้าน ตัดเย่อื ใย และสรา้ ง ประสบการณ์ที่เจ็บปวดให้แก่วัยเด็ก เกิดทัศนคติในแง่ลบต่อตนเอง (The Matter, 2561)187 เชน่ เดยี วกนั เรม่ิ มกี ารตแี ผป่ ญั หาการตตี รารงั เกยี จผมู้ คี วามหลากหลาย ทางเพศในสถาบันการศึกษา ไม่อนุญาตให้ครูแสดงเพศสภาพของตนเองได้ หรอื กระทงั่ ปฏเิ สธไมร่ บั ครขู า้ มเพศเขา้ ทำ� งาน ดงั กรณอี าจารยย์ น่ื ฟอ้ งและรอ้ ง เรียนมหาวิทยาลัยต้นสังกัด ท่ีไม่บรรจุเป็นอาจารย์ประจ�ำในคณะด้วยเหตุท่ี เข้าใจได้วา่ เกิดจากอคตทิ างเพศ (The Standard, 2560)188 หรือกรณที ค่ี รู ขา้ มเพศรอ้ งเรยี นวา่ ถกู เลอื กปฏบิ ตั ใิ นสถานศกึ ษา (คม ชดั ลกึ , 2562)189 หรอื 186 ทีมข่าวสังคม, กรุงเทพคริสเตียน แถลงขอโทษจัดสัมมนา “เล้ียงลูกไม่ให้เบี่ยงเบน, 31 สิงหาคม 2561. สืบคน้ เม่ือ 23 กุมภาพนั ธ์ 2563, จาก news.thaipbs.or.th/content/274321 187 Yodhong, Chanan, คลิปเหยียดกะเทยของ ‘เจ เจตริน–เจ้าขุน’ กับปัญหาของ LGBT ในสถาบันครอบครัวและวงการบันเทิง, 5 มิถุนายน 2561, สืบค้นเม่ือ 23 กุมภาพันธ์ 2563, จาก https://thematter.co/thinkers/lgbt–issues/52348 188 วไิ ลรัตน์ เอมเอ่ยี ม, “แคเ่ ห็นรปู ไมต่ รงกับเพศในใบสมัคร…ก็ไมเ่ อาแล้ว” เสยี งจาก ‘เคท ครงั้ พบิ ลู ย’์ สเู้ พอื่ สทิ ธิ LGBT, 17 สงิ หาคม 2560, สบื คน้ เมอ่ื 23 กมุ ภาพนั ธ์ 2563, จาก thestandard. co/lgbt–right/ 189 คม ชดั ลกึ , ถกู เลอื กปฏบิ ตั ิ รอ้ งกสม.ชว่ ยครขู า้ มเพศบรุ รี มั ย,์ 22 กรกฎาคม 2562, สบื คน้ เมื่อ 23 กุมภาพนั ธ์ 2563, จาก www.komchadluek.net/news/regional/380605 122  ยุทธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย 

กรณีวิพากษ์วิจารณ์อาจารย์ที่ต�ำหนินิสิตท่ีมีความหลากหลายทางเพศว่าเป็น ผู้มีปญั หาทางจิต (The Momentum, 2562)190 ในขณะเดียวกันก็เริ่มมีการตระหนักถึงปัญหาการยอมรับความ หลากหลายทางเพศในสถาบนั ทางศาสนา ดงั กรณวี พิ ากษว์ จิ ารณส์ มาคมครสิ ต์ ทล่ี า่ รายชอ่ื คดั คา้ นพระราชบญั ญตั คิ ชู่ วี ติ วา่ ผดิ หลกั ศาสนา (The Momentum, 2562)191 ในขณะเดยี วกนั กเ็ รมิ่ มกี ารจดุ ประเดน็ ตวั ตนทางเพศทถี่ กู ปดิ กนั้ ของ กลุ่มผู้นับถือศาสนาอิลามในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่มีหลักค�ำสอนว่า การมีความสัมพันธ์ทางเพศกับผู้ชายด้วยกันเอง เป็นการกระท�ำที่เลวทราม ผิดธรรมชาติ (The Matter, 2561)192 18. การบำ� บดั ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ดา้ นสขุ ภาพจติ แกก่ ลมุ่ บคุ คลทม่ี คี วาม หลากหลายทางเพศ ท่ีผ่านมามีความตระหนักถึงปัญหาสุขภาพจิตในกลุ่ม บุคคลท่ีมีความหลากหลายทางเพศ และพยายามบ�ำบัดให้ความช่วยเหลือ สำ� หรบั ปญั หาดา้ นสขุ ภาพจติ ในกลมุ่ บคุ คลทมี่ คี วามหลากหลายทางเพศมกั เปน็ ปัญหาเกี่ยวกับภาวะซึมเศรา้ ความรู้สึกโดดเด่ียว ความร้สู ึกแปลกแยก ความ รู้สึกไม่เห็นคุณค่าในตัวเอง ความรู้สึกหวาดกลัวท่ีจะเปิดเผยรสนิยมทางเพศ ของตน การมีทศั นคตใิ นแง่ลบตอ่ ตนเอง รู้สกึ ว่าถูกแบ่งแยกเนอื่ งจากรสนยิ ม ทางเพศหรอื อตั ลกั ษณท์ างเพศ ขาดการยอมรบั จากสงั คม ไมไ่ ดร้ บั การยอมรบั จากครอบครัว หรือการมีบาดแผลหรือประสบการณ์จากวัยเด็กท่ีเจ็บปวด ตลอดจนต้องรู้สึกอึดอัดทรมาน เผชิญกับประสบการณ์เลวร้ายหลังเปิดเผย 190 ณัฐ วิไลลักษณ์, เมืองไทยกบั ความย้อนแย้งเรอ่ื งเพศวถิ ี ในต้นปี 2019, 19 กมุ ภาพันธ์ 2562, สืบค้นเม่ือ 23 กุมภาพันธ์ 2563, จาก themomentum.co/thailand–gender–sexuality– understanding/ 191 เร่อื งเดียวกัน 192 Kosem, Samak, ปอแน: ความเป็นมุสลิมกับการเป็นเกย์ในสามจังหวัดภาคใต้, 5 กมุ ภาพนั ธ์ 2561, สบื คน้ เมอื่ 23 กมุ ภาพนั ธ์ 2563, จาก thematter.co/thinkers/queer–muslim/45069 123 ยุทธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย 

รสนยิ มทางเพศของตนใหผ้ อู้ น่ื รบั รู้ (Come Out) (The Momentum, 2562; The 101 World, 2562)193, 194 19. การขับเคลื่อนสิทธิทางกฎหมายของกลุ่มผู้มีความหลากหลาย ทางเพศ ทผ่ี ่านมาความตระหนักในความหลากหลายทางเพศ ได้นำ� ไปสู่การ ขับเคลอื่ นสทิ ธิทางกฎหมายต่างๆ ไดแ้ ก่ การเสนอรา่ งพระราชบญั ญตั ิคชู่ วี ิต เพอื่ ใหก้ ลมุ่ บคุ คลทมี่ คี วามหลากหลายทางเพศมสี ทิ ธกิ ารแตง่ งาน จดทะเบยี น สมรส ใช้ชีวิตคู่ และเล้ียงดูบุตร เท่าเทียมกับคู่รักต่างเพศ นอกจากน้ียังมี การเสนอร่างพระราชบัญญัติรับรองสิทธิบุคคลท่ีแปลงเพศ มีการรับรองสิทธิ การใช้ค�ำน�ำหน้าตามกฎหมายของกลุ่มผู้มีเพศก�ำกวมต้ังแต่ก�ำเนิดตาม พระราชบญั ญตั คิ ำ� นำ� หนา้ นาม อกี ทงั้ ยงั มกี ารรบั รองพระราชบญั ญตั คิ วามเทา่ เทยี ม ระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 อันเป็นกฎหมายป้องกันการเลือกปฏิบัติด้วยเหตุ แห่งเพศ ตลอดจนมีความพยายามเสนอให้มีคณะกรรมาธิการบุคคลท่ีมี ความหลากหลายทางเพศ นอกจากนี้ยังมีวาระการขับเคล่ือนและสร้างความตระหนักให้แก่สิทธิ ทางสังคมอน่ื ๆ ของกลมุ่ ผู้มคี วามหลากหลายทางเพศอีกด้วย อาทิ การเรียก ร้องเกณฑ์ทหารที่ไม่ละเมิดสิทธิคนข้ามเพศ การเรียกร้องสิทธิการแต่งกาย ตามเพศสภาพ เปน็ ตน้ 193 พรพิมพ์ แซ่ล้ิม, ซึมเศร้า เหงา สิ้นหวัง หมดไฟ ภาวะทางอารมณ์ของคนรุ่นมิลเลน- เนียลส์ในปี 2019, 31 ธันวาคม 2562, สืบค้นเมื่อ 23 กุมภาพันธ์ 2563, จาก themomentum.co/ millennials–mental–health–2019/ 194 Suphawan Kongsuwan, หนจี ากชายขอบเพอื่ ปะทะกบั ความไมเ่ ขา้ ใจ: สขุ ภาพจติ –เพศ ในปี 2019, 26 ธนั วาคม 2562, สืบคน้ เม่อื 23 กมุ ภาพนั ธ์ 2563, จาก www.the101.world/what–a– year–gender–mental–health/ 124  ยทุ ธศาสตรส์ ุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย 

จากสถานการณป์ ญั หาดา้ นตา่ งๆ ทกี่ ลมุ่ บคุ คลทม่ี คี วามหลากหลายทาง เพศเผชิญ ส่งผลให้พวกเขาเป็นบุคคลอีกกลุ่มหน่ึงซ่ึงไม่ได้รับความเป็นธรรม ทางดา้ นสุขภาพ อันเป็นผลเนอื่ งมาจากความเหลื่อมล�้ำทางสงั คม หรอื ปจั จัย สังคมก�ำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health) อย่างชัดเจน ขณะเดยี วกนั การขาดการรวบรวมขอ้ มลู และวเิ คราะหถ์ งึ ชอ่ งวา่ งในการทำ� งาน ของเครือขา่ ยองคก์ ร และกลุ่มบคุ คลทที่ �ำงานในประเด็นเพื่อสิทธแิ ละสขุ ภาพ ของบุคคลท่ีมีความหลากหลายทางเพศภายในประเทศ ซึ่งมีความแตกต่าง หลากหลายซับซ้อน ต้ังแต่อัตลักษณ์ทางเพศท่ีแตกต่างกันของคนท�ำงาน แนวคิดในเร่อื งเพศสภาพ เพศวถิ ี ความเชยี่ วชาญในประเดน็ ทที่ ำ� งาน การให้ ความสำ� คญั เฉพาะกบั ปญั หาทก่ี ลมุ่ อตั ลกั ษณข์ องตนเองเผชญิ หรอื การทำ� งาน ภายใต้กรอบนโยบายทแ่ี หลง่ ทุนกำ� หนดมา ท�ำให้มีความจำ� เปน็ อย่างย่งิ ทีค่ วร มีการจัดท�ำยุทธศาสตร์การท�ำงานในประเด็น LGBTIQN ของประเทศไทย โดยเปิดโอกาสให้ผู้ที่เก่ียวข้องทุกภาคส่วนได้มีส่วนร่วมในกระบวนการแสดง ความคิดเห็น แลกเปลี่ยนประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ในการขับเคล่ือน และพัฒนางานด้านสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตของกลุ่มบุคคลที่มีความ หลากหลายทางเพศไปในทศิ ทางเดียวกันต่อไป 125 ยุทธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย 



3บทท่ี สถานภาพองคค์ วามรู้ สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย ในบทน้ีกล่าวถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสุขภาวะกลุ่ม LGBTIQN+ ใน ประเทศไทย โดยแบ่งเนือ้ หาเปน็ สามยคุ ตามช่วงเวลาและบรบิ ทสงั คมใน ช่วงท่ีทำ�การศึกษา โดยในยุคแรกและยุคที่สอง เป็นงานวิจัยในช่วงทศวรรษ 1950–2010 (พ.ศ. 2493–2553) เป็นการทบทวนจากงานศึกษาของ ปเี ตอร์ เอ แจค็ สนั นฤพนธ์ ด้วงวเิ ศษ และวราภรณ์ แชม่ สนทิ ส่วนยคุ ท่สี ามเป็นงาน วิจยั ในยคุ ปัจจบุ นั โดยเร่ิมที่ พ.ศ. 2553–2563 จากฐานขอ้ มลู งานวจิ ัยของ ประเทศไทย คือ 1) Thai Journals Online (ThaiJO) 2) ThaiLis (Thai Library Integrated System) 3) TNRR (Thai Nation Research Repository) 4) เว็บไซตห์ น่วยงาน องคก์ รตา่ งๆ ทท่ี ำ�งานวิชาการ งานวจิ ัย และกิจกรรมด้านสุขภาวะของผมู้ ีความหลากหลายทางเพศ 127 ยุทธศาสตรส์ ุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย 

องค์ความรดู้ ้านสุขภาวะ LGBTIQN+ พ.ศ. 2493–2563 การวิจัยในยุคแรก: กระบวนทัศนข์ องชีวการแพทย์ เพศศาสตร์ และจติ วิทยา มมี มุ มองวา่ การรักเพศเดียว การข้ามเพศวา่ วปิ รติ ผดิ เพศ และเบ่ียงเบนทางเพศ (ช่วงกลางทศวรรษท่ี 1950 ถึงกลางทศวรรษท่ี 1990) บรบิ ททางสงั คมของประเทศไทยในชว่ งหลงั สงครามโลกครงั้ ท่ี 2 (พ.ศ. 2488) เป็นต้นมา รัฐบาลไทยมีนโยบายเน้นให้ต่างชาติเข้ามาลงทุนท�ำธุรกิจ ในประเทศไทย โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกาได้เข้ามาตั้งกองบัญชาการองค์การ สนธสิ ญั ญาปอ้ งกนั แหง่ เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตเ้ พอื่ ขยายเขตอำ� นาจในภมู ภิ าคนี้ ชว่ งเวลาเดยี วกนั นเ้ี องทภ่ี าพของกะเทยและผชู้ ายทมี่ เี พศสมั พนั ธก์ บั เพศเดยี วกนั ทปี่ รากฎในสื่อ เรม่ิ ถกู อธิบายในมุมที่เป็น “ความผิดปกติ” ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2502 เริม่ มบี ารส์ �ำหรับผู้ชายทช่ี อบผู้ชายเปน็ แห่งแรก ในกรุงเทพฯ และในปี พ.ศ. 2508 สังคมไทยรู้จักค�ำว่า “เกย์” แพทย์ใน ยคุ นัน้ เรยี กผูช้ ายทช่ี อบผูช้ ายด้วยกนั ว่า “ลกั เพศ” สว่ นผู้หญิงทช่ี อบแตง่ ตวั เป็นผู้ชายเรียกว่า “กะเทยเทียม” มุมมองท่ีแพทย์มีต่อบุคคลเหล่าน้ีคือ เป็นพวกท่ีมักจะก่อปัญหาให้กับสังคม มีความรุนแรง จนท�ำให้เกิดคดีบ่อยๆ เป็นอันตรายต่อศีลธรรมอันดีของสังคม ส่วนสาเหตุการเป็น “ลักเพศ” หรือ “กะเทยเทียม” ก็คือการเล้ียงดูที่ผิดในวัยเด็ก รวมถึงสภาพแวดล้อมที่คนรัก เพศเดยี วกนั ตอ้ งมาอยรู่ วมตวั กนั มากๆ และมองวา่ เมอื่ โตขนึ้ พฤตกิ รรมเหลา่ นี้ จะหายไปเอง หรือสามารถรักษาให้หายได้ หากได้รับคำ� แนะนำ� ท่ถี ูกตอ้ งจาก แพทย1์ 95 ทง้ั นอ้ี งคค์ วามรแู้ ละแนวคดิ เชน่ นสี้ ง่ ผลตอ่ ความเกลยี ดกลวั และอคติ ที่สงั คมไทยมีตอ่ พฤติกรรมและบุคคลรักเพศเดียวกนั มาจนถึงปจั จุบนั 195 สุไลพร ชลวิไล, บรรณาธิการ, เพศแห่งสยาม. 128  ยทุ ธศาสตร์สขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย 

จากกระบวนทศั นด์ งั กลา่ ว นำ� ไปสอู่ งคค์ วามรทู้ ส่ี อดคลอ้ งกบั บรบิ ททาง สงั คมในขณะน้ัน โดยในบทน้ไี ด้หยิบยกผลงานของ ปเี ตอร์ เอ แจค็ สัน และ นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ (Professor Peter A. Jackson and Dr. Narupon Duangwises) จากการศกึ ษาเรอื่ ง “Review of Studies of Gender and Sexual Diversity in Thailand in Thai and International Academic Publication” (2017) ซงึ่ ไดท้ บทวนงานวจิ ยั ของไทยและตา่ งประเทศเกย่ี วกบั การรกั เพศเดยี วกนั (Homosexuality) และการขา้ มเพศ (Transgenderism) ในประเทศไทย ทตี่ ีพิมพ์ในวารสารวิชาการ หนังสอื และเป็นรายงานการวจิ ัย ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ระหว่างช่วงปีทศวรรษ 1950 ถึงปีทศวรรษ 2010 รวมทง้ั อา้ งองิ ถงึ การศกึ ษาทสี่ ำ� คญั ทง้ั ของไทยและตา่ งประเทศทท่ี บทวน งานวิจัยเก่ียวกับความหลากหลายทางเพศสภาพและเพศวิถีในประเทศไทย 5 เร่อื ง คือ “Thai Research on Male Homosexuality and Trans- genderism and the Cultural Limits of Foucauldian Analysis” (1997)196 และ “Tolerant but Unaccepting: The Myth of a Thai Gay Paradise” (1999)197 ของ Peter A. Jackson ซ่ึงเป็นการทบทวน งานวิจยั ระหว่างช่วงทศวรรษท่ี 1950 ถงึ ทศวรรษที่ 1990 รวมทั้งการศึกษา ทตี่ พี มิ พเ์ ปน็ ภาษาไทยอกี 3 เรอื่ ง คอื “การศกึ ษาเกยใ์ นสงั คมไทย 5 ทศวรรษ ของการสร้างความรู้” (2555)198 และ “เพศหลากหลายในสังคมไทยกับ 196 Jackson, Peter A., Thai Research on Male Homosexuality and Transgenderism: The Cultural Limits of Foucauldian Analysis, Journal of the History of Sexuality, 8, 1 (1997): pp. 52–85. 197 Jackson, Peter A., Tolerant but Unaccepting: The Myth of a Thai Gay Paradise, In Peter A. Jackson and Nerida M. Cook. (eds.), Genders and Sexualities in Modern Thailand, (Chiang Mai: Silkworm Books, 1999) 198 นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ, การศกึ ษาเกยใ์ นสังคมไทย 5 ทศวรรษของการสรา้ งความรู้, วารสาร เพศวิถศี กึ ษา, 2, 2 (2555): น. 141–180. 129 ยุทธศาสตรส์ ุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย 

การเมอื งเร่ืองอัตลกั ษณ”์ (2556)199 ของนฤพนธ์ ดว้ งวิเศษ และ “ภมู ิทศั น์ ของเพศวถิ ศี กึ ษาในฐานะกระบวนการตอ่ สทู้ างความร”ู้ (2551)200 ของวราภรณ์ แช่มสนิท การศึกษาทง้ั 3 เรอื่ งเปน็ การทบทวนงานวิจัยเกยี่ วกับชนกลุ่มนอ้ ย ทางเพศสภาพและเพศวิถี ตัง้ แตท่ ศวรรษที่ 1990 ถงึ ตน้ ทศวรรษที่ 2000 จากการทบทวนวรรณกรรมของ ปเี ตอร์ เอ. แจค็ สนั และนฤพนธ์ ดว้ งวเิ ศษ พบว่า งานวิจัยของนักวิชาการไทยในยุคแรก อยู่ภายใต้กระบวนทัศน์ของ ชีวการแพทย์ เพศศาสตร์ และจิตวิทยา ท่ีตีตราและมองประเด็นปัญหา การรักเพศเดียวกันและการขา้ มเพศวา่ วปิ ริต ผิดเพศ และเบ่ยี งเบนทางเพศ จนกระทงั่ ต่อมาในชว่ งต้นปีทศวรรษ 2000 นกั วจิ ัยรนุ่ ใหม่ของไทยไดว้ ิพากษ์ กระบวนทัศน์วิทยาศาสตร์ชีวการแพทย์ ท่ีมองบุคคลที่เป็นเควียร์ (Queer People)201 ว่าเป็นโรค แทนท่ีจะศึกษาความหลากหลายทางเพศสภาพ และเพศวิถีด้วยมุมมองเชิงวัฒนธรรมและสังคม เพ่ือท�ำความเข้าใจสถานะ อตั ลกั ษณ์ และวิถีชวี ิตของชนกลุ่มน้อยทางเพศ ในบทความเรอื่ ง “Thai Research on Male Homosexuality and Transgenderism and the Cultural Limits of Foucauldian Analysis” (1997) ปเี ตอร์ เอ แจ็คสนั ไดว้ เิ คราะหผ์ ลงานตพี ิมพ์ท่ีเป็นภาษาไทยจำ� นวน 207 เรื่อง202 จากปี ค.ศ. 1956 ถึงปี ค.ศ. 1994 ศึกษาเก่ียวกับบุคคล 199 นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ, เพศหลากหลายในสังคมไทยกับการเมืองของอัตลักษณ์. วารสาร สังคมศาสตร,์ 22, 2 (กรกฎาคม–ธันวาคม 2556): น. 137–168. 200 วราภรณ์ แช่มสนิท, ภูมิทัศน์ของเพศวิถีศึกษาในฐานะกระบวนการต่อสู้ทางความรู้, การประชุมวิชาการเพศวิถีศึกษา ระดับชาติ คร้ังที่ 1 (กรุงเทพฯ: ศูนย์ศึกษานโยบายสาธารณะสุข, 2551) น. 13–27. 201 ในทีน่ ้ี ใช้ค�ำวา่ “บุคคลท่ีเป็นเควียร”์ แปลจากคำ� ว่า “Queer People” ตามตน้ ฉบับ 202 ข้อมูลจ�ำนวนและการจ�ำแนกการศึกษา ในท่ีน้ี อ้างอิงมาจากการศึกษาของ Peter A. Jackson and Narupon Duangwises (2017) 130  ยุทธศาสตรส์ ุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย 

รกั เพศเดียวกัน (เกย์ ทอม ด้)ี และบคุ คลข้ามเพศ (กะเทย) พบว่า ร้อยละ 75.5 เป็นการศกึ ษาเก่ียวกับเกย์ ร้อยละ 18.5 เป็นการศกึ ษาเก่ยี วกับกะเทย และรอ้ ยละ 6 เปน็ การศกึ ษาเกย่ี วกบั ทอม ด2้ี 03 การศกึ ษาสว่ นใหญอ่ ยใู่ นสาขา วชิ าจติ วทิ ยาและจติ เวช (65 เรอ่ื ง) รองลงมาคอื การศกึ ษาในสาขาสงั คมวทิ ยา และมานุษยวิทยา (43 เร่ือง) สาขาชีวการแพทย์ (30 เร่ือง) สาขาด้าน การศกึ ษา (22 เรอื่ ง) สาขากฎหมาย (14 เรอื่ ง) และยงั มกี ารศกึ ษาอกี จำ� นวน หนง่ึ เปน็ ของสาขาวชิ าตา่ งๆ เชน่ สงั คมสงเคราะห์ นเิ ทศศาสตร์ พทุ ธศาสนา ประวัติศาสตร์ วรรณกรรมสมัยใหม่และก่อนสมัยใหม่ จริยศาสตร์ และ การศกึ ษาธุรกิจ ความเข้าใจเก่ียวกับกะเทยในเชิงวิชาการในสมัยนั้น แจ็คสันวิเคราะห์ ว่ามีความแตกต่างกัน การศึกษาเกี่ยวกับกะเทยจะเน้นไปที่การช่วยให้บุคคล กลุ่มน้ี ในฐานะที่เป็นบุคคลข้ามเพศจากชายเป็นหญิง มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ซึ่งต่างจากบุคคลที่ถูกระบุว่าเป็น “คนรักร่วมเพศ”(ค�ำที่ใช้กันมากในยุคนั้น) มักถูกมองว่าเป็นปัญหาสังคม และงานวิจัยจ�ำนวนมากมุ่งหาแนวทางในการ ขจดั ปญั หา “รกั รว่ มเพศชาย” ออกจากสงั คมไทย การวจิ ยั ในแนวนใ้ี ชก้ ระบวน ทัศน์ทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาของตะวันตก มอง “การรักร่วมเพศชาย” ว่าเป็นความเจ็บป่วย ผิดศีลธรรม (วิปริต วิปริตผิดเพศ) และเบี่ยงเบนทาง สงั คม 203 ในบทความต้นฉบับ ใช้ค�ำว่า “Female Homosexuality, Rak–Ruam–Phet Ying or Tom–Dee” โดยอา้ งองิ จากคำ� ทใี่ ชใ้ นงานวจิ ยั ในชว่ งนน้ั อยา่ งไรกต็ าม ในปจั จบุ นั คำ� วา่ “รกั รว่ มเพศ” เป็นค�ำต้องห้ามและมีการรณรงค์ให้เลิกใช้ค�ำนี้ในทุกบริบท เพราะถือเป็นค�ำที่สะท้อนความหมาย การตตี ราและเลือกปฏบิ ัตติ ่อบคุ คลที่มคี วามหลากหลายทางเพศ 131 ยทุ ธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย 

การศึกษาวจิ ัยยคุ ทส่ี อง: การศกึ ษาความหลากหลายทางเพศ สภาพและเพศวิถีดว้ ยมมุ มองเชิงวฒั นธรรมและสังคมเก่ยี วกับ สถานะ อตั ลักษณ์ และวิถชี ีวิตของชนกลมุ่ น้อยทางเพศ (ช่วงกลางทศวรรษท่ี 1990 ถงึ กลางทศวรรษที่ 2010) ในชว่ งกลางทศวรรษที่ 1990 ถงึ กลางทศวรรษท่ี 2010 บรบิ ททางสงั คม เกยี่ วกบั บคุ คลหลากหลายทางเพศในประเทศไทย ยงั มที งั้ มมุ มองทเี่ หมอื นเดมิ ในบางอย่าง เช่น การตีตรา การไม่ยอมรับบุคคลหลากหลายทางเพศ แต่ ส่ิงท่ีนับว่าเป็นความเปล่ียนแปลงอย่างเห็นได้ชัดและแตกต่างจากช่วงกลาง ทศวรรษที่ 1950 ถึงกลางทศวรรษท่ี 1990 คือ การน�ำเสนออัตลักษณ์ทาง เพศของเกย์และกะเทยผ่านนิตยาสารเกย์ การประกวดนางงามสาวประเภท สอง ละคร ภาพยนตร์ แต่มักถูกน�ำเสนอในภาพของความตลกขบขัน แรง บ้าผู้ชาย ส่วนเลสเบี้ยน ทอม ดี้ ยังถูกน�ำเสนอในนวนิยายและละครในมุม มองของการเปน็ โรค วปิ รติ ทางธรรมชาติ เปน็ อาการปว่ ยทางจติ อยา่ งไรกต็ าม กลุ่มคนหลากหลายทางเพศในประเทศไทยได้เร่ิมมีการรวมกลุ่ม ออกมาเปิด ตัวกับสังคมมากขึ้น โดยเร่ิมมีการสร้างหรือใช้ศัพท์ใหม่ท่ีมีความหมายในเชิง บวกในการนิยามตนเองมากข้ึน ดงั นั้น งานวิชาการทถ่ี กู ผลิตออกมาในช่วงน้ี จึงเป็นการศึกษาความหลากหลายทางเพศสภาพและเพศวิถีด้วยมุมมองเชิง วฒั นธรรมและสังคมเกีย่ วกับสถานะ อตั ลักษณ์ และวิถีชวี ิตของชนกลมุ่ น้อย ทางเพศเป็นสว่ นใหญ่ 132  ยทุ ธศาสตร์สขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย 

ในชว่ งปี ค.ศ. 1995 ถงึ ปี ค.ศ. 1999 พบวา่ มีการศึกษาทงั้ ภาษาไทย และภาษาองั กฤษรวม 42 เรอ่ื ง204 กลมุ่ ประชากรทศ่ี กึ ษาเปน็ เกย์ รอ้ ยละ 71.4 เลสเบี้ยน ร้อยละ 7.1 และกลุ่มของผู้มีความหลากหลายทางเพศ (LGBT+) รอ้ ยละ 21.5 โดยประเภทของงานศกึ ษาเปน็ หนงั สอื 3 เรอื่ ง วทิ ยานพิ นธร์ ะดบั ปรญิ ญาโท 8 เรอ่ื ง และบทความในวารสารทางวิชาการ 31 เรอ่ื ง ส่วนใหญ่ เปน็ การศกึ ษาประเดน็ เกย์ เลสเบยี้ น และคนขา้ มเพศในมมุ มองเชงิ ประวตั ศิ าสตร์ (16 เรื่อง) เป็นการศึกษาเชิงมานุษยวิทยาเชิงสังคม–วัฒนธรรม และสังคม- วิทยา (3 เรื่อง) นอกจากน้ันยังมีการศึกษาในสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ จติ วทิ ยา การศึกษา และสงั คมสงเคราะห์ ในจ�ำนวนงานวจิ ัย 42 เรื่อง สว่ น ใหญเ่ ป็นการศกึ ษาเกยี่ วกับเกย์ (30 เรื่อง) บางเร่ืองศกึ ษาเกีย่ วกบั เกยร์ ่วมกับ การศึกษาหญงิ ข้ามเพศหรอื กะเทย มีการศึกษาเพยี ง 3 เรอื่ ง ทเี่ ก่ยี วกับชีวติ และอตั ลกั ษณ์ของหญิงรักเพศเดียวกัน ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งผูห้ ญิงท่เี รียกวา่ ทอม และ ดี้ นอกจากนนั้ ยงั มปี ระเดน็ การศกึ ษาเกย่ี วกบั บรบิ ทของวฒั นธรรม ทางเพศสภาพและเพศวิถีในสังคมไทยสมัยใหม่ได้ควบคุมการแสดงออกของ การรกั เพศเดียวกนั และการขา้ มเพศ ในช่วงทศวรรษที่ 1990 และช่วงต้นทศวรรษ 2000 ในขณะที่ นักวิชาการต่างประเทศศึกษาการรักเพศเดียวกันและการข้ามเพศของไทย ในบรบิ ทเชงิ วฒั นธรรมและสงั คม เพอ่ื สำ� รวจระบบเพศทคี่ นรกั เพศเดยี วกนั และ คนขา้ มเพศเผชญิ ในชวี ติ ประจำ� วนั นกั วชิ าการไทยทำ� วจิ ยั เนน้ ไปทก่ี ารอธบิ าย 204 Jackson, P.A. and Duangwises, N., Review of Studies of Gender and Sexual Diversity in Thailand in Thai and Academic Publication, The 13th International Conference on Thai Studies “Globalized Thailand?” Connectivity, Conflict, and Conundrums of Thai Studies. Chiang Mai, Thailand, (2017) Accessed August 15, 2020, Available from https:// www.academia.edu/34509343/Review_of_Studies_of_Gender_and_Sexual_Diversity_in_ Thailand_in_Thai_and_International_Academic_Publications 133 ยุทธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย 

วิถีชีวิตและอัตลักษณ์ทางเพศของคนรักเพศเดียวกันและคนข้ามเพศท่ีต้อง เผชิญกับการถูกตีตราและเลือกปฏิบัติทางสังคม นอกจากนั้น ยังมีงานวิจัย ทศี่ กึ ษาเกยี่ วกบั ชายผคู้ า้ บรกิ ารทางเพศ โดยงานวจิ ยั เหลา่ นมี้ งุ่ หาเครอื่ งมอื ทาง สังคมที่จะช่วยปรับปรุงคุณภาพชีวิตของชายผู้ค้าบริการ เม่ือมองในภาพรวม แล้ว ระหว่างปี ค.ศ. 1995 ถึง ปี ค.ศ. 2010 การศึกษาของไทยเกี่ยวกับ ชายรักเพศเดยี วกนั มีแนวโนม้ เปน็ ไปในทิศทางบวกมากขน้ึ 205 ในช่วงปี ค.ศ. 2000–2016 (พ.ศ. 2543–2559) ปีเตอร์ เอ แจ็คสัน และนฤพนธ์ ด้วงวิเศษ พบว่ากลุ่มประชากรท่ีถูกศึกษาประกอบด้วย เกย์ บคุ คลขา้ มเพศ (กะเทย) เลสเบย้ี นและผมู้ คี วามหลากหลายทางเพศ (LGBT+) มนี กั วชิ าการและนกั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาโทและปรญิ ญาเอกจำ� นวนมาก จากหลากหลายสาขาวิชาทั้งทางด้านสังคมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ชีว การแพทย์ ได้ท�ำวิจัยและเขียนบทความเก่ียวกับประเด็นการรักเพศเดียวกัน และการขา้ มเพศ ดังแสดงใหเ้ ห็นในตารางต่อไปน้ี 205 นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ, ขบวนการเคล่ือนไหวของเกย์ในสังคมไทย ภาคปฏิบัติการและ กระบวนทศั น์. 134  ยทุ ธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย 

ตารางที่ 1 แสดงการศกึ ษาวจิ ยั ท้ังภาษาไทยและภาษาองั กฤษระหว่างปี ค.ศ. 2000– 2016206 สาขาวชิ า บทความ หนังสือ วทิ ยา รวม นพิ นธ์ สังคมศาสตร์ 22 5 33 มานษุ ยวิทยาเชิงสงั คมวัฒนธรรม 5 1 6 29 นเิ ทศศาสตร์ ส่ือสารมวลชน 23 16 และวัฒนธรรมศกึ ษา 3 2 13 สงั คมสงเคราะห์ 8 1 11 10 และการพัฒนาสังคมและมนษุ ย์ 4 0 4 8 ประวัติศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์ 4 0 6 8 บรหิ ารธรุ กิจ 4 0 4 8 สังคมวิทยา 5 1 4 4 กฎหมาย และรฐั ศาสตร์ 4 0 2 4 สตรี เพศสถานะ และเพศวถิ ศี กึ ษา 3 0 0 การศึกษา 1 22 ประชากรศาสตร์ 15 2 10 วิทยาศาสตร์ชีวการแพทย์ 7 2 5 3 วทิ ยาศาสตร์สขุ ภาพ และการพยาบาล 2 0 1 168 จติ วทิ ยาและพฤตกิ รรมศาสตร์ 82 15 1 วิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ และเพศศาสตร์ 71 รวม 206 Jackson, P.A. and Duangwises, N., Review of Studies of Gender and Sexual Diversity in Thailand in Thai and Academic Publication, The 13th International Conference on Thai Studies “Globalized Thailand?” Connectivity, Conflict, and Conundrums of Thai Studies. Chiang Mai, Thailand. 135 ยุทธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย 