การศึกษาทั้ง 168 เร่ืองนี้207 ครอบคลุมหลากหลายสาขาวชิ าทต่ี ีพมิ พ์ ในชว่ งปี ค.ศ. 2000 ถงึ ค.ศ. 2016 การศกึ ษาสว่ นใหญอ่ ยใู่ นสายมนษุ ยวทิ ยา สงั คม–วัฒนธรรม (33 เรอ่ื ง) ซง่ึ เป็นการศกึ ษาเกีย่ วกับความหลากหลายของ วัฒนธรรมทางเพศสภาพและเพศวิถีในสังคมไทย รองลงมาคือการศึกษา ในสาขานิเทศศาสตร์ สอื่ สารมวลชน และวฒั นธรรมศึกษา (29 เร่อื ง) ศกึ ษา เก่ียวกับภาพลักษณ์และภาพตัวแทนของเกย์ เลสเบี้ยน และกะเทย208 ในส่ือมวลชนไทย เช่น ภาพยนตร์ ละครโทรทัศน์ เว็บไซต์ และนิตยสาร การศึกษาวิจัยในสายสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาสังคมและมนุษย์ (16 เรอ่ื ง) เก่ียวข้องกับคุณภาพชีวติ ของเกย์ เลสเบี้ยน และกะเทย การศึกษาใน สายประวัตศิ าสตร์และมนุษยศ์ าสตร์ (13 เรื่อง) ศึกษาเร่ืองเล่าและเร่ืองราว ในอดีตเกี่ยวกับความหลากหลายทางเพศสภาพและเพศวิถีในประเทศไทย ท่ีบันทึกไว้ในเอกสารต่างๆ ประเด็นที่น่าสนใจคือ นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 2010 นักวิชาการรุ่นใหม่ ในสาขาวิชาธรุ กิจ เริ่มหันมาศึกษาชุมชน เกย์ เลสเบย้ี น และกะเทย ท้งั น้ีอาจสะท้อนให้เหน็ ถงึ การเกดิ ข้นึ ของตลาดผูบ้ รโิ ภคที่เปน็ เกย์ เลสเบ้ยี น และกะเทย งานวิจัยในสายวิทยาศาสตร์ชีวการแพทย์ ส่วนใหญ่มาจากสาขา วทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพและการพยาบาล (22 เรอ่ื ง) ศกึ ษาชวี ติ ทางเพศของเควยี ร์ ในเรือ่ งของสขุ ภาพทางเพศและโรคติดตอ่ ทางเพศสัมพนั ธ์ การศกึ ษาในสาขา จติ วทิ ยา (10 เรอ่ื ง) สนใจการปรบั ตวั ทางสงั คมและการยอมรบั ตนเองของเกย์ และหญงิ ขา้ มเพศทปี่ ระสบกบั การถกู เลอื กปฏบิ ตั แิ ละการตตี ราทางสงั คม งาน วิจัยในกลุ่มวิทยาศาสตร์การแพทย์และเพศศาสตร์ (2 เร่ือง) ศึกษาเก่ียวกับ เทคโนโลยีชีวการแพทย์ที่ช่วยให้คนข้ามเพศสามารถเปลี่ยนผ่านไปสู่สถานะ 207 Ibid. 208 ในบทความตน้ ฉบบั ภาษาอังกฤษใช้ค�ำวา่ “Kathoey” 136 ยุทธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ทางเพศที่ตอ้ งการได้ เมอ่ื พจิ ารณาในรายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ จะพบวา่ ระหวา่ งปี ค.ศ. 2000 ถงึ ปี ค.ศ. 2009 มีผลงานตพี มิ พ์ 61 เร่ือง209 ในขณะท่ีระหว่างปี ค.ศ. 2010 ถงึ ปี ค.ศ. 2016 มผี ลงานตีพมิ พร์ วม 107 เรอ่ื ง สะทอ้ นใหเ้ ห็นวา่ ในช่วงหลงั มีความสนใจศึกษาประเด็นการรักเพศเดียวกัน (Homosexuality) และ การข้ามเพศ (Transgenderism) ในประเทศไทยเพ่ิมมากขน้ึ อยา่ งเห็นไดช้ ดั อย่างไรก็ตาม ส่วนใหญ่ยังคงเน้นไปท่ีเกย์ (79 เรื่อง) กะเทย (46 เรื่อง) มีบางส่วนท่ีศึกษาหญิงรักเพศเดียวกัน (Female Homosexuality/ Tom, Dee and Lesbian) (21 เรอ่ื ง) การศกึ ษาทเ่ี หลอื (22 เรอื่ ง) เปน็ การศกึ ษา บคุ คลที่มคี วามหลากหลายทางเพศโดยรวม จากการศกึ ษาทงั้ หมด 168 เรื่อง เป็นงานเขียนภาษาอังกฤษโดยนักวิชาการชาวต่างชาติ 39 เร่ือง การศึกษา ส่วนใหญ่เป็นของนักวิชาการไทยและนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา งานวิจัย บางเรอื่ งเป็นการร่วมมือทางวชิ าการระหวา่ งนกั วจิ ัยไทยและตา่ งประเทศ อยา่ งไรกต็ าม แม้วา่ ระหว่างช่วงปที ศวรรษ 1950 ถงึ ปที ศวรรษ 2010 ปเี ตอร์ เอ แจค็ สนั และนฤพนธ์ ดว้ งวิเศษ ได้ทบทวนงานวิชาการด้านความ หลากหลายทางเพศในประเทศไทยไวอ้ ยา่ งนา่ สนใจ และมงุ่ เนน้ ขอ้ มลู สามดา้ น คือ ประเภทของงานวิชาการ สาขาวิชาท่ีศึกษา และกลุ่มประชากรท่ีศึกษา แตย่ งั ไมไ่ ดล้ งรายละเอยี ดเกย่ี วกบั ประเดน็ ทศ่ี กึ ษาในแตล่ ะชว่ งเวลามากนกั อกี ทงั้ งานศกึ ษาของ ปเี ตอร์ เอ แจค็ สนั และนฤพนธ์ ดว้ งวเิ ศษ ทำ� การทบทวนถงึ ปี ค.ศ. 2016 (พ.ศ. 2559) ซง่ึ ยงั ไมไ่ ดร้ วมถงึ สถานการณแ์ ละขอ้ มลู ในปจั จบุ นั 209 Jackson, P.A. and Duangwises, N., Review of Studies of Gender and Sexual Diversity in Thailand in Thai and Academic Publication, The 13th International Conference on Thai Studies “Globalized Thailand?” Connectivity, Conflict, and Conundrums of Thai Studies. Chiang Mai, Thailand. 137 ยุทธศาสตรส์ ุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ในหนังสือ “ยุทธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย” เลม่ น้ี จึงได้ทบทวนงานวิจัยในประเทศไทยช่วงเวลา 10 ปี ย้อนหลังคือ ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2553–2563 ซ่งึ เป็นช่วงเวลาทีท่ บั ซ้อนช่วง 4 ปหี ลังกบั งานของ ปีเตอร์ เอ แจ็คสัน และนฤพนธ์ ด้วงวิเศษ ท้ังนี้ผู้เขียนได้มีการทบทวนเพ่ิมเติมใน ประเดน็ ทยี่ งั มชี อ่ งวา่ งอยู่ คอื รายละเอยี ดประเดน็ ทถี่ กู ศกึ ษาในชว่ งเวลาดงั กลา่ ว และยังศึกษาถึงข้อมูลด้านประชากรท่ีถูกศึกษาในงานวิจัยด้วย โดยผู้เขียน ได้จดั ผลงานวิจยั ช่วงปี พ.ศ. 2553–2563 เป็นงานวจิ ยั ยุคที่สาม ดังนี้ งานวจิ ยั ยุคทีส่ าม: กฎหมาย สทิ ธมิ นุษยชน ศักด์ศิ รี ความเป็นมนุษย์ และสุขภาวะของคนหลากหลายทางเพศ (พ.ศ. 2553–2563) ท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมท่ีได้รับอิทธิพลจากสื่อ เศรษฐกิจ และสังคมทั่วโลกในหลายๆ มิติในช่วง ปี พ.ศ. 2553–2563 ได้ส่งผลต่อแวดวงของกลุ่มคนหลากหลายทางเพศในประเทศไทย แต่อคติ การรังเกียจ และการเลือกปฏิบัติติต่อบุคคลหลากหลายทางเพศยังคงมีอยู่ใน สงั คมไทยอยา่ งเหน็ ไดช้ ดั ทงั้ จากครอบครวั ทที่ ำ� งาน สถานศกึ ษา สอื่ กฎหมาย และศาสนา ซ่ึงได้มีการถกเถียง แสดงความคิดเห็นในประเด็นความหลาก หลายทางเพศระดบั ประเทศ เรม่ิ มกี ารเคลอ่ื นไหวของขบวนการกลมุ่ คนหลาก หลายทางเพศ และเดนิ ทางมาถงึ ประเด็นอื่นๆ เช่น เอชไอวี เอดส์210 กระทั่ง ในปัจจุบันมุ่งเน้นไปท่ีขบวนการเคล่ือนไหว กฎหมาย สิทธิมนุษยชน และ ศกั ดศ์ิ รคี วามเปน็ มนษุ ย์ ซงึ่ เปน็ ปญั หาเชงิ โครงสรา้ งทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาวะ ของคนหลากหลายทางเพศในทกุ มติ ิ 210 สไุ ลพร ชลวิไล, บรรณาธกิ าร, เพศแหง่ สยาม, น. 113 138 ยุทธศาสตรส์ ุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
สถานภาพองค์ความรู้ในยุคนี้จึงเป็นงานวิจัยที่มุ่งเน้นประเด็นกฎหมาย (โดยเฉพาะกฎหมายการสมรส) สทิ ธมิ นษุ ยชน และสขุ ภาวะของคนหลากหลาย ทางเพศ ซึ่งเป็นการท�ำวิจัยโดยองค์กรภาครัฐ ภาคประชาสังคม สถาบัน การศกึ ษา โดยผเู้ ขยี นสบื คน้ จากฐานขอ้ มลู งานวจิ ยั ของประเทศไทย 4 ฐานหลกั คอื 1) Thai Journals Online (ThaiJO) เป็นระบบฐานข้อมูลวารสาร อิเล็กทรอนิกส์กลางของประเทศไทย เป็นแหล่งรวมวารสารวิชาการท่ีผลิตใน ประเทศไทยทุกสาขาวิชา ท้ังสาขาวิทยาศาสตร์/เทคโนโลยี มนุษยศาสตร์ และสงั คมศาสตร์ ThaiJO ไดร้ บั การสนบั สนนุ จาก สำ� นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การวจิ ยั (สกว.) มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี (มจธ.) มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ (มธ.) ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) และศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai–Journal Citation Index Centre: TCI) วารสารวิชาการไทยทีป่ รากฎใน ThaiJO จะพัฒนาอยู่ บนระบบ OJS (Online Journal System) เดยี วกนั ซ่งึ พฒั นาโดย Public Knowledge Project (PKP) 2) ThaiLis (Thai Library Integrated System) โครงการเครอื ขา่ ย ห้องสมุดในประเทศไทย จดั ท�ำโดยสำ� นกั งานคณะกรรมการอดุ มศกึ ษา 3) TNRR (Thai Nation Research Repository) คลงั ขอ้ มลู งานวจิ ยั ไทย จดั ทำ� โดยสำ� นกั งานคณะกรรมการวิจัยแหง่ ชาติ 4) เว็บไซตห์ นว่ ยงาน องค์กรตา่ งๆ ทท่ี �ำงานวิชาการ งานวจิ ัย และ กจิ กรรมดา้ นสขุ ภาวะของผมู้ คี วามหลากหลายทางเพศ เชน่ ศนู ยค์ วามเปน็ เลศิ ด้านการวิจัยเพศสภาพ เพศวิถี และสุขภาพ ส�ำนักวิจัยและบริการวิชาการ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มูลนิธิเครือข่าย เพอื่ นกะเทยไทย UNDP ฯลฯ 139 ยุทธศาสตรส์ ุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
นอกจากนี้ ยังไดส้ บื คน้ งานวจิ ัยทว่ั ไปผา่ น Search Engine Google ดว้ ย ซง่ึ พบผลงานวิจัยทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั สขุ ภาวะ LGBTIQN+ จาก 4 ฐานข้อมูล ข้างต้น และ Search Engine Google รวมจ�ำนวนทั้งสิ้น 159 เร่ือง โดยแบ่งตามประเด็นทศ่ี ึกษาได้ 12 ประเดน็ ดังตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 2 สรุปสัดส่วนประเด็นงานวิจัยด้านสุขภาวะของ LGBTIQN+ ในประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2553–2563 ลำ� ดบั ประเด็นงานวจิ ยั จ�ำนวนงาน สดั ส่วน วิจยั (เรอ่ื ง) (ร้อยละ) 1 สิทธิมนษุ ยชนและศกั ดิ์ศรีความเป็นมนษุ ย์ 48 30.19 2 สขุ ภาวะของผมู้ ีความหลากหลายทางเพศ 24 15.10 3 สื่อกับความหลากหลายทางเพศ 22 13.83 4 อาชพี และเศรษฐกิจ 13 8.17 ของผ้มู คี วามหลากหลายทางเพศ 5 เอชไอวี/เอดส์ 12 7.55 6 อตั ลักษณ์ทางเพศ 9 5.66 7 การสรา้ งเครือขา่ ย การเคลือ่ นไหวทางสงั คม 7 4.42 และชมุ ชนบุคคลท่มี คี วามหลากหลายทางเพศ 8 ครอบครวั ของผู้มคี วามหลากหลายทางเพศ 6 3.77 9 คณุ ภาพชวี ติ และสวัสดิการพืน้ ฐาน 6 3.77 ของผูม้ ีความหลากหลายทางเพศ 10 ศาสนา ความเช่ือกบั ความหลากหลายทางเพศ 5 3.14 11 ความรนุ แรงตอ่ บคุ คลทม่ี คี วามหลากหลายทางเพศ 5 3.14 12 ความหลากหลายทางเพศในระบบการศึกษา 3 1.88 รวม 159 100 140 ยุทธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
จากการทบทวนประเด็นการวิจัยด้านสุขภาวะของ LGBTIQN+ ใน ประเทศไทยช่วง พ.ศ. 2553–2563 พบว่าประเด็นที่ถูกศึกษาวิจัยมากท่ีสุด สามอันดับแรกคือ สิทธิมนุษยชนและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มีจ�ำนวน 48 เรอื่ ง (รอ้ ยละ 30.19) สขุ ภาวะของบคุ คลทม่ี คี วามหลากหลายทางเพศ จำ� นวน 24 เรื่อง (ร้อยละ 15.10) และส่อื กับความหลากหลายทางเพศ จำ� นวน 22 เร่ือง (รอ้ ยละ 13.83) ตามล�ำดบั ส่วนประเด็นท่ีมีการศึกษาน้อยท่ีสุดสามอันดับคือ การศึกษาและ ความหลากหลายทางเพศในระบบการศกึ ษา จำ� นวน 3 เรื่อง (รอ้ ยละ 1.88) ความรุนแรงตอ่ บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ จ�ำนวน 4 เรือ่ ง (รอ้ ยละ 2.52) และประเด็นศาสนา ความเชื่อกับความหลากหลายทางเพศ จ�ำนวน 5 เร่อื ง (ร้อยละ 3.14) ตามล�ำดับ จากข้อมูลข้างต้นชี้ให้เห็นว่าสัดส่วนของงานวิจัยช่วง 10 ที่ผ่านมา มกี ารศกึ ษาทมี่ งุ่ เนน้ ประเดน็ สทิ ธมิ นษุ ยชนและศกั ดศ์ิ รคี วามเปน็ มนษุ ยม์ ากกวา่ ประเด็นอื่นๆ อย่างเห็นได้ชัด อย่างไรก็ตามยังมีช่องว่างประเด็นการวิจัย ในประเดน็ อ่ืนๆ ซ่งึ มีความส�ำคญั ไม่น้อยไปกว่ากัน ดงั นี้ 1. สิทธมิ นษุ ยชนและศักด์ิศรีความเปน็ มนษุ ย์ งานวิจัยในประเด็นสิทธิมนุษยชนและศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์หมายถึง งานศึกษาด้านกฎหมาย หลักสิทธิมนุษยชน สิทธิข้ันพื้นฐานท่ีเกี่ยวข้องกับ ประเด็นของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ตลอดจนประเด็นการตีตรา การเลือกปฏิบัติทุกมิติ การลดทอนคุณค่าศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ด้วยเหตุ แหง่ เพศ จากการทบทวนงานวจิ ยั ประเดน็ น้ีพบงานวจิ ัยจำ� นวน 48 เรอ่ื ง มีการ ศกึ ษาท่หี ลากหลายแง่มมุ ท้งั ในดา้ นกฎหมาย เช่น การสมรส การมคี รอบครวั 141 ยทุ ธศาสตรส์ ุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
การมบี ุตร การรบั รองเพศสภาพ การเข้าถงึ เทคโนโลยีทางการแพทยแ์ ละสทิ ธิ อนามัยเจริญพันธุ์ นอกจากน้ียังมีประเด็นความเสมอภาค ความเท่าเทียม ทางเพศ ตลอดจนขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมของกลุ่มบุคคลที่มีความ หลากหลายทางเพศ และการผลิตซ�้ำมายาคติเก่ียวกับบุคคลท่ีมีความ หลากหลายทางเพศ อยา่ งไรกต็ าม จากผลการศกึ ษาสถานภาพองคค์ วามรงู้ านวจิ ยั ดา้ นสทิ ธิ มนุษยชนและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ได้สะท้อนให้เห็นสภาพปัญหาด้าน กฎหมายทยี่ งั ไมค่ รอบคลมุ สทิ ธพิ น้ื ฐานของบคุ คลทม่ี คี วามหลากหลายทางเพศ ปญั หาการตตี ราและเลอื กปฏบิ ตั ดิ ว้ ยเหตแุ หง่ เพศยงั คงมอี ยใู่ นทกุ มติ ิ งานวจิ ยั ส่วนใหญเ่ ปน็ องคค์ วามรทู้ ย่ี ังไมถ่ กู สงั เคราะหเ์ พอื่ น�ำไปใชใ้ นทางปฏิบตั ิ ชอ่ งวา่ งทส่ี ำ� คญั คอื ยงั ขาดการศกึ ษาวจิ ยั จากมมุ มองของกลมุ่ ประชากร ทม่ี คี วามหลากหลายทางเพศ ซง่ึ ลว้ นแลว้ แตเ่ ปน็ ประเดน็ ทข่ี ดั ตอ่ กฎหมายและ วฒั นธรรมกระแสหลกั ในเรอื่ งเพศ เชน่ ประเดน็ สทิ ธใิ นการเขา้ ถงึ ครอบครอง และจ�ำหน่ายอุปกรณ์เพ่ิมความสุขทางเพศหรือ “เซ็กซ์ทอย” (Sex Toys) กฎหมายวา่ ดว้ ยเรอื่ งการทำ� แทง้ สทิ ธกิ ารประกอบอาชพี พนกั งานบริการ ฯลฯ งานวิจัยท่ีศึกษาประเด็นการบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวกับสิทธิของบุคคลท่ีมี ความหลากหลายทางเพศยังมีน้อยอยู่ อีกท้ังยังขาดการศึกษาในประเด็น เก่ยี วกบั การประเมนิ ประสิทธภิ าพการบังคับใช้กฎหมายดังกลา่ ว 2. สุขภาวะของบคุ คลที่มคี วามหลากหลายทางเพศ งานวิจัยในประเด็นสุขภาวะของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ หมายถึง การศึกษาเก่ียวกับสุขภาพทางกาย ใจ จิตวิญญาณ ตลอดจน การป้องกัน การรักษาความเจ็บป่วย และระบบการดูสุขภาวะท่ีเกี่ยวข้องกับ กลุ่มบคุ คลท่มี คี วามหลากหลายทางเพศ 142 ยุทธศาสตร์สขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
จากการทบทวนสถานภาพองค์ความรู้ในประเด็นน้ีพบงานวิจัยจ�ำนวน 24 เรอ่ื ง เป็นงานที่ศึกษาเก่ียวกบั กจิ กรรมสง่ เสรมิ สุขภาพ สขุ ภาพจิต ระบบ บริการสุขภาพแบบอิงเพศสภาพ ผู้ใช้ยาเสพติด สื่อสุขภาวะทางเพศ ความ เกลียดกลัวความหลากหลายทางเพศ และแนวปฏิบัติในสถานการณ์ระบาด ของโควิด–19 จากงานศึกษาดังกล่าว สะท้อนให้เห็นว่ายังมีงานวิจัยด้าน สุขภาวะของกลุ่มประชากรที่มีความหลากหลายทางเพศอยู่น้อยมาก และ ข้อค้นพบของงานวิจัยเหล่านี้ได้ชี้ให้เห็นปัญหาช่องว่างทั้งในเชิงระบบ/กลไก การเข้าถึงสทิ ธดิ ้านสุขภาวะ ระบบการใหบ้ รกิ าร และสวสั ดกิ ารพ้นื ฐาน โดย เฉพาะอยา่ งยิง่ ความรูด้ ้านสุขภาวะเฉพาะกลุม่ เช่น โรคทม่ี ีความเส่ยี ง การใช้ ฮอร์โมน การผา่ ตดั แปลงเพศ สุขภาวะทางเพศ การให้ค�ำปรึกษา เปน็ ต้น 3. ส่ือกบั ความหลากหลายทางเพศ งานวิจัยในประเด็นส่ือกับความหลากหลายทางเพศ หมายถึงงานวิจัย ท่ีศึกษาในประเด็นส่ือ นวัตกรรม และเทคโนโลยีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับความ หลากหลายทางเพศ จากการทบทวนพบงานวจิ ยั ในประเดน็ นี้ จำ� นวน 22 เรอื่ ง พบวา่ มงี าน ศกึ ษาในสอื่ หลายประเภท ทงั้ โทรทศั น์ ภาพยนตร์ หนงั สอื สอื่ ออนไลน์ ศลิ ปะ และวรรณกรรม กลมุ่ เปา้ หมายทศ่ี กึ ษาสว่ นใหญเ่ ปน็ บคุ คลทม่ี คี วามหลากหลาย ทางเพศทกุ กลมุ่ มกี ารศกึ ษาเฉพาะกลมุ่ บา้ งเพยี งเลก็ นอ้ ย เชน่ กลมุ่ เกย์ และ กลมุ่ คนขา้ มเพศ สว่ นขอ้ คน้ พบในการศกึ ษานำ� เสนอในแงม่ มุ ของภาพตวั แทน อัตลักษณ์ บทบาทของส่ือ เครือข่ายสังคมออนไลน์ และแนวทางปฏิบัติของ สื่อที่เหมาะสมในการนำ� เสนอประเดน็ ความหลากหลายทางเพศ ส่วนประเด็นที่ยังไม่มีการศึกษา ได้แก่ การรายงานข้อมูลเชิงสถิติ เก่ียวกับสถานการณ์ปัญหาความหลากหลายทางเพศในสื่อ รวมท้ังการศึกษา 143 ยุทธศาสตร์สขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
เชิงประเมินผลเกี่ยวกับประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติของส่ือเกี่ยวกับ ความหลากหลายทางเพศ 4. อาชีพและเศรษฐกจิ ของผ้มู คี วามหลากหลายทางเพศ งานวิจัยในกลุ่มประเด็นอาชีพและเศรษฐกิจของบุคคลที่มีความ หลากหลายทางเพศ หมายถงึ งานศกึ ษาทเี่ กย่ี วกบั เศรษฐกจิ อาชพี การทำ� งาน ทเ่ี ชอ่ื มโยงกับสขุ ภาวะของบคุ คลทีม่ คี วามหลากหลายทางเพศ งานวจิ ัยในประเดน็ นี้มี จำ� นวน 13 เรอ่ื ง พบว่าสว่ นใหญศ่ กึ ษาในกลมุ่ บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในภาพรวม วัตถุประสงค์ในการศึกษา มุ่งไปท่ีผลประโยชน์ของผู้ประกอบการหรือผู้ที่ต้องการท�ำการตลาดในกลุ่ม ประชากรผู้มีความหลากหลายทางเพศ มีเพียงงานวิจัยส่วนน้อยที่ศึกษาถึง ความต้องการและคุณภาพชีวิตของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ จาก ข้อมูลน้ีแสดงให้เห็นว่ายังขาดงานวิจัยที่ศึกษาถึงปัญหา/ผลกระทบด้าน เศรษฐกิจ อาชีพ ความม่ันคงในชีวิต การท�ำงานที่มีต่อบุคคลท่ีมีความ หลากหลายทางเพศ 5. เอชไอวี เอดส์ งานวจิ ยั ในประเดน็ เอชไอว/ี เอดส์ หมายถงึ งานวจิ ยั ทศ่ี กึ ษาถงึ ทกุ ประเดน็ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั เอชไอว/ี เอดสใ์ นกลมุ่ ประชากรทมี่ คี วามหลากหลายทางเพศ เชน่ สภาพปัญหา การป้องกัน การผลิตและถ่ายทอดองค์ความรู้ การเข้าถึงสิทธิ ในการรักษา การตรวจสุขภาพ ระบบการบริการสขุ ภาพ ฯลฯ งานวิจยั ในประเดน็ นม้ี ี 12 เรือ่ ง เกือบทัง้ หมดศึกษาในกลมุ่ เปา้ หมาย ชายรักชายและชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย จึงยังขาดข้อมูลที่แสดงให้เห็น สถานการณ์ของประชากรผู้มีความหลากหลายทางเพศในกลุ่มอ่ืนๆ ซึ่งงาน วิจัยท้ังหมดดังกล่าวได้ศึกษาถึงสภาพปัญหา การป้องกัน การเข้าถึงสิทธิ 144 ยทุ ธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ในการรกั ษา ระบบการบรกิ ารสขุ ภาพ การฆา่ ตวั ตาย และการแพรร่ ะบาดของ เอชไอวี/เอดส์ ถือว่ามีความรอบด้านในเชิงประเด็นการศึกษาพอสมควร อยา่ งไรกต็ ามยังมบี างประเดน็ ที่ตกหลน่ เช่น การเข้าถึงยาต้านเอชไอว/ี เอดส์ การเขา้ ถงึ เพรพ็ (PrEP) และเปป็ (PEP) รวมทงั้ การตตี ราและการเลอื กปฏบิ ตั ิ ในกลมุ่ บคุ คลทม่ี ีความหลากหลายทางเพศทอี่ ย่รู ่วมกับเชอ้ื เอชไอวี/เอดส์ นอกจากนี้ ในเชิงระเบียบวิธีวิจัยพบว่ายังขาดงานวิจัยเชิงปฏิบัติการ แบบมีสว่ นร่วมระหวา่ งหน่วยงานทเ่ี กยี่ วข้องและกลุม่ เป้าหมาย ได้แก่ การน�ำ บคุ คลทม่ี คี วามหลากหลายทางเพศในทกุ กลมุ่ เขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการวจิ ยั เพอื่ ขบั เคลอื่ นแนวทางการทำ� งานเพอื่ แก้ไขปัญหา หรอื พัฒนาระบบการให้บริการ ตา่ งๆ ใหด้ ขี นึ้ นอกจากนกี้ ลมุ่ ประชากรทศ่ี กึ ษายงั จำ� กดั อยใู่ นกลมุ่ ชายรกั ชาย เท่าน้ัน ไม่ครอบคลุมถึงบุคคลท่ีมีความหลากหลายเพศกลุ่มอ่ืนๆ อีกท้ังยังมี จำ� นวนงานวิจยั ทนี่ ้อยเมือ่ เทยี บกบั ประเด็นอื่นๆ 6. อตั ลกั ษณ์ทางเพศ งานวิจัยประเด็นอัตลักษณ์ทางเพศ หมายถึงงานวิจัยท่ีศึกษาความ หลากหลายทางเพศในมิติของนิยาม ตัวตน อัตลักษณ์ พื้นที่ทางสังคม การยอมรบั การแสดงออกทางสงั คม และประเด็นอ่ืนๆ ที่เกีย่ วข้องกบั ตัวตน ของบคุ คลท่มี ีความหลากหลายทางเพศ จากการทบทวนพบงานวิจัยในประเด็นน้ี จ�ำนวน 9 เรื่อง โดยมี เน้ือหาเก่ียวกับการแสดงตัวตนและการสร้างพ้ืนที่ทางสังคมของบุคคลที่มี ความหลากหลายทางเพศในพนื้ ทบ่ี รบิ ทตา่ งๆ รวมทง้ั กระบวนการสรา้ งอตั ลกั ษณ์ ทางเพศ ส�ำหรับช่องว่างในงานวิจัยประเด็นอัตลักษณ์ทางเพศ คือ ยังไม่มี การศึกษาสุขภาวะบุคคลบนพ้ืนฐานอัตลักษณ์ความหลากหลายทางเพศด้วย มุมมองการกดข่ีทับซ้อนหรืออัตลักษณ์ทับซ้อน (Intersectionality) และ วิเคราะห์ให้เห็นถึงระบบท่ีซับซ้อนของความไม่เท่าเทียม โดยไม่เหมารวมว่า 145 ยทุ ธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
คนในกลุ่มเดียวกันต้องมีอัตลักษณ์แบบเดียวกันท้ังหมด เพ่ือให้มองเห็น ความหลากหลาย และความเฉพาะของปัญหาสุขภาวะของบุคคลที่มีความ หลากหลายทางเพศ เชน่ อตั ลกั ษณห์ ญงิ รกั หญงิ อตั ลกั ษณข์ องบคุ คลขา้ มเพศ บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศที่เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ การเป็นผู้อยู่ร่วมกับ เชือ้ เอชไอวี เปน็ ตน้ 7. การสร้างเครอื ขา่ ย การเคลื่อนไหวทางสงั คม และชมุ ชนบุคคลทม่ี ีความหลากหลายทางเพศ งานวิจัยในประเด็นการสร้างเครือข่าย การเคลื่อนไหวทางสังคม และชุมชนบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ หมายถึงงานวิจัยท่ีศึกษาถึง การสง่ เสรมิ การสร้างเครือข่ายของกลุ่มคนท�ำงานด้านสุขภาวะของบุคคลท่ีมี ความหลากหลายทางเพศ การท�ำงานขับเคลื่อนเพื่อการเปล่ยี นแปลง พัฒนา ความก้าวหน้าด้านสุขภาวะของบุคคลท่ีมีความหลากหลายทางเพศโดย การสร้างการมสี ่วนร่วมจากกลมุ่ คนและองค์กรต่างๆ ที่เก่ยี วขอ้ ง งานวจิ ัยในประเดน็ นม้ี จี ำ� นวน 7 เรอื่ ง โดยเป็นประเดน็ การเคลอ่ื นไหว เพื่อการมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจและสังคม เป็นการศึกษาในภาพรวมของผู้มี ความหลากหลายทางเพศ ไมไ่ ดเ้ จาะจงเฉพาะกลมุ่ ใดกลมุ่ หนงึ่ และศกึ ษาจาก มุมมองผู้วิจัยเท่านั้น แต่ยังขาดมุมมองของผู้ที่ถูกศึกษา ส่วนประเด็นของ การสร้างเครือข่ายน้ันยังไม่พบงานวิจัยที่ศึกษาในประเด็นน้ี ซ่ึงมีความส�ำคัญ ในเชิงการพัฒนาและเพ่ิมความเข้มแข็งในการท�ำงานขับเคล่ือนประเด็น ความหลากหลายทางเพศ 8. ครอบครัวของบุคคลที่มคี วามหลากหลายทางเพศ งานวิจัยในประเด็นครอบครัวของผู้มีความหลากหลายทางเพศ หมายถึงทุกมิติของประเด็นหลากหลายทางเพศที่เก่ียวข้องกับครอบครัว เช่น ความสัมพันธ์ ประสบการณ์ ชีวิตคู่ การยอมรับจากคนในครอบครัว 146 ยทุ ธศาสตร์สขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
การปรับตวั และประเดน็ อื่นๆ จากการทบทวนพบวา่ มงี านวจิ ยั ในประเดน็ นี้ จำ� นวน 6 เรอื่ ง ประกอบ ด้วย ความสัมพันธ์ภายในครอบครัว ประสบการณ์ในการเปิดเผยอัตลักษณ์ ทางเพศ แนวปฏบิ ตั สิ ำ� หรบั พอ่ แมท่ ม่ี ลี กู เปน็ กะเทย และประเดน็ ชวี ติ คู่ ประเดน็ ทเี่ ปน็ ชอ่ งวา่ งสำ� คญั ในงานวจิ ยั กลมุ่ นค้ี อื ยงั ไมม่ กี ารศกึ ษาถงึ การสรา้ งฐานคดิ ด้านความหลากหลายทางเพศให้กับสมาชิกในครอบครัว ไม่ว่าในครอบครัว จะมีสมาชิกเป็นบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศหรือไม่ก็ตาม เพ่ือเป็น การปูพื้นฐานความเข้าใจให้กับสมาชิกครอบครัว เพราะครอบครัวเป็นสภาพ แวดล้อมท่ีมีความส�ำคัญยิ่ง ในการสร้างการเรียนรู้และพัฒนาสุขภาวะด้าน ความหลากหลายทางเพศใหก้ บั คนทกุ กลุม่ วยั 9. คณุ ภาพชีวติ และสวัสดกิ ารพนื้ ฐานของบคุ คล มีความหลากหลายทางเพศ งานวิจัยประเด็นคุณภาพชีวิตและสวัสดิการพื้นฐานของบุคคลท่ีมี ความหลากหลายทางเพศ หมายถงึ สภาพความเปน็ อยู่ ความตอ้ งการพน้ื ฐาน ของบุคคลทมี่ คี วามหลากหลายทางเพศในมิติ ร่างกาย จิตใจ และสังคม งานวิจัยที่พบในประเด็นน้ีมี 6 เรื่อง ศึกษาถึงวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ การปรบั ตวั ของบคุ คลทมี่ คี วามหลากหลายทางเพศในบรบิ ทเมอื ง ความตอ้ งการ พ้ืนฐานของผู้ชายข้ามเพศ การสร้างความเข้าใจและประสบการณ์ของผู้หญิง ข้ามเพศวัยสูงอายุ จากการทบทวนพบว่า ยังไม่มีการศึกษาถึงความต้องการ และสวัสดิการพ้ืนฐานของประชากรบุคคลท่ีมีความหลากหลายทางเพศใน แตล่ ะกลุ่ม ซ่งึ มีความเฉพาะและแตกต่างกัน ทง้ั ในด้านของการเปลย่ี นแปลง รา่ งกาย ลกั ษณะการเผชญิ กบั ปญั หาในสงั คมดา้ นอนื่ ๆ และทส่ี ำ� คญั คอื ยงั ไม่ พบงานที่ศึกษาด้านการเตรียมความพร้อมเก่ียวกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ท่มี ีความหลากหลายทางเพศ 147 ยทุ ธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
10. ศาสนา ความเช่ือกบั ความหลากหลายทางเพศ งานวิจัยในประเด็นศาสนา ความเชื่อกับความหลากหลายทางเพศ หมายถงึ งานวิจยั ทไี่ ด้วิเคราะห์ เชื่อมโยงประเดน็ ศาสนา ความเชือ่ พธิ ีกรรม ต่างๆ กบั ประเด็นความหลากหลายทางเพศ จากการทบทวนพบงานวิจัยจำ� นวน 5 เรือ่ ง น�ำเสนอผา่ นศาสนาพุทธ ด้วยมุมมองท้ังของฆราวาสและพระสงฆ์ ข้อค้นพบท่ีน�ำเสนอในงานแบ่งออก เปน็ สองประเดน็ หลกั คอื แนวทางแรกชใ้ี หเ้ หน็ ถงึ มมุ มองการตคี วามหลกั คำ� สอน ศาสนาพุทธที่เปิดกว้างมากขึ้นในการอธิบายความหลากหลายทางเพศ ได้มี การพยายามในการอธบิ ายใหเ้ หน็ วา่ ความหลากหลายทางเพศเปน็ สงิ่ ทป่ี กตติ าม ธรรมชาติ ทกุ คนสามารถบรรลธุ รรมไดโ้ ดยไมม่ เี งอื่ นไขเรอื่ งเพศเขา้ มาเกยี่ วขอ้ ง และทุกคนมศี กั ด์ศิ รีความเป็นมนษุ ยอ์ ย่างเท่าเทยี มกัน แนวทางทส่ี องเปน็ งาน วิจัยท่ีน�ำเสนอความหลากหลายทางเพศโดยตีความหลักค�ำสอนของพระพุทธ ศาสนาตามแนวอนรุ กั ษน์ ยิ มสดุ โตง่ กลา่ วคอื ยงั ใชค้ ำ� วา่ “เบยี่ งเบนทางเพศ” อยู่ และยังมองว่าการท่ีเพศสภาพไม่ตรงกับเพศก�ำเนิดเป็นเร่ืองของกรรม ซึ่ง สะท้อนให้เห็นว่าในมุมของศาสนามีท้ังมุมมองท่ีเปิดกว้างด้านสุขภาวะของ บคุ คลทมี่ คี วามหลากหลายทางเพศ ในขณะเดยี วกนั กย็ งั มงี านวจิ ยั ทไี่ มย่ อมรบั ความหลากหลายทางเพศ และตีความค�ำสอนของหลักศาสนาในประเด็น ความหลากหลายทางเพศอยา่ งคบั แคบ 11. ความรุนแรงตอ่ บคุ คลท่ีมีความหลากหลายทางเพศ งานวิจัยในประเด็นความรุนแรงต่อบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ หมายถึง งานวิชาการท่ีศึกษาประเด็นความรุนแรงทุกรูปแบบท่ีมีต่อกลุ่มผู้มี ความหลากหลายทางเพศ เช่น ความรนุ แรงทางสังคม ความรุนแรงทางเพศ ร่างกาย จติ ใจ รวมไปถึงการรงั แก กล่ันแกลง้ (Bullying) ดว้ ยเหตุแหง่ เพศ ทงั้ ในลกั ษณะเผชิญหนา้ ลบั หลงั หรือในส่อื ทกุ ประเภท 148 ยุทธศาสตร์สขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
จากการทบทวนงานวจิ ยั ในประเดน็ นี้ พบงานวจิ ยั จำ� นวน 4 เรอ่ื ง ศกึ ษา การรงั แก กลน่ั แกลง้ และการคุกคามทางเพศ สำ� หรบั ช่องว่างของงานวิจัยใน ประเดน็ ความรนุ แรงตอ่ บคุ คลทม่ี คี วามหลากหลายทางเพศคอื ยงั มงี านศกึ ษา ในประเด็นน้ีอยู่น้อยมาก ทั้งในเชิงปริมาณงานวิจัย และเชิงประเด็นที่ศึกษา วิจัย เม่อื เทียบกบั การศึกษาในประเด็นอ่นื ๆ และเทียบกับสถานการณป์ ัญหา ความรุนแรงท่เี กดิ ขนึ้ ดว้ ยเหตแุ หง่ เพศในสงั คมไทยในปจั จบุ นั 12. ความหลากหลายทางเพศในระบบการศกึ ษา งานวจิ ยั ประเดน็ ความหลากหลายทางเพศในระบบการศกึ ษา หมายถงึ งานวิจัยที่ศึกษาเก่ียวกับความหลากหลายทางเพศในระบบการศึกษา เช่น หนังสือหรือแบบเรียน แนวทางวิธีการจัดการเรียนการสอน กระบวนการ ถ่ายทอดและเรียนรู้ บุคลากรในสถานศึกษา และแนวปฏิบัติในสถานศึกษา เปน็ ตน้ จากการทบทวนพบวา่ ยงั มงี านวจิ ยั ในประเดน็ นีอ้ ย่นู ้อยมาก คือมเี พียง 3 เรอ่ื งเท่านั้น โดยทงั้ สามเรอ่ื งศกึ ษาประเด็นที่ใกล้เคียงกนั คือ แบบเรยี นและ แนวทางการจดั การเรยี นการสอน ชอ่ งวา่ งในประเดน็ ความหลากหลายทางเพศ ในระบบการศกึ ษา พบวา่ ยงั ขาดการวจิ ยั เพอ่ื สรา้ งฐานคดิ เรอ่ื งความหลากหลาย ทางเพศใหก้ บั บคุ ลากรและผบู้ รหิ ารทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ระบบการศกึ ษา ซง่ึ เปน็ ปจั จยั สำ� คญั ทจ่ี ะนำ� ไปสกู่ ารเปลย่ี นแปลงในดา้ นอนื่ ๆ เชน่ รปู แบบการเรยี นการสอน แบบเรียน การลดความรุนแรงในสถานศึกษา การสรา้ งสิ่งแวดลอ้ มท่ีเปน็ มิตร เอ้ือต่อการเรียนรู้และพัฒนาสุขภาวะของบุคคลมีความหลากหลายทางเพศ ในสถานศึกษา 149 ยทุ ธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ช่องว่างของงานวจิ ยั ด้านสขุ ภาวะ ของกลุ่ม LGBTIQN+ ในประเทศไทย ชอ่ งวา่ งขององคค์ วามรดู้ า้ นสขุ ภาวะของกลมุ่ LGBTIQN+ ในประเทศไทย สามารถแบง่ เปน็ สองยคุ หลกั ๆ คอื 1) ชอ่ งวา่ งงานวจิ ยั เกยี่ วกบั ความหลากหลาย ทางเพศสภาพและเพศวถิ ใี นประเทศไทยระหวา่ งปที ศวรรษที่ 1950 ถงึ ปที ศวรรษ 2010 จากการวิเคราะห์ของปีเตอร์ เอ แจ็คสนั และนฤพนธ์ ด้วงวเิ ศษ และ 2) และช่องว่างงานวิจัยเก่ียวกับความหลากหลายทางเพศสภาพและเพศวิถี ในประเทศไทยระหว่างปี พ.ศ. 2553–2563 ดงั น้ี 1. ช่องวา่ งงานวจิ ยั เกย่ี วกับความหลากหลายทางเพศสภาพ และเพศวถิ ใี นประเทศไทยระหว่างปีทศวรรษที่ 1950 ถึงปที ศวรรษ 2010 (พ.ศ. 2493–2553) จากการวเิ คราะห์ ของปเี ตอร์ เอ แจค็ สนั และนฤพนธ์ ดว้ งวิเศษ ปเี ตอร์ เอ แจค็ สนั และนฤพนธ์ ดว้ งวเิ ศษ ไดว้ เิ คราะหช์ อ่ งวา่ งการวจิ ยั ในประเดน็ LGBTQ ในประเทศไทย เพอื่ เปน็ ประเดน็ สำ� คญั สำ� หรบั การทำ� วจิ ยั ในอนาคต ดงั นี้ 1) การศกึ ษา ทอม–ด้–ี เลส และชายข้ามเพศ การวจิ ยั ทผ่ี า่ นมามกี ารศกึ ษาเกย่ี วกบั ชายรักชาย (Gay Men) และ กะเทย (หญงิ ขา้ มเพศ Transwomen) เปน็ จำ� นวนมากและมากกวา่ การศกึ ษา หญงิ รกั เพศเดยี วกนั (Female Homosexuals) และชายขา้ มเพศ (Transmen/ Female–to–Male Transsexuals) ในทุกสาขาวิชาและทุกหัวข้อการวิจัย การวิจัยเกี่ยวกับวัฒนธรรมและชุมชนทอม–ด้ี–เลสเบี้ยน (Tom–Dee–Les) รวมไปถึง ชายข้ามเพศ (Transmen) ของไทย ยงั มนี ้อยมาก 150 ยุทธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
2) ความซับซอ้ น ล�ำดบั ชัน้ และความหลากหลาย ทางวฒั นธรรม–ชาตพิ ันธ์ุ ในกลมุ่ บุคคลข้ามเพศ และเควยี ร์ งานวิจัยหลายๆ เร่ืองมองข้ามภมู หิ ลังทางประวัตศิ าสตรข์ องพน้ื ท่ีซ่งึ มี ความเฉพาะทางวฒั นธรรม เป็นพ้นื ทคี่ วามสัมพนั ธ์ระหว่างคนรักเพศเดียวกนั และพฤตกิ รรมการขา้ มเพศมมี าแตด่ ง้ั เดมิ และไดห้ ลอมรวมกบั แบบแผนตวั ตน และอัตลักษณ์ทางเพศแบบสมยั ใหม่ที่เพิ่งเกดิ ขนึ้ มา นอกจากนนั้ ยงั แทบไม่มี การศึกษาในประเด็นล�ำดับช้ันทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมชาติพันธุ์ (Socio–Economic and Ethno–Cultural Hierarchy) ภายในชุมชน เควยี รแ์ ละคนขา้ มเพศทกี่ ดี กนั หรอื ทำ� ใหค้ นบางกลมุ่ ตกอยใู่ นตำ� แหนง่ ทเี่ ปน็ รอง อีกทั้งยังมีการศึกษาท่ีน้อยมากเกี่ยวกับความแตกต่างระหว่างชนชั้นทาง เศรษฐกิจสังคมที่ท�ำให้เกิดการแบ่งแยกภายในชุมชนเกย์ ทอม–ดี้–เลสเบี้ยน และกะเทย 3) การผสมผสานระหว่างท้องถ่นิ กับโลก ในเร่ืองของภาษาและ วาทกรรมเกี่ยวกบั ความหลากหลายทางเพศสภาพและเพศวิถี การศกึ ษาเกย่ี วกบั การผสมผสานกนั ระหวา่ งทอ้ งถนิ่ กบั โลก ในเรอื่ งของ ศพั ทบ์ ญั ญตั ิ คำ� ศพั ท์ และวาทกรรมเกย่ี วกบั พฤตกิ รรมและอตั ลกั ษณท์ างเพศ ในชมุ ชนเกย์ กะเทย เลสเบย้ี น มีความส�ำคัญและจ�ำเปน็ คำ� ต่างๆ เช่น เกย์ รุก–เกย์รับ เกย์แมน–เกย์สาว สาวหล่อ–สาวแท้ ผู้หญิงข้ามเพศ–ผู้ชายข้าม เพศ สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ทศั นคตทิ ก่ี ำ� ลงั เปลย่ี นไป การเกดิ ขนึ้ ของอตั ลกั ษณท์ าง เพศรูปแบบใหม่ๆ การยอมรับทางสังคม และการเลือกปฏิบัติกีดกันท่ีพบได้ ทง้ั ในและนอกชมุ ชนเควยี ร์ของไทย 4) การวเิ คราะห์ระบบเพศของไทยภายใตเ้ สรนี ยิ มใหม่ ประเด็นท่ียังขาดการศึกษาคือลัทธิบริโภคนิยม การท่องเที่ยวเพื่อเร่ือง เพศ รวมไปถึงประเด็นชีวการเมืองของบรรทัดฐานรักเพศเดียวกัน (Bio– 151 ยทุ ธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
Politics of Homonormativity) และการเคล่ือนไหวข้ามชาติในเร่ืองของ ความเป็นพลเมืองเควียรแ์ ละคนขา้ มเพศในประเทศไทย 5) ความสมั พนั ธแ์ ละการเชือ่ มโยงระหวา่ งวัฒนธรรม และชุมชน LGBTQ ของไทยกบั เอเชยี งานวิจัยส่วนใหญ่ทั้งของไทยและต่างประเทศเน้นไปท่ีความสัมพันธ์ ระหว่างไทยกับตะวันตก แต่ยังขาดองค์ความรู้เก่ียวกับต�ำแหน่งแห่งท่ีของ ชุมชน LGBT จีน ญป่ี นุ่ เกาหลี และชาตเิ อเชยี อน่ื ๆ ในประเทศไทย 6) ประวตั ศิ าสตรข์ องชมุ ชน LGBTQ ของไทยกอ่ นทศวรรษ 1960 หลกั ฐานชนั้ ตน้ เกย่ี วกบั ชวี ติ และชมุ ชน LGBT นบั ตง้ั แตช่ ว่ งกอ่ นทศวรรษ ที่ 1960 และทศวรรษท่ี 1970 มีน้อยมาก จึงมคี วามจ�ำเป็นเร่งด่วนให้มกี าร บันทึกประวัติศาสตร์จากการบอกเล่า (Oral History) เพื่อเก็บรวบรวมเรื่อง ราวชวี ติ จาก LGBT สงู อายใุ นประเทศไทย ก่อนทคี่ นรุ่นกอ่ นจะจากไป 7) LGBTQ สูงอายุ งานวจิ ัยสว่ นใหญม่ ุ่งประเด็นไปที่ LGBTQ เยาวชนและผู้ใหญ่ อยา่ งไร กต็ ามประเทศไทยกำ� ลงั เขา้ สสู่ งั คมผสู้ งู อายุ ประเดน็ คำ� ถามทส่ี ำ� คญั คอื กะเทย เกย์ ชายขา้ มเพศ และหญงิ รกั หญงิ ทส่ี งู อายมุ ากขนึ้ จะจดั การกบั ความทา้ ทาย เรอื่ งสุขภาพ เร่อื งทางสังคม และเรื่องอ่นื ๆ ซึง่ มคี วามเฉพาะเจาะจงอยา่ งไร 8) ชวี ิตทางศาสนาของ LGBT ไทย การทับซอ้ นระหว่าง ศาสนา วฒั นธรรมและความหลากหลายทางเพศ ประเทศไทยมีวัฒนธรรมทางศาสนาที่ซับซ้อนมาก เช่นเดียวกับ วัฒนธรรมของความหลากหลายทางเพศสภาพและเพศวิถีที่ซับซ้อนและ เปล่ยี นแปลงไปอย่างรวดเรว็ แตง่ านวิจยั ท่ศี กึ ษาเก่ยี วกับการทับซ้อน (Inter- 152 ยุทธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
sect) สัมพันธ์กันระหว่างวัฒนธรรมทางศาสนา และความหลากหลายทาง เพศมีอยู่อย่างจ�ำกัด ยังขาดองค์ความรู้เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างชุมชน บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศแต่ละชุมชน ท้ังคนข้ามเพศ เกย์ และ เลสเบี้ยน กับชีวิตทางศาสนาท้ังมิติเชิงพุทธ พราหมณ์ และลัทธินับถือผี ส่ิงศักด์ิสิทธิ์ท่ีมีความแตกต่างหลากหลาย ค�ำถามน้ีส�ำคัญเน่ืองจากระบบ ศาสนาเปน็ พน้ื ฐานของระบอบจรยิ ธรรม โดยเฉพาะจรยิ ธรรมในเรอื่ งเพศและ บรรทัดฐานเร่ืองพฤติกรรมทางเพศ ซึ่งมีผลกระทบอย่างย่ิงต่อชีวิตของเกย์ เลสเบีย้ น และคนขา้ มเพศในประเทศไทย 2. ช่องว่างงานวิจยั เกีย่ วกบั ความหลากหลายทางเพศสภาพ และเพศวิถใี นประเทศไทยระหว่างปี พ.ศ. 2553–2563 ช่องว่างงานวิจัยเกี่ยวกับความหลากหลายทางเพศสภาพและเพศวิถี ในประเทศไทยระหวา่ งปี พ.ศ. 2553–2563 สามารถแยกประเดน็ การวเิ คราะห์ เปน็ สองประเดน็ หลกั ๆ คือประเด็นการวิจยั และกลมุ่ ประชากรที่ศึกษา ดังนี้ 2.1 ชอ่ งวา่ งเกยี่ วกับประเด็นการวจิ ัย จากการทบทวนผลงานวจิ ยั ดา้ นสขุ ภาวะของ LGBTIQN+ ในประเทศไทย ท่ีด�ำเนินการระหว่าง พ.ศ. 2553–2563 จ�ำนวน 159 เรื่อง พบว่าประเด็น การวจิ ยั ยงั ไมค่ รอบคลมุ กลายเปน็ ชอ่ งวา่ งเกยี่ วกบั สภาพปญั หาในดา้ นสขุ ภาวะ ของ LGBTIQN+ ในปจั จบุ นั ทั้งนีส้ ามารถจำ� แนกได้ 16 ประเด็น คอื 1. การวิจัยเพ่ือป้องกันและลดความรุนแรงอันเน่ืองด้วยเหตุแห่งเพศ ทงั้ จากในมมุ ของผกู้ ระทำ� ความรนุ แรงและมมุ มองจากผถู้ กู กระทำ� ความรนุ แรง 2. การวจิ ยั ในรปู แบบบูรณาการ ด้านการปฏบิ ัติงานหรือการเช่อื มโยง ข้อมูลภายใน/ภายนอกขององค์กรที่ท�ำงานด้านสุขภาวะของบุคคลท่ีมี ความหลากหลายทางเพศ ทั้งในระดับนโยบายและระดับพื้นท่ีร่วมกับภาคี 153 ยุทธศาสตรส์ ุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ท่ีเกี่ยวข้อง การสร้างความร่วมมือกับภาคส่วนใหม่ๆ ผ่านกระบวนการการมี สว่ นร่วมท้งั ภาคประชาสังคม ภาครัฐ ภาคเอกชน และชมุ ชนอยา่ งเหมาะสม 3. การวิจัยเพื่อส่งเสริมการเผยแพร่องค์ความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับ สุขภาวะของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ตลอดจนการสังเคราะห์ องค์ความรไู้ ปส่กู ารปฏิบตั ิ 4. การวิจัยเพ่ือผลิตองค์ความรู้ใหม่ๆ ส�ำหรับบุคคลข้ามเพศ เช่น การผา่ ตดั แปลงเพศ การใชฮ้ อร์โมน การใหค้ �ำปรึกษา เป็นต้น 5. การวิจัยเพ่ือสร้างความเข้มแข็ง หนุนเสริมทักษะการท�ำงาน องค์ความรู้ และเสริมสร้างศักยภาพภายในให้กับคนท�ำงานด้านสุขภาวะของ บุคคลทม่ี ีความหลากหลายทางเพศเพ่ือสร้างความยัง่ ยืนในการดำ� เนินงาน 6. การวิจยั เพอ่ื ศึกษาคุณภาพชวี ิต แก้ไขปัญหาด้านเศรษฐกิจ อาชีพ และความมัน่ คงในชวี ิตให้กับบคุ คลทมี่ ีความหลากหลายทางเพศ 7. การวจิ ยั เพอื่ ปรบั ปรงุ กฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั สขุ ภาวะของบคุ คลทม่ี ี ความหลากหลายทางเพศที่ยังมีปัญหา เช่น ประเด็นสิทธิในการเข้าถึงและ ครอบครองอุปกรณ์เพ่ิมความสุขทางเพศหรือ “เซ็กซ์ทอย” (Sex toys) กฎหมายวา่ ดว้ ยเร่อื งการทำ� แทง้ สทิ ธกิ ารประกอบอาชพี พนกั งานบริการ ฯลฯ 8. การวิจัยเพ่ือศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการเฉพาะกลุ่มของ บคุ คลทมี่ คี วามหลากหลายทางเพศ เพอ่ื ใหผ้ ลการศกึ ษาวจิ ยั สามารถตอบสนอง ความตอ้ งการของบคุ คลทมี่ คี วามหลากหลายทางเพศไดโ้ ดยแทจ้ รงิ บนพน้ื ฐาน การเคารพสทิ ธิความเป็นมนษุ ย์ 9. การวจิ ยั เพอ่ื พฒั นายทุ ธศาสตรด์ า้ นสขุ ภาวะของ LGBTIQN+ อยา่ ง ต่อเน่ือง เพ่ือให้มีแนวทางการการขับเคลื่อนประเด็นสุขภาวะ LGBTIQN+ ที่ชัดเจนและสอดคล้องกบั สถานการณ์ปจั จบุ นั 154 ยทุ ธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
10. การวจิ ยั เพอื่ สนบั สนนุ การพฒั นาองคค์ วามรแู้ ละนวตั กรรมการทำ� งาน เพอื่ การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ประชากรทม่ี คี วามหลากหลายทางเพศอยา่ งยงั่ ยนื รองรับยุคแห่งการเปล่ียนแปลงทั้งด้านความรู้การสื่อสาร การจัดการ และ เทคโนโลยเี พ่ือเพ่มิ ความรอบรดู้ ้านสขุ ภาพ 11. การวิจัยประเด็นผู้สูงอายุที่เป็นบุคคลหลากหลายทางเพศ ซ่ึงเป็น ประเดน็ มคี วามสอดคลอ้ งกบั สถานการณด์ า้ นประชากรทกุ กลมุ่ ในประเทศไทย ในปจั จบุ นั รวมทงั้ กลมุ่ บคุ คลทม่ี คี วามหลากหลายทางเพศดว้ ย ใหเ้ ขา้ ถงึ สทิ ธิ และบรกิ ารภาครฐั อยา่ งเปน็ ธรรม การลดความเหลอื่ มลำ�้ ทางดา้ นสขุ ภาพสงั คม และเศรษฐกจิ การพฒั นาระบบเพอื่ รองรบั สงั คมสงู วยั และการนำ� นโยบายไปสู่ การปฏบิ ัตอิ ย่างมีประสิทธภิ าพและเปน็ ธรรม 12. การวิจัยประเด็นการเข้าถึงยาต้านเอชไอวี/เอดส์ การเข้าถึงเพร็พ (PrEP) และเป็ป (PEP) รวมทงั้ การตีตราและการเลือกปฏิบตั ใิ นกลมุ่ บุคคลท่ี มีความหลากหลายทางเพศท่ีอยูร่ ว่ มกบั เอชไอวี/ เอดส์ 13. การวิจัยเพื่อการรายงานข้อมูลเชิงสถิติเกี่ยวกับสถานการณ์ปัญหา ความหลากหลายทางเพศในสอ่ื เพอื่ นำ� ไปสกู่ ารกำ� หนดนโยบายและการทำ� งาน ทช่ี ดั เจนในการพฒั นาสุขภาวะของประชากรผู้มีความหลากหลายทางเพศ 14. การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม เพ่ือขับเคล่ือนองค์ความรู้ เกย่ี วกบั แนวทางการปฏบิ ตั ทิ เี่ หมาะสมของสอื่ ทม่ี อี ยแู่ ลว้ ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ รวมทง้ั การศึกษาเชิงประเมินผลเกี่ยวกับประสิทธิผลของการใช้คู่มือการน�ำเสนอข่าว ด้านความหลากหลายทางเพศสำ� หรบั สอื่ 15. การศึกษาสุขภาวะบุคคลท่ีมีความหลากหลายทางเพศด้วยมุมมอง การกดขี่ทับซ้อนหรืออัตลักษณ์ทับซ้อน (Intersectionality) และวิเคราะห์ ให้เห็นถึงระบบที่ซับซ้อนของความไม่เท่าเทียม สะท้อนให้เห็นความซับซ้อน ขององค์ประกอบท่ีหลากหลายของชีวิตของบุคคลหรือกลุ่มคนหน่ึงๆ โดย 155 ยทุ ธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ไมเ่ หมารวมวา่ คนในกลมุ่ เดยี วกนั ตอ้ งเหมอื นกนั หรอื มอี ตั ลกั ษณแ์ บบเดยี วกนั ทงั้ หมด เพอื่ ใหม้ องเหน็ ความหลากหลาย ความซบั ซอ้ น และความเฉพาะของ ปัญหาสุขภาวะของบุคคลท่ีมีความหลากหลายทางเพศ เช่น อัตลักษณ์ หญิงรักหญิง การเป็นผู้อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวี อัตลักษณ์ของบุคคลข้ามเพศ กลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศท่ีเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ ผู้ต้องขังท่ีมี ความหลากหลายทางเพศ และการเปน็ ชายขอบของสังคม เป็นต้น 16. การวิจัยในเชิงการสังเคราะห์องค์ความรู้ เพื่อน�ำไปใช้การพัฒนา ต่อยอดหรือน�ำไปสู่การปฏิบัติ การขาดการบริหารจัดการเกี่ยวกับฐานข้อมูล องค์ความรู้และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องด้านความหลากหลายทางเพศ ส่งผลให้ องคค์ วามรเู้ หลา่ นกี้ ระจดั กระจาย ยากตอ่ การคน้ หาเพอื่ นำ� ไปใชป้ ระโยชน์ และ ทส่ี ำ� คญั ยงั ทำ� ใหเ้ กดิ การผลติ องคค์ วามรทู้ ซี่ ำ�้ ซอ้ นแทนทจี่ ะมกี ารพฒั นาตอ่ ยอด จากองค์ความรู้เดมิ ที่มีอยู่แลว้ ส�ำหรับประเด็นที่ไม่พบงานวิจัยท่ีทบทวนเบ้ืองต้นนั้น สามารถมองอีก นัยหนึ่งได้ว่า มีการท�ำงานวิจัยในประเด็นดังกล่าว แต่งานวิจัยเหล่าน้ันไม่ได้ เผยแพร่ในฐานข้อมูลงานวิจัยหลักของประเทศไทย หรือไม่ได้เผยแพร่อย่าง กว้างขวางมากนัก หรือมีงานวิจัยในประเด็นนี้อยู่น้อย เนื่องจากองค์กรภาค ประชาสงั คมทท่ี ำ� งานในประเดน็ นเี้ นน้ รปู แบบการทำ� งานเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารมากกวา่ การนำ� เสนอขอ้ มลู ในรปู แบบทางวชิ าการ นอกจากนหี้ ากมฐี านขอ้ มลู ทรี่ วบรวม องค์ความรู้ด้านสุขภาวะของบุคคลท่ีมีความหลากหลายทางเพศไว้ด้วยกัน จะช่วยใหส้ ามารถเขา้ ถงึ งานวิจยั และข้อมลู ในรูปแบบอนื่ ๆ ไดม้ ากข้ึน 2.2 ช่องวา่ งกลมุ่ ประชากรท่ศี ึกษา เมอื่ พจิ ารณางานวจิ ยั จำ� นวน 159 เรอ่ื ง โดยแบง่ กลมุ่ ประชากรทศี่ กึ ษา เปน็ 9 กลมุ่ คอื Lesbian (หญงิ รกั หญงิ ) Gay (ชายรกั ชาย) Bisexual (บคุ คล รกั ไดท้ งั้ สองเพศ) Transwomen (ผหู้ ญิงขา้ มเพศ) Transmen (ผชู้ ายขา้ ม 156 ยทุ ธศาสตรส์ ุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
เพศ) Intersex (บุคคลที่มีเพศก�ำกวม) Queer (ผู้ไม่นิยามเพศ บุคคล ท่ีปฏิเสธการนิยามตนเองด้วยอัตลักษณ์ทางเพศทุกรูปแบบ) Non–Binary (นอน–ไบนาร่ี หรอื บคุ คลทป่ี ฏเิ สธการนยิ ามตนเองดว้ ยอตั ลกั ษณท์ างเพศทวี่ าง อยบู่ นฐานการแบง่ เพศเปน็ สองขว้ั ตรงขา้ ม คอื ชายและหญงิ ) และ LGBTIQN+ (ทกุ กลมุ่ หรือศึกษาในภาพรวม) มีข้อคน้ พบดังนี้ ตารางท่ี 3 แสดงจ�ำนวนกลุ่มประชากรท่ีศึกษาในงานวิจัยด้านสุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย ระหวา่ งปี พ.ศ. 2553–2563 กลมุ่ ประชากรท่ีศึกษา จำ� นวน ร้อยละ ศกึ ษาในภาพรวมประชากรทุกกลุ่ม LGBTIQN+ 93 56.02 ชายรักชาย (Gay) ชายทม่ี เี พศสัมพนั ธ์กบั ชาย (MSM) 35 21.08 ผหู้ ญิงขา้ มเพศ (Transwomen) 23 13.86 หญงิ รักหญงิ (Lesbian) 6 3.61 ผู้ชายขา้ มเพศ (Transmen) 6 3.61 ผไู้ มน่ ยิ ามเพศ บุคคลทปี่ ฏิเสธการนิยามตนเองดว้ ยอตั 2 1.20 ลักษณ์ทางเพศทุกรปู แบบ (Queer) บุคคลรักไดท้ ัง้ สองเพศ (Bisexual) 1 0.60 นอน–ไบนาร่ี หรือบุคคลทป่ี ฏิเสธการนิยามตนเองดว้ ยอตั 0 0 ลกั ษณท์ างเพศทวี่ างอยบู่ นฐานการแบง่ เพศเปน็ สองขัว้ ตรง ข้าม คอื ชายและหญงิ (Non–Binary) 0 0 บุคคลที่มีเพศกำ� กวม (Intersex) 166* 100 รวม *หมายเหตุ: เนอื่ งจากงานวิจยั บางเรอ่ื งได้ศกึ ษากลมุ่ ประชากรหลายกลุ่ม จงึ มีการนบั กลุ่มประชากรซ�้ำ ดังนั้น จ�ำนวนประชากรท่ีศึกษาจึงมีมากกว่าจ�ำนวน งานวิจยั ที่ไดท้ บทวน 157 ยุทธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
กลุ่มประชากรท่ีใช้ในการศึกษาและเป็นหน่วยการวิเคราะห์ในงานวิจัย มากที่สุด และมากกว่าคร่ึงหนึ่งของงานวิจัยท่ีทบทวน ได้แก่ LGBTIQN+ (ทุกกลุม่ หรือศกึ ษาในภาพรวม) มีจำ� นวน 93 เร่ือง (รอ้ ยละ 56.02) กล่มุ ประชากรทถ่ี กู ศกึ ษารองลงมา คอื ชายรกั ชาย (Gay) ชายทม่ี เี พศสมั พนั ธก์ บั ชาย (MSM) มีจำ� นวน 35 เร่ือง (รอ้ ยละ 21.08) ผู้หญิงขา้ มเพศ (Trans- women) มีจำ� นวน 23 เรอื่ ง (ร้อยละ 13.86) หญงิ รักหญิง (Lesbian) และ ผู้ชายข้ามเพศ (Transmen) มีจ�ำนวนงานวิจัยเท่ากันคือ 6 เรื่อง (ร้อยละ 3.61) และผู้ไม่นิยามเพศ บุคคลที่ปฏิเสธการนิยามตนเองด้วยอัตลักษณ์ ทางเพศทุกรูปแบบ (Queer) จ�ำนวน 2 เร่ือง (ร้อยละ 1.20) ตามล�ำดับ สว่ นกลมุ่ ประชากรทถี่ กู ศกึ ษาทน่ี อ้ ยทสี่ ดุ คอื บคุ คลรกั ไดท้ งั้ สองเพศ (Bisexual) มีงานวจิ ัยเพยี ง 1 เร่อื ง (ร้อยละ 0.60) ในขณะทพ่ี บว่ายังไม่มงี านศึกษาใน กลุ่มประชากร บุคคลท่ีมีเพศก�ำกวม (Intersex) และนอน–ไบนาร่ี (Non– Binary) หรือบุคคลที่ปฏิเสธการนิยามตนเองด้วยอัตลักษณ์ทางเพศที่วางอยู่ บนฐานการแบ่งเพศเปน็ สองขัว้ ตรงขา้ ม คอื ชายและหญิง) จากข้อมูลข้างต้น ชี้ให้เห็นช่องว่างของงานวิจัยด้านกลุ่มประชากร ทศี่ กึ ษามสี ามประการหลกั ๆ คือ 1) งานวิจัยส่วนใหญ่กระจุกอยู่ที่การศึกษาในภาพรวมของบุคคลท่ีมี ความหลากหลายทางเพศทุกกลุ่มประชากร ซึ่งเป็นการน�ำเสนอสภาพปัญหา ด้านสุขภาวะของบุคคลท่ีมีความหลากหลายทางเพศในลักษณะที่เหมารวม จึงท�ำให้ขาดองค์ความรู้เฉพาะของประชากรแต่ละกลุ่ม ท้ังนี้การมองไม่เห็น ความแตกต่างหลากหลายของปัญหาสุขภาวะในประชากรแต่ละกลุ่มน้ัน ส่ง ผลให้ไม่สามารถสะท้อนสภาพปัญหาและความต้องการเฉพาะของประชากร แตล่ ะกลมุ่ ไดอ้ ยา่ งชดั เจน อนั จะนำ� ไปสกู่ ารพฒั นาสขุ ภาวะในดา้ นตา่ งๆ ตอ่ ไป 158 ยทุ ธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
2) การศึกษากลุ่มคนข้ามเพศ (Transgender) ในภาพรวม ท�ำให้ มองไม่เห็นความแตกต่างของสภาพปัญหาสุขภาวะระหว่าง ผู้ชายข้ามเพศ (Transmen) และผู้หญงิ ขา้ มเพศ (Transwomen) ได้อย่างชดั เจน 3) ยังไม่มีงานศึกษาในประชากรบางกลุ่ม คือ บุคคลท่ีมีเพศก�ำกวม (Intersex) และนอน–ไบนาร่ี (Non–Binary) หรือบุคคลท่ีปฏิเสธการนิยาม ตนเองด้วยอัตลักษณ์ทางเพศท่ีวางอยู่บนฐานการแบ่งเพศเป็นสองขั้วตรงข้าม คอื ชายและหญิง) และในขณะเดยี วกนั กลุ่มประชากรทมี่ ีงานศึกษาบา้ งแล้ว แต่ยังมีน้อยมาก คือ บุคคลไม่นิยามเพศ บุคคลท่ีปฏิเสธการนิยามตนเอง ด้วยอตั ลักษณ์ทางเพศทุกรูปแบบ (Queer) หญงิ รกั หญงิ (Lesbian) ผู้ชาย ขา้ มเพศ (Transmen) และบุคคลรักไดท้ ัง้ สองเพศ (Bisexual) ดังนนั้ หาก มกี ารศึกษาในกลุม่ ประชากรเหล่านม้ี ากข้ึน จะชว่ ยใหส้ ามารถมองเหน็ ปญั หา สขุ ภาวะของประชากรแตล่ ะกลมุ่ ดงั กลา่ วไดช้ ดั เจน สง่ ผลใหก้ ารทำ� งานขบั เคลอื่ น ด้านสุขภาวะของประชากรทุกกลมุ่ เป็นไปได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 159 ยุทธศาสตร์สขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
4บทท่ี กรณศี ึกษายทุ ธศาสตร์ สุขภาวะ LGBTIQN+ กรณีศกึ ษายุทธศาสตรส์ ุขภาวะ LGBTIQN+ ในตา่ งประเทศ: ประเทศแคนาดา ประเทศแคนาดาเป็นหน่ึงในประเทศที่มีความก้าวหน้ามากที่สุดในโลก ในเร่ืองสิทธิบุคคลท่ีมีความหลากหลายทางเพศ รัฐบาลแคนาดาได้ยกเลิก กฎหมายลงโทษการมีเพศสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเพศเดียวกันตั้งแต่ปี ค.ศ. 1969211 รวมไปถงึ การปรบั แกก้ ฎหมายหลายฉบบั เพอ่ื สนบั สนนุ สทิ ธบิ คุ คลทมี่ ี ความหลากหลายทางเพศ อีกท้ังจากการจัดอันดับประเทศที่เป็นมิตรกับเกย์ โดยดชั นกี ารทอ่ งเทย่ี วสำ� หรบั เกย์ ปี ค.ศ. 2019 (Gay Travel Index 2019)212 แคนาดาไดร้ บั การจดั อนั ดบั ใหเ้ ปน็ ประเทศทเี่ ปน็ มติ รกบั เกยอ์ นั ดบั ทห่ี นง่ึ ของโลก เมอื งใหญใ่ นรฐั ตา่ งๆ ของประเทศแคนาดามพี น้ื ทแ่ี ละชมุ ชนสำ� หรบั เกย์ ประเทศ แคนาดาจึงเป็นกรณีศึกษาที่ส�ำคัญส�ำหรับการพัฒนายุทธศาสตร์เพื่อสุขภาวะ บคุ คลทม่ี คี วามหลากหลายทางเพศท่ตี ้ังอยบู่ นฐานคิดเรอ่ื งสิทธมิ นษุ ยชน 211 Government of Canada, Rights of LGBTI Person, Accessed August 1, 2020, Available from https://www.canada.ca/en/canadian–heritage/services/rights–lgbti–persons. html 212 SPARTACUS Gay Travel Index 2019, Accessed August 1, 2020, Available from https://spartacus.gayguide.travel/blog/gay–travel–index–2019/ 161 ยทุ ธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ขบวนการเคลอ่ื นไหวของบคุ คลทม่ี คี วามหลากหลายทางเพศในแคนาดา ประสบความส�ำเร็จอย่างย่ิงในการสร้างการยอมรับทางการเมืองและทาง กฎหมายให้แก่คนกลุ่มน้อยทางเพศ ถึงแม้ว่าในอดีตที่ผ่านมาบรรยากาศทาง สงั คมและการเมอื งของแคนาดายงั คงเตม็ ไปดว้ ยการกดทบั และกดี กนั ทางเพศ กลุ่มนักกิจกรรมเคลื่อนไหวต่างเผชิญกับความท้าทายมากมายในการระดม ทรพั ยากร ขยายพนื้ ทแ่ี ละยกระดบั ของการขบั เคลือ่ น เพอ่ื ขจัดความไมเ่ สมอ ภาคทด่ี �ำรงอยู่ จนเกดิ พลงั ผลักดนั สรา้ งการเปลย่ี นแปลง นับตั้งแต่ทศวรรษท่ี 1990 เปน็ ตน้ มา แคนาดาทวั่ ทง้ั ประเทศกา้ วเขา้ สกู่ ารยอมรบั ความหลากหลาย ทางเพศอยา่ งเปน็ ทางการ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในเรอื่ งของการรบั รองสถานภาพ ทางกฎหมายให้แก่ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเพศเดียวกัน ถึงแม้ว่ายังคง มีเสียงของการต่อต้าน แต่ส�ำหรับประเทศแคนาดาการยอมรับคนกลุ่มน้อย ทางเพศในฐานะของสมาชิกอันชอบธรรมของสังคมได้กลายเป็นบรรทัดฐาน การเมอื งผ่านกฎหมายและนโยบาย สภาพแวดล้อมทางการเมืองและสังคมเป็นปัจจัยส�ำคัญที่ส่งเสริมให้ การขบั เคลอ่ื นของขบวนการเคลอ่ื นไหวเพอ่ื สทิ ธขิ องบคุ คลทมี่ คี วามหลากหลาย ทางเพศในแคนาดาประสบผลส�ำเร็จ นับตั้งแต่การเสื่อมถอยของกลุ่มทาง ศาสนาฝา่ ยอนรุ กั ษน์ ยิ มทตี่ อ่ ตา้ นเกยแ์ ละคดั คา้ นการยอมรบั ความหลากหลาย ทางเพศในปรมิ ณฑลสาธารณะ การอพยพยา้ ยถนิ่ ฐานของผคู้ นจากสว่ นตา่ งๆ ของโลกมายังแคนาดาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ทศวรรษ 1960 ท�ำให้วิธีคิดเรื่อง ความหลากหลายถูกผนึกเข้ากับโครงสร้างทางการเมืองของแคนาดาอย่าง แนบแน่น ภายใต้สภาพแวดล้อมดังกล่าว การยอมรับคนกลุ่มน้อยทางเพศ เข้าเป็นส่วนหนึ่งของสังคมจึงสอดรับกับหลักคิดของการนับรวมทุกกลุ่มคน เข้าเป็นส่วนหนึ่งของสังคมพลเมืองอย่างเท่าเทียม วาทกรรมทางการเมือง 162 ยทุ ธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ทแ่ี สดงถงึ การเหยยี ดเพศและเหยยี ดคนรกั เพศเดยี วกนั ไมไ่ ดร้ บั การยอมรบั และ ขาดความชอบธรรม213 ปัจจัยส�ำคัญอีกประการหน่ึงท่ีเปิดโอกาสให้กับนักกิจกรรมเพื่อบุคคลท่ี มคี วามหลากหลายทางเพศ คอื กฎบตั รสทิ ธแิ ละเสรภี าพ (Charter of Rights and Freedoms) ร่างขนึ้ มาใหม่ในปี ค.ศ. 1982 ถงึ แมว้ า่ ในกฎบัตรน้ีมิได้ กลา่ วถงึ คนกลมุ่ นอ้ ยทางเพศอยา่ งชดั เจน แตว่ ลที ก่ี ลา่ วถงึ สทิ ธคิ วามเสมอภาค ในมาตรา 15 เปดิ โอกาสใหศ้ าลพจิ ารณา การเลอื กปฏบิ ตั ดิ ว้ ยเหตแุ หง่ วถิ ที าง เพศและอตั ลกั ษณ์ทางเพศมอิ าจทำ� ได้ และขดั ต่อรฐั ธรรมนูญ ปัจจัยบริบทเหล่านี้ มีผลต่อพัฒนาการและการเปลี่ยนผ่านของ ขบวนการเคลื่อนไหวเพอ่ื บคุ คลทม่ี คี วามหลากหลายทางเพศของแคนาดา ทศวรรษที่ 1950 และทศวรรษท่ี 1960 แคนาดาในช่วงต้นทศวรรษ มิได้มีภาพกระแสของการเคลื่อนไหวของ คนกลมุ่ นอ้ ยทางเพศ ดงั ทปี่ รากฏในยโุ รปและสหรฐั อเมรกิ า ยงั ไมป่ รากฏภาพ ของคลับ บาร์ ที่เปิดให้บริการส�ำหรับลูกค้าหญิงรักหญิงหรือชายรักชายดังที่ ปรากฏในประเทศอน่ื ยกเวน้ ชว่ งเวลาสนั้ ๆ หลงั สงครามโลกครง้ั ที่ 1 มผี หู้ ญงิ สองคนในมอลทรอี อล ทำ� นติ ยสารใตด้ นิ เล มเู ช แฟนดาสตกิ ส์ (Les Mouches Fantastiques หรือ The Fantastic Files) เป็นพ้ืนทใ่ี นการแสดงตัวตนของ หญิงรักหญิงผ่านบทกวี นิยาย สารคดี เป็นเวลาสองปกี อ่ นท่จี ะปิดตวั ลง 213 Rayside, D., Canada’s LGBT Movement and Interest Group, Oxford Research Encyclopedia, Politics (USA: Oxford University Press, 2020)Accessed October 1, 2020, Available from https://oxfordre.com/politics/view/10.1093/acrefore/9780190228637.001.0001/ acrefore–9780190228637–e–1296 163 ยุทธศาสตร์สขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ในชว่ งสงครามโลกครงั้ ท่ี 2 การเปลยี่ นแปลงคอ่ ยๆ เกดิ ขนึ้ ในแคนาดา หน่วยทหารถูกส่งตัวไปประจ�ำการนอกประเทศ เปิดโอกาสให้มีกิจกรรมของ บคุ คลรักเพศเดียวกัน และเกิดเป็นเครอื ขา่ ยทางสังคมภายหลังสงคราม บาร์ และสถานท่ีนัดพบเริ่มปรากฏข้ึนในมอนทรีออลและโตรอนโต แต่ก็ยังคง ถูกต�ำรวจกวาดล้างด้วยเหตุผลว่าการรักเพศเดียวกันเป็นอันตรายต่อศีลธรรม ของสังคมและเป็นภยั คกุ คามต่อความมน่ั คงของชาติ214 ต้ังแต่ชว่ งตน้ และกลางทศวรรษที่ 1960 ถงึ แม้วา่ กระแสการขับเคลอ่ื น ทางการเมืองผ่านขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมมากมายเกิดขึ้นท่ัวแคนาดา แตข่ บวนการเคลอ่ื นไหวของชายรกั ชายและหญงิ รกั หญงิ เกดิ ขน้ึ อยา่ งชา้ ๆ ในปี ค.ศ. 1964 นกั กจิ กรรมบคุ คลทม่ี คี วามหลากหลายทางเพศไดจ้ ดั ตง้ั สมาพนั ธ์ เพอ่ื ความรทู้ างสังคม (Association for Social Knowledge–ASK) เพ่อื ใหก้ ารสนบั สนนุ ทางสงั คมและรว่ มเรยี กรอ้ งทางการเมอื งเปน็ เวลากวา่ หา้ ปี และ ในปีเดียวกัน นิตยสาร เกย์ (Gay) เร่ิมพิมพ์เผยแพร่ในโตรอนโต ถึงแม้ว่า นติ ยสารจะพมิ พเ์ ผยแพรไ่ ดไ้ มน่ าน แตก่ ม็ ฐี านผอู้ า่ นจำ� นวนมากในอเมรกิ าเหนอื ทศวรรษท่ี 1970 นบั ตงั้ แตป่ ี ค.ศ. 1969 เกดิ การเปลยี่ นแปลงหลายประการ ดว้ ยเหตผุ ล แรกคือรัฐบาลกลางแคนาดาได้ผ่านกฎหมายยกเลิกการลงโทษการมีเพศ สัมพันธ์ระหว่างบุคคลเพศเดียวกันมิให้เป็นความผิดทางอาญา (แต่ยังคงข้อ สงวนบางประการไว้ อาทิ ยังมีการก�ำหนดขีดอายุอย่างต่�ำของการมีเพศ สมั พนั ธแ์ บบยนิ ยอมพรอ้ มใจระหวา่ งบคุ คลเพศเดยี วกนั ) ปจั จยั อกี ประการหนงึ่ คือการเคล่ือนไหวในสหรัฐอเมริกาและยุโรปได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างส้ินเชิง 214 Kinsman, G., The Regulation of Desire: Home and Hetero Sexualities (Montreal, QC: Black Rose Books, 1996) 164 ยุทธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
โดยทวีความรุนแรงยิ่งข้ึน หลังเหตุการณ์จลาจลสโตนวอลล์ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1969 กลุ่มจัดตง้ั สมาพันธ์คนรักเพศเดียวกนั แหง่ มหาวทิ ยาลัยโตรอนโต (University of Toronto Homophile Association) เป็นองค์กรแรกที่ เคลอื่ นไหวภายใตห้ ลกั คดิ “เสรภี าพเกย”์ (Gay Liberation)215 ภายในระยะ เวลาสองปี มกี ลมุ่ องคก์ รในลกั ษณะเดยี วกนั กอ่ ตวั ขน้ึ มากมายในมหาวทิ ยาลยั และเมอื งตา่ งๆ ท่ัวประเทศ ขบวนการเคลอ่ื นไหวของแคนาดาในทศวรรษนจ้ี งึ เปน็ การคาบเกย่ี วกนั ระหว่างเสรีนิยมแบบสุดโต่ง (Radical Liberalism) และการแสวงหาความ เสมอภาค (Equality–Seeking Assimilationism) กลมุ่ องค์กรทร่ี วมแนวคิด เสรภี าพแบบสดุ โตง่ เขา้ กบั การมงุ่ เนน้ ไปทส่ี ทิ ธขิ องหญงิ รกั หญงิ และชายรกั ชาย ได้แก่ พนั ธมติ รเกยเ์ พื่อความเสมอภาคแหง่ แวนคูเวอร์ (Vancouver’s Gay Alliance Toward Equality) มีการตอบโต้ทางกฎหมายไปยังหนังสือพิมพ์ แวนคูเวอร์ ซัน (Vancouver Sun) ท่ีปฏิเสธการลงตีพิมพ์โฆษณาให้กับ องค์กรพันธมิตรเกย์ ในที่สุดพันธมิตรเกย์เพื่อความเสมอภาคชนะคดีในศาล สูงสุดแคนาดา อีกองค์หน่ึงคือเกย์แห่งออตตาวา (Gays of Ottawa) ซ่ึง กอ่ ตง้ั ขนึ้ ในปี ค.ศ. 1971 เปน็ อกี องคก์ รหนง่ึ ทผี่ สมผสานระหวา่ งสองแนวทาง เรื่องเสรีภาพและสิทธิ เกย์แห่งออตตาวา (Gays of Ottawa) เป็นหนึ่ง ในองค์ทีม่ ีการดำ� เนนิ งานไดย้ าวนานทีส่ ดุ ของประเทศ ในช่วงเวลานั้น ยังไม่มีกลุ่มหรือองค์กรที่ขับเคลื่อนในระดับประเทศ ในฐานะของตวั แทนคนกลมุ่ นอ้ ยทางเพศ จนกระทงั่ ในปี ค.ศ. 1972 แนวรว่ ม การเลอื กตงั้ เกยแ์ หง่ ชาติ (National Gay Election Coalitions) ไดก้ อ่ ตง้ั ขนึ้ เพอ่ื ผลกั ดนั ประเดน็ ความหลากหลายทางเพศใหแ้ กผ่ สู้ มคั รเขา้ รบั การเลอื กตงั้ 215 Warner, T., Never Going Back: A History of Queer Activism in Canada. Toronto (ON: University of Toronto Press, 2002) 165 ยุทธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ในสภารัฐบาลกลาง แนวร่วมเพื่อสิทธิเกย์แห่งชาติ National Gay Rights Coalition (ในภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น แนวร่วมเพื่อสิทธิเลสเบ้ียนและเกย์ แคนาดา (Canadian Lesbian and Gay Rights Coalition)) ก่อตงั้ ข้นึ ในปี ค.ศ. 1975 ตลอดการท�ำงานในช่วงเวลา 5 ปีขององคก์ ร เต็มไปด้วย ความท้าทายท้ังในเรื่องของการขาดแคลนทรัพยากรและความขัดแย้งในเชิง อดุ มการณท์ างการเมือง ยทุ ธศาสตร์ และอตั ลกั ษณท์ างเพศ นอกจากนั้น ในช่วงทศวรรษท่ี 1970 นี้ ได้มีการเกิดข้ึนของชุมชน ทางศาสนาของชายรักชายและหญงิ รักหญงิ กลุ่มเคลือ่ นไหวของหญงิ รักหญงิ โดยเฉพาะยังไม่ปรากฏมากนัก กลุ่มหญิงรักหญิงมักเป็นการรวมตัวอย่าง ไมเ่ ปน็ ทางการหรอื เปน็ ลกั ษณะของการพกั อาศยั รว่ มกนั ในสหกรณก์ ารเคหะใน เมืองใหญ่ มีกลุ่มย่อยของหญิงรักหญิงในองค์กรที่ขับเคล่ือนโดยชายรักชาย เป็นหลัก นอกจากนั้นการก่อตัวของกลุ่มเคลื่อนไหวของบุคคลท่ีมีความ หลากหลายทางเพศท่ีเป็นคนผิวสียังเกิดข้ึนไม่มาก หรือแม้แต่โอกาสในการ เขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มในเครอื ขา่ ยทางการเมอื งและวฒั นธรรมของหญงิ รกั หญงิ /ชาย รักชายยังมีน้อย ทั้งๆ ท่ีลักษณะประชากรทางเชื้อชาติของแคนาดามีการ เปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเรว็ อนั เปน็ ผลสบื เนอื่ งมาจากการอพยพยา้ ยถนิ่ แตค่ วาม หลากหลายของเชอื้ ชาตขิ องผเู้ ขา้ รว่ มในขบวนการเคลอื่ นไหวทางสงั คมยงั มอี ยู่ อยา่ งจำ� กดั กลมุ่ องคก์ รทก่ี อ่ ตวั ขน้ึ ในชว่ งของการขบั เคลอื่ นดา้ นเสรภี าพน้ี สว่ นใหญ่ ด�ำเนินงานอยู่ในช่วงสั้นๆ ส่วนองค์กรท่ีด�ำเนินงานได้ค่อนข้างยาวนาน เช่น องค์กรเกย์แห่งออตตาวา (Gays of Ottawa) เกย์เพื่อความเสมอภาคใน วินนเิ พก (Gay for Equality in Winnipeg) และพันธมิตรเกย์เพอ่ื ความ เสมอภาค (Gay Alliance for Equality) ขบั เคล่อื นภายใต้การทำ� งานของ อาสาสมคั รเพยี งไมก่ ค่ี น นอกจากนนั้ ในชว่ งปลายทศวรรษที่ 1970 ถงึ ตน้ ทศวรรษ ที่ 1980 ยงั เปน็ ชว่ งเวลาของการกวาดลา้ ง การฟ้นื ตัว และการขยายตวั ของ 166 ยุทธศาสตร์สขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
การขับเคล่ือนของนักกิจกรรมในมอนทรีออลและโตรอนโต ในมอนทรีออล หน่วยงานรัฐบาลท้องถ่ินมุ่งม่ันที่จะ “ท�ำความสะอาดเมือง” โดยมีต�ำรวจบุก จบั กมุ ชายรกั ชาย เรม่ิ ในปี ค.ศ. 1975 และเรอ่ื ยมาจนถงึ การจับกมุ คร้ังใหญ่ ในปี ค.ศ. 1977 มชี ายถูกจับกุมเกอื บ 150 คน ในบาร์ทรูเอ็กซ์เอ็กซ์ (Truxx) และในโตรอนโต ในปี ค.ศ. 1978 และ1979 ตำ� รวจออกกวาดลา้ งโรงอาบน�้ำ กลุ่มศาสนาออกมารณรงค์ต่อต้านเกย์ และในปี ค.ศ. 1981 ต�ำรวจยังคง กวาดล้างโรงอาบน้�ำในโตรอนโต โดยมีการจับกุมคนมากที่สุดถึง 300 คน ภายในคนื เดียว ทศวรรษท่ี 1980 นกั กจิ กรรมเสรีภาพชายรกั ชายที่ขบั เคลือ่ นในปีทศวรรษ 1970 ยังคงมี บทบาทในขบวนการเคลอื่ นไหวในชว่ งปีทศวรรษ 1980 แต่การเคล่อื นไหวใน ทศวรรษนม้ี งุ่ เนน้ ทกี่ ารคมุ้ ครองสทิ ธิ การขบั เคลอ่ื นในเรอ่ื งสทิ ธทิ วคี วามสำ� คญั มากขน้ึ เมอ่ื มกี ารบงั คบั ใชก้ ฎบตั รสทิ ธแิ ละเสรภี าพ (The Charter of Rights and Freedoms) ในปี ค.ศ. 1982216 กอ่ นหน้านัน้ ระบบการเมืองใช้การ ก�ำกับดูแลโดยให้อ�ำนาจกับสภา จึงเป็นเร่ืองยากที่ศาลจะพิจารณาตัดสินใน ทศิ ทางคา้ นกบั รฐั บาลกลางและรฐั บาลทอ้ งถน่ิ กฎบตั รใหมน่ เ้ี ปลย่ี นขบวนการ เคล่ือนไหวทางสังคมโดยใช้กฎหมายเปน็ จุดคานงดั ทางการเมือง ในทศวรรษท่ี 1980 เครอื ขา่ ยหญงิ รกั หญงิ และชายรกั ชายคอ่ ยๆ เตบิ โต ในพรรคการเมือง โดยเฉพาะพรรคประชาธิปไตยใหม่ (New Democratic Party) และพรรคเกเบกัว (Parti Québécois) รวมไปถึงพรรคเสรีนิยมใน รัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถ่ิน นอกจากน้ัน เครือข่ายหญิงรักหญิง/ชายรัก 216 Smith, M., Political Institutions and Lesbian and Gay Rights in the United States and Canada (New York, NY: Routledge, 2008) 167 ยทุ ธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ชายได้รับการสนบั สนุนในองค์กรภาครัฐและองคก์ รภาคธรุ กิจเอกชน เร่มิ จาก การได้รับการสนับสนุนภายใต้ขบวนการเคล่ือนไหวด้านแรงงาน (Labour Movement) ตงั้ แตท่ ศวรรษที่ 1970 จนถงึ ปีทศวรรษท่ี 1980 กลุ่มหญงิ รัก หญงิ /ชายรกั ชายไดร้ บั การสนบั สนนุ อยา่ งเปน็ ทางการผา่ นสหภาพแรงงานและ สภาแรงงานแคนาดา การแพร่ระบาดของโรคเอดส์ในแคนาดา ท�ำให้ขบวนการเคลื่อนไหว ขยายตวั อย่างมาก คณะกรรมาธกิ ารเอดส์ (AIDS Committees) กอ่ ต้งั ขน้ึ ในโตรอนโตและแวนคเู วอร์ ในปี ค.ศ. 1983 และต่อมาในมอนทรอี อล และ เมืองอื่นๆ การแพร่ระบาดอย่างรวดเร็วเปิดประตูให้รัฐบาลระดับจังหวัดและ ทอ้ งถนิ่ ได้รับทุนสนบั สนนุ โครงการกิจกรรมในชมุ ชน เพื่อช่วยเหลอื ผทู้ ี่อยูร่ ่วม กบั เชอ้ื และรวมไปถงึ การรณรงคใ์ หค้ วามรตู้ อ่ สาธารณะ เงนิ ทนุ สนบั สนนุ ทำ� ให้ กลุ่มท�ำงานด้านเอดส์เข้ามาเช่ือมโยงกับการให้บริการทางสังคม และขยาย ขอบเขตความสามารถในการทำ� งานแทรกแซงเพอ่ื ปกปอ้ งคนกลมุ่ นอ้ ยทางเพศ จากการเลือกปฏิบัตแิ ละการตตี ราเพราะความหวาดกลัวเช้อื เอชไอวี ทนุ สนบั สนนุ สาธารณะดา้ นเอดส์ ยงั สง่ เสรมิ โอกาสใหเ้ กดิ การสรา้ งกลมุ่ อตั ลกั ษณท์ บั ซอ้ นชมุ ชนบคุ คลทมี่ คี วามหลากหลายทางเพศ ในโตรอนโต แนว รว่ มคนผวิ สเี พอื่ การปอ้ งกนั เอดส์ (Black Coalition for AIDS Prevention) และพันธมิตรเอเชียใต้เพื่อการป้องกันเอดส์ (Alliance for South Asian AIDS Prevention) ก่อต้ังข้ึนในปี ค.ศ. 1989 ทุนสนับสนุนยังช่วยพัฒนา ให้เกิดกลุ่มชนพื้นเมือง สมาคมชนพ้ืนเมืองเกย์และเลสบ้ียน ในวินนิเพก (Nichiwakan Native Gay and Lesbian Society) และกลมุ่ ชนพน้ื เมอื ง สองวิญญาณในโตรอนโต (Toronto’s Two Spirited People of the First Nations.) 168 ยทุ ธศาสตร์สขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ทศวรรษท่ี 1990 นบั ตงั้ แตต่ น้ ทศวรรษท่ี 1990 แคนาดาเปลยี่ นจากประเทศทกี่ ารขบั เคลอ่ื น ประเด็นความหลากหลายทางเพศยังเกิดผลลัพธ์อย่างไม่ชัดเจนแน่นอน กลายเป็นประเทศช้ันน�ำของโลกท่ีความหลากหลายทางเพศได้รับการรับรอง อย่างเป็นทางการ ทศวรรษที่ 1990 เป็นจุดเริ่มต้นของความส�ำเร็จในด้าน กฎหมายและนโยบายสาธารณะ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในเร่ืองของการรับรอง ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลรักเพศเดียวกัน และการเล้ียงดูบุตรโดยบุคคล รักเพศเดยี วกัน นอกจากนน้ั ความคิดเหน็ ของประชาชนพลกิ เปล่ียนไปอย่าง ส้ินเชงิ มหานครของประเทศ ไดแ้ ก่ โตรอนโต มอนทรีออล ออตตาวา และ แวนคูเวอร์ เริ่มสร้างช่ือเสียงในระดับนานาชาติ ในฐานะของแหล่งท่องเที่ยว ท่ีเป็นมิตรต่อบุคคลท่ีมีความหลากหลายทางเพศ งานไพรด์ นิทรรศการ ภาพยนตร์ และงานวัฒนธรรม เกดิ ขนึ้ มากมายและขยายใหญ่ขึ้นเรื่อย ในช่วงทศวรรษนี้ การรณรงค์เพื่อสิทธิความเท่าเทียมกลายเป็นกระแส หลักของขบวนการเคล่ือนไหว โดยมีการขับเคล่ือนภายใต้ฐานคิด “เสรีภาพ ทางเพศวิถี” (Liberated Sexuality) และ “การต่อต้านการกดข่ีของรัฐ” (Resistance to State Oppression)217 ระหวา่ งปี ค.ศ. 1990 และ ค.ศ. 1992 ค�ำพิจารณาของศาลโดยหลกั ถือวา่ การเลือกปฏบิ ตั ิตอ่ ค่ชู ายรักชายและ หญงิ รกั หญงิ เปน็ การขดั ตอ่ รฐั ธรรมนญู ในรฐั บรติ ชิ โคลมั เบยี รฐั แมนโิ ทบา และ รฐั ออนแทรโี อ มาตรฐานทผี่ พู้ พิ ากษาใชใ้ นการตดั สนิ ยงั มใิ ชก่ ฎหมายการสมรส แต่เป็นการขยายการรับรองเช่นเดียวกับคู่รักต่างเพศตามที่ระบุไว้ในกฎหมาย จารีตประเพณี ความพยายามของนักเคลื่อนไหวให้เกิดการเปลี่ยนแปลง กฎหมายมิได้เกิดขึ้นในทันที ดังเช่นความพยายามผลักดันให้เกิดการรับรอง 217 Warner, T., Never Going Back: A History of Queer Activism in Canada. 169 ยุทธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเพศเดียวกันในรัฐออนแทรีโอ นักกิจกรรมที่ ขับเคลื่อนอยู่ในพรรคประชาธิปไตยใหม่ (New Democracy Party) และการรณรงค์เพ่ือครอบครวั เสมอภาค (Campaign for Equal Families) ร่วมกันกดดันรัฐบาลพรรคประชาธิปไตยใหม่ การขับเคล่ือนเพื่อการ เปลย่ี นแปลงกฎหมายสมรส ผา่ นกระบวนการศาลและแรงกดดนั ทางการเมอื ง ในระดับรัฐบาลท้องถ่ิน จนไปสู่รัฐบาลกลาง จนกระทั่งกฎหมายการสมรส ของแคนาดาผา่ นในปี ค.ศ. 2005 ทศวรรษท่ี 2000 นบั ตง้ั แตก่ ลางทศวรรษที่ 2000 เปน็ ตน้ มา ขบวนการเคลอื่ นไหวบคุ คล ทมี่ คี วามหลากหลายทางเพศในแคนาดา ตา่ งไปจากเดมิ มอี งคก์ รจดั ตง้ั ขนาด ใหญ่ท่ีมั่นคงในเมืองใหญ่ต่างๆ รวมไปถึงองค์กรที่ให้การสนับสนุนงานไพร์ด งานนิทรรศการภาพยนตร์และศิลปะ รวมไปถึงฐานข้อมูลเอกสารบันทึก ประวตั ศิ าสตร์บคุ คลทมี่ คี วามหลากหลายทางเพศ (LGBT Archives) ไพรด์ โตรอนโต (Pride Toronto) สมาพันธแ์ วนคเู วอร์ไพรด์ (Vancouver Pride Society) และเฟยี อาเต้ มอนทรอี อล (Fierte Montreal–Pride Montreal) ได้รับการจัดตั้งข้ึนมาเป็นอย่างดี งานขับเคลื่อนนี้มีความส�ำคัญต่อกระแส การเมอื งแตเ่ ปน็ การขบั เคลอ่ื นบนฐานของการเฉลมิ ฉลองมากกวา่ การเรยี กรอ้ ง ทางการเมือง การจัดสรรบริการทางสังคมให้แก่คนกลุ่มน้อยทางเพศ โดยเฉพาะ กลุ่มเยาวชนและคนชายขอบ มีเพิ่มมากข้ึน ผ่านกองทุนสุขภาพของรัฐบาล หนว่ ยงานบรกิ ารทางสงั คม และศนู ยบ์ รกิ ารชมุ ชน นบั ไดว้ า่ ศนู ยบ์ รกิ ารเหลา่ น้ี เปน็ ส่วนหนง่ึ ของขบวนการเคล่อื นไหว เช่นเดยี วกับคนทำ� งานในหนว่ ยงานให้ บริการ เครือข่ายของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศขยายวงกว้างไปยัง พ้ืนท่ีอ่ืนๆ ทั้งสถานที่ท�ำงาน โบสถ์ สถาบันการศึกษา หน่วยงานภาครัฐ 170 ยทุ ธศาสตร์สขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
องค์กรวิชาชีพ และกลุ่มคนท�ำงานศิลปะ ศูนย์วิชาการอุทิศให้กับการศึกษา วจิ ยั ในประเดน็ ความหลากหลายทางเพศ เรมิ่ ปรากฏขน้ึ ตง้ั แตป่ ที ศวรรษ 1990 และทวคี วามส�ำคญั มากข้ึน อเี กล แคนาดา (Egale Canada) ในโตรอนโต และแนวร่วม LGBT (Coalition LGBT) ในมอนทรีออล เป็น 2 องค์กรเพอื่ บคุ คลทมี่ ีความหลาก หลายทางเพศทเี่ ขม้ แขง็ ทส่ี ดุ ทำ� งานขบั เคลอื่ นครอบคลมุ หลายประเดน็ อเี กล เป็นองค์กรหลักท�ำงานขับเคล่ือนทั่วประเทศ อีเกลท�ำงานมายาวนาน มี ประสบการณไ์ ดร้ บั ทนุ สนบั สนนุ อยา่ งเพยี งพอจากรฐั บาลและสถาบนั อนื่ อเี กล ขบั เคลอ่ื นเพอื่ สนบั สนนุ การผลกั ดนั ประเดน็ สทิ ธบิ คุ คลขา้ มเพศในกฎหมายของ รัฐบาลกลาง อีเกลมีพ้ืนที่การท�ำงานในโรงเรียน กลุ่มเป้าหมายเป็นเยาวชน กลมุ่ เสยี่ ง เผยแพรช่ ดุ ขอ้ มลู ความรู้ เพอื่ สรา้ งกลมุ่ นกั เรยี นทเี่ ขา้ ใจประเดน็ และ ยอมรับเยาชนหลากหลายทางเพศ อเี กลยังท�ำงานเชิงวชิ าการ ท�ำการสำ� รวจ สถานการณภ์ ายในโรงเรยี นในปี ค.ศ. 2011218 ในปี ค.ศ. 2017 อเี กลผลกั ดนั ใหร้ ฐั บาลกลางกลา่ วขอโทษอยา่ งเปน็ ทางการ ทไ่ี ดท้ ำ� การเลกิ จา้ งพนกั งานของ รัฐกว่าพันคนระหว่างการกวาดล้างต่อต้านเกย์ยาวนานกว่าสิบปี ในช่วงหลัง สงคราม ถึงแม้ว่าอีเกลเป็นองค์กรท่ีมีชื่อเสียงและมีผลงานเป็นที่ยอมรับ ย่งิ เป็นความท้าทายของอเี กลในการขยายงานไปท่วั ประเทศ ในควิเบก องค์กรแนวร่วม LGBT (Coalition LGBT) มีบทบาท คล้ายคลึงกับอีเกล องค์กรแนวร่วมสนใจการขับเคล่ือนในโรงเรียนน้อยกว่า อเี กล แตเ่ นน้ ไปทปี่ ระเดน็ การมบี ตุ รและการเลย้ี งดบู ตุ ร ใหค้ วามชว่ ยเหลอื การ จัดการกับข้อท้าทาย และข้อจ�ำกัดในการเข้าถึงเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ 218 Taylor, C., & Peter, T., (2011), Every Class in Every School: The First National Climate Survey on Homophobia, Biphobia, and Transphobia in Canadian Schools: Final Report (Toronto, ON: Egale Human Rights, 2011) 171 ยทุ ธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
และการอุ้มบุญ เดอะ ฟาวเดช่ัน (The Foundation) เป็นอีกองค์กรหนึ่ง ที่ส�ำคัญในควิเบก เดอะ ฟาวเดชั่น เน้นท่ีการพัฒนาโครงการให้ความรู้เพื่อ ลดอคติ เดอะ ฟาวเดชน่ั กลายเป็นผูส้ นับสนนุ หลักของงานวนั สากลยตุ ิความ เกลยี ดกลวั คนรกั เพศเดยี วกนั คนขา้ มเพศ และคนรกั สองเพศ (International Day Against Homophobia, Transphobia and Biphobia–IDAHOT) เดอะ ฟาวเดช่ัน และกลุ่มเคลื่อนไหวอื่นๆ ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาล ควเิ บกในการขับเคลื่อนเพอื่ ลดอคติ ความเกลยี ดกลวั คนรกั เพศเดยี วกนั และ คนขา้ มเพศ ยทุ ธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศแคนาดา รัฐบาลแคนาดา ทัง้ รัฐบาลกลางและรฐั บาลภูมิภาค ให้ความสำ� คัญกบั ประเด็นสุขภาวะของ LGBTQ2 โดย “LGBTQ2+” ถกู ใช้เพ่อื ให้หมายรวมถงึ เพศวถิ ี เพศ และเพศสภาพ ทม่ี คี วามหลากหลาย ไดแ้ ก่ เลสเบย้ี น (Lesbian) เกย์ (Gay) บคุ คลรกั ไดส้ องเพศ (Bisexual) บคุ คลขา้ มเพศ (Transgender) เควยี ร์ (Queer) และคนพน้ื เมอื งสองจติ วญิ ญาณ (Two Spirit) หมายถึงคน พน้ื เมอื งทเ่ี ปน็ บคุ คลหลากหลายทางเพศ เครอ่ื งหมายบวก (+) ถกู ใชเ้ พอื่ แสดง ถึงอตั ลกั ษณ์อนั หลากหลายทีย่ งั ไมส่ ามารถระบไุ ด้ในอักษรย่อ “LGBTQ2” Two Spirit คนพ้นื เมอื งท่เี ป็น LGBTQ+ (Indigenous LGBTQ+) ใช้ คำ� วา่ Two Spirit แทนทจี่ ะระบอุ ตั ลกั ษณข์ องตนวา่ เปน็ LGBTQ+ คำ� วา่ Two Spirit เปน็ คำ� ใหญใ่ นภาพรวมเพอื่ ใชอ้ ธบิ ายถงึ อตั ลกั ษณท์ างเพศ และ/หรอื วถิ ี ทางเพศ และเปน็ การทวงคนื บทบาทและประเพณดี งั้ เดมิ ทค่ี นพน้ื เมอื งเคยยดึ ถอื มากอ่ นการล่าอาณานิคม ภาษาของคนพ้นื เมืองมคี �ำใช้เรียกบคุ คลทีร่ ักบุคคล เพศเดยี วกนั และบคุ คลทมี่ กี ารแสดงออกทางเพศสภาพในวถิ ที แี่ ตกตา่ งออกไป การหนั มาให้ความสนใจกบั ประเด็นนเ้ี ปน็ ผลมาจากการขับเคลื่อนนาน นบั ปขี องนกั กจิ กรรมและชมุ ชน LGBTQ2 ทชี่ ใ้ี หเ้ หน็ ถงึ ปญั หาและความจำ� เปน็ 172 ยุทธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ดา้ นสขุ ภาพและบรกิ ารทางสงั คมท่ี LGBTQ2 พงึ ไดร้ บั หนงึ่ ในความพยายาม ของรฐั บาลกลางในการขับเคลื่อนประเด็น LGBTQ2 คือ การจดั ต้ังสำ� นักงาน เลขาธิการ LGBTQ2219 ส�ำนักงานเลขาธิการ LGBTQ2220 (LGBTQ2 Secretariat) ภายใต้ กรมมรดกแคนาดา (Department of Canadian Heritage) ของรัฐบาล แคนาดาเป็นกลไกส�ำคัญระดับประเทศ มีพันธกิจในการส่งเสริมความเสมอ ภาคและคุ้มครองสทิ ธิ LGBTQ2 รวมไปถึงการช้ีใหเ้ ห็นถึงการเลอื กปฏิบตั ิต่อ ชุมชน LGBTQ2 ทัง้ ในอดีตและปจั จุบนั ภารกิจหลกั ของส�ำนักงานเลขาธกิ าร LGBTQ2 คือการท�ำงานร่วมกับทุกภาคส่วนที่เก่ียวข้องกับ LGBTQ2 ท่ัวประเทศ เพ่ือให้ค�ำปรึกษาแก่รัฐบาลในประเด็นท่ีส�ำคัญต่อชาว LGBTQ2 แคนาดา พรอ้ มทง้ั เสนอแนวทางแกไ้ ขปญั หา นอกจากนน้ั สำ� นกั งานเลขาธกิ าร LGBTQ2 ยงั ท�ำงานกับหนว่ ยงานบริการสาธารณะของรฐั บาลกลางเพอื่ ใหก้ าร สนบั สนนุ การบรู ณาการประเดน็ LGBTQ2 เขา้ ไปในการปฏบิ ตั งิ านรายวนั ของ รัฐบาลแคนาดา โดยมุ่งไปท่ีการการท�ำให้ประเด็นท่ีเกี่ยวข้องกับวิถีทางเพศ อตั ลกั ษณท์ างเพศ และการแสดงออกทางเพศ (Sexual Orientation, Gender Identity, and Gender Expression) ไดร้ ับการพจิ ารณาเมอื่ มกี ารกำ� หนด นโยบาย กฎหมาย และโครงการกจิ กรรมตา่ งๆ โดยรฐั บาลกลาง221 219 Mule, N. J., State Involvement in LGBT+ Health and Social Support Issues in Canada. International Journal of Environmental Research and Public Health, 17, 7314 (2020) 220 รฐั บาลแคนาดา ใช้ค�ำวา่ LGBTQ2 (Lesbian, Gay, Bisexual, Transgender, Queer, Two–Spirit) เปน็ อักษรย่ออยา่ งเปน็ ทางการ 221 Government of Canada, About the LGBTQ2 Secretariat, Accessed August 1, 2020, Available from, https://www.canada.ca/en/canadian–heritage/campaigns/free–to–be– me/about–lgbtq2–secretariat.html 173 ยทุ ธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ในส่วนของการก�ำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุขระดับ ประเทศ คณะกรรมการมาธกิ ารสาธารณสขุ แห่งสภาสามญั ชนแคนาดา (The House of Commons Standing Committee on Health–HESA) ได้ รับอ�ำนาจให้ท�ำการศึกษาและรายงานในทุกประเด็นที่เกี่ยวข้องกับข้อบัญญัติ การบริหารจัดการ และการด�ำเนินงานของกระทรวงสาธารณสุขแคนาดา (Health Canada222) ในรายงานลำ� ดบั ที่ 28 ของคณะกรรมาธกิ ารสาธารณสขุ The Health of LGBTQIA2 Communities in Canada: Report of the Standing Committee on Health (2019)223 ทนี่ ำ� เสนอตอ่ รฐั สภาในเดอื น มิถุนายน ค.ศ. 2019 คณะกรรมาธิการฯได้ศึกษาความเหลอื่ มล�ำ้ ทางสุขภาพ จากประสบการณ์ของชุมชน LGBTQIA2 ในประเทศแคนาดา พร้อมท้ัง น�ำเสนอแนวทางการลดความเหล่ือมล�้ำทางสุขภาพ เป็นข้อเสนอแนะ เชงิ ยทุ ธศาสตร์ 23 ขอ้ ในรายงานฉบับน้ี The Health of LGBTQIA2 Communities in Canada (2019) คณะกรรมการฯ ได้รับข้อมูลเป็นเอกสารสรุปจากองค์กร 44 องค์กร การรับฟังผทู้ ่เี กย่ี วขอ้ ง 33 คน และการรวบรวมขอ้ มูลจากองค์กร ใหบ้ รกิ ารทางสขุ ภาพทท่ี ำ� งานเชงิ ประเดน็ สขุ ภาพของ LGBTQIA2 ใน 4 เมอื ง ผลการศกึ ษาของรายงานฉบบั นช้ี ้ใี หเ้ ห็นวา่ ชมุ ชน LGBTQIA2 แต่ละกลุ่มตอ้ ง เผชญิ กบั ความเหลอ่ื มลำ้� ทางสขุ ภาพแตกตา่ งกนั ไป แตใ่ นภาพรวมพบวา่ ชมุ ชน LGBTQIA2 มีแนวโน้มท่ีจะประสบกับปัญหาด้านสุขภาพจิต มีความคิดเร่ือง การฆา่ ตวั ตายและพยายามฆา่ ตวั ตายมากกวา่ ชาวแคนาดารกั ตา่ งเพศ นอกจาก 222 Government of Canada, Health Canada, Accessed August 1, 2020, Available from, https://www.canada.ca/en/health–canada.html 223 House of Commons, The Health of LGBTQIA2 Communities in Canada: Report of the Standing Committee on Health, Accessed August 1, 2020, Available from, https:// www.ourcommons.ca/DocumentViewer/en/42–1/HESA/report–28/ 174 ยทุ ธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
มติ ดิ า้ นสขุ ภาพจติ (Mental Health) แลว้ ยงั มมี ติ ดิ า้ นสขุ ภาพกาย (Physical Health) สุขภาพทางเพศ (Sexual Health) และการใช้แอลกอฮอล์ บุหรี่ และสารเสพติดอ่ืนๆ หญิงรักหญิงและหญิงรักสองเพศ (Lesbian and Bisexual Women) มแี นวโนม้ ทจ่ี ะเจบ็ ปว่ ยเปน็ โรคเรอ้ื รงั มากกวา่ หญงิ รกั ตา่ ง เพศ เกย์ชายรักชายและชายรักสองเพศท่ีมีเพศสัมพันธ์กับชาย (gbMSM) มีความเสี่ยงสูงกว่าที่จะเป็นมะเร็งทวารหนักหรือเส่ียงท่ีจะได้รับเช้ือเอชไอวี สูงกว่าชายรกั ตา่ งเพศ ในรายงานฉบบั น้ี คณะกรรมาธกิ ารฯ ไดร้ ะบถุ งึ ปจั จยั ตา่ งๆ ทส่ี ง่ ผลตอ่ ความเหล่ือมล้�ำทางสุขภาพที่ชุมชน LGBTQIA2 ต้องเผชิญ ท้ังการถูกเลือก ปฏบิ ตั แิ ละการตตี รา คณะกรรมาธกิ ารฯ ยงั เนน้ วา่ ความเหลอ่ื มลำ้� ทางสขุ ภาพ ทเี่ กดิ ขนึ้ กบั ชมุ ชน LGBTQIA2 ยง่ิ มมี ากขนึ้ เมอื่ มอี ตั ลกั ษณท์ บั ซอ้ นและตวั แปร กำ� หนดสขุ ภาพอน่ื เชน่ อายุ ชาตพิ นั ธ์ุ รายได้ และการเขา้ ถงึ การดแู ลสขุ ภาพ เขา้ มาทบั ซอ้ นกับอตั ลักษณท์ างเพศและวถิ ีทางเพศ หัวใจส�ำคัญของรายงานฉบับน้ีคือ ข้อเสนอแนะเชิงยุทธศาสตร์ เพื่อ ลดความเหลื่อมล�้ำทางสุขภาพให้แก่ชุมชน LGBTQIA2 ประการส�ำคัญ คือ การตอ้ งตระหนกั วา่ สมาชกิ ของชมุ ชน LGBTQIA2 เปน็ ผทู้ รี่ ดู้ ที ส่ี ดุ วา่ จะสามารถ ท�ำให้สุขภาพของตนดีขึ้นได้อย่างไร ดังน้ันในทุกๆ การตัดสินใจที่เก่ียวข้อง กับชุมชน LGBTQIA2 จะต้องมีสมาชิกของชุมชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ นั้นด้วย คณะกรรมาธิการฯ มีข้อเสนอแนะเชิงยุทธศาสตร์ให้แก่รัฐบาลกลาง ทง้ั หมด 6 ประเดน็ คือ (1) การสร้างการตระหนกั รู้ การศึกษา และการฝกึ อบรม (2) การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู LGBTQIA2 (3) การใหท้ นุ สนบั สนนุ โครงการ วจิ ยั และโครงการกจิ กรรม (4) การกำ� หนดใหช้ มุ ชน LGBTQIA2 เปน็ ประชากร กลมุ่ เปา้ หมายในนโยบายและโครงการสาธารณะ (5) การใหบ้ รกิ ารสาธารณสขุ เกยี่ วกบั โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธแ์ ละทางเลอื ด และ (6) การปรบั แกก้ ฎหมาย ทเ่ี ปน็ การเลือกปฏบิ ตั ิ 175 ยุทธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
กล่าวโดยสรปุ แล้ว คณะกรรมาธิการสาธารณสุข เสนอใหร้ ัฐบาลกลาง บรรจเุ นอ้ื หาบทเรยี นเกย่ี วกบั ความหลากหลายทางเพศสภาพและเพศวถิ ี ไวใ้ น ทุกหลักสูตรการอบรมส�ำหรับบุคลากรด้านสาธารณสุข และในคู่มือแนวทาง การจดั การศกึ ษาดา้ นสขุ ภาพทางเพศ นอกจากนน้ั ตอ้ งมกี ารปรบั ปรงุ การเกบ็ ข้อมูลเพ่ือให้เห็นภาพสถานการณ์สุขภาพของชนกลุ่มน้อยทางเพศสภาพและ เพศวิถีในประเทศแคนาดาได้ชัดเจนยิ่งข้ึน เพื่อให้การก�ำหนดนโยบายและ โครงการเข้าถงึ ประชากรกลุ่มเป้าหมายชนกลมุ่ นอ้ ยทางเพศสภาพและเพศวถิ ี ได้ดียิ่งขึ้น รวมไปถึงการจัดสรรทุนให้การสนับสนุนการวิจัยเกี่ยวกับสุขภาพ ของชุมชน LGBTQIA2 และทุนสนับสนุนส�ำหรับองค์กร LGBTQIA2 มีการ ปรบั ปรุงใหด้ ียง่ิ ขนึ้ 176 ยุทธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ตารางท่ี 4 นโยบาย/ยุทธศาสตรข์ องกล่มุ เครือขา่ ย องคก์ รความหลากหลายทางเพศในแคนาดา กลุม่ /เครอื ขา่ ย/ เกีย่ วกบั กลมุ่ / กลุม่ เปา้ หมาย/ วตั ถุประสงค/์ นโยบาย/ องคก์ ร เครือข่าย/องคก์ ร พ้ืนท่ี ยทุ ธศาสตร์ 1. Egale Canada การท�ำงาน Human Right Trusts https://egale.ca/ Egale เปน็ องค์กรช้นั นำ� ของประเทศ พ้ืนที่การทำ� งาน: พนั ธกิจของ Egale คอื แคนาดาที่ทำ� งานในประเดน็ LGBTQI2S ทว่ั ประเทศ การท�ำให้ LGBTQI2S Egale ส่งเสรมิ คุณภาพชีวิตของ แคนาดา ในประเทศแคนาดามคี ุณภาพ LGBTQI2S ผา่ นการวจิ ยั การศกึ ษา ชวี ติ ทดี่ ขี นึ้ และส่งเสริม และการสรา้ งความตระหนกั รู้ รวม ใหป้ ระชาคมโลกตอบรบั ยทุ ธศาสตร์สขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย 177 ไปถงึ การผลักดนั ดา้ นสทิ ธมิ นษุ ยชนและ ต่อประเด็น LGBTQI2S ความเสมอภาคในประเทศแคนาดาและ ทวั่ โลก ภารกจิ หลักของ Egale คอื พันธกจิ นี้ จะส�ำเรจ็ ไดด้ ว้ ย การสร้างสังคมทกุ คนเสมอภาค การท่ี Egale มีส่วนร่วมในการ เทา่ เทยี มกัน ก�ำหนดนโยบายสาธารณะ สร้างแรงบันดาลใจให้เกดิ การ Egale กอ่ ต้งั ข้ึนต้งั แต่ปี ค.ศ. 1986 เปลยี่ นแปลงเชงิ วฒั นธรรม และรณรงคเ์ พ่ือสง่ เสรมิ สิทธิมนษุ ยชน ทัง้ หมดนี้ เป็นการกระท�ำผ่านการวจิ ยั การศึกษา การสร้างความ ตระหนักรู้ และการผลักดนั ด้านกฎหมาย
178 ยุทธศาสตรส์ ุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย กลุม่ /เครอื ขา่ ย/ เกย่ี วกับกลมุ่ / กลุ่มเปา้ หมาย/ วัตถุประสงค์/ นโยบาย/ องคก์ ร เครอื ขา่ ย/องค์กร พน้ื ที่ ยทุ ธศาสตร์ 2 Pflag Canada การท�ำงาน https://pflagcanada. ca/ Pflag Canada เป็นองคก์ รการกศุ ล พืน้ ทีก่ ารทำ� งาน: พนั ธกจิ ของ Pflag Canada ระดับประเทศ กอ่ ตงั้ ขนึ้ โดยพอ่ แม่ ทัว่ ประเทศ ผูป้ กครองทตี่ ้องการช่วยใหต้ นเอง แคนาดา Pflag Canada ภาคภมู ใิ จ และสมาชิกในครอบครวั เข้าใจและ ท่ไี ดเ้ ปน็ องค์กรระดับประเทศ ยอมรบั ลูกหลานทเ่ี ปน็ LGBTQ2S เพียงองค์กรเดียวท่ีใหค้ วามช่วย เหลอื จากเพอื่ นสเู่ พื่อน เพ่ือชว่ ย กระบวนการ “เปดิ เผยตวั ตน” ชาวแคนาดาในเรือ่ งของวิถที าง (coming–out process) เป็น เพศ อัตลักษณท์ างเพศ และ ชว่ งเวลาที่มีความสำ� คัญมากสำ� หรับ การแสดงออกทางเพศ Pflag ครอบครัว หากช่วงเวลาในการปรบั ตวั สนบั สนุน ใหค้ วามรู้ และ ใช้เวลายาวนานหรือสรา้ งความเจ็บปวด เปน็ แหล่งทรพั ยากรให้กบั ทุกคน ความสมั พันธใ์ นครอบครัวอาจถกู ทำ� ลาย ท่ีมีความกังวลและสงสยั Pflag อย่างถาวร สง่ ผลให้เกิดบาดแผลทาง ให้การสนบั สนนุ ความมน่ั คง อารมณไ์ ปชว่ั ชีวติ Pfag ให้การ ทางอารมณแ์ กค่ รอบครวั สนับสนนุ ช่วยเหลอื แกค่ รอบครัวในวันน้ี ที่ก�ำลงั เผชญิ กับความทา้ ทาย เพอื่ ให้วนั พรุง่ นี้เป็นวันที่ดกี วา่ ในเร่ืองของอตั ลกั ษณ์ทางเพศ
กล่มุ /เครือข่าย/ เก่ียวกับกลุม่ / กลุ่มเป้าหมาย/ วัตถปุ ระสงค์/ นโยบาย/ องค์กร เครอื ข่าย/องค์กร พ้ืนที่ ยทุ ธศาสตร์ การทำ� งาน 3. Toronto Pflag Toronto Pflag ใหก้ ารสนบั สนนุ ชมุ ชน กลมุ่ เป้าหมาย: พนั ธกจิ ของ Toronto Pflag https://www.torontop- LGBTQ2S+ และครอบครัว ด้วยการ ครอบครัว เพอื่ สง่ เสรมิ สขุ ภาพและสุขภาวะ flag.org/ จัดกจิ กรรมกล่มุ สนบั สนนุ เป็นประจำ� LGBTQ2S+ ของบคุ คล LGBTQ2S+ ยทุ ธศาสตร์สขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย 179 ทุกเดือน ใหค้ �ำปรกึ ษาเป็นรายบคุ คล โดยชว่ ยให้ครอบครวั ไดอ้ ยู่ ทางโทรศัพท์ นำ� เสนอและพูดคุยใน พืน้ ทกี่ ารท�ำงาน: รว่ มกนั ดว้ ยการให้กาสนับสนนุ โรงเรียนและมหาวิทยาลยั จัดการอบรม Toronto และให้ความรคู้ วามเข้าใจ ในองค์กรภาคธรุ กิจใน Toronto เพือ่ ช่วยท�ำความเข้าใจเรอื่ ง ความหลากหลายทางเพศ การเสรมิ พลังเพ่ือน ขจดั การเกลียดกลัว คนรักเพศเดียวกนั และคนข้ามเพศ
180 ยุทธศาสตรส์ ุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย กลมุ่ /เครอื ข่าย/ เกยี่ วกบั กลุ่ม/ กลุ่มเปา้ หมาย/ วตั ถุประสงค/์ นโยบาย/ องค์กร เครือขา่ ย/องคก์ ร พนื้ ท่ี ยทุ ธศาสตร์ การท�ำงาน 4. Toronto Bisexual Toronto Bisexual Network มกี ลุม่ กลุ่มเปา้ หมาย: Toronto Bisexual Network Network สนับสนนุ เครอื ขา่ ยสังคม ขอ้ มลู TBN บคุ คลรักไดส้ อง ใหพ้ ื้นที่ชมุ ชนท่บี ุคคลรกั ได้ https://www.torontobi- ตอ้ นรบั เพือ่ น ผูส้ นับสนุน และค่ชู วี ติ เพศ บุคคลรัก สองเพศ (bisexuals) บุคคล net.org/ ได้เขา้ มามสี ่วนรว่ มในชมุ ชน ให้เปน็ ไดห้ ลายเพศ รกั ไดห้ ลายเพศ (Pansexuals) พ้ืนท่ีปลอดภยั ปราศจากการตดั สนิ ชนเผ่าพน้ื เมอื ง คนพืน้ เมอื งทเ่ี ป็นบุคคล ได้รว่ มแบง่ ปันประสบการณ์และ ทเ่ี ป็นบคุ คล หลากหลายทางเพศ (Two ความกลวั หลากหลาย Spirit) บุคคลลนื่ ไหลทางเพศ ทางเพศ (Two หรือไม่ยดึ ตดิ กับเพศใดเพศหนึ่ง Spirit) บุคคล (Fluid and Other Non– ลน่ื ไหลทางเพศ Monosexual People) หรอื ไม่ยดึ ตดิ กบั และบคุ คลใดกต็ ามทีม่ คี วาม เพศใดเพศหนึง่ สงสัยเกยี่ วกับเพศวิถขี องตนเอง สามารถมาร่วมแบ่งปันมมุ มอง พื้นทีก่ ารทำ� งาน: และประสบการณ์ โตรอนโต (Toronto)
182 ยุทธศาสตรส์ ุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย กล่มุ /เครอื ข่าย/ เกี่ยวกับกลุ่ม/ กลมุ่ เปา้ หมาย/ วัตถุประสงค/์ นโยบาย/ องค์กร เครือข่าย/องค์กร พื้นที่ ยุทธศาสตร์ การท�ำงาน QLN เปน็ ตวั แทนในการสง่ เสยี ง เจรจาต่อรองกบั ผู้มอี ำ� นาจใน การตัดสนิ ใจเกี่ยวกับคณุ ภาพ ชวี ติ ของหญงิ รกั หญิงและหญิง ผู้มีความหลากหลายทางเพศ ท้งั ในภาคสงั คม และภาคการเมือง QLN เปน็ พ้ืนทส่ี �ำหรับ การทำ� กิจกรรมขบั เคล่อื น ทางการเมอื งและทางวฒั นธรรม การวเิ คราะห์ สะท้อนกลบั แลกเปล่ยี น การศึกษา และการอบรม
184 ยุทธศาสตรส์ ุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย กลมุ่ /เครอื ขา่ ย/ เกี่ยวกบั กล่มุ / กลมุ่ เปา้ หมาย/ วัตถุประสงค์/ นโยบาย/ องค์กร เครอื ข่าย/องค์กร พื้นที่ ยทุ ธศาสตร์ 7 The Youth Project — การท�ำงาน Halifax, Nova Scotia http://youthproject. ทุกวยั ในพ้นื ทเี่ ขตเมืองหลวงของประเทศ ns.ca/ (National Capital Region) Kind Space ให้บรกิ ารหลากหลาย เยาวชนหญิง พนั ธกจิ ของ The Youth รวมไปถงึ กล่มุ สนบั สนนุ การศึกษา การวิจยั การผลกั ดนั เชิงนโยบาย และพืน้ ท่สี ำ� หรับชมุ ชน The Youth Project (โครงการ เยาวชน) เปน็ องค์กรไม่แสวงหากำ� ไร รกั หญงิ เกย์ Project คอื ท�ำให้โนวาสโกเทยี ทำ� งานเพอ่ื สนบั สนนุ และให้บริการ เยาวชน (Nova Scotia) เป็นสถานท่ี ในเรือ่ งทีเ่ ก่ียวขอ้ งกับอตั ลกั ษณ์ทางเพศ รกั สองเพศ และ ปลอดภัยมากข้ึน ส่งเสริม และวถิ ที างเพศของเยาวชนอายุไมเ่ กิน เยาวชนขา้ มเพศ สขุ ภาวะมากขน้ึ และมีความสุข 25 ปี The Youth Project มีการจดั ใน แฮลแิ ฟกซ์ มากขนึ้ ส�ำหรับเยาวชนหญงิ กจิ กรรมหมนุ เวยี นเป็นรายเดอื น มีการ (Halifax) โนวา รักหญงิ ชายรกั ชาย เยาวชน จัดค่ายฤดูรอ้ น ทุนชดเชยการศึกษา สโกเทยี (Nova รักสองเพศ และเยาวชน และโครงการใหก้ ารสนับสนนุ พ้นื ท่เี ป็น Scotia) ข้ามเพศ ด้วยการสนับสนุน มติ รและปลอดภัยส�ำหรบั เยาวชน LGBT การศึกษา การเพ่ิมแหลง่ ในสถานศึกษา (Ally Program) ทรพั ยากร และการพฒั นาชมุ ชน
กลมุ่ /เครอื ข่าย/ เกีย่ วกบั กลุ่ม/ กล่มุ เปา้ หมาย/ วตั ถุประสงค์/ นโยบาย/ องค์กร เครือขา่ ย/องคก์ ร พ้ืนที่ ยทุ ธศาสตร์ 8 The Nova Scotia การท�ำงาน Rainbow Action Project (NSRAP) The Nova Scotia Rainbow โนวาสโกเทีย The Nova Scotia Rainbow https://nsrap.ca/ Action Project (NSRAP) เริม่ ตน้ ขน้ึ (Nova Scotia Action Project (NSRAP) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1995 เพื่อเป็นเสียง มุ่งสคู่ วามเสมอภาค ความเป็น ให้แก่ ชายรกั ชาย หญิงรักหญงิ ธรรม และสทิ ธมิ นุษยชน บุคคลรกั สองเพศ คนพน้ื เมอื งทเี่ ป็น ส�ำหรบั บุคคลชนเผ่าพนื้ เมือง ยทุ ธศาสตร์สขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย 185 บุคคลหลากหลายทางเพศ (Two Spirit) หลากหลายทางเพศ บคุ คลขา้ มเพศ และเควียร์ ท่ี NSRAP (2SLGBTQIA+) ในโนวาสโกเทยี เรยี กแทนว่า ชมุ ชนสายรุ้ง (Rainbow (Nova Scotia) Community) ในโนวาสโกเทยี (Nova Scotia) NSRAP มงุ่ สร้างการ เปล่ียนแปลงในชุมชนและ ตลอด 20 ปีที่ผ่านมา NSRAP เปน็ แรง สงั คม เพ่ือให้บคุ คลชนเผ่า ขับเคลอ่ื นทส่ี ำ� คญั เพื่อสทิ ธิของชมุ ชน พนื้ เมอื งหลากหลายทางเพศ NSRAP มีบทบาทสำ� คญั ใน Halifax (2SLGBTQIA+) ได้เป็นส่วน Rainbow Health Project หนึง่ ได้รับการใหค้ ุณค่า และยังคงท�ำงานในประเด็นสขุ ภาพ และการยอมรบั NSRAP จะ บุคคลขา้ มเพศ รวมไปถงึ สิทธิของ สามารถบรรลเุ ป้าหมายไดด้ ้วย ชนเผ่าพื้นเมอื งหลากหลายทางเพศ การสรา้ งชมุ ชนและพฒั นา
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393