ยุทธศาสตรส์ ุขภาวะ ขอ้ เสนอ บทสมั ภาษณ์ ไมใ่ ห้ไปตอกย�้ำความคิดในเรือ่ งของ วา่ เพศมนั มีแคห่ ญงิ กบั ชาย ในขณะ เดียวกันก็ไม่ตอกยำ้� การความผดิ ปกตขิ องเพศอ่ืนๆ การเรียน การสอนในโรงเรยี นและในครอบครัว ควรจะมีการเปลย่ี นแปลง285 เผยแพร่ 1. องคก์ รระดับท้องถน่ิ เช่น “ความรูเ้ รื่องพวกนี้ถา้ ไปทำ� ใน องค์ โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพ ทอ้ งถน่ิ ชุมชน โรงพยาบาลส่งเสรมิ ความรู้ ตำ� บล อาสาสมัคร สขุ ภาพต�ำบล นา่ จะเห็นการ ใน สาธารณสขุ สามารถมี เปลี่ยนแปลงอะไรมากขึน้ มันท�ำให้ ท้องถน่ิ บทบาทชว่ ยใหค้ วามรู้ เรานกึ ถงึ เมอ่ื ก่อนเราพูดเรื่อง และสร้างความเข้าใจ เบาหวานตรวจยงั ไง มันกถ็ ูกทำ� เกยี่ วกบั สขุ ภาวะของ LGBT จากชมุ ชน โรงพยาบาลชมุ ชน ในทอ้ งถ่นิ ได2้ 86 โรงพยาบาลทอ้ งถิน่ เรือ่ งนม้ี ันนา่ จะ ถกู ทำ� ใหไ้ มม่ พี ืน้ ท่ีในการใหค้ วามรู้ ตอ้ งน�ำกลบั เข้าระบบใหไ้ ด้”287 5. เครอื ระบบ 1. ท�ำงานเป็นภาคเี ครือข่าย “ดงึ หนว่ ยงานตา่ งๆ มาทำ� งานกัน ขา่ ย เครือข่าย กล่มุ หลากหลายทางเพศ แบบบรู ณาการ น่าจะเป็นประโยชน์ รัฐ พร้อมกับระบบกลไกท่ี เพราะปัญหาสุขภาพหลายอยา่ งที่ เอกชน เชอ่ื มต่อประสานกนั ทงั้ ระบบ เกดิ ขน้ึ จะตอ้ งท�ำงานกับหน่วยงาน ประชา เพอ่ื ใหเ้ กิดพลัง และเข้าถงึ ภาครฐั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง ซ่งึ ตอนนยี้ ัง สงั คม ผมู้ ีอำ� นาจระดบั ท่ีสามารถ คอ่ นขา้ งนอ้ ยมากที่หนว่ ยงาน ตดั สินใจ288 ภาครัฐหรือสถาบนั ทางการแพทย์ 285 สมั ภาษณ์ สชุ าดา ทวีสทิ ธิ์, 30 มีนาคม 2563 286 สมั ภาษณ์ เคท ครงั้ พบิ ูลย์, 10 มนี าคม 2563 287 เรอื่ งเดยี วกนั 288 สมั ภาษณ์ ศิริศักด์ิ ไชยเทศ, 12 มีนาคม 2563 236 ยทุ ธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ยทุ ธศาสตรส์ ุขภาวะ ขอ้ เสนอ บทสัมภาษณ์ 2. การทำ� งานเปน็ เครอื ขา่ ย ทีเ่ กีย่ วข้องจะมีบทบาทในการทำ� งาน ระหวา่ งภาครฐั ภาคประชา เรือ่ งนี้ ไม่วา่ จะเป็นเร่อื งสขุ ภาพจติ สังคมและชมุ ชน289 สขุ ภาพกาย และสขุ ภาวะทางเพศ 3. หนว่ ยงานภาครัฐ ของ LGBT291 สถาบันทางการแพทย์ท่ี เกี่ยวขอ้ งเข้ามบี ทบาท ในการทำ� งานเรื่องสขุ ภาพ จิต สุขภาพกาย และสุข ภาวะทางเพศของบุคคลท่ีมี ความหลากหลายทางเพศ290 เครือข่าย 1. การเรียนรู้ข้ามเครือขา่ ย “ในเมอื งไทยเวลาเราพูดเรือ่ ง องค์ ในประเดน็ การกดขี่ทับซ้อน Intersectionality เรานกึ ถึง ความรู้ (Intersectionality) เช่น ประเด็นอะไรทีม่ ันทับซอ้ นกนั มาก เรียนรรู้ ว่ มกนั จากหลาก เอางา่ ยๆ ถ้ามองในมมุ ของเอชไอวีนี่ หลายเครอื ข่ายเพือ่ ความ พดู กนั มานาน เพราะวา่ ในเครอื ข่าย เข้าใจเรอื่ งอัตลักษณ์ เอชไอวีมันมีท้งั หมด 18 เครือขา่ ย ทับซ้อน292 อย่างน้อย คนท�ำเร่อื งยาเสพติด 2. สร้างระบบเครือข่าย คนทำ� เรือ่ งผู้หญงิ คนทำ� เรือ่ งผู้ตดิ ภาควิชาการกบั ภาค เช้อื คนท�ำเรื่องเยาวชน คนทำ� เรอ่ื ง ประชาสงั คม293 Sex Worker สง่ิ ทเ่ี ราพูดเคยลอง เสนอก็คือว่า ท�ำไมเราไม่ไปเรียนรู้ 289 สัมภาษณ์ อันธิฌา แสงชัย, 6 มีนาคม 2563, สัมภาษณ์ อัญชนา สุวรรณานนท์, 24 กมุ ภาพนั ธ์ 2563, สมั ภาษณ์ นาดา ไชยจิตต,์ 20 มนี าคม 2563 290 สัมภาษณ์ สุภาณี พงษ์เรอื งพนั ธ์ุ, 2 พฤษภาคม 2563. 291 เร่ืองเดยี วกัน 292 สมั ภาษณ์ สไุ ลพร ชลวไิ ล, 20 กุมภาพนั ธ์ 2563 293 สัมภาษณ์ นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ, 8 มนี าคม 2563 237 ยุทธศาสตรส์ ุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ยุทธศาสตร์สขุ ภาวะ ขอ้ เสนอ บทสมั ภาษณ์ ขา้ มเครอื ขา่ ย เช่นคุณไม่รู้เร่ือง ยาเสพตดิ คณุ กต็ ตี ราเขาอีก เขากไ็ มค่ ่อยมีเวทเี รยี นรูข้ ้าม เครือข่ายแบบน้”ี 294 “ถ้ามองสถาบนั การศกึ ษาเป็นพ้ืนท่ี ของการขบั เคลอื่ นในเครือขา่ ยกใ็ ช้ พลงั นักศึกษาไปเสริมพลัง เชน่ สนับสนนุ ให้นักเรยี นนักศกึ ษาท่ี ยอมรับเพศสภาพ เพศวถิ ีของตัวเอง ไดม้ กี ิจกรรมท�ำอยา่ งตอ่ เนือ่ ง รว่ มมือกบั มหาวทิ ยาลยั ให้มี การตง้ั ชมรมท�ำงานเรอ่ื งสทิ ธิ ความหลากหลายทางเพศผนวก เร่อื งสุขภาวะเขา้ ไป การสรา้ ง เครอื ข่ายระดับต่างๆ295 ความเขม้ 1. สรา้ งความเขม้ แขง็ “การให้ความรกู้ ับชุมชนเพื่อท่ีจะ แขง็ ของ ใหก้ บั ชมุ ชนทางกายภาพ ปกปอ้ งและพทิ กั ษ์สทิ ธติ วั เองให้ได้ เครอื ขา่ ย และชุมชนออนไลนม์ ีความรู้ มากขึ้น ไม่ตอ้ งมาผ่านวิชาชพี ชุมชน เร่ืองสขุ ภาวะของบุคคลทมี่ ี ไม่ตอ้ งมาใช้งบประมาณ ความหลากหลายทางเพศ296 ให้ใช้สื่อตา่ งๆ ที่เขา้ ถงึ ได้งา่ ย297 294 สัมภาษณ์ สุไลพร ชลวิไล, 20 กมุ ภาพันธ์ 2563 295 สมั ภาษณ์ นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ, 8 มนี าคม 2563 296 สัมภาษณ์ กมลเศรษฐ์ เกง่ การเรอื , 27 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 297 เรือ่ งเดียวกัน 238 ยุทธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ยทุ ธศาสตร์สุขภาวะ ข้อเสนอ บทสมั ภาษณ์ 6. เยาวชน 1. การสร้างผู้นำ� การ “อยากให้มีการสร้างนักกิจกรรมรุ่น เยาวชน เปลย่ี นแปลง (Change ใหม่ๆ มาชว่ ยกันทำ� งาน ขบั เคล่ือน และ Agent) รุ่นใหมใ่ นกลุม่ นกั ประเดน็ LGBT+ ถ้ามรี ุ่นใหมๆ่ ครอบครวั กิจกรรมหลากหลายทาง มาดว้ ยจะย่ิงมีความเข้มแข็ง เพศ298 ในการทำ� งาน”300 2. การพฒั นาเยาวชนให้ “การสร้างความเข้าใจกับสงั คม รูจ้ ักตนเอง เห็นคุณคา่ และ เราไม่ไดเ้ รม่ิ จากครอบครวั ก่อน ภาคภมู ิใจในความเป็น เราเริม่ จากตวั เขาเองกอ่ น ตัวเขา บคุ คลทม่ี คี วามหลากหลาย รสู้ กึ ว่าเขาเปน็ แบบนก้ี ภ็ าคภมู ใิ จไหม ทางเพศ299 เขารักตวั เองไหม หรือเขาเห็นคณุ คา่ ในตวั เองไหม กอ่ นท่ีจะขยบั ไปเรือ่ ง อ่นื ตวั เขาตอ้ งร้จู กั ตวั เขา รกั ตัวเขา ดแู ลตวั เขาได้ พฒั นาตัวเขาใหเ้ ปน็ คนที่มีคณุ ภาพ เพราะวา่ หลายคร้ัง ทเี่ ราคยุ กบั เดก็ ๆ พวกน้บี างที เขาไม่ได้เหน็ คุณค่าตวั เขาเอง จึงมคี วามเสี่ยงไปตดิ ยาบ้าง ไปมีเพศสัมพันธด์ ้วยโดยไม่ระมดั ระวังบ้าง เขาไม่ได้เหน็ คุณคา่ ของ ตวั เองเลยไมจ่ ำ� เป็นต้องรักตวั เอง กไ็ ด้ เพราะฉะนั้นการทเ่ี ราจะ พฒั นาคน เราไม่ไดเ้ ริ่มจากผใู้ หญ่ เราต้องเริม่ จากเยาวชนเหลา่ น3ี้ 01 298 สมั ภาษณ์ เจษฎา แตส้ มบตั ,ิ 4 มีนาคม 2563 299 สมั ภาษณ์ กมลเศรษฐ์ เก่งการเรอื , 27 กุมภาพนั ธ์ 2563 300 เรื่องเดยี วกัน 301 เรอ่ื งเดียวกนั 239 ยุทธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ยทุ ธศาสตร์สขุ ภาวะ ขอ้ เสนอ บทสัมภาษณ์ ครอบครวั 1. การสร้างความเขม้ แข็งให้ “ครอบครัวยงั เปน็ หมดุ หมายส�ำคัญ ครอบครวั เปน็ พ้ืนท่ีปลอดภัย หรือ Change Agent ที่จะมา มีกลุ่มสนบั สนนุ ครอบครัว ช่วยคนทบี่ อกตวั เองว่าเราเปน็ สรา้ งผู้น�ำการเปลยี่ นแปลง คนหลากหลายทางเพศ ให้รู้สึกวา่ (Change Agent) ผ่าน เรามสี ุขภาวะไดด้ ีขึ้น303 ครอบครวั สำ� หรับบคุ คลทมี่ ี ความหลากหลายทางเพศ302 จากข้อเสนอแนะโดยนักวิชาการ นักกิจกรรมด้านความหลากหลาย ทางเพศ มีข้อสรุป 6 ประเด็นที่สามารถน�ำไปใช้ในการพัฒนายุทธศาสตร์ สุขภาวะของประชากร LGBTIQN+ ดงั นี้ 1. สิทธิมนุษยชนและศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ ประเด็นน้ีมุ่งเน้นไปท่ี การยุติการตีตรา/การเลือกปฏิบัติต่อบุคคลท่ีมีความหลากหลายทางเพศ ในทกุ รปู แบบ รวมท้งั ขอ้ เสนอใหใ้ ช้หลกั การ SOGIE (Sexual Orientation, Gender Identity, Expression) ในการก�ำหนดนโยบายสขุ ภาวะ ในด้านกฎหมาย มีข้อเสนอให้มีการผลักดันกฎหมายการจดทะเบียน สมรส กฎหมายการรบั รองการเป็นบตุ ร กฎหมายรับรองเพศสภาพ กฎหมาย การท�ำแท้ง การตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ที่เป็นปัญหาสุขภาวะของกลุ่มทอม และเลสเบยี้ น กฎหมายคมุ้ ครองเด็กทม่ี เี พศก�ำกวม สนบั สนุนให้มกี ารนำ� พระ ราชบัญญัติคุม้ ครองผถู้ ูกกระทำ� ด้วยความรนุ แรงในครอบครวั พ.ศ. 2550 มา บังคับใช้ให้เกิดผลในการคุ้มครองเด็กที่ถูกกระท�ำความรุนแรงในครอบครัว 302 สัมภาษณ์ รณภมู ิ สามัคคคี ารมย,์ 7 มนี าคม 2563 303 เร่ืองเดยี วกนั 240 ยทุ ธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
เพราะอตั ลกั ษณท์ างเพศของเดก็ ผลกั ดนั ใหม้ กี ารเขา้ ถงึ กฎหมายหรอื การจดั ตง้ั ศูนย์ทนายในเรอ่ื งของความเทา่ เทียม ความเป็นธรรม และความหลากหลาย ทางเพศ ในด้านสื่อ มีข้อเสนอให้ส่งเสริมการผลิตสื่อเพ่ือรณรงค์สาธารณะเร่ือง ความรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั ความหลากหลายทางเพศ การสรา้ งนวตั กรรมโดย บคุ คลทมี่ คี วามหลากหลายทางเพศเพอื่ การเปลย่ี นแปลงทางสงั คม การรณรงค์ ให้ความรู้กับส่ือมวลชนเรื่องความละเอียดด้านความหลายหลายทางเพศ เพ่ิมช่องทางการสื่อสารท่ีลดความเกลียดชังในเร่ืองความหลากหลายทางเพศ รวมถึงการใช้สื่อใหม่เป็นยุทธศาสตร์ในการขับเคลื่อนด้านสุขภาวะบุคคลท่ีมี ความหลากหลายทางเพศ 2. สขุ ภาวะองคร์ วม ในดา้ นสขุ ภาวะกาย ใจ และจติ วญิ ญาณ ยทุ ธศาสตร์ ควรเน้นการท�ำงานเพ่ือช่วยแก้ปัญหาสุขภาพจิตและความมั่นคงภายในให้กับ นกั กจิ กรรมดา้ นความหลากหลายทางเพศ การสนบั สนนุ สรา้ งความเขา้ ใจเรอื่ ง ภาวะซึมเศร้าในกลุ่มหลากหลายทางเพศ การสร้างพ้ืนท่ีปลอดภัยให้กับกลุ่ม หลากหลายทางเพศท่ีได้รบั ความรนุ แรงทง้ั กาย ใจ จิตวิญญาณ ในด้านสุขภาพทางกายให้ความส�ำคัญกับเรื่องการใช้ฮอร์โมนส�ำหรับ กลุ่มคนข้ามเพศ และการใช้ยาของกลุ่มบุคคลท่ีมีความหลากหลายทางเพศ นอกจากน้ีควรส่งเสริมการท�ำงานเชิงนโยบายที่เสริมมุมมองสุขภาวะเชิงบวก เกย่ี วกบั บคุ คลทมี่ คี วามหลากหลายทางเพศ 3. ระบบบริการสุขภาพ เน้นการสร้างนโยบาย ระเบียบปฏิบัติ แนว ปฏบิ ตั วิ ธิ กี ารทำ� งานดา้ นการใหบ้ รกิ ารสขุ ภาพ ทำ� ใหบ้ คุ คลหลากหลายทางเพศ เข้าถึงสิทธิในการเข้าถึงระบบบริการ มีการจัดต้ังศูนย์บริการสุขภาวะส�ำหรับ บุคคลหลากหลายทางเพศอย่างทั่วถึง มีที่พักพิงและสร้างความเข้มแข็ง 241 ยทุ ธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ให้ชุมชนสามารถมีระบบบริการสุขภาพกระจายอย่างทั่วถึงส�ำหรับบุคคลที่มี ความหลากหลายทางเพศ 4. การสร้างองค์ความรู้ การสร้างฐานคิด/องค์ความรู้ด้านความ หลากหลายทางเพศ ได้แก่ เร่ืองสิทธิพลเมือง ในเร่ืองของการดูแลสุขภาวะ ของตนเอง ให้การศึกษากับสังคมเรื่องการเคารพสิทธิ ตัวตนของบุคคลท่ีมี ความหลากหลายทางเพศ เพม่ิ มมุ มองความเขา้ ใจ SOGIE (Sexual Orien- tation and Gender Identity Expression) น�ำเร่ืองเพศสภาพเข้าสู่ การเรยี นรใู้ นระบบการศกึ ษาทกุ ระดบั โดยเฉพาะการสรา้ งความเขา้ ใจในกลมุ่ บคุ ลากรทางการศกึ ษาและบคุ ลากรทางการแพทย์ นอกจากนค้ี วรมกี ารสำ� รวจ ขอ้ มูลประชากรความหลากหลายทางเพศและเผยแพรใ่ นวงกว้าง 5. การพัฒนาเครือข่าย ในประเด็นแรกมีข้อเสนอให้เน้นการพัฒนา เครือข่ายการท�ำงานร่วมกันแบบบูรณาการระหว่างภาครัฐ ภาคประชาสังคม และชมุ ชน ประเด็นที่สองเป็นประเด็นการสรา้ งเครือข่ายองค์ความรู้ ทง้ั ในแง่ การเรียนรู้ข้ามเครือข่ายและการสร้างระบบเครือข่ายภาควิชาการกับภาค ประชาสังคม ส่วนประเด็นท่ีสาม เป็นการสนับสนุนสร้างเสริมความเข้มแข็ง ของเครือขา่ ยชุมชน 6. เยาวชนและครอบครัว ประเด็นนี้มุ่งเน้นการสร้างผู้น�ำการ เปล่ยี นแปลง (Change Agent) รนุ่ ใหมใ่ นกลุ่มนกั กิจกรรมหลากหลายทาง เพศ การพฒั นาเยาวชนใหร้ จู้ กั ตนเอง เหน็ คณุ คา่ ภาคภมู ใิ จในความเปน็ บคุ คล ทม่ี คี วามหลากหลายทางเพศ และการสรา้ งความเขม้ แขง็ ใหค้ รอบครวั เปน็ พนื้ ท่ี ปลอดภัย มีกลุ่มสนับสนุนครอบครัว สร้างผู้น�ำเพ่ือการเปล่ียนแปลงใน ครอบครัว ส�ำหรับบุคคลทมี่ คี วามหลากหลายทางเพศ 242 ยุทธศาสตรส์ ุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
5บทที่ ยทุ ธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ จากการศึกษาและวิเคราะห์บริบทและสถานการณ์ปัญหาสุขภาวะ LGBTIQN+ ท้ังในประเทศไทยและต่างประเทศ การศึกษายุทธศาสตร์ สุขภาวะ LGBTIQN+ จากงานวิจัยในประเทศไทยและยุทธศาสตร์จากต่าง ประเทศ รวมถงึ การสัมภาษณ์ผู้มีอตั ลักษณ์ LGBTIQN+ ตวั แทนองคก์ รและ กลมุ่ ทท่ี ำ�งานดา้ นสขุ ภาวะ LGBTIQN+ ตลอดจนขอ้ เสนอแนะจากนกั กจิ กรรม และนักวิชาการด้านความหลากหลายทางเพศ ในบทนี้จะประมวลข้อมูลและ วิเคราะห์หาประเด็นหลักของปัญหาสุขภาวะ LGBTIQN+ เพ่ือพัฒนาเป็น ยุทธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย ดงั จะไดน้ ำ�เสนอตอ่ ไปน้ี หลักการและเหตผุ ล ประเทศไทยแมจ้ ะไดร้ บั การยอมรบั วา่ มกี ารเคลอื่ นไหวเพอื่ ยกระดบั สทิ ธิ บคุ คลทม่ี ีความหลากหลายทางเพศหรอื LGBTIQN+ และมีความกา้ วหนา้ ใน หลายประเดน็ เมอ่ื เทยี บกบั ภมู ภิ าคเดยี วกนั อยา่ งไรกต็ ามกลมุ่ บคุ คลทมี่ คี วาม หลากหลายทางเพศยงั ประสบปัญหาจากการถกู เลือกปฏบิ ตั ิเพราะเหตุแหง่ วถิ ี ทางเพศ (Sexual Orientation) และอตั ลกั ษณท์ างเพศ (Gender Identity) 243 ยุทธศาสตรส์ ุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
กลมุ่ คนรักเพศเดยี วกนั คนรักได้มากกว่าหน่งึ เพศ คนขา้ มเพศ เป็นตวั อย่าง ของการถกู มองโดยสมาชกิ สว่ นหนง่ึ ของสงั คมไทยวา่ มปี ญั หาทางจติ แมว้ า่ จะ มีการยกเลิกการใช้ค�ำว่า “โรคจิต” กับคนกลุ่มน้ีแล้วโดยองค์การอนามัยโลก นับแต่ ปี ค.ศ. 1990 เป็นต้นมา แต่ในทางปฏิบัติพวกเขายังคงเผชิญกับ การถูกเลือกปฏิบัติทกี่ ว้างขวางทั้งในชวี ติ ส่วนตวั การท�ำงาน พ้ืนทีท่ างสังคม และสุขภาพ304 ปัจจยั เร่ืองเพศสภาพ เพศวิถี และอัตลักษณ์ทางเพศ ไดส้ ร้าง ผลกระทบท�ำให้บุคคลท่ีมีความหลากหลายทางเพศเข้าไม่ถึงการดูแลด้าน สขุ ภาพ รวมทงั้ ผลกระทบจากความเจบ็ ปว่ ยของผคู้ นในสงั คมทม่ี อี าการเกลยี ด กลัวคนรักเพศเดียวกัน (Homophobia) คนข้ามเพศ (Transphobia) สง่ ผลกระทบตอ่ สภาวะทางจิตใจ รา่ งกาย ปญั ญา และการอยรู่ ว่ มกันอยา่ งมี คุณภาพในสังคมของบุคคลท่ีมีความหลากหลายทางเพศมาเป็นระยะเวลา ยาวนาน แม้ว่า “มิติสุขภาวะ” ซึ่งเป็นตัวช้ีวัดส�ำคัญของศตวรรษที่ 21 มี ความหมายถึงภาวะของมนษุ ยท์ ส่ี มบูรณ์ท้ังทางกาย ทางจิต ทางปญั ญา และ ทางสังคม305 เชื่อมโยงกันเป็นองค์รวมอย่างสมดุลเก่ียวข้องกับความยุติธรรม และการเข้าถึงอย่างเท่าเทียมหรือท่ีเรียกว่าความยุติธรรมสุขภาพ โดยที่ ทกุ คนในสงั คมควรเขา้ ถงึ โอกาสอยา่ งเทา่ เทยี มกนั เพอื่ บรรลเุ ปา้ หมายในชวี ติ ท่ี วางไว้ (Substantive Equality of Opportunity) ทวา่ ประชากรกล่มุ บคุ คล ผู้มีความหลากหลายทางเพศ ยังคงต้องเผชิญกับปัญหาความเหลื่อมล�้ำทาง สขุ ภาพหลายประการ และมคี วามเสย่ี งในเรอ่ื งสขุ ภาพ อนั เนอื่ งมาจากการถกู เลือกปฏิบัติและการตีตรา จนท�ำให้ไม่สามารถเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุข 304 บษุ กร สุริยสาร, อตั ลักษณ์และวถิ ีทางเพศของประเทศไทย, น. iv. 305 ส�ำนกั งานคณะกรรมการสุขภาพแหง่ ชาต.ิ พระราชบญั ญตั สิ ขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. 2550, น. 2 244 ยทุ ธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ท่ีส�ำคัญก็คือในการวางนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพและสุขภาวะของ ประชากรในประเทศไทยยงั คงใชเ้ ลนสแ์ บบรกั ตา่ งเพศในการกำ� กบั นโยบายและ การปฏบิ ตั ิงาน ขาดมมุ มองในเรือ่ งของความหลากหลายทางเพศ เปน็ การต้งั กลุ่มเป้าหมายการท�ำงานโดยไม่ค�ำนึงถึงคุณลักษณะเฉพาะของอัตลักษณ์ทาง เพศสภาพ เพศวิถี และวถิ ที างเพศท่มี ีความเฉพาะของบุคคล การนำ� แนวคดิ สขุ ภาพดรี ว่ มกนั (Inclusive Health Approach) และ ความเสมอภาคทางสุขภาพ (Health Equity) บูรณาการบนฐานของแนวคิด เรอ่ื ง เพศสภาพ เพศวิถี สิทธใิ นวถิ ที างเพศ และอัตลกั ษณท์ างเพศ (SOGI) การกดขท่ี บั ซอ้ น (Intersectionality) และความเปน็ พลเมอื งสขุ ภาวะทางเพศ (Sexual Well–Being and Citizenship) จักเป็นแนวทางที่สามารถน�ำมา ใชใ้ นการกำ� หนดยทุ ธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ เพอื่ ให้มองเหน็ คนทกุ กลุ่ม รวมท้ังบุคคลผมู้ คี วามหลากหลายทางเพศ ซึง่ มคี วามตอ้ งการดา้ นสขุ ภาพทม่ี ี ความจำ� เพาะ มิไดม้ เี พียงความจ�ำเป็นทางสุขภาวะในมติ เิ ดียว สามารถเขา้ สู่ ความเสมอภาคทางสขุ ภาพ (Health Equity) ไดเ้ ฉกเชน่ ประชากรทกุ กลมุ่ ใน สงั คม การบรู ณาการแนวความคดิ ดงั กลา่ วตง้ั บนฐานความเชอื่ วา่ ปจั เจกบคุ คล ทกุ คนมีสทิ ธิท่ีจะมสี ขุ ภาพทด่ี ี และถือเป็นความรับผิดชอบร่วมกนั ของทกุ ภาค ส่วนท่ีจะต้องท�ำให้ม่ันใจได้ว่าทุกคนมีศักยภาพในสุขภาพอย่างสูงสุด โดยไม่ หลงลืมความแตกต่างทางเพศสภาพ เพศวิถี อัตลักษณ์ทางเพศ ตลอดจน ความทบั ซ้อนของปจั จยั เชงิ โครงสร้างและการกดขท่ี บั ซ้อนของอัตลกั ษณ์ ในการพฒั นายทุ ธศาสตรส์ ขุ ภาวะครง้ั นจ้ี ะใชค้ ำ� วา่ บคุ คลทม่ี คี วามหลาก หลายทางเพศ หรือ LGBTIQN+ โดยต้องการให้มีความหมายครอบคลุมถึง บคุ คลทกุ กลมุ่ ทม่ี เี พศกำ� เนดิ กบั เพศสภาพในลกั ษณะทไี่ มไ่ ดส้ อดคลอ้ งกนั ตาม ความเขา้ ใจแบบทวเิ พศ การนยิ ามนเี้ ปน็ ไปในเชงิ การปฏเิ สธระบบความเขา้ ใจ ทวี่ างอยบู่ นพนื้ ฐานทวเิ พศ โดยไมไ่ ดม้ งุ่ ระบวุ า่ บคุ คลทม่ี คี วามหลากหลายทาง เพศประกอบดว้ ยบคุ คลใดบา้ ง ในตวั ยอ่ ภาษาองั กฤษทเ่ี ลอื กใช้ คอื LGBTIQN+ 245 ยทุ ธศาสตร์สขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
แม้จะมีการระบุถึง Lesbian (หญิงรักหญิง) Gay (ชายรักชาย) Bisexual (บุคคลรกั ไดท้ ้งั สองเพศ) Transgender (บคุ คลข้ามเพศ) Intersex (บุคคล ทม่ี ีเพศก�ำกวม) Queer (ผ้ไู มน่ ิยามเพศ บคุ คลทปี่ ฏิเสธการนิยามตนเองด้วย อตั ลกั ษณท์ างเพศทกุ รปู แบบ) Non–Binary (นอน–ไบนาร่ี หรอื บคุ คลทป่ี ฏเิ สธ การนยิ ามตนเองดว้ ยอตั ลกั ษณท์ างเพศทว่ี างอยบู่ นฐานการแบง่ เพศเปน็ สองขวั้ ตรงข้ามคือ ชายและหญงิ ) แต่การศกึ ษาคร้ังน้ีจะใส่สัญลักษณ์ + ลงไปเพ่ือ ให้เหน็ ว่า บคุ คลทมี่ คี วามหลากหลายทางเพศไม่มอี ตั ลักษณท์ างเพศทห่ี ยดุ น่ิง หรือตายตัว เพื่อให้เป็นนิยามที่เปิดกว้างสามารถล่ืนไหลต่อไปได้ ไม่ยึดติด ในกล่องเพศ หรือเพศตามก�ำหนดของสังคมวัฒนธรรม เพราะรูปแบบความ สมั พันธ์ระหว่างบุคคลอาจสามารถเปลี่ยนแปลงได้ในอนาคตข้างหนา้ วสิ ัยทัศนข์ องยุทธศาสตร์ ประชากรกลุ่ม LGBTIQN+ เข้าถึงความเป็นธรรมทางสุขภาพ ไม่ถูก เลือกปฏิบัติด้วยอัตลักษณ์ทางเพศสภาพและเพศวิถี ตลอดจนปัจจัยการกดขี่ ทบั ซอ้ น ไดร้ บั การปกปอ้ งคมุ้ ครองในสทิ ธทิ างสขุ ภาวะ สามารถใชช้ วี ติ ในสงั คม ไดอ้ ย่างมีสขุ ภาวะองค์รวม ทัง้ ทางร่างกาย จิตใจ ปญั ญา และสงั คม เพอ่ื ให้ ประชากร LGBTIQN+ ในฐานะที่เป็นพลเมืองสุขภาวะ ได้มีส่วนร่วมในการ สร้างสังคมสุขภาพดรี ว่ มกนั LGBTIQN+ population reach health equity, not being discriminated against based on gender, sexual orientation and intersectional identities. Rights to health are protected. LGBTIQN+ population are able to live in society with holistic well–being– physically, mentally, spiritually and socially. As a well–being citizen, LGBTIQN+ population participate in building an inclusive healthy society together. 246 ยุทธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
พนั ธกิจ 1. การสง่ เสริมสิทธิดา้ นสขุ ภาวะ สำ� หรับประชากร LGBTIQN+ ส่งเสริมสิทธิสุขภาวะ พัฒนาระบบบริการสุขภาพท่ีเป็นธรรม ลดการ ตีตรา ไม่เลือกปฏิบัติในมิติสุขภาวะ เพ่ือให้ประชากร LGBTIQN+สามารถ ดำ� รงชวี ิตในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีศกั ดิศ์ รี 2. การสร้างระบบและการขับเคลอ่ื นองคค์ วามรู้ด้านสุขภาวะ สำ� หรับประชากร LGBTIQN+ ม่งุ สรา้ งฐานข้อมูลองคค์ วามรู้ และระบบการบรหิ ารจดั การองค์ความรู้ ท่ีสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการในการขับเคล่ือนงานด้าน การสง่ เสริมสุขภาวะ LGBTIQN+ 3. การพัฒนาระบบเครอื ข่ายการท�ำงาน ชุมชน เยาวชนรุน่ ใหม่ เพื่อสขุ ภาวะของประชากร LGBTIQN+ มุ่งสร้างฐานข้อมูลและเครือข่ายการท�ำงานด้านสุขภาวะ LGBTIQN+ ที่มีสุขภาวะองค์รวม รวมท้ังสร้างพ้ืนท่ี ครอบครัว และชุมชนท่ีเป็นมิตรของ LGBTIQN+ ตลอดจนส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจด้านความหลากหลายทาง เพศ และหนนุ เสรมิ ศกั ยภาพใหก้ บั ครอบครวั และเยาวชนเพอื่ สรา้ งพลเมอื งและ สงั คมสขุ ภาวะร่วมกนั 247 ยทุ ธศาสตร์สขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
เปา้ ประสงค์ ด้านการสง่ เสริมสทิ ธิดา้ นสุขภาวะสำ� หรับประชากร LGBTIQN+ 1. การเปลี่ยนแปลงฐานคิดในระดับโครงสร้างสังคม ลดอคติ ความ เกลยี ดกลวั บคุ คลทมี่ คี วามหลากหลายทางเพศ สง่ เสรมิ ความตระหนกั ในคณุ คา่ และศักดิศ์ รีความเป็นมนษุ ยข์ องประชากรกลุ่ม LGBTIQN+ 2. การสนับสนุนขับเคล่ือนด้านกฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับสิทธิของ LGBTIQN+ ท่ีส่งผลตอ่ สขุ ภาวะ 3. การท�ำงานเชิงเฝ้าระวัง (Monitoring) เพ่ือลดการตีตราและ การไม่เลอื กปฏบิ ัตติ ่อ LGBTIQN+ ทส่ี ่งผลตอ่ สุขภาวะในพื้นทต่ี า่ งๆ 4. การพัฒนาระบบ ส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟูสุขภาวะที่ดี ในประชากรกลุ่ม LGBTIQN+ ทกุ ช่วงวัย 5. การส่งเสริมให้ประชากรกลุ่ม LGBTIQN+ เข้าถึงการให้บริการ สขุ ภาพทว่ั ไปได้อย่างเทา่ เทยี ม 6. การส่งเสริมให้บริการสุขภาพและสาธารณสุขที่มีความพร้อมตอบ สนองตอ่ การให้บริการสุขภาพแก่ประชากรกลมุ่ LGBTIQN+ ด้านการสรา้ งระบบฐานองค์ความรดู้ า้ นสขุ ภาวะ ส�ำหรบั ประชากร LGBTIQN+ 1. การพัฒนาฐานข้อมูลองค์ความรู้ดา้ นสขุ ภาวะ LGBTIQN+ 2. การพัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์ความรู้ด้านสุขภาวะ LGBTIQN+ ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล กอ่ ใหเ้ กดิ ประโยขนต์ อ่ การสรา้ ง เสริมสุขภาวะ LGBTIQN+ 248 ยุทธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
3. การพัฒนาวิธีการท่ีมีประสิทธิภาพ ในการเผยแพร่องค์ความรู้ไปสู่ ผ้กู �ำหนดนโยบาย และสาธารณะได้อย่างกว้างขวาง ดา้ นการพัฒนาระบบเครอื ข่ายการท�ำงาน ชุมชน เยาวชนรุน่ ใหม่ เพือ่ สขุ ภาวะส�ำหรบั ประชากร LGBTIQN+ 1. การสรา้ งฐานขอ้ มลู และเครอื ขา่ ยนกั กจิ กรรม นกั วชิ าการดา้ นความ หลากหลายทางเพศจากหลากหลายองค์กรท้ังในประเทศและต่างประเทศ ระดบั ภูมิภาคและระดับสากล ตลอดจนการสรา้ งความร่วมมือ ความเข้มแข็ง ระหว่างเครอื ขา่ ย 2. การส่งเสริม ฟื้นฟู พัฒนาท้ังศักยภาพทักษะชีวิตและการท�ำงาน (Soft Skills and Hard Skills) และศักยภาพภายใน (Empowerment) ให้ กบั นกั กจิ กรรมดา้ นความหลากหลายทางเพศ เพอื่ การสรา้ งเครอื ขา่ ย LGBTIQN+ ทมี่ สี ุขภาวะองคร์ วมท่ดี ี 3. การสร้างพื้นท่ีปลอดภัยและชุมชนที่เป็นมิตรของ LGBTIQN+ ท้ัง รูปแบบชุมชนเสมือนจริง (Virtual Community) และชุมชนทางกายภาพ (Community) เพ่อื การสรา้ งสงั คมสขุ ภาวะร่วมกนั 4. การเสรมิ พลงั เยาวชนใหเ้ ปน็ พลเมอื งทตี่ ระหนกั ถงึ คณุ คา่ และศกั ดศ์ิ รี ความเปน็ มนษุ ยข์ อง LGBTIQN+ 5. การพัฒนาศักยภาพเยาวชนให้สามารถสร้างการเปล่ียนแปลงด้าน การส่งเสริมสขุ ภาวะ LGBTIQN+ 6. การพัฒนาส่ิงแวดล้อมทางสังคมท่ีมีอิทธิพลต่อเยาวชน ได้แก่ ครอบครวั ชุมชน สถานศกึ ษา ให้เอือ้ ต่อการเสริมสร้างสุขภาวะ LGBTIQN+ 249 ยุทธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ตารางท่ี 7 ความสมั พนั ธข์ อง วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ เปา้ ประสงค์ และยทุ ธศาสตร์ วิสยั ทศั น์ ประชากรกลุ่ม LGBTIQN+ เข้าถึงความเป็นธรรมทางสุขภาพ ไม่ถูกเลือกปฏิบัติด้วย อัตลักษณ์ทางเพศสภาพและเพศวิถี ตลอดจนปัจจัยการกดข่ีทับซ้อน ได้รับการปกป้อง คุ้มครองในสิทธิทางสุขภาวะ สามารถใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างมีสุขภาวะองค์รวม ทั้งทาง รา่ งกาย จิตใจ ปัญญา และสงั คม เพ่ือให้ประชากร LGBTIQN+ ในฐานะที่เปน็ พลเมือง สขุ ภาวะ ได้มีส่วนรว่ มในการสรา้ งสงั คมสขุ ภาพดรี ว่ มกนั LGBTIQN+ population reach health equity, not being discriminated against based on gender, sexual orientation and intersectional identities. Rights to health are protected. LGBTIQN+ population are able to live in society with holistic well–being–physically, mentally, spiritually and socially. As a well–being citizen, LGBTIQN+ population participate in building an inclusive healthy society together. พันธกิจ เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ 1. การสง่ เสรมิ สิทธิด้าน 1. การเปล่ียนแปลงฐานคดิ ในระดบั 1. การค้มุ ครอง สขุ ภาวะ ส�ำหรบั โครงสร้างสงั คม ลดอคติ ความ สิทธิมนษุ ยชน ประชากร LGBTIQN+ เกลยี ดกลวั บคุ คลทีม่ คี วามหลาก และศักดศ์ิ รี ส่งเสรมิ สิทธสิ ขุ ภาวะ หลายทางเพศ สง่ เสรมิ ความตระหนกั ความเปน็ มนุษย์ พัฒนาระบบบริการ ในคณุ ค่าและศกั ด์ิศรีความเปน็ มนษุ ย์ LGBTIQN+ สุขภาพทเ่ี ป็นธรรม ของประชากรกลมุ่ LGBTIQN+ ลดการตตี รา 2. สนบั สนุนการขบั เคลอ่ื นดา้ นกฎหมาย ไม่เลอื กปฏบิ ตั ใิ นมติ ิ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับสิทธขิ อง LGBTIQN+ สขุ ภาวะ เพื่อให้ ท่ีสง่ ผลต่อสุขภาวะ ประชากร LGBTIQN+ 3. การทำ� งานเชิงเฝา้ ระวงั (Monitor- สามารถดำ� รงชวี ติ ing) เพ่ือลดการตีตราและ ในสงั คมไดอ้ ยา่ ง การไมเ่ ลอื กปฏิบตั ติ ่อ LGBTIQN+ มศี กั ด์ศิ รี ทส่ี ง่ ผลตอ่ สุขภาวะในพนื้ ที่ตา่ งๆ 250 ยทุ ธศาสตร์สขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
พันธกิจ เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ 4. การพฒั นาระบบ สง่ เสรมิ ปอ้ งกนั 2. การสร้างระบบ รักษา และฟ้ืนฟู สุขภาวะทด่ี ี บรกิ ารสขุ ภาวะที่ ในประชากรกล่มุ LGBTIQN+ เปน็ ธรรมส�ำหรับ ทกุ ช่วงวยั LGBTIQN+ 5. การสง่ เสริมให้ประชากรกลมุ่ LGBTIQN+ เขา้ ถึงการใหบ้ ริการ สขุ ภาพทั่วไปไดอ้ ยา่ งเทา่ เทียม 6. การส่งเสรมิ การให้บรกิ ารสุขภาพ และสาธารณสุขที่มคี วามพรอ้ ม ตอบสนองต่อการใหบ้ ริการสขุ ภาพ แก่ประชากรกล่มุ LGBTIQN+ 2. การสรา้ งระบบและ 1. การพัฒนาฐานขอ้ มลู องคค์ วามรู้ 3. การพฒั นาฐาน การขบั เคลอ่ื นองค์ ด้านสขุ ภาวะ LGBTIQN+ ขอ้ มลู และ ความรดู้ า้ นสขุ ภาวะ 2. การพัฒนาระบบการบริหารจดั การ การบรหิ ารจัดการ ส�ำหรับประชากร องค์ความรดู้ า้ นสขุ ภาวะ LGBTIQN+ องคค์ วามรู้ LGBTIQN+ ม่งุ สร้าง ทีม่ ีประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ล เพ่ือเสรมิ สร้าง ฐานข้อมูลองค์ความรู้ กอ่ ให้เกดิ ประโยขนต์ ่อการสรา้ งเสรมิ สุขภาวะ และระบบการบริหาร สุขภาวะ LGBTIQN+ LGBTIQN+ จัดการองค์ความรู้ 3. การพฒั นาวิธกี ารทม่ี ีประสิทธิภาพ ทส่ี อดคลอ้ งกับ ในการเผยแพรอ่ งค์ความรูไ้ ปสู่ สภาพปญั หาและ ผ้กู �ำหนดนโยบาย และสาธารณะ ความตอ้ งการในการ ไดอ้ ยา่ งกวา้ งขวาง ขับเคลอื่ นงานดา้ น การส่งเสรมิ สุขภาวะ LGBTIQN+ 251 ยุทธศาสตร์สขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
พนั ธกิจ เป้าประสงค์ ยทุ ธศาสตร์ 3. การพัฒนาระบบ 1. การสรา้ งฐานข้อมูลและเครือข่าย 4. การสร้าง เครือขา่ ยการทำ� งาน นกั กิจกรรม นกั วชิ าการดา้ น ความเข้มแข็ง ชุมชน เยาวชนรุ่นใหม่ ความหลากหลายทางเพศจาก ของเครือขา่ ย เพื่อสุขภาวะของ หลากหลายองคก์ รทง้ั ในประเทศและ และชุมชน ประชากร LGBTIQN+ ต่างประเทศ ระดบั ภูมิภาคและ LGBTIQN+ มงุ่ สร้างฐานข้อมูลและ ระดบั สากล ตลอดจนการสรา้ ง เพอื่ การสรา้ งเสรมิ เครอื ขา่ ยการทำ� งาน ความรว่ มมือ ความเขม้ แขง็ ระหวา่ ง สขุ ภาวะ ด้านสขุ ภาวะ เครอื ขา่ ย 5. การพัฒนา LGBTIQN+ ทมี่ ี 2. การสง่ เสรมิ ฟ้นื ฟู พัฒนาทงั้ ศักยภาพเยาวชน สุขภาวะองค์รวม ศกั ยภาพทกั ษะชีวติ และการทำ� งาน ดา้ นการสร้าง รวมทั้งสร้างพนื้ ที่ (Soft Skills and Hard Skills) และ เสรมิ สขุ ภาวะ ครอบครัว และ ศักยภาพภายใน (Empowerment) LGBTIQN+ ชุมชนที่เปน็ มิตรของ ใหก้ ับนกั กิจกรรมด้านความหลาก LGBTIQN+ ตลอดจน หลายทางเพศ เพื่อการสรา้ งเครอื ขา่ ย สง่ เสรมิ ความรู้ LGBTIQN+ ที่มีสขุ ภาวะองค์รวมที่ดี ความเข้าใจด้าน 3. การสร้างพนื้ ทปี่ ลอดภัยและชมุ ชน ความหลากหลาย ที่เป็นมติ รของ LGBTIQN+ ทางเพศ และหนนุ ทง้ั รปู แบบชมุ ชนเสมอื นจริง เสรมิ ศักยภาพให้กับ (Virtual Community) และชุมชน ครอบครัวและเยาวชน ทางกายภาพ (Community) เพอื่ สร้างพลเมอื ง เพอื่ การสร้างสงั คมสุขภาวะรว่ มกัน และสงั คมสขุ ภาวะ 4. การเสรมิ พลงั เยาวชนใหเ้ ป็นพลเมือง รว่ มกัน ที่ตระหนกั ถึงคณุ คา่ และศกั ดิศ์ รี ความเปน็ มนษุ ยข์ อง LGBTIQN+ 5.การพัฒนาศกั ยภาพของเยาวชน ให้สามารถสรา้ งการเปล่ียนแปลง ดา้ นการส่งเสรมิ สุขภาวะ LGBTIQN+ 6.การพัฒนาสิง่ แวดล้อมทางสงั คมท่มี ี อิทธิพลตอ่ เยาวชน ไดแ้ ก่ ครอบครวั ชุมชน สถานศกึ ษา ใหเ้ อ้ือตอ่ การเสริมสร้างสขุ ภาวะ LGBTIQN 252 ยุทธศาสตร์สขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 การค้มุ ครองสทิ ธิมนษุ ยชน และศกั ด์ิศรีความเป็นมนุษย์ LGBTIQN+ เหตุผลและความส�ำคัญ ประชากรกลุ่ม LGBTIQN+ เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพที่ต้อง ได้รับความสนใจเป็นล�ำดับต้นๆ จากข้อสรุปจากรายงานสุขภาพจากหลาย ประเทศ306, 307 ระบุตรงกันว่าประชากรกลุ่มนี้มีความเส่ียงต่อปัญหาสุขภาพ สูงกว่าบุคคลรักต่างเพศ ทั้งในเรื่องของความพิการ ข้อจ�ำกัดทางร่างกาย ปัญหาสุขภาพโดยรวม โรคมะเรง็ โรคหัวใจ โรคหอบหืด และโรคตดิ ต่อทาง เพศสัมพันธ์ เม่อื พิจารณาประเด็นสุขภาพตามอตั ลกั ษณท์ างเพศ ชายรักชาย และชายรักสองเพศ รวมไปถึงหญิงข้ามเพศมีเช้ือเอชไอวี ป่วยโรคมะเร็งทาง ทวารหนัก และโรคตับอกั เสบ A และ B ในอตั ราทีส่ งู กวา่ ส่วนหญิงรักหญิง และหญิงรักสองเพศ มีอัตราการการเป็นโรคอ้วนสูง บุคคลข้ามเพศมีความ เสีย่ งทางสขุ ภาพเนื่องจากการใช้ฮอรโ์ มนตดิ ตอ่ กนั เปน็ เวลานาน นอกจากน้ัน ประชากรกลุ่ม LGBTIQN+ ยังมีการเข้าถึงการรักษาและการดูแลสุขภาพใน ระดับที่ต่ำ� กวา่ บคุ คลรกั ตา่ งเพศ308 306 U.S. Department of Health and Human Services, Healthy People 2020: Disparities, Accessed February 1, 2020, Available from https://www.healthypeople.gov/2020/ about/disparitiesAbout.aspx. 307 Jackson, B. et al., Whose Public Health? An Intersectional Approach to Sexual Orientation, Gender Identity and the Development of Public Health Goals for Canada, Accessed February 17, 2020, Available from http://www.rainbowhealthnetwork.ca/files/ whose_public_health.pdf 308 U.S. Department of Health and Human Services, Healthy People 2020: Disparities 253 ยุทธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ความเหลอื่ มลำ้� ทางสขุ ภาพเหลา่ นมี้ ตี น้ เหตมุ าจาก การเลอื กปฏบิ ตั แิ ละ การตีตราที่กีดกนั ประชากรกลุม่ LGBTIQN+ ออกจากนโยบาย ชมุ ชน และ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ท�ำให้ประชากรกลุ่มน้ีกลายเป็นคนชายขอบ (Marginalization) โดยกระบวนการจากสถาบันสังคมท�ำให้บุคคลท่ีมีความ หลากหลายทางเพศถกู ผลกั ไสออกไปรอบนอกศนู ยก์ ลางอำ� นาจและสวสั ดกิ าร เข้าถึงบริการทางสุขภาพได้น้อย และยังใช้บริการทางสุขภาพน้อยกว่าที่ควร ทั้งน้ีเป็นผลมาจากความวิตกกังวลหรือขาดความม่ันใจในการเข้ารับบริการ เพราะถกู เลอื กปฏบิ ตั ทิ งั้ ในระดบั ปจั เจกบคุ คลและเชงิ โครงสรา้ งอยา่ งเปน็ ระบบ การไมไ่ ด้รบั ความสำ� คัญ เนอ่ื งดว้ ยอัตลกั ษณ์ทางเพศ LGBTIQN+ ท่ีถกู ท�ำให้ เปน็ ชายขอบมกั สญู เสยี ผลประโยชนจ์ ากระบบโครงสรา้ งสงั คม กอ่ ใหเ้ กดิ ภาวะ ความตึงเครยี ดในระยะยาวจนส่งผลกระทบตอ่ สขุ ภาพทงั้ รา่ งกาย จติ ใจ309 ขอ้ มลู จากโมเดลความไมเ่ สมอภาคทางสขุ ภาพของบคุ คลทม่ี คี วามหลาก หลายทางเพศ310 ระบผุ ลกระทบจากการถกู เลอื กปฏบิ ตั แิ ละถกู ตตี ราในระดับ ปจั เจก กลมุ่ ประชากร LGBTIQN+ เกดิ ความแปลกแยกทางสงั คม การไรต้ วั ตน ทางสงั คม มคี วามเชอื่ มนั่ ในตนเองตำ�่ เผชญิ กบั ความยากจน การวา่ งงาน เลอื ก การปกปดิ ตวั ตน ปฏเิ สธตนเอง เผชญิ ภาวะไรอ้ ำ� นาจในตน เหลา่ นสี้ ง่ ผลกระทบ ตอ่ ความไมเ่ สมอภาคทางสขุ ภาพ ไดแ้ ก่ อตั ราการฆา่ ตวั ตายเพมิ่ ขนึ้ อยา่ งนอ้ ย 3 เท่าในกลมุ่ เยาวชน LGBT และ 14 เท่าในกลุ่มเกย์ อัตราการสูบบุหรีส่ งู ขนึ้ 50% ในเกย์ และ 100% ในเลสเบ้ียน อัตราของเอชไอวีในชายรักชายและ เยาวชนทเี่ ปน็ เกยเ์ พมิ่ ขน้ึ อตั ราของความซมึ เศรา้ สงู ขนึ้ 3 ถงึ 5 เทา่ ของบคุ คล 309 Jackson, B. et al., Whose Public Health? An Intersectional Approach to Sexual Orientation, Gender Identity and the Development of Public Health Goals for Canada. 310 Mulé, N. et.al., Promoting LGBT Health and Wellbeing Through Inclusive Policy Development. International Journal of Equity Health, 8, 18 (2009). 1–14. Accessed February 21, 2020, Available from https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2698868/ 254 ยทุ ธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
รักต่างเพศ อัตราของความรุนแรงสูงขึ้น 70% ของ LGBT ถูกกระท�ำ ความรุนแรงทางวาจา และ 25% ถูกกระท�ำความรุนแรงทางร่างกาย อัตรา ของการใช้แอลกอฮอลส์ งู ขึ้น ประมาณการว่า 30% ของ LGBT ที่เปน็ ผใู้ หญ่ มปี ญั หาแอลกอฮอล์ อตั ราของโรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธใ์ นเกยแ์ ละบคุ คลขา้ ม เพศสูงขึ้น อัตราการขาดการดูแลสุขภาพท่ีจ�ำเป็นของ LGBT สูงข้ึน 21.8% เมอ่ื เทยี บกับบุคคลรักต่างเพศมเี พยี ง 12.7% อตั ราของโรค Hepatitis A&B ในเกยส์ งู ขน้ึ การเปน็ มะเรง็ ทางทวารหนกั ในกลมุ่ เกยเ์ พมิ่ ขน้ึ และพบไดม้ ากกวา่ ทั่วไปถึง 80 เท่า ภาวะโรคอ้วนในเลสเบ้ียนสูงข้ึน ภาวะพฤติกรรมการกิน ที่ผิดปรกติในกลุ่มเกยส์ ูงขึน้ เปน็ ต้น311 ในประเทศไทยกลุ่ม LGBTIQN+ ถูกเลือกปฏิบัติทำ� ให้เป็นกลุ่มบุคคล ที่ไม่ได้รับการรับรองสิทธิหรือสถานะ หรือได้รับการปกป้องคุ้มครองสิทธิใน ความเปน็ พลเมืองอย่างเทา่ เทียมกบั บุคคลรกั ต่างเพศตามกฎหมาย เนอ่ื งจาก มีช่องว่างในระบบกฎหมายและนโยบายในประเทศไทยรับรองเพศเพียงแค่ สองเพศ คอื ชายและหญิงเทา่ นั้น แม้พระราชบัญญัติส่งเสรมิ ความเท่าเทยี ม ระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 จะระบุถึงการให้ความคุ้มครองถึงบุคคลท่ีมีการ แสดงออกแตกตา่ งจากเพศกำ� เนดิ กต็ าม แตใ่ นการบงั คบั ใชก้ ฎหมายทางปฏบิ ตั ิ กย็ งั มอี ปุ สรรคปญั หามากมาย เชน่ เดยี วกบั กรณกี ารผลกั ดนั รา่ งพระราชบญั ญตั ิ จดทะเบียนคู่ชีวิตโดยกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม ท่ีมี เสียงคดั คา้ นจากกลุ่มนกั สทิ ธิ LGBTIQN+ หลายกลมุ่ วา่ เป็นกฎหมายทไี่ มไ่ ด้ รับรองสิทธิกลุ่ม LGBTIQN+ เท่าเทียมกับสิทธิในการสมรสตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ของชายและหญิง นอกจากน้ีการผลักดันกฎหมาย อ่ืนๆ ที่เกี่ยวข้องกับ LGBTIQN+ โดยรัฐ เช่น พระราชบัญญัติรับรองเพศ 311 Mulé, N. et.al., Promoting LGBT Health and Wellbeing Through Inclusive Policy Development. International Journal of Equity Health, 8, 18 (2009) 255 ยทุ ธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
มกั ไมไ่ ดเ้ ปดิ โอกาสใหก้ ลมุ่ องคก์ ร เครอื ขา่ ยผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี กบั กฎหมายไดเ้ ขา้ มา มสี ว่ นร่วมในการเสนอความคิดเหน็ ทำ� ให้บคุ คลท่มี คี วามหลากหลายทางเพศ หรอื LGBTIQN+ ในประเทศไทยยงั คงเผชญิ กบั สถานการณก์ ารถกู ละเมดิ สทิ ธิ เลือกปฏบิ ัติ และไมไ่ ด้รบั ความเทา่ เทียมทางดา้ นสุขภาพอยา่ งต่อเนอ่ื ง ในด้านการเลือกปฏิบัติในสถานศึกษา จากรายงาน “ผลการส�ำรวจ ระดับชาติเกี่ยวกับทัศนคติด้านรสนิยมทางเพศ อัตลักษณ์ทางเพศและ การแสดงออกทางเพศในประเทศไทย” ทจี่ ดั ทำ� โดย UNDP และองคก์ ร LOVE FRANKIE ในปี พ.ศ. 2561 ที่ท�ำการส�ำรวจความคิดเห็นในกลุ่มประชากร ทเ่ี ปน็ LGBTIQN+ จำ� นวน 1,349 คน และกลมุ่ ประชากรทว่ั ไปทเ่ี ปน็ ผชู้ าย และ ผ้หู ญิงรักต่างเพศ จ�ำนวน 1,200 คน พบวา่ ปัญหาที่ LGBTIQN+ ถูกเลือก ปฏิบตั ิในโรงเรียนมากที่สุด ไดแ้ ก่ 1. โดนตักเตอื นเรื่องการพูดจา การแตง่ ตัว และการแสดงออก (ร้อยละ 20) 2. โดนประจาน กล่ันแกล้ง ต่อว่า ด่า ล้อเลยี น (รอ้ ยละ 10.4) 3. โดนคุกคาม ล่วงละเมิดทางเพศ (ร้อยละ 4.3) 4. โดนท�ำร้ายร่างกาย (ร้อยละ 3.6) 5. ถูกครู อาจารย์และเพื่อนเลิกคบ (รอ้ ยละ 3.8) จากรายงานเร่อื ง “การรังแกต่อกลุม่ นกั เรยี นท่ีเป็น หรอื ถูกมอง ว่าเป็นคนข้ามเพศ หรือคนรักเพศเดียวกันในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา: รูป แบบ ความชกุ ผลกระทบ แรงจูงใจ และมาตรการการป้องกนั ใน 5 จังหวัด ของประเทศไทย” โดยศูนย์ศึกษานโยบายสาธารณสุข สวัสดิการและสังคม และศูนย์กฎหมายการแพทย์ สาธารณสุข สิ่งแวดล้อม และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2556 พบว่านักเรียนที่ระบุว่าเป็น LGBT ร้อยละ 55.7 ระบวุ า่ ถกู รงั แกภายใน 1 เดอื นทผี่ า่ นมา312 โดยรอ้ ยละ 30.9 ถกู กระทำ� 312 งานวิจัยด�ำเนินการเก็บข้อมูลเป็นช่วงๆ แตกต่างกันไปตามภูมิภาค แบ่งเป็นช่วงท่ี 1 ระหว่างเดือน กุมภาพันธ์, ช่วงที่ 2 ระหว่างเดือน มิถุนายน–กรกฎาคม และช่วงท่ี 3 ระหว่างเดือน สิงหาคม–กันยายน 2556 256 ยุทธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ทางกาย รอ้ ยละ 29.3 ถกู กระทำ� ทางวาจา รอ้ ยละ 36.2 ถกู กระทำ� ทางสงั คม และร้อยละ 24.5 ถกู กระท�ำทางเพศ ในกล่มุ นกั เรยี นทถี่ ูกรังแกเพราะถกู มอง วา่ เปน็ LGBT มสี ดั สว่ นทข่ี าดเรยี นโดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าตภายใน 1 เดอื นทผี่ า่ นมา ดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ อยู่ในข่ายภาวะซึมเศร้า มีเพศสัมพันธ์ท่ีไม่มีการ ปอ้ งกนั ภายใน 3 เดอื นทผ่ี า่ นมา และพยายามฆา่ ตวั ตายภายใน 1 ปที ผี่ า่ นมา การถูกเลือกปฏิบัติในด้านเศรษฐกิจ มีข้อมูลจากรายงาน “โครงการ ส่งเสริมสิทธิความหลากหลาย และความเท่าเทียมในโลกของการท�ำงาน (PRIDE)”313 พบว่า ผู้ให้ข้อมูล LGBTI ส่วนใหญ่มีประสบการณ์ตอ้ งทนกบั ค�ำ ลอ้ เลยี น นนิ ทา และคำ� พดู ทไี่ มค่ ำ� นงึ ถงึ ความรสู้ กึ ในทท่ี ำ� งาน โดยเฉพาะบคุ คล ข้ามเพศและทอม มักถูกถามค�ำถามที่ละเมิดความเป็นส่วนตัวอยู่บ่อยคร้ัง หรอื ถูกดูถูกในเรอ่ื งเพศวิถี บคุ คลขา้ มเพศและทอมถกู กดี กนั จากการจา้ งงาน มชี อ่ งวา่ งทางนโยบายในสถาบนั ทางเศรษฐกจิ ตงั้ แตก่ ารปฏเิ สธการจา้ งงานเมอ่ื พบว่าเพศตามกฎหมายไม่ตรงกับลักษณะการแสดงออก ลูกจ้างท่ีเป็นชายรัก ชาย และหญงิ รกั หญงิ ไมส่ ามารถแสดงอตั ลกั ษณท์ างเพศวถิ ขี องตนเองในระยะ เร่ิมแรกของการท�ำงานเพ่ือหลีกเลี่ยงการถูกปฏิเสธ ก่อนจะเปิดเผยอัตลักษณ์ ในภายหลงั เมอ่ื รสู้ กึ วา่ ไมม่ คี วามมน่ั คงในตำ� แหนง่ งานนนั้ แลว้ LGBTI จำ� นวน มากเลอื กทจ่ี ะทำ� งานนอกระบบ เนอื่ งจากชอ่ งวา่ งของระบบไดถ้ กู กดี กนั ในเรอื่ ง การจ้างงาน ทำ� ใหข้ าดโอกาสในการไดร้ ับค่าแรง สวสั ดิการท่มี ั่นคง การถกู เลอื กปฏบิ ตั ใิ นดา้ นกฎหมาย จากรายงาน “การทบทวนกฎหมาย และนโยบายในประเทศไทยเก่ียวกับการรับรองเพศสถานะของบุคคลข้ามเพศ ตามมาตรฐานสทิ ธมิ นษุ ยชนสากล” โดยโครงการ Being LGBT In Asia โดย สำ� นักงานโครงการพฒั นาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) พบว่า กฎหมาย และ 313 บุษกร สุริยสาร, โครงการส่งเสริมสิทธิความหลากหลาย และความเท่าเทียมในโลก ของการท�ำงาน (PRIDE) 257 ยทุ ธศาสตรส์ ุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ระเบียบปฏิบัติต่างๆ ของไทยจ�ำนวนมากมีช่องว่างทางนโยบายโดยไม่ได้ ใหก้ ารรบั รองบคุ คลขา้ มเพศ ซงึ่ นำ� ไปสเู่ ลอื กปฏบิ ตั ติ อ่ บคุ คลขา้ มเพศในหลายๆ กรณี ต้ังแตก่ ฎหมายทเี่ ก่ียวข้องกบั การก�ำหนดคำ� นำ� หน้านามบคุ คล ระเบยี บ ของกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยเครื่องแบบนักเรียน พ.ศ. 2551 ข้อบังคับ มหาวิทยาลัยว่าด้วยเคร่ืองแต่งกาย ท่ีออกตามพระราชบัญญัติการจัดต้ัง มหาวิทยาลัย พระราชบัญญัติข้าราชการพลเรือน พระราชบัญญัติคุ้มครอง แรงงาน พ.ศ. 2551 กฎกระทรวงวา่ ดว้ ยเรอื่ งมาตรฐานแรงงานไทย และความ รับผดิ ชอบทางสงั คมของภาคธรุ กจิ ไทย พ.ศ. 2547 ระเบยี บราชทณั ฑ์ว่าด้วย การปฏบิ ัติตอ่ ผ้ตู อ้ งกกั ขัง วิธกี ารกกั ขงั และการปกครอง ในพื้นท่ีสื่อมวลชน การเลือกปฏิบัติกระท�ำผ่านการน�ำเสนอข่าวสาร เกย่ี วกบั บคุ คลทมี่ คี วามหลากหลายทางเพศดว้ ยการขาดความเขา้ รคู้ วามเขา้ ใจ ที่แท้จริง โดยส่ือยังคงใช้ถ้อยค�ำที่แสดงถึงอคติและการตีตรา ขณะเดียวกัน เรื่องราวของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศบางกลุ่มไม่ได้รับความสนใจ หรอื ไมถ่ กู นำ� เสนอในพน้ื ทส่ี อื่ กระแสหลกั มากนกั การนำ� เสนอภาพตวั แทนของ บคุ คลทมี่ คี วามหลากหลายทางเพศ (Representation of LGBTIQ People) พบวา่ การนำ� เสนอขอ้ มลู ขา่ วสารของสอ่ื บางสว่ นไดต้ ตี ราและสรา้ งภาพตวั แทน เก่ียวกับบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในกระบวนการและรูปแบบต่างๆ เชน่ 314 การใชภ้ าษาและการใหส้ มญานามทต่ี ตี รา คกุ คาม และลดทอนศกั ดศ์ิ รี ความเป็นมนุษย์ของหญิงรักหญิง (Lesbian) ภาพตัวแทนของชายรักชาย (Gay) ถูกประกอบสร้างในฐานะผู้ที่หมกมุ่นกับความสวยงาม เพศสัมพันธ์ โรคเอดส์ และอาชญากรรม ในบางกรณี ความเป็นเกย์ถูกใช้ในการลดทอน 314 กงั วาฬ ฟองแกว้ , อโนพร เครอื แตง, สมุ น อนุ่ สาธติ , เมธาวี คมั ภรี ทศั น,์ นศิ ารตั น์ จงวศิ าล, อรอนงค์ อรณุ เอก, และ Jensen Byrne, รายงานวิจัยส่ือเพอื่ การเปลี่ยนแปลง: การทำ� งานร่วมกับสื่อ ในประเด็นเพศวิถี อัตลกั ษณท์ างเพศสถานะ การแสดงออกและลกั ษณะทางเพศในประเทศไทย. 258 ยทุ ธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ความน่าเช่ือถือของบุคคลผู้เป็นข่าว บุคคลรักได้ทั้งสองเพศ (Bisexual) ถูก สร้างภาพตัวแทนในฐานะของผู้หมกมุ่นในกามารมณ์เนื่องจากเป็นบุคคลที่ สามารถมเี พศสมั พันธไ์ ดก้ ับเพศใดกไ็ ด้ บคุ คลขา้ มเพศ (Transgender) ถกู นำ� เสนอในฐานะปัญหาของสงั คม ตัวตลก และเปน็ ผูม้ ีความต้องการทางเพศ สงู กวา่ บคุ คลปกติ ผา่ นการนำ� เสนอขา่ วแบบตดั สนิ ผเู้ ปน็ ขา่ ว การใชร้ ปู ประกอบ ในลกั ษณะทตี่ ตี รา รวมทง้ั ใชภ้ าษาและใหฉ้ ายานามทเี่ จอื อารมณ์ และลดทอน ศกั ดศ์ิ รคี วามเปน็ มนษุ ย์ บคุ คลทป่ี ฏเิ สธการนยิ ามตนเองดว้ ยอตั ลกั ษณท์ างเพศ ทุกรูปแบบ (Queer) ถูกน�ำเสนอในลักษณะของตัวตลกหรือผู้ท่ีผิดแปลกไป จากบุคคลท่ัวไป บุคคลท่ีมีเพศก�ำกวม (Intersex) ถูกน�ำเสนอในลักษณะท่ี เปน็ ตัวประหลาด ผดิ ปกติ น่าสงสาร และไม่มีส่ือน�ำเสนอเร่อื งราวของบุคคล ท่ีมีเพศก�ำกวมมากนัก สะท้อนให้เห็นว่าเขาเหล่าน้ีเป็นกลุ่มบุคคลที่ไร้ตัวตน ในสงั คมไทยโดยท่ัวไป จากสถานการณป์ ญั หาดา้ นตา่ งๆ ทก่ี ลมุ่ บคุ คลทมี่ คี วามหลากหลายทาง เพศต้องเผชิญผ่านการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ การถูกเลือกปฏิบัติและถูกตีตราในรูปแบบต่างๆ ส่งผลให้พวกเขาเป็นบุคคล อีกกลุ่มหนึ่งซ่ึงไม่ได้รับความเป็นธรรมทางด้านสุขภาวะ ความเหล่ือมล�้ำทาง สังคมได้ส่งผลกระทบต่อร่างกายและจิตใจ การถูกเลือกปฏิบัติและการถูก ตีตรามีผลอย่างย่ิงต่อการเข้าถึงสิทธิและทรัพยากรทางสุขภาวะ สวัสดิการ ทางสาธารณสุขต่างๆ เน่ืองจากภายใต้แนวคิดเรื่องความเป็นพลเมืองท่ีได้รับ การรับรอง มเี พียงเพศสภาพและเพศวิถบี างรปู แบบเทา่ นน้ั ทไี่ ดร้ บั การยอมรับ ในการเข้าถึงโอกาสทางสุขภาวะ ในการก�ำหนดยุทธศาสตร์สุขภาวะส�ำหรับ กลมุ่ ประชากร LGBTIQN+ จงึ ควรมงุ่ เนน้ การการเปลย่ี นแปลงฐานคดิ ในระดบั โครงสรา้ งสังคม สนับสนุนการขบั เคลือ่ นด้านกฎหมายท่ีเกีย่ วข้องกับสิทธขิ อง LGBTIQN+ การคุ้มครองสิทธิของ LGBTIQN+ ในพื้นท่ีระดับชุมชน สังคม โดยค�ำนึงถึงประเด็นการกดข่ีของอัตลักษณ์ชายขอบ (Intersectionality) 259 ยทุ ธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ในประเดน็ การเขา้ ถงึ สทิ ธขิ อง วยั ชาตพิ นั ธ์ุ ศาสนา อาชพี ความพกิ าร ภาวะ ทางสขุ ภาพ ฐานะทางเศรษฐกจิ ตลอดจนการทำ� งานเชงิ เฝา้ ระวงั (Monitoring) เพื่อลดการตีตราและการไม่เลือกปฏิบัติต่อ LGBTIQN+ ท่ีส่งผลต่อสุขภาวะ ในพืน้ ทส่ี ่ือต่างๆ เปน็ ตน้ เปา้ หมายยุทธศาสตร์ 1. สังคมไทยมีความตระหนักในเร่ืองสิทธิมนุษยชนและศักด์ิศรี ความเปน็ มนุษยข์ องประชากรกลมุ่ LGBTIQN+ เพอื่ ให้ประชากรกลมุ่ น้เี ข้าถงึ ความเป็นธรรมทางสุขภาวะ ไม่ถูกตีตราและไม่ถูกเลือกปฏิบัติจากสังคมและ ระบบบรกิ ารสุขภาพ เปา้ ประสงค์ของยุทธศาสตร์ 1. การเปล่ียนแปลงฐานคิดในระดับโครงสร้างสังคม ลดอคติ ความ เกลียดกลัวบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ส่งเสริมความ ตระหนักในคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของประชากรกลุ่ม LGBTIQN+ 2. การสนับสนุนขับเคล่ือนด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิของ LGBTIQN+ ท่สี ง่ ผลต่อสุขภาวะ 3. การท�ำงานเชิงเฝ้าระวัง (Monitoring) เพ่ือลดการตีตราและการ ไมเ่ ลอื กปฏบิ ตั ิตอ่ LGBTIQN+ ท่สี ่งผลตอ่ สขุ ภาวะในพนื้ ทีต่ า่ งๆ ตวั อย่างแนวทางการดำ� เนินงาน 1. การด�ำเนินโครงการที่มุ่งเน้นการเปลี่ยนแปลงฐานคิดในระดับ โครงสร้างสงั คม เชน่ สถาบนั การศกึ ษา สถาบันเศรษฐกิจ สถาบัน 260 ยุทธศาสตรส์ ุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
กฎหมายและกระบวนการยตุ ธิ รรม สถาบนั ชมุ ชน สถาบนั สอ่ื มวลชน สถาบันศาสนา เพื่อให้ลดการตีตรา การไม่เลือกปฏิบัติต่อกลุ่ม ประชากร LGBTIQN+ 2. การขับเคล่ือนเพื่อตรวจสอบและแก้ไขกฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับสิทธิ ของ LGBTIQN+ เชน่ พระราชบัญญตั จิ ดทะเบยี นคชู่ ีวติ พระราช- บญั ญตั คิ ำ� นำ� หนา้ นาม พระราชบญั ญตั ขิ จดั การเลอื กปฏบิ ตั ติ อ่ บคุ คล พระราชบัญญตั ริ ับรองสิทธบิ ุคคลทแี่ ปลงเพศ ฯลฯ 3. การศึกษาโมเดลของต่างประเทศที่มีความก้าวหน้าในเร่ืองสิทธิ มนุษยชนของกลุ่มบุคคลท่ีมีความหลากหลายทางเพศเพื่อน�ำมาใช้ ในการขบั เคลอื่ นประเดน็ ความเปน็ ธรรมทางเพศเพอ่ื การสรา้ งสงั คม สุขภาวะ 4. การตรวจสอบเฝ้าระวังนโยบายท่ีมีผลกระทบต่อสิทธิมนุษยชน และการคุ้มครองทางสังคมของบุคคลท่ีมีความหลากหลายทางเพศ และผลกั ดนั ไปสกู่ ารปฏริ ปู นโยบายรฐั องคก์ ร/หนว่ ยงานทป่ี ราศจาก ความเปน็ ธรรมบนฐานเพศสภาพ เพศวถิ ี 5. การรณรงค์ขับเคลื่อนเพ่ือคุ้มครองสิทธิของ LGBTIQN+ ในพ้ืนที่ ระดับชุมชน สังคม โดยคำ� นึงถงึ ประเด็นอตั ลักษณ์ทับซ้อน (Inter- sectionality) ในประเดน็ การเขา้ ถงึ สทิ ธขิ อง วยั ชาตพิ นั ธ์ุ ศาสนา อาชีพ ความพิการ ภาวะทางสุขภาพ ฐานะทางเศรษฐกิจ อาชีพ ถิน่ ท่อี ยู่ ภาษา สถานภาพการต้องโทษ เป็นต้น 6. การสรา้ งนวตั กรรมเพอื่ ท�ำงานเชงิ เฝ้าระวงั (Monitoring) เพ่ือลด การตตี ราและการไมเ่ ลอื กปฏบิ ตั ติ อ่ LGBTIQN+ ทสี่ ง่ ผลตอ่ สขุ ภาวะ ในพน้ื ที่สอ่ื กระแสหลกั และส่อื ทางเลอื กตา่ งๆ 261 ยทุ ธศาสตร์สขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
7. การสร้างบคุ ลากรทางการศึกษา โดยเฉพาะครแู พทย์ ครูพยาบาล ครดู ้านสาธารณสขุ ใหม้ ีฐานคดิ เรือ่ งเพศสภาพ เพศวิถี เป็นผู้นำ� ใน ถ่ายทอดและสร้างการเปลี่ยนแปลงองค์ความรู้ท่ีเคารพในคุณค่า ศกั ด์ศิ รคี วามเปน็ มนุษย์ของประชากร LGBTIQN+ 8. การพัฒนาแพลตฟอร์มกลไกการยื่นเร่ืองร้องเรียนท่ีเป็นระบบ เช่ือมโยงกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกรณีกลุ่มประชากร LGBTIQN+ ถกู ละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชน ศกั ดศ์ิ รคี วามเปน็ มนษุ ยท์ สี่ ง่ ผลตอ่ สขุ ภาวะ 9. การจดั ทำ� โครงการเพอื่ เปดิ พนื้ ทใี่ หก้ บั กลมุ่ ประชากร LGBTIQN+ ที่ ยังเป็นเสียงเงียบและไม่ค่อยมีการส่งเสียงเชิงประเด็นปัญหามาก เท่ากับกลุ่มอื่นๆ ได้สะท้อนอัตลักษณ์ทางเพศ วิถีสุขภาวะ เช่น กลุ่มหญิงรักหญิง (Lesbian) กลุ่มผู้ชายข้ามเพศ (Transman) กลุ่มคนรักได้ท้ังสองเพศ (Bisexual) กลุ่มคนท่ีมีเพศก�ำกวม (Intersex) กลุ่มบุคคลทปี่ ฏเิ สธการนิยามตนเองดว้ ยอัตลักษณ์ทาง เพศที่วางอยู่บนฐานการแบ่งเพศเป็นสองข้ัวตรงข้าม คือ ชายและ หญงิ (Non–Binary) เป็นตน้ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างระบบบรกิ ารสขุ ภาวะทีเ่ ปน็ ธรรม และเข้าถงึ ได้สำ� หรบั LGBTIQN+ เหตผุ ลและความจำ� เป็น การมีสุขภาวะทด่ี ีเป็นสทิ ธิ (Right to Well–being) และทกุ คนมีสิทธิ ทจ่ี ะมสี ขุ ภาวะทด่ี อี ยา่ งเสมอภาคกนั แตป่ ระชากรกลมุ่ LGBTIQN+ ยงั คงตอ้ ง เผชญิ กบั ปญั หาความเหลอื่ มลำ้� ทางสขุ ภาวะหลายประการ อนั เนอ่ื งมาจากการ 262 ยทุ ธศาสตร์สขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ถูกเลือกปฏิบัติและการตีตรา จนท�ำให้ประชากรกลุ่ม LGBTIQN+ เข้าไม่ถึง บรกิ ารด้านสขุ ภาวะท่ดี ีท้งั ในมติ ิทางกาย ทางใจ ทางปญั ญา และทางสงั คม ในสถานพยาบาลท่ัวไปพบว่า บุคลากรทางการแพทย์ บุคลากรผู้ให้ บรกิ ารดา้ นสขุ ภาวะ สว่ นใหญย่ งั ขาดความเขา้ ใจในประเดน็ ความหลากหลาย ทางเพศและความละเอยี ดออ่ นตอ่ การใหบ้ รกิ าร ทำ� ให้ LGBTIQN+ หลกี เลยี่ ง การเปิดเผยตัวตน หรอื ปฏเิ สธการเขา้ รับการรักษาเมอ่ื เจบ็ ป่วย ซึ่งสอดคล้อง กบั ผลการสำ� รวจของเครอื ขา่ ยเพอื่ นกะเทยไทย ในประเดน็ เกย่ี วกบั การเขา้ รบั บริการโดยเฉพาะส�ำหรับบุคคลข้ามเพศ โดยเก็บข้อมูลจากบุคคลข้ามเพศ จำ� นวน 202 คน พบว่า รอ้ ยละ 32 ของบคุ คลขา้ มเพศผู้ใหข้ ้อมลู เคยเข้า รับการปรึกษาหนึ่งครัง้ หรือไมก่ ค่ี รง้ั ขณะท่มี ีผ้ใู ห้ข้อมูลจ�ำนวนถึงร้อยละ 48 ตอบว่าไม่เคยรับค�ำปรึกษาจากแพทย์ ผู้เช่ียวชาญด้านฮอร์โมน ศัลยแพทย์ หรือวิชาชีพอ่ืนๆ เก่ียวกับการแปลงเพศและการดูแลสุขภาพโดยเฉพาะของ กลุ่มบุคคลข้ามเพศ โดยในจ�ำนวนผู้ท่ีตอบว่าไม่เคยรับค�ำปรึกษาท้ังหมด รอ้ ยละ 55 มคี วามคิดเห็นว่า ไม่มีความจ�ำเป็นตอ้ งเข้ารบั บริการ ร้อยละ 10 ไมส่ ามารถจ่ายค่าบรกิ ารได้ ร้อยละ 9 ไมท่ ราบว่าจะเขา้ ถึงบรกิ ารไดอ้ ย่างไร ในขณะที่รอ้ ยละ 8 มีมุมมองว่าบริการดงั กล่าวเข้าถึงไดย้ าก นอกจากนนั้ บคุ คลทมี่ คี วามหลากหลายทางเพศเผชญิ กบั การถกู กดี กนั และการเลือกปฏิบัติท่ีเกี่ยวข้องกับการเข้ารับบริการสุขภาวะ และการประกัน ภยั ขอ้ มลู จากการทบทวนวรรณกรรม ในรายงานการวจิ ยั “การมสี ว่ นรว่ มทาง เศรษฐกิจของกลุ่ม LGBTI ในประเทศไทย” พ.ศ. 2561 ของธนาคารโลก ชี้ให้เห็นถึงการเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับการเข้ารับบริการและการประกันภัย หลายประการดงั น้ี – การกีดกันการผา่ ตดั แปลงเพศในแผนประกนั สงั คม 263 ยทุ ธศาสตรส์ ุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
– การจ�ำกัดการเข้าถึงการบ�ำบัดโดยใช้ฮอร์โมนเพศทดแทนและ การบำ� บัดอืน่ ๆ ภายใต้การประกนั สขุ ภาพ – การเข้าถึงบริการสุขภาพและการประกันชีวิตของเอกชนได้จ�ำกัด เนอ่ื งจากเบย้ี ประกนั ท่ีสูงและนโยบายทเ่ี ครง่ ครดั – การตีตราและการใช้ภาพจ�ำเก่ียวกับผู้หญิงข้ามเพศและชายรักชาย วา่ เปน็ “กล่มุ เส่ียง” ในการตดิ เชื้อเอชไอวี – การคิดเบ้ียประกันชีวิตและประกันสุขภาพบุคคลท่ีเป็นบุคคลที่มี ความหลากหลายทางเพศสงู กวา่ – บริษัทประกันส่วนมากไม่มีนโยบายการยกผลประโยชน์การท�ำ ประกนั ชีวิตให้กบั คทู่ ่ีเปน็ เพศเดยี วกัน – ประกันสังคมและประกันภัยจากบริษัทเอกชนไม่ครอบคลุมบริการ ทางการแพทย์ที่เกี่ยวกับการยืนยันเพศสภาพ (การแปลงเพศ การใชฮ้ อร์โมน) – บรกิ ารสขุ ภาพเรยี กหาหลกั ฐานการยนื ยนั ตวั ตนตามเพศกำ� เนดิ ของ คนขา้ มเพศ – บรกิ ารเฉพาะทางสำ� หรบั ชายทมี่ เี พศสมั พนั ธก์ บั ชาย ผหู้ ญงิ ขา้ มเพศ และผชู้ ายขา้ มเพศ มจี ำ� กดั และไมม่ บี รกิ ารทเี่ ฉพาะทางสำ� หรบั หญงิ รกั หญงิ และผ้หู ญิงไบเซ็กชวล – มีพ้ืนที่การให้บริการที่ไม่พอเพียง มีปัญหาเก่ียวกับการรักษา ความลบั ความเป็นสว่ นตวั และทัศนคติของพนักงาน ในรายงานฉบบั เดยี วกนั ของธนาคารโลก ไดม้ กี ารเกบ็ ขอ้ มลู โดยใชแ้ บบ ส�ำรวจออนไลน์ ท่ีมีผู้ตอบ 2,302 คน เป็นกลุ่มบุคคลท่ีมีความหลากหลาย 264 ยทุ ธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ทางเพศ ผลการวจิ ยั ชใ้ี หเ้ หน็ วา่ บคุ คลทม่ี คี วามหลากหลายทางเพศ ทถี่ กู เลอื ก ปฏบิ ตั มิ กั มรี ายไดอ้ ยใู่ นเกณฑท์ ไี่ มส่ งู การเลอื กปฏบิ ตั ใิ นการเขา้ ถงึ การประกนั สขุ ภาพและประกนั ชวี ติ เกดิ ขน้ึ บอ่ ยครงั้ ในชมุ ชนคนขา้ มเพศ นอกจากนนั้ ผตู้ อบ แบบส�ำรวจจ�ำนวนร้อยละ 37 รายงานว่าพวกเขาไมไ่ ดร้ ับบริการด้านสขุ ภาพ และการประกันทีต่ อ้ งการเน่ืองจากเปน็ บุคคลท่มี ีความหลากหลายทางเพศ ด้วยเหตุผลเพอื่ แก้ไขปัญหาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และเพอ่ื รณรงค์ ให้กลุ่มบุคคลท่ีมีความหลากหลายทางเพศใช้บริการสถานพยาบาลมากขึ้น จึงมีข้อเสนอให้ปรับปรุงการให้บริการของสถานพยาบาลท่ัวไปให้เป็นมิตรต่อ กลุ่มบุคคลท่ีมีความหลากหลายทางเพศ โดยเจ้าหน้าที่ต้องไม่เลือกปฏิบัติต่อ คนทกุ กลมุ่ เพอ่ื ใหค้ นเหลา่ นเี้ ขา้ ถงึ บรกิ ารดา้ นสขุ ภาวะ มสี ขุ ภาวะทางเพศทด่ี ี และเข้าถึงยารักษาโรคได้ ท้ังน้ียังมีองค์กรอิสระได้ตั้งศูนย์สุขภาพสำ� หรับคน ข้ามเพศไว้เป็นต้นแบบ ซ่ึงจะเป็นต้นแบบศูนย์สุขภาพที่สร้างความเป็นมิตร ความรสู้ กึ ปลอดภยั และสบายใจ ใหแ้ กค่ นขา้ มเพศทเ่ี ขา้ มาใชบ้ รกิ ารโดยไมถ่ กู เลือกปฏิบัติ เช่น ศูนย์สุขภาพชุมชนแทนเจอรีน หรือ “คลีนิคแทนเจอรีน” ภายใต้การดูแลของศนู ยว์ ิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย โดยการสนับสนนุ จาก องคก์ รเพอื่ การพฒั นาระหวา่ งประเทศของสหรฐั อเมรกิ า อยา่ งไรกต็ าม คลนิ กิ หรือศูนย์สุขภาพเฉพาะทาง ยังมีการจัดตั้งอยู่อย่างจ�ำกัดไม่ก่ีแห่ง ท�ำให้ LGBTIQN+ สว่ นใหญ่เขา้ ไม่ถึงการรบั บริการ ยุทธศาสตร์การสร้างระบบบริการสุขภาวะท่ีเข้าถึงได้และเป็นธรรม สำ� หรบั LGBTIQN+ จงึ จำ� เปน็ และสำ� คญั อยา่ งยง่ิ เนอ่ื งจากการมรี ะบบบรกิ าร สุขภาวะท่ีเข้าถึงได้และเป็นธรรมส�ำหรับ LGBTIQN+ เป็นการตอบสนองต่อ ความจำ� เปน็ ขัน้ พ้นื ฐานของประชากรกลุ่ม LGBTIQN+ การมสี ขุ ภาวะทดี่ เี ปน็ สิทธิ (Right to Well–being) และ LGBTIQN+ มีสิทธิท่ีจะมีสุขภาวะที่ดี อยา่ งเสมอภาคกัน 265 ยทุ ธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
เป้าหมายยทุ ธศาสตร์ มีระบบบรกิ ารสขุ ภาวะที่เป็นธรรมและเขา้ ถึงไดส้ �ำหรับ LGBTIQN+ เป้าประสงคย์ ุทธศาสตร์ 1. การพัฒนาระบบ ส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟูสุขภาวะท่ีดี ในประชากรกลุม่ LGBTIQN+ ทุกชว่ งวัย 2. การส่งเสริมให้ประชากรกลุ่ม LGBTIQN+ เข้าถึงการให้บริการ สุขภาวะทั่วไปได้อยา่ งเทา่ เทยี ม 3. การส่งเสริมการให้บริการสุขภาวะและสาธารณสุขที่มีความพร้อม ตอบสนองต่อการให้บริการสขุ ภาวะแกป่ ระชากรกล่มุ LGBTIQN+ ตวั อย่างแนวทางการดำ� เนนิ งาน 1. การส่งเสริมการพัฒนาระบบสาธารณสุขให้บริการท่ีมีคุณภาพและ ครบถว้ นรอบดา้ น ที่ LGBTIQN+ เข้าถึงได้ และเปน็ การให้บรกิ าร ที่แก้ปัญหาความจำ� เปน็ ทางสขุ ภาวะของ LGBTIQN+ 2. การพัฒนาหรือประยุกต์ใช้กระบวนการท่ีเป็นมิตรกับ LGBTIQN+ ในการให้บริการการดูแลรักษาและตอบสนองต่อความจ�ำเป็น ท่ีเฉพาะของ LGBTIQN+ 3. การสง่ เสรมิ การสรา้ งเครอื ขา่ ยและระบบสง่ ตอ่ การใหบ้ รกิ ารสขุ ภาวะ ดา้ นตา่ งๆ ส�ำหรบั LGBTIQN+ อย่างเหมาะสม เพือ่ ลดอปุ สรรค ในการคน้ หาการใหบ้ รกิ ารและพฒั นาความรว่ มมอื และเชอ่ื มประสาน ระหว่างการใหบ้ ริการแตล่ ะประเภท 266 ยทุ ธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
4. การสง่ เสรมิ ความรว่ มมอื ระหวา่ งผใู้ หบ้ รกิ ารสขุ ภาพ นกั วชิ าการดา้ น สขุ ภาพ และองคก์ ร LGBTIQN+ ในการประเมนิ ความจ�ำเป็นและ ส�ำรวจข้อมูลพื้นฐานความจ�ำเป็นด้านสุขภาวะของ LGBTIQN+ เพ่อื แกป้ ัญหาความจ�ำเปน็ ด้านสขุ ภาวะทม่ี ีอยู่ 5. การสนับสนุนจัดท�ำแนวปฏิบัติและบูรณาการประเด็นการไม่เลือก ปฏิบัติด้วยเหตุแห่งวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ เข้าไว้ใน หลกั สูตรการฝึกอบรมบุคลากรที่ใหบ้ รกิ ารด้านสาธารณสุข 6. การพฒั นาหลกั สูตรส�ำหรบั การจัดบริการดา้ นสขุ ภาวะ LGBTIQN+ ให้แกผ่ ้บู ริหารและบคุ ลากรผูใ้ หบ้ รกิ าร 7. การผนวกประเด็นสุขภาวะของ LGBTIQN+ เข้าเป็นส่วนหนึ่งของ หลกั สตู รสุขภาพแบบสหวิชา เชน่ แพทยศ์ าสตร์ พยาบาลศาสตร์ สงั คมสงเคราะห์ และจติ วิทยา 8. การพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าท่ีทุกคนให้สามารถปฏิบัติงานด้วย ความละเอยี ดออ่ นตอ่ LGBTIQN+ และสามารถสรา้ งสภาพแวดลอ้ ม ทแี่ สดงถงึ การต้อนรบั ไม่ตดั สนิ และไมเ่ ลอื กปฏิบัติ 9. การพฒั นาทกั ษะเฉพาะและความเขา้ ใจทลี่ ะเอยี ดออ่ นทางวฒั นธรรม ซง่ึ จำ� เปน็ ตอ่ การใหบ้ รกิ ารเสรมิ สรา้ งสขุ ภาวะ การปอ้ งกนั การรกั ษา การตดิ ตาม และการใหค้ วามชว่ ยเหลอื แก่ LGBTIQN+ ทเี่ หมาะสม 10. การสรา้ งนวัตกรรมและระบบเฝา้ ระวงั การถูกละเมดิ สทิ ธิการเขา้ ถงึ บริการทางสุขภาวะของ LGBTIQN+ 11. การสร้างต้นแบบการให้บริการทางสุขภาวะที่เป็นมิตร ปลอดภัย และเข้าถึงได้ สำ� หรบั ประชากรกลุม่ LGBTIQN+ 267 ยุทธศาสตรส์ ุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
12. การสร้างต้นแบบการให้บริการสุขภาพท่ีครบวงจรและได้มาตรฐาน สำ� หรบั หญิงข้ามเพศ และชายข้ามเพศ เช่น การใช้ฮอร์โมน การ ใชฮ้ อรโ์ มนกบั การรกั ษาดว้ ยยาตา้ นไวรสั หรอื ยาอน่ื ๆ และการรกั ษา สขุ ภาพของบุคคลขา้ มเพศ 13. การพฒั นาระบบการใหค้ วามชว่ ยเหลือฉกุ เฉิน เชน่ บ้านพักฉุกเฉิน ส�ำหรับ LGBTIQN+ ทถ่ี กู ล่วงละเมดิ ถกู กระทำ� ความรุนแรง 14. การพฒั นาและใชม้ าตรการการปอ้ งกนั ไมใ่ หผ้ ใู้ หบ้ รกิ ารดา้ นประกนั สุขภาพเอกชน ซักถามเกี่ยวกับวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศ ของบคุ คล 15. การพัฒนาระบบช่องทางการบริการให้ค�ำปรึกษาทางสุขภาพจิต มีทั้งการให้ค�ำปรึกษาแบบเข้าพบท่ีคลินิก และผ่านแฟลตฟอร์ม ออนไลน์ 16. การพฒั นาระบบการประเมนิ ประสทิ ธภิ าพของระบบบรกิ ารสขุ ภาวะ สำ� หรับ LGBTIQN+ ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 การพัฒนาฐานข้อมลู และการบริหารจดั การองค์ความรู้ เพ่ือเสรมิ สรา้ งสขุ ภาวะ LGBTIQN+ เหตุผลและความจำ� เปน็ กุญแจส�ำคัญของการขับเคล่ือนงานด้านการเสริมสร้างสุขภาวะของ ประชากรกลุ่ม LGBTIQN+ คือ องค์ความรู้ ยุทธศาสตร์น้ีมุ่งสนับสนุน การสรา้ งฐานขอ้ มลู องคค์ วามรู้ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การองคค์ วามรู้ ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เนื่องจากพบสภาพปัญหาว่า องค์ความรู้ 268 ยุทธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ด้านสุขภาวะ LGBTIQN+ ท่ีมีอยู่ในปัจจุบันยังไม่เพียงพอ กระจัดกระจาย ขาดการสงั เคราะห์ ขาดการบรู ณาการ จงึ ทำ� ใหอ้ งคค์ วามรทู้ ม่ี อี ยยู่ งั ไมส่ ามารถ ถูกน�ำไปใช้ประโยชน์ได้เท่าท่ีควร อีกทั้ง LGBTIQN+ บางกลุ่มยังเข้าไม่ถึง ความรู้ที่จ�ำเป็นและส�ำคัญต่อการดูแลสุขภาวะของตนเอง รวมไปถึงการท่ี บคุ ลากรผใู้ หบ้ รกิ ารดา้ นสขุ ภาพและสขุ ภาวะเขา้ ไมถ่ งึ องคค์ วามรทู้ จี่ ะทำ� ใหเ้ กดิ ความตระหนักถึงประเด็นอ่อนไหวในการจัดการให้บริการแก่ประชากรกลุ่ม LGBTIQN+ นอกจากน้นั ยังพบการบดิ เบือนขอ้ มลู ความรู้ และการน�ำขอ้ มูล ไปใช้เป็นเครื่องมือในการสร้างความเกลียดชัง การสร้างภาพเหมารวม และ ผลติ ซ�ำ้ การตตี รา องค์ความรู้ที่มาจากการศึกษาวิจัยมีความส�ำคัญ จากการทบทวน การด�ำเนินงานด้านวิจัยในประเทศไทย และวิเคราะห์ช่องว่างงานวิจัยท่ีเก่ียว กับสุขภาวะ LGBTIQN+ ในช่วง 10 ปี (พ.ศ. 2553–พ.ศ. 2563) พบว่า มีช่องว่างในการวิจัย คือ ยังขาดองค์ความรู้ด้านการสร้างระบบและกลไก ในการขับเคล่ือนประเด็นสุขภาวะของกลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศท้ังใน ระดับองค์กรและนโยบายระดับประเทศ รวมท้ังยังไม่มีการศึกษาวิจัยในเชิง การสังเคราะห์องค์ความรู้ท่ีมีอยู่แล้วเพื่อน�ำไปใช้การพัฒนาต่อยอดหรือน�ำไป สกู่ ารปฏบิ ตั ิ และการบรหิ ารจดั การเกย่ี วกบั ฐานขอ้ มลู องคค์ วามรแู้ ละหนว่ ยงาน ทเี่ ก่ยี วขอ้ งดา้ นความหลากหลายทางเพศ สว่ นกลมุ่ ประชากรทศ่ี กึ ษา พบวา่ กลมุ่ ประชากรทถี่ กู ศกึ ษาและใชเ้ ปน็ หนว่ ยวเิ คราะหใ์ นงานวจิ ยั มากทสี่ ดุ คอื LGBTIQN+ (ทกุ กลมุ่ หรอื ศกึ ษาในภาพ รวม) ร้อยละ 56.02 รองลงมา คือ Gay รอ้ ยละ 21.08 และTranswomen ร้อยละ 13.86 ส่วนกลุ่ม Transmen, Queer, Lesbian และ Bisexual มงี านศกึ ษาเพยี งเลก็ นอ้ ยเทา่ นนั้ ทส่ี ำ� คญั พบวา่ ยงั ไมม่ งี านศกึ ษาในกลมุ่ ประชากร Intersex และ Non–Binary นอกจากช่องว่างของการศึกษาในเชิงประเด็น 269 ยทุ ธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
และกลมุ่ ประชากรทศี่ กึ ษา พบวา่ งานวจิ ยั เกย่ี วกบั สขุ ภาวะ LGBTIQN+ ทผี่ า่ น มาส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นการวิจัยพื้นฐาน (Basic Research) เช่น เป็น วทิ ยานพิ นธ์ สารนพิ นธ์ งานวชิ าการของอาจารยใ์ นมหาวทิ ยาลยั อกี ทงั้ ยงั เปน็ งานวิจัยเพื่อตอบโจทย์ของผู้วิจัยเองมากกว่าการตอบโจทย์วาระการวิจัยเพ่ือ นำ� ไปสกู่ ารขบั เคลอื่ นในเชงิ นโยบายหรอื การนำ� ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นภาคปฏบิ ตั กิ าร ช่องว่างความรู้ที่จ�ำเป็นต่อการก�ำหนดนโยบายและขับเคล่ือนงานด้าน การส่งเสริมสุขภาวะ LGBTIQN+ อีกประการหนึ่ง คือ การส�ำรวจจ�ำนวน ประชากร LGBTIQN+ ตวั เลขจากการคาดประมาณขององคก์ ร LGBT Capital ระบุวา่ ปัจจบุ ันมปี ระชากร LGBT คดิ เปน็ ร้อยละ 5–10 ของจ�ำนวนประชากร ทง้ั หมด LGBT Capital ยงั คาดประมาณการวา่ ในปี พ.ศ. 2562 ประชากร LGBT ทวั่ โลกมจี �ำนวนประมาณ 371 ลา้ นคน โดยในประเทศไทยมีประชากร LGBT ราว 3.6 ลา้ นคน หรือคิดเปน็ ร้อยละ 5 ของจำ� นวนประชากรทั้งหมด อยา่ งไรกต็ ามตวั เลขนเี้ ปน็ การประมาณการเพอื่ นำ� ไปในการวางกลยทุ ธท์ างการ ตลาดส�ำหรบั กล่มุ เปา้ หมายทเ่ี ป็น LGBT ประเทศไทยยงั ไมม่ ตี วั เลขทช่ี ดั เจนของจำ� นวนประชากรทเี่ ปน็ LGBTIQN+ อยา่ งไรกต็ าม ไดม้ คี วามพยายามสำ� รวจจำ� นวนประชากรบคุ คลทม่ี คี วามหลาก หลายทางเพศในระดับประเทศ โดยส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ ซ่ึงอยู่ระหว่าง ด�ำเนินการพัฒนาฐานข้อมูลของประชากรกลุ่มบุคคลท่ีมีความหลากหลาย ทางเพศ ผลการส�ำรวจเบื้องต้นพบว่าในจ�ำนวนประชากรท้ังหมดมีบุคคลที่มี ความหลากหลายทางเพศรอ้ ยละ 0.7 และในประชากรอายรุ ะหวา่ ง 15–20 ปี มปี ระชากรกลุ่มบุคคลทีม่ ีความหลากหลายทางเพศร้อยละ 1.5315 315 รองศาสตราจารย์ ดร.กฤตยา อาชวนจิ กุล ได้ใหข้ อ้ มลู เบอ้ื งต้นเก่ยี วกับการส�ำรวจขอ้ มูล ประชากรบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ในการประชุมเสวนาและรับฟังความคิดเห็นต่อ ร่างยุทธศาสตรส์ ุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย พ.ศ. 2564–2566 เม่อื วนั ที่ 22 กนั ยายน 2563 270 ยุทธศาสตรส์ ุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
นอกจากประเดน็ เรอ่ื งชอ่ งวา่ งขององคค์ วามรู้ ยงั พบวา่ มปี ระเดน็ ปญั หา เรอ่ื งการเขา้ ไมถ่ งึ องคค์ วามรดู้ า้ นสขุ ภาวะทางเพศของ LGBTIQN+ เชน่ ความรู้ เรอื่ งสขุ ภาพของบคุ คลขา้ มเพศหรอื บคุ คลทอ่ี ยใู่ นกระบวนการขา้ มเพศ ความรู้ เร่อื งการใช้ฮอร์โมน การผ่าตดั แปลงเพศ การบิดเบือนข้อมูลความรู้ และการน�ำข้อมูลไปใช้เป็นเครื่องมือในการ สร้างความเกลียดชัง การสร้างภาพเหมารวม และผลิตซ�้ำการตีตรา เช่น สอ่ื มวลชนไทยบางสว่ นยงั คงนำ� เสนอขา่ วสารเกยี่ วกบั บคุ คลทมี่ คี วามหลากหลาย ทางเพศอย่างขาดความรู้ ความเข้าใจท่แี ทจ้ รงิ โดยยังคงใช้ถ้อยค�ำท่แี สดงถึง อคติ และการตีตรา รวมไปถึงการแพร่กระจายของข้อมูลข่าวสารที่เป็น ข่าวปลอม (Fake News) สร้างความเข้าใจท่ีบิดเบือนเก่ียวกับสุขภาวะของ LGBTIQN+ สาธารณชนยังขาดความเข้าใจในเร่ืองความหลากหลายทางเพศ และไมต่ ระหนกั ถงึ การเคารพในสทิ ธแิ ละศกั ดศิ์ รคี วามเปน็ มนษุ ย์ สง่ ผลใหอ้ คติ การตตี รา และการเลอื กปฏบิ ัติต่อประชากรกลุม่ LGBTIQN+ ยงั คงด�ำรงอยู่ แบบเรียนวิชาสุขศึกษา ท่ีออกแบบเน้ือหาตามหลักสูตรแกนกลางข้ัน พื้นฐาน พ.ศ. 2551 ยังคงอ้างอิงกับองค์ความรู้แบบเก่าท่ีระบุว่า การรัก เพศเดียวกันเป็นความผิดปกติ และมีการอธิบายโดยใช้ค�ำที่มีนัยยะในเชิงลบ ให้ภาพเหมารวมว่าบุคคลท่ีรักเพศเดียวกันจะมีอารมณ์ก้าวร้าวรุนแรงเม่ือผิด หวงั ในเรอื่ งเพศ ถงึ แมว้ า่ จะมกี ารปรบั แกแ้ บบเรยี นโดยเนน้ ลดการตตี รารงั เกยี จ แตย่ งั ไมไ่ ดแ้ กไ้ ขหลกั สตู รแกนกลาง แมอ้ งคค์ วามรจู้ ะมคี วามสำ� คญั ตอ่ การเสรมิ สรา้ งสขุ ภาวะของประชากร กลุ่ม LGBTIQN+ แต่ด้วยสภาพปัญหาของการขาดองค์ความรู้ องค์ความรู้ ไม่เพียงพอ การเข้าไม่ถึงองค์ความรู้ องค์ความรกู้ ระจัดกระจาย องค์ความรู้ ทมี่ อี ยไู่ มไ่ ดถ้ กู นำ� ไปใช้ หรอื ถกู นำ� ไปใชอ้ ยา่ งบดิ เบอื น ชดุ ความรทู้ เี่ กดิ จากการ วิจัยหรือเกิดจากประสบการณ์ในการปฏิบัติงานโดยตรงของบุคคลที่เกี่ยวข้อง 271 ยุทธศาสตรส์ ุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
กบั การสง่ เสรมิ สุขภาวะ LGBTIQN+ จึงมีคณุ ค่า แตจ่ ะเกิดประโยชน์ก็ต่อเม่อื มีการพัฒนาเป็นฐานข้อมูลและจัดการองค์ความรู้ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ การนำ� ไปใชโ้ ดยผกู้ ำ� หนดนโยบาย นกั วชิ าการ นกั กจิ กรรม บคุ ลากรผใู้ หบ้ รกิ าร สขุ ภาพ และทกุ ภาคสว่ นท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การส่งเสริมสขุ ภาวะ LGBTIQN+ เปา้ หมายยทุ ธศาสตร์ 1. มฐี านขอ้ มลู องคค์ วามรู้ ทส่ี อดคลอ้ งกบั สภาพปญั หาและความตอ้ งการ ในการขบั เคลื่อนงานดา้ นการส่งเสริมสุขภาวะ LGBTIQN+ 2. มีการบริหารจดั การองค์ความรู้ด้านสุขภาวะ LGBTIQN+ เพ่อื เป็น ฐานในการสง่ เสรมิ สุขภาวะประชากรกลมุ่ LGBTIQN+ 3. มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีช่วยในการจัดการความรู้ท่ีมี ประสทิ ธภิ าพ เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ 1. การพฒั นาฐานข้อมลู องค์ความรดู้ ้านสุขภาวะ LGBTIQN+ 2. การพัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์ความรู้ด้านสุขภาวะ LGBTIQN+ ท่มี ีประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผล ก่อให้เกิดประโยขน์ ตอ่ การสรา้ งเสริมสขุ ภาวะ LGBTIQN+ 3. การพัฒนาวิธีการท่ีมีประสิทธิภาพ ในการเผยแพร่องค์ความรู้ไปสู่ ผู้ก�ำหนดนโยบายและสาธารณะได้อย่างกว้างขวางและสามารถน�ำ ไปใช้ประโยชนไ์ ด้ 272 ยทุ ธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ตวั อย่างแนวทางการด�ำเนนิ งาน 1. การสนบั สนนุ การศกึ ษาวจิ ยั ดา้ นสขุ ภาวะในกลมุ่ ประชากร LGBTIQN+ ทถี่ กู มองข้าม มีความเปราะบาง และมอี ัตลกั ษณท์ ับซ้อน 2. การพฒั นาระบบขอ้ มลู เชงิ ยทุ ธศาสตร์ สถติ ปิ ระชากรกลมุ่ LGBTIQN+ เพื่อการวางแผน การตดั สินใจ และพัฒนากลยุทธท์ ม่ี ีความจำ� เพาะ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพต่อสขุ ภาวะ 3. การส่งเสรมิ ให้ LGBTIQN+ ไดม้ สี ว่ นรว่ มมากขน้ึ ในการศึกษาวจิ ัย และสรา้ งองคค์ วามรดู้ า้ นสขุ ภาวะ LGBTIQN+ กระบวนการดำ� เนนิ การวิจัยควรเป็นสาธารณะ เปิดให้ชุมชน LGBTIQN+มีส่วนร่วม เพอ่ื ใหเ้ กิดการรบั ฟังความต้องการที่แทจ้ รงิ 4. การสรา้ งศนู ยศ์ กึ ษาดา้ นสขุ ภาวะ LGBTIQN+ เพอ่ื การบรหิ ารจดั การ องค์ความรู้ และการขับเคล่ือนองค์ความรู้ไปสู่การน�ำไปใช้ในการ เสริมสรา้ งสขุ ภาวะของประชากรกลุ่ม LGBTIQN+ 5. การสง่ เสรมิ การผลติ รวบรวม และเผยแพรค่ มู่ อื องคค์ วามรจู้ ำ� เปน็ ตอ่ การดูแลสขุ ภาวะของ LGBTIQN+ 6. การพัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์ความรู้ด้านสุขภาวะ LGBTIQN+ ทมี่ ีประสิทธภิ าพและประสิทธิผล กอ่ ให้เกดิ ประโยขน์ ตอ่ การสร้างเสรมิ สขุ ภาวะ LGBTIQN+ 7. การพัฒนาองค์ความรู้ ตัวชี้วัดด้านความอ่อนไหวทางสุขภาวะ ในเพศสภาพ เพศวิถี เพื่อใหเ้ กิดกระบวนการขัดเกลาทางสงั คมใน เร่ืองความเป็นธรรมทางเพศ การไม่เลือกปฏิบัติต่อกลุ่มประชากร LGBTIQN+ ในระดบั ตา่ งๆ เพอื่ ใหอ้ งคก์ ร/หนว่ ยงาน/ชมุ ชน สามารถ น�ำไปใช้ในการประเมินความอ่อนไหวทางสุขภาวะด้านเพศสภาพ/ เพศวถิ ีในพ้ืนที่รบั ผดิ ชอบ 273 ยุทธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การสรา้ งความเขม้ แขง็ ของเครือข่ายและชมุ ชน LGBTIQN+ เพอื่ การสง่ เสริมสขุ ภาวะ เหตผุ ลและความจำ� เป็น ประเทศไทยมีองค์กรท้ังภาครัฐและภาคประชาสังคมจ�ำนวนมากท่ี ท�ำงานด้านสุขภาวะ LGBTIQN+ ซึ่งแต่ละองค์กรมีหลากหลายทั้งในเชิง ประเดน็ กลมุ่ เปา้ หมาย และรูปแบบการท�ำงาน หากพจิ ารณาในเชิงรูปแบบ การทำ� งานขององคก์ รดา้ นความหลากหลายทางเพศทง้ั ภาครฐั และประชาสงั คม พบว่ายงั เปน็ ลักษณะความรว่ มมือกนั แบบหลวมๆ หรอื มีการรวมตวั เฉพาะกิจ เท่าน้ัน ยังไม่มีการเช่ือมโยงเป็นเครือข่ายที่เข้มแข็ง ตลอดจนบูรณาการการ ท�ำงานร่วมกัน และเน่ืองจากสถานการณ์เครือข่ายที่ท�ำงานด้านสุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทยท่ีได้กล่าวมา จึงยังไม่มีฐานข้อมูลกลางของ บุคลากรนักกิจกรรม นักวิชาการด้านความหลากหลายทางเพศของประเทศ ตลอดจนกลไกประสานงานและวิธีการร่วมมือที่มีประสิทธิภาพ เพ่ือให้เกิด ความรว่ มมอื และแลกเปลยี่ นเรยี นรรู้ ะหวา่ งกนั อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และลดความซำ้� ซอ้ นในประเดน็ การทำ� งาน ปัญหาท่ีเป็นผลพวงจากการไม่มีเครือข่ายการท�ำงานด้านสุขภาวะ LGBTIQN+ ทเี่ ขม้ แขง็ อกี ประการหนง่ึ คอื การทำ� งานดา้ นสขุ ภาวะ LGBTIQN+ ขององค์กรท้ังภาครัฐและประชาสังคมในประเทศไทยยังไม่มีความสอดคล้อง กันในเชิงระบบและแผนการท�ำงาน การก�ำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ หรือ ทิศทางการท�ำงานในประเด็นสุขภาวะ LGBTIQN+ และในบางประเด็นยังมี แนวทางการขับเคล่ือนที่ขัดแย้งกันเอง เนื่องจากยังไม่มีการตกผลึกปัญหา สถานการณ์ต่างๆ ร่วมกันอย่างจริงจัง เพ่ือน�ำมากำ� หนดแนวทาง จุดยืนใน 274 ยุทธศาสตรส์ ุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
การพัฒนาและแก้ไขปัญหาขับเคล่ือนให้ LGBTIQN+ เป็นพลเมืองสุขภาวะ (Well–being Citizen) นอกจากน้ี จากการทบทวนวรรณกรรมและการสัมภาษณ์เชิงลึกพบว่า ยังไม่มีชุมชนท่ีเป็นมิตรหรือพื้นที่ปลอดภัยของ LGBTIQN+ ท้ังในลักษณะที่ เปน็ ชมุ ชนชมุ ชนทางกายภาพ (Community) และชมุ ชนเสมอื นจรงิ (Virtual Community) ถงึ แมว้ า่ จะมชี มุ ชนในรปู แบบชมุ ชนเสมอื นจรงิ (Virtual Com- munity) อยบู่ ้าง เชน่ เฟซบุ๊กเพจ เวบ็ ไซต์ แตย่ งั ไมก่ ว้างขวางมากนัก เมือ่ เทยี บจำ� นวนกลมุ่ ประชากร LGBTIQN+ ในประเทศไทยกบั จำ� นวนคนทเี่ ขา้ ถงึ ช่องทางการสื่อสารหรือพ้ืนที่ดังกล่าว ส่วนชุมชนหรือพ้ืนท่ีในรูปแบบชุมชน ทางกายภาพ (Community) ของ LGBTIQN+ พบวา่ ยงั ไมม่ พี น้ื ทส่ี ำ� หรบั การ เรยี นรู้ แลกเปลย่ี น ใหค้ วามชว่ ยเหลอื หรอื แมก้ ระทง่ั พนื้ ทป่ี ลอดภยั ทส่ี ามารถ เปดิ เผยอตั ลกั ษณท์ างเพศของตนเอง (Coming Out) พน้ื ทส่ี ำ� หรบั ครอบครวั LGBTIQN+ ไมว่ ่าจะเปน็ พอ่ แมห่ รอื ลูกท่เี ปน็ LGBTIQN+ กต็ าม ซ่ึงการขาด พ้นื ทดี่ ังกล่าวไดส้ ง่ ผลกระทบต่อสุขภาวะองค์รวมของ LGBTIQN+ คือทั้งทาง รา่ งกาย จติ ใจ ปญั ญา และสงั คม เนอื่ งจากชมุ ชนทเี่ ปน็ มติ รหรอื พน้ื ทปี่ ลอดภยั เป็นพ้ืนท่ีส�ำหรับการแลกเปลี่ยนความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการรับมือใน สถานการณ์ปัญหาต่างๆ ในชีวิตของ LGBTIQN+ ท่ีคนในสังคมทั่วไปอาจ ไม่เข้าใจและให้ความช่วยเหลือได้ เช่น ปัญหาการไม่ถูกยอมรับ ปัญหาการ เลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งเพศ ปัญหาความรุนแรงในครอบครัวหรือที่ท�ำงาน ปัญหาสุขภาวะทางเพศ ฯลฯ นอกจากน้ีนักกิจกรรมด้านความหลากหลายทางเพศจ�ำนวนมาก มีความเครียดสะสม และมีชุดประสบการณ์ชีวิตท่ีหลากหลาย แต่ขาดพื้นท่ี ปลอดภัยเพ่ือการเยียวยา ฟื้นฟูสภาพจิตใจ จึงน�ำไปสู่ปัญหาในการท�ำงาน รว่ มกันอย่างสรา้ งสรรคแ์ ละมีสุขภาวะท่ดี ี 275 ยุทธศาสตร์สขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
กล่าวโดยสรปุ สถานการณ์และสภาพปัญหาเกย่ี วกับความเข้มแขง็ ของ เครือข่ายและชมุ ชนเพอ่ื การส่งเสริมสุขภาวะ LGBTIQN+ สามารถจำ� แนกได้ 3 ประเดน็ หลกั คอื ประเดน็ แรก ยงั ไมม่ กี ารรวบรวมแผนที่ (Mapping) สมดุ รายนาม (Directory) หน่วยงาน องค์กร สถาบัน ภาคประชาชน และนัก วิชาการ ท่ีท�ำงานด้านสุขภาวะของผู้มีความหลากหลายทางเพศท้ังภายใน ประเทศและต่างประเทศ และสร้างเครือข่ายนักกิจกรรมด้านน้ีให้มีความเข้ม แขง็ ประเด็นทส่ี องคือ การทำ� งานด้านสุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย ไมม่ คี วามสอดคลอ้ งกนั ในเชงิ ระบบและแผนการทำ� งาน นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ หรือทิศทางการขับเคล่ือนในประเด็นสุขภาวะ LGBTIQN+ ประเด็นท่ีสาม ยังขาดพ้ืนที่การเรียนรู้ พื้นที่ปลอดภัยหรือชุมชนท่ีส่งเสริมสุขภาวะที่ดีให้กับ LGBTIQN+ ดงั นน้ั ยทุ ธศาสตรน์ จี้ งึ มงุ่ สนบั สนนุ การสรา้ งความเขม้ แขง็ ใหเ้ ครอื ขา่ ยและชมุ ชน LGBTIQN+ เพ่ือการสง่ เสรมิ สุขภาวะ เกดิ กลไกประสานงาน และวิธีการร่วมมือท่ีมีประสิทธิภาพ เพ่ือให้เกิดการเสริมพลังและแลกเปล่ียน เรียนรู้ร่วมกันอย่างต่อเน่ือง น�ำไปสู่การมีเครือข่าย และชุมชน LGBTIQN+ ท่ีเข้มแขง็ และมีสว่ นร่วมในการสรา้ งสังคมสขุ ภาวะ เป้าหมายยุทธศาสตร์ มเี ครอื ขา่ ยและชมุ ชน LGBTIQN+ ทเ่ี ขม้ แขง็ และมสี ว่ นรว่ มในการสรา้ ง สังคมสขุ ภาวะ เป้าประสงค์ของยทุ ธศาสตร์ 1. การสร้างฐานข้อมูลและเครือข่ายนักกิจกรรม นักวิชาการด้าน ความหลากหลายทางเพศจากหลากหลายองคก์ รทงั้ ในประเทศและ ต่างประเทศ ระดับภูมิภาคและระดับสากล ตลอดจนการสร้าง ความรว่ มมอื ความเขม้ แข็งระหวา่ งเครอื ข่าย 276 ยุทธศาสตร์สขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
2. การส่งเสริม ฟื้นฟู พัฒนาทั้งศักยภาพทักษะชีวิตและการท�ำงาน (Soft Skills and Hard Skills) และศักยภาพภายใน (Empower- ment) ให้กับนักกิจกรรมด้านความหลากหลายทางเพศ เพื่อ การสรา้ งเครือข่าย LGBTIQN+ ทมี่ ีสุขภาวะองคร์ วมท่ดี ี 3. การสร้างพื้นที่ปลอดภัยและชุมชนท่ีเป็นมิตรของ LGBTIQN+ ทั้งรูปแบบชุมชนเสมือนจริง (Virtual Community) และชุมชน ทางกายภาพ (Community) เพ่ือการสร้างสงั คมสุขภาวะร่วมกนั ตวั อย่างแนวทางการด�ำเนนิ งาน 1. การท�ำ Mapping หน่วยงาน องค์กร สถาบันต่างๆ ท้ังภาครัฐ และประชาสังคมที่ท�ำงานด้านสุขภาวะ LGBTIQN+ ท้ังภายใน ประเทศและตา่ งประเทศ ตลอดจนรวบรวมและสรา้ งฐานขอ้ มลู กลาง เกีย่ วกับบคุ ลากรที่ทำ� งานด้านสขุ ภาวะ LGBTIQN+ 2. การสร้างความเข้มแข็งให้เครือข่ายนักกิจกรรม นักวิชาการด้าน สุขภาวะ LGBTIQN+ มีกลไกประสานงานและวิธีการร่วมมือท่ีมี ประสทิ ธภิ าพ เพอ่ื ใหเ้ กดิ การแลกเปลย่ี นเรยี นรรู้ ว่ มกนั อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และลดความซ�้ำซอ้ นในประเดน็ ในการท�ำงาน 3. การสร้างเครือข่ายการท�ำงานสุขภาวะ LGBTIQN+ ท่ีมีความ หลากหลายท้ังในเชิงประเด็นและเชิงพื้นที่ในแต่ละภูมิภาค เพ่ือให้ เครือข่าย มีบุคลากรท่ีมีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เฉพาะบริบท ของพื้นที่ ซ่ึงจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและความครอบคลุมในการ ขับเคลื่อนให้กลุ่มประชากร LGBTIQN+ ในประเทศไทยเข้าถึง ความเปน็ ธรรมทางสขุ ภาพ 277 ยุทธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
4. การส่งเสริมให้ LGBTIQN+ มีส่วนร่วมในการสร้างและพัฒนา เครอื ขา่ ย โดยเน้นการมสี ว่ นร่วมของ LGBTIQN+ ทกุ กลุม่ ทุกเพศ ทุกวัย ไม่กระจุกเฉพาะในกลุ่มนักกิจกรรม เพ่ือน�ำไปสู่การสร้าง สงั คมสขุ ภาวะรว่ มกันและความยั่งยนื ของเครอื ขา่ ย 5. การสร้างพื้นท่ีแลกเปลี่ยนความรู้และความความคิดเห็นเก่ียวกับ สถานการณ์ปัญหาด้านสุขภาวะของ LGBTIQN+ ให้กับองค์กรที่ ท�ำงานด้านความหลากหลายทางเพศ ทั้งภาครัฐและประชาสังคม โดยให้ LGBTIQN+ มีสว่ นรว่ มในกระบวนการการท�ำงาน 6. การส่งเสริมกิจกรรมด้านการฟื้นฟู พัฒนาศักยภาพภายใน (Empowerment) ใหก้ บั นกั กจิ กรรมดา้ นความหลากหลายทางเพศ เพือ่ การสรา้ งเครือข่าย LGBTIQN+ ทมี่ สี ขุ ภาวะองค์รวมที่ดี 7. การพัฒนาเลนส์เพศภาวะในกลุ่มเครือข่ายและชุมชน LGBTIQN+ เพอ่ื สรา้ งความเขา้ ใจประเดน็ อตั ลกั ษณท์ บั ซอ้ น (Intersectionality) ซ่ึงจะน�ำไปสู่ความเข้าใจในความหลากหลายของกลุ่มเป้าหมาย ท่ีท�ำงานด้วย 8. การพัฒนานวัตกรรมทางสังคมและเทคโนโลยีการสร้างเครือข่าย และชุมชน LGBTIQN+ ทั้งในรูปแบบชุมชนเสมือนจริง (Virtual Community) และชุมชนทางกายภาพ (Community) 9. การประเมนิ ปญั หาชอ่ งวา่ ง ประสทิ ธภิ าพ และประสทิ ธผิ ลของกลไก การทำ� งานเชิงเครือขา่ ย 278 ยุทธศาสตร์สขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาศกั ยภาพเยาวชน ดา้ นการเสรมิ สรา้ งสุขภาวะ LGBTIQN+ เหตุผลและความจำ� เป็น เยาวชนเปน็ ทรพั ยากรทม่ี คี ณุ คา่ อยา่ งยงิ่ หากไดร้ บั การพฒั นาใหเ้ ตบิ โต เปน็ พลเมอื งทมี่ คี ณุ ภาพ และสามารถเปน็ ผทู้ จี่ ะนำ� พาสงั คมไปสกู่ ารเปลยี่ นแปลง การสร้างสังคมท่ีเป็นธรรม และการอยู่ร่วมกันอย่างเคารพสิทธิและศักด์ิศรี ความเปน็ มนษุ ย์ อยา่ งไรกต็ าม เยาวชนบางกลมุ่ ยงั ตอ้ งเผชญิ กบั ความทา้ ทาย ในการเข้าถงึ โอกาส ทั้งทางการศกึ ษา การพัฒนาตนเอง การจ้างงาน รวมไป ถงึ การมีสขุ ภาวะท่ีดี โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ กล่มุ เยาวชน LGBTIQN+ อคติและการตีตราเป็นปัจจัยส�ำคัญท่ีท�ำให้เกิดความเหล่ือมล�้ำในการ เข้าถึงการมีสุขภาวะที่ดี เยาวชน LGBTIQN+ ยังคงต้องเผชิญกับความกลัว ในการเปิดเผยตัวตน และกลัวการถูกเลือกปฏิบัติอันเนื่องมาจากวิถีทางเพศ อตั ลกั ษณท์ างเพศ และการแสดงออกทางเพศ นำ� ไปสคู่ วามเสย่ี งทเี่ พม่ิ มากขน้ึ ในเร่ืองของภาวะซึมเศร้า ความเจ็บป่วยอันเกิดจากความเครียด การใช้ สารเสพตดิ และเสย่ี งตอ่ พฤตกิ รรมการทำ� รา้ ยตนเอง316 นอกจากนนั้ เยาวชน ยงั คงมภี าวะเปราะบางตอ่ พฤตกิ รรมการฆา่ ตวั ตาย ไรบ้ า้ น เสยี่ งตอ่ การถกู ลว่ ง ละเมดิ ทางเพศและทางรา่ งกาย โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์ และสขุ ภาพจติ 317 316 Hafeez, H. et. al., Health Care Disparities Among Lesbian, Gay, Bisexual, and Transgender Youth: A Literature Review. Cureus, 9(4): e1184., February 3, 2020, Available from https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/28638747/ 317 Robinson, J.P. et. al. (2013). Peer Victimization and Sexual Risk Difference Between Lesbian, Gay, Bisexual, Transgender, or Questioning and Nontransgender Heterosexual Youths in Grades 7–12. American Journal of Public Health, 103, 10(2013): pp. 1810–1819. 279 ยุทธศาสตรส์ ุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
นอกจากน้ันยังมีปัจจัยความเสี่ยงของปัญหาสุขภาพทางกาย อันเนื่อง มาจาก การขาดบรกิ ารดา้ นการดแู ลสขุ ภาพทต่ี อบสนองตอ่ ความจำ� เปน็ เฉพาะ ดา้ นของเยาวชน LGBTIQN+ สำ� หรบั เยาวชน LGBTIQN+ ถอื ว่าเป็นการยาก ทจี่ ะกลา่ วถงึ อตั ลกั ษณท์ างเพศของตนเองกบั บคุ ลากรทางการแพทย์ บคุ ลากร ทางการแพทย์บางคนไม่ได้ผ่านการอบรมในเรื่องของการจัดการหรือแก้ไขข้อ กงั วลของเยาวชนกลมุ่ นี้ การทบ่ี คุ ลากรทางการแพทย์ ผใู้ หบ้ รกิ ารทางสขุ ภาพ ขาดความตระหนักและเข้าใจสามารถส่งผลต่อคุณภาพของการดูแลและให้ บริการทางสุขภาพท่ีเหมาะสมได้ ยิ่งไปกว่าน้ันในการสำ� รวจและจัดเก็บสถิติ มกั ขาดขอ้ คำ� ถามเกย่ี วกบั อตั ลกั ษณท์ างเพศและเพศวถิ ี ทำ� ใหข้ าดขอ้ มลู สำ� คญั และยากท่ีจะคาดประมาณจ�ำนวนประชากร และความต้องการด้านการดูแล สุขภาพพของเยาวชน LGBTIQN+ การตกเป็นเหยื่อของการกล่ันแกล้งรังแก เป็นสาเหตุส�ำคัญที่น�ำไปสู่ พฤตกิ รรมความเสย่ี งในเรอ่ื งเพศของเยาวชน เยาวชน LGBTIQN+ มกั ถกู กลน่ั แกล้งรังแกท่ีโรงเรียน ทั้งการทะเลาะ การถูกล้อเลียน และการต้องต่อสู้ กับภาวะทางอารมณ์ท่ีตกต�่ำ และปัญหาด้านการแสดงออกทางพฤติกรรม318 ประเด็นส�ำคัญอกี ประการหน่งึ คือ การปฏเิ สธจากครอบครวั ในครอบครัวที่ มสี มาชิกเปน็ เยาวชน LGBTIQN+ การเปิดเผยอัตลกั ษณ์ทางเพศของเยาวชน LGBTIQN+ ต่อครอบครัว อาจน�ำไปสู่ปัญหาใหญ่เร่ืองความสัมพันธ์ระหว่าง ครอบครวั และเยาวชน ทง้ั นยี้ งั ขาดองคค์ วามรทู้ ศ่ี กึ ษาผลกระทบของการตอบรบั หรอื การปฏิเสธจากครอบครัว 318 Ibids. 280 ยทุ ธศาสตรส์ ุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
ดว้ ยเหตปุ จั จยั ความเสยี่ งตา่ งๆ เหลา่ น้ี เยาวชนทคี่ วรจะเปน็ ทรพั ยากร อนั ทรงคณุ คา่ กลบั ตกอยใู่ นภาวะเปราะบางและเปน็ เหยอ่ื การสง่ เสรมิ สขุ ภาวะ LGBTIQN+ ด้วยการพัฒนาศักยภาพของเยาวชนจึงมีความจ�ำเป็นอย่างยิ่ง เพอื่ ใหเ้ ยาวชน LGBTIQN+ สามารถเปน็ ผกู้ ระทำ� การลกุ ขน้ึ มาปกปอ้ งสทิ ธขิ อง ตัวเอง ยอมรับในอตั ลกั ษณท์ างเพศของตัวเอง มคี วามม่ันใจในตวั เองมากขึน้ จากทเ่ี คยหลบซอ่ น ไมม่ อี ำ� นาจภายใน กลายเปน็ เยาวชนตน่ื รใู้ นเรอ่ื งสขุ ภาวะ สามารถสร้างสำ� นกึ ใหม่ให้กับสงั คม นอกจากนี้ การพฒั นาศกั ยภาพของเยาวชนรักต่างเพศกม็ คี วามสำ� คญั เช่นกนั ในดา้ นของการปรับฐานคดิ ใหม้ ีความตระหนกั เขา้ ใจ และละเอียด อ่อนต่อเรื่องความหลากหลายทางเพศ เป็นส่วนหน่ึงของการสร้างสังคม สุขภาวะ ไม่กลัน่ แกลง้ รงั แก หรือเกลียดกลัว LGBTIQN+ สามารถเตบิ โตเป็น เยาวชนทมี่ สี �ำนึกในความเคารพต่อความเปน็ เพศทีม่ ีความแตกตา่ งจากตนได้ ดังน้ัน ยุทธศาสตร์นี้จึงมุ่งพัฒนาศักยภาพของเยาวชน LGBTIQN+ ด้วยการเสริมสร้างสขุ ภาวะ รว่ มกบั การสร้างส่งิ แวดล้อมทางสังคมท่ีมอี ทิ ธพิ ล ต่อเยาวชน โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ครอบครัว สถาบันการศกึ ษา ชมุ ชน ใหเ้ ออ้ื ตอ่ การเสรมิ สรา้ งสขุ ภาวะของเยาวชน LGBTIQN+ ทง้ั ทางกาย จติ ใจ สงั คม และ ปัญญา เป้าหมายยทุ ธศาสตร์ เยาวชนได้รับการเสริมพลังให้ตระหนักถึงคุณค่าและศักด์ิศรีความเป็น มนุษย์ของ LGBTIQN+ ตลอดจนสามารถขับเคลื่อนประเด็นเร่ืองความเป็น ธรรมทางเพศในมิติของ LGBTIQN+ เพ่ือให้เกิดการสร้างสงั คมสุขภาวะ 281 ยทุ ธศาสตร์สขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
เป้าประสงค์ยทุ ธศาสตร์ 1. เสริมพลังเยาวชนให้เป็นพลเมืองท่ีตระหนักถึงคุณค่าและศักดิ์ศรี ความเปน็ มนษุ ยข์ อง LGBTIQN+ 2. พัฒนาศักยภาพของเยาวชนให้สามารถสร้างการเปลี่ยนแปลงด้าน การสง่ เสริมสขุ ภาวะ LGBTIQN+ 3. พฒั นาสงิ่ แวดลอ้ มทางสงั คมทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ่ เยาวชน ไดแ้ ก่ ครอบครวั ชมุ ชน สถานศกึ ษา ให้เออื้ ตอ่ การเสรมิ สรา้ งสุขภาวะ LGBTIQN+ ตัวอย่างแนวทางการดำ� เนนิ งาน 1. การสร้างฐานคิดเร่ืองสิทธิพลเมือง (Citizen Right) ในการดูแล สขุ ภาวะของตนเองให้แกเ่ ยาวชน 2. การขับเคล่ือนผ่านระบบการศึกษา ส่งเสริมทัศนคติ ความรู้ และ ความเข้าใจใหม่ให้แก่เยาวชนเร่ืองความหลากหลายทางเพศ สิทธิ ความเสมอภาคทางเพศ และการเคารพในสิทธขิ องผ้อู น่ื 3. การสร้างผู้น�ำการเปลี่ยนแปลง (Change Agent) ในกลุ่ม นักกิจกรรมเยาวชนรุ่นใหม่ ช่วยกันท�ำงานขับเคลื่อนในประเด็น สขุ ภาวะ LGBTIQN+ 4. การส่งเสริมให้ครอบครัว สถานศึกษา และชุมชนเข้ามามีบทบาท ในการสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพของเยาวชนให้สามารถสร้าง การเปลยี่ นแปลงดา้ นสขุ ภาวะ LGBTIQN+ 5. การส่งเสริมโครงการพัฒนาศักยภาพแกนน�ำเยาวชน ให้เข้ามามี สว่ นรว่ มในการจดั ทำ� แผนงาน โครงการสง่ เสรมิ สขุ ภาวะของเยาวชน LGBTIQN+ 282 ยทุ ธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
6. การสรา้ งนวตั กรรมทางสงั คมและเทคโนโลยใี นการเชอ่ื มโยงเครอื ขา่ ย แกนนำ� เยาวชนทท่ี ำ� งานดา้ นการสง่ เสรมิ สขุ ภาวะเยาวชน LGBTIQN+ 7. การจดั โครงการกจิ กรรมทมี่ งุ่ ใหเ้ ยาวชนเกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจในสทิ ธิ ความหลากหลายทางเพศ เพ่ือลดการเหยียด และการกล่ันแกล้ง รังแกกนั ในกลมุ่ เยาวชน 8. การสร้างระบบการเฝ้าระวังสุขภาวะทางจิต และการให้ค�ำปรึกษา แกเ่ ยาวชน LGBTIQN+ ที่ไมก่ ลา้ เปิดเผยตนเอง 9. การสร้างระบบการเฝ้าระวังสุขภาพร่างกาย และการให้ความ ช่วยเหลือ ใหแ้ กเ่ ยาวชน LGBTIQN+ ท่ีเส่ียงต่อการทำ� รา้ ยตนเอง การเกดิ โรคอนื่ ๆ อนั เนอื่ งจากสขุ ภาพจติ และพฤตกิ รรมเสยี่ งทอี่ าจ เกดิ ขน้ึ โดยเฉพาะในกลมุ่ เยาวชน LGBTIQN+ ทถี่ กู กลนั่ แกลง้ รงั แก ถกู กระท�ำความรุนแรงดา้ นรา่ งกายและจิตใจ 10. การผสานความร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเพ่ือผลักดันให้ สถานศึกษาก�ำหนดนโยบายห้ามกลั่นแกล้งหรือล้อเลียนเร่ืองท่ี อ่อนไหวตอ่ เยาวชน LGBTIQN+ บทสรุปสำ� หรับการขับเคล่ือนยทุ ธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การค้มุ ครองสิทธมิ นษุ ยชน และศักด์ศิ รีความเป็นมนษุ ย์ LGBTIQN+ การปรับเปล่ียนฐานคิดต่อประเด็นสิทธิมนุษยชนและศักด์ิศรีความเป็น มนุษย์ของ LGBTIQN+ เป็นเรื่องส�ำคัญและผลักดันได้ยาก เพราะต้อง ขับเคล่ือนทั้งระบบสังคมและใช้เวลานาน อย่างไรก็ตามในระยะแรกของแผน ยุทธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ การปรับเปลี่ยนฐานคิดของสถาบันสังคม ท่ีสามารถเริ่มต้นได้ก่อนคือ การเปล่ียนฐานคิดของระบบสาธารณสุข ผ่าน 283 ยุทธศาสตรส์ ุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
การท�ำงานกับบุคลากรในสถาบันสาธารณสุข พร้อมๆ ไปกับการสนับสนุน ภาคประชาสังคมในการขับเคล่ือนกฎหมายในประเด็นสิทธิมนุษยชนและ ศกั ดศ์ิ รคี วามเปน็ มนษุ ยท์ ่เี กยี่ วขอ้ งกับ LGBTIQN+ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 การสร้างระบบบรกิ ารสุขภาวะทเ่ี ป็นธรรม และเขา้ ถงึ ไดส้ �ำหรบั LGBTIQN+ ในยุทธศาสตร์นี้ การสร้างระบบบริการสุขภาวะท่ีเป็นธรรมส�ำหรับ LGBTIQN+ มีความจ�ำเป็นและส�ำคัญอย่างย่ิง เนื่องจากการมีระบบบริการ สุขภาวะที่เข้าถึงได้และเป็นธรรมสำ� หรับ LGBTIQN+ เป็นการตอบสนองต่อ ความจำ� เปน็ ข้ันพน้ื ฐานของประชากรกลมุ่ LGBTIQN+ การมีสุขภาวะท่ีดเี ปน็ สิทธิ (Right to Well–being) และ LGBTIQN+ มีสิทธิท่ีจะมีสุขภาวะท่ีดี อย่างเสมอภาคกัน นอกจากน้ี ปจั จยั สำ� คญั ประการหนง่ึ ทท่ี ำ� ใหป้ ระชากรกลมุ่ LGBTIQN+ เข้าไม่ถึงบริการด้านสุขภาพและสาธารณสุข ยังคงต้องเผชิญกับปัญหาความ เหลอ่ื มล�้ำทางสุขภาพหลายประการ และมีความเสยี่ งในเรื่องของสขุ ภาพ คอื ผลกระทบจากการถูกเลือกปฏบิ ัติและการตตี รา ดังนนั้ จึงมคี วามจ�ำเป็นอย่าง ยิง่ ท่ีต้องพฒั นาระบบการบรกิ ารสุขภาพทเ่ี ปน็ มติ รตอ่ LGBTIQN+ ซ่งึ ค�ำนงึ ถงึ ความต้องการเฉพาะกลุ่มและอัตลักษณ์ทับซอ้ น ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาฐานข้อมลู และการบริหารจัดการ องค์ความรเู้ พ่ือเสริมสรา้ งสขุ ภาวะ LGBTIQN+ ความส�ำคัญเร่งด่วนของยุทธศาสตร์นี้ คือการสร้างองค์ความรู้ด้าน สขุ ภาวะ LGBTIQN+ ทย่ี งั ขาดหายไป เพอื่ เปน็ ฐานขอ้ มลู จำ� เปน็ ตอ่ การกำ� หนด นโยบายและการขับเคล่ือนงานด้านการส่งเสริมสุขภาวะ LGBTIQN+ ท้ังใน 284 ยทุ ธศาสตรส์ ขุ ภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
เรอ่ื งของการสำ� รวจจำ� นวนประชากร LGBTIQN+ และการจำ� แนกคณุ ลกั ษณะ เฉพาะกลุ่ม LGBTIQN+ จากการทบทวนงานวิจัยด้านสุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทยที่ ผา่ นมาพบวา่ ชอ่ งวา่ งทส่ี ำ� คญั ในเชงิ ประชากรกลมุ่ ทศี่ กึ ษาคอื ยงั ขาดงานวจิ ยั ทีศ่ ึกษาประชากรหญิงรักหญงิ คนรักได้ทั้งสองเพศ ชายข้ามเพศ คนท่ีมเี พศ ก�ำกวม เควียร์ และนอน–ไบนารี นอกจากน้ีการที่องค์ความรู้ด้านสุขภาวะ LGBTIQN+ ในปจั จบุ นั ยงั อยใู่ นสถานะกระจดั กระจาย ขาดการสงั เคราะหแ์ ละ บูรณาการ จึงท�ำให้องค์ความรู้ท่ีมีอยู่ยังไม่ถูกน�ำไปใช้ประโยชน์ได้เท่าที่ควร การบรหิ ารจดั การความรจู้ ึงเป็นสิง่ จำ� เปน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 การสร้างความเข้มแข็งของเครือข่าย และชมุ ชน LGBTIQN+ เพ่ือการส่งเสริมสขุ ภาวะ ประเด็นเร่งด่วนในยุทธศาสตร์นี้คือการสร้างความร่วมมือและความ เข้มแขง็ ของเครอื ข่าย LGBTIQN+ โดยเริ่มตน้ จากการท�ำแผนท่ี (Mapping) หน่วยงาน องค์กร สถาบันต่างๆ ท้ังภาครัฐและประชาสังคมท่ีท�ำงานด้าน สุขภาวะ LGBTIQN+ ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ และสร้างความ รว่ มมอื ของเครอื ขา่ ยในการขบั เคลอื่ นประเดน็ สขุ ภาวะของผมู้ คี วามหลากหลาย ทางเพศของแต่ละองคก์ รใหเ้ ปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกัน การเสริมสร้างศักยภาพภายในให้กับนักกิจกรรม/บุคลากรด้าน ความหลากหลายทางเพศเปน็ ความจำ� เปน็ เรง่ ดว่ นอกี ประการสำ� คญั เนอื่ งจาก บคุ ลากรดังกล่าวจำ� นวนมากมีความเครยี ดสะสม และมีชดุ ประสบการณ์ชวี ติ ที่หลากหลาย แต่ขาดทักษะและพ้ืนท่ีปลอดภัยเพ่ือการเยียวยา ฟื้นฟูสภาพ จิตใจ จึงนำ� ไปสู่ปญั หาในการท�ำงานรว่ มกัน 285 ยทุ ธศาสตร์สุขภาวะ LGBTIQN+ ในประเทศไทย
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393