Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตามรอยธรรมย้ำรอยครู หลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ

ตามรอยธรรมย้ำรอยครู หลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ

Published by Thalanglibrary, 2020-12-15 02:03:48

Description: ประวัติและคติธรรมคำสอนของพระพรหมปัญโญหรือหลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ วัดสะแก อ.อุทัย จ.พระนครศรีอยุธยา

Search

Read the Text Version

93 ๙๓ ​๕๖​ ​หนง่ึ ใ​น​ส่​ี (​​อีกค​ ร้ัง​)​ ​ หลายป​ ก​ี อ่ นห​ ลวงปไ​ู่ ดป​้ รารภธ​ รรมก​ บั ข​ า้ พเจา้ ใ​นเ​รอ่ื งข​ องเปา้ ห​ มาย​ ชีวิต​ท่ี​แต่ละ​คน​เกิด​มา​อย่าง​น้อย​ก็​ควร​ให้​เข้า​ถึง​ความ​เป็น​พระ​โสดา​บัน​​ ทา่ น​ไดป​้ รารภไ​ว้​วา่ ​ ​ “​ข้า​นั่ง​ดูด​ยา​ ​มอง​ดู​ซอง​ยา​แล้ว​ต้ัง​ปัญหา​ถาม​ตัว​เอง​ว่า​ ​เรา​นี่​ ปฏิบัติ​ได้​หน่ึง​ใน​ส่ี​ของ​พระพุทธ​ศาสนา​แล้ว​หรือ​ยัง​?​ ​ถ้า​ซอง​ยา​นี้​แบ่ง​ ออก​เป็น​ส่ี​ส่วน​ ​เรา​นี่​ยัง​ไม่​ได้​หนึ่ง​ใน​ส่ี​ ​มัน​จวน​เจียน​จะ​ได้​แล้ว​ก็​คลาย​​ เหมือน​เรา​มัด​เชือก​จน​เกือบ​จะ​แน่น​ได้ท่ี​แล้ว​เรา​ปล่อย​ ​มัน​ก็​คลาย​ออก​​ เรา​น​ีย่ งั ไ​มเ​่ ชอื่ ​จรงิ ​​ถ้าเ​ชือ่ จ​ ริงต​ ้องไ​ด้ห​ นง่ึ ใ​น​สี​แ่ ลว้ ​”​ ​ อีก​ครั้ง​หนึ่ง​หลวงปู่​ได้​ปรารภ​กับ​ข้าพเจ้า​อีก​ใน​เร่ือง​เดียวกัน​ ​แต่​ คราว​น​ี้ท่าน​บอก​ว่า​​ “​ข้า​น่ัง​มอง​ดู​กระจก​หน้าต่าง​ที่​หอ​สวด​มนต์​ ​กระจก​มัน​มี​สี่​มุม​​ เปรียบ​การป​ ฏบิ ัติ​ของเ​รา​นี​่ ​ถา้ ม​ ันไ​ด้​สกั ​มุมห​ นงึ่ ​กเ็​ห็นจะ​ด​ี”​​ หลวงปู่​ได้​เฉลย​ปริศนา​ธรรม​เรื่อง​น้ี​ให้​ข้าพเจ้า​ฟัง​ว่า​ ​ท่ี​ว่า​หนึ่ง​ใน​สี่​ นนั้ ​ห​ มาย​ถึงก​ าร​ปฏบิ ัติธ​ รรมเ​พือ่ ​ให​้บรรล​ุมรรคผลใ​น​พระพุทธศ​ าสนา​ซ​ ึง่ ​ แบง่ เ​ป็น​ luangpordu.com

๙๔ 94 ​ โสดาป​ ัตติ​มรรค​ ​ โสดาป​ ัตตผ​ิ ล​ ​ สกทิ​ า​คาม​ ​มิ รรค​ ​สกทิ​ า​คาม​ ิ​ผล​ ​ อน​ าคา​ม​ิมรรค​​ อ​นาคาม​ ​ผิ ล​ ​อรห​ ตั ต​ มรรค​​ อร​หัตต​ ผ​ ล​ ​ อย่างน​ อ้ ยเ​ราเ​กิดม​ า​ชาต​ินไี้​ด้​พบพ​ ทุ ธศ​ าสนา​เปรยี บ​เหมอื น​สมบัต​ิ ลำ้ คา่ แ​ ลว้ ​ก​ ค​็ วรป​ ฏบิ ตั ต​ิ ามค​ ำส​ อนท​ า่ นใ​หเ​้ ขา้ ถ​ งึ ค​ วามพ​ น้ ท​ กุ ข​์ อยา่ งน​ อ้ ย​ ทส่ี ดุ ​คือโ​สดาป​ ัตติ​ผล​เ​พราะค​ น​ท่ี​เข้า​ถึง​ความเ​ป็นพ​ ระโ​สดา​บัน​แลว้ ​ห​ าก​ ยัง​ไม่​บรรลุ​พระ​นิพพาน​ใน​ชาติ​น้ี​ชาติ​ต่อ​ไป​ก็​จะ​ไม่​เกิด​ใน​ภพ​ภูมิ​ท่ี​ต่ำ​กว่า​ มนษุ ยอ​์ นั ​ไดแ้ ก​่ ​สัตว์​นรก​เ​ปรต​​อสุรก​ าย​​สัตวเ​์ ดรจั ฉานอ​ ีก​ ​ ข้าพเจ้า​เชื่อ​ว่าการ​ท่ี​หลวงปู่​เปรียบ​ธรรม​ใน​เร่ือง​นี้​กับ​ซอง​บุหรี่​บ้าง​​ หรือ​แผ่น​กระจก​บ้าง​เพราะ​ต้องการ​ให้​เรา​หม่ัน​นึกคิด​พิจารณา​ใน​เรื่อง​นี้​ บอ่ ยๆ​ ​ว​ ตั ถร​ุ ปู ท​ รงส​ เ่ี หลย่ี มเ​ปน็ ร​ปู ท​ รงว​ ตั ถท​ุ เ​่ี ราส​ ามารถพ​ บไ​ดบ​้ อ่ ยท​ ส่ี ดุ ใ​น​ ชวี ติ ป​ ระจำว​ นั ​ม​ อ​ี ยร​ู่ อบต​ วั เ​ราต​ ลอดเ​วลาต​ งั้ แ​ ตว​่ นั เ​กดิ ก​ ระทง่ั ว​ นั ต​ าย​ม​ อ​ี ย​ู่ ทวั่ ไป​ไดแ้ ก่​​เตียง​นอน​น​ าฬิกา​ปลกุ ​​หนงั สือ​​รปู ภาพ​ร​ ถยนต์​โ​ตะ๊ ท​ ำงาน​ โทรทศั น​์ ​หน้าตา่ ง​ประตู​แ​ ละอ​ น่ื ​​ๆ​อ​ กี ​มากมาย​​จน​กระทั่งส​ ิง่ ​สดุ ท้าย​ที่อ​ ย่​ู ใกล​้ตัว​เราค​ ือ​โลง​ศพ​ ​ หากผ​ ใ​ู้ ดเ​หน็ ว​ า่ ธ​ รรมเ​รอื่ งห​ นงึ่ ใ​นส​ ข​่ี องห​ ลวงปเ​ู่ ปน็ ธ​ รรมส​ ำคญั แ​ ลว้ ​ ขา้ พเจา้ เ​ชอื่ เ​หลอื เ​กนิ ว​ า่ ​ผน​ู้ นั้ จ​ ะเ​ปน็ ผ​ ไ​ู้ มม่ ก​ี เิ ลสใ​นไ​มช​่ า้ น​ ​้ี จ​ งึ ข​ อฝ​ ากธ​ รรมะ​ จากห​ ลวงป​ู่ให้เ​รา​นำ​ไป​พจิ ารณาด​ ้วย​ luangpordu.com

95 ๙๕ ​​๕๗​ ว​ ิธคี​ ลาย​กลุ้ม​ ค​ วามก​ ลมุ้ เ​ปน็ บ​ อ่ เ​กดิ ข​ องค​ วามเครยี ด​ค​ วามเครยี ดก​ เ​็ ปน็ ท​ ม่ี าข​ อง​ ความ​กลุ้ม​เช่น​กัน​ หลาย​คน​คง​เห็น​ด้วย​กับ​ข้าพเจ้า​ว่า​ ​เมือง​ไทย​น้ี​ดี​กว่า​ เมอื งฝ​ รงั่ ​เ​วลาท​ เ​ี่ ราม​ เ​ี รอ่ื งก​ ลมุ้ อ​ กก​ ลมุ้ ใ​จ​ใ​นต​ า่ งป​ ระเทศ​ส​ งิ่ ท​ น​ี่ ยิ มก​ นั ม​ าก​ คอื ​​ไปห​ าห​ มอร​ ักษาโ​รคจิต​​กลุ้มใ​จท​ ​กี ​็ไปเ​อา​กล้มุ ​ออก​โดย​นง่ั ร​ ะบาย​ความ​ ทุกข์​​ระบาย​ปญั หาใ​ห้​จติ แพทย์​ฟัง​เ​สร็จ​แล้วจ​ ่ายเ​งนิ ​ใหห้​ มอเ​ป็น​ค่าน​ ่ังฟ​ งั ​ เฮ้อ​!​ ​คน​เรา​น​ก่ี ​แ็ ปลก​ด​นี ะ ​​เอา​กลมุ้ ​ออก​อยา่ ง​เดยี ว​ไม​พ่ อ​​เงนิ ​ใน​กระเปา๋ ​ออก​ไปด​ ว้ ย​ ​เท่า​ท่ี​สังเกต​ดู​ ​ฝร่ัง​ไป​หา​จิตแพทย์​กัน​เป็น​เรื่อง​ปกติ​ ​แต่​ระยะ​หลัง​ ใน​เมือง​ไทยเ​รา​​คนไข​้โรคจติ น​ ับ​วันจ​ ะ​มมี​ าก​ขนึ้ ​ทุกท​ี คนไ​ทยไ​ม​่นิยม​ไปห​ า​ จติ แพทยเ​์ หมอื นฝ​ รง่ั ​แ​ ตจ​่ ะไ​ปห​ าจ​ ติ แพทยก​์ ต​็ อ่ เ​มอ่ื ท​ นไ​มไ​่ หวแ​ ลว้ จ​ รงิ ​ๆ​ค​ อื ​ ใกลจ​้ ะบ​ า้ แ​ ลว้ น​ นั่ เอง​ค​ นไ​ทยโ​ชคด​ ก​ี วา่ ฝ​ รงั่ ต​ รงท​ ม​ี่ ว​ี ดั แ​ ทนค​ ลน​ี คิ จ​ ติ แพทย​์ ม​ีพระ​นี่​ละ่ ​ด​กี วา่ ​ดว้ ยเ​พราะไ​ม่ต​ ้องเ​สีย​ตงั ค​์ ​แถมไ​ปห​ า​หลวงปไ​ู่ ด้​ทำบญุ ​​ได​้ ฟัง​ธรรมะ​จาก​ท่าน​ ​กลาง​วัน​ยัง​ได้​ทาน​อา​หา​รบุฟเฟ่ต์​หลัง​จาก​หลวงปู่​ฉัน​ เสรจ็ ​บ​ างค​ รง้ั ​สมยั ท​ ข​ี่ า้ พเจา้ ย​ งั เ​รยี นห​ นงั สอื อ​ ย​ู่ ห​ ากเ​ดนิ ท​ างม​ าถ​ งึ ว​ ดั ต​ อน​ เยน็ ​ทา่ นจ​ ะม​ ข​ี นมฝ​ อยทอง​ท​ องห​ ยบิ ​ท​ องห​ ยอด​ผ​ ลไ​มป​้ ระเภทส​ ม้ ​ก​ ลว้ ย​ luangpordu.com

๙๖ 96 บางทีโ​ชคด​ ก​ี ม​็ ​แี อปเ​ป้ลิ ​ให​ไ้ ด้ท​ าน​อิ่มท​ อ้ งด​ ้วย​ ​ มี​เรอ่ื งเ​ลา่ ว​ า่ ​ ​ม​ีโยมค​ น​หน่ึง​เกิด​กลุม้ อ​ ก​กลุม้ ใ​จ​ในช​ วี ติ ​ท่​แี สน​สบั สน​​ วุ่น​วาย​ของ​ตน​โดย​ไม่รู้​ว่า​จะ​แก้ไข​อย่างไร​ ​จึง​ได้​ไป​กราบ​ขอ​ให้​หลวงพ่อ​ ​พุทธ​ทาสช​ ่วย​คลาย​ทุกข์​ให​้ ​ หลวงพอ่ ถาม​ว่า​“​ ​มนั ก​ ลมุ้ ม​ าก​หรือ​โยม”​ ​ ​“​มากค​ รบั ท​ ่าน​​สมอง​แทบจ​ ะ​ระเบิด​เลย​แ​ น่นอ​ ย​่ใู น​อก​ไป​หมด”​ ​ ​ “​เอา​งี้​ ​โยม​ออก​ไป​ยืน​ที่​กลาง​แจ้ง​ ​สูด​ลม​หายใจ​เข้า​ปอด​แรงๆ​​ สาม​ครง้ั ​แลว้ ​ตะโกนใ​ห้​ดังท​ ี่สุดว​ า่ ​ก​ กู​ ลมุ้ จ​ รงิ โ​วย้ ​กก​ู ลมุ้ ​จรงิ ​โว้ย​​กูก​ ลุ้ม​ จริงโ​วย้ ​”​ ​โยม​ผู้​นั้น​ออก​ไป​ทำ​ตาม​ที่​หลวงพ่อ​แนะนำ​แล้วก​ลับ​เข้า​มา​หา​ท่าน​ ดว้ ย​ใบหนา้ ​ที​่ผ่อน​คลาย​ ​ “เ​ปน็ ไ​ง”​ ​ห​ ลวงพ่อ​ถาม​ ​ “​รสู้ กึ ส​ บาย​ขนึ้ แ​ ลว้ ​ครับ​”​เ​ขา​ตอบ​ ​“​เออ​​เอา​กลุม้ อ​ อกแ​ ล้วน​ ​่ี”​​ทา่ น​กล่าว​ยิ้ม​ๆ​แ​ ล้ว​ไม​พ่ ูด​อะไรอ​ กี ​ ​ข้าพเจ้า​เคย​เห็น​คน​ท่ี​ไป​หา​หลวงปู่​ดู่​หลาย​ราย​มี​ความ​กลุ้ม​ ​มี​ ความเครียด​ ​เสร็จ​แล้ว​เม่ือ​มา​ถึง​วัด​ ​น่ัง​อยู่​ต่อ​หน้า​ท่าน​ หลาย​คน​เล่า​ให้​ ข้าพเจา้ ​ฟังว​ ่า ​ไม่รว​ู้ ่า​ไอ้เ​จา้ ​ตวั ​กลุม้ ​ตวั ​เครียด​มนั พ​ า​กัน​หาย​ไปไ​หน​หมด​ม​ ​ี แต่​ความเ​บา​สบาย​กาย​ส​ บายใจ​อ​ ยากอ​ ยู่ต​ รงห​ น้าห​ ลวงป​ูน่ าน​ๆ​ ​​บางค​ น​ ขอเ​พียง​ได​น้ ัง่ เ​ฉย​​ๆ​ก​ ม​็ ี​ ​ ทุก​วัน​นี้​ หลวงปู่​จาก​พวก​เรา​ไป​แล้ว​ ​แต่​เป็นการ​จาก​เพียง​รูป​กาย​​ luangpordu.com

97 ๙๗ ธรรม​ที่​ท่าน​เคย​สอน​ไว้​มิได้​สูญหาย​ไป​ด้วย​เลย​ ​หาก​เรา​มี​ความ​กลุ้ม​อก​ กลมุ้ ใ​จไ​มว​่ า่ เ​รอ่ื งใ​ด​โ​ดยเ​ฉพาะเ​รอ่ื งป​ ญั หาเ​ศรษฐกจิ ย​ คุ ป​ จั จบุ นั ​ป​ ญั หาเ​รอ่ื ง​ สุขภาพ​​ปญั หา​เรอื่ งค​ รอบครัว ป​ ญั หา​เร่ืองง​าน​​ปัญหาอ​ ะไร​ก็​แล้วแ​ ต​่ ​ ข้าพเจ้า​ขอ​แนะนำ​วธิ ีค​ ลาย​เครียด​ท​่ีดีท​ ส่ี ดุ ว​ ธิ ห​ี น่ึงค​ อื ​ให้หาม​ ุมส​ งบ​ ใน​บ้านข​ องท​ า่ น ห​ รอื จ​ ะเ​ป็นห​ อ้ งพ​ ระ​ก​็ยิ่ง​ด​ี ​ขอ​ให​ท้ า่ นน​ ่ัง​ที่​หน้าพ​ ระพทุ ธ​ รปู ​หรือ​รูปห​ ลวงป​ู่ด​ู่ ​จะล​ ืมตา​หลบั ตาก​ ต็ าม​แต่​อัธยาศัยค​ รับ​​สดู ล​ ม​หาย​ใจ​ ​ลึก​ๆ​ ​พอ​สบาย​ดีแล้ว​ก็​พูด​ระบาย​ความ​ใน​ใจ​ให้​ท่าน​ฟัง​​ความ​กลุ้ม​​ความ เครยี ด​จะ​ลดล​ งไ​ด้​ ​เหมือน​คน​ที่​ทาน​อาหาร​มาก​เกิน​ไป​จน​มี​แก๊ส​อยู่​เต็ม​ท้อง​ ​อึดอัด​ ไป​หมด​ ​หาก​ได้​ด่ืม​น้ำ​ขิง​ร้อน​หรือ​ทาน​ยา​ขับ​ลมเสีย​บ้าง​คงจะ​ดี​ ​เมื่อ​กาย​ สบายใจ​สบาย​ ​สมอง​ก็​จะ​ปลอด​โปร่ง​แจ่มใส​สบาย​กาย​สบายใจ​ ​และ​ สามารถ​มองเ​ห็นห​ นทาง​แก้ไข​ปัญหาไ​ด​้ด​ขี ึน้ ​ ​ เรา​เคยร​ ู้สกึ อ​ ยา่ งน​ ้กี​ ันบ​ า้ งไ​หม​ถ​ า้ ถ​ ามข​ ้าพเจ้า​ก​ต็ ้องข​ อ​ตอบอ​ ยา่ ง​ มนั่ ใจ​ว่า​ ​ “​เคย​ครับ​”​ ​ ข​ า้ พเจา้ เ​ชอื่ ว​ า่ ห​ ลวงปท​ู่ า่ นเ​มตตาค​ อยเ​ปน็ ก​ ำลงั ใ​จแ​ ละใ​หค​้ วามช​ ว่ ย​ เหลือ​เรา​เสมอ​​ขอใ​ห​เ้ รา​ตัง้ ใจ​แก​้ปัญหาด​ ว้ ย​สจุ ริตว​ ธิ ี​ ​ ไมม่ ี​ปญั หาใ​ด​ใน​โลก ​ทม​่ี นุ​ษย์กอ่ ​ข้นึ แ​ ล้ว​มนษุ ยจ​์ ะ​ไม​ส่ ามารถแ​ ก้ไข​ ได้​ข​ า้ พเจ้า​เชื่อ​อยา่ งน​ ี้​จริง​ๆ​ luangpordu.com

๙๘ 98 ๕​ ๘​ ​ ​อะไร​ได​้ ​อะไร​เสยี ​ คงไ​มม่ ใี​คร​ปฏิเสธไ​ด้ว​ ่า​ใน​ชวี ติ ​คน​เราน​ ้นั ​​ต้อง​ประสบค​ วาม​สูญเ​สยี ​ ทุก​คน​บ​ าง​คนส​ ญู ​เสียคนร​ ัก​​พอ่ ​​แม​่ ​ลกู ​เ​มยี ​ญ​ าต​ิ เ​พอื่ น​อ​ นั เ​ปน็ ​เหตแ​ุ หง่ ​ ความก​ ระทบก​ ระเทอื นท​ างจ​ ิตใจ​ที่ส​ ำคญั ย​ ิ่ง​ก​ ารส​ ญู ​เสีย​เงนิ ท​ อง​ข​ ้าวข​ อง​ ทรพั ยส​์ มบตั ​ิ ก​ เ​็ ปน็ ตน้ เ​หตห​ุ นงึ่ ข​ องค​ วามท​ กุ ขโ​์ ทมนสั อ​ นั ใ​หญห​่ ลวงข​ องอ​ กี ​ หล​ าย​ๆ​​คน​​ของท​ ี่เ​คย​มเี​คยไ​ด​้ ​กลบั เ​ป็น​ของ​ทไี่​มม่ ีไ​ม่​ได​้ ค​ นท​ เี่​คยร​ กั ​ตอ้ ง​ พลดั พ​ ราก​จาก​ไกล​กนั ​ก​ ารค​ า้ ​ทีเ​่ คยม​ ​ีกำไรก​ ลบั ​กลายเ​ป็น​ขาดทนุ ​เสียห​ าย​ จน​ทำใจ​ใหย้​ อมรับ​ได้ย​ าก​ ​ หาก​ยัง​จำ​กัน​ได้​ ​พระ​ราช​ดำรัส​ของ​พระบาท​สมเด็จ​พระเจ้า​อยู่​หัว​ ท​่ีพระราชทาน​เนอ่ื งใ​นโ​อกาสว​ นั เ​ฉลิมพ​ ระชนมพรรษา​ เ​มอ่ื ป​ ​ี ​๒๕๓๔​ ม​ ี​ ความ​ตอน​หนง่ึ ว​ า่ ​ ​“​การ​ขาดทนุ ข​ องเ​รา​​เปน็ การไ​ดก​้ ำไรข​ องเ​รา​​(​Our​l​oss​i​s​​our​​ gain​.​)​”​​ซ่ึงท​ า่ น​ไดอ้​ ธิบาย​ว่า​“​ ถ​ า้ ​เราท​ ำอ​ ะไรท​ ​ีเ่ ป็นการ​กระทำ​แ​ ลว้ เ​ราก​ ็​ เสีย​​แต่ใ​น​ทีส่ ุด​​ก็​ไอท้​ ​เี่ รา​เสยี ​นนั้ ​มนั ​เป็นการไ​ด​เ้ พราะ​วา่ ท​ าง​ออ้ ม​ได้​”​ ​เป็น​พระ​ราช​ดำรัส​ที่​มีค​ วามไ​พเราะ​​ลกึ ​ซึ้ง​​กนิ ใ​จย​ ่งิ ​นัก​ ​ สำหรบั น​ กั ป​ ฏบิ ตั แ​ิ ลว้ ​ถ​ า้ เ​ราพ​ รอ้ มท​ จ​่ี ะเ​รยี นร​​ู้ ท​ กุ ส​ ง่ิ ท​ กุ อ​ ยา่ งท​ ผ​ี่ า่ น​ luangpordu.com

99 ๙๙ เขา้ ม​ าใ​นช​ วี ติ ก​ จ​็ ะเ​ปน็ ค​ รข​ู องเ​รา ไ​มว​่ า่ จ​ ะเ​ปน็ การก​ ระทำท​ ถ​่ี กู ต​ อ้ ง​ห​ รอื ก​ าร​ กระทำท​ ​ผ่ี ดิ ​พลาด​​ส่ิง​ทไ่​ี ด​ม้ า​​สง่ิ ​ท่​ีเสยี ​ไป ​ความ​ทรงจ​ ำ​อนั ส​ วยงาม​หรอื ​ไม่​ งาม​​ส่งิ ท​ ​ย่ี งั ​ม​ีชีวิตอ​ ยูห​่ รือ​ส้นิ ไ​ปแ​ ล้ว​ก็ตาม​ ​ เสยี งข​ อง​หลวงปแ​ู่ วว่ ม​ า​ใน​ความ​คดิ ค​ ำนงึ ​ของ​ขา้ พเจา้ ​ทนั ท​ี “​ ถ​ กู เ​ปน็ ค​ ร​ู ผ​ ดิ ก​ เ​็ ปน็ ค​ ร”​ู ​แ​ ตผ​่ ดิ เ​ปน็ ค​ รท​ู ด​่ี ก​ี วา่ เ​พราะท​ ำใหเ​้ ราไ​มป​่ ระมาท​ใหผ​้ ดิ ว​ นั ​ น ี้​ ​เปน็ ถ​ ูกข​ องว​ ัน​หนา้ ​ใ​หส​้ ่ิงท​ เ​่ี สียไ​ป​​คอื ส​ ง่ิ ​ทีไ่​ดม​้ า​อ​ ย่างท​ ี​ใ่ นหลวง​ท่าน*.​​.​​. ​ได้ม​ อบ​ไว้​ใหพ​้ วกเ​รา​ ​ luangpordu.com

๑๐๐ 100 ​๕๙​ ​ ​ความ​สำเรจ็ ​ “​.​.​.​เม่อื ​ประสบ​ความส​ ำเรจ็ ​​สงิ่ แ​ รก​ก็​คือ​​ดใี จจ​ น​ลืมตัวแ​ ละ​โง​ล่ ง​ใน​ บางอ​ ย่าง​ส​ ำหรบั ​จะป​ ระมาท​ห​ รือส​ ะเพรา่ ใ​นอ​ นาคต​​ความส​ ำเรจ็ ​เปน็ ​ครู​ ท่ี​ดี​น้อย​กว่า​ความ​ไม่​สำเร็จ​ ​แต่​มี​เสน่ห์​จน​คน​ท่ัวไป​เกลียด​ความ​ไม่​สำเร็จ​ เมอ่ื ไ​มป​่ ระสบค​ วามส​ ำเรจ็ ​เ​ราจ​ ะไ​ดอ​้ ะไรท​ ม​่ี ค​ี า่ ม​ ากก​ วา่ ​เ​มอ่ื ป​ ระสบค​ วาม​ สำเรจ็ ไ​ปเ​สยี อ​ กี ​แ​ ตค​่ นท​ วั่ ไปม​ องใ​นแ​ งล​่ บ​เ​หน็ เ​ปน็ ค​ วามเ​สยี ห​ าย​แ​ ละเ​กดิ ​ ทกุ ข์​ใหม​เ่ พ่มิ ​ขน้ึ ​อกี ​เ​ปน็ ​โชคร​ ้าย​ไปเ​สีย​โนน่ ​ ​ ถา้ ต​ อ้ นรบั ค​ วามไ​มส​่ ำเรจ็ อ​ ยา่ งถ​ กู ต​ อ้ ง​ม​ นั จ​ ะม​ อบค​ วามร​ท​ู้ จ​ี่ ะท​ ำให​้ ประสบค​ วามส​ ำเร็จถ​ ึงทส่ี​ ดุ ใ​นก​ าลข​ ้างห​ นา้ ​​จนก​ ลายเ​ป็น​ผ้ท​ู ำ​อะไรส​ ำเร็จ​ ไป​หมด.​​.​.​”​ ​ สว่ นห​ นง่ึ ข​ องข​ อ้ เ​ขยี นป​ ชู นยี บ​ คุ คล​“​ ท​ า่ นพ​ ทุ ธท​ าส”​ ​ซ​ งึ่ แ​ สดงไ​วใ​้ น​ หอ้ งน​ ทิ รรศการเ​กยี่ วก​ บั ​“​ ช​ วี ติ ผ​ ลง​านท​ า่ นพ​ ทุ ธท​ าส”​ ​ณ​ ​อ​ าคารค​ ณะธ​ รรม​ ทาน​ท​ ต​่ี งั้ อ​ ยห​ู่ นา้ ป​ ระตด​ู า้ นท​ ศิ ใ​ตข​้ องวดั ธ​ ารน​ ำ้ ไ​หล​ห​ รอื เ​ปน็ ท​ ร​ี่ จู้ กั ม​ กั ค​ นุ้ ​ ใน​นาม​​“ส​ วนโ​มก​ขพ​ ลาร​ าม​”​แ​ ห่ง​ต​ ำบลพ​ มุ เ​รียง​อ​ ำเภอไ​ชยา​​จงั หวดั ​ สรุ าษฎรธ์ าน​ี luangpordu.com

101 ๑๐๑ ​ ม​ พ​ี ระส​ ตู รท​ พ​่ี ระพทุ ธเจา้ แ​ สดงแ​ กอ​่ นาถบ​ ณิ ฑกิ​ เ​ศรษฐใ​ี นเ​รอื่ งค​ วาม​ ปรารถนาข​ องม​ นษุ ยท์​ ​จ่ี ะ​ทำให​้สำเร็จ​สมหวัง​ไดย้​ าก​​๔​ป​ ระการ​ค​ อื ​ ​ ขอ​ใหส้​ มบตั จ​ิ ง​เกิดม​ ีแ​ กเ่​รา​ในท​ าง​ทีช​่ อบ​ ​ ขอย​ ศจ​ งม​ แี​ ก่เ​รา​และญ​ าตพ​ิ ​นี่ อ้ ง​ ​ ขอ​ให้เ​ราเ​ปน็ ​ผูม​้ ีอาย​ยุ นื นาน​ ​ เมื่อ​ตายจ​ ากโ​ลก​นีไ้​ป​ข​ อ​ใหเ้​ราไ​ด​ไ้ ปเ​กิด​ในส​ วรรค​์ ​ ความป​ รารถนาท​ ง้ั ​๔​ ​ข​ อ้ ท​ ก​่ี ลา่ วม​ าน​ ​้ี จ​ ะส​ มหวงั ไ​ดม​้ ใิ ชด​่ ว้ ยเ​หตเ​ุ พยี ง​ ปรารถนา​อ้อนวอน​มิได้​ทำ​อะไร​เลย​หรือ​ทำ​อะไร​ท่ี​ไม่​ตรง​เหตุ​ ​ผล​ย่อม​ไม่​ บงั เกิด​ค​ วามส​ ำเรจ็ ​ในช​ ีวิตย​ อ่ มเ​กิด​จาก​การว​ างแผน​ทด​ี่ ​ี ​มิใช​ท่ ำเหต​เุ พียง​ เลก็ ​น้อย​แต​ห่ วังผ​ ลไ​ว้ส​ วย​หรู​ ​ ถ้า​เข้าใจ​ว่า​ ​ไม่มี​อะไร​ที่​มี​ค่า​แล้ว​ได้​มา​ง่าย​ ​ๆ​ ​ก็​จะ​ไม่​หมด​กำลัง​ใจ​​ อยาก​ได้​ผลอ​ย่าง​ไร​ ​ควร​สร้าง​เหตุ​ให้​เกิด​ผลอ​ย่าง​นั้น​ด้วย​ความ​อุตสาห​ะ​ พยายามอ​ ยา่ งเ​ต็ม​ท่ี​ ​ในโ​ลก​น​ี้.​.​.​ไมม่ อี​ ะไรฟ​ รี​ครับ​!​​ luangpordu.com

๑๐๒ 102 ๖​ ๐​ อ​ ารมณ​์ขนั ข​ อง​หลวงป​ู่ ​ญาติโยม​คณะ​หน่งึ ​ ​เป็นก​ล่มุ ​ท่​ีชอบ​แสวงหา​พระ​หา​เจ้า​ ​หลวง​ปู่​​ หลวงพอ่ องค​ไ์ หน​ท​ว่ี า่ ด​ งั ว​า่ ​ด​ี ​ม​คี นข​ น้ึ ก​ นั ​มาก​โ​ยมค​ ณะน​ จ​้ี ะ​พาก​ นั ​ไปก​ ราบ​ ไหว​้ ไ​ปท​ ำบญุ ​กนั ​​และก​ เ​็ ปน็ ​ธรรมดา​​ทห​่ี ลายค​ น​ท​น่ี บั ถอื ห​ ลวงปด​ู่ ​ู่ ใ​นฐ​ านะ​ท่​ี เปน็ เ​กจ​อิ าจารย​ด์ งั ​ค​ ดิ ว​า่ ท​ า่ น​คงใ​หห​้ วย​เบอร​เ์ หมอื น​อยา่ ง​อาจารย​บ์ างอ​ งค​์ เ​มอื่ ส​ บโ​อกาส​โ​ยมค​ นห​ นงึ่ ก​ เ​็ ขา้ ม​ ากร​าบเ​รยี นข​ อห​ วยจ​ ากห​ ลวงป​ู่ ใ​น​ วนั น​ นั้ เ​ผอิญข​ า้ พเจา้ ไ​ด้ม​ โี​อกาสม​ า​กราบ​นมัสการห​ ลวงปู่​อยู​ด่ ้วย​ห​ ลวงป่​ู มอง​หน้า​โยม​คน​น้ัน​ ​พร้อม​กับ​ช้ี​มือ​ไป​ที่​ปฏิทิน​ราย​เดือน​ที่​มี​รูป​ในหลวง​ แบบท​ ธ​ี่ นาคารท​ งั้ ห​ ลายช​ อบแ​ จก​ซ​ งึ่ ต​ ดิ อ​ ยข​ู่ า้ งฝ​ าท​ ด​ี่ า้ นห​ ลงั ท​ า่ น​แ​ ลว้ ท​ า่ น​ ก​็วา่ ​“​นน่ั แ​ หละ​แ​ กไ​ป​สลับเ​ลขเ​อา​เอง​​ม​ีเลขร​ างวัลค​ รบท​ กุ ต​ วั ​​ข้าใ​ห​ต้ ้งั ​ แต​่รางวัลท​ ​่ีหนึง่ ​ย​ ันเ​ลข​ท้าย​สองต​ วั ​เลย​​ถา้ ไ​มถ่​ ูก​​ใหม้​ า​ด่า​ขา้ ​ได”​้ ​ ​ข้าพเจ้า​ขำ​จน​แทบ​กลิ้ง​ ​แต่​โยม​ท่ี​ขอ​หวย​จาก​หลวงปู่​คง​ขำ​ไม่​ออก​ และ​คง​เขด็ ​​ไม​ก่ ลา้ ข​ อห​ วย​จากห​ ลวงปไ​ู่ ป​อกี น​ าน​ ​หลัง​จาก​ท่ี​โยม​คน​น้ัน​กลับ​ไป​แล้ว​ ​หลวงปู่​ได้​ให้​โอวาท​กับ​ศิษย์​ที่​ เหลอื ​และข​ า้ พเจ้าว​ า่ ​ ​ “​คน​เราน​ ่ก​ี ​แ็ ปลก​​ใหธ​้ รรมะ​ของดี​ไม่​เอา​​จะเ​อาแต่ห​ วย​เบอร​.์ ​.” luangpordu.com

103 ๑๐๓ ​๖๑​ ข​ อง​หาย​ าก​ ​เมอื่ ​วันท​ ​ี่ ๘​ ​​พฤศจิกายน​​พ​.​ศ​.​​๒๕๓๐​​มเ​ี ร่อื งป​ ระทับ​ใจ​ที่​ขา้ พเจ้า​ ต้อง​บันทึก​ไว้​เร่ือง​หนึ่ง​ ​คือ​วัน​ท่ี​ข้าพเจ้า​ได้​รับ​ตะกรุด​ของ​หลวงปู่​ ​หรือ​ที่​ เรยี ก​กันใ​น​หม​ลู่ ูกศ​ ษิ ยข​์ องท​ า่ นว​ ่า​​“​ตะกรุด​มหาจกั ร​พร​รด​”์ิ ​เ​ร่ือง​มีอ​ ยว​ู่ า่ ​ ​ วนั น​ น้ั ม​ ค​ี นม​ ากร​าบน​ มสั การห​ ลวงปจ​ู่ ำนวนม​ าก​ห​ ลงั จ​ ากท​ ข​่ี า้ พเจา้ ​ ไดก​้ ราบห​ ลวงปแ​ู่ ละข​ อโ​อกาสห​ ลกี ม​ าน​ งั่ ภ​ าวนาท​ ห​ี่ อส​ วดม​ นต​์ ส​ กั ค​ รใ​ู่ หญ​่ กอ่ นท​ จ​่ี ะเ​ลกิ ภ​ าวนา​จๆู่ ​ก​ ม​็ น​ี มิ ติ เ​ปน็ อ​ งคห​์ ลวงปด​ู่ ล​ู่ อยเ​ดน่ ​พ​ รอ้ มร​ ศั มก​ี าย​ สวา่ งไสวอ​ ยเ​ู่ บอ้ื ง​หนา้ ​ขา้ พเจา้ ​แ​ ละม​ ​เี สยี งท​ า่ น​บอกข​ า้ พเจา้ ว​ า่ ​​“​ขา้ ใ​ห​แ้ ก”​ ​ ใน​ขณะน​ น้ั ข​ ้าพเจ้าไ​มไ​่ ดน้​ กึ ​แปล​ความห​ มายน​ ิมิตเ​ป็น​อ่ืน​ใด​เ​ข้าใจ​ เพียง​ว่า​ท่าน​คง​ให้​ธรรมะ​กับ​เรา​ ข้าพเจ้า​บังเกิด​ความ​ปีติ​มาก​ ​หลัง​จาก​ เลกิ ภ​ าวนาแ​ ลว้ ข​ า้ พเจา้ ไ​ดเ​้ ดนิ ไ​ปห​ ลงั ว​ ดั เ​พอื่ ไ​ปน​ มสั การห​ ลวงน​ า้ ส​ ายห​ ยดุ ​ ระหวา่ งท​ างผ​ า่ นก​ ฏุ ข​ิ องห​ ลวงพ​ อ​ี่ งคห​์ นง่ึ ซ​ งึ่ เปน็ พ​ ระภ​ กิ ษท​ุ ข​ี่ า้ พเจา้ เ​คยเ​หน็ ​ ท่าน​อยู่​ที่​วัด​สะแก​หลาย​ปี​ ​แต่​ไม่​เคย​ได้​สนทนา​อะไร​เป็น​กิจจะลักษณะ​ กับ​ท่าน​มา​ก่อน​เลย​ประการ​หน่ึง​ ​และ​ไม่​เคย​เอ่ย​ปากขอ​อะไร​จาก​ท่าน​ อีก​ประการ​หน่ึง​ ​แต่​วัน​น้ัน​นับ​เป็น​เหตุการณ์​ประหลาด​อัศจรรย์​สำหรับ​ ข้าพเจา้ ​​ท่ีห​ ลวง​พเ​่ี กดิ ​นึก​เมตตา​ขา้ พเจา้ ​อย่าง​กะทนั หัน​ท​ ่าน​บอกข​ า้ พเจา้ ​ luangpordu.com

๑๐๔ 104 ว่า​ เด๋ียว​ก่อน​ ​จาก​น้ัน​ท่าน​กลับ​เข้าไป​ใน​กุฏิ​ช่ัว​อึดใจ​ ท่าน​ออก​มา​พร้อม​ กบั ​พระ​ผง​แบบ​หยดน​ ้ำร​ ปู ​พระพทุ ธเจา้ ​และร​ ูปห​ ลวงปู่ด​ ่​ู ๒-๓ อ​ งค​์ แ​ ละ​ ตะกรุด​ขนาด​เล็ก​กระ​ทัด​รัด​ของ​หลวงปู่​ยื่น​ให้​ข้าพเจ้า​และ​บอก​ว่า​ ​“​ของ​ หลวง​ป​ู่ ​เก็บเ​อา​ไวใ้​ช​้”​ ​ เป็น​ที่​แปลก​ใจ​ย่ิง​สำหรับ​ข้าพเจ้า​ท่ี​เหตุการณ์​เกิด​ข้ึน​ภาย​หลัง​จาก​ ที่​ข้าพเจา้ ​ได​้นิมติ ว​ า่ ​ได้ร​ ับ​“​ อ​ ะไร​”​จ​ าก​หลวงป​ู่เมื่อ​หา้ น​ าท​ที ​่ีผา่ นม​ า​ ​ข้าพเจา้ ​ได้​มาเ​รียนเ​ร่อื ง​น้ีถ​ วายใ​ห​ห้ ลวงป​่ฟู งั ​ ​ ทา่ นย​ งั ​ได​้ใหโ​้ อวาทข​ า้ พเจ้าอ​ ีก​ว่า​..​.​​ ​ “.​​..​ท​ ว่ี​ ่า​ข​ ้าใ​ห​แ้ ก​นน้ั ​ข​ า้ ​ใหพ้​ ทุ ธ​งั ​​ธัมมงั ​​สังฆงั​​​ส่วนเครือ่ งราง​ ของ​ขลัง​ภายนอก​นั้น​หาไม่​ยาก​ ​พระ​พุทธ​ัง​ ​ธัมมัง​ ​สังฆั​ง​ ​หา​ยาก​กว่า​ แ​ ก​ไปต​ รอง​ดใู​ห้​ดเ​ี ถอะ​”​ ​ ​ luangpordu.com

105 ๑๐๕ ๖​ ๒​ ค​ น​หา​ยาก​ ​ ​ใน​พระพุทธศ​ าสนาไ​ด​พูดถ​ ึงบ​ คุ คลห​ าไ​ด​ยาก​ในโ​ลก​นม​้ี ​ี ๒​ ​ป​ ระเภท​ คอื ​บ​ พุ การ​ี ​และ​บุคคล​ผู​มก​ี ตัญ​ ก​ู ตเวที​ ​ บ​ พุ การ​ี ห​ มายถ​ งึ บ​ คุ คลผ​ ท​ู ำอ​ ปุ ก​ าระ​ กอ​ นห​ รอื ค​ อื ผ​ ม​ู พ​ี ระคณุ น​ น่ั เอง​ ไดแ​ ก​ ​พระพทุ ธเ​จ​า​ค​ รูอ​ าจ​ าร​ย​ ม​ ารดาบ​ ิดา​​และพ​ ระม​ หาก​ ษตั รยิ​ ท​ ท่​ี รง​ ​ทศ​พ​ธิ รา​ช​ธรรม​ใ​น​ท่นี​ จ​้ี ะ​ขอพ​ ดู ถ​ ึงพ​อแม​ข องเ​รา​ ​ ใน​มงคล​สูตร​ได​กล​าว​ไว​ตอน​ห​นึ่ง​ว​า​ ​มา​ตาป​ตุ​อุป​ฏ​ฐานั​ง​ ​เอตัมมัง​ คะ​ละ​มตุ ต​ ะมงั ​​การ​บำรงุ ม​ ารดา​และ​บด​ิ าเป​น มงคล​สงู สดุ ใ​นช​ ว​ี ต​ิ อยา​ ง​หนง่ึ ​ ม​ ผี ก​ู ลา​ ววา​ ​“​ ว​ นั แ​ ม”​ ​ส​ ำหรบั ล​ กู ห​ ลายๆ​ ​ค​ นม​ ว​ี นั เ​ดยี วใ​นห​ นง่ึ ป​ ​ แ​ ต​ สำหรบั แ​ ม​แ ล​ว ​“​ ว​ ันล​ กู ”​ ​ม​ ีอยท​ู ุกว​ ัน​ ​ ความ​ข​อ​นี้​เป​น​จริง​อย​าง​ที่​ไม​มี​ใคร​อาจ​ปฏิเสธ​ได​ ​โดย​ทั่วไป​แล​ว​​ ความร​ ัก​ท​แ่ี ม​ม ีต​อ ล​ กู ​นัน้ ​​ย​อมม​ ​มี าก​ กวา​ ​ความ​รักท​ ี่​ลกู ​มตี ​อแม​ ​ใน​บท​สวด​ เทวต​ าทิสส​ทัก​ขิณา​นุโมท​ นา ไ​ด​กล​าวเ​ปรยี บ​ไว​วา​ ​​ “...​มาต​ าป​ ุตต​ ัง​ว​ ะ​โ​อระสงั ​เ​ท​วะต​ าน​ุกัมป​โต.​.​.​”​ ​ ​คำแ​ ปล​ตอน​หนง่ึ ​ของบ​ ท​สวดม​ ​คี วาม​ว่า​ ​“​.​.​.​บัณฑิต​ชาติ​อยู่​ใน​สถาน​ท่ี​ใด​ ​พึง​เชิญ​ท่าน​ท่ี​มี​ศีล​สำรวม​ระวัง​​ luangpordu.com

๑๐๖ 106 ประพฤตพ​ิ รหมจ​ รรยใ​์ นท​ น​่ี น้ั ​เ​ทวดาเ​หลา่ ใ​ดม​ ใ​ี นท​ น​่ี น้ั ​ควรอ​ ทุ ศิ ท​ กั ษณิ าทาน​ เพื่อท​ า่ นเ​หลา่ น​ ้นั ​ด้วย​ ​เทวดาท​ ไ​่ี ด​้บชู าแ​ ล้วน​ ับถือแ​ ลว้ ​ ท​ ่าน​ย่อม​บูชา​บ้าง​​ ย่อมน​ บั ถือ​บา้ ง​ท​ า่ นย​ ่อม​อนุเคราะห​์เขา​ประ​หนง่ึ ​​มารดาอ​ นุเคราะห์บ​ ุตร​ ผู้​เกิด​จาก​อก​ ​ผู้​ที่​ได้​อาศัย​เทวดา​อนุเคราะห์​แล้ว​ ​ย่อม​มี​แต่​ความ​เจริญ​ ​ทุกเ​ม่อื ​”​ ​ มารดา​บิดา​เป็น​พระ​พรหม​ของ​ลูก​ ​เป็น​ครู​อาจารย์​คน​แรก​ของ​ลูก​​ และ​เปน็ เ​ทวดา​องคแ์​ รกข​ อง​ลกู ​​จงึ ​เปน็ ​ผู​้ควร​รับ​การ​สัก​การ​ะบ​ ชู า​จาก​ลกู ​ ​ พระพทุ ธเจา้ ไ​ด​ส้ อนไ​ว​้ใน​“​ ​มาตา​ปิต​คุ ณุ ส​ ตู ร​”​​วา่ ​ ​ บตุ รไ​มอ​่ าจต​ อบแทนค​ ณุ แ​ กม​่ ารดาบ​ ดิ าน​ นั้ ​ใ​หส​้ นิ้ ส​ ดุ ไ​ดโ​้ ดยป​ ระการ​ ใด​ๆ​ ​ด​ ว้ ยอ​ ปุ การะอ​ นั เ​ปน็ โ​ลกยี ะ​ ​แ​ มจ​้ ะท​ ำใหท​้ า่ นท​ งั้ ส​ องน​ ง่ั อ​ ยบ​ู่ นบ​ า่ ข​ วา​ บน​บ่า​ซ้าย​ของ​ลูก​ ​ลูก​ปรนนิบัติ​ดูแล​ท่าน​ตลอด​หน่ึง​ร้อย​ปี​ ​ก็​ไม่​สามารถ​ ตอบแทน​บุญ​คุณ​ท่าน​ได้​ ส่วน​บุตร​คน​ใด​ทำให้​มารดา​บิดา​ผู้​ไม่มี​ศรัทธา​ ให้​ตั้ง​อยู่​ในศ​ รัทธา​​ทำให้​มารดา​บดิ า​ผ้ไู​มม่ ศ​ี ีลใ​ห้​ตั้งอ​ ยใ​ู่ นศ​ ีล​ท​ ำให้ม​ ารดา​ บดิ าผ​ ​มู้ ีค​ วามต​ ระหน่ถ​ี ่เ​ี หนียวใ​ห​้ต้ังอ​ ยใู​่ นจ​ าคะ​​ทำให​ม้ ารดาบ​ ิดา​ผมู้​ คี​ วาม​ หลงใ​หต​้ ง้ั อ​ ยใ​ู่ นป​ ญั ญาส​ มั มาท​ ฏิ ฐ​ิ บ​ ตุ รน​ นั้ จ​ งึ จ​ ะไ​ดช​้ อ่ื ว​ า่ ไ​ดท​้ ำการต​ อบแทน​ บญุ ​คณุ ​ของ​มารดา​บิดาอ​ ยา่ ง​เตม็ ท​ ​่ี ​ ลกู ท​ ไ​ี่ มม่ ค​ี วามฉ​ ลาดย​ อ่ มไ​มเ​่ หน็ ค​ ณุ คา่ ค​ วามร​กั ข​ องพ​ อ่ แ​ มท​่ ม​ี่ ต​ี อ่ ล​ กู ​ ลกู ​ที​่มี​ความฉ​ ลาด​ย่อมเ​ห็นค​ ณุ คา่ ​ของส​ งิ่ เ​หลา่ ​นต​้ี ั้งแ​ ต่​พ่อแ​ มย​่ ัง​มชี​ วี ิต​อยู่​ วันน​ .้​ี .​​.​เราไ​ดท้​ ำ​ส่งิ ​ดี​​ๆ​ใ​หพ​้ ่อก​ บั ​แม​.่ ​..​แ​ ล้ว​หรอื ​ยัง​ luangpordu.com

107 ๑๐๗ ๖​ ๓​ ​ด้วยร​ ักจ​ าก​ศิษย์​ ​.​.​.​หลวงปู่​ครับ​ ​ถ้า​หาก​หมุน​เข็ม​นาฬิกา​ให้​เดิน​ย้อน​กลับ​ได้​ ​ผม​ขอ​ หมนุ ก​ ลบั ไ​ปเ​ปน็ ป​ ​ี พ​ .​ศ​ .​​๒​ ๕๒๕​ป​ ท​ี พ​ี่ วกเ​ราไ​ดเ​้ รม่ิ ม​ ากร​ าบห​ ลวงป​ู่ ร​ อยย​ มิ้ ​ และ​ภาพ​อากัปกิริยา​ของ​หลวงปู่​เม่ือ​คราว​ที่​สอน​พวก​เรา​ ​หลวงปู่​หัวเราะ​ และเ​อาม​ อื ต​ บท​ ห​ี่ นา้ ต​ กั พ​ วกเ​ราย​ งั จ​ ำไ​ดด​้ ​ี พ​ วกเ​ราย​ งั จ​ ำไ​ด​้ แ​ ละจ​ ะพ​ ยายาม​ ทำ​ตาม​ท​่หี ลวงปส่​ู อน​​ไม่ใ​ห้​ถอย​หลัง​ไ​ม่​ให​้หลวงปูต่​ อ้ ง​ผิด​หวัง​ครบั ​ .​.​.​ห​ ลวงปข​ู่ า​ห​ ลวงปเ​ู่ คยบ​ อกว​ า่ ป​ ฏบิ ตั ม​ิ ากๆ​เ​ถอะจ​ ะด​ ​ี ส​ มบตั น​ิ อก​ กาย​ไม​่จรี ัง​ก​ ิน​เขา้ ไปเ​ดี๋ยวก​ ​ข็ อ​้ี อกม​ า​เ​สอ้ื ผา้ ส​ วย​ๆ​​หาม​ าแ​ ต่ง​เ​ดี๋ยว​ก​็ต้อง​ ทง้ิ ​เ​งนิ ต​ อนต​ ายญ​ าตเ​ิ อาใ​สป​่ ากส​ ปั เหรอ่ ก​ เ​็ อาไ​ปซ​ อื้ เ​หลา้ ​เ​สอ้ื ผา้ ก​ ถ​็ อดอ​ อก​ เหลือ​แตต​่ วั ​เปล่า​ใหเ​้ ขาเ​อา​ไป​เผา​.​.​​.​ท่แี ท​้เรา​ไมม่ อี​ ะไร​สกั อ​ ยา่ ง​ ​ ..​.​ห​ ลวงปเ​ู่ จา้ ค​ ะ​ห​ นร​ู ตู้ ว​ั ด​ ว​ี า่ ใ​จต​ วั เ​องถ​ า้ เ​ผลอ​ม​ นั ก​ จ​็ ะล​ งต​ ำ่ อ​ ยร​ู่ ำ่ ไป​ ถ้า​ไม่มี​หลวงปู่​คอย​เป็น​กำลัง​ใจ​ ​ขอ​หลวงป่​ูอยู่​เป็นก​ ำลังใ​จ​ให้​หนู​ตลอด​ไป​ นะคะ​ .​.​.​ห​ ลวงป​ ค​ู่ รบั ​ไ​ดเ​้ จอะเ​จอห​ ลวงป​ ใ​ู่ นช​ วี ติ น​ ผ​้ี มถ​ อื เ​ปน็ บ​ ญุ ห​ ลาย​พ​ ระ​ ทา่ นว​ า่ ​ป​ ชู า​จ​ ะ​ป​ ช​ู นย​ี านง​ั เ​อตมั มงั คะล​ ะม​ ตุ ต​ ะมงั ​​ก​ ารบ​ ชู าบ​ คุ คลท​ ค​่ี วร​ บชู า​​เป็นม​ งคล​สงู สุดข​ องช​ ีวติ ​ luangpordu.com

๑๐๘ 108 ​.​.​.​ไดม้​ า​เจอ​หลวงป​ ​ู่ ​ผม​ถือวา่ ​ไมเ่​สียช​ าติ​เกดิ แ​ ล้ว​ครับ​ ​ หลวงปค​ู่ รบั .​.​.​ใ​ครจ​ ะค​ ดิ ว​ า่ ห​ ลวงปด​ู่ ก​ู่ บั ห​ ลวงป​ ทู่ วดเ​ปน็ อ​ งคเ​์ ดยี วกนั ​ หรอื ​ไม่​​ผม​ไม่ส​ นใจห​ รอกค​ รบั ​ ห​ ากห​ ลวงปเ​ู่ ปน็ ห​ ลวงป​ ทู่ วดจ​ รงิ ​ๆ​ ​ผ​ มถ​ อื วา่ พ​ วกเ​ราโ​ชคด​ ท​ี สี่ ดุ ค​ รบั ​ ความท​ ห​่ี ลวงป.​ู่ .​.​เ​ปน็ ห​ ลวงปด​ู่ …​ู่ อ​ ยา่ งเ​ดยี ว​ก​ ท​็ ำใหผ​้ มร​กั แ​ ละเ​คารพห​ ลวงป​ู่ จน​เตม็ ล​ น้ ห​ วั ใจ​ไม่มีอ​ ะไร​จะ​ทำให้​เต็ม​ไป​กวา่ ​น​้ีอีกแ​ ลว้ ​ครับ​ luangpordu.com

109 ๑๐๙ ๖​ ๔​ ​ด้วย​รัก​จากห​ ลวงปู​่ ​ เมอ่ื ค​ รง้ั ท​ ห​่ี ลวงปอ​ู่ าพาธใ​นช​ ว่ ง​๒​ ​-​​๓​ ​ป​ ​ี ก​ อ่ นท​ ท​่ี า่ นจ​ ะจ​ ากพ​ วกเราไ​ป​ คุณ​ธรรม​อัน​โดด​เด่น​คือ ​ความ​อดทน​และ​ความ​เมตตา​ของ​ท่าน​ย่ิง​ชัดเจน​ ใน​ความ​รูส้ ึก​ของข​ า้ พเจ้า​ ​ บ่อย​ครั้ง​ท่ี​ศิษย์​จอม​ขี้แย​อย่าง​ข้าพเจ้า​ ​ไม่​สามารถ​ที่​จะ​กลั้น​น้ำตา​ ไวไ​้ ดใ​้ นค​ วามค​ ดิ ค​ ำนงึ ว​ า่ ไ​อค​้ วามข​ เ​้ี กยี จ​ค​ วามไ​มเ​่ อาไ​หนไ​มเ​่ อาถ​ า่ นข​ องเ​รา​ ทำให้​ท่าน​ต้อง​ทน​น่ัง​แบก​ธาตุ​ขันธ์​ท่ี​เจ็บ​ป่วย​สอน​ศิษย์​โง่​ๆ​ ​อย่าง​เรา​ ​ทั้ง​ อบรม​ก็​แลว้ ​​พร่ำส​ อนก​ ็แ​ ลว้ ​ว​ า่ ก​ ล่าว​ตกั ​เตือนก​ แ​็ ลว้ ​ศ​ ษิ ยจ์​ อมข​ ี​เ้ กียจ​ก​็ยัง​ ไม่​สามารถเ​อาต​ ัว​เองเ​ปน็ ท​ ี​พ่ งึ่ ​ได้​ ​ สรีระ​ของห​ ลวงป​เู่ ปล่ยี นแปลง​ผ​ า่ ยผ​ อม ​และ​ซบู ซดี ​ลง​แ​ ต​ต่ รง​กนั ​ ขา้ มก​ บั ก​ ำลงั ใ​จข​ องท​ า่ นท​ เ​ี่ ออ่ ล​ น้ ด​ ว้ ยค​ วามร​ กั แ​ ละห​ ว่ งใยศ​ ษิ ย​์ ทก​่ี ลบั เ​พมิ่ ​ ทวีคณู ​ขน้ึ ​ใน​หัวใจ​ของ​ท่าน​จ​ น​ยาก​ท่​ีศิษยท​์ กุ ​ชีวิต​จะป​ ฏิเสธไ​ด​้ใน​ความร​ กั ​ และ​ปรารถนา​ดข​ี อง​ท่าน​ ​ใน​โลก​ของ​ข้าพเจ้า​ ​ความ​รัก​ของ​หลวงปู่​ยิ่ง​ใหญ่​อย่าง​ย่ิง​ ​แต่​ส่ิง​ที่​ สำคญั ​ยิ่ง​กวา่ ค​ อื ​​ท่านส​ อนใ​ห​้ศษิ ย์​ทง้ั ​หลาย​รูจ้ ักว​ ิธ​ีทีจ​่ ะห​ ยิบย​ ่ืน​ความร​ กั ​..​​.​ ความป​ รารถนา​ด.​ี .​.​ใ​ห​้กบั ค​ น​รอบข​ า้ ง​​ดงั ท​ ่ีท​ า่ น​ไดป​้ ฏิบตั ิเ​ปน็ ​แบบอ​ ย่างไ​ด้​ luangpordu.com

๑๑๐ 110 อยา่ ง​เหมาะ​สม​และ​กลมกลืน...​อ​ ย่างส​ มำ่ เสมอ​และ​ยาวนาน​​และ​ยืนยัน​ คำ​พดู ข​ อง​ท่านท​ ีว่​ ่า​..​.​​ ​ “​แก​คิดถงึ ​ข้า​ข​ า้ ​ก็​คิดถงึ ​แก​ ​ แก​ไม​ค่ ดิ ถึงข​ ้า​ข​ า้ ก​ ​ย็ งั ค​ ิดถงึ ​แก​”​ luangpordu.com

111 ๑๑๑ ๖​ ๕​ ​จ้ิงจก​ทัก​ ​พูด​ถึง​เร่ือง​ลาง​สังหรณ์​แล้ว​ ​คน​โบราณ​เช่ือ​ปรากฏการณ์​ต่างๆ​ ​ที่​ ผดิ ไ​ป​จากช​ วี ติ ป​ ระจำ​วัน​​อยา่ งเ​ช่น​ก​ ารเ​ขมน่ ​ตา​อ​ าการ​กระตุก​ท่​ีเปลือก​ ตา​​การจ​ าม​ห​ รอื ​การ​ท่จี​ งิ้ จก​ตก​ใส​่ ​ม​ีงูห​ รอื ​สตั ว​์บางอ​ ย่าง​เข้าบ​ า้ น​ถือ​เป็น​ ส่ิง​บอก​เหตุ​เช่น​กัน ​ ​คน​สมัย​ก่อน​เช่ือ​เร่ือง​จ้ิงจก​ทัก​อยู่​มาก​ ​เวลา​สั่ง​สอน​ หรือ​ห้าม​ปราม​ใคร​ไม่​ฟัง​แล้ว​มัก​พูด​ว่า​ ​แม้​จ้ิงจก​ทัก​โบราณ​ยัง​เชื่อ​ ​คน​ทัก​ ทำไม​ไม​เ่ ช่อื ​ ​หลวงปู่​เคย​บอกใ​ห​ศ้ ษิ ย​์ฟัง​ว่า​​ถา้ ข​ า้ ไ​ป​หา​พวก​แก​ใ​ห้​ฟงั ​เสียงจ​ ิ้งจก​ ใหด​้ ี มี​ศษิ ย​ผ์ ห​ู้ นง่ึ ถ​ ามว​ ่า​ท​ ำไม​ต้อง​เป็น​จงิ้ จกค​ ะ​ท​ ่าน​ตอบ​ว่า​ ​ลอง​นึกด​ูว่า​​หาก​แกส​ วด​มนตไ​์ หว้พ​ ระ​อยทู่​ ี​่บ้าน​​จู่ๆ​​ขา้ ก​ ็ม​ าท​ีบ่ ้าน​ แก​จ​ ะ​เป็นย​ งั ​ไง​ ​ ก​็ชอ็ ค​ซเ​ิ จา้ ค​ ะ​ศ​ ิษย​ต์ อบ​ ​ ก​็นัน่ น​ ะ่ ​ซิ​ห​ ลวงปู่​ตอบ​และย​ ิม้ เกลอื่ น​ดว้ ยเ​มตตา ​เป็นบ​ ท​สรปุ แ​ ทน​ คำ​ตอบ​ ​ ผู้​หลัก​ผู้ใหญ่​ที่​มี​ประสบการณ์​ผ่าน​ร้อน​ผ่าน​หนาว​ ​ท่าน​มัก​มี​ความ​ ปรารถนา​ดี​เมื่อ​เห็น​ผู้​น้อย​จะ​คิด​ ​จะ​พูด​ ​จะ​ทำ​ใน​สิ่ง​ที่​ไม่​ควร​ ท่าน​จึง​ luangpordu.com

๑๑๒ 112 เตือน​หรือ​ปราม​ไว​้ลว่ ง​หนา้ ​ ​เปน็ ​ทำนอง​กนั ​ไว​้ด​ีกวา่ ​แก​้ ​หลาย​คน​ท​่ยี งั ​ไมม่ ี​ ประสบการณ์​ท่​ีเกิด​ข้นึ ​กับ​ตนเอง​ ​บาง​คร้งั ​อาจ​ไม่​แน่ใจ​ว่า​เสียง​จ้งิ จก​น้​ีใช่​ หลวงป​เู่ ตอื น​หรอื ​ไม​่ ​หาก​ยงั ​ม​คี วาม​ตง้ั ใจ​ท​จ่ี ะ​ทำ​ด​จี รงิ ​ก​จ็ ะ​พบ​วา่ ​หลวงป​จู่ ะ​ เตอื น​ผา่ นจ​ ง้ิ จกซ​ ำ้ ​แลว้ ​ซำ้ ​อกี จ​ น​ผน​ู้ น้ั เ​กดิ ​ความ​มน่ั ใจด​ ว้ ยต​ นเอง​ม​ ​ติ อ้ ง​ไป​ซกั ​ ถามผ​ ใ​ู้ ด​เ​สยี งจ​ ง้ิ จกม​ ห​ี ลายล​ กั ษณะแ​ ตกต​ า่ งก​ นั ​เ​ชน่ ​เ​สยี ง​ดงั ๆ​ส​ น้ั ๆ​ ​เ​สยี งพ​ อ​ ให​ไ้ ดย้ นิ ​ใหร​้ ตู้ วั ​ห​ รอื ​เสยี งท​ กั ใ​ห​ไ้ ดย้ นิ พ​ รอ้ ม​กนั ​หลาย​คน​ ​ความ​หมายก​ ​แ็ ตก​ ตา่ งก​ นั ​ไป​​เชน่ ​​เปน็ การ​ด​ุ ​เปน็ การ​บอกก​ ลา่ ว​หรอื เ​ปน็ การ​เตอื นใ​หร​้ ะวงั ​ตวั ​ ​เร่ือง​ท่ี​ข้าพเจ้า​ประสบ​กับ​ตัว​เอง​คือ​ ​คร้ัง​หน่ึง​ท่ี​ข้าพเจ้า​ขับ​รถยนต์​ จะเ​ดนิ ท​ างไ​ปต​ า่ งจ​ งั หวดั ​ข​ ณะจ​ ะอ​ อกจ​ ากบ​ า้ น​ก​ ไ็ ดย​้ นิ เ​สยี งจ​ ง้ิ จกท​ กั ​แ​ ละ​ เหตกุ ารณใ​์ นว​ นั น​ นั้ ค​ อื ม​ ร​ี ถม​ อเตอรไ์ ซคม​์ าเ​ฉย่ี วช​ นร​ ถ​เ​รอื่ งร​ าวท​ ศ​่ี ษิ ยผ​์ อ​ู้ นื่ ​ เลา่ ใ​หฟ​้ งั ก​ ม​็ ​ี เ​ชน่ ​เ​กอื บท​ กุ ค​ รงั้ ท​ ส​่ี วดม​ นตห​์ นา้ ห​ ง้ิ พ​ ระก​ อ่ นอ​ อกจ​ ากบ​ า้ นไ​ป​ ทำงาน​​ก็​จะ​ไดย้ ิน​เสียงจ​ งิ้ จกท​ กั ​ออกม​ า​จากห​ ้ิง​พระ​ซ​ ง่ึ ศ​ ิษย​์ท่าน​นั้นก​ ร​็ สู้ กึ ​ อนุ่ ใ​จเ​หมอื นท​ า่ นร​บั ร​ด​ู้ ว้ ยท​ กุ ค​ รง้ั ​ศ​ ษิ ยอ​์ กี ท​ า่ นเ​ลา่ ว​ า่ ใ​นย​ ามค​ บั ขนั ข​ องช​ วี ติ ​ ครงั้ ห​ นง่ึ ไ​ดน​้ กึ ถงึ ห​ ลวงปแ​ู่ ละข​ อใ​หท​้ า่ นช​ ว่ ยเ​หลอื ​จ​ ากน​ นั้ เ​ขาก​ ไ็ ดย​้ นิ เ​สยี ง​ จงิ้ จก​ทกั โ​ดยทบ​่ี ริเวณน​ น้ั ไ​ม่เ​หน็ ​ตัวจ​ งิ้ จกเ​ลย​ส​ ดุ ท้าย​ปญั หาแ​ ละอ​ ุปสรรค​ ของเ​ขาก​ ส​็ ามารถผ​ า่ นไ​ปไ​ดด​้ ว้ ยด​ ​ี ห​ ลวงปเ​ู่ คยฝ​ ากข​ อ้ คดิ แ​ กข​่ า้ พเจา้ ใ​นเ​รอ่ื ง​ นไ​้ี วว​้ า่ ​ค​ นโ​บราณเ​ขาว​ า่ ห​ ากจ​ งิ้ จกท​ กั ​จ​ ะไ​ปไ​หนม​ าไ​หนก​ ต​็ อ้ งเตร​ย​ี มเ​ครอ่ื ง​ ให​ค้ รบ​​หากไ​ม่ร​ บ​ก​็อาจ​ต้อง​ส​ู้ แ​ ก​ว่าจ​ ริง​ไหม​ ​ จาก​นไี้​ป​เ​ราค​ งจะ​เง่ียห​ ฟ​ู งั เ​สียงจ​ ิ้งจกทัก​กันม​ าก​ขนึ้ แ​ ล้วล​ ะ่ ​​จุ.​๊ .​​.จ​ .ุ๊​​..​ จ๊​ุ.​.​.​ luangpordu.com

113 ๑๑๓ ๖​ ๖​ ห​ ลวงป่กู​ บั ​ศษิ ยใ์​หม​่ ห​ ลวงปด​ู่ ​ู่ พ​ รหมป​ ญั โญ​ท​ า่ นเ​ปน็ พ​ ระท​ ม​่ี ค​ี วามเ​มตตาเ​ปน็ ห​ ว่ งเ​ปน็ ใ​ย​ แกศ​่ ษิ ยแ​์ ละผ​ ท​ู้ ร​่ี ะลกึ ถ​ งึ ท​ า่ นท​ กุ ค​ นอ​ ยา่ งท​ ไ​ี่ มต​่ อ้ งส​ งสยั ​ม​ เ​ี รอ่ื งเ​ลา่ ม​ ากมาย​ เกี่ยว​กับ​ความ​รัก​ความ​เมตตา​อาทร​ของ​ท่าน​ที่​มี​ต่อ​ศิษย์​ ​หน่ึง​ใน​หลาย​ๆ​​ เหตุการณ์​น้นั ก​ ​ค็ ือ​เรือ่ งข​ อง​พระ​เพอ่ื น​สห​ธรรมิก​ของ​ข้าพเจา้ ​ ​ใน​ปี​พ​ ​.ศ​ .​​​๒๕๓๒​​ระหว่าง​ชว่ ง​เทศกาล​เข้าพ​ รรษา​พ​ ระ​นวกะจ​ าก​ วดั บ​ วรน​ เิ วศว​ หิ าร​จ​ ำนวน​๓​ ​ร​ปู ​ไ​ดเ​้ ดนิ ท​ างจ​ ากก​ รงุ เทพฯ​เ​พอื่ ม​ าน​ มสั การ​ หลวงป​ู่ดู่​​ท​วี่ ัดส​ ะแก​​ทั้งส​ าม​องค​์ต่างม​ คี​ วาม​ตั้งใจต​ รง​กนั ว​ ่า​จะ​นำด​ อกไม​้ ​ ธูป​เทียน​ ​มา​ถวาย​ตัว​เป็น​ศิษย์​ของ​หลวงปู่​เพ่ือ​กราบ​นมัสการ​ ​และ​ถวาย​ ตวั ​เปน็ ​ศษิ ยเ​์ พื่อ​ขอเ​รียนพ​ ระกร​รม​ฐาน​ ​คร้ัน​กำหนด​วัน​ได้​เรียบร้อย​ตรง​กัน​ดีแล้ว​ ​ก็​ออก​เดิน​ทาง​โดย​ไม่มี​ โอกาส​ได้​กราบ​เรียน​ให้​หลวงปู่​ทราบ​ล่วง​หน้า​ก่อน​ ​เม่ือ​เดิน​ทาง​มา​ถึง​ ที่​หมาย​คือ​วัด​สะแก​ก็​เป็น​ช่วง​เวลา​ใกล้​เพล​แล้ว​ที่​บริเวณ​ปาก​ทาง​เข้า​วัด​ ต่าง​องค์​ต่าง​ปรึกษา​หารือ​กัน​ว่า ​จะ​ไป​กราบ​หลวงปู่​ก่อน​ดี​หรือ​จะ​แวะ​ฉัน​ เพล​ก่อน​ดี​​ถา้ ​หาก​แวะฉ​ ัน​เพล​กอ่ นก​ ​็จะต​ ิดเ​วลาท​ ​่หี ลวงป​่พู กั ห​ ลังเ​วลาเ​พล​ จะ​ทำให​้หลวงป​ู่ม​เี วลาพ​ กั ผ​ อ่ นน​ ้อย​ลง​ต​ ้อง​เสยี ​เวลา​มาน​ ัง่ ​รบั แขก​​แต่​หาก​ luangpordu.com

๑๑๔ 114 ไปก​ ราบน​ มสั การท​ า่ นเ​ลย​ท​ งั้ ส​ ามอ​ งคต​์ า่ งก​ ม​็ ก​ี งั วลว​ า่ แ​ ลว้ จ​ ะไ​ดฉ​้ นั เ​พลก​ นั ​ หรือ​ไม​่ ใ​นท​ ส่ี ดุ ก​ ต​็ ดั สนิ ใ​จว​ า่ ไ​มไ​่ ดฉ​้ นั ก​ ไ​็ มเ​่ ปน็ ไร​ไ​ปก​ ราบห​ ลวงปใ​ู่ หส​้ มค​ วาม​ ตง้ั ใจก​ อ่ นด​ ก​ี วา่ ​ค​ รนั้ พ​ อเ​ดนิ เ​ขา้ ป​ ระตว​ู ดั ไ​ดป​้ ระมาณส​ กั ร​ อ้ ยเ​มตร​ก​ ม​็ ศ​ี ษิ ย​์ ฆราวาสข​ องห​ ลวงปค​ู่ นห​ นง่ึ ต​ รงเ​ขา้ ม​ าห​ าแ​ ลว้ บ​ อกว​ า่ ​“​ ห​ ลวงปน​ู่ มิ นตใ​์ หฉ​้ นั ​ เพล​ทนี​่ ี​่ ​ทา่ น​ไมต่​ อ้ ง​กงั วล​​หลวงป่​ใู ห​เ้ ด็กจ​ ัด​อาหารใ​ห้​แลว้ ”​ ​ ​ ทุก​องค์​ต่าง​แปลก​ใจ​ ​เหมือน​กับ​หลวงปู่​จะ​รู้​ล่วง​หน้า​ว่า​ จะ​มี​พระ​ เดินท​ างม​ าห​ า​จงึ ​ใหล​้ ูกศ​ ิษย์​จดั ​เตรียมอ​ าหารไ​ว​้ถวาย​พระด​ ้วย​ ​ จาก​นั้น​พระ​ทั้ง​สาม​องค์​ได้​ข้ึน​มา​ที่​หอ​สวด​มนต์​บริเวณ​ตรง​ข้าม​กุฏิ​ ของ​หลวงปู่​กม้ ​ลง​กราบพ​ ระ​​๓​​ครัง้ ​แ​ ล้วห​ ันม​ า​ทางหลวงปู่​​ยกมอื ​ไหวท้​ ่าน​ จากร​ ะยะไ​กล​ก​ อ่ นท​ จ​ี่ ะเ​ขา้ ม​ ากร​ าบท​ า่ น​แ​ ตจ​่ ะน​ งั่ พ​ บั เ​พยี บก​ ย​็ งั ไ​มก​่ ลา้ น​ งั่ ​ ได​แ้ ต่น​ ่ังค​ กุ เขา่ อ​ ยู่​​ตา่ ง​องค​์ต่าง​ก​ย็ ัง​นัง่ ​กระ​สบั ก​ ระส​ ่ายด​ ว้ ย​คดิ ​กงั วล​กันว​ ่า​ คงต​ อ้ งอ​ าบตั ห​ิ ากต​ อ้ งน​ งั่ ฉ​ นั โ​ดยไ​มม่ อ​ี าสนะใ​นท​ เ​ี่ ดยี วก​ บั ท​ น​ี่ ง่ั ข​ องฆ​ ราวาส​ เพราะ​ตาม​พระ​วินัย​แล้ว​ ​ภิกษุ​จะ​ไม่​นั่ง​เสมอ​หรือ​ร่วม​อาสนะ​เดียว​กับ​ อนป​ุ สมั บ​ นั ​ซ​ ง่ึ ห​ มายถ​ งึ ​ผ​ ท​ู้ ย​่ี งั ไ​มไ​่ ดอ​้ ปุ สมบท​ไ​ดแ้ ก​่ ค​ ฤหสั ถ​์ และส​ ามเณร​ หรอื ​ผู​้ท​่ีไมใ่ ชภ​่ กิ ษ​หุ รือ​ภิกษุณ​ ​ี ​ สัก​ครห​ู่ นงึ่ ​​ฆราวาส​คนเ​ดิม​ก​เ็ ขา้ ม​ าบอ​ ก​ว่า​ ​“​หลวงป​ูท่ ่าน​ถามว​ ่า​ธ​ รรม​ยุต​ิน​ีต้ อ้ งม​ ​ีอาสนะใ​ช่​หรือไ​ม​่ ท่านใ​หจ้​ ดั ​ เตรียม​อาสนะม​ า​ให้​แลว้ ”​ ​ ​ ท้ัง​สาม​องค์​จึง​ได้​อาสนะ​มา​ปู​น่ัง​ฉัน​จน​เรียบร้อย​ ​ไม่​ต้อง​อาบัติ​​ luangpordu.com

115 ๑๑๕ ​น้ี​เป็น​อัศจรรย์​เหมือน​หลวงปู่​สามารถ​รู้​วาระ​จิต​ของ​พระ​ท้งั ​สาม​เป็น​คร้งั ​ ทส​่ี อง​เ​มอ่ื ฉ​ นั เ​สรจ็ จ​ งึ ไ​ดม​้ ากร​ าบน​ มสั การท​ า่ น​ไ​ดแ​้ ตน​่ ง่ั ข​ า้ งล​ า่ ง​ไ​มก​่ ลา้ น​ ง่ั ​ เสมอก​ บั ท​ า่ น​ห​ ลวงปท​ู่ ่านไ​ดเ​้ มตตาเ​ป็น​ท่ีสุด​​โดยเ​รียก​ใหพ​้ ระ​ใหม​่นัง่ ข​ า้ ง​ บน​เสมอ​กบั ท​ า่ นแ​ ละ​บอก​ว่า​“​ ​เรา​ลูกพ​ ระพทุ ธเจ้าเ​หมอื นก​ นั ​”​ ​ จาก​น้ัน​ทั้ง​สาม​องค์​ต่าง​ถวาย​ตัว​เป็น​ศิษย์​ ​หลวงปู่ท่าน​กล่าว​ อนโุ มทนาแ​ ลว้ แ​ นะนำใ​หไ​้ ปเ​รยี นพ​ ระกรร​ มฐ​ านก​ บั พ​ ระส​ ายห​ ยดุ ​ภ​ รู ท​ิ ตั โต​ ที​่กฏุ ห​ิ ลัง​วดั ​ ​ luangpordu.com

๑๑๖ 116 ​๖๗​ ​ ค​ าถา​ของห​ ลวงปู​่ ท่าน​ท่ี​เคย​มี​โอกาส​ไป​เยือน​เจดีย์​พิพิธภัณฑ์​ของ​ท่าน​พระ​อาจารย์​ จวน​ ​กุล​เชษโฐ​ ​ณ​ ​วัด​เจ​ติ​ยาค​ิรี​วิหาร​ ​จังหวัด​หนองคาย​ ​จะ​สังเกต​บาน​ ประตไ​ู มป​้ ระดแ​ู่ ผน่ เ​ดยี ว​แ​ กะส​ ลกั ด​ ว้ ยล​ ายท​ เ​่ี รยี บง​า่ ยป​ ดิ ท​ องแ​ ละก​ ระจกส​ ​ี เพอ่ื ร​ กั ษาเ​นอ้ื ไ​ม​้ ก​ ลางป​ ระตด​ู า้ นใ​นส​ ลกั เ​ปน็ ร​ ปู น​ กย​ งู ​ซ​ ง่ึ เ​ปน็ ส​ ญั ญล​ กั ษณ​์ หมาย​ถงึ ​ค​ าถา​ยงู ​ทองข​ องท​ า่ น​พระอ​ าจารย์​ม่ัน​ภ​ ูริท​ ตั ​ตม​หา​เถระ​​ท​่ีศษิ ย​์ ของ​ท่าน​ทุก​องค์​ต่าง​ให้​ความ​เคารพ​และ​ระลึก​ถึง​โดย​สวด​สาธยาย​เป็น​ ประจำว​ า่ ​ ​ “.​.​.​​นะโม​​วมิ​ ตุ ​ตานัง​น​ ะโม​ว​ ิมุตติย​ า”​ ​ ​ คืน​วัน​หน่ึง​ข้าพเจ้า​ได้​มี​โอกาส​กราบ​นมัสการ​เรียน​ถาม​หลวงปู่​ดู่​ว่า​​ “​ลูก​ศิษย์​ท่าน​พระ​อาจารย์​ม่ัน​ ​มี​คาถา​ยูง​ทอง​เป็น​เคร่ือง​ระลึก​ถึง​ครูบา-​ อาจารย์​ ​แล้ว​ลูก​ศิษย์​ของ​หลวงปู่​ควร​ใช้​คาถา​บท​ใด​เป็น​เครื่อง​ระลึก​ถึง​ พระคณุ ข​ อง​ครูบา​อาจารย​บ์ ้าง”​ ​ ​ หลวงปไ​ู่ ดว​้ สิ ชั นาโ​ดยใ​หข​้ า้ พเจา้ ไ​ปเ​ปดิ ด​ ​ู “อณุ หส​ิ สะ​ วชิ ะยะส​ ตู ร” ใ​น​ หนงั สอื ​มตุ โ​ตทยั ​ซ​ งึ่ เ​ปน็ ค​ ำส​ อนข​ องท​ า่ นพ​ ระอ​ าจารยม​์ น่ั ​ภ​ รู ท​ิ ตั ต​ มห​ าเ​ถระ​ ​(​รวบรวมแ​ ละเ​รยี บเ​รยี งโ​ดย​พระอ​ าจารย์​ว​ริ ​ิยัง​ค​์ ​สร​ิ นิ ​ธโร​​วดั ​ธรรมมงคล)​​ luangpordu.com

117 ๑๑๗ พ​ ระส​ ตู รน​ ม​ี้ ค​ี วามไ​พเราะท​ งั้ อ​ รรถแ​ ละพ​ ยญั ชนะท​ ค​ี่ วรศ​ กึ ษา​จ​ ดจำ​ และ​ทำความ​เข้าใจ​ให้​แยบคาย​โดย​ยิ่ง​ ​ท่าน​ได้​กล่าว​ไว้​ว่า​ ​“​ผู้​ใด​มา​ถึง​ พระพทุ ธเจ้า​พ​ ระ​ธรรม​​พระ​สงฆ​์ เ​ปน็ ส​ รณะท​ ​่ีพ่งึ แ​ ลว้ ​​ผ​นู้ ้นั ย​ ่อม​ชนะไ​ด้​ ซึ่ง​ความร​ อ้ น”​ ​ ​ อณุ หิสส​ ะ​​​ค​ ือ​ค​ วาม​รอ้ นอ​ ัน​เกิดแ​ ก​ต่ น​​มท​ี ้ัง​ภายใน​และภ​ ายนอก​ ภายนอก​มีเ​สือส​ างค​ า่ งแ​ ดง​ภ​ ตู ผ​ปี ีศาจเ​ปน็ ต้น​ภ​ ายในค​ ือก​ เิ ลส​ ​ วชิ ะยะ​​คอื ​​ความ​ชนะ​ผ​ ​ู้ทมี่ า​น้อมเ​อา​สรณะ​ทัง้ ส​ าม​นี้​เปน็ ท​ ี่​พึ่งแ​ ลว้ ​ ยอ่ มจ​ ะช​ นะค​ วามร​อ้ นเ​หลา่ น​ น้ั ไ​ปไ​ดห​้ มดท​ กุ อ​ ยา่ ง​ท​ เ​่ี รยี กว​ า่ ​อ​ ณุ หสิ​ สะว​ ชิ ยั ​ อ​ ณุ หิสสะ​ วิ​ชะโย​​ธมั โม พระ​ธรรมเ​ป็นข​ องย​ ่ิง​ในโ​ลก​ทงั้ ​สาม​ ​ โล​เก​​อะนุต​ ตะโร สามารถช​ นะ​ซง่ึ ค​ วามร​ อ้ น​อกร​ ้อนใ​จ​ อันเ​กดิ แ​ ต่​ภยั ต​ ่าง​ๆ​ ​ปะรวิ​ ัชเช​ร​ าชะ​ ทนั เฑ ​ จะเ​ว้น​ห่าง​จากอ​ ันตราย​ท้ังห​ ลาย​ค​ อื ​ ​ พยัคเฆ​​นาเค​​วีเ​ส​ภู​เต​​ อาชญาข​ องพ​ ระร​ าชา​เ​สือส​ าง​น​ าค​ ​ ​ ​ ยา​พิษ​ภ​ ตู ผ​ปี ีศาจ​ ​อะกา​ละมะระเณนะ​จ​ ะ​ ​ หากย​ งั ไ​มถ​่ งึ ค​ ราวถ​ งึ ก​ าลท​ จ​่ี กั ต​ ายแลว้ ​ ​ สัพพสั สะ​มา​มะระณ​า​ ​ ​ ก็จ​ กั ​พน้ ไ​ป​ไดจ้​ ากค​ วามต​ าย​ มุตโต ดว้ ยอ​ ำนาจ​พระพทุ ธ​พ​ ระธ​ รรม​ ​ พระ​สงฆ​์ ​ท​ีต่ น​น้อม​ ​ เอาเ​ปน็ ส​ รณะ​ทีพ​่ ง่ึ ​ท​น่ี บั ถอื ​น้ัน​ ​ความ​ข้อ​น้ี​มี​พระ​บาลี​สาธก​ดัง​จะ​ยก​มา​อ้างอิง​ ​ใน​สมัย​เม่ือ​สมเด็จ​ luangpordu.com

๑๑๘ 118 พระ​ผม​ู้ พ​ี ระ​ภาคเ​จา้ ​ประทบั ​อย​รู่ าวปา่ ​มหาว​ นั ​ใกล​ก้ รง​ุ กบ​ ลิ ​พสั ด​์ พ​ รอ้ ม​ดว้ ย​ พระอ​ รห​ นั ต​ ห​์ นมุ่ ​๕​ ๐๐​ร​ปู ​เ​ทวดาท​ ง้ั ห​ ลายพ​ าก​ นั ม​ าด​ แ​ู ลว้ ก​ ลา่ วค​ าถาข​ น้ึ ว​ า่ ​ เย​เกจิ​พ​ ทุ ธัง​ส​ ะระณงั บุคคล​บาง​พวก​ หรือ​บุคคล​ใด​ๆ​ คตา​เ​ส​​นะ​ ​เต​​คมสิ ​สันต​ ​ิ มา​ถึง​พระพุทธเจ้า​เป็น​สรณะ​ที่​ อป​ าย​ภมู ​ิ ป​ ะ​ หายะ​ม​ านสุ​ งั พึ่ง​แล้ว​บุคคล​เหล่า​นั้น​ย่อม​ไม่​ไป​ เทหงั ​เ​ทว​ ะกายงั ส​อู่ บาย​ภมู ​ิ ทงั้ ​๔​ ​​ม​ี น​ รก​เ​ปน็ ตน้ ​ ปะรป​ิ ู​เรสสนั ติ​ เมอื่ ล​ ะร​ า่ งกายอ​ นั เ​ปน็ ข​ องม​ นษุ ย​์ น้ี​แล้ว​จัก​ไป​เป็น​หมู่​แห่ง​เทพยดา​ ทั้ง​หลายดังนี้​ ​สรณะ​ท้ัง​ ​๓​ ​คือ​พระพุทธ​ ​พระ​ธรรม​ ​พระ​สงฆ์​ ​มิได้​เสื่อม​สูญ​​ อันตรธาน​ไป​ไหน​ ​ยัง​ปรากฏ​อยู่​แก่​ผู้​ปฏิบัติ​เข้า​ถึง​อยู่​เสมอ​ ​ผู้​ใด​มา​ยึดถือ​ เป็น​ทพ​ี่ งึ่ ข​ อง​ตนแ​ ล้ว​​ผู​้นั้นจ​ ะ​อย​ู่ในก​ ลางป​ า่ ห​ รือเ​รอื น​ว่าง​ก็ตาม​ส​ รณะ​ทง้ั ​ สาม​ปรากฏ​แก่เ​ขาอ​ ย่ท​ู กุ เ​มื่อ​จ​ ึงว​ า่ เ​ปน็ ​ท่​ีพงึ่ แ​ ก่​บคุ คลจ​ รงิ ​เ​มื่อป​ ฏิบัต​ิตาม​ สรณะ​ทั้ง​สาม​จ​ริงๆ​ ​แล้ว​ ​จะ​คลาด​แคล้ว​จาก​ภัย​ท้ัง​หลาย​ ​อัน​ก่อ​ให้​เกิด​ ความร​ อ้ น​อก​ร้อน​ใจ​ได้​แน่นอนท​ ีเ​ดียว​ ​สม​ดังท​ ​่หี ลวงป​ู่ดท​ู่ ่านพ​ ร่ำ​ย้ำ​เตอื น​ ศิษย์​อย่​ูเสมอ​ว่า​ ​ “​พุทธ​งั ​​ธัมมัง​ส​ ังฆั​ง​​​ใคร​เช่อื ​จริง​ท​ ำจ​ ริง​​กจ​็ ะเ​จอ​ของ​จริง”​ ​ luangpordu.com

119 ๑๑๙ ​๖๘​ ​อย่า​ใหใ​้ จเ​หมอื น.​.​​.​ ใ​นห​ นงั สอื ง​านพ​ ระราชทานเ​พลงิ ศ​ พข​ องห​ ลวงป​ ข​ู่ าว​อ​ น​ าลโ​ย​แ​ หง่ ​ วัด​ถ้ำ​กลอง​เพล​ ​จังหวัด​อุดรธานี​ ​ซ่ึง​เขียน​โดย​ท่าน​พระ​อาจารย์​มหา​บัว​​ ญาณ​สัม​ปัน​โน​ ​ได้​เล่า​ถึง​คราว​ที่​หลวง​ปู่​ขาว​เกิด​ความ​สงสัย​ใน​การ​ปฏิบัติ​ และ​ได้​เรียนถ​ าม​หลวงป​ ​ู่มั่นว​ า่ ​ “​ ใ​นค​ รง้ั พ​ ทุ ธก​ าล​ต​ ามป​ ระวตั ว​ิ า่ ม​ ผ​ี ส​ู้ ำเรจ็ ม​ รรคผลน​ พิ พานม​ ากแ​ ละ​ รวดเรว็ ก​ วา่ ส​ มยั น​ ​ี้ ซ​ งึ่ ไ​มค​่ อ่ ยม​ ผ​ี ใ​ู้ ดส​ ำเรจ็ ก​ นั ​แ​ มไ​้ มม​่ ากเ​หมอื นค​ รงั้ โ​นน้ ​ห​ าก​ มี​การ​สำเรจ็ ไ​ด้​​กร​็ ้สู กึ จ​ ะ​ช้าก​ วา่ ก​ นั ​มาก​”​ ​หลวงป​ ม​ู่ ัน่ ท​ า่ น​ตอบ​ว่า​“​กเิ ลสข​ อง​คนใน​พทุ ธ​สมยั ​มี​ความเ​บาบาง​ มากก​ วา่ ใ​นส​ มยั ป​ จั จบุ นั ​แ​ มก​้ ารอ​ บรมก​ ง​็ า่ ย​ผ​ ดิ ก​ บั ส​ มยั น​ อ​ี้ ยม​ู่ าก​ป​ ระกอบ​ กบั ผ​ ส​ู้ ง่ั ส​ อนใ​นส​ มยั น​ นั้ ก​ เ​็ ปน็ ผ​ ร​ู้ ย​ู้ ง่ิ เ​หน็ จ​ รงิ เ​ปน็ ส​ ว่ นม​ าก​ม​ พ​ี ระศ​ าสดาเ​ปน็ ​ พระ​ประมุข​ประธาน​แห่ง​พระ​สาวก​ ใน​การ​ประกาศ​สอน​ธรรม​แก่​หมู่​ชน​ การ​สอน​จึง​ไม่​ค่อย​ผิด​พลาด​คลาด​เคลื่อน​จาก​ความ​จริง​ ​ทรง​ถอด​ออก​มา​ จาก​พระทัย​ท่ี​บริสุทธ์ิ​ล้วนๆ​ ​หยิบ​ย่ืน​ให้​ผู้​ฟัง​อย่าง​สดๆ​ ​ร้อน​ๆ​ ​ไม่มี​ธรรม​ แปลกป​ ลอม​เคลือบ​แฝงอ​ อกม​ าด​ ้วย​เลย​ ​ ​ผู้​ฟัง​ก็​เป็น​ผู้​มุ่ง​ต่อ​ความ​จริง​อย่าง​เต็มใจ​ซึ่ง​เป็น​ความ​เหมาะ​สม​ท้ัง​ luangpordu.com

๑๒๐ 120 สอง​ฝ่าย​ ​ผล​ท่ี​ปรากฏ​เป็น​ข้ัน​ๆ​ ​ตาม​ความ​คาด​หมาย​ของ​ผู้​มุ่ง​ความ​จริง​​ จงึ ไ​มม่ ป​ี ญั หาท​ ค​่ี วรข​ ดั แ​ ยง้ ไ​ดว​้ า่ ​สมยั น​ นั้ ค​ นส​ ำเรจ็ ม​ รรคผลก​ นั ท​ ล​ี ะม​ ากๆ​ จาก​การ​แสดงธ​ รรม​แต่ละ​ครั้งข​ อง​พระ​ศาสดา​และ​พระส​ าวก​ ​ ส่วน​สมยั ​น้​ไี มค​่ ่อยม​ ี​ใคร​สำเรจ็ ​ได​้ ค​ ล้าย​กับค​ น​ไมใ่ ชค​่ น​ ​ธรรมไ​มใ่ ช​่ ธรรม​ผ​ ลจ​ ึงไ​มม่ ี​ค​ วามจ​ ริงค​ นก​ ็​คอื ค​ น​​ธรรมก​ ​็คือธ​ รรม​อยู่น​ ่ันเอง​​แต่ค​ น​ ไม่​สนใจธ​ รรม​ ​ธรรมก​ เ​็ ข้าไ​ม่ถ​ งึ ใจ​ จ​ งึ ​กลายเ​ป็นว​ า่ ​ ​คนก​ ส​็ ักว่า​คน​ ธ​ รรมก​ ็​ สักว่า​ธรรม​ ​ไม่​อาจ​ยัง​ประโยชน์​ให้​สำเร็จ​ได้​ ​แม้​คน​จะ​มี​จำนวน​มาก​และ​ แสดง​ให​ฟ้ ัง​ทง้ั พ​ ระ​ไตรป​ ิฎก​​จึงเ​ป็นเ​หมือน​เทน​ ำ้ ​ใสห​่ ลงั ​หมา​​มัน​สลัด​ออก​ เกลี้ยง​ไม่มี​เหลือ​ ​ธรรม​จึง​ไม่มี​ความ​หมาย​ใน​ใจ​ของ​คน ​เหมือน​น้ำ​ไม่มี ​ ความห​ มายบ​ น​หลังห​ มา ฉ​ ะนั้น”​ ​ ​ ข้าพเจา้ อ​ ดน​ กึ ถ​ าม​ตวั เ​องไ​มไ​่ ด้​ว่า​..​.​​ ​ “​แลว้ ​เราล​ ่ะ​เ​วลา​น​ี้ ​ใจ​เรา​เป็นเ​หมือน​หลังห​ มา​หรอื เ​ปล่า​”​ luangpordu.com

121 ๑๒๑ ๖​ ๙​ ​วตั ถุส​ มบัต​ิ ​ธรรมส​ มบตั ิ​ ​ ท่ามกลาง​ความ​หลาก​หลาย​ของ​อารมณ์​ ​ความ​รู้สึก​นึกคิด​ ​และ​ กระแสแ​ หง่ ค​ วามแ​ สวงหา​ใ​จท​ กุ ด​ วงท​ ม​่ี ค​ี วามเ​รา่ รอ้ นว​นุ่ ว​ายส​ บั สน​เ​ปา้ หมาย​ คอื เ​พอ่ื ใ​หไ​้ ดส​้ ง่ิ ท​ ต​ี่ อ้ งการม​ า​แ​ ตเ​่ มอ่ื ไ​ดส​้ งิ่ ท​ ค​ี่ ดิ ว​ า่ ต​ อ้ งการม​ าแ​ ลว้ ​ก​ ด​็ เ​ู หมอื น​ ว่า​ย่ิง​แสวงหา​ ​ก็​ยิ่ง​ต้อง​ดิ้นรน​มาก​ขึ้น​ ​สิ่ง​ท่ี​ได้​มา​น้ัน​มี​สุข​น้อย​มี​ทุกข์​มาก​​ หากจ​ ะม​ ส​ี ขุ บ​ า้ งก​ เ​็ ปน็ เ​พยี งส​ ขุ เ​ลก็ น​ อ้ ยใ​นเ​บอ้ื งต​ น้ ​แ​ ตใ​่ นท​ สี่ ดุ ก​ ก​็ ลบั ก​ ลาย​ เป็น​ทุกข์อ​ ีก​เ​ปน็ ​อย่าง​น​ซ้ี ้ำแ​ ลว้ ซ​ ำ้ เ​ล่า​อารมณต์​ า่ งๆ​เ​หล่าน​ ​ี้ ​ไม​เ่ พียงพ​ อที่​ จะใ​หเ​้ กดิ ค​ วามช​ มุ่ ฉ​ ำ่ เ​ยน็ ใจอ​ บอนุ่ ไ​ดย​้ าวนาน​ห​ ากแ​ ตเ​่ ปน็ อ​ ารมณท​์ ค​่ี า้ งใ​จ​ อยต​ู่ ลอดเ​วลาท​ ำใหอ​้ ยากด​ น้ิ รนแ​ สวงหาส​ ง่ิ ใ​หมม​่ าท​ ดแทนอ​ ยเ​ู่ สมอ​น​ เ​้ี ปน็ ​ ธรรมดาข​ อง​..​​.​วตั ถุส​ มบตั ​ิ ​ ส่วน​.​.​.​ธรรม​สมบัติ​ ​นั้น​ ​จะ​ยัง​ความ​ชุ่ม​ช่ืน​ ​เพียง​พอ​ให้​เกิด​ข้ึน​แก่​ จิตใจไ​ด้​ม​ ี​ลกั ษณะเ​ปน็ ค​ วาม​สขุ ​ท่ไ​ี มก​่ ลับก​ ลาย​มา​เปน็ ​ความท​ กุ ข​อ์ กี ​ว​ ตั ถุ​ สมบัติ​ยิ่ง​ใช้​นับ​วัน​ยิ่ง​หมด​ไป​ ​ต้อง​ขวนขวาย​แสวงหา​เพิ่ม​เติม​ด้วย​ความ​ กังวล​ใจ​ ​ธรรม​สมบัติ​ยิ่ง​ใช้​นับ​วัน​ยิ่ง​เจริญ​งอกงาม​ขึ้น​ ​ก่อ​ให้​เกิด​ความ​สุข​​ สงบ​​เย็นใจแ​ ก่​ตนแ​ ละ​คน​รอบ​ข้าง​ ​ คง​ไมม่ ีใ​ครท​ ี่ไ​ดร​้ ู้จัก​หลวงป​ู่ปฏิเสธ​ว่า​​หลวงปทู่​ า่ นเ​ป็นแ​ บบ​อยา่ งท​ ่​ี luangpordu.com

๑๒๒ 122 ดี​ของ​บุคคล​ที่​ใช้​ธรรม​สมบัติ​ ​ยัง​ความ​สงบ​เย็น​ให้​แก่​ใจ​ทุก​ดวง​ท่ี​ได้​เข้า​มา​ ใกล้​ชดิ ท​ า่ น​ไม่​เฉพาะ​คน​หรือส​ ัตว์​แ​ ต​่รวมไ​ป​ถึงเ​หล่าเ​ทพยดาแ​ ละ​อมนุษย​์ ทง้ั ห​ ลายท​ ศ​่ี ษิ ยข​์ องห​ ลวงปห​ู่ ลายค​ น​ต​ า่ งม​ ป​ี ระสบการณอ​์ นั เ​ปน็ ​ป​ จั จตั ต​ งั ​ และ​สามารถ​เปน็ ป​ ระจักษ์​พยานไ​ดอ​้ ย่าง​ดี​ ​ หลวงปเู่​คยบ​ อก​ขา้ พเจ้า​วา่ ​ “​ ​คนท​ ำ​(​​ภาวนา​)​เ​ป็น​น่​ี ​ใคร​ๆ​ก​ ็​รกั ​ ​ ไม​่เฉพาะค​ น​​หรอื ​สัตว​ท์ รี่ ัก​ ​ แมแ้ ตเ่​ทวดาเ​ขาก​ ็อ​ นโุ มทนาด​ ว้ ย”​ ​ luangpordu.com

123 ๑๒๓ ๗​ ๐​ ท​ ำไม​หลวงป.ู่​.​.​​ ​ สมัย​ท่ี​พระพุทธเจ้า​ประทับ​อยู่​ใน​พระ​เชต​วัน​ ​ทรง​ปลง​อายุ​สังขาร​ แล้ว​นั้น​ ​ได้​ทรง​ปรารภ​เร่ือง​พระ​ติส​สะ​เถระ​ใน​คราว​ที่​พระองค์​จวน​จะ​ ปรนิ พิ พาน​ม​ ค​ี วาม​ตอน​หนง่ึ ​ท​ท่ี า่ นพ​ ระอ​ าจารย​ม์ หา​บวั ​ญ​ าณ​สมั ​ปนั โน​​ได้​ นำ​มาถ​ า่ ยทอด​อบรม​​ศิษย์​ไว​้ใน​หนังสอื “​ ค​ วามร​ ัก​เสมอ​ตน​ไมม่ ​”ี ​​ความ​ว่า​ ​ “​ก่อน​จะ​ปรินิพพาน ​จาก​วัน​ปลง​พระชนม์​ไป​ถึง​วันเพ็ญเดือน​หก​ ​พระ​สงฆ์​ยุ่ง​กัน​ใหญ่​ ​พอ​ปลง​พระชนม์​ว่า​จะ​ปรินิพพาน​ ​ยุ่ง​กัน​ เกาะ​กัน​ เป็น​ฝูง​ๆ​ ​ว่า​งั้น​เลย​ ​อย่า​ว่า​เป็น​คณะ​ๆ​ ​เลย​ ​เป็น​ฝูง​ๆ​ ​คือ​จิตใจ​มัน​ยุ่ง​ แต่​ภายนอก​ มี​พระ​ติส​สะ​องค์​เดียว​ไม่​ยุ่ง​กับ​ใคร​ ​เข้า​อยู่​ใน​ป่า​ตลอด​ทั้ง​ วัน​ท้ัง​คืน​ ​แล้ว​พระ​บ้า​เหล่า​นี้​หา​ว่า​พระ​ติส​สะ​ไม่มี​ความ​จงรัก​ภักดี​ต่อ​ พระพทุ ธเจา้ ​พ​ ระพทุ ธเจา้ จ​ ะป​ รนิ พิ พาน​พ​ ระต​ สิ ส​ ะไ​มเ​่ หน็ ม​ าป​ รารภอ​ ะไร​ เลย​อ​ ยแ​ู่ ตใ​่ นป​ า่ ​จ​ งึ พ​ าก​ นั เ​ขา้ ฟ​ อ้ งพ​ ระพทุ ธเจา้ ว​ า่ พ​ ระต​ สิ ส​ ะไ​มม่ ค​ี วามห​ วงั ด​ ​ี ใน​พระพุทธเจ้า​ไ​มม่ ีค​ วาม​เย่ือใ​ย​ใน​พระพุทธเจ้า​ห​ ลกี ​ไป​อย่แู​ ตอ​่ งค​์เดียว​ ​พระองค์​เป็น​ผู้ทรง​เหตุผล​อยู่​แล้ว จึง​รับสั่ง​เรียกพระ​ติส​สะ​มา เข้าเฝ้า​ท่ามกลาง​สงฆ​์ ​ไหน​วา่ ​อยา่ งไร​พระ​ตสิ ​สะ​ เวลา​น​้พี วก​บา้ ​น​้ี ​ถา้ ​เปน็ ​ หลวง​ตา​บัว​จะ​พูด​อย่างน้นั ​ ​เวลา​น้​ีพวก​บ้า​น่นั ​ว่า​เธอ​ไม่มี​ความ​จงรัก​ภักดี​ luangpordu.com

๑๒๔ 124 ตอ่ ​เราตถาคต​​เธอไป​แอบอ​ ยค​ู่ น​เดยี วท​ ง้ั ​วนั ท​ ง้ั ค​ นื ​​ไมเ​่ ขา้ ม​ า​เกย่ี วขอ้ งม​ ว่ั สมุ ​ กบั ห​ ม​เู่ พอ่ื นเ​ลย​ว​ า่ ​อยา่ งไร​พระ​ตสิ ส​ ะ​ ​ “ขา้ พ​ ระองคม​์ ค​ี วามจ​ งรกั ภ​ กั ดต​ี อ่ พ​ ระองคส​์ ดุ ห​ วั ใจ”​น​ นั่ เ​วลาต​ อบ​ “ท่ี​ข้า​พระองค์​ไม่​ได้​มา​เก่ียวข้อง​กับ​หมู่​เพ่ือน​ ​ก็​เพราะ​เห็น​ว่า​เวลา​ของ​ พระองค์​นั้น​กำหนด​ไว้​เรียบร้อย​แล้ว​ ​จากวัน​นี้​ถึง​วัน​น้ัน​จะ​ปรินิพพาน​​ ข้าพระองค์จึง​รีบ​เร่ง​ขวนขวาย​ให้ได้​บรรลุ​ธรรม​ใน​เวลา​ท่ี​พระองค์​ยัง​ทรง​ พระชนมอ​์ ย​ู่ ข​ า้ พ​ ระองคต​์ อ้ งร​บี เ​รง่ ข​ วนขวายท​ างด​ า้ นจ​ ติ ใจ​ไ​มไ​่ ดเ​้ กย่ี วขอ้ ง​ กับ​ใคร​เลย​ทั้งว​ ันท​ ั้ง​คนื ”​​ พระพุทธองค์ ตรัสว่า เอ้อ​​ถูก​ตอ้ งแ​ ล้วต​ สิ ส​ ะ​​สาธๆุ​ ​ถ​ กู ต​ อ้ งแ​ ล้ว​​ จาก​นน้ั ​ก​ย็ กข​ น้ึ ​เปน็ ภ​ าษติ ​ว่า​​ “ผ​ ใ​ู้ ดป​ ฏบิ ตั ธ​ิ รรมส​ มควรแ​ กธ​่ รรม​ ผน​ู้ นั้ ช​ อื่ ว​ า่ บ​ ชู าเ​ราต​ ถาคต.​.​.​”​ ​ ​คำ​ว่า​ปฏิบัติ​ธรรม​สมควร​แก่​ธรรม​น้ี ​ทำให้​ข้าพเจ้า​นึกถึง​ครั้ง​ที่​มี​เพื่อน ​ผู้​หน่ึง​มา​ปรารภ​ให้​ฟัง​เกี่ยว​กับ​การ​ภาวนา​ของ​ตน​ว่า​ ​“​ไม่​ก้าวหน้าเลย​ ทำไมห​ ลวงปู่​ไมม่​ า​สอนผ​ ม​​ทำไม​หลวงป​ไู่ ม​่ช่วย​​ทำไมห​ ลวงป​ู่..​​.”​ ​ ​ หลวงป​ดู่ ​ไู่ ดเ​้ คย​ใหก​้ ำลงั ใ​จ​ในก​ าร​ปฏบิ ตั แ​ิ กข​่ า้ พเจา้ ​วา่ ​“​ ห​ มน่ั ท​ ำเ​ขา้ ​ ไว​้ พ​ ระท​ า่ นค​ อย​จะช​ ว่ ย​เรา​อย​แู่ ลว้ ​เ​รา​ได​ช้ ว่ ย​เหลอื ​ตวั ​เอง​กอ่ นห​ รอื ​ยงั ​”​ ขา้ พเจา้ จ​ งึ ต​ อบเ​พอ่ื นผ​ น​ู้ น้ั ก​ ลบั ไ​ปว​ า่ ​อ​ ยา่ ม​ วั แ​ ตถ​่ ามว​ า่ ท​ ำไมห​ ลวงป​ู่ .​.​.​ท​ ำไม​หลวงป​ู่..​.​​แต่​ควร​ถาม​ตัว​เราเ​อง​วา่ ​ ​“ท​ ำไม​เรา​ไมท่​ ำตวั ใ​ห้ส​ ม​กับ​ที่ท​ ่าน​สอนล​ ่ะ​ ​เราป​ ฏบิ ัต​ิธรรม​สมควร​แกธ่​ รรม​แล้วห​ รือ​ยงั ”​ ​ luangpordu.com

125 ๑๒๕ ​ ถ้า​เรา​ปฏิบัติ​ธรรมส​ มควรแ​ ก​่ธรรมแ​ ล้ว​ ไ​ด​เ้ ตรยี มใ​จข​ อง​เรา​ให้เ​ป็น​ ภาชนะ​อย่าง​ดี​สำหรับ​รองรับ​ธรรม​ ​สามารถ​เก็บ​รักษา​ธรรม​มิ​ให้​ตกหล่น​​ สูญหาย​ไปไ​ด้​ข​ า้ พเจ้าเ​ช่ือเ​หลือ​เกนิ ​ว่า.​.​.​​ ​ พระพทุ ธเจ้า​และ​หลวงปไ​ู่ ม​ท่ ิ้งเ​รา​แน่นอน​ luangpordu.com

๑๒๖ 126 ​๗๑​ ​ “​ ง​าน​”​​ของ​หลวงป​ู่ ทุก​ชีวิต​ยอ่ มม​ ง​ี าน​เ​พราะง​าน​เป็นส​ ่วน​หน่งึ ​ของ​ชีวติ บ​ างที​เราอ​ าจ​ ลมื ไ​ปว​ า่ ​ง​านข​ องช​ วี ติ ท​ เ​่ี ราท​ ำอ​ ยดู่ แ​ี ลว้ พ​ อแลว้ ​แ​ ตย​่ งั ม​ ง​ี านอ​ นื่ ท​ น​่ี อกเ​หนอื ​ จาก​หน้าท่ี​การ​งาน​หรือ​งาน​ประจำ​ท่ี​เรา​ทำ​อยู่​ ​ท่าน​พุทธ​ทาส​ภิกขุ​เคย​ให้​ โอวาท​ตอน​หนึง่ ว​ า่ ​ ​“​.​.​.​.​.​ให้​เอางาน​ใน​ความ​หมาย​ของ​คน​ท่ัวไป​เป็น​งาน​อดิเรก​​ เอางานค​ อื ก​ ารป​ ฏบิ ตั ธ​ิ รรมเ​ปน็ ง​านห​ ลกั ข​ องช​ วี ติ เ​ปน็ การง​านท​ แี่ ทจ​้ รงิ ​ ของช​ วี ิต”​ ​ ​ ถ้า​เรา​เข้าใจ​ใน​ความ​หมาย​นี้​ ​ชีวิต​จะ​สดใส​ข้ึน​ ​ปลอด​โปร่ง​ใจ​ข้ึน​​ ความ​กังวล​ความ​กลัดกลุ้ม​จะ​ลด​ลง​ ​ความ​โลภ​ความ​โกรธ​ความ​หลง​จะ​ ลดล​ ง​ห​ ากไ​ด้​ฝกึ ​สังเกต​ความค​ ดิ แ​ ละ​ความร​ สู้ ึก​ของ​ตนเอง​น​ ​เี่ ป็น​งาน​ของ​ ชวี ิต​อีก​ระดับห​ นงึ่ ท​ ่​คี วร​ทำความ​เขา้ ใจ​และ​ปฏบิ ตั ใ​ิ ห​ถ้ ูกต​ อ้ ง​​หลวงป​ูด่ ​มู่ ัก​ จะใ​ชค​้ ำศ​ พั ทท​์ ว​ี่ า่ ใ​หไ​้ ป“​ ท​ ำงาน”​ ​ก​ บั ล​ กู ศ​ ษิ ย​์ ซ​ งึ่ ห​ มายถ​ งึ ​ใ​หไ​้ ป​“​ ภ​ าวนา”​ หรือ​อีก​นัย​หน่ึง​ ​“​งาน​”​ ​ใน​ความ​หมาย​ของ​ท่าน​ ​ก็​คือ​ ​“​งาน​ร้ือวัฏฏะ​”​​ นั่นเอง​ ท่านเ​คย​บอกข​ า้ พเจา้ ​ว่า​ luangpordu.com

127 ๑๒๗ ​ “​ทุก​อย่าง​ที่​เรา​ทำ​วัน​นี้​ ​เพื่อ​เอา​ไว้​กิน​วัน​ข้าง​หน้า​ ​พอ​ตาย​แล้ว​​ โลกเ​ขา​ขน​เอาบ​ าปก​ ัน​ไป​แ​ ต​่เรา​จะข​ น​เอาบ​ ุญ​เ​อาน​ ิพพานไ​ป”​ ​ ใ​นค​ รง้ั พ​ ทุ ธก​ าล​พ​ ระพทุ ธเจา้ ไ​ดต​้ รสั ก​ บั พ​ ระอ​ านนทแ​์ ละพ​ ระอ​ รห​ นั ต​ ​์ ทง้ั ​หลายว​ า่ ​ ​ “ด​ ก​ู อ่ นภ​ กิ ษท​ุ ง้ั ห​ ลาย​บ​ คุ คลผ​ จ​ู้ ะไ​ปส​ ส​ู่ คุ ตไ​ิ ดน​้ นั้ น​ อ้ ยม​ าก​เ​ทา่ กบั ​ โคส​ องเ​ขาเ​ทา่ นนั้ ​ผ​ ท​ู้ จ​ี่ ะต​ กอ​ ยใ​ู่ นห​ ว้ งข​ องอ​ บายภ​ มู น​ิ นั้ ม​ เ​ี ทา่ ก​ นั ก​ บั ข​ นโ​ค​ ทั้ง​ตัว​”​ ​ อนั ท​ ีจ​่ รงิ ​มนษุ ยแ​์ ตล่ ะค​ น​อยใ​ู่ นโ​ลกน​ ีช้​ ่ัว​ระยะเ​วลาส​ ัน้ เ​หลอื เ​กิน​​ถา้ ​ เทียบ​กบั อ​ ายุ​ของ​โลกห​ รืออ​ าย​ุของจ​ ักรวาล​ ​ ถูก​ของห​ ลวงป​เู่ ป็น​ท่สี ุด​..​.​​ เ​วลาไ​มก​่ ป​่ี บ​ี นโ​ลกใ​บน​ ​ี้ เ​ราย​ งั เ​ตรยี มอ​ ะไรก​ นั ต​ งั้ ม​ ากมาย​ข​ วนขวาย​ หาซ​ อ้ื บ​ า้ น​ซ​ อื้ ท​ ดี่ นิ ​ซ​ อ้ื ร​ถยนต​์ ห​ าเงนิ เ​กบ็ เ​งนิ ฝ​ ากธ​ นาคาร​แ​ สวงหาส​ มบตั ​ิ พสั ถาน​จปิ าถะ​แ​ ละย​ งั ต​ อ้ งแ​ สวงห​ าไ​วเ​้ ผอื่ ล​ กู เ​มยี ​บ​ างค​ นถ​ งึ ร​ นุ่ ห​ ลานก​ ย​็ งั ​ กิน​ไมห​่ มดเ​ลยท​ ​เี ดยี ว​ท​ กุ ช​ ีวิต​ส้ิน​สดุ ​ท่ี​“​ ตาย”​​คำ​เดยี วเ​สมอก​ นั ห​ มด​​เรา​ พร้อม​สำหรับว​ นั ​น้ัน​หรอื ย​ งั ​ ​มาท​ ำงาน​ถวาย​หลวงป่กู​ นั ​เถอะ​ ​ luangpordu.com

๑๒๘ 128 ​๗๒​ ​ขอเ​พียงค​ วาม​รูส้ กึ ​ ​นัก​ปฏิบัติ​ภาวนา​หลาย​ท่าน​ชอบ​ติด​อยู่​กับ​การ​ทำ​สมาธิ​แบบ​สงบ​ ไม่​ชอบ​ที่​จะ​ใช้​ปัญญา​พิจารณา​เรื่อง​ราว​ต่างๆ​ ​ให้​เห็น​เหตุ​และ​ผล​ ​ให้​ลง​ หลกั ค​ วาม​จรงิ ​​หาก​จะ​ถามว​ า่ ​พจิ ารณา​อย่างไร?​​ ​ ครั้ง​หน่ึง​ ​หลวงปู่​เคย​ยก​ตัวอย่าง​ให้​ข้าพเจ้า​ฟัง​ว่า​ ​หาก​ใจ​เรา​ว่าง​ จาก​การ​พิจารณา​เร่ือง​เกี่ยว​กับ​ความ​จริง​ของ​ชีวิต​แล้ว​ ​เร่ือง​ท่ี​ควร​สนใจ​ ศกึ ษาน​ อ้ มนำม​ าพ​ จิ ารณาใ​หม​้ ากอ​ กี เ​รอื่ งห​ นง่ึ ​ค​ อื ​พ​ ทุ ธป​ ระวตั ​ิ ป​ ระวตั ข​ิ อง​ ครูบา​อาจารย์​องค์​ต่างๆ​ ​ได้แก่​ ​ท่าน​พระ​อาจารย์​มั่น​ ​ภูริ​ทัต​โต​ ​ท่าน​ พระอ​ าจารยม์​ หาบ​ ัว​​ญาณส​ มั ป​ นั โ​น​​เปน็ ต้น​​ ​ การ​พจิ ารณาน​ ้ัน​​ขอ​ให​้เทยี บ​เคียงค​ วามร​ ู้สึกว​ ่า​เ​รา​ม​ีความ​รู้​ความ​ เข้าใจ​ใน​เร่ือง​ที่​ศึกษา​มาก​ขึ้น​เพียง​ใด​ ​เช่น​ ​ใน​ช่วง​ปี​แรก​ที่​เรา​ได้​รู้จัก​ท่าน​ พระ​อาจารย์​มหา​บัว​ ​ญาณ​สัม​ปัน​โน​ ​เรา​มี​ความ​รู้สึก​เคารพ​เล่ือม​ใส​ท่าน​ อยา่ งไร​ต​ อ่ ม​ าเ​ราไ​ดไ​้ ปอ​ ยป​ู่ ฏบิ ตั ภ​ิ าวนาท​ ว​ี่ ดั ข​ องท​ า่ น​ไ​ดเ​้ หน็ ข​ อ้ ว​ ตั รป​ ฏบิ ตั ​ิ ต่างๆ​​ของ​ทา่ น​​ได้​เห็น​สาธารณประโยชน​์หลาย​อย่าง​ทที่​ ่าน​พาท​ ำ​ค​ วาม​ รู้สึก​เคารพ​เล่ือม​ใส​ศรัทธา​ของ​เรา​ย่อม​มี​มาก​ขึ้น​ฉันใด​ ​การ​ศึกษา​พุทธ-​ ประวัตก​ิ ​ฉ็ ันน​ ้ัน​ luangpordu.com

129 ๑๒๙ ใ​นร​ะยะแ​ รกข​ องก​ ารศ​ กึ ษา.​.​.​เ​ราอ​ าจจ​ ะย​ งั ไ​มม่ ค​ี วามเ​คารพเ​ลอ่ื มใ​ส​ ในพ​ ระพทุ ธเจา้ ม​ ากน​ กั ​แ​ ตเ​่ มอื่ เ​ราไ​ดป​้ ฏบิ ตั ภ​ิ าวนาม​ ากข​ นึ้ ​ไ​ดพ​้ จิ ารณาม​ าก​ ขนึ้ ​ก​ ารไ​ดอ​้ า่ นเ​รอื่ งข​ องเ​จา้ ช​ ายส​ ทิ ธตั ถ​ ะ​จ​ ะไ​มเ​่ ปน็ เ​พยี งก​ ารอ​ า่ นเ​รอ่ื งร​ าว​ ของ​เจ้า​ชายท​ ี่​ละทงิ้ ป​ ราสาท​ราชวงั ​​ท้ิงพ​ ระ​ชายา​​พระ​โอรส​​เหมอื น​สมัย​ เรา​เป็น​เด็ก​ที่​เพิ่ง​เริ่ม​ศึกษา​พุทธ​ประวัติ​หาก​แต่​เรา​จะ​สามารถ​เข้าใจ​ความ​ รู้สึก​ของ​เจ้า​ชาย​สิทธัต​ถะ​ ​ใน​แต่ละ​เหตุการณ์​ของ​พุทธ​ประวัติ​ได้​อย่าง​ดี​​ จาก​ศรัทธา​ธรรมดา​ท่ี​เคย​มี​ใน​ใจ​ ​จะ​เริ่ม​ก่อ​ตัว​มั่นคง​ยิ่ง​ขึ้น​ ​จน​กลาย​เป็น​​ ตถาคตโ​พธิ​สัทธา​ค​ อื ​ค​ วาม​เช่ือ​ใน​ปัญญาต​ รัสรข้​ู อง​พระพทุ ธเจ้า​เ​มือ่ ​นนั้ ​ ความ​ปีติ​ ​อิ่ม​เอิบ​ ​และ​สงบ​เย็น​จะ​ปรากฏ​ข้ึน​ใน​ใจ​ ​ใจ​กับ​ธรรม​ท่ี​เคย​แยก​ เป็น​คนละ​ส่วน​กัน​ ​จะ​กลาย​เป็นใจ​กับ​ธรรม​ที่​ผสม​ผสาน​เป็น​อัน​หน่ึง​อัน​ เดยี วกัน​ ​ การ​ฟัง​เทศน์​จาก​ครู​อาจารย์​ท่ี​เคย​ฟัง​ผ่าน​เพียง​โสต​วิญญาณ​ ​จะ​ กลายเ​ปน็ การฟ​ งั ธ​ รรมท​ ก​่ี ารฟ​ งั น​ น้ั ส​ มั ผสั ล​ งส​ ม​ู่ โนว​ ญิ ญาณ​ส​ ามารถเ​ขา้ ถ​ งึ ​ ความ​ร้สู ึกข​ องใ​จ​อย่าง​แทจ้ รงิ ​ luangpordu.com

๑๓๐ 130 ​​๗๓​ ​ ป​ าฏิหารยิ ​์ ขา้ พเจา้ ข​ ออ​ นญุ าตเ​ขยี นเ​รอื่ งน​ ​้ี เ​พอ่ื ท​ ท​ี่ า่ นผ​ อ​ู้ า่ นจ​ ะไ​ดม​้ ค​ี วามเ​ขา้ ใจ​ ใน​วิธี​การ​สอน​ของ​หลวงปู่​ดู่​มาก​ย่ิง​ขึ้น​ ​โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่ง​ใน​เรื่อง​ของ​​ ​“​ปาฏิหาริย์​”​ ​ที่​คน​ส่วน​ใหญ่​เข้าใจ​กัน​แต่​เพียง​ความ​หมาย​ของ​ ​“​อิทธิ-​ ปาฏิหาริย์​”​ ​และ​เหมา​รวม​ว่า​เป็น​สิ่ง​เดียวกัน ​ซ่ึง​เป็น​ความ​เข้าใจ​ที่​ไม่ ​ ถูก​ต้อง​ ​เท่า​ท่ี​ข้าพเจ้า​ได้ยิน​ได้​ฟัง​จาก​เพื่อน​หมู่​คณะ​และ​ท่ี​ประสบ​ด้วย​ ตนเอง​ ​จึง​เชื่อ​เหลือ​เกิน​ว่า​ศิษย์​หลวงปู่​หลาย​ๆ​ ​ท่าน​เคย​มี​ประสบการณ์​ และเ​หน็ ช​ ดั ด​ ว้ ยต​ นเองม​ าแ​ ลว้ ​ในพ​ ระพทุ ธศ​ าสนาน​ ​้ี พ​ ระพทุ ธเจา้ ท​ า่ นส​ อน​ เรือ่ งป​ าฏหิ ารยิ ์ไ​ว้​มี​๓​ ​​อยา่ ง​​คอื ​ ​ ๑.​​อ​ ทิ ธป​ิ าฏหิ ารยิ ​์ ค​ อื ​ป​ าฏหิ ารยิ ใ​์ นเ​รอ่ื งก​ ารแ​ สดงฤ​ ทธ​ิ์ แ​ สดงค​ วาม​ เป็น​ผวู้​ เิ ศษ​​ดล​บนั ดาลส​ ่งิ ต​ า่ ง​​ๆ​เ​หาะ​เหนิ ​​เดินอ​ ากาศ​น​ ริ มิตก​ าย​ให​เ้ ปน็ ​ หลายค​ น​ได้​ม​ ีห​ ​ูทพิ ย​์ ต​ าท​ ิพย์​​เปน็ ต้น​ ๒​ ​.​อ​ าเทศน​ า​ปาฏิหารยิ ​์ ​คอื ​​การ​ทาย​ใจ​ท​ ายค​ วาม​ร้สู ึกใ​น​ใจ​​ทาย​ ความ​คดิ ข​ องผ​ ​้ถู กู ส​ อน​ได้​ ๓.​​​อนสุ​ าส​ นปี​ าฏิหาริย​์ ​คอื ​​คำส​ อน​ท่​แี สดง​ความ​จริง​ให้​ผ้ฟู​ ังร​ แ​ู้ ละ​ เข้าใจ​​มอง​เหน็ ​ความ​เปน็ จ​ ริงข​ องโ​ลก​​ให​ผ้ ู้​ฟงั ได้ป​ ฏบิ ตั ​ติ ามอ​ ย่าง​นี้​ล​ ะเวน้ ​ luangpordu.com

131 ๑๓๑ การป​ ฏบิ ตั อ​ิ ยา่ งน​ นั้ ​แ​ ละย​ งั ส​ ามารถน​ ำไ​ปป​ ระพฤตป​ิ ฏบิ ตั ต​ิ าม​จ​ นร​เ​ู้ หน็ ไ​ด​้ ผล​จรงิ ​ดว้ ยต​ นเอง​ ​ ปาฏิหาริย์​ทั้ง​ ​๓​ ​อย่าง​น้ี​ ​พระพุทธเจ้า​ไม่​ทรง​สรรเสริญ​ ​๒​ ​อย่าง​ แรก​​คือ​อ​ ทิ ธปิ​ าฏิหาริย​์ แ​ ละอ​ าเทศ​นา​ปาฏิหาริย​์ ห​ าก​แสดง​เพยี ง​อยา่ ง​ ใดอ​ ยา่ งห​ นง่ึ แ​ ละไ​มน​่ ำไ​ปส​ อ​ู่ นส​ุ าสนป​ี าฏหิ ารยิ ซ​์ ง่ึ เ​ปน็ ป​ าฏห​ิ าร​ยิ ท​์ พ​่ี ระองค​์ ทรง​สรรเสรญิ ม​ ากท​ ี่สดุ ​ ​ ใน เกว​ ฏั ฏ​สตู ร ไ​ดเ​้ ล่า​ถงึ ค​ ร้ังพ​ ทุ ธ​กาล​​ม​ีชาว​บ้านท​ ่เ​ี มืองน​ าล​ ันทา​ ชื่อ​ เก​วัฏฏะ​ ​ได้​กราบทูล​พระพุทธเจ้า​ ​ขอ​อนุญาต​ให้​พระ​ภิกษุ​รูป​หนึ่ง​ กระทำ​อิทธิ​ปาฏิหาริย์​ ​เพ่ือ​ให้​ชาว​เมือง​นา​ลัน​ทา​เลื่อม​ใส​ใน​พระพุทธเจ้า​​ พระพุทธเจ้า​ทรง​ตอบ​เกวัฏฏะ​สรุป​ได้​ความ​ว่า​ ​ทรง​รังเกียจ​ปาฏิหาริย์​ ประเภท​ฤทธ​์ิ เ​น่อื งจาก​ปาฏหิ ารยิ ์ป​ ระเภท​ฤทธ​์ิ ​แม้​จะ​มฤี​ ทธ์ม​ิ ากมาย​แ​ ต​่ ก็​ไม่​อาจ​ทำให้​ผู้​ถูก​สอน​รู้​ความ​จริง​ใน​ส่ิง​ท้ัง​หลาย​ ​ไม่​สามารถ​แก้​ข้อ​สงสัย​ ใน​ใจ​ตน​ได้​ ​เมื่อ​แสดง​แล้ว​ผู้​ได้​พบเห็น​หรือ​ได้ยิน​ได้​ฟัง​ก็​จะ​งง​ ​ดู​เหมือน​ ผท​ู้ แ​ี่ สดงจะเ​กง่ ฝา่ ยเดยี ว ในขณะทผ​่ี ถ​ู้ กู ส​ อนก​ ย​็ งั ม​ ค​ี วามไ​มร่ อ​ู้ ยเ​ู่ หมอื นเ​ดมิ ​ สว่ นอนส​ุ าสนป​ี าฏหิ ารยิ ์นนั้ จ​ ะท​ ำใหผ​้ ฟ​ู้ งั เ​กดิ ป​ ญั ญา​ไ​ดร้​ ค​ู้ วามจ​ รงิ ​ไ​มต​่ อ้ ง​ มัวพ​ ่งึ พา​ผู​้ที​่แสดง​ปาฏหิ ารยิ ์​​แตจ​่ ะส​ ามารถพ​ ่ึงพา​ตนเองไ​ด้​ ​ เหตุผล​อีก​ประการ​หน่ึง​ ​คือ​หาก​ชาว​พุทธ​มัว​แต่​ยกย่อง​ผู้​มี​อิทธิ-​ ปาฏิหาริย์​แล้ว​อาจ​ทำให้​เสีย​หลัก​ศาสนา​ได้​ ​เน่ืองจาก​พระ​สงฆ์​ผู้​ปฏิบัติ​ดี​ ​ปฏิบัติ​ชอบ​ ​แต่​ไม่มี​อิทธิ​ปาฏิหาริย์​ซ่ึง​มี​อยู่​เป็น​จำนวน​มาก​ ​จะ​ไม่​ได้​รับ​ การ​บำรุง​จาก​ชาว​บ้าน​ ​แต่​ผู้​ท่ี​ไม่มี​คุณ​ธรรม​เป็น​สาระ​แก่น​สาร​ ​หาก​แต่​มี​ luangpordu.com

๑๓๒ 132 อิทธ​ิปาฏิหาริย​์ ​จะม​ ผี​ ้คู นศ​ รัทธาใ​หค​้ วามเ​คารพน​ บั ถอื แ​ ทน​ ​ อย่างไร​ก็ตาม​พระพุทธเจ้า​ก็​มิได้​ทรง​ละ​การ​ทำ​ฤทธ์ิ​และ​ดัก​ทาย​ใจ​ ถ้า​เรา​ได้​ศึกษา​พุทธ​ประวัติ​ใน​บท​สวด​พา​หุง​ฯ ​จะ​พบ​ว่า​พระองค์​ทรง​ใช้​ ฤทธ​ปิ์ ราบ​เ​ชน่ ​เ​รอ่ื ง​พระ​อง​ค​ลุ ​มิ าล​​หรอื ​ท​ รง​ใช​ฤ้ ทธป​ิ์ ราบฤ​ ทธ​ิ์ ​เช่น​เ​รอ่ื ง​ ปราบพ​ ญานาคท​ ชี​่ ือ่ ​นนั ​โทป​ นัน​ทะ​ห​ รอื ​เร่อื งป​ ราบ​ทฏิ ฐ​ิ ทา้ ว​พกา​พรหม​ เม่ือ​ปราบ​เสร็จ​ก็​เข้า​สู่​อนุ​ศาสนี​ปาฏิหาริย์​ ​คือ​ ​ทรง​แสดง​คำ​สอน​ที่​ทำให้​ เห็น​หลัก​ความ​เป็น​จริง​ซ่ึง​เมื่อ​ผู้​ใด​ปฏิบัติ​ตาม​ก็​ย่อม​จะ​พบ​ความ​จริง​แห่ง​ ความ​พ้น​ทกุ ข​์ ​ หลวงปด​ู่ ท​ู่ า่ นก​ ไ็ ดด​้ ำเนนิ ต​ ามพ​ ทุ ธว​ ธิ ก​ี ารส​ อนน​ เ​้ี ชน่ ก​ นั ​ข​ า้ พเจา้ แ​ ละ​ เพือ่ นห​ มค​ู่ ณะห​ ลายท​ า่ นข​ อเ​ป็นป​ ระจักษ์​พยาน​ใ​นร​ ะยะแ​ รก​ท​ข่ี ้าพเจ้าไ​ด​้ มาว​ ดั ส​ ะแกแ​ ละพ​ บก​ บั เ​หตกุ ารณต​์ า่ งๆ​ท​ เ​่ี รยี กก​ นั ว​ า่ ​“​ ป​ าฏหิ ารยิ ”​์ ​อ​ นั เ​กย่ี ว​ เน่ือง​กับ​หลวงปู่​ดู่​นี้​ ​ข้าพเจ้า​รู้สึก​แปลก​ใจ​และ​งุนงง​กับ​เร่ือง​ราว​ท่ี​เกิด​ขึ้น​ ต่อ​มา​เมื่อ​ได้​ศึกษา​คำ​สอน​ของ​ครูบา​อาจารย์​มาก​ขึ้น​ ​จึง​เร่ิม​มี​ความ​เข้าใจ​ ท่ี​ถกู ​​และเ​รมิ่ ร​ ว้​ู า่ ​หลวงปูต่​ อ้ งการ​จะส​ อน​อะไรก​ บั ​เรา​ ​ การ​เรียนธ​ รรมะ​​การฟ​ ังธ​ รรมะ​ของ​ผ​ู้เรม่ิ ส​ นใจศ​ กึ ษา​ห​ลาย​ๆ​ท​ า่ น​ เปรยี บเ​สมอื นก​ ารก​ นิ ย​ าข​ ม​ห​ ลวงปจ​ู่ งึ ไ​ดใ​้ ชก​้ ศุ โลบายน​ ำเ​อา​“​ ป​ าฏหิ ารยิ ”์ ​ ทง้ั ​สามอ​ ยา่ งม​ า​ใชก​้ ับ​ศิษย์​ประกอบก​ ันจ​ งึ ​สำเร็จ​ประโยชน์​ดว้ ย​ด​ี เ​หมอื นก​ บั ท​ า่ นใ​หเ​้ ราท​ านย​ าข​ มท​ เ​ี่ คลอื บด​ ว้ ยข​ นมห​ วานเ​อาไ​ว​้ เ​มอ่ื ​ ทกุ ค​ นต​ ระหนกั แ​ ละเ​ขา้ ใจใ​นค​ ณุ ป​ ระโยชนข​์ องย​ าข​ มด​ แี ลว้ ​ข​ นมห​ วานน​ นั้ ​ ก​็จะ​หมด​ความห​ มายไ​ป luangpordu.com

133 ๑๓๓ ๗​ ๔​ ​เร่อื ง​บังเอญิ ​ท่ีไ​มบ​่ งั เอญิ ​ ใ​นช​ วี ติ ข​ องเ​ราท​ กุ ๆ​ ​ค​ น​ค​ งเ​คยไ​ดผ​้ า่ นเ​หตกุ ารณต​์ า่ งๆ​ห​ ลากห​ ลาย​ รส​แ​ ละใ​นบ​ รรดาเ​หตกุ ารณห​์ ลายเ​รอ่ื งท​ ผ​ี่ า่ นไ​ปน​ น้ั ​ค​ งม​ บ​ี างเ​รอ่ื งท​ เ​่ี ราเ​คย​ มี​ความร​ ู้สึกว​ ่า​..​​.​ชา่ งบ​ งั เอิญ​เสียจ​ รงิ ๆ​ ​ ​ คำ​วา่ ​​“บ​ ังเอญิ ​”​​น​สี้ ำหรบั น​ ัก​ปฏิบัติ​ภาวนา​แล้วด​ ​เู หมือน​จะข​ ดั ​กบั ​ “​หลักค​ วาม​จรงิ ​”​​ตามค​ ำส​ อนข​ องพ​ ระพทุ ธเจา้ ข​ องเ​รา​​ดงั เ​รือ่ ง​ทข่ี​ า้ พเจา้ ​ ขอ​ยก​มา​เปน็ ​ตัวอยา่ งน​ ้​ี ​ ภาย​หลัง​ที่​พระพุทธเจ้า​ตรัสรู้​ ​และ​ได้​แสดง​ธรรม​โปรด​ฤๅษี​ท้ัง​ ​๕​​ หรอื ป​ ญั จ​วคั คยี ​์ จ​ นไ​ด​บ้ รรล​ธุ รรมเปน็ ​พระ​อรห​ นั ต​ แ​์ ลว้ ว​ นั ห​ นง่ึ ​พ​ ระ​อสั ส​ ​ช​ิ หน่ึง​ใน​ปัญจ​วัคคีย์​ได้​เข้าไป​บิณฑบาต​ใน​เมือง​ ​ยัง​มี​ปริ​พา​ชก​หรือ​นักบวช​ นอกพ​ ุทธ​ศาสนาร​ ปู ห​ น่งึ ช​ ือ่ ​อ​ ุปต​ สิ ​สะ​เ​ดินม​ า​พบพ​ ระอ​ สั ส​ ​ชิเ​ขา้ ​​ได​้แลเ​หน็ ​ ทา่ ทาง​อันส​ งบ​นา่ เ​ลือ่ ม​ใส​จ​ ึงเ​ข้าไป​ถาม​ท่านว​ ่า​ ​“ใ​ครเ​ปน็ ศ​ าสดา​ของ​ทา่ น​ศ​ าสดา​ของท​ ่านส​ อนว​ า่ ​อย่างไร”​ ​ ​ พระ​อัส​ส​ชิตอ​ บว​ า่ ​ ​​ “​เย​​ธัมม​ า​เ​ห​ตุปัปภะ​วา​​เตสงั ​เ​หต​ุ ต​ ​ถาค​ะโต​​เตสัญ​​จะ​​โย​​น​ิโรโธ​ จ​ะ เ​อวงั ​​วาท​ี ม​ หา​สะมะโณ​”​ luangpordu.com

๑๓๔ 134 ​ แปล​ไดค้​ วาม​ว่า​“​ ธ​ รรมท​ ้ัง​หลาย​เกิดจ​ าก​เหตุ​ถ​ า้ ​ตอ้ งการด​ ับ​​ตอ้ ง​ ดับ​เหตุ​ก่อน​พ​ ระพทุ ธอ​ งคท​์ รง​สอนอ​ ย่างน​ ี้”​ ​ ​ อปุ ต​ สิ ส​ ะเ​มอื่ ​ไดย้ ินค​ ำต​ อบก​ ​็เกดิ ​ความ​แจง้ ใ​นจ​ ติ ​ จ​ น​ได้​บรรล​ุธรรม​ เบื้อง​ต้น​ใน​ที่​น้ัน​เอง​ และ​ขอ​เข้า​บวช​กับ​พระพุทธเจ้า​​ต่อ​มา​ท่าน​ได้​บรรลุ​ ธรรมเ​ปน็ พ​ ระอ​ รห​ นั ต​ ​์ เ​ปน็ พ​ ระอ​ คั รส​ าวกเ​บอ้ื งข​ วาท​ เ​ี่ ราร​จู้ กั ก​ นั ใ​นน​ ามของ​ พระส​ าร​ ีบ​ ุตร​​นั่นเอง​ ​ พระพทุ ธศ​ าสนาเ​ปน็ ศ​ าสนาท​ ว​่ี า่ ด​ ว้ ยเ​หตก​ุ บั ผ​ ล​ผ​ ลย​ อ่ มเ​กดิ แ​ ตเ​่ หต​ุ เทา่ นน้ั ​​จะ​เกิดข​ ้นึ ​ลอยๆ​​ไม่​ได​้ ​หลวงปูเ​่ คยบ​ อก​ขา้ พเจ้าว​ า่ ​ ​“​ถ้า​เรา​มี​ญาณ​หย่ัง​รู้​ ​ทุก​ส่ิง​ทุก​อย่าง​ท่ี​เกิด​ใน​ชีวิต​เรา​ ไม่มี​เร่ือง​ บงั เอิญ​เลย​”​ ​ ผู้​ปฏิบัติ​ภาวนา​ต้อง​ให้​ความ​สำคัญ​ท่ี​เหตุ​ ​มาก​กว่า​ให้​ความ​สำคัญ​ ท​ี่ผล​​จึงข​ อ​ใหต​้ งั้ ใจ​สร้าง​แต​่เหต​ุทด่​ี ๆี ​เ​พอ่ื ผ​ ลท​ ดี่​ ีใ​น​วนั ​พรงุ่ น​ ​้ี ​และ​ตอ่ ​ๆ​​ไป​ luangpordu.com

135 ๑๓๕ ๗​ ๕​ ​คลืน่ ก​ ระทบ​ฝงั่ ​ ​ข้าพเจ้า​ขอ​เล่า​เหตุการณ์​หนึ่ง​ซึ่ง​เกิด​ขึ้น​เม่ือ​ต้นปี​ ​๒๕๔๐​ ​มา​น้ี​ ​ท่ี​ข้าพเจ้า​เชื่อ​ว่า​หลวงปู่​ดู่​ท่าน​เมตตา​มาโปรด​ ​โดย​เฉลย​ปัญหา​ข้อ​ขัดข้อง​ ใจ​ในก​ ารป​ ฏบิ ตั ิ​ธรรมข​ องข​ ้าพเจ้า​ ​เรื่องม​ อ​ี ยวู่​ า่ ใ​นร​ ะหวา่ งน​ ั้น​​ข้าพเจา้ ​มี​ข้อ​ขัดขอ้ ง​ใน​การป​ ฏบิ ัต​วิ ่า​จะ​ มี​อุบาย​วิธี​อย่างไร​จึง​จะ​สามารถ​ควบคุม​อารมณ์​ ​ควบคุม​จิตใจ​ของ​เรา​ให้​ เป็น​ไป​ในท​ าง​ท​ีเ่ รา​ตอ้ งการ​ได้​ใ​นค​ นื ​น้ัน​ขณะ​ที​ข่ า้ พเจ้า​เดินจ​ งกรม​ภาวนา​ เม่ือ​ใจ​เกิด​ความ​สงบ​ดีแล้ว​ ​ข้าพเจ้า​รู้สึก​เหมือน​ได้ยิน​เสียง​หลวงปู่​ดู่​บอก​ ข้าพเจ้า​ว่า​ ​คำ​ตอบ​ที่​ข้าพเจ้า​ต้องการ​น้ัน​อยู่​ใน​หนังสือ​ ​“​อุป​ลมณี​”​ ​ซึ่ง​ เปน็ ห​ นงั สอื เ​รอ่ื งร​าวช​ วี ติ แ​ ละก​ ารป​ ฏบิ ตั ธ​ิ รรม​ต​ ลอดจ​ นร​วมธ​ รรมะ​ คำส​ อน​ ของท​ า่ นพ​ ระโ​พธญ​ิ าณเ​ถระห​ รอื ห​ ลวงปช​ู่ า​ส​ ภุ ท​ั โ​ท​ว​ ดั ห​ นองป​ า่ พ​ ง​อ​ ำเภอ​ วารินชำราบ​​จังหวดั ​อบุ ลราชธานี​ขา้ พเจ้า​จึง​เดิน​ไปท​ ​ีต่ ูห​้ นงั สือ​​และ​หยิบ​ เอา​หนังสือ​อุป​ลมณี​มา​พลิกดู​ ​เป็น​ท่ี​อัศจรรย์​สำหรับ​ข้าพเจ้า​ว่า​ ​หนังสือ​ อุปล​ มณ​ี ​ซง่ึ เ​ปน็ ห​ นังสอื ​เล่ม​โต​ม​ ีค​ วามห​ นา​ถงึ ​​๕๘๕​ห​ นา้ ​ข​ ้าพเจา้ พ​ ลกิ ​ ด​ูเพยี งส​ อง​สาม​หน้าก​ บ็​ ังเกดิ ​ความ​ปตี ข​ิ นลกุ ​ขนช​ นั ​เนอ่ื งจาก​ได​พ้ บ​กบั เ​รอ่ื ง​ท​่ี ตอ้ งการใน​หน้า​​๒๗๖​ม​ ใี​จความ​วา่ ​ luangpordu.com

๑๓๖ 136 ​ “ธรรมอ​ ุปมา”​ ​การ​อุปมา​เป็น​วิธี​การ​สอน​ธรรมะ​ที่​ดู​เหมือน​หลวงปู่​ชอบ​มาก​ท่ีสุด​​ และเ​ปน็ ว​ ธิ ท​ี ท​ี่ า่ นถ​ นดั ม​ ากท​ ส่ี ดุ ด​ ว้ ย​ท​ า่ นย​ กเ​อาธ​ รรมชาตร​ิ อบด​ า้ นเ​ขา้ ก​ บั ​ สภาวะ​เ​ขา้ ก​ บั ป​ ญั หาถ​ กู ก​ บั จ​ รติ น​ สิ ยั ข​ องค​ นน​ น้ั ​อ​ ปุ มาอ​ ปุ ไมยป​ ระกอบก​ าร​ สอนธ​ รรมะ​จ​ งึ ท​ ำใหผ​้ ฟ​ู้ งั เ​กดิ ภ​ าพพจนต​์ ามไ​ปด​ ว้ ย​ท​ ำใหผ​้ ฟ​ู้ งั ส​ ามารถม​ อง​ ปัญหา​ได้​อย่าง​ทะลุ​ปรุโปร่ง​ ​หมด​ความ​สงสัย​ใน​หลัก​ธรรม​ที่​นำ​มา​แสดง​ ตัวอย่างก​ าร​อุปมา​ของ​หลวงปู​่ ไ​ดแ้ ก​่ ​ “​การ​ทำกรรม​ฐาน​ ​ทำ​เหมือน​ระฆัง​ใบ​นี้​ ​ระฆัง​น้ี​ตั้ง​ไว้​เฉยๆ​ ​เสียง​ ไม่มี​นะ​ ​สงบ​ ​สงบ​จาก​เสียง​ ​เมื่อ​มี​เหตุ​กระทบ​ข้ึน​มา​ ​(​หลวงปู่​ตี​ระฆัง​ดัง​ ๑ ท​ี)​​เหน็ ​ไหม​เสยี งม​ ันเ​กิดข​ นึ้ ​มา​​นักป​ ฏิบัติเ​ป็นค​ นม​ กั ​น้อย​อยา่ ง​น้ัน​เ​ม่ือ​ ม​ีปัญหาเ​กดิ ข​ นึ้ ​มา​แ​ ก้ไข​ทนั ท​ ่วงท​ี ​เลย​ชนะ​ดว้ ยป​ ญั ญา​ของเ​รา​แ​ ก้ป​ ญั หา​ แล้ว​ก​็สงบ​ตัวข​ อง​เราเ​หมือน​ระฆัง​น้ี”​ ​ “​ เ​หมอื นก​ บั ค​ ลนื่ ใ​นท​ ะเลท​ ก​ี่ ระทบฝ​ งั่ ​เ​มอื่ ข​ นึ้ ม​ าถ​ งึ แ​ คฝ​่ งั่ ม​ นั ก​ ส​็ ลาย​ เท่านั้น​ ​คลื่น​ใหม่​มา​ก็​ต่อ​ไป​อีก​ ​มัน​จะ​เลย​ฝ่ัง​ไป​ไม่​ได้​ ​อารมณ์​มันจะ​เลย​ ความ​รู้​ของ​เรา​ไป​ไม่​ได้​เหมือน​กัน​​เร่ือง​​อนิจ​จัง​​ทุก​ขัง​​อนัตตา​ ​จะ​พบกัน​ ท่ี​ตรง​นั้น​ ​มัน​จะ​แตก​ร้าว​อยู่​ที่​ตรง​นั้น​ ​มัน​จะ​หาย​ก็​อยู่​ตรง​นั้น​ ​เห็น​ว่า​ อนิจ​จัง​ ​ทุก​ขัง​ ​อนัตตา​ ​คือ​ ​ฝั่ง​ทะเล​อารมณ์​ท้ัง​หลาย​ผ่าน​เข้า​มา​เหมือน​ คลนื่ ​ทะเล​”​ ขณะน​ นั้ เ​ปน็ เ​วลาด​ กึ ม​ ากแ​ ลว้ ​ข​ า้ พเจา้ ค​ ดิ ว​ า่ ส​ มควรแ​ กเ​่ วลาพ​ กั ผ​ อ่ น​ จงึ ​ไดข​้ น้ึ ม​ าท​ ห​่ี อ้ ง​นอน​ท​ ​ต่ี ​หู้ วั เ​ตยี งม​ ห​ี นงั สอื อ​ ยห​ู่ ลาย​เลม่ ​แ​ ต​เ่ หมอื น​มส​ี ง่ิ ใ​ด​ luangpordu.com

137 ๑๓๗ ดลใจใ​ห​ข้ า้ พเจา้ ​หยบิ ห​ นงั สอื ​เลม่ ห​ นง่ึ ข​ น้ึ ​มา​ชอ่ื “​ ​พทุ ธ​ทาส​​สวน​โมก​ขพ​ ลาร​าม​ กำลงั ​แหง่ ​การ​หลดุ พ​ น้ ​”​เ​ป็นห​ นงั สือข​ นาดพ​ อๆ​​กับ​อปุ ​ลมณ​ี ​ซ่งึ ​รวมค​ ำ​สอน​ ของ​ท่าน​พทุ ธ​ทาสภ​ ิกขุไ​วม​้ เ​ี นื้อหา​​๓๕๖​ห​ นา้ ​แ​ ละ​มค​ี วามห​ นาถ​ งึ ห​ นง่ึ ​นิว้ ​ ขา้ พเจา้ ​เปดิ ​หนังสอื ​​พลิก​ดู​​๒-​๓​ ​​หน้า​ก​ ​็บังเกิด​ความป​ ีต​จิ นข​ นลุกข​ นช​ นั ​ อกี ค​ รง้ั ​เ​นอ่ื งจากไ​ดพ​้ บก​ บั ธ​ รรมอ​ ปุ มาใ​นเ​รอื่ ง​ค​ ลน่ื ก​ ระทบฝ​ ง่ั ​ซ​ ง่ึ เ​ปน็ เ​รอ่ื ง​ เดยี วกัน​อกี ​ค​ ดั ​ลอกจ​ าก​เทป​บนั ทึก​เสยี ง​ท่าน​พทุ ธท​ าส​ภกิ ขุ​​ซง่ึ ​อย่ใ​ู นห​ น้า​ ๑๔๖​ม​ ใี​จความว​ า่ ​ “​หลกั ​ปฏิบตั เ​ิ กย่ี วก​ ับ​พลังงานท​ าง​เพศ”​ ​ มัน​เป็น​ไป​โดย​อัตโนมัติ​ ​ไม่​ได้​มี​แผนการ​คือ​ ​เรา​ทำงาน​ท่ี​เรา​ชอบ​ หาม​รุ่ง​หามค​ ่ำ​​แล้วพ​ ลงั งานท​ ​เ่ี หลือท​ ​ีร่ ุนแรงท​ างน​ ้ัน​มนั ​ก็​ลด​​มนั ​ก็ห​ มด​ไป​ แรง​กระตุ้น​อยาก​มีชื่อ​เสียง​ ​อยาก​ให้​มี​ประโยชน์​แก่​ผู้​อ่ืน​ท่ี​เขา​คอย​รอ​ผล​ งานข​ อง​เรา​อ​ ันน​ ม้​ี ันม​ ม​ี ากก​ วา่ ​น​ กี​่ เ็​ลยท​ ำ​เสยี ​จนห​ มด​แรง​​พอ​เพลยี ​ก​็หลับ​ ไป​พ​ อ​ตื่น​ขึ้นม​ า​กท็​ ำ​อกี ​ไ​ม่มโี​อกาส​ใช้แ​ รงไ​ป​ทางเ​พศต​ รงก​ ันข​ ้าม​​เรา​ไม​่ได​้ เจตนา​โดยตรง​​มันเ​ปน็ ​ไปเ​อง เ​หตุการณม์​ ัน​บังคับ​ให้​เป็น​ไป​เอง​ค​ อื เ​ราห​ า​ อะไร​ทำให​้มัน​งว่ นอ​ ยู​ก่ บั ง​าน​ ​พอใจ​ในง​าน​​เป็นสุขใ​น​งานม​ ันก​ ็​ซบั ​บ​ล​เี มท​​ (​sublimate​ ​หมาย​ถึง​ ​กลั่น​กรอง​ ​ทำให้​บริสุทธิ์​ ​-​ ​ผู้​เขียน​)​ ​ของ​มัน​เอง​​ เอา​แรง​ทาง​เพศ​มา​ใช้​ทาง​สติ​ปัญญา​ ​เอา​แรงงาน​กิเลส​มา​ใช้​เป็น​เร่ือง​ของ​ สตป​ิ ัญญา​ต​ อ้ งม​ ​งี าน​อนั ​หนึง่ ซ​ ่งึ พ​ อใจ​ห​ ลงใหล​ขนาด​เป็นน​ างฟา้ ​​เหมอื น​ กบั ​เรยี นพ​ ระ​ไตรป​ ิฎก​ต​ อ้ งห​ ลงใหล​ขนาด​นางฟา้ ​ค​ วามร​ ้สู กึ ท​ างเ​พศม​ ัน​ก็​ ตอ้ ง​เกิด​​แต​่วา่ ​ความร​ ู้สกึ ท​ างน​ ้​ี (​​ความ​คิดท​ ่จี​ ะ​เปน็ ป​ ระโยชนแ์​ กส​่ ่วนร​ วม)​​ luangpordu.com

๑๓๘ 138 เหมอื นก​ บั ส​ ง่ิ ต​ า้ นทาน​เ​ชน่ ว​ า่ ​ค​ ลน่ื ก​ บั ฝ​ ง่ั ​ค​ ลน่ื ม​ นั ก​ แ​็ รงเ​หมอื นก​ นั ​แ​ ตว​่ า่ ​ ฝง่ั ​มนั ​แขง็ แ​ รงพ​ อจ​ ะร​ บั ​(​ห​ ัวเราะ)​​ ​ ถาม -​​ว​ ิกฤต​แบบจ​ วน​เจยี นจ​ ะไ​ปไ​ม่ไ​ป​ต​ ัดสนิ ใ​จอ​ ยา่ งไร​ ​ น่ัน​มัน​เร่ือง​คิด​ฝัน​ ​เวลา​มัน​ช่วย​ได้​หรือ​ว่า​ไม่รู้​ไม่​ชี้​ ​(​หัวเราะ​)​ ​มัน​ ชว่ ยไ​ด​้ ​มันเ​หมือน​กบั ​​คลื่นก​ ระทบฝ​ งั่ ​​พอ​พ้นส​ มยั ​พ​ ้นเ​วลา​​มนั ​ก็​ไมร่ ​้หู าย​ ไป​ไหน​แ​ ตส่​ รปุ ​แลว้ ม​ ัน​ต้อง​ทำงาน​​พอ​ถึงเ​วลาเ​ข้า​​มันต​ อ้ งท​ ำงาน​ม​ นั ​รกั ​ งาน​อยู่​​ไป​ทำงานเ​สยี ​ค​ วามค​ ิดฝ​ ันน​ น่ั ก​ ็ค​ ่อยๆ​ ​ซ​ า​ไปๆ​​มนั ​ไป​สนกุ ​ใน​งาน​ ​ ข้าพเจ้า​ได้​มา​พิจารณา​แล้ว​ เห็น​ว่า​เร่ือง​นี้​เป็น​อุปมา​ธรรม​ที่​มี​ ประโยชน​์มาก​​หาก​ไมบ​่ ันทึกไ​วเ​้ ปน็ ​หลัก​ฐานก​ ็​เกรงว​ า่ ​ตนเอง​จะห​ ลงลมื ใ​น​ ภายห​ ลงั ​แ​ ละจ​ ะไ​มเ​่ กดิ ​ประโยชน​์อะไร​ห​ าก​ไมน่​ อ้ มนำม​ าพ​ จิ ารณา​บอ่ ยๆ​ เรื่อง​ค​ ล่ืน​กระทบฝ​ ั่ง​นี้​จ​ งึ ก​ ลาย​เปน็ ​เ​รอ่ื งบ​ ังเอิญ​ที่ไ​มบ่​ งั เอญิ ​ท​ ข​ี่ ้าพเจา้ ไ​ด้​ “​ประสบ​”​อ​ ีกเ​ร่อื งห​ นง่ึ ​ luangpordu.com

139 ๑๓๙ ​๗๖​ ห​ ลวงปบ​ู่ อกข​ อ้ สอบ​ ​ ใน​ราวป​ ี​​พ​.ศ​ .​​๒​ ๕๒๗​-​​๒​ ๕๒๘​​สมัย​ทีข่​ า้ พเจ้า​ยัง​เปน็ น​ ัก​ศกึ ษาอ​ ย​ู่ ท​่ีคณะ​พาณชิ ย​ ศ​ าสตร​์และ​การ​บัญช​ี ม​ หาวทิ ยาลยั ​ธรรมศาสตร​์ ห​ ลวงปด​ู่ ​ู่ ท่าน​เคย​บอก​ข้อสอบ​ให้​ข้าพเจ้า​ทราบ​ล่วง​หน้า​และ​ช่วย​เหลือ​ข้าพเจ้า​ใน​ การ​ทำ​ขอ้ สอบ​เ​ท่าท​ ่​ีข้าพเจา้ ​จำ​ความไ​ด้ถ​ ึง​​๕​ว​ ชิ าด​ ว้ ย​กนั ​ ​ ข้าพเจ้า​จะ​ขอ​เล่า​เฉพาะ​วัน​ท่ี​หลวงปู่​บอก​ข้อสอบ​ ​วิชา​ท่ี​อาจารย์​ ฉายศ​ ิลป์​​เชย่ี วชาญพ​ ิพัฒน​์ ​เปน็ ผ​ ู้​สอน​ค​ ือ ว​ ชิ าแ​ รงงานสมั พนั ธ์​​คนื ​วนั น้นั ​ เวลาป​ ระมาณ​๓​ ​ท​ มุ่ ​ก​ อ่ นว​ นั ส​ อบ​๑​ ​ว​ นั ​ข​ า้ พเจา้ น​ ง่ั อ​ า่ นต​ ำราแ​ ละท​ บทวน​ ความ​รู้​ที่​อาจารย์​ได้​สอน​มา​ตลอด​เทอม​ ​ขณะ​ที่​ข้าพเจ้า​กำลัง​มี​สมาธิ​กับ​ ตำรา​ท่ี​อยู่​เบื้อง​หน้า​ ​ข้าพเจ้า​รู้สึก​เย็น​วาบ​ขึ้น​ที่​ใจ​พร้อม​กับ​มี​เสียง​บอก​ ข้าพเจ้า​ว่า​“พระ​ธาตุ​หลวง​ปู่ทวด​เสด็จ”​ ​ข้าพเจ้า​หัน​หลัง​กลับ​ไป​มอง​ท่ี​ โตะ๊ ​หม​ูบ่ ูชาใ​นห​ ้อง​ทนั ทแ​ี ละ​เกดิ ​ความ​สงสัยว​ ่า​พระธ​ าตเ​ุ สดจ็ ม​ า​​แล้วท​ า่ น​ อย​ู่ทไ่ี หนล​ ่ะ​.​..​อ​ ย​่ทู ​ีก่ ระถางธ​ ูป​เ​สียงต​ อบข​ ้าพเจ้า​ ข​ า้ พเจา้ ห​ ยดุ อ​ า่ นห​ นงั สอื ​เ​ดนิ ต​ รงม​ ายงั โ​ตะ๊ ห​ มบ​ู่ ชู า​ส​ ายตาห​ ยดุ อ​ ย​ู่ ที่​กระถาง​ธูป​ใบ​น้อย​.​.​.​แล้ว​ข้าพเจ้า​จะ​ทราบ​ได้​อย่างไร​ล่ะ​ ​ว่า​อัน​ไหน​เป็น​ เม็ดก​ รวด​​เม็ด​ทราย​อ​ ัน​ไหนเ​ป็นพ​ ระธ​ าต​ุ แ​ ตแ่​ ลว้ ​ขา้ พเจ้าก​ ็ม​ อง​เห็น​องค์​ luangpordu.com

๑๔๐ 140 พระ​ธาตสุ​ ​นี ำ้ ตาล​เกือบ​ดำ​​มี​สัณฐาน​คอ่ นข​ า้ งก​ ลม​​ขนาดเ​ลก็ ​มาก​เหมอื น​ ไขป่ ลา​​ข้าพเจา้ ​จึง​แยก​ออกม​ า​จาก​กระถาง​ธูป​เพื่อ​นำม​ าบ​ ูชา​ ​ จากน​ น้ั ข​ า้ พเจา้ ไ​ดม​้ าน​ ง่ั อ​ า่ นห​ นงั สอื ต​ อ่ ​ส​ กั ค​ รก​ู่ ม​็ ค​ี วามร​ สู้ กึ เ​หมอื น​ มี​คน​บอก​ให้​ข้าพเจ้า​เขียน​จดหมาย​วิจารณ์​การ​สอน​ของ​อาจารย์​ผู้​สอน​ ข้าพเจ้าก​ ​เ็ ลย​นึกส​ นกุ ​ข้ึน​มา​น​ ัง่ ​เขียน​จดหมาย​อยา่ ง​เอา​จริง​เอาจ​ ัง​​แทนที่​ จะน​ งั่ อ​ า่ นห​ นงั สอื ​เ​ขยี นเ​สรจ็ ก​ พ​็ บั ใ​สซ​่ อง​ต​ งั้ ใจไ​วว​้ า่ ว​ นั ร​ งุ่ ข​ นึ้ เ​มอื่ ส​ อบเ​สรจ็ ​ จะน​ ำไ​ป​มอบ​ใหอ​้ าจารย์ท​ ่​หี ้อง​พกั ข​ อง​ท่าน​ ​ วัน​รุ่ง​ขึ้น​เป็น​วัน​สอบ​ ​เมื่อ​ข้าพเจ้า​ได้​เห็น​ข้อสอบ​ซ่ึง​เป็น​ข้อสอบ​ บรรยายเ​สยี ส​ ว่ นใ​หญ​่ขา้ พเจา้ ต​ อ้ งแ​ ปลกใ​จท​ ห​่ี นง่ึ ใ​นข​ อ้ สอบบ​ รรยายข​ อ้ ใ​หญ​่ น้นั ​ใหว​้ ิจารณ​์การเ​รยี นก​ ารส​ อนข​ อง​อา​จาร​ยฯ์ ​ ​ใน​ตอน​แรก​ข้าพเจ้า​ก็​ไม่​ค่อย​จะ​แน่​ใจ​ตนเอง​เท่าใด​นัก ​ว่า​เรา​คิด​ ​เอา​เอง​หรอื ​เปล่า​เ​ปน็ ​เรื่องบ​ ังเอญิ ห​ รอื ไ​ม​่ เ​รอ่ื งพ​ ระธ​ าตเ​ุ สดจ็ ​ห​ ลวงปบ​ู่ อกข​ อ้ สอบ​ข​ า้ พเจา้ เ​ชอ่ื ว​ า่ ห​ ากเ​ปน็ ค​ น​ อื่น​ก็​คง​ไม่​แน่ใจ​ตนเอง​เหมือน​กัน​ ​แต่​ใน​ท่ีสุด​ก็​มี​เรื่อง​ที่​ยืนยัน​ให้​ข้าพเจ้า​ แนใ่ จว​ า่ เ​ปน็ เ​รอ่ื งจ​ รงิ ​เ​พราะเ​หตกุ ารณเ​์ กดิ ซ​ ำ้ ร​อยเ​ดมิ ​ห​ ากเ​ปน็ เ​รอื่ งบ​ งั เอญิ ​ คง​ไม่​สามารถ​เกิด​เร่ือง​ทำนอง​เดียวกัน​ได้​หลาย​ครั้ง​ ​หลวงปู่​บอก​ข้อสอบ​ ขา้ พเจา้ ​​อกี ​เปน็ ​ครง้ั ท​ ี่​​๒​ค​ ร้งั ท​ ่ี​​๓​​และ​ครั้งท​ ่ี​​๔​​ตา่ งก​ รรม​ต่างว​ าระ​กัน​​ จน​ผล​การ​สอบข​ องข​ ้าพเจา้ อ​ อกม​ าไ​ด้​เกรด​เอ​ห​ ลาย​วิชา​ ​ข้าพเจ้า​ได้​พิจารณา​ดู​แล้ว ​คิด​ว่า​เรื่อง​นี้​หลวงปู่​ต้องการ​สอน​อะไร​ บาง​อย่าง​ให้​แก่​ข้าพเจ้า​ ​คง​มิใช่​เพียง​แค่​การ​บอก​ข้อสอบ​และ​ก็​คง​มิใช่​เอา​ luangpordu.com

141 ๑๔๑ ไว้​ใหข​้ ้าพเจ้าน​ ำ​มาเ​ล่า​ให​้หมูค่​ ณะ​ฟงั ​เท่านนั้ ​ ปริศนา​ธรรม​จาก​นิมิต​คร้ัง​นี้​ ​จะ​จริง​หรือ​เท็จ​ประการ​ใด ​พระ​ธาตุ​ เสด็จม​ าจ​ ริง​หรือไ​ม่​ ​หรอื ห​ ลวงปู่บ​ อกข​ อ้ สอบจ​ ริง​หรอื ​ไม่​ ส​ ำหรบั ​ขา้ พเจ้า​ แล้ว​ถือว่า​เป็น​ปาฏิหาริย์​ที่​หลวงปู่​เมตตา​ให้​บท​เรียน​บท​ต่อ​มา​กับ​ข้าพเจ้า​ เป็น​บท​เรียน​ที่​นำ​ไป​สู่​ ​อนุ​สา​สนี​ปาฏิหาริย์​ ​ให้​ข้าพเจ้า​ได้​มี​ความ​เข้าใจ​ ​ใน​ธรรม​มากข​ ้นึ ​​และ​เปน็ ​ส​ มั มา​ทิฏฐ​ิ ​มาก​ขึ้นใ​นเ​วลา​ต่อม​ า​ ​ luangpordu.com

๑๔๒ 142 ​๗๗​ ​ตวั ป​ ระมาท​ ​หลัง​จาก​ที่​หลวงปู่​ได้​บอก​ข้อสอบ​ให้​ข้าพเจ้า​ทราบ​ครั้ง​แรก​แล้ว​ ท่าน​ก็ได้​ชว่ ย​ขา้ พเจ้าท​ ำข​ อ้ สอบ​อกี ​เปน็ ​คร้ังท​ ่​ี ​๒​ท​ ่​ที ่าน​ช่วยเ​หลอื ข​ ้าพเจ้า​ คราว​นี้​เป็น​วิชา​ ​พบ​.​ ​๒๘๓​ ​วิชา​การ​บริหาร​งาน​ผลิต​ซ่ึง​มี​อาจารย์​ผู้​สอน​ หลาย​ท่าน​​ข้อสอบ​มี​หลาย​ลักษณะ​ทั้ง​บรรยาย​​เติม​คำ​ ​ให้​กากบาท​หน้า​ ข้อ​ทถ​ี่ กู ต​ ้องท​ ่ีสดุ ​​ฯลฯ​ ห​ ลวงปด​ู่ ท​ู่ า่ นเ​คยส​ อนว​ ธิ ท​ี ำข​ อ้ สอบแ​ บบป​ รนยั ​(​ใ​หก​้ ากบาทห​ นา้ ข​ อ้ ​ ทถ​่ี กู ต​ อ้ งท​ ส่ี ดุ )​​ใ​หข​้ า้ พเจา้ ว​ า่ ​เ​วลาท​ เ​่ี ราไ​มแ​่ นใ่ จ​แ​ ทนทเ​่ี ราจ​ ะเ​ดาส​ มุ่ ห​ รอื ท​ ​ี่ เรยี กว​ า่ ก​ าส​ ง่ เดช​เ​ราจ​ ะไ​มท​่ ำ​อ​ ยา่ งน​ น้ั ห​ ลวงปท​ู่ า่ นส​ อนใ​หข​้ า้ พเจา้ ห​ ลบั ตา​ และ​นกึ ถึง​หลวงปทู​่ วด​​(​หลวงป​ู่ทวด​เ​หยยี บ​น้ำท​ ะเลจ​ ืด​)​แ​ ลว้ กร​ าบเ​รยี น​ ถามท​ า่ น​ ​ ขณะ​ท่ี​อยู่​ใน​ห้อง​สอบ​ ​เมื่อ​ข้าพเจ้า​ทำ​ข้อสอบ​เสร็จ​ ​แต่​เวลา​ยัง​ ไม่​หมด​ ​และ​ยัง​มี​ข้อสอบ​ประเภท​กากบาท​เหลือ​อีก​ประมาณ​ ​๑๐​ ​ข้อ​ท่ี​ ขา้ พเจา้ ไ​มแ​่ นใ่ จ​ข​ า้ พเจา้ ไ​มร​่ อช​ า้ ​น​ กึ ถงึ ท​ ห​่ี ลวงปส​ู่ อนท​ นั ท​ี ค​ อ่ ยๆ​ ​พ​ จิ ารณา​ ที​ละ​ข้อ​ห​ าก​ขอ้ ​ใด​ถกู ​ต้องเ​มอ่ื ข​ า้ พเจา้ ​เอาป​ ากกาจ​ ิม้ ​ไปท​ ​ี่ตวั ​เลือก​จ​ ะ​เกดิ ​ เป็น​แสง​สว่างข​ ึน้ ​ทันที​แ​ ตถ​่ ้าไ​ม​ถ่ กู ​ต้อง​ก​ ​็จะม​ ดื แ​ ละ​ไมม่ ีแ​ สงส​ ว่าง​ luangpordu.com


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook