Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตามรอยธรรมย้ำรอยครู หลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ

ตามรอยธรรมย้ำรอยครู หลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ

Published by Thalanglibrary, 2020-12-15 02:03:48

Description: ประวัติและคติธรรมคำสอนของพระพรหมปัญโญหรือหลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ วัดสะแก อ.อุทัย จ.พระนครศรีอยุธยา

Search

Read the Text Version

143 ๑๔๓ ​ ขา้ พเจา้ ท​ ำข​ อ้ สอบส​ ว่ นท​ เ​ี่ หลอื ด​ ว้ ยว​ ธิ น​ี จ​ี้ นเ​สรจ็ เ​รยี บรอ้ ย​หลงั จ​ าก​ ประกาศ​ผล​สอบ​ออก​มา​​ขา้ พเจา้ ไ​ด้​เกรด​​A​เ​ชน่ ​เคย​เ​ดือนต​ อ่ ​มา​​ข้าพเจ้า​ ได้​มี​โอกาส​นำ​เรื่อง​นี้​ไป​เรียน​ถวาย​ให้​หลวงปู่​ทราบ​ ​ใน​คร้ัง​น้ัน ​มี​เพ่ือน​ ​ของ​ข้าพเจ้า​ซ่ึง​เรียน​อยู่​ใน​มหาวิทยาลัย​อีก​แห่ง​หน่ึง​มาก​ราบ​หลวงปู่​ด้วย​ เช่น​กัน​เ​พ่อื น​ข้าพเจา้ ​คน​น​้ไี ด้ฟ​ ัง​เรื่องท​ ข​ี่ ้าพเจา้ ​เลา่ ถ​ วาย​หลวงปู่​​เขาจ​ งึ ไ​ด​้ กราบ​เรยี นถามห​ ลวงปว​ู่ ่า​ ​ “ผมไ​ด้​ทำ​ข้อสอบก​ ากบาท​แบบน​ ​ี้เหมือน​กัน​ ​ขอ้ สอบม​ ​ี ​๑๐๐​ ข​ อ้ ​​ พอ​เข้า​ห้อง​สอบ​ผม​ก็​หลับตา​นึกถึง​หลวงปู่​ ​ขอ​ให้​ช่วย​ทำ​ข้อสอบ​ด้วย​ จากน​ นั้ ก​ ท​็ ำข​ อ้ สอบโ​ดยใ​ชว​้ ธิ ห​ี ลบั ตาเ​ชค็ ท​ ล​ี ะข​ อ้ จ​ นค​ รบ​๑​ ๐๐​ข​ อ้ ​ผ​ ลส​ อบ​ ออก​มา​ปรากฏว​ ่าไ​ด​้ F​ ​​คือ​​สอบต​ ก​​ทำไม​เปน็ ​อยา่ งน​ ​คี้ รับ​หลวงปู่”​ ​ ​หลวงปู่​มอง​หน้า​เพื่อน​ของ​ข้าพเจ้า ​และ​เมตตา​อบรม​เตือน​สติ​ ทั้ง​เพ่ือน​และ​ขา้ พเจา้ ​ว่า​ ​“แ​ ก​ไมพ​่ จิ ารณาใ​ห​้ดี​ น​ ั่น​แหละต​ วั ​ประมาท​ จ​ ำ​ไวต้ วั ​ประมาทน​ ่​ี แหละ​ตัว​ตาย”​ ​ ​ ตรง​กับ​พระพุทธ​พจน์​ทว​ี่ า่ ​​ ปมา​โท​ ​มัจจุ​โน​ ​ป​ทัง​ ​ความ​ประมาท​เป็น​หนทาง​ไป​สู่​ความ​ตาย​​ นั่นเอง​ luangpordu.com

๑๔๔ 144 ​๗๘​ ​ ​ของโ​กหก​ ม​ีพระพุทธ​พจน์ว​ า่ ​ ​ “​บุคคล​ใด​เ​หน็ ​สง่ิ ​อนั ไ​มเ​่ ปน็ ส​ าระว​ า่ ​เปน็ ​สาระ​​และ​เห็น​สิ่ง​อันเ​ปน็ ​ สาระ​ว่า​ไม่​เป็น​สาระ​ ​บุคคล​น้ัน​มี​ความ​ดำริ​ผิด​ประจำ​ใจ​ ​ย่อม​ไม่​อาจ​พบ​ สาระ​ได​้ ​ ส่วนบ​ ุคคล​ใด​เ​ห็นส​ ิ่งอ​ ันเ​ป็น​สาระว​ ่าเ​ป็นส​ าระ​​สง่ิ อ​ นั ​ไมเ​่ ป็นส​ าระ​ ว่าไ​ม​เ่ ป็นส​ าระ​บ​ คุ คล​นน้ั ​มค​ี วาม​ดำรถ​ิ ูก​ประจำใ​จ​​ยอ่ ม​สามารถพ​ บส​ ง่ิ อ​ ัน​ เปน็ ​สาระ​”​ ​เรอื่ ง​ราว​​เหตกุ ารณ์​​บุคคล​​สัตว์​ส​ ิง่ ของต​ ่างๆ​ท​ ่ผี​ ่าน​เขา้ ​มา​ในช​ ีวติ ​ ของเ​รา​นน้ั ​​ สรรพส​ งิ่ ล​ ว้ นเ​ปลยี่ นแปลง​ไ​มค​่ งท​่ี แ​ ละไ​มส​่ ามารถค​ งอ​ ยต​ู่ ลอดไ​ป​ ​ หาก​เรา​ร้จู ักส​ ังเกต​ ​ฝึกหดั พ​ จิ ารณาห​ าเหต​หุ าผ​ ล​ ​จนใ​จ​คุ้นเ​คย​กับ​ ความ​เห็น​ตามค​ วาม​จริง​ เ​ราจ​ ะเ​หน็ ถ​ งึ ค​ วามเ​ปลย่ี นแปลงท​ ง้ั บ​ คุ คลและส​ ง่ิ ของท​ กุ อ​ ยา่ งรอบต​ วั ​ เราไ​ดไ้​ม่​ยากน​ ัก​ luangpordu.com

145 ๑๔๕ ๗​ ๙​ ถ​ ึงว​ ัดห​ รอื ย​ ัง​ ​ ธรรมะเ​ปน็ ส​ งิ่ ท​ ม​ี่ อ​ี ยร​ู่ อบๆ​ ​ต​ วั เ​ราท​ กุ ๆ​ ​ค​ น​เ​พยี งแ​ ตว​่ า่ เ​ราจ​ ะส​ ามารถ​ มอง​เหน็ ​และ​นำ​มาพ​ จิ ารณา​ได้​แค่​ไหนอ​ ยา่ งไร​​ในส​ มัยพ​ ทุ ธก​ าล​​ท่าน​หมอ​ ชี​วก​โก​มาร​ภัจจ์​ ​แพทย์​ประจำ​องค์​พระพุทธเจ้า​ของ​เรา​ ​สมัย​ท่ี​ศึกษา​อยู่​ กบั ​อา​จารย​ ์​ทิศา​​ปาโมกข์​​กอ่ น​จะส​ ำเร็จว​ ิชาก​ าร​แพทย​์ ท​ ่าน​ให้​ถือเ​สยี มไ​ป​ เทีย่ ว​หาด​ ​วู ่า​มสี​ งิ่ ห​ นงึ่ ส​ ง่ิ ​ใด​ที​่ใช​้เปน็ ย​ า​ไม​่ได​้ ​ให้​นำม​ า​ให​้ โ​ดย​ใหไ​้ ป​เท่ยี ว​หา​ ๔​​วนั ​​วัน​ละ​ทิศ​ท​ ิศล​ ะ​​๑​โ​ยชน์​ร​ อบเ​มอื งต​ ัก​ศลิ า​ท​ า่ นห​ มอช​ วี ​กรบั ค​ ำ​สงั่ ​ อาจารย์​แล้ว​ถือ​เสยี มไ​ป​เท่ียว​หา​ตาม​คำ​ส่ังข​ อง​อาจารย​์ ​กไ็​มไ​่ ด​พ้ บเห็นส​ ิ่ง​ ใด​ท่ี​ไม่ใช่​ยา​เลย​ ​เมื่อ​กลับ​มา​แล้ว​เข้า​พบ​อาจารย์​ ​แจ้ง​ความ​น้ัน​ให้​ทราบ​​ อาจารย์​จึงก​ ลา่ ว​วา่ ​ เ​ธอ​เรยี น​วชิ าแ​ พทย​ส์ ำเร็จแ​ ลว้ ​ ​ความร​ ู​้เท่าน​ ีพ้​ อเ​พยี ง​ ท​ี่เธอจ​ ะ​ใชเ้​ป็นอ​ าชีพไ​ด้​แล้ว​ ​ตน้ ไมท​้ กุ ช​ นดิ ​​หนิ ​ด​ นิ ​แ​ ร​ต่ า่ งๆ​​มค​ี ณุ คา่ ​ส​ ามารถ​นำ​มาเ​ทยี บ​เปน็ ​ยา​ ได้​ฉนั ใด​​บุคคลผ​ ้​ูมีค​ วาม​ฉลาด​ก​็ฉัน​น้ัน​ร​ อบๆ​ ​ต​ ัว​เราท​ กุ ส​ ง่ิ ​ทุก​อยา่ ง​ไมว​่ ่า​ คน​​สตั ว์​ส​ ง่ิ ของ​เ​รื่อง​ราว​เหต​กุ าร​ ณ​์ใดๆ​​กต็ ามท​ ่​เี กดิ ข​ ้นึ ​​และผ​ า่ นเ​ขา้ ม​ า​ ใน​ชีวิต​ประจำ​วัน​ของ​เรา​นั้น​ ​ไม่มี​เร่ือง​ใด​ ​ท่ี​ไม่​สามารถ​นำ​มา​พิจารณา​ให้​ เป็น​ธรรมะไ​ด้​เลย​ luangpordu.com

๑๔๖ 146 ​ ​พระพทุ ธ​เจ​าท​าน​สอน​ให​เรา​ม​ีความ​เข​า​ใจ​ใน​โลก​ธรรม​ทง้ั ​ ​๘​ ​อย​าง​ ​ได​แ ก​ ​ ​ ไ​ด​ล าภ​​​เสอ่ื ม​ลาภ​ ​ ​ ไ​ดย​ ศ​​เ​สอ่ื ม​ยศ​ ​ ​ ไ​ดร​ บั ​ความส​ ขุ ​​ป​ ระสบก​ บั ​ความ​ทกุ ข​ ​ ​ ​มค​ี นส​ รรเสรญิ ​​​และ​ม​คี น​นนิ ทา​ ​ ​..​.​​ถ​า ​ใจเ​ปรยี บ​เหมอื น​นำ้ น​ ง่ิ ​เ​มอ่ื ใ​จเ​รา​กระทบ​กบั ​โลก​ธรรม​​๘​​อยา​ ง​น​้ี ​แล​วก​ระ​เพ่อื ​ม​ไหว​ไป​ตาม​อา​รมณ​ ​ก็เป​น​โลก​ ​แต​ถ​า​พิจารณา​อย​า​งมี​สติ​ ​จน​เท​า​ทัน​โลก​ธรรม​ ​๘​ ​อย​าง​แล​ว​ ​ไม​ซัด​ส​าย​ไป​ตาม​อา​รมณ​ท้งั หมด​น้ี​ ​ใจ​กเ็ ปน​ ธรรม​อย​โู ดย​ตลอด​ ​ ​ธรรมะ​แท​อย​ูท ​่ใี จ​ ​มใิ ช​ท​่วี ดั ​ ​พระ​สงฆ​ ​หรอื ​คมั ภรี ​ใบ​ลา​นทล่​ี ​ว นเป​น ​ ศาสน​สถาน​ ​ศาสน​บคุ คล​​หรอื ​ศาสน​วตั ถ​ุ ​เท​า ​นน้ั ​ ​หาก​เรา​เข​า ​ใจ​ได​อ ย​า ง​น้​ี ​ ศาสน​ธรรม​อนั ​เป​น ​สง่ิ ​สำคญั ​ทส่ี ดุ ​ก​จ็ ะ​เกดิ ​ขน้ึ ​ท​ต่ี วั ​เรา​​เมอ่ื ​นน้ั ​​เรา​ก​จ็ ะ​เข​า ​ใจ​ คำวา​ ​​“พระท​ ​ค่ี ลอ​ ง​ใจ​” ​มใิ ช​ ​“พระท​ ​ค่ี ล​อ งค​ อ”​ ​ ​หลวงป​ ดู่ ​ู ท​ ​า น​สรปุ เ​รอ่ื งน​ ใ้ี ห​ข ​า พ​เจา​ ฟ​ง ว​า ​ ​ ​“ถ​ งึ ​แกม​ าว​ ดั ​แ​ ตใ​ จ​ยงั ม​ โ​ี กรธ​โ​ลภ​ห​ ลง​ไ​ป​ตาม​​๘ อย​า งท​ ​ว่ี า​ ​น​้ี ​แก​ ยงั ​มาไม​ถ งึ ​วดั ​ ​แต​ถ ​า ​แกอย​บู ​า น​หรอื ​ท​ไ่ี หน​ๆ​ ​แต​ไ ม​โ กรธ​ ​ไม​โ ลภ​ ​ไม​ห ลง​ ไม​ม ​ี ๘​ ​​อย​า ง​น​ม่ี าก​วนใ​จ​​ข​า วา​ ​แกม​ าถ​ งึ ว​ ดั แ​ ลว​ ​” luangpordu.com

147 ๑๔๗ ๘​​ ๐​ ร​ างวัล​ทนุ ภ​ ูมพิ ล​ ​ เมื่อ​ปี​ ​พ​.​ศ​.​๒๕๒๗​ ​ขณะ​ที่​ข้าพเจ้า​กำลัง​ศึกษา​อยู่​ท่ี​มหาวิทยาลัย​ ธรรมศาสตร​์ ม​ ​เี หตกุ ารณห์​ นึ่งซ​ ึ่งห​ ลวงป​ ูท่ วดไ​ด้​เมตตา​ให​ค้ วาม​ชว่ ยเ​หลอื ​ จน​ข้าพเจา้ ​ไม่มวี​ นั ท​ ่ี​จะล​ ืมไ​ป​ได​้ ​คือ​วนั ห​ น่งึ ​ขา้ พเจ้าไ​ด​้ทราบ​ขา่ วว​ า่ ​​ทาง​ มหาวิทยาลัย​จัด​ประกวด​การ​เขียน​เรียง​ความ​ใน​หัวข้อ​เร่ือง​ “​พระบาท-​ สมเดจ็ พ​ ระเจ้า​อย่​หู วั ภ​ มู ​ิพลอ​ดุลย​เดชก​ บั พ​ ทุ ธ​ศาสนา​ในส​ ังคม​ไทย​”​ ​ ขา้ พเจา้ เ​กดิ ค​ วามส​ นใจท​ จ​ี่ ะเ​ขยี นเ​รยี งค​ วามด​ งั ก​ ลา่ วข​ นึ้ ม​ าท​ นั ท​ี แ​ ต​่ ก็​ไม่​แน่ใจ​ตนเอง​ว่า​จะ​มี​ความ​สามารถ​เขียน​ได้​ดี​สัก​เพียง​ใด​ ​เมื่อ​ข้าพเจ้า​ ตดั สนิ ใ​จแ​ นน่ อนแ​ ลว้ ว​ า่ จ​ ะเ​ขยี น​จ​ งึ ไ​ดม​้ ากร​าบพ​ ระ​ร​ะลกึ ถ​ งึ พ​ ระคณุ ค​ รบู า-​ อาจารย์​ ​และ​อาราธนา​หลวง​ปู่ทวด​และ​หลวงปู่​ดู่​เพื่อ​ขอ​ความ​ช่วย​เหลือ​ จาก​ท่าน​ให้​งาน​เขียน​ช้ิน​นี้​สำเร็จ​ลุล่วง​ไป​ด้วย​ดี​ ​ขณะ​ท่ี​ข้าพเจ้า​กำลัง​นึก​ อธษิ ฐานอ​ ยใ​ู่ นห​ อ้ งพ​ ระเ​พยี งล​ ำพงั น​ ​้ี ก​ บ​็ งั เกดิ น​ มิ ติ เ​ปน็ ห​ ลวงป​ ทู่ วดท​ า่ นเ​ดนิ ​ ออกม​ าจ​ ากโ​ตะ๊ ห​ มบ​ู่ ชู าม​ าห​ าข​ า้ พเจา้ ​ข​ า้ พเจา้ แ​ ลเ​หน็ ภ​ าพต​ วั เ​องน​ งั่ ค​ กุ เขา่ ​ หมอบ​ตวั ​ลง​​และ​หงายฝ​ า่ มอื ​ทัง้ ส​ อง​ย่นื ​ไปข​ ้างห​ นา้ ​เบือ้ ง​หน้า​ข​ า้ พเจา้ ​แล​ เห็น​เป็น​ภาพ​หลวง​ปู่ทวด​ยืน​สวด​มนต์​ให้​พร​ ​พร้อม​กับ​เป่า​ลง​ท่ี​มือ​ท้ัง​สอง​ ของข​ า้ พเจ้า​ใ​น​นิมติ ​นั้น​​ข้าพเจา้ ​เหน็ ​เป็น​อักขระ​โบราณอ​ ยู่เ​ตม็ ส​ อง​ฝ่ามือ​ luangpordu.com

๑๔๘ 148 ขา้ พเจา้ จ​ งึ ก​ ราบเ​รยี นถ​ ามห​ ลวงป​ ทู่ วดว​ า่ ​“​ อ​ ะไรห​ รอื ข​ อรบั ”​ท​ า่ นต​ อบส​ นั้ ๆ​ ว่า​“​ ​ความร​ ​”ู้ ​จ​ ากน​ ้นั ท​ ่านก​ ็​หนั ​หลังเ​ดินก​ ลบั ​หายล​ บั ​เข้าไป​ใน​โต๊ะ​หมู่​บูชา​ ​ ข้าพเจ้า​ปลื้ม​ปีติ​มาก​ ​และ​เกิด​เป็น​กำลัง​ใจ​อย่าง​ยิ่ง​ใน​การ​เขียน​ หนงั สอื ​ครง้ั ​นน้ั ​ ​และ​ได​ใ้ ช​เ้ วลา​กวา่ ​สาม​เดอื น​ ​จงึ ​เขยี น​เรยี ง​ความ​แลว้ ​เสรจ็ ​ ขณะ​ท่ี​เขียน​หาก​ติดขัด​อะไร​ ​เมื่อ​นึกถึง​หลวง​ปู่ทวด​ ​จะ​เหมือน​ท่าน​ช่วย​ ดลใจใ​หส​้ ามารถเ​ขยี นต​ อ่ ไ​ด​้ จ​ ะค​ น้ ควา้ ห​ รอื ห​ าข​ อ้ มลู อ​ า้ งองิ ใ​ดๆ​ ​ก​ ไ​็ มต​่ ดิ ขดั ​ เลย​​เปน็ เ​รียง​ความ​เร่ือง​ยาวข​ นาดม​ าก​กว่า​​๓๐​​หนา้ ก​ ระดาษ​พิมพ์ด​ ดี ​​ซึง่ ​ นับ​เป็นง​าน​เขยี น​ทย่ี​ าวท​ ส่ี ดุ ​ใน​ชีวิต​ของ​ขา้ พเจา้ เ​ลย​ทเี​ดียว​​ เมอื่ ท​ างม​ หาวทิ ยาลยั ป​ ระกาศผ​ ลก​ ารป​ ระกวดเ​รยี งค​ วาม​ง​านเ​ขยี น​ ของ​ข้าพเจ้า​เป็น​งาน​เขียน​ช้ิน​เดียว​ใน​ปี​น้ัน​ท่ี​ได้​รับ​พระราชทาน​รางวัล​ทุน​ ภูมิพล​ ​โดย​ได้​เข้า​รับ​พระราชทาน​รางวัล​เป็น​ทุน​การ​ศึกษา​จาก​พระหัตถ์​ ของ​พระบาท​สมเด็จพ​ ระเจ้าอ​ ยู่​หวั ฯ​​ใน​วันพระ​ราช​ทานป​ รญิ ญาบ​ ัตร​ ​ จาก​คน​ที่​ไม่​เคย​เขียน​หนังสือ​ ​จาก​คน​ท่ี​ไม่​เคย​สนใจ​งาน​ด้าน​ขีด​ๆ​​ เขียน​ๆ​​มาก​ อ่ น​​จน​มาไ​ด​้รับพ​ ระราชทานร​ างวัล​​ทุนภ​ มู พิ ล​​ไม​่เปน็ ท​ ่สี​ งสัย​ เลยว​ า่ ข​ า้ พเจา้ จ​ ะย​ นิ ดแ​ี ละด​ ใี จเ​พยี งใ​ด​ข​ า้ พเจา้ ข​ อกร​าบแ​ ทบเ​บอื้ งบ​ าทข​ อง​ หลวงป​ ทู่ วดแ​ ละห​ ลวงปด​ู่ ​ู่ ข​ อน​ มสั การด​ ว้ ยค​ วามเ​คารพ.​.​.​ด​ ว้ ยเ​ศยี ร.​.​.​​แ​ ละ​ เกลา้ ​.​.​.​ท่​ที ำ​ฝัน​ของ​ขา้ พเจ้า​ให​้เป็น​จริง​ ​ luangpordu.com

149 ๑๔๙ ​๘๑​ ห​ ลวง​ปู่ทวดช​ ่วยช​ วี ิต​ ​ ความ​ไมม่ ​ีโรค​เปน็ ​ลาภ​อนั ​ประเสรฐิ ​ ​เปน็ ​คำ​สอน​ของ​พระพทุ ธ​องค์​ ท่ี​ใช้ได้​ทุก​ยุค​ทุก​สมัย​ ​ความ​ทุกข์​ของ​คน​เรา​นั้น​มี​มากมาย​หลาย​เร่ือง​ หลาย​อย่าง​ ​การ​เจ็บ​ป่วย​ด้วย​โรค​เรื้อรัง​ที่​เพียร​พยายาม​รักษา​อย่างไร​ ​ก็​ไม่​ยอม​หาย​สัก​ที​ ​น่ี​ก็​เป็น​ความ​ทุกข์​ท่ี​ทรมาน​จิตใจ​มาก​เร่ือง​หนึ่ง​ของ​ มนุษยเ์​รา​บ​ ทความ​ท่​ีท่าน​จะ​ได​้อา่ นต​ ่อไ​ปน​ ้​ี เ​ป็นเ​รอ่ื ง​ของค​ ุณ​รตั ​นาภ​ รณ์​​ อินทร​กำแหง​ ​ซ่ึง​เขียน​โดย​เบญจ​ะ​ ​ชิน​ปัญ​ชนะ​ ​จาก​หนังสือ​ขวัญ​เรือน​​ ​ไดเ้​ล่าไ​ว​้ดงั นี้​ ​ คุณ​รตั ​นาภ​ รณ์​อ​ นิ ทร​กำแหง​​เป็น​ศลิ ปินด​ ารา​ท่​เี ดน่ ​ดังใ​นอ​ ดตี แ​ ละ​ ยงั ​ม​ผี ล​งาน​อยถ​ู่ งึ ​ทกุ ​วนั น​ ​้ี ช​ วี ติ จ​ รงิ ​ของ​ศลิ ปนิ ​ทา่ นน​ ​ไ้ี ด​ผ้ า่ นอ​ ปุ สรรค​มา​แลว้ ​ อย่างม​ ากมาย​ ​ตื่น​เต้นเ​ร้าใจ​ย่ิง​กวา่ ​ภาพยนตรท์​ ่ี​เธอแ​ สดง​ ​และเ​มือ่ ​ถงึ บ​ ท​ เศรา้ แ​ ลว้ ​เ​ศรา้ ส​ ลดจ​ นต​ อ้ งฆ​ า่ ต​ วั ต​ าย​เ​มอื่ ห​ ลายป​ ก​ี อ่ นค​ ณุ ร​ตั น​ าภ​ รณไ​์ ดเ้ กดิ ​ ลม้ ป​ ว่ ยเ​ปน็ อ​ มั พาต​ล​ กุ เ​ดนิ ไ​มไ​่ ด​้ ไ​ดไ​้ ปร​กั ษาต​ วั ท​ โ​ี่ รงพ​ ยาบาลม​ ชี อ่ื แ​ หง่ ห​ นงึ่ ​ หมด​เงนิ ไ​ปร​ ว่ ม​๒​ ​แ​ สนบ​ าท​​แต​ไ่ ม​ห่ าย​​และ​ไม​่ดี​ขึน้ ​เลย​​พอ​ร​ขู้ ่าวว​ า่ ที่​ไหน​ มห​ี มอเ​กง่ ​จ​ ะร​ บี ใ​หค​้ นพ​ าไ​ป​ร​ กั ษาแ​ ลว้ ก​ เ​็ หมอื นเ​ดมิ ​ร​ กั ษาไ​ปจ​ นท​ รพั ยส​์ นิ ​ เงนิ ​ทอง​เกือบ​หมด​​ luangpordu.com

๑๕๐ 150 โรค​ร้าย​ที่​ทรมาน​เพราะ​ลุก​เดิน​ไม่​ได้​ก็​ยัง​ทรมาน​ใจ​อยู่​ ​เป็น​เช่น​นี้​ อยู่​นาน​ถึง​๗​ ​เ​ดอื น​จนคิดอยากฆา่ ​ตวั ​ตาย​​คน​เรา​เมอ่ื ห​ มดห​ นทาง ไ​ม่ม​ี ทางออกก​ ม็ กั คดิ ส​ นั้ ​ค​ นท​ ต​ี่ อ้ งอ​ ยใ​ู่ นส​ ภาพท​ ช​ี่ ว่ ยต​ วั เ​องไ​มไ​่ ดเ​้ ปน็ ร​ะยะเ​วลา​ นาน​ๆ​​ตอ้ ง​อยู่​แตใ​่ นห​ อ้ งท​ แ​่ี คบ​ๆ​จ​ ะ​ทำ​อะไรก​ ็ต​ ้อง​อาศยั ผ​ ​อู้ ่นื ​มนั ​นา่ ​เบือ่ ​ หนา่ ยค​ บั แ​ คน้ ใ​จย​ ง่ิ น​ กั ​ต​ ายซ​ ะจ​ ะด​ ก​ี วา่ ​ช​ าตท​ิ แ​่ี ลว้ ค​ งท​ ำกรรมไ​วม​้ าก​ขอย​ อม​ ชดใช้ก​ รรมแ​ ตเ​่ พยี ง​เท่าน​ ี​้ ​ นั่น​เป็น​คำ​พูด​ของ​คุณ​รัต​นา​ภรณ์​ ​ท่ี​น้อย​อก​น้อยใจ​ใน​ชะตา​กรรม​ ของต​ นเอง​ก​ อ่ นท​ จ​ี่ ะต​ ดั สนิ ใ​จไ​ปต​ าย​เ​มอ่ื ต​ ดั สนิ ใ​จแ​ ลว้ จงึ เ​ดนิ ท​ างท​ อ่ งเทยี่ ว​ แบบส​ ง่ั ล​ า​อ​ ยากไ​ปท​ ไี่ หนก​ ไ​็ ป​ช​ อบใจท​ ไ่ี หนก​ อ​็ ยน​ู่ านห​ นอ่ ย​เ​มอื่ ไ​ปถ​ งึ ภ​ เู กต็ ​ เกดิ ค​ วามเ​บอ่ื ​จงึ ห​ ลบไ​ปช​ ายหาดท​ ไ​่ี มม่ ค​ี น ส​ ง่ั บ​ ตุ รบ​ ญุ ธ​ รรม​(​ค​ ณุ ร​ตั น​ าภ​ รณ​์ หรือ​คุณ​แดง​ ​ไม่มี​บุตร​)​ ​ให้​ไป​ซ้ือ​ข้าว​ปลา​อาหาร​ทาน​กัน​ที่​ชายหาด​ เมื่อ​ ไม่มี​ใคร​อย​ู่แล้ว​ ค​ ณุ ​แดงจ​ ึง​ได้ต​ ้ัง​จติ ​อธษิ ฐาน​ต่อ​คุณ​พระศ​ รีร​ ตั นตรัย​ โ​ดย​ เฉพาะ​หลวงป่​ทู วด​ท่​เี คารพ​นบั ถือ​มาก​​เพราะ​เคย​ได้​ประจกั ษ์​ใน​อทิ ธิ​ฤทธ์​ิ อภนิ หิ ารจ​ ากก​ ารร​อดต​ ายม​ าแ​ ลว้ ​(​ถ​ งึ ก​ บั ไ​ดช​้ กั ชวนค​ ณุ สมบตั ​ิ เ​มทะ​ น​ี ด​ ารา​ ยอด​นิยม​ใน​อดีต​ ​ช่วย​กัน​สร้าง​พระ​เครื่อง​หลวงปู่​ทวด​​ถวาย​ให้​วัด​ช้าง​ให​้ ไป​รุ่น​หนึ่ง​)​​ชว่ ง​นัน้ ​คณุ แ​ ดง​ไดต้​ ้ังจ​ ิต​อธษิ ฐาน​ต่อ​องค​์หลวงป​ทู่ วด​ไว​้วา่ ​ ​ “​ขณะ​นล​้ี ูก​ได​ถ้ ูก​โรค​ร้าย​เบยี ดเบยี น​​ทนท​ ุกข​ท์ รมานเ​ป็น​เวลาน​ าน​ แล้ว​ ​วนั น​ ้​ีได้ต​ ัดสินใ​จ​ขอ​ลาตาย​ บ​ ญุ ใ​ดท​ ​ล่ี กู ไ​ด​้ทำม​ าแ​ ล้ว​ ใ​น​อดตี ช​ าตกิ​ ็​ด​ี ​ และใ​นช​ าตน​ิ ก​ี้ ด​็ ​ี ล​ กู ข​ ออ​ ทุ ศิ บ​ ญุ น​ นั้ ใ​หก​้ บั เ​จา้ ก​ รรมน​ ายเวรท​ ไ​ี่ ดล​้ ว่ งเ​กนิ ก​ นั ​ มา​จ​ ะ​ด้วย​เจตนาก​ ด​็ ​ี ไ​ม่เ​จตนาก​ ด็​ ​ี ข​ อ​ใหห้​ ลวงปู่ท​ วด​​ชว่ ยเ​ป็น​สอ่ื ​ไป​บอก​ luangpordu.com

151 ๑๕๑ ให้เ​จ้าก​ รรมน​ ายเวร​ต่าง​ๆ​ ​ม​ าร​ บั ​ไปแ​ ละอ​ โหสกิ รรม​ใหล​้ ูก​ด้วย​แ​ ละถ​ ้า​เม่ือ​ ลกู ไ​ดห​้ มดก​ รรมจ​ รงิ แ​ ลว้ ​ข​ อใ​หห​้ ลวงปท​ู่ วดไ​ดเ​้ มตตาส​ งเคราะหใ​์ หห​้ ายจ​ าก​ โรค​ภยั ​ในว​ ัน​น​้ดี ว้ ย​ถ​ ้าย​ งั ​ไมห​่ าย​ล​ กู ข​ อ​ลาตาย​ในบ​ ดั น”​้ี ​ ​ เมอ่ื จ​ บค​ ำอ​ ธษิ ฐานแ​ ลว้ ​ค​ ณุ แ​ ดงก​ ล​็ งมอื ค​ ลานก​ ลง้ิ ต​ วั ล​ งท​ ะเลไ​ป​เ​มอื่ ​ เจอค​ ลนื่ ซ​ ดั ม​ า​ก​ ก​็ ลง้ิ ก​ ลบั ไ​ป​แ​ ตก​่ ย​็ งั ก​ ระเสอื กก​ ระสนค​ ลานต​ อ่ ไ​ป​แ​ ลว้ ก​ ถ​็ กู ​ คลนื่ ซ​ ดั เ​ขา้ ​ฝง่ั อ​ ีก​ต​ ่อสกู้​ บั ค​ ลนื่ ​เพ่อื ท​ ่ี​จะไ​ปใ​หล้​ กึ พ​ อทจ​่ี ะจ​ ม​นำ้ ​แล้ว​หายใจ​ ไมอ​่ อก​เ​ปน็ เ​ชน่ น​ อ​้ี ยค​ู่ รงึ่ ช​ วั่ โมง​จ​ นบ​ ตุ รบ​ ญุ ธ​ รรมก​ บั ค​ นใชม​้ าพ​ บเหน็ ​ช​ ว่ ย​ พยุง​ตวั ​ขน้ึ ฝ​ ่งั ​​ขณะ​นัน้ เ​หนอ่ื ยจ​ น​ไมไ่​ดส้ ติ​ม​ า​ตกใจ​รตู้ ัว​เพราะ​เสยี งต​ ะโกน​ ล่นั ​วา่ ​“​ แม​่หาย​แลว้ ​!​​แ​ ม่​หายแ​ ล้ว​​!”​ ​​ ปาฏิหาริย์เ​กดิ ข​ น้ึ แ​ ล้ว​ เ​พราะค​ ณุ ​แดงย​ ืน​ได​แ้ ลว้ ​ ​เดนิ ไ​ดด​้ ้วย​ ห​ าย​ จาก​โรค​ร้าย​แล้ว​ ​เพราะ​คุณ​พระ​รัตนตรัย​และ​หลวงปู่​ทวด​ท่ี​ประทาน​ให้​ เนรมิต​ใหโ้​ดย​ใช้เ​วลา​สั้นๆ​ ​​หลังจาก​ท่ีต​ ้อง​ทน​ทรมานอ​ ยูน​่ านถ​ ึง​๗​ ​​เดอื น​ ​ น้ี​เป็น​อีก​เร่ือง​หนึ่ง​ที่​ข้าพเจ้า​ขอ​ฝาก​ท่าน​ผู้​อ่าน​ไว้​​เป็น​เคร่ือง​เจริญ​ ศรทั ธา​ ​ luangpordu.com

๑๕๒ 152 ​๘๒​ ​ ท​ าม​ าก​ อ็ ตจ​ ​ิ ทาม​ าก​ อ็ ตจ​ ​ิ ห​ รอื เ​จา้ ส​ ตั วเ​์ ลยี้ งค​ อมพวิ เตอรท​์ แ​่ี สนจ​ ะข​ อ​้ี อ้ น​ซ​ งึ่ ก​ ำลงั ​ แพร่​ระบาด​และ​เป็น​ที่​นิยม​เล้ียง​กัน​ใน​หมู่​นักเรียน​นัก​ศึกษา​ ​โดย​เฉพาะ​ อย่าง​ย่ิง​ท่ี​ญ่ีปุ่น​และ​ใน​บ้าน​เรา​ ​จน​ทาง​โรงเรียน​ต้อง​ห้าม​นักเรียน​ไม่​ให้​นำ​ มาโ​รงเรยี น​เ​พราะจ​ ะท​ ำใหเ​้ สยี ก​ ารเ​รยี น​เ​นอื่ งจากต​ อ้ งค​ อยด​ แู ลท​ าม​ าก​ อ็ ต​ ย่งิ ​กว่าไ​ข​่ใน​หิน​ต​ ้อง​คอย​ป้อนอ​ าหาร​ใหท​้ าน​​พา​เข้า​ห้องน้ำ​​เจ็บป​ ่วยต​ อ้ ง​ พา​ไป​​หาห​ มอแ​ ละ​อืน่ ​ๆ​อ​ กี ​จิปาถะ​ม​ ฉ​ิ ะน้ัน​.​.​.​ม​ นั ​กจ​็ ะ​ตาย​ ​ จากเ​รอื่ งท​ าม​ าก​ อ็ ตส​ ตั วเ​์ ลย้ี งป​ ลอม​ท​ ำใหข​้ า้ พเจา้ ค​ ดิ ถงึ ว​ รรณกรรม​ ทม​่ี ชี อ่ื ​เรอ่ื งห​ นง่ึ ใ​นอ​ ดตี ค​ อื ​“ต​ ลง่ิ ส​ งู ​​ซงุ ​หนกั ”​ข​ องน​ คิ ม​​รายยว​ า​​กวซี​ ​ไี รท​์ เม่ือ​หลาย​ปี​ก่อน​ ​คร้ัง​นั้น​ ​นิคม​ได้​นำ​เสนอ​เร่ือง​ความ​เป็น​ ​ของ​จริง​ ​และ​​ ของปลอม​ไ​ดอ​้ ยา่ งไ​พเราะก​ นิ ใ​จย​ งิ่ น​ กั ​น​ คิ ม​ไ​ดใ​้ ห​้ ค​ ำง​าย​ต​ วั เอกข​ องเรอ่ื ง​ เรียน​รู้​และ​พบ​คำถาม​ได้​โดย​การ​ ​“​ประสบ​”​ ​กับ​คำ​ตอบ​อัน​เป็น​รูป​ธรรม​ หลาย​ๆ​ ค​ ร้งั ​จน​สามารถโ​ยง​เข้าส​ ู่ป​ ริศนาใ​น​ใจ​ได​้ คำ​งาย​เร่ิม​แกะช​ ้าง​ใหญ่​ เทา่ ต​ วั จ​ รงิ ​เ​ขาเ​รมิ่ ต​ งั้ ค​ ำถามว​ า่ ​“​ เ​ราเ​คยเดนิ ท​ างไ​กล​ไ​ดพ​้ บเหน็ อ​ ะไรห​ ลาย​ อย่าง​แ​ ต​่ตวั เ​รา​เองเ​ปน็ ​ของใ​กล้ท​ สี่ ดุ ​​เราก​ ลับ​ไม่เ​คย​เหน็ ​มนั ​เลย”​ ​จ​ น​เม่ือ​ คำง​ายแ​ กะ​ชา้ งไ​ดเ​้ ปน็ ​ตัว​เป็นต​ น​แลว้ ​แ​ ต่เ​ขาย​ งั ​หาความเ​ป็นช​ ้าง​ไม่​ได​้ luangpordu.com

153 ๑๕๓ ​ จน​วนั ห​ นึ่ง​​เมื่อ​เขาอ​ ยู่​บน​หลงั พ​ ลายส​ ดุ ​ย​ าม​ท่​พี ลาย​สดุ ต​ กมัน​​เมือ่ ​ เขาก​ ุมส​ ต​ิได้ ​เขาพ​ บว​ ่า​สิง่ ​น​ี้เองท​ ​เี่ รา​อยาก​ร​ู้ เ​ขา​คิด​ขณะ​ความ​อุ่น​และอ่อน​ ละมนุ จ​ าก​ตวั ช​ ้าง​แล่นซ​ า่ น​ใต้​รา่ ง​เขา​​มัน​มี​อารมณ​์ ​มีเ​ลือดเ​นื้อ​​มชี​ วี ติ ​และ​ วญิ ญาณ​เ​ขาส​ มั ผสั ไ​ดถ​้ งึ ค​ วามม​ ทุ ะลร​ุ นุ แรงท​ ก​่ี ำลงั ท​ ะยานไ​ปข​ า้ งห​ นา้ รสู้ กึ ​ ถงึ ​ความ​หวาด​กลวั ​และ​หวน่ั ​ไหว​ชว่ั ​ขณะ​ของ​มนั ​​ความ​เศรา้ ​​ความเจบ็ ​ปวด​​ และค​ วามต​ กใจ​ข​ ณะด​ นิ้ รนแ​ ละว​ งิ่ พ​ ลา่ นฟ​ ดั เ​หวยี่ งอ​ ยก​ู่ บั แ​ อง่ ท​ ห​ี่ าท​ างออก​ ไมไ​่ ด​้ ส​ งิ่ ท​ ค​ี่ ำง​ายค​ น้ พ​ บน​ ​ี้ ไ​มใ่ ชเ​่ พยี งแ​ ตช​่ วี ติ แ​ ละเ​ลอื ดเ​นอ้ื ข​ องช​ า้ งต​ วั ห​ นงึ่ ​ เทา่ นนั้ ​แ​ ตค​่ อื ช​ วี ติ แ​ ละเ​ลอื ดเ​นอ้ื ข​ องม​ นษุ ยชาตท​ิ ข​่ี าดห​ ายไ​ปใ​นโ​ลกป​ จั จบุ นั ​ โลก​ท​ผ่ี คู้ นช​ มชน่ื ​กบั ช​ วี ติ ท​ ​เ่ี ปน็ ​“​ ซ​ าก​”​​มากก​ วา่ ช​ วี ติ ​ท​เ่ี ปน็ “​ ​จรงิ ”​ ​ ​ ดัง​น้ัน​ ​คำ​งาย​จึง​หัน​กลับ​มา​พิจารณา​ช้าง​ไม้​ของ​เขา​ ​อีก​ครั้ง​หน่ึง​​ และ​ฉงน​ฉงาย​นัก​ว่า​ ​“​คน​เรา​น่ี​แปลก​จริง​ๆ​ ​ไม้​ใหญ่​มัน​ก็​ใหญ่​ของ​มัน​อยู่​ แลว้ ใ​ครไ​มไ​่ ดท​้ ำใหร​้ ปู ช​ า้ งใ​หญ​่ แ​ ตท​่ อ่ นไ​มม​้ นั ใ​หญข​่ องม​ นั เ​อง​ต​ วั ม​ นั จ​ รงิ ๆ​ คอื ​ตน้ ไม้​ใหญ่​​แตค่​ น​กลับ​ไม่​เหน็ ค​ วามส​ วยแ​ ละม​ ีค​ ่า​ของ​มนั ต​ อน​ม​ีร่มเ​งาม​ ​ี ชวี ติ ​ก​ ลบั โ​คน่ ม​ นั ล​ ดิ ก​ ง่ิ ใ​บใ​หเ​้ ปน็ ซ​ ากไ​มแ​้ ลว้ เ​อาม​ าแ​ กะใ​หเ​้ หมอื นซ​ ากช​ า้ ง​ ช่นื ชม​มนั ม​ ากก​ ว่าไ​ด้เ​หน็ ช​ ้าง​หรือ​ตน้ ไม้​ทม​่ี ​ีชีว​ ิตจ​ ริงๆ​ ​เ​สียอ​ ีก​​ทำไ​ปท​ ำม​ า​ จะ​ไม่มีข​ องจ​ ริง​เลยส​ ัก​อย่าง​ไ​ม่ว​ า่ ช​ า้ งห​ รอื ไ​ม​้”​ ​เรื่อง​ของ​ทา​มา​ก็อต​จิ​ ​คำ​งาย​ ​และ​พลาย​สุด​ ​เป็น​ตัวอย่าง​อัน​ดี​ให้​ ข้าพเจ้า​ได​ค้ วามเ​ขา้ ใจ​ชดั เจน​แจม่ ​แจ้งข​ น้ึ ใ​นเ​รอ่ื ง​ข​ องจ​ ริง​ข​ องป​ ลอม​ ​ บท​สนทนา​ตอน​หนึ่ง​ ​ที่​หลวงปู่​ดู่​ท่าน​พูด​คุย​กับ​ข้าพเจ้า​และ​เพ่ือน​ เม่ือ​คราว​ท่ี​ได้​กราบ​นมัสการ​และ​ถวาย​ดอกบัว​แก่​ท่าน​ ​ก่อน​ท่ี​จะ​ถวาย​ luangpordu.com

๑๕๔ 154 ดอกบัว​ ​เพื่อน​ของ​ข้าพเจ้า​ได้​นำ​ดอกบัว​ ​มา​พับ​กลีบ​บัว​ให้​ดู​เหมือน​เป็น​ ดอก​กุหลาบ​ ​อีก​กลุ่ม​ก็​เอา​ดอกบัว​มา​พับ​กลีบ​เข้าไป​ที​ละ​ชั้น​จน​เห็น​เกษ​ร ดอ​ ก​บวั ​ทอ​ี่ ยู​่ดา้ น​ใน​​หลวงปูท่​ ่านน​ ั่งม​ อง​ดอู​ ยู่​ใ​น​ท่สี ดุ ​ท่านไ​ดฝ้​ ากข​ ้อคดิ ​​ใน​ การไ​ป​ทำบุญ​ครงั้ น​ นั้ ​ให้​ขา้ พเจา้ ​วา่ ​ ​“ด​ อกบวั ท​ ​พ่ี บั ก​ บั ​ดอกบวั ท​ ​ไ่ี ม​ไ่ ดพ​้ บั ​​อยา่ ง​ไหน​อย​ไู่ ดน​้ านก​ วา่ ก​ นั ”​ ​“อ​ ย่างท​ ี​่ไมพ​่ ับค​ รบั ​”​ข​ า้ พเจา้ ​ตอบ​ ​ “​เออ้ ​​!​​ก็​เรา​มนั ​อยากน​ ​่ีนา​อ​ ยากใ​ห​้เปน็ ​อยา่ ง​น้นั ​​อยากใ​หเ​้ ป็น​ อยา่ ง​นี​้ ข​ ้าฝ​ ากแ​ กไ​ปค​ ิดด​ ู​”​ ​ พับ​กัน​ไป​พับ​กัน​มา​ ​ใน​ที่สุด​ของ​จริง​ก็​อยู่​ได้​ทน​นาน​ตาม​ธรรมชาติ​ กว่า​ของ​ท่ี​ถูก​พับ​ ​และ​ก็​ดู​จริง​ๆ​ ​แล้ว​ดอกบัว​ที่​ถูก​พับ​เป็น​ดอก​กุหลาบ​น้ัน​ จะ​ดเ​ู ปน็ ​ดอกบวั ​ก​็ไม่ใช่​จ​ ะ​เป็น​ดอก​กหุ ลาบ​ก​ไ็ ม่​เชงิ ​ ​ เอา​ความ​เปน็ ​ดอกบัว.​.​.​ถ​ วาย​ทา่ น​ดี​กว่า​​ข้าพเจา้ ​ตอบก​ ับต​ ัวเ​อง​ ​ luangpordu.com

155 ๑๕๕ ​๘๓​ ไ​ต​รสร​ ณาค​ มน์​ ​ คณุ ห​ มออ​ มรา​ม​ ลล​ิ า​เ​ปน็ ฆ​ ราวาสผ​ ป​ู้ ระพฤตธ​ิ รรมท​ ข​ี่ า้ พเจา้ เ​คารพ​ นบั ถอื แ​ ละ​ถอื ​เป็น​แบบอ​ ย่าง​ ​วัน​หนง่ึ ​ข้าพเจ้า​ไดม​้ โ​ี อกาสส​ นทนาธ​ รรมก​ ับ​ ทา่ น​ทธี่​ รรม​สถาน​จ​ ฬุ าลงกรณ​ม์ หาวทิ ยาลยั ​ ​ บทส​ นทนาว​ ันน​ ั้น​​ได​้พูดก​ นั ​ถงึ พ​ ระ​ไตร​ สร​ ณาค​ มน​์ ​คุณ​หมอ​ได้​ฝาก​ ข้อคิด​ใน​เร่ือง​ท่ี​กล่าว​กัน​ว่าการ​ขอ​ถึง​พระพุทธ​ ​พระ​ธรรม​ ​พระ​สงฆ์​ ​เป็น​ สรณะ​​เปน็ ​ท​ีพ่ ่งึ ​​จะ​สามารถก​ ำจัด​ภัย​ได​้จริงน​ ้ัน​​ถึง​อยา่ งไร​จ​ งึ ​กำจดั ภ​ ัย​ได้​ จริง​ค​ ณุ ​หมอไ​ดอ​้ ธิบายว​ า่ ​ ​ การถ​ งึ พ​ ระพทุ ธ​เ​พอ่ื เ​ปน็ ส​ รณะน​ น้ั ​ห​ มายถ​ งึ ​ก​ ารเ​ขา้ ใจถ​ งึ ศ​ กั ยภาพ​ ของ​จิต​แท้​ที่​เป็น​พุทธ​ะ​ ​ผู้​รู้​ ​ผู้​ต่ืน​ ​ผู้​เบิก​บาน​ ​ใคร​ก็ตาม​ท่ี​เช่ือ​เช่น​น้ี​ ​จน​ พากเพียร​บาก​บ่ัน​ ​ฝึก​อบรม​จิตใจ​ของ​ตน​ให้​เกิด​เป็น​สัมมา​ทิฏฐิ​ ​ตั้ง​ม่ัน​ใน​ มรรค​​ไม่ย​ อ่ ห​ ยอ่ น​อ​ ่อนแอ​ท​ อ้ แท้​​เกียจคร้าน​ท​ ี่​จะ​ปฏิบัตใ​ิ ห้​ย่ิง​ๆ​ข​ ้ึนไ​ป​ จน​ในท​ ส่ี ดุ ​​ใจน​ นั้ ​ถึง​พรอ้ ม​ด้วยส​ ต​ิ ส​ มาธิ​​ปญั ญา​แ​ ละ​ม​ีกำลงั พ​ อทจ​ี่ ะข​ ดุ ​ รากถ​ อนโ​คนก​ เิ ลสอ​ าส​ วะท​ งั้ ป​ วงอ​ อกไ​ปจ​ ากจ​ ติ ใจไ​ด​้ จ​ ติ ข​ องผ​ น​ู้ นั้ ​ก​ จ​็ ะเ​ปน็ ​ อสิ ระ​จาก​ส่ิงเ​ศรา้ ​หมอง​​คือ​อ​ วชิ ชา​ต​ ัณหา​อ​ ุปาทาน​​ตน่ื ​​เบกิ บ​ าน​​เป็น​ พทุ ธะ​ ​ม​ ค​ี วามบ​ รสิ ทุ ธเ​ิ์ ทยี บเ​ทา่ ก​ บั พ​ ทุ ธะ​ ข​ องพ​ ระอ​ รห​ นั ต​ ท​์ ง้ั ป​ วง​แ​ ละข​ อง​ luangpordu.com

๑๕๖ 156 พระพทุ ธเจ้า​ทุกพ​ ระองค​์ ​แต่​ความ​สามารถท​ าง​อภญิ ญาอ​ าจ​ย่ิง​หย่อน​กว่า​ กัน​ได​้ ​ การ​ถึง​พระ​ธรรม​ค​ ือ​ก​ ารม​ ​สี ตริ​ กั ษาใ​จใ​หน​้ ้อมเ​อาเ​หตกุ ารณต์​ ่างๆ​ ทเ​ี่ กดิ ข​ นึ้ ใ​นช​ วี ติ ม​ าเ​ปน็ ธ​ รรมะส​ อนใ​จแ​ ทนก​ ารป​ ลอ่ ยใ​หป​้ รงุ ค​ ดิ เ​ตลดิ ไ​ปต​ าม​ สญั ญาอ​ ารมณ​์ เกดิ เ​ปน็ ค​ วามท​ กุ ขค​์ วามค​ บั ข​ อ้ งใจ​ห​ รอื เ​มอ่ื ใ​ดใ​จค​ ดิ ฟ​ งุ้ ซ​ า่ น​ กห​็ ยดุ ก​ ำหนดร​อ​ู้ ยก​ู่ บั ป​ จั จบุ นั ค​ อื ข​ ณะเ​ดย๋ี วน​ ​้ี เ​ฉพาะห​ นา้ แ​ ตล่ ะข​ ณะ​แ​ ตล่ ะ​ ขณะ​​ใจ​ท่ี​ฝกึ ​เช่นน​ ี​้ ​จะเ​ปรียบเ​สมอื นม​ ีธ​ รรม​ของพ​ ระพุทธ​องค​์เทศน์​ใหฟ​้ งั ​ อยู่ใ​น​ใจ​ตลอด​เวลา​ ​เมอ่ื ​ไมม่ ส​ี ิง่ ​กระทบ​ก็​รอ​ู้ ยู่​กบั ป​ จั จบุ นั ​เ​มอ่ื ม​ ​สี ่งิ ก​ ระทบ​ไ​ม​ว่ ่า​จะเ​ป็น​ ผสั สะ​ จ​ ากภ​ ายนอกห​ รอื อ​ ารมณข​์ องใ​จเ​อง​ก​ จ​็ ะห​ มนุ ใ​หค​้ ดิ เ​ปน็ ม​ รรคท​ กุ ครงั้ ​ จะ​เปลี่ยน​จาก​ความ​คิด​ที่​เป็น​กิเลส​ให้​เป็น​มรรค ​เปลี่ยน​กิเลส​เป็น​มรรค​​ ดงั น​ี้เรื่อย​ไป​ด​ งั ​น้ัน​​ความค​ ิด​​คำพ​ ดู ​ห​ รอื ก​ าร​กระทำ​ดว้ ยก​ าย​ท​ุกอย​ ่าง​ๆ​​ จะ​เปน็ การ​กระทำเ​พื่อค​ วามส​ น้ิ ​สุด​แห่ง​ทุกข​์ถา่ ย​เดียว​ ​ การถ​ งึ พ​ ระส​ งฆ​์ ค​ อื ​ก​ ารน​ อ้ มต​ นใ​หป​้ ฏบิ ตั ด​ิ งั “​ พ​ ระส​ งฆ”​์ ​ค​ อื ​เ​ปน็ ผ​ู้ ปฏบิ ตั ​ดิ ​ี (​​ส​ปุ ฏปิ นั ​โน​)​​ปฏบิ ตั ​ติ รง​​(​อชุ ป​ุ ฏปิ นั โ​น​)​​ปฏบิ ตั ​ถิ กู ​(​​ญาย​ปฏปิ นั โ​น)​​ ปฏบิ ัติ​ชอบ​​(​สามจี​ ปิ​ ฏปิ นั ​โน)​​​ตลอดเ​วลาท​ ่จ​ี ะ​ระลึก​ได้​​ ​การ​ปฏบิ ตั ด​ิ งั ​กลา่ วม​ า​นีค้​ อื ​ก​ าร​ถงึ ​พระพทุ ธ​​พระ​ธรรม​พ​ ระส​ งฆ​์ ​ที่​ จะเ​ป็นส​ รณะท​ พ​่ี ่งึ ​อนั ​แทจ้ รงิ ​ส​ ามารถก​ ำจดั ท​ ุกข์​ก​ ำจดั ภ​ ัย​ไดจ​้ ริง​ ​ ข้าพเจา้ ฟ​ ัง​คุณห​ มออ​ ธบิ าย​จน​จบ​ได้​แตอ​่ มย้ิม​ ​ ใบหน้า​ของ​หลวงปู่​ดู่​ลอย​เด่น​พร้อม​กับ​เสียง​ของ​ท่าน​ดัง​ขึ้น​มา​ใน​ luangpordu.com

157 ๑๕๗ โสตป​ ระสาท​ของข​ า้ พเจา้ ​วา่ ​ “​ ​นน่ั ​แหละ​​พระไ​ตร​ ส​รณาค​ มน​์ ใ​คร​เชอ่ื พ​ ระก​ ​เ็ ปน็ พ​ ระ​​ใครล​ ะ​ได​้ กไ​็ มใ่ ช่​คน​”​ luangpordu.com

๑๕๘ 158 ๘​​ ๔​ ​ ​ไม​่พอดกี​ ัน​ ขา้ พเจา้ เ​คยไ​ดย้ นิ ผ​ อ​ู้ ำนวยก​ ารว​ ยั ห​ า้ ส​ บิ ท​ า่ นห​ นง่ึ ใ​นธ​ นาคารป​ รารภ​ กบั ​ผู้ใหญอ​่ ีก​ท่าน​วา่ ​สมัย​หน่มุ ​ๆ​ม​ ​ีเร่ยี วแรงด​ ี​แ​ ตเ่​งินเ​ดอื น​น้อย​อ​ ยาก​ไป​ เทย่ี วเ​มอื งน​ อกก​ ไ​็ ปไ​มไ​่ ด​้ เ​พราะไ​มม่ ส​ี ตางค​์ แ​ ตท​่ กุ ว​ นั น​ ม​ี้ เ​ี งนิ เ​ดอื นม​ าก​อ​ าย​ุ ก็​มากข​ น้ึ ต​ ามม​ า​​มเ​ี งิน​ไป​เที่ยวไ​ด้อ​ ย่าง​สบาย​​แต่ไ​มม่ ีแ​ รงไ​ป​ ​ ขา้ พเจา้ ​นกึ ถงึ ​คำคม​ท​่ี ​อุดม​​แต้พ​ า​นิช​​หรอื ​​“​โนส้ ​”​ศ​ ลิ ปนิ ต​ ลก​และ​ นัก​เขียนท​ ี่โ​ด่งด​ งั ส​ ดุ ขีดจ​ าก​เด่ียวไ​มโครโฟน​​และง​านเ​ขยี นห​ นังสือ​ที่ข​ าย​ดี​ ตดิ อ​ นั ดบั ย​ อดข​ ายส​ งู สดุ ค​ นห​ นง่ึ ใ​นบ​ า้ นเ​ราข​ ณะน​ ​ี้ ไ​ดเ​้ ลา่ ไ​วใ​้ นห​ นงั สอื ​N​ ote​ Book​​หนา้ ​๑​ ๓๑​ว​ ่า​ ​ มี​แรง​​มี​เวลา​ไ​มม่ ี​เงนิ ​ ​ มี​แรง​ม​ เี​งิน​​ไม่ม​ีเวลา​ ​ มเี​งิน​​ม​ีเวลา​ไ​ม่ม​ีแรง​ ​ น​ี้เปน็ ​ข้อคิดท​ ดี​่ ​ที ​ีเดียว​​ทำใหข​้ า้ พเจ้าน​ กึ ถึง​คำ​สอนห​ ลวงป​ู่ด​ู่ท่​ีสอน​ ขา้ พเจา้ ใ​ห้​ตง้ั ​อกตั้งใ​จ​ภาวนา​ตงั้ ​แต่อ​ ายไุ​ม่​มาก​ ​ใน​เวลา​ทพ่​ี อ​มเ​ี รี่ยวแรง​ ​มี​ เวลา (​​จะ​ม​เี งินห​ รอื ไ​มม่ ​ีเงิน​​ช่าง​มนั ​!​)​​​ว่า​ ​ “ข​ อ้ ส​ ำคัญ​ท่ีสุดข​ อง​การ​ปฏบิ ตั ​คิ ือ​ต​ ้องไ​ม่ป​ ระมาท​ luangpordu.com

159 ๑๕๙ ​ ตอ้ ง​ปฏบิ ตั ใ​ิ ห​้เต็มท​ ต่​ี ัง้ แ​ ตว่​ ันน​ ​ี้ ​ใคร​จะ​รูว​้ ่า​ความต​ าย​จะม​ าถ​ ึง​เรา​ เมอื่ ไร​​?​เคย​เหน็ ​ไหม​​เพอื่ น​เรา​​คน​ท​เี่ ราร​ ู้จักท​ ี​ต่ ายไ​ป​แลว้ ​​นั่น​น่ะ​​เขา​ เตือน​เรา​ ​ ถา้ เ​ราป​ ฏบิ ตั ไ​ิ มเ​่ ปน็ เ​สยี แ​ ตว​่ นั น​ ​ี้ เวลาจ​ ะต​ ายม​ นั ก​ ไ​็ มเ​่ ปน็ เ​หมอื นกนั ​เหมอื นก​ บั ค​ น​ท่​เี พง่ิ ค​ ดิ ห​ ัด​วา่ ยน​ ำ้ ​เวลา​ใกลจ้​ ะ​จม​นำ้ ตายน​ นั่ ​แหละ​ก​ จ็​ ม​ ตาย​ไปเ​ปล่า​ๆ​ ​ แกไ​ม​ป่ ฏบิ ัต​หิ นึ่ง​วนั น​ ี​่ เ​สยี ห​ าย​หลายแ​ สน​วนั ​นึงก​ ​ม็ ​คี วาม​หมาย​ ข้า​ฝากใ​ห​แ้ กไ​ป​คดิ เ​ป็นการ​บ้าน”​ ​ luangpordu.com

๑๖๐ 160 ๘​ ๕​ ​ธรรมะ​จาก​สัตว​์ เ​วลาพ​ ระพทุ ธเจา้ ต​ รสั ส​ อนเ​หลา่ พ​ ระส​ าวก​ท​ า่ นม​ กั จ​ ะย​ กส​ ตั วต​์ า่ ง​ๆ​ ​ มาแ​ สดงเ​ปรยี บเ​ทยี บใ​หไ​้ ดแ​้ งค​่ ดิ ท​ างธ​ รรมอ​ ยเ​ู่ สมอ​น​ บั เ​ปน็ ว​ ธิ ส​ี อนธ​ รรมท​ ​ี่ ทำให​ผ้ ​ู้ฟงั เ​กดิ ค​ วามเ​ข้าใจ​แ​ ละ​มองเ​หน็ ภ​ าพ​ได้​อย่างช​ ดั เจน​ที​เดยี ว​ ​ ดงั ​ตัวอยา่ งเ​ช่น​ย​ ก​เรอื่ ง​งูพ​ ิษเ​ปรียบ​กับ​การ​ศกึ ษาเ​ล่าเ​รยี น​ถ​ ้าเ​รียน​ ไมด​่ ​ี เ​รยี นไ​มเ​่ ปน็ ​ไ​ดค​้ วามร​ม​ู้ าผ​ ดิ ๆ​ ​ค​ วามร​น​ู้ น้ั อ​ าจจ​ ะเ​ปน็ อ​ นั ตรายด​ จุ เ​ดยี ว​ กบั ​งพู​ ษิ ​ทข่​ี นด​หาง​​ยอ่ มถ​ ูก​ง​ูพษิ ​แวง้ ก​ ัดเ​อาไ​ด​้ ​ ยก​ลงิ ​โง​อ่ ยากล​ องเ​อา​มือ​จับ​ตัง​เ​อาเ​ท้า​ถบี แ​ ละ​ใชป้​ าก​กดั ​​ผลท​ ีส่ ุด​ ติด​ตัง​ดิ้น​ไม่​หลุด​ ​เปรียบ​เหมือน​คน​ที่​ไม่รู้​จัก​วิธี​แก้​ปัญหา​ท่ี​ถูก​ต้อง​เต็ม​ไป​ ด้วย​ความ​เห็น​ผิด​ ​ความ​เข้าใจ​ท่ี​ผิด​ ​ใน​ที่สุด​ก็​จะ​ตก​อยู่​ใน​สถานการณ์​ที่​ ลำบาก​ ​ ยก​เต่า​หด​หัว​อยู่​ใน​กระดอง​ ​ได้ยิน​เสียง​อะไร​ที่​ผิด​ปกติ​ก็​จะ​หด​หัว​ เข้าก​ ระดอง​ปลอดภยั ​ไว้​กอ่ น​​เปรียบ​ดัง​ผ้​ปู ฏบิ ตั ิท​ ​สี่ ำรวม​อินทรยี ​์ ​(​คอื ​ต​ า​ ห​ู จ​ มกู ​​ลนิ้ ​ก​ าย​​ใจ)​​เ​หน็ ​อะไร​​ไดย้ นิ ​อะไร.​​.​.ก​ ็​มี​สติ​​ไม​ย่ นิ ด​ี ​ยนิ ร​ า้ ยไ​ปต​ าม​ เสยี ง​เรา้ ​จาก​ภายนอก​​ก็ย​ อ่ ม​ปลอดภัยจ​ าก​กิเลสไ​ด้​ ​ ยก​นกเขา​ท​ ร​ี่ อ้ งเ​สยี ง​ค​ ​ู ค​ ู​เ​หมือน​คน​ที​่ตระหน​ีถ่ ​ี่เหนียวห​ วงแหน​ luangpordu.com

161 ๑๖๑ โภคทรัพย์​ ​ไม่​แบ่ง​ปัน​คน​อื่น​ ​ตัว​เอง​ก็​ไม่​กิน​ไม่​ใช้​ ​บุญ​กุศล​ก็​ไม่​ทำ​ ​ได้​แต่​ นอนก​ อด​ทรพั ย​ภ์ ูมิใจว​ ่า​ทรัพย​ข์ อง​กู​ข​ องก​ ู​หลง​ยึด​ตดิ อ​ ยู่​อย่าง​นัน้ ​ ​ ใน​บรรดา​เร่ือง​ท่ี​ยก​ตัวอย่าง​มา​น้ี​ ​เรื่อง​ที่​หลวงปู่​ดู่​นำ​มา​เล่า​เป็น​ อุทาหรณ์​สอน​ใจใ​ห​้ศิษย์​ได้​ฟังก​ ัน​บ่อย​ๆ​​คือ​​เรอ่ื งน​ กเขา​ท​ ​ร่ี อ้ ง​เสยี ง​ค​ ู​​ค​ู ไดฟ​้ งั แ​ ลว้ เ​หมอื นเ​ปน็ เ​ครอ่ื งเ​ตอื นใ​จ​ใ​หศ​้ ษิ ยท​์ ง้ั ห​ ลายอ​ ยา่ ไ​ดป​้ ระมาท​แ​ ละ​ หมน่ั พ​ ิจารณาอ​ ยเ​ู่ นือง​ๆ​ ​​ว่า​ ​ ตวั ​เรา.​.​​.​ตัว​เขา​ ​ ไม่ใช่เ​รา​..​​.​ไมใ่ ช​่เขา​ ​ของเ​รา.​.​​.​ของเ​ขา​ ไ​ม่ใชข​่ องเ​รา.​​.​.​ไมใ่ ช​่ของเ​ขา​ luangpordu.com

๑๖๒ 162 ๘​ ๖​ ​สงั คมว​ ปิ รติ ​ ใ​นห​ นงั สอื พ​ ทุ ธธ​ รรมก​ บั ส​ งั คมซ​ ง่ึ เ​ขยี นโ​ดย​ศ​ าสตราจารยน​์ ายแ​ พทย​์ ประเวศ​ว​ ะส​ ​ี ไ​ดก​้ ลา่ วถ​ งึ ส​ งั คมไ​ทยต​ งั้ แ​ ต​่ พ​ .​ศ​ .​​๒​ ๕๒๘ ไวว​้ า่ ​“ป​ ระเทศไทยม​ี วดั ก​ วา่ ​๒​ ๕,๐๐๐​ว​ ดั ​พ​ ระก​ วา่ ส​ องแ​ สนร​ปู ​เ​ณรก​ วา่ แ​ สนร​ปู ​พ​ ทุ ธศ​ าส​ นกิ ชน​ อกี ​เตม็ ​ประเทศ​ไ​ฉน​เราจ​ งึ ​ม​ีปัญหาท​ างส​ ังคม​มากข​ ึน้ ​เร่อื ยๆ​ ”​ ​ ​ ความ​เป็นค​ น​ใจบุญส​ ุ​นทาน​ ขอ​ งผ​ คู้ น​ไทยใ​นอ​ ดตี ​​และ​การท​ ่ี​มีว​ ัดวา​ อารามส​ รา้ ง​อย​่ทู กุ ม​ มุ เ​มือง​ไ​ม่​ได​้ชว่ ย​ให้ป​ ญั หาส​ ังคม​ลด​ลงไ​ปใ​นป​ ัจจบุ นั ​ ​ สภาพ​เศรษฐกิจ​​การเมือง​และ​สังคม​ถึงข​ ้ัน​วิกฤต​ผ​ ้คู นม​ คี​ วามท​ กุ ข​์ ยาก​กันม​ ากมาย​​เราม​ ​ผี ูน้ ำบ​ า้ น​เมอื ง​ทไ​่ี มส​่ ามารถเ​อา​เปน็ แ​ บบ​อยา่ ง​ท่ดี​ ​ีได้​ จน​สอ่ื มวลชนต​ า่ งพ​ า​กันข​ นาน​นาม​วา่ เ​ป็น​ยุคร​ าห​ูครอง​เมอื ง​​ทัง้ ​ผู้นำ​และ​ คน​รอบ​ขา้ งห​ มดป​ ัญญา​แก้ไข​ปัญหา​บา้ น​เมอื งใ​น​ทางท​ ่​ถี ูกท​ ค่​ี วร​​ถงึ ข​ นาด​ ตอ้ งส​ ะเดาะเ​คราะหต​์ อ่ ช​ ะตา​ท​ ำพ​ ธิ ร​ี บั ส​ ง่ ร​าห​ู ด​ ฮ​ู ว​ งจ​ ยุ้ ก​ นั ใ​หว​้ นุ่ ว​ ายส​ บั สน​ จน​เปรอะก​ ัน​ไปห​ มด​ป​ ระชาชนเ​ดือด​รอ้ น​ส​ ังคม​วิปริต​กัน​ถ้วน​หน้า​ ทา่ นพ​ ระพ​ รหมค​ ณุ าภรณ​์ (​ป​ .​อ​ .​​ป​ ย​ ตุ โ​ฺ ต)​​ไ​ดฝ​้ ากข​ อ้ คดิ ห​ ลกั ธ​ รรมไ​ว​้ ในห​ นงั สอื ข​ องท​ า่ น​ช​ อื่ ​“​ เ​มอื งไ​ทยจ​ ะว​ กิ ฤต​ถ​ า้ ค​ นไ​ทยม​ ศ​ี รทั ธาว​ ปิ รติ ”​ ​ซ​ ง่ึ ​ ขา้ พเจา้ ​ขอ​อนญุ าต​คดั ล​ อก​มา​ณ​ ​ท​ น​่ี ​้ี ส​ รปุ ​ความ​วา่ ​ค​ ณุ สมบตั ​ขิ อง​ชาว​พทุ ธ​ luangpordu.com

163 ๑๖๓ ที่​ด​ี ห​ รอื ​อุบาสก​ธรรม​๕​ ​ป​ ระการ​ท​ ่ีค​ วร​ปฏบิ ัตคิ​ อื ​ ​ ๑.​​​มศ​ี รทั ธา​เ​ชอื่ ​อย่างม​ เ​ี หตุผล​ม​ ั่นใ​น​คุณพ​ ระ​รัตนตรัย ไ​ม่​งมงาย​ ​๒​.​ม​ ​ศี ลี ​​ม​คี วามป​ ระพฤตส​ิ จุ รติ ​ดง​ี าม ​อยา่ ง​นอ้ ยด​ ำรงต​ นไ​ด​ใ้ น​ศลี ๕​ ​ ๓​.​ ไ​ม​่ตน่ื ​ขา่ ว​มงคล​ ​เช่ือ​กรรม​ ​มงุ่ ​หวัง​ผล​จากก​ าร​กระทำ​ ​มใิ ชจ​่ าก​ โชคลาง​ของข​ ลัง​พ​ ิธีกรรม​​ส่ิงศ​ ักดิส​์ ทิ ธ​์ิ ​ ๔​.​ไ​ม​่แสวงห​ า​ทักข​ ิไณยน​ อก​หลัก​คำสอ​นข​อง​พระพทุ ธเจ้า​ ​ ๕.​​​เอาใจใ​ส​่ ท​ ำน​ุบำรงุ ช​ ่วยก​ จิ การ​พระพทุ ธศ​ าสนา​ ​ เร่ิม​ตน้ ​ท​่ีตวั ​เรา.​​..​เ​รม่ิ ​ที​่บา้ นเ​รา​ แ​ ล้วเ​รา​จะม​ ใิ ช​ต่ วั ป​ ัญหา​ท​ที่ ำ​สังคม​ ใหว​้ ปิ ริต​​แต่​จะ​เป็น​ส่วนห​ นึ่งท​ ีช่​ ่วยแ​ กป​้ ัญหา​สงั คม​วิปรติ ​ใ​หเ้​ปน็ ส​ ่วน​หนึ่ง​ ท่​ีลกู ​ศิษย์​หลวงปู่​มอบ​เปน็ ​ของข​ วัญ​ถวาย​แด​ใ่ นหลวง​แ​ ละ​มอบถ​ วายแ​ ด่.​.​​.​ หลวงปู่​ของ​เรา​ ​ luangpordu.com

๑๖๔ 164 ​๘๗​ ​ เ​ชอื้ ​ดอ้ื ยา​ หนังสือพิมพ์​มติ​ชน​ราย​วัน​ ​ฉบับ​วัน​อังคาร​ท่ี​ ​๗​ ​พฤษภาคม​ ​พ​.​ศ​.​​ ๒๕๓๙​ ​หนา้ ​ ​๒๐​ ใ​น​คอลัมน์​เมนู​ข้อมลู โ​ดยน​ ายด​ าตา้ ​ ​ไดพ้​ ดู ถ​ ึงเ​ร่ือง​ของ​ หมอ​กับ​การ​สัง่ ย​ า​ให​้แก​ค่ นไข้​​เรอ่ื ง​ของ​เร่ืองม​ ี​ว่า​ม​ ​ีคำถาม​จาก​ชาว​บ้านถ​ ึง​ นาย​ดาต้า​ข​ ้าพเจา้ ​ขอค​ ดั ล​ อก​มา​ดังนี้​ “​ ผ​ มส​ งั เกตว​ า่ เ​ดยี๋ วน​ ไ​ี้ ปห​ าห​ มอ​แ​ ลว้ ห​ มอส​ งั่ ย​ าม​ าใ​หม​้ าก​อ​ ยา่ งเ​ปน็ ​ หวัด​ไปร​ ักษาท​ ​่โี รง​พยาบาลเ​อกชน​ค​ า่ ​รกั ษา​ค​ า่ ย​ า​๔​ ๐๐​-​​๕​ ๐๐​บ​ าท​ท​ กุ ​ ครงั้ ​ท​ ้งั ​ที่​แต​เ่ ดิมน​ ัน้ โ​รค​หวดั น​ ่​ีกนิ ​ยา​แผง​ไม่ก​ ​่บี าท​ก็ห​ าย​แลว้ ​ทำไมถ​ ึง​เปน็ ​ เชน่ ​น้นั ​”​ ​ จาก​คำถาม​ข้อ​สงสัย​ดัง​กล่าว​ ​นาย​ดาต้า​ก็ได้​ตอบ​ไป​ใน​ลักษณะ​ท่ี​ ว่า​ ​หมอ​จ่าย​ยา​ให้​ไป​เกิน​กว่า​เหตุ​ ​ข้าพเจ้า​ได้​นำ​เร่ือง​นี้​ไป​สอบถาม​จาก​ ญาติ​ซึ่ง​เป็น​อายุรแพทย์​ ​แพทย์​ผู้​เชี่ยวชาญ​ทางการ​รักษา​ด้วย​ยา​ซึ่ง​ก็ได้​ ความก​ ระจา่ งก​ ลบั ม​ าว​ า่ ​เ​ราค​ งเ​คยท​ ราบก​ นั ว​ า่ ม​ เ​ี ชอ้ื โ​รคม​ ากมายม​ อ​ี าการ​ ดอื้ ยา​ท​ ำใหร​้ กั ษาห​ ายไ​ดย​้ ากโ​ดยเ​ฉพาะใ​นเ​มอื งไ​ทย​ท​ ง้ั น​ี้ ม​ ส​ี าเหตท​ุ ส​ี่ ำคญั ​ คือ​การ​ให้การ​รักษา​ท่ี​ไม่​เต็ม​ท่ี​ ​ดัง​เช่น​ ​คนไข้​ไป​ซื้อ​ยา​มา​ทาน​เอง​จาก​ร้าน ข​ ายย​ า​ห​ รอื ไ​ปพ​ บแ​ พทยต​์ ามค​ ลน​ี คิ ​โ​รงพ​ ยาบาล​แ​ พทยส​์ ว่ นใ​หญจ​่ ะจ​ ดั ย​ า​ luangpordu.com

165 ๑๖๕ ให้​คนไข้​ครบต​ าม​จำนวนว​ ่า จ​ ะต​ อ้ ง​ทาน​ยาก​ ี่​วนั ​​๕​ว​ นั ​๗​ ​ว​ ัน​ห​ รอื ​๑​ ๐​​วนั ​ ก​็จะ​จดั ​ยาใ​หค​้ รบ​​เชน่ ​​คนไขเ​้ ป็น​หวดั ​เน่อื งจาก​ติดเ​ช้อื แ​ บคทเี รีย​ซ​ ง่ึ ​คนไข​้ จำต​ อ้ งไ​ดย​้ าป​ ฏชิ วี นะห​ รอื ย​ าแ​ กอ​้ กั เสบ​ค​ นไขท​้ เ​ี่ ปน็ ว​ ณั โรค​ค​ นไขท​้ เ​ี่ ปน็ โ​รค​ กระเพาะ​ปสั สาวะอ​ กั เสบ​ฯ​ ลฯ​ ​ เมอื่ ค​ นไขเ​้ หลา่ น​ ท​้ี านย​ าแ​ ลว้ ม​ อ​ี าการด​ ข​ี น้ึ ​ห​ รอื ​ห​ ายไ​ปก​ จ​็ ะห​ ยดุ ย​ า​ ทัง้ ​ๆ​ท​ ​่เี ชอื้ ​โรค​ยัง​ไมห​่ าย​เ​มอ่ื ​หยดุ ย​ า​ข​ ณะ​ท​่ีเชอ้ื ​โรค​บาง​สว่ นย​ งั ​ไม่ต​ ายนน้ั ​ มนั ​จะ​กลบั ​ฟน้ื ​ขน้ึ ​มา​ใหม​่ ​แพร​พ่ นั ธ​ใุ์ หม​อ่ อก​มา​ซง่ึ ​เปน็ ​พนั ธ​ทุ์ ​ม่ี วี ​วิ ฒั นา​การ​ ใ​หด​้ อ้ื ต​ อ่ ย​ าท​ เ​่ี คยใ​ชม​้ าก​ อ่ นแ​ ตใ​่ ชไ​้ มค​่ รบต​ ามจ​ ำนวน​จ​ ากน​ น้ั ไ​มน​่ าน​อาการ​ เจ็บ​ไข้​ก็​จะ​เกิด​ข้นึ ​มา​ใหม่​ ​คราว​น้​ีจะ​รักษา​ให้​หาย​ก็​จะ​ยาก​กว่า​คร้งั ​แรก​​ แนน่ อนต​ อ้ งใ​ชย​้ าท​ แ​ี่ รงข​ นึ้ ก​ วา่ เ​กา่ ​ห​ ากค​ นไขใ​้ ชย​้ าผ​ ดิ ว​ ธิ ​ี เ​ชอื้ ก​ จ​็ ะด​ อ้ื ยาข​ น้ึ ​ มา​อีก​ ​ทุก​วัน​น้ี​จึง​มี​โรค​ดื้อยา​เกิด​ข้ึน​มากมาย​ ​เพราะ​การ​ใช้​ยา​ท่ี​ไม่​ศึกษา​ ใหถ​้ กู ​วธิ ี​ ​ใน​เร่อื ง​ของ​การ​ศึกษาป​ ฏบิ ตั ิ​ธรรมก​ ​็เชน่ เ​ดยี วกนั ​ ​ การ​ใช้​ยา​ไม่​ถูก​วิธี​.​.​.​ ​ทำให้​เชื้อ​โรค​ด้ือยา​ขึ้น​ฉันใด​ ​การ​ศึกษา​ ปฏบิ ัตธิ​ รรมไ​มถ​่ กู ​วธิ ี.​.​.​​ก​ท็ ำให​้ศษิ ยด์​ ื้อค​ ำส​ อน​ของค​ รอู​ าจารย​์ฉนั น​ ้ัน​ luangpordu.com

๑๖๖ 166 ๘​ ๘​ ​ ค​ ุณธ​ รรม​๖​ ​ป​ ระการ​ หลวงปด​ู่ ​ู่ เ​คยป​ รารภธ​ รรมเ​กยี่ วก​ บั เ​รอ่ื งก​ ารเ​จรญิ โ​พชฌงค​์ อ​ นั เ​ปน็ ​ คณุ ธ​ รรมท​ ท​่ี ำใหบ​้ คุ คลผ​ ป​ู้ ฏบิ ตั ต​ิ ามไ​ดบ​้ รรลม​ุ รรค​ผ​ ล​น​ พิ พาน​ม​ แ​ี ตค​่ วาม​ เยน็ ใจ​ใน​ทุกท​ ที่​ กุ ​สถาน​​ใน​กาลท​ กุ เ​มื่อ​เ​ปน็ ​ธรรมท​ ีเ่​ป็น​ประโยชนอ​์ ยา่ งย​ ง่ิ ​ อกี ท​ งั้ ม​ ค​ี วามไ​พเราะท​ งั้ อ​ รรถแ​ ละธ​ รรม​จ​ งึ ข​ อฝ​ ากไ​วก​้ บั ศ​ ษิ ยห​์ ลวงป​ู่ ใหไ​้ ด​้ นำไ​ปพ​ จิ ารณาก​ ัน​ ​ “ด​ ก​ู อ่ นท​ า่ นผ​ เ​ู้ หน็ ภ​ ยั ใ​นว​ ฏั ฏส​ งสารท​ ง้ั ห​ ลาย​ผ​ ท​ู้ เ​ี่ หน็ ภ​ ยั ใ​นว​ ฏั ฏ-​ สงสารน​ น้ั ​​ถา้ ​ประกอบ​ดว้ ย​คณุ ธ​ รรม​​๖​ป​ ระการ​น​้ี ย​ อ่ มจ​ ะไ​ด​บ้ รรลม​ุ รรค​ ผล ​นพิ พาน​ถงึ ค​ วามเ​ยอื กเ​ยน็ ​อยา่ ง​ยอดเ​ยย่ี ม​​คณุ ธ​ รรม​๖​ ​ป​ ระการ​นน้ั ​ คอื ​ ​ ข่ม​จติ ใ​นส​ มัย​ทค่ี​ วรข​ ่ม​ ​ ประคอง​จิต​ในส​ มัย​ทคี​่ วรป​ ระคอง​ ย​ งั จ​ ติ ใ​ห้ร​ ่าเริง​ใน​สมยั ​ท่​คี วรร​ า่ เริง​ ว​ าง​เฉยจ​ ติ ​ในส​ มยั ท​ ี​่ควร​วางเ​ฉย​ ​ มีจ​ ติ น​ ้อมไ​ปใ​น​มรรค​​ผล​​อันป​ ระณตี ​สูงสุด​ ​ ยินด​ยี ง่ิ ​ใน​พระ​นิพพาน​”​ luangpordu.com

167 ๑๖๗ ผู้​ปฏิบัติ​ท่ี​มี​ความ​ชาญ​ฉลาด​ ​ย่อม​จะ​ต้อง​ศึกษา​จิตใจ​และ​อารมณ์​ ของ​ตน​ให้​เข้าใจ​ ​และ​รู้จัก​วิธี​กำหนด​ ​ปล่อย​วาง​ ​หรือ​ควบคุม​จิตใจ​และ​ อารมณใ​์ หไ​้ ด​้ เ​ปรยี บเ​สมอื นเ​วลาท​ เ​่ี ราข​ บั ร​ ถยนต​์ จ​ ะต​ อ้ งศ​ กึ ษาใ​หเ​้ ขา้ ใจถ​ งึ ​ วธิ ​กี ารข​ บั ข​ท่ี ป​่ี ลอดภยั ​บ​ าง​ครง้ั ​ควร​เรง่ ​บ​ าง​คราว​ควรผ​ อ่ น​​บางท​กี ต​็ อ้ งห​ ยดุ ​ ​เร่งใ​น​เวลาท​ ​ี่ควรเ​ร่ง​ ​ผ่อนใ​น​เวลา​ที่​ควร​ผ่อน​ ​ หยุด​ใน​เวลา​ท​คี่ วร​หยดุ ​ ​ ก็​จะส​ ามารถ​ถงึ ทห​่ี มาย​ได​้อย่างป​ ลอดภยั ​ ​เปรียบ​เหมือน​การ​ปฏิบัติ​ธรรมะ​นี่​ล่ะ​ ​ทำนอง​เดียวกัน​ให้​พิจารณา​ อยา่ งน​ ​้ี luangpordu.com

๑๖๘ 168 ​๘๙​ ​ ​ลงิ ต​ ดิ ​ตงั ​ ท่ามกลาง​กระแส​สังคม​ทีส่​ บั สนว​ ุ่นว​ าย​ไ​ม่​วา่ ​จะ​เป็น​กจิ ธ​ ุระส​ ว่ นต​ ัว​ กิจ​ธุระ​เร่ือง​ครอบครัว​ ​เรื่อง​ที่​ทำงาน​ ​เร่ือง​ของ​ญาติ​สนิท​มิตร​สหาย​ ​จน​ บอ่ ยค​ รงั้ ท​ เ​่ี ราร​สู้ กึ เ​หมอื นถ​ กู พ​ นั ธนาการด​ ว้ ยภ​ าระแ​ ละห​ นา้ ทท​ี่ ต​ี่ อ้ งจ​ ดั การ​ มากมายอ​ ยู่​ท​ุกว​ที่ กุ ​วัน​ท​ ้งั ต​ ัวเ​ราเ​อง​และท​ ง้ั ​ผู้คนร​ อบ​ข้าง​ ​ หลวงปู่​ได้​เคย​เปรียบ​ลักษณะ​เช่น​น้ี​กับ​อาการ​ของ​ลิง​ ​โดย​ท่าน​ได้​ ถาม​ข้าพเจ้า​ว่า​“​แกเ​คย​รู้จกั ไ​หม​​โลก​ติดตัว​เหมอื นล​ ิงต​ ิดต​ ัง”​ ​ (​“​ ต​ งั ”​ ​ต​ ามค​ วามห​ มายใ​นพ​ จนานกุ รมห​ มายถ​ งึ ​ย​ างไ​มท​้ ผ​่ี สมก​ บั ส​ งิ่ ​ อืน่ ​แล้ว​​ทำให​้เหนยี ว​ใช้​สำหรับด​ กั ​นก​)​ ​เวลา​ที่​เขา​มา​ดัก​จับ​ลิง​ ​เม่ือ​ลิง​มา​ติด​กับ​ที่​มี​ตังติด​อยู่​ ​ตังติด​มือลิง​ ขา้ งห​ น่งึ ​​มนั ​ก​ใ็ ชม​้ ืออ​ กี ข​ ้าง​มาแ​ กะอ​ อก​​แตแ​่ กะไ​ม่อ​ อก​ก​ ลบั ​ตดิ ต​ ังท​ ัง้ ​สอง​ มอื ​​เอาเ​ทา้ ​มา​ช่วยถ​ ีบ​ออก​ก​ ็​ไม่อ​ อก​อกี ​เ​อา​ปากก​ ดั อ​ ีก​​ผล​ที่สดุ เ​ลยต​ ดิ ต​ ัง​ ไป​ท้ังต​ ัว​​ท้งั ​สอง​มอื ​​สองเ​ท้า​​และป​ าก​​ติดต​ ังไ​ป​หมด​น​ อนร​ อ​ใหเ้​ขาม​ าจ​ บั ​ ตวั ​เอาไ​ป​ขา้ พเจ้า​ก้ม​ลงด​ ู​ตวั ​เอง​​และเ​หลยี ว​มอง​ดู​รอบต​ วั ​ไ​ม​เ่ ห็นล​ ิงแ​ ม้แต​่ ตัว​เดยี ว​ทต​ี่ ิดต​ ัง​เ​หน็ ​แตต​่ ัวเ​อง​และ​คนร​ อบๆ​ ​ข​ า้ ง​​ติดต​ งั เ​ตม็ ​ไป​หมด​..​.​​ไ​มม่ ี​ ลงิ ​สัก​ตัว ...ใครก​ ็ได​้ ​ช่วยแ​ กะท​ ​ีเถอะ​ครับ​!​​ luangpordu.com

169 ๑๖๙ ๙​ ๐​ ป​ รารภ​ธรรมเ​รื่อง​​“​การ​เกิด​”​ ​ บ่ายร​ ่ม​ลมเ​ย็นว​ นั ห​ น่ึง​ใ​น​อริ ิยาบถ​สบาย​ๆ​ ​​ของ​หลวงป​ทู่ ่​กี ฏุ ทิ​ า่ น​ หลวงปู่​ได้​ปรารภ​ธรรม​เก่ียว​กับ​เร่ือง​ ​“​การ​เกิด​”​ ​ให้​กับ​ศิษย์​ได้​ฉุกคิด​ เป็นการ​บา้ น​ ​ท่านไ​ด้ป​ รารภ​ไวว้​ ่า​ ​ “ค​ นเ​ราเ​กดิ ม​ าไ​มเ​่ หน็ ม​ อ​ี ะไรด​ ​ี ม​ ด​ี อ​ี ยอ​ู่ ยา่ งเ​ดยี ว​ส​ วดม​ นตไ​์ หวพ​้ ระ​ ปฏบิ ตั ​ิภาวนา”​ ​ ​ ขา้ พเจา้ ห​ วนร​ำลกึ ถ​ งึ ค​ ำส​ อนท​ า่ นพ​ ทุ ธท​ าสภ​ กิ ขจ​ุ ากห​ นงั สอื ​“​ เ​ลา่ ไว​้ เม่อื ว​ ัย​สนธยา”​ ​​ซ่งึ ​สมั ภาษณ์โ​ดย​พระ​ประชา​​ปสนั นธ​ ัมโม​​ท่านพ​ ุทธท​ าส​ ภิกขุ​ได้​พูด​ถึง​เรื่อง​ท่ี​สำคัญ​ที่สุด​ใน​ชีวิต​ว่า​ ​คนเราเกิด​มา​ควร​จะ​ได้​อะไร​ ​เกดิ ม​ า​ทำไม​ ​ คน​ส่วน​ใหญ่​สมัย​เป็น​เด็ก​ๆ​ ​ไม่มี​ทาง​รู้​ว่า​เกิด​มา​ทำไม​ ​พ่อ​แม่​ก็​ไม่​ ได้​สอน​ว่า​เกิด​มา​ทำไม​ ​เพียง​แต่​ได้​รับ​การ​ดูแล​ว่า ​ทำ​อย่าง​นั้น​ทำ​อย่าง​น้ี​​ ที​่เรยี กว​ า่ ​ดๆี ​​ให​เ้ รียนห​ นงั สอื ​​ให​ป้ ระพฤติด​ ​ี ​ก​ด็ ี​แต่​ไม่ร้ว​ู ่าเ​กิดม​ าท​ ำไม​​จน​ กระทง่ั เ​ป็นห​ นุ่ม​สาว​ก​ ​็ไมร่ ้ว​ู ่าเ​กิดม​ า​ทำไม​​เพือ่ ป​ ระโยชนอ์​ ะไร​​แต่​กไ็ ดท​้ ำ​ ทุก​ๆ​ ​อย่าง​ตาม​ที่​ผู้​หลัก​ผู้ใหญ่​สอน​ให้​ทำ​ตาม​ขนบธรรมเนียม​ประเพณี​ luangpordu.com

๑๗๐ 170 ​มี​ใหท​้ ำ​จ​ ึงม​ ก​ี าร​ศกึ ษา​ม​ ีอ​ าชพี ​สำหรับ​ทำม​ า​หากิน​ม​ ​คี วามเ​ปน็ อ​ ย​ทู่ ่ี​ดข​ี น้ึ ​ บาง​คนจน​เลย​วัย​ผู้ใหญ่​ล่วง​ถึง​วัย​ชรา​ ​ก็​ไม่มี​โอกาส​ ​แม้​จะ​คิด​หา​คำ​ตอบ​ ท่ี​สำคัญ​ท่ีสุด​ใน​ชีวิต​นี้​ ​ข้าพเจ้า​ขอ​อนุญาต​ ​ขีด​เส้น​ใต้​คำ​ว่า​ ​ที่​สำคัญ​ที่สุด​ ใน​ชีวิต​น​ี้ ​ ทา่ น​พุทธท​ าส​ภิกขุ​​ได​้เฉลย​คำ​ตอบน​ ไ​้ี ว​ว้ ่า​.​.​.​ ​“​เกิด​มา​ให้​ได้​รับ​ส่ิง​ดี​ที่สุด​ท่ี​มนุษย์​ควร​จะ​ได้​ ​คือ​ให้​มี​ชีวิต​ท่ี​เย็น​​ ​ท่ไ​ี ม​่เป็น​ทกุ ขเ์​ลย​”​ ​ สรปุ ​ไดว​้ า่ ​เ​พื่อแ​ สวงหา​ความส​ ุข​ท่ี​ไม่​กลับ​กลายเ​ป็น​ความ​ทุกข​อ์ ีก​ ​ม​ีส​ุภาษิต​จีนบ​ ท​หนง่ึ ​ทวี่​ า่ .​​.​.​ ​ รก​ู้ ่อน​แ​ ก้ก​ อ่ น​ ร​ ​ู้หลงั ​​แก้​หลัง​ ​ไม่รู้​​ไม่​แก้​ ​ รู้แ​ ลว้ ​​ทำไมไ​มแ​่ ก้​ ​ น่นั ​น่ะซ​ ​ิ ​ร้แู​ ลว้ .​.​​.ท​ ำไม​(​​ยงั )​​​ไม​แ่ ก้​​(ว​ ะ​)​!​​ ​ ข้าพเจา้ อ​ ทุ านก​ บั ต​ วั ​เอง​ luangpordu.com

171 ๑๗๑ ๙​ ๑​ ​เมด​อ​ นิ ​ว​ ัดส​ ะแก​ ​ ทา่ นท​ ​ม่ี ค​ี วาม​สนใจ​ใน​วตั ถมุ งคลของ​หลวงป​ดู่ ​ู่ พ​ รหมปญั โญ จะ​พบ ​ว่า​พระ​เคร่ือง​พระ​บูชา​ของ​ท่าน​มี​มากมาย​หลาย​รุ่น​หลาย​แบบ​ ​เท่าท่ี​ พอ​จะ​สืบ​ทราบ​ ​หลวงปู่​ได้​เร่ิม​สร้าง​ต้ัง​แต่​ปี​ ​พ​.​ศ​.​๒๔๘๔​ ​เร่ือย​มา มี​ท้ัง​ ชุด​พระ​บูชา​ท่ี​เป็น​พระพุทธ​รูป​และ​ท่ี​เป็น​รูป​หล่อ​หลวง​ปู่ทวด​ ​หลวงปู่​ดู่​​ ครูบา​อาจารย์​องค์​อ่ืน​ๆ​ ​เช่น​ ​หลวงปู่​เกษม​ ​เขม​โก​ ​ท่ี​เป็น​พระเครื่องก็ ไดแ​้ ก​่ ช​ ดุ พ​ ระเ​หนอื พ​ รหม​ช​ ดุ ช​ ยั มงคลค​ าถา​(​พ​ าห​ งุ ฯ​ )​​ช​ ดุ เ​หรยี ญรปู เ​หมอื น​ หลวงปด​ู่ ​ู่ ร​วมท​ ง้ั เ​หรยี ญโ​ลหะอ​ นื่ ๆ​ ​พ​ ระห​ ยดน​ ำ้ ​ร​ปู ห​ ลอ่ ล​ อยอ​ งคข​์ นาดเ​ลก็ ​ พระ​พิมพต์​ า่ ง​ๆ​​ตลอดจนล็อกเกต​​และ​แหวน​ เ​มอื่ ต​ น้ ป​ ​ี ๒​ ๕๔๐​ข​ า้ พเจา้ ไ​ดเ​้ หน็ ห​ นงั สอื พ​ ระเ​ครอ่ื งเ​ลม่ ห​ นง่ึ ​ผ​ เ​ู้ ขยี น​ ได​เ้ ลา่ ​ถึงข​ ่าว​ดังใ​นร​ อบ​ปี​๒​ ๕๓๙​​และไ​ด​จ้ ดั ​อนั ดบั ​๑​ ๐​​ข่าว​ดงั ​แห่งว​ งการ​ พระเ​ครือ่ ง​ใน​รอบป​ ​ี ​ซึ่งก​ ็​วา่ ​กันไ​ป​ตาม​ประสาค​ นใน​วงการพ​ ระเ​ครื่อง​​แต่​ ม​ีข่าว​หน่ึง​ใน​บรรดา​๑​ ๐​ข​ า่ ว​ดังนท​ี้ ่​ีสะดดุ ​ใจ​ข้าพเจ้า​ค​ ือ​ ​ “​สบั สนท​ ส่ี ดุ ​​ใน​วงการพ​ ระเ​ครอ่ื งค​ อื ​พ​ ระเ​ครอ่ื ง​บชู า​ของ​หลวงป​ ดู่ ่​ู พรหม​ปัญโญ​ ​วัด​สะแก​ ​อำเภอ​อุทัย​ ​จังหวัด​พระนครศรีอยุธยา​ ​สับสน​ จน​บรรดา​เซียน​พระ​ไม่​กล้า​จัด​ประกวด​เพราะ​ไม่​สามารถ​แยกแยะ​ได้​ว่า​ luangpordu.com

๑๗๒ 172 อัน​ไหน​ของ​จรงิ ​อ​ ัน​ไหนข​ อง​ปลอม”​ ​ข​ า้ พเจ้า​อ่านแ​ ลว้ อ​ ด​ขำ​ไม​ไ่ ด​้ ก​ ็​พวก​ ท่าน​ทั้ง​หลาย​ ​(​บรรดา​เซียน​พระ​เคร่ือง​)​ ​เล่น​จัด​ประกวด​พระ​เคร่ือง​ด้วย​ วัตถุประสงค์​ท่ี​จะ​ตี​ราคา​พระ​เคร่ือง​พระ​บูชา​ของ​หลวงปู่​ออก​มา​ใน​เชิง​ พาณิชย์​ ​เพื่อ​นำ​มา​ซ้ือ​ๆ​ ​ขาย​ๆ​ ​แสวงหา​กำ​ร้ี​กำไร​กัน​ใน​ตลาด ​ซึ่ง​ไม่ใช่​ วตั ถปุ ระสงค​ข์ องห​ ลวงปู่​ ​วัตถุประสงค์​ของ​หลวงปู่​ ​ต้องการ​ให้​พระ​เครื่อง​บูชา​ของ​ท่าน​เป็น​ สือ่ .​​..​ใหเ​้ ขา้ ถ​ งึ พ​ ระ​แท้​ใน​จิตใจข​ องผ​ ้​ปู ระพฤตปิ​ ฏบิ ัติต​ าม​ธรรม​คำส​ อนข​ อง​ ทา่ น​ต​ อ้ งการใ​หพ​้ ระน​ ไ​ี้ ดถ​้ งึ ม​ อื บ​ คุ คลท​ ส​ี่ นใจศ​ กึ ษาป​ ฏบิ ตั จ​ิ รงิ ​ๆ​ ​ด​ งั จ​ ะเ​หน็ ​ ไดจ​้ ากก​ ารท​ ม​ี่ พ​ี ระเ​ครอ่ื งพ​ ระบ​ ชู าข​ องห​ ลวงป​ู่ จ​ ำนวนม​ ากท​ ท​ี่ ำเ​ปน็ พ​ ระผ​ ง​ ผสมป​ นู ซ​ เี มนตข​์ าวม​ จ​ี ำนวนม​ ากมายน​ บั แ​ สนอ​ งค​์ จ​ นบ​ างค​ นม​ ค​ี วามร​สู้ กึ ว​ า่ ​ พระห​ ลวงป​ดู่ .​ู่ .​.​ไ​มม่ ร​ี าคา​แ​ ตข​่ า้ พเจา้ ก​ ลบั ​รสู้ กึ ต​ รงก​ นั ​ขา้ ม​วา่ ​​พระ​หลวงปด​ู่ ​ู่ .​.​.​เ​มด​​อิน​​วดั ​สะแกน​ ้ี​ทว​ี่ ่า​..​.​ไ​มม่ รี​ าคาน​ ั้น​​คอื ​ไ​มม่ ​รี าคาแ​ บบท​ ห​่ี าค​ า่ ​มไิ ด้​ เป็น​I​nvaluable​ห​ รือ​​Priceless​T​ hing​​สำหรับ​ผร​ู้ ​ู้ คุณค่า​​มใิ ช่ส​ ำหรับ​ ผู้​ร​ู้ มลู คา่ ​ท​ ่น​ี ิยมก​ าร​ซือ้ ​ขายแ​ ลก​เปลยี่ นเ​ปน็ เ​งนิ ท​ อง​กัน​ luangpordu.com

173 ๑๗๓ ​๙๒​ ห​ ลวงป​ู่ดู​่ ห​ ลวงป​ ู่ทวด​ ​ วนั ห​ นง่ึ ใ​นค​ ราวท​ ป​่ี ลอดค​ น​ข​ า้ พเจา้ ไ​ดม​้ โ​ี อกาสอ​ ยท​ู่ ก​่ี ฏุ ข​ิ องห​ ลวงป​ู่ กับ​ท่านโ​ดย​ลำพงั ​​หลวงปูไ่​ดเ​้ ลา่ ใ​ห้​ข้าพเจา้ ​ฟังว​ ่า​​ม​ีลูกศ​ ิษย​์นาย​ทหาร​คน​ หนึง่ ​มา​เลา่ ​ใหท​้ ่าน​ฟงั ว​ า่ ​​หลวงป​ ู่ทวดท​ ่านไ​ปห​ ลอกเ​ขา​ ​ “​หลอกย​ ังไ​งห​ รือ​ครบั ”​ ​​ขา้ พเจา้ ​ถามท​ า่ น​ ​ “​เขา​ว่า​เวลา​ท่ี​เขา​ภาวนา​อยู่​ ​หลวง​ปู่ทวด​ไป​ยืน​อยู่​ข้าง​หน้า​เขา​​ สกั ​พกั ต​ วั ​ท่าน​ก็​เปลย่ี น​ไป​ห​ ัวเ​ปน็ ​หลวงป​ ่ทู วด​​ตวั เ​ปน็ ข​ ้า.​​..​”​ ​ ​ หลวงป​ตู่ อบ​ข้าพเจา้ ​ยงั ไ​ม​่จบ​ข​ ้าพเจ้า​อด​ถามแ​ ทรก​ไมไ​่ ด​ว้ ่า​​“เ​ขาร​ ู​้ ไดอ้​ ยา่ งไร​ครับ​วา่ ​ตวั เ​ป็นห​ ลวงป”ู่​ ​ ​ ทา่ นต​ อบข​ า้ พเจา้ ว​ า่ ​“​ เ​ขาจ​ ำร​ อยส​ กั ร​ ปู ผ​ เ​ี สอ้ื ท​ ม​ี่ อื ข​ า้ ไ​ด​้ ”​ ​ห​ ลวงป​ู่ ได้​เล่า​ต่อว่า​ ​“​เม่ือ​หลวง​ปู่ทวด​ไป​หลอก​เขา​โดย​แสดง​ให้​เห็น​ ​หัว​เป็น​ หลวงป​ ทู่ วด​ต​ วั เ​ป็นข​ ้าแ​ ลว้ ​ส​ ัก​พกั ​ก​็เปล่ยี นใ​หม​่ ​ทีนหี​้ ัวเ​ปน็ ข​ า้ ​ส​ ่วนต​ ัว​ เปน็ ​หลวงป​ ทู่ วดถ​ ือไ​มเ​้ ท้า​ก​ ลับ​ไปก​ ลบั ​มา​อย่างน​ ​้ี ​”​ เ​รอื่ งท​ ห​่ี ลวงปไ​ู่ ดเ​้ ลา่ ใ​หข​้ า้ พเจา้ ฟ​ งั น​ ​้ี ต​ รงก​ บั น​ มิ ติ ท​ ศ​ี่ ษิ ยข​์ องห​ ลวงป​ู่ หลายค​ นเ​คยม​ น​ี มิ ติ เ​กยี่ วก​ บั ท​ า่ น​ค​ อื ​เ​ปน็ น​ มิ ติ ร​ปู พ​ ระพทุ ธเจา้ อ​ ยต​ู่ รงก​ ลาง​ ดา้ นข​ วาด​ า้ นซ​ า้ ยม​ ร​ี ปู ห​ ลวงป​ ทู่ วดแ​ ละห​ ลวงปด​ู่ ​ู่ ส​ กั พ​ กั ภ​ าพท​ งั้ ส​ ามก​ ค​็ อ่ ยๆ​ luangpordu.com

๑๗๔ 174 เลื่อน​มา​รวม​เป็น​ภาพ​เดียวกัน​คือ​เป็น​ภาพ​พระพุทธเจ้า​ ...หาก​หลวงปู่​ดู่​ และ​หลวง​ปู่ทวด​มิใช่​พระองค์​เดียวกัน​แล้ว​ ​สมควร​แล้ว​หรือ​ท่ี​นิมิต​ท่ี​ศิษย์​ นาย​ทหาร​ท่าน​นั้น​จะ​เห็น​ศีรษะ​หลวงปู่​ดู่​ไป​วาง​บน​ลำ​ตัว​หลวง​ปู่ทวด​​ สมควร​แล้วห​ รอื ​ท่​ศี รี ษะห​ ลวงป​ ทู่ วดม​ า​วางบ​ น​ลำ​ตัว​หลวงปด​ู่ ู่​​และ​สมควร​ แล้ว​หรอื ​ทภ​่ี าพ​พระพทุ ธเจา้ ​ห​ ลวง​ปูท่ วด​​และห​ ลวงปู่​ด​ู่ ม​ า​รวมเ​ปน็ ​ภาพ​ เดยี วกนั ​ ​ ข้าพเจ้า​เช่ือ​ว่า​หลวงปู่​ดู่​เป็น​พระ​โพธิ​สัตว์​ท่ี​ปรารถนา​พุทธ​ภูมิ​ เช่น​เดียว​กับ​หลวงป​ ู่ทวด​​สว่ นท​ ่าน​จะเ​ปน็ ​องคเ์​ดยี วกัน​หรอื ไ​ม​่นน้ั ​​ขา้ พเจ้า​ ไมท​่ ราบไ​ด​้ เ​พราะเ​ปน็ ว​ สิ ยั ข​ องผ​ ม​ู้ ญ​ี าณเ​ทา่ นน้ั ท​ จ​่ี ะพ​ งึ ท​ ราบ​เ​หตท​ุ บ​ี่ นั ทกึ ​ เร่ือง​นี้​ไว้​ก็​เพียง​เพื่อ​เตือน​ใจ​ตัว​เอง​ท่ี​คร้ัง​หนึ่ง​หลวงปู่​ได้​เคย​เมตตา​เล่า​ ​เรื่อง​น้ี​ให้​ข้าพเจ้า​ฟัง​ ​และ​หาก​จะ​เป็น​ประโยชน์​กับ​ใคร​บ้าง​ ​ช่วย​สร้าง​ ศรัทธา​ป​สา​ทะ​ให้​เกิด​ความ​พาก​ความ​เพียร​ ​ที่​จะ​ก้าว​ล่วง​ความ​ทุกข์​ให้​ได้​ แล้ว​ข​ า้ พเจ้า​ขออ​ นุโมทนา​ดว้ ย​อยา่ ง​ยิง่ ค​ รบั ​ ​ luangpordu.com

175 ๑๗๕ ​๙๓​ ก​ รรมฐ​ าน​พาลจ​ ิต​เพ้ียน​ ​หลายป​ ีก​ อ่ นม​ ี​การเ​สวนาท​ าง​วิชา​การเ​รอื่ ง​“​ ​โรคจติ ก​ บั ​กรรม​ฐาน”​ จดั โ​ดยธ​ รรมส​ ถานจ​ ฬุ าลงกรณม​์ หาวทิ ยาลยั ​ใ​นค​ รงั้ น​ น้ั ม​ ก​ี ารเ​ชญิ จ​ ติ แพทย​์ จากโ​รง​พยาบาลศ​ ิรริ าช​​มา​เล่าถ​ งึ ​ปัญหาโ​รคจติ ท​ ​เี่ กิด​จาก​การน​ งั่ ​วปิ ัสสนา​ กรรมฐ​ านว​ า่ ทจ​ี่ รงิ แ​ ลว้ ก​ ารท​ ำกรรมฐ​ านไ​มไ​่ ดเ​้ ปน็ ส​ าเหตข​ุ องก​ ารเ​กดิ โ​รคจติ ​แต​ป่ ระการ​ใด​​การ​ทค่ี​ นท​ ัว่ ไปน​ ง่ั ว​ ิปัสสนาก​ ลบั ​มา​แล้ว​เกิด​อาการ​ทาง​จิต​ท่​ี คน​อืน่ ​มองว​ ่า​“​ ​เพย้ี น”​ ​ห​ รอื ​เป็น​โรคประสาท​เ​ป็น​เพราะท​ ำ​ไม​่ถกู ว​ ธิ ​ี ​ จิตแพทย์​ท่าน​นั้น​ได้​กล่าว​ว่า​ ​การ​ท่ี​มี​ผู้​ไป​ทำ​วิปัสสนา​กลับ​มา​แล้ว​ ผดิ ​ปกต​มิ ไ​ี มม​่ ากน​ ัก​แ​ ตส​่ ิง่ ท​ ่​นี า่ เ​ป็นห​ ่วง​มากก​ ​็คือป​ จั จุบนั ​มสี​ ำนกั ส​ อนก​ าร​ ปฏบิ ตั ร​ิ วมท​ ง้ั ว​ ปิ สั สนาเ​กดิ ข​ นึ้ อ​ ยา่ งม​ ากมาย​จ​ นท​ ำใหค​้ นค​ ดิ ว​ า่ เปน็ แ​ ฟชน่ั ​ ท่ี​กำลัง​ได้​รับ​ความ​นิยม​ ​คาด​ว่า​มี​สำนัก​น้อย​ใหญ่​ทั่ว​ประเทศ​เป็นพัน​แห่ง​​ สาเหตุ​ที่​ทำให้​คน​มุ่ง​เข้า​สู่​สำนัก​กรรม​ฐาน​เหล่า​นี้​เนื่อง​มา​จาก​ความทุกข์​​ ความ​ผดิ ​หวังใ​น​ชวี ติ ​​ตอ้ งการท​พี่ ่งึ ​ทางใ​จ​​สรปุ ​ได​ว้ า่ ค​ นท​ ่​เี พ้ียนจ​ าก​การทำ กรรมฐ​ านน​ น้ั ส​ ว่ นใ​หญม​่ ค​ี วามอ​ อ่ นแอท​ างจ​ ติ ใจอ​ ยแ​ู่ ลว้ ​แ​ ละม​ าพ​ บแ​ นวทาง​ ปฏบิ ตั ทิ ผ​ี่ ดิ ๆ​ ​เ​ชน่ ​อ​ า่ นต​ ำราแ​ ลว้ น​ ำไ​ปต​ คี วามเ​อง​ห​ รอื คดิ คน้ ว​ ธิ ป​ี ฏบิ ตั เ​ิ อง​ นอกแ​ บบ​ของค​ รู​อาจารย​์ หรอื ​ฟังจ​ ากเ​พ่อื น​ท่เ​ี ลา่ ​ใหฟ​้ งั ต​ ่อๆ​ ก​ ันม​ า​ luangpordu.com

๑๗๖ 176 ​ เจ้า​สำนัก​กรรม​ฐาน​บาง​แห่ง​มัก​ใช้​วิธี​พิสดาร​ต่างๆ​ ​เพ่ือ​สร้าง​ความ​ ขลัง​ให้​สำนัก​ตน​ด้วยก​ าร​ฝกึ ​แบบ​แปลกๆ​ ​จนท​ ำให้​คน​ท่ีฝ​ ึก​แบบ​ท่​ีผิด​ๆ​ ​น​้ี เกิด​อาการ​เคร่งเครียด​ ​บ้าง​ก็​เกิด​ความ​กลัว​หวาดระแวง​ ​เกิด​เป็น​อาการ​ เพ้ียน​ตา่ งๆ​​ตามม​ า​อ​ าการ​เพยี้ น​น​้มี ิใชเ่​พ่งิ ​เกิดใ​น​สมัย​ปัจจบุ นั ​​หากแ​ ต่​ใน​ ครงั้ ​พุทธ​กาลก​ ม็​ ​ีหลกั ฐ​ าน​ปรากฏใ​นพ​ ระว​ ินยั ป​ ิฎก​ภาค​อาทก​ิ ัมมกิ ะ​ค​ ือ​ ​ สมัย​หน่ึง​ที่​พระพุทธเจ้า​ทรง​สอน​กรรม​ฐาน​ข้อ​ที่​ว่า​ด้วย​การ​ให้​ พิจารณา​ร่างกาย​ดุจ​เป็น​ซากศพ​แก่​พระ​ภิกษุ​ ​หลัง​จาก​น้ัน​พระพุทธเจ้า​ เสดจ็ ​เข้า​ผาสุกว​ ิหาร​ธรรม​​คือ​ทรง​พกั ผ​ อ่ น​สว่ น​พระองคเ​์ ปน็ ​เวลา​๑​ ๕​ว​ นั ​ ใน​ระหวา่ ง​น้ี​​จะ​ไม​เ่ สดจ็ ​ออก​บิณฑบาต​จ​ ะ​ม​ีแต​่พระภ​ กิ ษผุ​ ท​ู้ ำห​ น้าทคี่​ อย​ อุปฏั ฐากอ​ ยู​่ ​ไมท่​ รง​รับแขกแ​ ละ​งดก​ าร​แสดงธ​ รรม​ ​ พระภ​ กิ ษท​ุ ไ​่ี ดฟ​้ งั พ​ ระพทุ ธเจา้ ส​ อนเ​รอ่ื ง​อ​ สภุ ะ​ ก​ รรมฐ​ าน​ไดน​้ ำค​ ำส​ อน​ ไป​ปฏิบัติ​โดย​ไม่มี​ครู​อาจารย์​คอย​ควบคุม​อย่าง​ใกล้​ชิด​ก็​เกิด​อาการ​วิปริต​​ เห็น​ร่างกาย​เป็น​ซากศพ​ ​เป็น​ท่ี​น่า​ขยะแขยง​เป็น​ทุกข์​ ​จึง​จ้าง​วาน​คน​อ่ืน​ ใหฆ​้ า่ ​ตัว​เอง​บา้ ง​ล​ งมือ​ฆา่ ก​ ันเองบ​ ้าง​เมอื่ พ​ ระพทุ ธเจ้า​ทรง​เสรจ็ จ​ ากผ​ าสกุ ​ วหิ ารธ​ รรม​​ทรง​ทราบเ​ร่ือง​เข้า​จงึ ท​ รง​สอนใ​ห้ภ​ ิกษท​ุ ​่เี หลือ​อยูใ่​ห้พ​ ิจารณา​ กรรม​ฐานใ​น​แนวใ​หม​่ ​ อกี เ​รอ่ื งห​ นง่ึ ​เ​รอ่ื งพ​ ระภ​ กิ ษก​ุ ลมุ่ ห​ นงึ่ เ​รยี นก​ รรมฐ​ านจ​ ากพระพทุ ธเจา้ ​ แลว้ ก​ราบท​ ลู ล​ า​เขา้ ​ปา่ ​หา​ท่ส​ี งบป​ ฏิบัติก​ รรม​ฐาน​จน​ไดบ้​ รรลุ​ฌานแ​ ล้ว​ไ​ม่​ นานก​ เ​็ กดิ ค​ วามส​ ำคญั ผ​ ดิ ค​ ดิ ว​ า่ ต​ นไ​ดส​้ ำเรจ็ ข​ นั้ อ​ รห​ นั ต​ แ​์ ลว้ ​จ​ งึ ช​ วนก​ นั อ​ อก​ จาก​ป่า​กลับ​มา​เฝ้า​พระพุทธเจ้า​ ​และ​ได้​บอก​ความ​ประสงค์​เร่ือง​น้ี​แก่​พระ​ luangpordu.com

177 ๑๗๗ อานนท์​ ​พระ​อานนท์​เข้าไป​กราบทูล​พระพุทธเจ้า​เพ่ือ​ขอ​อนุญาต​เข้า​เฝ้า​ พระพทุ ธเจา้ ไ​มท​่ รงอ​ นญุ าต​ร​บั สง่ั ใ​หพ​้ ระอ​ านนทไ​์ ปบ​ อกพ​ ระภ​ กิ ษเ​ุ หลา่ น​ น้ั ​ ใหไ​้ ปพ​ จิ ารณาซ​ ากศพใ​นป​ า่ ชา้ ก​ อ่ น​ซ​ งึ่ ใ​นข​ ณะน​ น้ั ใ​นป​ า่ ชา้ ม​ ค​ี นท​ ต​ี่ ายใ​หมๆ่ ​ ยงั ไ​มไ​่ ดเ​้ ผา​พระภ​ กิ ษเ​ุ หลา่ น​ น้ั ก​ ไ็ ดไ​้ ปด​ ศ​ู พใ​นป​ า่ ชา้ ​เ​มอื่ ด​ ศ​ู พท​ ก​่ี ำลงั ข​ นึ้ อ​ ดื ​ ก็​บังเกิด​ความ​เกลยี ด​ ​และ​เม่ือ​ไปด​ ู​ศพ​หญิง​สาวท​ ​่ีเพิ่ง​ตาย​ ​แล​เห็นอ​ วยั วะ ทุก​ส่วน​ยัง​สด​อยู่​ก็​บังเกิด​ราคะ​ ​พระ​ภิกษุ​เหล่า​น้ัน​จึง​ทราบ​ว่า ​พวก​ตน​ ยงั ไ​มไ​่ ดบ​้ รรลธ​ุ รรมใ​ดๆ​ก​ เ​็ กดิ ค​ วามส​ ลดส​ งั เวชใ​จใ​นค​ วามส​ ำคญั ผ​ ดิ ข​ องต​ น​ หลงั จ​ ากน​ นั้ ไ​ดเ​้ ขา้ เ​ฝา้ พ​ ระพทุ ธเจา้ ​ไ​ดฟ​้ งั ธ​ รรมจ​ งึ ไ​ดส​้ ำเรจ็ เ​ปน็ พ​ ระอ​ รห​ นั ต​ ​์ ใน​เวลาต​ ่อ​มา​ ​ นเ​้ี ปน็ ห​ ลกั ฐ​ านว​ า่ การป​ ฏบิ ตั ก​ิ รรมฐ​ านต​ ามห​ ลกั ศ​ าสนาพ​ ทุ ธ​จ​ ำเปน็ ​ ตอ้ งม​ ค​ี รอ​ู าจารยค​์ อยด​ แู ล​เ​ชน่ ค​ อยแ​ นะนำว​ า่ ภ​ าพท​ เ​่ี หน็ แ​ ละค​ วามค​ ดิ ท​ เ​ี่ กดิ ​ ข้ึน​ใน​ขณะท​ ีเ​่ จริญ​พระกร​รมฐ​ าน​หรือเ​วลา​น่ัง​กรรม​ฐาน​​ตลอดจ​ น​อารมณ​์ ต่างๆ​ ​ท่ี​เกิด​ขึ้น​ใน​ระหว่าง​นั้น​มี​ความ​หมาย​อย่างไร ​และ​ควร​วาง​อารมณ์​ ตอ่ ​สง่ิ เ​หลา่ น้นั ​อย่างไร​​มิฉ​ ะนั้น​ผ​ ้​ทู ำกรรม​ฐานอ​ าจ​เกดิ ค​ วามเ​ห็นผ​ ิด​​แล้ว​ พฒั นาก​ ลายเ​ปน็ ​ความว​ ิปรติ ห​ รอื ​ผิด​เพ้ียน​​ทสี่ ุดแ​ ลว้ ​อาการ​อาจ​รุนแรง​จน​ ควบคมุ ไ​ม​ไ่ ด้​​กลาย​เป็น​คนว​ กิ ลจรติ ​ไปก​ ​ม็ ี​ ​ ผู้​ปฏิบัติ​จึง​ควร​เริ่ม​ต้น​ศึกษา​พุทธ​ศาสนา​ด้วย​การ​ศึกษา​หาความรู้​ ทำความ​เข้าใจ​ใน​หลัก​คำ​สอน​ของ​พระพุทธเจ้า​ให้​เข้าใจ ​ก่อน​ท่ี​จะ​ลงมือ​ ​นั่งส​ มาธ​ิเจรญิ ​ภาวนา​เ​พราะ​การ​ทำ​สมาธิ​แต่​เพียง​อย่างเ​ดยี วก​ ​็มโี​ทษ​ม​ ิใช​่ ม​ีประโยชนด​์ า้ น​เดียว​ luangpordu.com

๑๗๘ 178 ​ ดงั น​ น้ั ​จ​ งึ ข​ อฝ​ ากผ​ ป​ู้ ฏบิ ตั ท​ิ ม​ี่ กั ม​ น​ี มิ ติ ภ​ าวนา​ไ​มว​่ า่ เ​ปน็ น​ มิ ติ ป​ ระเภท​ ภาพ​​เสียง​ก​ ลิน่ ​ห​ รือ​สงิ่ อ​ ่ืน​ใดก​ ต็ าม​​หลวงป่ทู​ า่ น​เคย​สอน​ไวว​้ ่า​​ “​อย่าย​ นิ ด​ียินร​ ้าย​​และอ​ ยา่ ​น้อม​ใจ​เชอ่ื ​ใน​นมิ ติ ​ท​เ่ี กิดข​ ้นึ ”​ ​​ ทา่ นส​ อน​ไม่​ให​ป้ ฏิเสธ​​หรอื ​วา่ ​ไมใ่​ห​เ้ ชือ่ น​ มิ ติ ​ทันท​ีท่นี​ มิ ิตเ​กิดข​ ึ้น​​แต่​ สอนใ​ห​้เช่อื ​หรอื ป​ ฏ​เิ สธ​กต​็ ่อ​เมื่อ​ค​ วามจ​ รงิ ​ป​ รากฏ​ขน้ึ เ​ท่าน้ัน​​ หลวงป​ ด​ู่ ลู ย​์ อ​ ต​ โุ ล​ท​ า่ นไ​ดเ​้ คยแ​ นะนำว​ ธิ ล​ี ะน​ มิ ติ ก​ บั ศ​ ษิ ยค​์ นห​ นง่ึ ใ​น​ หนังสอื ​“​ ​หลวง​ปู​ฝ่ าก​ไว”้​ ​เ​รยี บ​เรียงโ​ดยพ​ ระโ​พธิ​นันทม​ ุน​ี ​ว่า​ ​ “​.​.​.​นมิ ิต​บางอ​ ยา่ ง​มนั ก​ ส​็ นุก​ด​ี ​นา่ เ​พลิดเพลิน​อยู​่หรอก​​แตถ่​ า้ ต​ ดิ ​อยู​่ แคน​่ นั้ ม​ นั ก​ เ​็ สยี เ​วลาเ​ปลา่ ​ว​ ธิ ล​ี ะไ​ดง​้ า่ ยๆ​ก​ ค​็ อื อ​ ยา่ ไ​ปด​ ส​ู ง่ิ ท​ ถ​่ี กู เ​หน็ เ​หลา่ น​ น้ั ​ ให​ด้ ผู​ ู้​เห็น​​แลว้ ส​ ิ่งท​ ี่ไ​ม่อ​ ยากเ​ห็นน​ ่ันก​ ็​จะ​หายไ​ป​เอง​”​ ​ luangpordu.com

179 ๑๗๙ ​๙๔​ จ​ ะ​ไป​ทางไ​หน​ ​ หลวงปู่​เคย​พูด​ถึง​ความ​รู้สึก​ห่วงใย​ของ​ท่าน​ท่ี​มี​กับ​บรรดา​ศิษย์​ว่า​​ หลาย​คน​ก่อน​จะ​มา​เกิด​น่ี​ ​พวก​ที่​อยู่​บน​สวรรค์​ก็ได้​ไป​ร่ำ​ลา​พระ​ก่อน​ ​พอ​ ลง​มา​แล้วก​ ม​็ า​เพลิดเพลิน​หลงต​ ิด​อย​่กู บั โ​ลก​ ค​ รั้น​เมื่อ​ตาย​ไป​แลว้ ​กไ็​ป​เกิด​ ใน​ท่ี​ลำบาก​​ในอ​ บาย​ภมู ิ​ม​ นี ร​ ก​เ​ปรต​​อสรุ ​กาย​ส​ ตั ว์เ​ดรจั ฉาน​​ไม่ส​ ามารถ​ กลบั ​ขึ้น​ไปร​ บั ​ผลบ​ ุญบ​ นส​ วรรค์​ช้นั ​พรหม​​หรือไ​ป​นพิ พานไ​ด​้ ​ พระพทุ ธเจา้ เ​คย​เปรยี บบ​ คุ คล​ไว​้ ๔​ ​จ​ ำพวก​​คอื ​ ​ ๑​.​ บ​ คุ คลท​ ม่ี​ ดื ​มาแ​ ลว้ ม​ ืดไ​ป​ เ​ปรียบ​ได้​กับบ​ ุคคลท​ ่ีมาจ​ าก​ภพภ​ ูมิท​ ่ี​ ต่ำก​ วา่ ​มนษุ ย​์ ไ​ด้แก่​น​ รก​เ​ปรต​อ​ สุร​กาย​​สัตว์​เดรจั ฉาน​ค​ รนั้ ​มาเ​กดิ ​แลว้ ​ ก็​ประกอบ​แตก่​ รรม​ช่วั ​เ​ม่ือต​ ายจ​ าก​โลก​มนษุ ย์​กก​็ ลบั ไ​ป​สู​อ่ บาย​ภมู ​ิอีก​ ​ ๒.​​บ​ คุ คลท​ ม​่ี ดื ม​ าแ​ ลว้ ส​ วา่ งไ​ป​เ​ปรยี บไ​ดก​้ บั บ​ คุ คลท​ มี่ าจ​ ากภ​ พภ​ มู ท​ิ ​ี่ ตำ่ ก​ วา่ ม​ นุษย​์ ​ไดแ้ ก่​​นรก​เปรต​​อสุร​กาย​​สตั ว์เ​ดรจั ฉาน​ค​ รั้น​มา​เกดิ แ​ ลว้ ​ก็​ ประกอบแ​ ตก​่ รรมด​ ​ี เ​มอ่ื ต​ ายจ​ ากโ​ลกม​ นษุ ย​์ เ​ขาก​ ส​็ ามารถไ​ปส​ ส​ู่ คุ ตม​ิ ส​ี วรรค​์ พรหม​​พระ​นิพพานไ​ด้​ ๓.​​บ​ คุ คลท​ ส​่ี วา่ งม​ าแ​ ลว้ ม​ ดื ไ​ป​เ​ปรยี บไ​ดก​้ บั บ​ คุ คลท​ ม่ี าจ​ ากภ​ พภ​ มู ท​ิ ​่ี สงู ก​ วา่ ภ​ มู ม​ิ นษุ ย​์ ไ​ดแ้ ก​่ สวรรค​์ พ​ รหม​ค​ รนั้ ม​ าเ​กดิ แ​ ลว้ ก​ ป​็ ระกอบแ​ ตก​่ รรมช​ วั่ ​ luangpordu.com

๑๘๐ 180 ​เม่อื ​ตาย​จากโ​ลกม​ นษุ ยก​์ ก​็ ลบั ไ​ปส​ ู่อ​ บายภ​ ูมิ​ ​ ๔​.​ ​บุคคล​ที่​สว่าง​มา​แล้ว​สว่าง​ไป​ ​เปรียบ​ได้​กับ​บุคคล​ที่มา​จาก​ภพ​ ภูมิ​ท่ี​สูง​กว่า​ภูมิ​มนุษย์​ ​ได้แก่​ ​สวรรค์​ ​พรหม​ ​คร้ัน​มา​เกิด​แล้ว​ก็​ประกอบ​ แต​ก่ รรม​ดี​​เมอื่ ​ตาย​จาก​โลกม​ นุษย​์ เ​ขา​กส็​ ามารถ​ไป​ส่ส​ู ุคต​ิมส​ี วรรค​์ พรหม​ พระน​ ิพพานไ​ด​้ ​ จะ​มืด​มาห​ รอื ​สวา่ งม​ า​​ขา้ พเจา้ ค​ ิด​ว่า​ไมส​่ ำคัญ​เทา่ กบั จ​ ะม​ ืด​ไปห​ รอื ​ สว่าง​ไป​​เพราะ​อย่างไรเ​สยี ​เ​ราก​ ไ็ ด้​มาเ​กดิ ​แลว้ ​แ​ ต​่ขณะ​น​ีเ้ ราย​ ังไ​มไ่​ด้.​.​​.ไ​ป​ ​ ใน​ประวัติ​ของ​สมเด็จ​พระ​พุฒ​า​จาร​ย์​โต​ ​พรหม​รังสี​ ​แห่ง​วัด​ระฆัง​-​ โฆ​สิ​ตา​ราม​ ​เมื่อ​คราว​ที่​ในหลวง​รัชกาล​ที่​ ​๔​ ​ทรง​ให้​ขุด​สระ​น้ำ​และ​ปลูก​ ​พระ​ตำหนักก​ ลาง​สระ​น้ำ​อย่าง​สวยงาม​ท​ ่านไ​ด​้ตรสั ถ​ ามส​ มเดจ็ โ​ต​ว่า​​ “​สวย​ไหม​​ขรวั ​โต”​ ​ ​สมเด็จ​โตก​ราบ​ทูล​ตอบ​ว่า​ ​“​สวย​มาก​มหาบพิตร​ ​ดุจ​ราช​รถ​อัน​ วิจิตร​”​ ​ เท่า​นี​แ้ หละ​ ใ​นหลวงท​ รง​กรว้ิ ​ไปห​ ลาย​วัน​ ​เพราะท​ ่าน​เปน็ ​ปราชญ​์ เชีย่ วชาญภ​ าษาบ​ าลี​​คำก​ ราบทลู ​ของ​สมเดจ็ ​โตว​ ่า“​ ด​ ุจ​ราชร​ ถ​อนั ​วิจติ ร”​ ​​น้​ี ตรงก​ ับ​พทุ ธภ​ าษิต​บทห​ นงึ่ ​วา่ ​ ​ “ส​ ท​ู ง้ั ห​ ลายจ​ งม​ าด​ โ​ู ลกน​ ​้ี อ​ นั ต​ ระการต​ าด​ จุ ร​าชร​ถอนั ว​ จิ ติ ร​ท​ พ​่ี วก​ คน​โง​ห่ ลงต​ ดิ อ​ ย​ู่ แ​ ตผ​่ ​รู้ ​หู้ า​ตดิ ข​ อ้ ง​อยไ​ู่ ม”​่ ​ luangpordu.com

181 ๑๘๑ ๙​ ๕​ ​ต​ีเหล็กร​ ้อนๆ​ ค​ รงั้ ห​ นง่ึ ​ม​ เ​ี พอื่ นผ​ ป​ู้ ฏบิ ตั ธ​ิ รรมข​ องข​ า้ พเจา้ ไ​ดฝ​้ ากเ​รยี นถ​ ามห​ ลวงป​ู่ วา่ ​“​ ในย​ คุ ป​ จั จบุ นั ​ผ​ คู้ นก​ ำลงั ม​ ค​ี วามท​ กุ ขก​์ นั ม​ ากมาย​น​ อกจากก​ ารป​ ฏบิ ตั ​ิ ธรรม​แล้ว​ค​ วร​ทำ​อย่างไร​อกี ครับ”​ ​ขา้ พเจ้าไ​ด้​กราบ​เรียนถ​ าม​หลวงป​ู่ ซ​ งึ่ ​ทา่ นเ​มตตา​ตอบว​ า่ ​​ “คำถามม​ นั ม​ ค​ี ำต​ อบอ​ ยใ​ู่ นต​ วั แ​ ลว้ ​น​ อกจากก​ ารป​ ฏบิ ตั ธ​ิ รรมแ​ ลว้ ​ ไมม่ อ​ี ยา่ งอ​ น่ื ​เ​พราะก​ ารป​ ฏบิ ตั ​ธิ รรมค​ อื ป​ ฏบิ ตั ​ใิ หถ​้ กู ต​ อ้ ง​ท​ ส​่ี ำคญั ​อยา่ ง​ แรกค​ อื ต​ อ้ งท​ ำความเ​หน็ เ​ราใ​หถ​้ กู เ​สยี ก​ อ่ นว​ า่ ทว​่ี า่ ป​ ฏบิ ตั ธ​ิ รรมน​ น้ั ​ป​ ฏบิ ตั ​ิ อะไร​​และป​ ฏบิ ตั ​อิ ยา่ งไร​”​​ หลวงปทู่ า่ นไ​ดข้ ยายความโดยแ​ ยกแยะไ​วเ​้ ปน็ ส​ องน​ ยั ค​ อื ​โ​ลกยี ธรรม​ และ​โลก​ตุ รธ​ รรม​ ​ โลกียธ​ รรม​ค​ ือ​ใ​ห้ป​ ฏิบัตหิ​ น้าทขี่​ อง​เราใ​ห​พ้ รอ้ มส​ มบูรณ​์ ​ไม่ว​ า่ จ​ ะ​ เปน็ ​หนา้ ทต่ี​ อ่ พ​ ่อแ​ ม่​ค​ รูบา​อาจารย์​ห​ ัวหนา้ ​ล​ กู ​น้อง​​เพื่อนๆ​ ​แ​ ละ​หนา้ ท่ี​ ต่อ​ตวั ​เอง​ โ​ลกต​ุ รธ​ รรม​ก​ ใ​็ ชท​้ กุ ขจ​์ ากส​ ภาพท​ เ​่ี ปน็ อ​ ยน​ู่ แ​้ี หละเ​ปน็ เ​ครอื่ งก​ ำหนด​ รู้​ ​สำหรับ​ผู้​มี​ปัญญา​แล้ว​ ​ย่ิง​เห็น​ทุกข์​มาก​เท่าใด​ ​ก็​ยิ่ง​อยาก​ท่ี​จะ​พ้น​ทุกข์​ luangpordu.com

๑๘๒ 182 มาก​เท่าน้นั ​​โดยอ​ าศยั ​หนทาง​มรรค​ที​่พระพทุ ธเจา้ ส​ อน​เป็น​แนวทาง​เดนิ ​ ​ เม่ือได้​ฟัง​คำ​ตอบ​ของ​หลวงปู่​ ​ทำให้​ข้าพเจ้า​ระลึก​ถึง​ประวัติ​ของ​ สมเด็จโ​ต​​วัดร​ ะฆงั ​ฯ​​อกี ค​ ร้ัง... ​โดย​ปกติ​ในหลวง​รัชกาล​ที่​ ​๔​ ​มัก​นิมนต์​สมเด็จ​โต​เข้า​มา​เทศน์​ใน​ วงั ​เสมอ​ว​ ัน​หน่ึงท​ ที​่ า่ นน​ ิมนต​ส์ มเด็จ​โต​มา​เทศน์​​พอดี​วนั ​นัน้ ท​ า่ นม​ กี​ จิ ธ​ รุ ะ​ ท่ี​จะ​ต้อง​ไป​ทำ​ต่อ​ ​เม่ือ​สมเด็จ​โต​มา​เทศน์​ ​ท่าน​ทราบ​ดี​ว่า​ในหลวง​มี​เร่ือง​ ร้อน​พระทัย​อยู่​จะ​รีบ​ไป​ ​ท่าน​ก็​เทศน์​ให้​ในหลวง​ฟัง​อยู่​เสีย​นาน​กว่า​จะ​จบ​ ลง​ได​้ ​ ครั้ง​ต่อ​มา​ ​ในหลวง​นิมนต์​สมเด็จ​โต​เข้า​มา​เทศน์​ใน​วัง​อีก​ ​วัน​นั้น​ ทา่ นว​ า่ งจ​ ากก​ จิ ธ​ รุ ะก​ ารง​านด​ แี ลว้ ​ต​ ง้ั ใจจ​ ะฟ​ งั เ​ทศนส​์ มเดจ็ เ​ตม็ ท​ ​ี่ ส​ มเดจ็ โ​ต​ แทนที่​จะ​เทศน​์อะไรใ​ห​้ในหลวง​ฟัง​ว​ นั น​ ั้น​ท​ ่านก​ ลบั ไ​ม​่แสดง​ธรรมแ​ ละไ​ม​่ เทศน​เ์ ลย​​เพยี งแ​ ต​ข่ น้ึ ​ตน้ ว​ า่ ​“ธรรมใ​ดๆ​ม​ หาบพติ รก​ ท​็ รงท​ ราบด​ ​อี ยแ​ู่ ลว้ ​ เอวงั ก​ ม​็ ​ดี ว้ ยป​ ระการ​​ฉะน”​้ี ​เรอื่ ง​น​ส้ี อนใ​ห้ร​ ​วู้ ่าจ​ ะ​ตเ​ี หลก็ ใ​ห้​ตต​ี อน​รอ้ นๆ​ใ​นว​ ัน​แรกใ​นหลวงท​ รง​ มี​เร่ือง​กังวล​พระทัย​จิตใจ​ไม่​ปกติ​ ​สมเด็จ​โต​ท่าน​จึง​ต้อง​เทศน์​นาน​หน่อย​​ แต่​วัน​ต่อ​มา​ท่าน​สบาย​พระทัย​ ​จิตใจ​เป็น​ปกติ​ดี​ ​ก็​ไม่มี​เหตุ​อัน​ใด​ที่​ต้อง​ เทศน์ส​ อน​อกี ​​ฉนั ใด​ก​ ารพ​ จิ ารณา​ทุกข์​ใหเ​้ ข้าใจท​ กุ ข์​ใ​หผ​้ ่าน​ทกุ ข​์ให​ไ้ ด​้ ​ก​็ ต้อง​พิจารณา​ใน​ยาม​ท่ี​เผชิญ​ทุกข์​มากๆ​ ​ยาม​ที่​ปัญหา​เศรษฐกิจ​รุม​เร้า​เช่น​ ปจั จบุ ัน​น้​ี ​ฉนั น​ น้ั ​ luangpordu.com

183 ๑๘๓ ​๙๖​ ค​ รพ​ู ักล​ ักจ​ ำ​ ​ คณุ ธ​ รรมท​ โ​ี่ ดดเ​ดน่ ข​ องห​ ลวงปด​ู่ อ​ู่ กี ป​ ระการห​ นง่ึ ท​ ข​ี่ า้ พเจา้ ย​ งั จ​ ดจำ​ ได้​ดี​ ​คือ​หลวงปู่​รู้จัก​เอา​เหตุ​กา​รณ์​เล็ก​ๆ​ ​น้อย​ๆ​ ​ท่ี​ดู​เหมือน​ไม่​สลัก​สำคัญ​ อะไร​ม​ าจ​ ดุ ป​ ระกายค​ วามค​ ดิ แ​ กศ​่ ษิ ย​์ ดว้ ยว​ ธิ ค​ี ดิ แ​ ละก​ ศุ โลบายอ​ นั แ​ ยบคาย​ จนท​ ำใหเ​้ หตก​ุ าร​ณเ​์ ลก็ ๆ​ ​น​ อ้ ยๆ​ ​ก​ ลบั เ​ปน็ เ​รอื่ งร​าวท​ ม​ี่ ค​ี า่ ​ก​ ลายเ​ปน็ บ​ ทเ​รยี น​ อัน​ทรง​คณุ คา่ สำหรับศ​ ิษย์​ในเ​วลาต​ อ่ ม​ า​อ​ ย่าง​เช่น​เ​รอื่ ง​หน่งึ ใ​น​ส​่ี ​หลวงป​ู่ ได้​เคย​ปรารภ​ธรรมก​ ับ​ขา้ พเจา้ ​วา่ ​ ​ “​ ​ข้า​น่ัง​ดูด​ยา​ ​มอง​ดู​ซอง​ยา​แล้ว​ต้ัง​ปัญหา​ถาม​ตัว​เอง​ว่า​ ​เรา​นี่​ ปฏบิ ัติ​ได้​หนง่ึ ​ในส​ ข​่ี อง​ศาสนา​หรอื ย​ ัง​ถ​ ้าซ​ องย​ า​น​ี้แบ่ง​เป็นส​ ส่​ี ่วน​เ​ราน​ ​่ี ยงั ไ​มไ​่ ดห​้ นงึ่ ใ​นส​ ​่ี ม​ นั จ​ วนเ​จยี นจ​ ะไ​ดแ​้ ลว้ ก​ ค​็ ลาย​เ​หมอื นก​ บั เ​ราม​ ดั เ​ชอื ก​ จน​เกือบจ​ ะแ​ น่นไ​ด้ทีแ่​ ล้ว​เราป​ ลอ่ ย​ ม​ ัน​ก็ค​ ลายอ​ อก​ เ​รา​น่ี​ยัง​ไมเ่​ช่ือจ​ ริง​​ ถ้า​เช่อื ​จรงิ น​ ่​มี นั ต​ ้องไ​ด​้หนง่ึ ​ในส​ ีแ่​ ลว้ ​”​ ​ ต่อ​มาภ​ าย​หลัง​ท่านไ​ดข​้ ยายค​ วาม​ให​ข้ ้าพเจ้าฟ​ ัง​วา่ ​ ​ “ท​ ว​่ี า่ ห​ นง่ึ ใ​นส​ น​่ี นั้ ​อ​ ปุ มาด​ ง่ั ก​ ารป​ ฏบิ ตั ธ​ิ รรมเ​พอื่ ใ​หบ​้ รรลม​ุ รรคผล​ ในพ​ ุทธ​ศาสนา​​ทา่ นแ​ บง่ ​ไว้เ​ปน็ ข​ ั้นโ​สดา​บนั ส​ ก​ทิ าค​ ามี​​อน​ าคา​ม​ี ​และ​ อรห​ ตั ต​ ผ​ ล​อ​ ยา่ งน​ อ้ ยเ​ราเ​กดิ ม​ าใ​นช​ าตน​ิ ไ​ี้ ดพ​้ บพระพ​ ทุ ธศ​ าสนา​เ​ปรยี บ​ luangpordu.com

๑๘๔ 184 เหมอื นไ​ดพ​้ บส​ มบตั ล​ิ ำ้ คา่ ​ห​ ากไ​มป​่ ฏบิ ตั เ​ิ อาใ​หไ​้ ดอ​้ ยา่ งน​ อ้ ยหน​ ง่ึ ใ​นส​ ​่ี ใ​ห​้ ถงึ ค​ วามเ​ป็นพ​ ระโ​สดา​บัน​ป​ ดิ ​ประต​ูอบายภ​ มู ิ​ใหไ​้ ด​้ ​ก​เ็ ทา่ กบั ว​ า่ เ​ราเ​ป็น​ ผปู​้ ระมาทอ​ ย​มู่ าก​”​ ย่ิงขา้ พเจ้าไ​ด​้ศกึ ษา​ไ​ด​้เรียน​ร้​กู ับห​ ลวงป​ู่ ​ขา้ พเจา้ ก​ ​ย็ ิ่งบ​ ังเกิดค​ วาม​ อศั จรรยข​์ นึ้ ใ​นจ​ ติ ใจ​ท​ า่ นส​ อนใ​หเ​้ ราไ​ดห​้ ลกั แ​ ละว​ ธิ ค​ี ดิ ด​ ว้ ยโ​ยนโิ สม​ นสกิ าร​ ทำใหเ​้ ราไ​ดเ​้ กดิ ศ​ รทั ธาแ​ ละก​ อ่ ใ​หเ​้ กดิ ​“​ ป​ ญั ญา”​ ​อ​ นั เ​ปน็ ย​ อดป​ รารถนาข​ อง​ ทกุ ค​ น​ท​ ำใหเ​้ กดิ ค​ วามเ​ขา้ ใจแ​ จม่ ช​ ดั ใ​นเ​รอื่ งต​ วั ต​ นข​ องเ​ราแ​ ละท​ กุ ช​ วี ติ ท​ อ​ี่ ย​ู่ รอบข​ ้าง​ ​ หลวงป่ท​ู า่ น​เคยเ​ลา่ ​ให​้ขา้ พเจ้า​ฟังว​ า่ ​ ​ “​คน​สมัย​ก่อน​ท่ี​เขา​ปฏิบัติ​กัน​ได้​ดี​ ​ต้อง​รู้จัก​ลัก​สังเกต​จดจำ​สิ่ง​ที่​ ด​งี ามข​ อง​ผอู้​ น่ื ม​ าป​ ฏิบัต​ิตาม ​เพ่อื ใ​ห้เ​กดิ ใ​หม​้ ท​ี ต​่ี ัวเ​รา ​เหมอื น​ที​่ขา้ ส​ อน​ พวกแ​ กน​ ​ี่ ไ​มใ่ ชส​่ ำนกั ป​ ฏบิ ตั ​ิ ไ​มใ่ ชส​่ ำนกั ว​ ดั ส​ ะแก​ถ​ า้ เ​ปน็ ส​ ำนกั ก​ ต​็ อ้ งต​ งั้ ​ แบบ​ใหม​่ ​ ท​่ีข้า​สอนน​ ี่​ไมใ่ ช่แ​ บบ​ใหม่​​แตเ่​ปน็ ​แบบข​ อง​พระพทุ ธเจา้ ​​ข้า​ก​็ลัก​ สอน​แอบส​ อนอ​ ยน​ู่ ่ี​​ใคร​เช่อื จ​ รงิ ​เอาจ​ รงิ ​ก็ได​้ไป​​ชว่ ย​ๆ​ก​ ัน​​..​.​ช​ ว่ ย​เหลือ​ พระ​ศาสนา”​ ​ luangpordu.com

185 ๑๘๕ ๙​ ๗​ ​ทส่ี ุดแ​ หง่ ท​ ุกขเวทนา​ ​ “​ธรรม​น้ันอ​ ย​ฟู่ ากต​ าย​ไ​ม​่รอด​ตาย​​ไม่​เหน็ ​ธรรม”​ ​ ​เป็น​คำ​สอนธ​ รรม​ท​ีไ่ พเราะ​ ​กนิ ​ใจ​ แ​ ละเ​ปน็ ​ประโยชนใ​์ นก​ ารนำม​ า​ ขบคิด​พิจารณา​ให้แ​ จม่ ​แจง้ ก​ บั ต​ นเอง​อยา่ ง​ยงิ่ ​ ​ วัน​หนึ่ง​ขณะ​ที่​ข้าพเจ้า​น่ัง​ปฏิบัติ​ภาวนา​ ​ใจ​มี​ความ​สงบ​ระงับ​พอ​ สมควร​​เวลา​ผ่านไ​ปไ​ด้​สกั ​​๒​-​​​๓​​ชวั่ โมง​ท​ กุ ขเวทนาอ​ ันเ​นื่องม​ า​จาก​ความ​ ปวดเ​มอ่ื ย​ตามร​ ่างกาย​เรม่ิ ท​ ว​ีขึน้ เ​ร่ือยๆ​ ​ ​ ใน​คร้ัง​แรก​ ​ข้าพเจ้า​อาศัย​กำลัง​สมาธิ​เข้า​ข่ม​ความ​เจ็บ​ปวด​ ​โดย​ พยายาม​ใหจ​้ ติ ​จดจอ่ อ​ ย​กู่ บั ​คำภ​ าวนา​ให​ม้ น่ั คง​ขน้ึ ​ค​ วามป​ วด​เมอ่ื ยก​ ห​็ ายไ​ป​​ แต่​ก​เ็ ปน็ ​เพยี ง​ชั่ว​ขณะไ​ม่​นาน​นัก​ ​ความ​ปวด​เมื่อย​น้ันก​ ็​กลบั ​คนื ​มาอ​ ีก​และ​ รนุ แรงข​ ้นึ ​ข​ า้ พเจ้า​จึงต​ งั้ ค​ ำถามต​ ัว​เอง​ว่า​..​​.​ ​ “​ท​ีว่ า่ ​เจ็บ​ปวด​ม​ ัน​ปวดต​ รงไ​หน​ท​ จ่ี​ ติ ห​ รอื ​ท​่ีกาย”​ ​ ​ “​เจ็บ​ท​่ีกาย​”​​ขา้ พเจ้าต​ อบ​ตัวเ​อง​ ​ “​เออ​เ​จ็บ​ท​ก่ี าย​​มนั ก​ ็​ต้อง​ไม​่เกี่ยวก​ บั ​จิต​ถ​ ้า​เราเ​ชือ่ ​พระพุทธเจา้ ว​ ่า​ จิตก​ บั ​กายเ​ปน็ ​คนละ​ส่วน​กนั ​เ​ราจ​ ะ​ต้องเ​หน็ จ​ ติ ​เหน็ ก​ ายว​ า่ เ​ปน็ ​คนละ​สว่ น​ ดว้ ยต​ วั เ​รา​แ​ ละต​ อ้ งไ​มท​่ รุ นท​ ร​ุ ายจ​ ากค​ วามเ​จบ็ ป​ วดอ​ นั น​ ”​ี้ ​ข​ า้ พเจา้ บ​ อกก​ บั ​ ตวั ​เอง​อกี ​ luangpordu.com

๑๘๖ 186 ​ เวลาผ​ า่ นไ​ปอ​ ยา่ งช​ า้ ๆ​แ​ ตอ​่ นจิ จาค​ วามเ​จบ็ ป​ วดม​ ไิ ดห​้ ายไ​ปไ​หนเ​ลย​ กลับ​ทวี​ความ​รุนแรง​ถึง​ขนาด​ที่​ขา​ทั้ง​สอง​ข้าง​ของ​ข้าพเจ้า​ส่ัน​ระริก​และ​ กระตกุ ด​ ว้ ย​ความเ​จบ็ ป​ วดเ​อง​ข​ ณะน​ ั้น​เกิดเ​ป็น​ความ​รอ้ นท​ ัว่ ร​ า่ งกาย​โ​ดย​ เฉพาะ​ท่ี​หัว​เข่า​ท่ี​น่ัง​ ​ขัด​สมาธิ​เกิด​ความ​เจ็บ​ปวด​แสน​สาหัส​เหมือน​มี​ใคร​ มาบ​ ดิ ​ขาแ​ ละด​ งึ ​ให้ย​ ดื อ​ อก​​เป็นค​ วาม​ทรมาน​ทส่ี ุด​ครง้ั ​หนงึ่ ข​ องก​ ารป​ ฏบิ ตั ​ิ ภาวนา​ของ​ขา้ พเจ้า​ที​เดยี ว​ ​ ข้าพเจ้า​บอก​กับ​ตนเอง​ว่า​วัน​น้ี​ต้อง​ให้​เห็น​ท่ีสุด​ของ​ทุกขเวทนา​ให้​ ได้​​เราจ​ ะ​ไม​ย่ อม​ลกุ จ​ ากท​ ​่นี ่งั ​โดย​ไมผ่​ า่ นท​ ุกข์​ไ​มเ​่ ห็นท​ ี่สุด​ของท​ กุ ขเวทนา​ ถา้ เ​ราล​ กุ แ​ ปลว​ า่ เ​ราไ​มเ​่ ชอื่ พ​ ระพทุ ธเจา้ ​ถ​ า้ เ​ราเ​ชอื่ พ​ ระพทุ ธเจา้ จ​ รงิ เ​ราต​ อ้ ง​ ผา่ นท​ กุ ขใ​์ หไ​้ ด​้ ใ​หใ​้ จเ​ราเ​หน็ ใ​หไ​้ ดว​้ า่ ​“​ จติ ก​ บั ก​ ายน​ เ​ี้ ปน็ ค​ นละส​ ว่ นก​ นั ”​ถ​ า้ ​ หากว​ นั น​ เ​้ี ราแ​ พก​้ ไ​็ ปห​ าผ​ า้ ถงุ ม​ าน​ งุ่ เ​สยี ​แ​ ลว้ ไ​มต​่ อ้ งม​ าป​ ฏบิ ตั อ​ิ กี เ​ลย​ป​ ฏบิ ตั ​ิ ไป​ก​็ตาย​เปล่า​​เพราะ​คนข​ แ​้ี พ้​ทำ​อะไร​มนั ก​ ​็แพ้อ​ ยว​ู่ นั ​ยัง​คำ่ ​เ​วลาจ​ ะต​ ายม​ ัน​ เจ็บ​ปวดเ​พยี ง​ไรจ​ ะท​ น​ไหวห​ รอื ​ เ​มอ่ื ต​ กลงก​ บั ต​ วั เ​องด​ งั นแ​ี้ ลว้ ​ค​ วามเ​จบ็ ป​ วดก​ ย​็ งั ม​ ไิ ดห​้ ายไ​ปไ​หนเ​ลย​ คราว​นี้​กลับเ​พ่มิ ค​ วาม​รุนแรงข​ ้นึ จ​ นน​ ำ้ ตาข​ ้าพเจ้าไ​หล​ออก​มา​เปน็ ส​ าย​ ​ใน​ ใจ​ขณะ​นั้นข​ ้าพเจ้าไ​ม​ห่ วงั อ​ ะไร​ทัง้ ​ส้นิ ​ไ​ม​่ต้องการ​แม้​กระทั่ง​ความ​สงบ​​นกึ ​ เพยี งอ​ ยา่ งเ​ดยี วว​ า่ ทเ​่ี ราท​ ำอ​ ยน​ู่ ​้ี ท​ ำด​ ว้ ยศ​ รทั ธา​ด​ ว้ ยค​ วามร​ กั ห​ ลวงปด​ู่ แ​ู่ ละ​ ขอ​เอา​ชีวิต​เป็น​เดิม​พัน​ ​เมื่อ​ความ​เจ็บ​ปวด​รุม​เร้า​ข้าพเจ้า​อย่าง​แสน​สาหัส​​ ถึง​ขนาด​เจียน​อยู่​เจียน​ไป​ ​จน​ข้าพเจ้า​รู้ตัว​ดี​ว่า​ไม่​สามารถ​ทน​ต่อ​ไป​ได้​อีก​ แล้ว​​แตใ่​จ​ก็ย​ งั ไ​มย่​ อม​แพ้​​ไม่ย​ อมล​ ุก​​และไ​ม่ย​ อม​ขยับเขยือ้ น​​ luangpordu.com

187 ๑๘๗ ขา้ พเจา้ ร​ สู้ กึ ว​ า่ ต​ วั เ​องเ​หมอื นเ​ดก็ ท​ ย​่ี นื ก​ ำห​ มดั ​ก​ ดั ฟนั ​แ​ ลว้ ว​ งิ่ เ​ขา้ ไป​ ชก​กับ​คู่​ต่อสู้​ที่​รูป​ร่าง​สูง​ใหญ่​ได้​เปรียบ​กว่า​ทุก​ประตู​ ​ข้าพเจ้า​ท้ัง​ร้องไห้ ​ ทั้ง​ตะโกนอ​ ย่​ูในใ​จว​ ่า​“​ ผ​ ม​ทำ​ถวายห​ ลวงปู​ค่ รบั ​”​ ​ ส้ิน​คำ​กล่าว​ของ​ข้าพเจ้า​นี้​ ​เหมือน​กับ​หลวงปู่​ท่าน​รับ​ทราบ​ ​พลัน​ เกิด​เหตุ​อัศจรรย์​เป็น​นิมิต​ท่ี​ข้าพเจ้า​จดจำ​ได้​ตลอด​ชีวิต​ ​คือ​ ​ข้าพเจ้า​เห็น​ หลวงปู่​ด่​ูเปา่ ​พรวด​ลงม​ าท​ ่​ีกระหม่อมข​ องข​ า้ พเจ้า​ค​ วามร​ สู้ กึ ข​ ณะน​ ัน้ ด​ ุจม​ ​ี นำ้ ท​ พิ ยช​์ โลมร​ ดต​ งั้ แ​ ตศ​่ รี ษะ​ จนจ​ รดป​ ลายเ​ทา้ ​ท​ กุ ขเวทนาค​ วามป​ วดเ​มอ่ื ย​ ทเ​่ี มอ่ื ส​ กั ค​ รร​ู่ าวกบั ถ​ กู ก​ อ้ นห​ นิ ท​ ม​่ี น​ี ำ้ ห​ นกั ห​ นง่ึ ร​อ้ ยก​ โิ ลท​ บั ไ​ว​้ ก​ พ​็ ลนั ห​ ายไ​ป​ ในพ​ รบิ ต​ า​เ​กดิ เ​ปน็ ค​ วามเ​ยน็ ก​ ายเ​ยน็ ใจต​ งั้ แ​ ตศ​่ รี ษะจ​ นจ​ รดป​ ลายเ​ทา้ ​ไ​มม่ ​ี ที​่ใด​ทค​่ี วามเ​จบ็ ป​ วด​ซอ่ น​เร้นห​ รอื ​หลง​เหลือ​อย​เู่ ลย​ ​ ขา้ พเจ้า​เรม่ิ ​ม​คี วาม​ม่ันใจใ​น​การ​ปฏบิ ตั ิม​ ากข​ ้นึ ​ค​ วามล​ ังเล​สงสยั ใ​น​ วิถี​ทาง​ปฏิบัติ​เร่ิม​หมด​ไป​ ​มี​แต่​ความ​ปลาบปลื้ม​ปีติ​ใน​ธรรม​อย่าง​ที่​ไม่​เคย​ เปน็ ม​ าก​ อ่ น​ส​ งั เกตด​ จ​ู ติ ก​ บั อ​ ารมณถ​์ กู แ​ ยกอ​ อกเ​ปน็ ค​ นละส​ ว่ นเ​หมอื นแ​ กว้ ​ ทใ​่ี สน​่ ำ้ ไ​ว​้ แ​ กว้ ก​ บั น​ ำ้ แ​ มอ​้ ยด​ู่ ว้ ยก​ นั ​แ​ กว้ ก​ เ​็ ปน็ แ​ กว้ ​น​ ำ้ ก​ เ​็ ปน็ น​ ำ้ ​อ​ ยก​ู่ นั ค​ นละ​ สว่ น​ฉนั ใด​จ​ ติ ​ก​็เป็นจ​ ติ ​..​เป็นผ​ ู​ร้ ​ู้ อ​ ารมณ์ก​ เ็​ปน็ ​อารมณ์​​..​​เปน็ ผ​ ถ​ู้ กู ​ร​ู้ ฉ​ ัน​นั้น ​ เมอ่ื ห​ ยดุ อ​ ยส​ู่ กั พ​ กั ห​ นงึ่ ​จ​ งึ น​ อ้ มเ​อาค​ วามส​ งบม​ าพ​ จิ ารณาธ​ รร​มาร​มณต​์ า่ งๆ​ ทีม่ าก​ ระทบใ​จ​ตอ่ ไ​ป​ ​ อยา่ งน​ ​ก้ี ระมงั ​ทท​่ี า่ นห​ ลวง​ตา​​(​พระ​อาจารยม​์ หาบ​ วั ​​ญาณส​ มั ป​ นั ​โน)​ เคย​สอน​ไว​้วา่ ​ก​ ารต​ อ่ สู้ก​ ับก​ เิ ลส​​ถา้ ​ส​ูก้ ับม​ ัน​ช​ ก​กบั ​มนั ​​หาก​สู้​ไม​่ไหว​ถ​ กู ​ มนั ​จบั ไ​ด​้ ​จับม​ ือเ​ราม​ ัดไ​ว​้ ​ขา​เราม​ ี​ก​ ​็ต้อง​เตะ​ถบี ​มัน​​หากถ​ กู ​มนั ​จบั ข​ าไ​ด​อ้ ีก​ luangpordu.com

๑๘๘ 188 ปากเ​รา​มี​กต​็ ้อง​กดั ​​ตอ้ ง​ด่าม​ ัน​ใ​ห​้ส​ู้จน​ยบิ ​ตา​ ​ ขา้ พเจา้ เ​รมิ่ เ​ขา้ ใจบ​ ทเ​รยี นบ​ ทน​ แ​้ี ลว้ ​ค​ วามเ​ขา้ ใจเ​รมิ่ ม​ ม​ี ากข​ น้ึ ​พ​ รอ้ ม​ กับ​ความร​ กั ท​ ​่มี ตี​ ่อ​หลวงปดู่​ ่​กู ็​มี​มากข​ นึ้ เ​ชน่ ​กัน​ luangpordu.com

189 ๑๘๙ ๙​ ๘​ ​พุทธ​นมิ ติ ​ ก​ ารต​ อบค​ ำถามข​ องห​ ลวงปแ​ู่ กศ​่ ษิ ยช​์ า่ งส​ งสยั อ​ ยา่ งข​ า้ พเจา้ ​บ​ างค​ รง้ั ​ ทา่ นไ​มต​่ อบต​ รงๆ​ ​แ​ ตต​่ อบด​ ว้ ยก​ ารก​ ระทำ​ก​ ารแ​ สดงใ​หด​้ ​ู แ​ ละก​ ารต​ อบข​ อง​ ทา่ น​ก็ย​ งั ​ความ​อัศจรรย​ใ์ หเ​้ กดิ ​ขนึ้ แ​ ก​ข่ ้าพเจา้ แ​ ละ​เพอ่ื น​ๆ​เ​ป็น​อย่างย​ ่ิง​​ดงั ​ เหตกุ ารณ์​เม่ือ​ครั้งท​ ี​่เกดิ ​​“พ​ ุทธน​ ิมิต​”​​เมอ่ื ค​ นื ​วนั ​ขึน้ ​๑​ ๔​​คำ่ ​เดือน​๖​ ​​ก่อน​ วัน​วิสาข​บชู าป​ ​ี ​พ​.​ศ​.​๒๕๒๘​ห​ นงึ่ ค​ นื ท​ ี่​วดั ​สะแก​ เ​หตเ​ุ รมิ่ แ​ รกเ​กดิ จ​ ากเ​มอื่ ต​ อนก​ ลางว​นั ใ​นว​นั น​ น้ั ​ข​ า้ พเจา้ และหมเู่ พอื่ น​ ไดม​้ ากร​าบน​ มสั การห​ ลวงปท​ู่ ว​ี่ ดั ​พ​ รอ้ มก​ บั พ​ กพ​ าเ​อาค​ วามส​ งสยั ​๒​ ​เ​รอ่ื ง​ค​ อื ​ เวลาท​ ห​่ี ลวงพอ่ ห​ ลวงป​ ท​ู่ งั้ ห​ ลาย​ท​ า่ นจ​ ะไ​ปช​ ว่ ยล​ กู ศ​ ษิ ยท​์ อ​ี่ ยห​ู่ า่ งก​ นั ค​ นละ​ ท​่ีในเ​วลา​เดียวกัน​ท​ ่าน​ไป​ได​้อยา่ งไร​พรอ้ ม​กบั ​เร่ืองน​ ​ี้ ใ​น​วนั ​น้ัน​ขา้ พเจา้ ได้​ นำ​รูป​ปาฏิหาริย์​ของ​ครู​อาจารย์​ท่าน​อื่น​ๆ​ ​ที่​ศิษย์​ของ​ท่าน​เหล่า​น้ัน​ถ่าย​ ภาพ​ไ​ดร​้ วบรวมม​ าถ​ วายใ​หห​้ ลวงปท​ู่ า่ นด​ ​ู ม​ ภ​ี าพข​ องพ​ ระอ​ าจารยม​์ หาป​ นิ่ ​ หลวง​ปู่​ขาว​​หลวงป​ คู่ รบู​ า​ชยั ย​ ะ​วงศา​ฯ​แ​ ละพ​ ระ​อาจารย​จ์ วน​ด​ ว้ ยค​ วาม​ งวยงง​สงสยั ​ข​ า้ พเจา้ ​จึง​ถาม​ท่านว​ ่า​ภาพ​เหลา่ ​นี้​ถา่ ย​กนั ​จริง​ห​ รือ​ว่า​ทำ​ขึ้น​ มา​ห​ ลวงปท​ู่ า่ นพ​ จิ ารณาด​ ร​ู ปู เ​หลา่ น​ น้ั ท​ ล​ี ะใ​บจ​ นค​ รบ​ใ​ชเ​้ วลาป​ ระมาณห​ นง่ึ ​ นาที​​แล้วร​ วบ​เขา้ ​ไวด​้ ้วยก​ นั ​​ยกมือ​ไหว้​แ​ ล้ว​บอก​ขา้ พเจา้ ว​ ่า​​“ข​ ้า​โม​ทนา​ สาธุด​ ว้ ย​​ของ​จรงิ ​ทั้งน​ น้ั ​”​ด​ งั น​ ้ัน​​จึงไ​มม่ ี​คำ​อธบิ ายอ​ ืน่ ​ใดอ​ ีก​นอกจาก​น้​ี luangpordu.com

๑๙๐ 190 ​ คร้นั ​ตก​เวลาก​ ลางค​ นื ป​ ระมาณส​ องท​ มุ่ ​ข​ ้าพเจา้ ก​ บั ​เพอ่ื น​ๆ​ม​ า​ท​กี่ ฏุ ​ิ หลวงปู่​อกี ​ครง้ั ​ม​ ล​ี กู ศ​ ษิ ย​์มากมาย​ตา่ ง​มาส​รง​นำ้ ​หลวงป​ู่ใน​โอกาส​วนั ​คล้าย​ วัน​เกิด​ท่าน​.​.​.​วัน​วิ​สาข​ปุร​ณ​มี​ ​เมื่อ​คณะ​ท่ีมา​สรง​น้ำ​หลวงปู่​เดิน​ทาง​กลับ​ ไป​หมด​ ​เหลือ​แต่​ข้าพเจ้า​และ​เพ่ือน​ๆ​ ​พวก​เรา​ขอ​อนุญาต​หลวงปู่​ถ่าย​รูป​ กบั ​ทา่ นไ​ว​้เป็น​ท​่รี ะลึก​ข​ า้ พเจา้ ​จำไ​ดด้​ ​ีว่าเ​มื่อห​ ลวงป​อู่ นุญาต​แล้ว​จ​ าก​นน้ั ​ ท่านก​ ็​นง่ั น​ งิ่ ​ไ​ม​่ขยบั เขย้ือน​ไ​ม่เ​คลอ่ื นไ​หว​ใดๆ​ท​ ้งั ส​ ิ้น​ศ​ ษิ ย​ต์ า​กลอ้ งผ​ ลดั ​ กัน​ถ่าย​ภาพ​ได้​ประมาณ​สิบ​ภาพ​ ​แล้ว​ทุก​คน​ก็​กราบ​นมัสการ​ท่าน​อีก​ครั้ง​ บรรยากาศค​ นื น​ นั้ ​ข​ า้ พเจา้ ม​ ค​ี วามร​สู้ กึ ท​ แ​่ี ปลกไ​ปก​ วา่ ท​ กุ ว​ นั ​จ​ ำไ​ดว​้ า่ บ​ รเิ วณ​ กฏุ ิ​หลวงป่​ูเยน็ ​สบาย.​​..​​เ​ย็นเ​ข้าไปถ​ งึ ​จิตถ​ งึ ใจข​ ้าพเจ้า​อยา่ งย​ ิ่ง​ ​ เมอ่ื น​ ำฟ​ ลิ ม์ ท​ งั้ หมดไ​ปล​ า้ ง​ป​ รากฏว​ า่ ม​ ภ​ี าพป​ าฏหิ ารยิ ​์ “​ พ​ ทุ ธน​ มิ ติ ”​ เกดิ ​ข้ึน​ส​ ว่ นแ​ รก​เปน็ ภ​ าพพ​ ุทธ​นิมิต​​คือเ​ป็นภ​ าพพ​ ระพทุ ธเจ้าท​ ีถ​่ า่ ยไ​ด้โ​ดย​ ไมม่ ีว​ ัตถุ​ทเ​่ี ปน็ พ​ ระพทุ ธร​ ูป​เ​หตอ​ุ ศั จรรย์​อกี ป​ ระการห​ นง่ึ ค​ ือเ​ปน็ ​ภาพ​ทอ่​ี ยู่​ ตน้ ฟ​ ลิ ม์ ท​ ม​่ี ไิ ดต​้ ง้ั ใจถ​ า่ ย​เ​ปน็ ภ​ าพท​ ผ​่ี ถ​ู้ า่ ยต​ อ้ งก​ าร​กดชตั เ​ตอรท​์ ง้ิ ​ส​ ว่ นท​ ส​่ี อง​ เปน็ ​ภาพห​ ลวงปโู่​ดยม​ แี​ สง​สเ​ี ป็น​รงั สี​ตา่ งๆ​​รอบ​ๆ​อ​ งค์ท​ า่ น​ ​ สำหรับ​ข้าพเจ้า​แล้ว​ ​น่ี​เป็นการ​ตอบ​คำถาม​ท่ี​หลวงปู่​เมตตา​ตอบ​ ข้าพเจ้า​ที่​ได้​ถาม​ท่าน​ไว้​สอง​คำถาม​เม่ือ​ตอน​กลาง​วัน​ภาพ​ ​“​พุทธ​นิมิต​”​​ เป็นการ​ตอบ​คำถาม​ที่​ว่า​ เวลา​ท่ี​หลวงพ่อ​หรือ​หลวง​ปู่​ทั้ง​หลาย​ท่าน​จะ​ไป​ ช่วย​ลูก​ศิษย์​ที่​อยู่​ห่าง​กัน​คนละ​ที่​ใน​เวลา​เดียวกัน​​ท่าน​ไป​ได้​อย่างไร​ ​ส่วน​ ภาพห​ ลวงปู่ด​ ู​ท่ ่ี​มี​แสงส​ ​เี ปน็ ​รงั สี​ตา่ งๆ​ ​ร​ อบ​ๆ​อ​ งค​์ท่าน​ก​ เ​็ ปน็ การ​ตอบ​ตอ่ ​ คำถาม​ท่ี​ว่า​ภาพ​ครู​อาจารย์​องค์​ต่างๆ​ ​ที่​ข้าพเจ้า​นำ​มา​ถวาย​ให้​ท่าน​ดู​น้ัน​​ luangpordu.com

191 ๑๙๑ “​เป็น​ของ​จริง​”​ ​ข้าพเจ้า​เช่ือ​แน่​เหลือ​เกิน​ว่า​ ​หลวงปู่​คง​มิได้​ตอบ​คำถาม​ ข้าพเจา้ เ​พยี ง​สอง​คำถามเ​ท่านัน้ ​​จึง​ขอ​ฝาก​ท่าน​ผ​ู้รู้​ท่​ไี ด้เ​หน็ ภ​ าพเ​หล่า​น้​ีให​้ นำ​ไป​พจิ ารณาด​ ้วย​ด​ี ก​ ็​จะ​ได​้รับ​ประโยชนอ​์ ีก​มาก​ท​เี ดียว​ ​ หลัง​จาก​เกิด​เหตุการณ์​นี้​ ​ข้าพเจ้า​ได้​นำ​ภาพ​เหล่า​น้ี​มา​ถวาย​ให้​ หลวงปู​่ดู​่และ​กราบเ​รียนข​ อค​ ำ​อธิบาย​จากท​ ่าน​ ​ ทา่ นต​ อบ​อยา่ งร​ วบรดั ​ว่า​​“​เขา​ทำให​เ้ ชื่อ”​ ​ ​ หลวงปูเ่​นน้ เ​สยี ง​​สหี น้า​เกลื่อน​ย้มิ ด​ ้วย​เมตตา​ ​ luangpordu.com

๑๙๒ 192 ๙​ ๙​ ​ ห​ ลวงปบ​ู่ อก​หวย​ ความจ​ รงิ แ​ ลว้ ข​ า้ พเจา้ ค​ วรต​ ง้ั ช​ อื่ เ​รอื่ งน​ ว​ี้ า่ ​“​ ว​ ดี โี อป​ ระวตั แ​ิ ละค​ ำส​ อน​ ของห​ ลวงปู่​”​​มากก​ ว่า​​แต่ช​ ือ่ เ​ร่อื ง​ยาว​ไป​แ​ ละไ​ม่ช​ วน​อ่าน​เท่า​​“ห​ ลวงป่​ู บอก​หวย​”​จ​ ึงข​ ออ​ นญุ าต​ใช้​ช่อื เ​รื่อง​นี​้แทน​ ​ ขา้ พเจา้ แ​ ละห​ มค​ู่ ณะอ​ กี ห​ ลายค​ นม​ ค​ี วามต​ งั้ ใจท​ จ​ี่ ะท​ ำว​ ดิ โี อป​ ระวตั ​ิ และค​ ำส​ อนข​ องห​ ลวงป​ู่ เ​พอื่ เ​ปน็ อ​ นสุ รณร​์ ำลกึ ถ​ งึ ท​ า่ น​โ​ดยจ​ ดั ท​ ำด​ ว้ ยค​ วาม​ เคารพท​ า่ น​เปน็ ท​ ี่สุด​​ไม่​ต้องการห​ า​ผลก​ ำไรจ​ ากก​ าร​นี้​ ​ จากน​ น้ั ก​ ไ็ ดป​้ รกึ ษาก​ นั ใ​นเ​รอื่ งท​ นุ ท​ จ​่ี ะด​ ำเนนิ ก​ าร​แ​ ละห​ ลงั จ​ ากท​ ไ​ี่ ด​้ แบง่ ง​านก​ นั แ​ ลว้ ​ท​ กุ ค​ นพ​ รอ้ มใจก​ นั ม​ ากร​ าบน​ มสั การห​ ลวงปต​ู่ อ่ ห​ นา้ ส​ รรี ะ​ ของท​ า่ นท​ ต​ี่ งั้ ไ​วท​้ ห​่ี อส​ วดม​ นต​์ ซ​ งึ่ อ​ ยต​ู่ รงข​ า้ มก​ บั ก​ ฏุ ข​ิ องห​ ลวงปใ​ู่ นป​ จั จบุ นั ​ ขา้ พเจา้ จ​ ำไ​ดว​้ า่ ค​ ำอ​ ธษิ ฐานข​ องพ​ วกเ​ราใ​นว​ นั น​ นั้ ​ค​ อื ​ข​ ออ​ นญุ าตต​ อ่ ห​ ลวงป​ู่ ใน​การ​จัด​ทำ​วิดีโอ​ประวัติ​และ​คำ​สอน​ของ​ท่าน​ ​และ​หาก​หลวงปู่​อนุญาต​​ ขอใ​หห​้ ลวงปู่​บอก​พวก​เรา​ดว้ ย​จ​ ะ​โดยน​ มิ ติ ​​มา​เข้าฝ​ ัน​ห​ รอื ​วิธีใ​ดก​ ​็แลว้ ​แต​่ เพือ่ ​ใหพ้​ วก​เรา​สบายใจว​ า่ ​ไมไ่​ด​้ทำ​โดยทหี​่ ลวงป​ูไ่ มอ่​ นญุ าต​​และ​ขอใ​ห​ส้ ่ิง​ที​่ จะต​ อ้ ง​ทำท​ ุก​อยา่ งส​ ะดวก​ราบร​ ่นื ​ไ​ม​่ตดิ ขดั จ​ น​งาน​สำเร็จ​แ​ ตห่​ าก​หลวงป​ู่ ไมอ​่ นญุ าตแ​ ลว้ ​ข​ อใ​หก้ ารท​ ำงานข​ องพ​ วกเ​ราต​ ดิ ขดั ​ม​ อ​ี ปุ สรรค​ท​ ำใหท​้ อ้ ใจ​ และ​เลกิ ​ลม้ ​ความ​ตง้ั ใจท​ ีจ​่ ะท​ ำก​ ัน​ใน​ที่สดุ ​ luangpordu.com


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook