Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตามรอยธรรมย้ำรอยครู หลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ

ตามรอยธรรมย้ำรอยครู หลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ

Published by Thalanglibrary, 2020-12-15 02:03:48

Description: ประวัติและคติธรรมคำสอนของพระพรหมปัญโญหรือหลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ วัดสะแก อ.อุทัย จ.พระนครศรีอยุธยา

Search

Read the Text Version

193 ๑๙๓ ​ จาก​วัน​ท่ี​พวก​เรา​ได้​ขอ​อนุญาต​หลวงปู่​แล้ว​ ​พวก​เรา​สิบ​กว่า​คนใช้​ เวลา​กันป​ ระมาณห​ นงึ่ ​ป​ี ​เพ่อื จ​ ดั ท​ ำ​วดิ โี อท​ ่​ีมี​ความย​ าวป​ ระมาณ​​๓๐​น​ าท​ี เรมิ่ ต​ ง้ั แ​ ตก​่ ารเ​ขยี นบ​ ท​เ​ปลยี่ นจ​ ากบ​ ทใ​หเ​้ ปน็ ส​ คร​ ปิ ต​์ ต​ ดิ ตอ่ ห​ าข​ อ้ มลู เ​กย่ี ว​ กบั ห​ ลวงปต​ู่ งั้ แ​ ตช​่ วี ติ ข​ องท​ า่ นใ​นว​ ยั เ​ยาว​์ จ​ นก​ ระทงั่ อ​ ปุ สมบทเ​ปน็ พ​ ระภ​ กิ ษ​ุ สอบถามจ​ ากพ​ ระเ​ถระค​ รอ​ู าจารยท​์ เ​่ี คยร​ว่ มธ​ ดุ งคก​์ บั ท​ า่ น​ผ​ เ​ู้ ฒา่ ผ​ แ​ู้ กท​่ ร​ี่ จู้ กั ​ ท่าน​ตดิ ตอ่ ช​ า่ งภ​ าพ​ท่ี​จะ​มา​ถ่ายท​ ำว​ ิดีโอน​ อกส​ ถานท​ ​่ี ​โดย​ตอ้ ง​ไป​ถา่ ยท​ ำ​ท​ี่ บา้ นเ​กิด​ของ​ท่าน​​เป็นต้น​จ​ น​กระทัง่ ​วดิ ีโอ​ทีช​่ ว่ ย​กนั จ​ ัดท​ ำแ​ ลว้ ​เสรจ็ ​ ​ข้าพเจ้า​ยัง​จำ​ได้​ดี​วัน​น้ัน​เป็น​วัน​ที่​ ​๓๑​ ​มกราคม​ ​๒๕๓๖​ ​เวลา​ กลาง​คืน​ประมาณ​สาม​ทุ่ม​ ​ข้าพเจ้า​น่ัง​ดู​วิดีโอ​อยู่​คน​เดียว​ท่ี​ช้ัน​ล่าง​ ​ดู​ไป​ก็​ คดิ ถงึ ท​ า่ นไ​ป​ผ​ า่ นไ​ปไ​ดค​้ อ่ นเ​รอ่ื ง​ด​ ว้ ยค​ วามค​ ดิ ถงึ ท​ า่ น​น​ ำ้ ตาเ​จา้ ก​ รรมข​ อง​ ข้าพเจ้า​ก็​เอ่อ​ล้น​ขึ้น​มา​ ​ใน​ขณะ​เดียวกัน​นั้น​เอง​ ​ข้าพเจ้า​แล​เห็น​หลวงปู่​ด​ู่ ทาง​ด้าน​ขวา​มือ​ข้าพเจ้า​ ​ท่าน​เดิน​เข้า​มา​หา​แล้ว​หยุด​ห่าง​จาก​ข้าพเจ้า​ ประมาณ​เมตร​เศษ​​แลว้ ​บอก​ข้าพเจา้ ว​ า่ ​ ​ “ข​ า้ อ​ นโุ มทนา​กบั ​พวกแ​ กด​ ้วย​ท​ ่ี​ทำให้​คนอ​ ื่น​ไดบ​้ ญุ ​หลาย​”​ ​ ขา้ พเจา้ เ​หน็ ท​ า่ นด​ ว้ ยห​ างต​ า​ค​ รนั้ เ​มอ่ื ห​ นั ไ​ปม​ องท​ า่ นต​ ร​ งๆ​ป​ รากฏ​ ว่าท​ ่านห​ ายไ​ป​แ​ ลว้ ​ข้าพเจ้าถ​ าม​ตวั เ​องว​ ่าค​ ดิ ​เอา​เอง​หรือ​เปล่า​เ​สยี งจ​ ิง้ จก​ ทกั ​ทันท​ีทคี​่ วามค​ ดิ น​ ี้เ​กิดข​ น้ึ ​ใน​ใจ​ข​ า้ พเจ้า​นกึ ถึงค​ ำท​ ห​่ี ลวงปู่​เคย​บอกพ​ วก​ เราไ​ว​้วา่ ​ ​ “​ถ้า​ข้าไ​ป​หา​แก​ใ​ห​้คอยฟ​ ังเ​สยี ง​จิง้ จก​ใหด​้ ี​”​ ​ พอดว​ี ดิ โี อจ​ บ​ข​ า้ พเจา้ จ​ งึ ข​ น้ึ ไ​ปห​ อ้ งพ​ ระช​ นั้ บ​ น​ข​ ณะท​ ข​ี่ า้ พเจา้ ก​ ำลงั ​ luangpordu.com

๑๙๔ 194 จะ​กม้ ล​ งก​ ราบพ​ ระ​​ภาพห​ ลวงปู่​ก็ป​ รากฏเ​บอ้ื งห​ น้า​​ทาง​ดา้ น​ซา้ ย​ของ​โต๊ะ​ บูชา​พระ​ห​ รอื ​ขวา​มอื ​ของข​ ้าพเจ้า​แ​ ลว้ ​ท่าน​ก​บ็ อกข​ า้ พเจ้า​อีกว​ า่ ​“​ ​​พรุ่ง​น​ี้ หวยอ​ อก​๒​ ๑”​ ​ข​ า้ พเจา้ ย​ งั ง​นุ งงก​ บั เ​หตกุ ารณท​์ ก​ี่ ำลงั เ​กดิ ข​ น้ึ ใ​นเ​วลาน​ นั้ ว​ า่ ​ คิด​เอาเ​อง​อกี ​หรือเ​ปล่า​​ทำไมถ​ งึ ​เป็น​เร่อื ง​เปน็ ​ราว​ทเ​ี ดียว​ห​ ลวงป่ท​ู ่านค​ งร​ ้​ู ความ​คดิ ข​ องข​ ้าพเจ้าใ​น​ขณะน​ ้ัน​ท​ า่ น​จึง​บอกข​ า้ พเจา้ อ​ ีกว​ ่า​“​ ​​ไม​เ่ ช่ือใ​ห้ด​ ​ู ใน​รปู ​ข้า​​ปฏิทนิ ​๒​ ๑”​ ​ ​ ข้าพเจ้า​รีบ​เดิน​เขา้ ​ใกล​ท้ ี​่บชู าพ​ ระ​ซง่ึ ​มี​รูปห​ ลวงป่​ู ​ขนาด​ ​๘​ x​ ​ ​๑๐​​ นวิ้ ​​ใส่​กรอบต​ งั้ ​อยู​่ ​เปน็ ร​ ปู ​หลวงปนู่​ ง่ั ​สมาธ​ิ ห​ น้า​กุฏทิ​ า่ นเ​อง​ท​ ​ข่ี า้ ง​ฝา​กุฏ​ิ มี​ปฏิทิน​แบบ​ฉีก​ใบ​ละ​วัน​แขวน​ไว้​ ​วัน​ที่​ใน​ปฏิทิน​ท่ี​เห็น​นั้น​เป็น​วัน​ท่ี​ ​๒๑​ ซึ่ง​ตรง​กับ​ที่​ข้าพเจ้า​ได้ยิน​หลวงปู่​บอก​อยู่​ใน​เวลา​นี้​ ​ข้าพเจ้า​ก้ม​ลง​กราบ​ พระ​​๓​​ครั้ง​แ​ ละ​เรยี น​หลวงปู่ว​ ่าข​ ้าพเจา้ ​ไม​่เคย​คิด​จะ​ขอห​ วยห​ ลวงปเ​ู่ ลย​​ ขา้ พเจา้ เ​รม่ิ เ​ขา้ ใจแ​ ลว้ ล​ ะ่ ​ห​ ากว​ นั น​ ห​ี้ ลวงปม​ู่ าจ​ รงิ ​ไ​มใ่ ชภ​่ าพน​ มิ ติ ท​ ข​่ี า้ พเจา้ ​ คิด​ขึ้น​เอง​ก็​ขอ​ให้​พรุ่ง​น้ี​หวย​ออก​ ​๒๑​ ​จริง​ ​แต่​ถ้า​พรุ่ง​น้ี​หวย​ไม่​ออก​ ​๒๑​​ แปล​ว่า​ภาพ​นิมิต​ทั้งหมด​เป็น​เร่ือง​ไม่​จริง​และ​ข้าพเจ้า​เพี้ยน​เอง​ต้ัง​แต่​ต้น​ จน​จบ​รายการน​ ​้ี ​ วัน​รุ่ง​ข้ึน​ข้าพเจ้า​มี​งาน​ท่ี​ทำงาน​ ​จำ​ได้​ว่า​กำลัง​ยุ่ง​อยู่​กับ​การ​จัด​ทำ​ แผน​งาน​ประจำ​ปี​ ​พ​.​ศ​.​ ​๒๕๓๖​ ​ข้าพเจ้า​ลืม​เรื่อง​น้ี​ไป​สนิท​ตลอด​ท้ัง​วัน​​ ตก​เย็น​ก็​ต้อง​ทำงาน​ล่วง​เวลา​กว่า​จะ​ได้​กลับ​บ้าน​ก็​เป็น​เวลา​ค่ำ​ ​เส้น​ทาง​ท่ี​ ข้าพเจ้า​ขับ​รถ​กลับ​บ้าน​ต้อง​ข้าม​สะพาน​พระป่ิน​เกล้า​เป็น​ประจำ​ทุก​วัน​ วนั น​ น้ั ข​ า้ พเจา้ ข​ บั ร​ ถม​ าต​ ดิ ไฟแ​ ดงอ​ ยท​ู่ ห​่ี นา้ ส​ ำนกั งานส​ ลากก​ นิ แ​ บง่ ร​ ฐั บาล​ luangpordu.com

195 ๑๙๕ พอด​ี ​พลัน​ข้าพเจา้ น​ กึ ​ข้นึ ​มา​ได้​จ​ งึ เ​หลือบ​ไปม​ อง​ผลก​ ารอ​ อกส​ ลาก​กนิ แ​ บง่ ​ รฐั บาลท​ ต​่ี ดิ ป​ ระกาศเ​ปน็ ต​ วั เลขเ​ดน่ อ​ ยห​ู่ นา้ ส​ ำน​ กั ง​านฯ​ ​ส​ งิ่ ท​ ข​ี่ า้ พเจา้ ไ​ดเ​้ หน็ ​ ก็​คอื เ​ลข​ท้ายส​ องต​ วั ข​ อง​หวย​งวดป​ ระจำว​ นั ท​ ่​ี ​๑​ก​ มุ ภาพันธ์​​พ.​ศ​ ​.​​๒๕๓๖​ ออก​เลข​​๒๑​ซ​ ง่ึ ต​ รงก​ ับท​ ่ี​หลวงปู่ไ​ด้​บอกข​ า้ พเจ้า​ไว​ต้ ้งั ​แต​เ่ ม่อื ค​ ืน​นี้​ ​ เหตกุ ารณ์​ท่ีเ​กดิ ​ขึ้น​น้​ี ​ข้าพเจา้ ​มา​สรปุ ​เอง​ได้ว​ ่า​ห​ ลวงปตู่​ อ้ งการม​ า บ​อก​ให้ข​ ้าพเจ้าท​ ราบว​ า่ ​​ท่านอ​ นุญาตใ​หพ้​ วกเ​ราท​ ำ​วดิ ีโอ​เร่อื ง​ของท​ ่านไ​ด​้ ซง่ึ ข​ า้ พเจา้ ไ​ดน​้ ำเ​รอ่ื งน​ ม​ี้ าเ​ลา่ ใ​หห​้ มค​ู่ ณะไ​ดร​้ บั ท​ ราบว​ า่ พ​ วกเ​ราไ​มไ​่ ดท​้ ำก​ นั ​ โดยพ​ ลการ​ ​หลวงปูอ​่ นญุ าต​แลว้ จ​ ร​ งิ ๆ​ ซ​ ึ่งห​ ากท​ ่านไ​ม​่บอกเ​หตกุ ารณ์ล​ ่วง​ หน้า​โดย​มา​ผูก​เร่ือง​กับ​หวย​ที่​จะ​ออก​ใน​วัน​รุ่ง​ข้ึน​ ​ข้าพเจ้า​ก็​คงจะ​ไม่​เชื่อ​ ว่า​ท่าน​อนุญาต​สำหรับ​ข้าพเจ้า​แล้ว​ ​นี้​เป็น​เหตุการณ์​ที่​ประทับ​ใจ​ข้าพเจ้า​ มาก​ท่ีสุด​คร้ัง​หน่ึง​ท่ี​แสดง​ถึง​ความ​รัก​ ​ความ​เมตตา​ ​และ​ความ​ห่วงใย​ของ​ หลวงป​ู่ที​่มี​ต่อบ​ รรดา​ศิษยานุศิษย์​​ขา้ พเจ้าม​ ​ีความเ​ชอ่ื ​๑​ ๐๐​%​ ​​เตม็ ​​วา่ ​ ถงึ ​แม​้หลวงป​ดู่ ู่​จะ​มรณภาพ​ไปแ​ ลว้ ​​ก็​เป็นการ​จากไ​ป​แต่ก​ าย​ของ​ทา่ น​​แต​่ หลวงปด​ู่ อ​ู่ งคจ​์ รงิ ท​ เ​่ี ปน็ อ​ งคธ​์ รรมข​ องท​ า่ นย​ งั อ​ ยค​ู่ อยช​ ว่ ยเ​หลอื พ​ ระศ​ าสนา​ และค​ อยช​ ว่ ยเ​หลอื ผ​ ป​ู้ ฏบิ ตั ธ​ิ รรมท​ ง้ั ห​ ลายอ​ ยา่ งท​ ไ​ี่ มเ​่ สอ่ื มถ​ อยไ​ปก​ วา่ ส​ มยั ท​ ​่ี ทา่ นย​ งั ม​ ช​ี วี ิต​อยู่เ​ลย​ ​เหตุการณ​เ์ รอื่ งห​ ลวงป​ู่บอก​หวยน​ ้ี​ เ​ป็นเ​พยี งต​ วั อยา่ ง​หน่ึง​ใน​หลาย​ เหตุการณท​์ ห​่ี ลวงปทู่​ ่านเ​มตตา​มาช​ ว่ ย​เหลือ​หมู​ค่ ณะ​​ซ่ึงข​ ้าพเจ้า​และ​ศษิ ย​์ หลาย​คน​ทเี่​คยม​ ​ปี ระสบการณ์​​คง​ไมม่ ​ีใครป​ ฏเิ สธว​ ่าห​ ลวงป​ู่ดท​ู่ ่าน​.​.​.​​มาไ​ด้​ จริง​ๆ​ luangpordu.com

๑๙๖ 196 ​๑๐๐​ ​อยาก​ได้​วตั ถุม​ งคลข​ องห​ ลวงปู​่ ​ ผม​ได้​รับ​ทราบ​คำ​สอน​และ​ปฏิปทา​เกี่ยว​กับ​หลวง​ปู่​ดู่​จาก​ศิษย์​ของ​ ท่าน​คน​หน่ึง​ ​จน​เกิด​ศรัทธา​ป​สา​ทะ​ ​กระท่ัง​ได้​มี​โอกาส​เดิน​ทาง​ไป​ถวาย​ สังฆทาน​กับ​หลวง​ปู่​คร้ัง​หน่ึง​ ​ซ่ึง​เป็น​คร้ัง​เดียว​ที่​ได้​พบ​ได้​กราบ​ท่าน​ ​หลัง​ จาก​น้ัน​เวลา​ผ่าน​ไป​.​.​.​ผม​ได้​รับ​ทราบ​เรื่อง​ราว​ของ​หลวง​ปู่​มาก​ขึ้น​เรื่อย​ๆ​​ ความ​รัก​ความ​เคารพ​บูชา​มี​มาก​ขึ้น​ตาม​กาล​เวลา​ ​แต่​ก็​ไม่​เคย​ได้​ไป​กราบ​ ทา่ นอ​ กี ​จนท​ ่าน​มรณภาพ​ ​ วัน​นนั้ .​​.​.เ​มื่อค​ ราว​ไปท​ ำบุญก​ บั ห​ ลวง​ป​ู่ ผ​ ม​เคย​คิด​นอ้ ยใจท​ ไี่​ม่ไ​ดร​้ บั ​ โอวาทค​ ำส​ อนห​ รอื ว​ า่ ส​ ง่ิ ใ​ดจ​ ากห​ ลวงป​ เ​ู่ ลย​ค​ วามค​ ดิ เ​ชน่ น​ แ​ี้ มไ​้ มถ​่ กู ต​ อ้ งน​ กั ​ เพราะ​เป็นการ​ทำบุญ​ท่ี​หวัง​ผล​ ​แต่​น่ี​คือ​ความ​รู้สึก​ของ​ปุถุชน​คน​หนึ่ง​ที่​ยัง​ ตอ้ งการ​กำลงั ​ใจ​​ตอ้ งการ​ท​ี่พง่ึ พ​ ิง​ทาง​ใจอ​ ย​ู่ ​ ถึง​วัน​น้ี​.​.​.​ผม​เช่ือ​ใน​ความ​เมตตา​ของ​ท่าน​ ​เพียง​แต่​จะ​แผ่​มา​ถึง​เรา​ ใน​ลกั ษณะ​ใด​เทา่ นัน้ ​ผ​ ม​ได้ร​ ับฟ​ งั ​เรอ่ื งร​ าว​เกย่ี ว​กบั ​คณุ ธ​ รรม​และค​ ณุ ​วิเศษ​ ของ​หลวง​ปู่​หลาย​เรื่อง​หลาย​ลักษณะ​ ​แต่​ไม่​เคย​ได้​ประสบ​กับ​ตนเอง​ ​จน​ ครั้งห​ นึ่ง​ในช​ วี ิต​.​.​.ไ​ดเ้​กดิ ข​ ้ึน​ ผ​ มเ​ปน็ ค​ นท​ ช​่ี อบส​ ะสมแ​ ละส​ นใจพ​ ระเ​ครอ่ื ง​แ​ ละเ​ชอ่ื ว​ า่ พ​ ระท​ ห​ี่ ลวง​ ปอ​ู่ ธษิ ฐานจ​ ติ ​ม​ ค​ี วามศ​ กั ดส​ิ์ ทิ ธแ​์ิ ละเ​ปน็ ม​ งคลก​ บั ผ​ ค​ู้ รอบค​ รอง​ผ​ มเ​องก​ ไ็ ด​้ luangpordu.com

197 ๑๙๗ แสวงหาก​ ระท่ัง​ได้เ​หรยี ญ​ร่นุ ​“​ ​เปิดโ​ลก​”​​จากล​ กู ​ศษิ ยห​์ ลวงป​ ​ู่ ​ทีนีป้​ ัญหา​ เกดิ ​ตรง​ท​ีว่ ่า​ตัวเ​องไ​ดแ้​ ล้วย​ งั ไ​มพ​่ อ​.​.​.​ยัง​อยาก​ได้​เผอื่ ไ​ว้ใ​ห้ร​ ่นุ พ​ ่ที​ ท​่ี ำงาน​ซ​ ่งึ ​ เป็น​คน​นสิ ยั ​ดีม​ น​ี ้ำใจเ​กดิ ​ความ​รู้สกึ ​อยากใ​หพ​้ ีค่​ นน​ ี้​มีพ​ ระ​ของห​ ลวง​ปู่​ ​โดย​ เฉพาะ​เหรยี ญร​ นุ่ ​เปดิ ​โลกน​ ​แี่ หละ​ ​ ทกุ ขเ​์ กดิ ข​ น้ึ แ​ ลว้ .​.​.​ต​ วั เ​องก​ ไ​็ มม่ ​ี แ​ ตอ​่ ยากใ​หเ​้ ขา.​.​.​จ​ ะไ​ปข​ อใ​ครก​ ก​็ ลวั ​ เขา​ว่า​​ได​้ไม่ร้​จู กั พ​ อ​หรือ​ไง​ ​ ปกติ​ผม​จะ​สวด​มนต์​ไหว้​พระ​ก่อน​นอน​ทุก​คืน​ ​คืน​นี้​ก็​เช่น​เดียวกัน​ ใจก​ ย​็ งั ​คง​ม​คี วามค​ ดิ ว​ า่ ​จะ​หา​พระ​ใหพ​้ ​ค่ี น​นย​้ี งั ​ไง​​จติ ก​ ​ค็ ดิ ​วา่ ​พระ​ของห​ ลวงป่​ู ขอจ​ ากห​ ลวงป​ ก​ู่ แ​็ ลว้ ก​ นั ​น​ กึ แ​ ลว้ จ​ งึ ห​ นั ห​ นา้ ไ​ปท​ างร​ปู ห​ ลวงป​ แ​ู่ ลว้ เ​รยี นทา่ น​ ว่า​ ​“​หลวง​ปู่​ครับ​ ​ผม​อยาก​ได้​เหรียญ​เปิด​โลก​ของ​หลวง​ปู่​ไป​ให้​คุณ​.​.​.​เพ่ือ​ ให้​เป็น​สิริ​มงคล​คุ้มครอง​ตัว​ ​แต่​ผม​ไม่มี​พระ​ของ​หลวง​ปู่​ ​ขอ​ให้​ผม​ได้​พระ​ ของห​ ลวง​ป​ูด่ ว้ ยค​ รับ​”​ ​ ขอโทษ​ครับ​.​.​.​ความ​รู้สึก​ว่า​จะ​ได้​พระ​นั้น​ไม่มี​ ​เพราะ​เป็น​เพียง​การ​ นึก​เอง​ ​คิด​เอง​และ​พูด​เอง​ ​คิด​ว่า​ท่าน​คง​ไม่​ได้​รับ​รู้​สิ่ง​ท่ี​บอก​กับ​ตนเอง​คือ​ นอน​ด​ีกวา่ ​​คิดมาก​ก​็ฟุ้งซ​ า่ นเ​ป​ล่า​ๆ​​เชา้ ข​ อง​สอง​วนั ต​ อ่ ​มา​ล​ กู ศ​ ษิ ย์​หลวง​ปู่​ เจอผ​ ม​บอกว​ า่ ​“​ ​เด๋ียวว​ ่างๆ​ ​​ม​ีเรอ่ื ง​จะถ​ าม​พห่​ี น่อย​”​ ​ จาก​เช้า​.​.​.​จน​บ่าย​ ​เขา​ก็​ยัง​ไม่​ว่าง​และ​คง​ลืม​ไป​แล้ว​ ตก​เย็น​เขา​จะ​ กลบั ​บา้ น​ผ​ ม​นึก​ได​เ้ ลยถ​ าม​เขาเอง​ว่า​“​ เ​มอ่ื เ​ช้า​จะ​ถาม​อะไรผ​ มห​ รือค​ รับ”​ ​ ​ “อ​ อ้ !​​ค​ อื อ​ ยา่ งน​ ​้ี จ​ ะถ​ ามว​ า่ ​เ​หรยี ญเ​ปดิ โ​ลกน​ ​่ี พ​ จ​่ี ะเ​อาก​ เ​่ี หรยี ญค​ รบั ”​ เขา​ถาม​ luangpordu.com

๑๙๘ 198 “​ ฮ​ า้ ​!​​พ​ ดู ใ​หมอ​่ กี ท​ ซ​ี ค​ิ รบั ​พ​ ดู ​ช​ า้ ๆ​ ​ช​ ดั ๆ​ ”​ ​ผ​ มอ​ ทุ านด​ ว้ ยค​ วามแ​ ปลก​ ใจ​และ​รสู้ ึกไ​ด​ท้ นั ทีว​ ่าม​ อ​ี ะไรผ​ ิด​ปกตแิ​ น่นอน​ ​เพ่อื น​ผมค​ นน​ นั้ ​ก​็ทวน​คำถามเ​ดิมแ​ ลว้ เ​ล่าใ​ห​้ฟงั ​วา่ ​ “​เมื่อค​ ืน​สวด​มนต์ไ​หวพ​้ ระ​ตามป​ กต​ิ ข​ ณะท​ ี่​จติ ​สงบ​อยูก​่ ็ม​ ​นี ิมิตเ​ป็น​ หน้า​พี่​ปรากฏ​ข้ึน​และ​ได้ยิน​เสียง​ของ​หลวงปู่​ดู่​บอก​ว่า​เอา​เหรียญ​เปิด​โลก​ ของข​ ้าไ​ปใ​ห​้เขา​พ​ อต​ อนเ​ช้าม​ าว​ ่า​จะ​ถามพ​ ่​ีแล้ว​กล็​ ืม​”​ ​เขาย​ งั ไ​ด​เ้ ล่าใ​หฟ​้ ัง​เพ่มิ เ​ติมว​ ่า “​เหน็ น​ มิ ิตเ​ชน่ เ​ดยี วกัน​น​้ีตงั้ แ​ ตค่​ ืน​วาน​แล้ว​แตไ​่ มแ​่ นใ่ จ​​นึก​ว่าค​ ิดไ​ป​ เอง​จนก​ ระทง่ั เ​มอ่ื ค​ นื เ​กดิ น​ มิ ติ เ​หมอื นเ​ดมิ อ​ กี ​ภ​ าพป​ รากฏช​ ดั เจนข​ น้ึ ​เสยี ง​ ของ​หลวงป​ู่ที่ส​ ่ังก​ ็​ดังฟ​ ัง​ชัด​​จึงค​ ดิ ​วา่ ไ​ม​น่ า่ ท​ จ​ี่ ะ​คิดเ​อา​เอง”​ ​ ผม​จึง​ได้​เล่า​ราย​ละเอียด​สิ่ง​ที่​ได้​คิด​ได้​ทำ​ให้​เพื่อน​ผม​ฟัง ​และ​ขอ​ เหรยี ญ​เปดิ ​โลกม​ าใ​ห​้พ​ีค่ น​ดี​ของผ​ ม​ได้ต​ ามท​ ่​ีต้ังใจ​ไว​้ เ​หตุการณ์​นเ​ี้ ปน็ เ​รื่อง​ จริง​ท่ี​เกิด​ขึ้น​กับ​ตัว​ผม​เอง​ ​และ​คง​ยืนยัน​ถึง​ความ​เมตตา​ของ​หลวง​ปู่​ที่​ สงเคราะห์​ผม​และ​คน​รอบ​ข้าง​ด้วย​ ​ “​แก​คดิ ถงึ ​ขา้ ​ข​ า้ ​กค​็ ิดถงึ ​แก”​ ​​คำ​พดู ​นี้​ยงั ก​ ้อง​อย่​ใู นห​ ข​ู องผ​ ม​​และ​ คง​ก้อง​อยู่​ใน​หู​ของ​ลูก​ศิษย์​ของ​หลวง​ปู่​ตลอด​ไป​ ​และ​สิ่ง​ที่​แปลก​สำหรับ​ ปถุ ุชน​คน​ธรรมดา​อย่างเ​ราก​ ​็คือ​​หลวง​ปู่ท​ า่ นม​ รณภาพ​ไป​แลว้ ​ท​ ำไม​ยังม​ า​ ชว่ ย​เราไ​ดอ​้ กี ​​ เรา​คง​เคยไ​ดย้ นิ ​ผ​ปู้ ฏบิ ตั ​ธิ รรม​ไดพ​้ บพระพ​ ทุ ธเ​จา้ ​พระ​สงฆผ​์ ​ปู้ ฏบิ ตั ดิ ​ี ปฏบิ ตั ช​ิ อบท​ งั้ ห​ ลายท​ ท​ี่ า่ นม​ รณภาพไ​ปแ​ ลว้ เ​ชน่ ก​ นั ม​ าส​ อนม​ าโปรดล​ กู ศษิ ย​์ luangpordu.com

199 ๑๙๙ ใน​รูปแ​ บบต​ ่าง​ๆ​แ​ ต​่คนธ​ รรมดาอ​ ย่างเ​รา​ต​ ายก​ นั ไ​ป​แลว้ ม​ ากมาย​บ​ างค​ รง้ั ​ อยากใ​หม้​ า​ก็​ไม่เ​ห็นม​ า​ ​ สง่ิ เ​หลา่ น​ เ​ี้ กดิ ข​ นึ้ ไ​ดอ​้ ยา่ งไร​เ​ปน็ เ​พราะบ​ ญุ บ​ ารมข​ี องแ​ ตล่ ะท​ า่ นห​ รอื ​ เปลา่ ​?​​...​ขอ​ฝากใ​ห้ช​ ่วยก​ ัน​คดิ ต​ อ่ ไ​ป​ ลาภ​ะปัญโญ​ ​ luangpordu.com

๒๐๐ 200 ​๑๐๑​ ​ เ​หน็ แ​ ลว้ ไ​ม่ห​ ัน​ ครงั้ แ​ รกท​ ด​่ี ฉิ ันถ​ กู เ​พอ่ื นช​ วนไ​ปว​ ดั ต​ า่ งจ​ งั หวดั แ​ ห่งห​ นงึ่ ​ด​ ว้ ยค​ วามร​ ​ู้ เท่า​ไม​่ถึงก​ ารณ์​เรม่ิ จ​ าก​ดฉิ ัน​ไดถ้​ ามเ​พื่อน​ว่า​“​ ว​ ันเ​สาร​น์ ​้ีว่าง​ไหม​”​​เพ่ือน​ ผ​ู้น้ัน​ตอบ​ว่า​“​ ​ไม​่วา่ ง”​ ​ ​ “​ไป​ไหน”​ ​ด​ ฉิ นั ซ​ กั ด​ ้วย​ความ​สงสัย​ ​ “​ไปอ​ ยธุ ยา”​ ​เ​พื่อนต​ อบ​ ​ “​ไป​ด้วย​คน​ซิ​ ​อยุธยา​น่า​สนใจ​ดี​ออก​”​ ​ดิฉัน​ตอบ​รับ​อย่าง​กระ​ตือ-​ รือร้น​ด้วย​ความ​อยากเ​ทีย่ ว​ ​“​ไป​วัด​นะ”​ ​เ​พอื่ นย​ ำ้ ​ ​ “​วัด​อะไร”​ ​ ​ “​วัด​สะแก”​ ​ ​“ไ​ป​ทำไม​ว​ ดั ส​ ะแก”​ ​​ดฉิ ันส​ งสยั เ​พราะ​ไม​เ่ คย​ได้ยินช​ อื่ ว​ ดั ​มา​ก่อน​ ​ “​ไป​กราบ​หลวงป่​ูด​ู”่ ​ ​ “ไ​ปก​ ไ​็ ป”​ ​ด​ ฉิ นั ต​ อบต​ กลงด​ ว้ ยค​ วามท​ อ​ี่ ยากอ​ อกไ​ปไ​หนส​ กั แ​ หง่ น​ อก​ กรงุ เทพฯ​ ​ วนั ​แรกท​ ​ไ่ี ปถ​ งึ ว​ ดั ส​ ะแก​​สังเกตจ​ ากภ​ ายนอกเ​ป็นว​ ัด​ธรรมดา​​เก่า​ๆ​ ​ไม่มี​อะไร​ท่ี​น่า​สนใจ​ ​เม่ือ​เดิน​ขึ้น​กุฏิ​ ​ได้​พบ​และ​กราบ​หลวงปู่​ ​ท่าน​กำลัง ​ luangpordu.com

201 ๒๐๑ สบู ​บหุ ร​่ี ​ดิฉนั ​นึกใ​น​ใจ​ว่า“​ ​พระส​ ูบบ​ หุ รี่​ไม​เ่ หน็ ​ชอบเ​ลย​”​ตอนนนั้ ​ใกล้เ​พล​ แลว้ ​ป​ ระกอบกบั เ​ปน็ ว​ นั ท​ ำงานป​ กต​ิ จ​ งึ ม​ คี นไ​มม​่ ากน​ กั ​ด​ ฉิ นั ไ​ดท​้ านอ​ าหาร​ กลางว​ นั แ​ บบบ​ ฟุ เฟต่ ค​์ รง้ั แ​ รกค​ อื ​น​ ง่ั ท​ านอ​ าหารท​ ห​่ี ลวงปฉ​ู่ นั เ​สรจ็ แ​ ลว้ ​โ​ดย​ น่ัง​รวม​กันห​ ลาย​ๆ​ค​ น​ก​ บั พ​ ืน้ ​ไมก​้ ระดานบ​ รเิ วณห​ น้าก​ ฏุ ท​ิ า่ น​ ​ ภายห​ ลงั อ​ าหารม​ อื้ น​ น้ั ​ด​ ฉิ นั ห​ มายม​ น่ั ป​ นั้ ม​ อื เ​ตรยี มค​ ำถามท​ อ​่ี า่ นม​ า​ จาก​หนังสือ​แล้ว​เกิด​ความ​สงสัย​หา​คำ​ตอบ​ไม่​ได้​ ​จึง​ขอ​นำ​มา​ถาม​หลวงปู่​​ หลวงป​ู่ทา่ นอ​ ยู​ใ่ นอ​ ิริยาบถ​พัก​ผอ่ นแ​ บบ​สบายๆ​ ​ข​ องท​ า่ น​ “​ ห​ ลวงปเ​ู่ จา้ ค​ ะ​ก​ ศุ ลก​ รรมช​ กั นำก​ ศุ ลก​ รรม​อ​ กศุ ลก​ รรมช​ กั นำอกศุ ล-​ กรรม​​นี​ห่ มายความ​ว่าอ​ ย่างไ​ร​เจ้า​คะ​”​ ​ หลวงปูท​่ า่ น​มองห​ น้า​ดฉิ ันอ​ ย่ค​ู ร​่หู น่ึง​​แลว้ ย​ ้ิม​อยา่ ง​อารมณ​์ดี​ “​ ​ขา้ ​ไม่​ตอบ​เอง็ ล​ ะ่ ​เ​อ็งม​ องด​ ทู​ ก่ี​ ระดาน​เอาเ​องก​ ​แ็ ล้วก​ นั ​”​ ​ดฉิ ัน​​มองห​ าก​ ระดาน​อย่างง​ง​ๆ​ ​ “ค​ นห​ นั ไ​ม​เ่ ห็น​ค​ น​เห็น​แลว้ ไ​มห​่ ัน​”​​ดิฉันอ​ ่านต​ าม​เบาๆ​ใ​น​ใจ​​ “​หมายความ​วา่ อ​ ย่าง​ไรเ​จ้า​คะ​”​​ดฉิ ันถ​ าม​ทา่ นด​ ้วยค​ วามโ​ง่ซ​ ่อื ​ ​“เ​อง็ ​วา่ ​อย่างไร​ละ่ ​”​​หลวงป​ูถ่ าม​ ​ดิฉนั เ​งยี บจ​ นเ​พ่อื นต​ ้อง​สะกิด​ ​ “​ไม​่ทราบเ​จ้าคะ่ ”​ ​ ​ หลวงปู​จ่ งึ ไ​ด้อ​ ธบิ าย​ใหฟ้​ ังว​ ่า​ ​ “​ถ้า​เอ็ง​หัน​ไป​​เอง็ ก​ ​็ไม่​เห็น​อะไร​ แ​ ตถ่​ ้า​เอ็งเ​หน็ ​แลว้ ​​เอ็งก​ ็​ไม่​ตอ้ ง​หนั ไ​ป​หาอ​ ะไร​”​ luangpordu.com

๒๐๒ 202 ​ตั้ง​แต่​วัน​น้ัน​เป็นต้น​มา​ ​ดิฉัน​ได้​มา​ที่​วัด​สะแก​อีก​หลาย​คร้ัง​ ​เพื่อ​ที่​ จะ​รู้ว​ า่ ท่​ี “​ ​เห็น”​ ​​น่ะ​เ​ขา“​ ​เหน็ ”​ ​อ​ ะไรก​ ัน​​บ่อยค​ รั้งใ​น​ช่วง​เวลาห​ ลายป​ น​ี ้ัน​ ดิฉัน​มเี​รอ่ื ง​ไม​ส่ บายใจ​​มีป​ ญั หาม​ ากมาย​จ​ งึ ​เตรยี มต​ วั ​เตรยี มค​ ำถามท​ เ​ี่ ปน็ ​ ปัญหา​ไป​ถาม​หลวงปู่​ ​แต่​เป็น​ที่​น่า​แปลก​ว่า​เมื่อ​ได้​มา​พบ​กับ​หลวงปู่​แล้ว​ คำถามต​ า่ งๆ​ท​ ล​ี่ ว้ นเ​ปน็ ป​ ญั หาห​ นกั อกท​ างโ​ลกท​ เ​ี่ ตรยี มม​ าถ​ ามน​ นั้ ไ​ดม​้ อ​ี นั ​ อนั ตรธานห​ ายไ​ปห​ มด​น​ กึ เ​ทา่ ไรก​ น​็ กึ ไ​มอ​่ อก​เ​ปน็ เ​ชน่ น​ อ​้ี ยบ​ู่ อ่ ยค​ รงั้ จ​ นด​ ฉิ นั ​ สงั เกต​ได้​ ​ มี​อยู่​คร้ัง​หน่ึง​ ​มี​ปัญหา​หนักอก​ต้ังใจ​จะ​ไป​ถาม​หลวงปู่​อีก​ ​ต้ังใจ​ไว้​ อย่าง​ดี​ว่า​ต้อง​ไม่​ลืม​ ​ต้อง​ถาม​ท่าน​ให้​ได้​ ​วัน​นั้น​ได้​ไป​กราบ​หลวงปู่​ ​โดย​มี​ เพ่ือน​ร่วม​เดิน​ทาง​คน​เดิม​ เช่น​เคย​หลวงปู่​น่ัง​พัก​ผ่อน​อิริยาบถ​ภาย​หลัง​ อาหาร​เพล​ ​ เพอื่ น​ดฉิ ัน​สะกิด​แล้วว​ า่ ​​ “​อรพิน​ท​์ ​มอี​ ะไรจ​ ะม​ าถ​ าม​หลวงป่ไ​ู มใ่ ช​ห่ รือ​​?​”​ ​ ดิฉัน​นึกถึง​คำถาม​ท่ี​เตรียม​มา​ถาม​ ​ใน​ใจ​รู้สึก​ว่า​ผ่อน​คลาย​แล้ว​​ ปญั หาน​ นั้ ไ​มเ​่ หน็ ​สำคญั ​ตรง​ไหนเ​ลย​ ​ “​ไมม่ ี​แล้วล​ ่ะ”​ ​​ดิฉนั ย​ ิม้ แ​ ละต​ อบเ​พอ่ื น​ไป​ ​ เชน่ ​เดิม​ เ​บือ้ งห​ น้าด​ ิฉันเ​ปน็ ภ​ าพ​หลวงปด​ู่ ​ูน่ ่งั ​ยม้ิ ​อยา่ ง​ม​เี มตตา​เป็น​ ท่สี ุด​ ​ อรพนิ ท​ ์​ luangpordu.com

203 ๒๐๓ ๑​ ๐๒​ ​เปรยี บศ​ ีล​ ​ดิฉัน​เป็น​คน​ช่าง​สังเกต​และ​ข้ี​สงสัย​ว่า​ ​ทำไม​ใน​บท​สวด​สมาทาน​ พระกร​รม​ฐาน​ของ​หลวงปู่​ถึง​ได้​ต้อง​มี​การ​อาราธนา​ศีล​ ซ่ึง​มี​ผู้​แนะนำ​ให้​ ทำเ​ป็นป​ ระจำท​ ุก​วนั ​ ​ ด้วย​ความ​อด​รน​ทน​ไม่​ได้​ ​เม่ือ​สบ​โอกาส​ท่ี​ได้​มาก​ราบ​นมัสการ​ หลวงปู่​​จงึ ​เรียน​ถาม​ท่าน​​ “​หลวงปเ​ู่ จ้าค​ ะ​​ทำไมเ​วลาส​ วดม​ นต​จ์ งึ ต​ ้อง​ขอศ​ ีลท​ กุ ว​ นั คะ​”​ ​ หลวงปอ​ู่ ธบิ ายว​ า่ ​​ “​ก็​เหมือนเ​ชอื ก​ละ่ ​เ​อ็งเ​คย​เหน็ เ​ชอื กไ​หม​​หา้ ​เส้น​ควัน่ เ​ป็น​เกลียว​ ถา้ เ​สน้ ห​ นง่ึ ข​ าด​เ​ราก​ ผ​็ กู ใ​หม​่ สองเ​สน้ ข​ าด​เ​ราก​ ผ​็ กู ส​ องเ​สน้ ใ​หม​่ แ​ ลว้ ถ​ า้ ​ เอ็ง​ไมผ​่ กู ​มนั ​จะ​เปน็ ​ยงั ไ​งล​ ่ะ​​?​”​​ หลวงปจู่​ บค​ ำต​ อบด​ ว้ ยค​ ำถาม​ ​ ดิฉัน​นั่ง​นึก​อย่าง​เห็น​ภาพ​.​.​.​เชือก​ก็​คง​บาง​ลง​ ​และ​คงขาด​ที​ละ​เส้น​​ สอง​เสน้ ​.​.​.​จ​ นห​ มด​ ​ หลวงปมู่​ อง​ขา้ พเจ้า​แลว้ ย​ ม้ิ ​ ​ อรพนิ ท​ ​์ luangpordu.com

๒๐๔ 204 ​๑๐๓​ ​ ​บทเ​รียน​ทาง​ธรรม​ บท​ท​่ี ​๑​​ความ​กตญั ญู​​และ​กศุ โลบายใ​น​การห​ าบ​ ุญ​ ​ ครง้ั ​แรกท​ ี่​ข้าพเจ้าไ​ดไ​้ ปก​ ราบ​หลวงป​ดู่ ​ู่ ​ในป​ ี​​พ​.​ศ​.​๒​ ๕๒๖​​โอวาทท​ ​่ี ทา่ นม​ อบใ​หก​้ บั ล​ กู ศ​ ษิ ยห​์ นา้ ใ​หมค​่ นน​ ก​ี้ ค​็ อื ​“​ ท​ ำบญุ ก​ บั พ​ ระท​ ไ​่ี หนๆ​ ​ก​ ต​็ อ้ ง​ ไม่ล​ ืม​พระท​ ีบ่​ ้าน​​พอ่ ​แม​เ่ ราน​ ้แ​ี หละ​..​​.​อยา่ ​มองข​ ้าม​ท่านไ​ป​”​ ​ครัง้ ​นนั้ ​​ยัง​จำไ​ด​ว้ ่า​ขา้ พเจา้ ​และเ​พอ่ื นๆ​ ​​ไดซ​้ ือ้ ด​ อกบัว​ไป​ถวาย​ท่าน​ ดว้ ย​ท​ า่ นร​ ับแ​ ละ​นำ​ไป​บชู าพ​ ระพุทธ​รปู ​แ​ ล้ว​ก​ใ็ หโ้​อวาทอ​ กี ว​ า่ ​“​ ​พวก​แก​ ยัง​เปน็ ​นกั เรยี น​​นกั ศ​ กึ ษา​​ยงั ต​ อ้ งแ​ บมือข​ อเ​งนิ พ​ ่อแ​ ม​อ่ ย​ู่ ค​ ราว​หนา้ อ​ ยา่ ​ ไป​เสียเ​งิน​เสยี ​ทองซ​ ือ้ ​ดอกไมม้​ า​ถวาย​​ระหว่าง​ทางม​ า​วดั ​ห​ ากเ​ห็นส​ ระ​ บัวท​ ่ีไหน​​กใ็​ห​้ตัง้ ​จิต​นกึ น​ ้อมเ​อาด​ อกบวั ถ​ วายเ​ปน็ พ​ ุทธบ​ ูชา​ธ​ รรมบ​ ูชา​ สงั ฆบ​ ูชา​​ก็​ใช้ได​้แล้ว”​ ​ ​ นอกจาก​น้ี​ ​วิธี​หา​บุญ​แบบ​ง่ายๆ​ ​โดย​ไม่​ต้อง​เสีย​สตางค์​ ​สามารถ​ ทำได​ท้ งั้ ​วัน​คอื ​​ตน่ื ​เชา้ ม​ า​​ขณะล​ ้าง​หนา้ ​​หรือด​ ื่ม​นำ้ ​ก็ใ​หว้​ า่ ​“​ ​พุทธง​ั ​ส​ รณัง​ คัจฉาม​ ,​ิ ​ธ​ มั มัง​ส​ รณงั​​​คจั ฉา​มิ​,​​สังฆัง​​​สรณ​ัง​​คจั ฉา​ม”​ิ ​​​ก่อน​จะ​กินข​ า้ ว​ ก็​ให้​นึก​ถวาย​ข้าว​พระพุทธ​ ​ออก​จาก​บ้าน​เห็น​คน​อ่ืน​เขา​กระทำ​ความ​ดี​ เปน็ ตน้ ว​ ่า​ใ​สบ่​ าตรพ​ ระ​จ​ งู ค​ นแ​ ก​่ขา้ มถ​ นน​​ฯลฯ​ก​ ​ใ็ ห้​นึก​อนโุ มทนาก​ บั ​เขา​ ผา่ นไ​ปเ​หน็ ด​ อกไมท​้ ใ​่ี สก​่ ระจาดว​ างข​ ายอ​ ย​ู่ ห​ รอื ด​ อกบวั ใ​นส​ ระข​ า้ งท​ าง​ก​ ใ​็ ห​้ luangpordu.com

205 ๒๐๕ นกึ อ​ ธษิ ฐานถ​ วายเ​ปน็ เ​ครอ่ื งบ​ ชู าพ​ ระร​ตั นตรยั โ​ดยว​ า่ ​“​ พ​ ทุ ธสั​ ส​ ะ​ธ​ มั มสั สะ​ สงั ฆสั​ ส​ ะ​ป​ เู ชม​ ”​ิ ​แ​ ลว้ ต​ อ้ งไ​มล​่ มื อ​ ทุ ศิ บ​ ญุ ใ​หแ​้ มค่ า้ ข​ ายด​ อกไมแ​้ ละร​กุ ขเ​ทว​ า​ ท​ี่ดแู ล​สระบ​ วั น​ ั้น​ดว้ ย​ ​ ตอน​เย็น​น่ัง​รถ​กลับ​บ้าน​ ​เห็น​ไฟ​ข้าง​ทาง​ก็​ให้​นึก​น้อม​บูชา​พระ​ รตั นตรัยโ​ดย​ว่า​​“​โอม​อคั ค​ไี ฟฟา้ ​พ​ ุทธบ​ ูชา​ธ​ รรม​บูชา​​สังฆบ​ ชู า​”​ก​ ลบั ​ มา​บ้าน​ ​ก่อน​นอน​ก็​นั่ง​สมาธิ​ ​เอนตัว​นอน​ลง​ก็​ให้​นึก​คำ​บริ​กรรม​ภาวนา​ ไต​รสร​ ณาค​ มน​จ์ น​หลบั ​​ตื่นข​ ้ึน​มา​ก​็บรกิ​ รรม​ภาวนาต​ อ่ อ​ กี ​ ​น่ี​เรียก​ว่า​เป็น​กุศโลบาย​ของ​หลวงปู่​ดู่​ ​ท่ี​ต้องการ​ให้​พวก​เรา​คอย​ ตะลอ่ มจ​ ิต​ใหอ้​ ยู​แ่ ต​่ใน​บญุ ​ในก​ ศุ ล​ตลอดท​ ง้ั ​วนั เ​ลยท​ เ​ี ดยี ว​ ​ บทท​ ​ี่ ​๒​ร​ ะวังจ​ ะต​ กต​ ้นตาล​ ​ ด้วย​ความ​ท่ี​ข้าพเจ้า​เป็น​คน​ที่​สนใจ​อ่าน​หนังสือ​ธรรม​อยู่​เส​มอๆ​​ ทำใหส​้ ญั ญาห​ รอื ค​ วามจ​ ดจำม​ นั ล​ ว่ งห​ นา้ ไ​ปไ​กลก​ วา่ ก​ ารป​ ฏบิ ตั ช​ิ นดิ ไ​มเ​่ หน็ ​ ฝุ่น​เลย​ทเ​ี ดียว​ ​ เชา้ ว​ นั ห​ นง่ึ ​ใ​นช​ ว่ งท​ ข​่ี า้ พเจา้ ร​จู้ กั แ​ ละไ​ปก​ ราบห​ ลวงป​ ใ​ู่ หมๆ​่ ​ข​ า้ พเจา้ ​ ถาม​ท่าน​วา่ ​​ “​หลวงปู่​ครับ​​พระ​ท่านส​ อน​ว่าบ​ ุญ​ก​็ไมใ่​หเ้​อา​​บาป​ก็ไ​ม​ใ่ หเ้​อา​​และ​ อยา่ ไ​ปย​ นิ ดย​ี นิ ร​า้ ยก​ บั ส​ งิ่ ท​ ง้ั ป​ วง​ท​ นี ท​้ี ำอ​ ยา่ งไรผ​ มถ​ งึ จ​ ะห​ มดค​ วามย​ นิ ดย​ี นิ ​ ร้าย​ครบั ​”​ ​ หลวงป่​ทู า่ นย​ ิม้ ​และต​ อบ​พลางห​ วั เราะว​ า่ ​​ luangpordu.com

๒๐๖ 206 “​เบอื้ งต​ น้ ​กจ​็ ะข​ ้นึ ​ยอด​ตาล​ม​ ีห​ วัง​ตกลง​มา​ตายเ​ทา่ นนั้ ​”​​ คำตอบของท่านทำเอา​ข้าพเจ้า​รู้สึก​เขิน​ ​และ​คิด​ได้ว่าการ​ปฏิบัติ​ ธรรมท​ ถ​ี่ กู ท​ ค​่ี วรน​ น้ั ไ​มค​่ วรจ​ ะอ​ า่ นต​ ำรบั ต​ ำราม​ าก​แ​ ตค​่ วรป​ ฏบิ ตั อ​ิ ยา่ งค​ อ่ ย​ เปน็ ค​ อ่ ยไ​ป​ม​ งุ่ ป​ ระกอบเ​หตท​ุ ด​่ี อ​ี ยา่ งเ​สมอต​ น้ เ​สมอป​ ลาย​โ​ดยไ​มเ​่ รง่ รดั ห​ รอื ​ คาด​คน้ั ​เอาผ​ ล​แ​ ละท​ ี่ส​ ำคญั ​คือ​อย่าส​ ำคัญผ​ ิด​คดิ ​ว่า​“​ ส​ ญั ญา​”​(ความจำ)​ เปน็ ​“​ ป​ ญั ญา​”​(​ความจริง) เพราะ​หากย​ งั เ​ปน็ แ​ ค​่สัญญา​หรอื ค​ วามร​ ท​ู้ ่ีเ​ปน็ ​ เพียง​การ​จด​การจ​ ำ​​มันย​ งั ​ไม่​ชว่ ย​ให้​เราเ​อา​ตวั ​รอด​หรือ​พน้ ท​ กุ ข์​ได​้ ​ บทท​ ี​่ ​๓​อ​ ย่าป​ ระมาท​ ​ หลวงปท​ู่ า่ นพ​ ดู เ​ตอื นเ​สมอเ​พอ่ื ใ​หพ​้ วกเ​ราไ​มป​่ ระมาท​ร​บี ทำความด​ี เสยี แ​ ตย​่ งั แ​ ขง็ แ​ รงอ​ ย​ู่ เ​พราะเ​มอื่ แ​ กเ​่ ฒา่ ล​ ง​ห​ รอื ม​ โ​ี รคภ​ ยั ไ​ขเ​้ จบ็ ม​ าเ​บยี ดเบยี น​ ก​็จะ​ปฏบิ ัต​ไิ ด้ย​ าก​ท​ า่ นว​ ่า​ ​“​ปฏิบัติ​ธรรม​เสีย​ตั้ง​แต่​ยัง​เป็น​เด็ก​ ​เป็น​หนุ่ม​ ​เป็น​สาว​ ​น้ี​แหละ​ ดี​​เพราะ​เมือ่ ​แก​เ่ ฒ่าไ​ป​แลว้ ​จ​ ะ​น่ัง​ก​โ็ อย​​จะล​ กุ ก​ ​็โอย​​หาก​จะ​รอไ​ว้​ให​้แก​่ เสยี ก​ อ่ นแ​ ลว้ จ​ งึ ค​ อ่ ยป​ ฏบิ ตั ​ิ ก​ เ​็ หมอื นค​ นท​ ค​ี่ ดิ จ​ ะห​ ดั ว​ า่ ยน​ ำ้ เ​อาต​ อนท​ แ​่ี พ​ ใกล​้จะแ​ ตก​​มนั ​จะ​ไม่ทันก​ ารณ”​์ ​​ นอกจากน​ น้ั ​ท​ า่ นย​ งั แ​ นะ​ใหห้ า​โอกาสไ​ป​โรง​พยาบาล​ท​ า่ นว​ า่ ​​ “​โรงพ​ ยาบาล​นแี้​ หละ​​เป็นโ​รงเรยี นส​ อน​ธรรมะ​​มใ​ี ห​้เห็น​ท้งั เ​กิด​ แก​่ เ​จ็บ​แ​ ละ​ตาย​​ให้​พจิ ารณาใ​หเ้​หน็ ​ความจ​ ริง​ท​ ุกข​ท์ ง้ั น​ นั้ ​.​.​.​​อ​ นิจจ​ ัง​ ทกุ ข​ งั ​อ​ นตั ตา”​ ​ luangpordu.com

207 ๒๐๗ บ​ ทท​ ​่ี ๔​ ​ใ​หห้​ มนั่ ด​ ​จู ิต​ ​ คำ​สอน​ของ​หลวงปู่​ที่​ข้าพเจ้า​ได้ยิน​แทบ​จะ​ทุก​ครั้ง​ท่ี​ ​ไป​นมัสการ​ ท่าน​กค​็ ือ​ ​“​ของดี​อยู่​ที่​ตัวเ​รา​​ของ​ไมด​่ กี​ ็​อย​ู่ท​ี่ตัวเ​รา​ ​ให​้หม่นั ด​ ู​จิต​ร​ กั ษาจ​ ติ ​”​ ​ นบั เ​ปน็ โ​อวาทท​ ส​่ี น้ั ​แ​ ตเ​่ อาไ​ปป​ ฏบิ ตั ไ​ิ ดย​้ าวจ​ นช​ ว่ั ช​ วี ติ ห​ รอื ย​ าวนาน​ จนกว่า​จะ​พ้นจ​ าก​วฏั ฏะส​ งสาร​นีไ​้ ป​ได้​​ซง่ึ ส​ อดคลอ้ ง​กบั ​พุทธพ​ จนท์ ่วี า่ ​ ​ “​ผ้​ใู ด​หมัน่ ต​ าม​ดจ​ู ติ ​​ผนู้​ ้นั จ​ ะ​พน้ จ​ าก​บว่ งแ​ ห่งม​ าร​”​ ​ การ​ขาด​การต​ ามด​ ู​จิต​​รกั ษา​จติ ​เ​ปน็ เ​หตุใ​ห้เ​รา​ไม่ฉ​ ลาดใ​นค​ วามค​ ดิ ​ หรอื อ​ ารมณ​์ ซ​ งึ่ ถ​ งึ แ​ มว้ า่ เ​ราจ​ ะเ​คยไ​ดย้ นิ ไ​ดฟ​้ งั ค​ ำส​ อนข​ องค​ รบู าอ​ าจารยม​์ า​ มาก​ก​ ไ​็ มอ​่ าจช​ ว่ ยอ​ ะไรเ​ราไ​ด​ั เ​พราะเ​พยี งแ​ คก​่ ารฟ​ งั ธ​ รรมจ​ ากค​ รบู าอ​ าจารย​์ ภายนอกโ​ดยป​ ราศจ​ ากโ​ยนโิ สม​ นสกิ าร​ห​ มนั่ ต​ รกึ พ​ จิ ารณาส​ งิ่ ต​ า่ งๆ​ใ​หเ​้ ปน็ ​ ธรรม​​หรืออ​ ีกนยั ห​ นึง่ ค​ อื ​ขาด​การ​ฟงั ​ธรรมใ​นใ​จ​เราเ​องบ​ า้ ง ธ​ รรม​ตา่ งๆ​ ท​ ่​ี ไดย้ นิ ไ​ดฟ​้ งั ม​ าน​ ้นั ​ก​็ย่อมไ​ม่​อาจส​ ำเร็จป​ ระโยชน​์เปน็ ​ความ​ดบั ท​ กุ ข์​ได​้เลย​ ​ บท​ท​ี่ ๕​ ​ร​ ้จู ัก​หลวงปู่อ​ ย่างไร​ ​เช้า​วันห​ น่งึ ​​ใน​เดอื น​มกราคม​พ​ .​​ศ​.​​๒๕๓๓​ก​ อ่ น​หน้าทห​่ี ลวงป​ู่จะ​ ละส​ งั ขารไ​มก​่ ว​่ี นั ​ใ​นข​ ณะท​ ร​ี่ อใ​สบ​่ าตรอ​ ยท​ู่ ห​่ี นา้ ก​ ฏุ ข​ิ องท​ า่ น​ห​ ลวงปไ​ู่ ดพ​้ ดู ​ เปน็ ​คตแ​ิ ก​่สานุ​ศิษย์​​ณ​ท​ น​่ี ั้น​วา่ .​.​​.​ luangpordu.com

๒๐๘ 208 “​ ​ตราบ​ใดก​ ็ตาม​ท่​ีแกย​ ังไ​มเ่​ห็น​ความ​ด​ีในต​ วั ​ ก​ ​ย็ งั ไมน​่ ับ​ว่าแ​ ก​รูจ้ กั ​ข้า​ แ​ ตถ่​ า้ เ​มอ่ื ​ใด ​แกเร่มิ ​เหน็ ค​ วาม​ดีใ​นต​ ัว​เองแ​ ลว้ ​ เ​ม่ือน​ ัน้ ​...ข​ ้า​จึง​วา่ ​แก​รจู้ ักข​ ้า​ดขี​ ึ้นแ​ ล้ว”​ ​ ​คำ​พูด​นี้​ ​ถือ​เป็น​คำ​พูด​เตือน​สติ​แก่​ผู้​ที่มา​ปฏิบัติ​ใน​สมัย​ท่ี​ท่าน​ยัง​มี​ ชีวิต​อยู่​ว่า​ ​อย่า​ได้​สำคัญ​ตน​ว่า​เคย​ได้​อยู่​ใกล้​ชิด​ ​หรือ​เคย​ได้​รับ​ฟัง​คำ​สอน​ โดยตรง​จาก​ท่าน​ ​เพราะ​ตัว​วัด​ว่า​รู้จัก​ท่าน​ดี​หรือ​ไม่​น้ัน​ ​ท่าน​ว่า​อยู่​ท่ี​การ​ ฝกึ ฝน​ตน​ให​เ้ ปน็ ​คน​ที่ด​ ี​ข้นึ ​ได้​หรือ​ไม่​ถ​ ้า​ไม่ไ​ด้​ก​ ​็เทา่ กับ​วา่ ​ไมร่ ู้​จักท​ า่ นจ​ ริง​ ​ ใน​ทาง​กลับ​กัน​ ​คำ​พูด​น้ี​ช่วย​ให้​เกิด​กำลัง​ใจ​แก่​ผู้​ที่​ไม่มี​โอกาส​ได้​ มา​สัมผัส​ท่าน​ใน​ขณะ​ท่ี​ท่าน​ยัง​มี​ชีวิต​ ​หาก​แต่​มี​ศรัทธา​น้อม​เอา​ธรรมะ​ คำ​สอน​ของ​ท่านม​ าป​ ฏิบัติ​ขดั เกลาต​ นเอง​จนความโลภ โกรธ หลง ลดลง เรียกว่าเหน็ ความดใี นตัวเอง หลวงปู่​ทา่ นก​ ​็รับรอง​วา่ เปน็ ผ​ ้ท​ู ี่รู้จัก​ท่านจรงิ ​ คำ​พดู ข​ อง​หลวงป่​นู ้นั ท​ ำให้​ผู้​เขียนน​ ึกถงึ ​พทุ ธพ​ จน์​ที่​วา่ ​ “​ ​ผใู้​ด​เหน็ ธ​ รรม​ผ​ ​ูน้ ้ันเ​ห็น​เรา​.​..​​ตถาคต”​ ​ ​ “พ​ อ​”​ luangpordu.com

209 ๒๐๙ ​๑๐๔​ พ​ ลกิ ช​ ีวิต​ ​ ดฉิ ันไ​ด้ม​ ี​โอกาสม​ า​พบห​ ลวงป่ดู​ ​ู่ ​ท​่ีวดั ​สะแก​ต​ ้ังแ​ ต​่ปี​พ​ ​.​ศ.​​๒​ ๕๒๙​​ คอื ก​ อ่ นท​ ท​่ี า่ นจ​ ะล​ ะส​ งั ขารป​ ระมาณ​๔​ ​ป​ ​ี โ​ดยก​ ารแ​ นะนำข​ องเ​พอ่ื นร​ กั ค​ น​ หน่งึ ​​และน​ ่ัน​คอื ​จุด​หกั เหช​ ีวิต​ทส​่ี ำคญั ​ทีส่ ดุ ข​ องด​ ฉิ ัน​​เพราะ​กอ่ นท​ ่ีด​ ิฉนั ​จะ​ ได้​มา​พบ​หลวงปู่​ ​ชีวิต​ของ​ดิฉัน​ช่าง​ไร้​สาระ​ ​วัน​คืน​หมด​ไป​กับ​การ​ด่ืม​สุรา​ และเ​ลน่ ก​ ารพ​ นนั ​เ​พยี งเ​พอ่ื จ​ ะก​ ลบเ​กลอ่ื นท​ กุ ขไ​์ ปว​ นั ๆ​ ​โ​ดยไ​มม่ ส​ี ตป​ิ ญั ญา​ ท่​ีจะ​เตือน​ตวั ​เอง​ได้ว​ า่ ​​นั่น​ไม่ใช​่การแ​ ก​ป้ ัญหา​ต​ รงก​ นั ​ขา้ ม​กลบั เ​ปน็ การ​ซำ้ ​ เตมิ ช​ ีวติ ใ​ห​เ้ ลวร​ ้ายล​ ง​ไปเ​ร่ือย​​ๆ​ก​ ระท่งั ไ​ด​้มา​พบ​หลวงป่​ู ​ผ้ทู​ ​่พี ลิกช​ วี ิต​ของ​ ข้าพเจ้า​จาก​ด้าน​มืด​มา​ให้​ได้​เห็น​แสง​สว่าง​ ​ท่าน​ทำให้​ดิฉัน​รู้​ว่า​จะ​ใช้​ชีวิต​ อยา่ งไรจ​ งึ จ​ ะเ​กดิ ค​ ณุ คา่ แ​ กช​่ วี ติ ท​ เ​ี่ หลอื อ​ ย​ู่ ท​ ง้ั แ​ กต​่ นเอง​ต​ อ่ ค​ รอบครวั ​แ​ ละ​ ต่อ​คน​รอบข​ า้ ง​ ​ หลวงปท​ู่ า่ นม​ ก​ี ศุ โลบายใ​นก​ ารพ​ ลกิ ช​ วี ติ ข​ องด​ ฉิ นั ใ​หส​้ ามารถล​ ะเ​ลกิ ​ อบายมขุ ไ​ดท้ ล​ี ะอ​ ยา่ ง​โ​ดยเ​ดด็ ข​ าด​แ​ ละท​ ส​่ี ำคญั ค​ อื ด​ ว้ ยค​ วามส​ มคั รใ​จข​ อง​ ตัว​ดิฉัน​เอง​ ​เป็นต้น​ว่า​ ​ท่าน​สอน​ให้​ดิฉัน​พิจารณา​เห็น​โทษ​และ​ความ​ไม่​ดี​ ต่าง​ๆ​​ของ​การเ​มา​สรุ า​โ​อกาส​ใน​การ​สอน​ของท​ ่าน​มา​ถงึ ​เมือ่ ​เช้าว​ ันห​ นึ่ง​ท​่ี ดฉิ นั เ​ดนิ ท​ างไ​ปถ​ วายภ​ ตั ต​ าห​ ารแ​ กท​่ า่ น​พ​ อดก​ี บั ม​ ช​ี าวบ​ า้ นเ​มาส​ รุ าห​ ลบั อ​ ย​ู่ ใกล​้ๆ​​กับ​บนั ไดท​ าง​ขนึ้ ก​ ุฏ​ิ ​หลวงป​ทู่ ่านพ​ ูด​วา่ ​​ luangpordu.com

๒๑๐ 210 “​ขา้ ว​ ่า​​คนเ​มาเ​หล​ า้ น่​ะ​​เลวก​ วา่ ห​ มา​​แกว​ ่า​ไหม?​​”​​ “​เลว​กว่าย​ ัง​ไง​เจ้า​คะ”​ ​​ ดิฉัน​ถามอ​ ยา่ ง​ขึงขงั ​เ​พราะ​รู้สึกจ​ ะ​เป็น​เรื่องใ​กล​้ตัว​เข้าม​ า​ทุกที​​ ทา่ น​กย​็ อ้ นถ​ ามม​ าอ​ กี ว​ ่า​​ “ถ​ า้ ​เรา​เอา​ข้​กี บั ​เอา​เหลา้ ไ​ป​ต้งั ​ไว​้ แ​ กว​ า่ ​หมาม​ ัน​จะ​กนิ ​อะไร​”​ ​แลว้ ท​ ่านก​ ็​เฉลย​ต่อวา่ ​​ “ม​ นั ก​ เ​็ ลอื กก​ นิ ข​ น​ี้ ะส​ ​ิ ม​ นั ไ​มเ​่ ลอื กก​ นิ เ​หลา้ น​ ะ​ข​ า้ จ​ งึ ว​ า่ ค​ นก​ นิ เ​หลา้ ​ น​ี่เลวก​ วา่ ห​ มา​”​​ เทา่ นน้ั แ​ หละ​ด​ ฉิ นั ก​ บ​็ งั เกดิ ค​ วามล​ ะอายใ​จ​บอกก​ บั ต​ วั เ​องว​ า่ ฉ​ นั จ​ ะ​ ไม​่กินเ​หล้า​อกี ​​พร้อมก​ ับ​ทอ่ งบ​ น่ ใ​นใ​จว​ ่า​ ​ “​…​หมาม​ ันก​ ิน​ข​ี้ ม​ นั ​ไม​่กินเ​หลา้ ​ ค​ นก​ ินเ​หล้าน​ ่​เี ลวก​ วา่ ​หมา​ ​ฉันไ​ม่​ ต้องการ​จะ​เปน็ ​คน​ทเ​่ี ลวก​ ว่า​หมา​…​”​ ​ ไม่ใช่​เพียง​แค่​การ​ดื่ม​สุรา​ยา​เมา​เท่าน้ัน​ที่​ดิฉัน​สามารถ​เลิก​ได้​ ​หาก​ แตด​่ ว้ ยอ​ บุ ายก​ ารส​ อนข​ องห​ ลวงป​ู่ ดฉิ นั จ​ งึ ส​ ามารถเ​ลกิ อ​ บายมขุ อ​ ยา่ งอ​ น่ื ๆ​ ด้วย​ ​รวม​ไป​ถึง​การ​ใช้​เคร่ือง​สำอาง​ที่​ท่าน​ว่า​เกิน​งาม​และ​เป็น​อันตราย​ต่อ​ สุขภาพ​ ​ทั้งนี้​ท้ัง​นั้น​ ​ท่าน​คง​ทราบ​ว่า​ขณะ​นั้น​ดิฉัน​ยัง​มาก​ด้วย​ทิฏฐิ​มานะ​ ท่านจ​ ึงห​ ลีกเ​ลี่ยงก​ ารส​ อนห​ รอื ​วา่ ก​ ล่าวท​ ต่ี​ วั ด​ ฉิ ันโ​ดยตรง​ ​หาก​แต​ใ่ ช้ว​ ิธี​ยก​ สง่ิ ต​ า่ งๆ​ ​ข​ น้ึ เ​ปน็ อ​ ปุ มาอ​ ปุ มยั ​แ​ ลว้ ใ​หค​้ ดิ พ​ จิ ารณาต​ ามจ​ นเ​หน็ ท​ กุ ขเ​์ หน็ โ​ทษ​ และเ​ปน็ ฝ​ า่ ยส​ มคั รใ​จล​ ะเ​ลกิ ส​ งิ่ ไ​มด​่ ไ​ี มง​่ ามต​ า่ งๆ​ ​ด​ ว้ ยต​ วั เ​อง​ด​ ฉิ นั จ​ งึ ส​ ามารถ​ รับ​การข​ ัดเกลา​ทล​ี ะเ​ลก็ ท​ ​ลี ะ​นอ้ ย​จาก​ทา่ น​ได​้ ​ luangpordu.com

211 ๒๑๑ หลวงป​ูท่ ่านฉ​ ลาดแ​ ละ​อดทนใ​นก​ าร​อบรมล​ ูก​ศษิ ย์​อย่างย​ งิ่ ​​ทา่ น​ไม​่ เพียง​แนะนำ​การ​ปฏิบัติ​ธรรม​แก่​ดิฉัน​เท่านั้น​ ​หาก​แต่​ยัง​ได้​เมตตา​ให้​ดิฉัน​ เกดิ ป​ ญั ญาร​ค​ู้ วามเ​หมาะค​ วรใ​นก​ ารด​ ำรงช​ วี ติ ใ​นเ​พศฆ​ ราวาสเ​พอ่ื ใ​หด​้ ำเนนิ ​ ไป​ได้ท​ ัง้ ​ทาง​โลกแ​ ละท​ าง​ธรรม​อ​ ยา่ งท​ ี่​ทา่ น​พูดว​ ่า​โลกก​ ไ​็ ม่​ใหช้​ ำ้ ​​ธรรม​ก็​ ไม่​ให้​เสีย​ ​ การ​จาก​ไป​ของ​หลวงปู่​ ​ยาก​ที่​ดิฉัน​จะ​ยอมรับ​ได้​ ​แม้ว่า​ท่าน​จะ​ได้​ เมตตาพด​ู เ​ปรยใ​หท​้ ราบม​ าเ​ปน็ ร​ะยะๆ​ ​ร​วมท​ งั้ ส​ งั่ ด​ ฉิ นั ไ​มใ​่ หร​้ อ้ งไหเ​้ มอื่ ท​ า่ น​ ละส​ งั ขาร​แล้ว​ก็ตาม​​ ใน​เช้า​วัน​ท่ี​ ​๑๗​ ​มกราคม​ ​๒๕๓๓​ ​วัน​ท่ี​ทราบ​ข่าวมรณกรรมของ หลวงปู่​​ดฉิ นั เ​ร่งร​ บี ​เดิน​ทาง​ไปท​ ​่วี ัด​โดยทันท​ี แ​ ละเ​ม่ือไ​ปถ​ งึ ​​ดิฉัน​ก็​ไม่​อาจ​ กลั้น​ความ​เศร้า​โศก​เสียใจ​ รวมท้ัง​ไม่อาจทรงตัวยืนอยู่ได้ ต้องอาศัยกอด ต้นไม้​ข้าง​กุฏิ​ ​ร้องไห้​ฟูมฟาย​อยู่​พัก​ใหญ่​ ​ดิฉันรู้สึกว่าเวลาแห่งการได้พบ​ ไดเ้ หน็ และได้ยนิ ได้ฟงั คำสอนของหลวงปนู่ ้นั มันช่างนอ้ ยเสียเหลอื เกิน แม้ว่า​หลวงปู่​ดู่​ ​ผู้​ที่​ฉุด​ชีวิต​ของ​ดิฉัน​ข้ึน​จาก​โคลน​ตม​ ​ได้​ละ​สังขาร​ ไป​แลว้ ​​แต​ด่ ฉิ นั ก​ ต​็ ง้ั ส​ จั อ​ ธษิ ฐาน​วา่ ​จะ​ขอย​ ดึ ม​ น่ั ​ในไ​ตรส​ รณาค​ มน​์ ​และจ​ ะ​ ไม​ท่ ง้ิ ​การ​ปฏิบัตธ​ิ รรมไป​จน​ตลอด​ชีวิต​ เ​พือ่ ​บูชา​คุณห​ ลวงป​ู่ดู่​ ท​ ​ี่ไดเ​้ มตตา​ ต่อ​ดฉิ นั ​และค​ รอบครวั อ​ ยา่ งห​ าท​ ี่สุดแ​ ละห​ า​บคุ คล​อ่นื ​เสมอ​เหมอื น​มิได้​ ​ “​น​”ิ ​ luangpordu.com

๒๑๒ 212 ๑​ ๐๕​ ​ บ​ าป​ หลวงปด​ู่ ท​ู่ า่ นเ​ปน็ พ​ ระท​ ม​ี่ ค​ี วามล​ ะเอยี ดอ​ ยา่ งม​ าก​โ​ดยเ​ฉพาะอ​ ยา่ ง​ ยิง่ ​ใน​เร่อื ง​ความร​ ะมดั ระวัง​ไมใ​่ หเ​้ กิด​บาป​​ตลอดร​ ะยะเ​วลาป​ ระมาณ​๘​ ​ป​ ี​ ทพ​ี่ บแ​ ละป​ ฏบิ ตั ธ​ิ รรมก​ บั ท​ า่ น​ย​ ง่ิ น​ านว​ นั ก​ ย​็ งิ่ ป​ ระทบั ใ​จใ​นป​ ฏปิ ทาใ​นเ​รอ่ื ง​ นข​ี้ องท​ า่ น​แ​ ละบ​ างเ​รอื่ งข​ า้ พเจา้ เ​หน็ ว​ า่ เ​ปน็ เ​รอื่ งท​ น​ี่ า่ ค​ ดิ ​เ​พราะก​ อปรด​ ว้ ย​ เหตุผล​ ​อีก​ทั้ง​ไม่​เคย​ได้ยิน​ได้​ฟัง​ใคร​กล่าว​สอน​อย่าง​ตรง​ไป​ตรง​มา​เช่น​น​ี้ มาก​ อ่ น​จ​ งึ เ​ปน็ แ​ รงบ​ นั ดาลใ​จท​ จ​่ี ะถ​ า่ ยทอดไ​ว​้ ณ​ ​ท​ น​ี่ ​ี้ เ​ผอ่ื ว​ า่ จ​ ะเ​กดิ ป​ ระโยชน​์ แกผ่​ ู้​อ่าน​บ้าง​ไมม่​ าก​กน​็ อ้ ย​โ​ดย​ให​ช้ อื่ ​หวั ข้อ​เรื่องว​ ่า​“​ ​ปกณิ ก​ บาป​”​ ​ พา​เดก็ เลก็ ​เข้าว​ ัด​-​​บ​ าป​ ​ เร่ือง​น้ี​ค่อน​ข้าง​เป็น​เรื่อง​ที่​สวน​กับ​ความ​รู้สึก​ของ​คน​ท่ัวไป​ แต่​ หาก​ได้​พิจารณา​ความ​จริง​ไป​ตาม​เหตุผล​ที่​หลวงปู่​ได้​เมตตา​ชี้แนะ​ก็​จะ​ เข้าใจได้​ ​ท่าน​ว่า​เด็ก​เล็ก​ที่​พา​มา​วัด​น้ัน​ยัง​ควบคุม​ดูแล​ตนเอง​ไม่​ได้​ ​จึง​ มัก​ซุกซนและคึก​คะนอง​ไป​ตาม​ประสา​เด็ก​ ​แต่​เน่ืองจาก​ท่ี​วัด​มัก​มี​ผู้​มา​ ฝึกหัดปฏิบัติ​สมาธิ​ภาวนา​อยู่​เส​มอๆ​ ​ดัง​น้ัน​ ​เสียง​รบกวน​ของ​เด็ก​ ​จึง​ อาจรบกวนผูท้ กี่ ำลงั ​ปฏบิ ัต​ภิ าวนาอยู่​ด​ ัง​นัน้ ​บ​ าปจ​ ึง​เกิดก​ ับเ​ดก็ ​อยา่ งไ​ม่รู้​ ตวั ​​ทง้ั นกี้​ ด็​ ้วย​พ่อแ​ ม​่ผ้​ูปกครอง​ไม​่เข้าใจแ​ ละปล่อยปละละเลย luangpordu.com

213 ๒๑๓ ​ ภาพ​แห่ง​ความ​เมตตา​ท่ี​ท่าน​เมตตา​อบรม​ชี้แนะ​ข้าพเจ้า​ยัง​ชัดเจน​ อยู่​ใน​ความ​ทรง​จำ​ ​วัน​นั้น​ข้าพเจ้า​พา​ลูก​ซ่ึง​ยัง​เล็ก​ไป​วัด​สะแก​ด้วย​ ​จำ​ได้​ วา่ การไ​ปว​ ัดใ​น​วนั น​ ้นั ​ ข​ า้ พเจา้ ไ​ม่สู​้รสู้ กึ ป​ ลอด​โปร่ง​นกั เ​พราะ​วา่ ​ตอ้ ง​มาม​ ัว​ กงั วลก​ บั ล​ กู น​ อ้ ยท​ เ​ี่ ดย๋ี วก​ ส​็ ง่ เ​สยี งร​อ้ งไห​้ เ​ดย๋ี วก​ ป​็ สั สาวะร​ด​พ​ อห​ ลวงปท​ู่ า่ น​ เห็น​จงั หวะ​เห​มาะ​ท​ า่ น​ก็​เรียก​ขา้ พเจ้าใ​หเ้​ขา้ ไปใ​กลๆ​้ ​​แลว้ บ​ อก​วา่ ​​ “​นี่​เพราะ​ข้า​รัก​แก​หรอก​นะ​ ​จึง​บอก​จึง​สอน​ให้​รู้​ ​คน​เขา​ภาวนา​ กันอ​ ยู่​​แกพ​ าเ​ด็กๆ​ ​​มาว​ ่งิ เล่นซุกซน​​ส่ง​เสยี งร​ บกวน​​มนั ​บาปนะ​​ อนั ท​ จ​ี่ รงิ แ​ กเ​อาเ​ดก็ เ​ลก็ ไ​วท​้ บ​ี่ า้ นก​ ไ็ ด​้ เ​วลาท​ แ​ี่ กภ​ าวนาก​ ใ​็ หน​้ กึ ถงึ ​ เขา ​แผ่​เมตตา​ใหเ้​ขา​เ​ขา​ก็ได​บ้ ญุ ​เหมอื นก​ นั ”​ ​ ​ชวนค​ นเ​ข้าว​ ัด​​–​​บาป​ ​ บางทค​ี น​เรา​ก​็มอง​อะไรไ​มร​่ อบด​ า้ น​ด​ ังน​ ้นั ​แ​ ม​้จะม​ ีค​ วาม​ปรารถนา​ ดี​​ก​ไ็ ม่เ​ปน็ ​หลัก​รับ​ประกัน​ว่า​ทุก​อย่างจ​ ะ​ออก​มา​ด​ี ด​ ังเ​ช่น​ท​ขี่ า้ พเจ้าไ​ดร้​ บั ​ การ​อบรม​จากห​ ลวงปู่ว​ า่ ​​ “แ​ ก​เที่ยวช​ วน​คนเ​ขา​มาว​ ดั ​ร​ ะวงั น​ ะ​จ​ ะ​กลายเ​ปน็ ตน้ ​บาป​”​ ​ ท่านช​ แ้ี นะ​เพิ่มเ​ติมว​ า่ ​​ “แ​ กจ​ ะไ​ปร​เ​ู้ หร​อว​ า่ ส​ งิ่ ท​ แ​่ี กเ​หน็ ว​ า่ ด​ ​ี เ​ขาจ​ ะเ​หน็ ว​ า่ ด​ ต​ี ามแ​ กไ​ปด​ ว้ ย​ ถา้ เ​ขาป​ รามาสจ​ นเ​กดิ บ​ าป​แ​ กต​ อ้ งม​ ส​ี ว่ นร​ บั บ​ าปน​ นั้ ไ​ปด​ ว้ ยค​ รงึ่ ห​ นง่ึ ใ​น​ ฐานะท​ ่ี​พา​เขาม​ า​ให้เ​กดิ ​บาป”​ ​ luangpordu.com

๒๑๔ 214 ​อย่​ูใกลพ​้ ระอ​ รห​ นั ต​ ​น์ าน​​ๆ​​–​​บาป​ เ​รอ่ื งน​ ก​้ี เ​็ ปน็ อ​ กี เ​รอื่ งห​ นงึ่ ท​ ด​ี่ จ​ู ะส​ วนท​ างก​ บั ค​ วามร​สู้ กึ ข​ องค​ นท​ ว่ั ๆ​ ​ไ​ป เพราะ​ทุก​คน​ย่อม​จะ​คิด​ว่า​หาก​เรา​ได้​อยู่​ใกล้​ชิด​พระอร​หัน​ต์​ ​ก็​ย่อม​จะ​มี​ โอกาส​สั่งสม​บุญ​กุศล​ได้​อย่าง​เต็ม​ท่ี​ ​แต่​การณ์​หา​เป็น​เช่น​น้ัน​ไม่​ ​หลวงปู่​ดู่​ ทา่ นส​ อน​ว่า​ “​ ​อยา่ ​ไปอ​ ยใ​ู่ กลพ​้ ระ​อร​หันต​ ​น์ าน​​ประเ​ดีย๋ วจ​ ะ​บาป​​จะบ​ าป​ยังไง​ ก​บ็ าป​ตรงท​ ​อ่ี าศัย​ความค​ ้นุ เ​คย​​เลยเ​อาท​ ่าน​เปน็ เ​พื่อนเ​ลน่ ​บ้าง​ใ​ช​ท้ า่ น​ ทำ​โน่น​ทำน​ ีใ​่ ห​้บา้ ง แ​ ลว้ ​จะไ​ม่​ให​้บาปไ​ด​ย้ ังไ​ง”​ ​ ​ ถา่ ย​รปู ​กบั พ​ ระท​ ​่ีมค​ี ุณ​ธรรม​–​ ​บ​ าป​ ​ หลวงปูเ​่ คยต​ ั้งค​ ำถาม​กบั ​ข้าพเจา้ ว​ า่ ​​ “​เวลา​ท่ี​แก​ถ่าย​รูป​กับ​พระ​ ​โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่ง​กับ​ครู​อาจารย์​ที่​ ท่านม​ ี​คณุ ธ​ รรม​แก​จะ​เอาร​ ปู ไ​ป​ตัง้ ไ​วท้​ ีไ่ หน​ ​หาก​แกเ​อา​รปู ​ไปไ​ว​้ใน​ทีๆ​่ ​​ไมบ่​ ังควร​กจ็​ ะเ​กิดบ​ าปข​ น้ึ ไ​ด​้ ส​ ว่ น​วา่ ​ จะเ​อา​รปู ​ไป​ต้ัง​บชู าใ​นท​ ่ส​ี งู ​​ใคร​ผ่านไ​ป​ผา่ นม​ า​กย​็ กมอื ​ไหว​้ แ​ ล้ว​ตรองด​ ​ู ซิ​ว่า​ ​แก​มี​คุณ​ธรรม​เสมอ​กับ​ท่าน​เห​รอ​ ​หรือ​แก​มี​คุณ​ธรรม​อะไร​ท่ี​จะ​ให้​ เขาย​ กมอื ​ไหว้แ​ ก​”​ “​ ​อุ๋ย”​ ​ luangpordu.com

215 ๒๑๕ ๑​ ๐๖​ ​ความ​เมตตา​และข​ ันต​ธิ รรมข​ อง​หลวงปู่​ ​ จะ​มี​ใคร​ทราบ​บ้าง​ว่า​เบ้ือง​หลัง​ภาพ​การ​ปฏิสันถาร​พูดจา​ปราศรัย ​ใหแ้​ ง​่คดิ แ​ ละ​กำลงั ใ​จแ​ ก่ผ​ ู​้ที่มา​กราบน​ มสั การห​ ลวงป่ด​ู ู​่น้ัน​ ​บ่อยค​ ร้งั ​ ท่าน​ ต้อง​ใช้​ขันติ​มาก​สัก​เพียง​ใด​ ​โดย​ปรกติ​หลวงปู่​ท่าน​รับแขก​ต้ัง​แต่​เช้า​มืด​ กระท่ัง​จนด​ ึกจ​ น​ด่นื ท​ ุกๆ​ ​ว​ นั ​ต​ อ่ ​เน่อื งน​ บั ระยะเวลา​เป็นสบิ ๆ ​ป​ี ​ซงึ่ ​ไม​่ว่า​ ใครจ​ ะท​ กุ ขร​์ อ้ นว​ นุ่ ว​ ายใ​จมาอ​ ยา่ งไร​ห​ ลวงปท​ู่ า่ นก​ จ​็ ะป​ ฏสิ นั ถารด​ ว้ ยค​ วาม​ เมตตาเ​สมอ​โ​ดยจ​ ะม​ ใ​ี ครบ​ า้ งไ​หมท​ จ​่ี ะส​ งั เกตห​ รอื ส​ งสยั ว​ า่ ​ท​ า่ นน​ งั่ ร​ บั แขก​ บนพ​ นื้ ก​ ระดานแ​ ขง็ ๆ​ ​อ​ ยา่ งน​ น้ั ต​ ง้ั แ​ ตเ​่ ชา้ จ​ รดค​ ำ่ ใ​นแ​ ตล่ ะว​ นั ​ท​ า่ นแ​ ทบจ​ ะไ​ม​่ ไดล​้ กุ ไ​ปไ​หนเ​ลย​ท​ า่ นไ​มป​่ วดไมเ​่ มอ่ื ยบ​ า้ งห​ รอื ​ท​ า่ นไ​มป​่ วดท​ อ้ งห​ นกั ท​ อ้ งเ​บา​ บ้างห​ รอื ​ท​ ่าน​เจ็บ​ไข​ไ้ ม​่สบายบ​ ้างห​ รอื เ​ปล่า​ส​ ่วน​ว่าจ​ ะ​รอฟ​ งั ​ท่าน​เอย่ ​ปาก​ ออก​มา​ก็​คง​เป็น​เรื่อง​ท่ี​ยาก​ ​เพราะ​หลวงปู่​เป็น​พระ​ที่​ขี้​เกรงใจ​อย่าง​มาก​ แค่​จะ​ใช้สอย​ลูก​ศิษย์​ให้​เดิน​ออก​ไป​ซื้อ​ยา​ที่​หน้า​วัด​ ​ก็​ยัง​ต้อง​เอ่ย​ปาก​ถาม​ ลูก​ศษิ ย์​อย่างเ​กรง​อก​เกรงใจ​ ​ ขา้ พเจา้ เ​องไ​ดม​้ าป​ ระจกั ษค​์ วามอ​ ดทนข​ องท​ า่ นจ​ นมอิ าจก​ ลน้ั น​ ำ้ ตา​ เอา​ไว​้ได้​ก​ ใ็​น​ตอน​ท​่ีไดอ​้ ุปัฏฐาก​รบั ​ใช​ท้ ่าน​ใน​ยามท​ ​ท่ี า่ นช​ รา​มาก​แล้ว​​โดย​ มี​โอกาส​ถวาย​การ​ทายา​แผล​ท่ี​ก้น​ของ​ท่าน​ ​ภาพ​ท่ี​ปรากฏ​แก่​สายตา​ของ​ ขา้ พเจา้ น​ น้ั ค​ อื ร​ อ่ งร​ อยข​ องแ​ ผลท​ แ​ี่ ตกซ​ ำ้ ๆ​ ​ซ​ ากๆ​ ​ใ​นท​ เ​ี่ ดมิ ​น​ ค​ี่ งเ​ปน็ แ​ ผลท​ ​่ี luangpordu.com

๒๑๖ 216 เกดิ จ​ ากก​ ารท​ ท​่ี า่ นต​ อ้ งน​ ง่ั บ​ นพ​ น้ื ก​ ระด​ านแ​ ขง็ ๆ​ต​ อ่ เ​นอ่ื งเ​ปน็ แ​ รมป​ ​ี ข​ า้ พเจา้ ​ รสู้ กึ แ​ ปลกใ​จม​ ากท​ ท​่ี า่ นเ​ปน็ ถ​ งึ ข​ นาดน​ แ​้ี ลว้ ​ข​ า้ พเจา้ ห​ รอื ล​ กู ศ​ ษิ ยค​์ นอ​ น่ื ๆ​ ​ก​ ​็ ไม่​เคย​ได้ยิน​ท่านเ​อย่ หรือบ​ น่ ​ให้ใคร​ไดร้​ บั ร​ บ​ู้ ้าง​เลย​ต​ รง​กัน​ข้าม เ​รา​ทกุ ค​ น​ ยงั ค​ งเ​หน็ ท​ า่ นท​ ำห​ นา้ ทค​่ี รอ​ู าจารยท​์ ค​ี่ อยใ​หก​้ ำลงั ใ​จล​ กู ศ​ ษิ ยด​์ ว้ ยอ​ าการย​ มิ้ ​ แยม้ แ​ จม่ ใส​เป็นป​ รกติ​อย​ู่อยา่ ง​น้นั ​ช​ ่วยให้เ​ขาเ​หลา่ ​น้นั ก​ ลับ​บ้าน​ด้วยค​ วาม​ ปตี ทิ​ ุก​ราย​ไป​ ​ ข้าพเจ้า​เห็น​แผล​ของ​ท่าน​แล้ว​ก็​ไม่​อาจ​กล้ัน​น้ำตา​เอา​ไว้​ได้​ ​ได้​แต่​ ซาบซงึ้ ใ​จใ​นเ​มตตาแ​ ละข​ นั ตธ​ิ รรมอ​ นั ย​ งิ่ ข​ องท​ า่ น​อ​ กี ท​ งั้ ภ​ มู ใิ จท​ ไ​ี่ มเ​่ สยี ช​ าต​ิ เกดิ ท​ ี​่ได​ม้ โ​ี อกาสม​ า​เป็น​ลกู ศ​ ษิ ยร​์ บั ก​ าร​อบรมส​ ัง่ ส​ อนจ​ าก​ท่าน​เ​พราะ​ทา่ น​ ไมเ​่ พยี งพ​ ดู ส​ อนเ​พยี งอ​ ยา่ งเ​ดยี ว​ห​ ากแ​ ตท​่ า่ นย​ งั ส​ อนด​ ว้ ยก​ ารท​ ำใหด​้ ​ู ข​ า้ พเจา้ ​ จึง​ภาค​ภูมิใจ​ทมี่​ ​คี ร​อู าจารย์​เชน่ ท​ า่ น.​.​.​​​หลวงปดู่​ ​ู่ พ​ รหม​ปัญโญ​พ​ ระ​แท​้ที่​ จะ​อย​ู่ในด​ วงใจ​ของ​ขา้ พเจา้ ต​ ลอดไ​ป​ ​ “น​ า​ยอู”​๋ ​ luangpordu.com

217 ๒๑๗ ​๑๐๗​ ​หลวงปู่​ตาย​แลว้ ต​ อ้ ง​ลง​นรก​​?​ ​ วนั ห​ นงึ่ ​ห​ ลวงปด​ู่ ท​ู่ า่ นม​ องไ​ปท​ ล​่ี กู ศ​ ษิ ยใ​์ กลช​้ ดิ ก​ ลมุ่ ห​ นงึ่ แ​ ลว้ เ​อย่ ข​ นึ้ ​ ว่า​“​ ข​ า้ ต​ าย​แล้วต​ ้องล​ ง​นรก​”​​ พอล​ ูก​ศษิ ย์​ไดย้ ิน​เช่นน​ นั้ ​กต็​ กใจ​​เรยี นถ​ ามท​ า่ น​ใน​ทนั ทว​ี า่ ​​ “​หลวงป่จ​ู ะต​ ก​นรกไ​ด้อ​ ย่างไร ​ใน​เม่อื ​หลวงปบ​ู่ ำเพญ็ ค​ ุณ​งาม​ความ​ ดี​มา​มากอ​ อกอ​ ย่าง​น้”ี​ ​ ​ หลวงป่​ตู อบ​กลบั ​ไปว​ า่ ​​ ​“ข​ า้ ก​ ​จ็ ะ​ลงน​ รก​เ​พือ่ ​ไปด​ งึ พ​ วก​แก​ขนึ้ ​มาน่ะ​ ​สิ!​”​ ​ ​ คำพ​ ดู เ​ตอื นข​ องห​ ลวงปน​ู่ น้ั ​ช​ วนใ​หศ​้ ษิ ยท​์ ง้ั ห​ ลายต​ อ้ งม​ าน​ กึ ท​ บทวน​ ตวั ​เอง​วา่ การ​ท​่ีได้ม​ ​ีโอกาส​อยู่​ใกล​ค้ รบู าอ​ าจารยน​์ ้นั ​ก็​มใิ ช่​เปน็ ห​ ลกั ​ประกนั ​ ว่า​จะ​ไม่​ลง​นรก​ ​ตรง​กัน​ข้าม​ ​หลวงปู่​ท่าน​ได้​พูด​เตือน​ทำนอง​น้ี​หลายคร้ัง​ หลาย​หน​ ​เพราะ​ช่อง​ทาง​ทำบาป​ของ​คน​เรา​น้ัน มันมี​มาก​เหลือ​เกิน​​ ท่านเคยกลา่ ว​วา่ ​​คน​เราเ​ป็นอ​ ยูโ​่ ดยบ​ าป​ทง้ั น​ ั้น​​เพยี ง​แตผ​่ ท​ู้ ​ต่ี ั้ง​อย​ู่ใน​ความ​ ไม่​ประมาท​​ก​บ็ าป​น้อย​หน่อย​ ​ หลวงปท​ู่ า่ นเ​ปน็ แ​ บบอ​ ยา่ งท​ ห​่ี าไ​ดย​้ ากใ​นเ​รอ่ื งก​ ารร​ ะมดั ระวงั ไ​มใ​่ ห​้ เปน็ ห​ นส​ี้ งฆ​์ ถ​ งึ ข​ นาดว​ า่ ก​ อ่ นท​ ท​่ี า่ นจ​ ะม​ รณภาพไ​มก​่ ว​ี่ นั ​ทา่ นไ​ดบ​้ อกช​ อ่ งล​ บั ​ สำหรับเปิดประตูกุฏิ ให้​โยม​อุปัฏฐากได้​ทราบ​ ​เพ่ือ​ว่า​จะ​ได้​สามารถ​เปิด​ luangpordu.com

๒๑๘ 218 ประต​เู ขา้ ​กฏุ ิท​ ่าน​ใน​กรณี​ฉกุ เฉินไ​ด​้ โ​ดยไ​ม่ต​ อ้ งไ​ป​งดั ​ประต​ู อ​ ันจ​ ะเป็นการ​ ทำลายข​ อง​สงฆ​์ ซ​ ึ่งใ​นท​ ี่สุด​กม​็ ีเ​หตุใ​หไ้​ดเ​้ ปดิ ​ประต​ูกุฏ​ิท่าน​ผ่านท​ าง​ชอ่ งล​ บั ​ นัน้ ​จรงิ ​ๆ​ใ​นเ​ชา้ ​ตร​ู่ของ​วันพ​ ุธ​ท่​ี ​๑๗​​มกราคม​​๒๕๓๓​​อัน​เป็นว​ นั ​ที่​ทา่ นล​ ะ​ สงั ขาร​ ​ นอกจากน​ ี้​ท​ ่าน​ยงั ไ​ดพ้​ ดู เ​ตือน​อกี ห​ ล​ ายๆ​ ​เ​รอื่ ง​ซ​ ึง่ เ​ปน็ ​สง่ิ ท​ พ​ี่ วกเ​รา​ อาจมอ​ ง​ขา้ ม​​เป็นต้นว​ า่ ​เอ่ยป​ ากใ​ช​้พระห​ ยิบ​โน่น​หยิบน​ ่​ี ​ไม่​ยกเว้นแ​ ม้​กรณี​ ขอใ​หพ​้ ระท​ า่ นห​ ยบิ ซ​ องใ​หเ​้ พอ่ื จ​ ะใ​สป​่ จั จยั ถ​ วาย​ก​ ารห​ ยบิ ฉ​ วยข​ องส​ งฆไ​์ ป​ ใช​้สว่ น​ตวั ​ก​ ารพ​ ดู ช​ ักไ​ป​ใน​ทางโ​ลกใ​น​ขณะท​ ่ผี​ ​ู้อนื่ ​กำลงั ​สนทนา​ธรรม​ก​ าร​ สง่ เ​สยี งร​บกวนผ​ ท​ู้ ก​่ี ำลงั ป​ ฏบิ ตั ภ​ิ าวนา​ก​ ารข​ ายพ​ ระก​ นิ ​ซ​ ง่ึ เ​รอื่ งห​ ลงั น​ ​ี้ ท​ า่ น​ พดู ​เอา​ไว​้ค่อนข​ า้ งร​ ุนแรงว​ ่า​​ใครข​ าย​พระ​กนิ จ​ ะฉ​ บิ หาย​​สมัย​ทา่ น​ยังม​ ​ีชวี ิต​ ทา่ นจ​ ะพ​ ดู ก​ ระห​ นาบบ​ อ่ ยค​ รงั้ ​โ​ดยเ​ฉพาะเ​วลาร​ บั ป​ ระทานอ​ าหาร​ท​ า่ นไ​ม​่ ใหพ​้ ดู ค​ ยุ ก​ นั จะท​ ำก​ จิ อ​ นั ใ​ดอ​ ย​ู่ ก​ ใ​็ หม​้ ส​ี ต​ิ พ​ ยายามบ​ รก​ิ รรมภ​ าวนาไ​วเ​้ รอื่ ยๆ​ เรียก​ว่า​เกลี่ย​จิต​ไว้​ให้​ได้​ทั้ง​วัน​ ​เม่ือ​ถึง​คราว​นั่ง​ภาวนา​ ​จิต​จะ​ได้​เป็น​สมาธ​ิ ได้​เรว็ ​​เวลา​จติ ​เกดิ โ​ลภ​​โกรธ​ห​ ลงข​ ึ้นมาก​ ็จ​ ะไ​ดร​้ ​เู้ ท่า​ทนั ไดโ้ ดยเร็ว​ ​ดัง​ที่​หลวงปู่​สอน​ว่า​ ​การ​ตั้ง​อยู่​ใน​ความ​ไม่​ประมาท​เท่าน้ัน​จึง​จะ​ ชว่ ยใ​หเ​้ ราห​ า่ งจ​ ากน​ รกไ​ด​้ ด​ งั น​ นั้ ​เ​ราจ​ งึ จ​ ำเปน็ ต​ อ้ งค​ อยส​ อบท​ านต​ วั เ​องอ​ ย​ู่ เสม​ อๆ​ว​ า่ เ​ราเ​ขา้ ว​ ดั เ​พอ่ื อ​ ะไร​เ​พอื่ ค​ วามเ​ดน่ ค​ วามด​ งั ​ห​ วงั ล​ าภส​ กั ก​ าระ​ ​ห​ วงั ​ เปน็ ​ผู้​จัดการพ​ ระ​ผ​ ​จู้ ัดการ​วัด​ฯ​ ลฯ​ห​ รือเ​พือ่ ม​ ่งุ ​ละ​โลภ​โ​กรธ​​หลง​​ซ่งึ ​เป็น​ ตวั ​กอ่ ​ทุกข์​ก่อโ​ทษข​ า้ มภ​ พข​ า้ มช​ าติ​ไม่รู้จ​ ักจ​ บ​จกั ส​ นิ้ ท​ ​ี่มอ​ี ยู่ใ​น​ใจ​เรา​นี​้ ​ ปฏปิ ทาท​ จ​่ี ะช​ ว่ ยใ​หเ​้ ราป​ ลอดภยั ​แ​ ละห​ า่ งไ​กลจ​ ากน​ รก​ค​ อื ก​ ารเ​กรง​ luangpordu.com

219 ๒๑๙ กลัว​และ​ละอาย​ใจ​ใน​การ​ทำบาป​กรรม​ ​หรือ​ส่ิง​ที่​จะ​ทำ​จิตใจ​เรา​ให้​เศร้า​ หมอง​ขุ่น​มัว​ท้ัง​ใน​ที่​ลับ​และ​ที่​แจ้ง​ ​นอกจาก​น้ี​ ​ควร​หลีก​เล่ียง​การ​คลุกคลี​ กับ​หมู่​คณะ​โดย​ไม่​จำเป็น​ ​หาก​แต่​ควร​มุ่ง​เน้น​การ​ปฏิบัติ​ภาวนา​เป็น​หลัก เป็นผู​้พร้อมร​ ับ​ฟัง​คำต​ ัก​เตอื น​ของ​ผู​อ้ น่ื ​ โ​ดยเ​ฉพาะ​คำ​ตักเ​ตือน​จากค​ รบู า-​ ​อาจารย์​อ​ ย่าง​ทที่ าง​พระ​ท่านส​ อนว​ า่ ​ให​อ้ ดทน​ใน​คำส​ ่งั ส​ อน​ใ​ห้คิด​ว่า​ท่าน​ กำลงั ​ดด​ุ า่ ​กิเลสข​ อง​เรา​อย่​ู ​ ท่อน​ซงุ ท​ ัง้ ท​ อ่ น​ถ​ า้ ​ไม่​ไดข​้ วานช​ ่วย​สับ​ชว่ ย​บาก​ไ​ม​่ไดก้​ บไ​ส​ไม้​ช​ ่วย​ ทำ​พื้น​ไม้​หยาบ​ๆ​ ​ให้​เกลี้ยง​เกลา​ข้ึน​ ​ไม่​ได้​กระดาษ​ทราย​ช่วย​ขัด​ให้​พ้ืน​ไม้​ เรียบ​เนียน​ ​ไม่​ถูก​ดัด​ถูก​ประกอบ​ ​ก็​คง​ไม่​กลาย​มา​เป็น​เครื่อง​เรือน​เคร่ือง​ ใช้​ท่ี​มี​ประโยชน์​ ​ฉันใด​ก็​ฉัน​น้ัน​ ​จิตใจ​ของ​เรา​ที่​หยาบ​อยู่​ ​หาก​ไม่​ได้​รับ​ การ​ขัดเกลา​หรือ​อบรม​จาก​ครู​อาจารย์​ ​ไม่​ได้​รับ​การ​อบรม​ด้วย​ธรรม​ของ​ พระพทุ ธเจ้า​​จิตใจ​น้นั ​ก​ย็ ่อมใชง้ านใช้การไม่ได้ ...​เอาเ​ปน็ ท​ ่ีพ​ ึ่งไ​ม​ไ่ ด้​ ​ ครั้ง​หน่งึ ​​ไดม​้ โี​อกาส​เรียน​ถาม​หลวงป่​วู ่า​​ “​หลวงปค​ู่ รบั ​​ทวี​่ า่ ​ธรรมย​ อ่ ม​รักษาผ​ ​ู้ประพฤต​ิธรรมน​ ้นั ​ธ​ รรมท​ ี​ว่ ่า​ นนั้ ​ทา่ น​หมาย​ถงึ ​ธรรม​เรอ่ื ง​ใด​ครับ”​ ​ ​ เมือ่ ​ส้ิน​เสียง​คำถาม​ของข​ ้าพเจ้า​​หลวงป่ทู​ า่ น​ก็​ตอบใ​น​ทันท​ีวา่ ​​ “ก​ าย​สุจรติ ​ว​ าจาส​ ุจริต​แ​ ละม​ โน​สุจริต​”​ ​ ซ่ึง​คำส​ อน​ของท​ า่ นข​ า้ งต​ ้น​ก​ ็​เปน็ การ​ตอบใ​หช้​ ดั อ​ ีกค​ รง้ั ​ว่า​อานิสงส์​ แหง่ ก​ ารป​ ระพฤตค​ิ วามด​ ท​ี งั้ ท​ างก​ าย​ท​ างว​ าจา​แ​ ละท​ างใ​จน​ แ​ี้ หละ​จ​ ะก​ ลบั ​ มาร​ ักษา​เรา​ไม​ใ่ ห้ต​ ก​ไปส​ ​โู่ ลก​ท​ีช่ ่วั ​​จึง​เปน็ ห​ ลักป​ ระกัน​ท่​ชี ่วย​ให้เ​ราห​ ่าง​ไกล​ luangpordu.com

๒๒๐ 220 จากน​ รก​อ​ กี ท​ ง้ั ย​ งั ช​ ว่ ยใ​หเ​้ ราส​ ามารถเ​ขา้ ใ​กลห​้ ลวงปด​ู่ ว้ ยก​ ารเ​พม่ิ พนู ค​ ณุ ธ​รรม ​ความ​ดี​ให้​ย่ิง​ๆ​ ​ข้ึน​ไป ​เพ่ือ​ว่า​ใน​ที่สุด​จะ​ได้​ไม่​ต้อง​รบกวน​หลวงปู่​ให้​ต้อง​ ลำบาก​ลง​นรกม​ าส​ งเคราะห​ศ์ ิษย์​ด​ งั ​ท​ท่ี ่าน​ปรารภด​ ว้ ย​ความ​หว่ งใย​ต​ งั้ แ​ ต่​ คร้ัง​ทท​่ี า่ น​ยงั ​มช​ี วี ติ ​อยู​่ ​ “​พอ”​ ​ luangpordu.com

221 ๒๒๑ ๑๐๘ ที่มาข​ อง​วัตถุ​มงคลร​ ุ่น​​“​เปิดโ​ลก”​ ​ ​ จาก​การท​ ​่มี ผี​ ้​สู นใจ​วตั ถุม​ งคลร​ นุ่ ​“​ ​เปิดโ​ลก​”​​เปน็ ​จำนวน​มาก​แ​ ละ​ มี​แนว​โน้ม​มาก​ข้ึน​ทุกที​ ​ประกอบ​กับ​พบ​ว่า​ข้อมูล​บาง​อย่าง​ที่​ปรากฏ​ตาม​ หนงั สอื ​ตา่ งๆ ร​ วมท้งั ทางอนิ เ​ทอร์​เนต็ ​​หรอื ​สื่อ​อืน่ ​ๆ​​มี​ความคลาดเ​คลอ่ื น​ จาก​ข้อ​เท็จ​จริง​ ​และ​บาง​เร่ือง​ก็​เป็น​ความคลาด​เคล่ือนท่ี​มี​นัย​สำคัญ​ โดย​ เฉพาะอยา่ งยงิ่ มกี ารโนม้ นา้ วผอู้ า่ นใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ ไปในทางอภนิ หิ ารจน มองข้ามเจตนารมย์ทีแ่ ท้จริงในการสรา้ งพระ อธิษฐานพระของหลวงป่ดู ู่ ด​ ว้ ยเ​หตน​ุ ​ี้ ใ​นฐ​ านะท​ ข​ี่ า้ พเจา้ เ​ปน็ ผ​ ป​ู้ ระสานง​านด​ ำเนนิ ก​ ารจ​ ดั ส​ รา้ ง​ พระ​รุ่น​น้ี​ ​จึง​ขอ​อนุญาต​ให้​ข้อมูล​ ​เพื่อ​ให้​ท่าน​ผู้​สนใจ​ได้​ทราบ​ท่ีมา​และ​ วัตถุประสงค์​ ​รวม​ทั้ง​ราย​ละเอียด​ของ​การ​จัด​สร้าง​พระ​รุ่น​นี้​ ​เพ่ือ​ความ​ เข้าใจท​ ​่ถี ูก​ตอ้ งต​ รง​กัน​ luangpordu.com

๒๒๒ 222 ​๑​.​​ทมี่ าแ​ ละว​ ตั ถปุ ระสงค์​ของ​การส​ รา้ ง​ จดุ เ​รม่ิ ข​ องก​ ารจ​ ดั ส​ รา้ งว​ ตั ถม​ุ งคลร​นุ่ น​ ​ี้ เกดิ ขนึ้ เ​มอ่ื ป​ ระมาณก​ ลางป​ี พ​.​ศ​.​ ​๒๕๓๒​ ​โดยข้าพเจ้า​ได้​รับ​การ​ติดต่อ​จาก​คุณ​ว​รวิ​ทย์​ ​ด่าน​ชัย​วิจิตร​ ให้​เป็น​ธุระ​ใน​การ​ประสาน​งานการ​จัด​สร้าง​วัตถุมงคลของหลวงปู่ดู่เพื่อ​ เอาไว้แจกให้กับผู้ศรัทธา โดยเฉพาะอย่างย่ิงผู้ท่ีสนใจปฏิบัติกรรมฐาน​​ เพราะพจิ ารณาเหน็ ว​ า่ พ​ ระเ​ครอื่ งพ​ ระบ​ ชู าข​ องห​ ลวงป​ ด​ู่ ​ู่ ม​ แ​ี นวโ​นม้ จ​ ะเ​ปน็ ​ ทต​่ี อ้ งการแ​ ละห​ ายากม​ ากข​ น้ึ เ​รอ่ื ยๆ​ ​ป​ ระกอบก​ บั อ​ งคห​์ ลวงป​ ด​ู่ ทู่ า่ นก​ ม​็ อี าย​ุ มากแ​ ลว้ ก​ ล่าวคอื อายขุ​ องท่านนน้ั ย่างเขา้ ปที ่ี ​๘๖ แลว้ ​ ทั้งนี้ ​คุณ​ว​รวิ​ทย์​และคณะ​ได้นำ​เร่ือง​นี้​ไป​กราบ​เรียนขออนุญาต จากหลวง​ปู่​ ​ซ่ึงหลวงปู่ท่าน​ก็​เมตตา​อนุญาต​ทั้ง​ท่ี​ท่าน​ได้​งด​อธิษฐาน​จิต​ วตั ถม​ุ งคลม​ าเ​ปน็ ร​ ะยะเ​วลาก​ วา่ ​๑​ ​ป​ แ​ี ลว้ ​ด​ ว้ ยเ​หตผุ ลส​ ว่ นต​ วั บ​ างป​ ระการ​ อย่างไร​ก็​ดี​ ​สำหรับ​วัตถุ​มงคล​รุ่น​นี้​ ​หลวง​ปู่​ท่าน​กำหนด​วัน​ประกอบ​พิธี​ อธิษฐาน​จิต​ใน​วัน​ท่ี​ท่าน​เรียก​ว่า​ ​“​วัน​ธงชัย​”​ ​ซึ่ง​ตรง​กับ​วัน​อังคาร​ที่​ ​๒๙​​ สงิ หาคม​พ​ .​ศ​ .​​๒​ ๕๓๒​เ​วลา​๒​ ​ท​ มุ่ ​ส​ ว่ นก​ ำหนดเ​วลา​๒​ ​ท​ มุ่ ​น​ น้ั ​ส​ นั นษิ ฐาน​ ว่า​น่า​จะ​เป็น​เพราะ​ท่าน​ไม่​ต้องการ​ให้​ไป​รบกวน​เวลา​ที่​ญาติโยม​มา​ทำบุญ​ หรือ​สนทนา​ธรรม​กับ​ท่าน​ใน​ช่วง​ระหว่าง​วัน​ รวมท้ังอาจไม่ต้องการให้ดู​ เอกิ เกรกิ ​๒.​​ก​ าร​ออกแบบเ​หรยี ญ​ ​ ​เดิมที​คุณวรวิทย์และคณะต้องการ​จะ​จัด​สร้าง​เหรียญ​รูปเหมือน​ luangpordu.com

223 ๒๒๓ ของห​ ลวง​ปด​ู่ ่​ู แ​ ตท​่ ่าน​กลับ​แนะนำ​วา่ ค​ วร​สรา้ ง​รูปเ​คารพค​ รบู าอ​ าจารยค์ อื ​ หลวงปู่ทวด​ดี​กว่า​ ​นอกจาก​น้ี​ ​ท่าน​ยัง​เน้น​ด้วย​ว่า​ ​ต้อง​มี​ข้อความ​​ “หลวงพอ่ ทวด​เ​หยยี บน​ ำ้ ท​ ะเลจ​ ดื ”​ป​ ระกอบรปู เหมอื นองคห์ ลวงปทู่ วด​ ดว้ ย​​นี้ค​ ือ​กรอบ​การออกแ​ บบ​เหรยี ญใน​เบอื้ ง​ตน้ ท​ ี​่ขา้ พเจ้าไ​ด้ร​ บั ​​ ข้าพเจ้าเองแม้จะเคยมีประสบการณ์ในการจัดทำหนังสือธรรมะ​ ของหลวงปู่ แต่ก็ไม่เคยมีประสบการณ์ในการสร้างพระใดๆ มาก่อนเลย แต่ด้วยความเกรงใจในคุณวรวิทย์ จึงตกปากรับคำในการติดต่อหาช่าง​ แกะพระ รวมทงั้ การประสานงานดำเนินการจดั สรา้ งเหรยี ญให้แล้วเสร็จ​ เพราะขา้ พเจา้ อยทู่ างกรงุ เทพฯ จงึ นา่ จะคลอ่ งตวั กวา่ คณุ วรวทิ ยซ์ ง่ึ อยทู่ าง​ อยธุ ยา ในเร่ืองช่างแกะพระน้ัน มีผู้แนะนำข้าพเจ้าให้รู้จักกับช่างอ๊อด หรือคุณ​ประหยัด​ ​ลออ​พันธ์​สกุล​ ซ่ึงเม่ือข้าพเจ้าเห็นผลงานในอดีตของ​ ช่างผู้น้ีแล้วก็รู้สึกพึงพอใจ จึงตกลงให้ดำเนินการแม้ว่าจะมีราคาท่ีค่อน​ ขา้ งสงู เมอ่ื เทยี บกบั ชา่ งรายอน่ื ๆ ดว้ ยคดิ วา่ โอกาสสรา้ งพระถวายหลวงปดู่ ู่ นน้ั ไมไ่ ดม้ งี า่ ยๆ จงึ อยากใหเ้ หรยี ญออกมาสวยงามและแลดเู หมอื นมชี วี ติ สำหรบั รปู ตน้ แบบหลวงปทู่ วดน​ น้ั ​​ขา้ พเจา้ ไดอ​้ าศยั เ​คา้ โครงจากรปู ​ หนุ่ ข​ ผ​้ี ง้ึ ห​ ลวงป​ ทู่ วดท​ พ​่ี พิ ธิ ภณั ฑห​์ นุ่ ขผ​้ี ง้ึ ไ​ทย​เ​พราะใ​หร​้ ายล​ ะเอยี ดท​ ช่ี ดั เจน​ สะดวกส​ ำหรบั ช​ า่ งแ​ กะพ​ ระ แ​ ละจากร​ปู แ​ บบห​ นา้ ตาห​ ลวงปทู่ วดท​ ล่ี งตวั แลว้ ​ ขา้ พเจา้ แ​ ละค​ ณะจ​ งึ ไดค​้ อ่ ยๆ เรม่ิ ออกแบบเ​พม่ิ เ​ตมิ ร​ายละเอยี ดท​ ง้ั ด​ า้ นห​ นา้ ​ และ​ดา้ น​หลงั ​ด​ งั น​้ี luangpordu.com

๒๒๔ 224 ​•​ ฐาน​บัว​ ​บ่ง​บอก​เอกลักษณ์​ของ​องค์​หลวง​ปู่ทวด​ ​ใน​ความ​เป็น​ พระ​โพธิส​ ตั ว์​ทบ​ี่ ารม​ีเตม็ แ​ ลว้ ​​​ ​•​ ลูก​แก้ว​บน​ฝ่ามือ​หลวง​ปู่ทวด​ ​สร้าง​ตาม​อย่าง​ความ​นิยม​ของวัด​ พะโ​คะ​​จงั หวดั ​สงขลา​และสื่อถึงลกู แก้วสารพัดนึก ​ •​อ​ ักขระ​“​ พ​ ทุ ​​ธะ​​สงั ​ม​ ิ”​ ​ท​ ​ด่ี ้าน​หน้า​​หมายถ​ งึ ​หวั ใจพ​ ระ​ไตร-​​ สรณา​คมณ​์ คอื ​“​ ​พทุ ธงั​​​สรณงั​​ค​ จั ฉา​ม,​ิ ​​ธมั มงั ​ส​ รณงั​​ค​ จั ฉาม​ ​,ิ ​​และ​สงั ฆง​ั ​ สรณง​ั ​ค​ จั ฉาม​ ​”ิ ​​​ซง่ึ ​เปน็ คำทห่ี ลวง​ป​ใู่ ห​ใ้ ชเ​้ ปน็ ค​ ำ​บรก​ิ รรม​ภาวนา​​อกี ทง้ั ยงั เปน็ คำทใี่ ชอ้ ธิษฐานบวชจิตอกี ดว้ ย​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​ ​•​​อกั ขระ​“​ ​นะ​โ​ม​​พุท​​ธา​ย​ ะ​”​​ท​ีด่ ้านห​ ลงั ​​หมายถ​ ึง​​พ​ ระนามย​ ่อ​ ของพ​ ระพทุ ธเจา้ ​๕​ ​​พระองค​์ ใ​นภ​ ัทรก​ ัปน​ ​ี้ ​ • ​ เสน้ ร​ ศั มโ​ี ดยร​ อบอ​ กั ขระ​“​ น​ ะ​โ​ม​พ​ ทุ ​ธ​ า​ย​ ะ”​ ​ห​ มายถ​ งึ ​อานภุ าพ​ แหง่ ค​ ณุ พ​ ระพทุ ธ​พ​ ระธ​ รรม​พ​ ระส​ งฆ​์ ท​ ม​ี่ ม​ี ากอ​ ยา่ งจ​ ะน​ บั จ​ ะป​ ระมาณม​ ไิ ด​้ ซ่ึง​แผ่​ออก​ไป​ไดท้​ ุกท​ ิศ​ทกุ ​ทาง​ ​•​ ​สัญลักษณ์​​“นะ​ปิด​ล้อม​”​​ท่ี​อยู่​ก่ึงกลาง​อักขระ​​“​นะ​ ​โม​ ​พุท​​ ธา​ ​ยะ”​ ​ ​เป็น​สัญลักษณ์​ท่ี​หลวง​ป่​ูดู่​ใช้​จาร​ใน​วัตถุ​มงคล​ของ​ท่าน​เสมอๆ​​ อีกประการหน่ึง ข้าพเจ้าเคยได้ยินท่านผู้รู้กล่าวว่า “นะ”มีความหมาย ต้งั แตห่ ยาบสุดไปหาละเอียดสุด นะเบอ้ื งต่ำหมายถงึ ธาตดุ ิน นะเบือ้ งสูง หมายถงึ พระธาตุ กล่าวคอื หากเราพัฒนาจติ ของเราให้บรสิ ุทธถ์ ึงที่สดุ ​ แล้ว ความบริสุทธ์ิของจิตนั้นก็สามารถที่จะกล่ันกระดูก ซ่ึงเป็นธาตุดิน​ ของเราให้กลายเป็นพระธาตไุ ด้ นะเบือ้ งสูงก็คือ “พระนิพพาน” น่นั เอง luangpordu.com

225 ๒๒๕ ​ •​​ดา้ นซ​ า้ ยข​ องช​ อื่ พ​ ระพ​ รหมป​ ญั โญ​จ​ ะม​ พ​ี ยญั ชนะท​ ด​ี่ ค​ู ลา้ ยท​ ง้ั ​“​ ๑​ ”​ ​ ​และ​​“ด​ ​”​​​ใน​ขณะท​ สี่​ ญั ลักษณ​์คลา้ ย​กากบาท ​ ท​ าง​ดา้ น​ขวาของชื่อท่าน​ ล้วนเป็นสญั ลกั ษณเ์ ฉพาะของหลวงปดู่ ู่ ​ มี​เรื่อง​แปลก​เก่ียว​กับ​การ​แกะ​องค์​หลวง​ปู่ทวด​ที่​ขอ​อนุญาต​บันทึก​​ ไว้​ ​ณ​ ​ที่​น้ี​ ​กล่าว​คือ​ใน​ตอน​แรก​นั้น​ ​ผู้​เขียน​ตกลง​กับ​ช่าง​อ๊​อด​ว่า​อยาก​ให้​ หลวง​ปู่ทวด​ห่ม​จีวร​ให้​เรียบร้อย​ ​กล่าว​คือ​ไม่​ต้องการ​ให้​เห็น​นม​หลวง​ปู่​ อย่าง​ที่​เขา​นิยม​แกะ​กัน​ ​จากน้ัน​ข้าพเจ้า​ก็​เทียว​ไป​เทียว​มา​ใน​การ​ปรับ​ แก้​แบบ​ โดย​ช่าง​อ๊​อด​ใช้​เวลา​แกะ​บล็อค​เหล็ก​ต่อ​เนื่อง​กัน​นาน​ ​๑๕​ ​วัน​ ​ก็แล้ว​เสร็จ​ ​จาก​นั้น​ก็​เริ่ม​ดำเนิน​การ​ปั๊ม​จริง​ ​แต่​พอ​ป๊ัม​ไป​ได้​กว่า​หนึ่ง​พัน​ เหรียญ​ ​ช่าง​อ๊​อด​ก็​เพิ่ง​มา​สังเกต​เห็น​ว่า​เหรียญ​ท่ี​ป๊ัม​ออก​มา​มี​นม​ปรากฏ​ ทง้ั ๆ​ ​ท​ ไ​่ี มไ​่ ดแ​้ กะบ​ ลอ็ ค​ข​ า้ พเจา้ แ​ ละช​ า่ งอ​ อ​็ ดช​ ว่ ยก​ นั ด​ ​ู ใ​นท​ สี่ ดุ ก​ พ​็ บว​ า่ ม​ เ​ี ศษ​ เหลก็ ​ปมุ่ ​เลก็ ​ๆ​ ​​ไป​ฝัง​ติดอ​ ย่​ทู ​บ่ี ลอ็ ค​ในต​ ำแหน่ง​หวั นม​พอด​ี ​เมอ่ื เ​ป็น​เช่นน​ ​้ี ข้าพเจา้ จ​ ึงใ​ห​้ชา่ งอ​ ๊อ​ ด​เขี่ย​เศษ​เหล็ก​ออก​​แล้วป​ รับปรุง​บลอ็ ค​ด้วย​การแ​ กะ​ นมข​ น้ึ ม​ าใ​หเ​้ ปน็ เ​รอ่ื งเ​ปน็ ร​ าว​ด​ ว้ ยส​ งสยั ว​ า่ ห​ ลวงป​ ทู่ วด​อ​ าจต​ อ้ งการร​ กั ษา​ เอกลักษณร์​ ปู ​แบบข​ อง​ท่านก​ ็เ​ป็น​ได​้ ​ ๓​.​​ชนิด​และจ​ ำนวน​การ​สร้าง​ ​ ​การจ​ ดั ​ทำ​เหรยี ญ​หลวง​ปู่ทวดค​ รั้ง​น​ี้ ​นอกจาก​เหรียญ​ทองแดง​แลว้ ​ ยัง​มี​เหรียญ​โลหะ​อืน่ ​ๆ​ร​ วม​ทั้ง​พระ​เน้ือ​ผง​​โ​ปสเตอร​์ ​​และ​ลกู ​แกว้ ​​​ซึ่งส​ รุป​ ไดด​้ งั น​ี้ luangpordu.com

๒๒๖ 226 ชนดิ จำนวน​ หมายเหตุ​ ๑​.​​เหรียญ​เนื้อ​​ ๒๔๐​​​ ใชท้​ องคำ​ชนดิ ​๙​ ๖​%​​แตล่ ะเ​หรียญ​มีน​ ้ำ​หนกั ​๙​ .๙​​ ทองคำ เหรียญ กรัม​​ให้ส​ ง่ั จ​ อง​เท่าร​ าคา​ทองคำ​รวม​ค่าก​ ำ​เหนจ็ ท​ ี่​ ช่าง​แกะ​พระค​ ดิ ​​คอื เ​หรียญ​ละ​๓​ ,๔๐๐​​บาท​ซ​ งึ่ ​ ใน​จำนวน​น้ี​​มี​๓​ ​เ​หรียญ​ทค​่ี ุณว​ ร​ วิ​ทย์​ส่ัง​ทำพเิ ศษ​​ แตล่ ะ​เหรียญม​ ​ีน้ำห​ นัก​​๑​บ​ าท​​ ​๒​.​​เหรียญ​เนอ้ื ​ ๑,๐๓๗​​ ใ​ห้​สง่ั จ​ อง​เทา่ ร​ าคาท​ ช​่ี ่างแ​ กะพ​ ระ​คดิ ​​คือ​ เงิน เหรียญ เ​หรยี ญล​ ะ​๑​ ๓๐​​บาท​ ๓​.​​เหรยี ญ​เนื้อ​ ๑๐,๐๐๐​​ ไ​มน​่ บั เ​หรยี ญท​ ช​่ี า่ งแ​ กะพ​ ระป​ มั๊ เ​กนิ ม​ าอ​ กี จ​ ำนวน​๕​ ๐๐​ ทองแดง​ เหรียญ เหรยี ญ​ ซ​ ง่ึ เ​หรยี ญเ​นอ้ื ท​ องแดง​น​้ี ไ​ม​่ไดเ​้ ปิด​ให้​สงั่ จ​ อง​​ เพราะเ​ป็น​สว่ น​ท่ี​มี​เจตนาไ​วแ้​ จกแ​ ก่ผ​ ​ปู้ ฏบิ ัต​ธิ รรม​​ ​๔​.​​เหรยี ญ​เน้อื ​ ๑,๐๐๐​​ ไม่น​ ับ​เหรยี ญท​ ​่ีมี​ข้อความ​​“​หลวงป​ทู่ วด​ฯ”​ ​​อีก​ ตะก่ัว เหรยี ญ จำนวน​​๔๐๐​เ​หรียญ​เ​พราะเ​จตนา​เดิม​ไ​ม​ใ่ ห​ม้ ี​ ข้อความ​“​หลวงป​ทู่ วดฯ​ ”​ ​บ​ น​เหรียญ​เน้ือต​ ะก่วั ​​ ห​ มายเหต​ุ ​เ​นอื้ ​ตะก่ัวท​ ีใ​่ ช​้ ไ​ดผ​้ สมพ​ ลวงป​ ระมาณ​​ ​๗%​ ​​เพอ่ื เ​พม่ิ ​ความแ​ กรง่ ​และ​ความม​ นั ว​ าว ​๕​.​​เน้ือผ​ ง ๕,๐๐๐​​ ใ​ช​้ผงม​ วลสารท​ ำจ​ ากว​ ่าน​๑​ ๐๘​​ซง่ึ ​หลวงป​ ​ดู่ ​อู่ ธษิ ฐาน​ (ร​ ปู ท​ รง​๔​ ​​ องค์ ให้​​ในจำนวน​น้ี​ม​ ​ี ๓​ ๖๐​อ​ งค์​​ท่​บี รรจพ​ุ ระ​ธาตุ​​​แต่​ เหลยี่ ม ข​ อบ ​ ​ มนเ​ลก็ ​นอ้ ย)​ เปน็ ​ท​่ีน่าเ​สียดาย​ท่ี​พระ​ผงจำนวน​กว่า​​๑,๐๐๐​อ​ งค​์ ​ ชำรุด​ระหวา่ งก​ ารข​ นสง่ ​​เน่อื งจาก​ความร​ บี ​เร่งขนสง่ ​ ในข​ ณะท​ เ่​ี น้อื ​ผง​ยงั ​ไม​แ่ ห้งส​ นทิ ​ดี​ luangpordu.com

227 ๒๒๗ ​ ​สำหรับ​เหรียญ​เนื้อ​ทองคำ​และ​เน้ือ​เงิน​น้ัน​ ​ศิษย์​ของ​หลวง​ปู่​ท่าน​ หนง่ึ ไ​ดล​้ งเ​หลก็ จ​ ารบ​ นเ​หรยี ญก​ อ่ นท​ จ​่ี ะน​ ำเ​ขา้ พ​ ธิ ​ี น​ อกจากน​ ค​้ี ณะผ​ จ​ู้ ดั ส​ รา้ ง​ ยัง​ได้​จัด​ทำ​โปสเตอร์​หลวง​ปู่​ดู่​ใน​อิริยาบถ​ต่าง​ๆ​ ​บน​ฉาก​หลัง​รูป​ใบ​โพธิ์​​ ขนาด​​๑๐​x​ ​​๑๒​น​ วิ้ ​​อีกจ​ ำนวน​​๑๐,๐๐๐​แ​ ผน่ ​แ​ ละ​ลูกแ​ กว้ ​ใสเ​คลอื บ​ ปรอทบ​ างๆ​ ​อ​ กี จ​ ำนวน​๕​ ,๐๐๐​ล​ กู ​(​ไ​มร​่ วมล​ กู แ​ กว้ ช​ นดิ เ​คลอื บป​ รอทส​ สี นั ​ ต่างๆ​ ​​อีก​จำนวนป​ ระมาณ​​๕๐​​ลูก​)​ ​ ​ ๔​ ​.​​เหตุการณ​ใ์ น​วันพ​ ธิ ี​(​​วันองั คาร​ท​่ี ๒​ ๙​​สงิ หาคม​​พ​ ​.ศ​ ​.​๒​ ๕๓๒​)​ ​ ​เยน็ ว​ นั ​นน้ั ฝ​ น​ตกลง​มา​อยา่ ง​หนัก​ข​ ณะท​ ่​ขี า้ พเจ้าแ​ ละ​นอ้ งช​ ายข​ อง​ คณุ วร​ วท​ิ ยเ​์ รง่ ข​ บั ร​ ถฝา่ พ​ ายฝ​ุ น​เ​พอื่ จ​ ะน​ ำว​ ตั ถม​ุ งคลท​ เ​ี่ หลอื ​(​ส​ ว่ นม​ ากเ​ปน็ ​ พระ​เนื้อ​ผง)​​​ไป​ทก่​ี ุฏ​ขิ อง​หลวงป​ ู่ด​ ​ูใ่ ห้​ทนั ​พิธี​แ​ ต่​พอ​มาถ​ ึง​วัด​​ฝนก​ ็ห​ ยดุ ต​ ก​ ทอ้ งฟา้ แ​ จม่ ใส​มาก​​​ราวกบั ​วา่ ไ​ด​้ปัดเ​ป่าส​ งิ่ ส​ กปรกอ​ อก​ไป​จน​หมดส​ ้ิน​​ ​ เม่ือใ​กล​้เวลา​​๒​​ท่มุ ​ก​ ป​็ รากฏ​ว่า​ม​ผี ู้คนม​ าร​ ่วม​พธิ ีก​ นั ​จน​เต็มต​ ลอด​ พืน้ ที่​หน้าก​ ฏุ หิ​ ลวง​ปู​่ ​หลายค​ น​ได้​นำ​วตั ถมุ​ งคลส​ ว่ นต​ วั ​มา​รว่ ม​พธิ ​ีดว้ ยเ​ป็น​ จำนวน​มาก​ ​คุณ​ว​รวิ​ทย์​ได้​เปิด​กล่อง​พร้อม​นำ​ตัวอย่าง​วัตถุ​มงคล​ท่ี​จัด​ทำ​ แตล่ ะ​ชนดิ อ​ อก​ให​ห้ ลวง​ปไ​ู่ ดช​้ ม​ทง้ั ​เนอ้ื ท​ องคำ​​เงนิ ​​ทองแดง​​ตะกว่ั ​พ​ ระผง​ โปสเตอร​์ ​และ​ลกู แ​ กว้ ​​ พอถ​ งึ เ​วลา​๒​ ​ท​ มุ่ ​ห​ ลวงป​ เ​ู่ รมิ่ อ​ ธษิ ฐานจ​ ติ ​อ​ ญั เ​ชญิ บ​ ารมพ​ี ระพทุ ธเจา้ ​ ทง้ั แ​ สนโ​กฏจ​ิ กั รวาล​ร​ วมท​ งั้ บ​ ารมค​ี รบู าอ​ าจารยแ​์ ละส​ ง่ิ ศ​ กั ดส​ิ์ ทิ ธท​ิ์ งั้ ห​ ลาย​ มา​ประดิษฐาน​ท่ี​วัตถุ​มงคล​ ​และ​หลวง​ปู่​ได้​ตั้ง​จิต​อธิษฐาน​ให้​สว่าง​ไป​ท้ัง​ luangpordu.com

๒๒๘ 228 สาม​โลก​คือ พ​ รหม​โลก​เ​ทวโลก​​และ​มนษุ ยโ​ลก​สกั ค​ รหู่​ นง่ึ ห​ ลวงป​ ล​ู่ ืมตา​ ข้ึน​ ย​ กมอื ​ข้าง​ขวา​ขน้ึ ล​ ูบพ​ ระ​ทอี่​ ยเ​ู่ บือ้ งห​ นา้ ​ ​จากน้ันท​ ่านก​ บ​็ อกกล่าว​ขอ​ ให้​หลวง​ปู่ทวด​และ​เทวดา​ปก​ปัก​รักษา​วัตถุ​มงคล​นี้​ตลอด​ไป​ ​ให้​ปิด​ก้ัน​ภัย​ อนั ตรายท​ กุ อ​ ยา่ ง​​ พอเ​สรจ็ พ​ ิธี​​ทา่ น​ให​ผ้ ​ทู้ ีม่ า​ร่วม​งาน​ตัง้ จ​ ติ อ​ ุทศิ ​บญุ ไ​ป​ทั่ว​โดยร​ อบส​ ุด​ ขอบ​จกั รวาล​​อนนั ต​จกั รวาล​​หลัง​จากก​ ราบ​ลาห​ ลวง​ปแ​ู่ ล้ว​ค​ ุณว​ ร​ ว​ิทย​์ก็​ แจกจ​ า่ ยว​ ตั ถุม​ งคลใ​ห​้กบั ต​ วั แทนห​ ม​ู่คณะ​หลายค​ น​ ส​ ำหรบั ​มอบต่อใ​หก​้ บั ​ ผ​ู้ทเี่ หมาะ​สมใน​โอกาส​ตอ่ ไ​ป​​ ​ ๕.​​ท​ ำไม​จงึ ช​ อื่ ว​ า่ ร​ ุ่น​เปดิ โ​ลก​ ​ เ​ชา้ ว​ นั ร​งุ่ ข​ นึ้ ​ไ​ดม​้ ล​ี กู ศ​ ษิ ยห​์ ลวงป​ ท​ู่ เ​ี่ ปน็ น​ กั ป​ ฏบิ ตั บ​ิ างค​ น​ซ​ งึ่ ไ​มไ​่ ดม​้ า​ รว่ ม​งาน​​ไดก​้ ราบ​เรยี นห​ ลวงป​ ู​่ว่า​เมื่อ​คืนไ​มร่ ทู้​ ​่ีวัด​สะแก​ม​อี ะไร​​กำหนดจ​ ิต​ ดเ​ู หน็ ห​ ลวง​ปู่ทวดล​ อยอ​ ย​ู่เตม็ ท​ ้องฟ้า​วดั ​สะแก​​ หลวงป​ เ​ู่ ลา่ ใ​หศ​้ ษิ ยผ​์ น​ู้ น้ั ​ร​วมท​ งั้ ล​ กู ศ​ ษิ ยค​์ นอ​ นื่ ๆ​ ​ฟ​ งั เ​กย่ี วก​ บั เ​รอ่ื งท​ ม​่ี ​ี คณะ​ศิษย์​มาข​ อใ​หท​้ า่ น​อธษิ ฐานจ​ ติ เ​หรียญห​ ลวง​ปทู่ วดเ​มื่อค​ ืน​​แลว้ ท​ ่าน​ก​็ พดู เ​ปรย​ๆ​​ข้นึ ​ว่า​“​ ​เม่ือค​ ืน ​ข้า​เสก​ให​แ้ บบเ​ปิดส​ าม​โลก​เลยน​ ะ​”​​นีเ่ อง​​น่า​ จะเ​ปน็ ท​ มี่ าข​ องก​ ารพ​ ดู ป​ ากต​ อ่ ป​ ากก​ ระทงั่ ก​ ลายม​ าเ​ปน็ ช​ อื่ ร​ นุ่ ว​ า่ ​“​ ร​นุ่ เ​ปดิ ​ สาม​โลก”​ ​​หรือ​เรยี ก​ส้ัน​ๆ​ว​ ่า​​“​ รนุ่ ​เปิดโ​ลก​”​ ​ luangpordu.com

229 ๒๒๙ ๖.​​ว​ ตั ถุม​ งคลร​ นุ่ เ​ปดิ ​โลกม​ ​คี วามศ​ กั ดิส์​ ทิ ธิ์ก​ วา่ พ​ ระ​รนุ่ อ​ ่ืนจ​ ริงห​ รอื ​ ​ ​แม้ว่า​วัตถุ​มงคล​รุ่น​ ​“​เปิด​โลก​”​ ​น้ี​ ​จะ​ได้​รับ​การ​อธิษฐาน​จิต​คร้ัง​ ใหญ่​ครั้ง​สุดท้าย​ของ​หลวง​ปู่​ดู่​ ​พรหม​ปัญโญ​ ​วัด​สะแก​ ​กล่าว​คือ​ท่าน​ได้​ เมตตา​อธิษฐาน​จิต​ก่อน​ท่ี​ท่าน​จะ​มรณภาพ​ประมาณ​ ​๔​ ​เดือน​เศษ​ ​และ​ มี​ผู้คน​จำนวน​ไม่​น้อย​ที่​ช่ืน​ชอบ​และ​ศรัทธา​ถึง​ขนาด​พูด​ว่า​วัตถุ​มงคล​รุ่น​น้ี​ ดท​ี สี่ ดุ ​ศ​ กั ดส​ิ์ ทิ ธท​์ิ ส่ี ดุ ​แ​ ตใ​่ นท​ ศั นะข​ องผ​ ส​ู้ รา้ ง​ร​วมถ​ งึ ศ​ ษิ ยก​์ รรมฐ​ านห​ ลายๆ​ ท่าน​ม​ ไิ ด​ค้ ดิ ​เชน่ น​ ้ันเ​ลย​​เพราะเ​หต​ุทหี​่ ลวง​ป่เ​ู คย​พดู ​ให้พ​ วก​เราฟ​ งั ว​ า่ ​เ​วลา​ ท​่ีทา่ นต​ ้ังจ​ ิต​อธษิ ฐาน​พระ​น้ัน​น​ อกจาก​ทา่ น​จะ​ส่งก​ ระแส​จิตอ​ ญั ​เชญิ พ​ ุทธ-​ คณุ ​​ธรรม​คณุ ​ส​ งั ฆ​คุณ​​บรรจุ​เขา้ ใ​น​วตั ถ​ุมงคล​ดัง​กลา่ ว​แล้ว​​ทา่ นย​ งั ​เผื่อแ​ ผ​่ ไป​ถึง​วัตถุ​มงคล​ร่นุ ก​ อ่ น​หนา้ ​ทง้ั หมดข​ องท​ า่ น​​ไม่​ว่าว​ ตั ถมุ​ งคลน​ ั้นจ​ ะอ​ ย​ู่ ณ​ ​ ท​่ีใดก​ ็ตาม​​ ดังน​ ้นั ​​เมอ่ื ท​ ราบ​ความ​ตามน​ แ​้ี ล้ว​​ก็ข​ อใ​หผ​้ มู​้ ี​วตั ถุ​มงคลข​ องห​ ลวงป​ู่ รุน่ ​ใด​ๆ​ก​ ต็ าม​​ขอไ​ด​้โปรดอ​ ยา่ ​หวนั่ ​ไหว​ไป​ตามค​ า่ น​ ยิ มท​ ตี่​ ลาด​เขาแ​ ตง่ แ​ ต้ม​ ให้​เลย​ ​และ​เหนืออื่นใด ขอท่านโปรดอย่าลืม​ระลึก​ถึง​พระ​ที่​หลวง​ปู่​ให้​ ความ​สำคญั ​สงู สดุ ​ท​ ​ีห่ ลวงป​ ​่เู รียกว​ ่า​“​ พ​ ระ​เก่า​​พระ​แท​้”​น​ ่ัน​ก​ค็ อื ​จ​ ติ ​ท​่ี ฝกึ ฝนอ​ บรมด​ แี ลว้ น​ น่ั เอง​เ​พราะพ​ ระองคน​์ เ​ี้ ทา่ นนั้ ท​ จ​ี่ ะเ​ปน็ ท​ พ​่ี งึ่ ท​ เ​ี่ ทยี่ งแ​ ท​้ แน่นอน​ของเ​รา​ทุก​คน​​ พระ​ภายนอกท่ีหลวงปู่สร้างข้ึน​ ​ก็​ล้วน​ต้องการใช้เป็นเคร่ืองมือ​ที่​ จะ​โยง​เขา้ หา​การ​สรา้ งพ​ ระ​ภายใน​ให​เ้ กิดใ​ห​ม้ ​ีขน้ึ ​​หาก​ปราศ​จาก​การ​สรา้ ง​ พระภ​ ายในแ​ ลว้ ไ​ซร​้ ก​ ารม​ พ​ี ระภ​ ายนอก​แ​ มม​้ ากเ​ทา่ ใดก​ ย​็ งั ไ​มไ​่ ดช​้ อ่ื ว​ า่ เ​ปน็ ​ luangpordu.com

๒๓๐ 230 ผู้​ปลอดภัย​อย่าง​แท้จริง​ ​อีก​ทั้ง​ยัง​ไม่​นับ​ ​ว่า​รู้จัก​องค์​แท้​ของ​หลวง​ปู่​ ​ดัง​ท่ี​ ท่าน​กลา่ ว​เชิง​ทา้ ทาย​นักป​ ฏิบัตวิ​ ่า​ “​ ​ตราบ​ใดก็ตาม​ท่แ​ี ก​ยงั ​ไม​เ่ หน็ ​ความ​ด​ีในต​ ัว​​ก​็ยังไม​่นบั ​วา่ แ​ กร​ จู้ กั ​ข้า​ แ​ ต​ถ่ ้าเ​มอ่ื ​ใด​แ​ กเ​ริ่มเ​หน็ ค​ วาม​ดี​ใน​ตัวเ​องแ​ ลว้ ​เม่ือน​ น้ั ​..​.​​ขา้ จ​ ึง​ว่า​แ​ กเ​ร่มิ ​รู้จักข​ ้าด​ ขี​ ้นึ ​แล้ว​”​ ​ ​“พ​ อ”​ ​ luangpordu.com

231 ๒๓๑ ๑​ ๐๙​ ป​ ฏิบตั ​แิ บบ​โง่ๆ​ ​ นบั ​เปน็ เ​วลาท​ ่​ีค่อนข​ า้ งย​ าวนานท​ เ​ี ดียว​​กวา่ ท​ ่​คี ำพ​ ดู ​ท​ห่ี ลวงปดู่​ ​เู่ คย​ พูด​สอน​ว่า​ใน​เวลา​ปฏิบัติ​สมาธิ​ภาวนา​ ​ให้​ปฏิบัติ​แบบ​โง่ๆ​ ​นั้น​ ​จะ​ค่อย​ๆ​​ กระจา่ งช​ ัดข​ น้ึ ​เรื่อย​ๆ​ ​ การอ​ ่านม​ าก​ร​ มู้ าก​บ​ างค​ รง้ั ก​ ​เ็ ปน็ ด​ าบสอ​ ง​คม​เ​พราะใ​นด​ ้าน​หนงึ่ ​ การ​รู้มาก​ อาจ​ช่วย​ให้​สามารถ​มอง​เห็น​เส้น​ทาง​เดิน​​รวม​ท้ัง​เห็น​ส่ิง​ท่ี​ต้อง​ ระมดั ระวงั ​ล่วงห​ นา้ ​​ฯลฯ​ แ​ ตอ​่ กี ด​ า้ นห​ นง่ึ ​ก​ ารร​มู้ ากก​ จ​็ ะม​ าเ​ปน็ ต​ วั อ​ ปุ สรรคเ​สยี เ​อง​เ​ชน่ ​เ​ผลอ​ คิดว​ า่ ​ความ​ร​ู้ ​(ร​ ​ู้จำ​)​น​ น้ั ​เป็นป​ ญั ญา​(​​รูจ​้ ริง​)​เ​กิด​เปน็ ​ทิฏฐ​มิ านะป​ ิด​กั้นก​ าร​ ด​ ดู ซ​ บั ค​ วามร​ จ​ู้ ากภ​ ายนอก​น​ อกจากนี้ ยงั อาจเปน็ อปุ สรรคในข​ ณะป​ ฏบิ ตั ​ิ จิต​ภาวนา​นั้น​ ​เพราะการ​รู้มาก​น้ี​ก็​กลาย​เป็น​สิ่ง​รุงรัง​ใน​จิตใจ​ ​ใช้​ความ​คิด​ ผดิ ก​ าลเ​ทศะจ​ นก​ ลายเ​ปน็ น​ วิ รณข​์ ดั ขวางไมใ่ หจ้ ติ รวมเปน็ สมาธิ ค​ ดิ ไ​ปลว​่ ง​ หนา้ ต​ ามป​ ระสา​คนร​ ูม้ าก​บ้าง​​คอยใ​สช​่ ื่อ​เรยี กใ​หก​้ ับ​สภาวะต​ ่างๆ​​ทีก่​ ำลงั ​ ประสบบ​ ้าง​​คอย​สงสยั น​ ่ัน​น​บ่ี า้ ง​ ​ การ​รับร​ ​ู้หรอื ส​ มั ผสั ​จงึ ไ​ม​เ่ ปน็ ​ไปอ​ ยา่ ง​ตรงไ​ปต​ รง​มา​​แลว้ เ​จา้ ​ตวั ​ก็​ยงั ​ สำคัญ​ตัว​ว่า​กำลัง​คิด​พิจารณา​หรือ​มอง​ดู​สภาวะ​ต่างๆ​ ​ตาม​ความ​เป็น​จริง​​ luangpordu.com

๒๓๒ 232 ทงั้ ​ๆ​​ท่​ีของ​จริง​​“น​ ่งิ ​เป็นใ​บ”​้ ​​พอจ​ ิต​เขา้ ไป​ปรุง​แต่ง​จนร​ งุ รัง​ไปห​ มดแ​ ลว้ ​​จึง​ ยาก​ท่ี​จะ​ถอย​ออก​มา​ให้​เห็น​ไป​ตาม​สภาวะ​ที่​มัน​เป็น​อย่าง​ธรรมชาติ​ ​หาก​ แตเ่​ปน็ ไ​ปอ​ ย่าง​ทจ่​ี ิตเ​รา​อยาก​ให้ม​ ัน​เปน็ ​​ จึง​มา​ตระหนัก​ว่า “การ​ปฏิบัติ​แบบ​โง่ๆ” ท่ีหลวงปู่ท่านสอนนี้​ ส​ ำคญั ม​ าก​แ​ ละจ​ ะต​ อ้ งว​ างค​ วามร​ ต​ู้ า่ งๆ​ไ​วข​้ า้ งน​ อกเ​สยี ​ก​ ระทงั่ เ​พกิ สญั ญา ความ​ม่ัน​หมายว่า​เรา​ว่า​เขา​ ​ว่า​นั่น​ว่า​นี่​ออก​เสีย​ ​แล้วรู้​สิ่ง​ที่มา​กระทบ​ใจ​ ไปตามสภาวะท​ ี่มันเป็น ​ น​ี่แหละ​หนา​ห​ ลวงปดู่​ ่ถู​ ึงวา่ ​​ “​สอนค​ น​รูม้ าก​น​ ั้น​สอน​ยาก​ส​ ู้​สอน​เด็กๆ​​หรอื ​คนร​ ู้​น้อย​ไมไ่​ด”้​ ​ “​พอ”​ ​ luangpordu.com

233 ๒๓๓ ๑​ ๑๐​ พ​ ุทธค​ ุณ​กบั ก​ ารเ​ชค็ ​พระ​!​​ ​ คงไ​มม่ ใ​ี ครป​ ฏเิ สธว​ า่ ​พ​ ระพทุ ธช​ นิ ร​าชท​ จ​่ี งั หวดั พ​ ษิ ณโุ ลกน​ นั้ ม​ ค​ี วาม​ งามย​ ง่ิ ​เ​ปน็ อ​ งคพ​์ ระท​ ไ​่ี ดร​้ บั ก​ ารย​ กยอ่ งว​ า่ เ​ปน็ พ​ ระพทุ ธร​ปู ท​ ม​่ี ค​ี วามง​ดงาม​ ทส่ี ดุ ใ​นป​ ระเทศไ​ทย​ข​ า้ พเจา้ เ​องก​ ร​็ สู้ กึ เ​ชน่ น​ น้ั ​ครง้ั ห​ นง่ึ ใ​นช​ ว่ งเ​ทศกาลป​ ใ​ี หม​่ ขา้ พเจา้ ไ​ดห​้ าซ​ อ้ื ​ส​ .​ค​ .​ส​ .​​อ​ ยใ​ู่ นร​า้ น​แ​ ละไ​ดแ​้ ลเ​หน็ โ​ปสการด์ ภ​ าพพ​ ระพทุ ธ-​ ชิน​ราช​จึง​ได้​หยิบ​มา​ดู​ ​ขณะ​ท่ี​เพ่ง​มอง​ภาพ​อยู่​น้ัน​ ​ข้าพเจ้า​รู้สึก​เหมือน​มี​ พลังงานบ​ างอ​ ย่าง​วงิ่ ​ออกจ​ าก​ภาพ​เข้าส​ ่​ูตัว​ขา้ พเจา้ จ​ น​เกดิ ​ปีต​ขิ นลกุ ​น​ ำ้ ตา​ ไหล​เ​ป็นค​ วาม​รู้สึก​ท​่ชี ดั เจนท​ ้งั ​สอง​มือท​ ่​จี ับภ​ าพ​อยู​่ ​ เหตกุ ารณเ​์ ชน่ น​ ไ​้ี มเ​่ คยเ​กดิ ข​ น้ึ ม​ าก​ อ่ นเ​ลยใ​นช​ วี ติ ​ท​ ำใหข​้ า้ พเจา้ เ​กดิ ​ ความส​ งสยั แ​ ละส​ นใจใ​ครร​่ ข​ู้ นึ้ ม​ าท​ นั ท​ี ข​ า้ พเจา้ พ​ ยายามท​ บทวนเ​หตกุ ารณ​์ ทเ​่ี กดิ ข​ น้ึ ​พ​ บว​ า่ เ​หมอื นก​ บั เ​มอื่ ค​ รง้ั ท​ ห​ี่ ลวงปด​ู่ เู่ คยม​ อบพ​ ระบ​ ชู าใ​หข​้ า้ พเจา้ ​ เปน็ เ​หตกุ ารณข​์ ณะท​ ท​่ี า่ นย​ น่ื ส​ องม​ อื จ​ บั ท​ อ​่ี งคพ​์ ระพทุ ธร​ปู แ​ ละส​ วดม​ นตใ​์ หพ​้ ร​ ข้าพเจ้า​เองก​ ห​็ ลบั ตา​และ​ยื่นส​ อง​มือ​แตะ​ท่อี​ งค์​พระ​เชน่ ก​ ัน​ใ​นร​ ะหว่างน​ นั้ ​ รู้สึก​ว่า​มี​พลังงาน​บาง​อย่าง​วิ่ง​ออก​จาก​ท่าน​ผ่าน​องค์​พระพุทธ​รูป​เข้า​สู่​ตัว​ ขา้ พเจา้ ​และร​ ู้สกึ ส​ วา่ งไสว​ไป​หมด​ทง้ั ๆ​ ​​ทย​่ี งั ห​ ลับตา​อย่​ู เ​มอ่ื ท​ า่ นใ​หพ​้ รเ​สรจ็ ​ท​ า่ นม​ องข​ า้ พเจา้ แ​ ลว้ ว​ า่ ​แ​ ก​“เปน็ ” ด​ ​ี ข​ า้ พเจา้ ​ เรยี น​ถาม​ท่าน​วา่ ​หลวงปท​ู่ ราบไ​ด​้อย่างไร​ luangpordu.com

๒๓๔ 234 ​ ทา่ น​ตอบว​ ่า​“​ ม​ีปตี ​อิ อกจ​ ากข​ า้ ​​ไหลไ​ปท​ ​่แี กแ​ ลว้ ก​ลบั ​มา​หา​ขา้ ”​ ​ หลวงปู่​ได้​สอน​ข้าพเจ้า​ให้​หัด​จับ​พระ​ ​ซึ่ง​ใน​หมู่​ศิษย์​เรียก​กันเอง​ว่า​​ “เช็ค​พระ”​ ​วิธี​การ​คือ​ใช้​มือขวา​หรือ​ทั้ง​สอง​มือ​แตะ​ท่ี​ภาพ​พระ​ หรือ​กำ​ หากเ​ปน็ พ​ ระเ​ครอ่ื ง​ห​ รอื จ​ บั ท​ อ​ี่ งคพ​์ ระห​ ากเ​ปน็ พ​ ระพทุ ธร​ปู ​จากน​ น้ั ท​ ำจ​ ติ ​ ให้​นิง่ ​​และ​จะร​ ู้สกึ ส​ มั ผสั ไ​ดถ​้ งึ ​พุทธ​คุณ​ท​คี่ รบู า​อาจารย์​ท่าน​ไดอ้​ ธษิ ฐานไ​ว้​ ห​ ลวงปเ​ู่ คยเ​ลา่ เ​รอ่ื งก​ ารป​ ลกุ เ​สกพ​ ระใ​หฟ​้ งั ว​ า่ ​เ​รอ่ื งค​ งกระพนั ช​ าตร​ี นน้ั ท​ ำง​า่ ย​แ​ คข​่ นลกุ ก​ เ​็ หนยี วแ​ ลว้ ​แ​ คลว้ คลาดย​ งั ด​ ก​ี วา่ เ​พราะไ​มเ​่ จบ็ ต​ วั ​แ​ ต​่ ท่ี​ดี​ที่สุด​คือ​เมตตา ​เพราะ​แคล้วคลาด​ยัง​มี​ศัตรู​แต่​รอดพ้น​ได้​ ​ส่วน​เมตตา​ น้ัน​มแี​ ต่​คน​รัก ​ไม่ม​ศี ตั รู​​การ​เสก​พระใ​ห​้มพี​ ุทธค​ ุณท​ าง​เมตตา​จึงท​ ำไดย​้ าก​ ที่สดุ ​ ​ มี​เร่ือง​ปรากฏ​ใน​พระ​ธรรมบท​ว่า​ ​ใน​กรุง​ราชคฤห์​ ​เด็ก​คน​หนึ่ง​ไป​ เกบ็ ฟ​ นื ก​ บั บ​ ดิ า​โ​คท​ เ​ี่ ทยี มเ​กวยี นไ​ดห​้ นเ​ี ขา้ ไปใ​นเ​มอื ง บ​ ดิ าจ​ งึ ต​ ามโ​คเ​ขา้ ไป​ แต่​เวลา​จะ​ออก​จาก​เมือง​นั้น ​ประตู​ปิด​เสีย​แล้ว​จึง​ต้อง​ท้ิง​บุตร​น้อย​คน​ เดียว​ไว้​นอก​เมือง​นั้น​เอง​ ​ถึง​เวลา​กลาง​คืน​ขณะ​ท่ี​เด็ก​นอน​หลับ​ ​ได้​มี​พวก​ อมนุษย์​เข้า​มา​ทำร้าย​โดย​พา​กัน​ลาก​เท้า​ของ​เด็ก​น้ัน​ไป​มา​ ​เมื่อ​เด็ก​ตกใจ​ ต่ืน​ข้ึน​ก็​ระลึก​ถึง​พระพุทธเจ้า​แล้ว​ร้อง​ออก​มา​ว่า​ ​นะโม​พุทธ​ัส​สะ​ ​(​ข้า​ขอ​ นมัสการ​พระพุทธเจ้า​)​ ​พวก​อมนุษย์​ก็​ถอย​กลับ​ทันที​ ​ไม่​กล้า​ทำร้าย​เด็ก​ นน้ั อ​ กี ​ค​ วามท​ ราบถ​ งึ พ​ ระเจา้ ก​ รงุ ร​ าชคฤหจ​์ งึ เ​สดจ็ ไ​ปเ​ฝา้ ท​ ลู เ​รอ่ื งร​ าวน​ ต​้ี อ่ ​ พระพุทธเจา้ ​ ​ พระพทุ ธ​องค์​ทรง​รับส่งั ​ว่า​ก​ าร​ระลกึ ถ​ ึงพ​ ระองคน​์ ้ัน​ยัง​ไมพ​่ อ​​ต้อง​ luangpordu.com

235 ๒๓๕ ระลกึ ถ​ ึงพ​ ระธ​ รรม​​พระ​สงฆ​์ ​ตั้ง​สต​ิมน่ั ​​ไม​เ่ บยี ดเบยี น​ใคร​และม​ ีจ​ ิตเ​มตตา​ ดว้ ย​​พระพทุ ธ​พจนข​์ อ้ น​ ีเ้​องท​ ​่ีถอื เ​ปน็ ​หลกั ​ตอ่ ม​ าว​ า่ ​สิ่ง​ท​ีป่ อ้ งกนั ​อันตราย​ท่​ี ดท​ี ีส่ ุดน​ นั้ ค​ ือ​เ​มตตา​น​ น่ั เอง​ ​ ข้าพเจ้า​รู้สึก​ว่า การ​สอน​ของ​หลวงปู่​โดย​การ​ให้​เช็ค​พระ​เช่น​นี้​ เปน็ อ​ บุ ายว​ ธิ ก​ี ารฝ​ กึ ใ​หศ​้ ษิ ยไ​์ ดเ​้ กดิ ​พ​ ทุ ธา​ นส​ุ ต​ิ เ​พราะท​ กุ ค​ รงั้ ท​ จ​ี่ บั อ​ งคพ​์ ระ​ จิต​จะ​มี​อารมณ์​น้อม​ไป​สู่​ความ​เลื่อม​ใส​ศรัทธา​ใน​องค์​พระพุทธเจ้า​เสมอ​​ ทำให้​เราร​ ะลกึ แ​ ละท​ ำ​แตส​่ ่งิ ​ทดี​่ ​ี ​ มี​ลูก​ศิษย์​ของ​หลวงปู่​ที่​จับ​องค์​พระ​และ​สามารถ​สัมผัส​ถึง​พุทธ​คุณ​​ ไดเ​้ ลา่ ว​ า่ ​พระบ​ ชู าท​ ผ​ี่ า่ นก​ ารป​ ลกุ เ​สกม​ าแ​ ลว้ น​ นั้ ​ห​ ากเ​ดน่ ใ​นเ​รอ่ื งค​ งกระพนั ​ ชาตร​ี เ​มื่อจ​ บั ด​ ก​ู ็จ​ ะ​ม​ีอาการป​ ีต​ิขนลุกข​ น​พอง​สยอง​เกลา้ ​แ​ ต่​หาก​เดน่ ​ทาง​ เมตตา​ ​เม่ือ​จับ​ดู​ก็​จะ​มี​ปีติ​น้ำตา​ไหล​และ​บังเกิด​ความ​สงบ​เยือก​เย็น​ถึง​จิต​ ถึงใจ​ ​ ทำไม​หลวงปู่​จึง​สอน​เรื่อง​เช็ค​พระ​ ​ข้าพเจ้า​มา​ใคร่ครวญ​ดู​แล้ว​พบ​ ว่าน​อก​จาก​เพื่อ​ให้​เกิด​พุทธ​านุ​สติ​แล้ว​ ​หลวงปู่​ต้องการ​ให้​ศิษย์​แต่ละ​คน​ สามารถเ​ปน็ ป​ ระจกั ษพ​์ ยานแ​ กต​่ นเองไ​ด​้ ใ​หเ​้ ปน็ ​ป​ จั จตั ต​ งั ​ไ​ดร​้ เ​ู้ องเ​หน็ เอง​ เปน็ พ​ ยานใ​หต​้ นเองไ​ด​้ จ​ ะไ​ดเ​้ กดิ ค​ วามม​ น่ั ใจใ​นก​ ารป​ ฏบิ ตั ธ​ิ รรมย​ งิ่ ข​ นึ้ น​ นั่ เอง​ มิใช่​ให้​ไป​อวด​เด่น​อวดดี​ ​หรือ​อวด​คุณ​วิเศษ​ใน​ตัว​ ​หรือ​เที่ยว​ไป​เช็ค​พระ​ ใหผ้​ ้​อู ื่น​ซ​ ่ึง​จริงๆ​ ​แ​ ลว้ ​ห​ าก​ผู้อ​ ื่น​ยงั ​ทำไ​ม่​เป็น​​ถึงเ​ขา​จะ​บอกว​ า่ เ​ชือ่ อ​ ยา่ งไร​ โดย​ส่วน​ลึก​เขา​ก็​ยัง​มี​ความ​ลังเล​สงสัย​อยู่​น่ันเอง​ ​เพราะ​ไม่รู้​ไม่​เห็น​ด้วย​ ตนเอง​ luangpordu.com

๒๓๖ 236 ​ ปจั จบุ นั ม​ ผ​ี อ​ู้ า้ งต​ นเ​ปน็ ศ​ ษิ ยห​์ ลวงปด​ู่ แ​ู่ ละแ​ สดงค​ วามส​ ามารถใ​นการ​ เชค็ พ​ ระ​ไ​ม​ว่ า่ จ​ ะ​เปน็ ​พระเ​ครอ่ื ง​พ​ ระ​บชู า​ห​ รอื รปู เหมอื น​พระส​ งฆอ์ งคเ์ จา้ ​ วา่ ท​ ่านเ​หลา่ ​นน้ั ​มีค​ ณุ ​ธรรมใ​นร​ ะดับ​นน้ั ร​ ะดบั น​ ี​้ โ​ดย​หวังอ​ า​มิส​และ​ลาภผล​ ไมว่ ่า​จะ​โดยท​ าง​ตรงห​ รอื ​ทา​งอ้อ​ม​ ​การ​หลง​เช่ือ​ดัง​กล่าวอ​ าจ​นำท​ ่าน​ไป​สู​่ความ​เสียห​ าย​ ​ตั้ง​แต​่การ​เสีย​ ทรัพย​์ หรือ​หลง​ออกน​ อก​ล​ู่นอกท​ าง​ท​ี่พระพทุ ธเจ้า​ ​รวมท​ ั้งท​ ​ีห่ ลวงปดู​่ ​พู่ า​ ดำเนิน​ ​กระท่ัง​การ​ทำบาป​กรรม​จาก​การ​ไป​ปรามาส​ครู​อาจารย์​ที่​ท่าน​มี​ คณุ ธ​ รรมโ​ดยไ​มเ​่ จตนา​เ​พราะส​ งิ่ ท​ ห​่ี ลวงปด​ู่ พ​ู่ รำ่ ส​ อนน​ น้ั ​จ​ ะต​ อ้ งเ​ปน็ ไ​ปเ​พอื่ ​ การล​ ดละ​ความ​โลภ​ค​ วาม​โกรธ​​ความ​หลง​ท​ ิฏฐม​ิ านะ​​ความถ​ ือตวั ถ​ ือ​ตน​ จึง​เปน็ ​ขอ้ ​พึงพ​ ิจารณาร​ ะมัดระวงั ไ​ม​ใ่ ห้​ผดิ ท​ าง​ ​ luangpordu.com

237 ๒๓๗ ๑​ ๑๑​ ธ​ รรม​ท​ ำให้​ครบ​ ​แต่​ก่อน​เคย​แต่​ได้ยิน​ว่า​ธรรมะ​ทุก​ข้อ​ล้วน​พา​คน​ไป​ให้​ถึง​นิพพาน​ ได้​ ​ซึง่ ​ฟงั แ​ ลว้ ​ก​็นึก​คลอ้ ย​ตาม​ ​แต​่กอ็​ ดจ​ ะเ​ก็บค​ วามล​ งั เลส​ งสัยใ​น​บางส​ ว่ น​ ไวไ​้ มไ่​ด้​กระทั่ง​หลวงปู​ด่ ูพ่​ ูดถ​ ึง​​“​เมตตาพ​ าต​ กเ​หว”​ ​ป​ ระกอบ​กับ​คำ​สอน​ ของ​ทา่ นเ​จา้ ​คณุ อ​ าจารย​์ ​พระ​พรหมค​ ณุ าภรณ​์ (​ป​ ​.​อ​ ​.​ปย​ ตุ โ​ต)​​​ขยาย​ความ​ ใน​เร่อื ง​ทำนอง​เดียวกัน​น้​ี ​จึง​ค่อย​เกิด​ความ​กระจ่าง​และ​ตระหนัก​มาก​ข้นึ วา่ การ​ปฏบิ ัตธิ​ รรมท​ ี่ต​ ้อง​ม​ปี ญั ญา​กำกบั ​ในท​ ุกๆ​ ​​เรอื่ งท​ เ​ี ดยี ว​ ​ ดงั ท​ ห​่ี ลวงปย​ู่ กม​ าก​ ลา่ วเ​ตอื นข​ า้ งต​ น้ ​ซง่ึ “เ​มตตา”​ กเ​็ ปน็ ธ​รรมข​ อ้ ห​ นง่ึ ใ​นห​ มวดพ​ รหมว​ หิ าร​๔​ ​ซ​ งึ่ ป​ ระกอบด​ ว้ ย​เ​มตตา​ก​ รณุ า​ม​ ทุ ติ า​แ​ ละอ​ เุ บกขา​ ซง่ึ ช​ ว่ ยใ​หม​้ นษุ ยอ​์ ยร​ู่ ว่ มก​ นั อ​ ยา่ งผ​ าสกุ ​เ​พราะท​ า่ นส​ อนว​ า่ ​ก​ ารว​ างทา่ ท​ ต​ี อ่ ​ คน​ปก​ติ​ทัว่ ​ๆ​ไ​ป​ค​ อื ​​วาง​จิต​ไวด​้ ว้ ยเ​มตตา​​ส่วน​กับค​ น​ท​ีแ่ ย​่กวา่ ​เรา​​ก็​ตอ้ ง​ กรุณา​ ​ช่วย​เหลือ​สงเคราะห์​อะไร​ได้​ก็​พร้อม​จะ​ช่วย​เหลือ​เก้ือกูล​กัน​ ​ส่วน​ กับ​คน​ที่​ดี​กว่า​หรือ​ประสบ​ความ​สำเร็จ​ใน​ทาง​ท่ี​ชอบ​ที่​ควร​ ​เรา​ก็​มุทิตา คือพลอย​ยินด​ีกบั เ​ขา​ไปด​ ว้ ย​​จิตใจก​ ​็แชม่ ช​ นื่ เ​บิกบ​ าน​ไ​ม่ค​ บั แ​ คบ​ ​ แต่​ก็​มี​บาง​กรณี​ท่ี​ควร​วาง​อุเบกขา​ ​กล่าว​คือ​อย่า​เพ่ิง​แสดง​ความ​ เมตตา​ ​กรุณา​ ​หรือ​มุทิตา​ ​ออก​ไป​ ​โดย​ไม่​ได้​ใช้​ปัญญา​ไตร่ตรอง​ให้​ รอบคอบ​ luangpordu.com

๒๓๘ 238 ​ ตวั อยา่ งเ​ชน่ ​ก​ ารนำเ​งนิ ไ​ปช​ ว่ ยเ​หลอื ผ​ อ​ู้ นื่ ด​ ว้ ยเ​มตตาแ​ ละด​ ว้ ยก​ รณุ า​ โดยข​ าดก​ ารป​ ระมาณฐ​ านะก​ ำลงั ห​ รอื ค​ วามพ​ อด​ี ซ​ งึ่ น​ อกจากจ​ ะช​ ว่ ยเ​หลอื ​ ​ผู้​อ่ืน​ไม่​สำเร็จ​แล้ว​ก็​ยัง​พา​ครอบครัว​ตัว​เอง​เดือด​ร้อน​ไป​ด้วย​ ​น้ี​เรียก​ว่า​ เมตตาแ​ ละ​กรณุ าแ​ ต​ข่ าดอ​ เุ บกขา​ อ​ กี ต​ วั อยา่ งห​ นง่ึ ค​ อื ก​ ารน​ กึ ย​ นิ ดก​ี บั ค​ วามส​ ำเรจ็ ข​ องผ​ อ​ู้ น่ื ​โดยทค่ี วาม สำเร็จนั้นมิได้มาโดยชอบธรรม หากแต่มา​จาก​การ​เอา​รัด​เอา​เปรียบ​หรือ​ ทศุ ีล​​อยา่ งน​ กี​้ ็​ไม่ควรน​ ึก​ยนิ ดไี​ปก​ ับเ​ขา​ดว้ ย​จำตอ้ งวางอุเบกขา ​ อีกตัวอย่างหน่ึง หาก​ผู้​ท่ี​เป็น​ผู้​หลัก​ผู้ใหญ่​เอาแต่​ปฏิบัติ​ธรรมะ​ข้อ​ เมตตา​โดยขาดอเุ บกขา ส​ ังคมแ​ ละบ​ า้ น​เมอื งค​ ง​เตม็ ไ​ปด​ ้วย​ระบบ​อุปถมั ภ์​ เพราะ​เอาแต่​ช่วย​เหลือ​เพ่ือน​ฝูง​คน​รู้จัก​ ​โดย​ไม่​ปล่อย​ส่ิงต่างๆ ​ดำเนิน​ไป​ ตาม​กฎเ​กณฑ์หรือระเบยี บ​ทว่ี​ างเอา​ไว​้ ​ ผไ​ู้ มร​่ อบคอบเ​นน้ ป​ ฏบิ ตั ธ​ิ รรมข​ อ้ ใ​ดข​ อ้ ห​ นง่ึ แ​ ลว้ ล​ ะเลยธ​ รรมเ​ครอ่ื ง​ ประกอบ​ข้อ​อื่น​ๆ​ ​ก็​อาจ​ทำให้​ไม่ได้ผลดังท่ีหมาย ​น่ัน​ไม่ใช่​ว่า​ธรรมะ​เป็น​ เคร่ือง​มือ​ไม​่ดี​​หากแ​ ตเ​่ ปน็ ​ความ​บกพร่อง​ของ​ผใู้​ช้เ​ครอื่ ง​มือต​ า่ งห​ าก​ ​ แม้​ใน​การ​ปฏิบัติ​สมาธิ​ภาวนา​ก็​เช่น​กัน​ ​สัมมา​สมาธิ​ใน​มรรค​มี​องค์​ แปด​ห​ รอื ท​ ย​่ี น่ ยอ่ ม​ าเ​ปน็ ​ศ​ ลี ​ส​ มาธ​ิ แ​ ละป​ ญั ญาน​ นั้ ​ใ​นค​ ราวท​ น​่ี ำม​ าป​ ฏบิ ตั ​ิ จริง​ๆ​ ​ท่าน​ก็​ให้​ปฏิบัติ​ธรรม​ข้อ​อ่ืน​ๆ​ ​เพ่ือ​ให้​เกิด​ความ​ครบ​ถ้วน​เพียง​พอ​ ไม่​ผิด​พลาด​ ​กล่าว​คือ​ ​จาก​สัมมา​สมาธิ​ซึ่ง​ได้แก่ ​ความ​เพียร​ชอบ​ ​(​สัมมา​ วายามะ​)​ ​ความ​ระลึก​ชอบ​ ​(​สัมมา​สติ​)​ ​และ​ความ​ต้ังใจ​มั่น​ชอบ​ ​(​สัมมา​ สมาธิ​)​​นน้ั ​ท​ า่ นก​ ็​ให้​เพ่มิ ​ในเ​ร่ืองศ​ รทั ธาแ​ ละ​ปัญญา​เขา้ ไป​ด้วย​จ​ าก​สมั มา​ luangpordu.com

239 ๒๓๙ สมาธิ​​จงึ ​ขยายอ​ อกม​ า​ใน​ภาคป​ ฏบิ ัติเ​ป็นพ​ ละ​๕​ ​ไ​ดแ้ ก่​​ศรัทธา​​วิรยิ ะ​​สต​ิ สมาธ​ิ แ​ ละป​ ญั ญา​ซ​ ่ึง​สต​จิ ะเ​ป็น​องค์​ธรรม​ที่​สำคญั ท​ ีค​่ อย​ตรวจด​ ูใ​ห​้ศรัทธา​ กับ​ปัญญา​สมดุลก​ นั ​​รวม​ท้ังต​ รวจต​ ราใ​ห​้วิริยะแ​ ละส​ มาธมิ​ ี​ความส​ มดุลเ​ช่น​ เดยี วกัน​ ​ ผู้​ท่ี​เอาแต่​ใช้​ปัญญา​ครุ่นคิด​ ​หาก​ขาด​ศรัทธา​ ​ก็​ไป​ไม่​รอด​เพราะ​ หนทางด​ จ​ู ะแ​ หง้ แ​ ลง้ ​แ​ ละช​ วนใ​หอ​้ อ่ นล​ า้ ​ต​ รงก​ นั ข​ า้ ม​ผ​ ท​ู้ เ​ี่ อาแตศ​่ รทั ธาน​ ำ​ โดย​ขาดก​ าร​พิจารณาไ​ตร่ตรอง​ทาง​ปญั ญา​ก​็อาจ​ตกไ​ปส​ ูค่​ วาม​งมงาย​ห​ รือ​ ไป​ผิดท​ ศิ ​ผดิ ​ทาง​โดย​ไม่รู้ต​ ัว​ ​ ส่วน​ผู้​ท่ี​มี​ความ​เพียร​ใน​การ​ปฏิบัติ​ ​หรือ​เพียร​ใน​การ​หยิบยก​ธรรม​ ข้ึน​พิจารณา​โดย​ขาด​ปีติ​ ​ขาด​ความ​สงบ​ ​หรือ​ก็​คือ​ขาด​สมาธิ​จะ​พิจารณา​ อะไรก็​ไม่​ชัดเจน​อ​ กี ท​ งั้ ​อ่อน​ลา้ ​เ​หมือน​ผ้​ูไมไ่​ดอ้​ าหาร​ไม​ไ่ ดพ​้ ัก​ผ่อน​ที่​เพยี ง​ พอ​แ​ ต่​ถ้าส​ มาธ​มิ าก​เกนิ ​​โดย​ไม่ม​ีวิริยะม​ าช​ ่วยใ​หเ​้ กิดก​ ารท​ ำงานแ​ ละก​ าร​ เฝ้า​ระวัง​ของ​จิต​ ​ก็​มี​แนว​โน้ม​จะ​เป็น​จิต​ที่​ดำ​ด่ิง​หรือ​ตก​ภวังค์​ไม่รู้​เนื้อ​รู้ตัว​ ไดเ้​ช่น​เดยี วกนั ​ ​ ดงั น​ ้นั ​ก​ ลา่ ว​โดยส​ รปุ ก​ ค​็ ือ​​หลวงปท​ู่ า่ น​สอนใ​หป​้ ฏิบ​ ัตธิ รรม​อย่าง​มี​ ปัญญา​ ​โดย​นำ​เคร่ือง​มือ​ท่ี​พระพุทธเจ้า​ประทาน​มา​ให้​น้ันมาใช้​อย่าง​ครบ​ ถว้ น​ค​ รบห​ มวดค​ รบห​ ม​ู่ จ​ งึ จ​ ะส​ ามารถไ​ดร​้ บั ผ​ ลส​ ำเรจ็ จ​ ากก​ ารป​ ฏบิ ตั ธ​ิ รรม​ ตามท​ ท่ี​ ่าน​ม่งุ ​หวงั ​ ​“​พอ​”​ ​ luangpordu.com

๒๔๐ 240 ๑​​ ๑๒​​​ ​ ช​ า้ ง​มาไ​หว​ห้ ลวงป​ ู่ ​มี​เหตุการณ์​ที่​ค่อน​ข้าง​แปลก​อยู่​เรื่อง​หนึ่ง​ ​ซึ่ง​เกิด​ขึ้น​ใน​ราว​ปลาย​ ปี​​พ​.​ศ​.​​๒๕๓๒​​ก่อน​ท่​หี ลวง​ปจ​ู่ ะล​ ะ​สังขาร​เพยี ง​ไมถ​่ ึง​เดอื น​​กล่าว​คือ​ช​ ้าง​ ใหญ​เ่ ชอื ก​หน่ึงท​ ่ีเ​ดนิ ท​ าง​มาจ​ าก​จังหวดั ส​ รุ นิ ทร​์ เ​พอ่ื ม​ า​ร่วมพ​ ธิ คี​ ล้องช​ า้ ง​ท​ี่ เพนยี ดค​ ลอ้ งช​ า้ ง​จ​ งั หวดั พ​ ระนครศรอี ยธุ ยา​ข​ ณะเ​ดนิ ท​ างม​ าต​ ามถ​ นนส​ าย​ เอเชยี ​ถ​ งึ บ​ รเิ วณใ​กลท​้ างเ​ขา้ ว​ ดั ส​ ะแก​ช​ า้ งก​ แ​็ สดงอ​ าการไ​มอ​่ ยน​ู่ งิ่ ​จ​ นท​ ำให​้ คนข​ บั ร​ ถต​ อ้ งห​ ยดุ จ​ อด​พ​ อร​ ถจ​ อดน​ งิ่ ​ช​ า้ งเ​ชอื กน​ น้ั ก​ เ​็ ดนิ ล​ งจ​ ากร​ ถ​แ​ ลว้ ล​ ง​ ลุย​น้ำ​มา​ตาม​คลอง​ข้าวเม่า​ ​มุ่ง​หน้า​มา​ทาง​วัด​สะแก​ ​ควาญ​ช้าง​พยายาม​ ควบคุม​ช้าง​ด้วย​การ​เอา​ขอ​เหล็ก​สับ​บน​ศีรษะ​ช้าง​ ​กระทั่ง​เลือด​ไหล​ออก​ มา​ทางด​ ้าน​หนา้ ​​ถงึ ​กระน้ัน​ช​ ้าง​ก็ย​ ัง​ไม่ย​ อม​หยุด​ส​ ดุ ท้ายช​ า้ ง​ไดม​้ าข​ ึ้นท​ ี่ฝ​ ่ัง​ ตรงข​ า้ มว​ ดั ส​ ะแก​แ​ ลว้ ย​ กง​วงข​ น้ึ ล​ งเ​หมอื นจ​ ะแ​ สดงอ​ าการเ​คารพม​ าท​ างฝ​ งั่ ​ วดั ​สะแก​​ม​ีผู้นำค​ วาญช​ า้ ง​มาก​ราบ​หลวง​ป่​ูด่​ู ​แต​่ควาญ​ชา้ งน​ ้ัน​ยัง​มอี​ าการ​ ตกใจ​ถึง​ขนาด​ว่า​ร้องไห้​ออก​มา​เพราะ​ไม่​เคย​ประสบ​กับ​เหตุการณ์​เช่น​นี้​​ เขา​พูด​ด้วย​โทสะ​ว่า​ถ้า​ควบคุม​ช้าง​ไม่​ได้​ ​เขา​ก็​จะ​ไป​เอา​ปืน​ท่ี​สุรินทร์​มา​ยิง​ มัน​​แล้ว​คอ่ ยเ​อา​ศพม​ นั ​กลบั ไ​ป​​ ​ หลวง​ปู่​ให้​กำลัง​ใจ​แก่​ควาญ​ช้าง​ว่า​ ​ไม่​เป็นไร​หรอก​ ​เอา​น้ำมนต์​ไป​ รด​​เอา​ขา้ ว​ไปใ​หม​้ นั ​กิน​​มนั ​กจ็​ ะ​ค่อย​ๆ​ ​ด​ ​ีขึ้น​เอง​​แลว้ ส​ ่ิงท​ ี่ไ​มค​่ าด​คดิ ก​ ไ็ ด​้ luangpordu.com

241 ๒๔๑ เกดิ ข​ น้ึ ​ช​ า้ งน​ นั้ เ​มอ่ื ไ​ดร​้ บั น​ ำ้ มนตข​์ องห​ ลวงป​ ก​ู่ ม​็ อ​ี าการส​ งบล​ งจ​ รงิ ๆ​ ​แ​ ละท​ ​ี่ แปลกก​ วา่ น​ น้ั ค​ อื ช​ า้ งไ​มม่ อ​ี าการส​ นใจก​ ลว้ ย​อ​ อ้ ย​ท​ ม​ี่ ค​ี นเ​อาม​ าใ​ห​้ แ​ ตก​่ ลบั ​ เอาง​วง​ดูดข​ ้าวใ​น​กาละมงั ​ท​่ีหลวง​ปู่​ใหล้​ กู ศ​ ิษย​์จัดเ​ตรยี มใ​ห​้ ม​ นั ​ดดู ​แค​่ ๒​ ​-๓​ ​ ท​ีกห็​ มด​กาละมงั ​ช​ ้างอ​ ยู่ท​ ี่น​ ่นั ​ก​ ระท่ัง​งาน​ทีเ​่ พนียด​คล้องช​ ้างส​ ิ้นส​ ดุ ​แ​ ละ​ เหมอื นว​ า่ ม​ นั จ​ ะร​​ู้ ม​ นั ไ​ดเ​้ ดนิ ไ​ปร​วมก​ บั ห​ มช​ู่ า้ งท​ จ​่ี ะก​ ลบั จ​ งั หวดั ส​ รุ นิ ทร​์ โ​ดย​ ควาญ​ชา้ ง​ไม​ต่ อ้ งเ​อาข​ อสบั ​บงั คบั ​แตอ​่ ยา่ ง​ใด​​ ​มี​ลูก​ศิษย์​ที่​อยู่​ใน​เหตุการณ์​เล่า​ให้​ฟัง​ว่า​ ​หลวง​ปู่​ท่าน​ว่า​ ​“​ช้าง​มัน​ เห็น​แสง​สว่าง​ ​มัน​รู้​ ​มัน​จะ​มา​ไหว้​พระ​”​ ​บาง​คน​ก็ได้​ยิน​หลวง​ปู่​บอก​ว่า​ “พ​ วกแ​ กส​ ช​ู้ า้ งไ​มไ​่ ด​้ ช​ า้ งม​ นั ย​ งั ร​จู้ กั ม​ าส​ กั ก​ าระ​ ห​ ลวงป​ ทู่ วด”​ ​​บ​ า้ งไ​ดย้ นิ ​ หลวงป​ บ​ู่ อกว​ า่ ​“​ พ​ ระพทุ ธเจา้ ​ตอ้ งม​ ช​ี า้ ง”​ ​แ​ ละบ​ า้ งก​ ไ็ ดย​้ นิ ห​ ลวงป​ บ​ู่ อกว​ า่ ​ “​ชา้ ง​ยงั ม​ าอ​ ยู่ก​ ับขา้ ​ไม​่ได้​ต​ ้อง​ไปใ​ชเ้​วร​ใชก​้ รรมใ​ห้ห​ มดเ​สยี ​กอ่ น”​ ​​ฯลฯ​ เรอ่ื งร​ าวค​ วามล​ กึ ซ​ งึ้ จ​ ะเ​ปน็ อ​ ยา่ งไรก​ ย​็ ากท​ ใ​ี่ ครๆ​ ​จ​ ะร​ ไ​ู้ ด​้ แ​ ตท​่ วา่ ค​ วามบ​ าก​ บนั่ ​ของ​ช้างใหญ​่เชอื ก​น้นั ​ท​ ำให​้ผ​เู้ ขยี น​อดไ​ม​ไ่ ด้ท​จ่ี ะค​ รุ่นคิด​ถึงค​ ำ​สอน​ของ​ หลวง​ป​ู่ท​่ีวา่ ​“​ แ​ กเ​ชอื่ ​จริง​ไหมล​ ่ะ​”​​ ​ “แ​ กเ​ชอ่ื จ​ รงิ ไ​หมล​ ะ่ ”​ ​ม​ ค​ี วามห​ มายห​ ยาบล​ ะเอยี ดห​ ลายน​ ยั ​เ​ชน่ ​ก​ าร​ ที่​ชาว​พุทธ​จำนวน​ไม่​น้อย​ไป​ยึดถือ​ข้อ​ปฏิบัติ​อัน​จัด​ว่า​เป็น​สีลพต​ปรามาส​​ ประพฤติอ​ อกน​ อกท​ างพ​ ระพุทธ​ศาสนา​​ถอื เ​อาม​ งคลภ​ ายนอกย​ ง่ิ ก​ วา่ ก​ าร​ พัฒนา​ตน​ใหเ​้ ป็นท​ ่​พี ึ่ง​แก​่ตน​​ขา้ มค​ รูอ​ าจารย​์ ข​ า้ มพ​ ระพุทธเจ้า​​ก​ล็ ว้ น​แต​่ เพราะ​​“เ​ชื่อ​ไม่​จริง​”​ค​ วาม​ลงั เลส​ งสัย​ต่างๆ​ ​​ก​ล็ ้วน​มาจ​ าก​​“​เชอ่ื ไ​ม่จ​ รงิ ​”​ นัก​ปฏบิ ตั ​ิภาวนา​​พอล​ ม​หายใจจ​ ะด​ บั ​​เกิด​ตกใจ​​กลวั ต​ าย​​ถอนจ​ ากส​ มาธ​ิ luangpordu.com

๒๔๒ 242 ก็​เพราะ​​“​เช่ือไ​ม​จ่ ริง​”​​​ปฏบิ ัติธ​ รรม​แบบ​ไฟไ​หมฟ้​ าง​ชนิดข​ ยันก​ ็​ทำ​ข​ เ​้ี กียจ​ ก็​หยุด​ ​น่ัน​ก็​เพราะ​ ​“​เช่ือ​ไม่​จริง​”​ ​ ​การ​ท่ี​ไม่​สามารถ​รักษา​ความ​บาก​บ่ัน​ พากเพียร​ ​หรือ​ไม่​สามารถ​รักษา​ใจ​ไม่​ให้​ย่อท้อ​ต่อ​อุปสรรค​ใด​ๆ​ ​ก็​เพราะ​​ “​เชื่อ​ไม่จ​ รงิ ”​ ​​​การที่ต้ังอ​ ยใ​ู่ นค​ วาม​ประมาท​​มิไดร้​ ะลึก​ถึง​ภยั ค​ ือ​ความแ​ ก่​ ความเ​จ็บ​​ความต​ าย​​ก็เ​พราะ​​“เ​ช่ือ​ไมจ่​ ริง​”​ฯ​ ลฯ​ มนิ า่ ล​ ะ่ ​ห​ ลวงป​ จ​ู่ งึ ม​ กั ถ​ ามล​ กู ศ​ ษิ ยเ​์ ปน็ เ​ชงิ ใ​หพ​้ จิ ารณาต​ นเองอ​ ยบ​ู่ อ่ ย​ ครัง้ ว​ ่า​​“​แกเ​ช่ือจ​ ริง​ไหมล​ ่ะ​”​​ น​่ีถ้าพ​ า​กัน​เช่ือ​คณุ พ​ ระพุทธ​​พระธ​ รรม​พ​ ระส​ งฆ​์ ​กนั ​จริงๆ​ ​ค​ วาม​ องอาจ​กล้า​หาญ​ใน​การ​ปฏิบัติ​ธรรม​เพื่อ​บูชา​คุณ​ความ​ดี​ของ​หลวง​ปู่​ ​ก็​คง​ พอ​ชว่ ย​ให้​ไม่​ต้องอ​ าย​ชา้ งเ​ชอื ก​น้ไี​ด้เ​ป็น​แน่​​ ​​​​​​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ “​ ​พอ”​ ​ ​​ luangpordu.com


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook