Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตามรอยธรรมย้ำรอยครู หลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ

ตามรอยธรรมย้ำรอยครู หลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ

Published by Thalanglibrary, 2020-12-15 02:03:48

Description: ประวัติและคติธรรมคำสอนของพระพรหมปัญโญหรือหลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ วัดสะแก อ.อุทัย จ.พระนครศรีอยุธยา

Search

Read the Text Version

luangpordu.com

ตามรอยธรรมย้ำรอยครู หลวงปดู่ ​ู่ พ​ รหม​ปัญโญ ประวัต​ิและคติธรรมคำสอนของหลวงปดู่ ู่​​พรหม​ปัญโญ สงวนลขิ สิทธิ์ พมิ พแ์ จกเป็นธรรมทาน ห้ามคดั ลอก ตดั ตอน หรือนำไปพมิ พ์จำหน่าย ฉบบั ปรบั ปรงุ พมิ พค์ ร้งั ท่ี ๑ : ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ จำนวน ๕,๐๐๐ เลม่ เออื้ เฟ้ือภาพ : มานพ เลศิ อิทธิพร กนก สุริยสตั ย์ จดั ทำโดย : กลมุ่ เพ่อื นธรรมเพอื่ นทำ พรสทิ ธ ์ิ อุดมศลิ ป์จินดา วิชชุ เสรมิ สวสั ดิ์ศรี เมธา พรพิพัฒน์ไพศาล นศิ า สวุ รรณสุขโรจน์ ปฏิภัทร ปัจฉมิ สวสั ด์ ิ ศลิ ปกรรม : ARTISTIC GROUP โทร. ๐๘๑-๙๒๒-๑๓๕๑ โทรสาร ๐๒-๘๘๔-๓๕๓๖ ดำเนนิ การพิมพ์ บรษิ ัท คิว พรน้ิ ท์ แมเนจเมน้ ท์ จำกัด โทร. ๐๒-๘๐๐-๒๒๙๒, ๐๘๔-๙๑๓-๘๖๐๐ โทรสาร ๐๒-๘๐๐-๓๖๔๙ luangpordu.com Dhammaintrend รว่ มเผยแพรแ่ ละแบง่ ปันเป็ นธรรมทาน

สารบัญ ๑ ๒๙ ประวัต​ิหลวงปดู่ ู่​พ​ รหมป​ ัญโญ ๓๐ คตธิ รรมคำสอนของหลวงปู่ด​ู่ พ​ รหมป​ ญั โญ ๓๑ ๑. สมมุตแิ ละวิมตุ ิ ๓๒ ๒. อปุ มาศีล สมาธิ ปัญญา ๓๓ ๓. หนง่ึ ในส่ี ๓๔ ๔. อานิสงสก์ ารภาวนา ๓๕ ๕. แสงสว่างเปน็ กิเลส ๓๖ ๖. ปลกู ต้นธรรม ๓๗ ๗. วดั ผลการปฏบิ ตั ิด้วยสิ่งใด ? ๓๘ ๘. เทวทูต ๔ ๓๙ ๙. อารมณอ์ ัพยากฤต ๔๐ ๑๐. ตรี โท เอก ๔๑ ๑๑. ต้องสำเร็จ ๔๒ ๑๒. จะเอาโลกหรอื เอาธรรม ๔๔ ๑๓. แนะวธิ ีปฏบิ ัติ ๔๕ ๑๔. การบวชจติ -บวชใน ๔๖ ๑๕. ควรทำหรือไม่ ? ๔๗ ๑๖. การอุทิศส่วนกศุ ลภายนอกภายใน ๔๘ ๑๗. สติธรรม ๔๙ ๑๘. ธรรมะจากซองยา ๑๙. ธรรมะจากโรงพยาบาล luangpordu.com ๒๐. ของจริง ของปลอม

๒๑. คำสารภาพของศิษย์ ๕๐ ๒๒. ทรรศนะตา่ งกัน ๕๒ ๒๓. อุเบกขาธรรม ๕๓ ๒๔. ให้รจู้ ักบุญ ๕๕ ๒๕. อบุ ายวิธีทำความเพียร ๕๖ ๒๖. พระเกา่ ของหลวงปู่ ๕๗ ๒๗. ข้อควรคดิ ๕๘ ๒๘. ไมพ่ ยากรณ์ ๕๙ ๒๙. จะตามมาเอง ๖๐ ๓๐. แนะวิธวี างอารมณ์ ๖๑ ๓๑. อย่าพดู มาก ๖๒ ๓๒. เช่ือจริงหรอื ไม่ ? ๖๓ ๓๓. คดิ วา่ ไม่มีดี ๖๔ ๓๔. พระทคี่ ล้องใจ ๖๕ ๓๕. จะเอาดีหรอื เอารวย ๖๖ ๓๖. หลักพระพุทธศาสนา ๖๘ ๓๗. “พ” พาน ของหลวงปู่ ๖๙ ๓๘. การสอนของท่าน ๗๐ ๓๙. หัดมองช้นั ลึก ๗๑ ๔๐. เวลาเป็นของมีค่า ๗๒ ๔๑. ตอ้ งทำจรงิ ๗๓ ๔๒. ของจรงิ น้ันมอี ยู่ ๗๔ ๔๓. ลม้ ให้รีบลกุ ๗๕ ๔๔. สนทนาธรรม ๗๗ luangpordu.com

๔๕. ผู้บอกทาง ๗๘ ๔๖. อยา่ ทำเลน่ ๗๙ ๔๗. อะไรมีคา่ ทีส่ ดุ ๘๐ ๔๘. นายระนาดเอก ๘๒ ๔๙. เสกข้าว ๘๓ ๕๐. สำเรจ็ ทไ่ี หน ๘๔ ๕๑. เรารกั ษาศลี ศีลรกั ษาเรา ๘๕ ๕๒. คนดขี องหลวงปู่ ๘๖ ๕๓. ส้ันๆ กม็ ี ๘๗ ๕๔. แบบปฎบิ ตั ิธรรมหลวงปู่ดูเ่ ป็นเชน่ ใด ? ๘๘ ๕๕. บทเรียนบทแรก ๙๐ ๕๖. หนึง่ ในสี่ (อีกคร้งั ) ๙๓ ๕๗. วิธีคลายกลมุ้ ๙๕ ๕๘. อะไรได้ อะไรเสีย ๙๘ ๕๙. ความสำเร็จ ๑๐๐ ๖๐. อารมณข์ ันของหลวงปู่ ๑๐๒ ๖๑. ของหายาก ๑๐๓ ๖๒. คนหายาก ๑๐๕ ๖๓. ดว้ ยรักจากศิษย์ ๑๐๗ ๖๔. ดว้ ยรกั จากหลวงปู่ ๑๐๙ ๖๕. จิง้ จกทกั ๑๑๑ ๖๖. หลวงปกู่ บั ศษิ ย์ใหม่ ๑๑๓ ๖๗. คาถาของหลวงปู่ ๑๑๖ ๖๘. อยา่ ใหใ้ จเหมอื น... ๑๑๙ luangpordu.com

๖๙. วัตถุสมบตั ิ ธรรมสมบตั ๑๒๑ ๗๐. ทำไมหลวงปู่ ๑๒๓ ๗๑. “งาน” ของหลวงปู่ ๑๒๖ ๗๒. ขอเพยี งความร้สู ึก ๑๒๘ ๗๓. ปาฏิหาริย์ ๑๓๐ ๗๔. เรอื่ งบังเอิญทีไ่ มบ่ ังเอิญ ๑๓๓ ๗๕. คลืน่ กระทบฝั่ง ๑๓๕ ๗๖. หลวงปูบ่ อกข้อสอบ ๑๓๙ ๗๗. ตวั ประมาท ๑๔๒ ๗๘. ของโกหก ๑๔๔ ๗๙. ถงึ วดั หรอื ยงั ๑๔๕ ๘๐. รางวลั ทนุ ภูมพิ ล ๑๔๗ ๘๑. หลวงปทู่ วดชว่ ยชวี ติ ๑๔๙ ๘๒. ทามาก็อตจิ ๑๕๒ ๘๓. ไตรสรณาคมน์ ๑๕๕ ๘๔. ไม่พอดกี ัน ๑๕๘ ๘๕. ธรรมะจากสัตว์ ๑๖๐ ๘๖. สงั คมวปิ รติ ๑๖๒ ๘๗. เช้อื ด้อื ยา ๑๖๔ ๘๘. คณุ ธรรม ๖ ประการ ๑๖๖ ๘๙. ลงิ ติดตงั ๑๖๘ ๙๐. ปรารภเรือ่ ง “การเกดิ ” ๑๖๙ ๙๑. เมด อนิ วัดสะแก ๑๗๑ ๙๒. หลวงปูด่ ู่ หลวงป่ทู วด ๑๗๓ luangpordu.com

๙๓. กรรมฐานพาลจติ เพีย้ น ๑๗๕ ๙๔. จะไปทางไหน ๑๗๙ ๙๕. ตเี หล็กรอ้ นๆ ๑๘๑ ๙๖. ครูพักลกั จำ ๑๘๓ ๙๗. ที่สุดแห่งทกุ ขเวทนา ๑๘๕ ๙๘. พุทธนมิ ิต ๑๘๙ ๙๙. หลวงปบู่ อกหวย ๑๙๒ ๑๐๐. อยากไดว้ ตั ถมุ งคลของหลวงปู่ ๑๙๖ ๑๐๑. เห็นแล้วไมห่ ัน ๒๐๐ ๑๐๒. เปรียบศลี ๒๐๓ ๑๐๓. บทเรียนทางธรรม ๒๐๔ ๑๐๔. พลิกชีวติ ๒๐๙ ๑๐๕. บาป ๒๑๒ ๑๐๖. ความเมตตาและขนั ติธรรมของหลวงปู่ ๒๑๕ ๑๐๗. หลวงปตู่ ายแล้วต้องลงนรก ? ๒๑๗ ๑๐๘. ท่มี า​ของ​วตั ถ​ุมงคล​รุ่น​​“เ​ปิดโ​ลก​” ๒๒๑ ๑๐๙. ปฏิบัติแบบโง่ๆ ๒๓๑ ๑๑๐. พทุ ธคณุ กบั การเชค็ พระ ! ๒๓๓ ๑๑๑. ธรรม ทำใหค้ รบ ๒๓๗ ๑๑๒. ช้างม​ าไ​หว้ห​ ลวง​ปู่ ๒๔๐ ภาคผนวก ๒๔๔ • คาถาบูชาพระ ๒๔๕ • คำสมาทานพระกรรมฐาน luangpordu.com

luangpordu.com

1 ๑​ ประวัตห​ิ ลวงป่ดู ​ู่ พ​ รหมป​ ญั โญ​ ช​ าต​ิภมู ​ิ ​ พระคณุ เ​จา้ ​หลวงปู่ด​ู่ พ​ รหม​ปญั โญ​​มี​ชาติ​กำเนิด​ใน​สกุล​“​ หนศ​ู รี”​ เดมิ ช​ อ่ื ​​ด​ู่ เกดิ ​เมอ่ื ​วนั ท​ ​่ี ๒​ ๙ เมษายน​​พ.​ศ​ ​.​๒๔๔๗​​ตรง​กบั ​วนั ศ​ กุ รข​์ น้ึ ​๑​ ๕​​คำ่ ​ เดือน​​๖​​ป​ีมะโรง​​ซงึ่ ​ตรงก​ บั ​วนั ​วสิ าข​บูชา​ณ​ ​บ​ า้ นข​ ้าวเม่า​ต​ ำบลข​ ้าวเม่า​ อำเภอ​อุทยั ​​จังหวดั ​พระนครศรีอยุธยา​ ​ โยมบ​ ดิ าช​ อ่ื ​พ​ ดุ ​โ​ยมม​ ารดาช​ อ่ื ​พ​ มุ่ ​ท​ า่ นม​ พ​ี น​่ี อ้ งร​ว่ มม​ ารดาเ​ดยี วกนั ​ ๓​ค​ น​​ทา่ นเ​ป็น​บตุ ร​คน​สดุ ท้าย​​มี​โยม​พสี่​ าว​๒​​คน​ม​ ชี ือ่ ​ตาม​ลำดบั ​ดังน้​ี ​ ๑​.​พ​ ี่​สาวช​ ื่อ​ท​ องคำ​​ส​ุนิมติ ร​ ​ ๒​.​​พี่​สาว​ชอ่ื ​ส​ มุ่ ​พ​ ่ึง​กุศล​ ​ ๓​.​​ตวั ​ท่าน​ ป​ ฐมวยั แ​ ละก​ าร​ศกึ ษา​เบอ้ื ง​ตน้ ​ ​ ชวี ติ ใ​นว​ ยั เ​ดก็ ข​ องท​ า่ นด​ จ​ู ะข​ าดค​ วามอ​ บอนุ่ อ​ ยม​ู่ าก​ด​ ว้ ยก​ ำพรา้ บ​ ดิ า​ มารดาต​ ง้ั แ​ ตเ​่ ยาวว​์ ยั ​น​ ายย​ วง​พ​ งึ่ ก​ ศุ ล​ซ​ ง่ึ ม​ ศ​ี กั ดเ​ิ์ ปน็ ห​ ลานข​ องท​ า่ น​ไ​ดเ​้ ลา่ ​ ให​้ฟังว​ า่ ​​บิดาม​ ารดา​ของ​ทา่ นม​ อ​ี าชีพ​ทำน​ า ​โดยน​ อกฤ​ ด​ูทำ​นาจ​ ะ​ม​ีอาชีพ​ ทำข​ นมไ​ขม​่ งคลข​ าย​เ​มอื่ ต​ อนท​ ท​ี่ า่ นย​ งั เ​ปน็ เ​ดก็ ท​ ารก​ม​ เ​ี หตกุ ารณส​์ ำคญั ท​ ​่ี ควร​บันทกึ ​ไว​้ ค​ อื ​ในค​ นื ว​ ันห​ นงึ่ ซ​ ึ่งเ​ป็นห​ นา้ น​ ้ำ​ข​ ณะท​ ่บ​ี ดิ าม​ ารดา​ของท​ า่ น​ กำลงั ท​ อด​“​ ข​ นมม​ งคล”​ อ​ ยน​ู่ น้ั ​ท​ า่ นซ​ งึ่ ถ​ กู ว​ างอ​ ยบ​ู่ นเ​บาะน​ อกชานค​ นเ​ดยี ว​ ไม่​ทราบ​ด้วย​เหตุ​ใด​ตัว​ท่าน​ได้​กลิ้ง​ตกลง​ไป​ใน​น้ำ​ทั้งคน​ท้ัง​เบาะ​ ​แต่​เป็น​ท่ี​ luangpordu.com

๒2 อศั จรรย​์ยงิ่ ​ที​ต่ ัว​ท่าน​ไมจ่​ มน​ ้ำ​ก​ ลบั ​ลอย​นำ้ จ​ น​ไปต​ ิดอ​ ยข่​ู ้าง​ร้ัว ​กระทัง่ ​สนุ ขั ​ เลยี้ งท​ บ​่ี า้ นท​ า่ นม​ าเ​หน็ เ​ขา้ จ​ งึ ไ​ดเ​้ หา่ พ​ รอ้ มก​ บั ว​ ง่ิ ก​ ลบั ไ​ปก​ ลบั ม​ าระห​ วา่ งต​ วั ​ ทา่ นก​ บั ม​ ารดาท​ า่ น​เ​มอื่ ม​ ารดาท​ า่ นเ​ดนิ ต​ ามส​ นุ ขั เ​ลยี้ งอ​ อกม​ าจ​ งึ ไ​ดพ​้ บท​ า่ น​ ลอยน​ ำ้ ต​ ดิ อ​ ยท​ู่ ข​่ี า้ งร​ว้ั ​ซ​ ง่ึ เ​หตกุ ารณค​์ รง้ั น​ น้ั ท​ ำใหม​้ ารดาท​ า่ นเ​ชอื่ ม​ นั่ ว​ า่ ท​ า่ น​ จะต​ อ้ ง​เปน็ ​ผ​้มู บ​ี ญุ ว​ าสนาม​ าก​มา​เกิด​ ​มารดา​ของ​ทา่ น​ได​ถ้ งึ แก​ก่ รรม​ตง้ั ​แต​ท่ า่ น​ยงั ​เปน็ ​ทารก​อย​ู่ ตอ่ ​มา​บดิ า​ ของท​ า่ นก​ จ​็ ากไ​ปอ​ กี ข​ ณะท​ า่ นม​ อี ายไ​ุ ดเ​้ พยี ง​๔​ ​ข​ วบเ​ทา่ นน้ั ​ท​ า่ นจ​ งึ ต​ อ้ งก​ ำพรา้ ​ บดิ าม​ ารดาต​ ง้ั แ​ ตย​่ งั เ​ปน็ เ​ดก็ เ​ลก็ จ​ ำค​ วามไ​มไ​่ ด​้ ท​ า่ นไ​ดอ​้ าศยั อ​ ยก​ู่ บั ย​ าย​โดยม​ ​ี โยมพ​ ส​ี่ าวท​ ช​ี่ อื่ ส​ มุ่ เ​ปน็ ผ​ ด​ู้ แู ลเ​อาใจใ​ส​่ และท​ า่ นก​ ไ็ ดม​้ โ​ี อกาสศ​ กึ ษาเ​ลา่ เ​รยี น ​ ท่​ีวดั กลางค​ ลอง​สระบ​ วั ​​วัดป​ ระด่​ทู รงธรรม​แ​ ละ​วัด​นิเวศน์​ธรรม​ประวตั ​ิ ส่เ​ู พศพ​ รหม​จรรย์​ ​ เมอ่ื ท​ ่าน​อาย​ุได​้ ๒​ ๑​ป​ ​ี ​กไ็ ดเ​้ ข้า​พธิ ​ีบรรพชาอ​ ปุ สมบท​เม่ือ​วันท​ ี​่ ​๑๐​ พฤษภาคม​พ​ .​ศ​ .​​๒​ ๔๖๘​ต​ รงก​ บั ว​ นั อ​ าทติ ยแ​์ รม​๔​ค​ ำ่ ​เ​ดอื น​๖​ ​ณ​ ​ว​ ดั สะแก​ ตำบลธ​น​ู อ​ ำเภออ​ ทุ ยั ​จ​ งั หวดั พ​ ระน​ ครศ​ รอี ยธุ ยา​โ​ดยม​ ห​ี ลวงพ​ อ่ ก​ ลน่ั ​เจา้ อ​ าวาส​ วดั ​พระ​ญาตกิ า​ราม​เป็น​พระอ​ ุป​ัชฌาย์​ม​ ห​ี ลวงพ​ อ่ แ​ ด​่ เ​จ้าอ​ าวาสว​ ดั ​สะแก​ ขณะน​ น้ั เ​ปน็ พ​ ระกรร​มว​ าจ​ าจ​ ารย​ ​์ แ​ ละม​ ห​ี ลวงพ​ อ่ ฉ​ าย​ว​ดั กลางค​ ลองส​ ระบ​ วั ​ เป็น​พระ​อน​ุสาวน​ าจ​ าร​ย์​​ได้​รับฉ​ ายา​ว่า​“​ ​พรหม​ปัญโญ​”​ ​ ใน​พรรษา​แรกๆ​ ​น้ัน​ ​ท่าน​ได้​ศึกษา​พระ​ปริยัติ​ธรรม​ท่ี​วัด​ประดู่​ ทรงธรรม​ซ​ งึ่ ใ​นส​ มยั น​ นั้ เ​รยี กว​ า่ ว​ ดั ป​ ระดโ​ู่ รงธ​ รรม​โ​ดยม​ พ​ี ระอ​ าจารยผ​์ ส​ู้ อน​ คอื ​​ท่านเ​จา้ ค​ ณุ เ​นือ่ ง​​พระครช​ู ม​แ​ ละห​ ลวงพ​ ่อร​ อด​​(เ​สอื )​​เ​ป็นตน้ ​ luangpordu.com

3๓ ​ ใน​ด้าน​การ​ปฏิบัติ​พระกร​รม​ฐาน​น้ัน​ ​ท่าน​ได้​ศึกษา​กับ​หลวง​พ่อ​ กลัน่ ​ผู้เ​ป็น​อปุ ชั​ ฌาย​์ ​และ​หลวงพ​ อ่ เ​ภา​​ศิษย์อ​ งค์ส​ ำคัญ​ของห​ ลวง​พ่อก​ ล่นั ​ ซ่ึง​มี​ศักด์ิ​เป็น​อา​ของ​ท่าน​ ​เมื่อ​ท่าน​บวช​ได้​พรรษา​ที่​สอง​ประมาณ​ปลาย​ปี​ พ​.​ศ​.​ ๒๔๖๙​ ​หลวง​พ่อ​กล่ัน​มรณภาพ ​ท่าน​จึง​ได้​ศึกษา​หาความ​รู้​จาก ​หลวง​พ่อ​เภาเปน็ ​สำคญั ​ ​นอกจาก​น​้ที า่ น​ยงั ​ได​้ศกึ ษา​จาก​ตำรบั ​ตำรา​ท​่มี ​ีอย่​ู ​ จาก​ชาดก​บา้ ง​ ​ จาก​ธรรมบท​บ้าง​ ​และ​ด้วย​ความ​ที่​ท่าน​เป็น​ผู้​ใฝ่รู้รัก​การ​ ศึกษา​ ​ท่าน​จึง​ได้เดิน​ทาง​ไป​ศึกษา​หาความ​รู้​เพิ่ม​เติม​จาก​พระ​อาจารย์​อีก​ หลายท​ า่ นท​ ่จี ังหวดั สุพรรณบรุ ี​และส​ ระบุร​ี ​ประสบการณธ​์ ุดงค​์ ​ ประมาณ​เดือน​พฤศจิกายน​ ​พ​.​ศ​.​ ​๒๔๘๖​ ​ออก​พรรษา​แล้ว​ท่าน​ก็​ เร่ิม​ออกเ​ดนิ ธ​ ุดงคจ​์ าก​จงั หวัด​พระนครศรีอยุธยา​​โดย​มเี​ปา้ ​หมาย​ท่ีป​ า่ ​เขา​ ทางแ​ ถบจ​ งั หวดั ก​ าญจนบรุ ​ี แ​ ละแ​ วะน​ มสั การส​ ถานท​ ส​่ี ำคญั ท​ างพ​ ระพทุ ธ-​ ศาสนา​​เชน่ ​​พระพุทธฉ​ าย​และร​ อย​พระพ​ ทุ ธบ​ าท​จ​ ังหวดั ​สระบุรี​​จากน​ ้นั ​ ทา่ น​ก​็เดนิ ธ​ ดุ งค​์ไป​ยัง​จงั หวัดส​ งิ ห์บรุ ี​ส​ พุ รรณบรุ ี​จ​ นถึงจ​ ังหวดั ก​ าญจนบรุ ​ี จงึ ​เขา้ พ​ กั ป​ ฏบิ ตั ​ติ ามป​ า่ เ​ขา​และ​ถำ้ ​ต่างๆ​ ​ หลวงปู่ดู่​ ​ท่าน​เคย​เล่า​ให้​ฟัง​ว่า​เร่ิม​แรก​ที่​ท่าน​ขวนขวาย​ศึกษา​และ​ ปฏบิ ตั ​นิ น้ั ​​แทจ้ รงิ ​มไิ ด​ม้ งุ่ ​เนน้ ​มรรคผล​นพิ พาน​​หาก​แต​ต่ อ้ งการ​เรยี น​ร​ใู้ ห​ไ้ ด้​ วิชา​ต่าง​ๆ​ ​เป็นต้น​ว่า​ ​วิชา​คงกระพัน​ชาตรี​ ​ก็​เพ่ือ​ที่​จะ​สึก​ออก​ไป​แก้​แค้น​ พวก​โจร​ที่​ปล้น​บ้าน​โยม​พ่อ​โยม​แม่​ท่าน​ถึง​ ​๒​ คร้ัง​ ​แต่​เดชะ​บุญ​ ​แม้​ท่าน​ จะ​สำเร็จว​ ชิ าต​ า่ งๆ​ ​ต​ าม​ที​่ตัง้ ใจไว้​ท​ ่านก​ ลับ​ไดค้​ ิด​น​ ึกส​ ลด​สงั เวชใ​จต​ ัวเ​อง​ luangpordu.com

๔4 ท่​ีปลอ่ ย​ให​้อารมณอ​์ าฆาตแ​ คน้ ท​ ำรา้ ย​จิตใจต​ นเองอ​ ย​่เู ป็นเ​วลา​นับส​ บิ ​ๆ​​ป​ี ใน​ที่สุด​ท่าน​ก็ได้​ตั้ง​จิต​อโหสิกรรม​ให้แก่โจรเหล่า​น้ัน​ ​แล้ว​มุ่งปฏิบัติฝึกฝน อบรมตน ตาม​ทางแหง่ ​ศีล​สมาธ​ิ แ​ ละ​ปัญญา​อ​ ยา่ ง​แท้จริง ​ ​ใน​ระหว่าง​ท่ี​ท่าน​เดิน​ธุดงค์​อยู่​น้ัน​ ​ท่าน​เคย​เล่า​ให้​ฟัง​ว่า​ได้​พบ ฝูง​ควาย​ป่า​กำลัง​เดิน​เข้า​มา​ทาง​ท่าน​ ​ท่าน​ต้งั ​สติ​อย่​ูคร่​ูหน่งึ ​จึง​ตัดสิน​ใจ​ อย่าง​เด็ด​เดี่ยว​ หยุด​ยืน​ภาว​นา​น่ิง​อยู่​ ​ฝูง​ควาย​ป่า​ที่​มุ่ง​ตรง​มา​ทางท่าน​ พอ​เข้า​มา​ใกล้​จะ​ถึง​ตัว​ท่าน​ ​ก็​กลับ​เดิน​ทักษิณา​รอบ​ท่าน​แล้ว​ก็​จากไป​​ บาง​แห่ง​ท่ี​ท่าน​เดิน​ธุดงค์​ไป​ถึง​ ​ท่าน​มัก​พบ​กับ​พวก​นักเลง​ท่ี​ชอบลอง​ของ​ คร้ัง​หน่ึง​ ​มี​พวก​นักเลง​เอา​ปืน​มา​ยิง​ใส่​ท่าน​ขณะ​นั่ง​ภาวนา​อยู่​ใน​กลด​ ท่าน​เล่า​ให้​ฟัง​ว่า​ ​พวก​น้ี​ไม่​เคารพ​พระ ​สนใจ​แต่​“​ของดี​”​ ​เมื่อ​ยิง​ปืน​ ไม่​ออก​ ​จึง​พา​กัน​มา​แสดง​ตัว​ด้วย​ความ​นอบน้อม​ ​พร้อม​กับอ้อนวอน​ ขอ​​“​ของด”ี​ ​​ทำให​้ท่านตอ้ งอ​ อกเ​ดนิ ​ธุดงคห์​ นี​ไปท​ างอ​ ื่น​ ​ การ​ปฏิบัติ​ของ​ท่าน​ใน​ชว่ ง​ธุดงค​์อย​ู่นน้ั ​ ​เปน็ ​ไป​อยา่ ง​เอา​จรงิ ​เอา​จงั ​ ยอม​มอบ​กาย​ถวาย​ชีวิต​ไว้​กับ​ป่า​เขา​ ​แต่​สุขภาพ​ธาตุ​ขันธ์​ของ​ท่าน​ก็​ไม่​ เป็นใจ​เสีย​เลย​ ​บ่อย​คร้ัง​ที่​ท่าน​ต้อง​เอา​ผ้า​มา​คาด​ที่​หน้า​ผาก​เพื่อ​บรรเทา​ อาการ​ปวด​ศีรษะ​ ​อีก​ท้ัง​ก็​มี​อาการ​เท้า​ชา​รุนแรง​ขึ้น​เร่ือย​ๆ​ ​แม้​กระน้ัน​​ ท่าน​ก็​ยัง​ไม่​ละ​ความ​เพียร​ ​สม​ดัง​ที่​ท่าน​เคย​สอน​ลูก​ศิษย์​ว่า​ ​“​นิพพาน​อยู่​ ฟากต​ าย”​ ​ใ​นก​ ารป​ ระพฤตป​ิ ฏบิ ตั น​ิ น้ั ​จ​ ำต​ อ้ งย​ อมม​ อบก​ ายถ​ วายช​ วี ติ ล​ งไ​ป ​ดังท​ ี่ท​ า่ นเ​คย​กล่าว​ไว้​ว่า​“​ ถ​ ้าม​ ัน​ไมด​่ ห​ี รอื ไ​ม่​ได​้พบ​ความ​จริงก​ ​็ให้​มนั ​ตาย​ ​ถ้า​มัน​ไม่ต​ ายก​ ใ็​ห้​มันด​ี ห​ รอื ไ​ด้​พบก​ ับค​ วามจ​ ริง”​ ​ luangpordu.com

5๕ ​ ดัง​นั้น​ อ​ ปุ สรรคต​ า่ งๆ​ จ​ ึงก​ ลบั ​เป็นป​ จั จยั ​ช่วย​ใหจ​้ ิตใจข​ องผ​ ู​้ปฏิบัต​ิ แข็งแกรง่ ​ขน้ึ ​เป็นล​ ำดบั ​ น​ ิมิต​ธรรม​ ​ อย่​ูมา​วัน​หน่งึ ​ ประมาณก่อน​ปี​ ​พ​.​ศ​.​ ​๒๕๐๐​ ​เล็ก​น้อย ​หลัง​จาก​ หลวงปู่ดู่​สวด​มนต์​ทำวัตร​เย็น​ ​และ​ปฏิบัติ​กิจ​ส่วน​ตัว​เสร็จ​เรียบร้อย​แล้ว​ ทา่ น​ก​จ็ ำวดั ​เ​กดิ ​นมิ ติ ​ไปว​ า่ ไ​ด​ฉ้ นั ​ดาวท​ ​ม่ี แ​ี สง​สวา่ ง​มาก​๓​ ​​ดวง​​ใน​ขณะ​ท​่ี กำลงั ฉ​ นั อ​ ยน​ู่ น้ั ก​ ร​็ สู้ กึ ​วา่ ​กรอ​ บๆ​​ด​ี ​กเ​็ ลยฉ​ นั เ​ขา้ ไป​ทง้ั หมด​​แลว้ ​จงึ ต​ กใจตน่ื ​​ เมอื่ ท​ า่ นพ​ จิ ารณาใ​ครค่ รวญถ​ งึ น​ มิ ติ ธ​ รรมท​ เ​่ี กดิ ข​ น้ึ ​ก​ เ​็ กดิ ค​ วามเ​ขา้ ใจ​ ขนึ้ ​วา่ ​แกว้ ​​๓​​ดวง​นน้ั ​ก​ ​็คอื ​พระ​ไต​รสร​ ณา​คมน​น์ นั่ เอง​พ​ อ​ทา่ นว​ ่า​​ “​พทุ ธ​งั ​ ​สรณง​ั ​ ​คัจฉาม​ ิ,​​ ธมั มัง​ ส​ รณัง​​ ค​ ัจฉา​ม,ิ​​ ส​ งั ฆ​ัง​ ส​ รณั​ง​​ คัจฉา​มิ​”​ ​ก็​เกิด​อัศจรรย์​ข้ึน​ใน​จิต​ท่าน​ ​พร้อม​กับ​อาการ​ปีติ​อย่าง​ท่วมท้น​​ ท้ัง​เกิด​ความ​รู้สึก​ลึก​ซ้ึง​และ​ม่ันใจ​ว่า​ ​พระ​ไต​รส​รณา​คมน์​น้ี​แห​ล่ะ​เป็น​ราก​ แกว้ ​ของ​พระพุทธ​ศาสนา​​ท่าน​จึงก​ ำหนดเ​อา​มาเ​ป็นค​ ำบ​ ร​กิ รรมภ​ าวนา​ตง้ั ​ แตน​่ ้ัน​เปน็ ตน้ ม​ า​เน้นห​ นักท​ ีก่​ าร​ปฏิบตั ​ิ ​ หลวงปดู่ ท​ู่ า่ นใ​หค​้ วามส​ ำคญั อ​ ยา่ งม​ ากใ​นเ​รอื่ งข​ องก​ ารป​ ฏบิ ตั ส​ิ มาธ​ิ ภาวนา​​ทา่ น​ว่า​“​ ​ถา้ ​ไมเ​่ อา​(​​ปฏบิ ตั )​ิ ​​เป็นเ​ถ้าเ​สยี ​ดีก​ ว่า”​ ​ใ​นส​ มัย​ก่อนเ​ม่อื ​ ตอน​ท่ี​ศาลาปฏิบัติ​ธรรม​หน้า​กุฏิ​ท่าน​ยัง​สร้าง​ไม่​เสร็จ​น้ัน​ ​ท่าน​ก็​เมตตา​ให้​ ใช้​ห้อง​ส่วน​ตัว​ที่​ท่าน​ใช้​จำวัด​ ​เป็น​ที่​รับรอง​สานุ​ศิษย์​และ​ผู้​สนใจ​ได้​ใช้​เป็น​ ที​่ปฏิบัตธ​ิ รรม​ซ​ ึ่ง​นบั เ​ป็นเ​มตตา​อยา่ งส​ งู ​ ​ สำหรับ​ผู้​ท่ี​ไป​กราบ​นมัสการ​ท่า​นบ่อยๆ​ ​หรือ​มี​โอกาส​ได้​ฟัง​ท่าน​ luangpordu.com

๖6 สนทนา​ธรรม​ ​ก็​คงจะ​ได้​เห็น​กุศโลบาย​ใน​การ​สอน​ของ​ท่าน​ที่​จะ​โน้ม​น้าว​ ผู้​ฟัง​ให้​วก​เข้า​สู่​การ​ปรับปรุง​แก้ไข​ตนเอง​ ​เช่น​ ​คร้ัง​หนึ่ง​มี​ลูก​ศิษย์​วิ​พาก​ษ์​ วจิ ารณค​์ นน​ น้ั ค​ นน​ ใ​้ี หท​้ า่ นฟ​ งั ใ​นเ​ชงิ ว​ า่ ก​ ลา่ วว​ า่ ​ เปน็ ต​ น้ เ​หตข​ุ องป​ ญั หาแ​ ละ​ ความ​ยุ่ง​ยาก​ ​แทนที่​ท่าน​จะ​เออออ​ไป​ตาม​อัน​จะ​ทำให้​เร่ือง​ยิ่ง​บาน​ปลาย​ ออก​ไป​​ท่านก​ ลับ​ปรามว​ า่ ​“​ เ​รื่องข​ องค​ น​อน่ื ​เ​ราไ​ป​แก้​เขา​ไม​ไ่ ด​้ ท​ แ​ี่ ก​้ได้​ คือต​ ัวเ​รา​​แก​้ขา้ งน​ อก​เป็น​เรอ่ื งโ​ลก​แ​ ต่​แก้ท​ ตี่​ วั ​เราน​ ่​ีเป็น​เรื่องธ​ รรม​”​ ​ คำ​สอน​ของ​หลวงปู่ดู่​จึง​สรุป​ลง​ที่​การ​ใช้​ชีวิต​อย่าง​คน​ไม่​ประมาท​​ น่นั ​หมายถ​ งึ วา่ ​ส่งิ ​ทีจ​่ ะ​ตอ้ ง​เปน็ ไ​ปพ​ ร้อมๆ​ ​ ก​ ัน​ ​ก​ค็ อื ​ ​ความ​พากเพียร​ท​่ลี ง​ สูภ่ าค​ปฏบิ ตั ​ิ ใ​น​มรรค​วิถ​ีท​เ่ี ป็น​สาระแ​ ห่งช​ วี ิต​ของ​ผ​ูไ้ ม่​ประมาท​ด​ ังท​ ี​่ทา่ น​ พดู ​ย้ำ​เสมอ​ว่า​“​หมัน่ ​ทำเ​ข้าไ​ว​ๆ้ ”​ อ่อนนอ้ มถ​ อ่ ม​ตน​ ​ นอกจากค​ วามอ​ ดทน​อ​ ดก​ ลนั้ ย​ ง่ิ แ​ ลว้ ​ห​ ลวงปดู่ ย​ู่ งั เ​ปน็ แ​ บบอ​ ยา่ งข​ อง​ ผ​ู้ไม​่ถือตัว​ว​ างตวั ​เสมอ​ตน้ เ​สมอป​ ลาย​ไ​ม​ย่ ก​ตน​ข่ม​ผอ้​ู นื่ ​เ​มอ่ื ​ครง้ั ท​ ีส​่ มเดจ็ ​ พระพ​ ฒุ า​จ​ ารย​ ​์ (​เ​สงยี่ ม)​​ว​ ดั ส​ ท​ุ ศั นเ​์ ทพวร​าร​าม​ห​ รอื ท​ เ​ี่ ราเ​รยี กก​ นั ว​ า่ ​“​ ท​ า่ น​ เจ้า​คณุ เ​สงย่ี ม​”​ซ​ ่ึง​มอี ายุพ​ รรษา​มากก​ ว่า​หลวงปู่ด​ู่ ​๑​​พรรษาม​ า​นมสั การ​ หลวง​พ่อ​โดย​ยกย่อง​เป็น​ครู​เป็น​อาจารย์​ ​แต่​เม่ือ​ท่าน​เจ้า​คุณ​เสงี่ยม​กราบ​ หลวง​พ่อ​เสร็จ​แล้ว​หลวง​พ่อ​ท่าน​ก็​กราบ​ตอบ​ ​เรียก​ว่า​ต่าง​องค์​ต่าง​กราบ​ ซ่ึง​กัน​และ​กัน​เป็น​ภาพ​ท่ี​พบเห็น​ได้​ยาก​เหลือ​เกิน​ใน​โลก​ที่​ผู้คน​ท้ัง​หลาย​มี​ แต่​จะ​เติบโต​ทาง​ด้าน​ทิฏฐิ​มานะ​ ​ความ​ถือตัว​ ​อวดดี​ ​อวด​เด่น​ ​ยก​ตน​ข่ม​ ท่าน​​ปลอ่ ย​ใหก้​ เิ ลส​ตัว​หลง​ออกเ​ร่ียราด​​เทย่ี วป​ ระกาศใ​ห​ผ้ ู้คน​ทงั้ ​หลายไ​ด​้ luangpordu.com

7๗ รู​้วา่ ต​ นเ​ก่ง​​โดย​เจา้ ​ตัวก​ ​ไ็ มร่ ู้​วา่ ถ​ ูก​กเิ ลส​ขึ้น​ขี่ค​ อพ​ า​บงการ​ให​้เปน็ ​ไป​ ​ หลวงปู่ดู่​ไม่​เคย​วิ​พาก​ษ์​วิจารณ์​การ​ปฏิบัติ​ธรรม​ของ​สำนัก​ไหน​ๆ​ ใน​เชิง​ลบหลหู่​ รือเ​ปรยี บเ​ทียบ​ดูถกู ​ด​หู มน่ิ ​ท​ า่ น​วา่ “​ ​คน​ดนี ่ะ​​เขาไ​มต่​ ​ีใคร”​ ​ ซ่งึ ล​ ูกศ​ ิษย์​ทงั้ ​หลาย​ได​้ถือ​เป็นแ​ บบ​อยา่ ง​ ​ หลวงปู่ดู่​เป็น​พระ​พูด​น้อย​ ​ไม่​มาก​โวหาร​ ​ท่าน​จะ​พูด​ย้ำ​อยู่​แต่​ใน​ เรื่อง​ของ​การ​ปฏิบัติ​ธรรม​และ​ความ​ไม่​ประมาท​ ​เช่น​ “​ของดี​อยู่​ท่ี​ตัว​เรา​​ หม่นั ทำ​(​​ปฏบิ ตั )​ิ ​เ​ข้าไ​ว้”​ ​​“ใ​ห​้หม่นั ​ดูจ​ ิต​​รกั ษา​จติ ​”​“​ อ​ ยา่ ​ลมื ตัวต​ าย”​ ​ และ​“​ ​ให้​หมนั่ ​พจิ ารณา​อนจิ ​จงั ท​ ุก​ขงั ​​อนตั ตา​”​เ​ปน็ ต้น​ อ​ ุบายธ​ รรม​ ​ หลวงปดู่ เ​ู่ ปน็ ผ​ ท​ู้ ม​ี่ อ​ี บุ ายธ​ รรมล​ กึ ซ​ ง้ึ ​ส​ ามารถข​ ดั เกลาจ​ ติ ใจค​ นอ​ ยา่ ง​ คอ่ ยเ​ปน็ ค​ อ่ ยไ​ป​ม​ ไิ ดเ​้ รง่ รดั เ​อาผ​ ล​เ​ชน่ ค​ รงั้ ห​ นงึ่ ม​ น​ี กั เลงเ​หลา้ ต​ ดิ ตามเ​พอ่ื น​ ซ่ึง​เป็น​ลูก​ศิษย์​มาก​ราบ​นมัสการ​ท่าน ​สนทนา​กัน​ได้​สัก​พัก​หน่ึง​ เพื่อน​ ทเ​่ี ปน็ ล​ กู ศ​ ษิ ยก​์ ช​็ กั ชวนเ​พอ่ื นน​ กั เลงเ​หลา้ ใ​หส​้ มาทานศ​ ลี ​๕​ ​พ​ รอ้ มก​ บั ฝ​ กึ หดั ​ ปฏิบัติ​สมาธิ​ภาวนา​ ​นักเลง​เหล้า​ผู้​น้ัน​ก็​แย้ง​ว่า​ ​“​จะ​มา​ให้​ผม​สมาทาน​ศีล​ และ​ปฏิบัติ​ได้​ยัง​ไง​ ก็​ผม​ยัง​กิน​เหล้า​เมา​ยา​อยู่​นี่​ครับ​”​ ​หลวงปู่ดู่​ท่าน​ก็ ​ ตอบว​ า่ ​“​ เ​อง็ จ​ ะก​ นิ ก​ ก​็ นิ ไ​ปซ​ ​ิ ข​ า้ ไ​มว​่ า่ ​แ​ ตใ​่ หเ​้ อง็ ป​ ฏบิ ตั ใ​ิ หข​้ า้ ว​ นั ล​ ะ​๕​ ​น​ าท​ี ก็พ​ อ”​ ​​นกั เลง​เหล้า​ผ​นู้ น้ั ​เหน็ ​วา่ น​ งั่ ส​ มาธิ​แค​ว่ ัน​ละ​๕​ ​น​ าท​ี ​ไม่ใช​เ่ ร่อื งย​ าก​ เย็น​อะไร​​จงึ ​ได​ต้ อบ​ปากร​ ับคำ​จากห​ ลวงพ​ ่อ​ ​ ด้วย​ความ​ท่ี​เป็น​คน​นิสัย​ทำ​อะไร​ทำ​จริง​ ​ซื่อสัตย์​ต่อ​ตัว​เอง​ทำให้​ เขา​สามารถ​ปฏิบัติ​ได้​สม่ำเสมอ​เร่ือย​มา​มิได้​ขาด​แม้แต่​วัน​เดียว ​บาง​ครั้ง ​ luangpordu.com

๘8 ถึง​ขนาด​งด​ไป​กิน​เหล้า​กับ​เพื่อน​ ​ๆ​ ​เพราะ​ได้​เวลา​ปฏิบัติ​ ​จิต​ของ​เขา ​เร่ิม​เสพ​คุ้น​กับ​ความ​สุข​สงบ​จาก​การ​ท่ี​จิต​เป็น​สมาธิ​ ​ไม่​ช้า​ไม่​นาน​เขา​ ก็​สามารถ​เลิก​เหล้า​ได้​โดย​ไม่รู้​ตัว​ด้วย​อุบาย​ธรรม​ที่​น้อมนำ​มา​จาก​ หลวง​ปู่​ ​ต่อ​มา​เขา​ได้​มี​โอกาส​มา​นมัสการ​ท่าน​อีก​คร้ัง​ ​ท่ี​น้ี​หลวงปู่ดู่ท่าน ​ ให้​โอวาท​ว่า​ ​“​ท่ี​แก​ปฏิบัติ​อยู่​ ​ให้​รู้​ว่า​ไม่​ใช่​เพ่ือ​ข้า​ แต่​เพื่อ​ตัว​แก​เอง​”​ คำ​พูด​ของ​หลวง​ปู่​ทำให้​เขา​เข้า​ใจ​อะไร​มาก​ขึ้น​ ​ศรัทธาและ​ความ​เพียร ​ต่อ​การ​ปฏิบัติ​ก็​มี​มาก​ขึ้น​ตาม​ลำดับ​ ​ถัด​จาก​นั้น​ไม่​กี่​ปี​ ​เขา​ผู้​ที่​อดีต​ เคย​เป็น​นักเลง​เหล้า​ก็​ละ​เพศ​ฆราวาส​เข้า​สู่​เพศ​บรรพชิต ตั้งใจปฏิบัติ​ ธรรมเ​รื่อย​มา​ ​ อีกค​ รง้ั ห​ นง่ึ ม​ ชี​ าว​บา้ นห​ าป​ ลา​มา​นมัสการ​ท่าน​แ​ ละ​ก่อน​กลับ​​ทา่ น​ ก็​ใหเ้​ขา​สมาทาน​ศีล​​๕​​เขา​เกดิ ต​ ะขิดตะขวงใ​จ​กราบ​เรียนท​ า่ นว​ า่ ​“​ ​ผมไ​ม​่ กล้า​สมาทาน​ศีล​ ​๕​ ​เพราะ​ร้​ูวา่ ป​ ระ​เดย๋ี ว​ก็​ต้อง​ไป​จับ​ปลา​ ​จับ​กงุ้ ​ ​มนั ​เป็น​ อาชีพ​ของ​ผม​ครับ​”​ ​หลวง​ปู่​ตอบ​เขา​ด้วย​ความ​เมตตา​ว่า​ ​“​แก​จะ​รู้​เห​รอ ​ว่า​ ​แก​จะ​ตาย​เมื่อ​ไหร่​ ​ไม่​แน่​ว่า​แก​เดิน​ออก​ไป​จาก​กุฏิ​ข้า​แล้ว​ ​อาจ​ถูก​งู​ กดั ​ตายเ​สยี ก​ ลาง​ทางก​ ่อน​ไป​จับ​ปลา​จ​ บั ​กุง้ ​ก​ ไ็ ด​้ ​เพราะฉ​ ะนั้นเ​มื่อ​ตอนน​ ้ี​ แกย​ งั ​ไม​่ได้​ทำบาป​กรรม​อะไร​​ยงั ​ไงๆ​​กใ็​ห​้ม​ศี ลี ไ​ว้ก​ ่อน​​ถึง​จะ​มศี​ ลี ​ขาด​ก็​ยัง​ ดกี​ วา่ ไ​มม่ ศ​ี ีล”​ ​ ​ หลวงปู่ดู่​ท่านไม่​เพียง​พร่ำ​สอน​ให้​บรรดา​ศิษย์​ทั้ง​หลาย​เจริญ​ บำเพ็ญ​คุณ​งาม​ความ​ดี​เท่านั้น​ ​หาก​แต่​ยัง​เน้น​ย้ำ​ให้​เห็น​ความ​สำคัญ​และ​ ระมัดระวัง​ใน​การ​รักษา​ไว้​ซ่ึง​คุณ​งาม​ความ​ดี​น้ัน​ๆ​ ​ให้​คง​อยู่​ ​รวม​ท้ัง​เจริญ​ งอกงาม​ข้ึน​เรื่อย​ๆ​ ​ท่าน​มัก​จะ​พูด​เตือน​เส​มอๆ​ว่า​เม่ือ​ปลูก​ต้น​ธรรม​ด้วย​ luangpordu.com

9๙ ดีแล้ว​ก็​ต้อง​คอย​หมั่น​ระวัง​อย่า​ให้​หนอน​และ​แมลง​ ​ได้แก่​ ​ความ​โลภ​ ความ​โกรธ​ ​และ​ความ​หลง​ ​มา​กัด​กิน​ทำลาย​ต้น​ธรรม​ที่​อุตส่าห์​ปลูก​ขึ้น​​ และ​อีก​คร้ัง​หนึ่ง​ที่​ท่าน​แสดง​ถึง​แบบ​อย่าง​ของ​ความ​เป็น​ครู​อาจารย์​ท่ี​ ปราศ​จาก​ทิฏฐิ​มานะ​และ​เปี่ยม​ด้วย​อุบาย​ธรรม​ ​ก็​คือ​คร้ัง​ที่​มี​นัก​ศึกษา มหาวิทยาลัย​ธรรม​ศาสตร์​ ​๒​ ​คน​ ​ซ่ึง​เป็น​ลูก​ศิษย์​ของ​ท่าน​ ​มาก​ราบ​ลา​ พร้อม​กับ​เรียน​ให้ท่า​นท​ราบ​ว่า​ จะ​เดิน​ทาง​ไป​พัก​ค้าง​เพื่อ​ปฏิบัติ​ธรรม​ กบั ท​ า่ นพ​ ระอ​ าจารยม​์ หาบ​ วั ​ญ​ าณส​ มั ป​ นั โ​น​ว​ ดั ป​ า่ บ​ า้ นต​ าด​จ​ งั หวดั อ​ ดุ รธาน​ี ​หลวงปู่ดู่​ท่าน​ฟัง​แล้ว​ก็​ยกมือ​พนม​ขึ้น​ไหว้​ไป​ทาง​ข้างๆ​ พร้อม​กับ​ พดู ​วา่ ​​“ข​ า้ ​โม​ทนาก​ ับพ​ วก​แกด​ ว้ ย​​ตัวข​ า้ ​ไม่ม​ีโอกาส​.​.​.”​ ​ไม่ม​ีเลย​ท่ที​ า่ น​ จะห​ า้ ม​ปราม​หรอื แ​ สดงอ​ าการท​ ​เ่ี รยี ก​ว่าห​ วงล​ ูกศ​ ษิ ย์​ ตรงก​ นั ข​ ้าม​มี​แตจ่​ ะ ​ ส่ง​เสริม​ ​สนับสนุน​ ​ให้​กำลัง​ใจ​เพ่ือ​ให้​ลูก​ศิษย์​ของ​ท่าน​ขวนขวาย​ใน​การ​ ปฏิบัต​ิธรรม​ย่งิ ​ๆ​ข​ ึ้น​ไป​ ​แต่​ถ้า​เป็น​กรณี​ท่ี​มี​ลูก​ศิษย์​มา​เรียน​ให้ท่า​นท​ราบ​ถึง​ครู​อาจารย์​นั้น​ องค์​นี้​ ​ใน​ลักษณะ​ต่ืน​ครู​ต่ืน​อาจารย์​ ​ท่าน​ก็​จะ​ปราม​เพื่อ​วก​เข้า​สู่​เจ้า​ตัว​ โดย​พูด​เตือน​สติ​ว่า​ ​“​ครู​อาจารย์​ดีๆ​ ​แม้​จะ​มี​อยู่​มาก​ ​แต่​สำคัญ​ท่ี​ตัว​แก​ ตอ้ ง​ปฏิบตั ​ใิ ห้จ​ รงิ ​​สอนต​ ัวเ​อง​ใหม้​ าก​นั่นแ​ หละ​จึงจ​ ะด​ ”​ี ​ ​ หลวงปดู่ ่​ูท่านม​ ี​แนวทางก​ ารส​ อนธ​ รรมะท​ เี​่ รยี บ​ง่าย ฟัง​ง่าย​ ช​ วน​ ให​้ติดตามฟ​ ัง​​ทา่ น​นำ​เอาส​ งิ่ ท​ เ่ี​ข้าใจ​ยาก​มา​แสดง​ให​้เข้า​ใจง่าย​เ​พราะท​ า่ น​ จะย​ กอ​ ปุ มาอ​ ปุ ไมยป​ ระกอบใ​นก​ ารส​ อนธ​ รรมะจ​ งึ ท​ ำใหผ​้ ฟ​ู้ งั เ​หน็ ภ​ าพแ​ ละ​ เกดิ ค​ วามเ​ขา้ ใจใ​นธ​ รรมท​ ท​่ี า่ นน​ ำม​ าแ​ สดง​แ​ มว้ า่ ท​ า่ นม​ กั จ​ ะอ​ อกตวั ว​ า่ ท​ า่ น​ เปน็ พ​ ระบ​ า้ นน​ อกท​ ไ​ี่ มม่ ค​ี วามร​อ​ู้ ะไร​แ​ ตส​่ ำหรบั บ​ รรดาศ​ ษิ ยท​์ ง้ั ห​ ลาย​ค​ งไ​ม​่ luangpordu.com

๑๐ 10 อาจ​ปฏิเสธ​ว่า ​หลาย​ครั้ง​ท่ี​ท่าน​สามารถ​พูด​แทง​เข้าไป​ถึง​ก้น​บ้ึง​หัวใจ​ ของผ​ ู้ฟ​ งั ท​ ี​เดยี ว​ อ​ กี ป​ ระการห​ นง่ึ ​ด​ ว้ ยค​ วามท​ ท​่ี า่ นม​ ร​ี ปู ร​า่ งล​ กั ษณะท​ เ​ี่ ปน็ ท​ น​่ี า่ เ​คารพ​ เลอื่ มใ​ส​เ​มอื่ ใ​ครไ​ดม​้ าพ​ บเหน็ ท​ า่ นด​ ว้ ยต​ นเอง​แ​ ละถ​ า้ ย​ งิ่ ไ​ดส​้ นทนาธ​ รรมก​ บั ​ ทา่ นโ​ดยตรง​ก​ จ​็ ะย​ ง่ิ เ​พมิ่ ค​ วามเ​คารพเ​ลอื่ มใ​สแ​ ละศ​ รทั ธาใ​นต​ วั ท​ า่ นม​ ากข​ น้ึ ​ เป็น​ทวคี ณู ​ ​ หลวงปู่ดู่​ท่าน​พูด​ถึง​การ​ประพฤติ​ปฏิบัติ​ของ​คน​สมัย​น้ี​ว่า​ ​“​คน​เรา​ ทุก​วัน​น้ี​ ​โลก​เท่า​แผ่น​ดิน​ ​ธรรม​เท่า​ปลาย​เข็ม​ ​เรา​มัว​พา​กัน​ยุ่ง​อยู่​กับ​โลก​ จน​เหมอื น​ลิงต​ ิด​ตัง​​เรือ่ ง​ของ​โลก​​เรื่องเ​ละๆ​ ​เ​รอ่ื งไ​มม่ ​ีทส​ี่ ้นิ ส​ ุด​​เรา​ไป​แก้ไข​ เขาไ​มไ​่ ดจ​้ ะต​ อ้ งแ​ กไ้ ขท​ ต​่ี วั เ​ราเ​อง​ต​ นข​ องต​ นเ​ตอื นต​ นด​ ว้ ยต​ นเอง”​ ​ ทา่ นไ​ด​้ อบรมส​ งั่ ส​ อนศ​ ษิ ย​์ โ​ดยใ​หพ​้ ยายามถ​ อื เ​อาเ​หตกุ ารณต​์ า่ งๆ​ท​ เ​่ี กดิ ข​ นึ้ ม​ าเ​ปน็ ​ ครู​สอน​ตนเอง​เสมอ​​เชน่ ​​ใน​หม​คู่ ณะ​ห​ ากม​ ​ีผใู้​ดป​ ระพฤตปิ​ ฏบิ ตั ิ​ดี​​เจรญิ ใ​น​ ธรรม​ปฏิบัติ​ ​ท่าน​ก็​กล่าว​ชม​และ​ให้​ถือ​เป็น​แบบ​อย่าง​ ​แต่​ถ้า​มี​ผู้​ประพฤติ​ ผดิ ​​ถกู ท​ า่ นต​ ำหน​ติ ิ​เตยี น​ก​ ใ็​ห​น้ อ้ มเ​อาเ​หตุก​ าร​ ณ์น​ น้ั ​ๆ​​มาส​ อน​ตน​ทกุ ค​ รั้ง​ ไป​ท​ า่ นไ​มไ​่ ดช​้ มผ​ ท​ู้ ำด​ จ​ี นห​ ลงลมื ต​ น​แ​ ละท​ า่ นไ​มไ​่ ดต​้ เ​ิ ตยี นผ​ ท​ู้ ำผ​ ดิ จ​ นห​ มด​ กำลงั ใ​จ​​แต่​ถือ​เอา​เหต​ุการ​ ณ์ ​เปน็ เ​สมอื น​คร​ทู ่เ​ี ป็นค​ วาม​จริง ​แสดงเ​หตุผล​ ใหเ​้ หน็ ​ธรรมท​ ่แี ทจ้​ รงิ ​ ​ การส​ อนข​ อง​ทา่ นก​ ็​พิจารณา​ด​ูบุคคล​ด้วย​​เช่น​​คน​บาง​คนพ​ ดู ​ใหฟ​้ ัง​ เพยี ง​อย่างเ​ดียว​​ไม่​เข้าใจ​บ​ างที​ท่าน​ก็ต​ อ้ งท​ ำใหเ​้ กดิ ​ความก​ ลวั ​เ​กิดค​ วาม​ ละอาย​บ้างถ​ งึ ​จะห​ ยุด​​เลิก​ละก​ าร​กระทำ​ท่ี​ไม​่ดีน​ นั้ ​ๆ​​ได​้ ​หรอื บ​ างค​ นเ​ปน็ ​ ผู้​มี​อุปนสิ ัย​เบาบาง​อยู่​แล้ว​ ท​ ่านก​ ็ส​ อนธ​ รรมดา​ ​การส​ อน​ธรรมะ​ของ​ท่าน​​ luangpordu.com

11 ๑๑ บางท​ีก็ส​ อน​ให้​กล้า​​บางทกี​ ส​็ อนใ​ห​ก้ ลัว​ท​ ว​่ี า่ ส​ อน​ให​ก้ ล้า​นน้ั ​ค​ ือ​ใ​ห​้กล้าใ​น​ การ​ทำความ​ดี​ ​กล้า​ใน​การ​ประพฤติ​ปฏิบัติ​เพื่อ​ถอดถอน​กิเลส​ออก​จาก​ใจ ​ไม่​ให้​ตกเ​ป็นท​ าส​ของ​กิเลสอ​ ย​ูร่ ำ่ ไป​ส​ ว่ นท​ ส​่ี อนใ​หก้​ ลัว​น้ัน​ท​ า่ นใ​หก้​ ลวั ใ​น​ การ​ทำค​ วามช​ ั่ว​ผ​ ิดศ​ ีล​ธรรม​เ​ป็นโ​ทษ​​ทำแ​ ลว้ ​ผู้​อื่นเ​ดอื ด​รอ้ น​บ​ างท​ที ่าน ​ กส​็ อนใ​หเ​้ ชอ่ื ​ค​ อื ใ​หเ​้ ชอ่ื ม​ น่ั ใ​นค​ ณุ พ​ ระพทุ ธ​พ​ ระธ​ รรม​พ​ ระส​ งฆ​์ เ​ชอื่ ใ​นเ​รอ่ื ง​ กรรม​อ​ ย่าง​ที่ท​ า่ นเ​คยก​ ลา่ วว​ ่า​​“​เชอื่ ไ​หมล​ ะ่ ​ถ​ า้ เ​ราเ​ชื่อจ​ รงิ ​​ทำ​จรงิ ​​มันก​ ็​ เป็น​ของ​จรงิ ​ข​ องจ​ ริง​มอ​ี ยู่​แ​ ตเ​่ รา​มนั ไ​มเ่​ชอ่ื ​จริง​​จงึ ​ไม​เ่ ห็นข​ องจ​ ริง”​ ​ ​หลวงปู่ดู่​ท่าน​สอน​ให้​มี​ปฏิปทา​สม่ำเสมอ​ ​ท่าน​ว่า​“​ขยัน​ก็​ให้​ทำ​ ขเ​้ี กยี จก​ ใ​็ หท​้ ำ​ถ​ า้ ว​ นั ไ​หนย​ งั ก​ นิ ข​ า้ วอ​ ยก​ู่ ต​็ อ้ งท​ ำว​ นั ไ​หนเ​ลกิ ก​ นิ ข​ า้ วแ​ ลว้ ​น​ น่ั ​ แหละ​จ​ ึง​ค่อย​เลิก​ทำ​”​ ก​ ารส​ อนข​ องท​ า่ นน​ น้ั ม​ ไิ ดเ​้ นน้ แ​ ตเ​่ พยี งก​ ารน​ ง่ั ห​ ลบั ต​ าภ​ าวนา​ห​ ากแ​ ต​่ หมาย​รวม​ไป​ถงึ ​การ​กำหนดด​ ​ู ก​ ำหนด​รู้​​และพ​ จิ ารณาส​ ิ่ง​ตา่ ง​ๆ​ ​ใ​นค​ วาม​ เปน็ ข​ องไ​มเ​่ ทย่ี ง​เ​ปน็ ท​ กุ ข​์ เ​ปน็ อ​ นตั ตาโ​ดยเ​ฉพาะอ​ ยา่ งย​ ง่ิ ​ท​ า่ นช​ ใ​ี้ หเ​้ หน็ ถ​ งึ ​ สังขารร​ า่ งกาย​ทม​่ี นั ​เกิดม​ ันต​ ายอ​ ยู่​ตลอดเ​วลา​ท​ า่ นว​ า่ ​เ​รา​วัน​น้ีก​ บั ​เรา​เมือ่ ​ ตอนเ​ปน็ เ​ดก็ ม​ นั ก​ ไ​็ มเ​่ หมอื นเ​กา่ ​เ​ราข​ ณะน​ ก​้ี บั เ​ราเ​มอ่ื ว​ านก​ ไ​็ มเ​่ หมอื นเ​กา่ ​จ​ งึ ​ วา่ ​เราเ​ม่ือ​ตอน​เป็นเ​ด็ก​​หรือ​เรา​เมือ่ ​วานม​ ัน​ได้​ตายไ​ปแ​ ล้ว​เ​รยี ก​วา่ ​ร่างกาย​ เราม​ ันเ​กดิ ​​-​​ตาย​​อยทู​่ กุ ​ลมห​ ายใจเ​ขา้ ​ออก​​มัน​เกดิ ​-​​ต​ าย​อ​ ย​ู่ทุกข​ ณะจ​ ิต​ ท่าน​สอน​ให้​บรรดา​ศิษย์​เห็น​จริง​ถึง​ความ​สำคัญ​ของ​ความ​ทุกข์​ยาก​ ว่า ​เป็น​สง่ิ ​ม​ีคุณค่า​ในโ​ลก​ ​ทา่ น​จงึ พ​ ดู ​บอ่ ย​คร้งั ​วา่ ​ก​ าร​ท่​ีเราป​ ระสบท​ กุ ข​์ ​นน่ั แ​ สดง​วา่ ​เราม​ า​ถูก​ ทางแ​ ลว้ ​​เพราะอ​ าศยั ​ทกุ ขน​์ ั่น​แหละ​จ​ ึงท​ ำใหเ​้ รา​เกดิ ​ปญั ญา​ขน้ึ ​ได​้ luangpordu.com

๑๒ 12 ​ใชช้​ วี ติ อ​ ย่าง​ผ้ร​ู กั ​สนั โดษแ​ ละเ​รยี บ​งา่ ย​ ​ หลวงปดู่ ท​ู่ า่ นย​ งั เ​ปน็ แ​ บบอ​ ยา่ งข​ องผ​ ม​ู้ กั น​ อ้ ยส​ นั โดษใ​ชช​้ วี ติ เ​รยี บง​า่ ย​ ไม​่นยิ ม​ความห​ รหู รา​ฟมุ่ เฟอื ย​แ​ มแ้ ตก่​ ารส​ รงน​ ้ำ​​ทา่ น​ก็​ยังไ​ม​่เคยใ​ช​้สบเ​ู่ ลย​ แต่ก​ ็​น่าอ​ ศั จรรย์​เมอื่ ​ได้​ทราบจ​ าก​พระ​อปุ ฏั ฐาก​ว่า​ ไ​ม​พ่ บ​วา่ ท​ ่านม​ ก​ี ลน่ิ ​ตวั ​​ แม้​ใน​ห้อง​ทีท่​ ่านจ​ ำวัด​ ​ มี​ผู้​ปวารณา​ตัว​จะ​ถวาย​เคร่ือง​ใช้​และ​ส่ิง​อำนวย​ความ​สะดวก​ต่างๆ​​ ให้​กับ​ท่าน​ ​ซึ่ง​ส่วน​ใหญ่​ท่าน​จะ​ปฏิเสธ​ ​คง​รับ​ไว้​บ้าง​เท่า​ที่​เห็น​ว่า​ไม่​เกิน​ เลย​อัน​จะ​เสีย​สมณะ​สารูป​ ​และ​ใช้สอย​พอ​ให้​ผู้​ถวาย​ได้​เกิด​ความ​ปล้ืมปีติ​ ที่​ได้​ถวาย​แก่​ท่าน​ ​ซึ่ง​ใน​ภาย​หลัง​ท่าน​ก็​มัก​ยก​ให้​เป็น​ของ​สงฆ์​ส่วน​รวม​​ เชน่ ​เดยี ว​กบั ขา้ วข​ อง​ต่างๆ​ ​ทมี​่ ีผ​ ​มู้ า​ถวายเ​ปน็ ​สังฆทาน​โดย​ผา่ น​ทา่ น​ และ ​เม่ือ​ถึง​เวลา​เหมาะ​ควร​ท่าน​ก็​จะ​จัดสรร​ไป​ให้​วัด​ต่างๆ​ ​ท่ี​อยู่​ใน​ชนบท ​ และ​ยงั ข​ าดแคลน​อย​ู่ ​ ส่ิง​ท่ี​ท่าน​ถือ​ปฏิบัติ​สม่ำเสมอ​ใน​เรื่อง​ลาภ​สัก​การ​ะ​ ​ก็​คือ​การ​ยก​ให้​ เป็น​ของ​สงฆ์​ส่วน​รวม​ ​แม้​ปัจจัย​ท่ี​มี​ผู้​ถวาย​ให้​กับ​ท่าน​เป็น​ส่วน​ตัว​สำหรับ​ ค่า​รักษา​พยาบาล​ ​ท่าน​ก็​สมทบ​เข้า​ใน​กองทุน​สำหรับ​จัดสรร​ไป​ใน​กิจ​ สาธารณประโยชน์​ต่างๆ​ท​ ้ังโ​รงเรยี น​และ​โรง​พยาบาล​ ​ หลวงปดู่ ู่​ท​ ่าน​ไมม่ ​อี าการ​แหง่ ​ความเ​ป็น​ผอ​ู้ ยากเ​ดน่ ​อยากด​ ัง​แม้แต่​ น้อย​ ด​ ัง​นนั้ ​ ​แม้​ทา่ นจ​ ะ​เป็น​เพยี งพ​ ระบ​ า้ นน​ อก​รูป​หนง่ึ ซ​ ึ่ง​ไม่เ​คย​ออกจ​ าก​ วัด​ไป​ไหน​ ​ทั้ง​ไม่มี​การ​ศึกษา​ระดับ​สูง​ๆ​ ​ใน​ทาง​โลก​ ​แต่​ใน​ความ​รู้สึก​ของ​ ลูก​ศิษย์​ท้ัง​หลาย​ ​ท่าน​เป็น​ด่ัง​พระ​เถระ​ผู้​ถึง​พร้อม​ด้วย​จริยวัตร​อัน​งดงาม​​ สงบ​เ​รียบ​ง่าย​​เบิกบ​ าน​แ​ ละ​ถงึ ​พร้อมด​ ้วย​ธรรมว​ ฒุ ​ิที่ร​ ้​ถู ้วน​ทั่ว​ใน​วชิ ชา​อัน​ luangpordu.com

13 ๑๓ จะ​นำพาใ​ห้พ​ น้ เ​กดิ ​พ​ ้นแ​ ก่​พ​ น้ ​เจ็บ​​พ้น​ตาย​ถ​ ึงฝ​ ่ังอ​ นั เ​กษม​เ​ป็นท​ ี​่ฝาก​เปน็ ​ ฝากต​ ายแ​ ละ​ฝากห​ ัวใจ​ของ​ลกู ​ศิษย์​ทกุ ​คน​ ​ใน​เร่ือง​ทรัพยส์​ มบตั ดิ​ ั้งเดิม​ของท​ ่าน​​โดย​เฉพาะ​อย่างย​ ่ิง​ที่​นา​​ซึ่ง​ม​ี อยู​ป่ ระมาณ​๓​ ๐​ไ​ร่​​ท่านก​ ไ็ ดแ้​ บ่งใ​ห​้กบั ​หลาน​ๆ​​ของ​ท่าน​​ซึ่งใ​น​จำนวน​น​ี้ นาย​ยวง​ ​พึ่ง​กุศล​ ​ผู้​เป็น​บุตร​ของ​นาง​สุ่ม​ ​โยม​พี่สาว​คนกลาง​ท่ี​เคย​เล้ียง​ดู​ ทา่ นม​ า​ตลอด​ก​ ็ไดร้​ บั ส​ ว่ นแ​ บ่งท​ นี​่ า​จากท​ ่านด​ ว้ ย​จำนวน​​๑๘​​ไร่​เศษ​แ​ ต​่ ด้วย​ความท​ ​นี่ ายย​ วง​ผ้​ูเปน็ ​หลาน​ของ​ทา่ น​นีไ​้ ม่ม​ที ายาท​ ​ได​้คดิ ป​ รกึ ษาน​ าง​ ถม​ยา​ผู้​ภรรยา​เห็น​ควร​ยก​ให้​เป็น​สาธารณประโยชน์​ ​จึง​ยก​ท่ีดิน​แปลง​ น้ี​ให้​กับ​โรงเรียน​วัด​สะแก​ ​ซง่ึ ​หลวงปดู่ ่​ูท่า​นก็อนโุ ม​ทนา​ใน​กุศล​เจตนา​ของ ​ คน​ทง้ั ​สอง​ ​กศุ โลบายใ​น​การ​สรา้ ง​พระ​ ​ หลวงปู่ดู่​ท่าน​มิได้​ตั้ง​ตัว​เป็น​เกจิ​อาจารย์​ ​การ​ท่ี​ท่าน​สร้าง​หรือ​ อนุญาต​ให้​สร้าง​พระ​เครื่อง​หรือ​พระ​บูชา​ ​ก็​เพราะ​เห็น​ประโยชน์​ ​เพราะ​ บุคคล​จำนวน​มาก​ยัง​ขาด​ท่ี​ยึด​เหน่ียว​ทาง​จิตใจ ​ท่าน​มิได้​จำกัด​ศิษย์​อยู่ เฉพาะ​กลุ่ม​ใด​กลุ่ม​หนึ่ง​ ​ดัง​น้ัน​คณะ​ศิษย์​ของ​ท่าน​จึง​มี​กว้าง​ขวาง​ออก​ ไป​ ​ทง้ั ​ทใ่​ี ฝ่ใจ​ธรรม​ลว้ น​ ​ๆ​ ห​ รือท​ ย่​ี ัง​ต้องอ​ งิ ก​ บั ​วตั ถ​ุมงคล​ ท​ ่าน​เคย​พูด​วา่ ​ “ต​ ดิ ว​ ัตถ​ุมงคล​ก​ ย็​ ังด​ ีก​ วา่ ​ทจ่​ี ะ​ให​้ไปต​ ิด​วตั ถุ​อปั มงคล”​ ​​ท้งั นท​ี้ า่ น​ยอ่ ม​ใช้​ ดุลย​พินิจพ​ จิ ารณา​ตาม​ความเ​หมาะ​ควรแ​ ก่ผ​ ูท้​ ่​ไี ป​หาท​ ่าน​ ​ แม้ว่า​หลวงปู่ดู่​จะ​รับรอง​ใน​ความ​ศักดิ์​สิทธิ์​ของ​พระ​เคร่ือง​ที่​ท่าน​ อธษิ ฐานจ​ ติ ใ​ห​้ แ​ ตส​่ งิ่ ท​ ท​่ี า่ นย​ กไวเ​้ หนอื ก​ วา่ น​ น้ั ก​ ค​็ อื ก​ ารป​ ฏบิ ตั ​ิ ด​ งั จ​ ะเ​หน็ ไ​ด​้ luangpordu.com

๑๔ 14 จาก​คำพ​ ดู ข​ องท​ า่ น​วา่ ​“​ ​เอาข​ องจ​ รงิ ด​ ก​ี วา่ ​พทุ ธงั​ฯ​​ธมั มงั ฯ​​สงั ฆงั​ฯ​ส​ รณง​ั ​ คจั ฉาม​ ​ิ น​ แ​่ี หละข​ อง​แท​้”​ ​ จากค​ ำพ​ ูด​น​้ี ​จงึ เ​สมอื น​เป็นการย​ ืนยนั ว​ ่าการป​ ฏิบตั ภิ​ าวนาน​ ้ีแ​ หละ​ เป็น​ท่ีสุด​แห่ง​เคร่ืองราง​ของ​ขลัง​ ​เพราะ​คน​บาง​คน​แม้​แขวน​พระ​ท่ี​ผู้ทรง​ คณุ ว​ เิ ศษอ​ ธษิ ฐานจ​ ติ ใ​หก​้ ต็ าม​ก​ ใ​็ ชว​่ า่ จ​ ะร​อดป​ ลอดภยั อ​ ยดู่ ม​ี ส​ี ขุ ไ​ปท​ กุ ก​ รณ​ี อย่างไร​เสีย​ทุก​คน​ไม่​อาจ​หลีก​หนี​วิบาก​กรรม​ที่​ตน​ได้​สร้าง​ไว้​ ​ดัง​ที่​ท่าน​ ได้กล่าว​ไว้​วา่ ​​สิ่งศ​ ักดส​ิ์ ิทธท์​ิ อี่​ ยเ​ู่ หนือ​ส่งิ ​ศักด์สิ​ ิทธ​ิ์ ก​ ค​็ อื ​​กรรม​ ​ ดังน​ นั้ ​​จงึ ​มี​แต่​พ​ ระ​​“​สต”​ิ ​พ​ ระ​“​ ป​ ญั ญา”​ ​​ท​่ีฝึกฝน​อบรม​มา​ดีแลว้ ​ เท่าน้ัน​ ​ที่​จะ​ช่วย​ให้​ผู้​ปฏิบัติ​รู้​เท่า​ทัน​และ​พร้อม​ท่ี​จะ​เผชิญ​กับ​ปัญหา​และ​ ส่ิง​กระทบ​ต่าง​ๆ​ ​ที่​เข้า​มา​ใน​ชีวิต​ ​อย่าง​ไม่​ทุกข์​ใจ​ ​ดุจ​ว่า​ส่ิง​เหล่า​นั้น​เป็น​ เสมือน​ฤดูกาล​ท่ี​ผ่าน​เข้า​มา​ใน​ชีวิต​ ​บาง​คร้ัง​ร้อน​บาง​ครั้ง​หนาว​ ​ทุก​สิ่ง ​ ทุก​อยา่ งล​ ้วน​เปน็ ​ไปต​ าม​ธรรมดาข​ อง​โลก​ ​ พระ​เคร่ือง​หรือ​พระ​บูชา​ต่างๆ​ ​ที่​ท่าน​อธิษฐาน​ปลุก​เสก​ให้​แล้ว​น้ัน​ ปรากฏ​ผล​แก่​ผู้​บูชา​ใน​ด้าน​ต่างๆ​ ​เช่น​ ​แคล้วคลาด​ฯลฯ ​น่ัน​ก็​เป็น​เพียง​ ผลพลอยได​้ ซ​ ึ่งเ​ปน็ ป​ ระโยชนท​์ าง​โลกๆ​ ​แต่ป​ ระโยชน​์ท​่ีทา่ นส​ ร้างม​ ่งุ ​หวงั ​ อย่าง​แท้จริง​นั้น​ก็​คือ​ ​ใช้​เป็น​เคร่ือง​มือ​ในก​าร​ปฏิบัติ​ภาวนา​ ​มี​พุทธ​านุ​สติ​ กรรม​ฐาน​​เปน็ ต้น​น​ อกจากน​ แ้ี​ ล้ว​ผู้​ปฏิบตั ิย​ งั ​ไดอ​้ าศยั พ​ ลงั จติ ท​ ​ี่ท่าน​ตั้งใจ​ บรรจุ​ไว้​ใน​พระ​เคร่ือง​ช่วย​น้อมนำ​และ​ประ​คับ​ประคอง​ให้​จิต​รวม​สงบ​ได้​ เร็วข​ ้นึ ​ ​ตลอดถ​ ึง​การใ​ช้​เปน็ เ​ครื่อง​เสรมิ ก​ ำลงั ใ​จแ​ ละร​ ะงบั ​ความ​หวาด​วิตก​ ในขณะ​ปฏบิ ตั ิ​ ถ​ อื เ​ป็นป​ ระโยชน​์ทาง​ธรรม​ซ่ึง​ก่อใ​ห​เ้ กิด​พัฒนาการ​ทางจ​ ติ ​ ของผ​ ้ใ​ู ช​้ไป​สู่ก​ ารพ​ งึ่ พา​ตนเองไ​ด​ใ้ น​ท่ีสุด​ luangpordu.com

15 ๑๕ ​ จากท​ เ​่ี บอ้ื งต​ น้ ​เ​ราไ​ดอ​้ าศยั ​พ​ ทุ ธงั​ ​ส​ รณงั​ ​ ค​ จั ฉาม​ ​ิ ธมั มงั ​ ส​ รณง​ั ​ค​ จั ฉาม​ ​ิ และ​​สังฆงั​​​สรณั​ง​ค​ จั ฉา​มิ​​คือ​ยดึ เ​อา​พระพทุ ธ​พ​ ระ​ธรรม​​พระ​สงฆ์​เ​ปน็ ​ สรณะ​จ​ นจ​ ติ ข​ องเ​ราเ​กดิ ศ​ รทั ธาโ​ดยเ​ฉพาะอ​ ยา่ งย​ ง่ิ ท​ เ​่ี ราเ​รยี กก​ นั ว​ า่ ​ต​ ถาคต​ โพธิ​สัทธา​ ​คือ​เชื่อ​ปัญญา​ตรัสรู้​ของ​พระพุทธเจ้า​ขึ้น​แล้ว​ ​เรา​ก็​ย่อม​เกิด​ กำลงั ใ​จข​ น้ึ ว​ า่ พ​ ระพทุ ธอ​ งคเ​์ ดมิ ก​ เ​็ ปน็ ค​ นธ​ รรมดาเ​ชน่ เ​ดยี วก​ บั เ​รา​ค​ วามผ​ ดิ ​ พลาด​พระองค์​ก็​เคย​ทรง​ทำ​มา​ก่อน​ ​แต่​ด้วย​ความ​เพียร​ประกอบ​กับ​พระ​ สติ​ปัญญา​ท่ี​ทรง​อบรม​มา​ดีแล้ว​ ​จึง​สามารถ​ก้าว​ข้าม​วัฏฏะ​สงสาร​สู่​ความ​ หลุดพ​ น้ ​​เปน็ การ​บกุ ​เบิก​ทางท​ ​่ีเคยร​ กชฏั ใ​ห้​พวกเ​ราไ​ด้​เดนิ ก​ นั ​​ดังน​ น้ั ​เ​รา​ ซง่ึ เ​ปน็ ม​ นษุ ยเ​์ ชน่ เ​ดยี วก​ บั พ​ ระองค​์ ก​ ย​็ อ่ มท​ จ​่ี ะม​ ศ​ี กั ยภาพท​ จ​่ี ะฝ​ กึ ฝนอ​ บรม​ กาย​​วาจา​​ใจ​ด​ ้วยต​ วั เ​รา​เอง​ได้​เชน่ ​เดยี ว​กบั ​ทพ่ี​ ระองค์​ทรง​กระทำ​มา​พ​ ูด​ อีก​อยา่ งห​ นง่ึ ก​ ค็​ อื ​​กาย​ว​ าจา ​ใจ​เ​ปน็ ​ส่ิง​ท​ีฝ่ กึ ฝนอ​ บรม​กันไ​ด้​ใ​ช่​วา่ จ​ ะต​ อ้ ง​ ปลอ่ ย​ให​ไ้ หลไ​ป​ตาม​ยถากรรม​ ​ เมื่อ​จิต​เรา​เกิด​ศรัทธา​ดัง​ที่​กล่าว​มา​นี้​แล้ว​ ​ก็​มี​การ​น้อม​นำ​เอา​ข้อ​ ธรรม​คำส​ อนต​ า่ ง​​ๆ​ม​ าป​ ระพฤติ​ปฏิบตั ​ิขดั เกลาก​ ิเลสอ​ อก​จาก​ใจต​ น​จ​ ติ ใจ​ ของ​เรา​ก็​จะ​เล่ือน​ชั้น​จาก​ปุถุชน​ท่ี​หนา​แน่น​ด้วย​กิเลส​ ​ข้ึน​สู่​กัลยาณ​ชน​​ และ​อริย​ชน​ ​เป็น​ลำดับ​ ​เม่ือ​เป็น​ดังนี้​แล้ว​ใน​ที่สุด​เรา​ก็​ย่อม​เข้า​ถึงที่​พึ่ง​คือ ​ ตัว​เรา​เอง​ ​อัน​เป็น​ท่ี​พึ่ง​ท่ีแท้​จริง​เพราะ​กาย​ ​วาจา​ ​ใจ​ ​ท่ี​ได้​ผ่าน​ข้ัน​ตอน​ การ​ฝึกฝนอบรมโ​ดยก​ ารเ​จริญ​ศลี ​​สมาธิ​แ​ ละป​ ญั ญาแ​ ล้ว​​ย่อมก​ ลาย​เป็น ​ กายส​ จุ รติ ​ว​ าจาสจุ รติ ​แ​ ละม​ โนส​ จุ รติ ​ก​ ระทำส​ ง่ิ ใ​ด​พ​ ดู ส​ งิ่ ใ​ด​ค​ ดิ ส​ ง่ิ ใ​ด​ก​ ย็ อ่ ม​ หาโ​ทษม​ ไิ ด​้ ถ​ งึ เ​วลาน​ นั้ แ​ มพ​้ ระเ​ครอื่ งไ​มม่ ​ี ก​ ไ​็ มอ​่ าจท​ ำใหเ​้ ราเ​กดิ ค​ วามห​ วนั่ ​ ไหว​​หวาดก​ ลัว​​ข้นึ ​ได​เ้ ลย​ luangpordu.com

๑๖ 16 ​เปย่ี มด​ ้วยเ​มตตา​ ​ นกึ ถงึ ส​ มยั พ​ ทุ ธก​ าล​เ​มอื่ พ​ ระพทุ ธอ​ งคท​์ รงป​ ระชวรห​ นกั ค​ รงั้ ส​ ดุ ทา้ ย​ แหง่ ก​ ารป​ รนิ พิ พาน​ท​ า่ นพ​ ระอ​ านนทผ​์ อ​ู้ ปุ ฏั ฐากพ​ ระองคอ​์ ยต​ู่ ลอดเ​วลาไ​ด​้ หา้ ม​มานพ​ผ้​หู น่ึงซ​ ่ึงข​ อร้อง​จะข​ อ​เข้า​เฝ้าพ​ ระพทุ ธเจา้ ข​ ณะน​ นั้ ​ ​ พระ​อานนทค์​ ัดค​ ้าน​ อย่างเดด็ ข​ าด​ไม​่ให​้เขา้ ​เฝ้า​แ​ ม​ม้ านพข​ อรอ้ งถ​ ึง​ ๓​ ​คร้ัง​ ​ท่าน​ก็​ไม่​ยอม​ ​จน​กระทั่ง​เสียง​ขอ​กับ​เสียง​ขัด​ดัง​ถึง​พระพุทธ​องค์​​ พระพทุ ธอ​ งคจ​์ งึ ต​ รสั ว​ า่ ​“​ อ​ านนท​์ อ​ ยา่ ห​ า้ มม​ านพน​ น้ั เ​ลย​จ​ งใ​หเ​้ ขา้ ม​ าเ​ดย๋ี ว​ น”​ี้ ​เ​มอื่ ไ​ดร​้ บั อ​ นญุ าตแ​ ลว้ ​ม​ านพก​ เ​็ ขา้ เ​ฝา้ พ​ ระพทุ ธเจา้ ไ​ดฟ​้ งั ธ​ รรม​จ​ นบรรล​ุ มรรคผล​แล้ว​ขอ​บวช​เปน็ ​พระส​ าวก​องคส​์ ดุ ทา้ ย​มนี​ ามว​ า่ ​​“​พระ​สุภท​ั ท​ ะ​”​ ​ พระ​อานนท์​ท่าน​ทำ​หน้าท่ี​ของ​ท่าน​ถูก​ต้อง​แล้ว​ ​ไม่มี​ความ​ผิด​ อัน​ใด​เลย​แม้แต่​น้อย​ ​ส่วน​ท่ี​พระพุทธเจ้า​ให้​เข้า​เฝ้า​นั้น​เป็น​ส่วน​พระ​ มหากรุณาธิคุณ​ของ​พระองค์​ท่ี​ทรง​มี​ต่อ​สรรพ​สัตว์​ท้ัง​หลาย​โดย​ไม่มี​ ประมาณ​ย​ อ่ มแ​ ผไ​่ พศาลไ​ปท​ ว่ั ท​ งั้ ส​ ามโ​ลก​พ​ ระส​ าวกร​นุ่ ห​ ลงั ก​ ระทง่ั ถ​ งึ พ​ ระ​ เถระ​หรือ​ครูบา​อาจารย์​ผู้​สูง​อายุ​โดย​ท่ัวไป​ท่ี​มี​เมตตา​สูง​ ​รวม​ท้ัง​หลวง​พ่อ​ ยอ่ มเ​ปน็ ท​ เ​ี่ คารพน​ บั ถอื ข​ องช​ นห​ มม​ู่ าก​ทา่ นก​ อ​็ ทุ ศิ ช​ วี ติ เ​พอื่ ก​ จิ พ​ ระศ​ าสนา​ ก็​ไม่​ค่อย​คำนึง​ถึง​ความ​ชรา​อาพาธ​ของ​ท่าน​ ​เห็น​ว่า​ผู้​ใด​ได้​ประโยชน์​จาก การบ​ ชู าส​ กั ก​ าร​ะท​ า่ น​ท่านก​ ​อ็ ำนวยป​ ระโยชนน​์ นั้ แ​ ก​เ่ ขา​ ​ เมอื่ ค​ ร้งั ท​ ​่หี ลวงป​ ​ู่อาพาธอ​ ยู่​​ไดม้​ ลี​ ูก​ศิษยก์​ ราบเ​รยี นท​ ่าน​วา่ ​“​ ​ร้สู ึก​ เป็น​หว่ ง​หลวง​ป​ู”่ ​ท​ ่าน​ได​้ตอบ​ศษิ ย์ผ​ ​นู้ ้ันด​ ว้ ย​ความเ​มตตา​ว่า​“​ ห​ ว่ ง​ตวั แ​ ก​ เอง​เถอะ​”​ ​อีก​ครั้ง​ท่ี​ผู้​เขียน​เคย​เรียน​หลวง​ปู่​ว่า ​“​ขอ​ให้​หลวง​ปู่​พัก​ผ่อน ​ มากๆ​ ​”​ luangpordu.com

17 ๑๗ หลวงป​ ต​ู่ อบท​ นั ทว​ี า่ ​“​ พ​ กั ไ​มไ​่ ด​้ ม​ ค​ี นเ​ขาม​ าก​ นั ม​ าก​บ​ างทก​ี ลางคนื เ​ขาก​ ม​็ าก​ นั ​เ​ราเ​หมอื นน​ กต​ วั นำ​เ​ราเ​ปน็ ค​ รเ​ู ขาน​ ​ี่ ค​ ร.​ู .​.​​เ​ขาต​ ร​ี ะฆงั ไ​ดเ​้ วลา​ สอน​แลว้ ​ก​็ตอ้ งส​ อน​​ไม​่สอน​ได้​ยัง​ไง”​ ​ ​ ชีวิต​ของ​ท่าน​เกิด​มา​เพ่ือ​เก้ือกูล​ธรรม​แก่​ผู้​อ่ืน​ ​แม้​จะ​อ่อน​เพลีย ​ เม่ือย​ล้า​สัก​เพียง​ใด​ ​ท่าน​ก็​ไม่​แสดงออก​ให้​ใคร​ต้อง​รู้สึก​วิตก​กังวล​หรือ​ ลำบากใ​จแ​ ตอ​่ ย่างใ​ด​เลย​เ​พราะอ​ าศยั ​ความ​เมตตาเ​ป็นท​ ี่ต​ งั้ ​จ​ งึ อ​ าจก​ ลา่ ว​ ได้​ว่า​ ​ปฏิปทา​ของ​ท่าน​เป็น​ด่ัง​พระ​โพธิ​สัตว์​หรือ​หน่อ​พุทธ​ภูมิ​ ​ซ่ึง​เห็น​ ประโยชน์​ของ​ผู้​อื่น​มาก​กว่า​ประโยชน์​ส่วน​ตน​ดัง​เช่น​ ​พระ​โพธิ​สัตว์​หรือ ห​ นอ่ พ​ ทุ ธภ​ มู อ​ิ กี ท​ า่ นห​ นง่ึ ​ค​ อื ​ห​ ลวงป​ ทู่ วดเ​หยยี บน​ ำ้ ท​ ะเลจ​ ดื ​พ​ ระส​ ป​ุ ฏปิ นั โ​น​ สมยั ​กรุง​ศรีอยธุ ยา ​ ซึ่ง​หลวงปู่ด​ไู่ ด้​สอนใ​หล้​ กู ศ​ ิษยใ​์ ห้​ความเ​คารพ​เสมอื น​ ครู​อาจารย์​ผู้ช​ ี้แนะแ​ นวท​ างการ​ปฏบิ ตั ​ิอีก​ท่านห​ นึง่ ​ ​หลวงปู่ด​ู่ ​ท่านไ​ดต้​ ดั สนิ ใ​จไ​ม่​รับ​กิจ​นิมนต์​ออก​นอกว​ ัด​ตง้ั แ​ ต​ก่ อ่ นป​ ​ี พ.​ศ​ .​​๒​ ๔๙๐​ด​ งั น​ น้ั ​ท​ กุ ค​ นท​ ต​ี่ ง้ั ใจไ​ปก​ ราบน​ มสั การแ​ ละฟ​ งั ธ​ รรมจ​ ากท​ า่ นจ​ ะ​ ไมผ​่ ดิ ห​ วงั เ​ลยว​ า่ จ​ ะไ​มไ​่ ดพ​้ บท​ า่ น​ท​ า่ นจ​ ะน​ ง่ั ร​บั แขกบ​ นพ​ น้ื ไ​มก​้ ระด​ านแ​ ขง็ ๆ​ หน้า​กฏุ ิของท​ ่านท​ ุก​วันต​ ั้งแ​ ต่​เชา้ จ​ รดค​ ำ่ ​​บาง​วนั ท​ ​่ีทา่ นอ​ อ่ นเพลีย​ท​ า่ นจ​ ะ​ เอนกายพ​ กั ผ​ อ่ นห​ นา้ ก​ ฏุ ​ิ แ​ ลว้ ห​ าอ​ บุ ายส​ อนเ​ดก็ ว​ ดั โ​ดยใ​หเ​้ อาห​ นงั สอื ธ​ รรมะ​ มา​อ่าน​ให้​ท่านฟ​ งั ​ไปด​ ้วย​ ​ข้อ​วัตร​ของ​ท่าน​อีก​อย่าง​หน่ึง​ก็​คือ​ ​การ​ฉัน​อาหาร​ม้ือ​เดียว​ซึ่ง​ท่าน​ กระทำ​มา​ตั้ง​แต่​ประมาณ​ปี​ ​พ​.​ศ​.​ ​๒๕๐๐​ ​แต่​ภาย​หลัง​คือ​ประมาณ​ปี​ พ​.​ศ​. ​๒๕๒๕​ ​เหล่า​สานุ​ศิษย์​ได้​กราบ​นิมนต์​ให้​ท่าน​ฉัน​ ​๒​ ​มื้อ​ ​เน่ืองจาก​ ความ​ชราภาพ​ของ​ท่าน​ ​ประกอบ​กับ​ต้อง​รับแขก​มาก​ขึ้น​ ​ท่าน​จึง​ได้​ผ่อน​ luangpordu.com

๑๘ 18 ปรนต​ ามค​ วามเ​หมาะค​ วรแ​ หง่ อ​ ตั ภาพ​ท​ ง้ั จ​ ะไ​ดเ​้ ปน็ การโ​ปรดญ​ าตโิ ยมจ​ าก​ ที่​ไกล​ๆ​​ท​ต่ี ้งั ใจ​มา​ทำบุญ​ถวายภ​ ัต​ตา​หารแ​ ด่​ทา่ น​ ​ หลวง​ปู่​แม้​จะ​ชราภาพ​มาก​แล้ว​ ​ท่าน​ก็​ยัง​อุตส่าห์​น่ัง​รับ​แขก​ ทมี่ าจากท​ ศิ ต​ า่ ง​ๆ​ ​ว​ นั แ​ ลว้ ว​ นั เ​ลา่ ​ศ​ ษิ ยท​์ กุ ค​ นก​ ต​็ ง้ั ใจม​ าเ​พอ่ื ก​ ราบน​ มสั การ​ ทา่ น​บ​ าง​คน​ก​็มา​เพราะม​ ปี​ ญั หาห​ นักอกห​ นักใจ​แก้ไขด​ ว้ ยต​ นเอง​ไมไ่​ด​้ ​จงึ ​ มุง่ ​หน้าม​ าเ​พือ่ ก​ ราบ​เรยี น​ถามป​ ัญหาเ​พอ่ื ​ใหค​้ ลาย​ความท​ กุ ขใ​์ จ​บ​ าง​คน​มา​ หาท​ า่ นเ​พอ่ื ต​ อ้ งการข​ องด​ี เ​ชน่ เ​ครอื่ งรางข​ องข​ ลงั ​ซ​ ง่ึ ก​ ม​็ กั ไดร​้ บั คำต​ อบจ​ าก​ ท่าน​วา่ ​​“​ของด​ีนัน้ ​อยทู่​ ​ตี่ ัวเ​รา​​พุทธัง​​ธ​ ัมมงั ​ส​ งั ฆง​ั ​น​ ี​่แหละข​ องด​ี”​ ​บาง​คน​มา​หา​ท่าน​เพราะ​ได้ยิน​ข่าว​เล่า​ลือ​ถึง​คุณ​ความ​ดี​ศีล​า​จา​ริย- วัตร​ของ​ท่าน​ใน​ด้าน​ต่างๆ​ ​บาง​คน​มา​หา​ท่าน​เพ่ือ​ขอ​หวย​หวัง​รวย​ทาง​ลัด​ โดย​ไม่​อยาก​ทำงาน​แ​ ต่​อยาก​ไดเ้​งิน​มากๆ​ ​ ​บาง​คน​เจบ็ ​ไข้ไ​ม่​สบายก​ ม​็ าเ​พือ่ ​ให้ท​ ่าน​รดนำ้ ม​ นต์​เ​ป่าห​ วั ​ให​้ ม​ าข​ อ ด​อก​บัว​บูชา​พระ​ของ​ท่าน​เพ่ือ​นำ​ไป​ต้ม​ด่ืม​ให้​หาย​จาก​โรค​ภัย​ไข้​เจ็บ​ต่าง​ๆ​​ นานาส​ ารพนั ​ปญั หา​แ​ ลว้ แ​ ต​ใ่ ครจ​ ะน​ ำม​ าเ​พ่ือห​ วงั ใ​หท​้ ่าน​ช่วย​ตน​​บาง​คน​ ไม่​เคย​เหน็ ​ทา่ นก​ ​อ็ ยาก​มาด​ ูว​ ่าท​ ่านม​ ีร​ ปู ​รา่ ง​หนา้ ตาอ​ ย่างไร​​บา้ ง​แคม​่ า​เหน็ ​ ก็​เกิดป​ ีต​ิ ​สบาย​อก​สบายใจ​จนล​ มื ค​ ำถามห​ รือห​ มดค​ ำถาม​ไปเ​ลย​ ​ หลาย​คน​เสีย​สละ​เวลา​ ​เสีย​ค่า​ใช้​จ่าย​เดิน​ทาง​ไกล​มา​เพ่ือ​พบ​ท่าน​​ ด้วย​เหตุ​น้ี​ ​ท่าน​จึง​อุตส่าห์​นั่ง​รับแขก​อยู่​ตลอด​วัน​โดย​ไม่​ได้​พัก​ผ่อน​เลย​​ และ​ไม่​เว้น​แม้​ยาม​ป่วย​ไข้​ ​แม้​นาย​แพทย์​ผู้​ให้การ​ดูแล​ท่าน​อยู่​ประจำ​จะ​ ขอรอ้ งทา่ น​อย่างไร​ท​ า่ น​ก​็ไมย​่ อม​ตามด​ ว้ ย​เมตตา​สงสาร​แ​ ละ​ต้องการใ​ห​้ กำลงั ใ​จ​แก่​ญาติโยมท​ กุ ค​ นท​ ีม่ า​พบ​ท่าน​ luangpordu.com

19 ๑๙ ​ท่าน​เป็น​ดุจพ​ ่อ​ ​ หลวงปู่ดู่​ท่าน​เป็น​ดุจ​พ่อ​ของ​ลูก​ศิษย์​ทุก​ๆ​ ​คน​ ​เหมือน​อย่าง​ท่ี​ พระกรรมฐ​ านส​ ายพ​ ระอ​ าจารยม​์ น่ั ​เ​รยี กห​ ลวงป​ ม​ู่ น่ั ว​ า่ ​“​ พ​ อ่ แ​ มค​่ รอ​ู าจารย”​์ ​ ​ซง่ึ ถ​ อื ​เป็น​คำย​ กย่องอ​ ยา่ ง​สูง​ เ​พ​ ่อื ​ให้​สม​ฐานะ​อัน​เป็นท​ ​รี่ วมแ​ ห่งค​ วามเ​ป็น​ กลั ยาณมติ ร​ ​ หลวงปู่ดู​ท่ ่านใ​ห้การต​ อ้ นรบั ​แขก​อย่าง​เสมอ​หน้า​กันห​ มด​​ไม่มีก​ าร​ แบ่ง​ช้ัน​วรรณะ​ ​ท่าน​จะ​พูด​ห้าม​ปราม​ ​หาก​มี​ผู้​มา​เสนอ​ตัว​เป็น​นาย​หน้า​ คอย​จัดแจง​เก่ียว​กับ​แขก​ที่​เข้า​มา​นมัสการ​ท่าน​ ​ถึง​แม้​จะ​ด้วย​เจตนา​ดี​ ​อัน​เกิด​จาก​ความ​ห่วงใย​ใน​สุขภาพ​ของ​ท่าน​ก็ตาม​ ​เพราะ​ท่าน​ทราบ​ดี​ว่า​ มี​ผ​ูใ้ ฝ่ธ​ รรม​จำนวน​มาก​ท่อี​ ุตส่าห์​เดนิ ท​ างม​ า​ไกล​​เพอ่ื น​ มสั การแ​ ละ​ซักถ​ าม​ ข้อ​ธรรม​จาก​ท่าน​ ​หาก​มา​ถึง​แล้ว​ยัง​ไม่​สามารถ​เข้า​พบท่าน​ได้​โดย​สะดวก​ ก​็จะ​ทำใหเ​้ สียก​ ำลังใจ​ ​ นเ​ี้ ปน็ เ​มตตาธ​ รรมอ​ ยา่ งส​ งู ซ​ ง่ึ น​ บั เ​ปน็ โ​ชคด​ ข​ี องบ​ รรดาศ​ ษิ ยท​์ งั้ ห​ ลาย​ ไมว​่ า่ ใ​กลห​้ รอื ไ​กล​ท​ ส​ี่ ามารถม​ โ​ี อกาสเ​ขา้ ก​ ราบน​ มสั การท​ า่ นไ​ดโ​้ ดยส​ ะดวก​ หากม​ ีผ​ ​สู้ นใจก​ าร​ปฏบิ ัติก​ รรม​ฐาน​มาห​ าท​ ่าน​​ท่าน​จะ​เมตตา​สนทนาธ​ รรม​ เป็น​พิเศษ​ ​อย่าง​ไม่​เห็น​แก่​เหน็ดเหนื่อย​ ​บาง​ครั้ง​หลวง​พ่อ​ก็​มิได้​กล่าว​ อะไร​มาก​​เพยี ง​การท​ กั ทาย​ศิษย​์ดว้ ย​ถอ้ ย​คำ​สน้ั ​ๆ​เ​ช่น​​“​เอ้า​​.​.​.​กิน​น้ำ​ชาส​ ิ​”​ ห​ รอื ​“ว​ า่ ไ​ง.​.​.​”​ ฯ​ ลฯ ​เ​ทา่ น​ ก​้ี เ​็ พยี งพ​ อทย​่ี งั ป​ ตี ใ​ิ หเ​้ กดิ ข​ น้ึ ก​ บั ศ​ ษิ ยผ​์ น​ู้ นั้ เ​หมอื น​ ดังหยาด​น้ำ​ทิพย์​ชโลม​ให้​เย็น​ฉ่ำ​ ​เกิด​ความ​สดชื่น​ตลอด​ร่าง​กาย​ ​จน​.​.​. ​ ถึง​จติ .​​.​.​ถงึ ใจ​ ​ หลวงปดู่ ท​ู่ า่ นใ​หค​้ วามเ​คารพใ​นอ​ งคห​์ ลวงป​ ทู่ วดอ​ ยา่ งม​ าก​ท​ ง้ั ก​ ลา่ ว​ luangpordu.com

๒๐ 20 ยกย่อง​ใน​ความ​ท่ี​เป็น​ผู้​ท่ี​มี​บารมี​ธรรม​เต็ม​เปี่ยม​ตลอด​ถึง​การ​ท่ี​จะ​ได้​มา​ ตรัสรู้​ธรรม​ใน​อนาคต​ ​ให้​บรรดา​ลูก​ศิษย์​ทั้ง​หลาย​ยึด​ม่ัน​และ​หมั่น​ระลึก​ ถึง​ ​โดย​เฉพาะ​อย่าง​ย่ิง​เมื่อ​ติดขัด​ใน​ระหว่าง​การ​ปฏิบัติ​ธรรม​ ​หรือ​แม้แต่​ ประสบ​ปัญหา​ใน​ทาง​โลกๆ​ ท่าน​ว่า​หลวง​ปู่ทวด​ท่าน​คอย​จะ​ช่วย​เหลือ​ทุก​ คน​อย​ู่แลว้ ​​แตข​่ อใ​ห​้ทกุ ค​ นอ​ ย่า​ได้​ท้อถอย​หรือล​ ะทงิ้ ​การ​ปฏิบตั ิ​ ​หลวงปู่ดู่​กบั ค​ ร​อู าจารย์​ท่านอ​ ื่น​ ​ ใน​ระหวา่ ง​ป​ี พ​ .​ศ​ ​.​​๒๕๓๐​​-​๒​ ๕๓๒​​ได​ม้ พ​ี ระเ​ถระแ​ ละค​ รบู าอาจารย์ หลาย​ท่าน​เดิน​ทาง​มา​เยี่ยมเยียน​หลวงปู่ดู่​ ​เช่น​หลวง​ปู่​บุด​ดา​ ​ถา​วโร​​ วัดกลางช​ ​ูศรีเ​จริญสขุ ​ ​จังหวัดส​ งิ หบ์ ุร​ี ทา่ น​เป็น​พระเ​ถระซ​ ึ่ง​มีอายุย​ า่ ง​เข้า​​ ๙๖​ป​ ี​ก​ ย​็ งั เ​มตตา​มาเ​ยี่ยม​หลวงปดู่ ู​่ ท​ ​่ีวดั ​สะแก​ถึง​๒​ ​​ครั้ง​​และ​บรรยากาศ​ ของ​การ​พบ​กัน​ของ​ท่าน​ท้ัง​สอง​นี้​ ​เป็น​ท่ี​ประทับ​ใจ​ผู้​ท่ี​อยู่​ใน​เหตุการณ์​ อยา่ งย​ ิง่ ​​เพราะต​ า่ งอ​ งคต์​ ่างอ​ ่อนน้อม​ถ่อมต​ น​ป​ ราศ​จาก​การแ​ สดงออก​ซ่ึง ​ทฏิ ฐ​ิมา​นะ​ใดๆ​​เลย​แ​ ปง้ ​เสกท​ ่​ีหลวง​ปู่​บดุ ​ดาเ​มตตา​มอบ​ให​้ หลวงปดู่ ู่​ท่าน​ ก็​เอาม​ า​ทาท​ ่ศี​ ีรษะ​เพื่อ​แสดงถ​ ึง​ความ​เคารพอ​ ย่าง​สูง​ ​ พระเ​ถระอ​ กี ท​ า่ นห​ นงึ่ ​ซ​ งึ่ ไ​ดเ้ ดนิ ท​ างม​ าเ​ยยี่ มห​ ลวงปดู่ ค​ู่ อ่ นข​ า้ งบ​ อ่ ย​ คร้งั ​​คอื ​​หลวงป​ ู่โ​งน่​ ​​โสร​โย​​วดั พ​ ระพทุ ธบาทเ​ขาร​ วก จ​ ังหวัดพ​ จิ ติ ร​​ทา่ น​ มค​ี วามห​ ว่ งใยใ​นส​ ขุ ภาพข​ องห​ ลวงปดู่ อ​ู่ ยา่ งม​ ากโ​ดยไ​ดส​้ ง่ั ใ​หล​้ กู ศ​ ษิ ยจ​์ ดั ท​ ำ​ ป้าย​กำหนดเ​วลาร​ บั แขกใ​นแ​ ตล่ ะว​ นั ข​ องห​ ลวงปูด่ ​ู่ ​เพอื่ เ​ป็นการ​ถนอมธ​ าตุ​ ขนั ธข​์ องห​ ลวงพ​ อ่ ใ​หอ​้ ยไ​ู่ ดน​้ านๆ​ แตอ​่ ยา่ งไรก​ ด​็ ​ี ไ​มช​่ า้ ไ​มน​่ าน​ห​ ลวงปดู่ ท​ู่ า่ น​ ก็​ให้น​ ำป​ ้ายอ​ อกไ​ป​เพราะ​เหตแุ​ ห่งค​ วามเ​มตตาท​ ี่​ทา่ น​มตี​ ่อผ​ ้คู น​ทัง้ ​หลาย​ luangpordu.com

21 ๒๑ ​ ใน​ระยะ​เวลา​เดียวกัน​น้ัน​ ​ครูบา​บุญ​ชุ่ม​ ​ญาณ​สังวโร​ วัด​พระ​ธาตุ ​ ดอน​เรือง​ ​ท่าน​เป็น​ศิษย์​ของ​หลวง​ปู่​โง่​น​ ​โสร​โย​ ​ก็ได้​เดิน​ทาง​มาก​ราบ​ นมสั การ​หลวงปดู่ ู​่ ​๒​​คร้งั ​โ​ดยท​ ่านไ​ดเ้​ลา่ ใ​ห้ฟ​ งั ​ภาย​หลัง​วา่ ​​เมือ่ ​ได้ม​ าพ​ บ​ หลวงปู่ด​ู่ จ​ ึงไ​ด​้รว​ู้ ่าห​ ลวงป่ดู ่​ูกค็​ ือ​พระภ​ ิกษุ​ชราภาพท​ ่ีไ​ปส​ อนท​ ่านใ​น​สมาธิ​ ใน​ช่วง​ที่​ท่าน​อธิษฐาน​เข้า​กรรม​ปฏิบัติ​ไม่​พูด​ ​๗​ ​วัน​ ​ซ่ึง​ท่าน​ก็ได้​แต่​กราบ​ ระลกึ ถ​ งึ ​อยู่​ตลอดท​ กุ ​วัน​​โดยไ​มร่ ้ว​ู ่า​พระภ​ ิกษช​ุ ราภาพร​ ูป​นค​้ี อื ​ใคร​ก​ ระทงั่ ​ ได้​มี​โอกาส​มา​พบ​หลวงปู่ดู่​ท่ี​วัด​สะแก​ ​เกิด​รู้สึก​เหมือน​ดัง​พ่อ​ลูก​ท่ี​จาก​กัน​ ไป​นานๆ​ ​​แม้​คร้งั ​ที่​​๒​ท​ ่​พี บ​กับห​ ลวงปู่ด่​ู ​หลวงปดู่ กู่​ ไ็ ดพ้​ ูดส​ อน​ให้ท่านเ​ร่ง​ ความ​เพยี ร​​เพราะห​ ลวง​พ่อ​จะอ​ ยอู่​ ีก​ไม​น่ าน​ ​ ครูบา​บุญ​ชุ่ม​ยัง​ได้​เล่า​ว่า​ ​ท่าน​ตั้งใจ​จะ​กลับ​ไป​วัด​สะแก​อีก​เพื่อ​หา​ โอกาส​ไป​อุปัฏฐาก​หลวงปู่ดู่​ ​แต่​แล้ว​เพียง​ระยะ​เวลา​ไม่​นาน​นัก​ ​ก็ได้​ข่าว​ วา่ ​หลวงปูด่ ู่ม​ รณภาพ​ย​ ังค​ วาม​สลด​สงั เวช​ใจแ​ ก​ท่ า่ น ​ ท่านไ​ด้​เขยี นบ​ ันทกึ ​ ความ​รู้สึก​ใน​ใจ​ของ​ท่าน​ไว้​ใน​หนังสือ​งาน​พระ​ราช​ทาน​เพลิง​ศพ​หลวงปู่ดู่​ ตอน​หน่งึ ​วา่ ​ “​.​.​.​หลวง​ปู่​ท่าน​มรณภาพ​ส้ิน​ไป​ ​เปรียบ​เสมือน​ดวง​อาทิตย์​ ที่​ให้​ ความ​สว่าง​ส่อง​แจ้ง​ใน​โลก​ดับ​ไป​ ​อุปมา​เหมือน​ดัง​ดวง​ประทีป​ท่ี​ให้​ความ​ สว่างไสว​แก่​ลูก​ศิษย์​ได้​ดับ​ไป​ ​ถึง​แม้​พระ​เดช​พระคุณ​หลวง​ปู่​ได้​มรณะ​ไป​ แล้ว​ ​แต่​บุญ​ญา​บารมี​ท่ี​ท่าน​แผ่​เมตตาและ​รอย​ย้ิม​อัน​อ่ิม​เอิบ​ยัง​ปรากฏ ​ ฝัง​อยู่​ใน​ดวงใจ​อาตมา​ ​มิ​อาจ​ลืม​ได้​... ถ้า​หลวง​ปู่​มี​ญาณ​รับ​ทราบ​ ​และ​ แผ่​เมตตา​ลูก​ศิษย์​ลูก​หา​ทุก​คน​ ​ขอ​ให้​พระ​เดช​พระคุณ​หลวง​ปู่​เข้า​สู่​ luangpordu.com

๒๒ 22 พระ​นิพพาน​เป็น​อม​ตะ​แด่​ท่าน​เทอญ​ ​กระผมขอก​ราบ​คารวะ​พระ​เดช-​ พระคุณห​ ลวง​ป​ู่ดพ​ู่ รหม​ปัญโญ​​ดว้ ย​ความเ​คารพส​ ูงสุด​”​ ​ นอกจากน ้ี ยงั ม​ พ​ี ระเ​ถระอ​ กี ร​ปู ห​ นง่ึ ท​ ค​ี่ วรก​ ลา่ วถ​ งึ ​เ​พราะห​ ลวงปดู่ ​ู่ ใหค​้ วามย​ กยอ่ งม​ ากใ​นค​ วามเ​ปน็ ผ​ ม​ู้ ค​ี ณุ ธ​ รรมส​ งู ​แ​ ละเ​ปน็ แ​ บบอ​ ยา่ งข​ องผ​ ท​ู้ ​ี่ มค​ี วามเ​คารพใ​นพ​ ระร​ตั นตรยั เ​ปน็ อ​ ยา่ งย​ ง่ิ ​ซ​ งึ่ ห​ ลวงปดู่ ไ​ู่ ดแ​้ นะนำส​ านศ​ุ ษิ ย​์ ให​ถ้ ือ​ท่าน​เปน็ ค​ ร​อู าจารย์อ​ กี ​ท่าน​หนงึ่ ​ด้วย​น​ น่ั ก​ ​ค็ ือห​ ลวงพ​ อ่ ​เกษม​​เขม​โก​ แห่ง​สุสานไ​ตร​ลกั ษณ​์ ​จงั หวดั ล​ ำปาง​ ​ปจั ฉิม​วาร​ ​ นับ​แต่​ ​พ​.​ศ​.​ ​๒๕๒๗​ ​เป็นต้น​มา​ ​สุขภาพ​ของ​หลวง​ปู่​เริ่ม​แสดง ​ไตร​ลักษณะ​ให้​ปรากฏ​อย่าง​ชัดเจน​ ​สังขาร​ร่างกาย​ของ​หลวง​ปู่​ซึ่ง​ก่อ​เกิด​ มาจ​ าก​ธาตด​ุ นิ ​น​ ้ำ​​ลม​​ไฟ​​และ​มี​ใจค​ รอง​เหมือน​เรา​ๆ​ท​ า่ นๆ​ ​เ​มอื่ ส​ ังขาร​ ผา่ น​มา​นาน​วนั ​ ​โดยเ​ฉพาะอ​ ยา่ ง​ยิง่ ​ถา้ ม​ ีก​ ารใ​ชง้​าน​มาก​ แ​ ละ​พกั ​ผอ่ น​นอ้ ย​​ ความ​ทรดุ ​โทรมก​ ย็​ อ่ ม​เกดิ ​เร็วข​ ึ้นก​ ว่า​ปรกติ​​กลา่ วค​ ือ​ส​ งั ขาร​รา่ งกายข​ อง​ ท่าน​ได้​เจ็บ​ป่วย​อ่อนเพลีย​ลง​ไป​เป็น​ลำดับ​ ​ใน​ขณะ​ท่ี​บรรดา​ลูก​ศิษย์​ลูก​ หา​ท้ัง​ญาติโยม​และ​บรรพชิต​ก็​หล่ัง​ไหล​กัน​มา​นมัสการ​ท่าน​เพิ่ม​ขึ้น​ทุก​วัน​ ใ​นท​ า้ ยท​ สี่ ดุ แ​ หง่ ช​ วี ติ ข​ องห​ ลวงปดู่ ​ู่ ด​ ว้ ยป​ ณธิ านท​ ต​ี่ ง้ั ไ​วว​้ า่ ​“​ ส​ แ​ู้ คต​่ าย”​ ​ท​ า่ น​ ใช้​ความ​อดทน​อด​กลั้น​อย่าง​สูง​ ​แม้​บาง​คร้ัง​จะ​มี​โรค​มา​เบียดเบียน​อย่าง​ หนัก​ท่าน​ก็​อุตส่าห์​ออก​โปรด​ญาติโยม​เป็น​ปกติ​ ​พระ​ที่​อุปัฏฐาก​ท่าน​ได้​ เล่า​ให้​ฟงั ว​ า่ บ​ าง​ครง้ั ถ​ ึงข​ นาด​ทท่ี​ ่าน​ต้องพ​ ยงุ ต​ วั ​เอง​ขึน้ ด​ ว้ ยอ​ าการ​ส่ัน​และ​ มี​น้ำตา​คลอเ​บา้ ​​ท่าน​ก็​ไม่​เคย​ปริปาก​ใหใ​้ ครต​ อ้ งเ​ปน็ ก​ งั วลเ​ลย ​ใน​ปีท​ ้ายๆ​ ​ luangpordu.com

23 ๒๓ ท่าน​ถูก​ตรวจ​พบ​ว่า​เป็น​โรค​ล้ิน​หัวใจ​รั่ว​ ​แม้​นาย​แพทย์​จะ​ขอร้อง​ท่าน​เข้า​ พัก​รักษา​ตัว​ท่ี​โรง​พยาบาล​ ​ท่าน​ก็​ไม่​ยอม​ไป​ ​ท่าน​เล่า​ให้​ฟัง​ว่า​ ​“​แต่​ก่อน ​เรา​เคย​อยาก​ดี​ ​เมื่อ​ดแี ลว้ ​ก​เ็ อา​ให​ห้ าย​อยาก​ อยา่ ง​มาก​ก​ส็ ​แู้ ค​ต่ าย​ ใคร​จะ ​เหมอื น​ขา้ ​ข​ า้ ​บนต​ วั ต​ าย​”​ ​มี​บาง​ครั้ง​ได้​รับ​ข่าว​ว่า​ท่าน​ล้ม​ขณะ​กำลัง​ลุก​เดิน​ออก​จาก​ห้อง​เพ่ือ​ ออก​โปรด​ญาติโยม​​คอื ​ป​ ระมาณ​๖​ ​​นาฬกิ า​อ​ ย่าง​ท​่ีเคย​ปฏิบัตอิ​ ย่​ทู กุ ​วัน​ โดย​ปกติ​ใน​ยาม​ท่ี​สุขภาพ​ของ​ท่าน​แข็ง​แรง​ดี​ ​ท่าน​จะ​เข้า​จำวัด​ประมาณ​ ส่ี​ห้า​ทุ่ม​ ​แต่​กว่า​จะ​จำ​วัด​จริง​ๆ​ ​ประมาณ​ ​เท่ียง​คืน​หรือ​ตี​หนึ่ง​ ​แล้ว​มา​ ต่ืน​นอน​ตอน​ประมาณ​ตี​สาม​ ​มา​ช่วง​หลัง​ท่ี​สุขภาพ​ของ​ท่าน​ไม่​แข็ง​แรง​ จงึ ​ตืน่ ​ตอน​ประมาณต​ ส​ี ี​่ถึงต​ ีห​ ้า​​เสร็จ​กิจ​ทำวตั รเ​ชา้ แ​ ละ​กิจธ​ ุระ​ส่วน​ตวั ​แลว้ ​ จงึ ​ออก​โปรด​ญาติโยม​ทหี่​ นา้ ก​ ฏุ ิ​ ประมาณป​ ลายป​ ​ี พ​ .​ศ​ .​​๒​ ๕๓๒​ห​ ลวงปดู่ พ​ู่ ดู บ​ อ่ ยค​ รง้ั ใ​นค​ วามห​ มาย​ ว่า​​ใกลถ้​ งึ เ​วลา​ท่​ที า่ นจ​ ะล​ ะส​ งั ขาร​นี​้แล้ว​​ใน​ชว่ งท​ า้ ยข​ อง​ชีวิตท​ า่ น​ธ​ รรมท​ ​่ี ถา่ ยทอดย​ งิ่ เ​ดน่ ช​ ดั ข​ นึ้ ​ม​ ใิ ชด​่ ว้ ยเ​ทศนาธ​ รรมข​ องท​ า่ น​ห​ ากแ​ ตเ​่ ปน็ การส​ อน​ ด้วย​การ​ปฏิบัติ​ให้​ดู​ ​โดย​เฉพาะ​อย่าง​ย่ิง​ปฏิปทา​ใน​เรื่อง​ของ​ความ​อดทน​ สม​ดงั ท​ พ​่ี ระ​สัมมา​สมั ​พุทธเ​จ้า​ได​ป้ ระทานไ​ว​ใ้ นโ​อ​วาท​ปาฏิโ​มกข์​ว่า​“​ ​ขัน​ต​ี ปรม​งั ​ต​ โป​​ตต​ี ิก​ขา​ความอ​ ดทน​เปน็ ต​ บะ​อย่างย​ ่งิ ”​ ​แ​ ทบจ​ ะไ​ม่มีใ​ครเ​ลย​ นอกจากโ​ยมอ​ ปุ ฏั ฐากใ​กลช​้ ดิ ท​ ท​ี่ ราบว​ า่ ทท​่ี า่ นน​ ง่ั ร​บั แขกบ​ นพ​ น้ื ไ​มก​้ ระด​ าน​ แขง็ ๆ​​ทุกว​ ันๆ​​ต้ังแ​ ต่เ​ชา้ จ​ รด​คำ่ ​เ​ป็น​ระยะ​เวลาน​ ับส​ ิบๆ​ ​ป​ ​ี ​ด้วย​อาการ​ย้ิม​ แย้มแ​ จม่ ใส​ใ​ครท​ กุ ข​ใ์ จมา​ท​ า่ น​กแ​็ ก้ไขใ​ห​้ได​ร้ ับค​ วาม​สบายใจ​กลบั ไ​ป​​แต่​ เบื้องห​ ลงั ​​ก็​คอื ​​ความล​ ำบากท​ าง​ธาตุข​ นั ธ​ข์ อง​ทา่ น​​ท​่ที า่ น​ไม​่เคยป​ รปิ าก​ luangpordu.com

๒๔ 24 บอก​ใคร​ ​กระทั่ง​วัน​หน่ึง​ ​โยม​อุปัฏฐาก​ได้​รับ​การ​ไหว้​วาน​จาก​ท่าน​ให้​เดิน​ ไป​ซื้อ​ยาท​ าแ​ ผลใ​ห้​ทา่ น​จ​ งึ ไ​ดม​้ ​โี อกาสข​ อด​ ​แู ละ​ได​้เหน็ แ​ ผลท​ ีก่​ น้ ท​ ่าน​ซ​ ่งึ ม​ ​ี ลักษณะแ​ ตกซ​ ำ้ ​ๆ​ซ​ ากๆ​ ​ใ​น​บริเวณ​เดิม​เ​ป็นท​ ​่ีสลดใ​จจ​ นไ​ม​อ่ าจ​กลน้ั ​นำ้ ตา​ เอาไ​ว้​ได้​ ​ท่าน​จึง​เป็น​ครู​ที่​เลิศ​ ​สม​ดัง​พระพุทธ​โอวาท​ท่ี​ว่า​ ​สอน​เขา​อย่างไร​ พงึ ป​ ฏบิ ตั ใ​ิ หไ​้ ดอ​้ ยา่ งน​ นั้ ​ด​ งั น​ นั้ ​ธ​ รรมใ​นข​ อ้ ​“​ อ​ นตั ตา”​ ซ​ ง่ึ ห​ ลวงป​ ท​ู่ า่ นย​ กไว​้ เปน็ ธ​ รรมช​ น้ั เ​อก​ท​ า่ นก​ ไ็ ดป​้ ฏบิ ตั ใ​ิ หเ​้ หน็ เ​ปน็ ท​ ป​ี่ ระจกั ษแ​์ กส​่ ายตาข​ องศ​ ษิ ย​์ ทั้ง​หลาย​แล้ว​ถึง​ข้อ​ปฏิบัติ​ต่อ​หลัก​อนัตตา​ไว้​อย่าง​บริบูรณ์​ ​จน​แม้​ความ​ อาลัย​อาวรณ์​ใน​สังขาร​ร่างกาย​ที่​จะ​มา​หน่วง​เหน่ียว​ ​หรือ​สร้าง​ความ​ทุกข์​ ร้อนแ​ ก่​จติ ใจท​ ่าน​ก​็มิไดป้​ รากฏ​ให​เ้ หน็ เ​ลย​ ​ในต​ อนบ​ ่ายข​ องว​ นั ​กอ่ นห​ นา้ ท​่ีทา่ น​จะ​มรณภาพ​ข​ ณะท​ ​ที่ า่ น​กำลัง​ เอนกาย​พัก​ผอ่ น​อยู่น​ ั้น​​กม​็ ีน​ าย​ทหาร​อากาศผ​ ้หู​ น่ึงม​ า​กราบน​ มัสการท​ า่ น​​ ซง่ึ เ​ปน็ การม​ าค​ รงั้ แ​ รก​ห​ ลวงปดู่ ไ​ู่ ดล​้ กุ ข​ นึ้ น​ งั่ ต​ อ้ นรบั ด​ ว้ ยใ​บหนา้ ท​ ส​่ี ดใส​ร​าศ​ี เปล่งปลง่ั ​เปน็ ​พิเศษ​​กระท่งั ​บรรดาศ​ ิษย์​ณ​ ​ท​ น​่ี น่ั ​​เห็น​ผิด​สงั เกต​ห​ ลวง​ปู่​ แสดง​อาการ​ยินดี​เหมือน​รอ​คอย​บุคคล​ผู้​น้ี​มา​นาน​ ​ท่าน​ว่า​ ​“​ต่อ​ไป​นี้​ ขา้ จะไ​ดห​้ ายเ​จบ็ ห​ ายไ​ขเ​้ สยี ท”​ี ​ไ​มม่ ใ​ี ครค​ าดค​ ดิ ม​ าก​ อ่ นว​ า่ ท​ า่ นก​ ำลงั โ​ปรด ​ลูก​ศิษย์​คน​สุดท้าย​ของ​ท่าน​ ​หลวงปู่ดู่​ท่าน​ได้​แนะนำ​การ​ปฏิบัติ​พร้อม​ท้ัง​ ให้น​ ่งั ​ปฏบิ ัตติ​ อ่ ​หน้า​ท่าน​​ซ่ึง​เขาก​ ​ส็ ามารถป​ ฏิบัติ​ได้​ผล​เปน็ ท​ ีน่​ ่าพ​ อใจท​ ่าน​ ยำ้ ​ใน​ตอน​ทา้ ยว​ า่ ​“​ ข​ ้า​ขอ​ฝากใ​ห้​แก​ไป​ปฏิบตั ติ​ อ่ ​”​ ​ ใน​คืน​นั้น​ก็ได้​มี​คณะ​ศิษย์​มาก​ราบ​นมัสการ​ท่าน​ซึ่ง​การ​มา​ใน​คร้ัง​นี้​ ไมม่ ใ​ี ครค​ าดค​ ดิ ม​ าก​ อ่ นเ​ชน่ ก​ นั ว​ า่ จ​ ะเ​ปน็ การม​ าพ​ บก​ บั ส​ งั ขารธ​ รรมข​ องท​ า่ น​ luangpordu.com

25 ๒๕ เป็น​คร้ัง​สดุ ทา้ ยแ​ ลว้ ​ห​ ลวงปู่ดูไ่​ดเ​้ ลา่ ​ให​้ศิษย​์คณะ​นฟ​ี้ งั ​ดว้ ยส​ ีหนา้ ​ปรกตว​ิ า่ ​ “ไ​มม่ ส​ี ว่ นห​ นง่ึ ส​ ว่ นใ​ดใ​นร​า่ งกาย​ข​ า้ ท​ ไ​่ี มเ​่ จบ็ ป​ วดเ​ลย​ถ​ า้ เ​ปน็ ค​ นอ​ นื่ ค​ งเ​ขา้ ​ หอ้ งไ​อซ​ ย​ี ไ​ู ปน​ านแ​ ลว้ ”​ พ​ รอ้ มท​ ง้ั พ​ ดู ห​ นกั แ​ นน่ ว​ า่ ​“​ ข​ า้ จ​ ะไ​ปแ​ ลว้ น​ ะ”​ ​ท​ า้ ย​ ทสี่ ดุ ทา​่ น​ กเ​็ มตตาก​ ลา่ วย​ ำ้ ใ​หท​้ กุ ค​ นต​ งั้ อ​ ยใ​ู่ นค​ วามไ​มป​่ ระมาท​“​ ถ​ งึ อ​ ยา่ งไร​ กข​็ ออ​ ยา่ ไ​ดท​้ ง้ิ ก​ ารป​ ฏบิ ตั ​ิ ก​ เ​็ หมอื นน​ กั ม​ วยข​ น้ึ เ​วทแ​ี ลว้ ต​ อ้ งช​ ก​อยา่ ม​ วั แ​ ต​่ ต​ ง้ั ท​ า่ เ​งอะๆ​ ​ง​ะๆ”​ ​น​ ด​้ี จุ เ​ปน็ ป​ จั ฉมิ โ​อวาทแ​ หง่ ผ​ เ​ู้ ปน็ พ​ ระบรมค​ รข​ู องผ​ เ​ู้ ปน็ ​ ศษิ ย์​ทุก​คน​อ​ ัน​จะไ​มส่​ ามารถ​ลืมเ​ลอื นไ​ดเ​้ ลย​ ​ หลวงปดู่ ไ​ู่ ดล​้ ะส​ งั ขารไ​ปด​ ว้ ยอ​ าการอ​ นั ส​ งบด​ ว้ ยโ​รคห​ วั ใจใ​นก​ ฏุ ท​ิ า่ น​ เม่อื เ​วลา​ประมาณ​๕​ ​​นาฬิกาข​ อง​วนั พุธ​ที​่ ​๑๗​​มกราคม​พ​ ​.​ศ​.​​๒๕๓๓​​อาย​ุ ๘๕​ป​ ​ี ๘​ ​เ​ดอื น​อ​ ายพ​ุ รรษา​๖​ ๕​พ​ รรษา​ส​ งั ขารธ​ รรมข​ องท​ า่ นไ​ดต​้ งั้ บ​ ำเพญ็ ​ กุศล​โดย​มี​เจ้า​ภาพ​สวด​อภิ​ธรรม​เรื่อย​มา​ทุก​วัน​มิได้​ขาด​ ​ตลอด​ระยะ​เวลา​​ ๔๕๙​​วัน​จนก​ ระทงั่ ​ไดร้​ บั ​พระราชทานเ​พลิงศ​ พ​เป็น​กรณี​พเิ ศษ ในว​ นั เ​สาร​์ ท​ี่ ​๒๐​เ​มษายน​๒​ ๕๓๔​ พระคุณ​เจ้า​หลวงปดู่ ู่​พ​ รหม​ปญั โญ​ไ​ด​้อปุ สมบท​และ​จำพ​ รรษา​อย​ู่ ณ​ว​ ดั ส​ ะแก​ม​ าโ​ดยต​ ลอด​จ​ นก​ ระทงั่ ม​ รณภาพ​ยงั ค​ วามเ​ศรา้ โ​ศกแ​ ละอ​ าลยั ​ แกศ​่ ษิ ยานศุ ษิ ยแ​์ ละผ​ เ​ู้ คารพร​กั ท​ า่ นเ​ปน็ อ​ ยา่ งย​ ง่ิ ​อ​ ปุ มาด​ งั่ ด​ วงป​ ระทปี ท​ เ​่ี คย​ ใหค​้ วาม​สวา่ งไสว​แก​่ศษิ ยานุศิษย​์ได้​ดับ​ไป​​แตเ​่ มตตา​ธรรม​และ​คำ​สั่ง​สอน​ ของ​ท่าน​จะ​ยัง​ปรากฏ​อยู่​ใน​ดวงใจ​ของ​ศิษยานุศิษย์​และ​ผู้​ที่​เคารพ​รัก​ท่าน​ ตลอด​ไป​บดั น้ี​​สิง่ ท​ ่ีค​ งอ​ ยู​่มิใชส่​ งั ขารธ​ รรมข​ องท​ ่าน​ห​ ากแ​ ตเ​่ ป็นห​ ลวงปูด่ ู​่ องค์​แท้​ที่​ศิษย์​ทุก​คน​จะ​เข้า​ถึง​ท่าน​ได้​ด้วย​การ​สร้าง​คุณ​งาม​ความ​ดี​ให้​เกิด​ ใหม​้ ​ีขึ้นท​ ี​่ตนเอง​​สม​ดังท​ ​่ที า่ น​ได​ก้ ล่าว​ไว​เ้ ป็นค​ ติ​วา่ ​ luangpordu.com

๒๖ 26 “​ ต​ ราบใ​ดก​ ต็ ามท​ แ​่ี กย​ งั ไ​มเ​่ หน็ ค​ วามด​ ใ​ี นต​ วั ​ก​ ย​็ งั ไมน​่ บั ว​ า่ แ​ กร​จู้ กั ข​ า้ ​ แ​ ตถ​่ า้ เ​มอื่ ใ​ด​แ​ กเรมิ่ เ​หน็ ค​ วามด​ ใ​ี นต​ วั เ​องแ​ ลว้ ​เ​มอื่ น​ น้ั ... ขา้ จ​ งึ ว​ า่ แ​ กเรม่ิ ​ รจู้ ัก​ขา้ ​ดข​ี นึ้ ​แลว้ ”​ ​ ​ ธรรมท​ ัง้ ​หลาย​ทีท​่ ่านไ​ด้พ​ รำ่ ส​ อน​ท​ ุก​วรรคต​ อน​แหง่ ธ​ รรม​ท่ี​บรรดา​ ศิษย์​ได้​น้อมนำ​มา​ปฏิบัติ​ ​นั้น​ก็​คือ​การ​ที่​ท่าน​ได้​เพาะ​เมล็ด​พันธ์ุ​แห่ง​ความ​ ดีงาม​บน​ดวงใจ​ของ​ศิษย์​ทุก​คน​ ​ซ่ึง​นับ​วัน​จะ​เติบ​ใหญ่​ผลิ​ดอก​ออก​ผล​เป็น​ สติ​และ​ปัญญา​บน​ลำต้น​ท่ี​แข็ง​แรง​คือ​สมาธิ​ ​และ​บน​พ้ืน​ดิน​ท่ี​มั่นคง​แน่น​ หนาค​ ือ​ศ​ ลี ​ส​ ม​ดัง​เจตนารมณ​ท์ ี่​ทา่ นไ​ดท้​ มุ่ เทท​ งั้ ​ชวี ิต​ด​ ว้ ย​เมตตาธ​ รรม​อัน​ ยิง่ ​​อัน​จกั ห​ า​ได​้ยาก​ท้ังใ​น​อดีต​​ปจั จบุ ัน​​และ​อนาคต.​.​​.​ ​ luangpordu.com

luangpordu.com

คติ​ธรรมคำสอน​ ​หลวงป​ ู​่ดู​่ พ​ รหม​ปัญโญ​ luangpordu.com

29 ๒๙ ๑​ ส​ มมุตแ​ิ ละว​ ิ​มตุ ติ​ ​ ​ ​ ใ​นว​ นั ส​ นิ้ ป​ เ​ี มอ่ื ห​ ลายป​ ก​ี อ่ น​ผ​ เ​ู้ ขยี นไ​ดม​้ าค​ า้ งค​ นื อ​ ยป​ู่ ฏบิ ตั ท​ิ ว​่ี ดั ส​ ะแก​ และ​ได้​มี​โอกาส​เรียน​ถาม​ปัญหา​การ​ปฏิบัติ​กับ​หลวงปู่​เรื่อง​นิมิต​จริง​นิมิต​ ปลอมท​ ่ีเ​กิดข​ ้นึ ภ​ ายใน​จากก​ ารภ​ าวนา​​ท่านต​ อบ​ให้​สรุป​ใจความไ​ด​้วา่ ​ ​ ต​ อ้ งอ​ าศยั ส​ มมตุ ข​ิ น้ึ ก​ อ่ น​จ​ งึ จ​ ะเ​ปน็ ว​ ม​ิ ตุ ตไ​ิ ด​้ เ​ชน่ ​ก​ ารท​ ำอ​ สภุ ะ​ ห​ รอื ​ กสณิ น​ ัน้ ​ต​ ้อง​อาศยั ส​ ญั ญา​และส​ งั ขาร​นอ้ ม​นึกเ​ป็นน​ มิ ติ ข​ นึ้ ​​ใน​ข้นั ​น้ไ​ี ม​่ควร​ สงสยั ​ว่า​นิมิต​นัน้ ​เป็นข​ องจ​ รงิ ห​ รือข​ องป​ ลอม​ม​ า​จาก​ภายนอก​หรอื ม​ าจ​ าก​ จติ ​เ​พราะเ​ราจ​ ะอ​ าศยั ส​ มมตุ ต​ิ วั น​ ไ​้ี ปท​ ำป​ ระโยชนต​์ อ่ ​ค​ อื ย​ งั จ​ ติ ใ​หเ​้ ปน็ ส​ มาธ​ิ แนว่ ​แน่​ขน้ึ ​แ​ ต่​กอ​็ ย่าส​ ำคญั ​มั่น​หมายว​ ่าต​ นร​ เู้​ห็น​แล้ว​ห​ รือ​ดว​ี เิ ศษ​แลว้ ​ ​ ​การ​น้อม​จิต​ต้ัง​นิมิต​เป็น​องค์​พระ​ ​เป็น​ส่ิง​ที่​ดี​ ​ไม่​ผิด​ ​เป็น​ศุภ​นิมิต​ คอื ​นิมติ ท​ ​ด่ี ​ี ​เมอื่ ​เหน็ อ​ งค​พ์ ระ​ใ​ห้​ต้ัง​สต​ิคมุ เ​ขา้ ไปต​ รง​ๆ​ ​(​​ไม่ป​ รงุ ​แตง่ ​​หรอื ​ อยากโ​นน้ ​น​้)ี ​​ไมอ​่ อก​ซ้าย​ไ​ม่อ​ อก​ขวา​​ทำความเ​ลอ่ื ม​ใส​เขา้ ​เ​ดินจ​ ติ ​ให​้แนว่ ​ แน​่ ​สติล​ ะเอยี ด​เขา้ ​ต​ อ่ ​ไปก​ ็​จะส​ ามารถ​แยกแยะ​หรอื ​พจิ ารณา​นิมิต​ใหเ้​ปน็ ​ ไตรล​ กั ษณ​์จน​เกิด​ปญั ญา​​สามารถจ​ ะก​ ้าว​เขา้ ​สูว่​ ม​ิ ุตต​ิได้ luangpordu.com

๓๐ 30 ๒​ ​ ​อุปมาศ​ ลี ​​สมาธ​ิ ​ปญั ญา​ ​ ​ ​ ​คร้ัง​หนึ่ง​ได้​มี​โอกาส​สนทนา​ธรรม​กับ​หลวง​น้า​สาย​หยุด​ ​ท่าน​ได้​ เมตตา​เล่า​ให้​ผู้​เขียน​ฟัง​ว่า​ ​หลวงปู่​เคย​เปรียบ​ธรรมะ​ของ​พระพุทธเจ้า​ เหมือน​แกงส้ม​​แกงสม้ น​ ้ันม​ ี​​๓​​รส​ค​ ือ​เ​ปรย้ี ว​​เคม็ ​และ​เผด็ ​​ซึง่ ​มี​ความ​ หมาย​ดังน​ี้ ​ ​รสเ​ปรยี้ ว​​หมาย​ถงึ ​ศ​ ีล​ค​ วาม​เปรยี้ วจ​ ะก​ ดั กร่อนค​ วามส​ กปรกอ​ อก​ ได้​ฉันใด​​ศลี ​ก็​จะข​ ัดเกลา​ความห​ ยาบ​ออกจ​ ากก​ าย​​วาจา​ใ​จ​​ไดฉ้​ นั น​ น้ั ​ ​ ​รสเ​คม็ ​​หมาย​ถึง​ส​ มาธิ​ค​ วาม​เค็มส​ ามารถร​ ักษา​อาหารต​ ่างๆ​​ไม​่ให้​ เนา่ เ​สยี ไ​ดฉ​้ นั ใด​ส​ มาธก​ิ ส​็ ามารถร​กั ษาจ​ ติ ข​ องเ​ราใ​หต​้ ง้ั ม​ น่ั อ​ ยใ​ู่ นค​ ณุ ค​ วามด​ ​ี ได้ฉ​ นั ​นั้น​ ​ ​รส​เผ็ด​ ​หมาย​ถึง​ ​ปัญญา​ ​ความ​เผ็ด​ร้อน​โลด​แล่น​ไป​ ​เปรียบ​ได้​ดั่ง​ ปัญญา​ท่ี​สามารถ​ก่อ​ให้​เกิด​ความ​แจ้ง​ชัด​ ​ขจัด​ความ​ไม่รู้​เปล่ียน​จาก​ของ​ ควำ่ ​เปน็ ข​ องห​ งาย​จ​ าก​มืด​เป็นส​ วา่ ง​ไดฉ​้ ัน​นน้ั ​ luangpordu.com

31 ๓๑ ๓​ ​ ​หนง่ึ ใ​นส​ ​่ี ​ ​ ​ ​คร้งั ​หน่ึงห​ ลวงป​ู่ไดป้​ รารภธ​ รรม​กับ​ผ​้เู ขียน​วา่ ​.​.​.​ ​ ​“​ข้า​นั่ง​ดูด​ยา​ ​มอง​ดู​ซอง​ยา​แล้ว​ก็​ตั้ง​ปัญหา​ถาม​ตัว​เอง​ว่า​ ​เรา​น่ี​ ปฏบิ ตั ไ​ิ ด​้ ๑​ ​ใ​น​๔​ ​ข​ องศ​ าสนาแ​ ลว้ ห​ รอื ย​ งั ?​​ถ​ า้ ซ​ องย​ าน​ แ​้ี บง่ เ​ปน็ ​๔​ ​ส​ ว่ น​ เรา​นยี่​ ัง​ไมไ​่ ด​้ ​๑​ใ​น​​๔​​มนั จ​ วนเ​จียนจ​ ะไ​ด​้แลว้ ​มันก​ ​ค็ ลาย​​เหมอื น​เรา​มัด​ เชือก​จนเ​กือบ​จะ​แน่นไ​ดท้ แ​่ี ล้วเ​รา​ปล่อย​​มัน​ก็​คลายอ​ อก​เ​ราน​ ี่​ยงั ไ​ม่เ​ช่อื ​ จริง​​ถา้ เ​ชอื่ จ​ รงิ ​ก​็ตอ้ งไ​ด​้ ​๑​ใ​น​​๔​​แลว้ ”​ ​ ​ ​ตอ่ ​มา​ภาย​หลงั ท​ า่ น​ไดข​้ ยาย​ความ​ให​ผ้ ​เู้ ขยี นฟ​ งั ​วา่ ​​ทว​่ี า่ ​๑​ ​​ใน​​๔​น​ น้ั ​​ อุปมา​ดั่ง​การ​ปฏิบัติ​ธรรม​เพ่ือ​ให้​บรรลุ​มรรคผล​ใน​พุทธ​ศาสนา​ซ่ึง​แบ่ง​เป็น​ ขั้น​โสดา​บัน​ ​สกิ​ทา​คามี​ ​อ​นาคา​มี​ ​และ​อร​หัต​ต​ผลอ​ย่าง​น้อย​เรา​เกิด​มา​ ชาติ​หน่ึง​ชาติ​น้ี​ ​ได้​พบพระ​พุทธ​ศาสนา​ซ่ึง​เปรียบ​เสมือน​สมบัติ​อัน​ล้ำค่า​ แล้ว​​หาก​ไม​ป่ ฏบิ ตั ธ​ิ รรม​ให​ไ้ ด​้ ๑​ ​​ใน​๔​ ​​ของ​พทุ ธ​ศาสนาเ​ปน็ ​อยา่ งน​ อ้ ย​คอื ​ เขา้ ถงึ ​ความเ​ปน็ ​พระ​โสดาบ​ ัน​​ปิดป​ ระตอ​ู บาย​ภมู ​ิใหไ​้ ด​้ ​ก็เ​ท่ากับว​ ่าเ​รา​เปน็ ​ ผู้​ประมาท​อย​เู่ หมอื นเ​ราม​ ​ีข้าวแ​ ล้ว​ไมก่​ นิ ​ม​ ​ีนา​แล้ว​ไมท่​ ำ​ฉ​ ันใดก​ ​ฉ็ นั ​น้ัน​ luangpordu.com

๓๒ 32 ๔​ ​ ​อานสิ งส์ก​ าร​ภาวนา​ ​ ​ ​ ​หลวงปท่​ู า่ น​เคยพ​ ดู ​เสมอ​วา่ ​ ​ “​ ​อปุ ช​ั ฌาย​์ข้า​ ​(​หลวงปกู่​ ล่นั )​​ ​สอน​วา่ ​ ​ภาวนาไ​ด​เ้ ห็น​แสงส​ ว่าง​ เท่าป​ ลายห​ วั ไม​้ขดี ​​ช่ัวป​ ระ​เดีย๋ ว​เดียว​เ​ทา่ ช​ ้างก​ ระดิก​ห​ู ง​ู​แลบ​ลน้ิ ​​ยัง​ม​ี อานสิ งสม์​ าก​กวา่ ​ตักบาตร​จนข​ นั ล​ งหนิ ท​ ะลุ”​ ​ ​ ​พวก​เรา​มัก​จะไ​ดย้ ินท​ า่ น​คอยใ​หก​้ ำลังใ​จ​อยบ​ู่ ่อย​ๆ​​ว่า​ ​ “​ ​หมน่ั ท​ ำ​เขา้ ไ​ว​้ ห​ มน่ั ​ทำ​เข้าไ​ว​้ ​ต่อ​ไปจ​ ะไ​ด้เ​ปน็ ​ท่ีพ​ ง่ึ ภ​ าย​หน้า”​ ​ ​ เสมือน​หนง่ึ ​เปน็ การ​เตอื น​ให​้เรา​เร่ง​ความ​เพียร​ให้​มาก​ ​การ​ให​้ทาน​ รกั ษา​ศลี ​รอ้ ย​ครง้ั ​พนั ​ครง้ั ​ก​็ไม​่เทา่ กบั ​นง่ั ​ภาวนา​หน​เดยี ว​ ​นง่ั ​ภาวนา​รอ้ ย​ครง้ั ​ พัน​ครั้ง​ ​กุศล​ท่ี​ได้​ก็​ไม่​เท่า​กุศล​จิต​ที่​สงบ​เป็น​สมาธิ​ท่ี​เกิด​ปัญญา​เพียง​ คร้ัง​เดยี ว​ ​ ​ขนั ​ลงหิน​​คือ​ภ​ าชนะ​ใช​ใ้ สอ​่ าหาร​สำหรบั ​เตรยี ม​ใส​บ่ าตร​พระ​ซ​ ่งึ ​คน​สมยั ​ก่อนน​ ยิ มใ​ช​้ luangpordu.com

33 ๓๓ ​๕​ แ​ สงส​ วา่ งเ​ปน็ ก​ เิ ลส​?​​ ​ ​ ​ มี​คนเ​ล่า​ใหห​้ ลวงปฟ​ู่ ัง​วา่ ​ม​ ​ีผู้ก​ ลา่ วว​ ่าการท​ ำ​สมาธ​ิแลว้ ​บงั เกดิ ค​ วาม​ สว่าง​หรือ​เห็นแ​ สงส​ วา่ งน​ ัน้ ไ​มด​่ เี​พราะ​เป็นก​ เิ ลส​ม​ ืดๆ​ ​จ​ งึ ​จะ​ด​ี ​ หลวง​ปู​ท่ ่านก​ ล่าวว​ า่ ​ ​ “​ที่​ว่า​เป็น​กิเลส​ก็​ถูก​ ​แต่​เบื้อง​แรก​ต้อง​อาศัย​กิเลส​ไป​ละ​กิเลส​ ​(​อาศัย​กิเลส​ส่วน​ละเอียด​ไป​ละ​กิเลส​ส่วน​หยาบ​)​ ​แต่​ไม่​ได้​ให้​ติด​ใน​แสง​ สว่าง​หรือ​หลง​แสง​สว่าง​ ​แต่​ให้​ใช้​แสง​สว่าง​ให้​ถูก​ ​ให้​เป็น​ประโยชน์​​ เหมอื นอ​ ยา่ งก​ บั เ​ราเ​ดนิ ผ​ า่ นไ​ปใ​นท​ ม​ี่ ดื ​ต​ อ้ งใ​ชแ​้ สงไ​ฟ​ห​ รอื จ​ ะข​ า้ มแ​ มน่ ำ้ ​ มหาสมุทร​ก็​ต้อง​อาศัย​เรือ​ ​อาศัย​แพ​ ​แต่​เมื่อ​ถึง​ฝั่ง​แล้ว​ก็​ไม่​ได้​แบก​เรือ​ แบก​แพข​ ้ึน​ฝง่ั ​ไป​”​ ​ แสง​สว่าง​อัน​เป็น​ผล​จาก​การ​เจริญ​สมาธิ​ก็​เช่น​กัน​ ​ผู้​มี​สติ​ปัญญา​ สามารถ​ใช้​เพื่อ​ให้​เกิด​ปัญญา​ อัน​เป็น​แสง​สว่าง​ภายใน​ที่​ไม่มี​แสง​ใด​เสมอ​ เหมือน​​ดงั ธ​ รรม​ทว​ี่ า่ ​​ “​นตั ถ​ิ ป​ ญั ญา​​สมา​​อาภา​แ​ สง​สวา่ งเ​สมอ​ด้วยป​ ญั ญาไ​ม่ม”ี​ ​ ​ luangpordu.com

๓๔ 34 ​๖​ ป​ ลูกต​ น้ ธ​ รรม​ ​ ​ ​ ​ครั้ง​หนงึ่ ห​ ลวงป​ู่เคย​เปรยี บ​การป​ ฏบิ ตั ิธ​ รรมเ​หมือนก​ ารป​ ลูกต​ ้นไม​้ ​ ​ท่าน​ว่า​.​.​.​ปฏิบัติ​นี้​มัน​ยาก​ ​ต้อง​คอย​บำรุง​ดูแล​รักษา​เหมือน​กับ​เรา​ ปลกู ​ต้นไม​้ ​ ​ ศ​ ีล.​.​.​​..​​.​.​..​​..​.​.​.​.​.​.​.​.​​คือ​ด​ นิ ​ ​ ​ ส​ มาธ​.ิ ​.​..​​.​.​..​​..​​..​.​.​.​ค​ ือ​​ลำตน้ ​ ​ ​ ป​ ญั ญา​.​.​.​..​​..​.​​..​​..​.​ค​ อื ​​ดอก​ผ​ ล​ ​ ​ออกดอก​เมอื่ ​ใดก​ ม​็ ​ีกลน่ิ ​หอมไ​ปท​ ่ัว​​การป​ ฏิบตั ธิ​ รรม​ก็เ​ชน่ ​กัน​ผ​ รู้​ กั ​ การ​ปฏิบัติ​ต้อง​คอย​หมั่น​รดน้ำ​พรวน​ดิน​ ระวัง​รักษา​ต้น​ธรรม​ให้​ผลิ​ดอก​​ ออก​ใบ​​ม​ีผลน​ ่าร​ บั ป​ ระทาน ​ต้องค​ อยร​ ะวัง​ตัว​หนอน​ค​ ือ​โ​ลภ​โ​กรธ​​หลง​ มใ​ิ หม​้ าก​ ดั ก​ นิ ต​ น้ ธ​ รรมไ​ดอ​้ ยา่ งน​ ​ี้ จงึ จ​ ะไ​ดช​้ อื่ ว​ า่ ผ​ ร​ู้ กั ธ​ รรม​ร​กั ก​ ารป​ ฏบิ ตั จ​ิ รงิ ​ ​ luangpordu.com

35 ๓๕ ​๗​ ว​ ัดผล​การ​ปฏิบตั ิ​ดว้ ย​สงิ่ ใ​ด​? ​ ​ ​ ม​ ผ​ี ป​ู้ ฏบิ ตั ห​ิ ลายค​ น​ป​ ฏบิ ตั ไ​ิ ปน​ านเ​ขา้ ช​ กั เ​ขว​ไ​มช​่ ดั เจนว​ า่ ​ตนป​ ฏบิ ตั ​ิ ไปท​ ำไม​ห​ รอื ป​ ฏบิ ตั ไ​ิ ปเ​พอ่ื อ​ ะไร​ด​ งั ค​ รง้ั ห​ นงึ่ ​เ​คยม​ ล​ี กู ศ​ ษิ ยก​์ ราบเ​รยี นถ​ าม​ หลวงป​ู่ว่า​ ​ ​“ภ​ าวนา​มา​ก​็นาน​พอส​ มควรแ​ ล้ว​ร​ ู้สึกว​ า่ ​ยัง​ไมไ​่ ดร​้ ู้​ได้เ​หน็ ​สง่ิ ต​ า่ ง​​ๆ​ ม​ีนิมติ ​ภายนอก​​แสดงส​ ต​ี า่ งๆ​​เปน็ ตน้ ​ด​ ังท​ ผ่​ี ​อู้ น่ื ​เขา​ร้​ูเหน็ ก​ นั เ​ลย​​”​​ ​ หลวงปู​ท่ ่าน​ยอ้ น​ถาม​ส​ น้ั ​ๆ​​วา่ ​ ​ “ป​ ฏิบัติ​แล้ว​​โกรธ​โ​ลภ​ห​ ลง​​ของแ​ ก​ลด​น้อยล​ งห​ รือเ​ปล่าห​ ละ่ ​ ถ้าล​ ด​ลง​​ขา้ ​ก็ว่าแ​ กใ​ช้ได​้ ​”​ ​ luangpordu.com

๓๖ 36 ​๘​ เ​ทวทูต​​๔​ ​ ​ ​ ​ธรรมะ​ท่ี​หลวงปู่​ยก​มา​ส่ัง​สอน​ศิษย์​เป็น​ประจำ​ ​มี​อยู่​เร่ือง​หน่ึง​ ​คือ​ เทวทตู ​​๔​​ท่​เี จา้ ช​ าย​สิทธตั ถ​ ะ​พบ​กอ่ นบ​ รรพชา​ค​ อื ​ค​ นแ​ ก​่ ​คนเ​จบ็ ​ค​ นต​ าย​ และ​สมณะ​ ​ ​ความ​หมาย​ของค​ ำว​ ่า ​เทวทตู ​​๔​​หลวงปู่ท​ ่านห​ มาย​ถงึ ​ผ​ ูม​้ าเ​ตือน​ เพอ่ื ใ​หร​้ ะลกึ ถ​ งึ ค​ วามไ​มป​่ ระมาท​ซ​ ง่ึ เ​ปน็ เ​รอื่ งท​ ค​ี่ วรค​ ดิ ​แ​ ตค​่ นส​ ว่ นใ​หญม​่ กั ​ มองข​ ้าม​ ​ ​หลวงปู่​ปรารภ​อยู่​เสมอ​ว่า​ ​แก่​ ​เจ็บ​ ​ตาย​ ​เน้อ​.​.​.​หม่ัน​ทำ​เข้า​ไว้​ ​มี​ ความ​หมาย​โดย​นัยว่า​ ​เมื่อ​เรา​เกิด​มา​แล้ว​ ​เรา​ก็​ย่อม​ก้าว​เข้า​สู่​ความ​ชรา​ ความแ​ ก​่เฒ่า​อย​ตู่ ลอดเ​วลา​ ม​ ค​ี วาม​เจ็บป​ ว่ ย​เปน็ ​ธรรมดา ​และเ​รา​จกั ต​ อ้ ง​ ตายเ​หมือน​กนั ​ทุกค​ น​ ​ ​การเ​ห็นส​ มณะห​ รอื น​ ักบวช​​จึงเ​ปน็ น​ มิ ติ ห​ มาย​ท​ดี่ ​ี ​ทจ่ี​ ะช​ ักจูงใ​หเ​้ รา​ กา้ ว​ลว่ ง​ความ​ทุกข​์ไดใ้​น​ที่สุด​​โดย​“​ ผ​ ู้​มาเ​ตอื น”​ ​​ทั้ง​๔​ ​น​ ี่เอง​ ​ luangpordu.com

37 ๓๗ ​๙​ ​อา​รมณ์อัพ​ยาก​ฤต​ ​ ​ ​ ​เคยม​ ​ผี ใู้ หญ​ท่ า่ นห​ นง่ึ ​ไดก​้ ราบ​เรยี น​ถามห​ ลวงปว​ู่ า่ ​อ​ า​รมณอ์ พั ​ยาก​ฤต​ ไม่​จำเปน็ ​ตอ้ งม​ ี​ไดเ​้ ฉพาะพ​ ระอ​ ร​หันต​ ์​ใ​ช​่หรือไ​ม่​? ​ ​ท่าน​ตอบ​ว่า​ ​“​ใช่​ ​แต่​อา​รมณ์อัพ​ยาก​ฤต​ของ​พระ​อร​หัน​ต์​ท่าน​ทรง​ ตลอด​เว​ลา​ไ​ม่เ​หมอื นป​ ุถชุ น​ท่ีม​ ​เี ป็นค​ รั้งค​ ราวเ​ท่านัน้ ”​ ​ ​ ​ท่าน​อุปมา​อารมณ์​ให้​ฟัง​ว่า​ ​เปรียบ​เสมือน​คน​ไป​ยืน​ท่ี​ตรง​ทาง​สอง​ แพรง่ ​​ทางห​ นึง่ ไ​ปท​ าง​ดี​(​ก​ ศุ ล)​​​อกี ​ทาง​หน่ึงไ​ป​ใน​ทางท​ ี่​ไม่​ดี​​(​อกุศล​)​​ทา่ น​ วา่ ​​อพั ​ยากฤ​ ​ตมี​๓​ ​ร​ ะดบั ​ค​ อื ​ ​ ​-​ระดบั ห​ ยาบ​​คือ​อ​ ารมณป​์ ุถชุ น​ท​่ีเฉยๆ​ไ​ม​ค่ ดิ ​ดี​​ไม่​คิดช​ ั่ว​ซ​ ึ่ง​ม​เี ปน็ ​ คร้งั ​คราว​เทา่ นนั้ ​ ​ ​-​ ระดับ​กลาง​ ​มี​ใน​ผู้​ปฏิบัติ​สมาธิ​ ​มี​สติ​ ​มี​ความ​สงบ​ของ​จิต​ ​วาง​ อารมณ์​จาก​สง่ิ ท​ ​่ดี ี​ทชี่​ ว่ั ​ด​ ัง​ท​เี่ รียกว​ า่ ​​อเุ บกขา​รมณ​์ ​ ​- ​ระดับ​ละเอียด​ ​คือ​ ​อารมณ์​ของ​พระ​อร​หัน​ต์​ ​ซ่ึง​ไม่มี​ท้ัง​อารมณ์​ ท่ี​คิด​ปรุง​ไป​ใน​ทาง​ดี​ ​หรือ​ใน​ทาง​ไม่​ดี​ ​วาง​อารมณ์​อยู่​ได้​ตลอด​เวลา​ ​เป็น​ ​วหิ ารธ​ รรมข​ องท​ ่าน​ ​ luangpordu.com

๓๘ 38 ​๑๐​ ต​ ร​ี โ​ท​เ​อก​ ​ ​ ​ ​คร้ัง​หน่ึง​ผ​ ​เู้ ขียน​จะจ​ ัดท​ ำบุญ​เพอื่ เ​ป็นก​ ตัญญ​ูกตเวทิตาธ​ รรม​​น้อม​ ถวาย​แด​่หลวงปู่เ​กษม​​เขม​โก​เ​นือ่ ง​ในโ​อกาส​ท่​หี ลวงปท​ู่ ่านม​ อี ายุค​ รบ​​๗๔​ พรรษา​​เม่อื ว​ ัน​ท่​ี ​๒๘​​พฤศจกิ ายน​​พ​.​ศ​.​๒​ ๕๒๘​ ​ ผู้​เขียน​ได​เ้ รียน​ถามห​ ลวงป​วู่ า่ ​ ​ “​การ​ทำบุญอ​ ยา่ งไร​​จึงจ​ ะด​ ​ีทสี่ ุด”​ ​ ​ หลวงป​ทู่ ่าน​ไดเ​้ มตตา​ตอบว​ ่า​ ​ “​ของดนี​ ัน้ อ​ ย่ทู​ เี่​รา​ ​ของดน​ี ัน้ อ​ ยู่ท​ ี่​จติ ​ ​จติ ม​ ี​ ​๓​ ​ชน้ั ​ ต​ ร​ี ​โท​ เ​อก​ ถา้ ​ตร​ีกต็​ ำ่ ​หนอ่ ย​​โทก​ ​็ปาน​กลาง​​เอกน​ ่อ​ี ย่าง​อุกฤษฏ​์ ​ มัน​ไม่มี​อะไร​.​.​.​ ก็​ ​อนิจ​จัง​ ​ทุก​ขัง​ ​อนัตตา​ ​ตัว​อนัตตา​น่ี​แหละ​ เปน็ ​ตัวเอก​​ไลไ​่ ปไ​ล​ม่ า​​ให​ม้ นั เ​หน็ ส​ ังขาร​ร่างกายเ​รา​ต​ ายแ​ นๆ่ ​​คน​เรา​ หนีต​ าย​ไปไ​ม่​พน้ ​ ต​ ายน​ ้อย​ ​ตาย​ใหญ่​ ​ตายใ​หญก่​ ็ต​ ายห​ มด​ ต​ ายน​ ้อยก​ ​็ หลับ​ไ​ปต​ รอง​ดใู​ห​ด้ ี​เถอะ.​​..​​”​ ​ luangpordu.com

39 ๓๙ ​๑๑​ ​ตอ้ งส​ ำเร็จ​ ​ ​ ​ ​หลวงป​ู่เคย​สอนว​ า่ ​..​​.​​ “​ความ​สำเร็จ​นั้น​ ​มิใช่​อยู่​ที่​การ​สวด​มนต์​อ้อนวอน​พระเจ้า​มา​ ประทาน​ให้​ห​ าก​แตต่​ ้องล​ งมือ​ทำด​ ว้ ย​ตนเอง​ถ​ ้า​ต้ังใจ​ทำ​ตามแ​ บบแ​ ลว้ ​ ทกุ อ​ ยา่ งต​ อ้ งส​ ำเรจ็ ​ไ​มใ่ ชจ​่ ะส​ ำเรจ็ ​พ​ ระพทุ ธเจา้ ท​ า่ นว​ างแ​ บบเ​อาไ​วแ​้ ลว้ ​ ครูบา​อาจารย์​ทุก​องค์​มี​พระพุทธเจ้า​เป็น​ท่ีสุด​ ​ก็ได้​ทำ​ตาม​แบบ​ ​เป็น​ ตวั อยา่ งใ​หเ้​ราด​ ู​ อ​ ัฐทิ​ า่ นก​ ็​กลายเ​ป็นพ​ ระ​ธาตกุ​ นั ​หมด​ เ​ม่อื ไ​ดไ้​ตร่ตรอง​ พิจารณา​ให้​รอบคอบ​แล้ว​ ​ขอ​ให้​ลงมือ​ทำ​ทันที​ ​ข้า​ขอรับ​รอง​ว่า​ต้อง​ สำเรจ็ ​ส​ ว่ นจ​ ะ​ชา้ ​หรอื เ​รว็ ​น้นั ​อ​ ยูท่​ ​คี่ วามเ​พียร​ของผ​ ​ู้ปฏิบตั ”​ิ ​ ​ ขอใ​หต​้ ง้ั ​ปญั หาถ​ าม​ตวั ​เองว​ า่ ​​ “​สงิ่ น​ นั้ ​​บัดนเ​้ี ราไ​ด​ล้ งมือท​ ำ​แล้ว​หรือย​ ัง​?​​”​ luangpordu.com

๔๐ 40 ๑๒​ ​ ​จะ​เอาโ​ลก​หรอื เ​อา​ธรรม​ บ่อย​คร้ัง​ท่ี​มี​ผู้​มา​ถาม​ปัญหา​กับ​หลวงปู่​ ​โดย​มัก​จะ​นำ​เอา​เรื่อง​ราว​ ตา่ งๆ​ท​ ​เ่ี ก่ียวก​ ับห​ น้าท่ก​ี าร​งาน​​สามี​​ภรรยา​ล​ ูกเ​ต้า​​ญาติมิตร​​หรอื ​คน​อนื่ ​ มาป​ รารภ​ใหห้​ ลวงปู่​ฟงั อ​ ยูเ​่ สมอ​ ​ คร้งั ​หนึ่งท​ ่านไ​ด้​ให้​คตเ​ิ ตือนใ​จผ​ เ​ู้ ขียนว​ า่ ​ “​ ​โลกเ​ทา่ แ​ ผ่นด​ ิน​ธ​ รรมเ​ทา่ ป​ ลายเ​ขม็ ​”​ ​ ​ ซ่ึง​ต่อม​ า​ทา่ น​ได้​เมตตา​ขยายค​ วามใ​ห้​ฟังว​ ่า​ ​“​เร่อื งโ​ลก​ม​แี ต​เ่ รอ่ื งย​ ุ่ง​ของค​ น​อ่นื ​ทง้ั น​ ้นั ​​ไม่ม​ีท่ีส​ ิ้นส​ ุดเ​รา​ไปแ​ ก้ไข​ เขาไ​มไ​่ ด​้ ส​ ว่ นเ​รอ่ื งธ​ รรมน​ นั้ ม​ ท​ี สี่ ดุ ​ม​ าจ​ บท​ ต​่ี วั เ​ราใ​หม​้ าไ​ลด​่ ต​ู วั เ​อง​แ​ กไ้ ข​ ทต่​ี ัว​เรา​เอง​ต​ น​ของต​ น​เตอื น​ตนด​ ้วย​ตนเอง​ ​ ถ้า​คิด​ส่ิง​ท่ี​เป็น​ธรรม​แล้ว​ ​ต้อง​กลับ​เข้า​มา​หา​ตัว​เอง ​ถ้า​เป็น​โลก​ แลว้ ​จ​ ะ​มแ​ี ต​่สง่ อ​ อก​ไป​ข้างน​ อก​ตลอด​เวลา​​เพราะธ​ รรม​แทๆ้ ​ย​ อ่ มเ​กดิ ​ จากใ​น​ตัว​ของเ​รา​น​ี้ท้งั น​ ั้น”​ ​ luangpordu.com

41 ๔๑ ​๑๓​ แ​ นะว​ ธิ ​ปี ฏบิ ัติ​ ​ เคยม​ ีส​ ุภาพส​ ตร​ที า่ น​หน่ึง​ม​ีปญั หาถ​ ามว​ า่ ​น​ ัง่ ป​ ฏิบตั ภิ​ าวนา​แลว้ จ​ ติ ​ ไม่​รวม​​ไม่​สงบ​​ควรจ​ ะท​ ำอ​ ยา่ งไร​​ทา่ นแ​ ก้​ใหว​้ า่ ​ ​ ​“​การ​ปฏบิ ัติ​ถ​ า้ ​อยากใ​ห​เ้ ป็นเ​ร็ว​ๆ​ม​ นั ​ก็​ไม​่เปน็ ​​หรือไ​ม่​อยาก​ให้​ เปน็ ​ม​ นั ​ก​็ประมาท​เสีย​​ไมเ่​ป็นอ​ กี เ​หมือน​กนั ​อ​ ยากเ​ป็น​ก็​ไมว​่ ่า​​ไมอ​่ ยาก​ เปน็ ก​ ​ไ็ มว​่ า่ ​​ทำใจ​ใหเ​้ ปน็ ​กลาง​ๆ​​ตง้ั ใจ​ใหแ​้ นว่ แ​ นใ​่ นก​ มั มฏั ฐ​ าน​ท​เ่ี ราย​ ดึ ม​ น่ั ​ อย่​นู ้ัน​​แล้วภ​ าวนาเ​รอื่ ยไ​ป​ ​ เหมือน​กับ​เรา​กิน​ข้าว​ไม่​ต้อง​อยาก​ให้​มัน​อิ่ม​ ​ค่อย​ๆ​ ​กิน​ไป​มัน​ก็​ อม่ิ ​เอง​​ภาวนาก​ เ็​ชน่ ก​ นั ​​ไม​่ต้อง​ไป​คาด​หวัง​ให​้มนั ​สงบ​ห​ นา้ ที่​ของเ​ราค​ อื ​ ภาวนา​ไป​ ​ก็​จะ​ถึง​ของดี​ ​ของ​วิเศษ​ใน​ตัว​เรา​แล้ว​จะ​รู้​ชัด​ข้ึน​มา​ว่า​อะไร​ เป็น​อะไร​ใ​ห้​หมนั่ ​ทำเ​รอ่ื ย​ไป​”​ luangpordu.com

๔๒ 42 ก​าร​บวช๑จ​ ติ ๔​-​​​บ​ วช​ใน​ ​หลวงปเู่​คยป​ รารภไ​ว้​ว่า​.​..​​ ​จะ​เป็น​ชาย​หรือ​หญงิ ก​ ​ด็ ี​ ถ​ ้า​ต้งั ใจป​ ระพฤต​ปิ ฏบิ ตั ​ิ ​มี​ศีล​ ​รกั ​ใน​การ​ ปฏิบัติ​ ​จิต​มุ่ง​หวัง​เอาการ​พ้น​ทุกข์​เป็น​ท่ีสุด​ ​ย่อม​มี​โอกาส​เป็น​พระ​กัน ​ ได้​ทกุ ​ๆ​​คน​ม​ ​โี อกาสท​ ​จี่ ะบ​ รรล​ุมรรคผล​น​ ิพพาน​​ได​้เท่า​เทยี ม​กัน​ทุกค​ น​​ ไม่​เลือก​เพศ​​เลือกว​ ัย​​หรอื ฐ​ านะแ​ ต่อ​ ยา่ ง​ใด​​ไมม่ ี​อะไร​จะม​ าเ​ป็น​อปุ สรรค​ ใน​ความ​สำเร็จไ​ด​้ น​ อกจาก​ใจ​ของ​ผ้ฏู บิ ัต​ิเอง​ ​ ทา่ น​ได้แ​ นะเ​คล็ดใ​นก​ ารบ​ วชจ​ ิต​ว่า.​​.​.​..​​ ​ในข​ ณะท​ เ​่ี รา​นง่ั ​สมาธเิ​จรญิ ​ภาวนา​น้นั ​ค​ ำก​ ล่าว​วา่ ​ ​ พุทธัง​​​สรณงั​​ค​ ัจฉาม​ ​ิ ​ ให้​นกึ ถงึ ว​ า่ เ​ราม​ พี​ ระพุทธเจา้ ​​ เปน็ พ​ ระอ​ ปุ ชั​ ฌาย์​ของ​เรา​ ​ ธัมมงั ​ส​ รณั​ง​ค​ จั ฉาม​ ิ​ ​ ใหน​้ ึกว​ ่าเ​รา​ม​พี ระ​ธรรม​​ เป็นพ​ ระกรร​ มว​ าจ​ าจ​ าร​ย​์ ​ สังฆัง​​​สรณั​ง​​คจั ฉา​ม ิ ​ ใหน​้ กึ ​วา่ ​เรา​มีพ​ ระอ​ รยิ ส​ งฆ์​​ เ​ป็นพ​ ระอ​ น​สุ าว​นา​จารย​ ์​ ​แลว้ ​อย่า​สนใจข​ นั ธ​์ ๕​ ​​หรอื ร​ ่างกาย​เราน​ ี้​ luangpordu.com


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook