Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการประเมินตนเอง ปี ๒๕๖๒ กศน.อำเภอขุนยวม

รายงานการประเมินตนเอง ปี ๒๕๖๒ กศน.อำเภอขุนยวม

Published by porntip ruksammork, 2019-10-29 04:52:41

Description: รายงานการประเมินตนเอง ปี ๒๕๖๒ กศน.อำเภอขุนยวม

Search

Read the Text Version

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ( Self – Assessment Report ) ประจาปี ๒๕๖๒ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอขุนยวม สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวดั แมฮ่ อ่ งสอน สานักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

คานา ตามกฎกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กาหนดระบบ หลกั เกณฑ์ และวิธีการประกันคณุ ภาพภายใน สาหรับ สถานศึกษาที่จัดการศึกษานอกระบบ พ.ศ. 2555 ที่อาศัยอานาจตามความในมาตรา 20 วรรคสาม และมาตรา 25 วรรคหน่ึง แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 ซึ่ง กาหนดให้สถานศึกษาต้องดาเนินการ ดังน้ี 1) จัดให้มีมาตรฐานการศึกษานอกระบบที่กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศกาหนด 2) จัดทาแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาและแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี 3) ดาเนินงานตามแผนพัฒนา คณุ ภาพการศกึ ษาและแผนปฏิบัติการประจาปี 4) จัดให้มีการตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 5) จัดให้มีการประเมิน คุณภาพภายในมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 6) จดั ทารายงานการประเมินตนเองประจาปี 7) เสนอรายงาน การประเมินคุณภาพภายในต่อคณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และภาคีเครือข่าย และเผยแพร่ต่อ สาธารณชน 8) นาผลการประเมินคุณภาพภายในมาเป็นส่วนหน่ึงของการวางแผนเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยการมีส่วนรว่ มของคณะกรรมการสถานศกึ ษาและภาคเี ครือข่าย 9) จดั ระบบบริหารและสารสนเทศ 10) ยึดหลักการมี สว่ นร่วมของสถานศึกษา บคุ ลากรทุกคนในสถานศึกษา ภาคีเครือขา่ ย และผ้รู ับบรกิ าร ในการนี้ เพ่ือเป็นการดาเนินงานให้สอดคล้องกับกฎกระทรวงฯ ดังกล่าว ศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอขุนยวม จึงได้ดาเนินการแต่งต้ังคณะกรรมการประเมินตนเองของ สถานศึกษา เพือ่ ประเมนิ คุณภาพการจัดการศึกษาของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ ขุนยวม โดยคณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา วิเคราะห์จากแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและ แผนปฏิบัติการประจาปีร่วมกับผลการดาเนินงานของสถานศึกษา และสอบทานข้อมูลจากผู้ปฏิบัติงาน คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ที่เก่ียวข้อง เพื่อจัดทารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา และร่วมกัน กาหนดแนวทางการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาต่อไป ( นางพนดิ า ติยะวัฒน์ ) ตาแหนง่ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอขนุ ยวม ตลุ าคม 256๒

คณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา ได้ประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาตามประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2560 ระหว่างวันท่ี ๑๕ เดือน ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ และจัดทารายงานการประเมินตนเอง ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 256๒ เสรจ็ สิ้นเรยี บร้อยแล้ว ประธานคณะกรรมการ ( นางพนดิ า ตยิ ะวฒั น์ ) กรรมการ ( นายธวัช ศรมี ูล ) กรรมการ ( นางพิกุลแก้ว โตริ ) กรรมการ (นางสาวระพพี รรณ ศรที องอ่อน) กรรมการและเลขานุการ (นางสาวพรทิพย์ รักสามหมอก) ท้ังน้ี คณะกรรมการสถานศึกษาได้รับทราบผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเป็นท่ีเรียบร้อย แล้ว และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าสถานศึกษาจะนาข้อมูลผลการประเมินนี้ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ของสถานศึกษาต่อไป ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา ( นางแสงดาว ก้เู กยี รติ ) วนั ท่ี ๑๕ เดือน ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

สารบัญ หนา้ คานา ก สารบญั ค ง บทสรุปสาหรับผู้บรหิ าร และข้อเสนอแนะเพ่อื การพัฒนา ๗  บทที่ 1 ข้อมลู ทัว่ ไปของสถานศกึ ษา 2๘  บทท่ี 2 ทิศทางและผลการดาเนนิ งานของสถานศึกษา ๕๒  บทท่ี 3 ผลการประเมินตนเอง ผลการประเมนิ ตนเองตามรายมาตรฐาน 5๒ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน/ผูร้ ับบริการ 107 มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษา/การใหบ้ ริการ 143 มาตรฐานท่ี 3 ประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการการศึกษา  บทที่ 4 สรปุ ผลการประเมนิ ตนเอง และแนวทางการพัฒนาสถานศกึ ษา 153 สรปุ ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 155 เกณฑ์ระดบั คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 156 สรุปผลการวิเคราะหผ์ ลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาเพอื่ การพฒั นา 158 แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ภาคผนวก รายงานการประเมินตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขนุ ยวม หนา้ ๔

บทสรปุ สาหรับผู้บริหาร ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอขุนยวม ต้ังอยู่เลขท่ี ๑๓ หมู่ ๑ ตาบลขุนยวม อาเภอขนุ ยวม จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน สานกั งาน กศน. จงั หวัดแม่ฮอ่ งสอน สังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ซ่ึงจัดการศึกษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน การศึกษาตอ่ เนือ่ ง และการศึกษาตามอัธยาศยั โดยมบี ุคลากรจานวน 2๘ คน มีผู้เรียน ผู้ เข้ารับการอบรม และผ้รู ับบรกิ าร จานวน 2,756 คน ท้ังนี้ คณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา ได้ดาเนินการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา ตั้งแต่วันท่ี 24 กันยายน พ.ศ.๒๕๖๒ ถึงวันท่ี 28 เดือน กันยายน พ.ศ. 256๒ ซึ่งจากการประเมิน คณุ ภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมิน ได้ดังน้ี ผลการประเมินตนเองในภาพรวม มีคะแนนรวม เท่ากับ ๘๘.๕๐ คะแนน ซึ่งอยู่ในระดับคุณภาพ ดีมาก และเมอื่ พจิ ารณาผลการประเมินตนเองตามรายมาตรฐาน พบว่า มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรียน/ผู้รับบริการ มีคะแนนรวม เท่ากับ ๓๐.๐๐ คะแนน ซึ่งอยู่ในระดับ คุณภาพ ดีมาก มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ มีคะแนนรวม เท่ากับ ๓๘.๕๐ คะแนน ซึง่ อยใู่ นระดบั คณุ ภาพ ดีมาก มาตรฐานที่ 3 ประสิทธิภาพการบริหารจัดการการศึกษา มีคะแนนรวม เท่ากับ ๒๐.๐๐ คะแนน ซึ่งอยใู่ นระดับคุณภาพ ดมี าก ตามรายละเอยี ด ดังนี้ มาตรฐาน /ตวั บ่งชี้ (คะแนน) ผลการประเมนิ ตนเอง ๓๕ คะแนนท่ี ระดบั มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรียน/ผู้รับบรกิ าร ๕ การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ๕ ได้ คณุ ภาพ ตวั บง่ ช้ีที่ 1.1 ผู้เรียนการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานมีคุณธรรม ๕ ๓๐.๐๐ ดมี าก ตวั บ่งช้ีท่ี 1.2 ผู้เรียนการศกึ ษาขนั้ พื้นฐานมีทักษะ กระบวนการคดิ ๕ ๔.๕๐ ดีมาก ทกั ษะการแสวงหาความรู้ เรียนร้อู ย่างต่อเนอ่ื ง และ สามารถนาไป ๕ ประยกุ ต์ใชใ้ นการดารงชวี ิต ๔.๕๐ ดมี าก ตวั บง่ ชี้ที่ 1.3 ผู้เรยี นการศึกษาขั้นพ้ืนฐานมีความรู้พน้ื ฐาน ๓.๕๐ ดี การศึกษาต่อเนอื่ ง ตัวบง่ ช้ที ่ี 1.4 ผูเ้ รียนหรือผ้เู ข้ารบั การอบรมมีความรู้ ความสามารถ ๔.๕๐ ดีมาก และทักษะในการประกอบอาชพี ตวั บ่งชี้ท่ี 1.5 ผูเ้ รียนหรอื ผเู้ ข้ารับการอบรมปฏบิ ัตติ นตามหลกั ปรชั ญา ๔.๕๐ ดมี าก ของเศรษฐกิจพอเพยี ง รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขุนยวม หนา้ ๕

มาตรฐาน /ตัวบง่ ช้ี ผลการประเมนิ ตนเอง (คะแนน) คะแนนที่ ระดบั ตัวบ่งชท้ี ่ี 1.6 ผ้เู รยี นหรอื ผเู้ ขา้ รับการอบรมสามารถใช้เทคโนโลยไี ด้ อยา่ งเหมาะสม ได้ คุณภาพ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ตวั บง่ ชี้ที่ 1.7 ผู้รับบริการได้รับความรู้และ/หรือประสบการณ์จาก ๕ ๔.๕๐ ดมี าก การเข้ารว่ มกจิ กรรม/โครงการการศึกษาตามอธั ยาศัย มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจดั การศึกษา/การให้บรกิ าร ๕ ๔.๐๐ ดี การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ตวั บ่งชี้ที่ 2.1 คุณภาพครูการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ๔๕ ๓๘.๕๐ ดมี าก ตัวบ่งชที้ ่ี 2.2 คณุ ภาพของหลกั สูตรสถานศกึ ษา ตัวบ่งชี้ท่ี 2.3 คณุ ภาพส่ือตามหลกั สตู รสถานศึกษา ๕ ๔.๕๐ ดมี าก ตัวบง่ ชี้ที่ 2.4 คณุ ภาพการจัดกระบวนการเรยี นร้ตู ามหลกั สูตร สถานศกึ ษา ๕ ๔.๕๐ ดมี าก การศกึ ษาต่อเนือ่ ง ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 คณุ ภาพวทิ ยากรการศึกษาต่อเนื่อง ๕ ๔.๐๐ ดี ตัวบ่งช้ที ่ี 2.6 คณุ ภาพหลกั สตู รและสอ่ื การศึกษาต่อเน่ือง ตวั บง่ ชี้ท่ี 2.7 คณุ ภาพการจดั กระบวนการเรยี นรู้การศึกษา ๕ ๔.๕๐ ดมี าก ต่อเน่อื ง การศึกษาตามอธั ยาศัย ๕ ๔.๕๐ ดมี าก ตวั บง่ ชีท้ ่ี 2.8 คณุ ภาพผจู้ ัดกิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ตวั บง่ ชท้ี ่ี 2.9 คณุ ภาพกระบวนการจดั กิจกรรมการศึกษาตาม ๕ ๔.๐๐ ดี อธั ยาศัย มาตรฐานที่ 3 ประสิทธภิ าพการบริหารจัดการการศึกษา ๕ ๔.๐๐ ดี ตัวบ่งชีท้ ่ี 3.1 การบรหิ ารสถานศึกษาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งและหลักธรรมาภิบาล ๕ ๔.๐๐ ดี ตวั บ่งช้ีท่ี 3.2 การสง่ เสรมิ สนับสนนุ การจดั การศึกษาของภาคี ๕ ๔.๕๐ ดีมาก เครอื ข่าย ตัวบง่ ชท้ี ่ี 3.3 การมสี ว่ นร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา ๒๐ ๒๐.๐๐ ดมี าก ตวั บ่งชที้ ี่ 3.4 การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ๕ ๕.๐๐ ดมี าก รวม ๕ ๕.๐๐ ดีมาก ๕ ๕.๐๐ ดมี าก ๕ ๕.๐๐ ดีมาก ๑๐๐ ๘๘.๕๐ ดีมาก รายงานการประเมินตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขุนยวม หน้า ๖

บทท่ี ๑ ขอ้ มูลท่ัวไปของสถานศึกษา สภาพทัว่ ไปของสถานศึกษา ชอ่ื สถานศกึ ษา : ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอขุนยวม ท่อี ยู่ : เลขท่ี ๑๓ หมู่ท่ี ๑ ตาบลขุนยวม อาเภอขนุ ยวม จังหวดั แม่ฮ่องสอน รหัสไปรษณีย์ ๕๘๑๔๐ เบอรโ์ ทรศัพท์ : ๐๕๓-๖๙๑๐๑๓ เบอรโ์ ทรสาร : ๐๕๓-๖๙๑๐๑๓ E-mail : [email protected] Website https://www.facebook.com/msn.akynfe/ สังกดั : สานักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน สานักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ ประวตั คิ วามเป็นมาของสถานศึกษา ประวัติสถานศึกษา : เดิมศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอาเภอขุนยวมเป็นอาคารท่ีว่าการอาเภอหลัง เก่าประกาศจัดตั้งขึ้นเป็นสถานศึกษาเมื่อวันท่ี ๑ เดือน ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ สังกัดกรมการศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ โดยมีนายพัลลภ พันธนา เป็นผู้ประสานงานอาเภอ ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ จนถึง วันท่ี ๓๑ มกราคม พ.ศ.๒๕๓๗ ถือว่าเป็นสถานศึกษาที่จัดกิจกรรมการเรียนการสอนในลักษณะของการศึกษานอก ระบบและอัธยาศัยให้บริการทางการศึกษาแก่ประชาชนผู้ด้อยโอกาส / พลาดโอกาส / ขาดโอกาสทางการศึกษาใน พื้นที่อาเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน ต่อมาในวันท่ี ๑ เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ – ๓๑ มิถุนายน ๒๕๔๗ กรมการศึกษานอกโรงเรยี น กระทรวงศึกษาธิการ ได้มีคาสงั่ บรรจุแตง่ ตั้งผ้บู ริหารสถานศึกษา คือ นายสุทัศน์ กันทะ มา อาจารย์ ๒ ระดับ ๖ ดารงตาแหน่ง หัวหน้าศูนย์ ๑ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ ขุนยวมขณะนั้นสถานศึกษายังไม่มีอาคารสานักงานเป็นของตนเองแต่ใช้อาคารสภาตาบลขุนยวม เป็นอาคารท่ีทา การในการให้บริการและบริหารกิจกรรมของสถานศึกษา ในการให้บริการทางการศึกษาของศูนย์การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอขุนยวม กาหนดให้มีการบริการทางการศึกษาดังนี้ คือ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การส่งเสริมการรหู้ นงั สอื การศึกษาเพือ่ พัฒนาอาชพี การศึกษาเพ่ือพฒั นาทกั ษะชวี ิต และการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคม และชุมชน ทั้งน้ียังมีโครงการพิเศษนอกเหนือจากกิจกรรมดังกล่าวข้างต้นตามภารกิจท่ีได้รับมอบหมายคือโครงการ พระราชดาริ ( โครงการรักษ์น้าเพ่ือพระแม่ของแผ่นดิน )และโครงการทันตกรรมเคล่ือนที่เพ่ือชุมชนด้อยโอกาสใน เขตท้องถ่ินทุรกันดารในช่วงระยะเวลาของการดาเนินงานกิจกรรมการศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัย ได้มีการ โยกย้ายสับเปล่ียนผู้ดารงตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาตามวาระจนกระท่ังถึงป๎จจุบันผู้ดารงตาแหน่งผู้บริหาร สถานศึกษา คือ นางพนิดา ติยะวัฒน์ ดารงตาแหน่งผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั อาเภอขุนยวม ซง่ึ ดารงตาแหนง่ ดงั กลา่ ว ตง้ั แตว่ นั ท่ี ๑ เดอื น กมุ ภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๖๒ จนถงึ ป๎จจุบัน รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขนุ ยวม หน้า ๗

อาเภอขุนยวมเป็นอาเภอหนึ่งในจังหวัดแม่ฮ่องสอน พ้ืนที่อยู่ท่ามกลางขุนเขาและสายน้า ประชากรมีเชื้อ สายทงั้ ชาวไทยภเู ขา ไทยใหญ่ จนี และพม่า ถอื เป็นเป็นแหล่งท่องเที่ยวทสี่ าคัญของจังหวัดและของภาคเหนืออาเภอ ขนุ ยวมเดมิ เปน็ เมืองขนาดเล็ก เรียกกันว่า เมืองขุนยวม ประชากรส่วนใหญ่เป็น ชาวไทยใหญ่ หรือ ชาวไต พวกเขา เรียกเมืองนี้ว่า บ้านกุ๋นลม (เพราะหมู่บ้านน้ีมีอากาศหนาวเย็น มีลมพัดตลอดเวลา) มีเจ้าเมืองชื่อว่า “ชานกะเล” หรือพญาสิงหนาทราชา เป็นเจ้าเมืองคนแรก เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๓ เมืองขุนยวมได้ยกฐานะข้ึนเป็นอาเภอ โดยมีขุนเดช ประชารกั ษเ์ ปน็ นายอาเภอคนแรก ส่วนนายอาเภอคนปจ๎ จุบนั คือ วา่ ที่รอ้ ยตรี ณรงค์ชัย จินดาพนั ธ์ อาณาเขตทตี่ ้ังสถานศึกษา อาเภอขุนยวมตง้ั อยู่บนทีร่ าบกว้างใหญ่ สูงจากระดบั น้าทะเลปานกลาง ๖๐๐ เมตรมพี นื้ ท่ีรวม ๒,๓๖๕ตาราง กิโลเมตร มีตาแหนง่ ท่ตี ั้งทางภูมศิ าสตร์ดงั น้ี - ทศิ เหนือ ติดตอ่ กับรัฐกะยา (ประเทศพมา่ )และตาบลหว้ ยโป่ง อาเภอเมอื งแม่ฮ่องสอน - ทศิ ตะวันออกตดิ ต่อกับ ตาบลแมศ่ ึก อาเภอแมแ่ จ่ม จังหวัดเชียงใหม่ - ทศิ ใต้ติดตอ่ กับ ตาบลแมล่ าหลวงและตาบลแมโ่ ถ อาเภอแม่ลานอ้ ย - ทิศตะวันตกติดกับ ชายแดนรัฐกะยา สหภาพพมา่ - แผนที่อาเภอขุนยวม จ.แมฮ่ ่องสอน รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขุนยวม หน้า ๘

เส้นทางคมนาคมอาเภอสู่ขุนยวม มีถนนหลายสายทตี่ ัดผา่ นไปยังอาเภอขุนยวม ขึ้นอยู่กับว่าจะเดินทางจากตาแหน่งไหน จากจังหวัดเชียงใหม่ สามารถเดนิ ทางได้ ๔ เสน้ ทางคือ ๑. จากอาเภอจอมทองผา่ นเสน้ ทางหมายเลข ๑๐๘ ไปยังอาเภอแมส่ ะเรียงแล้วเล้ียวขวาข้ึนไปยังอาเภอแม่ ลานอ้ ยและ เขา้ สู่ขุนยวม เส้นทางคดเลีย้ วไปมา เสน้ ทางสภาพผิวถนนดี นยิ มใชม้ ากกว่าเส้นทางอืน่ ๒. จากอาเภอแม่แจ่ม ตามทางหลวงหมายเลข ๑๒๖๓ ผ่านบ้านแม่นาจร บ้านปางอุ๋งและเข้าสู่ อาเภอ ขุนยวม สภาพเส้นทางแคบ บางช่วงขรขุ ระ เสน้ ทางคอ่ นข้างลาบาก เปลีย่ วไม่ค่อยมีรถผา่ นแตเ่ หมาะกับการผจญภยั ๓. จากอาเภอแมแ่ ตงตามทางหลวงหมายเลข ๑๐๙๕ เข้าสู่อาเภอเมืองแม่ฮ่องสอนแล้วเลี้ยวลงมายังอาเภ ขุนยวม สภาพถนนดี มคี วามโค้งน้อยกวา่ เสน้ ทางหมายเลข ๑๐๘ แตม่ คี วามสู่ชันกว่า ๔. จากจังหวัดตาก สามารถเดินทางขึ้นมาจากทางหลวงหมายเลข ๑๐๕ จนถึงอาเภอแม่สะเรียงและผ่าน ตอ่ ไปโดยใชท้ างหลวงหมายเลข ๑๐๘ เปน็ เส้นทางทแ่ี คบ ไม่ค่อยมีการสญั จร สภาพชุมชน การแบง่ เขตการปกครอง รายชื่อตาบลของอาเภอขนุ ยวม มี ๖ ตาบล ๔๕ หมบู่ ้าน มเี ทศบาลตาบลขุนยวม๑ แห่งและองค์การ บรหิ ารส่วนตาบล ๖ แหง่ ไดแ้ ก่ ๑. ตาบลเมืองปอน ๑๐ หมบู่ ้านดงั น้ี หมู่ท่ี ๑ บา้ นเมอื งปอน หมู่ที่ ๒ บ้านเมืองปอน หมู่ที่ ๓ บ้านหางปอน หมูท่ ี่ ๔ บ้านปา่ ฝาง หมทู่ ี่ ๕ บา้ นแมซ่ อ หมทู่ ่ี ๖ บา้ นแมล่ าก๊ะ หมู่ท่ี ๗ บ้านทา่ หนิ สม้ หมู่ที่ ๘ บ้านมะหินหลวง หมทู่ ี่ ๙ บา้ นหนองแห้ง หมู่ที่ ๑๐ บ้านแมโ่ ขจ่ ู ๒. ตาบลขุนยวม ๖ หมู่บา้ นดงั นี้ หมทู่ ่ี ๑ บ้านขนุ ยวม หมู่ที่ ๒ บา้ นขนุ ยวม หมู่ท่ี ๓ บ้านแม่สรุ นิ หมู่ท่ี ๔ บา้ นแม่สะเป่ใต้ หมู่ที่ ๕ บา้ นห้วยฟาน หมู่ท่ี ๖ บ้านแม่สะเป่ใต้ หมู่ท่ี ๗ บ้านแม่สะเป่เหนอื รายงานการประเมินตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขุนยวม หนา้ ๙

๓.ตาบลแม่เงา ๘ หมบู่ ้านดงั น้ี หนา้ ๑๐ หมทู่ ่ี ๑ บา้ นตอ่ แพ หมทู่ ่ี ๒ บ้านหัวเงา หมู่ที่ ๓ บ้านประตูเมือง หมู่ท่ี ๔ บ้านหว้ ยตน้ นนุ่ หมู่ท่ี ๕ บ้านหว้ ยนา หมู่ที่ ๖ บา้ นสวนอ้อย หมทู่ ี่ ๗ บา้ นนาหวั แหลม หมทู่ ี่ ๘ บ้านหลวง ๔.ตาบลแม่ยวมน้อย ๘ หม่บู ้านดงั น้ี หมทู่ ่ี ๑ บ้านหวั ปอน หมู่ท่ี ๒ บา้ นแมโ่ กป่ี หมทู่ ่ี ๓ บ้านหวา่ โน หมทู่ ี่ ๔ บ้านแมอ่ อ หมูท่ ่ี ๕ บ้านแม่แจ๊ะ หมทู่ ี่ ๖ บ้านแมห่ าด หมทู่ ี่ ๗ บา้ นหว้ ยมะบวบ หมทู่ ี่ ๘ บ้านหัวแม่ลากะ๊ ๕. ตาบลแม่อคู อ ๖ หมบู่ ้าน ดังน้ี หมทู่ ี่ ๑ บา้ นคาสขุ หมทู่ ี่ ๒ บา้ นหัวแมส่ ุรนิ หมทู่ ี่ ๓ บา้ นปางตอง หมู่ท่ี ๔ บ้านใหมพ่ ัฒนา หมู่ที่ ๕ บ้านแมอ่ ูคอหลวง หมู่ที่ ๖ บ้านแม่อูคอ ๖. ตาบลแม่ก๊ิ ๕ หมบู่ ้านดังนี้ หมู่ที่ ๑ บ้านแม่ก๊ิ หมู่ที่ ๒ บา้ นหว้ ยส้าน หมู่ที่ ๓ บา้ นพะโท หมู่ที่ ๔ บา้ นหว้ ยโปงเลา หมู่ที่ ๕ บ้านเปยี งหลวง รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขนุ ยวม

ท้องที่อาเภอขนุ ยวมประกอบดว้ ยองค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ ๗ แห่ง เทศบาลตาบลขนุ ยวม ครอบคลุมพน้ื ท่ี บางส่วนของตาบลขนุ ยวม เปน็ เทศบาลขนาด เลก็ จานวนประชาชนทั้งหมด ๒๓,๑๐๗ คน ประชากร  จานวนประชากรและบา้ น จาแนกเป็นตาบล อาเภอขุนยวม จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน ณ วนั ที่ ๓๑ เดือน มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๒ อาเภอ/ตาบล จานวนประชากร จานวนประชากร จานวนประชากร จานวนบา้ น รวม ชาย หญิง ๘,๘๒๕ อาเภอขนุ ยวม ๒๓,๑๐๗ ๑๑,๘๗๖ ๑๑,๒๓๑ ๓,๕๘๔ ๑,๓๑๔ ขุนยวม ๗,๙๓๐ ๔,๐๓๔ ๓,๘๙๖ ๑,๖๖๘ ๗๖๒ แมเ่ งา ๓,๑๑๓ ๑,๖๐๖ ๑,๕๐๗ ๙๗๕ ๕๒๒ เมอื งปอน ๔,๓๖๙ ๒,๒๘๕ ๒,๘๐๔ แม่ยวมนอ้ ย ๒,๕๓๓ ๑,๒๙๕ ๑,๒๓๘ แมอ่ ูคอ ๓,๖๑๑ ๑,๘๕๐ ๑,๗๖๑ แมก่ ิ๊ ๑,๕๕๑ ๘๐๖ ๗๔๕  ทม่ี า:สานักบรหิ ารทะเบยี น กรมการปกครองกระทรวงมหาดไทย(ที่ว่าการอาเภอขุนยวม ) ลกั ษณะภมู ิประเทศ พ้ืนท่สี ่วนใหญข่ องอาเภอขุนยวม เป็นทวิ เขาสูงสลบั ซบั ซ้อน และยงั คงเป็นป่าไม้ตามธรรมชาติทีอ่ ุดม สมบรู ณ์ โดยมพี ้นื ที่ป่าไม้ท่เี ป็นป่าสงวนแห่งชาติ และยังคงความอดุ มสมบูรณ์ สภาพภูมิอากาศ มีสภาพภมู อิ ากาศแบบมรสุมเขตร้อนมี๓ฤดูกาลคอื ๑. ฤดรู ้อนเรม่ิ ตง้ั แต่เดอื นมนี าคมถงึ เดือนพฤษภาคมอณุ หภูมสิ ูงสุด ๒๘ – ๓๕ องศาเซลเซียส ๒. ฤดฝู นเร่มิ ต้งั แต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนกันยายนมีปรมิ าณฝนตกชกุ ที่สดุ ในช่วงเดือนมิถนุ ายนถงึ เดอื น กรกฎาคม ๓. ฤดูหนาวเริม่ ตัง้ แต่เดือนตลุ าคมถึงเดอื นกมุ ภาพันธ์ ทรพั ยากรธรรมชาติ มปี า่ ไม้ท่ีมีค่าอยู่มากข้นึ ตามบริเวณเชงิ เขา ภเู ขาท่วั ๆ ไป รายงานการประเมินตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขุนยวม หน้า ๑๑

ดา้ นพาณิชย์ มสี ถานบี ริการนา้ มนั เชื้อเพลิงขนาดใหญ่ (ป๎้ม ปตท.) อยจู่ านวน ๑ แหง่ (ป้๎ม พีท)ี จานวน ๑ แห่ง มีธนาคาร จานวน ๓ แหง่ ๑. ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์จากดั สาขาอาเภอขุนยวม ๒. ธนาคารกรงุ ไทย สาขาอาเภอขุนยวม ๓. ธนาคารออมสิน สาขาอาเภอขุนยวม อาชีพ ประชาชนส่วนใหญ่มีอาชีพในการทาไร่ เช่น ปลูกข้าว ข้าวโพดถ่ัวเหลือง กระเทียม กะหล่าปลี หอมแดง และปลกู พชื ผกั เปน็ หลักประชากรสว่ นใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ ทานา ทาไร่ พืชท่ีนิยมปลูกในพื้นที่ คือ ข้าวจ้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ถ่ัวเหลือง กระเทียม ปลูกพืชผัก และมีการเลี้ยงสัตว์ส่วนใหญ่เล้ียงไว้บริโภคใน ครวั เรอื น ไดแ้ ก่ ไก่ หมู เลย้ี งเพ่ือจาหน่ายได้แก่ วัว ควาย สว่ นอาชพี ค้าขาย รับจ้างและรบั ราชการมีสว่ นนอ้ ย ศลิ ปวฒั นธรรม ท้องที่อาเภอขุนยวม มีความเป็นอยู่ที่เรียบง่ายอยู่แบบเครือญาติ ให้ความเคารพนับถือผู้อาวุโสและผู้นา ชุมชนมีวัฒนธรรมทางภาษาท่ีเป็นภาษาท้องถิ่นคือ ภาษาไทยใหญ่ ภาษากะเหรี่ยง ภาษาม้งและภาษากาเมือง ที่ใช้ ในการสอ่ื สาร อาเภอขุนยวม เปน็ อาเภอที่มีประวัติศาสตร์และเป็นหมู่บ้านเก่าแก่มีการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยดั้งเดิม มีการแต่งกายและการกินอยู่แบบพ้ืนเมือง เนื่องจากประชากรมีเช้ือสายทั้งชาวไทยภูเขา (ชาวกะเหร่ียง) ไทยใหญ่ จีน พม่า และพ้ืนเมืองอยู่รวมกัน ท้ังในพื้นที่ราบและพ้ืนท่ีสูง มีวัฒนธรรมการกินคือกินข้าวจ้าว มีอาหารพ้ืนเมือง แต่งกายด้วยชุดประจาเผ่า มีการนับถือศาสนาพุทธและศาสนาคริสต์ มีแหล่งอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน ได้แก่ พิพิธภัณฑ์อนุสรณ์สถานไทยญี่ปุ่น สมัยสงครามโลกครั้งที่สอง และยังมีวัดม่วยต่อ วัดโพธิ์ธาราม วัดเมืองปอน และ วัดต่อแพ ทีเ่ ป็นสถานที่สง่ิ ยึดเหนีย่ วจิตใจของคนในชุมชนอาเภอขุนยวมตั้งแต่อดีตจนถึงป๎จจุบัน และประชากรส่วน ใหญจ่ ะยึดถอื ประเพณีดงั้ เดิมซึง่ เกยี่ วข้องกับชีวิตของคนไทยสืบทอดกันมาจากบรรพบุรุษ เช่น ประเพณีการแต่งงาน ประเพณีการบวชสามเณร(เรียกว่า “ปอยส่างลอง” ) ประเพณีการทาศพ ฯลฯและท่ีส่วนประเพณีที่เก่ียวกับศาสนา เชน่ ประเพณแี หค่ รัวทานเขา้ วดั ประเพณีตานก๋วยสลากประเพณีทานขันข้าว (ถวายอาหารพระอุทิศส่วนกุศลให้คน ตาย) ในส่วนของประเพณีทเ่ี กี่ยวกับเทศกาล เชน่ งานเทศกาลลอยกระทง งานเทศกาลแห่เทียนพรรษา งานประเพณี สงกรานต์มีข้ึนระหว่างวันที่ ๑๑–๑๖ เมษายน ของทุกปี แตกต่างจากประเพณีของชาวไทยในภาคอื่นๆ อย่างเห็น ได้ชัด เช่นประเพณีงานเขาวงกต ประเพณีมัดมือของชาวกะเหรี่ยงจะมีประเพณีมัดมือกันปีละ ๒ คร้ังคือช่วงเดือน เมษายน และเดอื นสงิ หาคม ประเพณีกินวอของชาวเขาเผ่าม้ง วตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื สบื ทอดประเพณวี ฒั นธรรม รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขุนยวม หน้า ๑๒

ศาสนา ประชากรส่วนใหญน่ บั ถือศาสนาพทุ ธ และศาสนาคริสต์ มสี ถาบันหรอื องค์กรทางศาสนา มวี ัด ๒๑ แห่ง สานักสงฆ์ ๑๑ แหง่ โบสถ์คาทอลิก จานวน ๑๕ แห่ง การศึกษา - ประถมศึกษา จานวน ๒๖ แหง่ - ขยายโอกาส จานวน ๕ แหง่ - มัธยมศกึ ษา จานวน ๔ แหง่ - อนปุ รญิ ญา จานวน ๑ แหง่ สถานทท่ี ่องเทยี่ ว ๑. พิพิธภณั ฑ์สมยั สงครามโลกครั้งท่ี ๒ อนสุ รณส์ ถานทหารญีป่ ่นุ –ไทย ตั้งอยู่หมู่ท่ี ๑ ตาบลขุนยวม ๒. วัดตอ่ แพ ตง้ั อยหู่ มู่ที่ ๑ ตาบลแมเ่ งา ๓. น้าตกแมส่ รุ ิน ต้งั อยูห่ มู่ท่ี ๒ ตาบลแม่อูคอ ๔. ทุง่ ดอกบัวตอง ตง้ั อยู่หมูท่ ่ี ๖ ตาบลแมอ่ คู อ ๕. น้าตกแม่ยวมหลวง ตง้ั อยู่หมูท่ ่ี ๔ ตาบลแม่อูคอ ๖. ดอยหม่ือก่าโด่ ตั้งอยหู่ มู่ที่ ๘ ตาบลแม่ยวนอ้ ย ๗. โฮมสเตย์บา้ นเมืองปอน ต้ังอย่ทู ่ี หมู่ที่ ๑ ตาบลเมอื งปอน ๘. น้าพุร้อนบ้านหนองแหง้ ต้ังอยูท่ ่ี หมู่ที่ ๙ ตาบลเมืองปอน ปญั หาและข้อจากดั ในการพัฒนา ๑.ปญ๎ หาดา้ นสุขภาพอนามัยของประชาชนยงั ไม่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ๒.ปญ๎ หาการให้บรกิ ารดา้ นสาธารณสุขยงั ไม่ครอบคลมุ และท่วั ถึง ๓.ปญ๎ หาเกษตรกรยงั ไม่มกี ารปรับปรงุ โครงสร้างและขาดการวางแผนการผลติ ๔.ป๎ญหาด้านการรวมตวั ของเกษตรกรและข้อมูลข่าวสารการเกษตรยังไมต่ ่อเนอื่ งอย่างมัน่ คง ๕.ป๎ญหาดา้ นระบบการจัดการและการเล้ียงสัตว์ยงั ไม่ได้มาตรฐาน ๖.ป๎ญหาการเส่ือมโทรมของที่ดินและน้าทเ่ี ปน็ ป๎จจัยสาคญั ในด้านการเกษตรกรรม ๗.ป๎ญหาการบุกรกุ ทาลายป่าสงวนต้นน้าลาธารและทีส่ าธารณประโยชน์ ๘.ปญ๎ หาแหล่งน้าเพอื่ การอุปโภคบริโภคยงั ขาดแคลน รายงานการประเมินตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขุนยวม หน้า ๑๓

ทาเนียบผู้บริหาร ตาแหนง่ ระยะเวลาท่ี ดารงตาแหน่ง ท่ี ชอื่ – สกลุ ผปู้ ระสานงานอาเภอ ๑ ตลุ าคม ๒๕๓๖ – ๓๑ มกราคม ๒๕๓๗ หัวหน้าศูนยบ์ รกิ ารการศกึ ษานอก ๑ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๓๗ – ๓๑ มิถุนายน ๑. นายพนั ลภ พนั ธนา ๒. นายสทุ ัศน์ กนั ทะมา โรงเรยี นอาเภอขนุ ยวม ๒๕๔๗ ผอู้ านวยการศนู ย์บรกิ ารการศึกษานอก ๑ กรกฎาคม ๒๕๔๗ – ๓๑ มกราคม ๓. นายพงษ์ศักด์ิ บุญเปง็ โรงเรียนอาเภอขนุ ยวม ๒๕๔๙ ๔ นายสทุ ัศน์ กันทะมา ผู้อานวยการศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบ ๑๕ มิถนุ ายน ๒๕๔๙ – ๔ พฤศจกิ ายน และการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอขุนยวม ๕. นางจดิ าภา สนนิคม ผู้อานวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบ ๒๕๕๑ และการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอขนุ ยวม ๑ มิถนุ ายน ๒๕๕๑ – ๔ พฤศจิกายน ๖. นายพชิ จติ ต์มาลา ผอู้ านวยการศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบ (ผอ.กศน.อาเภอแม่ลานอ้ ย ๒๕๕๒ รักษาการแทน) และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย อาเภอแมล่ านอ้ ย ๑ มนี าคม ๒๕๕๔ – ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๕ ๗. นายนครชยั โพธ์ขิ าว ผู้อานวยการศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๕ – ๑๐ มีนาคม ๘. นายสทุ ศั น์ กนั ทะมา และการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอขนุ ยวม ๒๕๕๖ (รองผูอ้ านวยการสานักงาน กศน.จังหวดั แมฮ่ ่องสอน รองผอู้ านวยการสานักงาน ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๖ – ๑๖ พฤศจกิ ายน รักษาการแทน) กศน.จงั หวัดแมฮ่ ่องสอน ๒๕๕๗ ๙. นายพชิ จิตต์มาลา ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอเมือง ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ – ๑๓ กรกฎาคม (ผอ.กศน.อาเภอเมือง ๒๕๕๘ รักษาการแทน) ครู ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๘ – ๑๐ มิถนุ ายน ๑๐ นางพนิดา ติยะวฒั น์ รองผ้อู านวยการสานกั งาน ๒๕๕๙ (ครู รกั ษาการแทน) กศน.จงั หวัดแมฮ่ อ่ งสอน ๑๑ มิถนุ ายน ๒๕๕๙ – ๓ กรกฎาคม ๑๑ นายสทุ ศั น์ กนั ทะมา ครชู านาญการ ๒๕๕๙ รักษาการแทน ครู ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๙ – ๓๐ กันยายน ๑๑ นางนชุ นารถ ไชยกันทา ๒๕๖๑ (ครูชานาญการ รักษาการ ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอขนุ ยวม แทน) ๑ ตลุ าคม ๒๕๖๑ – ๓๑ มกราคม ๒๕๖๒ ๑๒ นายธวชั ศรีมูล ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ – ป๎จจบุ นั (ครู รักษาการแทน) ๑๓ นางพนิดา ติยะวฒั น์ รายงานการประเมินตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขนุ ยวม หน้า ๑๔

โครงสร้างการบรหิ ารงานของสถานศึกษา ผอู้ านวยการ คณะกรรมการสถานศึกษา กลมุ่ งาน กลมุ่ กลมุ่ งาน อานวยการ จดั การศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั - งานธุรการและสารบรรณ การศึกษาต่อเนื่อง - งานการศึกษาตาม อัธยาศัย - งานการเงนิ และบญั ชี - งานหอ้ งสมุดประชาชน - งานงบประมาณ - งานส่งเสริมการรหู้ นงั สอื - งานจัด/พฒั นาแหลง่ เรยี นรู้ - งานพสั ดุ - งานการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน และภมู ิป๎ญญาท้องถ่ิน - งานอาคารและยานพาหนะ นอกระบบ - งานการศกึ ษาเคลอื่ นที่ - งานแผนงานและโครงการ - งานจัดการศกึ ษาตอ่ เน่อื ง - งานส่งเสรมิ /สนับสนนุ ภาคี - งานบคุ ลากร - งานการศกึ ษาเพื่อพัฒนาอาชพี เครือข่าย - งานประชาสัมพนั ธ์ - งานการศึกษาเพอื่ พฒั นาทักษะ - งานกิจกรรมพเิ ศษ - ศนู ย์ราชการใสสะอาด ชวี ติ - การปอ้ งกันและแกไ้ ขป๎ญหา - งานข้อมูล สารสนเทศ - งานการศกึ ษาเพอื่ พฒั นาสังคม ยาเสพติด - งานควบคุมภายใน นเิ ทศ - การสง่ เสรมิ กิจกรรม ตดิ ตาม และประเมินผล และชมุ ชน ประชาธิปไตย - งานประกนั คุณภาพภายใน - งานจดั การเรยี นรู้ตามหลัก - โครงการอนั เนื่องมาจาก สถานศกึ ษา ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง พระราชดาริ - งานเลขานุการคณะกรรมการ - งานพฒั นาหลักสูตร ส่ือ สถานศึกษา นวัตกรรมและเทคโนโลยี ทางการศกึ ษา - งานกจิ กรรมนกั ศกึ ษา - งานกจิ กรรมลูกเสอื และ ยวุ กาชาดนอกโรงเรียน - งานศนู ย์ใหค้ าปรกึ ษาแนะแนว รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขุนยวม หน้า ๑๕

จานวนผูเ้ รยี น/ผู้เข้าการอบรม/ผู้รับบรกิ าร และจานวนคร/ู วทิ ยากร/ผ้จู ดั กจิ กรรม หลกั สตู ร/ประเภท จานวนผู้เรยี น(คน) รวม จานวนครู/วทิ ยากร/ผู้ ชาย หญงิ จดั กจิ กรรม (คน) การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน ๒ คน ๑๒ คน - ระดบั ประถมศึกษา ๑๔ ๑๓ ๒๗ ๑๓ คน ๒๗ คน - ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ๑๔๓ ๓๕ ๑๗๘ ๑ คน - ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ๒๐๙ ๙๐ ๒๙๙ ๑ คน ๑ คน รวมจานวน ๓๖๖ ๑๓๘ ๕๐๔ ๔ คน 1 อาเภอ 1 อาชีพ ๑ คน ๑ คน หลักสตู รผลติ ภัณฑ์ผา้ ทอกะเหรีย่ ง 30 - 30 ๒ คน ๑ คน หลักสูตรแปรรปู ผลติ ภัณฑจ์ ากกาแฟ ๑๕ ๑๕ 30 ๑ คน ชา่ งปูนกอ่ สร้าง ๑๕ - ๑๕ ๑ คน ๑ คน รวมจานวน ๔๕ ๑๕ ๖๐ ๑ คน ๑ คน กลมุ่ สนใจ ไม่เกนิ 30 ชม. ๑ คน ๑ คน หลกั สตู รพฒั นาผลติ ภณั ฑผ์ า้ ทอกะเหรีย่ ง - 55 55 ๒ คน ๑ คน หลักสตู รเล้ยี งปลาเพอื่ บรโิ ภค 15 - 15 ๑ คน ๑ คน หลักสตู รขยายพันธ์พชื ไม้ผล 15 - 15 ๒ คน หลักสูตรแปรรูปผลติ ภัณฑ์ทางการเกษตร ๑๔ ๒๑ 35 หนา้ ๑๖ หลกั สตู รน้าส้มควนั ไมเ้ พ่ือใช้งานเกษตรอนิ ทรยี ์ ๑๐ ๑๐ 20 หลักสูตรการทาขนมไทย - ๒๐ 20 หลักสตู รขยายพนั ธ์พืช ๑๐ - 10 หลักสูตรการทากลว้ ยฉาบ - ๑๕ 15 หลกั สตู รการตัดเยบ็ เส้อื ผา้ - ๒๐ 20 หลกั สตู รการทากระดมุ ไทยใหญ่ - ๒๐ 20 หลักสูตรผ้าทอกะเหร่ียง - ๑๕ 15 หลกั สตู รการเพาะเห็ดหอม ๑๕ - 15 หลักสูตรการเล้ียงกบ ๑๕ - 15 หลักสตู รการเลีย้ งปลากนิ พชื ๒๐ ๑๕ 35 หลกั สูตรผลติ ภัณฑจ์ ากเศษผา้ - ๒๐ 20 หลกั สูตรชา่ งไม้เบือ้ งตน้ ๑๕ - 15 หลกั สูตรการเลี้ยงไกพ่ น้ื เมือง ๑๕ - 15 หลักสูตรช่างทาสี ๔๐ - 40 รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขนุ ยวม

หลกั สตู ร/ประเภท จานวนผูเ้ รยี น รวม จานวนผ้สู อน ชาย หญิง ๒ คน หลกั สตู รการเลี้ยงปลาดกุ ๑๐ ๑๐ 20 รวมจานวน ๔๑๕ ๓ คน ๑๙๔ ๒๒๑ ๕ คน ชั้นเรียนวิชาชพี 31 ชม. ขนึ้ ไป 45 ๓ คน หลกั สตู รการซอ่ มเคร่ืองยนต์เลก็ 45 - 80 ๔ คน หลักสตู รช่างไม้เบื้องต้น ๘๐ - 50 ๔ คน หลกั สตู รชา่ งเหล็กดัด ๕๐ - 60 ๑ คน หลกั สูตรช่างปูนกอ่ สรา้ ง ๖๐ - 70 ๑ คน หลักสูตรช่างไฟฟ้าเบื้องตน้ ๗๐ - 30 ๑ คน หลกั สูตรธุรกจิ เถา้ แก่โฮมสเตย์ - 30 15 ๑๑ คน หลกั สูตรช่างปกู ระเบ้ือง 15 - 15 ๑ คน หลกั สตู รการทาอิฐบลอ็ ก 15 - 117 ๔ คน หลกั สูตรการขดุ โคก หนอง นา โมเดล ๖๗ ๕๐ 15 ๑ คน หลักสูตรการขยายพันธุ์พืช ๑๕ - 75 ๑ คน หลักสูตรการบริหารจดั การเรือนเพาะชา ๖๐ ๑๕ 15 ๑ คน หลกั สตู รแปรรูปผลติ ภัณฑท์ างการเกษตร(นา้ พรกิ ค่วั ) ๔ ๑๑ 20 หลักสตู รพน้ื พ้นื ฟสู บื ทอดวฒั นธรรมชนเผา่ ปาเกอญอ ๑๕ ๕ 35 ๑ คน หลักสตู รการเลี้ยงกบในกระชงั ๓๕ - หลักสูตรแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร(ผลไมแ้ ช่ 15 ๑ คน อิม่ ) - ๑๕ ๓ คน หลกั สูตรการขยายพันธ์ุเสาวรส 15 หลกั สูตรการเลี้ยงปลาดุก ๑๕ - 45 ๗ คน ๔๕ - ๗๑๗ ๑ คน รวมจานวน ๕๙๑ ๑๒๖ ๑๑ คน การศึกษาตามอธั ยาศยั ๓๐๗ ๑๑ คน - โครงการหนังสือดีส่ดู อย ๑๖๑ ๑๔๖ ๔๐ คน - โครงการ วันรักการอา่ น ๒ เมษายน ๒๕๕๙ วัน ๒๐ คลา้ ยวันพระราชสมภพสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ๑๐ ๑๐ หน้า ๑๗ - โครงการบา้ นหนงั สอื ชมุ ชน ๒,๐๐๐ - โครงการส่งเสรมิ รกั การอ่านเคลื่อนที่ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๕๐๐ ๒๕๐ ๒๕๐ ๒๘๓๒ รวมจานวน ๑๔๒๖ ๑๔๐๖ รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขนุ ยวม

จานวนบุคลากร ต่ากว่า ป.ตรี ป.ตรี จานวน รวมจานวน ป.โท ป.เอก ประเภท/ตาแหนง่ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ผู้บริหาร ๑ ๑ ข้าราชการครู ๒ ๑๙ ๑ ๒๒ บุคลากรทางการศึกษา ๒ ๒ ลกู จา้ งประจา ๑ ๑ ๑ พนกั งานราชการ ๓ ๒๔ ๒๘ ครูศูนย์การเรยี นชมุ ชน อัตราจา้ ง (บรรณารกั ษ์) รวมจานวน งบประมาณ (ปีงบปจั จุบนั ๒๕๖๒) ประเภทงบประมาณ งบประมาณทไี่ ด้รับ งบประมาณทใี่ ช้ จานวน (บาท) คดิ เปน็ รอ้ ยละ เงินงบประมาณ ๒,๙๔๔,๖๑๗.๕๒ บาท ๒,๙๑๖,๑๘๕.๐๐ บาท ๘๓.๒๘% เงินนอกงบประมาณ ๘,๕๐๐ บาท ๘,๕๐๐ บาท ๑๐๐% รวม ๒,๙๕๑,๒๑๗.๕๒ บาท ๒,๙๒๕,๖๘๕.๐๐ บาท แหล่งเรียนรู้และภาคเครอื ข่าย ช่อื กศน.ตาบล ทตี่ ง้ั ผู้รบั ผดิ ชอบ กศน.ตาบลขนุ ยวม นางศุภลกั ษณ์ อาทิตย์ กศน.ตาบลแมอ่ คู อ วัดโพธาราม หมู่ท่ี ๒ ตาบลขุนยวม อาเภอขนุ ยวม นายยอดยงิ่ พบิ ลู ยธ์ รรมวงศ์ กศน.ตาบลเมอื งปอน จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน ๕๘๑๔๐ นางทรงชม วงศใ์ หญ่ กศน.ตาบลแม่เงา นางสาวภญิ ญาดา อปุ ละ กศน.ตาบลแมย่ วมน้อย องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลแมอ่ ูคอ หมู่ท่ี ๔ ตาบล นายโอชา ไกวลั ร่งุ พพิ ฒั น์ กศน.ตาบลแมก่ ิ๊ แมอ่ ูคอ อาเภอขนุ ยวม จังหวดั แมฮ่ อ่ งสอน ๕๘๑๔๐ นางณัฐณชิ าช์ ฝน๎้ เต่ย รวมจานวน สถานอี นามยั หลังเกา่ หมู่ ๑ ตาบลเมืองปอน ๖ คน อาเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน ๕๘๑๔๐ รา้ นคา้ ชมุ ชนบา้ นต่อแพ หมู่ ๑ ตาบลแม่เงา อาเภอขนุ ยวม จังหวดั แม่ฮ่องสอน ๕๘๑๔๐ สถานีอนามัยหลังเก่า หมู่ ๑ ตาบลแมย่ วมน้อย อาเภอขนุ ยวม จงั หวดั แม่ฮ่องสอน ๕๘๑๔๐ บา้ นแม่ก๊ิ หมู่ ๑ ตาบลแม่ก๊ิ อาเภอขุนยวม จงั หวัดแม่ฮอ่ งสอน ๕๘๑๔๐ ๖ ตาบล รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขุนยวม หนา้ ๑๘

ศูนย์การเรยี นชมุ ชน ที่ตั้ง ผูร้ ับผิดชอบ ศนู ย์การเรยี นชุมชนชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ ้าหลวง” บ้านหวั แมล่ าก๊ะ บา้ นหัวแมล่ าก๊ะ หมู่ ๘ ตาบลแมย่ วมนอ้ ย นางณัฐนรี มูลแกว้ ศูนยก์ ารเรียนชุมชนชาวไทยภเู ขา “แมฟ่ ้าหลวง”บ้านพะยอย อาเภอขุนยวม จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน ๕๘๑๔๐ ศนู ย์การเรียนชมุ ชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง”บ้านแม่สุรินน้อย บา้ นพะยอย หมทู่ ่ี ๒ ตาบลแม่อคู อ น.ส.อุดมทรพั ย์ ทงั่ เชียงใหม่ ศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง”บ้านแม่ซอ อาเภอขุนยวม จังหวัดแมฮ่ อ่ งสอน ๕๘๑๔๐ ศนู ย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟา้ หลวง”บ้านห้วยบง บ้านแมส่ รุ ินน้อย หมูท่ ี่ ๒ ตาบลแมอ่ คู อ นายศรที วน ใจรวมหมู่ ศนู ย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟ้าหลวง”บา้ นหว้ ยไมซ้ าง อาเภอขุนยวม จงั หวัดแมฮ่ อ่ งสอน ๕๘๑๔๐ ศนู ย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟ้าหลวง”บา้ นรม่ เย็น บ้านแมซ่ อ หมูท่ ี่ ๕ ตาบลเมอื งปอน นายเจริญชัย พะยิ ศูนย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา “แมฟ่ า้ หลวง”บา้ นพะแข่ อาเภอขนุ ยวม จังหวดั แม่ฮ่องสอน ๕๘๑๔๐ ศนู ยก์ ารเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟา้ หลวง”บ้านพะโท บ้านหว้ ยบง หมทู่ ่ี ๕ ตาบลแมอ่ คู อ นายธานนิ ทร์ สนั ตธิ รรมบารมี ศูนยก์ ารเรยี นชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟ่ ้าหลวง”บา้ นหว้ ยโปงเลา อาเภอขุนยวม จงั หวัดแมฮ่ ่องสอน ๕๘๑๔๐ ศูนย์การเรยี นชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟ่ ้าหลวง”บ้านห้วยฮุง บ้านหว้ ยไม้ซาง หมทู่ ่ี ๘ ตาบลเมืองปอน นายวิทูรย์ เอื้ออังกรพงษ์ รวมจานวน อาเภอขนุ ยวม จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน ๕๘๑๔๐ แหล่งเรยี นร้อู น่ื หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอขนุ ยวม บา้ นร่มเยน็ หมู่ท่ี ๒ ตาบลแม่กิ๊ อาเภอขนุ ยวม นายศุภกั สร พรหมณู ศนู ยฝ์ กึ อาชพี เศรษฐกิจพอเพยี ง จังหวดั แมฮ่ อ่ งสอน ๕๘๑๔๐ ศูนย์วฒั นธรรมท้องถ่ินอาเภอขนุ ยวม บา้ นพะแข่ หมทู่ ี่ ๓ ตาบลแมก่ ิ๊ อาเภอขุนยวม นายอภชิ ยั เลอะมู น้าพุร้อนบา้ นหนองแห้ง จังหวัดแมฮ่ อ่ งสอน ๕๘๑๔๐ บา้ นพะโท หมู่ท่ี ๓ ตาบลแม่กิ๊ อาเภอขนุ ยวม นางสุชดาพร ธวิ งศ์สา จงั หวัดแม่ฮอ่ งสอน ๕๘๑๔๐ บ้านห้วยโปงเลาหมทู่ ี่ ๔ ตาบลแมก่ ิ๊ อาเภอขนุ ยวม นายสพุ จน์ กวางทู จังหวดั แม่ฮอ่ งสอน ๕๘๑๔๐ บ้านห้วยฮุง หมู่ท่ี ๕ ตาบลขนุ ยวม อาเภอขนุ ยวม นางอนงค์ รกั อิสระภาพ จังหวดั แมฮ่ อ่ งสอน ๕๘๑๔๐ ๑๑ หมู่บา้ น ๑๑ คน ประเภทแหลง่ เรยี นรู้ ท่ีตั้ง คน้ ควา้ ขอ้ มลู จากหนงั สอื งานวชิ าการ หนังสือ หมู่ ๑ ต.ขนุ ยวม อ.ขนุ ยวม บันเทิง หนังสือสาระการเรยี นรดู้ า้ นอาชพี หนงั สือ จ. แม่ฮอ่ งสอน ๕๘๑๔๐ งานวิจยั วทิ ยานิพนธ์ บทความ ฯลฯ สือ่ VCD ส่อื DVD เศรษฐกิจพอเพียงแบบผสมผสาน บา้ นต่อแพ ม.๑ อ.ขนุ ยวม จ.แม่ฮอ่ งสอน ๕๘๑๔๐ ศึกษาพิพิธภัณฑ์ ของทหารญี่ปุ่นสมัยสงครามโลก หมู่ ๑ ต.ขนุ ยวม อ.ขนุ ยวม คร้งั ท่ี ๒ จ. แม่ฮอ่ งสอน ๕๘๑๔๐ ศึกษาธรรมชาติ หมู่ ๓ ต.เมืองปอน อ.ขนุ ยวม จ. แม่ฮอ่ งสอน ๕๘๑๔๐ รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขนุ ยวม หนา้ ๑๙

แหล่งเรียนรอู้ ่นื ประเภทแหลง่ เรียนรู้ ทีต่ ้งั ศูนยฝ์ กึ อาชพี เศรษฐกจิ พอเพียง เศรษฐกจิ พอเพยี งแบบผสมผสาน บา้ นขุนยวม ม.๑ อ.ขนุ ยวม จ.แม่ฮอ่ งสอน หมบู่ ้านโฮมเสตย์ ศึกษาวิถชี วี ติ ๕๘๑๔๐ หมู่ ๑ ต.เมืองปอน ศูนยเ์ ศรษฐกจิ พอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพียงแบบผสมผสาน อ.ขุนยวม จ.แมฮ่ ่องสอน ๕๘๑๔๐ วดั มว่ ยตอ่ ศิลปะ วัฒนธรรมประเพณี บา้ นปา่ ฝาง ม.๔ ต.เมือง ปอน อ.ขุนยวม จ.มส วัดโพธาราม ศลิ ปะ วฒั นธรรมประเพณี ๕๘๑๔๐ หมู่ ๑ ต.ขุนยวม วัดต่อแพ ผา้ ม่านร้อยปี อ.ขุนยวม จ. แมฮ่ ่องสอน ทุ่งบวั ตอง ศกึ ษาธรรมชาติ ๕๘๑๔๐ นา้ ตกแม่สรุ นิ ศึกษาธรรมชาติ หมู่ ๑ ต.ขุนยวม กลุ่มตดั เย็บเสื้อผ้าไทยใหญ่ ตัดเยบ็ ชุดไทยใหญ่ อ.ขุนยวม จ. แม่ฮ่องสอน ๕๘๑๔๐ รวมจานวน ๑๓ แหล่ง หมู่ ๑ ต.แม่เงา อ.ขุนยวม ภูมิปญ๎ ญาทอ้ งถิน่ ความรูค้ วามสามารถ จ. แมฮ่ อ่ งสอน ๕๘๑๔๐ ตาบลขุนยวม บ้านปางตอง ต.แมอ่ คู อ นายวัลลภ สุวรรณอาภา ทาน้าหมกั ชีวภาพ/ขยายพนั ธุ์พืช อ.ขนุ ยวม จ.มส ๕๘๑๔๐ บ้านแมส่ รุ นิ ต.แมอ่ ูคอ นายดี นุ๊ดี เล่นดนตรพี ้ืนเมือง อ.ขุนยวม จ.มส ๕๘๑๔๐ นางโชติกา สิทธสิ ขุ (กลมุ่ สะลอ้ ซอซึง ) หมู่ ๑ ต.เมืองปอน อ.ขนุ ยวม จ.แม่ฮอ่ งสอน นวดแผนไทย ๕๘๑๔๐ นายจารูญ บญุ ทา การทาปุ๋ยหมัก และการทาน้าหมกั ชีวภาพ ๑๓ จุด ทอ่ี ยู่ รายงานการประเมินตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขุนยวม หมู่ ๑ ต. ขุนยวม อ.ขนุ ยวม จ.แม่ฮอ่ งสอน ๕๘๑๔๐ หมู่ ๑ ต. ขนุ ยวม อ.ขนุ ยวม จ.แมฮ่ อ่ งสอน ๕๘๑๔๐ หมู่ ๑ ต. ขุนยวม อ.ขุนยวม จ.แมฮ่ ่องสอน ๕๘๑๔๐ หมู่ ๒ ต.ขุนยวม อ.ขุนยวม จ.แม่ฮ่องสอน ๕๘๑๔๐ หน้า ๒๐

ตาบลแมอ่ ูคอ ตีมดี หมู่ ๔ ต. แม่อคู อ อ.ขนุ ยวม นายชนะ บุญชูธวชั จ.แมฮ่ ่องสอน ๕๘๑๔๐ หมู่ ๔ ต. แม่อคู อ อ.ขุนยวม นายพัชร์ กนั ทะวงค์ ทานา้ หมักชีวภาพ จ.แมฮ่ อ่ งสอน ๕๘๑๔๐ หมู่ ๔ ต. แมอ่ คู อ อ.ขุนยวม นายอนันท์ กรอบเงินดี เศรษฐกิจพอเพียง จ.แม่ฮ่องสอน ๕๘๑๔๐ หมู่ ๔ ต. แม่อคู อ อ.ขุนยวม นางจันทรแ์ กว้ พบิ ูลธรรวงศ์ ไพตองตึง จ.แมฮ่ อ่ งสอน ๕๘๑๔๐ หมู่ ๔ ต. แม่อคู อ อ.ขุนยวม นายเนตร กรอบเงนิ ดี ชา่ งไม้ จ.แมฮ่ ่องสอน ๕๘๑๔๐ หมู่ ๔ ต. แม่อคู อ อ.ขนุ ยวม นายมานิตย์ ชมพนาศรี จกั สาน จ.แม่ฮ่องสอน ๕๘๑๔๐ ตาบลแม่ก๊ิ ม.๑ ต.แม่ก๊ิ อ.ขนุ ยวม นายพะเยาว์ กอดวเิ ชียร ยาสมนุ ไพร จ.แมฮ่ อ่ งสอน ๕๘๑๔๐ ม.๔ ต.แมก่ ๊ิ อ.ขุนยวม นายพะหม่อ พินิจวงศ์ภษู ติ เศรษฐกจิ พอเพยี ง จ.แมฮ่ อ่ งสอน ๕๘๑๔๐ หมู่ ๔ ต.แมก่ ิ๊ อ.ขุนยวม นางปาริชาติ ตันตศิ กั ดา ทอผ้ากะเหรย่ี ง จ.แม่ฮ่องสอน ๕๘๑๔๐ นนท์ ตีมีด หมู่ ๓ ต.แม่ก๊ิ อ.ขนุ ยวม จ.แมฮ่ อ่ งสอน ๕๘๑๔๐ นายมนญู ศรสี ุขฤทัย ม.๑ ต.แมย่ วมน้อย อ.ขุนยวม ตาบลแมย่ วมนอ้ ย จ.แมฮ่ ่องสอน ๕๘๑๔๐ นายดแิ หงะ กาญจนปกรณ์ จกั สาน ม.๖ ต.แมย่ วมนอ้ ย อ.ขุนยวม จ.แมฮ่ อ่ งสอน ๕๘๑๔๐ นางเกศนยี ์ วงศ์ศกั ดศิ์ รี ทอผา้ กะเหร่ยี ง ม.๑ ต.แมย่ วมนอ้ ย อ.ขนุ ยวม จ.แมฮ่ ่องสอน ๕๘๑๔๐ นายสมาน เมืองหมอกงาม ช่างไม้ บา้ นตอ่ แพ ต.แมเ่ งา ตาบลแม่เงา เศรษฐกจิ พอเพยี ง อ.ขนุ ยวม จ.มส ๕๘๑๔๐ นายจรญู จันตะกอง บ้านต่อแพ ต.แม่เงา อ.ขนุ ยวม จ.มส ๕๘๑๔๐ นายเจรญิ ช่างแท้ ชา่ งตอ้ งลายฉลุ บา้ นตอ่ แพ ต.แม่เงา อ.ขนุ ยวม จ.มส ๕๘๑๔๐ นางจนั ทรน์ ิพา ทองคา การฟอ้ นดาบ หน้า ๒๑ รายงานการประเมินตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขนุ ยวม

ตาบลแมเ่ งา นางจันทร์ศรี ช่างเหล็ก จักสานกุป๊ ไตใหญ่ บา้ นต่อแพ ต.แม่เงา อ.ขุนยวม จ.มส ๕๘๑๔๐ นายตระอู เปลี่ยนทองแดง ชา่ งต้องลายฉลุ หมู่ ๑ ต.แม่เงา อ.ขนุ ยวม นาย จ.แมฮ่ ่องสอน ๕๘๑๔๐ นางเกยี งคา ฟูมา ทอผ้ากะเหร่ียง บ้านหวั เงา ต.แม่เงา อ.ขนุ ยวม จ.มส ๕๘๑๔๐ ตาบลเมอื งปอน นางสมพร กอบทวีกุศล การตัดเย็บเสอ้ื ไต หมู่ ๑ ต.เมืองปอน อ.ขนุ ยวม จ.แม่ฮอ่ งสอน ๕๘๑๔๐ นางเป็ง - หมอนวดพื้นบา้ น หมู่ ๑ ต.เมืองปอน อ.ขุนยวม จ.แมฮ่ อ่ งสอน๕๘๑๔๐ นางแหลคา คงมณี การทาจองพารา หมู่ ๑ ต.เมอื งปอน อ.ขุนยวม จ.แม่ฮ่องสอน ๕๘๑๔๐ นางคาหลู่ สุนนั ท์ โฮมสเตย์ หมู่ ๑ ต.เมืองปอน อ.ขนุ ยวม จ.แมฮ่ ่องสอน ๕๘๑๔๐ นายเขือ่ ง วิลยั เศรษฐกจิ พอเพยี ง หมู่ ๔ ต.เมอื งปอน อ.ขนุ ยวม จ.แม่ฮอ่ งสอน ๕๘๑๔๐ นางจิงผิว่ สรุ ินต๊ะ อาหารไทยใหญ่ ขา้ วป๊กุ หมู่๑ ต.เมอื งปอน อ.ขนุ ยวม จ. แมฮ่ ่องสอน ๕๘๑๔๐ นายโฉ่ ราแพน จักสานกุ๊บ (ลายดอกพิกลุ ) หมู่๑ ต.เมอื งปอน อ.ขุนยวม จ. แม่ฮอ่ งสอน ๕๘๑๔๐ นายละ ทองพูล ตอกฉลุไทยใหญ่ หมู่๑ ต.เมืองปอน อ.ขุนยวม จ.แมฮ่ ่องสอน ๕๘๑๔๐ นางสุภัคร์ สิทธิ การตดั เยบ็ เสอื้ ไต หมู่๑ ต.เมืองปอน อ.ขุนยวม จ.แม่ฮ่องสอน ๕๘๑๔๐ รวมจานวน ๓๑ ประเภท ๓๑ แหลง่ ภาคีเครอื ข่าย ทอ่ี ยู่/ทตี่ ้งั องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลเมืองปอน หมู่ ๑ ต.เมอื งปอน อ.ขนุ ยวม จ. แม่ฮอ่ งสอน ๕๘๑๔๐ องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลขุนยวม หมู่ ๒ ต.ขุนยวม อ.ขนุ ยวม จ. แม่ฮอ่ งสอน ๕๘๑๔๐ องค์การบริหารสว่ นตาบลแมอ่ ูคอ หมู่ ๔ ต.แม่อคู อ อ.ขุนยวม จ. แม่ฮ่องสอน ๕๘๑๔๐ องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลแม่ยวมนอ้ ย หมู่ ๑ ต.แม่ยวมน้อย อ.ขนุ ยวม จ. แม่ฮ่องสอน ๕๘๑๔๐ องค์การบริหารส่วนตาบลแมเ่ งา หมู่ ๑ ต.แมเ่ งา อ.ขนุ ยวม จ. แม่ฮอ่ งสอน ๕๘๑๔๐ องค์การบริหารส่วนตาบลแมก่ ิ๊ หมู่ ๕ ต.แม่กิ๊ อ.ขนุ ยวม จ. แม่ฮอ่ งสอน ๕๘๑๔๐ โรงพยาบาลขนุ ยวม หมู่ ๑ ต.ขุนยวม อ.ขุนยวม จ. แมฮ่ อ่ งสอน ๕๘๑๔๐ เทศบาลตาบลขนุ ยวม หมู่ ๑ ต.ขุนยวม อ.ขนุ ยวม จ. แม่ฮ่องสอน ๕๘๑๔๐ รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขนุ ยวม หน้า ๒๒

ภาคีเครือข่าย ทีอ่ ย/ู่ ทตี่ ง้ั โรงเรยี นขุนยวม หมู่ ๑ ต.ขนุ ยวม อ.ขนุ ยวม จ. แมฮ่ ่องสอน ๕๘๑๔๐ โรงเรียนขนุ ยวมวิทยา หมู่ ๑ ต.ขนุ ยวม อ.ขนุ ยวม จ. แม่ฮอ่ งสอน ๕๘๑๔๐ ท่วี า่ การอาเภอขนุ ยวม หมู่ ๑ ต.ขนุ ยวม อ.ขนุ ยวม จ. แมฮ่ อ่ งสอน ๕๘๑๔๐ สานักงานปศสุ ตั ว์ หมู่ ๑ ต.ขนุ ยวม อ.ขุนยวม จ. แม่ฮอ่ งสอน ๕๘๑๔๐ สถานีตารวจอาเภอขนุ ยวม หมู่ ๑ ต.ขนุ ยวม อ.ขุนยวม จ. แม่ฮอ่ งสอน ๕๘๑๔๐ สานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาเขต ๑ หมู่ ๑ ต.ขุนยวม อ.ขนุ ยวม จ. แมฮ่ ่องสอน ๕๘๑๔๐ สาธารณสขุ อาเภอขนุ ยวม หมู่ ๑ ต.ขุนยวม อ.ขนุ ยวม จ. แมฮ่ อ่ งสอน ๕๘๑๔๐ การไฟฟา้ หมู่ ๑ ต.ขนุ ยวม อ.ขุนยวม จ. แม่ฮอ่ งสอน ๕๘๑๔๐ การประปา หมู่ ๑ ต.ขุนยวม อ.ขุนยวม จ. แม่ฮ่องสอน ๕๘๑๔๐ วดั โพธาราม หมู่ ๑ ต.ขุนยวม อ.ขนุ ยวม จ. แมฮ่ ่องสอน ๕๘๑๔๐ โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบล หมู่ ๘ ต.แมย่ วมนอ้ ย อ.ขนุ ยวม จ.แม่ฮอ่ งสอน ๕๘๑๔๐ แมย่ วมนอ้ ย โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลแมก่ ๊ิ หมู่ ๑ ต.แม่กิ๊ อ.ขนุ ยวม จ.แมฮ่ อ่ งสอน ๕๘๑๔๐ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบล หมู่ ๓ ต.แมอ่ ูคอ อ.ขนุ ยวม จ.แม่ฮอ่ งสอน ๕๘๑๔๐ บ้านปางตอง โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบล หมู่ ๑ ต.แมเ่ งา อ.ขนุ ยวม จ.แมฮ่ อ่ งสอน ๕๘๑๔๐ บา้ นต่อแพ โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบล หมู่ ๓ ต.ขนุ ยวม อ.ขุนยวม จ.แม่ฮอ่ งสอน ๕๘๑๔๐ บ้านแม่สรุ นิ โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพ หมู่ ๑ ต.เมืองปอน อ.ขนุ ยวม จ.แม่ฮอ่ งสอน ๕๘๑๔๐ ตาบลเมืองปอน โรงเรยี นบ้านหวั แมล่ ากะ๊ หมู่ ๘ ต.แม่ยวมนอ้ ย อ.ขุนยวม จ.แมฮ่ อ่ งสอน ๕๘๑๔๐ โรงเรียนบา้ นห้วยฮงุ หมู่ ๕ ต.ขนุ ยวม อ.ขนุ ยวม จ.แมฮ่ ่องสอน ๕๘๑๔๐ โรงเรียนบา้ นห้วยไมซ้ าง หมู่ ๘ ต.เมืองปอน อ.ขุนยวม จ.แมฮ่ อ่ งสอน ๕๘๑๔๐ โรงเรยี นบ้านแม่สุรินน้อย หมู่ ๒ ต.แม่อคู อ อ.ขนุ ยวม จ.แมฮ่ อ่ งสอน ๕๘๑๔๐ วัดเมอื งปอน หมู่ ๑ ต.เมอื งปอน อ.ขนุ ยวม จ.แม่ฮ่องสอน ๕๘๑๔๐ เขตพัฒนาพืน้ ท่สี งู หัวปอน หมู่ ๑ ต.แม่ยวมน้อย อ.ขนุ ยวม จ.แม่ฮ่องสอน ๕๘๑๔๐ สถานีพัฒนาทดี่ นิ หมู่ ๑ ต.ขุนยวม อ.ขุนยวม จ. แม่ฮ่องสอน ๕๘๑๔๐ หน่วยปอ้ งกันรกั ษาป่าท่ี มส.๖ หมู่ ๑ ต.ขุนยวม อ.ขุนยวม จ. แม่ฮอ่ งสอน ๕๘๑๔๐ เขตรกั ษาพนั ธุส์ ตั ว์ปา่ ดอยเวียงหลา้ หมู่ ๑ ต.ขุนยวม อ.ขนุ ยวม จ. แมฮ่ ่องสอน ๕๘๑๔๐ รวมจานวน ๒๙ แห่ง รายงานการประเมินตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขนุ ยวม หนา้ ๒๓

รางวัล เกียรติบตั ร เกยี รติยศ ช่ือเสียง และผลงานดเี ดน่ ของสถานศึกษา ปี พ.ศ.ทีไ่ ดร้ บั จากหน่วยงาน ที่ ผลงาน ๑๖ มกราคม ชมรมครูอาเภอ ๒๕๖๒ ขนุ ยวม ๑ ไดร้ ับรางวลั ยกย่องเชดิ ชูเกยี รติ ครกู ารศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัยดเี ด่น ด้านการจดั การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน ๑๖ มกราคม ชมรมครูอาเภอ ๒๕๖๒ ขุนยวม ๒ ไดร้ ับรางวัลยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรติ ครกู ารศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศัยดเี ด่น ด้านการเครอื ข่ายดีเดน่ ๗ มนี าคม ๒๕๖๒ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๓ ได้รบั เกียรตบิ ัตรชุมชนต้นแบบตามโครงการไทยนยิ ม ๒๔ พฤษภาคม ผูว้ ่าราชการจงั หวดั ยัง่ ยนื ระดับตาบลของสานักงาน กศน. ๒๕๖๒ แม่ฮอ่ งสอน ๔ ได้รบั เกียรตบิ ัตรเขา้ รว่ มการแสดงมหรสพสมโภช เน่ืองใน ๒๗ -๒๘ มิถนุ ายน เลขาธิการ กศน. โอกาสมหามงคลพระราชพธิ รี าชาภิเษก จังหวดั แม่ฮอ่ งสอน ๒๕๖๒ ๕ ได้รบั รางวัลคัดเลือกใหน้ าเสนอผลงาน โดยการจัดนิทรรศการ ๒๕๖๒ ศนู ย์ภาคเหนอื เผยแพรผ่ ลงานดีเด่น ในงานสัมมนาเพอื่ งานวิชาการ จ.ลาปาง กศน.เขตภาคเหนือ ๖ ไดร้ บั เกียรตบิ ตั รวิทย์สรา้ งคนรวมพลเครอื ขา่ ย อาสาสมคั ร วทิ ยาศาสตร์ กา้ วสาคญั เพ่อื การขบั เคล่ือน วทน.สู่ภูมิภาค ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา ท่ีผา่ นมา (ปี ๒๕๖๑) ๑. ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปีงบประมาณทผี่ ่านมา โดยภาพรวมของสถานศกึ ษา ผลการประเมนิ มาตรฐาน /ตัวบ่งช้ี (คะแนน) ตนเอง คะแนน ระดบั ทีไ่ ด้ คณุ ภาพ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรียน/ผรู้ บั บริการ ๓๕ ๒๙.๕๐ ดีมาก ๕ ๔.๕๐ ดีมาก การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน ตัวบง่ ชีท้ ่ี 1.1 ผู้เรยี นการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณธรรม ตัวบ่งช้ที ่ี 1.2 ผู้เรียนการศึกษาขนั้ พน้ื ฐานมีทักษะ กระบวนการคิด ทักษะการ แสวงหาความรู้ เรยี นรอู้ ย่างต่อเนอ่ื ง และ สามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการ ๕ ๔.๐๐ ดี ดารงชีวติ ตัวบง่ ชี้ท่ี 1.3 ผูเ้ รียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมคี วามรู้พน้ื ฐาน ๕ ๓.๕๐ ดี การศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง ตัวบง่ ชี้ท่ี 1.4 ผ้เู รยี นหรอื ผเู้ ข้ารับการอบรมมีความรู้ ความสามารถ และทักษะ ๕ ๔.๕๐ ดีมาก ในการประกอบอาชีพ ตัวบง่ ชท้ี ี่ 1.5 ผู้เรยี นหรอื ผ้เู ข้ารับการอบรมปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ปรัชญา ของ ๕ ๔.๕๐ ดีมาก เศรษฐกจิ พอเพียง รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขนุ ยวม หน้า ๒๔

มาตรฐาน /ตัวบง่ ชี้ (คะแนน) ผลการประเมนิ ตนเอง ตวั บ่งชี้ท่ี 1.6 ผเู้ รยี นหรอื ผเู้ ขา้ รับการอบรมสามารถใช้เทคโนโลยีได้ ๕ อย่างเหมาะสม คะแนน ระดบั การศกึ ษาตามอัธยาศัย ๕ ทีไ่ ด้ คณุ ภาพ ตัวบง่ ชี้ที่ 1.7 ผูร้ บั บริการได้รับความรู้และ/หรือประสบการณ์จากการเขา้ ร่วม ๔๕ ๔.๐๐ ดี กิจกรรม/โครงการการศกึ ษาตามอัธยาศยั มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจดั การศึกษา/การให้บรกิ าร ๕ ๔.๕๐ ดีมาก การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ๕ ๓๘.๕๐ ดีมาก ตวั บ่งชี้ท่ี 2.1 คุณภาพครูการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ๕ ตวั บง่ ชท้ี ่ี 2.2 คณุ ภาพของหลักสตู รสถานศึกษา ๕ ๔.๕๐ ดีมาก ตวั บ่งชีท้ ี่ 2.3 คุณภาพส่ือตามหลักสูตรสถานศึกษา ๔.๕๐ ดมี าก ตัวบ่งชีท้ ี่ 2.4 คณุ ภาพการจัดกระบวนการเรียนร้ตู ามหลักสูตร ๕ ๔.๐๐ ดี สถานศึกษา ๕ ๔.๕๐ ดมี าก การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง ๕ ตัวบง่ ชี้ที่ 2.5 คุณภาพวทิ ยากรการศึกษาต่อเนื่อง ๔.๕๐ ดีมาก ตัวบ่งช้ที ี่ 2.6 คุณภาพหลกั สตู รและสื่อการศึกษาต่อเน่ือง ๕ ๔.๐๐ ดี ตวั บ่งชท้ี ี่ 2.7 คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษา ๕ ๔.๐๐ ดี ตอ่ เน่อื ง ๒๐ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย ๕ ๔.๐๐ ดี ตวั บง่ ชี้ท่ี 2.8 คุณภาพผู้จัดกิจกรรมการศกึ ษาตามอัธยาศยั ๔.๕๐ ดมี าก ตัวบ่งชที้ ่ี 2.9 คุณภาพกระบวนการจัดกจิ กรรมการศึกษาตาม ๕ ๒๐.๐๐ ดีมาก อัธยาศัย ๕ ๕.๐๐ ดมี าก มาตรฐานที่ 3 ประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การการศกึ ษา ๕ ๕.๐๐ ดมี าก ตวั บ่งชีท้ ่ี 3.1 การบรหิ ารสถานศึกษาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ ๕.๐๐ ดมี าก พอเพียงและหลักธรรมาภบิ าล ๕.๐๐ ดี ตวั บ่งชี้ที่ 3.2 การส่งเสรมิ สนับสนุนการจดั การศึกษาของภาคเี ครอื ขา่ ย ตัวบ่งชีท้ ี่ 3.3 การมีสว่ นร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา ตัวบง่ ชี้ท่ี 3.4 การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา รวม ๑๐๐ ๘๘.๐๐ ดีมาก หมายเหตุ กรณีทจี่ ัดทารายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาปงี บประมาณ 256๒ ให้ใชม้ าตรฐานการศกึ ษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ที่ประกาศใช้ เมื่อ ปี 2๕๖๑ (จานวน ๓ มาตรฐาน 2๐ ตัวบง่ ช้ี) รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขุนยวม หน้า ๒๕

 ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพัฒนาจากผลการประเมนิ ตนเอง ๑. จัดทาเครือ่ งมือการประเมนิ แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาและนาผลประเมินฯมาใช้ในการปรับปรุงแผนฯ อยา่ งตอ่ เนือ่ งสามารถตรวจสอบการบรรลุเปา้ หมาย ตัวช้ีวดั การดาเนนิ งานได้ครบทุกโครงการ/กจิ กรรมครบP-D-C-A ๒. จดั ทาแผน กากบั ตดิ ตามการดาเนนิ งานการนิเทศภายในฯให้ครอบคลุมทุกโครงการ ๓. จัดทาเครอ่ื งมือการนิเทศภายในฯใหค้ รอบคลมุ ทุกโครงการ ๔. จัดประชมุ การกากับติดตามการดาเนนิ งานการนเิ ทศภายในอยา่ งต่อเน่ืองปีละ 2 ครัง้ ๕. แตง่ ตง้ั คณะกรรมการกากบั ติดตามงานใหค้ รบทุกงาน/โครงการ ๖. ประชุมคณะกรรมการรับทราบและเสนอแนะ/เชิญภูมิป๎ญญาท้องถ่ินเข้าเป็นวิทยากรและนิเทศติดตาม ผล ๗. รายงานการประเมินการดาเนนิ งานตามแผนกากับติดตามการดาเนนิ งานและเผยแพร่ผลการดาเนินงาน ๘. เชิญภาคีเครือข่าย/ผู้เรียนเข้ามาร่วมประชุม แสดงความคิดเห็นในการพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา จัดทาคาส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการจากภาคีเครือข่ายร่วมเป็นคณะกรรมการการพัฒนาสื่อ/หลักสูตรของสถานศึกษา กาหนดวาระการประชุมให้เป็นไปตามขั้นตอนของการจัดทาหลักสูตรมีการบันทึกการประชุมและคณะกรรมการ สถานศึกษาลงนามอนมุ ัติ เห็นชอบหลักสูตรสถานศึกษาในทปี่ ระชุม ๙. สถานศึกษาควรเน้นย้าให้ครูทุกคนให้ความสาคัญในการทาวิจัยชั้นเรียนบันทึกหลังสอนและบันทึกให้ ถกู ตอ้ งครอบคลมุ ตามจุดประสงค์ มาตรฐาน ตวั ชว้ี ดั ผลการเรยี นร้ทู คี่ าดหวัง คุณธรรมจริยธรรม เพ่ือสามารถพัฒนา ผู้เรียนได้ตรงตามที่หลักสูตรกาหนดและควรให้มีการบันทึกหลังสอนให้ครบทุกคร้ังเป็นป๎จจุบันและเชื่อ มโยงกับการ ทาวจิ ัยอยา่ งง่าย ๒. ผลการประเมนิ คุณภาพสถานศึกษาโดยตน้ สังกัด ล่าสดุ ผลการประเมินคุณภาพ มาตรฐาน ค่าน้าหนกั สถานศกึ ษาโดยตน้ สงั กดั คะแนนทีไ่ ด้ ระดับคณุ ภาพ มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพผูเ้ รยี น/ผรู้ บั บรกิ าร ๓๕ ๒๕.๐๔ พอใช้ มาตรฐานที่ ๒ คณุ ภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ ๒๕ ๒๐.๖๙ ดี มาตรฐานท่ี ๓ การบริหารการศกึ ษา ๑๐ ๘.๔๕ ดี มาตรฐานท่ี ๔ การประกันคุณภาพการศึกษา ๑๐ ๙.๙๐ ดมี าก มาตรฐานท่ี ๕ อตั ลกั ษณข์ องสถานศึกษา ๑๐ ๑๐.๐๐ ดีมาก มาตรฐานท่ี ๖ มาตรการสง่ เสรมิ ๑๐ ๑๐.๐๐ ดีมาก รวมคะแนนโดยภาพรวมของสถานศึกษา ๑๐๐ ๘๔.๐๘ ดี  ข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนาจากผลการประเมนิ สถานศึกษาโดยต้นสังกัด สถานศึกษาควรจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาให้มีการนาหลักสูตรไปใช้ในการจัดการศึกษาให้บรรลุ ตามเป้าหมายของหลักสูตรอบรมพัฒนาครูทุกคนให้มีความรู้ในหลักสูตรและเนื้อหาวิชาในหลักสูตรให้พอเพี ยงต่อ การนาความรู้ไปใช้อย่างเป็นระบบและกากับ ติดตาม การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างต่อเน่ือง ให้สามารถ พัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของผู้เรียนใหส้ ูงขึน้ สามารถออกแบบแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ ท้ังแผนการเรียนรู้รายสัปดาห์ รายภาคเรียนอย่างถูกต้องบันทึกหลักสอนให้ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์ของ รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขุนยวม หน้า ๒๖

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและเชื่อมโยงกับการทาวิจัยในช้ันเรียนให้ได้รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนท่ีแก้ป๎ญหาผู้เรียนได้อย่างเป็นรูปธรรม ในด้านระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหาร ควรนาข้อมูลมาพัฒนาในการ บริหารจัดการตามแผนพัฒนาคุณภาพ แผนปฏิบัติการประจาปีและรายละเอียดของโครงการ กิจกรรมประเมินผล การดาเนินงานตามตัวช้ีวัดที่ระบุไว้ในโครงการ กิจกรรม บันทึก รายงานการประชุมท่ีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบ ฐานข้อมลู ใหเ้ ป็นสารสนเทศทม่ี ปี ระสิทธิภาพ ใช้อ้างอิงได้สถานศึกษาควรใช้แผนบริหารความเส่ียงให้คุ้มค่าประเมิน และใช้ผลการประเมนิ ในการบริหารความเส่ียงใหม้ ีความสาเร็จตามตัวชว้ี ดั ความสาเร็จในระดบั ทสี่ ูงขนึ้ ๓.ผลการประเมินคุณภาพภายนอก (คร้ังลา่ สดุ ) มาตรฐานกฎกระทรวง ตัวบ่งช้ี น้าหนัก ผลการประเมินตนเอง (คะแนน) ของสถานศกึ ษา ผลการจดั การศึกษา ตัวบ่งชี้ท่ี ๑.๑ ถึง ๑.๘ ตัวบง่ ชี้ท่ี ๕.๑ ถึง ๕.๒ คะแนน ระดับ การบรหิ ารจดั การศกึ ษา และตวั บ่งชี้ที่ ๖.๒ เฉลี่ย คณุ ภาพ ตวั บ่งชท้ี ี่ ๒.๗ การจดั การเรยี นการสอนที่เน้นผเู้ รยี นเป็น ตัวบง่ ชี้ที่ ๓.๑ ถึง ๓.๕ ๕๐ ๔๐.๖๓ ดี สาคญั และตวั บ่งชีท้ ่ี ๖.๑ การประกันคุณภาพภายใน ตวั บ่งชี้ที่ ๒.๑ ถึง ๒.๖ ๑๘ ๑๗.๒๗ ดี รวม ตัวบ่งชี้ท่ี ๔.๑ ถึง ๔.๒ ๒๒ ๒๐.๖๑ ดี ๑๐ ๙.๕๘ ดมี าก ๑๐๐ ๘๘.๐๙ ดี  ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพัฒนาจากผลการประเมินสถานศกึ ษาโดยตน้ สังกดั ๑. ดาเนนิ งานตามนโยบายและภารกจิ ๒. นามาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาเป็นเป้าหมายในการบริหารจัดการทาแผนพัฒนาคุณภาพทาง การศกึ ษาและแผนปฏบิ ัตงิ านประจาปใี หม้ ีความสอดคลอ้ งระหว่างโครงการ/กิจกรรมมาตรฐาน กศน. ๓. การพัฒนาสื่อและแหล่งเรียนรู้ ต้องสอดคล้องกับเน้ือหาของหลักสูตร เพื่อให้สื่อและแหล่งเรียนรู้ มีความ ทนั สมยั และทันต่อเหตกุ ารณป์ จ๎ จุบัน ซง่ึ ท่ผี า่ นมาการพฒั นาสอ่ื และแหล่งเรยี นร้ยู งั ไม่ชัดเจนเทา่ ท่ีควร ๔. ควรให้ภาคีเครือขา่ ยมสี ว่ นรว่ มต่อการดาเนนิ งานการจัดการศึกษานอกระบบ ซ่ึงที่ผ่านมาการให้ภาคีเครือข่าย เข้ามาร่วมรบั ผิดชอบต่อการดาเนินงานไม่ชัดเจน หลักฐาน ร่องรอย ยังไมส่ ามารถอธิบายให้เห็นในเชิงประจกั ษไ์ ด้ รายงานการประเมินตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขุนยวม หนา้ ๒๗

บทที่ ๒ ทศิ ทางและผลการดาเนินงานของสถานศึกษา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอขุนยวม ได้กาหนดทิศทางการดาเนินงาน ตาม แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา และแผนปฏบิ ตั ิการประจาปี โดยมรี ายละเอยี ด ดงั น้ี ทศิ ทางการดาเนนิ งานของสถานศกึ ษา ปรชั ญา (Philosophy) บูรณาการความรู้สกู่ ารพัฒนาคู่คุณธรรม ยกระดับการศึกษาตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง วสิ ัยทัศน์ (Vision) กศน.อาเภอขุนยวม เปน็ องคก์ รทจี่ ดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยกับประชาชนได้เรียนรู้ ตลอดชีวิต โดยบูรณาการร่วมกับเครือข่ายตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงภายใต้วัฒนธรรม วิถีชีวิต ทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนอย่างมคี ณุ ภาพ พนั ธกจิ (Mission) ๑. พัฒนาบคุ ลากรและระบบบริหารจดั การ กศน.ขุนยวมให้ดาเนินงานตามนโยบายการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย เพ่อื สง่ เสรมิ การศึกษาตลอดชวี ิตและการศกึ ษาเพ่ือการมีงานทา ๒. สร้างโอกาสทางการศึกษาให้กับประชาชนอาเภอขุนยวม โดยสอดคล้องกับบริบทของชุมชนให้ทัน กระแสของสังคมและพัฒนาศกั ยภาพครูและผู้ปฏบิ ัติงานในการจัดการศึกษาอยา่ งมีคณุ ภาพ ๓. จัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับประชาชนอาเภอขนุ ยวม ๔. ส่งเสริมสนับสนุนร่วมมือให้หน่วยงานภาคีเครือข่ายในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัย และพฒั นาแหล่งเรยี นรู้ ส่ือและเทคโนโลยี เพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของชุมชนให้กับ ประชาชนอาเภอขนุ ยวม ๕. จัดและส่งเสริมการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทาเพื่อพัฒนาสมรรถนะของประชาชนและชุมชนให้ สามารถสรา้ งสรรค์และแข่งขันดา้ นอาชพี ได้อย่างยงั่ ยนื อตั ลักษณ์ ( ผเู้ รยี น ) วถิ ีพอเพียง ภายใตว้ ฒั นธรรมท้องถิ่น เอกลกั ษณ์ ( สถานศึกษา ) สบื สานวัฒนธรรมทอ้ งถิ่น รายงานการประเมินตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขนุ ยวม หน้า ๒๘

เป้าประสงคแ์ ละตัวชี้วดั ความสาเร็จ เป้าประสงค์ ตัวช้ีวัดความสาเรจ็ ๑. สถานศกึ ษา กศน.ตาบล และศนู ยก์ ารเรียน มรี ะบบการ ๑.ร้อยละของผู้ทาหน้าที่นิเทศทส่ี ามารถนาแผนการ บริหารจัดการที่มีคุณภาพ สามารถจัดบรกิ ารตอบสนองกับ นิเทศไปสู่การปฏบิ ตั ไิ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ สภาพและความตอ้ งการ ของผู้เรยี นและผรู้ ับบริการอย่างมี ๒.สถานศึกษามรี ะบบการนเิ ทศท่มี คี ุณภาพจานวน ประสิทธิภาพ โครงการบรรลตุ ามเป้าหมายและงบประมาณ ๓.สถานศึกษาพฒั นาระบบบริหารจัดการทีม่ ุ่งคณุ ภาพ ตามมาตรฐานการศกึ ษา ๒. การศึกษาท่ีมคี ุณภาพได้มาตรฐานและมีคุณลักษณะท่ีพึง ร้อยละของบุคลากรท่ีได้รับการพัฒนาสมรรถนะในการ ประสงค์ เพ่ือให้มคี วามเช่ือม่ันศรทั ธาในการปกครองระบอบ ดาเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม ประชาธปิ ไตย อันมพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข อัธยาศัย (Democracy) มีคุณธรรม จรยิ ธรรม มคี วามภาคภมู ิใจในความ เป็นไทย(Decency)และมีภูมิคุ้มกันภยั จากยาเสพติด(Drug- Free)บุคลากร กศน.มีศักยภาพในการปฏบิ ัติงานและจัด การศึกษาท่ีมีคุณภาพ ๓. ผเู้ รียน ผรู้ บั บรกิ ารมคี ุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ตามท่ี ๑. รอ้ ยละของผสู้ าเร็จการศึกษา/ผู้เรยี นมคี ณุ ธรรม สถานศกึ ษากาหนด จริยธรรม หรือคณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ตามที่ สถานศึกษากาหนด ๒. รอ้ ยละของผู้สาเรจ็ การศึกษา/ผู้เรยี นมี ความสามารถในการคดิ เปน็ มีทกั ษะในการแสวงหา ความรู้ มีทักษะในการทางานและทางานร่วมกบั อื่นได้ ๓. ร้อยละของผเู้ รยี นการศึกษาขั้นพืน้ ฐานจบหลักสตู ร ตามเกณฑ์ที่กาหนด(ภายใน ๔ ภาคเรยี น) ๔. รอ้ ยละของผู้สาเร็จการศึกษามีผลสมั ฤทธ์ิทางการ เรียนไมต่ ่ากว่ารอ้ ยละ ๗๐ ๕. รอ้ ยละของผู้สาเรจ็ การศึกษา/ผเู้ รียนมสี ุขนสิ ยั สุขภาพกาย สขุ ภาพจิตที่ดี มีสนุ ทรียภาพ และไม่เสพ หรอื แสวงหาผลประโยชนจ์ ากส่งิ เสพติด ๔. ผู้เรียน ผรู้ บั บริการ ไดร้ บั การศกึ ษาอย่างทั่วถึงอยา่ งมี ๑.จัดกิจกรรมท่สี อดคล้องกับขอ้ มูลพ้นื ฐานและความ คุณภาพมีคณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ ตอ้ งการของชมุ ชน ๒.จดั กิจกรรมการเรียนรโู้ ดยใช้ชุมชนเป็นฐานและมี จิตสานึกรกั ษธ์ รรมชาติ ๕. มแี หลง่ เรยี นรใู้ นชมุ ชนที่ได้รบั การพัฒนาเพื่อใหเ้ หมาะสมต่อ แหล่งเรียนรู้ไดร้ ับการพัฒนาใหเ้ อ้อื ต่อการเรียนรู้ของ การเรียนรู้ของชุมชน ชุมชน รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขนุ ยวม หนา้ ๒๙

เป้าประสงค์ ตวั ชีว้ ัดความสาเรจ็ ๖. ภาคีเครือขา่ ยมีส่วนร่วมในการจดั การศึกษานอกระบบและ ๑. ร้อยละของภาคีเครือข่ายท่ีเพิ่มขึ้นในการเข้ามามี การศกึ ษาตามอัธยาศยั ส่วนรว่ มดาเนินการจดั การศึกษาตลอดชีวิต ๒. ร้อยละของชุมชนท่ีมีการจัดการความรู้และ กระบวนการเรียนรู้อันเป็นผลเน่ืองมาจากการเข้าร่วม กิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั ๓.ร้อยละของชุมชนที่มีแหล่งการเรียนรู้ที่พร้อมในการ จดั และสนับสนนุ การศึกษาตลอดชีวติ ๔. ภาคสว่ นตา่ ง ๆ ของสังคมเข้ามามีส่วนร่วมเป็นภาคี เครอื ข่ายในการ ๕.ชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย มีการจัดการความรู้และ กระบวนการเรียนรู้ ๖. ชุมชนมีแหล่งการเรียนรู้ท่ีพร้อมในการจัดและ สนับสนนุ การศึกษาตลอดชวี ติ ๗. สถานศกึ ษา กศน.ตาบล และศนู ยก์ ารเรียน นาเทคโนโลยี ๑.ร้อยละของ กศน.ตาบล/ศูนย์การเรียน ที่นา เพอ่ื การศึกษา และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร มาใช้ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการบริหารองค์กรและจดั บรกิ ารการเรยี นรแู้ ก่ประชาชน และการสื่อสาร มาใช้ในการบริหารจัดการการเรียนรู้ อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ แกป่ ระชาชน ๒.ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความพึงพอใจต่อการใช้ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา และเทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่อื สารของสถานศึกษา ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๑ พฒั นาระบบบริหารจัดการที่มีคณุ ภาพ กลยทุ ธท์ ี่ ๑ พฒั นาระบบการบริหารจัดการเพ่ือเพ่มิ ประสทิ ธิภาพในการบรหิ ารงาน กลยทุ ธท์ ี่ ๒ สง่ เสริมการจัดการดา้ นการวางแผนบรหิ ารจัดการงบประมาณอย่างคุม้ ค่าและประหยดั อยา่ งมี ประสิทธภิ าพตามนโยบายรฐั บาล กลยุทธท์ ี่ ๓ สง่ เสริมและสร้างความเขา้ ใจในการปฏบิ ัติงานในทิศทางเดียวกนั ยุทธศาสตรท์ ี่ ๒ พัฒนาบุคลากรและพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา กลยทุ ธท์ ่ี ๑ สง่ เสรมิ พัฒนาบุคลากรและประชาชนใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจหลักเกณฑ์การศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั กลยทุ ธท์ ี่ ๒ ส่งเสรมิ การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนให้มีความหลากหลายและมีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ท่ี ๓ ส่งเสรมิ การจดั ทาแผนการเรียนรู้ กลยุทธท์ ี่ ๔ ส่งเสรมิ การใชส้ อ่ื จากแหล่งเรยี นรแู้ ละภมู ิป๎ญญาทอ้ งถ่นิ รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขุนยวม หน้า ๓๐

ยทุ ธศาสตร์ที่ ๓ ประสานความร่วมมือภาคีเครือขา่ ย กลยทุ ธ์ท่ี ๑ สง่ เสริมประสานงานภาคีเครอื ข่ายร่วมกันพัฒนาชมุ ชนและวฒั นธรรมท้องถ่นิ กลยุทธ์ท่ี ๒ สง่ เสรมิ ภาคีเครือข่ายร่วมจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย กลยทุ ธ์ท่ี ๓ สง่ เสรมิ แหลง่ เรียนรแู้ ละภูมิป๎ญญาทอ้ งถิ่นให้เป็นแหลง่ เรียนรตู้ ลอดชวี ติ โดยรว่ มกับภาคี เครอื ข่ายตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ยุทธศาสตรท์ ่ี ๔ ขยายโอกาสทางการศึกษานอกระบบและตามอัธยาศยั กลยุทธท์ ี่ ๑ ขยายโอกาสทางการศึกษาและการเรยี นร้ตู ลอดชวี ติ สชู่ มุ ชนครอบคลุมทกุ พื้นที่ทกุ กล่มุ เปา้ หมาย ยุทธศาสตร์ที่ ๕ พัฒนาระบบ ICT เพ่อื การศกึ ษานอกระบบและตามอัธยาศัย กลยทุ ธ์ที่ ๑ พฒั นาดา้ นเทคโนโลยีและระบบงานด้านการศึกษาท่ีมีประสิทธภิ าพและทนั สมยั กลยุทธท์ ่ี ๒ พฒั นาสง่ เสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การบรหิ ารจัดการและการให้บรกิ าร กลยุทธท์ ี่ ๓ เพ่ิมความรแู้ ละทักษะด้านการใช้เทคโนโลยีในการบริหารจดั การและการให้บรกิ ารแกบ่ ุคลากร รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขุนยวม หนา้ ๓๑

แผนพัฒนาคุณภาพสถานศกึ ษา เปา้ ประสงค์ กลยทุ ธ์ ๑.สถานศึกษา กศน. ยุทธศาสตร์ที่ ๑ พัฒนาระบบบริหารจดั การที่มี ๑.โครงกา ตาบล และศนู ย์การเรียน คุณภาพ การศึกษา มี ร ะ บ บ ก า ร บ ริ ห า ร กลยทุ ธท์ ่ี๑พฒั นาระบบการบริหารจดั การเพื่อ ๒.โครงกา จั ด ก า ร ที่ มี คุ ณ ภ า พ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการบริหารงาน จดั การศกึ ส า ม า ร ถ จั ด บ ริ ก า ร กลยุทธ์ท่ี๒สง่ เสริมการจดั การด้านการวางแผน อธั ยาศัย ตอบสนองกับสภาพและ บรหิ ารจัดการงบประมาณอย่างค้มุ ค่าและประหยดั ๓.โครงกา ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง อย่างมปี ระสิทธภิ าพตามนโยบายรฐั บาล ภายในสถ ผู้เรียนและผู้รับบริการ กลยุทธ์ที่๓ส่งเสริมและสร้างความเข้าใจในการ ๔.โครงกา อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ปฏิบตั ิงานในทศิ ทางเดียวกนั หลักสูตรท ๕.โครงกา สถานศกึ ษ ๒. การศกึ ษาทมี่ ีคุณภาพ ยทุ ธศาสตร์ท๒ี่ พัฒนาบคุ ลากรและพัฒนา ๑. โครงกา ได้มาตรฐานและมี คุณภาพการศึกษา การศกึ ษา คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ กลยทุ ธท์ ี่๑ส่งเสรมิ พฒั นาบุคลากรและ ๒.โครงกา เพอ่ื ให้มีความเช่ือมนั่ ประชาชนให้มีความรู้ความเข้าใจหลักเกณฑ์ ด้านการจ ศรัทธาในการปกครอง การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั การศึกษา ระบอบประชาธปิ ไตย กลยุทธท์ ่ี๒ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรยี นการ ๓.โครงกา อนั มีพระมหากษัตรยิ ์ สอนใหม้ คี วามหลากหลายและมีประสิทธภิ าพ ๔.โครงกา ทรงเปน็ ประมุข ตาบล (Democracy)มีคุณธรรม

โครงการ/กิจกรรม จานวนเปา้ หมาย ตวั ชว้ี ัด (คน) ความสาเร็จ ารจดั ทาแผนพฒั นาคุณภาพ - บคุ ลากร ๒๗ คน ตัวชีว้ ดั ๑.รอ้ ยละของผทู้ าหน้าท่ีนิเทศท่ี าและปฏิบัติการประจาปี - คณะกรรมการ สามารถนาแผนการนเิ ทศไปสู่ การปฏบิ ัติได้อยา่ งมี ารนเิ ทศติดตามและประเมนิ ผลการ สถานศึกษา ๘ คน ประสิทธิภาพ ๒.สถานศึกษามีระบบการนเิ ทศ กษานอกระบบและการศึกษาตาม - ประธานนกั ศึกษา ที่มคี ณุ ภาพจานวนโครงการ บรรลตุ ามเปา้ หมายและ ๑ คน งบประมาณ ๓.สถานศึกษาพฒั นาระบบ ารพฒั นาระบบประกันคุณภาพ บรหิ ารจดั การทีม่ ุ่งคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษา ถานศกึ ษา ๑.รอ้ ยละของบุคลากรท่ีได้รับ การพฒั นาสมรรถนะในการ ารพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและ ดาเนินงานการศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั ท้องถ่ิน ารประชมุ คณะกรรมการ ษา ารพัฒนาศักยภาพครูด้านการจัด ๒๗ คน าโดยเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคัญ ๒๗ คน ารพฒั นาศกั ยภาพครูและบคุ ลากร จัดการศกึ ษานอกระบบและ ๘ คน าตามอธั ยาศัย ๗ คน ารส่งเสริมให้บคุ ลากรศกึ ษาต่อ ารศึกษาดูงานการพัฒนา กศน.

เป้าประสงค์ กลยทุ ธ์ แหล่งเรียน กลยุทธท์ ี่๓ สง่ เสรมิ การจดั ทาแผนการเรยี นรูแ้ ละ จรยิ ธรรม มีความ วจิ ยั ดา้ นการศกึ ษา โครงการก ภาคภมู ิใจในความเป็น กลยุทธ์ที่๔ สง่ เสรมิ การใชส้ ่อื จากแหล่งเรยี นร้แู ละ การศึกษา ไทย(Decency)และมี ภูมิปญ๎ ญาท้องถิ่น พนื้ ฐานพทุ ภูมิค้มุ กันภัยจากยาเสพ ตดิ (Drug-Free) ยุทธศาสตรท์ ๔่ี ขยายโอกาสทางการศึกษานอก บุคลากร กศน.มี ระบบและตามอัธยาศัย ศกั ยภาพในการ ปฏบิ ตั งิ านและจัด กลยุทธท์ ่ี๑ขยายโอกาสทางการศึกษาและการ การศกึ ษาที่มีคณุ ภาพ เรยี นรตู้ ลอดชวี ติ สู่ชุมชนครอบคลุมทุกพนื้ ที่ทกุ ๓.ผ้เู รียน ผ้รู บั บรกิ ารมี กล่มุ เป้าหมาย คุณลักษณะอันพึง ประสงคต์ ามท่ี สถานศกึ ษากาหนด รายงานการประเมินตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขนุ ยวม

โครงการ/กิจกรรม จานวนเปา้ หมาย ตวั ชี้วดั นรู้และห้องสมดุ ประชาชน (คน) ความสาเรจ็ การจัดการศึกษาหลักสูตร ๖๐๔ คน ๑. ร้อยละของผูส้ าเรจ็ านอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั การศกึ ษา/ผู้เรยี นมีคุณธรรม ทธศักราช ๒๕๕๑ จรยิ ธรรม หรอื คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงคต์ ามท่สี ถานศึกษา หน้า ๓๓ กาหนด ๒. ร้อยละของผ้สู าเรจ็ การศึกษา/ผูเ้ รยี นมี ความสามารถในการคิดเป็น มี ทกั ษะในการแสวงหาความรู้ มี ทักษะในการทางานและทางาน รว่ มกบั อืน่ ได้

เปา้ ประสงค์ กลยทุ ธ์ ๔. ผู้เรยี น ผู้รับบรกิ าร ยทุ ธศาสตร์ท๔่ี ขยายโอกาสทางการศึกษานอก -โครงการ ไดร้ ับการศกึ ษาอย่าง ระบบและตามอธั ยาศยั -โครงการ ทวั่ ถงึ อยา่ งมีคุณภาพมี กลยุทธ์ที่๑ขยายโอกาสทางการศึกษาและการ และชุมชน คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ เรยี นรตู้ ลอดชีวติ สู่ชุมชนครอบคลุมทกุ พ้ืนท่ีทุก -โครงการ -โครงการ กลมุ่ เป้าหมาย -โครงการ รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขุนยวม

โครงการ/กจิ กรรม จานวนเปา้ หมาย ตวั ชวี้ ดั (คน) ความสาเร็จ รการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ รการจดั การศึกษาเพ่ือพฒั นาสงั คม ๖๓๖ คน ๓. ร้อยละของผู้เรียนการศึกษา น (หลักสตู รระยะสัน้ ) ๗๗๙ คน ขั้นพนื้ ฐานจบหลกั สูตรตาม รจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ิต ๓๕๗ คน เกณฑ์ทีก่ าหนด(ภายใน ๔ ภาค รจดั การศึกษาตามอธั ยาศัย ๔,๐๐๐ คน เรยี น) รจัดการศึกษาในศูนย์การเรยี น ๖๐ คน ๔. ร้อยละของผสู้ าเรจ็ การศกึ ษามผี ลสมั ฤทธ์ิทางการ หนา้ ๓๔ เรยี นไมต่ ่ากว่ารอ้ ยละ ๗๐ ๕. รอ้ ยละของผ้สู าเรจ็ การศึกษา/ผเู้ รียนมีสขุ นิสยั สุขภาพกาย สุขภาพจติ ทีด่ ี มี สุนทรียภาพ และไม่เสพหรือ แสวงหาผลประโยชนจ์ ากสงิ่ เสพ ตดิ -จดั กจิ กรรมทีส่ อดคล้องกับ ข้อมลู พืน้ ฐานและความต้องการ ของชมุ ชน - จัดกิจกรรมการเรยี นรู้โดยใช้ ชุมชนเป็นฐานและมจี ิตสานึก รกั ษ์ธรรมชาติ -ร้อยละของผเู้ รียน/ผรู้ ับบริการ

เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ชมุ ชนบน ๑. โครงก ๒. โครงก รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขนุ ยวม

โครงการ/กิจกรรม จานวนเปา้ หมาย ตวั ชี้วัด นพน้ื ทสี่ ูงโครงการตามพระราชดาริ (คน) ความสาเรจ็ การรักษน์ ้าเพอื่ พระแมข่ องแผน่ ดนิ ) การสร้างปา่ สรา้ งรายได้ มคี วามพึงพอใจ 1. รอ้ ยละของผสู้ าเร็จ หนา้ ๓๕ การศกึ ษา/ผู้เรยี นมีคุณธรรม จรยิ ธรรม หรือคณุ ลักษณะที่พึง ประสงค์ตามท่ีสถานศึกษา กาหนด 2. รอ้ ยละของผูส้ าเร็จ การศึกษา/ผู้เรยี นมี ความสามารถในการคิดเป็น มี ทักษะในการแสวงหาความรู้ มี ทกั ษะในการทางานและทางาน รว่ มกบั อืน่ ได้ 3. รอ้ ยละของผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา มผี ล ไม่ตา่ กว่าร้อยละ 80 4.รอ้ ยละของผสู้ าเรจ็ การศึกษา/ผเู้ รยี นมสี ขุ นิสัย สุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดีมี สนุ ทรียภาพและไม่เสพหรอื แสวงหาผลประโยชน์จากสงิ่ เสพ ตดิ

เป้าประสงค์ กลยทุ ธ์ ๕.มแี หล่งเรียนรูใ้ นชุมชน ยทุ ธศาสตรท์ ๔ี่ ขยายโอกาสทางการศึกษานอก โครงการ เศรษฐกิจ ที่ไดร้ บั การพฒั นาเพื่อให้ ระบบและตามอธั ยาศยั 1.โครงกา เหมาะสมต่อการเรียนรู้ กลยทุ ธท์ ี่๑ขยายโอกาสทางการศกึ ษาและการ การศกึ ษา อัธยาศยั ของชุมชน เรยี นรู้ตลอดชวี ติ สู่ชุมชนครอบคลุมทุกพ้นื ที่ทกุ 2.โครงกา การเรยี นร กลมุ่ เปา้ หมาย 3.โครงกา การเรียนร ๖.ภาคีเครอื ข่ายมีสว่ น ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 ประสานความร่วมมือภาคี 4.โครงกา และภูมปิ ญ๎ รว่ มในการจดั การศกึ ษา เครือข่าย นอกระบบและการศึกษา กลยทุ ธท์ ี่ 1 สง่ เสริมประสานงานภาคเี ครือข่าย ตามอธั ยาศยั รว่ มกนั พัฒนาชมุ ชนและวัฒนธรรมทอ้ งถ่ิน กลยุทธ์ท่ี 2 ส่งเสรมิ ภาคเี ครือข่ายร่วมจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั กลยุทธท์ ี่ 3 สง่ เสรมิ แหลง่ เรียนร้แู ละภูมปิ ๎ญญา ทอ้ งถิน่ ใหเ้ ป็นแหลง่ เรียนรู้ตลอดชีวติ โดยรว่ มกับ ภาคีเครือขา่ ยตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง รายงานการประเมินตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขุนยวม

โครงการ/กจิ กรรม จานวนเป้าหมาย ตวั ชว้ี ดั (คน) ความสาเรจ็ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ จพอเพยี ง ๑๔๘ คน แหล่งเรยี นรู้ไดร้ บั การพฒั นาให้ เอื้อต่อการเรียนร้ขู องชมุ ชน ารบรู ณาการภาคีเครือข่ายรว่ มจัด ๖ คน ๑. ร้อยละของภาคีเครือข่ายท่ี านอกระบบและการศกึ ษาตาม เพ่ิมข้ึนในการเข้ามามีส่วนร่วม ารอาสาสมัครกศน.เพอื่ ส่งเสรมิ ๓ คน ดาเนินการจัดการศึกษาตลอด รู้ตลอดชีวิตคนในชุมชน ๒๔๐ คน ชีวิต ารพฒั นากศน.ตาบลเพื่อส่งเสรมิ ๔๐๐ คน ๒. ร้อยละของชุมชนท่ีมีการ รตู้ ลอดชวี ิตของชุมชน จัดการความรู้และกระบวนการ ารพฒั นาส่งเสรมิ แหลง่ การเรยี นรู้ เรียนรู้อันเป็นผลเนื่องมาจาก ญญาทอ้ งถนิ่ การเข้าร่วมกิจกรรมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตาม หนา้ ๓๖ อัธยาศัย ๓.ร้อยละของชุมชนท่ีมีแหล่ง การเรียนรู้ที่พร้อมในการจัด และสนับสนุนการศึกษาตลอด ชวี ติ

เปา้ ประสงค์ กลยทุ ธ์ ๗. สถานศกึ ษา กศน.ตาบล ยุทธศาสตร์ท๕่ี พัฒนาระบบ ICT เพ่อื การศึกษานอก ๑.โครงกา และศูนย์การเรียน นา ระบบและตามอธั ยาศยั เพือ่ การศ เทคโนโลยีเพ่ือการศกึ ษา ๒.โครงกา และเทคโนโลยสี ารสนเทศ กลยุทธท์ ๑ี่ พัฒนาด้านเทคโนโลยแี ละระบบงานด้าน ระบบสาร และการสือ่ สาร มาใชใ้ น การศกึ ษาท่มี ปี ระสิทธภิ าพและทนั สมยั ๓.โครงกา การบรหิ ารองค์กรและ ๔.โครงกา จัดบริการการเรียนรแู้ ก่ กลยทุ ธ์ท๒ี่ พฒั นาสง่ เสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ประชาชนอย่างมี เพ่อื การบริหารจัดการและการใหบ้ ริการ ประสิทธภิ าพ กลยุทธท์ ๓ี่ เพม่ิ ความร้แู ละทักษะด้านการใช้เทคโนโลยี ในการบรหิ ารจดั การและการใหบ้ รกิ ารแกบ่ คุ ลากร รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขุนยวม

โครงการ/กิจกรรม จานวนเป้าหมาย ตวั ช้ีวดั (คน) ความสาเรจ็ ารจดั หาและพัฒนาส่ือเทคโนโลยี ศึกษา ๒ ๔. ภาคส่วนต่าง ๆ ของสังคม ารอบรมการใช้ฐานข้อมลู และ ๕ เ ข้ า ม า มี ส่ ว น ร่ ว ม เ ป็ น ภ า คี รสนเทศ ๒ เครอื ข่ายในการ ารอบรม Website ๒๕ ๕ .ชุ ม ช น เ ข้ า ร่ ว ม กิ จ ก ร ร ม ารอบรมการใช้ ICT ก า ร ศึ ก ษ า น อ ก ร ะ บ บ แ ล ะ การศึกษาตามอัธยาศัย มีการ หนา้ ๓๗ จัดการความรู้และกระบวนการ เรียนรู้ ๖. ชุมชนมีแหล่งการเรียนรู้ท่ี พร้อมในการจัดและสนับสนุน การศกึ ษาตลอดชวี ติ ๑.ร้อยละของ กศน.ตาบล/ศูนย์การ เรียน ท่ีนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร มาใช้ในการบริหารจัดการ การเรียนรู้แกป่ ระชาชน ๒.ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความ พึงพอใจต่อการใช้เทคโนโลยีเพื่อ ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ แ ล ะ ก า ร ส่ื อ ส า ร ข อ ง สถานศกึ ษา

แผนปฏบิ ตั ิการประจาปี ๒๕๖๒ โครงการ/กจิ กรรม วัตถปุ ระสงค์ การจัดการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน 1.เพื่อพัฒนาหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษา ข้นั พ้นื ฐานท่ีมงุ่ เน้นใหผ้ ู้เรยี นนาสาระการเรยี นรแู้ ละวธิ ีการ เรียนร้ไู ปใช้ประโยชนไ์ ดจ้ รงิ ในการพฒั นาคุณภาพชีวิต 2.เพ่ือเพ่ิมโอกาสในการรับการศกึ ษาทม่ี คี ุณภาพโดยไมเ่ สยี ค่าใช้จ่าย สง่ เสริมการรูห้ นังสอื 1. เพอื่ สง่ เสรมิ การร้หู นงั สือ การคงสภาพการรหู้ นังสือการ พัฒนาทักษะการรู้หนงั สือ ให้กับประชาชนในอาเภอขุนยวม ให้มีความสามารถในการอา่ นออกเขยี นได้ 2. เพื่อให้ประชาชนในจงั หวัดแม่ฮ่องสอนได้รูห้ นงั สือเพิ่มขึ้น จัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ 1. ผู้เรยี นไดร้ ับประสบการณ์หลากหลาย เกิดความรู้ ความ ผเู้ รยี น ชานาญท้งั วิชาการ วชิ าชีพมากยิ่งข้ึน 2. ค้นพบความสนใจ ความถนัด และพัฒนาความสามารถ พเิ ศษเฉพาะตวั เหน็ ช่องทางงานอาชพี 3. เห็นคุณค่าองค์ความรู้ต่าง ๆ นาความรแู้ ละประสบการณ ใชพ้ ฒั นาตนเองและประกอบสัมมาชีพ 4. พัฒนาบคุ ลิกภาพ เจตคติ คา่ นิยมในการดาเนินชวี ติ รายงานการประเมินตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขนุ ยวม

กลมุ่ จานวน พนื้ ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ เป้าหมาย เป้าหมาย กศน.อาเภอ ๑ ต.ค.๖๑ - ๔๖๐,๗๗๐ - นักศกึ ษา จานวน ขุนยวม ๓๐ ก.ย.๖๒ บาท 494 คน - เกษตรกร 166 คน อาเภอขุนยวม ๑ ต.ค.๖๑ - 91,300 - ชาวไทยภเู ขา ๓๐ ก.ย.๖๒ บาท - ประชาชนทว่ั ไป น 494 คน อาเภอขุนยวม ๑ ต.ค.๖๑ - ๑๔๐,๔๑๐ ๓๐ ก.ย.๖๒ บาท ม - นกั ศึกษา ณ์ หน้า ๓๘

โครงการ/กิจกรรม วัตถปุ ระสงค์ ศูนย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน และเสริมสรา้ งศีลธรรม จรยิ ธรรม 5. ผเู้ รียนมีจิตสานกึ ทาประโยชนเ์ พอื่ สังคม และ ประเทศชาติ 1.เพ่ือให้มีศูนย์กลางในการฝึกอาชพี สร้างอาชีพ และพัฒนา อาชพี ในชมุ ชน 2.มีหลกั สตู รอาชพี ทสี่ อดคล้องกับความต้องการของผเู้ รยี น ความต้องการของตลาดและศักยภาพของพ้นื ที่ รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขนุ ยวม

กลมุ่ จานวน พื้นที่ ระยะเวลา งบประมาณ เปา้ หมาย เปา้ หมาย า ผเู้ รียนปกติ 468 คน ๑. กศน.ตาบล 1 ตลุ าคม 375,600 เกษตรกร ขนุ ยวม 2561-30 บาท ชาวไทยภเู ขา ๒. กศน.ตาบล กนั ยายน กลุ่มสตรี แมเ่ งา 2562 กลมุ่ พ่อบ้าน ๓. กศน.ตาบล กลมุ่ อาชีพ แม่อูคอ ผู้เรียนผใู้ หญ่ ๔. กศน.ตาบล เยาวชน แมย่ วมนอ้ ย ๕. กศน.ตาบล ประชาชนท่ัวไป เมอื งปอน ฯลฯ ๖. กศน.ตาบล แม่ก๊ิ หนา้ ๓๙

โครงการ/กจิ กรรม วตั ถปุ ระสงค์ โ ค ร ง ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า 1. เพื่อให้ผู้เรยี นสามารถนาความรคู้ วามสามารถ และมีเจต ต่อเนื่อง กิจกรรมการศึกษา คติทดี่ ีต่อการประกอบอาชีพ และพัฒนาทกั ษะในการสร้าง เพือ่ พฒั นาทกั ษะชวี ติ อาชพี สร้างรายได้เพิ่มมากข้นึ 2. เพื่อพฒั นาทกั ษะชีวติ ใหก้ ับทกุ กลุม่ เป้าหมายให้มีความรู้ ความสามารถในการจดั การชวี ิตของตนเองให้อยู่ในสงั คมได้ อย่างมีความสขุ 3. เพื่อสร้างจิตสานึกความเป็นประชาธปิ ไตย ความเปน็ พลเมอื งดี การอนรุ ักษพ์ ัฒนาธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม โ ค ร ง ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า 1. เพ่ือใหผ้ เู้ รียนสามารถนาความรูค้ วามสามารถ และมีเจต ต่อเน่ือง กิจกรรมการศึกษา คตทิ ด่ี ีต่อการประกอบอาชีพ และพัฒนาทกั ษะในการสร้าง เพือ่ พัฒนาสงั คมและชมุ ชน อาชพี สรา้ งรายได้เพ่ิมมากขน้ึ 2. เพอื่ พฒั นาทักษะชีวติ ให้กับทุกกล่มุ เปา้ หมายให้มคี วามรู้ ความสามารถในการจัดการชวี ติ ของตนเองให้อยใู่ นสงั คมได้ อย่างมีความสุข 3. เพอ่ื สร้างจิตสานกึ ความเป็นประชาธปิ ไตย ความเปน็ พลเมอื งดี การอนรุ ักษ์พฒั นาธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม การจัดกระบวนการเรียนรู้ 1. เพ่ือใหผ้ เู้ รยี นสามารถนาความรคู้ วามสามารถ และมเี จต ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอพี คติท่ดี ตี ่อการประกอบอาชพี และพฒั นาทกั ษะในการสร้าง ยง อาชพี สร้างรายไดเ้ พ่ิมมากข้นึ 2. เพอื่ พัฒนาทกั ษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเปา้ หมายให้มคี วามร รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขุนยวม

กลมุ่ จานวน พน้ื ที่ ระยะเวลา งบประมาณ เป้าหมาย เปา้ หมาย อาเภอขนุ ยวม 1 ตุลาคม 34,500 -กลุ่มคนวา่ งงาน -ทกั ษะชวี ิต จานวน 2561-30 บาท -กลุ่มสตรี จานวน 6 ตาบล กันยายน -กลมุ่ ผสู้ ูงอายุ 360 คน 2562 -ประชาชนทัว่ ไป -กลมุ่ คนว่างงาน -พัฒนาสงั คม อาเภอขนุ ยวม 1 ตลุ าคม 72,000 -กลุ่มสตรี และชุมชน จานวน 2561-30 บาท -กลุม่ ผสู้ งู อายุ จานวน 6 ตาบล กนั ยายน -ประชาชนท่วั ไป 180 คน 2562 -กลมุ่ คนวา่ งงาน -การจดั อาเภอขนุ ยวม 1 ตลุ าคม 38,400 -กลมุ่ สตรี กระบวนการ จานวน 2561-30 บาท -กลุ่มผสู้ งู อายุ เรียนรู้ตาม 6 ตาบล กนั ยายน -ประชาชนทวั่ ไป 2562 หนา้ ๔๐

โครงการ/กจิ กรรม วัตถปุ ระสงค์ ความสามารถในการจัดการชวี ิตของตนเองให้อยู่ในสงั คมได้ อย่างมีความสุข 3. เพื่อสร้างจติ สานึกความเป็นประชาธปิ ไตย ความเปน็ พลเมอื งดี การอนุรักษ์พัฒนาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จัดการศึกษา ศูนยก์ ารเรียน 1. เพอ่ื ประชาสัมพันธใ์ หก้ ลุ่มเปา้ หมายไดท้ ราบถงึ ข้อมูล ชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟ้า 2. เพอ่ื สารวจขอ้ มูลความต้องการของผเู้ รยี นนามาวางแผน หลวง” จดั กจิ กรรม 3. เพอ่ื ประชมุ ช้แี จงทาความเข้าใจในการดาเนินงาน 4. เพอ่ื ดาเนินการตรวจเอกสารและรับลงทะเบยี นเทียบโอน ของกลุม่ เปา้ หมาย 5. เพอ่ื นาแผนมาใชใ้ นการจัดการสอน 6. เพอ่ื เตรยี มสอ่ื ใชใ้ นการจดั กิจกรรม 7.เพอ่ื จัดกจิ กรรมตามแผนที่เตรยี มไว้ 8. เพื่อบนั ทึกผลการสอนในการจดั กจิ กรรม 9. เพอื่ นเิ ทศติดตามผลการดาเนนิ งาน 10.เพอื่ ประเมินผลการจดั กจิ กรรมระหวา่ งเรยี น 11เพอ่ื ประเมนิ ผลการจัดกจิ กรรมปลายภาค 12.เพือ่ รายงานผลการจัดกจิ กรรม รายงานการประเมินตนเอง ประจาปี ๒๕๖๒ ของ กศน.อาเภอขนุ ยวม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook