Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง กายวิภาคและสรีรวิทยาของพืช ( Plant Anatomy and Physiology )

หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง กายวิภาคและสรีรวิทยาของพืช ( Plant Anatomy and Physiology )

Published by Guset User, 2021-09-03 05:43:26

Description: รายวิชาชีววิทยาเพิ่มเติม ว32243 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสังคมวิทยา

Search

Read the Text Version

๑๔๘ 12. หลักฐานการเรียนร้แู ละวธิ ีการประเมิน วิธีการวัด เครอื่ งมอื วดั เกณฑก์ าร จุดประสงค์การเรียนรู้ (K P A) - ใบกจิ กรรม ประเมนิ - สมดุ บันทกึ ผ่านเกณฑ์ ด้านความรู้ (K) - ตรวจใบกิจกรรม ร้อยละ 70 - แบบประเมนิ ของคะแนน 1. ผเู้ รียนสามารถอธิบายกลไกการลา้ เลยี งนา้ ของ - ตรวจสมุดบนั ทกึ ชินงาน ผ่านเกณฑ์ พืชได้ - แบบประเมนิ คณุ ภาพระดบั พฤตกิ รรม 2 ด้านทกั ษะ (P) - ตรวจผลงาน 1. ผู้เรียนสามารถเปรียบเทยี บรูปแบบการล้าเลียง - สงั เกตความตังใจ ผา่ นเกณฑ์ น้าแบบอโพพลาสต์และแบบซิมพลาสต์ได้ และความ คุณภาพระดับ รับผิดชอบในการ 2 ด้านเจตคติ (A) ปฏิบตั ิกิจกรรม 1. ความสนใจ 2. การตรงต่อเวลา - สังเกตพฤติกรรม 3. การตอบคา้ ถาม การเรียนรู้ 4. การยอมรบั ฟังผู้อื่น 5. ความรับผิดชอบ

๑๔๙ ใบงานที่ 3.1 เรอ่ื ง การลาเลียงนาของพืช คาชีแจง : ใหน้ ักเรียนเตมิ คาตอบลงให้ถูกตอ้ งและสมบรู ณ์ท่สี ุด ............................................................................................................................. ................................ 1.การลาเลยี งทีเ่ รียกว่าวธิ ีอะโพพลาสต์ (Apoplast)มลี ักษณะอย่างไร .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2.การลาเลยี งท่ีเรยี กว่าวธิ ีซมิ พลาสต(์ Simplast) มีลักษณะอยา่ งไร .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. 3. ปัจจยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การดูดและลาเลยี งนา มอี ยหู่ ลายประการ ได้แก่ ………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….....………………………………………………………………………………… 4. กระบวนการท่ีเรียกวา่ โคฮีชัน (Cohesion) มีลกั ษณะอย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 5. จงอธบิ ายกลไกการลาเลยี งนาจากรากไปยอด .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ชื่อ-สกุล ................................................. ชนั ................ เลขที่ ....................

๑๕๐ เฉลยใบงานที่ 3.1 เรื่อง การลาเลยี งนาของพืช คาชแี จง : ให้นักเรยี นเติมคาตอบลงให้ถูกตอ้ งและสมบูรณท์ ส่ี ุด ............................................................................................................................................................. 1. การลาเลยี งท่ีเรียกว่าวธิ ีอะโพพลาสต์ (Apoplast)มีลกั ษณะอยา่ งไร ตอบ วิธีอะโพพลาสต์ (Apoplast)คือการท่ีนา้ และแร่ธาตผุ ่านจากเซลล์หนงึ่ ไปยงั เซลล์หน่ึง โดยผ่านเซลล์ที่ ติดตอ่ กนั และชอ่ งว่างภายนอกเซลล์ 2. การลาเลยี งทีเ่ รียกวา่ วิธีซมิ พลาสต์ (Simplast) มีลักษณะอย่างไร ตอบ วิธี ซิมพลาสต์ (Simplast)คือการท่นี ้าและแร่ธาตผุ า่ นจากเซลลห์ นึ่งไปยังอกี เซลล์หน่งึ โดยผ่านทางไซ โทพลาซมึ ทเ่ี ช่อื มต่อกันและทะลไุ ปอกี เซลล์หนึ่งโดยผา่ นทางพลาสโมเดสมาตา (Plasmodesmata)ดงั นันการ ทส่ี ามารถผา่ นไปจงึ เป็นการผ่านชนั เยอื่ หุ้มเซลล์เท่านนั 3. ปัจจัยทเี่ กี่ยวข้องกบั การดดู และลาเลียงนา มอี ยู่หลายประการ ไดแ้ ก่ ตอบ 1. ปริมาณนา้ ใน 2. อุณหภมู ิในดนิ 3. สารละลายในดนิ 4. อากาศในดนิ 4. กระบวนการท่เี รยี กวา่ โคฮีชัน (Cohesion) มลี ักษณะอยา่ งไร ตอบ เกดิ จากการท่ีนา้ มแี รงดงึ ดดู ระหว่างโมเลกุลของน้าด้วยกันเอง ทเ่ี รียกว่าโคฮีชนั (Cohesion) 5. จงอธบิ ายกลไกการลาเลยี งนาในรากของพืช ตอบ โมเลกุลนา้ ท่ีลา้ เลียงแบบอโลพลาส์ผ่านเซลล์ขนรากและเซลลต์ า่ งๆ ในชนั คอรเ์ ทกซ์ จนเมื่อมาถงึ เอนโด เดอร์มิส น้าไท่สามารถล้าเลยี งไปตามผนงั เซลลด์ า้ นทมี่ แี ถบแคสพาเรียนได้ นา้ จึงถูกลา้ เลียงเข้าไปในเซลล์แบบ ซิมพลาสตผ์ ่านทางผนงั เซลล์ด้านทไ่ี มม่ ีแถบแคสพาเรยี น เขา้ สู่เซลล์ชนั ในจนถงึ เซลลข์ องไซเลม

๑๕๑ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 12 รายวชิ า ชวี วทิ ยา 3 รหสั วิชา ว32243 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การลาเลยี งของพชื เวลา 12 ชวั่ โมง เรื่อง การแลกเปลีย่ นแกส๊ และการคายนา เวลา 3 ชัว่ โมง ชันมธั ยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 ครูผสู้ อน นายบุญรงั จาปา 1. สาระชวี วิทยา สาระท่ี 3 เข้าใจส่วนประกอบของพชื การแลกเปล่ยี นแก๊สและคายนา้ ของพชื การล้าเลยี งของพชื การ สงั เคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์ของพืชดอกและการเจรญิ เติบโต และการตอบสนองของพืช รวมทงั น้าความรู้ ไปใช้ประโยชน์ 2. ผลการเรยี นรู้ สบื คน้ ข้อมลู สังเกต และอธิบายการแลกเปลีย่ นแกส๊ และการคายนา้ ของพืช 3. สาระสาคญั ในการสร้างอาหาร พืชต้องการแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และน้าเป็นสารตังต้นในกระบวนการ สังเคราะห์ดว้ ยแสง รากพืชดูดนา้ จากดินและล้าเลียงไปยังส่วนต่าง ๆทางไซเล็ม ส่วนแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ นันพืชได้รบั จากกระบวนการแลกเปลี่ยนแก๊ส โดยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศจะแพร่ผ่านเข้าไปใน พืชทางรูปากใบ เรียกว่าการคายนา้ 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 4.1 ด้านความรู้ (K) 1. ผเู้ รียนสามารถอธบิ ายการแลกเปลีย่ นแก๊สและการคายนา้ ของพชื ได้ 4.2 ด้านทักษะกระบวนการ (P) 1. ผเู้ รียนสามารถวเิ คราะหป์ จั จยั ท่มี ผี ลต่อการคายน้าของพชื ได้ 4.3 ด้านคุณลักษณะ (A) 1. ความสนใจ 2. การตรงต่อเวลา 3. การตอบคา้ ถาม 4. การยอมรับฟงั ผู้อนื่ 5. ความรับผิดชอบ 5. สาระการเรียนรู้ - พืชมีการแลกเปล่ียนแก๊สและการคายน้าผ่านทางปากใบเปน็ ส่วนใหญ่ ปากใบพบได้ที่ใบและล้าต้น อ่อนเม่ือความชืนสัมพัทธ์ในอากา ภายนอกต่้ากว่าความชืนสัมพัทธ์ภายในใบพืชท้าให้น้าภายในใบพืชระเหย เป็นไอออกมาทางรปู ากใบ เรียกว่า การคายน้า - ความชืนในอากาศ ลม อุณหภูมิ สภาพน้าในดนิ ความเข้มของแสง เป็นปัจจัยท่ีมีผลต่อการคายนา้ ของพืช

๑๕๒ 6. ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (Attitude) คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขันพืนฐาน พุทธศกั ราช 2551  รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์  อยู่อย่างพอเพียง  ซอื่ สัตย์สุจรติ  มุง่ มนั่ ในการทา้ งาน  มวี ินยั  รักความเปน็ ไทย  ใฝเ่ รยี นรู้  มีจิตสาธารณะ 7. คุณลกั ษณะของผ้เู รยี น ตามหลกั สตู รโรงเรียนมาตรฐานสากล  เป็นเลศิ วิชาการ  สือ่ สารสองภาษา  ล้าหนา้ ทางความคิด  ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์  ร่วมกันรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคมโลก 8. ด้านการ อ่าน คดิ วิเคราะหแ์ ละเขียน  การอา่ น : อา่ นเอกสารใบความรู้ เรอื่ ง การแลกเปลี่ยนแกส๊ และการคายน้า  การคดิ วเิ คราะห์ : คิดวิเคราะห์ขอ้ มูลที่ได้จากการอา่ นใบความรู้  การเขยี น : เขยี นสรปุ เร่ือง การแลกเปลีย่ นแกส๊ และการคายน้า 9. ด้านสมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียน  ความสามารถในการส่อื สาร : แสดงความคิดเห็น และสามารถอธิบาย  ความสามารถในการคิด : มีความสามารถในการวิเคราะห์ แก้ปญั หาเฉพาะหน้า  ความสามารถในการแกป้ ญั หา : นักเรียนสามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าไดเ้ ม่อื พบปญั หา  ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ : ทา้ งานร่วมกับผ้อู ่ืนได้ดี  ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี : สามารถใชเ้ ทคโนโลยสี ืบค้นข้อมลู 10. กจิ กรรมการเรียนรู้ (5E) ขันท่ี 1 ขนั สร้างความสนใจ 1.1 ครใู ช้ค้าถามกระต้นุ ความคิดของนกั เรยี น โดยมีคา้ ถาม ดังนี 1) การคายนา้ ของพชื (Transpiration) ส่วนใหญ่เกิดขนึ ท่ใี ด แนวตอบ สว่ นใหญเ่ กดิ ขนึ ทีใ่ บ) 2) เซลลช์ นิดใดมีส่วนช่วยควบคมุ สมดุลของน้าภายในร่างกายของพชื แนวตอบ เซลลค์ มุ (Guard cell) 3) นักเรียนคิดวา่ “ปากใบของพืช (Stomata)” เปรียบเสมือนอวัยวะใดบ้างของรา่ งกาย เพราะเหตุ ใด นักเรียนจงึ คิดเชน่ นัน แนวตอบ ขึนอยู่กับความคิดเห็นของนักเรียน และดุลยพินิจของครู โดยมีแนวทางในการตอบ คือ จมูก เพราะ ท้าหนา้ ทแี่ ลกเปล่ียนแกส๊ 4) ตน้ ไมบ้ างชนิดมีรอยแตกบริเวณล้าต้น นักเรียนคดิ วา่ รอยแตกนีเกิดขนึ ไดอ้ ยา่ งไร และมีประโยชน์ กับพืชหรือไม่ แนวตอบ เลนทิเซล (Lenticel) เป็นรอยแตกท่ีเกิดจากการแบ่งเซลล์ของคอร์กแคมเบียม (Cork Cambium) ท้าให้ล้าต้นมีรัศมีกว้างขึน ส่งผลให้บริเวณเปลือกไม้เกิดรอยแตกและน้าภายในล้าตน้ บางส่วน จงึ ระเหยออกมาทางเลนทิเซล ขันท่ี 2 สารวจค้นหา 2.1 ใหน้ ักเรยี นแบง่ กล่มุ กลมุ่ ละ 6 คน โดยสมาชกิ ภายในกลุ่มแบ่งหนา้ ทอ่ี อกเป็น 2 ทีม เพ่อื ศึกษา 1) ทีมท่ี 1 ศกึ ษา เรอ่ื ง การปรบั ตวั โครงสร้างภายในใบของพืช

๑๕๓ 2) ทีมท่ี 2 ศกึ ษา เรื่อง กลไกการเปดิ -ปิดของปากใบ 2.2 ให้ทีมท่ี 1 ของแต่ละกลุ่มสรปุ ใบความรเู้ ปน็ แผนผังมโนทัศน์ เร่อื ง การปรับตวั โครงสร้างภายในใบของพืช 2.3 ให้ทีมที่ 2 ของแต่ละกลุ่มสรุปกลไกการเปิด-ปิดของปากใบ ลงในกระดาษรายงาน ในรูปแบบที่ตนเอง เข้าใจ 2.4 จากนนั ให้สมาชิกของแตล่ ะทมี แลกเปลยี่ นความร้กู นั ภายในกลุ่ม ขันที่ 3 อธิบายความรู้ 3.1 ครสู มุ่ ตวั แทนกลมุ่ ออกมาน้าเสนอและอธิบายความรู้ที่ได้จากการแลกเปล่ยี นความรู้ภายในกลุ่ม 3.2 นักเรยี นและครรู ว่ มกนั อภปิ รายผลจากการศึกษา เรอ่ื ง การปรบั ตัวโครงสร้างภายในใบของพืช เรือ่ ง กลไก การเปดิ -ปดิ ของปากใบ 3.3 ใหน้ กั เรียนร่วมกนั วเิ คราะห์และแสดงความคิดเหน็ วา่ “ปัจจัยใดบา้ งที่มสี ่วนเก่ียวขอ้ งกับการคาย น้าของ พืช” โดยมีค้าตอบ ดงั นี แนวตอบ ขึนอยกู่ ับความคดิ เห็นของนกั เรยี น และดลุ ยพนิ จิ ของครู โดยมีแนวคา้ ตอบ ดงั นี ปจั จัยท่ีมีผลต่อการคายนา้ ของพชื มีทังปจั จยั ภายในและภายนอก ดังนี 1. ปจั จัยภายใน มีดงั นี - ขนาดและรูปรา่ งของใบ - การจัดเรียงตวั ของใบ - จ้านวนราก 2. ปจั จยั ภายนอก มดี งั นี - อณุ หภูมิ - ความเขม้ ของแสง - ความชืนในอากาศ - แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ - สภาพน้าในดิน - ความกดอากาศ - กระแสลม 3.4 ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน ศึกษากิจกรรม เร่ือง การคายน้าของพืช โดยมีจุดประสงค์เพ่ือ 1) ศึกษารูปแบบการคายน้าของพืช 2) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการคายน้าของพืช 2. ให้สมาชิกภายในกลุ่มแบ่ง หนา้ ท่แี ละความรบั ผดิ ชอบ โดยสมาชิกในกลุ่มมบี ทบาทและหนา้ ที่ 1) สมาชกิ คนที่ 1 เตรียมวสั ดอุ ุปกรณท์ ี่ใชใ้ นกจิ กรรมการคายนา้ ของพืช 2) สมาชิกคนท่ี 2 และ 3 ทา้ การทดลอง 3) สมาชกิ คนที่ 4 บันทึกผลและนา้ เสนอผลท่ไี ดจ้ ากการทา้ กิจกรรม 3.5 ครูสมุ่ ตัวแทนกลุม่ ออกมาน้าเสนอผลการท้ากิจกรรมหน้าชนั เรยี น 3.6 นักเรยี นและครรู ่วมกนั อภปิ รายผลกิจกรรม โดยครูถามค้าถามท้ายกิจกรรม โดยมคี ้าถาม ดงั นี 1) พืชคายน้าออกมาในรปู อะไร แนวตอบ ไอน้า 2) จากกจิ กรรมการคายน้าของพชื ในขวดที่ 1 และขวดที่ 2 ใหผ้ ลเหมอื นหรอื แตกตา่ งกัน อย่างไร แนวตอบ แตกตา่ งกนั พชื ในขวดท่ี 2 มีอัตราการคายนา้ มากกวา่ พชื ในขวดที่ 1 เนื่องจากใบพืชใน ขวดท่ี 1 ถกู เคลอื บด้วยน้ามนั พืช ส่งผลให้ปากใบพืชปิด

๑๕๔ 3.7 ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน ศึกษากิจกรรม เร่ือง ปากใบของพืช โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษา ลกั ษณะเซลลค์ ุมและปากใบพชื ด้วยกล้องจลุ ทรรศนแ์ บบใชแ้ สงได้ 3.8 ให้สมาชิกภายในกลุ่มแบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบ โดยสมาชิกในกลุ่มมีบทบาทและหน้าที่ของตนเอง ดงั นี 1) สมาชกิ คนที่ 1 เตรยี มวสั ดุอุปกรณ์ที่ใชใ้ นกจิ กรรมการปากใบของพืช 2) สมาชิกคนท่ี 2 และ 3 ท้าการทดลอง 3) สมาชกิ คนท่ี 4 บนั ทึกผลการท้ากิจกรรม 4) สมาชิกคนท่ี 5 และ 6 น้าเสนอผลทไี่ ด้จากกจิ กรรม 3.9 ครสู ่มุ ตัวแทนกลุ่มออกมานา้ เสนอผลการทา้ กิจกรรมหนา้ ชนั เรยี น 3.10 นักเรียนและครรู ว่ มกันอภิปรายผลกิจกรรมจากนนั ครถู ามค้าถามท้ายกิจกรรม ดงั นี 1) ปากใบ (Stomata) มลี ักษณะอยา่ งไร เซลลท์ ่ีเป็นองค์ประกอบของปากใบแตกต่างจากเซลล์อื่น ในชันเอพิเดอร์มิส (Epidermis) อย่างไร แนวตอบ เป็นช่องว่างที่บริเวณขอบมีลักษณะคล้ายเมล็ดถ่ัวแดงประกัน 1 คู่ เรียกว่า เซลล์คุม (Guard cell) ซ่ึงเปน็ เซลล์ทีเ่ ปลีย่ นไปทา้ หนา้ ทเี่ ฉพาะในชันเอพเิ ดอร์มสิ (Epidermis) ซ่ึงแตกต่าง ไปจากเซลลอ์ ื่นในชันเอพิเดอร์มสิ 2) ความหนาแน่นของปากใบ (Stomata) ในชันเอพิเดอร์มิส (Epidermis) ด้านบนและด้านล่าง ของใบพชื แตล่ ะชนิดแตกต่างกันหรือไม่อยา่ งไร แนวตอบ แตกต่างกัน พืชบกส่วนใหญ่จะพบปากใบพืชในชันเอพเิ ดอรม์ ิส (Epidermis) ด้านล่าง มากกว่า 3) ความหนาแนน่ ของปากใบ (Stomata) พืชในแต่ละกลุม่ สามารถอธิบายอะไรได้บา้ ง อย่างไร แนวตอบ พืชที่มีปากใบ (Stomata) จ้านวนน้อยกว่าพืชปกติ มีแนวโน้มว่าสภาพแวดล้อมของ พืชประเภทนี มีอากาศค่อนข้างร้อน หรือร้อนจัด นอกจากนีพืชบางชนิดไม่มีปากใบ มีแนวโนม้ ว่าสภาพแวดล้อมของพืชประเภทนีล้วนประกอบไปดว้ ยนา้ หรือ อยใู่ ต้น้า ขนั ท่ี 4 ขันขยายความรู้ 4.1 ใหน้ ักเรียนทา้ แบบฝกึ หดั ในแบบฝึกชวี วิทยา ม.5 เล่ม 1 4.2 ให้นักเรยี นตอบค้าถามโดยมคี า้ ถามดังนี 1) หากตดั ใบพืชออกจนหมด พชื ยงั คงคายน้าไดห้ รือไม่ อย่างไร แนวตอบ ได้ เพราะพืชอาจคายน้าออกทางเลนทิเซล (Lenticel) หรอื รอยแตกบรเิ วณล้าต้น) 2) แสงมีผลตอ่ การเปดิ -ปดิ ของปากใบพชื อยา่ งไร แนวตอบ แสงส่งผลใหป้ รมิ าณนา้ ตาลทไ่ี ดจ้ ากกระบวนการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงเพ่ิมขนึ ความเข้มข้น ของสารละลายภายในเซลล์คุม (Guard cell) จึงเพิ่มขึน น้าจากเซลล์ข้างเคียงจึงออสโมซิส (Osmosis) เข้าสู่เซลล์คุม ท้าให้เซลล์คุมเต่ง ปากใบพืชจึงเปิด เมื่อไม่มีแสงกระบวนการ สังเคราะหด์ ว้ ยแสงของพชื เพื่อผลิตน้าตาลจึงหยุดลง สง่ ผลใหค้ วามเข้มขน้ ของสารละลายภายใน เซลลค์ ุมลดลง ปริมาณน้าภายในเซลล์คมุ จงึ ออสโมซิสออกจากเซลล์ เซลลค์ มุ เหีย่ ว ปากใบพืชจึง ปิด 3) จงเปรยี บเทยี บอัตราการคายน้าของตน้ จามจุรที ป่ี ลกู บริเวณริมถนนกับบริเวณอทุ ยาน

๑๕๕ แนวตอบ ต้นจามจุรีที่ปลูกบริเวณริมถนนมีอัตราการคายน้าต้่ากว่าบริเวณอุทยา เนื่องจาก ปริมาณแก๊สคาร์บอน (CO2) ริมถนนมีปรมิ าณสูงกว่า ส่งผลให้ปากใบพืชหร่ีลง อัตราการคายนา้ ของพชื จึงต้า่ ลง 4) หากปลกู พืชในสภาพดนิ ท่ีไม่อุม้ นา้ พชื จะมกี ลไกรกั ษาดลุ ยภาพของนา้ อยา่ งไร แนวตอบ พืชจะสังเคราะห์กรดแอบไซซิก (Abscisic acid, ABA) ท้าให้ปากใบพืชปิด เพ่ือลดการ สญู เสียนา้ ภายในรา่ งกายของพืช 5) อตั ราการคายนา้ มีผลตอ่ การดดู น้าและธาตุอาหารของพืชหรอื ไม่ อย่างไร แนวตอบ อัตราการคายนา้ ของพืชมีผลท้าให้รากพชื ดูดน้าและธาตุอาหารที่อยภู่ ายในดินมากขนึ เน่อื งจากมีแรงดึงจากการคายนา้ (Transpiration pull) 6) ความกดอากาศมีผลตอ่ อัตราการคายน้าของพืชอย่างไร แนวตอบ ในบริเวณที่มีความกดอากาศตา่้ ไอนา้ ทีอ่ ย่ภู ายในใบจะระเหยออกมาได้ง่าย แต่ถา้ ความ กดอากาศสงู ไอน้าในใบจะระเหยออกมาไดน้ อ้ ยลง 7) จงเปรียบเทยี บอัตราการคายนา้ ระหวา่ งใบของตน้ มะม่วงกับใบของต้นคณุ นายตื่นสาย แนวตอบ ใบของตน้ มะมว่ งมีอัตราการคายท่ีสงู กว่าใบของตน้ คุณนายตน่ื สาย เนื่องจากใบพืชท่ีมี ขนาดใหญแ่ ละกว้างจะคายนา้ ไดม้ ากกวา่ ใบพชื ทม่ี ขี นาดเลก็ 8) การจดั เรียงตวั ของใบมีผลต่ออัตราการคายนา้ ของพืชอย่างไร แนวตอบ ถ้าใบพืชอยู่ตรงข้ามกับดวงอาทิตย์เป็นมมุ แคบจะเกดิ การคายนา้ ไดน้ ้อยกว่าใบท่ีทา้ มมุ กวา้ ง ขันที่ 5 ประเมนิ ผล 5.1 วิธีการวัดและประเมินผล 1. ประเมนิ จากสมดุ บนั ทกึ 2. ประเมนิ จากใบกจิ กรรม 3. ประเมินพฤติกรรมนักเรียน 5.2 เครอ่ื งมือวดั และประเมินผล 1. แบบเฉลยรายงานสมดุ บนั ทกึ 2. แบบประเมินใบกิจกรรม 3. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมนักเรยี น 5.3 เกณฑก์ ารวัดและการประเมนิ ผล 1. การประเมินจากสมดุ บันทกึ ผ่านเกณฑร์ ้อยละ 70 2. การประเมนิ ใบกจิ กรรม ผ่านเกณฑร์ ้อยละ 80 3. การประเมินพฤติกรรมนักเรยี น ผ่านเกณฑร์ ้อยละ 80 11. สอื่ /แหล่งการเรียนรู้ 11.1 หนงั สอื เรยี นสาระการเรยี นรชู้ วี วิทยา 3 11.2 เพาเวอร์พอยท์ เรือ่ ง การแลกเปลีย่ นแกส๊ และการคายน้า 11.3 ใบกิจกรรมที่ 3.2 เร่ือง การแลกเปลย่ี นแก๊สและการคายน้า 11.4 สมุดบนั ทกึ

๑๕๖ 12. หลกั ฐานการเรยี นรแู้ ละวิธกี ารประเมนิ วธิ กี ารวัด เครื่องมอื วดั เกณฑก์ าร จุดประสงค์การเรยี นรู้ (K P A) - ใบกิจกรรม ประเมิน - สมดุ บนั ทึก ผ่านเกณฑ์ ด้านความรู้ (K) - ตรวจใบกิจกรรม รอ้ ยละ 70 1. ผู้เรยี นสามารถอธิบายการแลกเปลี่ยนแก๊สและ - ตรวจสมุดบันทึก - แบบประเมนิ ของคะแนน การคายน้าของพืชได้ ชินงาน - ตรวจผลงาน ผ่านเกณฑ์ ดา้ นทกั ษะ (P) - สังเกตความตงั ใจ - แบบประเมิน คณุ ภาพระดบั 1. ผู้เรยี นสามารถวิเคราะห์ปจั จัยทมี่ ีผลตอ่ การ และความ พฤตกิ รรม 2 คายนา้ ของพชื ได้ รบั ผดิ ชอบในการ ปฏบิ ัตกิ จิ กรรม ผ่านเกณฑ์ ด้านเจตคติ (A) - สงั เกตพฤติกรรม คุณภาพระดับ 1. ความสนใจ การเรยี นรู้ 2 2. การตรงต่อเวลา 3. การตอบคา้ ถาม 4. การยอมรับฟงั ผูอ้ นื่ 5. ความรับผิดชอบ

๑๕๗ ใบงานที่ 3.2 เร่ือง การแลกเปลย่ี นแกส๊ และการคายนาของพืช คาชีแจง : ให้นักเรียนเติมคาตอบลงใหถ้ กู ต้องและสมบูรณท์ ่ีสุด ............................................................................................................................. ................................ 1.ตอนเชา้ ชว่ งท่อี ากาศมคี วามชนื สมั พัทธ์สูง จะสงั เกตเหน็ หยดนาอยู่ทป่ี ลายใบของพชื ตระกูลหญา้ หรือใบ บอน หรอื ทข่ี อบหยักๆ ของใบกุหลาบ นกั เรยี นทราบหรอื ไม่ว่านานีมาจากไหน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. จงพิจารณาภาพดงั กลา่ วแล้วตอบคาถาม 2. ปากใบของพืชทัง 2 ต้น แตกตา่ งกนั อย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3.ความแตกตา่ งที่ปรากฏขึนนเี นื่องมาจากอะไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4. การเปล่ียนแปลงของปากใบจากภาพ ก และ ข เก่ียวข้องกับการควบคุมระดับนาภายในต้นพืช อย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. . ชือ่ -สกลุ ................................................. ชนั ................ เลขท่ี ....................

๑๕๘ เฉลยใบงานท่ี 3.2 เร่ือง การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายนาของพืช คาชีแจง : ให้นักเรียนเติมคาตอบลงใหถ้ ูกต้องและสมบูรณท์ ีส่ ดุ ............................................................................................................................. ................................ 1. ตอนเช้าช่วงทอ่ี ากาศมคี วามชืนสมั พทั ธส์ ูง จะสงั เกตเหน็ หยดนาอยูท่ ่ปี ลายใบของพืชตระกูลหญา้ หรอื ใบบอน หรือทีข่ อบหยกั ๆ ของใบกหุ ลาบ นักเรียนทราบหรือไมว่ ่านานมี าจากไหน ตอบ ออกมาจากรูเล็กๆ ปลายเส้นใบที่เรยี กวา่ ไฮดาโทด การสูญเสียน้าลกั ษณะเชน่ นีเรยี กว่า กัตเตชัน จงพิจารณาภาพดังกล่าวแลว้ ตอบคาถาม 2. ปากใบของพชื ทัง 2 ตน้ แตกตา่ งกันอย่างไร ตอบ ตน้ ไมท้ ไ่ี ด้รับน้าอย่างเพียงพอ ปากใบจะเปดิ กวา้ งกว่าต้นพืชท่ขี าดน้า 3. ความแตกต่างท่ปี รากฏขนึ นเี นอ่ื งมาจากอะไร ตอบ ปริมาณน้าภายในต้นพืชทัง 2 ต้น ไม่เท่ากัน ต้นพืชที่ได้รับน้าอย่างเพยี งพอ เซลล์คุมจะเต่ง ด้านใน ของเซลล์คุมจะโค้งออกจากกันท้าให้เกดิ รูปากใบ ส่วนต้นพืชที่ขาดนา้ เซลล์คุมจะสูญเสียความเต่ง ด้านใน ของเซลลค์ ุมจะไมโ่ ค้งออกจากกนั ทา้ ให้ปากใบปิด 4. การเปลยี่ นแปลงของปากใบจากภาพ ก และ ข เก่ยี วข้องกบั การควบคุมระดบั นาภายในต้นพชื อย่างไร ตอบ ปากใบเป็นทางคายน้าของพชื เม่ือปากใบเปิดพืชจะคายน้าออกมา เม่ือปากใบปิดก็จะไม่มีการคายน้า ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า เม่ือพืชได้รับน้าอยู่ตลอดเวลาปากใบจะเปิดกว้าง มีการคายน้ามาก เม่ือพืช ไดร้ ับนา้ น้อยหรือไมไ่ ดร้ ับน้า ปากใบจะปิดไม่มีการคายน้าซึ่งเป็นกลไกในการควบคุมระดับนา้ ภายในตน้ พืชให้ มปี รมิ าณเหมาะสม

๑๕๙ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 13 รายวิชา ชีววทิ ยา 3 รหัสวิชา ว33243 กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3 การลาเลียงของพืช เวลา 12 ชว่ั โมง เรอ่ื ง การลาเลียงธาตุอาหาร เวลา 3 ชั่วโมง ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 ครูผูส้ อน นายบุญรัง จาปา 1. สาระชวี วทิ ยา สาระท่ี 3 เข้าใจส่วนประกอบของพชื การแลกเปล่ยี นแกส๊ และคายนา้ ของพืช การล้าเลียงของพืช การ สังเคราะห์ดว้ ยแสง การสืบพนั ธข์ุ องพืชดอกและการเจรญิ เตบิ โต และการตอบสนองของพชื รวมทงั นา้ ความรู้ ไปใช้ประโยชน์ 2. ผลการเรียนรู้ สบื คน้ ข้อมลู อธิบายความสา้ คัญของธาตอุ าหาร และยกตัวอย่างธาตอุ าหารท่สี ้าคญั ทีม่ ีผลตอ่ การ เจรญิ เตบิ โตของพืช 3. สาระสาคัญ พืชจ้าเป็นต้องมีการใช้ธาตุอาหาร ซ่ึงดูดมาจากดินโดยรากและล้าเลียงผ่านไปกับน้า เพ่ือน้าไปสร้าง อาหารในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ดังนนั ธาตุอาหารมคี วามสา้ คัญตอ่ การด้ารงชีวิตของพืช 4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 4.1 ดา้ นความรู้ (K) 1. ผู้เรยี นสามารถอธบิ ายความส้าคญั ของธาตุอาหารทมี่ ตี ่อพืชได้ 4.2 ด้านทักษะกระบวนการ (P) 1. ผ้เู รียนสามารถเปรียบเทยี บลกั ษณะของพืชที่ขาดธาตอุ าหารชนดิ ตา่ ง ๆ ได้ 4.3 ด้านคณุ ลกั ษณะ (A) 1. ความสนใจ 2. การตรงตอ่ เวลา 3. การตอบค้าถาม 4. การยอมรบั ฟงั ผ้อู ื่น 5. ความรบั ผิดชอบ 5. สาระการเรียนรู้ - พืชแต่ละชนิดต้องการปรมิ าณและชนิดของธาตุอาหารแตกต่างกัน สามารถนา้ ความรเู้ กย่ี วกับสมบัติ ของธาตอุ าหารชนดิ ต่าง ๆ ทีม่ ีผลตอ่ การเจริญเติบโตของพืชในสารละลายธาตุอาหาร เพ่ือใหพ้ ชื เจริญเตบิ โตได้ ตามทต่ี อ้ งการ 6. ดา้ นคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ (Attitude) คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขันพนื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551  รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  อยู่อย่างพอเพียง  ซอื่ สตั ยส์ ุจรติ  มุ่งมน่ั ในการทา้ งาน  มีวินัย  รักความเป็นไทย  ใฝ่เรยี นรู้  มีจิตสาธารณะ

๑๖๐ 7. คุณลักษณะของผูเ้ รยี น ตามหลกั สตู รโรงเรียนมาตรฐานสากล  เป็นเลศิ วิชาการ  ส่ือสารสองภาษา  ล้าหนา้ ทางความคดิ  ผลติ งานอยา่ งสรา้ งสรรค์  รว่ มกนั รบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมโลก 8. ด้านการ อา่ น คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขียน  การอ่าน : อ่านเอกสารใบความรู้ เรื่อง การล้าเลียงธาตุอาหาร  การคิดวิเคราะห์ : คิดวิเคราะหข์ อ้ มูลท่ไี ด้จากการอ่านใบความรู้  การเขยี น : เขียนสรปุ เรือ่ ง การล้าเลียงธาตุอาหาร 9. ด้านสมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น  ความสามารถในการสอ่ื สาร : แสดงความคิดเห็น และสามารถอธบิ าย  ความสามารถในการคิด : มีความสามารถในการวเิ คราะห์ แก้ปญั หาเฉพาะหนา้  ความสามารถในการแก้ปัญหา : นกั เรียนสามารถแกไ้ ขปญั หาเฉพาะหน้าไดเ้ มื่อพบปัญหา  ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต : ทา้ งานรว่ มกับผู้อน่ื ไดด้ ี  ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี : สามารถใชเ้ ทคโนโลยสี ืบค้นขอ้ มูล 10. กิจกรรมการเรยี นรู้ (5E) ข้นั ท่ี 1 ขั้นสรา้ งความสนใจ 1.1 ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยการตังค้าถามเพื่อทดสอบความรู้เดิม โดยการสุ่มถาม นกั เรียนจา้ นวน 1-2 คน โดยมีค้าถามดังนี 1) จงยกตัวอย่างธาตุที่นักเรียนรู้จักในชีวิตประจ้าวัน มา 2-3 ตัวอย่างพร้อมบอกประโยชน์ของธาตุ เหล่านันมาพอสังเขป แนวตอบ เหล็ก (Fe) ใช้ในการท้าอุตสาหกรรมต่าง ๆ ตะก่ัว (Pb) ใช้ในการท้าแบตเตอรี่ และ แคลเซียม (Ca) เก่ยี วข้องกับเรื่องสุขภาพเช่น การดูแลกระดกู และ ฟัน เป็นตน้ 1.2 ครูกระตุน้ ความสนใจของนกั เรียนโดยการเปรียบเทยี บร่างกายของมนุษย์เหมือนกับตน้ ไม้ 1 ต้น แลว้ ให้นกั เรียนระดมความคิดว่า ถา้ หากรา่ งกายมนษุ ย์ไม่ไดร้ ับสารอาหารจะมลี ักษณะเป็นอยา่ งไร แนวตอบ ค้าตอบขนึ อยู่กับการแสดงความคิดเหน็ ของนักเรียนและดุลยพินิจของ เชน่ ผอมเปน็ โรค ไมม่ แี รงหรอื เคล่อื นไหวได้ 1.3 ให้นกั เรียนแบ่งกลุ่มออกเปน็ 4 ทมี โดยเลือกตามความสมัครใจ ร่วมกันทายค้าตอบว่าลักษณะ ตน้ ไม้ ใน เร่อื ง ลกั ษณะต้นไม้ที่ขาดธาตอุ าหาร นนั ขาดธาตอุ าหารชนดิ ใดโดยมภี าพดังนี

๑๖๑ AB CD EF 1.4 ครูเฉลยค้าตอบและใหค้ ะแนนแกน่ ักเรยี นในทมี ทชี่ นะ คนละ 3 คะแนน โดยมแี นวคา้ ตอบดงั นี แนวคาตอบ ภาพ A ธาตแุ คลเซียม (Ca) ภาพ B ธาตไุ นโตรเจน (N) ภาพ C ธาตุฟอสฟอรสั (P) ภาพ D ธาตุโพแทสเซยี ม (K) ภาพ E ธาตุแมกนเี ซียม (Mg) ภาพ F ธาตกุ า้ มะถนั (S)

๑๖๒ ขัน้ ท่ี 2 สารวจค้นหา 2.1 ให้นักเรียนจับกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน สืบค้นข้อมูลเก่ียวกับหน้าท่ีและความส้าคัญของธาตุที่มีต่อพืช จากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต หรือ หนังสือเรียนชีววิทยา ม.5 เล่ม 1 โดยให้แต่ละ กลุ่มส่ง ตัวแทนออกมาจับสลากหมายเลข 1-13 โดยแต่ละหมายเลขให้ศกึ ษาธาตุอาหาร ดงั นี 1) ธาตุแคลเซยี ม (Ca) 2) ธาตุไนโตรเจน (N) 3) ธาตุฟอสฟอรัส (P) 4) ธาตุโพแทสเซียม (K) 5) ธาตแุ มกนเี ซียม (Mg) 6) ธาตกุ า้ มะถนั (S) 7) ธาตเุ หลก็ (Fe) 8) ธาตุคลอรนี (Cl) 9) ธาตุโบรอน (B) 10)ธาตุสังกะสี (Zn) 11)ธาตแุ มกกานสี (Mn) 12)ธาตุทองแดง (Cu) 13)ธาตโุ มลิบดนิ ัม (Mo) 2.2 ให้นักเรียนน้าข้อมูลท่ีสืบค้นจากแหล่งการเรียนรู้ จากการส้ารวจพืนท่ีบริเวณใกล้เคียงว่ามีต้นไม้ท่ีมี ลักษณะดังกลา่ วหรอื ไม่ บนั ทึกภาพและรวบรวมไว้ในรายงานของกลุ่มตนเอง ขน้ั ท่ี 3 อธิบายความรู้ 3.1 ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนกลุ่มออกมาน้าเสนอข้อมูลเก่ียวกับหน้าท่ีและความส้าคัญของธาตุท่ีมีต่อพืช หนา้ ชันเรียน 3.2 นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายผลจากการน้าเสนอของตัวแทนกลุ่ม แล้วให้นักเรียนสรุปหน้าที่ ความส้าคญั ของธาตแุ ต่ละชนดิ ท่ีเพื่อนนา้ เสนอลงในสมดุ บนั ทกึ ของตนเอง 3.3 หลงั จากตัวแทนกลมุ่ น้าเสนอจบแล้ว ครใู หน้ ักเรยี นแสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกับธาตุอาหารโดยมีค้าถาม ดังนี 1) นกั เรยี นคดิ วา่ ธาตอุ าหารมีความส้าคัญกบั พชื หรือไม่ แนวตอบ ส้าคัญ เนือ่ งจากมสี ่วนช่วยในการเจรญิ เตบิ โต สร้างเอนไซมบ์ างชนดิ ทีม่ ีความส้าคัญใน การด้ารงชีวิตตอ่ พชื 2) นกั เรยี นคดิ วา่ พืชสามารถขาดธาตุอาหารชนดิ ใดชนิดหน่ึงไดห้ รอื ไม่ แนวตอบ ไม่ได้ เพราะธาตุแต่ละชนิดล้วนมีความส้าคัญ แต่พืชแต่ละชนดิ ต่างมีลักษณะที่แตกต่าง กนั จึงอาจมคี วามตอ้ งการของธาตแุ ต่ละชนิดไม่เท่ากัน 3) นกั เรียนสามารถสรปุ ได้หรอื ไม่วา่ ธาตอุ าหารแบ่งออกเปน็ กป่ี ระเภท แนวตอบ 2 ประเภท คอื 1. ธาตุอาหารหลัก ได้แก่ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) โพแทสเซียม (K) แคลเซียม (Ca) แมกนีเซยี ม (Mg) กา้ มะถนั (S) 2. ธาตอุ าหารรอง ไดแ้ ก่ เหล็ก (Fe) สงั กะสี (Zn) โมลิบดนิ ัม (Mo) แมกกานสี (Mn) ทองแดง (Cu) โบรอน (B) คลอรีน (Cl)

๑๖๓ จากนนั ครอู ธิบายเพิม่ เติมว่า “พืชนา้ ธาตุอาหารท่อี ยภู่ ายในดนิ ไปใชใ้ นรปู ของสารละลาย ซ่งึ จะ ถูกล้าเลียงเข้าสู่ท่อไซเล็ม (Xylem) ไปยังเซลล์ต่างๆ ของพืช ธาตุอาหารท่ีพืชล้าเลียงเขาไปใน ไซเล็มนันเป็นสารอนินทรีย์ ที่ประกอบด้วยธาตุอาหารหลายชนิด ซึ่งจ้าเป็นต่อการด้ารงชีวิตและ การเจริญเติบโตของพชื ” ขน้ั ท่ี 4 ข้ันขยายความรู้ 4.1 ให้นักเรียนท้าแผนผงั มโนทัศน์ เรอื่ ง ธาตอุ าหารของพชื บนกระดาษ A4 พรอ้ มตกแต่งใหส้ วยงาม โดย สืบค้นข้อมลู จากแหลง่ การเรยี นรู้ต่าง ๆ เชน่ อินเทอรเ์ น็ต หรือ หนงั สอื เรยี นชีววิทยา ม.5 เล่ม 1 เปน็ ตน้ 4.2 ใหน้ ักเรยี นท้าแบบฝกึ หดั ในแบบฝึกหดั ชีววทิ ยา ม.5 เลม่ 1 4.3 ใหน้ ักเรยี นรว่ มกันตอบโดยมีคา้ ถามดงั นี 1) การเคลื่อนท่ีของน้าแบบอโพพลาสต์ (Apoplasmic pathway) เกิดขึนเม่ือใด และมีลักษณะ อยา่ งไร แนวตอบ น้าเขา้ สูเ่ ซลล์ขนราก (Root hair cell) และกอ่ นเข้าสู่ท่อลา้ เลียงไซเล็ม (Xylem) โดยน้า จะเคลือ่ นที่ไปตามผนงั เซลล์ (Cell wall) 2) การเคลอ่ื นทีข่ องน้าแบบซมิ พลาสต์ (Simplast) เกิดขึนเมื่อใด และมีลักษณะอย่างไร แนวตอบ เกิดขึนเมื่อน้าเข้าสู่เซลล์ขนราก (Root hair cell) และผ่านชันเอนโดเดอร์มิส (Endodermis) โดยนา้ จะเคลื่อนที่ผ่านทางไซโทพลาซมึ (Cytoplasm) และชอ่ งว่างระหว่างเซลล์ที่ เรียกวา่ พลาสโมเดสมาตา (Plastmodesmata) 3) พลาสโมเดสมาตา (Plastmodesmata) คอื อะไร แนวตอบ ชอ่ งวา่ งระหว่างเซลล์ 4) ตน้ สนอาศัยกลไกใดในการล้าเลียงนา้ จากปลายรากไปส่ปู ลายยอด แนวตอบ แรงดึงจากการคายนา้ (Transpiration pull) ประกอบกบั ภายในทอ่ ลา้ เลียงมีแรงโคฮีชัน (Coesion) และแอดฮีชนั (Adhesion) 5) แรงโคฮีชัน (Coesion) และแอดฮีชนั (Adhesion) แตกตา่ งกนั อยา่ งไร แนวตอบ แรงโคฮีชัน (Coesion) เป็นแรงที่เกิดขึนระหว่างโมเลกุลน้า 2 โมเลกุลมาเช่ือมกันส่วน แรงแอดฮีชนั (Adhesion) เกิดขนึ ระหว่างโมเลกลุ น้ากับผนังท่อล้าเลยี ง 6) ในสภาวะท่อี ากาศมีความชนื สัมพทั ธส์ ูง จะสง่ ผลต่อแรงภายในทอ่ ไซเลม็ (Xylem) อยา่ งไร แนวตอบ ในวันท่ีอากาศมีความชืนสัมพัทธ์สูง ปากใบพืชจะปิด แต่รากพืชยังคงดูดน้าอยู่ ตลอดเวลาท้าให้เกิดแรงดนั ภายในราก ท้าให้ภายในล้าตน้ พชื มีแรงดันน้าสงู 7) รไู ฮดาโทด (Hydathodes) เหมือนหรือแตกตา่ งกับปากใบอยา่ งไร แนวตอบ แตกต่างกัน รูไฮดาโทด (Hydathodes) เป็นส่วนปลายของทอ่ ไซเล็ม (Xylem) ทอ่ี ยู่ตาม ขอบใบ (Leaf margin) แต่ปากใบ (Stomata) คือส่วนหน่ึงของเซลล์คุม (Guard cell) ที่พัฒนา เปล่ียนแปลงรูปร่างมาจากเนือเย่ือเจริญ (Meristem) ท่ีอยู่ในชันเอพิเดอร์มิส (Epidermis) ส่วน ใหญม่ ักพบในบริเวณท้องใบ 8) หากดนิ มธี าตอุ าหารนอ้ ย รากพืชจะลา้ เลียงอาหารแบบใด แนวตอบ ไม่ได้ เพราะธาตุแต่ละชนิดล้วนมีความส้าคัญ แต่พืชแต่ละชนิดต่างมีลักษณะที่แตกต่าง กัน จึงอาจมคี วามตอ้ งการของธาตุแตล่ ะชนิดไม่เท่ากัน 9) หากใบพชื ทเ่ี จรญิ ใหม่หงิกงอ ตายอดไม่เจริญ มจี ุดดา้ ทเี่ ส้นใบ พืชชนดิ นขี าดธาตอุ าหารอะไร

๑๖๔ แนวตอบ ธาตุแคลเซยี ม (Ca) 10) ธาตอุ าหารชนิดใดบา้ งท่ีพืชต้องการในปริมาณมากและนอ้ ย ตามล้าดับ แนวตอบ ธาตุอาหารหลัก ได้แก่ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) โพแทสเซียม (K) แคลเซียม (Ca) แมกนีเซียม (Mg) ก้ามะถัน (S) เป็นธาตุอาหารท่ีพืชต้องการในปริมาณมาก ธาตุอาหารรอง ได้แก่ เหล็ก (Fe) สังกะสี (Zn) โมลิบดินัม (Mo) แมกกานสี (Mn) ทองแดง (Cu) โบรอน (B) คลอรนี (Cl) เป็นธาตอุ าหารท่พี ืชต้องการในปริมาณน้อย แตข่ าดไม่ได้ ข้นั ที่ 5 ประเมนิ ผล 5.1 วธิ กี ารวดั และประเมินผล 1. ประเมินจากสมุดบนั ทึก 2. ประเมนิ จากใบกจิ กรรม 3. ประเมินพฤติกรรมนักเรยี น 5.2 เคร่อื งมือวัดและประเมินผล 1. แบบเฉลยรายงานสมุดบนั ทกึ 2. แบบประเมินใบกิจกรรม 3. แบบประเมนิ พฤติกรรมนักเรียน 5.3 เกณฑก์ ารวัดและการประเมินผล 1. การประเมินจากสมดุ บนั ทกึ ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ 70 2. การประเมินใบกจิ กรรม ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 80 3. การประเมินพฤตกิ รรมนกั เรียน ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ 80 11. สอื่ /แหลง่ การเรยี นรู้ 11.1 หนงั สือเรยี นสาระการเรียนรู้ชีววิทยา 3 11.2 เพาเวอร์พอยท์ เร่อื ง การลา้ เลยี งธาตอุ าหาร 11.3 ใบกจิ กรรมท่ี 3.3 เรื่อง การลา้ เลียงธาตุอาหาร 11.4 สมดุ บันทกึ

๑๖๕ 12. หลักฐานการเรียนรแู้ ละวธิ กี ารประเมนิ วิธีการวดั เครอ่ื งมือวดั เกณฑก์ าร จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ (K P A) - ใบกจิ กรรม ประเมิน - ตรวจใบกิจกรรม - สมุดบนั ทกึ ผ่านเกณฑ์ ดา้ นความรู้ (K) - ตรวจสมุดบันทกึ รอ้ ยละ 70 1. ผู้เรียนสามารถอธบิ ายความสา้ คัญของธาตุ - แบบประเมิน ของคะแนน อาหารที่มีต่อพชื ได้ - ตรวจผลงาน ชินงาน - สงั เกตความตงั ใจ ผ่านเกณฑ์ ด้านทักษะ (P) และความ - แบบประเมนิ คณุ ภาพระดบั 1. ผ้เู รียนสามารถเปรยี บเทยี บลักษณะของพืชที่ รบั ผดิ ชอบในการ พฤติกรรม 2 ขาดธาตุอาหารชนิดต่าง ๆ ได้ ปฏบิ ัตกิ จิ กรรม - สังเกตพฤตกิ รรม ผ่านเกณฑ์ ด้านเจตคติ (A) การเรยี นรู้ คุณภาพระดับ 1. ความสนใจ 2 2. การตรงตอ่ เวลา 3. การตอบคา้ ถาม 4. การยอมรับฟังผู้อืน่ 5. ความรบั ผิดชอบ

๑๖๖ ใบงานท่ี 3.3 เร่อื ง การลาเลยี งสารอาหารของพืช คาชแี้ จง : ใหน้ ักเรยี นเตมิ คาตอบลงให้ถกู ต้องและสมบูรณ์ท่ีสดุ ............................................................................................................................. ...................................... 1. ธาตใุ ดบ้างท่พี ชื ต้องการในปรมิ าณมากกวา่ ร้อยละ 0.1 และธาตใุ ดบ้างทพ่ี ชื ตอ้ งการในปรมิ าณทนี่ ้อย กว่า 0.01 ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………… 2. รูปท่เี ป็นประโยชน์ทีไ่ ดร้ ับในสารละลายมอี ะไรบ้าง และพชื รบั มาโดยวิธใี ด .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. พืชผักต้องการธาตุอาหารชนิดใดมากเปน็ พเิ ศษ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. การปลูกพืชในสารละลายนอกจากต้องคานึงถึงชนิดและปริมาณสารอาหารท่ีเหมาะสมต่อการ เจรญิ เติบโตแลว้ ต้องคานงึ ถึงปัจจัยอะไรอกี บา้ ง เพราะเหตุใด .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 5. จากการศึกษาการลาเลยี งสารอาหารของพืชแลว้ นักเรยี นคดิ วา่ สามารถนามาใชป้ ระโยชน์ได้ในดา้ นใด .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ชอ่ื -สกุล........................................................ชน้ั ...............เลขท่.ี ................

๑๖๗ เฉลยใบงานท่ี 3.3 เรือ่ ง การลาเลยี งแร่ธาตขุ องพชื คาช้ีแจง : ใหน้ กั เรียนเติมคาตอบลงใหถ้ กู ตอ้ งและสมบูรณท์ ่สี ุด ............................................................................................................................. ...................................... 1. ธาตุใดบ้างท่ีพชื ต้องการในปรมิ าณมากกวา่ ร้อยละ 0.1 และธาตุใดบา้ งทพี่ ชื ต้องการในปรมิ าณทน่ี อ้ ย กวา่ 0.01 ตอบ ธาตทุ ี่พืชต้องการในปริมาณมากกวา่ รอ้ ยละ 0.1 คือ ฟอสฟอรสั แมกนีเซียม แคลเซยี ม โพแทสเซยี ม ไนโตรเจน ออกซิเจน คาร์บอนสว่ นธาตทุ ่ีพชื ตอ้ งการในปรมิ าณที่น้อยกว่า 0.01คอื โบรอน สังกะสี นิกเกลิ แมงกานีส ทองแดง โมลิบดีนมั 2. รปู ที่เป็นประโยชน์ที่ได้รับในสารละลายมอี ะไรบ้าง และพชื รบั มาโดยวิธีใด ตอบ ฟอสเฟต สารละลายปนมากบั นา้ ไนเตรด แอมโมเนยี ม สารละลายปนมากบั นา้ ไฮโตรเจน รบั มาในรปู ของนา้ ออกซเิ จน รับมาในรปู ของน้า ซัลเฟต รับมาในรปู สารประกอบปนมากับน้า 3. พชื ผกั ตอ้ งการธาตอุ าหารชนดิ ใดมากเปน็ พเิ ศษ ตอบ พืชผกั เช่น พชื กนิ ใบตอ้ งการไนโตรเจน เพือ่ เร่งการเจรญิ เติบโตของใบและลา้ ตน้ 4. การปลูกพืชในสารละลายนอกจากต้องคานึงถึงชนิดและปริมาณสารอาหารที่เหมาะสมต่อการ เจรญิ เตบิ โตแลว้ ตอ้ งคานงึ ถึงปจั จัยอะไรอกี บา้ ง เพราะเหตใุ ด ตอบ การเปลี่ยนค่า pH ในสารละลาย เน่ืองจากพืชใช้สารละลายที่แตกต่างกนั ปริมาณธาตุอาหารในรปู ท่ี พืชจะน้าไปใช้จะเปลี่ยนไปด้วย นอกจากนียังต้องค้านึงถึงปริมาณออกซิเจนในสารละลาย อุณหภูมิ และ ความเขม้ ของแสงเปน็ สา้ คัญอกี ด้วย 5. จากการศึกษาการลาเลยี งสารอาหารของพืชแลว้ นักเรียนคดิ ว่าสามารถนามาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ในด้านใด ตอบ น้ามาใช้ประโยชนไ์ ด้ในการปลูกพชื ไฮโดรโพนกิ ส์ เป็นการปลกู พืชในสารละลาย แต่ผปู้ ลกู ต้องทราบวา่ พืชทต่ี ้องการปลูกตอ้ งการสารอาหารชนิดใดและมากนอ้ ยเพยี งใด

๑๖๘ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 14 รายวชิ า ชีววทิ ยา 3 รหสั วิชา ว33243 กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 3 การลาเลียงของพืช เวลา 12 ชัว่ โมง เรอ่ื ง การลาเลยี งอาหาร เวลา 3 ชั่วโมง ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 ครผู สู้ อน นายบุญรัง จาปา 1. สาระชีววิทยา สาระที่ 3 เขา้ ใจส่วนประกอบของพืช การแลกเปลี่ยนแก๊สและคายนา้ ของพชื การล้าเลยี งของพืช การ สงั เคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุข์ องพืชดอกและการเจริญเติบโต และการตอบสนองของพืช รวมทังน้าความรู้ ไปใช้ประโยชน์ 2. ผลการเรยี นรู้ อธบิ ายกลไกการลา้ เลียงอาหารในพืช 3. สาระสาคญั การสร้างอาหารของพชื เกิดจากกระบวนกรสงั เคราะห์ดว้ ยแสงจนได้ผลผลิตเป็นน้าตาล และมกั สะสม อยูใ่ นรปู ของแป้ง ซ่ึงเปน็ คาร์โบไฮเดรต การสร้างอาหารของพืชส่วนใหญ่จะเกิดขึนท่ีใบ แล้วลา้ เลียงอาหารไป ยังสว่ นต่าง ๆ ของพืช 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 4.1 ด้านความรู้ (K) 1. ผู้เรียนสามารถอธิบายกลไกการล้าเลียงอาหารของพชื ได้ 4.2 ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) 1. ผูเ้ รียนสามารถวเิ คราะห์กลไกการลา้ เลยี งอาหารของพชื ได้ 4.3 ดา้ นคณุ ลักษณะ (A) 1. ความสนใจ 2. การตรงตอ่ เวลา 3. การตอบคา้ ถาม 4. การยอมรับฟงั ผอู้ น่ื 5. ความรับผดิ ชอบ 5. สาระการเรียนรู้ - อาหารทไี่ ดจ้ ากกระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสงจากแหล่งสร้าง จะถกู เปลยี่ นแปลงเปน็ ซูโครส และ ล้าเลยี งผ่านทางทอ่ โฟลเอ็ม โดยอาศยั กลไก การลา้ เลียงอาหารในพชื ซงึ่ เก่ยี วข้องกบั แรงดันนา้ ไปยงั แหลง่ รับ 6. ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (Attitude) คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั พนื ฐาน พุทธศกั ราช 2551  รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์  อยู่อย่างพอเพียง  ซ่ือสตั ย์สุจริต  มุ่งมน่ั ในการทา้ งาน  มวี นิ ยั  รกั ความเปน็ ไทย  ใฝเ่ รียนรู้  มีจิตสาธารณะ

๑๖๙ 7. คณุ ลักษณะของผเู้ รยี น ตามหลกั สตู รโรงเรียนมาตรฐานสากล  เป็นเลิศวิชาการ  สอื่ สารสองภาษา  ล้าหนา้ ทางความคดิ  ผลิตงานอยา่ งสร้างสรรค์  รว่ มกนั รับผดิ ชอบตอ่ สังคมโลก 8. ด้านการ อา่ น คิดวเิ คราะหแ์ ละเขยี น  การอา่ น : อา่ นเอกสารใบความรู้ เร่ือง การล้าเลยี งอาหาร  การคดิ วเิ คราะห์ : คิดวิเคราะหข์ อ้ มูลทีไ่ ดจ้ ากการอา่ นใบความรู้  การเขยี น : เขียนสรุป เรอื่ ง การล้าเลยี งอาหาร 9. ด้านสมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น  ความสามารถในการสอ่ื สาร : แสดงความคิดเห็น และสามารถอธบิ าย  ความสามารถในการคดิ : มีความสามารถในการวเิ คราะห์ แกป้ ญั หาเฉพาะหน้า  ความสามารถในการแกป้ ญั หา : นักเรยี นสามารถแกไ้ ขปญั หาเฉพาะหนา้ ได้เมอ่ื พบปัญหา  ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ : ทา้ งานร่วมกับผู้อน่ื ไดด้ ี  ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี : สามารถใช้เทคโนโลยีสืบคน้ ขอ้ มูล 10. กจิ กรรมการเรยี นรู้ (5E) ข้นั ที่ 1 ข้ันสร้างความสนใจ 1.1 ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยน้าลูกบอลมา 1 ลูก จากนันเปิดเพลงขึนมา 1 เพลง แล้วให้ นักเรยี นสง่ ลูกบอลต่อไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งเพลงหยุด ลูกบอลอยทู่ ีน่ ักเรียนคนใด ให้นักเรียนคนนันยนื ขึน แลว้ ตอบค้าถาม 1.2 ครูถามค้าถาม ดังนี 1) เนือเยื่อทที่ า้ หนา้ ทลี่ า้ เลยี งอาหารของพืชได้แก่อะไรบา้ ง 1.3 เม่ือนักเรียนตอบค้าถามแล้วให้นักเรียนที่ยืนเลือกเพื่อนมาอีก 1 คน เพื่ออภิปรายค้าตอบของนักเรียน จากนนั ครูเฉลยค้าตอบที่ถูกต้อง โดยมีแนวคา้ ตอบดังนี แนวคาตอบ เนือเยื่อท่ีท้าหน้าที่ล้าเลียงอาหารของพืชได้แก่ เนือเยื่อล้าเลียงโฟลเอ็ม (Phloem) ซึง่ ประกอบดว้ ย ซฟี ทวิ บ์ (Sieve tube member) และเซลล์คอมพา-เนยี น (Companion cell) ขนั้ ท่ี 2 สารวจค้นหา 2.1 ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 3 กลุ่ม ตามความสมัครใจ เพื่อศึกษาเนือหา เรื่อง การล้าเลียงอาหารของ พืช แล้วให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนกลุ่มออกมาจับสลากหมายเลข 1-3 โดยแต่ละหมายเลขให้แต่ละกลุ่มศึกษา หวั ข้อต่อไปนี 1) หมายเลข 1 : ศกึ ษาการพองของเปลอื กของล้าต้นเหนอื รอยควนั่ 2) หมายเลข 2 : ศึกษาการลา้ เลียงน้าตาลในพืชโดยใช้ 14C (คาร์บอน-14) 3) หมายเลข 3 : ศกึ ษาการลา้ เลยี งอาหารภายในทอ่ โฟลเอม็ (Phloem) โดยเพลียออ่ น 2.2 ให้แต่ละกลุ่มสรุปสาระส้าคัญของหัวข้อที่ศึกษาลงในกระดาษ A4 โดยสมาชิกทุกคนจะตอ้ งมขี ้อสรุปเปน็ ของตนเอง 1) ใหน้ ักเรียนศกึ ษา เรอ่ื ง กลไกการล้าเลียงอาหารของพชื จากวดี ทิ ศั น์ เรื่อง การลา้ เลยี งในโฟลเอ็ม 2) ใหน้ ักเรยี นสรุปความรู้และสาระส้าคญั ลงในสมดุ บันทกึ ของตนเอง

๑๗๐ ขั้นท่ี 3 อธบิ ายความรู้ 3.1 ใหแ้ ต่ละกลมุ่ ส่งตวั แทนออกมาน้าเสนอสาระสา้ คญั หนา้ ชันเรยี น 3.2 ขณะท่ีตัวแทนกลุ่มนา้ เสนอขอ้ มูล ให้นักเรียนในห้องเขียนค้าถามท่ีตนเองสงสัย หรือตังค้าถามลงในสมุด บันทึกของตนเอง 3.3 ครูสุ่มนักเรียน 5-6 คน อ่านค้าถามของตนเอง แล้วให้กลุ่มนักเรียนท่ีน้าเสนอตอบค้าถามและอธิบาย ค้าตอบของเพ่อื นใหเ้ ข้าใจ 3.4 ครอู ธบิ ายเพมิ่ เตมิ ว่า “การสร้างอาหารของพืชเกิดจากการกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงจนได้ผลผลิตเป็นน้าตาล และมกั สะสมอยูใ่ นรปู แบบของแป้ง ซึง่ เป็นคารโ์ บไฮเดรต การสร้างอาหารของพชื สว่ นใหญจ่ ะเกิดขนึ ท่ใี บ และ ล้าเลียงอาหารไปยงั ส่วนตา่ ง ๆ ของพืช” 3.5 ให้นักเรียนจับคู่ แลกเปล่ียนความรู้และสาระส้าคัญ เร่ือง กลไกการล้าเลียงอาหารของพืช ให้กับคู่ของ ตนเอง โดยมีประเดน็ หลักในการอภิปรายดงั นี 1) สามารถยกตัวอย่างการลา้ เลยี งสารอาหารของพืชท่ไี ด้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงได้ 2) อธบิ ายกลไกทท่ี ้าใหเ้ กิดการล้าเลียงสารอาหารของพืชได้ 3.6 ให้นกั เรยี นแตล่ ะคทู่ ้าแผ่นพับ เร่ือง กลไกการลา้ เลยี งอาหารของพืช 3.7 ครูสุ่มตัวแทนนักเรียน 2-3 คู่ น้าเสนอข้อมูลในแผ่นพับ และอธิบายกลไกการล้าเลียงอาหารของพืช ใน ประเด็นตอ่ ไปนี 1) ยกตวั อยา่ งการล้าเลยี งสารอาหารของพชื ทไ่ี ด้จากกระบวนการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง 2) อธบิ ายกลไกทีท่ า้ ให้เกดิ การล้าเลียงสารอาหารของพืช 3.8 นกั เรยี นและครรู ว่ มกันอภิปรายผลท่ไี ด้จากการท้ากจิ กรรมภายในหอ้ งเรียน ขั้นที่ 4 ข้นั ขยายความรู้ 4.1 ให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์และจัดท้าแผ่นพับ เร่ือง พืชสร้างอาชีพ โดยข้อมูลภายในแผ่นพับ เก่ียวข้อง กับอาชีพที่ต้องอาศัยความรูเ้ ก่ียวกับโครงสร้างและหน้าที่ของพชื เช่น ชาวสวนยางพารา ไม้หอมส่งออก เป็น ตน้ โดยสบื ค้นจากแหลง่ การเรยี นรู้ต่าง ๆ เช่น อนิ เทอร์เน็ต และ หนังสอื เรียนชวี วทิ ยา ม.5 เลม่ 1 4.2 ให้นกั เรยี นท้าแบบทดสอบหลงั เรยี นหนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 เรื่อง โครงสรา้ งและหนา้ ทีข่ องพชื ดอก 4.3 ให้นักเรยี นลอกโจทย์และตอบคา้ ถามลงในสมุดบนั ทกึ ของตนเองโดยมคี ้าถาม ดังนี 1) ทศิ ทางการล้าเลยี งน้ากบั อาหารของพชื เหมือนหรือแตกตา่ งกนั อยา่ งไร แนวตอบ แตกต่างกัน พืชจะล้าเลียงน้าจากรากไปยงั ส่วนต่าง ๆ ของพืช และพืชจะล้าเลียงอาหารจากแหลง่ สร้าง เชน่ ใบ (Leaf) ไปยงั ส่วนตา่ ง ๆ ของพืช 2) การลา้ เลียงอาหารและการลา้ เลียงนา้ ของพชื เหมือนหรือแตกต่างกนั อยา่ งไร แนวตอบ แตกต่างกัน น้าจะออสโมซิส (Osmosis) เข้าสู่เซลล์ขนราก (Root hair cell) และถูกล้าเลียง 2 รูปแบบ คือ แบบซิมพลาสต์ (Simplast) และแบบอโพพลาสต์ (Apoplast) ไปตามไซโทพลาสซึม (Cytoplasm) และผนงั เซลลพ์ ชื (Cell wall) ตามลา้ ดับ เขา้ สู่ทอ่ ล้าเลียงไซเลม็ (Xylem) และอาศัยแรงดงึ จาก การคายน้า (Transpiration pull) รวมทังแรงแอดฮีชัน (Adhesion) และโคฮีชัน (Coesion) ช่วยในการ ล้าเลียงน้าจากปลายรากไปยังยอด ส่วนการล้าเลียงอาหารอาศัยการแพร่แบบแอคทีพทรานสปอร์ต (Active transport) และน้าจากเซลล์ข้างเคียงออสโมซิสเข้าสู่ท่อล้าเลียงโฟลเอ็ม (Phloem) ผลักดันให้อาหารถูก ลา้ เลียงไปยังเซลลเ์ ปา้ หมาย

๑๗๑ 3) พืชลา้ เลยี งอาหารไปยังส่วนต่าง ๆ ในรปู แบบใด แนวตอบ สารละลายซูโครส (Sucrose) 4) การลา้ เลยี งอาหารของพชื จากแหลง่ สรา้ งไปยังทอ่ ล้าเลียงใช้กระบวนการใด แนวตอบ กระบวนการแพรแ่ บบแอคทีฟทรานสปอรต์ (Active transport) 5) กลไกใดท่ีมีส่วนช่วยใหพ้ ืชล้าเลียงอาหารไปตามท่อล้าเลยี งอยา่ งต่อเนอื่ ง แนวตอบ การออสโมซสิ (Osmosis) ของน้าจากเซลลข์ ้างเคยี ง 6) ทิศทางในการล้าเลยี งน้าและธาตอุ าหารของพืชแตกต่างกับทิศทางในการล้าเลียงอาหารของพืช หรือไม่ อย่างไร แนวตอบ แตกต่างกนั คอื พชื จะล้าเลียงน้าและธาตุอาหารจากรากไปสูส่ ว่ นต่าง ๆ ของพชื และพืชจะลา้ เลียง อาหารจากใบไปสสู่ ่วนตา่ ง ๆ ของพืช 7) กระบวนการลา้ เลียงอาหารของพชื เรียกว่าอะไร แนวตอบ ทรานสโลเคชัน (Translocation) 8) อาหารท่ีพืชสร้างขนึ เคล่อื นท่ไี ปตามท่อลา้ เลียงในรปู ใด แนวตอบ นา้ ตาลซโู ครส (Sucrose) 9) การล้าเลยี งน้ามคี วามสมั พนั ธก์ บั การล้าเอียงอาหารของพืชหรือไม่อย่างไร แนวตอบ สัมพันธ์กัน เน่ืองจากน้าจากท่อไซเล็ม (Xylem) จะออสโมซิส (Osmosis) เข้าสู่ท่อโฟลเอ็ม (Phloem) ในบริเวณแหล่งสร้าง เพื่อล้าเลียงน้าตาลซูโครส (Sucrose) ไปยังแหล่งใช้ หรือแหล่งสะสม น้าจะ ออสโมซิสออกสทู่ อ่ ไซเล็ม 10) รปู แบบในการลา้ เลียงมีความสัมพนั ธก์ บการลา้ เลียงสารอาหารของพชื หรอื ไม่ อย่างไร แนวตอบ การออสโมซิส (Osmosis) และการแพรแ่ บบแอคทฟี ทรานสปอร์ต (Active Transport) ขัน้ ท่ี 5 ประเมนิ ผล 5.1 วิธีการวดั และประเมนิ ผล 1. ประเมินจากสมุดบันทกึ 2. ประเมินจากใบกิจกรรม 3. ประเมินพฤติกรรมนกั เรียน 5.2 เครือ่ งมอื วดั และประเมินผล 1. แบบเฉลยรายงานสมุดบนั ทกึ 2. แบบประเมนิ ใบกิจกรรม 3. แบบประเมนิ พฤติกรรมนักเรียน 5.3 เกณฑ์การวัดและการประเมนิ ผล 1. การประเมนิ จากสมดุ บันทึก ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ 70 2. การประเมินใบกิจกรรม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 3. การประเมินพฤติกรรมนักเรยี น ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ 80 11. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้ 11.1 หนังสอื เรียนสาระการเรียนร้ชู ีววทิ ยา 3 11.2 เพาเวอรพ์ อยท์ เรอ่ื ง การลา้ เลียงอาหาร 11.3 ใบกิจกรรมท่ี 3.4 เรือ่ ง การลา้ เลียงอาหาร 11.4 สมุดบนั ทกึ

๑๗๒ 12. หลักฐานการเรยี นรู้และวธิ ีการประเมิน วธิ ีการวดั เครือ่ งมอื วัด เกณฑก์ าร จุดประสงค์การเรยี นรู้ (K P A) - ใบกิจกรรม ประเมนิ - สมุดบันทึก ผ่านเกณฑ์ ดา้ นความรู้ (K) - ตรวจใบกิจกรรม ร้อยละ 70 1. ผู้เรียนสามารถอธิบายกลไกการล้าเลยี งอาหาร - ตรวจสมุดบนั ทกึ - แบบประเมิน ของคะแนน ของพืชได้ ชนิ งาน - ตรวจผลงาน ผ่านเกณฑ์ ด้านทกั ษะ (P) - สังเกตความตังใจ - แบบประเมนิ คณุ ภาพระดบั 1. ผ้เู รยี นสามารถวเิ คราะห์กลไกการล้าเลยี ง และความ พฤติกรรม 2 อาหารของพชื ได้ รบั ผิดชอบในการ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรม ผา่ นเกณฑ์ ด้านเจตคติ (A) - สงั เกตพฤตกิ รรม คุณภาพระดับ 1. ความสนใจ การเรียนรู้ 2 2. การตรงต่อเวลา 3. การตอบคา้ ถาม 4. การยอมรับฟงั ผอู้ ืน่ 5. ความรบั ผิดชอบ

๑๗๓ ใบงานท่ี 3.4 เรือ่ ง การลาเลียงอาหารของพืช คาช้ีแจง : ใหน้ กั เรียนเติมคาตอบลงให้ถกู ตอ้ งและสมบูรณ์ทส่ี ดุ ............................................................................................................................. ................................ 1. อาการใบเหลอื งเกิดจากการขาดธาตุอาหารในข้อใด .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2.การลาเลียงอาหารในพชื เรยี กว่าอะไร .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. 3. การลาเลียงทางโฟลเอมมลี กั ษณะทีส่ าคญั คอื ………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….....………………………………………………………………………………… 4. กลมุ่ ของเนอ้ื เยื่อโฟลเอมท่ีไมม่ ีชวี ิตแล้วคือ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 5. สมมตฐิ านทีใ่ ช้อธบิ ายถงึ การลาเลยี งอาหารทางโฟลเอมอธบิ ายถงึ แรงดนั เต่งระหว่างเซลลจ์ ุดเริ่มตน้ กับ จดุ เซลลป์ ลายทางเปน็ สมมติฐานของนักวิทยาศาสตรท์ า่ นใด .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ชอ่ื -สกุล ................................................. ชัน้ ................ เลขที่ ....................

๑๗๔ เฉลยใบงานท่ี 3.1 เรอื่ ง การลาเลียงนา้ ของพืช คาช้ีแจง : ใหน้ กั เรียนเตมิ คาตอบลงให้ถูกตอ้ งและสมบรู ณ์ที่สุด ............................................................................................................................................................. 1. อาการใบเหลอื งเกดิ จากการขาดธาตอุ าหารในข้อใด ตอบ ฟอสฟอรสั โพแทสเซยี ม 2. การลาเลยี งอาหารในพชื เรียกว่าอะไร ตอบ ทรานสโลเคชนั 3. การลาเลยี งทางโฟลเอมมีลักษณะที่สาคัญคอื ตอบ เป็นการล้าเลยี งอาหารจากส่วนลา่ งขนึ สสู่ ่วนบนของลา้ ต้น 4. กลมุ่ ของเน้ือเยอ่ื โฟลเอมทีไ่ มม่ ชี ีวิตแล้วคอื ตอบ ซฟี ทิวบ์เมมเบอร์ 5. สมมตฐิ านที่ใชอ้ ธบิ ายถงึ การลาเลียงอาหารทางโฟลเอมอธิบายถึงแรงดันเต่งระหวา่ งเซลล์จุดเร่ิมต้นกับ จดุ เซลลป์ ลายทางเป็นสมมติฐานของนกั วิทยาศาสตรท์ า่ นใด ตอบ มนึ ซ์ (Munch)

๑๗๕ สรปุ ผลการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ประจาหน่วยการเรยี นรู้ 1. ด้านความรู้ …………………………………………………………………………………………………………………..… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………..… (พจิ ารณาตามความรคู้ วามสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรขู้ องของหน่วยการเรยี นร)ู้ จานวน………….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ……… 2. ด้านทกัษะ/กระบวนการ ………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… (พิจารณาตามทกั ษะ/กระบวนการทใี่ ชใ้ นการฝกึ ปฏบิ ัติ ผู้เรียนประจาหนว่ ยการเรียนร)ู้ จานวน………….คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ…………… 3. ดา้ นคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 3.1 คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์(ประจาหนว่ ยการเรยี นรู)้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………….………………………………………………………………………… (พิจารณาตามคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคป์ ระจาหน่วยการเรียนร)ู้ จานวน………….คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ…………… 8.3.2 คุณลักษณะอันพึงประสงค(์ ประจากล่มุ สาระการเรียนรู้หรอื ประจารายวชิ า) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …….……………………………………………………………………………………………………………………………………………… (พจิ ารณาตามคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องกลมุ่ สาระการเรียนรู้หรอื ประรายวิชา) จานวน………….คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ…………… 4. ด้านสมรรถนะสาคญั ผู้เรียน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………….…………………………………………………………………… (พิจารณาตามสมรรถนะสาคัญของผู้เรยี นในหนว่ ยการเรียนรู)้ จานวน………….คน คดิ เปน็ ร้อยละ…………… 8.5 สรุปผลจากการประเมนิ ชน้ิ งาน (รวบยอด) ประจาหน่วยการเรียนรู้ 8.5.1 ระดบั คณุ ภาพดีมาก จานวน...............คน คดิ เป็นรอ้ ยละ……………… 8.5.2 ระดบั คุณภาพดี จานวน...............คน คดิ เป็นร้อยละ……………… 8.5.3 ระดับคณุ ภาพพอใช้ จานวน...............คน คิดเป็นร้อยละ……………… 8.5.4 ระดบั คณุ ภาพปรบั ปรุง จานวน...........คน คิดเปน็ ร้อยละ………………

๑๗๖ ปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. .…………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ.......................................... (ผู้สอน) ( นายบญุ รัง จาปา ) วนั ที่................................................ ความคดิ เหน็ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………….........................................………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ.......................................... ( นายสมคิด ก้านกิง่ คา ) วันท่.ี ............................................... ความคิดเห็นรองผ้อู านวยการฝา่ ยวชาิ การ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชือ่ .......................................... ( นานวษิ ณุ อง้ึ ตระกูล ) วนั ที่................................................ หมายเหตุ บันทกึ ผลการเรยี นรู้ เมอื่ จบ 1 หนว่ ยการเรยี นรู้ ซง่ึ นาข้อมูลมาจากแผนการจัดการเรียนรู้ของหนว่ ย การเรียนรู้

๑๗๗ การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การสังเคราะห์ด้วยแสง เวลา 14 ช่ัวโมง กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รหสั วิชา ว32243 วิชา ชวี วิทยา 3 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 ช่ือครูผู้สอน นายบุญรงั จาปา 1. เปา้ หมายการเรียนรู้ 1. ความเข้าใจที่คงทน พชื สามารถสร้างอาหารได้เอง ดว้ ยกระบวนการการสังเคราะหด์ ้วยแสง 2. สาระชีววทิ ยา สาระท่ี 3 เขา้ ใจสว่ นประกอบของพชื การแลกเปล่ียนแกส๊ และคายนา้ ของพืช การล้าเลียงของพืช การสังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพนั ธ์ุของพชื ดอกและการเจริญเตบิ โต และการตอบสนองของพชื รวมทงั น้า ความรู้ไปใช้ประโยชน์ ผลการเรียนรู้ 1. สืบคน้ ข้อมูลและสรุปการศกึ ษาที่ได้จากการ ทดลองของนกั วิทยาศาสตร์ในอดีตเกี่ยวกับกระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง 2. อธบิ ายขนั ตอนที่เกดิ ขึนในกระบวนการสงั เคราะหด์ ้วยแสงของพชื C3 3. เปรยี บเทยี บกลไกการตรึงคารบ์ อนไดออกไซดใ์ นพืช C3 พืช C4 และ พืช CAM 4. สืบค้นข้อมูล อภิปรายและสรุปปัจจยั ความเขม้ แสง ความเข้มข้นของคารบ์ อนไดออกไซดแ์ ละ อุณหภมู ิท่ี มผี ลตอ่ การสังเคราะหด์ ว้ ยแสงของพืช สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด การศึกษาคน้ คว้าของนักวทิ ยาศาสตรใ์ นอดตี ทาใหไ้ ด้ ความรูเ้ กีย่ วกบั กระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสงมา เปน็ ลาดบั ขั้นจนได้ข้อสรุปวา่ คารบ์ อนไดออกไซดแ์ ละนา้ เป็นวตั ถุดิบทพ่ี ืชใช้ในกระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสงและ ผลผลิตทไ่ี ด้ คือ นา้ ตาล ออกซิเจน กระบวนการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงมี 2 ขั้นตอน คือ ปฏกิ ริ ยิ าแสง และการตรงึ คารบ์ อนไดออกไซด์ ปฏิกิริยาแสงเป็นปฏิกิริยาที่เปล่ียนพลังงานแสงเป็นพลังงานเคมี โดยแสงออกซิไดซ์โมเลกุลสารสีที่ไทลา คอยด์ของคลอโรพลาสต์ ทาให้เกิดการถ่ายทอดอิเล็กตรอน ได้ผลิตภัณฑ์เป็น ATP และ NADPH+ H+ ในสโตรมา ของคลอโรพลาสต์ การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ เกิดในสโตรมา โดยใช้ RuBP และเอนไซม์รูบิสโก ได้สารที่ประกอบด้วย คาร์บอน 3 อะตอม คือ PGA โดยใช้ ATP และ NADPH ท่ีได้จากปฏิกิริยาแสงไปรีดิวซ์สารประกอบคาร์บอน 3

๑๗๘ อะตอม ไดเ้ ป็นนา้ ตาลที่มีคารบ์ อน 3 อะตอม คอื PGAL ซึง่ ส่วนหนึง่ จะถูกนาไปสรา้ ง RuBP กลับคืนเป็นวฏั จกั รโดย พืช C3 จะมีการตรงึ คาร์บอนไดออกไซดด์ ว้ ยวฏั จักรคัลวินเพยี งอย่างเดียว พืช C4 ตรึงคาร์บอนอนินทรยี ์ 2 คร้ัง คร้ังแรก เกิดขึ้นท่ีเซลล์มีโซฟลิ ล์ โดย PEP และเอนไซมเ์ พบคาร์บอก ซิเลส ไดส้ ารประกอบที่มคี าร์บอน4 อะตอม คอื OAA ซึ่งจะมกี ารเปล่ยี นแปลงทางเคมีไดส้ ารประกอบทีม่ ีคาร์บอน 4 อะตอม คอื กรดมาลิก ซ่งึ จะถูกลาเลียงไปจนถึงเซลล์บนั เดิลชีทและปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ในคลอโรพลาสต์เพื่อ ใช้ในวัฏจกั รคลั วินต่อไป พืช CAM มีกลไกในการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์คล้ายพืช C4 แต่มีการตรึงคาร์บอนอนินทรีย์ท้ัง 2 คร้ังใน เซลลเ์ ดียวกนั โดยเซลล์มกี ารตรงึ คาร์บอนอนนิ ทรีย์คร้ังแรกในเวลากลางคนื และปล่อยออกมาในเวลากลางวนั เพ่ือใช้ ในวัฏจักรคลั วินต่อไป ปัจจัยที่มีผลตอ่ การสังเคราะห์ดว้ ยแสง เชน่ ความเข้มของแสง ความเข้มขน้ ของคาร์บอนไดออกไซดอ์ ุณหภูมิ ปริมาณนา้ ในดนิ ธาตุอาหาร อายุใบ สาระการเรียนรแู้ กนกลาง - การศึกษาค้นควา้ ของนกั วทิ ยาศาสตร์ในอดตี ทา้ ใหไ้ ด้ความรูเ้ ก่ียวกบั กระบวนการสงั เคราะห์ ดว้ ยแสงมา เปน็ ล้าดับขนั จนไดข้ อ้ สรุปว่า คาร์บอนไดออกไซดแ์ ละนา้ เป็นวัตถุดิบท่พี ชื ใช้ ในกระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสง และผลผลิต ทีไ่ ด้คือ น้าตาล ออกซเิ จน - กระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสงมี๒ ขนั ตอน คือ ปฏกิ ริ ยิ าแสง และการตรึงคารบ์ อนไดออกไซด์ - ปฏกิ ริ ยิ าแสงเป็นปฏกิ ริ ิยาทเี่ ปลย่ี นพลงั งานแสง เปน็ พลงั งานเคมโี ดยแสงออกซิไดสโ์ มเลกลุ สารสี ทีไ่ ทลา คอยด์ของคลอโรพลาสต์ทา้ ให้เกิดการ ถ่ายทอดอเิ ลก็ ตรอน ไดผ้ ลิตภัณฑเ์ ปน็ ATP และ NADPH+ H+ ในสโตรมา ของคลอโรพลาสต์ - การตรงึ คารบ์ อนไดออกไซดเ์ กิดในสโตรมา โดยใช้ RuBP และเอนไซม์รูบิสโก ได้สารท่ปี ระกอบดว้ ย คาร์บอน ๓ อะตอม คอื PGA โดยใช้ATP และ NADPH ทไ่ี ดจ้ ากปฏิกิรยิ าแสงไปรดี วิ ซ์ สารประกอบคารบ์ อน ๓ อะตอม ได้เปน็ นา้ ตาล ท่มี คี ารบ์ อน ๓ อะตอม คือ PGAL ซ่งึ ส่วนหนึ่ง จะถูกน้าไปสรา้ ง RuBP กลับคนื เปน็ วัฏจักร โดยพืช C3 จะมีการตรงึ คาร์บอนไดออกไซด์ด้วย วัฏจกั รคัลวินเพยี งอยา่ งเดยี ว - พชื C4 ตรึงคารบ์ อนอนินทรีย์๒ ครัง ครังแรก เกิดขนึ ทีเ่ ซลล์มีโซฟิลลโ์ ดย PEP และเอนไซม์ เพบคาร์ บอกซเิ ลส ได้สารประกอบที่มคี ารบ์ อน ๔ อะตอม คือ OAA ซึง่ จะมีการเปลย่ี นแปลง ทางเคมไี ด้สารประกอบทมี่ ี คารบ์ อน ๔ อะตอม คอื กรดมาลกิ ซึ่งจะถกู ล้าเลียงไปจนถงึ เซลล์ บันเดิลชีทและปล่อยคารบ์ อนไดออกไซด์ ในคลอ โรพลาสตเ์ พ่อื ใชใ้ นวฏั จักรคัลวนิ ตอ่ ไป - พืช CAM มกี ลไกในการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ คลา้ ยพืช C4 แต่มีการตรงึ คาร์บอนอนินทรยี ์ ทงั ๒ ครงั ในเซลลเ์ ดียวกัน โดยเซลล์มกี ารตรึง คาร์บอนอนินทรีย์ครังแรกในเวลากลางคืน และปล่อยออกมาในเวลากลางวนั เพอื่ ใช้ใน วฏั จักรคัลวนิ ตอ่ ไป

๑๗๙ - ปจั จัยทมี่ ผี ลตอ่ การสังเคราะห์ด้วยแสง เชน่ ความเข้มของแสง ความเขม้ ข้นของ คาร์บอนไดออกไซด์ อุณหภมู ปิ ริมาณน้าในดิน ธาตอุ าหาร อายใุ บ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสอื่ สาร 2. ความสามารถในการคดิ 1) ทักษะการสงั เกต 2) ทักษะการสา้ รวจคน้ หา 3) ทักษะการตงั ค้าถาม 4) ทักษะการตงั สมมตฐิ าน 5) ทกั ษะการตรวจสอบสมมตฐิ าน 6) ทกั ษะการสรุปลงความเห็น 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิตคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๒. ช้ินงาน/ภาระงาน - ใบงานท่ี 4.1 เร่อื ง การศึกษาที่เกยี่ วกบั การสังเคราะห์ดว้ ยแสง - ใบงานที่ 4.2 เร่อื ง กระบวนการสงั เคราะหด์ ้วยแสง - ใบงานที่ 4.3 เรอ่ื ง โฟโตเรสไพเรชนั - ใบงานที่ 4.4 เรอื่ ง การเพิม่ ความเขม้ ขน้ ของแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ - ใบงานที่ 4.5 เร่ือง ปัจจยั บางประการท่มี ผี ลต่อการสงั เคราะห์ด้วยแสง . การวัดและการประเมินผล การวดั และประเมนิ ก่อนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ - แบบทดสอบก่อนเรียน เร่ือง การศึกษาท่เี ก่ียวกบั การสงั เคราะห์ด้วยแสง - แบบทดสอบกอ่ นเรยี น เรือ่ ง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง - แบบทดสอบก่อนเรยี น เรื่อง โฟโตเรสไพเรชัน - แบบทดสอบก่อนเรียน เรอื่ ง การเพ่ิมความเข้มข้นของแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ - แบบทดสอบก่อนเรยี น เร่ือง ปัจจยั บางประการทม่ี ีผลต่อการสงั เคราะห์ด้วยแสง การวัดและประเมินระหว่างการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ - ชุดคา้ ถาม เรอื่ ง การศกึ ษาที่เกยี่ วกบั การสงั เคราะหด์ ้วยแสง - ชุดค้าถาม เรือ่ ง กระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสง - ชุดคา้ ถาม เร่อื ง โฟโตเรสไพเรชนั - ชดุ คา้ ถาม เรื่อง การเพม่ิ ความเขม้ ขน้ ของแกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ - ชุดคา้ ถาม เรอ่ื ง ปัจจัยบางประการทม่ี ผี ลต่อการสังเคราะหด์ ว้ ยแสง

๑๘๐ การวดั และประเมินหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ - ใบงานที่ 4.1 เรื่อง การศกึ ษาที่เกีย่ วกบั การสงั เคราะห์ดว้ ยแสง - ใบงานท่ี 4.2 เรอ่ื ง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง - ใบงานท่ี 4.3 เรอ่ื ง โฟโตเรสไพเรชัน - ใบงานท่ี 4.4 เรอ่ื ง การเพม่ิ ความเขม้ ขน้ ของแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ - ใบงานท่ี 4.5 เร่อื ง ปัจจยั บางประการที่มผี ลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง การออกแบบการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรู้ เรือ่ ง การสงั เคราะห์ดว้ ยแสง เปา้ หมายการ เลือก ตอบคาถามส้นั ๆ การเขยี นแบบ ประเมนิ จัดขน้ึ ประเมินตามสภาพ การสังเกต เรยี นรู้ คาตอบท่ี Constructed อตั นัย ภายใน จรงิ (ประเมนิ ถกู ตอ้ ง Response Essay โรงเรียน contextual ตลอด วธิ กี าร ประเมนิ Selected School หน่วย) Response Product / on-going Performance Tools ความเขา้ ใจท่ี ทดสอบ ตอบคาถามส้นั ๆ แบบทดสอบอตั นัย แสดงผลงานท่ี สงั เกตจากการทา สังเกต คงทน ความรู้ เก่ียวกบั ความรู้ เกิดจากการ พฤติกรรมการ เกีย่ วกบั - เรือ่ ง การศึกษาที่ เรียนรู้ในสปั ดาห์ ปฏิบัตกิ าร เรยี นรกู้ ารตอบ พชื สามารถสรา้ ง ความรู้เรอ่ื ง - เรื่อง การศกึ ษาที่ เก่ียวกับการ วิทยาศาสตร์ คาถามและการ อาหารไดเ้ อง ด้วย กระบวนการ เก่ียวกับการ สังเคราะหด์ ว้ ยแสง - เร่อื ง การศึกษาท่ี ทาปฏิบตั ิการ กระบวนการการ การ สงั เคราะห์ดว้ ยแสง เกีย่ วกบั การ สงั เคราะห์ - เร่ือง สงั เคราะห์ดว้ ยแสง สังเคราะห์ด้วยแสง ด้วยแสง - เร่ือง กระบวนการ สงั เคราะห์ดว้ ยแสง กระบวนการ - เรอื่ ง สังเคราะหด์ ้วยแสง - เรื่อง โฟโตเรส กระบวนการ ไพเรชัน สงั เคราะหด์ ้วยแสง - เรื่อง โฟโตเรส ไพเรชัน - เรื่อง โฟโตเรส ไพเรชนั - เรือ่ ง การเพ่ิม - เรื่อง การเพมิ่ - เรื่อง การเพ่ิม ความเข้มข้นของ ความเข้มขน้ ของ ความเขม้ ขน้ ของ แกส๊ แก๊ส แก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์ คารบ์ อนไดออกไซด์

๑๘๑ เป้าหมายการ เลือก ตอบคาถามสน้ั ๆ การเขยี นแบบ ประเมินจัดขึ้น ประเมินตามสภาพ การสงั เกต เรยี นรู้ คาตอบที่ Constructed อตั นยั ภายใน จรงิ (ประเมนิ ถกู ต้อง Response Essay โรงเรียน contextual ตลอด วธิ กี าร ประเมิน Selected School หนว่ ย) Response Product / on-going Performance Tools - เร่ือง ปัจจัยบาง - เรือ่ ง ปัจจยั บาง - เรอ่ื ง ปจั จยั บาง ประการทม่ี ีผลตอ่ ประการท่ีมีผลต่อ ประการทีม่ ีผลตอ่ การสงั เคราะห์ด้วย การสังเคราะห์ด้วย การสังเคราะหด์ ้วย แสง แสง แสง สมรรถนะสาคัญ ตอบคาถามตอบโตก้ บั - สรุปผลการศกึ ษาใน - นาเสนอผลงาน - ผปู้ กครอง/ 1. ความสามารถใน ครผู สู้ อนระหวา่ งเรยี น ปฏบิ ตั ิการต่างๆ เกดิ จากการ ครู สังเกต เรยี นรู้ในสปั ดาห์ พฤติกรรมการ การสือ่ สาร วทิ ยาศาสตร์ ปฏบิ ัตงิ าน 2. ความสามารถใน ทกั ษะการใช้ การคดิ กลอ้ ง จลุ ทรรศน์ 2.1 ทกั ษะการ และการ สังเกต ถา่ ยภาพได้ กล้อง 2.2 ทกั ษะการ สา้ รวจค้นหา 2.3 ทักษะการ ตังค้าถาม 2.4 ทกั ษะการ ตงั สมมติฐาน 2.5 ทักษะการ ตรวจสอบ สมมติฐาน 2.6 ทักษะการ สรปุ ลงความเห็น 3. ความสามารถใน การใช้ทักษะชวี ติ คณุ ลกั ษณะอันพึง ประสงค์

๑๘๒ เปา้ หมายการ เลือก ตอบคาถามสั้น ๆ การเขียนแบบ ประเมินจัดขน้ึ ประเมนิ ตามสภาพ การสงั เกต เรียนรู้ คาตอบท่ี Constructed อัตนัย ภายใน จรงิ (ประเมิน ถกู ตอ้ ง Response Essay โรงเรียน contextual ตลอด วิธีการ ประเมิน Selected School หนว่ ย) Response Product / on-going Performance Tools คณุ ลักษณะอันพงึ สงั เกต ประสงค์ พฤติกรรม การทา้ งาน 1) ซอื่ สตั ย์ สุจรติ ส่วนตวั และ 2) มวี นิ ัย พฤติกรรม 3) ใฝ่เรียนรู้ การ ปฏบิ ตั ิงาน 4) มุง่ ม่ันในการ กลุ่ม ท้างาน - ตรวจ ด้านทักษะ ตอบค้าถาม ผลงาน 1. ผู้เรียนสามารถ เกยี่ วกบั ความรู้ - สงั เกต เปรยี บเทยี บผลการ เร่ือง กระบวนการ ความตังใจ ทดลอง สังเคราะห์ดว้ ยแสง และความ กระบวนการ ของ รบั ผิดชอบใน สังเคราะห์ดว้ ยแสง การปฏบิ ตั ิ ของ ตอบคา้ ถาม กจิ กรรม นักวทิ ยาศาสตร์ใน เก่ยี วกบั ความรู้ อดีตได้ เรอ่ื งการตรงึ แกส๊ - ตรวจ คารบ์ อนไดออกไซด์ ผลงาน 2. ผูเ้ รียนสามารถ ได้ - สงั เกต เปรยี บเทียบกลไก ความตังใจ การตรงึ แก๊ส และความ คารบ์ อนไดออกไซด์ รบั ผดิ ชอบใน ได้ การปฏบิ ัติ กจิ กรรม

๑๘๓ เปา้ หมายการ เลอื ก ตอบคาถามส้ัน ๆ การเขยี นแบบ ประเมินจดั ข้นึ ประเมินตามสภาพ การสังเกต เรยี นรู้ คาตอบที่ Constructed อตั นยั ภายใน จรงิ (ประเมิน ถกู ต้อง Response Essay โรงเรยี น contextual ตลอด วธิ กี าร ประเมิน Selected School หนว่ ย) Response Product / on-going Performance Tools 3. ผู้เรยี นสามารถ ตอบค้าถาม - ตรวจ สรุปปจั จยั ความ เก่ียวกับความรู้ ผลงาน เข้มของแสงได้ เร่อื งปจั จัยความ - สังเกต เข้มของแสงได้ ความตังใจ และความ รับผดิ ชอบใน การปฏิบัติ กิจกรรม ช้นิ งาน - ใบงานที่ 4.1 เรอ่ื ง การศกึ ษาที่ เก่ยี วกบั การ สังเคราะห์ ดว้ ยแสง - ใบงานที่ 4.2 เรอ่ื ง กระบวนการ สงั เคราะห์ ดว้ ยแสง - ใบงานท่ี 4.3 เรื่อง โฟ โตเรสไพเร ชนั - ใบงานที่ 4.4 เร่ือง การเพม่ิ

๑๘๔ เป้าหมายการ เลือก ตอบคาถามส้นั ๆ การเขียนแบบ ประเมนิ จดั ข้ึน ประเมนิ ตามสภาพ การสังเกต เรียนรู้ คาตอบที่ Constructed อตั นัย ภายใน จริง (ประเมิน ถูกตอ้ ง Response Essay โรงเรยี น contextual ตลอด วธิ กี าร ประเมิน Selected School หน่วย) Response Product / on-going Performance Tools ความเขม้ ข้น ของแก๊ส คารบ์ อน ไดออกไซด์ - ใบงานท่ี 4.5 เรื่อง ปจั จัยบาง ประการที่มี ผลตอ่ การ สงั เคราะห์ ดว้ ยแสง

๑๘๕ จัดทาเกณฑก์ ารประเมิน ตามผังการประเมนิ ระดบั คุณภาพ 1 ประเด็นการประเมนิ 2 ท้าขอ้ สอบได้ 1-4 ขอ้ 3 ทา้ ข้อสอบได้ 5-7 ข้อ 1. การทดสอบ แบบเลอื กตอบ ท้าข้อสอบได้ 8-10 ขอ้ ไมต่ อบค้าถาม ตอบคา้ ถามได้บางครังท่คี รถู าม 2. การตอบคา้ ถามสนั ๆ ตอบคา้ ถามได้ทกุ ครังที่ครูถาม 3. การเขยี นแบบอตั นัย เนอื หาตรงประเด็นชัดเจน เนือหาถูกตอ้ งตรงประเด็น เนอื หาไมถ่ กู ต้อง บางสว่ น -เนือ้ หาถไู ม่ถูกตอ้ ง 1. ใบงานท่ี 2.1 เรือ่ ง เนอื เย่ือ -เนอ้ื หาถูกต้องตรงประเด็น -เน้ือหาถกู ตอ้ งบางส่วน -รายละเอยี ดไม่เป็นไปตาม ขน้ั ตอน พืช -มีรายละเอยี ดขัน้ ตอนครบถว้ น -มรี ายละเอยี ดข้นั ตอนเป็น - ไม่เปน็ ระเบียบ - ประโยชนท์ ไ่ี ด้รับไม่ชดั เจน 2. ใบงานท่ี 2.2 เรอ่ื ง - มคี วามเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ย บางส่วน โครงสร้างและการเจรญิ เตบิ โต - มีประโยชนต์ ่อตนเองและ - มีความเปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ย ของราก (ภาพถา่ ยไต้กลอ้ ง สว่ นรวม บางสว่ น จลุ ทรรศน)์ - มีประโยชนต์ อ่ ตนเอง 2. ใบงานท่ี 2.3 เรื่อง โครงสรา้ งและการเจรญิ เติบโต ของลา้ ตน้ (ภาพถา่ ยไต้กลอ้ ง จลุ ทรรศน์) 3. ใบงานที่ 2.4 เรื่อง โครงสร้างและการเจริญเตบิ โต ของใบ (ภาพถา่ ยไต้กล้อง จุลทรรศน์) 4. ใบงานที่ 2.5 เรือ่ ง ลกั ษณะ ทางพฤกษศาสตร์ของพืชดอก เกณฑ์การตดั สนิ /ระดับคณุ ภาพ เกณฑ์การผา่ นตังแตร่ ะดับ ๒ ขนึ ไป ประเดน็ การประเมินผลคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ประเด็นการประเมิน ระดบั คณุ ภาพ 3 2 1 1. มวี นิ ยั ปฏิบัตติ ามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ไมป่ ฏบิ ัตติ นตามข้อตกลง ระเบียบ ขอ้ ตกลง ของ ระเบียบ ข้อบงั คบั ของ กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ ครอบครัว โรงเรยี น และสังคม ครอบครวั และโรงเรียน ตรงต่อ ของครอบครัวและโรงเรยี น เวลาในการปฏิบัติกจิ กรรมตา่ ง ๆ

๑๘๖ ประเด็นการประเมนิ 3 ระดบั คุณภาพ 1 2. ใฝเ่ รียนรู้ 2 ไมล่ ะเมิดสทิ ธิของผอู้ นื่ ตรง ไม่ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ 3.มุง่ มัน่ ในการทางาน ในชวี ิตประจาวัน และรับผิดชอบ 4. มจี ติ สาธารณะ ตอ่ เวลา ในการทางานเป็นบางครั้ง ในการ ปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ศึกษาค้นควา้ ความร้จู ากหนงั สือ เอกสาร สิ่งพมิ พ์ สื่เทคโนโลยี ในชีวิตประจาวนั และ แหลง่ เรียนรู้ ทังภายในและ ภายนอกโรงเรยี น เลอื กใชส้ อื่ ได้ รบั ผิดชอบในการทางานปฏบิ ตั ิ อยา่ งเหมาะสม และ มกี ารบนั ทกึ ความรู้ เป็นปกติวสิ ัย และเปน็ แบบอย่างทีด่ ี ศกึ ษาคน้ ควา้ หาความรจู้ ากหนงั สอื เอกสาร ส่ิงพมิ พ์ ส่อื เทคโนโลยี และสารสนเทศ แหลง่ เรยี นรู้ทัง ภายในและภายนอกโรงเรียน เลอื กใช้ส่อื ไดอ้ ย่างเหมาะสม มี การบนั ทกึ ความรู้ วิเคราะห์ ขอ้ มูล สรปุ เป็นองค์ความรู้ และ แลกเปล่ียนเรียนรู้ ดว้ ยวิธกี ารท่ี หลากหลาย และนา้ ไปใช้ใน ชีวิตประจา้ วนั ได้ ตังใจและรบั ผดิ ชอบในการ ตงั ใจและรบั ผดิ ชอบในการ ไม่ตงั ใจปฏบิ ตั ิหน้าที่การงาน ปฏบิ ัติหนา้ ท่ีทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย ปฏิบตั หิ นา้ ทที่ ่ีไดร้ ับมอบหมาย ใหส้ ้าเร็จ มกี ารปรบั ปรงุ การ ท้างานให้ดขี นึ ให้ส้าเรจ็ มกี าร ปรบั ปรงุ และพฒั นาการทา้ งาน ให้ดขี นึ ด้วยตนเอง - ชว่ ยพ่อแม่ ผปู้ กครองและครู -ชว่ ยพอ่ แม่ ผปู้ กครอง และ -ไมช่ ว่ ยเหลอื พ่อแม่ ทา้ งาน อาสาท้างาน ช่วยคิด ครทู า้ งานอาสาทา้ งาน และ ผูป้ กครอง และครู ช่วยท้า แบ่งปันส่งิ ของ และ แบง่ ปนั สิ่งของให้ผู้อื่นด้วยความ -ไม่สนใจดูแลรกั ษา ชว่ ยแกป้ ญั หาให้ผู้อ่ืนด้วยความ เต็มใจ ทรัพย์สมบัตแิ ละ เตม็ ใจ สง่ิ แวดล้อมของโรงเรยี น - ดูแล รักษาทรัพยส์ มบตั ิ -ดูแล รักษาทรพั ย์สมบตั ิ ส่ิงแวดล้อมของหอ้ งเรียน สิ่งแวดล้อมของห้องเรยี น โรงเรียน และเขา้ รว่ มกจิ กรรม โรงเรยี น ชมุ ชน และเข้ารว่ ม เพื่อสงั คมและ

๑๘๗ ประเดน็ การประเมนิ ระดับคณุ ภาพ 2 3 1 สาธารณประโยชน์ของโรงเรยี น กิจกรรมเพ่อื สงั คมและ ด้วยความเตม็ ใจ สาธารณประโยชน์ของโรงเรยี น และชุมชนดว้ ย ความเตม็ ใจ เกณฑก์ ารตดั สนิ /ระดับคุณภาพ เกณฑก์ ารผ่านตงั แตร่ ะดับ ๒ ขึนไป ประเด็นการประเมนิ สมรรถนะทีส่ าคญั ระดบั คณุ ภาพ 1 ประเดน็ การประเมนิ 2 -นา้ เสนอไมต่ ามล้าดบั ขันตอน 3 นา้ เสนอตามล้าดบั ขันตอนแตไ่ ม่ 1. ความสามารถในการสอื่ สาร -นา้ เสนอตามลา้ ดับขนั ตอน -ใชภ้ าษาสอื่ ความหมายไม่ชดั เจน นา่ สนใจ นา่ สนใจ -ใช้ภาษาสอื่ ความหมายเข้าใจชัด -ใช้ภาษาสอื่ ความหมายได้เข้าใจ เจดยงั ไมช่ ัดเจน ชัดเจน 2.ความสามารถในการคิด -เขยี นสรุป แผนภาพความคิด -เขยี นสรุป แผนภาพความคิด -เขยี นสรปุ แผนภาพความคิด วิเคราะห์ ความรเู้ รอื่ ง เทคโนโลยี และ ความรู้เร่อื ง เทคโนโลยี และ ความรู้เรอ่ื ง เทคโนโลยี และ กระบวนการทางเทคโนโลยี ได้ กระบวนการทางเทคโนโลยี ได้ กระบวนการทางเทคโนโลยี ยัง 3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะ ถูกตอ้ งครบทุกองคป์ ระกอบและ ถกู ต้อง ไม่ครบองค์ประกอบ ชีวติ สวยงาม - มที ักษะในการเลอื กใช้ - ไม่มีทกั ษะในการเลอื กใช้ - มีทกั ษะในการเลอื กใช้ เทคโนโลยี เทคโนโลยี เทคโนโลยไี ดอ้ ยา่ งปลอดภยั - นา้ กระบวนการทางเทคโนโลยี - ไมไ่ ดน้ ้ากระบวนการทาง - นา้ กระบวนการทางเทคโนโลยี มาใชใ้ นการวางแผนปฏิบตั งิ าน เทคโนโลยมี าใชใ้ นการวางแผน มาใชใ้ นการวางแผนปฏิบตั ิงาน ปฏบิ ัตงิ าน เป็นประจา้ 4. ความสามารถในการใช้ -มีความรู้ทักษะพนื ฐานในการใช้ -มคี วามรูพ้ ืนฐานในการใช้ -ไมม่ ีความรพู้ นื ฐานในการใช้ เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์แต่ขาดทกั ษะ คอมพวิ เตอรแ์ ละขาดทักษะ - นา้ เสนอผลงานโดยใช้ - นา้ เสนอผลงานโดยใช้ - นา้ เสนอผลงานโดยใช้ คอมพิวเตอร์ไดด้ ี คอมพวิ เตอรไ์ ด้ คอมพวิ เตอร์ไมไ่ ด้ - ใช้คอมพวิ เตอร์เปน็ แหล่งเรยี นรู้ - ใช้คอมพวิ เตอรเ์ ปน็ แหล่งเรียนรู้ - ใช้คอมพวิ เตอรเ์ ปน็ แหล่งเรยี นรู้ ได้ดที ุกครงั ได้ ไม่ได้ เกณฑก์ ารตดั สิน/ระดบั คุณภาพ เกณฑก์ ารผา่ นตังแตร่ ะดบั ๒ ขนึ ไป

๑๘๘ ประเดน็ การประเมิน พฤตกิ รรมกระบวนการทางานกลมุ่ ประเดน็ การประเมนิ ระดบั คุณภาพ 321 กระบวนการท้างานกล่มุ มีการแบง่ หน้าท่ี ความรบั ผิดชอบ มีการแบ่งหนา้ ที่ ความรับผิดชอบ มกี ารแบ่งหน้าที่ ความ ชดั เจน รว่ มคดิ ร่วมวางแผน ชัดเจน ร่วมคิด ร่วมวางแผน รบั ผิดชอบไม่ชัดเจน ร่วมคดิ ร่วม ร่วมมอื ท้างาน ชว่ ยเหลือเอือ รว่ มมือท้างาน ช่วยเหลอื เออื วางแผน ร่วมมือท้างาน อาทรในการท้างาน รบั ผดิ ชอบ อาทรในการทา้ งาน รบั ผิดชอบ ชว่ ยเหลือเออื อาทรในการทา้ งาน ตรงต่อเวลา รบั ฟงั ความคดิ เหน็ ตรงต่อเวลา ขาดความรับผิดชอบและไม่ตรง ซงึ่ กันและกนั และรว่ มภูมิใจใน ต่อเวลา ผลงาน เกณฑ์การตัดสิน/ระดบั คณุ ภาพ เกณฑ์การผ่านตงั แตร่ ะดบั ๒ ขึนไป

๑๘๙ การออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้ ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง การสังเคราะห์ด้วยแสง เวลา 14 ชัว่ โมง กจิ กรรมการเรียนรู้ กิจกรรมนาสู่การเรียน 1. กระบวนการสังเคราะหด์ ว้ ยแสงของพชื แต่ละชนดิ มขี นั ตอนทแ่ี ตกต่างกนั หรอื ไมอ่ ยา่ งไร แนวตอบ ไมแ่ ตกตา่ งกนั สว่ นใหญม่ ี 2 ขนั ตอน คอื ปฏกิ ริ ยิ าแสง และการตรงึ คารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) 2. ตน้ มะมว่ ง ขา้ วโพด และกระบองเพชรมีกลไกการตรึงคารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) ที่แตกตา่ งกัน หรือไม่ อย่างไร แนวตอบ แตกต่างกัน เน่ืองจากต้นมะม่วง ต้นข้าวโพด มีสภาพแวดล้อมที่แตกต่างไปจาก กระบองเพชรซึ่งเป็นในเขตร้อน ดังนัน เวลาในการเปิดปดิ ปากใบ (Stomata) ของกระบองเพชร จงึ แตกต่างไปจากพชื ทั่วไป ซึง่ มีผลต่อการตรงึ คารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) ของพชื 3. สภาพแวดลอ้ มสง่ ผลกระบวนการผลิตอาหารของพืชอย่างไร แนวตอบ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ในบรรยากาศและน้าเป็นสารตังต้นท่ีส้าคัญใน กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ดังนัน ในวันท่ีสภาพแวดล้อมมีความเหมาะสม เช่น มีความเข้มแสงและ คาร์บอนไดออกไซด์ท่ีเหมาะสม มีอุณหภูมิ น้า และธาตุอาหารในดินเหมาะสมต่อการเจริญของพืช จะส่งผลให้พืช เกิดกระบวนการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงไดด้ ี 4. คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) มเี ยอื่ หุม้ กี่ชัน แนวตอบ มี 2 ชนั คือ เยอื่ ห้มุ ชนั ใน (Inner membrane) และเย่อื หุ้มชนั นอก (Outer Membrane) 5. คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) ส่วนมากพบมากทีส่ ว่ นประกอบใดของพชื แนวตอบ ใบ (Leaf) 6. ปฏิกิรยิ าแสง (Light reaction) เกิดขนึ ที่บรเิ วณใดในคลอโรพลาสต์ (Chloroplast) แนวตอบ เยอ่ื หมุ้ ไทลาคอยด์ (Thylakoid) 7. การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ (Carbondioxidefixation) เกิดขึนที่บริเวณใดในคลอโรพลาสต์ (Chloroplast) แนวตอบ สโตรมา (Stroma 8. ครูพูดประเภทของพืชแล้วให้นักเรียนยืนขึน ตามประเภทของพืช แล้วออกมาเขียนช่ือพืช บน กระดานหน้าชันเรียนตามประเภททีค่ รกู า้ หนด ยกตวั อยา่ งเช่น แนวคาตอบ พืช C3 เช่น ข้าวสาลี พืช C4 เช่น ขาวโพด และ พืช CAM เช่น สับประรด กระบองเพชร เปน็ ตน้ 9. ปจั จัยทม่ี ีผลตอ่ การสังเคราะห์ด้วยแสงมอี ะไรบา้ ง แนวคาตอบ ได้แก่ แสงและความเข้มของแสง ความเข้มของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ อุณหภูมิ อายุใบ ปรมิ าณน้าทพ่ี ืชได้รับ ธาตอุ าหาร

๑๙๐ กจิ กรรมพฒั นา เรือ่ ง การศึกษาท่เี กี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง 1. ครูถามค้าถามแล้วให้นักเรยี นรว่ มกันสืบคน้ ขอ้ มลู จากแหลง่ การเรียนรู้เพิ่มเติม เช่น อินเทอร์เนต็ หรอื หนงั สอื ชีววทิ ยาเล่ม 1 หนว่ ย 2 การสังเคราะหข์ องแสง เพอื่ ตอบค้าถามโดยมคี ้าถามดงั นี 1) นกั วทิ ยาศาสตรไ์ ด้ศึกษาคน้ ควา้ เกยี่ วกบั กระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสงอยา่ งไร แนวตอบ ทดลองปลกู ตน้ ไม้ในสภาวะตา่ ง ๆ โดยศกึ ษาผลลพั ธ์ท่ีเกิดขึนจากน้าหนกั ของต้นไม้ การด้ารงอยไู่ ด้ของสิ่งมีชวี ติ เช่น หนู รวมทงั ผลติ ภัณฑท์ เี่ กดิ ขนึ จากสภาพแวดลอ้ มทแ่ี ตกตา่ งกัน เช่น นา้ แสง 2. ใหน้ ักเรยี นแบง่ กลุ่มออกเป็น 8 กลุม่ จากนันสง่ ตวั แทนกล่มุ มาจับสลากหมายเลข 1-8 โดยแต่ ละ หมายเลขให้นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มศึกษา ดังนี หมายเลข 1 ศึกษาการทดลองของ ฌอง แบบติสท์ แวน เฮลมองท์ (Jean Baptiste van Helmont) หมายเลข 2 ศกึ ษาการทดลองของ โจเซฟ พริสต์ลีย์ (Joseph Priestley) หมายเลข 3 ศึกษาการทดลองของ แจน อินเก็น ฮซู (Jan IngenHousz) หมายเลข 4 ศกึ ษาการทดลองของ นโิ คลาส ธีโอดอร์ เดอ โซซรู ์ (Nicolas Theodore de Soussure) หมายเลข 5 ศึกษาการทดลองของ จเู ลยี ส ซาส (Julius Sachs) หมายเลข 6 ศึกษาการทดลองของ แวน นลี (Van Niel) หมายเลข 7 ศกึ ษาการทดลองของ โรบนิ ฮิลล์ (Robin Hill) หมายเลข 8 ศกึ ษาการทดลองของ แดเนยี ล อาร์นอน(Daniel Arnon) 3. ครูกา้ หนดเวลาให้นักเรียน 20 นาที จากนนั ใหน้ กั เรียนแต่ละกล่มุ บนั ทึกข้อมลู ท่ไี ดจ้ ากการ สืบค้นลงในกระดาษ A4 พร้อมน้าเสนอขอ้ มูลในรปู แบบทีน่ ่าสนใจหนา้ ชันเรียน เรอ่ี ง กระบวนการสังเคราะหด์ ว้ ยแสง 1. ให้นกั เรียนรวมกลมุ่ ของตนเอง ร่วมกนั สืบคน้ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั ปฏิกริ ยิ าแสง เพือ่ ตอบคา้ ถามดงั นี 1) ให้กลมุ่ ท่ี 1 ตอบค้าถาม : แอนเทนนา (Antenna) คอื อะไร มหี นา้ ทีส่ า้ คัญอยา่ งไร แนวตอบ กล่มุ ของสารสี ท้าหน้าท่รี บั และสง่ พลังงานแสง 2) ให้กลุม่ ที่ 2 ตอบค้าถาม : จงอธิบายการสง่ ตอ่ อเิ ล็กตรอนของโมเลกุลสารสไี ปยังโมเลกลุ พเิ ศษ แนวตอบ เม่ือแสงมากระทบกบั โมเลกุลของสารสี สารสีจะดดู กลนื แสงสง่ ผลให้อิเล็กตรอน เคลือ่ นท่ีจากสถานะพนื ไปยงั สถานะกระตนุ้ ส่งผลให้โมเลกุลสารสที อ่ี ย่ขู า้ งเคยี งเกดิ การสง่ ต่ออิเลก็ ตรอนตอ่ เนอื่ งไป ยังโมเลกลุ สารสพี เิ ศษ 3) ใหก้ ลุ่มที่ 3 ตอบค้าถาม : สารสมี ีบทในกระบวนการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงอยา่ งไร แนวตอบ สารสีทา้ หน้าท่ีดดู กลนื แสง ซ่ึงสา้ คญั ตอ่ การเกิดปฏกิ ริ ิยาแสง (Light reaction) 4) ใหก้ ลมุ่ ท่ี 4 ตอบค้าถาม : หากไม่มีสารสีจะส่งผลต่อกระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสงอย่างไร แนวตอบ ไมม่ ีพลังงานเคมีที่ใช้กระตุ้นกระบวนการตรงึ คารบ์ อนไดออกไซดใ์ นบรรยากาศ ทา้ ให้ พืชไม่สามารถผลิตพลงั งานได้

๑๙๑ 2. ให้นักเรียนศึกษาข้อมูลเก่ียวกับการเปล่ียนแปลงระดับของอิเล็กตรอนเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง พลังงาน จากหนังสือเรยี นชีววทิ ยา ม.5 เลม่ 1 3. ครูแจกใบงาน เร่อื ง กระบวนการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง ให้นกั เรยี นแต่ละกล่มุ ร่วมกันสืบค้นขอ้ มลู เพ่ือ ทา้ ใบงาน 4. ครูมอบหมายให้นกั เรียนทกุ กลุ่มท้าใบงาน โดยให้แตล่ ะกลุ่มศึกษาหวั ขอ้ ดงั นี 1) ให้กลมุ่ ท่ี 1 และ 2 ศกึ ษา เรือ่ ง การถา่ ยทอดอิเลก็ ตรอนแบบไม่เป็นวัฏจกั ร 2) ให้กล่มุ ท่ี 3 และ 4 ศกึ ษา เร่อื ง การถา่ ยทอดอเิ ล็กตรอนแบบเปน็ วัฏจกั ร 5. ให้นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกันศึกษาสารประกอบโปรตนี เชงิ ซอ้ นซึ่งท้าหน้าทร่ี บั ส่งอเิ ลก็ ตรอน แลว้ รว่ มกันสรุปลงในสมุดบันทกึ เร่อี ง โฟโตเรสไพเรชัน 1. ใหน้ ักเรียนสบื ค้นกระบวนการเกิดโฟโตเรสไพเรชัน (Photorespiration) แล้วสรุปลงในสมดุ บนั ทึกของตนเอง 2. ให้นักเรียนจบั คู่กับเพื่อนแลกเปลีย่ นข้อมลู ทีไ่ ดจ้ ากการสบื ค้นแลว้ ทา้ ผังสรุปเรอื่ ง โฟโตเรสไพเร ชัน (Photorespiration) พรอ้ มนา้ เสนอในรูปแบบท่ีสวยงาม เร่อี ง การเพมิ่ ความเขม้ ข้นของแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ 1. ให้นักเรยี นจับกลมุ่ ประเภทของพชื ทน่ี กั เรยี นออกมาเขยี นช่ือหน้าชนั เรียน โดยแบ่งกล่มุ ออกเปน็ 3 กลมุ่ ดงั นี 1) กลมุ่ ท่ี 1 คอื กลุ่มท่นี ักเรียนเขยี นชอ่ื พืชในกลุ่มพืช C3 2) กลุ่มที่ 2 คือ กลุ่มทนี่ ักเรียนเขียนช่ือพชื ในกลุ่มพืช C4 3) กลุ่มที่ 3 คือ กลุ่มที่นกั เรียนเขียนชอ่ื พชื ในกลุ่มพชื CAM 2. ให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มศึกษาลักษณะ โครงสรา้ งภายในของใบ และตวั อย่างพืชตามชนดิ ของพชื ที่ ไดร้ บั มอบหมาย แลว้ สรุปลงในกระดาษ A4 3. ใหน้ กั เรียนส่งตวั แทนกลุม่ ออกมาน้าเสนอขอ้ มูลของกลมุ่ ตนเอง หลังจากนันนักเรยี นและครู ร่วมกนั อภปิ รายถงึ ความแตกต่างของโครงสร้างภายในใบซึ่งแตกต่างกันดงั นี “ ใบพชื C3 จะมีเซลล์ในชันมีโซฟิลล์ (Mesophyll) 2 ชนิด คอื แพลิเซดมโี ซฟลิ ล์ (Palisade Mesophyll) และสปนั จีมีโซฟลิ ล์ (Spongy Mesophyll) และจะพบครอโรพลาสต์ (Chloroplast) ภายในมโี ซฟิลล์ ทงั 2 ชนดิ อย่างชดั เจน และบันเดลิ ชีท (Bundle sheath) อาจมีหรอื ไม่มีก็ได้ ซึ่งหากมีบนั เดลิ ชีท มักไมพ่ บครอโรพลาสตใ์ นบันเดลิ ชีท ส่วนโครงสร้างของใบพชื C4 พบว่ามเี ซลลม์ ีโซฟลิ ล์อยู่ติดกบั บันเดิลชีท มีพลาสโมเดสมาตา (Plastmodesmata) เช่ือมระหว่าเซลล์ทังสองชนดิ นอกจากนียงั พบครอโรพลาสต์ในเซลล์มีโซ ฟิลล์และบันเดิลชีทอย่างชัดเจน”

๑๙๒ 4. จากนนั ใหน้ กั เรียนแบง่ กล่มุ เดิม เพ่ือสืบคน้ จากแหล่งการเรียนร้ตู า่ ง ๆ เช่น อินเทอรเ์ น็ต ห้องสมดุ หรือหนังสือเรยี นชีววิทยา ม.5 เล่ม 1 เกีย่ วกบั เรอื่ ง กลไกการตรึงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ของพชื ตาม ชนิดของพืชทไี่ ดร้ บั มอบหมายแล้วสรุปลงในกระดาษ A4 พรอ้ มนา้ เสนอในรปู แบบทน่ี า่ สนใจ เรอ่ี ง ปจั จยั บางประการที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง 1. ใหน้ กั เรยี นสืบค้นและศึกษาหนังสอื เรียนชวี วทิ ยา ม.5 เล่ม 1 เกย่ี วกบั แสงและความเข้มของ แสงมผี ลอยา่ งไรต่อกระบวนการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพชื 2. ใหน้ ักเรยี นแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ 4 คน เพ่อื ท้ากิจกรรม เรื่อง ความเข้มของแสง โดยให้สมาชิก ภายในกลุ่มแบง่ บทบาทและหนา้ ท่กี นั ดังนี - สมาชิกคนที่ 1: สบื ค้นขอ้ มูลจากแหล่งการเรยี นร้ตู า่ ง ๆ เช่น อนิ เทอร์เนต็ หรอื ห้องสมุด - สมาชกิ คนที่ 2 และ 3 : วิเคราะห์และบันทกึ ผลการท้ากจิ กรรม - สมาชกิ คนที่ 4 : นา้ เสนอผลการท้ากจิ กรรม 3. ในระหว่างการท้ากิจกรรมให้สมาชกิ ภายในกลุ่มตงั ค้าถามขนั ตอนการทดลองท่ีตนเองสงสยั เชน่ เพราะเหตุใดจึงต้องเตมิ แอลกอฮอล์ และปิโตรเลียมอเี ทอร์ แลว้ ให้สมาชกิ รว่ มกนั สบื คน้ จาก แหล่งขอ้ มลู เพื่อตอบคา้ ถาม 4. หลงั จากท้ากิจกรรมแล้วใหน้ กั เรยี นศกึ ษาโครงสร้างของเยอื่ หมุ้ ไทลาคอยด์ (Thylakoid) ใน หนงั สือ เรียนล่วงหน้า 5. ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนกล่มุ ออกมาน้าเสนอผลท่ไี ด้จากการทา้ กิจกรรมหนา้ ชนั เรยี น 6. นกั เรียนและครรู ว่ มกนั อภปิ รายผลจากการท้ากิจกรรม 7. ครูถามค้าถามทา้ ยกจิ กรรม แล้วใหน้ กั เรยี นตอบค้าถามลงในสมดุ บันทกึ ของตนเอง 8. นักเรียนและครรู ่วมกนั เฉลยคา้ ตอบ โดยมีแนวตอบคา้ ถาม ดังนี 1) ความเข้มของแสงมผี ลตอ่ การสงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพชื อยา่ งไร แนวตอบ ความเข้มของแสงทเ่ี พ่ิมขนึ ส่งผลใหอ้ ัตราการสังเคราะหแ์ สงเพิ่มขนึ 2) ในท่ไี มม่ แี สง อัตราการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ของพืชทงั 3 ชนิดเป็นอยา่ งไร เพราะ เหตใุ ดจึงเปน็ เชน่ นัน แนวตอบ อัตราการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิเปน็ ลบ เนื่องจากกระบวนการหายใจมี มากกวา่ อัตราการตรึงคารบ์ อนไดออกไซด์เพ่อื ใชใ้ นการสงั เคราะห์ด้วยแสง 3) ไลท์คอนเพนเซชนั พอยท์ (Light Compensation Point) คืออะไร แนวตอบ จุดที่ความเข้มแสงทา้ ให้อตั ราการตรงึ คารบ์ อนไดออกไซดส์ ทุ ธเิ ป็นศูนย์ เนอ่ื งจากอัตราการปลอ่ ยคารบ์ อนไดออกไซดจ์ ากกระบวนการหายใจเทา่ กบั อตั ราการตรงึ คาร์บอนไดออกไซดจ์ าก กระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสง 4) จากกราฟไลท์คอนเพนเซชนั พอยทข์ องต้นอ้อย ข้าว และมะมว่ งมคี า่ เท่ากนั หรอื ไม่ อย่างไร แนวตอบ ไลท์คอมเพนเซชนั พอยทข์ องอ้อยและข้าวมปี ระมาณเทา่ กนั ประมาณ 30 ไม โครโมลโฟตอนตอ่ เมตรวนิ าที สว่ นไลท์คอมเพนเซชันพอยท์ของมะมว่ งประมาณ 100 ไมโครโมลโฟตอนต่อเมตร วินาที จะเหน็ วา่ พืชทงั 3 ชนิดต่างมอี ัตราการหายใจและอัตราการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงท่ีแตกต่างกนั

๑๙๓ 5) จุดอ่ิมตัวของแสงคืออะไร แนวตอบ จุดท่เี ม่ือเพิม่ ความเขม้ ขน้ ของแสงแล้วอัตราการตรึงคารบ์ อนไดออกไซดส์ ุทธจิ ะไม่เพิม่ ขนึ กจิ กรรมรวบยอด (ช้ินงาน/ภาระงานของผเู้ รยี น) - ใบงานท่ี 4.1 เรื่อง การศึกษาที่เกี่ยวกับการสงั เคราะห์ด้วยแสง - ใบงานที่ 4.2 เร่อื ง กระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง - ใบงานที่ 4.3 เรื่อง โฟโตเรสไพเรชัน - ใบงานท่ี 4.4 เร่อื ง การเพ่ิมความเขม้ ข้นของแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ - ใบงานท่ี 4.5 เรอื่ ง ปจั จยั บางประการทีม่ ผี ลต่อการสงั เคราะหด์ ้วยแสง การประเมิน กจิ กรรม ทรพั ยากร/ส่ือ เวลา การศกึ ษาที่เก่ยี วกบั การ 2 ชั่วโมง สงั เคราะหด์ ้วยแสง 1. ครูถามค้าถามแลว้ ใหน้ ักเรยี นรว่ มกันสืบค้น 1. หนังสอื เรยี น ขอ้ มูลจากแหล่งการเรียนร้เู พ่ิมเติม เช่น อินเทอรเ์ นต็ ชวี วทิ ยา ม.5 เล่ม 1 หรือ หนงั สอื ชวี วิทยาเลม่ 1 หนว่ ย 2 การ 2. อินเทอร์เน็ต สังเคราะห์ของแสง เพอ่ื ตอบค้าถามโดยมีคา้ ถามดังนี (สมารท์ โฟน) 1) นักวทิ ยาศาสตร์ได้ศกึ ษาคน้ คว้าเก่ียวกับ ใบงานท่ี 4.1 เร่ือง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงอย่างไร การศึกษาท่ีเก่ียวกบั แนวตอบ ทดลองปลูกตน้ ไม้ในสภาวะต่าง ๆ การสงั เคราะหด์ ้วย โดยศึกษาผลลพั ธท์ ี่เกดิ ขนึ จากนา้ หนักของต้นไม้ การ แสง ดา้ รงอยู่ไดข้ องสง่ิ มีชีวิต เช่น หนู รวมทงั ผลิตภัณฑท์ ่ี เกิดขึนจากสภาพแวดล้อมท่ีแตกตา่ งกัน เช่น นา้ แสง 2. ใหน้ ักเรียนแบ่งกล่มุ ออกเปน็ 8 กลุ่ม จากนัน ส่งตัวแทนกลุ่มมาจับสลากหมายเลข 1-8 โดยแต่ละ หมายเลขให้นักเรยี นแต่ละกลุ่มศึกษา ดงั นี หมายเลข 1 ศึกษาการทดลองของ ฌอง แบบ ตสิ ท์ แวน เฮลมองท์ (Jean Baptiste van Helmont) หมายเลข 2 ศึกษาการทดลองของ โจเซฟ พริสต์ลยี ์ (Joseph Priestley) หมายเลข 3 ศกึ ษาการทดลองของ แจน อินเก็น ฮซู (Jan IngenHousz) หมายเลข 4 ศกึ ษาการทดลองของ นิโคลาส ธี โอดอร์ เดอ โซซูร์ (Nicolas Theodore de Soussure) หมายเลข 5 ศึกษาการทดลองของ จู เลยี ส ซาส (Julius Sachs)

การประเมิน กิจกรรม ทรพั ยากร/สอ่ื ๑๙๔ กระบวนการสังเคราะหด์ ว้ ย หมายเลข 6 ศกึ ษาการทดลองของ แวน เวลา แสง นีล (Van Niel) 4 ช่วั โมง หมายเลข 7 ศกึ ษาการทดลองของ โรบนิ ฮิลล์ (Robin Hill) หมายเลข 8 ศึกษาการทดลองของ แด เนยี ล อาร์นอน(Daniel Arnon) 3. ครูกา้ หนดเวลาใหน้ กั เรียน 20 นาที จากนนั ให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มบนั ทึกขอ้ มูลทีไ่ ดจ้ ากการ สืบคน้ ลงในกระดาษ A4 พรอ้ มน้าเสนอขอ้ มลู ใน รูปแบบท่ีนา่ สนใจหนา้ ชนั เรียน 1. ให้นักเรยี นรวมกล่มุ ของตนเอง ร่วมกนั สืบคน้ 1. หนังสอื เรยี น ขอ้ มลู เกยี่ วกบั ปฏิกิริยาแสง เพอื่ ตอบคา้ ถามดงั นี ชีววิทยา ม.5 เลม่ 1 1) ใหก้ ลุ่มที่ 1 ตอบคา้ ถาม : แอนเทนนา 2. อนิ เทอร์เน็ต (Antenna) คืออะไร มีหน้าทส่ี ้าคัญอย่างไร (สมาร์ทโฟน) แนวตอบ กลุ่มของสารสี ท้าหนา้ ทรี่ บั และ 3.ใบงานที่ 4.2 เรอ่ื ง สง่ พลังงานแสง กระบวนการ 2) ให้กลุ่มท่ี 2 ตอบค้าถาม : จงอธบิ าย สังเคราะหด์ ้วยแสง การสง่ ตอ่ อิเลก็ ตรอนของโมเลกุลสารสไี ปยังโมเลกุล พเิ ศษ แนวตอบ เม่อื แสงมากระทบกับโมเลกลุ ของสารสี สารสจี ะดูดกลนื แสงส่งผลให้อเิ ลก็ ตรอน เคลอ่ื นท่จี ากสถานะพืนไปยงั สถานะกระต้นุ ส่งผลให้ โมเลกลุ สารสีท่อี ยู่ขา้ งเคียงเกดิ การสง่ ต่ออิเลก็ ตรอน ตอ่ เนอื่ งไปยังโมเลกุลสารสพี ิเศษ 3) ให้กลมุ่ ที่ 3 ตอบค้าถาม : สารสมี ีบทใน กระบวนการสงั เคราะหด์ ้วยแสงอยา่ งไร แนวตอบ สารสีทา้ หนา้ ท่ดี ูดกลนื แสง ซ่งึ ส้าคญั ต่อการเกดิ ปฏกิ ิริยาแสง (Light reaction) 4) ให้กลมุ่ ท่ี 4 ตอบค้าถาม : หากไม่มสี าร สีจะส่งผลต่อกระบวนการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงอย่างไร แนวตอบ ไม่มพี ลังงานเคมที ี่ใช้กระตุ้น กระบวนการตรงึ คารบ์ อนไดออกไซด์ในบรรยากาศ ท้าให้ พืชไมส่ ามารถผลิตพลังงานได้

การประเมิน กิจกรรม ทรพั ยากร/ส่ือ ๑๙๕ โฟโตเรสไพเรชัน 2. ใหน้ กั เรียนศกึ ษาขอ้ มูลเกี่ยวกบั การ เวลา การเพม่ิ ความเขม้ ข้นของแก๊ส คารบ์ อนไดออกไซด์ เปลี่ยนแปลงระดบั ของอิเลก็ ตรอนเมอ่ื มกี าร 1 ชวั่ โมง 4 ช่ัวโมง เปลย่ี นแปลงพลงั งาน จากหนังสือเรยี นชีววิทยา ม. 5 เล่ม 1 3. ครูแจกใบงาน เร่อื ง กระบวนการสงั เคราะห์ ด้วยแสง ให้นักเรยี นแตล่ ะกลุม่ ร่วมกันสบื คน้ ข้อมูล เพ่อื ทา้ ใบงาน 4. ครมู อบหมายใหน้ ักเรยี นทุกกลุ่มทา้ ใบงาน โดยให้แต่ละกลุ่มศึกษาหวั ข้อ ดงั นี 1) ใหก้ ลุม่ ท่ี 1 และ 2 ศึกษา เร่ือง การ ถา่ ยทอดอเิ ล็กตรอนแบบไม่เป็นวฏั จกั ร 2) ใหก้ ลมุ่ ที่ 3 และ 4 ศึกษา เรอ่ื ง การ ถ่ายทอดอเิ ล็กตรอนแบบเป็นวฏั จกั ร 5. ให้นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกันศึกษา สารประกอบโปรตีนเชงิ ซ้อนซง่ึ ทา้ หน้าทร่ี บั สง่ อิเล็กตรอน แล้วร่วมกนั สรปุ ลงในสมุดบนั ทึก 1. ใหน้ ักเรียนสบื คน้ กระบวนการเกดิ โฟโตเรส 1. หนังสอื เรียน ไพเรชนั (Photorespiration) แล้วสรุปลงในสมุด ชวี วิทยา ม.5 เลม่ 1 บนั ทกึ ของตนเอง 2. อนิ เทอรเ์ นต็ 2. ใหน้ กั เรยี นจับคู่กับเพือ่ นแลกเปล่ียนขอ้ มูลที่ (สมาร์ทโฟน) ไดจ้ ากการสืบค้นแลว้ ทา้ ผงั สรุปเรอ่ื ง โฟโตเรสไพเร 3. ใบงานท่ี 4.3 ชัน (Photorespiration) พรอ้ มนา้ เสนอในรูปแบบ เร่ือง โฟโตเรสไพเร ที่สวยงาม ชนั 4. PowerPoint 1. ให้นกั เรียนจับกล่มุ ประเภทของพชื ท่ีนักเรียน 1. หนังสือเรยี น ออกมาเขียนชอ่ื หนา้ ชันเรียน โดยแบง่ กล่มุ ออกเป็น ชวี วทิ ยา ม.5 เลม่ 1 3 กลุม่ ดังนี 2. อินเทอรเ์ นต็ 1) กลุ่มที่ 1 คือ กลุ่มท่นี ักเรียนเขยี นช่ือพืช (สมารท์ โฟน) ในกลุ่มพืช C3 3. ใบงานท่ี 4.4 2) กล่มุ ที่ 2 คอื กลมุ่ ท่นี กั เรยี นเขียนชื่อพชื เรอ่ื ง การเพ่ิมความ ในกลมุ่ พืช C4 เข้มขน้ ของแก๊ส 3) กลุม่ ที่ 3 คอื กลุ่มที่นกั เรียนเขียนชอื่ พชื คาร์บอนไดออกไซด์ ในกลมุ่ พชื CAM 4. PowerPoint

การประเมนิ กิจกรรม ทรัพยากร/สอ่ื ๑๙๖ 2. ให้นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มศกึ ษาลักษณะ เวลา โครงสรา้ งภายในของใบ และตัวอย่างพืชตามชนดิ ของพชื ที่ได้รับมอบหมาย แล้วสรุปลงในกระดาษ 3 ช่วั โมง A4 3. ใหน้ กั เรียนสง่ ตัวแทนกลุ่มออกมานา้ เสนอ ขอ้ มูลของกลุ่มตนเอง หลังจากนันนักเรียนและครู รว่ มกนั อภิปรายถึงความแตกต่างของโครงสรา้ ง ภายในใบซง่ึ แตกต่างกันดงั นี “ ใบพืช C3 จะมเี ซลล์ในชันมโี ซฟิลล์ (Mesophyll) 2 ชนดิ คือ แพลเิ ซดมโี ซฟิลล์ (Palisade Mesophyll) และสปนั จมี ีโซฟิลล์ (Spongy Mesophyll) และจะพบครอโรพลาสต์ (Chloroplast) ภายในมีโซฟลิ ล์ ทัง 2 ชนดิ อยา่ ง ชดั เจน และบนั เดิลชีท (Bundle sheath) อาจมี หรอื ไมม่ ีก็ได้ ซงึ่ หากมีบันเดลิ ชที มักไม่พบครอโรพ ลาสตใ์ นบนั เดลิ ชีท ส่วนโครงสร้างของใบพืช C4 พบว่ามีเซลลม์ โี ซฟลิ ล์อยู่ตดิ กับบนั เดิลชีท มีพลาสโม เดสมาตา (Plastmodesmata) เชอื่ มระหวา่ เซลล์ทงั สองชนิด นอกจากนยี ังพบครอโรพลาสต์ในเซลล์มีโซ ฟิลล์และบันเดิลชีทอย่างชัดเจน” 4. จากนันใหน้ กั เรียนแบง่ กล่มุ เดมิ เพอ่ื สืบค้น จากแหล่งการเรยี นรู้ตา่ ง ๆ เช่น อินเทอรเ์ น็ต หอ้ งสมดุ หรอื หนังสือเรยี นชวี วิทยา ม.5 เล่ม 1 เกย่ี วกบั เรอื่ ง กลไกการตรึงแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ ของพชื ตามชนิดของพืชทไ่ี ด้รบั มอบหมายแลว้ สรุป ลงในกระดาษ A4 พรอ้ มน้าเสนอในรปู แบบที่ นา่ สนใจ ปัจจัยบางประการท่ีมผี ลตอ่ 1. ใหน้ ักเรยี นสบื คน้ และศึกษาหนงั สือเรียน 1. หนงั สอื เรยี น การสังเคราะห์ด้วยแสง ชวี วิทยา ม.5 เลม่ 1 เกีย่ วกับแสงและความเขม้ ของ ชวี วิทยา ม.5 เล่ม 1 แสงมผี ลอยา่ งไรตอ่ กระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง 2. อนิ เทอรเ์ น็ต ของพชื (สมาร์ทโฟน) 3. ใบงานท่ี 4.5 เร่ือง ปัจจยั บาง

การประเมนิ กิจกรรม ทรัพยากร/สอื่ ๑๙๗ เวลา 2. ให้นกั เรยี นแบ่งกลุม่ กลุ่มละ 4 คน เพ่อื ท้า ประการทม่ี ีผลตอ่ การ กิจกรรม เร่ือง ความเขม้ ของแสง โดยใหส้ มาชกิ สงั เคราะหด์ ว้ ยแสง ภายในกลมุ่ แบง่ บทบาทและหนา้ ทีก่ ัน ดงั นี 4. PowerPoint - สมาชิกคนท่ี 1: สบื คน้ ขอ้ มลู จากแหลง่ การ เรียนรู้ตา่ ง ๆ เช่น อนิ เทอรเ์ น็ต หรอื หอ้ งสมุด - สมาชกิ คนที่ 2 และ 3 : วิเคราะหแ์ ละบนั ทกึ ผลการท้ากิจกรรม - สมาชิกคนท่ี 4 : นา้ เสนอผลการท้า กจิ กรรม 3. ในระหวา่ งการท้ากจิ กรรมให้สมาชกิ ภายในกลมุ่ ตัง ค้าถามขันตอนการทดลองทตี่ นเองสงสัย เชน่ เพราะเหตุ ใดจงึ ตอ้ งเตมิ แอลกอฮอล์ และปโิ ตรเลยี มอีเทอร์ แลว้ ให้ สมาชิกรว่ มกนั สืบคน้ จาก แหลง่ ขอ้ มลู เพอื่ ตอบค้าถาม 4. หลงั จากทา้ กิจกรรมแลว้ ใหน้ กั เรยี นศึกษา โครงสรา้ งของเยอ่ื หุ้มไทลาคอยด์ (Thylakoid) ใน หนังสอื เรยี นล่วงหนา้ 5. ให้แต่ละกลุม่ ส่งตวั แทนกลุ่มออกมาน้าเสนอ ผลทไ่ี ด้จากการท้ากิจกรรมหน้าชนั เรยี น 6. นกั เรียนและครรู ว่ มกันอภิปรายผลจากการ ท้ากิจกรรม 7. ครูถามค้าถามทา้ ยกิจกรรม แล้วใหน้ กั เรยี น ตอบค้าถามลงในสมดุ บนั ทึกของตนเอง 8. นักเรยี นและครรู ว่ มกนั เฉลยค้าตอบ โดยมี แนวตอบคา้ ถาม ดังนี 1) ความเขม้ ของแสงมผี ลต่อการสงั เคราะห์ ด้วยแสงของพชื อย่างไร แนวตอบ ความเขม้ ของแสงที่เพิ่มขึน ส่งผลใหอ้ ัตราการสังเคราะห์แสงเพิม่ ขึน 2) ในท่ไี ม่มีแสง อตั ราการตรงึ คารบ์ อนไดออกไซดข์ องพชื ทงั 3 ชนดิ เป็นอย่างไร เพราะเหตใุ ดจงึ เป็นเชน่ นนั แนวตอบ อตั ราการตรงึ คาร์บอนไดออกไซด์สุทธิเป็นลบ เน่ืองจาก