Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง กายวิภาคและสรีรวิทยาของพืช ( Plant Anatomy and Physiology )

หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง กายวิภาคและสรีรวิทยาของพืช ( Plant Anatomy and Physiology )

Published by Guset User, 2021-09-03 05:43:26

Description: รายวิชาชีววิทยาเพิ่มเติม ว32243 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสังคมวิทยา

Search

Read the Text Version

๒๕๘ ปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. .…………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ.......................................... (ผู้สอน) ( นายบญุ รัง จาปา ) วนั ที่................................................ ความคดิ เหน็ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………….........................................………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ.......................................... ( นายสมคิด ก้านกิง่ คา ) วันท่.ี ............................................... ความคิดเห็นรองผ้อู านวยการฝา่ ยวชาิ การ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชือ่ .......................................... ( นานวษิ ณุ อง้ึ ตระกูล ) วนั ที่................................................ หมายเหตุ บันทกึ ผลการเรยี นรู้ เมอื่ จบ 1 หนว่ ยการเรยี นรู้ ซง่ึ นาข้อมูลมาจากแผนการจัดการเรียนรู้ของหนว่ ย การเรียนรู้

๒๔๙ การออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 5 เร่อื ง การควบคุมการเจริญเติบโตและการตอบสนองของพืช เวลา 10 ชวั่ โมง รหสั วิชา ว32243 วิชา ชวี วิทยา 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 ชอ่ื ครผู สู้ อน นายบญุ รงั จาปา 1. เปา้ หมายการเรียนรู้ 1. ความเขา้ ใจที่คงทน การเจริญเติบโตของพืชถูกควบคุมดว้ ยฮอรโ์ มน 2. สาระชวี วทิ ยา สาระท่ี 3 เข้าใจส่วนประกอบของพืช การแลกเปล่ยี นแกส๊ และคายน้าของพชื การลา้ เลยี งของ พชื การสังเคราะห์ด้วยแสง การสบื พนั ธข์ุ องพืชดอกและการเจริญเตบิ โต และการตอบสนองของพืช รวมทงั นา้ ความรู้ไปใช้ประโยชน์ ผลการเรียนรู้ 1. สืบคน้ ข้อมลู อธบิ ายบทบาทและหนา้ ท่ขี องออกซนิ ไซโทไคนิน จิบเบอเรลลิน เอทิลีน และ กรดแอบไซ ซกิ และอภิปรายเกีย่ วกับการนา้ ไปใช้ประโยชน์ทางการเกษตร 2. ทดลอง และอธิบายเก่ียวกับปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการงอกของเมล็ด สภาพพักตัวของเมล็ดและบอก แนวทางในการแก้สภาพพกั ตัวของเมล็ด 3. สืบคน้ ข้อมูล ทดลอง และอภปิ ราย เกย่ี วกบั สิง่ เร้าภายนอกที่มีผลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพชื สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด พืชสร้างสารควบคุมการเจริญเติบโตหลายชนิดท่ีส่วนต่าง ๆ ซ่ึงสารนี้เป็นสิ่งเร้าภายในท่ีมีผลต่อการ เจริญเติบโตของพืช เช่น ออกซนิ ไซโทไคนิน จิบเบอเรลลนิ เอทิลนี และกรดแอบไซซิก เมล็ดที่เจริญเต็มที่จะมีการงอกโดยมีปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการงอกของเมล็ด เช่น น้าหรือความช้ืน ออกซิเจน อุณหภมู ิ และแสง เมลด็ บางชนดิ สามารถงอกได้ทนั ที แตเ่ มล็ดบางชนดิ ไม่สามารถงอกได้ทนั ทเี พราะอยู่ ในสภาพพักตัว เมล็ดบางชนิดมีสภาพพกั ตัวเนื่องจากมีปัจจัย บางประการท่ีมีผลยับย้งั การงอกของเมล็ดซึ่งสภาพ พกั ตัวของเมล็ดสามารถแก้ไขได้หลายวิธตี ามปจั จัยทย่ี ับย้ัง แสงสวา่ ง แรงโนม้ ถ่วงของโลก สารเคมี และน้า เป็นสง่ิ เรา้ ภายนอกทม่ี ผี ลต่อการเจริญเติบโตของพืชความรู้ เกี่ยวกับการตอบสนองต่อส่ิงเร้าภายในและสิ่งเร้าภายนอกที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช สามารถน้ามา ประยกุ ต์ใชค้ วบคมุ การเจรญิ เตบิ โตของพืช เพิ่มผลผลิต และยืดอายผุ ลผลิตได้

๒๕๐ สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง - พชื สร้างสารควบคุมการเจริญเตบิ โตหลายชนิด ทส่ี ว่ นตา่ ง ๆ ซง่ึ สารนีเปน็ ส่งิ เร้าภายในท่มี ีผล ต่อการ เจริญเตบิ โตของพชื เชน่ ออกซิน ไซโทไคนนิ จบิ เบอเรลลนิ เอทิลนี และกรดแอบไซซิก - แสงสว่าง แรงโนม้ ถ่วงของโลก สารเคมแี ละน้า เป็นส่งิ เร้าภายนอกทม่ี ผี ลตอ่ การเจรญิ เติบโต ของพชื - ความรเู้ กี่ยวกับการตอบสนองตอ่ ส่งิ เรา้ ภายใน และสิง่ เร้าภายนอกทมี่ ผี ลตอ่ การเจรญิ เติบโต ของพืช สามารถนา้ มาประยุกตใ์ ชค้ วบคมุ การเจริญเติบโตของพชื เพม่ิ ผลผลิต และยืดอายุ ผลผลติ ได้ สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 1) ทกั ษะการสงั เกต 2) ทกั ษะการส้ารวจคน้ หา 3) ทกั ษะการตังค้าถาม 4) ทกั ษะการตงั สมมติฐาน 5) ทักษะการตรวจสอบสมมติฐาน 6) ทกั ษะการสรปุ ลงความเห็น 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๒. ชนิ้ งาน/ภาระงาน - ใบงานที่ 5.1 เรอื่ ง ฮอร์โมนพืช - ใบงานที่ 5.2 เรอ่ื ง ปจั จัยทีม่ ีผลตอ่ การงอกของเมล็ด - ใบงานที่ 5.3 เรื่อง การตอบสนองของพืชในลกั ษณะการเคลอื่ นไหว - ใบงานท่ี 5.4 เร่อื ง การตอบสนองต่อภาวะเคลยี ด การวดั และการประเมนิ ผล การวดั และประเมินกอ่ นการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ - แบบทดสอบกอ่ นเรยี น เร่ือง ฮอร์โมนพืช - แบบทดสอบกอ่ นเรียน เรื่อง ปจั จยั ที่มีผลตอ่ การงอกของเมลด็ - แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง การตอบสนองของพืชในลกั ษณะการเคล่ือนไหว - แบบทดสอบกอ่ นเรียน เรื่อง การตอบสนองต่อภาวะเคลยี ด การวดั และประเมินระหว่างการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ - ชุดค้าถาม เร่อื ง ฮอรโ์ มนพืช - ชดุ ค้าถาม เรอ่ื ง ปัจจยั ท่ีมีผลต่อการงอกของเมล็ด - ชุดคา้ ถาม เรื่อง การตอบสนองของพชื ในลักษณะการเคลอื่ นไหว - ชุดค้าถาม เรอ่ื ง การตอบสนองต่อภาวะเคลยี ด

๒๕๑ การวดั และประเมินหลังการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ - ใบงานที่ 5.1 เรือ่ ง ฮอรโ์ มนพืช - ใบงานที่ 5.2 เรอ่ื ง ปจั จัยท่มี ีผลตอ่ การงอกของเมลด็ - ใบงานท่ี 5.3 เร่ือง การตอบสนองของพืชในลกั ษณะการเคลือ่ นไหว - ใบงานที่ 5.4 เรื่อง การตอบสนองตอ่ ภาวะเคลียด การออกแบบการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรู้ เรอ่ื ง การควบคมุ การเจรญิ เตบิ โตและการตอบสนองของพืช เป้าหมายการ เลอื กคาตอบที่ ตอบคาถามสั้น การเขียนแบบ ประเมนิ จดั ข้นึ ประเมนิ ตาม การสังเกต เรียนรู้ ถกู ตอ้ ง ๆ อัตนัย ภายในโรงเรียน สภาพจริง (ประเมนิ ตลอด Constructed Essay contextual วธิ ีการ Selected Response School หน่วย) ประเมิน Response แบบทดสอบอตั นัย Product / สงั เกตจากการทา้ on-going ความเข้าใจท่ี ตอบคา้ ถามส้ัน ๆ Performance ปฏบิ ตั ิการ Tools คงทน ทดสอบความรู้ เกีย่ วกบั ความรู้ - เรอื่ ง ฮอร์โมน การเจริญเติบโต เก่ยี วกับ ความรู้ เรื่อง การควบคมุ พืช แสดงผลงานที่เกดิ - เรือ่ ง ฮอร์โมน สังเกตพฤติกรรม ของพืชถูก เรือ่ ง การ การเจริญเติบโต - เรอ่ื ง ปัจจยั ท่มี ี จากการเรยี นรู้ใน พืช การเรียนรู้การ ควบคุมดว้ ย ควบคุมการ และการตอบสนอง ผลตอ่ การงอก สัปดาห์ - เรือ่ ง ปจั จัยที่มี ตอบคา้ ถามและ ฮอร์โมน เจริญเตบิ โตและ ของพืช ของเมล็ด วิทยาศาสตร์ ผลต่อการงอก การท้าปฏิบัตกิ าร การตอบสนอง - เรอื่ ง การ ของเมล็ด ของพชื (ทดสอบ ตอบสนองของ - เรื่อง การ กอ่ นและหลงั ) พชื ในลกั ษณะ ตอบสนองของ การเคล่อื นไหว พชื ในลกั ษณะ - เรอ่ื ง การ การเคลอื่ นไหว ตอบสนองตอ่ - เร่ือง การ ภาวะเคลยี ด ตอบสนองตอ่ ภาวะเคลียด

๒๕๒ เปา้ หมายการ เลือกคาตอบท่ี ตอบคาถามสัน้ การเขยี นแบบ ประเมินจดั ขน้ึ ประเมินตาม การสังเกต เรียนรู้ ถูกต้อง ๆ อัตนัย ภายในโรงเรียน สภาพจริง (ประเมินตลอด Constructed Essay contextual วิธีการ Selected Response School หนว่ ย) ประเมนิ - สรุปผล Product / on-going สมรรถนะ Response ตอบค้าถามตอบโต้ การศกึ ษาใน Performance Tools สาคญั กับครูผสู้ อน ปฏิบัติการต่างๆ 1.ความสามารถ ระหว่างเรียน - นา้ เสนอผลงาน - ผูป้ กครอง/ครู ในการสื่อสาร เกิดจากการเรียนรู้ สังเกตพฤตกิ รรม 2.ความสามารถ ในสัปดาห์ การปฏบิ ัตงิ าน ในการคิด วทิ ยาศาสตร์ ทักษะการใชก้ ลอ้ ง จุลทรรศน์ และ 2.1 ทกั ษะ การถ่ายภาพได้ การสังเกต กลอ้ ง 2.2 ทกั ษะ การสา้ รวจ คน้ หา 2.3 ทักษะ การตงั ค้าถาม 2.4 ทกั ษะ การ ตังสมมตฐิ าน 2.5 ทกั ษะ การตรวจสอบ สมมตฐิ าน 2.6 ทกั ษะ การสรปุ ลง ความเหน็ 3.ความสามารถ ในการใช้ทักษะ ชวี ติ คณุ ลักษณะ อันพงึ ประสงค์

๒๕๓ เปา้ หมายการ เลอื กคาตอบที่ ตอบคาถามส้ัน การเขยี นแบบ ประเมนิ จัดขึ้น ประเมินตาม การสงั เกต เรียนรู้ ถกู ตอ้ ง ๆ อัตนยั ภายในโรงเรียน สภาพจริง (ประเมนิ ตลอด Constructed Essay contextual วิธกี าร Selected School หนว่ ย) ประเมนิ Response on-going คณุ ลักษณะอนั Response Product / Tools พงึ ประสงค์ Performance 1) ซ่อื สัตย์ สงั เกต สุจริต พฤตกิ รรมการ 2) มีวนิ ัย ท้างานส่วนตวั 3) ใฝเ่ รยี นรู้ และพฤตกิ รรม 4) มุ่งมน่ั ในการ การปฏิบัติงาน ท้างาน กลุ่ม ดา้ นทกั ษะ ตอบค้าถาม - ตรวจผลงาน 1. ผู้เรยี น เกยี่ วกบั ความรู้ - สังเกตความ สามารถสามารถ ประยุกต์ใช้ เรือ่ งฮอร์โมนพชื ตงั ใจและความ สารเคมีที่มี ได้ รบั ผิดชอบใน โครงสรา้ งคล้าย ฮอร์โมนพืชกบั การปฏิบตั ิ พืช เพือ่ กิจกรรม ประโยชน์ทาง การเกษตรได้ 2. ผูเ้ รยี น ตอบค้าถาม - ตรวจผลงาน สามารถบอก เกี่ยวกบั ความรู้ - สังเกตความ แนวทางในการ แกส้ ภาพพกั ตวั เรอ่ื ง การงอก ตังใจและความ ของเมลด็ ได้ ของเมลด็ ได้ รบั ผดิ ชอบใน การปฏบิ ตั ิ กิจกรรม

๒๕๔ เป้าหมายการ เลือกคาตอบท่ี ตอบคาถามสัน้ การเขียนแบบ ประเมนิ จัดข้ึน ประเมนิ ตาม การสงั เกต เรียนรู้ ถูกตอ้ ง ๆ อตั นยั ภายในโรงเรียน สภาพจริง (ประเมินตลอด Constructed Essay contextual วิธีการ Selected Response School หน่วย) ประเมิน on-going 3. ผเู้ รียน Response ตอบคา้ ถาม Product / Tools สามารถ เกีย่ วกบั ความรู้ Performance เปรยี บเทียบผล เรอ่ื ง การ - ตรวจผลงาน การทดลอง ตอบสนองของ - สงั เกตความ กระบวนการ พชื ในลักษณะ ตงั ใจและความ สังเคราะหด์ ้วย การเคลอื่ นไหว รับผิดชอบใน แสงของ เพอ่ื ตอบสนอง การปฏิบัติ นกั วิทยาศาสตร์ ต่อแสง กิจกรรม ในอดตี ได้ 4.ผ้เู รยี น ตอบค้าถาม - ตรวจผลงาน เกย่ี วกบั ความรู้ สามารถสรปุ เรอ่ื ง การ - สังเกตความ เกีย่ วกับการ ตงั ใจและความ ตอบสนองของ ตอบสนองตอ่ รบั ผิดชอบใน พชื ในภาวะ ภาวะเคลยี ด การปฏิบตั ิ เครยี ดที่เกิดจาก กจิ กรรม ส่งิ เรา้ ทางกายภาพ และส่ิงเรา้ ทาง ชวี ภาพ

๒๕๕ เปา้ หมายการ เลอื กคาตอบท่ี ตอบคาถามสั้น การเขียนแบบ ประเมินจัดขึน้ ประเมนิ ตาม การสงั เกต เรียนรู้ ถูกต้อง ๆ อตั นัย ภายในโรงเรียน สภาพจริง (ประเมินตลอด Constructed Essay contextual วธิ ีการ Selected School หน่วย) ประเมนิ Response ชิ้นงาน Response Product / on-going Performance Tools - ใบงานท่ี 5.1 เรือ่ ง ฮอรโ์ มน พืช - ใบงานท่ี 5.2 เรอ่ื ง ปัจจัยทมี่ ี ผลตอ่ การงอก ของเมลด็ - ใบงานท่ี 5.3 เรื่อง การ ตอบสนองของ พชื ในลักษณะ การเคลอ่ื นไหว - ใบงานที่ 5.4 เรือ่ ง การ ตอบสนองตอ่ ภาวะเคลียด

๒๕๖ จดั ทาเกณฑก์ ารประเมนิ ตามผังการประเมนิ ระดับคุณภาพ 1 ประเดน็ การประเมนิ 2 ท้าข้อสอบได้ 1-4 ข้อ 3 ท้าข้อสอบได้ 5-7 ขอ้ 1. การทดสอบ แบบเลอื กตอบ ทา้ ข้อสอบได้ 8-10 ขอ้ ไมต่ อบคา้ ถาม ตอบค้าถามไดบ้ างครังที่ครูถาม 2. การตอบค้าถามสนั ๆ ตอบค้าถามไดท้ ุกครงั ที่ครูถาม 3. การเขียนแบบอัตนัย เนือหาตรงประเด็นชัดเจน เนือหาถูกตอ้ งตรงประเดน็ เนือหาไม่ถกู ต้อง บางส่วน -เนื้อหาถูไม่ถกู ตอ้ ง 1. ใบงานที่ 2.1 เรอ่ื ง เนอื เยื่อ -เน้อื หาถกู ตอ้ งตรงประเด็น -เนื้อหาถูกตอ้ งบางสว่ น -รายละเอยี ดไม่เปน็ ไปตาม ขัน้ ตอน พชื -มีรายละเอยี ดข้นั ตอนครบถ้วน -มรี ายละเอยี ดขนั้ ตอนเป็น - ไม่เปน็ ระเบยี บ - ประโยชนท์ ไ่ี ด้รับไมช่ ัดเจน 2. ใบงานท่ี 2.2 เรือ่ ง - มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย บางส่วน โครงสรา้ งและการเจริญเติบโต - มีประโยชน์ต่อตนเองและ - มีความเป็นระเบยี บเรียบรอ้ ย ของราก (ภาพถา่ ยไต้กลอ้ ง สว่ นรวม บางสว่ น จุลทรรศน์) - มปี ระโยชนต์ อ่ ตนเอง 2. ใบงานที่ 2.3 เรื่อง โครงสรา้ งและการเจริญเตบิ โต ของลา้ ต้น (ภาพถา่ ยไต้กล้อง จุลทรรศน์) 3. ใบงานที่ 2.4 เร่อื ง โครงสรา้ งและการเจริญเติบโต ของใบ (ภาพถา่ ยไต้กลอ้ ง จุลทรรศน์) 4. ใบงานท่ี 2.5 เรื่อง ลักษณะ ทางพฤกษศาสตรข์ องพืชดอก เกณฑก์ ารตัดสิน/ระดับคุณภาพ เกณฑ์การผ่านตงั แตร่ ะดบั ๒ ขึนไป

๒๕๗ ประเดน็ การประเมินผลคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ประเด็นการประเมิน ระดบั คุณภาพ 3 2 1 1. มวี นิ ัย ปฏบิ ัติตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ปฏบิ ัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ไม่ปฏบิ ัตติ นตามข้อตกลง ระเบียบ ข้อตกลง ของ ระเบียบ ขอ้ บงั คับ ของ กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คบั ครอบครวั โรงเรียน และสงั คม ครอบครัวและโรงเรียน ตรงต่อ ของครอบครัวและโรงเรียน ไม่ละเมดิ สทิ ธิของผูอ้ น่ื ตรง เวลาในการปฏิบตั กิ ิจกรรมต่าง ๆ ตอ่ เวลา ในชีวิตประจ้าวัน และรับผิดชอบ ในการ ปฏิบตั ิกจิ กรรมต่าง ๆ ในการทา้ งานเป็นบางคร้งั ในชวี ติ ประจ้าวนั และ รับผดิ ชอบในการทา้ งานปฏิบัติ เปน็ ปกตวิ ิสยั และเป็น แบบอย่างท่ีดี 2. ใฝ่เรยี นรู้ ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากหนงั สือ ศกึ ษาคน้ คว้าความรู้จากหนังสอื ไม่ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ เอกสาร สงิ่ พมิ พ์ สื่อเทคโนโลยี เอกสาร ส่ิงพิมพ์ สื่เทคโนโลยี และสารสนเทศ แหล่งเรียนรทู้ งั แหล่งเรยี นรู้ ทงั ภายในและ ภายในและภายนอกโรงเรยี น ภายนอกโรงเรียน เลือกใชส้ อ่ื ได้ เลอื กใช้สือ่ ไดอ้ ย่างเหมาะสม มี อยา่ งเหมาะสม และ การบนั ทกึ ความรู้ วเิ คราะห์ มีการบันทกึ ความรู้ ข้อมลู สรุปเปน็ องคค์ วามรู้ และ แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ ดว้ ยวธิ กี ารท่ี หลากหลาย และนา้ ไปใช้ใน ชวี ิตประจ้าวันได้ 3.มุง่ มนั่ ในการทางาน ตงั ใจและรบั ผิดชอบในการ ตงั ใจและรับผดิ ชอบในการ ไม่ตังใจปฏบิ ัติหน้าทก่ี ารงาน ปฏิบตั ิหน้าที่ทไี่ ด้รับมอบหมาย ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีท่ีได้รับมอบหมาย ใหส้ า้ เร็จ มีการปรบั ปรงุ การ ท้างานใหด้ ขี ึน ใหส้ ้าเร็จ มีการ ปรับปรุงและพัฒนาการท้างาน ใหด้ ขี นึ ด้วยตนเอง 4. มจี ติ สาธารณะ - ช่วยพ่อแม่ ผูป้ กครองและครู -ชว่ ยพอ่ แม่ ผ้ปู กครอง และ -ไมช่ ว่ ยเหลือพ่อแม่ ทา้ งาน อาสาท้างาน ช่วยคิด ครทู า้ งานอาสาท้างาน และ ผูป้ กครอง และครู ช่วยท้า แบ่งปนั สง่ิ ของ และ แบ่งปันสง่ิ ของให้ผู้อื่นด้วยความ -ไม่สนใจดูแลรักษา เตม็ ใจ

๒๕๘ ประเดน็ การประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ 2 3 1 - ดแู ล รกั ษาทรัพย์สมบัติ ช่วยแกป้ ญั หาให้ผ้อู ื่นด้วยความ ทรัพย์สมบตั ิและ เตม็ ใจ ส่งิ แวดล้อมของห้องเรยี น ส่ิงแวดล้อมของโรงเรียน -ดูแล รกั ษาทรัพยส์ มบัติ โรงเรียน และเขา้ ร่วมกจิ กรรม ส่ิงแวดล้อมของห้องเรียน โรงเรียน ชมุ ชน และเขา้ ร่วม เพือ่ สังคมและ กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและ สาธารณประโยชน์ของโรงเรยี น สาธารณประโยชนข์ องโรงเรียน และชุมชนดว้ ย ความเตม็ ใจ ด้วยความเตม็ ใจ เกณฑ์การตดั สนิ /ระดบั คณุ ภาพ เกณฑก์ ารผา่ นตงั แต่ระดบั ๒ ขนึ ไป ประเด็นการประเมนิ สมรรถนะท่สี าคัญ ถงึ ตรงนี้ ระดับคุณภาพ 1 ประเด็นการประเมิน 2 -น้าเสนอไม่ตามล้าดับขันตอน 3 น้าเสนอตามลา้ ดับขันตอนแตไ่ ม่ 1. ความสามารถในการส่อื สาร -นา้ เสนอตามล้าดับขันตอน -ใช้ภาษาสอื่ ความหมายไมช่ ัดเจน น่าสนใจ นา่ สนใจ -ใชภ้ าษาส่อื ความหมายเขา้ ใจชัด -ใชภ้ าษาสือ่ ความหมายไดเ้ ข้าใจ เจดยงั ไมช่ ัดเจน ชัดเจน 2.ความสามารถในการคิด -เขยี นสรปุ แผนภาพความคิด -เขียนสรุป แผนภาพความคิด -เขยี นสรุป แผนภาพความคิด วิเคราะห์ ความรเู้ รือ่ ง เทคโนโลยี และ ความรเู้ รื่อง เทคโนโลยี และ ความรู้เรอื่ ง เทคโนโลยี และ กระบวนการทางเทคโนโลยี ได้ กระบวนการทางเทคโนโลยี ได้ กระบวนการทางเทคโนโลยี ยัง 3. ความสามารถในการใช้ทักษะ ถูกต้องครบทุกองค์ประกอบและ ถูกตอ้ ง ไมค่ รบองคป์ ระกอบ ชวี ติ สวยงาม - มีทักษะในการเลือกใช้ - มีทักษะในการเลอื กใช้ - ไมม่ ีทกั ษะในการเลือกใช้ เทคโนโลยไี ด้อยา่ งปลอดภัย เทคโนโลยี เทคโนโลยี - นา้ กระบวนการทางเทคโนโลยี - นา้ กระบวนการทางเทคโนโลยี - ไมไ่ ดน้ ้ากระบวนการทาง มาใช้ในการวางแผนปฏิบัตงิ าน มาใชใ้ นการวางแผนปฏบิ ตั ิงาน เทคโนโลยีมาใชใ้ นการวางแผน เป็นประจ้า ปฏิบัติงาน 4. ความสามารถในการใช้ -มคี วามรทู้ ักษะพืนฐานในการใช้ -มคี วามรู้พืนฐานในการใช้ -ไม่มคี วามรูพ้ ืนฐานในการใช้ เทคโนโลยี คอมพวิ เตอร์และขาดทักษะ คอมพวิ เตอร์ คอมพวิ เตอรแ์ ต่ขาดทักษะ

๒๕๙ ประเดน็ การประเมนิ ระดับคุณภาพ 321 - นา้ เสนอผลงานโดยใช้ - น้าเสนอผลงานโดยใช้ - น้าเสนอผลงานโดยใช้ คอมพวิ เตอร์ไดด้ ี คอมพวิ เตอรไ์ ด้ คอมพวิ เตอรไ์ ม่ได้ - ใชค้ อมพิวเตอรเ์ ป็นแหล่งเรยี นรู้ - ใช้คอมพวิ เตอร์เป็นแหลง่ เรียนรู้ - ใชค้ อมพิวเตอรเ์ ป็นแหลง่ เรียนรู้ ไดด้ ที กุ ครัง ได้ ไมไ่ ด้ เกณฑก์ ารตัดสิน/ระดบั คณุ ภาพ เกณฑ์การผ่านตังแต่ระดบั ๒ ขนึ ไป ประเด็นการประเมิน พฤติกรรมกระบวนการทางานกลุ่ม ประเดน็ การประเมิน ระดับคุณภาพ 321 กระบวนการทา้ งานกลุม่ มีการแบง่ หน้าที่ ความรบั ผดิ ชอบ มีการแบ่งหน้าท่ี ความรับผิดชอบ มกี ารแบง่ หนา้ ที่ ความ ชัดเจน รว่ มคดิ รว่ มวางแผน ชดั เจน ร่วมคิด ร่วมวางแผน รบั ผดิ ชอบไมช่ ดั เจน รว่ มคิด ร่วม ร่วมมือทา้ งาน ช่วยเหลือเออื รว่ มมอื ทา้ งาน ชว่ ยเหลือเออื วางแผน รว่ มมือท้างาน อาทรในการท้างาน รบั ผิดชอบ อาทรในการทา้ งาน รบั ผิดชอบ ช่วยเหลือเออื อาทรในการท้างาน ตรงต่อเวลา รบั ฟังความคดิ เหน็ ตรงตอ่ เวลา ขาดความรบั ผดิ ชอบและไม่ตรง ซง่ึ กันและกนั และร่วมภูมิใจใน ต่อเวลา ผลงาน เกณฑก์ ารตัดสิน/ระดับคุณภาพ เกณฑ์การผา่ นตังแตร่ ะดับ ๒ ขนึ ไป

๒๖๐ การออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้ ช่ือหนว่ ยการเรียนรู้ เรือ่ ง การควบคมุ การเจริญเตบิ โตและการตอบสนองของพชื เวลา 10 ชวั่ โมง กจิ กรรมการเรียนรู้ กจิ กรรมนาสู่การเรียน 1. นกั เรียนคิดวา่ พชื ตน้ ใดเอนเขา้ หาแสงบ้าง เพราะเหตุใด แนวตอบ พชื ตน้ ท่ี 1 4 และ 5 เน่อื งจากบรเิ วณปลายยอดพชื สามารถผลติ ออกซนิ ได้ 2. นักเรยี นคดิ ว่า พืชต้นใดไมเ่ อนเข้าหาแสงบ้าง เพราะเหตุใด แนวตอบ พืชต้นท่ี 2 และ 3 เน่อื งจากบริเวณปลายยอดพชื ไม่สามารถผลติ ออกซินได้ 3. นักเรยี นคดิ ว่าภาพการทดลองของชาลส์ ดารว์ นิ และฟรานซิส ดาร์วนิ สอดคล้องกบั กจิ กรรม เร่อื ง การตอบสนองตอ่ แสงของปลายโคลีออพไทล์ (coleoptile) ของพืช หรือไม่ อยา่ งไร แนวตอบ สอดคลอ้ งกนั ซง่ึ สารเคมที อ่ี ย่บู รเิ วณปลายโคลอี อพไทล์จะตอบสนองต่อแสงทา้ ให้สว่ นยอด โคง้ เขา้ หาแสง หากพชื ไมม่ ปี ลายยอด หรอื บรเิ วณปลายยอดไมไ่ ด้รับแสง ปลายยอดของพชื จะไมโ่ ค้งงอเข้าหาแสง ระหว่างขอ้ (Node) ท้าใหต้ ้นไผ่มลี ้าต้นสงู สว่ นต้นมะม่วงเป็นพืชใบเลียงคู่มกั พบเนือเยอื่ เจรญิ ดา้ นขา้ ง (Lateral meristematic) แตไ่ มพ่ บในพชื ใบเลียงเดี่ยว ซ่งึ เนอื เยื่อเจริญดา้ นขา้ ง หรอื แคมเบยี ม (Cambium) จะท้าให้ลา้ ตน้ ขยายขนาดกวา้ งขึน ดังนัน ต้นไผจ่ งึ มลี ้าต้นท่ีผอมสูงกว่าตน้ มะมว่ ง 4. ครกู ระตุ้นความสนใจของนักเรียน โดยนา้ เกมมาใหน้ ักเรียนมีส่วนร่วมในชนั เรยี นโดยครนู า้ ภาพเมล็ด พืชชนิดต่าง ๆ มาให้นกั เรียนทายว่าเป็นเมลด็ พชื ชนดิ ใด ดังรปู ภาพ เมล็ดตน้ ดาวเรือง เมล็ดถ่ัวเหลือง เมล็ดกาแฟ เมล็ดทับทมิ

๒๖๑ 5. ว่าพืชมีการตอบสนองตอ่ ส่งิ เร้าจากสภาพแวดล้อมภายนอกอย่างไร แนวตอบ เมื่อพืชได้รับสัญญาณจากสิ่งเร้าจากภายนอกทีม่ ากระตุน้ พืชจะส่งสญั ญาดว้ ยการผลิตสารเคมี ที่เรียกว่า ฮอร์โมนพืช ล้าเลียงไปท่ัวร่างกายของพชื ท้าให้เซลล์มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้น ส่งผลให้พืช เกดิ การเปลยี่ นแปลงทางสรีรวิทยา เพอื่ ความอยรู่ อดในสภาพแวดล้อม 6. ครูนา้ ภาพการตอบสนองของพชื ตอ่ ส่ิงแวดลอ้ มมาใหน้ ักเรยี นรว่ มกนั ทายวา่ เป็นการตอบสนองของ พชื ต่อสิ่งใด ตัวอยา่ งภาพ แนวตอบ เปน็ การตอบสนองตอ่ แสง 7. หลงั จากนันครูทบทวนความรู้เดิมของนักเรียนว่าบริเวณปลายยอดพืชจะโค้งหาแสงเน่อื งจากมีฮอร์โมน ชนิดใดเป็นตวั กระตุ้น แนวตอบ ออกซิน (Auxin) 8. ครูใช้คา้ ถามกระตนุ้ ความสนใจของนักเรยี นวา่ นกั เรียนเคยปลูกพืชแลว้ ลืมรดน้า หรือไม่ และตน้ พชื นนั มีลักษณะแตกต่างจากต้นพืชทรี่ ดน้า อย่างไร นอกจากนีครูอาจใช้รูป 12.17 การม้วนของใบข้าวที่ตอบสนองตอ่ การขาดน้า โดยใหน้ ักเรียนสบื ค้นข้อมลู และร่วมกนั อภปิ ราย โดยมีคา้ ถามดงั นี 1) ใบขา้ วอยูใ่ นภาวะสมดลุ โดยมกี ารเจริญเติบโตและการด้ารงชีวติ เปน็ ปกติหรือไม่ 2) ใบข้าวมกี ารตอบสนองตอ่ ปจั จยั ภายนอกอย่างไร 9. จากการสบื คน้ ขอ้ มูลและอภิปรายร่วมกัน นกั เรยี นควรสรุปได้วา่ ใบข้าวไม่อยู่ในภาวะสมดุลเน่อื งจากมีการเจริญเติบโตผิดปกติใบข้าวเห่ียว ส่งผลกระทบต่อการด้ารงชวี ิต แสดงวา่ อย่ใู นภาวะเครยี ดเพราะไดร้ ับนา้ นอ้ ยเกินไป กจิ กรรมพฒั นา เร่ือง ฮอร์โมนพชื 1. ให้นกั เรียนแบ่งกล่มุ กลุ่มละ 5-6 คน จากนันใหแ้ ตล่ ะกลุ่มส่งตัวแทนกลุม่ ออกมาจบั สลาก หมายเลข ซึง่ แตล่ ะหมายเลขให้ศกึ ษาฮอร์โมนพชื ต่อไปนี - หมายเลข 1 ศึกษาออกซิน - หมายเลข 2 ศึกษาไซโทไคนิน - หมายเลข 3 ศกึ ษาจิบเบอเรลลนิ - หมายเลข 4 ศกึ ษาเอทลิ นี - หมายเลข 5 ศึกษากรดแอบไซซิก

๒๖๒ 2. หลงั จากนันครใู หน้ ักเรยี นแบ่งกลมุ่ กล่มุ ละ 5 คน โดยสมาชิกตอ้ งมาจากกลุ่มเดมิ ทีอ่ ย่กู ล่มุ หมายเลข 1 2 3 4 และ 5 3. ให้สมาชิกภายในกลมุ่ แลกเปลยี่ นความร้เู กี่ยวกับฮอร์โมนพชื ต่าง ๆ 4. ครแู จกใบงาน เร่อื ง ฮอรโ์ มนพืช แลว้ ให้นกั เรียนแตล่ ะกลุม่ ลงมอื ท้าใบงาน เรีอ่ ง ปจั จัยทมี่ ผี ลต่อการงอกของเมลด็ 1. ครูนา้ ภาพเดมิ ท่ีใช้กระตุน้ นักเรยี นในตอนตน้ ชวั่ โมงมาถามคา้ ถามนักเรียนวา่ นกั เรียนทราบ หรือไม่วา่ เมลด็ พืชแต่ละชนิดมลี กั ษณะการงอกทีแ่ ตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร แนวตอบ บางชนดิ มลี กั ษณะการงอกทีเ่ หมือนกัน เช่น ถ่ัวเขียว ถั่วเหลอื ง แตบ่ างชนดิ มีลักษณะ การงอกทีแ่ ตกตา่ งกนั เชน่ การงอกของเมล็ดขา้ วโพดแตกตา่ งกับเมล็ดถว่ั เขยี ว 2. ให้นักเรียนเขียนคา้ ตอบลงในสมดุ บันทกึ ของตนเอง หลงั จากจบการเรยี นการสอนครูและ นักเรยี น ร่วมกนั เฉลยคา้ ตอบที่ถกู ตอ้ ง 3. ครูใหน้ กั เรียนแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ 3-4 คน เลือกพชื มา 1 ชนิด ตามทีน่ ักเรียนสนใจ จากนนั ให้ นักเรียนสบื ค้นและศกึ ษาวา่ พชื ชนิดนนั มลี กั ษณะการงอกอย่างไร เรีอ่ ง การตอบสนองของพชื ในลกั ษณะการเคลอ่ื นไหว 1. ครูเกริน่ นา้ ต่อไปวา่ การโคง้ งอของปลายยอดพชื แสดงให้เห็นว่าพชื มกี ารตอบสนองต่อสงิ่ เรา้ ที่มากระตุน้ และการโคง้ งอหรอื การแสดงออกของพชื เกดิ ขึนไดเ้ นอ่ื งจากภายในเซลลม์ กี ระบวนการ สอ่ื สารระหว่างเซลล์ซงึ่ นักเรียนจะไดเ้ รยี นในหวั ขอ้ ตอ่ ไปนี 2. ครูถามค้าถามโดยมีคา้ ถามดงั นี 1) กระบวนการสื่อสารระหวา่ งเซลลป์ ระกอบด้วยขันตอนใดบา้ ง แต่ละขนั ตอนเปน็ อยา่ งไร แลว้ ให้นักเรยี นสบื ค้นข้อมูลจากแหล่งการเรยี นรู้ เช่น หนังสือเรียนชีววทิ ยา ม.5 เลม่ 1 สอื่ อินเทอร์เน็ต จากนนั ให้นกั เรียนบันทกึ ข้อมลู ลงในสมุดบันทึกของตนเอง 3. ใหน้ กั เรียนจับคู่แลกเปลี่ยนขอ้ มูลท่ไี ด้จากการสืบคน้ กบั คู่ของตนเอง 4. ครสู มุ่ ตวั แทนคู่อธบิ ายกระบวนการสือ่ สารระหวา่ งเซลล์ให้เพอ่ื นในห้องฟัง 5. นกั เรียนและครูร่วมกนั อภปิ รายวา่ “การตอบสนองของพชื ตอ่ ส่ิงเรา้ จากสภาพแวดล้อมภายนอกมีความเกยี่ วข้องกบั กระบวนการสื่อสารระหว่างเซลล์ ตัวอย่างเชน่ การปดิ ปากใบของพชื ในกรณที ่ีพืชอย่ใู นสภาวะเครยี ด เชน่ พชื ไดร้ บั สัญญาณว่าปรมิ าณนา้ ในดนิ ไมเ่ พยี งพอ ภายในเซลลพ์ ชื จะมีการส่งสัญญาณหรอื ฮอร์โมนพชื ใน ทีน่ ี คือ กรดแอบไซซิกไปทั่วรา่ งกายพืช หลังจากนันพืชจะตอบสนองตอ่ ส่ิงเร้าที่มากระตุ้นดว้ ยการปิดปาก ใบพืช” 6. ครสู มุ่ ตัวแทนคอู่ ีกหนึง่ คใู่ หย้ กตวั อย่างเหตกุ ารณ์อื่นนอกเหนือจากการปิดปากใบพืช

๒๖๓ แนวตอบ พจิ ารณาค้าตอบของนักเรยี น ตวั อยา่ งคา้ ตอบ เชน่ การโค้งงอเขา้ หาแสงโดยมีออกซิน (Auxin) เปน็ สญั ญาณและแสงเปน็ ส่ิงเร้า การชอนไขของราก (Root) โดยมีฮอรโ์ มนไซโทไคนนิ (Cytokinin) ชว่ ยทา้ ใหร้ ากยืดยาวขนึ และมนี ้าและธาตุอาหารเปน็ สิง่ เรา้ เร่ีอง การตอบสนองต่อภาวะเคลยี ด 1. ครใู ห้นกั เรยี นสบื คน้ ข้อมูลเกีย่ วกบั ภาวะเครียดจากสง่ิ เรา้ ทางกายภาพอื่น ๆ นอกเหนือจากน้า และถามนักเรยี นตอ่ ไปอกี ว่า นอกจากน้าแลว้ นักเรยี นคิดวา่ มีสง่ิ เรา้ ทางกายภาพใดอีกบา้ งทส่ี ง่ ผลให้พืช ตอบสนองตอ่ ภาวะเครียด แนวคาตอบ มสี งิ่ เร้าทางกายภาพอนื่ อีก เชน่ อุณหภมู ซิ ่ึงในกรณีทีพ่ ืชไดร้ บั อุณหภมู สิ ูงพชื สามารถตอบสนองโดยการคายน้าเพอื่ รกั ษาอณุ หภมู ิของใบไมใ่ ห้สงู มากขนึ และยังช่วยรักษาสภาพการทา้ งานของเซลล์ใหเ้ ป็นปกตกิ รณีทีพ่ ชื ไดร้ ับอุณหภมู ิสงู มากเกินไป พชื อาจปดิ ปากใบเพอ่ื ลดการคายน้า กรณี ที่พชื ไดร้ ับอุณหภมู ติ า้่ มากเกนิ ไปพชื จะสรา้ งโครงสรา้ งของเยอ่ื หมุ้ เซลล์ให้มสี ดั ส่วนของกรดไขมนั ไมอ่ มิ่ ตวั มากขนึ เพอื่ ท้า ให้เย่ือหมุ้ เซลลย์ งั คงมีสมบัติในการเปน็ ของไหล กิจกรรมรวบยอด (ช้ินงาน/ภาระงานของผ้เู รยี น) - ใบงานท่ี 5.1 เรื่อง ฮอร์โมนพืช - ใบงานที่ 5.2 เรือ่ ง ปจั จัยทมี่ ีผลต่อการงอกของเมล็ด - ใบงานที่ 5.3 เรอ่ื ง การตอบสนองของพชื ในลกั ษณะการเคลอื่ นไหว - ใบงานท่ี 5.4 เรอื่ ง การตอบสนองต่อภาวะเคลียด

การประเมิน กิจกรรม ทรัพยากร/สอ่ื ๒๖๔ ฮอร์โมนพชื 1. ให้นักเรยี นแบง่ กล่มุ กลุ่มละ 5-6 คน 1. หนังสอื เรียน เวลา 3 ชวั่ โมง จากนันใหแ้ ตล่ ะกลุม่ สง่ ตัวแทนกลมุ่ ออกมาจับสลาก ชวี วิทยา ม.5 เล่ม 1 หมายเลข ซึ่งแต่ละหมายเลขให้ศึกษาฮอรโ์ มนพชื 2. อนิ เทอร์เนต็ ตอ่ ไปนี (สมาร์ทโฟน) - หมายเลข 1 ศึกษาออกซนิ ใบงานที่ 5.1 - หมายเลข 2 ศกึ ษาไซโทไคนนิ ฮอร์โมนพชื - หมายเลข 3 ศึกษาจิบเบอเรลลนิ - หมายเลข 4 ศกึ ษาเอทิลีน - หมายเลข 5 ศึกษากรดแอบไซซิก 2. หลังจากนันครูใหน้ ักเรยี นแบ่งกลมุ่ กลุ่มละ 5 คน โดยสมาชิกต้องมาจากกลมุ่ เดมิ ที่อยูก่ ลุม่ หมายเลข 1 2 3 4 และ 5 3. ให้สมาชกิ ภายในกล่มุ แลกเปล่ียนความร้เู กีย่ วกบั ฮอรโ์ มนพืชต่าง ๆ 4. ครแู จกใบงาน เรื่อง ฮอร์โมนพชื แล้วให้นกั เรยี น แตล่ ะกลุม่ ลงมอื ทา้ ใบงาน

การประเมิน กจิ กรรม ทรัพยากร/สือ่ ๒๖๕ ปจั จยั ทมี่ ีผลตอ่ การงอกของ เมล็ด 1. ครูน้าภาพเดิมท่ีใช้กระต้นุ นกั เรยี นในตอนตน้ 1. หนังสอื เรียน เวลา 2 ช่ัวโมง การตอบสนองของพืชใน ชั่วโมงมาถามค้าถามนกั เรียนว่า นักเรยี นทราบ ชวี วิทยา ม.5 เล่ม 1 ลักษณะการเคล่อื นไหว 3 ช่วั โมง หรอื ไม่ว่าเมลด็ พชื แต่ละชนิดมลี กั ษณะการงอกท่ี 2. อนิ เทอร์เนต็ แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร (สมารท์ โฟน) แนวตอบ บางชนดิ มลี ักษณะการงอกที่เหมอื นกัน 3. ใบงานที่ 5.2 เชน่ ถ่วั เขยี ว ถ่วั เหลอื ง แต่บางชนดิ มลี ักษณะการ เร่อื ง ปัจจัยที่มีผลต่อ งอกท่ีแตกตา่ งกัน เชน่ การงอกของเมล็ดขา้ วโพด การงอกของเมลด็ แตกตา่ งกบั เมล็ดถั่วเขยี ว 2. ให้นกั เรียนเขียนค้าตอบลงในสมุดบันทึกของ ตนเอง หลงั จากจบการเรยี นการสอนครูและนกั เรยี น ร่วมกนั เฉลยคา้ ตอบทถ่ี ูกต้อง 3. ครใู หน้ ักเรยี นแบ่งกล่มุ กลมุ่ ละ 3-4 คน เลอื กพืชมา 1 ชนดิ ตามท่นี ักเรยี นสนใจ จากนนั ให้ นกั เรียนสบื ค้นและศึกษาวา่ พืชชนิดนนั มลี กั ษณะการ งอกอยา่ งไร 1. ครเู กริ่นนา้ ตอ่ ไปว่าการโค้งงอของปลายยอด 1. หนงั สอื เรียน พืชแสดงใหเ้ หน็ วา่ พชื มีการตอบสนองต่อสิง่ เรา้ ท่ีมา ชวี วทิ ยา ม.5 เล่ม 1 กระตุ้น และการโคง้ งอหรอื การแสดงออกของพืช 2. อนิ เทอรเ์ นต็ เกดิ ขึนได้เน่อื งจากภายในเซลล์มีกระบวนการสอ่ื สาร (สมารท์ โฟน) ระหวา่ งเซลล์ซ่ึงนักเรียนจะไดเ้ รียนในหัวข้อต่อไปนี 3. ใบงานที่ 5.3 2. ครูถามค้าถามโดยมีคา้ ถามดังนี เรื่อง การตอบสนอง 1) กระบวนการส่อื สารระหว่างเซลล์ ของพืชในลกั ษณะ ประกอบด้วยขนั ตอนใดบา้ ง แต่ละขนั ตอนเปน็ การเคล่ือนไหว อย่างไร แล้วใหน้ ักเรียนสบื คน้ ข้อมลู จากแหลง่ การ 4. PowerPoint เรียนรู้ เชน่ หนังสอื เรยี นชวี วิทยา ม.5 เล่ม 1 สอื่ อินเทอรเ์ น็ต จากนนั ใหน้ กั เรยี นบนั ทกึ ขอ้ มลู ลงใน สมุดบันทึกของตนเอง 3. ใหน้ กั เรียนจับคแู่ ลกเปลยี่ นขอ้ มลู ทไี่ ด้จาก การสืบค้นกบั ค่ขู องตนเอง 4. ครสู มุ่ ตัวแทนคู่อธิบายกระบวนการสอ่ื สาร ระหว่างเซลล์ใหเ้ พ่อื นในห้องฟัง 5. นกั เรยี นและครูร่วมกันอภิปรายว่า “การตอบสนองของพชื ต่อส่ิงเร้าจาก สภาพแวดล้อมภายนอกมคี วามเกย่ี วข้องกบั

การประเมิน กิจกรรม ทรัพยากร/ส่อื ๒๖๖ กระบวนการส่ือสารระหวา่ งเซลล์ ตวั อย่างเชน่ การ เวลา ปดิ ปากใบของพชื ในกรณีท่ีพชื อยใู่ นสภาวะเครียด เชน่ พชื ได้รับสัญญาณว่าปรมิ าณนา้ ในดนิ ไมเ่ พยี งพอ 2 ชวั่ โมง ภายในเซลล์พืชจะมีการสง่ สญั ญาณหรอื ฮอรโ์ มนพชื ในท่นี ี คือ กรดแอบไซซกิ ไปทว่ั รา่ งกายพืช หลังจาก นนั พชื จะตอบสนองตอ่ ส่งิ เรา้ ทีม่ ากระตนุ้ ดว้ ยการปดิ ปากใบพชื ” 6. ครูสมุ่ ตัวแทนคู่อกี หน่งึ คู่ให้ยกตวั อยา่ ง เหตกุ ารณอ์ ื่นนอกเหนอื จากการปิดปากใบพืช แนวตอบ พจิ ารณาค้าตอบของนักเรียน ตัวอย่างค้าตอบ เช่น การโคง้ งอเข้าหาแสงโดยมอี อก ซนิ (Auxin) เปน็ สญั ญาณและแสงเป็นส่ิงเรา้ การ ชอนไขของราก (Root) โดยมีฮอร์โมนไซโทไคนนิ (Cytokinin) ชว่ ยทา้ ให้รากยืดยาวขึนและมนี า้ และ ธาตอุ าหารเป็นสง่ิ เร้า การตอบสนองตอ่ ภาวะเคลยี ด 1. ครใู หน้ กั เรียนสบื ค้นข้อมลู เกีย่ วกบั ภาวะ 1. หนังสือเรยี น เครียดจากสง่ิ เร้าทางกายภาพอ่ืน ๆ นอกเหนอื จาก ชวี วทิ ยา ม.5 เล่ม 1 นา้ และถามนกั เรียนต่อไปอีกว่า นอกจากนา้ แล้ว 2. อนิ เทอร์เน็ต นกั เรยี นคิดวา่ มีสิ่งเร้าทางกายภาพใดอกี บ้างที่สง่ ผล (สมารท์ โฟน) ให้พืชตอบสนองตอ่ ภาวะเครียด 3. ใบงานท่ี 5.4 แนวคาตอบ มีสง่ิ เร้าทางกายภาพอืน่ อีก เรือ่ ง การตอบสนอง เช่น อณุ หภูมิซ่งึ ในกรณที พ่ี ชื ได้รับอุณหภูมิสงู พชื ต่อภาวะเคลยี ด สามารถตอบสนองโดยการคายน้าเพอื่ รกั ษาอุณหภูมิ 4. PowerPoint ของใบไม่ใหส้ ูงมากขึน และยงั ชว่ ยรกั ษาสภาพการ ทา้ งานของเซลล์ให้เป็นปกตกิ รณที ่พี ืชได้รับอณุ หภมู ิ สงู มากเกนิ ไป พชื อาจปิดปากใบเพ่อื ลดการคายน้า กรณที ่พี ชื ได้รับอณุ หภูมติ ้่า มากเกินไปพืชจะสรา้ ง โครงสร้างของเยื่อหมุ้ เซลลใ์ ห้มีสัดส่วนของกรดไขมนั ไม่อ่ิมตัวมากขึน เพ่อื ทา้ ให้เย่อื หุ้มเซลล์ยังคงมี สมบัตใิ นการเป็นของ

๒๖๗ กาหนดโครงสรา้ งแผนการจัดการเรยี นรู้จากการออกแบบหน่วยการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 เร่อื ง การควบคมุ การเจริญเตบิ โตและการตอบสนองของพืช เวลา 10 ช่ัวโมง โครงสรา้ งการจัดทาแผนการจดั การเรยี นรู้ ตามท่ไี ดอ้ อกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ ช่ือเร่ือง เวลา/ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 20 ฮอรโ์ มนพชื 3 แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 21 ปัจจยั ที่มีผลตอ่ การงอกของเมล็ด 2 แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 22 การตอบสนองของพชื ในลักษณะการเคลอ่ื นไหว 3 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 23 การตอบสนองตอ่ ภาวะเคลยี ด 2 10 รวม

๒๖๘ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 20 รายวชิ า ชวี วทิ ยา 3 รหสั วิชา ว33243 กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 การควบคมุ การเจริญเติบโตและการตอบสนองของพืช เวลา 10 ช่วั โมง เรอ่ื ง ฮอร์โมนพืช เวลา 3 ชั่วโมง ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 ครผู ้สู อน นายบญุ รงั จาปา 1. สาระชวี วทิ ยา สาระที่ 3 เข้าใจสว่ นประกอบของพชื การแลกเปลย่ี นแกส๊ และคายนา้ ของพืช การล้าเลียงของพืช การ สังเคราะห์ดว้ ยแสง การสืบพนั ธ์ขุ องพชื ดอกและการเจริญเติบโต และการตอบสนองของพชื รวมทงั นา้ ความรู้ ไปใช้ประโยชน์ 2. ผลการเรียนรู้ สืบคน้ ขอ้ มลู อธิบายบทบาทและหน้าท่ขี องออกซิน ไซโทไคนิน จิบเบอเรลลิน เอทิลีน และกรดแอบ ไซซิก และอภปิ รายเกยี่ วกบั การนา้ ไปใชป้ ระโยชนท์ างการเกษตร 3. สาระสาคญั สารเคมีที่พืชผลิตขึนเองตามส่วนตา่ ง ๆ ของพืชเป็นส่ิงเร้าภายในที่มีผลต่อการเจรญิ เติบโตของพืช เป็น สิ่งเร้าภายในที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช มนุษย์จึงศึกษาโครงสร้างและหน้าที่ของสารเคมีเหล่านีและ สงั เคราะห์สารเหล่านขี ึนมาประยุกตใ์ ช้กบั พชื เพ่ือควบคมุ การเจรญิ เตบิ โต เพ่มิ ผลผลิต และยดื อายุผลิตของพืช 4. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 4.1 ด้านความรู้ (K) 1. ผ้เู รยี นสามารถอธบิ ายบทบาทหน้าทีข่ องออกซิน ไซโทไคนนิ จบิ เบอเรลลิน เอทิลนี และกรดแอบไซซกิ ได้ 4.2 ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) 1. ผเู้ รียนสามารถสามารถประยุกตใ์ ช้สารเคมที ่มี ีโครงสร้างคล้ายฮอร์โมนพชื กับพชื เพื่อ ประโยชน์ทางการเกษตรได้ 4.3 ด้านคณุ ลักษณะ (A) 1. ความสนใจ 2. การตรงต่อเวลา 3. การตอบค้าถาม 4. การยอมรับฟงั ผ้อู ื่น 5. ความรับผิดชอบ 5. สาระการเรยี นรู้แกนกลาง - พืชสร้างสารควบคุมการเจริญเติบโตหลายชนิดที่ส่วนต่าง ๆ ซึ่งสารนีเป็นส่ิงเร้าภายในท่ีมีผลต่อการ เจริญเตบิ โตของพืช เชน่ ออกซนิ ไซโทไคนนิ จิบเบอเรลลนิ เอทิลนี และกรดแอบไซซิก

๒๖๙ 6. ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (Attitude) คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั พืนฐาน พุทธศกั ราช 2551  รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์  อยู่อย่างพอเพียง  ซ่ือสตั ย์สุจริต  มุง่ ม่ันในการทา้ งาน  มีวนิ ยั  รกั ความเป็นไทย  ใฝเ่ รยี นรู้  มีจิตสาธารณะ 7. คณุ ลักษณะของผเู้ รียน ตามหลักสตู รโรงเรียนมาตรฐานสากล  เป็นเลศิ วิชาการ  สือ่ สารสองภาษา  ล้าหนา้ ทางความคิด  ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์  ร่วมกันรับผิดชอบตอ่ สงั คมโลก 8. ดา้ นการ อา่ น คดิ วเิ คราะห์และเขียน  การอ่าน : อ่านเอกสารใบความรู้ เรื่อง ฮอร์โมนพืช  การคิดวิเคราะห์ : คิดวเิ คราะหข์ อ้ มูลทไ่ี ดจ้ ากการอา่ นใบความรู้  การเขยี น : เขียนสรปุ เร่อื ง ฮอร์โมนพชื 9. ดา้ นสมรรถนะสาคัญของผ้เู รียน  ความสามารถในการสอื่ สาร : แสดงความคิดเห็น และสามารถอธบิ าย  ความสามารถในการคดิ : มีความสามารถในการวเิ คราะห์ แก้ปญั หาเฉพาะหน้า  ความสามารถในการแกป้ ัญหา : นักเรยี นสามารถแก้ไขปญั หาเฉพาะหนา้ ไดเ้ ม่ือพบปัญหา  ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต : ท้างานรว่ มกบั ผอู้ ื่นได้ดี  ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี : สามารถใช้เทคโนโลยสี ืบค้นขอ้ มูล 10. กิจกรรมการเรียนรู้ (5E) ขน้ั ที่ 1 ข้นั สร้างความสนใจ 1.1 ครนู า้ ภาพการทดลองของชาลส์ ดารว์ นิ และฟรานซิส ดาร์วิน ซงึ่ เป็นนกั วทิ ยาศาสตร์ทค่ี น้ พบ ฮอร์โมนพืชเป็นครงั แรก ตัวอยา่ งภาพ 1.2 ครูใชค้ ้าถามกระตุ้นความสนใจของนกั เรยี น ดังนี 1) นกั เรยี นคิดวา่ พืชต้นใดเอนเขา้ หาแสงบา้ ง เพราะเหตุใด แนวตอบ พชื ต้นที่ 1 4 และ 5 เนอื่ งจากบรเิ วณปลายยอดพืชสามารถผลิตออกซินได้ 2) นกั เรียนคดิ ว่า พชื ต้นใดไม่เอนเขา้ หาแสงบ้าง เพราะเหตุใด แนวตอบ พืชตน้ ท่ี 2 และ 3 เน่ืองจากบรเิ วณปลายยอดพชื ไม่สามารถผลติ ออกซนิ ได้

๒๗๐ 3) นักเรียนคิดว่าภาพการทดลองของชาลส์ ดาร์วินและฟรานซิส ดาร์วิน สอดคล้องกับกิจกรรม เร่อื ง การตอบสนองต่อแสงของปลายโคลอี อพไทล์ (coleoptile) ของพืช หรือไม่ อยา่ งไร แนวตอบ สอดคล้องกัน ซง่ึ สารเคมที อี่ ย่บู รเิ วณปลายโคลีออพไทลจ์ ะตอบสนองต่อแสงทา้ ให้ส่วน ยอดโคง้ เข้า หาแสง หากพชื ไมม่ ปี ลายยอด หรอื บรเิ วณปลายยอดไม่ได้รับแสง ปลายยอดของพืช จะไม่โค้งงอเขา้ หาแสง ข้นั ท่ี 2 สารวจคน้ หา 2.1 ใหน้ กั เรียนแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน จากนนั ใหแ้ ต่ละกลุ่มสง่ ตัวแทนกลุ่มออกมาจบั สลาก หมายเลข ซง่ึ แต่ละหมายเลขให้ศกึ ษาฮอรโ์ มนพชื ตอ่ ไปนี - หมายเลข 1 ศกึ ษาออกซนิ - หมายเลข 2 ศึกษาไซโทไคนิน - หมายเลข 3 ศกึ ษาจิบเบอเรลลิน - หมายเลข 4 ศกึ ษาเอทิลีน - หมายเลข 5 ศกึ ษากรดแอบไซซิก 2.2 หลังจากนันครูให้นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน โดยสมาชิกต้องมาจากกลุ่มเดิมที่อยูก่ ลุ่ม หมายเลข 1 2 3 4 และ 5 2.3 ใหส้ มาชิกภายในกลุ่มแลกเปล่ียนความรเู้ ก่ียวกบั ฮอร์โมนพชื ตา่ ง ๆ 2.4 ครูแจกใบงาน เร่อื ง ฮอร์โมนพชื แลว้ ให้นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ ลงมือทา้ ใบงาน ขนั้ ที่ 3 อธบิ ายความรู้ 3.1 ใหต้ ัวแทนแต่ละกลุ่มออกมานา้ เสนอข้อมูลที่กลุ่มตนเองไดร้ บั สว่ นนักเรียนคนอ่นื ๆ ให้บันทึก ข้อมลู การ น้าเสนอลงในสมุดบนั ทึกของตนเอง 3.2 หลงั จบการน้าเสนอครบทกุ กลุ่ม นกั เรยี นและครูรว่ มกนั อภปิ รายผลจากการท้าใบงานว่า “ฮอรโ์ มนพชื เป็นสารเคมีชนิดหนงึ่ ทม่ี ีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช มีทังเร่งการเจริญเติบโตและยับยังการ เจริญเติบโต ดงั นนั มนุษยจ์ ึงเล็งเห็นประโยชนข์ องฮอรโ์ มนพืชเหล่านี จึงสังเคราะห์สารเคมีทีม่ ีโครงสร้างคล้าย กบั ฮอรโ์ มนพืช เพ่ือใช้ประโยชนท์ างการเกษตร เชน่ NAA แทนออกซนิ BAP แทนไซโทไคนิน” 3.3 ครูเกริน่ นา้ วา่ นกั เรียนไดเ้ รียนรู้เกย่ี วกบั ผลของฮอรโ์ มนพืชชนดิ ต่าง ๆ และสารเคมสี ังเคราะห์มี โครงสรา้ ง คล้ายกับฮอร์โมนพืชมาบ้างแล้ว ดังนัน เพื่อให้นักเรียนได้ทดลองใช้เคมีสังเคราะห์กับพืช ศึกษาดูการ เปลี่ยนแปลงของพืชจากการท้ากิจกรรมในหนังสอื เรียนชวี วิทยา ม.5 เล่ม 1 3.4 ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน ท้ากิจกรรม เรอ่ื ง อทิ ธิพลของสารควบคมุ การเจริญเติบโตของพืช 3.5 ให้สมาชกิ ภายในกล่มุ แบง่ ภาระหนา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบ โดยสมาชกิ ในกล่มุ มบี ทบาทและหนา้ ทข่ี องตนเอง ดังนี 1) สมาชกิ คนท่ี 1 : ทา้ หนา้ ที่เตรยี มวสั ดุอปุ กรณก์ ิจกรรมอิทธพิ ลของสารควบคุมการเจรญิ เติบโตของ พชื 2) สมาชกิ คนท่ี 2 : ทา้ หนา้ ที่อา่ นวธิ กี ารทา้ กจิ กรรม และนา้ มาอธบิ ายให้สมาชิกภายในกล่มุ ฟัง 3) สมาชิกคนท่ี 3 และ 4 : ท้าหน้าทบ่ี นั ทึกผลการทา้ กิจกรรม 4) สมาชกิ คนที่ 5 และ 6 : ท้าหนา้ ที่น้าเสนอผลทีไ่ ด้จากการท้ากจิ กรรม 3.6 ในระหว่างการทา้ กจิ กรรมใหส้ มาชกิ ภายในกลมุ่ ตงั คา้ ถามขนั ตอนการท้ากิจกรรมที่ตนเองสงสัย เชน่ แล้ว ใหส้ มาชกิ รว่ มกนั สืบค้นจากแหล่งข้อมลู เพื่อตอบค้าถาม

๒๗๑ 3.7 ครูมอบหมายการบ้านใหน้ ักเรยี นทา้ แบบฝึกหดั ชีววิทยา ม.5 เล่ม 1 3.8 ให้นักเรียนท้าผังมโนทัศน์ เรื่อง สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช ลงในกระดาษ A4 พร้อมตกแต่งให้ สวยงาม และนา้ เสนอหนา้ ชนั เรียน 3.9 ให้นักเรียนศึกษาเกยี่ วกับการเพาะเลียงเนือเยอ่ื ของกล้วยไมใ้ นห้องปฏิบัติการโดยใช้ฮอร์โมนพืช เพื่อให้ นักเรียนได้ศึกษาการใช้ฮอร์โมนร่วมกันระหว่างออกซิน (Auxin) และไซโทไคนิน (Cytokinin) ควบคุมการ เจริญเติบโตของแคลลัส (Callus) 3.10 ครูถามค้าถามท้าทายการคิดขันสูงว่า ในการเพาะเลียงเนือเยื่อพืชบนอาหารแข็งของพืชชนิดหนึ่ง เพ่ือให้ได้ต้นอ่อนท่ีแข็งแรงและปราศจากโรคก่อนน้าไปปลูกลงดิน ควรให้ปริมาณออกซินแก่แคลลัสปริมาณ เท่าใดบ้าง เพราะเหตุใด แนวตอบ ควรให้ในปริมาณที่เหมาะสมเป็นสัดส่วนกับไซโทไคนิน (Cytokinin) หากต้องการกระตุ้น แคลลัส (Callus) ใหเ้ จรญิ เปน็ ยอดควรใช้ปริมาณออกซนิ (Auxin) นอ้ ยกวา่ ไซโทไคนนิ (Cytokinin) และหากตอ้ งการกระตุ้นแคลลสั ใหเ้ จรญิ เป็นราก (Root) ควรใช้ปรมิ าณออกซินมากกว่าไซโทไคนนิ ข้นั ท่ี 4 ขนั้ ขยายความรู้ 4.1 เพื่อตรวจสอบความเขา้ ใจของตนเองให้นักเรียนตอบค้าถาม โดยครูและนกั เรียนร่วมกันอภิปรายค้าตอบท่ี ถูกตอ้ ง 1) สารควบคุมการเจรญิ เตบิ โตของพืชคืออะไร แนวตอบ เป็นสารประกอบอินทรยี ท์ ค่ี รอบคลุมทงั ฮอร์โมนพืชและสารเคมีสงั เคราะห์ที่มี โครงสรา้ ง และสมบัติคลา้ ยทางเคมกี บั ฮอร์โมนพืช 2) เพราะเหตใุ ดปลายยอดออ่ นของพืชจึงเอนเข้าหาแสง แนวตอบ เน่ืองจากบริเวณปลายยอดมีฮอร์โมนออกซนิ ท่ีเคล่ือนทไี่ ปบรเิ วณท่ไี ม่มีแสง ท้าให้บริเวณ ที่ไมโ่ ดนแสงเจริญมากกว่าดา้ นท่ีไมโ่ ดนแสง ส่งผลใหป้ ลายยอดอ่อนโคง้ หรือเอนเข้าหาแสง 3) แหล่งสรา้ งหลักของฮอร์โมนออกซินและไซโทไคนินอยูท่ ส่ี ว่ นใดของพืช แนวตอบ ตายอดเป็นแหล่งส้าคัญในการสร้างออกซิน (Auxin) ส่วนเนือเยื่อเจริญปลายรากเป็น แหลง่ สรา้ งไซโทไคนิน (Cytokinin) 4) จงเรียงล้าดับปรมิ าณความเข้มข้นของออกซินท่ีเหมาะสมต่อการเจริญของอวัยวะพืชจากมากไป นอ้ ย แนวตอบ ล้าตน้ (Stem) ตา (Buds) และราก (Root) ตามลา้ ดับ 5) ยกตัวอย่างสารสังเคราะห์ท่ีใช้แทนฮอร์โมนออกซินและไซโทไคนินมอะไรบา้ ง แนวตอบ NAA 2,4-D และ 2,4,5-T ใชแ้ ทนออกซิน (Auxin) ส่วนไคเนติน (Cytokinin) และBAP ใชแ้ ทน (Cytokinin) 6) จิบเบอเรลลนิ (Gibberellin) ถูกคน้ พบในส่งิ มีชีวติ ชนดิ ใด และมีบทบาทกับพชื อยา่ งไร แนวตอบ เชือรา Gibberella fujikuroi ซ่ึงจิบเบอเรลลิน (Gibberellin) ช่วยกระตุ้นการแบ่งเซลล์ และช่วยขยายขนาดเซลล์ ท้าให้เซลล์ยาวขึน กระตุ้นการงอกเมล็ด ส่งเสริมการงอกของตาและ ยับยังการงอกของราก 7) การงอกของเมลด็ พืชใบเลยี งเดี่ยวเกยี่ วขอ้ งอย่างไรกบั ฮอรโ์ มนจบิ เบอเรลลิน (Gibberellin) แนวตอบ ฮอร์โมนจิบเบอเรลลนิ (Gibberellin) มผี ลยับยังการงอกของเมล็ด

๒๗๒ 8) เอทลิ นี (Ethylene) แตกตา่ งจากฮอรโ์ มนพชื ชนิดอืน่ อย่างไร แนวตอบ มสี ถานะเปน็ แกส๊ 9) เอทิลนี (Ethylene) มบี ทบาทสา้ คัญกับพืชอยา่ งไร แนวตอบ กระตุน้ การสุกของผลไม้ กระต้นุ การออกดอกของสับปะรด 10) กรดแอบไซซิก (Abscisic acid) มีบทบาทสา้ คัญกบั พชื อยา่ งไร แนวตอบ ท้าให้พืชด้ารงชีวิตอยู่ได้ในสภาวะท่ีไม่เหมาะสม เช่น ท้าให้ปากใบพืชปิดเมื่อพืชอยู่ใน สภาวะแลง้ ขน้ั ที่ 5 ประเมินผล 5.1 วธิ ีการวัดและประเมนิ ผล 1. ประเมินจากสมดุ บนั ทกึ 2. ประเมินจากใบกจิ กรรม 3. ประเมินพฤติกรรมนกั เรยี น 5.2 เครื่องมือวัดและประเมนิ ผล 1. แบบเฉลยรายงานสมุดบันทึก 2. แบบประเมินใบกิจกรรม 3. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมนักเรยี น 5.3 เกณฑ์การวดั และการประเมินผล 1. การประเมนิ จากสมดุ บนั ทึก ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ 70 2. การประเมินใบกจิ กรรม ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 80 3. การประเมนิ พฤติกรรมนักเรียน ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 80 11. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้ 11.1 หนงั สือเรียนสาระการเรยี นรชู้ ีววทิ ยา 3 11.2 เพาเวอร์พอยท์ เรอื่ ง ฮอร์โมนพืช 11.3 ใบกจิ กรรมที่ 5.1 เร่ือง ฮอรโ์ มนพืช

๒๗๓ 12. หลกั ฐานการเรยี นรู้และวิธกี ารประเมนิ วิธีการวดั เคร่ืองมือวดั เกณฑก์ าร จุดประสงค์การเรียนรู้ (K P A) - ใบกิจกรรม ประเมนิ - สมุดบันทกึ ผ่านเกณฑ์ ด้านความรู้ (K) - ตรวจใบกิจกรรม ร้อยละ 70 - แบบประเมิน ของคะแนน 1. ผู้เรียนสามารถอธิบายบทบาทหน้าท่ีของออก - ตรวจสมุดบันทกึ ชินงาน ผ่านเกณฑ์ ซิน ไซโทไคนิน จิบเบอเรลลิน เอทิลีน และกรด - แบบประเมิน คณุ ภาพระดบั พฤตกิ รรม 2 แอบไซซิกได้ ผา่ นเกณฑ์ ด้านทักษะ (P) - ตรวจผลงาน คุณภาพระดับ 2 1. ผู้เรียนสามารถสามารถประยกุ ตใ์ ช้ - สงั เกตความตังใจ สารเคมีทม่ี ีโครงสรา้ งคล้ายฮอรโ์ มนพืชกบั พชื เพอื่ และความ ประโยชน์ทางการเกษตรได้ รบั ผิดชอบในการ ปฏิบัตกิ ิจกรรม ด้านเจตคติ (A) - สังเกตพฤตกิ รรม 1. ความสนใจ การเรยี นรู้ 2. การตรงต่อเวลา 3. การตอบค้าถาม 4. การยอมรับฟังผู้อ่นื 5. ความรบั ผดิ ชอบ

๒๗๔ ใบงานท่ี 5.1 เร่ือง ฮอรโ์ มนพชื คาชแ้ี จง : ใหน้ กั เรียนเติมคาตอบใหถ้ ูกต้องและสมบูรณท์ ี่สดุ ............................................................................................................................. ....................................... 1. ฮอรโ์ มนพืชมหี ลายชนิด ไดแ้ กอ่ ะไรบา้ ง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. 2. จบิ เบอเรลลนิ หรือกรดจบิ เบอเรลลินมคี วามสาคัญอยา่ งไร ยกตวั อยา่ ง 3 ข้อ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. ไซโทไคนนิ มีความสาคัญอย่างไร ยกตวั อยา่ ง 3 ขอ้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 4. เอทิลีนมีความสาคัญอยา่ งไร ยกตัวอยา่ ง 3 ข้อ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..... 5. กรดแอบไซซิกมีความสาคัญอยา่ งไร ยกตวั อย่าง 3 ขอ้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..... ช่ือ – สกลุ ........................................................ ชน้ั .................. เลขท่ี ..................

๒๗๕ เฉลยใบงานที่ 5.1 เรอื่ ง การตอบสนองของพืช คาช้แี จง : ให้นกั เรยี นเติมคาตอบใหถ้ ูกตอ้ งและสมบรู ณ์ทสี่ ุด ............................................................................................................................. ....................................... 1. ฮอรโ์ มนพชื มหี ลายชนิด ได้แก่อะไรบ้าง ตอบ ออกซนิ (Auxin) จบิ เบอเรลลิน (Gibberellin) ไซโทไคนิน (Cytokinin) เอทิลีน (Ethylene) และกรด แอบไซซกิ (Abscisic acid) 2. จบิ เบอเรลลนิ หรอื กรดจบิ เบอเรลลนิ มคี วามสาคัญอยา่ งไร ตอบ กระตุน้ การเจรญิ ของเซลลต์ รงข้อท้าใหต้ ้นไม้สูง กระตุ้นการงอกของเมล็ดและตา ( ทา้ ลายการพกั ตวั ของเมลด็ และตา ) เพมิ่ การตดิ ผล เพ่มิ การเกดิ ดอกส้าหรบั พชื วนั ยาว 3. ไซโทไคนนิ มคี วามสาคัญอยา่ งไร ยกตวั อย่าง 3 ขอ้ ตอบ 1. เร่งการขยายตัวของเซลล์ ท้าให้เซลล์ขยายใหญ่ขึน แต่ในรากปรมิ าณไซโคไทนินท่ีมากเกินไป จะ ยบั ยงั การยดื ยาวของเซลล์ได้ 2. ส่งเสรมิ การสร้างและการเจริญของตา ท้าใหต้ าข้างเจริญออกมาเปน็ ก่ิง ( แตอ่ อกซินยับยังการ เจรญิ ของตาข้าง ) 3. ชว่ ยในการงอกของเมลด็ กระตุน้ เมลด็ และตาขา้ งท่ีพกั ตวั ใหเ้ กดิ การงอก 4. เอทลิ นี มีความสาคัญอยา่ งไร ยกตวั อย่าง 3 ขอ้ ตอบ 1. เป็นแกส๊ ทีเ่ กดิ ในกระบวนการเมแทบอลซิ มึ ของพืช โดยมีตน้ ตอจากกรดอะมโิ นเมไทโอนนี 2. เร่งการสุกของผลไม้ เชน่ มะมว่ ง กล้วย ละมดุ เรง่ การแก่ของผลไมบ้ นต้น 3. กระตนุ้ การออกดอกของพืชพวกสับปะรด 5. กรดแอบไซซิกมีความสาคัญอย่างไร ยกตวั อย่าง 3 ข้อ ตอบ 1. กระตนุ้ การหลดุ รว่ งของใบและผลแก่จัด 2. ยบั ยังการเจริญและการยืดตวั ของเซลลบ์ รเิ วณตา 3. กระตุน้ การพักตัวของพชื

๒๗๖ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 21 รายวิชา ชวี วิทยา 3 รหัสวิชา ว33243 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 5 การควบคมุ การเจรญิ เติบโตและการตอบสนองของพืช เวลา 10 ช่วั โมง เร่อื ง ปจั จยั ที่มผี ลตอ่ การงอกของเมล็ด เวลา 2 ชว่ั โมง ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ครูผู้สอน นายบุญรัง จาปา 1. สาระชีววทิ ยา สาระท่ี 3 เข้าใจสว่ นประกอบของพืช การแลกเปลย่ี นแก๊สและคายน้าของพืช การล้าเลียงของพชื การ สงั เคราะหด์ ว้ ยแสง การสืบพันธ์ขุ องพชื ดอกและการเจรญิ เติบโต และการตอบสนองของพชื รวมทังนา้ ความรู้ ไปใช้ประโยชน์ 2. ผลการเรียนรู้ ทดลอง และอธบิ ายเก่ียวกบั ปัจจัยต่าง ๆ ทีม่ ผี ลตอ่ การงอกของเมล็ด สภาพพกั ตวั ของเมล็ดและบอก แนวทางในการแก้สภาพพกั ตวั ของเมล็ด 3. สาระสาคัญ การงอกของเมลด็ ต้องไดร้ ับสภาพแวดล้อมภายนอกทเ่ี หมาะสมมากระต้นุ การเปล่ียนแปลงภายใน เมลด็ เอ็มบรโิ อจะเจรญิ เปน็ ตน้ พืช ซง่ึ กระบวนการท่ีเอม็ บรโิ อในเมลด็ เจริญเป็นต้นพืช เรียกวา่ การงอก (Germination) 4. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 4.1 ด้านความรู้ (K) 1. ผู้เรยี นสามารถอธิบายเกย่ี วกับปัจจัยต่าง ๆ ท่มี ีผลตอ่ การงอกของเมลด็ สภาพพัก ตัวของเมลด็ ได้ 4.2 ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) 1. ผเู้ รยี นสามารถบอกแนวทางในการแก้สภาพพักตัวของเมล็ดได้ 4.3 ด้านคณุ ลักษณะ (A) 1. ความสนใจ 2. การตรงต่อเวลา 3. การตอบค้าถาม 4. การยอมรบั ฟงั ผูอ้ ื่น 5. ความรับผิดชอบ 5. สาระการเรยี นรู้แกนกลาง - เมล็ดท่ีเจริญเต็มที่จะมีการงอกโดยมีปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการงอกของเมล็ด เช่น น้าหรือความชืน ออกซเิ จน อุณหภูมิ และแสง เมล็ดบางชนดิ สามารถงอกได้ทนั ที แตเ่ มลด็ บางชนิดไมส่ ามารถงอกไดท้ นั ทเี พราะ อย่ใู นสภาพพักตัว - เมล็ดบางชนิดมีสภาพพักตัวเนอื่ งจากมีปัจจัย บางประการที่มีผลยับยงั การงอกของเมล็ดซง่ึ สภาพพกั ตัวของเมล็ดสามารถแก้ไขได้หลายวิธตี ามปัจจัยทย่ี ับยงั

๒๗๗ 6. ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (Attitude) คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั พนื ฐาน พทุ ธศักราช 2551  รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  อยู่อย่างพอเพียง  ซ่อื สตั ย์สุจรติ  มงุ่ ม่ันในการท้างาน  มีวินัย  รกั ความเปน็ ไทย  ใฝ่เรียนรู้  มจี ิตสาธารณะ 7. คณุ ลักษณะของผ้เู รียน ตามหลกั สูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล  เปน็ เลศิ วชิ าการ  สื่อสารสองภาษา  ล้าหนา้ ทางความคดิ  ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์  รว่ มกันรับผิดชอบตอ่ สังคมโลก 8. ด้านการ อ่าน คดิ วิเคราะห์และเขยี น  การอา่ น : อ่านเอกสารใบความรู้ เร่ือง ปัจจัยทีม่ ีผลต่อการงอกของเมลด็  การคดิ วิเคราะห์ : คิดวเิ คราะห์ขอ้ มูลทไ่ี ด้จากการอา่ นใบความรู้  การเขียน : เขยี นสรุป เรือ่ ง ปัจจยั ท่ีมีผลต่อการงอกของเมลด็ 9. ดา้ นสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน  ความสามารถในการส่ือสาร : แสดงความคิดเห็น และสามารถอธบิ าย  ความสามารถในการคิด : มีความสามารถในการวิเคราะห์ แก้ปัญหาเฉพาะหนา้  ความสามารถในการแก้ปัญหา : นักเรียนสามารถแกไ้ ขปญั หาเฉพาะหนา้ ไดเ้ มื่อพบปัญหา  ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต : ทา้ งานร่วมกับผอู้ นื่ ได้ดี  ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี : สามารถใชเ้ ทคโนโลยีสืบค้นข้อมลู 10. กจิ กรรมการเรียนรู้ (5E) ขนั้ ที่ 1 ข้นั สร้างความสนใจ 1.1 ครูกระตนุ้ ความสนใจของนกั เรยี น โดยน้าเกมมาใหน้ ักเรียนมีสว่ นร่วมในชัน เรียนโดยครนู ้าภาพเมล็ดพืช ชนดิ ตา่ ง ๆ มาให้นักเรยี นทายวา่ เป็นเมล็ดพืชชนิดใด ดงั รปู ภาพ เมล็ดตน้ ดาวเรือง เมลด็ ถ่วั เหลือง เมล็ดกาแฟ เมล็ดทบั ทิม

๒๗๘ ข้ันท่ี 2 สารวจคน้ หา 2.1 ครูน้าภาพเดมิ ท่ีใช้กระตุ้นนกั เรียนในตอนตน้ ช่วั โมงมาถามค้าถามนกั เรียนว่า นกั เรียนทราบหรือไม่วา่ เมลด็ พืชแต่ละชนิดมีลกั ษณะการงอกทแี่ ตกต่างกนั หรือไม่ อยา่ งไร แนวตอบ บางชนิดมีลักษณะการงอกที่เหมือนกัน เช่น ถั่วเขียว ถั่วเหลือง แต่บางชนิดมีลักษณะ การงอกท่แี ตกต่างกนั เช่น การงอกของเมลด็ ข้าวโพดแตกตา่ งกบั เมล็ดถ่ัวเขียว 2.2 ใหน้ กั เรียนเขยี นคา้ ตอบลงในสมุดบนั ทกึ ของตนเอง หลังจากจบการเรียนการสอนครูและนักเรียน รว่ มกนั เฉลยค้าตอบที่ถกู ต้อง 2.3 ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน เลือกพืชมา 1 ชนิด ตามท่ีนักเรียนสนใจ จากนันให้นักเรียน สบื คน้ และศึกษาว่าพชื ชนดิ นนั มีลกั ษณะการงอกอยา่ งไร ขนั้ ที่ 3 อธิบายความรู้ 3.1 ครูสุ่มตัวแทนกลุ่มของแต่ละกลุ่มออกมาน้าเสนอรูปแบบการงอกของพืชที่กลุ่มของนักเรียนเลือกน้ามา ศึกษา 3.2 นักเรียนและครูร่วมกนั อภิปรายผลจากการสืบคน้ วา่ “การงอกของเมล็ดพืชแบ่งออกได้เป็น 2 แบบ คือ การงอกโดยชูใบเลียงขึนเหนือดิน ได้แก่ พริก ถ่ัว เขียว สงั เกตการงอกลกั ษณะนีได้จากใบเลียงจะโผล่พน้ ขนึ มาเหนือดิน และการงอกโดยใบเลียงอยู่ใต้ดิน ไดแ้ ก่ ข้าวโพด ขา้ ว สังเกตการงอกลักษณะนีได้จากใบแท้ของพชื เหล่านจี ะโผล่พ้นเหนอื ดนิ และมีใบเลียงอยู่ใตด้ ิน” 3.3 เพื่อให้นักเรียนเข้าใจกระบวนการงอกของเมล็ดพืช ครูให้นักเรียนศึกษาสื่อคิวอาร์โค้ดจากหนังสือเรียน ชีววิทยา ม.5 เลม่ 1 เรอื่ ง การงอกของเมล็ด 3.4 เพ่อื ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรยี น ครูถามนกั เรียนโดยมคี า้ ถามดงั นี 1) การงอกของเมล็ดถวั่ เขยี วต่างกบั เมลด็ ขา้ วโพดอย่างไร แนวตอบ ต่างกันตรงที่เมล็ดถั่วเขียวไฮโพคอลทิล (Hypocotyl) จะเจริญได้เร็วกว่าเอพิคอลทิล (Epicotyl) ทา้ ใหใ้ บเลียงเจรญิ ขนึ มาเหนอื ดิน ส่วนเมลด็ ข้าวโพดเอพิคอลทลิ จะเจริญเรว็ กวา่ ไฮโพ คอลทิลท้าใหใ้ บเลยี งยงั คงอยใู่ ต้ดิน 3.5 ให้นักเรยี นแบง่ กลุม่ ออกเป็น กลุ่มละ 5-6 คน ท้ากจิ กรรม เรอื่ ง การงอกเมลด็ จากหนงั สือเรียนชีววิทยา ม.5 เล่ม 1 3.6 ให้สมาชิกภายในกลุม่ แบ่งภาระหน้าท่รี ับผดิ ชอบ โดยสมาชิกในกล่มุ มีบทบาทและหน้าทีข่ องตนเอง ดังนี 1) สมาชกิ คนที่ 1: ท้าหน้าที่เตรยี มวัสดุอุปกรณก์ จิ กรรมการงอกเมลด็ 2) สมาชิกคนท่ี 2: ท้าหนา้ ทีอ่ ่านวธิ ีการท้ากจิ กรรม และนา้ มาอธบิ ายให้สมาชกิ ภายในกลุ่มฟัง 3) สมาชกิ คนท่ี 3 และ 4: ทา้ หน้าทบ่ี ันทกึ ผลการทา้ กจิ กรรม 4) สมาชกิ คนที่ 5 และ 6: ท้าหนา้ ที่นา้ เสนอผลท่ไี ด้จากการท้ากจิ กรรม 3.7 ในระหว่างการทา้ กจิ กรรมให้สมาชิกภายในกลุ่มตังค้าถามขนั ตอนการท้ากิจกรรมที่ตนเองสงสัย เช่น แล้ว ใหส้ มาชิกร่วมกันสบื คน้ จากแหลง่ ข้อมลู เพ่อื ตอบค้าถาม 3.8 ใหต้ ัวแทนของแต่ละกล่มุ ออกมาน้าเสนอผลจากการท้ากิจกรรม และอธบิ ายข้อสงสยั ทสี่ มาชกิ ภายในกลุ่ม ตงั ค้าถาม และน้าเสนอผลจากการสบื ค้นค้าตอบ 3.9 ครูพิจารณาผลจากการทา้ กิจกรรมและผลจากการสบื คน้ ข้อสงสัยในขันตอนการทา้ กิจกรรมของนกั เรียน 3.10 ครูเสริมและเพม่ิ เติมขอ้ มลู หากข้อมูลทน่ี กั เรยี นออกมาน้าเสนอยงั ไมส่ มบูรณ์ 3.11 ครูถามคา้ ถามท้ายกิจกรรม และเฉลยค้าถามทา้ ยกจิ กรรม โดยมีค้าถาม ดังนี

๒๗๙ 1) ตน้ อ่อนของพชื ทัง 2 ชนิดท่ีงอกออกจากเมลด็ ประกอบด้วยโครงสรา้ งเหนือดินใดบา้ ง แนวตอบ ต้นอ่อนของถ่ัวเขียวจะพบทังใบเลียง (Cotyledon) และใบแท้ (foliage leaf) แต่ต้น ออ่ นของขา้ วโพดพบเพียงใบแท้ 2) ลักษณะการงอกของพชื ทัง 2 ชนิด แตกตา่ งกันหรอื ไม่ อย่างไร แนวตอบ แตกต่างกนั เมลด็ ถ่วั เขียวจะงอกแบบชใู บเลยี งขนึ เหนอื ดิน (Hypogeal germination) แตเ่ มลด็ ข้าวโพดจะงอกแบบใบเลียงอย่ใู ตด้ ิน (Epigeal germination) 3) เมลด็ ถว่ั เขียวและเมล็ดข้าวโพดท่นี ักเรียนนา้ มาเพาะเจรญิ เป็นต้นออ่ นทุกเมลด็ หรือไม่ แนวตอบ ขึนอยู่กบั ผลการทา้ กจิ กรรมของนักเรยี น 4) ในการปลกู ต้นถั่วเขยี วและขา้ วโพดนกั เรยี นคดิ วา่ มปี ัจจยั ใดบา้ งท่ีมีสว่ นสา้ คัญในการงอกของเมลด็ แนวตอบ ขึนอย่กู ับค้าตอบของนกั เรยี น ตวั อยา่ งค้าตอบควรมนี ้า ความชนื ขนั้ ที่ 4 ข้นั ขยายความรู้ 4.1 ให้นกั เรียนสบื คน้ ข้อมูลเกีย่ วกับปจั จยั ทีม่ ผี ลตอ่ การงอกเมลด็ จากแหลง่ การเรยี นรู้ ส่ืออินเทอร์เน็ต จากนนั สรปุ เปน็ ผังมโนทัศนพ์ ร้อมตกแต่งใหส้ วยงาม 4.2 ให้นักเรียนจับคู่แลกผังมโนทัศน์ของตนเองกับเพ่ือน แล้วร่วมกันแลกเปลี่ยนความรู้ท่ีได้จากการสืบค้น ขอ้ มลู 4.3 หลังจากแลกเปล่ียนความรู้ เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการงอกเมล็ดแล้ว ครูเขียนค้าถามบนกระดานและให้ นักเรียนลอกค้าถามและตอบค้าถามลงในสมุดบันทึกของตนเอง จากนันครูสุ่มเรียกนักเรยี น 5-6 คน อธิบาย ค้าตอบของตนเอง หากนักเรียนตอบค้าถามไม่ถูกต้อง หรือค้าตอบยังไม่สมบูรณ์ ให้นักเรียนและครูร่วมกัน อภปิ รายหาคา้ ตอบทีถ่ ูกตอ้ ง โดยมีคา้ ถามดังนี 1) ปจั จยั ที่มผี ลต่อการงอกเมลด็ แบ่งออกเป็นกป่ี ระเภท อะไรบา้ ง แนวตอบ 2 ประเภท คือ ปจั จยั ภายในและปัจจยั ภายนอก 2) ปจั จัยภายนอกทมี่ ผี ลต่อการงอกเมล็ด ไดแ้ ก่อะไรบ้าง และมผี ลอยา่ งไรจงอธิบายพอสังเขป แนวตอบ นา้ หรือความชนื ออกซิเจน แสง (สา้ หรบั พืชบางชนิด) และอุณหภูมิ 3) ปัจจยั ภายในทีม่ ีผลตอ่ การงอกเมลด็ ได้แก่อะไรบา้ ง และมีผลอย่างไรจงอธบิ ายพอสังเขป แนวตอบ เปลือกหมุ้ เมลด็ (Seed coat) เอนโดสเปิรม์ (Endosperm) เอม็ บริโอ (Embryo) 4) สภาพพักตวั ของเมลด็ คืออะไร แนวตอบ สภาพเมลด็ ทย่ี ังคงมีชีวิตแตไ่ ม่สามารถงอกเป็นต้นใหม่ได้ 4.4 เพ่ือทดสอบความเข้าใจของนักเรียนครูสมมติสถานการณ์ขึนมาให้นักเรียนวิเคราะห์สาเหตุและแก้ไข สถานการณ์ - นาย A น้าเมล็ดข้าวโพดมาเพาะในกระบะท่ีมีกระดาษทิชชูที่เปียกชืน ตังไว้ในท่ีที่มีอากาศถ่ายเท และมแี สงแดดสอ่ งถึง เมอ่ื เวลาผา่ นไป 2 วัน เมล็ดข้าวโพดไมเ่ กิดการเปล่ียนแปลง เพราะเหตุใดจึง เปน็ เชน่ นัน นักเรียนมวี ธิ แี ก้ไขอย่างไร - นาย B น้าเมล็ดยาสูบมาเพาะในกระบะที่มีกระดาษทิชชูท่ีเปียกชืน ตังไว้ในห้องมืด ท่ีมีอุณหภูมิสูง กวา่ 35 องศาเซลเซยี ส เมือ่ เวลาผ่านไป 2 วัน เมล็ดยาสบู ไม่เกิดการเปล่ียนแปลง เพราะเหตุใดจึง เปน็ เชน่ นัน นกั เรียนมีวิธแี กไ้ ขอยา่ งไร

๒๘๐ - นาย C น้าเมล็ดฟักข้าวมาปลูกสลับกับเมล็ดแตงโมในแปลงของตนเอง เมื่อเวลาผ่านไป 1 สัปดาห์ เมลด็ ไม่งอก เพราะเหตุใดจงึ เป็นเชน่ นนั นกั เรียนมวี ธิ แี กไ้ ขอย่างไร - นาย D อยากเพาะเมลด็ กลว้ ยไม้พนั ธ์เุ ศรษฐกิจขาย แต่เมล็ดไมง่ อก นกั เรยี นคดิ วา่ เกิดจากสาเหตใุ ด และมวี ิธแี ก้ไขอยา่ งไร 4.5 ครูอธบิ ายเพม่ิ เติมจากคา้ ถามสถานการณต์ ัวอย่างตอ่ ไปว่า “นอกจากเมล็ด (Seed) เอ็มบริโอ (Embryo) เอนโดสเปิร์ม (Endosperm) แล้วสารเคมียังมีส่วน ท้าให้เมล็ดอยู่ในสภาพพักตัว โดยเฉพาะกรดแอบไซซิก (Abscisic acid) ท่ีมีสมบัติยับยังการท้างานของ เอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการงอกของเมล็ดพืช ทางแก้ท่ีดีคือให้ธรรมชาติ เช่น น้าฝนช่วยชะล้าง สารเคมที ่ีเคลือบเมลด็ เหล่านอี อกไป” 4.6 ครถู ามความเห็นจากนักเรียนว่า นักเรยี นมีวธิ ีแก้ไขอยา่ งอ่ืนอีกหรอื ไม่ แนวตอบ พิจารณาคา้ ตอบของนักเรยี น แตค่ า้ ตอบควรนา้ ไปผึง่ เมล็ดให้แหง้ กอ่ นนา้ ไปเพาะ หรือใช้ สารเร่งการงอก เชน่ การใช้จบิ เบอเรลลิน (Gibberellin) ไซโทไคนนิ (Cytokinin) 4.7 ครูแนะน้านักเรียนเพ่ิมเติมเก่ียวกับสารเคมีท่ีมีผลต่อการงอกของเมล็ดในกรอบ Biology Focus ใน หนังสือชวี วิทยา ม.5 เล่ม 1 ขัน้ ที่ 5 ประเมินผล 5.1 วิธีการวัดและประเมินผล 1. ประเมนิ จากสมุดบันทกึ 2. ประเมนิ จากใบกจิ กรรม 3. ประเมนิ พฤตกิ รรมนกั เรียน 5.2 เครื่องมอื วัดและประเมนิ ผล 1. แบบเฉลยรายงานสมดุ บนั ทึก 2. แบบประเมนิ ใบกิจกรรม 3. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมนกั เรียน 5.3 เกณฑ์การวัดและการประเมินผล 1. การประเมนิ จากสมดุ บนั ทกึ ผา่ นเกณฑร์ อ้ ยละ 70 2. การประเมนิ ใบกจิ กรรม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 3. การประเมินพฤติกรรมนักเรียน ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ 80 11. สอื่ /แหล่งการเรยี นรู้ 11.1 หนงั สือเรียนสาระการเรยี นรชู้ วี วทิ ยา 3 11.2 เพาเวอรพ์ อยท์ เรอ่ื ง ปจั จยั ทม่ี ผี ลตอ่ การงอกของเมล็ด 11.3 ใบกิจกรรมท่ี 5.2 เรอื่ ง ปจั จัยทีม่ ีผลต่อการงอกของเมล็ด

๒๘๑ 12. หลกั ฐานการเรยี นรูแ้ ละวิธีการประเมนิ วธิ ีการวดั เครอื่ งมอื วดั เกณฑก์ าร จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ (K P A) - ใบกจิ กรรม ประเมนิ - สมุดบนั ทกึ ผ่านเกณฑ์ ดา้ นความรู้ (K) - ตรวจใบกิจกรรม ร้อยละ 70 - แบบประเมนิ ของคะแนน 1. ผ้เู รยี นสามารถอธิบายเก่ยี วกับปัจจัยต่าง ๆ ที่มี - ตรวจสมุดบันทึก ชินงาน ผ่านเกณฑ์ ผลต่อการงอกของเมล็ด สภาพพักตวั ของเมล็ดได้ - แบบประเมนิ คณุ ภาพระดบั พฤติกรรม 2 ด้านทักษะ (P) - ตรวจผลงาน ผา่ นเกณฑ์ 1. ผเู้ รยี นสามารถบอกแนวทางในการแกส้ ภาพพัก - สงั เกตความตงั ใจ คุณภาพระดับ 2 ตวั ของเมลด็ ได้ และความ รบั ผดิ ชอบในการ ปฏิบัตกิ จิ กรรม ด้านเจตคติ (A) - สังเกตพฤตกิ รรม 1. ความสนใจ การเรียนรู้ 2. การตรงตอ่ เวลา 3. การตอบคา้ ถาม 4. การยอมรับฟงั ผูอ้ น่ื 5. ความรบั ผดิ ชอบ

๒๘๒ ใบงานท่ี 5.2 เรอ่ื ง การงอกของเมล็ด คาชี้แจง : ใหน้ ักเรียนเติมคาตอบใหถ้ กู ตอ้ งและสมบรู ณท์ ส่ี ดุ ............................................................................................................................. ......................................... 1. การงอกของเมล็ด หมายถึงอะไร ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................ 2. แก๊สออกซิเจน มีความจาเป็นต่อการงอกของเมล็ดอย่างไร ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................... 3. ปัจจยั ที่ในการงอกของเมลด็ มีอะไรบ้าง ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. 4. จงยกตวั อย่างเมล็ดพชื บางชนดิ ตอ้ งการแสงในการงอก และเมลด็ พืชบางชนิดไมต่ ้องการแสงในการงอก ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. 5.การงอกของเมลด็ มีลักษณะอยา่ งไร ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ช่ือ – สกุล ................................................................................. ช้ัน .................... เลขที่ ......................

๒๘๓ เฉลยใบงานท่ี 5.2 เรื่อง การงอกของเมลด็ คาช้ีแจง : ใหน้ กั เรยี นเตมิ คาตอบให้ถูกตอ้ งและสมบูรณ์ทีส่ ุด .................................................................................................................................................. 1. การงอกของเมล็ด หมายถงึ อะไร คาตอบ การทร่ี ากออ่ นงอกพน้ เปลือกหมุ้ เมลด็ ออกมา ซึ่งจะเกิดขึนเมือ่ เมลด็ ได้รบั ความชนื โดยการดูดนา้ เขา้ ไป แล้วเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมแี ละกายภาพขึนภายในเมลด็ การเปลีย่ นแปลงท่ีเกิดขนึ 2. แกส๊ ออกซิเจน มคี วามจาเปน็ ต่อการงอกของเมลด็ อย่างไร คาตอบ เพ่ือน้าไปใช้ในการหายใจให้ได้พลังงาน เมล็ดก้าลังงอกมีอัตราการหายใจสูงกว่าปกติ เมล็ดจึงต้องการ แกส๊ ออกซเิ จนมากในระหวา่ งทงี่ อก 3. ปัจจยั ทใ่ี นการงอกของเมล็ดมอี ะไรบา้ ง คาตอบ 1. ความชืนหรอื น้า 2. แก๊สออกซเิ จน 3. อณุ หภมู ิทเ่ี หมาะสม 4. แสง 4. จงยกตวั อยา่ งเมล็ดพชื บางชนิดต้องการแสงในการงอก และเมล็ดพชื บางชนิดไมต่ อ้ งการแสงในการงอก คาตอบ เมลด็ พืชบางชนดิ ต้องการแสงในการงอก ไดแ้ ก่ วัชพชื ต่าง ๆ หญ้า ยาสบู ผกั กาดหอม หญา้ คา สาบเสือ ปอต่าง ๆ เมล็ดพชื บางชนดิ ไม่ตอ้ งการแสงในการงอก เช่น ผกั บุง้ จีน ข้าวโพด ฝ้าย แตงกวา กระเจ๊ียบ 5.การงอกของเมล็ดมลี กั ษณะอย่างไร คาตอบ เมล็ดทุกชนิดมีแรดิเคิล หรือรากต้นอ่อนท่ีจะโผล่พ้นออกจากเปลือกหุ้มเมล็ดโดยแรดิเคิลจะเจริญ ออกมาผ่านรูไมโครไพล์ (Micropyle)เพ่ือเจริญเป็นรากแก้ว แล้วจึงเจริญเติบโตเป็นรากขนอ่อนและรากแขนง การเจริญของรากจะเกดิ ขึนกอ่ นการเจริญของเอ็มบรโิ อสว่ นอืน่ ๆ เพื่อจะยดึ เกาะกับดนิ และดูดน้า

๑๘๔ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 22 รายวิชา ชีววทิ ยา 3 รหสั วิชา ว33243 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 5 การควบคมุ การเจรญิ เติบโตและการตอบสนองของพืช เวลา 10 ชัว่ โมง เรอ่ื ง การตอบสนองของพืชในลกั ษณะการเคล่อื นไหว เวลา 3 ช่ัวโมง ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 5 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ครผู ู้สอน นายบญุ รัง จาปา 1. สาระชีววทิ ยา สาระที่ 3 เขา้ ใจสว่ นประกอบของพชื การแลกเปล่ยี นแกส๊ และคายน้าของพชื การล้าเลียงของพชื การ สังเคราะห์ดว้ ยแสง การสืบพันธขุ์ องพืชดอกและการเจรญิ เตบิ โต และการตอบสนองของพืช รวมทังน้าความรู้ ไปใชป้ ระโยชน์ 2. ผลการเรยี นรู้ สืบคน้ ขอ้ มลู ทดลอง และอภปิ รายเกย่ี วกับส่ิงเร้าภายนอกที่มีผลต่อการเจรญิ เตบิ โตของพชื 3. สาระสาคัญ ปัจจยั ท่ีมีผลตอ่ การเจริญเตบิ โตของพชื แบ่งเปน็ 2 ประเภทใหญๆ่ คอื ปัจจัยจากภายในและปัจจัย ทางด้านสง่ิ แวดล้อมพชื จะเจรญิ เตบิ โตได้ดนี ันตอ้ งอาศยั การพึ่งพาทัง 2 ปจั จยั จงึ จะทา้ ให้เกิดการเปลย่ี นแปลง ทางสรรี วิทยา พืชสามารถตอบสนองตอ่ ปจั จยั ภายนอกได้เช่นเดยี วกบั ส่ิงมีชีวติ อ่ืนๆ โดยอาจเรยี กปัจจัยเหล่านี ว่า ส่งิ เรา้ (Stimulus) 4. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 4.1 ดา้ นความรู้ (K) 1. ผเู้ รยี นสามารถสืบค้นข้อมลู ทดลอง และอภิปรายเกีย่ วกับสงิ่ เรา้ ภายนอกท่ีมผี ล ต่อการเจรญิ เติบโตของพืชได้ 4.2 ด้านทักษะกระบวนการ (P) 1. ผู้เรยี นสามารถเปรยี บเทียบผลการทดลองกระบวนการสังเคราะหด์ ว้ ยแสงของ นกั วิทยาศาสตร์ในอดตี ได้ 4.3 ดา้ นคณุ ลักษณะ (A) 1. ความสนใจ 2. การตรงต่อเวลา 3. การตอบคา้ ถาม 4. การยอมรบั ฟังผ้อู ืน่ 5. ความรับผิดชอบ 5. สาระการเรยี นรู้แกนกลาง - แสงสวา่ ง แรงโนม้ ถ่วงของโลก สารเคมี และนา้ เป็นส่ิงเร้าภายนอกทม่ี ีผลตอ่ การเจริญเติบโตของพชื - ความรู้เก่ียวกับการตอบสนองต่อส่ิงเร้าภายในและสิ่งเร้าภายนอกที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช สามารถนา้ มาประยกุ ต์ใช้ควบคมุ การเจริญเติบโตของพชื เพิ่มผลผลิต และยดื อายุผลผลติ ได้

๑๘๕ 6. ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (Attitude) คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั พนื ฐาน พุทธศกั ราช 2551  รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์  อยู่อย่างพอเพียง  ซ่ือสัตยส์ ุจรติ  มุ่งมนั่ ในการท้างาน  มวี นิ ยั  รักความเปน็ ไทย  ใฝเ่ รียนรู้  มีจิตสาธารณะ 7. คุณลกั ษณะของผู้เรยี น ตามหลักสูตรโรงเรยี นมาตรฐานสากล  เป็นเลศิ วิชาการ  สื่อสารสองภาษา  ล้าหน้าทางความคิด  ผลติ งานอย่างสร้างสรรค์  ร่วมกันรบั ผิดชอบต่อสังคมโลก 8. ด้านการ อา่ น คิดวิเคราะหแ์ ละเขยี น  การอา่ น : อา่ นเอกสารใบความรู้ เรือ่ ง การตอบสนองของพชื ในลักษณะการเคลือ่ นไหว  การคดิ วิเคราะห์ : คิดวเิ คราะหข์ อ้ มูลที่ไดจ้ ากการอา่ นใบความรู้  การเขยี น : เขียนสรุป เรื่อง การตอบสนองของพชื ในลักษณะการเคล่อื นไหว 9. ด้านสมรรถนะสาคัญของผ้เู รียน  ความสามารถในการส่อื สาร : แสดงความคิดเห็น และสามารถอธิบาย  ความสามารถในการคดิ : มีความสามารถในการวเิ คราะห์ แกป้ ญั หาเฉพาะหน้า  ความสามารถในการแกป้ ัญหา : นักเรยี นสามารถแก้ไขปญั หาเฉพาะหน้าได้เมอ่ื พบปญั หา  ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต : ทา้ งานร่วมกบั ผ้อู ่นื ได้ดี  ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี : สามารถใช้เทคโนโลยีสืบคน้ ข้อมูล 10. กิจกรรมการเรียนรู้ (5E) ขัน้ ที่ 1 ขน้ั สร้างความสนใจ 1.1 ก่อนเขา้ ส่บู ทเรยี นครถู ามคา้ ถาม โดยมคี ้าถามดังนี 1) ว่าพชื มีการตอบสนองตอ่ ส่ิงเร้าจากสภาพแวดล้อมภายนอกอย่างไร แนวตอบ เมื่อพืชได้รับสัญญาณจากส่ิงเร้าจากภายนอกที่มากระตุ้น พืชจะส่งสัญญาด้วยการผลิต สารเคมีท่ีเรียกว่า ฮอร์โมนพืช ล้าเลียงไปท่ัวร่างกายของพืช ท้าให้เซลล์มีการตอบสนองต่อส่ิงเร้า ที่มากระตนุ้ ส่งผลใหพ้ ชื เกิดการเปลย่ี นแปลงทางสรีรวิทยา เพอ่ื ความอยรู่ อดในสภาพแวดลอ้ ม 1.2 ครูน้าภาพการตอบสนองของพืชต่อส่ิงแวดล้อมมาให้นักเรียนร่วมกันทายว่า เป็นการตอบสนองของ พืช ตอ่ ส่ิงใด ตวั อยา่ งภาพ แนวตอบ เปน็ การตอบสนองตอ่ แสง

๑๘๖ 1.3 หลังจากนันครูทบทวนความรู้เดิมของนักเรียนว่าบริเวณปลายยอดพืชจะโค้งหาแสงเน่ืองจากมีฮอร์โมน ชนดิ ใดเป็นตวั กระตุ้น แนวตอบ ออกซิน (Auxin) ข้นั ที่ 2 สารวจคน้ หา 2.1 ครเู กร่นิ น้าต่อไปว่าการโค้งงอของปลายยอดพชื แสดงใหเ้ ห็นว่าพชื มกี ารตอบสนองตอ่ สงิ่ เร้าท่มี ากระตุ้น และการโค้งงอหรือการแสดงออกของพืชเกดิ ขึนไดเ้ นอื่ งจากภายในเซลล์มกี ระบวนการสอ่ื สารระหว่างเซลล์ซง่ึ นกั เรียนจะไดเ้ รียนในหวั ขอ้ ตอ่ ไปนี 2.2 ครูถามค้าถามโดยมคี ้าถามดงั นี 1) กระบวนการส่ือสารระหว่างเซลลป์ ระกอบด้วยขันตอนใดบ้าง แตล่ ะขนั ตอนเปน็ อย่างไร แล้วให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ เช่น หนังสือเรียนชีววิทยา ม.5 เล่ม 1 สื่อ อนิ เทอรเ์ น็ต จากนนั ให้นกั เรยี นบันทึกขอ้ มูลลงในสมุดบันทกึ ของตนเอง 2.3 ใหน้ ักเรยี นจับคู่แลกเปลี่ยนขอ้ มลู ท่ไี ดจ้ ากการสืบคน้ กบั ค่ขู องตนเอง 2.4 ครูสุ่มตวั แทนคู่อธิบายกระบวนการสอื่ สารระหว่างเซลล์ใหเ้ พื่อนในห้องฟัง 2.5 นักเรียนและครรู ่วมกนั อภิปรายวา่ “การตอบสนองของพืชต่อสิ่งเร้าจากสภาพแวดล้อมภายนอกมีความเกี่ยวข้องกับกระบวนการ สือ่ สารระหวา่ งเซลล์ ตวั อย่างเช่น การปดิ ปากใบของพืชในกรณที ี่พชื อยใู่ นสภาวะเครยี ด เช่น พชื ได้รบั สญั ญาณ ว่าปริมาณน้าในดินไม่เพียงพอ ภายในเซลล์พืชจะมีการส่งสัญญาณหรือฮอร์โมนพืช ในที่นี คือ กรดแอบไซซิก ไปท่วั รา่ งกายพชื หลงั จากนนั พืชจะตอบสนองตอ่ สิง่ เร้าทมี่ ากระตุน้ ด้วยการปิดปากใบพชื ” 2.6 ครสู ุ่มตัวแทนค่อู กี หนึ่งคใู่ หย้ กตัวอยา่ งเหตกุ ารณ์อื่นนอกเหนือจากการปิดปากใบพืช แนวตอบ พิจารณาค้าตอบของนักเรียน ตัวอย่างค้าตอบ เช่น การโค้งงอเข้าหาแสงโดยมีออกซิน (Auxin) เป็นสัญญาณและแสงเป็นส่ิงเร้า การชอนไขของราก (Root) โดยมีฮอร์โมนไซโทไคนิน (Cytokinin) ช่วยท้าให้รากยืดยาวขนึ และมนี ้าและธาตอุ าหารเปน็ สง่ิ เรา้ ขั้นท่ี 3 อธิบายความรู้ 3.1 ให้นักเรียนจับกลุ่ม 5-6 เพื่อให้นักเรียนร่วมกันสืบค้นข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ เช่น หนังสือเรียน ชวี วิทยา ม.5 เล่ม 1 สอื่ อินเทอรเ์ นต็ เกยี่ วกับส่ิงเรา้ ท่ีนกั เรียนตอบมานัน จดั วา่ เป็นส่ิงเร้าประเภทใด 3.2 ครูเกร่ินน้าต่อไปว่า จะเห็นว่าสิ่งท่ีนักเรียนยกตัวอย่างมาเป็นการตอบสนองท่ีมีทิศทางสัมพันธ์กับสิ่งเร้า ที่มากระตุ้น หรือเรียกว่า ทรอปิกมูฟเมนต์ (Tropic movement) จากนันให้นักเรียนท้ากิจกรรม เรื่อง การ ตอบสนองของพชื ตอ่ แรงโนม้ ถว่ งของโลก 3.3 ใหส้ มาชกิ ภายในกลมุ่ แบ่งภาระหน้าทีร่ บั ผดิ ชอบ โดยสมาชิกในกลุ่มมีบทบาทและหนา้ ทีข่ องตนเอง ดงั นี 1) สมาชิกคนท่ี 1 : ท้าหน้าที่เตรียมวัสดุอุปกรณ์กิจกรรม เร่ือง การตอบสนองของพืชต่อแรงโน้ม ถว่ งของโลก 2) สมาชกิ คนท่ี 2 : ทา้ หน้าทอ่ี ่านวิธีการทา้ กิจกรรม และนา้ มาอธิบายให้สมาชกิ ภายในกลมุ่ ฟัง 3) สมาชกิ คนท่ี 3 และ 4 : ท้าหนา้ ทบ่ี ันทึกผลการทา้ กิจกรรม 4) สมาชิกคนที่ 5 และ 6 : ทา้ หนา้ ที่นา้ เสนอผลที่ไดจ้ ากการทา้ กจิ กรรม 3.4 ในระหว่างการท้ากิจกรรมให้สมาชิกภายในกลุ่มตังค้าถามขันตอนการท้ากิจกรรมท่ีตนเองสงสัย แล้วให้ สมาชกิ ร่วมกนั สืบคน้ จากแหล่งขอ้ มลู เพ่อื ตอบค้าถาม

๑๘๗ 3.5 ให้ตัวแทนของแต่ละกลุ่มออกมาน้าเสนอผลจากการท้ากิจกรรม และอธิบายข้อสงสัยที่สมาชิกภายใน กลุ่มตงั ค้าถาม และนา้ เสนอผลจากการสบื คน้ คา้ ตอบ 3.6 ครพู จิ ารณาผลจากการท้ากิจกรรมและผลจากการสืบคน้ ข้อสงสัยในขนั ตอนการท้ากิจกรรมของนักเรียน 3.8 ครเู สรมิ และเพ่มิ เตมิ ขอ้ มูล หากข้อมลู ทน่ี ักเรียนออกมานา้ เสนอยงั ไม่สมบรู ณ์ 3.9 นกั เรยี นและครรู ว่ มกนั อภิปรายผลจากการทา้ กิจกรรม 3.10 ครูถามคา้ ถามทา้ ยกจิ กรรม และเฉลยค้าถามทา้ ยกิจกรรม โดยมีค้าถามดงั นี 1) การทดลองนคี วรมีสมมตฐิ านอย่างไร แนวตอบ พืชมีการตอบสนองตอ่ ปจั จัยภายนอก ดังนนั ปลายยอดพชื จะเจริญเขา้ หาแสงซงึ่ เป็นทิศ ทางตรงขา้ มกบั การเจริญของรากทมี่ ีทิศทางเดียวกบั แรงโน้มถว่ ง 2) ตัวแปรตน้ ตัวแปรตาม และตวั แปรควบคมุ คืออะไร แนวตอบ ตวั แปรตน้ คือ ตา้ แหนง่ ของเมลด็ ถว่ั ท่ีจดั อยู่ในลกั ษณะทตี่ า่ งกนั ตวั แปรตาม คอื การโคง้ งอของปลายรากและปลายยอด ตัวแปรควบคุม คือ ชนิดและขนาดของเมล็ดพืช คุณภาพของเมล็ดพันธ์ุ ปริมาณความชืนและ อากาศภายในกล่อง รวมทงั ปรมิ าณแสงทเ่ี มล็ดพืชได้รับ 3) หากไม่ใชพ้ ลาสติกดา้ มาคลุมกล่อง นักเรียนคิดวา่ จะได้ผลการทดลองเหมอื นกนั หรอื ไม่ อยา่ งไร แนวตอบ ไม่เหมือนกนั เพราะแสงมีผลต่อการเจรญิ ปลายยอดและปลายราก ขัน้ ท่ี 4 ข้นั ขยายความรู้ 4.1 ครมู อบหมายใหน้ ักเรยี นทา้ การบา้ นในแบบฝกึ หัดชวี วิทยา ม.5 เล่ม 1 4.2 หลังจากท้ากิจกรรมเสร็จแล้ว นกั เรยี นและครูอาจร่วมกนั อภปิ รายหาข้อสรปุ ให้ได้ว่าการเคล่อื นไหวแบบ ทรอปิกมูฟเมนต์ (Tropic movement) เป็นการตอบสนองต่อสิ่งเร้าท่ีมีทิศทางสัมพันธ์กับสิ่งเร้าภายนอก ไดแ้ ก่ แสง แรงโนม้ ถว่ ง สารเคมี น้าหรือความชนื และการสัมผสั โดยทศิ ทางที่พืชตอบสนองมี 2 แบบ คือ เบน เขา้ หา (Positive tropism) และ เบนออก (Negative tropism) 4.3 ครูถามค้าถาม เพ่ือทดสอบความเข้าใจและน้าความรู้ท่ีได้จากการเรียนหัวข้อนีมาตอบค้าถาม จากนัน นักเรยี นและครรู ่วมกันอภปิ รายค้าตอบที่ถกู ต้อง โดยมีคา้ ถามดงั นี 1) หากทดลองน้าพืชไปปลกุ ในยานอวกาศท่ีลอยคว้างอยู่ในอวกาศ โดยภายในยานยงั คงมอี อกซิเจน และแสงเพยี งพอต่อการเจรญิ ของพชื นักเรียนคิดว่า พืชจะมีลักษณะอยา่ งไร แนวตอบ พืชจะมีรูปร่างท่ีแตกต่างกัน ไม่มีรูปแบบท่ีแน่นอนเน่ืองจากขาดแรงโน้มถ่วง โดยเฉพาะ รากพืชจะเจริญหาเข้าหาความชนื หรือบรเิ วณที่มีอาหาร สว่ นปลายยอดพชื จะเจริญเขา้ หาแสง 2) นอกจากพชื จะเคลอ่ื นทีส่ ัมพันธ์กบั ส่งิ เร้าแลว้ ยังมกี ารเคล่อื นไหวอกี แบบหน่ึงที่ไม่สัมพนั ธ์กับสง่ิ เร้า ภายนอกเรยี กว่าอะไร แนวตอบ การเคลือ่ นไหวทีต่ อบสนองตอ่ แรงโน้มถ่วงของโลก (Geotropism หรอื Gravitropism) 4.4 ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกยี่ วกับการเคลื่อนไหวแบบแนสติก (Nastic movement) จากแหล่งการเรียนรู้ เชน่ หนงั สือเรียนชวี วิทยา ม.5 เล่ม 1 สอ่ื อินเทอร์เนต็ 4.5 ให้นักเรียนยกตัวอยา่ งการเคล่ือนไหวแบบแนสตกิ (Nastic movement) 4.6 ครเู ขยี นคา้ ถามบนกระดานแลว้ ให้นักเรยี นตอบคา้ ถามลงในสมุดบันทึก ดังนี 1) สงิ่ เรา้ ที่มากระตุน้ ให้ดอกบวั หุบและบานคืออะไร

๑๘๘ แนวตอบ แสงไปกระตุ้นให้การเจริญของกลุ่มเซลล์แตกต่างกัน โดยในช่วงท่ีมีแสงกลุ่มเซลล์ด้านใน จะเจรญิ เร็วกว่ากล่มุ เซลล์ด้านนอก ท้าใหด้ อกบัวบาน แตใ่ นชว่ งไมม่ ีแสงกลุ่มเซลล์ด้านนอกจะเจริญ เร็วกวา่ กลุ่มเซลลด์ ้านใน ทา้ ใหด้ อกบวั หบุ 2) สิง่ เรา้ ทีม่ ากระตนุ้ ให้ใบไมยราบหบุ และกางคืออะไร แนวตอบ เมื่อสัมผัสจะท้าให้แรงดันเต่งภายในเซลล์พัลไวนสั (Pulvinus) ลดลงอย่างรวดเร็ว เซลล์ จึงสูญเสียน้า ท้าให้ใบไมยราบหุบ เม่ือเวลาผ่านไปน้าจากเซลล์ข้างเคียง ท้าให้แรงดันเต่งภายใน เซลลพ์ ัลไวนสั เพ่มิ ขนึ เซลลเ์ ตง่ สง่ ผลใหใ้ บไมยราบกางออก 3) การหุบและบานของดอกบวั กับการหบุ และกางของไมยราบแตกต่างกันอย่างไร แนวตอบ ตา่ งกนั ส่งิ เร้าทม่ี ากระตนุ้ โดยการหุบและบนของดอกบวั มีแสงเปน็ ส่ิงเร้า ส่วนการหุบและ กางของไมยราบจะมีการสัมผัสเปน็ สง่ิ เร้า 4.7 นักเรียนและครรู ่วมกันอภิปรายวา่ “การเคลือ่ นไหวแบบแนสติก (Nastic movement) จะมแี สงและอณุ หภมู เิ ปน็ ปจั จยั ภายนอกท่ีส้าคัญ ซ่ึงปัจจัยนีจะส่งผลให้เกิดการหุบและบานของดอกไม้เน่ืองจากการเจริญของเซลล์ภายในและภายนอกท่ี แตกต่างกนั นอกจากนีจะส่งผลต่อกลุ่มเซลลบ์ างชนิดทา้ ใหเ้ กดิ การหบุ และกางของพชื บางชนิด” 4.8 ครอู ธบิ ายตอ่ ไปวา่ นอกจากส่ิงเร้าภายนอกแลว้ พชื ยังตอบสนองต่อสง่ิ เร้าภายใน ทา้ ให้พชื มกี ารเคลือ่ นไหว 2 แบบ คือ การเคล่อื นไหวแบบสา่ ยหรอื นวิ เทชันมฟู เมนต์ (Nutation movement) และการเคลื่อนไหวแบบบดิ 4.9 ครูให้นักเรียนศึกษาข้อมูลจากหนังสือเรียนชีววิทยา ม.5 เล่ม 1 เก่ียวกับการเคล่ือนไหวของพืชท่ี ตอบสนองต่อเร้าภายใน 4.10 ครูยกตัวอย่างการนา้ ความรู้เก่ียวกับการตอบสนองของพชื มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ้าวัน เช่น มนุษย์ อาศัยการเคลือ่ นไหวแบบเปน็ เกลยี วของพืชมาดดั แปลงใหพ้ ุ่มไมเ้ ลือยมีรูปร่างต่าง ๆ โดยนา้ เหล็กมาดัดให้เป็น รปู ตา่ ง ๆ 4.11 ให้นักเรียนยกตัวอย่าง 1 ตัวอย่างเกีย่ วกบั การน้าความรู้ที่ได้จากการศึกษาเร่ือง การตอบสนองของพืช มาประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจา้ วัน ลงในกระดาษ A4 พรอ้ มน้าเสนอหนา้ ชันเรยี น ข้ันท่ี 5 ประเมนิ ผล 5.1 วิธกี ารวดั และประเมินผล 1. ประเมนิ จากสมุดบันทึก 2. ประเมนิ จากใบกจิ กรรม 3. ประเมนิ พฤตกิ รรมนกั เรยี น 5.2 เคร่อื งมอื วดั และประเมินผล 1. แบบเฉลยรายงานสมดุ บันทึก 2. แบบประเมนิ ใบกจิ กรรม 3. แบบประเมินพฤตกิ รรมนักเรียน 5.3 เกณฑก์ ารวัดและการประเมินผล 1. การประเมินจากสมุดบันทกึ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 2. การประเมนิ ใบกิจกรรม ผ่านเกณฑร์ ้อยละ 80 3. การประเมนิ พฤตกิ รรมนกั เรยี น ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ 80

๑๘๙ 11. สอื่ /แหล่งการเรียนรู้ 11.1 หนงั สอื เรียนสาระการเรยี นรู้ชีววิทยา 3 11.2 เพาเวอร์พอยท์ เรื่อง การตอบสนองของพืชในลกั ษณะการเคล่อื นไหว 11.3 ใบกิจกรรมที่ 5.3 เร่ือง การตอบสนองของพืชในลักษณะการเคลอื่ นไหว 12. หลักฐานการเรยี นรู้และวิธกี ารประเมิน วิธีการวดั เคร่ืองมอื วดั เกณฑก์ าร จดุ ประสงค์การเรียนรู้ (K P A) ประเมนิ - ใบกจิ กรรม ดา้ นความรู้ (K) - ตรวจใบกิจกรรม - สมดุ บันทึก ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 1. ผู้เรียนสามารถสืบค้นข้อมูล ทดลอง และ - ตรวจสมุดบันทกึ ของคะแนน อภปิ รายเกย่ี วกบั สง่ิ เรา้ ภายนอกท่ีมผี ล ตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพชื ได้ ดา้ นทกั ษะ (P) - ตรวจผลงาน - แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์ 1. ผูเ้ รียนสามารถเปรยี บเทยี บผลการทดลอง - สงั เกตความตงั ใจ ชนิ งาน คณุ ภาพระดบั กระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสงของ และความ 2 นกั วทิ ยาศาสตร์ในอดีตได้ รบั ผดิ ชอบในการ - แบบประเมิน ปฏิบตั ิกจิ กรรม พฤตกิ รรม ผา่ นเกณฑ์ ด้านเจตคติ (A) คุณภาพระดับ 1. ความสนใจ - สังเกตพฤตกิ รรม 2 2. การตรงตอ่ เวลา การเรียนรู้ 3. การตอบค้าถาม 4. การยอมรบั ฟังผอู้ ืน่ 5. ความรับผดิ ชอบ

๑๙๐ ใบงานท่ี 5.3 เร่อื ง การตอบสนองของพชื คาช้ีแจง : ใหน้ กั เรยี นเติมคาตอบใหถ้ ูกต้องและสมบูรณ์ทส่ี ดุ ........................................................................................................................................................................... 1. เคโมทรอปิซึม ( Chemotropism ) คอื การเคลือ่ นไหวของพชื ท่ีมีอะไรเป็นสิ่งเรา้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ไฮโดรทรอปซิ มึ ( Hydrotropism ) คอื การเคล่อื นไหวของพชื ทม่ี ีอะไรเปน็ สิง่ เรา้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………….............……………………………………………………………………………. 3. เทอรโ์ มทรอปิซมึ ( Thermopism ) คือ การเคล่อื นไหวของพืชท่ีมอี ะไรเปน็ สิง่ เร้า ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 4. ทกิ โมทรอปิซึม ( Thimotropism ) คอื การเคลอื่ นไหวของพืชท่ีมอี ะไรเป็นสง่ิ เร้า ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………. 5. การเคลื่อนไหวทเ่ี กดิ เฉพาะทย่ี อดของพชื บางชนิด เช่น ถว่ั ทาใหป้ ลายยอดเอนหรอื แกว่งไปมาใน ขณะท่ีพชื เจรญิ เติบโตข้ึนไปทลี ะน้อยเปน็ การเคลือ่ นที่แบบใด .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 6. การเคล่อื นไหวเน่อื งจากการเปล่ียนแปลงความเข้มของแสงหรือการนอนหลบั ( Sleep movement ) ไดแ้ ก่พืชชนดิ ใด .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 7. การเคลื่อนไหวเนอ่ื งจากการเปลย่ี นแปลงแรงดนั เตง่ ทาให้เกิดประโยชนก์ ับพชื หลายประการ คือ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ชอ่ื – สกุล ........................................................ ชั้น .................. เลขที่ ...............

๑๙๑ เฉลยใบงานท่ี 5.3 เรอื่ ง การตอบสนองของพชื คาชแี้ จง : ใหน้ ักเรยี นเติมคาตอบให้ถูกตอ้ งและสมบรู ณ์ท่ีสุด ......................................................................................................................................................................... 1. เคโมทรอปิซมึ ( Chemotropism ) คอื การเคล่ือนไหวของพืชท่มี อี ะไรเป็นสิง่ เร้า ตอบ สารเคมีเปน็ สง่ิ เร้า 2. ไฮโดรทรอปิซึม ( Hydrotropism ) คือ การเคลอ่ื นไหวของพืชที่มอี ะไรเปน็ สงิ่ เร้า ตอบ ความชนื หรือน้าเป็นสิง่ เรา้ 3. เทอร์โมทรอปิซมึ ( Thermopism ) คอื การเคล่ือนไหวของพืชที่มอี ะไรเปน็ สิง่ เร้า ตอบ อุณหภมู เิ ป็นสิง่ เร้า 4. ทิกโมทรอปซิ มึ ( Thimotropism ) คอื การเคล่อื นไหวของพืชทมี่ ีอะไรเปน็ ส่ิงเร้า ตอบ การสัมผสั เปน็ ส่ิงเรา้ 5. การเคลอื่ นไหวท่ีเกดิ เฉพาะที่ยอดของพืชบางชนดิ เชน่ ถวั่ ทาใหป้ ลายยอดเอนหรือแกวง่ ไปมาใน ขณะท่ีพืชเจรญิ เติบโตขนึ้ ไปทีละนอ้ ยเปน็ การเคล่ือนทแ่ี บบใด ตอบ นวิ เตชนั 6. การเคลอื่ นไหวเนื่องจากการเปลีย่ นแปลงความเขม้ ของแสงหรือการนอนหลับ ( Sleep movement ) ไดแ้ กพ่ ชื ชนดิ ใด ตอบ พืชตระกลู ถวั่ เช่น ก้ามปู กระถนิ แค มะขาม จามจรุ ี ไมยราบ ผกั กระเฉด ใบจะหบุ ในตอนเย็นหรือตอน พลบค้า่ ทีเ่ รยี กวา่ “ ต้นไม้นอน ” 7. การเคลือ่ นไหวเนอื่ งจากการเปล่ียนแปลงแรงดนั เต่ง ทาใหเ้ กดิ ประโยชน์กบั พชื หลายประการ คือ ตอบ การเจริญเขา้ หารังไข่ของละอองเรณชู ว่ ยในการผสมพนั ธุ์ การบานของดอกเพอื่ ท้าให้เกิดการผสมพนั ธุ์ หรอื กระจายละอองเรณู พชื บางชนดิ มีการจับและยอ่ ยแมลงเปน็ อาหารได้ ใบไมยราบหุบไดเ้ พือ่ ช่วยในการหลบหลกี ศัตรู

๒๙๒ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 23 รายวชิ า ชวี วิทยา 3 รหสั วชิ า ว33243 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 การควบคุมการเจริญเตบิ โตและการตอบสนองของพชื เวลา 10 ช่ัวโมง เร่ือง การตอบสนองต่อภาวะเคลยี ด เวลา 2 ชว่ั โมง ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ครผู ู้สอน นายบุญรงั จาปา 1. สาระชวี วทิ ยา สาระที่ 3 เขา้ ใจส่วนประกอบของพืช การแลกเปลีย่ นแกส๊ และคายน้าของพชื การล้าเลียงของพชื การ สังเคราะห์ดว้ ยแสง การสืบพันธขุ์ องพืชดอกและการเจรญิ เติบโต และการตอบสนองของพืช รวมทังน้าความรู้ ไปใชป้ ระโยชน์ 2. ผลการเรยี นรู้ สืบค้นข้อมูล ทดลอง และอภปิ รายเกย่ี วกบั สิง่ เรา้ ภายนอกที่มผี ลตอ่ การเจริญเติบโตของพืช 3. สาระสาคญั พืชตอ้ งอาศัยสภาพแวดลอ้ มในการเจริญเติบโต ไมว่ า่ จะเปน็ ดิน นา้ แสงแดด อากาศ อุณหภูมิ แร่ ธาตุ รวมไปถึงสัตว์ทอ่ี าศัยอยู่ในระบบนเิ วศน์เดยี วกันกบั พชื ชนิดนัน ๆ แตถ่ า้ หากมีการเปลี่ยนแปลงกบั สงิ่ แวดล้อมใด ๆ ทเ่ี กิดจากปัจจยั ภายนอก ที่สง่ ผลต่อการ เจริญเติบโตของพืชท่ีผดิ ปกติ เราเรยี กสภาวะนีว่า \"สภาวะเครยี ดของพชื \" 4. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ (K) 1. ผเู้ รยี นสามารถอธิบายการตอบสนองของพืชในภาวะเครียดท่ีเกิดจากสิง่ เร้าทาง กายภาพ และสิง่ เรา้ ทางชีวภาพ 3.2 ด้านทักษะกระบวนการ (P) 1. ผเู้ รียนสามารถสรุปเกี่ยวกบั การตอบสนองของพชื ในภาวะเครยี ดที่เกิดจากสง่ิ เร้า ทางกายภาพ และส่ิงเรา้ ทางชวี ภาพ 3.3 ด้านคุณลกั ษณะ (A) 1. ความสนใจ 2. การตรงต่อเวลา 3. การตอบคา้ ถาม 4. การยอมรับฟังผู้อืน่ 5. ความรับผิดชอบ 5. สาระการเรยี นรู้แกนกลาง - แสงสว่าง แรงโน้มถว่ งของโลก สารเคมี และน้า เป็นสิ่งเรา้ ภายนอกทม่ี ผี ลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพชื - ความรู้เก่ียวกับการตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายในและส่ิงเร้าภายนอกท่ีมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช สามารถนา้ มาประยกุ ต์ใชค้ วบคุมการเจรญิ เตบิ โตของพชื เพม่ิ ผลผลติ และยืดอายผุ ลผลติ ได้

๒๙๓ 6. ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (Attitude) คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคต์ ามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั พืนฐาน พุทธศักราช 2551  รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  อยู่อย่างพอเพียง  ซือ่ สัตย์สุจรติ  มุง่ มนั่ ในการทา้ งาน  มวี นิ ยั  รักความเปน็ ไทย  ใฝ่เรียนรู้  มีจิตสาธารณะ 7. คณุ ลกั ษณะของผเู้ รยี น ตามหลกั สูตรโรงเรยี นมาตรฐานสากล  เป็นเลศิ วิชาการ  สอ่ื สารสองภาษา  ล้าหนา้ ทางความคดิ  ผลติ งานอย่างสร้างสรรค์  ร่วมกันรบั ผดิ ชอบต่อสงั คมโลก 8. ดา้ นการ อา่ น คดิ วิเคราะหแ์ ละเขียน  การอา่ น : อ่านเอกสารใบความรู้ เร่ือง การตอบสนองตอ่ ภาวะเคลียด  การคดิ วิเคราะห์ : คิดวเิ คราะห์ขอ้ มูลท่ไี ด้จากการอา่ นใบความรู้  การเขียน : เขยี นสรุป เรื่อง การตอบสนองต่อภาวะเคลยี ด 9. ด้านสมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น  ความสามารถในการสือ่ สาร : แสดงความคิดเห็น และสามารถอธบิ าย  ความสามารถในการคิด : มีความสามารถในการวเิ คราะห์ แก้ปญั หาเฉพาะหน้า  ความสามารถในการแก้ปญั หา : นักเรียนสามารถแกไ้ ขปญั หาเฉพาะหน้าไดเ้ มื่อพบปญั หา  ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ : ท้างานร่วมกบั ผอู้ ่ืนได้ดี  ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี : สามารถใช้เทคโนโลยีสืบค้นข้อมลู 10. กจิ กรรมการเรยี นรู้ (5E) ขั้นท่ี 1 ข้นั สรา้ งความสนใจ 1.1 ครูใช้คา้ ถามกระตุน้ ความสนใจของนักเรียนว่า นักเรียนเคยปลูกพืชแล้วลืมรดนา้ หรือไม่ และต้นพืชนันมี ลักษณะแตกต่างจากต้นพืชท่ีรดนา้ อย่างไร นอกจากนีครูอาจใช้รูป 12.17 การม้วนของใบข้าวที่ตอบสนอง ต่อการขาดนา้ โดยให้นกั เรยี นสืบค้นขอ้ มลู และรว่ มกนั อภปิ ราย โดยมีค้าถามดังนี 1) ใบข้าวอยู่ในภาวะสมดุลโดยมกี ารเจริญเติบโตและการดา้ รงชวี ิตเปน็ ปกตหิ รอื ไม่ 2) ใบข้าวมีการตอบสนองตอ่ ปจั จยั ภายนอกอย่างไร 1.2 จากการสืบค้นข้อมูลและอภิปรายร่วมกนั นกั เรียนควรสรปุ ไดว้ า่ ใบข้าวไม่อยู่ในภาวะสมดุลเน่ืองจากมีการเจริญเติบโตผิดปกติใบข้าวเหี่ยว ส่งผลกระทบต่อการ ดา้ รงชวี ติ แสดงวา่ อยู่ในภาวะเครียดเพราะไดร้ ับนา้ นอ้ ยเกนิ ไป ขน้ั ท่ี 2 สารวจคน้ หา 2.1 ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกยี่ วกับภาวะเครียดจากสิ่งเร้าทางกายภาพอืน่ ๆ นอกเหนือจากน้า และถาม นักเรียนต่อไปอีกว่า นอกจากน้าแล้วนักเรียนคิดว่ามีส่ิงเร้าทางกายภาพใดอีกบ้างที่ส่งผลให้พืชตอบสนองตอ่ ภาวะเครยี ด แนวคาตอบ มีส่ิงเร้าทางกายภาพอ่ืนอีก เช่น อุณหภูมิซ่ึงในกรณีที่พืชได้รับอุณหภูมิสูงพืชสามารถ ตอบสนองโดยการคายน้าเพ่ือรักษาอุณหภูมิของใบไม่ให้สูงมากขึน และยังช่วยรักษาสภาพการท้า งานของ เซลล์ให้เป็นปกติกรณีที่พืชได้รับอุณหภูมิสูงมากเกินไป พืชอาจปิดปากใบเพื่อลดการคายน้า กรณีที่พืชได้รับ อณุ หภมู ิต้่า มากเกนิ ไปพืชจะสร้างโครงสร้างของเย่อื หมุ้ เซลล์ให้มสี ดั ส่วนของกรดไขมันไม่อ่ิมตวั มากขนึ เพื่อท้า ใหเ้ ยอื่ ห้มุ เซลลย์ ังคงมีสมบัตใิ นการเปน็ ของไหล

๒๙๔ ข้ันท่ี 3 อธิบายความรู้ 3.1 ครใู ห้นกั เรยี นสบื ค้นข้อมูลเรอื่ งภาวะเครยี ดจากสง่ิ เร้าทางชวี ภาพและรว่ มกนั อภิปรายปัจจัยทางชวี ภาพที่ ทา้ ใหพ้ ชื อยู่ในภาวะเครียด แนวคาตอบ ภาวะเครยี ดจากสง่ิ เรา้ ทางชีวภาพเชน่ การเข้าทา้ ลายจากสัตวก์ นิ พืช จุลินทรีย์ 3.2 จากนนั ครูถามนักเรียนตอ่ ไปว่าพชื มีวธิ กี ารปอ้ งกันภาวะเครยี ดจากสิ่งเร้าทางชวี ภาพได้อย่างไร แนวคาตอบ มีวิธีการป้องกันทางโครงสร้าง เช่น การมีขนบนใบและล้า ต้น การมีหนาม และการสร้าง สารเคมีธรรมชาติ เช่น สารกลุ่มฟีนอล หรือการมีน้ายางเม่ือพืชอยู่ในภาวะเครียดจะส่งผลให้พืชตอบสนอง ทางดา้ นโครงสร้างและด้านสรรี วทิ ยาอาจแตกต่างกันไปตามชนดิ พืช และสิ่งเร้าที่พชื ได้รบั เพือ่ ใหพ้ ืชสามารถด้า รงชวี ิตอยู่ไดแ้ ต่ถ้าพืชไม่สามารถปรบั ตัวได้หรืออยใู่ นภาวะเครยี ดเปน็ เวลานานอาจทา้ ใหพ้ ชื ตายได้ ขน้ั ท่ี 4 ข้นั ขยายความรู้ 4.1 ครูมอบหมายใหน้ กั เรยี นท้า Mind mapping เร่อื ง การตอบสนองต่อภาวะเครยี ด 4.2 ครูมอบหมายใหน้ กั เรียนท้าการบา้ นในแบบฝึกหัดชีววทิ ยา ม.5 เลม่ 1 ข้ันที่ 5 ประเมินผล 5.1 วิธีการวัดและประเมนิ ผล 1. ประเมนิ จากสมุดบนั ทึก 2. ประเมินจากใบกจิ กรรม 3. ประเมนิ พฤตกิ รรมนกั เรยี น 5.2 เคร่อื งมือวัดและประเมนิ ผล 1. แบบเฉลยรายงานสมดุ บันทกึ 2. แบบประเมนิ ใบกจิ กรรม 3. แบบประเมนิ พฤติกรรมนักเรียน 5.3 เกณฑ์การวัดและการประเมนิ ผล 1. การประเมินจากสมุดบนั ทึก ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ 70 2. การประเมินใบกจิ กรรม ผ่านเกณฑร์ ้อยละ 80 3. การประเมินพฤติกรรมนักเรยี น ผา่ นเกณฑร์ อ้ ยละ 80 11. สอื่ /แหลง่ การเรยี นรู้ 11.1 หนังสอื เรียนสาระการเรยี นรชู้ ีววทิ ยา 3 11.2 เพาเวอรพ์ อยท์ เรอ่ื ง การตอบสนองต่อภาวะเคลียด 11.3 ใบกจิ กรรมที่ 5.4 เร่อื ง การตอบสนองตอ่ ภาวะเคลยี ด

๒๙๕ 12. หลกั ฐานการเรยี นรูแ้ ละวิธกี ารประเมนิ วธิ กี ารวัด เคร่อื งมือวดั เกณฑก์ าร จดุ ประสงค์การเรียนรู้ (K P A) ประเมนิ - ใบกจิ กรรม ด้านความรู้ (K) - ตรวจใบกิจกรรม - สมดุ บนั ทึก ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 1. ผู้เรียนสามารถอธิบายการตอบสนองของพชื ใน - ตรวจสมุดบนั ทกึ ของคะแนน ภาวะเครียดที่เกิดจากสิ่งเร้าทางกายภาพ และส่ิง เรา้ ทางชีวภาพ ดา้ นทักษะ (P) - ตรวจผลงาน - แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์ 1. ผเู้ รยี นสามารถสรุปเกย่ี วกับการตอบสนองของ - สงั เกตความตงั ใจ ชนิ งาน คณุ ภาพระดบั พชื ในภาวะเครียดทเี่ กดิ จากสิ่งเรา้ ทางกายภาพ และความ 2 และสิง่ เรา้ ทางชีวภาพ รับผิดชอบในการ - แบบประเมิน ปฏบิ ตั กิ จิ กรรม พฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์ ด้านเจตคติ (A) คุณภาพระดับ 1. ความสนใจ - สงั เกตพฤติกรรม 2 2. การตรงตอ่ เวลา การเรียนรู้ 3. การตอบคา้ ถาม 4. การยอมรบั ฟังผอู้ นื่ 5. ความรับผดิ ชอบ

๒๙๖ ใบงานท่ี 5.4 เร่ือง การตอบสนองต่อภาวะเคลียด คาชแี้ จง : ให้นกั เรียนเตมิ คาตอบให้ถกู ต้องและสมบูรณ์ท่สี ดุ ....................................................................................................................................................................... 1.พชื ในทีร่ ่มได้รับแสงน้อย เซลล์ในชัน้ พเิ ดอร์มสิ ชว่ ยในการรบั แสงอยา่ งไร .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ 2. โครงสร้างภายในตัดตามขวางของใบพืชชนิดเดียวกันที่อยู่ในที่กลางแจ้งกับอยู่ในท่ีร่มแตกต่างกัน อย่างไร เพราะเหตุใด .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3.พืชบางชนดิ ชอบเจรญิ ในที่มแี สงแดดจดั เรียกว่า ........................................................ พืชบางชนิดชอบ เจริญในทม่ี แี สงแดดน้อยหรอื ในท่รี ่ม เรยี กวา่ ............................................................................................... 4.พชื มกี ารดูดซับแสงได้มากท่ีสดุ เม่อื ใบพชื มีลักษณะอย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 5.จากภาพโครงสร้างใบตัดตามขวางใหน้ ักเรียนพิจารณาการจัดเรียงตัวของเซลลใ์ นช้ันเพลิเซดมีโซฟิลล์ และสปันจีมโี ซฟิลลช์ ่วยในการรบั แสงและแลกเปลี่ยนแก๊สอย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ชือ่ -สกลุ .........................................................ชน้ั ...................เลขที.่ .....................

๒๙๗ เฉลยใบงานท่ี 5.4 เร่ือง การตอบสนองต่อภาวะเคลยี ด คาชี้แจง : ให้นกั เรยี นเติมคาตอบใหถ้ ูกต้องและสมบูรณท์ ส่ี ดุ .................................................................................................................................................. 1.พืชในท่รี ่มได้รับแสงน้อย เซลล์ในช้ันพเิ ดอร์มิสชว่ ยในการรบั แสงอยา่ งไร คาตอบ ทา้ หน้าทีเ่ ป็นเลนสร์ วมแสง เพ่ิมความเขม้ ของแสงท่ีส่งไปยงั คลอโรพลาสต์ 2. โครงสร้างภายในตัดตามขวางของใบพืชชนิดเดียวกันที่อยู่ในที่กลางแจ้งกับอยู่ในที่ร่มแตกต่างกัน อยา่ งไร เพราะเหตุใด คาตอบ เมื่อความเข้มของแสงน้อย พืชจะปรับตัวให้ใบมีลักษณะบางลง ท้าให้อัตราส่วนพืนที่ผิวต่อปริมาตร มากขึนโดยลดความหนาของชันมโี ซฟลิ ล์เพ่อื ใหแ้ สงสามารถสอ่ งผา่ นเข้าไปถงึ สปันจมี โี ซฟิลล์ การที่พชื ปรบั ตัว โดยวิธีเพิ่มอัตราส่วนของพืชที่ผิวต่อปริมาตร จึงจัดเป็นวิธีการปรับตัววิธีหน่ึงท่ีท้าให้พืชสามารถด้ารง ความสามารถในการสงั เคราะหด์ ้วยแสงไวไ้ ด้ 3.พืชบางชนดิ ชอบเจริญในทม่ี แี สงแดดจัดเรยี กวา่ พชื กลางแจ้ง (Sun plant)พชื บางชนดิ ชอบเจริญในที่มี แสงแดดน้อยหรือในที่รม่ เรียกวา่ พชื ในที่ร่ม (Shade plant) 4.พชื มีการดูดซับแสงได้มากทีส่ ุด เม่ือใบพืชมลี กั ษณะอยา่ งไร คาตอบ เม่อื แผน่ ใบพืช ( Blade หรอื Lamina ) วางตวั ตงั ฉากกับแสงท่สี ่องมา 5.จากภาพโครงสร้างใบตัดตามขวางให้นักเรียนพจิ ารณาการจัดเรียงตัวของเซลล์ในชน้ั เพลิเซดมีโซฟลิ ล์ และสปันจมี โี ซฟลิ ล์ชว่ ยในการรับแสงและแลกเปลี่ยนแกส๊ อย่างไร คาตอบ แพลิเซดมีโซฟิลล์เรยี งเป็นแถวอยู่ดา้ นบนของใบเพ่ือรับแสงไดเ้ ต็มที่ ระหวา่ งเซลล์ชันแพลิเซดมีโซฟิลล์ มีช่องว่างให้แสงส่องผ่าน รอยต่อระหว่างอากาศและน้าท่ีเคลือบผนังเซลล์ช่วยสะท้อนแสงให้ไปได้หลาย ทศิ ทาง ท้าใหส้ ารสใี นคลอโรพลาสต์มีโอกาสดูดซับแสงได้มากยง่ิ ขึน ชนั สปนั จีมีโซฟิลล์เกาะหลวมๆ มีช่องวา่ ง ระหว่างเซลล์มากนอกจากท้าให้แสงส่องผ่านไปได้ดีแล้ว ช่องวางที่อยู่ติดกบั ปากใบยังช่วยให้การแลกเปล่ียน แก๊สเกดิ ขนึ ได้มาก