Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือสอนอ่านเขียนโดยการแจกลูกสะกดคำ

คู่มือสอนอ่านเขียนโดยการแจกลูกสะกดคำ

Description: คู่มือสอนอ่านเขียนโดยการแจกลูกสะกดคำ

Search

Read the Text Version

ข้นั ที่ ๗ ฝึกอา่ นประโยคส้นั ๆ คา ในแม่ ก กา จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เพอ่ื ให้นกั เรยี นอา่ นคา ในแม่ ก กา เปน็ ประโยคส้นั ๆ ได้ กจิ กรรม เมือ่ นกั เรียนสามารถอา่ นคา ในแม่ ก กา ได้แลว้ ครูอาจนาคาในแม่ ก กา มาสร้างเปน็ กลุ่มคา และให้นักเรยี นฝึกอา่ นแบบสะกดคา อ่านเป็นคา อ่านในรูปประโยคงา่ ย ๆ ดงั นี้ ๑. ฝึกอา่ นคา ครใู หน้ กั เรียนอ่านสะกดคา อา่ นแจกลูก และอ่านเป็นคา จากคาที่ครูเขยี นบน กระดาน ครูอาจให้นักเรยี นนาเสนอคาในแม่ ก กา แล้วเขยี นบนกระดาน เพอ่ื ฝึกให้นกั เรียนอา่ นคล่อง มะ ละ ยะ ระ ชะ นะ อะ จะ ตะ ตา พา อา ยา ทา มา สา คา ถา นา สา รา ตา ทา ขา ยา ลา คา ไป ไอ ไร ใจ ไว ไฟ ไย ไล ใส ๒. ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรา้ งกลมุ่ คาจากคาทีไ่ ด้อา่ นไปแล้วหรือจากคาทน่ี กั เรียนนาเสนอ เชน่ คาถา ลาไย มะไฟ มะระ มะลิ ระบา คานา ชะนี สาลี มไี ฟ ดใี จ จอแจ งอแง รปู ู เกเร โซเซ มะละกอ ตาทายา ทาอะไร ๓. ครูและนักเรียนนากลุ่มคา ในแม่ ก กา ที่อ่านไปแล้วมาแต่งประโยคส้ัน ๆ และอ่าน ประโยคท้ังแบบอ่านสะกดคาและอ่านเปน็ คา เชน่ ตา มี มะละกอ สะกดว่า ตอ - อา ตา มอ - อี มี มอ - อะ มะ ลอ - อะ ละ กอ - ออ กอ อา มี ลาไย สะกดวา่ อ่านว่า ตา มี มะละกอ ชะนี มี มะไฟ สะกดวา่ ออ - อา อา มอ - อี มี ลอ - อา ลา ยอ - ไอ ไย อา่ นว่า อา มี ลาไย ปู นา ขา เก สะกดวา่ ชอ - อะ ชะ นอ - อี นี มอ - อี มี ชะนี ตวั โต สะกดว่า มอ - อะ มะ ฟอ - ไอ ไฟ ตา ดู ระบา สะกดวา่ อ่านว่า ชะนี มี มะไฟ ปอ - อู ปู นอ - อา นา ขอ - อา ขา กอ - เอ เก อ่านวา่ ปู นา ขา เก ชอ - อะ ชะ นอ - อี นี ตอ - อัว ตวั ตอ - โอ โต อา่ นวา่ ชะนี ตัว โต ตอ - อา ตา ดอ - อู ดู รอ - อะ ระ บอ - อา บา อา่ นว่า ตา ดู ระบา ๔. เม่อื นกั เรยี นอ่านประโยคคล่องแลว้ ใหน้ กั เรียนฝึกเขยี นประโยค และแต่งประโยคจากคาท่ี กาหนดให้ หรอื จากคาท่ีนักเรียนนาเสนอ -๘๙-

ตัวอยา่ งการนาแนวทางการจดั การเรียนรู้ไปใช้ในหอ้ งเรียน หนว่ ยที่ ๔ การแจกลูกสะกดคาในแม่ ก กา จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ของหน่วย (๘ ช่ัวโมง) ๑. เพือ่ ให้นกั เรียนอ่านสะกดคา ในแม่ ก กา ได้ ๒. เพอื่ ให้นกั เรยี นอา่ นแจกลูกคา ในแม่ ก กา ได้ ๓. เพอ่ื ใหน้ ักเรียนเขียนคา ในแม่ ก กา ได้ ๔. เพ่อื ให้นักเรยี นอา่ นประโยคสัน้ ๆ ท่ีมีคา ในแม่ ก กา ได้ แนวทางการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๑ ทบทวนรปู และเสยี งพยญั ชนะและสระ (๑ ชั่วโมง) (ตามแนวทางการจดั การเรียนรขู้ ั้นตอนท่ี ๑ และ ๒) (๑ ชัว่ โมง) (๑ ช่ัวโมง) แนวทางการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๒ การสะกดคาเพอื่ อ่านและเขียน: พยัญชนะตน้ อกั ษรกลาง (๑ ช่วั โมง) แนวทางการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๓ การสะกดคาเพ่ืออา่ นและเขียน: พยัญชนะตน้ อักษรตา่ (๑ ชว่ั โมง) แนวทางการจัดการเรยี นรู้ที่ ๔ การสะกดคาเพ่ืออ่านและเขียน: พยัญชนะตน้ อักษรสงู (๑ ชั่วโมง) แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ ๕ การอ่านแจกลกู คาโดยใชพ้ ยญั ชนะตน้ คงที่ (๑ ชัว่ โมง) แนวทางการจดั การเรียนรู้ท่ี ๖ การอา่ นแจกลูกคาโดยใช้สระคงที่ (๑ ชั่วโมง) แนวทางการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๗ การฝกึ อ่านและเขยี นโดยใชก้ ารแจกลกู สะกดคา แนวทางการจัดการเรยี นรูท้ ่ี ๘ การฝึกอา่ นประโยคสัน้ ๆ แนวทางการจดั การเรียนรูท้ ี่ ๑ การสะกดคาเพ่ืออ่านและเขียน: พยญั ชนะตน้ อกั ษรกลาง (๑ ช่ัวโมง) จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ อ่านและเขยี นสะกดคาท่ีมีพยัญชนะต้นอักษรกลาง ในแม่ ก กา ได้ ขน้ั ตอนการจดั การเรียนรู้ ๑. ขน้ั นา ๑.๑ ครเู ขยี นบทรอ้ ยกรอง กา เอย กา บนกระดานดา ดังนี้ กา เอย กา (ไม่ทราบนามผแู้ ตง่ ) กำ เอย๋ กำ บนิ มำ ไว ไว จบั ตน้ โพ โผ มำ ต้น ไทร -๙๐-

๑.๒ ครอู า่ นบทร้อยกรอง ให้นกั เรียนอา่ นตาม ๑.๓ ครูเขียนคาจากบทร้อยกรองบนกระดาน เช่น กา ครูถามนักเรียนว่า คาน้ีประกอบด้วย พยัญชนะอะไร สระอะไร ครแู นะนาว่า คานป้ี ระกอบด้วย พยญั ชนะตน้ กอ และสระอา ๑.๔ ครูนาคาท่ีปรากฏในบทร้อยกรองมาถามนักเรียนอีก เช่น มา ไว โพ โผ โดยถามว่า คาน้ปี ระกอบดว้ ยพยญั ชนะตน้ และสระอะไร เพ่ือให้นกั เรยี นบอกพยญั ชนะต้นและสระของคานน้ั ๆ ๑.๕ สรปุ ใหน้ ักเรียนทราบสว่ นประกอบของคา ประกอบด้วยพยัญชนะตน้ และสระ ๒. ข้นั สอน ๒.๑. ครูแนะนาอักษรกลาง โดยเขียนอักษรกลาง ก จ ด ต บ ป อ บนกระดาน และให้ นักเรยี นอา่ นออกเสยี งพยัญชนะอักษรกลางทุกตัว ๒.๒ ครูสอนเรื่องการสะกดคาเพื่ออ่าน โดยให้เรียนรู้คาที่ประกอบด้วยพยัญชนะต้นอักษรกลาง + สระ เช่น คาว่า กา พยญั ชนะต้น ก ออกเสยี งว่า กอ สระ -า ออกเสียง อา กี พยัญชนะตน้ ก ออกเสยี งว่า กอ สระ -ี ออกเสยี ง อี ครนู าคาท่พี ยัญชนะต้นเป็นอักษรกลาง ในแม่ ก กา ให้นักเรยี นฝกึ สะกดคาจนคล่อง ๒.๓ ครูแนะการอ่านสะกดคาในแม่ ก กา โดยแยกแยะส่วนประกอบของคา ว่าคาน้ัน ประกอบด้วยพยัญชนะและสระอะไร ครูให้นักเรียนอ่านสะกดคาอักษรกลาง ในแม่ ก กา ท่ีครูเขียน บนกระดานตามครู เชน่ กา สะกดวา่ กอ - อา กา อา สะกดวา่ ออ - อา อา ดี สะกดว่า ดอ - อี ดี แก สะกดว่า กอ - แอ แก ๒.๔ ครูอ่านสะกดคา ในแม่ ก กา จากแผนภมู ใิ ห้นักเรียนอ่านตาม -๙๑-

การสะกดคาอักษรทีป่ ระสมดว้ ยสระอะ และสระอา กา กอ - อา กา ตา ตอ - อา ตา บา บอ - อา บา จา จอ - อา จา ดา ดอ - อา ดา ปา ปอ - อา ปา กะ กอ - อะ กะ ตาะ ตอ - อะ ตะ บาะ บอ - อะ บะ จะ จอ - อะ จะ ดาะ ดอ - อะ ดะ ปะ ปอ - อะ ปะ ๒.๕ ใหน้ ักเรียนอา่ นคาจากแผนภมู ิตามตัวอยา่ งเปน็ กลุ่มและรายบุคคล การสะกดคาอักษรกลางประสมด้วยสระอิ และสระอี กิ กอ - อิ กิ ติ ตอ - อิ ติ บิ บอ - อิ บิ จิ จอ - อิ จิ ดิ ดอ - อิ ดิ ปิ ปอ - อิ ปิ ๒.๖ ครูให้นักเรียนบอกส่วนประกอบของคา ว่ามีพยัญชนะต้นและสระอะไร พร้อมทั้ง ใหน้ กั เรยี นอา่ นสะกดคาทคี่ รูเขยี นบนกระดาน เช่น ไก กอ - ไอ อ่านวา่ ไก ใบ บอ - ใอ อา่ นวา่ ใบ ๒.๗ ให้นกั เรียนทาแบบฝึกท่ี ๑ โดยใหน้ ักเรยี นทาแบบฝกึ รายบคุ คลภายในเวลา ๑๐ นาทีก่อน จากน้นั ให้นามาอ่านให้ครฟู งั รายบุคคล ๓. ขนั้ สรุป ๓.๑ ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั สรุปการอา่ นสะกดคา โดยครูยกบัตรคาให้นักเรยี นดูแล้วให้นักเรียน บอกส่วนประกอบว่า คาประกอบด้วยอะไรบ้าง สรุปคือพยัญชนะต้น + สระ และการอ่านสะกดคา ต้องอ่าน เสียงพยญั ชนะต้นก่อนแลว้ จงึ อา่ นสระ ๓.๒ ครยู กตวั อยา่ งคา ในแม่ ก กา แล้วให้นกั เรยี นอ่านแบบสะกดคา ปี สะกดวา่ ปอ - อี ปี อ่านว่า ปี ครูให้นักเรียนฝึกอ่านสะกดคาจากบัตรคาท่ีหลากหลาย ประมาณ ๑๐ - ๑๕ คา แล้วสรุปการอ่านสะกดคาให้นักเรียนฟังอีกครั้ง จากน้ันให้นักเรียนทาแบบฝึกท่ี ๒ ขณะนักเรียนทาแบบฝึก ครูเดินสังเกตการณท์ างานของนกั เรยี นและใหค้ าแนะนา -๙๒-

ส่ือการสอน ๑. บทรอ้ ยกรอง กา เอยกา ๒. บตั รคา ๓. แผนภมู อิ า่ นสะกดคา ๔. แบบฝกึ การวดั และประเมินผล การตรวจแบบฝกึ -๙๓-

แบบฝกึ ท่ี ๑ การเขียนส่วนประกอบคา คาช้แี จง ใหน้ กั เรยี นเขียนสว่ นประกอบคาตามตัวอยา่ ง ลงในช่องว่างให้ถกู ต้อง ขอ้ ที่ คำ สะกดคำ พยญั ชนะต้น สระ อำ่ นวำ่ ตัวอยา่ ง ตา สะกดวา่ ตอ อา ตา บา สะกดว่า 1. ปา สะกดว่า 2. ดี สะกดวา่ 3. ดู สะกดวา่ 4. ปี สะกดว่า 5. บู สะกดวา่ 6. อา สะกดว่า 7. ปู สะกดวา่ 8. อู สะกดวา่ 9. โบ สะกดว่า 10. เฉลยคาตอบ คำ สะกดคำ พยัญชนะตน้ สระ อ่ำนวำ่ บา สะกดว่า บอ อา บา ขอ้ ที่ ปา สะกดว่า ปอ อา ปา 1. ดี สะกดว่า ดอ อี อี 2. ดู สะกดวา่ ดอ อู ดู 3. ปี สะกดว่า ปอ อี ปี 4. บู สะกดวา่ บอ อู บู 5. อา สะกดว่า ออ อา อา 6. ปู สะกดวา่ ปอ อู ปู 7. อู สะกดว่า ออ อู อู 8. โบ สะกดวา่ บอ โอ โบ 9. 10. -๙๔-

แบบบันทึกแบบฝึกท่ี ๑ การเขยี นส่วนประกอบคา ข้อท่ี ผลการ รวม ประเมนิ ท่ี ช่ือ -สกุล คะแนน* ไม่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ผ่าน ผ่าน คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บันทกึ คะแนนของนกั เรียนเป็นรายข้อ เพื่อใหร้ ูว้ ่านักเรยี นมีขอ้ บกพร่องใด สาหรบั นาไปใช้ในการปรบั ปรงุ และพฒั นา นักเรียน ๒. วิธีการบนั ทึก ถ้าทาถูกต้องใหใ้ สเ่ คร่ืองหมาย  ถา้ ทาผิดใหใ้ ห้ใสเ่ คร่อื งหมาย X (เคร่อื งหมาย  เท่ากับ ๑ คะแนน เครื่องหมาย X เท่ากับ ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพื่อประโยชนใ์ นการวินจิ ฉัยขอ้ บกพรอ่ งของนกั เรยี นเป็นรายบุคคล และนาไปใชใ้ นการปรับปรุง และพฒั นานกั เรยี นเป็นรายบคุ คล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพ่อื ประโยชนใ์ นการวินจิ ฉยั ว่าขอ้ บกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของชน้ั เรียน เพอ่ื นาไปใชใ้ น การปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรยี นการสอน ๕. นกั เรียนตอ้ งได้คะแนนรอ้ ยละ ๘๐ ขนึ้ ไป จงึ จะผา่ นเกณฑ์ กรณที นี่ ักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูผสู้ อนต้องฝกึ จนนักเรยี น เขียนได้ -๙๕-

แบบฝึกท่ี ๒ การอา่ นคา คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นอา่ นคาตามตวั อย่าง คา อ่านว่า ตี ตวั อยา่ ง ตอ - อี ๑. ดอ - อู ๒. จอ - แอ ๓. จอ - อา ๔. จอ - ใอ ๕. จอ - เออ ๖. บอ - เออื ๗. ตอ - โอ ๘. กอ - เอ ๙. บอ - อัว ๑๐. ปอ - เอยี เฉลยคาตอบ อ่านวา่ คา ดู แจ ๑. ดอ - อู จา ๒. จอ - แอ ใจ ๓. จอ - อา เจอ ๔. จอ – ใอ เบือ ๕. จอ - เออ โต ๖. บอ - เออื เก ๗. ตอ - โอ บัว ๘. กอ - เอ เปีย ๙. บอ - อวั ๑๐. ปอ - เอยี

แบบบนั ทกึ แบบฝกึ ที่ ๒ การอ่านคา ขอ้ ท่ี ผลการ รวม ประเมิน ท่ี ช่อื -สกุล คะแนน* ไม่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ผา่ น ผ่าน คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ใหบ้ นั ทึกคะแนนของนักเรยี นเปน็ รายขอ้ เพือ่ ให้รูว้ า่ นกั เรยี นมขี อ้ บกพรอ่ งใด สาหรบั นาไปใช้ในการปรับปรงุ และพฒั นา นกั เรยี น ๒. วิธีการบันทกึ ถ้าทาถกู ตอ้ งใหใ้ ส่เคร่อื งหมาย  ถา้ ทาผดิ ใหใ้ ห้ใสเ่ ครื่องหมาย X (เครื่องหมาย  เทา่ กบั ๑ คะแนน เคร่ืองหมาย X เทา่ กับ ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพอ่ื ประโยชนใ์ นการวนิ ิจฉัยขอ้ บกพร่องของนักเรียนเป็นรายบคุ คล และนาไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ และพฒั นานักเรียนเปน็ รายบุคคล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพ่ือประโยชน์ในการวนิ ิจฉยั วา่ ข้อบกพร่องของนักเรยี นในภาพรวมของชัน้ เรยี น เพื่อนาไปใชใ้ น การปรับปรุงและพฒั นาการจัดการเรียนการสอน ๕. นักเรยี นตอ้ งได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป จึงจะผา่ นเกณฑ์ กรณที ี่นกั เรยี นไมผ่ า่ นเกณฑ์ ครผู สู้ อนตอ้ งฝึกจนนักเรยี น เขยี นได้

ส่วนที่ ๓ แนวทางการวดั และประเมินผลประจาหนว่ ย ฉบับท่ี ๑ การอ่านสะกดคา คาช้ีแจง ๑. ครยู กตวั อยา่ งการอา่ นสะกดคา คาว่า “มะลิ” ก่อนจับเวลา ๒. ให้นักเรยี นอา่ นสะกดคา ๑๐ คา ภายในเวลา ๕ นาที ตวั อยา่ งการอา่ นสะกดคา มะลิ สะกดวา่ มอ - อะ มะ ลอ - อิ ลิ มะลิ ๑. เมา ๖. ไพเราะ ๒. ศาลา ๗. ชูมอื ๓. เสาไฟ ๘. วชิ า ๔. กาไล ๙. ราชนิ ี ๕. หัวเราะ ๑๐. พิธี เฉลยคาตอบ อา่ นสะกดคา มอ - เอา เมา ขอ้ คา ศอ - อา สา ลอ - อา ลา ศาลา ๑. เมา สอ - เอา เสา ฟอ - ไอ ไฟ เสาไฟ ๒. ศาลา กอ - อา กา ลอ - ไอ ไล กาไล ๓. เสาไฟ หอ - อวั หวั รอ - เอาะ เราะ หัวเราะ ๔. กาไล พอ - ไอ ไพ รอ - เอาะ เราะ ไพเราะ ๕. หวั เราะ ชอ - อู ชู มอ - ออื มือ ชูมอื ๖. ไพเราะ วอ - อิ วิ ชอ - อา ชา วชิ า ๗. ชูมือ รอ - อา รา ชอ - อิ ชิ นอ - อี นี ราชินี ๘. วชิ า พอ - อิ - พิ ธอ - อี - ธี พิธี ๙. ราชนิ ี ๑๐. พิธี

แบบบนั ทึกฉบับที่ ๑ การอ่านสะกดคา ขอ้ ท่ี ผลการ รวม ประเมิน ที่ ช่ือ -สกลุ คะแนน* ไม่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ผ่าน ผ่าน คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บนั ทึกคะแนนของนกั เรียนเปน็ รายข้อ เพอื่ ใหร้ ้วู า่ นักเรียนมขี อ้ บกพร่องใด สาหรับนาไปใชใ้ นการปรับปรุงและพฒั นา นักเรยี น ๒. วธิ ีการบันทึก ถ้าทาถูกตอ้ งให้ใสเ่ คร่ืองหมาย  ถา้ ทาผิดใหใ้ ห้ใสเ่ คร่ืองหมาย X (เครอ่ื งหมาย  เท่ากับ ๑ คะแนน เคร่ืองหมาย X เท่ากบั ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพื่อประโยชนใ์ นการวินิจฉัยขอ้ บกพรอ่ งของนกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล และนาไปใชใ้ นการปรับปรุง และพัฒนานักเรยี นเป็นรายบุคคล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพ่อื ประโยชน์ในการวนิ จิ ฉัยว่าข้อบกพรอ่ งของนกั เรียนในภาพรวมของชั้นเรียน เพื่อนาไปใชใ้ น การปรบั ปรุงและพัฒนาการจดั การเรียนการสอน ๕. นกั เรยี นตอ้ งได้คะแนนรอ้ ยละ ๘๐ ขึ้นไป จงึ จะผา่ นเกณฑ์ กรณที ่ีนักเรียนไมผ่ า่ นเกณฑ์ ครูผสู้ อนต้องฝกึ จนนักเรยี น เขยี นได้

ฉบับท่ี ๒ การอา่ นคา คาชแ้ี จง ๑. ครยู กตวั อย่างการอา่ นคา คาวา่ “งอแง” ก่อนจบั เวลา ๒. ใหน้ ักเรยี นอา่ นออกเสียงเป็นคา ภายในเวลา ๕ นาที ตัวอย่างการอ่านคา งอแง อา่ นว่า งอ - แง ๑. กายา ๑๑. ไวไฟ ๒. โมโห ๑๒. ในนา ๓. ตวั โต ๑๓. ศาลา ๔. โยเย ๑๔. จาใจ ๕. ดารา ๑๕. ดาขา ๖. โซเซ ๑๖. นะคะ ๗. ดูดี ๑๗. ระยะ ๘. จอแจ ๑๘. งอมือ ๙. รปู ู ๑๙. ใบบัว ๑๐. สูสี ๒๐. ลานา -๕-

เฉลยคาตอบ อ่านคา ขอ้ คา ๑. กายา กา - ยา ๒. โมโห โม - โห ๓. ตวั โต ตัว - โต ๔. โยเย โย - เย ๕. ดารา ดา - รา ๖. โซเซ โซ - เซ ๗. ดดู ี ดู - ดี ๘. จอแจ จอ - แจ ๙. รูปู รู - ปู ๑๐. สูสี สู - สี ๑๑. ไวไฟ ไว - ไฟ ๑๒. ในนา ใน - นา ๑๓. ศาลา สา - ลา ๑๔. จาใจ จา - ใจ ๑๕. ดาขา ดา - ขา ๑๖. นะคะ นะ - คะ ๑๗. ระยะ ระ - ยะ ๑๘. งอมือ งอ - มอื ๑๙. ใบบัว ใบ - บัว ๒๐. ลานา ลา - นา -๖-

ที่ ช่ือ -สกุล แบบบันทึกฉบับที่ ๒ การอ่านคา รวม ผลการประเมนิ คะแนน* ผา่ น ไม่ผา่ น ขอ้ ที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บนั ทกึ คะแนนของนักเรียนเปน็ รายข้อ เพื่อใหร้ วู้ า่ นักเรยี นมขี อ้ บกพรอ่ งใด สาหรบั นาไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนา นกั เรยี น ๒. วธิ ีการบันทกึ ถ้าทาถกู ตอ้ งใหใ้ สเ่ คร่ืองหมาย  ถา้ ทาผดิ ให้ให้ใสเ่ ครื่องหมาย X (เครอ่ื งหมาย  เทา่ กบั ๑ คะแนน เครอื่ งหมาย X เท่ากับ ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพื่อประโยชนใ์ นการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเปน็ รายบุคคล และนาไปใช้ในการปรับปรงุ และพฒั นานักเรยี นเปน็ รายบุคคล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพ่อื ประโยชน์ในการวินิจฉยั ว่าข้อบกพรอ่ งของนักเรียนในภาพรวมของชน้ั เรียน เพ่ือนาไปใช้ใน การปรับปรงุ และพฒั นาการจัดการเรยี นการสอน ๕. นกั เรียนต้องได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป จงึ จะผ่านเกณฑ์ กรณที ่นี กั เรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูผสู้ อนตอ้ งฝึกจนนกั เรยี น เขยี นได้ -๗-

ฉบับท่ี ๓ การเขียนคา คาช้ีแจง ๑. ใหน้ ักเรียนเขยี นตามคาบอก ใช้เวลา ๒๐ นาที ๒. ครอู า่ นคาใหน้ ักเรยี นฟงั คาละ ๒ ครงั้ โดยเว้นเวลาให้นักเรยี นเขียน ก่อนบอกคาในข้อต่อไป ข้อท่ี คาทีเ่ ขยี น ข้อที่ คาทีเ่ ขยี น ๑. .................................................................... ๑๑. ....................................................................... .................................................................... .................................................................... ๒. .................................................................... ๑๒. ....................................................................... .................................................................... .................................................................... ๓. ................................................................... ๑๓. ........................................................................ ................................................................... .................................................................... ๔. .................................................................... ๑๔. ....................................................................... .................................................................... .................................................................... ๕. .................................................................... ๑๕. ....................................................................... .................................................................... .................................................................... ๖. ................................................................... ๑๖. ........................................................................ ................................................................... .................................................................... ๗. .................................................................... ๑๗. ....................................................................... .................................................................... .................................................................... ๘. .................................................................... ๑๘. ....................................................................... .................................................................... .................................................................... ๙. ................................................................... ๑๙. ........................................................................ ................................................................... .................................................................... ๑๐. ................................................................... ๒๐. ........................................................................ ................................................................... .................................................................... -๘-

คาท่ีใหเ้ ขยี น ๑๑. นาฬิกา ๑๒. ทาเล ๑. กาแฟ ๑๓. ไถนา ๒. ระกา ๑๔. ใบบวั ๓. กะทิ ๑๕. ตัวโต ๔. เกเร ๑๖. ทายา ๕. เขา ๑๗. มะละกอ ๖. คอ ๑๘. มะเขือ ๗. ตา ๑๙. มอื ถอื ๘. จาปี ๒๐. เวลา ๙. คา ๑๐. ชะนี -9-

ที่ ช่อื -สกลุ แบบบันทกึ ฉบับที่ ๓ การเขียนคา รวม ผลการประเมนิ คะแนน* ผา่ น ไม่ผา่ น ขอ้ ที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บนั ทึกคะแนนของนักเรยี นเปน็ รายขอ้ เพือ่ ใหร้ วู้ า่ นกั เรยี นมขี อ้ บกพร่องใด สาหรับนาไปใชใ้ นการปรับปรุงและพัฒนา นักเรียน ๒. วิธีการบนั ทกึ ถา้ ทาถกู ตอ้ งใหใ้ ส่เคร่อื งหมาย  ถา้ ทาผดิ ให้ใหใ้ สเ่ คร่ืองหมาย X (เครื่องหมาย  เทา่ กับ ๑ คะแนน เครื่องหมาย X เทา่ กับ ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพื่อประโยชนใ์ นการวินจิ ฉัยขอ้ บกพร่องของนกั เรยี นเปน็ รายบุคคล และนาไปใช้ในการปรบั ปรุง และพัฒนานักเรียนเป็นรายบคุ คล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพอ่ื ประโยชน์ในการวนิ ิจฉยั ว่าขอ้ บกพรอ่ งของนักเรยี นในภาพรวมของชั้นเรยี น เพ่ือนาไปใชใ้ น การปรับปรงุ และพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ๕. นกั เรียนตอ้ งได้คะแนนรอ้ ยละ ๘๐ ขึ้นไป จงึ จะผ่านเกณฑ์ กรณที ี่นกั เรยี นไมผ่ า่ นเกณฑ์ ครูผสู้ อนต้องฝกึ จนนกั เรยี น เขียนได้

ตวั อยา่ งสรปุ ผลการประเมินการแจกลกู สะกดคาในแม่ ก กา ท่ี ช่ือ - สกุล ผลการประเมนิ รวม สรปุ ผลการประเมิน คะแนน ผา่ น ไม่ผา่ น ฉบบั ที่ ๑ ฉบบั ที่ ๒ ฉบับท่ี ๓ (๑๐ คะแนน) (๒๐ คะแนน) (๒๐ คะแนน) หมายเหตุ ๑. ถ้าได้คะแนนรวมร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป และคะแนนรายแบบประเมินได้ร้อยละ ๘๐ ทุกแบบประเมิน ถือว่าผ่าน เกณฑ์ ๒. ถ้าคะแนนรวมร้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป แตค่ ะแนนรายแบบประเมินบางแบบประเมินได้ไม่ถึงร้อยละ ๘๐ ถือว่า ผา่ นเกณฑ์ แต่ใหซ้ ่อมเสรมิ สว่ นท่ไี ม่ถึงร้อยละ ๘๐ ๓. ถ้าคะแนนรวมไม่ถึงร้อยละ ๘๐ ถือว่าไม่ผ่านเกณฑ์ให้สอนซ่อมเสริม ในกรณีท่ีนักเรียนได้คะแนนบางแบบ ประเมนิ รอ้ ยละ ๘๐ ขนึ้ ไป ไมต่ ้องซอ่ มเสรมิ ส่วนนน้ั

หนว่ ยที่ 5 กำรผนั วรรณยกุ ตค์ ำในแม่ ก กำ ส่วนท่ี ๑ ความรสู้ าหรับครู การสอนผันวรรณยุกต์คาในแม่ ก กา ครูผูส้ อนควรมีความรคู้ วามเข้าใจในสว่ นทเี่ ป็นเนอื้ หาสาระ และแนวคิดพ้นื ฐานที่เก่ียวข้องที่สาคญั เพอื่ เชือ่ มโยงสกู่ ารจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน ดงั น้ี ๑. กำรผันวรรณยกุ ต์ คอื การเปล่ยี นระดับเสยี งสูง ต่า ของพยางคต์ ามรปู วรรณยุกต์ท่ีกากับอยู่ ๒. รูปและเสียงวรรณยกุ ต์ รูปวรรณยกุ ต์ มี ๔ รูป คอื - (ไมเ้ อก) -้ (ไม้โท) - (ไม้ตร)ี - (ไมจ้ ัตวา) เสยี งวรรณยุกต์ มี ๕ เสยี ง คอื สามญั เอก โท ตรี จัตวา ทกุ พยางค์มเี สยี งวรรณยกุ ต์ แม้ว่าจะไมม่ รี ูปวรรณยุกตก์ ากับก็ตาม เช่น กา มเี สียงวรรณยุกต์สามัญ จะ มีเสียงวรรณยุกตเ์ อก คาด มีเสียงวรรณยกุ ตโ์ ท คดั มเี สียงวรรณยกุ ตต์ รี หา มเี สียงวรรณยุกต์จตั วา ๓. ระดับเสียงของคำ พยางคแ์ ละคาในภาษาไทยมีเสียงวรรณยุกต์แตกต่างกัน ข้ึนอยู่กับพยัญชนะต้น ตามไตรยางศ์ ลักษณะของพยางค์ท่ีเป็นคาเป็น หรือคาตาย (ในหน่วยนี้ ยังไม่สอนเร่ืองมาตราตัวสะกด) และรูปวรรณยุกต์ ๓.๑ ไตรยางศ์ แบ่งพยัญชนะออกเป็น ๓ พวก ตามวิธีวรรณยุกต์ เพราะวรรณยุกต์เกี่ยวข้อง กับพยัญชนะ จึงเขียนรูปวรรณยุกต์ไว้บนพยัญชนะ ถึงสระจะเป็นต้นเสียง เสียงสระก็ต้องสูงต่าไปตามรูป วรรณยกุ ต์ท่อี ยู่บนพยัญชนะไตรยางศ์ (อกั ษร ๓ หมู่) (พระยาอปุ กติ ศลิ ปสาร. ๒๕๒๒: ๑๔) ประกอบดว้ ย อกั ษรกลาง คือ ตวั พยัญชนะทีม่ ีพืน้ เสียงเป็นเสียงสามัญ มี ๙ ตวั ได้แก่ ห ท ก จ ฎ ฏ ด ต บ ปอ ฮ ณ อกั ษรสูง คือ ตัวพยญั ชนะที่มพี ื้นเสียงเปน็ เสียงจตั วา มี ๑๑ ตัว ได้แก่ ฬ ขฃฉฐถผฝศ ษส อกั ษรต่า คอื ตัวพยัญชนะที่มพี ืน้ เสียงเป็นเสียงสามัญ มี ๒๔ ตัว ได้แก่ คฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ธน พ ฟ ภ ม ย ร ล ว

อกั ษรต่าน้ี แบ่งเปน็ อักษรต่าคู่ กับ อักษรตา่ เดีย่ ว อักษรตา่ คู่ คอื อักษรตา่ ทีม่ เี สียงคกู่ บั อกั ษรสงู ๑๔ ตวั ได้แก่ อกั ษรต่า อกั ษรสูง คฅฆ ขฃ ชฌ ฉ ซ ศษส ฑฒท ธ ฐถ พภ ผ ฟ ฝ ฮ ห อกั ษรต่ำเดีย่ ว คือ อักษรตา่ ทไ่ี ม่มีเสยี งคู่กับอักษรสงู มี ๑๐ ตวั ไดแ้ ก่ ง ญ ณ น มยรลว ฬ ทั้งนี้ อักษรตา่ เด่ยี วที่สามารถใช้ ห นา เป็นพยัญชนะต้นได้ ๘ ตัว คอื หง หญ หน หม หย หร หล หว ผันเสยี งวรรณยกุ ต์เช่นเดียวกับอักษรสูง ๓.๒ ลกั ษณะพยำงค์ที่เปน็ “คำเปน็ ” หรอื “คำตำย” คาเป็น คอื คาทม่ี ีลักษณะ ดังนี้ ๑. ประสมกับสระเสยี งยาวในแม่ ก กา เชน่ กา มี ใจ ใน รู พอ ๒. คาท่ปี ระสมกบั สระเสยี ง อา ใอ ไอ เอา เชน่ ทา ไม ใจ เบา ๓. พยางค์ทีม่ ีตัวสะกดในแม่ กง กน กม เกย เกอว เชน่ วง กนั งาม รอย แถว คาตาย คอื คาท่ีมีลกั ษณะ ดังน้ี ๑. ประสมกบั สระเสยี งสั้นในแม่ ก กา เชน่ จะ ติ ดุ เละ แพะ ๒. พยางค์ทมี่ ตี วั สะกดในแม่ กก กด กบ เชน่ ลุก ถูก จดั คดิ จบี อาบ

เสยี งวรรณยกุ ต์ของคาเปน็ และคาตายเปน็ ไปดังตารางดา้ นล่างน้ี ตำรำงกำรผนั วรรณยุกต์ ลักษณะพยำงค์/คำ เสียงวรรณยกุ ต์ สำมญั เอก โท ตรี จตั วำ กา ก๋า อกั ษรกลาง คาเป็น กา กา่ ก้า จี๊ จ๋ี ปู๊ ปู๋ พืน้ เสียงเป็นเสยี งสามญั จี จี่ จี้ จะ - ต๊ิ - ผันได้ ๕ เสยี ง ปู ปู ปู้ อุ - - ขา อกั ษรกลาง คาตาย - จะ จะ้ - โห - แส พน้ื เสียงเป็นเสียงเอก - ติ ต้ิ - - - - ผันได้ ๓ เสียง - อุ อุ้ - - คา้ - อกั ษรสูง คาเป็น - ขา่ ขา้ ร้อ - งู้ พ้นื เสยี งเปน็ เสียงจัตวา - โห่ โห้ - คะ ผนั ได้ ๓ เสียง - แส่ แส้ นะ - - อกั ษรสูง คาตาย - ขะ ข้ะ คา้ โซ้ ขา พ้นื เสยี งเป็นเสียงเอก - ผุ ผุ้ ที้ โส ถี ผนั ได้ ๒ เสียง --- อักษรต่า คาเป็น คา - ค่า พนื้ เสียงเป็นเสียงสามญั รอ - รอ่ ผนั ได้ ๓ เสียง งู - งู่ อักษรต่า คาตาย สระเสยี งส้นั - - ค่ะ พื้นเสียงเป็นเสยี งตรี - - นะ่ ผนั ได้ ๒ เสยี ง คา ขา่ คา่ /ขา้ อกั ษรตา่ และอกั ษรสงู โซ โส่ โซ่/โส้ ที่เป็นอักษรคู่กัน และเป็นคาเป็น ที ถี่ ท/่ี ถี้ สามารถผันได้ครบ ๕ เสยี ง

สว่ นท่ี ๒ แนวทางการจดั การเรียนรู้ การสอนผันวรรณยุกต์คาในแม่ ก กา มีขั้นตอนการจัดการเรยี นรู้ ดงั นี้ ขัน้ ท่ี ๑ สอนใหร้ ู้จักรูปและเสยี งวรรณยกุ ต์ รปู วรรณยกุ ต์ มี ๔ รปู คอื - ไมเ้ อก - ไม้โท - ไมต้ รี - ไม้จตั วา เสยี งวรรณยุกต์มี ๕ เสียง คอื เสียงสามัญ เสียงเอก เสยี งโท เสียงตรี เสียงจัตวา โดยทบทวนรปู และเสยี งวรรณยกุ ต์ ดว้ ยบตั รภาพ บัตรคา หรือเขียนรปู บนกระดานก็ได้ ขน้ั ท่ี ๒ สอนผันวรรณยุกต์ คาท่ีมพี ยัญชนะตน้ เปน็ อกั ษรกลาง ๗ ตวั กอ่ น คอื ก จ ด ต บ ป อ และประสมด้วยสระเสียงยาว โดยสอนแบบอ่านสะกดคาก่อน เชน่ ก - า กา (กอ - อา กา) กา - - กา่ (กา - เอก กา่ ) กา - - กา้ (กา - โท ก้า) กา - - กา (กา - ตรี กา) กา - - ก๋า (กา - จัตวา ก๋า) จากนนั้ จงึ สอนให้ผนั เสียงแบบแจกลูก โดยยดึ พยัญชนะต้นและสระเป็นแม่ แจกใหล้ ูกที่เปน็ วรรณยุกต์ตามลาดบั เช่น กา - ก่า - ก้า - กา - กา๋ จี - จ่ี - จ้ี - จี๊ - จ๋ี ดู - ดู่ - ดู้ - ดู - ดู๋

โดยครอู อกเสยี งอ่านนา แลว้ ให้นกั เรยี นอา่ นออกเสียงตามครชู า้ ๆ ออกเสยี งพรอ้ มกันเปน็ กลุ่ม และ ออกเสียงเป็นรายคน ออกเสียงให้ชัดเจน แลว้ ฝึกซ้า ๆ เพ่อื ใหเ้ กดิ ความแมน่ ยา ขั้นที่ ๓ เม่ือนักเรียนสามารถผันเสียงวรรณยุกต์คาท่ีมีพยัญชนะต้นเป็นอักษรกลาง ประสมด้วยสระ เสียงยาวได้คล่องแล้ว จึงสอนผันวรรณยุกต์คาท่ีมีพยัญชนะต้นเป็นอักษรต่าและอักษรสูง แล้วจึงสอน คาทม่ี ีพยญั ชนะตน้ อกั ษรตา่ และสงู ตามลาดบั (ยังไม่ต้องสอนพยัญชนะที่ไม่มีรูปวรรณยุกต์ปรากฏในคาที่ สะกดโดยใช้พยัญชนะเหล่านี้เป็นพยัญชนะต้นได้ เช่น ฐ ฑ ฒ ฎ ฏ ณ ฬ) ประสมด้วยสระเสียงยาว เปน็ ลาดบั ถดั มา โดยสอนแบบอา่ นสะกดคาก่อน เช่น ม - า มา (มอ - อา มา) มา - - ม่า (มา - เอก มา่ ) มา - - ม้า (มา - โท ม้า) จากนนั้ จงึ สอนให้ผันเสียงแบบแจกลูก เชน่ มา ม่า มา้ นี นี่ นี้ ขา ขา่ ขา้ สอื ส่อื สอ้ื โดยครอู อกเสียงอ่านนา แล้วใหน้ กั เรยี นอ่านออกเสยี งตามครชู า้ ๆ ออกเสียงพร้อมกนั เปน็ กลมุ่ และ ออกเสียงเป็นรายคน ออกเสียงให้ชดั เจน และฝึกซ้า ๆ เพื่อให้เกิดความแม่นยา การสอนผันเสยี งวรรณยุกต์ในระดับนี้ ยังไม่ต้องนาคาตายมาผันเสยี งวรรณยกุ ต์ เนื่องจาก เม่อื ใสร่ ูปวรรณยุกต์แลว้ มกั เปน็ คาทไ่ี ม่มีความหมาย เช่น ก - ะ กะ (กอ – อะ กะ) กะ - - ก่ะ (กะ - เอก ก่ะ) กะ - - กะ้ (กะ - โท ก้ะ) ขอ้ เสนอแนะ ๑. ครูต้องฝึกให้นักเรียนเห็นรูป ให้อ่านออกเสียง เขียนรูปคา และฝึกแต่งประโยคไปพร้อม ๆ กัน เพ่ือใหน้ กั เรยี นสามารถอ่านออกเขยี นได้อยา่ งแมน่ ยาและยัง่ ยนื ๒. กรณีท่ีเด็กยังไม่สามารถอ่านหรือผันเสียงวรรณยุกต์ได้ ให้เริ่มต้นอ่านแบบสะกดคา จนแมน่ ยา แล้วจงึ คอ่ ยให้อา่ นผันเสยี งซา้ หลาย ๆ ครั้งเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความแมน่ ยา

ตัวอยา่ งการนาแนวทางการจัดการเรยี นรไู้ ปใช้ในห้องเรยี น (๑ ชวั่ โมง) (๑ ชว่ั โมง) หนว่ ยท่ี ๕ การผันวรรณยกุ ตค์ าในแม่ ก กา (๑ ช่ัวโมง) จุดประสงค์ของการจัดการเรยี นรู้ (๓ ชั่วโมง) เพอื่ ให้นักเรยี นอ่านและเขยี นคาทผ่ี ันวรรณยกุ ต์ในแม่ ก กา ได้ แนวทางการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑ การผันวรรณยุกตค์ าเพ่ืออ่านและเขียน: พยัญชนะต้นอักษรกลาง สระเสยี งยาว แนวทางการจัดการเรียนรู้ท่ี ๒ การผนั วรรณยกุ ต์คาเพ่ืออ่านและเขยี น: พยัญชนะตน้ อักษรตา่ สระเสยี งยาว แนวทางการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๓ การผันวรรณยกุ ต์คาเพ่ืออา่ นและเขียน: พยัญชนะต้นอักษรสูง สระเสียงยาว แนวทางการจัดการเรยี นรูท้ ่ี ๑ การผนั วรรณยุกต์คาเพ่ืออ่านและเขียน: พยัญชนะตน้ อักษรกลาง สระเสยี งยาว (๑ ช่ัวโมง) จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ๑. ออกเสยี งวรรณยกุ ต์คาในแม่ ก กา อักษรกลาง สระเสียงยาว ได้ ๒. อ่านและเขียนคาทผ่ี ันวรรณยุกต์ คาในแม่ ก กา อกั ษรกลาง สระเสยี งยาว ได้ ข้ันตอนการจัดการเรียนรู้ ๑. ข้นั นา ครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับพยัญชนะไทย ท้ัง ๔๔ ตัว จากแผนภูมินักเรียนอ่านออกเสียง พยัญชนะพร้อมกัน จากนั้นครูอธิบายว่าพยัญชนะไทยทั้ง ๔๔ ตัวนี้ มีระดับเสียงเหมือนกันอยู่ ๓ กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มท่ีมีเสียงระดับกลาง กลุ่มที่มีเสียงระดับสูง และกลุ่มที่มีเสียงระดับต่า จากน้ันครูออกเสียง พยญั ชนะแต่ละกลมุ่ ใหน้ ักเรยี นฟงั และช้ใี หเ้ ห็นความแตกตา่ งของระดับเสียง อกั ษรกลาง คือ ตวั พยัญชนะทีอ่ อกเสียงเป็นเสียงสามญั มี ๙ ตวั ได้แก่ ท ก จ ฎ ฏ ด ต บ ปอ ฮ อกั ษรสูง คือ ตัวพยญั ชนะท่อี อกเสยี งเปน็ เสยี งจัตวา มี ๑๑ ตวั ไดแ้ ก่ ข (ฃ) ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห อกั ษรตา่ คอื ตวั พยัญชนะที่ออกเสยี งเป็นเสยี งสามัญ มี ๒๔ ตัวไดแ้ ก่ ค (ฅ) ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ธ น พ ฟ ภม ย ร ล ว ฬ (อธิบายวา่ (ฃ) และ (ฅ) ไม่มีใชแ้ ล้ว ในปัจจบุ นั )

๒. ขน้ั สอน ๒.๑ ครใู หน้ ักเรยี นออกเสียงกล่มุ พยัญชนะอกั ษรกลาง ไดแ้ ก่ ก จ ด ต บ ป อ แล้วชี้ให้เห็นว่า เป็นพยัญชนะท่ีมีระดับเสียงเดียวกัน (ในภาษาไทย ไม่มีคาที่ใช้อักษร ฎ และ ฏ เป็นพยัญชนะต้น แล้วมี รูปวรรณยุกต์ปรากฏ จึงไม่ต้องนามาสอน) ครูสามารถให้นักเรียนฝึกออกเสียง ก จ ด ต บ ป อ โดยใหท้ อ่ งวา่ ไก่ (ก) จกิ (จ) เด็ก (ด) ตก (ต) บน (บ) ปาก (ป) โอ่ง (อ) เพอ่ื ให้จดจาได้ง่าย ๒.๒ ครูทบทวนการสะกดคาเพื่ออ่านและเขียนคาใน แม่ ก กา พร้อมอธิบายลักษณะของคา ด้วย ว่าเป็นคาท่ีประสมด้วยพยัญชนะต้นและสระ โดยไม่มีตัวสะกด เช่น กา มี ปู เป็นต้น จากน้ัน ใหน้ ักเรยี นฝกึ อา่ นแจกลูกสะกดคา แม่ ก กา จากแผนผงั ดงั น้ี ทลี ะชุด ชุดที่ ๑ แจกลูกสระอา ชุดที่ ๑ แจกลูกสระอี ชดุ ท่ี ๑ แจกลูกสระโอ ชุดท่ี ๑ แจกลูกสระ อู อา อา อา อา กา กี โก กู จา จี โจ จู ดา ดี โด ดู -า ตา - ี ตี โ- โต -ู ตู บา บี โบ บู ปา ปี โป ปู อา อี โอ อู แผนผังแจกลกู แม่ ก กา อกั ษรกลาง ๒.3 ครทู บทวนเร่ืองรูปและเสียงวรรณยุกต์ โดยใช้ตารางแสดงรูปและเสียงวรรณยุกต์ ดงั น้ี รูปวรรณยุกต์ เสยี งวรรณยกุ ต์ สามญั - เอก - โท - ตรี - จัตวา ๒.๔ ครูเลือกคาจากชุดคา จาก ๒.๒ เขียนบนกระดาน แล้วเติมรูปวรรณยุกต์ให้ครบ ตัวอย่างเช่น

กา ก่า ก้า กา กา๋ แลว้ พานักเรยี นอา่ นสะกดคา โดยครอู อกเสียงอ่านนา และนักเรยี นอ่านตามทีละคา ดังนี้ กา อา่ นผันสะกดคาว่า กอ - อา กา กา่ อ่านผันสะกดคาวา่ กา - เอก กา่ ก้า อา่ นผนั สะกดคาว่า กา - โท กา้ ก๊า อา่ นผนั สะกดคาว่า กา - ตรี ก๊า กา อ่านผันสะกดคาวา่ กา - จัตวา กา จากนัน้ จึงอา่ นผนั เสยี งแบบแจกลูก ดังน้ี กา กา่ ก้า กา ก๋า ครูพาเด็กอ่านพร้อมกันท้ังช้ัน เป็นรายกลุ่ม หรือรายคน เมื่อเด็กอ่านผันได้ถูกต้องแล้ว ครูก็เปลี่ยนชุดคาอ่ืน ๆ ตามทเ่ี ห็นสมควร และฝกึ แบบเดยี วกนั อีกหลาย ๆ คร้ัง ๒.๕ นักเรียนฝึกการผันวรรณยุกต์ ตามแบบฝึกท่ี ๑ และให้นักเรียนฝึกอ่านสะกดคาทีละคาจน ครบทุกคา ๒.๖ นักเรียนอ่านบทอ่านจากคาคล้องจอง ป้า ปู เป่า ปี โดยให้นักเรียนปรบมือหรือเคาะ จังหวะประกอบการอา่ นด้วยเพื่อให้เกดิ ความสนุกและจาได้ ป้ำ ปู เปำ่ ปี่ ตำ ดี ดู เตำ่ เก้ำ อี้ ตัว เก่ำ ปำ เปำ้ เก้ำ กอ หรือครเู ลือกบทอา่ นจากแบบเรียนหรือส่อื อ่นื ๆ ทสี่ อดคล้องกบั เรื่องที่เรยี นแทนก็ได้ ๒.๗ นักเรียนเลือกคาจากบทอ่านมาเขียนผันวรรณยุกต์ลงในตาราง พร้อมวงกลมรอบคาที่เลือก จานวน ๕ คา ๒.๘ เลน่ เกมจับคคู่ ากบั รูปวรรณยุกต์ ๑) แบง่ นกั เรียนเปน็ กล่มุ กลุม่ ๓ - ๔ คน ๒) ครูแจกบัตรคาแม่ ก กา อักษรกลาง เสียงยาว แล้วให้นักเรียนอ่านบตั รคาตามครู

ตวั อยา่ งบัตรคา เก่าแก่ ดูดี อูอ้ ี้ จจู๋ ๋ี เจ้าจอ้ ใบบัว บา้ ใบ้ ไกป่ ่า ออี๋ อ๋ ใตต้ ู้ ๒.๙ ครูทบทวนเร่ืองพยัญชนะต้นและสระเสียงยาว แล้วให้นักเรียนทาแบบฝึกท่ี ๒ พร้อมอ่าน ให้เพ่อื นและครฟู ัง ๓. ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่าอักษรกลางเมื่อประสมกับสระเสียงยาวจะมีเสียงเป็นเสียงสามัญ สามารถผันวรรณยุกต์ได้ ๕ เสียง ได้แก่ เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี และเสียงจัตวา โดยเสยี งและรปู วรรณยุกต์ตรงกนั สอ่ื กำรสอน ๑. แผนผงั คาประสมแม่ ก กา ๒. ตารางแสดงรปู และเสยี งวรรณยุกต์ ๓. ตารางผนั วรรณยกุ ตค์ า ๔. บทอ่านคาคล้องจอง ป้า ปู เป่า ป่ี ๕. แบบฝึก กำรวัดและประเมินผล การตรวจแบบฝกึ

แบบฝึกที่ ๑ กำรผันคำที่มีคำท่ีมีพยญั ชนะตน้ อักษรกลำง สระเสยี งยำว คำชีแ้ จง ให้นกั เรยี นผันวรรณยกุ ต์คาที่กาหนด ขอ้ ที่ สำมัญ เอก โท ตรี จตั วำ - - - - กา๋ กา กา ก่า ก้า กา ๑. จา จัตวำ ๒. ปี - ๓. โต จา๋ ๔. โอ ปี๋ ๕. ปู โต๋ ๖. อา โอ๋ ๗. ดู ปู๋ ๘. โบ อ๋า ๙. จอ ดู๋ ๑๐. เกา โบ๋ จอ๋ เฉลยคาตอบ เก๋า ขอ้ ที่ สำมญั เอก โท ตรี - - - ๑. จา จา จ่า จ้า จา ๒. ปี ปี ปี ปี้ ปี๊ ๓. โต โต โต่ โต้ โต ๔. โอ โอ โอ่ โอ้ โอ ๕. ปู ปู ปู่ ปู้ ปู๊ ๖. อา อา อา่ อ้า อา ๗. ดู ดู ดู่ ดู้ ดู ๘. โบ โบ โบ่ โบ้ โบ ๙. จอ จอ จอ่ จ้อ จอ ๑๐. เกา เกา เกา่ เกา้ เกา

แบบบนั ทึกแบบฝกึ ที่ ๑ กำรผันคำทีมคี ำทม่ี ีพยัญชนะตน้ อักษรกลำง สระเสียงยำว ข้อที่ ผลการ รวม ประเมิน ที่ ช่อื -สกลุ คะแนน* ไม่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ผ่าน ผ่าน คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บันทึกคะแนนของนกั เรยี นเป็นรายข้อ เพอ่ื ให้รู้ว่านักเรยี นมขี อ้ บกพรอ่ งใด สาหรับนาไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนา นกั เรยี น ๒. วธิ กี ารบนั ทกึ ถา้ ทาถูกตอ้ งให้ใสเ่ คร่ืองหมาย  ถา้ ทาผดิ ใหใ้ ห้ใสเ่ ครอ่ื งหมาย X (เคร่อื งหมาย  เท่ากบั ๑ คะแนน เครอื่ งหมาย X เท่ากับ ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพ่อื ประโยชนใ์ นการวินจิ ฉัยข้อบกพรอ่ งของนกั เรียนเป็นรายบุคคล และนาไปใช้ในการปรบั ปรงุ และพัฒนานักเรียนเป็นรายบุคคล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพอื่ ประโยชน์ในการวนิ จิ ฉัยว่าข้อบกพรอ่ งของนกั เรยี นในภาพรวมของช้นั เรยี น เพอื่ นาไปใชใ้ น การปรบั ปรงุ และพัฒนาการจดั การเรียนการสอน ๕. นกั เรียนต้องไดค้ ะแนนรอ้ ยละ ๘๐ ขนึ้ ไป จึงจะผา่ นเกณฑ์ กรณที น่ี ักเรียนไมผ่ า่ นเกณฑ์ ครผู สู้ อนต้องฝกึ จนนักเรยี น เขียนได้

แบบฝึกที่ ๒ กำรอ่ำนสะกดคำ อ่ำนวำ่ คำชแ้ี จง ใบ้ ให้นักเรยี นอ่านสะกดคาต่อไปนี้ ขอ้ ท่ี อ่ำนสะกดคำ ใบ้ บอ - ใอ - ใบ - ใบ - โท ใบ้ หรอื บอ - ใอ - ใบ - ใบ - ไมโ้ ท ใบ้ ๑. ป๊า ๒. จ๋า ๓. ดี ๔. ปี ๕. โต ๖. โอ้ ๗. ปู่ ๘. โบ๋ ๙. เกา่ ๑๐. ไต่

เฉลยคำตอบ อำ่ นสะกดคำ อำ่ นว่ำ ข้อที่ ใบ้ ใบ้ บอ - ใอ - ใบ - ใบ - โท ใบ้ หรอื ป๊า ๑. ป๊า บอ - ใอ - ใบ - ใบ - ไมโ้ ท ใบ้ จ๋า ๒. จ๋า ปอ - อา - ปา - ปา - ตรี ปา๊ หรอื ดี ๓. ดี ปอ - อา - ปา - ปา - ไม้ตรี ป๊า ปี ๔. ปี จอ - อา - จา - จา - จตั วา จา๋ โต ๕. โต หรอื โอ้ ๖. โอ้ จอ - อา - จา - จา - ไม้จัตวา จ๋า ปู่ ๗. ปู่ ดอ - อี ดี โบ๋ ๘. โบ๋ ปอ - อี - ปี - ปี - เอก ปี หรอื เกา่ ๙. เก่า ปอ - อี - ปี - ปี - ไม้เอก ปี ไต่ ๑๐. ไต่ ตอ - โอ โต ออ - โอ - โอ - โอ - โท โอ้ หรือ ออ - โอ - โอ - โอ - ไมโ้ ท โอ้ ปอ - อู - ปู - ปู - เอก ปู่ หรอื ปอ - อู - ปู - ปู - ไมเ้ อก ปู่ บอ - โอ - โบ - โบ - จตั วา โบ๋ หรอื บอ - โอ - โบ - โบ - ไมจ้ ัตวา โบ๋ กอ - เอา - เกา - เกา - เอก เก่า หรอื กอ - เอา - เกา - เกา - ไมเ้ อก เกา่ ตอ - ไต - ไต - ไต - เอก ไต่ หรอื ตอ - ไต - ไต - ไต - ไมเ้ อก ไต่

แบบบันทกึ แบบฝกึ ที่ ๒ กำรอำ่ นสะกดคำ ข้อที่ ผลการ รวม ประเมนิ ท่ี ช่ือ -สกุล คะแนน* ไม่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ผ่าน ผา่ น คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บันทกึ คะแนนของนกั เรียนเป็นรายข้อ เพ่อื ใหร้ ูว้ า่ นกั เรยี นมีขอ้ บกพรอ่ งใด สาหรบั นาไปใชใ้ นการปรบั ปรุงและพฒั นา นกั เรยี น ๒. วิธีการบันทึก ถ้าทาถกู ตอ้ งใหใ้ สเ่ ครอ่ื งหมาย  ถ้าทาผิดให้ใหใ้ สเ่ คร่ืองหมาย X (เครื่องหมาย  เท่ากับ ๑ คะแนน เครอื่ งหมาย X เทา่ กบั ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพือ่ ประโยชนใ์ นการวนิ ิจฉยั ข้อบกพร่องของนกั เรียนเป็นรายบคุ คล และนาไปใชใ้ นการปรับปรงุ และพัฒนานักเรยี นเปน็ รายบคุ คล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพ่อื ประโยชนใ์ นการวินจิ ฉัยว่าขอ้ บกพรอ่ งของนกั เรียนในภาพรวมของช้นั เรียน เพ่ือนาไปใชใ้ น การปรับปรุงและพัฒนาการจดั การเรียนการสอน ๕. นักเรยี นต้องไดค้ ะแนนร้อยละ ๘๐ ขึน้ ไป จึงจะผา่ นเกณฑ์ กรณที ่นี ักเรยี นไมผ่ า่ นเกณฑ์ ครผู สู้ อนต้องฝกึ จนนักเรยี น เขียนได้

ส่วนท่ี ๓ แนวทางการวัดและประเมนิ ผลประจาหนว่ ย ฉบับที่ ๑ การอ่านคา คาช้ีแจง ๑. ใหน้ กั เรยี นอา่ นคาทก่ี าหนดให้ โดยใชเ้ วลาในการอา่ น ๕ นาที ๒. ครยู กตัวอยา่ งคาว่า “แม่น้า” และอ่านใหน้ ักเรยี นฟงั ตัวอยา่ งการอ่านคา อา่ นวา่ แม่ - นา้ แม่นา้ ๑.ไก่แจ้ ๙. ผีเสอ้ื ๑๐. เผื่อแผ่ ๒. จาปี ๑๑. เฮฮา ๓. อจี ู้ ๑๒. ทีน่ ่ี ๔. ปูจ่ ๋า ๑๓. ไฟฟ้า ๕. โออ่ า่ ๑๔. พอ่ แม่ ๖. ซูซ่ ่า ๑๕. ไม้เท้า ๗. ขาเป๋ ๘. เห่า

เฉลยคาตอบ อ่านคา ขอ้ ท่ี คา ไก่ - แจ้ ๑. ไก่แจ้ จา - ปี ๒. จาปี อี - จู้ ๓. อีจู้ ปู่ - จา ๔. ป่จู า โอ่ - อา่ ๕. โออ่ า่ ซู่ - ซา่ ๖. ซซู่ า่ ขา - เป๋ ๗. ขาเป๋ เห่า ๘. เห่า ผี - เสือ้ ๙. ผเี สื้อ เผอ่ื - แผ่ ๑๐. เผือ่ แผ่ เฮ - ฮา ๑๑. เฮฮา ที่ - นี่ ๑๒. ท่ีนี่ ไฟ - ฟ้า ๑๓. ไฟฟา้ พ่อ - แม่ ๑๔. พอ่ แม่ ไม้ - เท้า ๑๕. ไม้เท้า เกณฑ์การประเมิน อา่ นคาถกู ต้องทุกพยางค์ ให้ข้อละ ๑ คะแนน อ่านผดิ พยางคใ์ ดพยางค์หน่ึง ให้ข้อละ ๐ คะแนน

ท่ี ช่อื -สกลุ แบบบนั ทึกฉบับที่ ๑ ขอ้ ท ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรยี นเป็นรายขอ้ เพ่อื ใหร้ ู้ว่านักเรียนมีขอ้ บกพร่องใด สาหรับนาไปใชใ้ น ๒. วิธกี ารบนั ทึก ถา้ ทาถูกต้องให้ใส่เครอื่ งหมาย  ถา้ ทาผดิ ใหใ้ หใ้ สเ่ ครื่องหมาย X (เครือ่ งหมาย  ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพอื่ ประโยชนใ์ นการวินิจฉยั ข้อบกพร่องของนักเรยี นเปน็ รายบคุ คล และนาไป ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพื่อประโยชนใ์ นการวินิจฉัยวา่ ขอ้ บกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของชัน้ เรีย ๕. นักเรียนต้องได้คะแนนรอ้ ยละ ๘๐ ขึ้นไป จงึ จะผ่านเกณฑ์ กรณที ่ีนกั เรยี นไม่ผา่ นเกณฑ์ ครผู สู้ อ -๒๘-

๑ การอ่านคา รวม ผลการประเมนิ คะแนน* ผ่าน ไมผ่ า่ น ท่ี ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ นการปรบั ปรงุ และพฒั นานกั เรียน  เท่ากบั ๑ คะแนน เครือ่ งหมาย X เทา่ กับ ๐ คะแนน) ปใชใ้ นการปรับปรุง และพัฒนานักเรียนเปน็ รายบุคคล ยน เพอ่ื นาไปใช้ในการปรับปรงุ และพฒั นาการจดั การเรยี นการสอน อนตอ้ งฝึกจนนกั เรยี นเขยี นได้ -

ฉบับที่ ๒ เขียนตามคาบอก คาช้ีแจง ๑. ใหน้ ักเรียนเขยี นตามท่ีครูบอก โดยใช้เวลาในการเขยี น ๕ นาที ๒. ครูอา่ นคาใหน้ ักเรียนฟงั ทีละคะ คาละ ๒ คร้ัง ๑. ใจดี ๙. ใส่เสื้อ ๒. ตาบวั ๑๐. ฉู่ฉ่ี ๓. เกา่ แก่ ๑๑. ในนา ๔. เป่าปี่ ๑๒. ทา่ น้า ๕. เก้าอี้ ๑๓. แมค่ ้า ๖. ถ้า ๑๔. เร่ียไร ๗. ไฝฝา้ ๑๕. ลา่ ช้า ๘. หาเหา -๒๙-

ท่ี ชอ่ื -สกลุ แบบบนั ทกึ ฉบับท่ี ๒ กา ข้อท ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ใหบ้ ันทกึ คะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพ่ือให้รวู้ า่ นกั เรียนมขี อ้ บกพรอ่ งใด สาหรับนาไปใช้ใน ๒. วธิ กี ารบันทึก ถา้ ทาถกู ต้องใหใ้ ส่เครื่องหมาย  ถา้ ทาผดิ ใหใ้ ห้ใสเ่ คร่อื งหมาย X (เครื่องหมาย  ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพื่อประโยชนใ์ นการวนิ ิจฉยั ขอ้ บกพรอ่ งของนกั เรียนเป็นรายบุคคล และนาไป ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพื่อประโยชนใ์ นการวนิ จิ ฉยั วา่ ข้อบกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของชัน้ เรีย ๕. นกั เรียนต้องไดค้ ะแนนรอ้ ยละ ๘๐ ขน้ึ ไป จงึ จะผา่ นเกณฑ์ กรณที นี่ กั เรียนไมผ่ ่านเกณฑ์ ครผู สู้ อ -๓๐-

ารเขียนตามคาบอก รวม ผลการประเมิน คะแนน* ผ่าน ไม่ผ่าน ที่ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ นการปรับปรุงและพัฒนานักเรียน  เท่ากับ ๑ คะแนน เครื่องหมาย X เท่ากบั ๐ คะแนน) ปใชใ้ นการปรบั ปรงุ และพฒั นานกั เรียนเปน็ รายบุคคล ยน เพื่อนาไปใช้ในการปรับปรงุ และพฒั นาการจัดการเรยี นการสอน อนตอ้ งฝึกจนนกั เรยี นเขียนได้ -

ตัวอย่างสรุปผลการประเมินการผันวรรณยุกตค์ าในแม่ ก กา ผลการประเมนิ รวม สรุปผลการประเมิน คะแนน ผา่ น ไมผ่ ่าน ที่ ช่อื – สกุล ฉบบั ที่ ๑ ฉบบั ท่ี ๒ (๑๐ คะแนน) (๒๐ คะแนน) หมายเหตุ ๑. ถ้าได้คะแนนรวมร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป และคะแนนรายแบบประเมินได้ร้อยละ ๘๐ ทุกแบบประเมิน ถือว่าผ่าน เกณฑ์ ๒. ถา้ คะแนนรวมรอ้ ยละ ๘๐ ขึ้นไป แต่คะแนนรายแบบประเมินบางแบบประเมินได้ไม่ถึงร้อยละ ๘๐ ถือว่า ผ่านเกณฑ์ แตใ่ ห้ซอ่ มเสรมิ สว่ นทไี่ มถ่ ึงร้อยละ ๘๐ ๓. ถ้าคะแนนรวมไม่ถึงร้อยละ ๘๐ ถือว่าไม่ผ่านเกณฑ์ให้สอนซ่อมเสริม ในกรณีท่ีนักเรียนได้คะแนนบางแบบ ประเมินรอ้ ยละ ๘๐ ข้นึ ไป ไม่ต้องซอ่ มเสริมสว่ นนน้ั

หน่วยที่ 6 กำรแจกลูกสะกดคำทมี่ ีตวั สะกดตรงตำมมำตรำ สว่ นท่ี ๑ ความรสู้ าหรับครู ตัวสะกด คอื พยญั ชนะทีป่ ระกอบอยูท่ า้ ยคาหรือพยางค์ ที่ทาหน้าท่ีบังคบั เสยี งให้เปน็ ไปตาม มาตราตา่ ง ๆ มาตราตวั สะกด มี ๘ มาตรา ดงั นี้ ๑. ตวั สะกด แมก่ ง มี ง เปน็ ตวั สะกด ออกเสียง /ง/ เช่น กาง ลอง แดง ยิง เตยี ง ฯลฯ ๒. ตัวสะกด แม่กน มี น เปน็ ตวั สะกด ออกเสียง /น/ เชน่ สอน เทยี น วนั อา่ น เยน็ ฯลฯ ๓. ตวั สะกด แมก่ ม มี ม เป็นตวั สะกด ออกเสียง /ม/ เช่น ถาม จม เตมิ รวม เล่ม ฯลฯ ๔. ตวั สะกด แมเ่ กย มี ย เป็นตวั สะกด ออกเสียง /ย/ เชน่ ยาย โรย เลย สวย ซอย ฯลฯ ๕. ตัวสะกด แมเ่ กอว มี ว เป็นตวั สะกด ออกเสียง /ว/ เชน่ ขาว เร็ว เขียว แมว นิ้ว ฯลฯ ๖. ตัวสะกด แม่กก มี ก เป็นตวั สะกด ออกเสยี ง /ก/ เชน่ มาก พวก ลูก ปอก ฟัก ฯลฯ ๗. ตัวสะกด แมก่ ด มี ด เปน็ ตวั สะกด ออกเสยี ง /ด/ เชน่ มีด ยอด ชุด วดั ติด ฯลฯ ๘. ตัวสะกด แม่กบ มี บ เปน็ ตัวสะกด ออกเสียง /บ/ เช่น ชอบ เล็บ เสียบ แอบ ตับ ฯลฯ มาตราตัวสะกดที่มีเฉพาะอกั ษรตรงตามมาตรามี ๔ มาตรา คือ แมก่ ง แมก่ ม แมเ่ กย และแม่เกอว ส่วนอีก ๔ มาตรา มีอักษรอ่ืน ๆ เป็นตัวสะกดท่ีอ่านออกเสียงตามมาตราตัวสะกดนั้น ๆ คือ แม่กก แมก่ ด แมก่ บ และแมก่ น หน่วยนี้เป็นการสอนอ่านและเขียนคาท่ีสะกดตรงตามมาตราทั้ง ๘ มาตราเท่าน้ัน (คาท่ีมี ตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา จะอย่ใู นหน่วยถดั ไป) นักเรียนได้เรียนรู้เร่ืองการผันเสียงวรรณยุกต์คาในแม่ ก กา แล้วในหน่วยท่ี ๕ จึงมีความรู้ ความเข้าใจเร่ืองการสะกดคาเพื่ออ่านและเขียนคาในแม่ ก กา และเสียงวรรณยุกต์ของคาในหน่วยน้ี เปน็ การสอนเพิม่ เติมจากหน่วยที่ ๕ ในเรื่องตัวสะกด จึงสามารถสอนตอ่ จากหนว่ ยท่ี ๕ ไดเ้ ลย ๑. คาท่มี ีตวั สะกดในแม่กง แม่กน แม่กม แม่เกย และแม่เกอว ๑.๑ พยญั ชนะต้นเปน็ อักษรกลาง+สระเสยี งยาว+ตัวสะกดแมก่ ง กน กม เกย เกอว เป็นเสยี งสามญั เชน่ ก + า + ง = กาง สะกดวา่ กอ - อา - งอ กาง ก + า + น = กาน สะกดวา่ กอ - อา - นอ กาน ก + า + ม = กาม สะกดวา่ กอ - อา - มอ กาม ก + า + ย = กาย สะกดว่า กอ - อา - ยอ กาย ก + า + ว = กาว สะกดวา่ กอ - อา - วอ กาว

๑.๒ พยัญชนะตน้ เป็นอักษรกลาง + สระเสียงสน้ั + ตวั สะกดแมก่ ง กน กม เกย เกอว เป็นเสียงสามญั เช่น ก + ะ + ง = กัง สะกดวา่ กอ - อะ - งอ กงั ก + ะ + น = กัน สะกดวา่ กอ - อะ - นอ กนั ต + - ิ + ม = ตมิ สะกดว่า ตอ - อิ - มอ ตมิ จ + -ุ + ย = จยุ สะกดว่า จอ - อุ - ยอ จยุ ต + - ิ + ว = ตวิ สะกดว่า ตอ - อิ - วอ ตวิ ๑.๓ พยญั ชนะตน้ เปน็ อักษรต่า + สระเสยี งยาว + ตวั สะกดแมก่ ง กน กม เกย เกอว เป็นเสยี งสามัญ เชน่ ค + า + ง = คาง สะกดวา่ คอ - อา - งอ คาง ค + า + น = คาน สะกดวา่ คอ - อา - นอ คาน ง + า + ม = งาม สะกดวา่ งอ - อา - มอ งาม ค + า + ย = คาย สะกดว่า คอ - อา - ยอ คาย ร + า + ว = ราว สะกดวา่ รอ - อา - วอ ราว ๑.๔ พยญั ชนะตน้ เปน็ อักษรต่า + สระเสียงสน้ั + ตวั สะกดแมก่ ง กน กม เกย เกอว เป็นเสยี งสามัญ เชน่ ร + ะ + ง = รงั สะกดวา่ รอ - อะ - งอ รงั ร + ะ + น = รนั สะกดว่า รอ - อะ - นอ รัน ช + - ิ+ ม = ชมิ สะกดว่า ชอ - อิ - มอ ชิม ล + -ุ + ย = ลุย สะกดวา่ ลอ - อุ - ยอ ลุย ค + - ิ+ ว = คิว สะกดว่า คอ - อิ - วอ ควิ ๑.๕ พยญั ชนะต้นเป็นอักษรสูง + สระเสียงยาว + ตวั สะกดแมก่ ง กน กม เกย เกอว เป็นเสยี งจัตวา เชน่ ส + า + ง = สาง สะกดว่า สอ - อา - งอ สาง ส + า + น = สาน สะกดวา่ สอ - อา - นอ สาน ข + า + ม = ขาม สะกดวา่ ขอ - อา - มอ ขาม ข + า + ย = ขาย สะกดว่า ขอ - อา - ยอ ขาย ข + า + ว = ขาว สะกดว่า ขอ - อา - วอ ขาว ๑.๖ พยัญชนะตน้ เป็นอักษรสูง + สระเสียงสน้ั + ตวั สะกดแมก่ ง กน กม เกย เกอว เป็นเสียงจตั วา เชน่ ข + ะ + ง = ขัง สะกดว่า ขอ - อะ - งอ ขงั ข + ะ + น = ขัน สะกดวา่ ขอ - อะ - นอ ขนั ข + - ิ + ม = ขมิ สะกดว่า ขอ - อิ - มอ ขมิ

ข + -ุ + ย = ขุย สะกดว่า ขอ - อุ - ยอ ขยุ ห+ - ิ + ว = หวิ สะกดวา่ หอ - อิ - วอ หวิ ๒. คาทีม่ ตี วั สะกดในแม่กก แม่กด แม่กบ ๒.๑ พยัญชนะต้นเป็นอักษรกลาง + สระเสยี งยาว + ตัวสะกดแม่กก กด กบ เป็นเสียงเอก เชน่ จ + า + ก = จาก สะกดวา่ จอ - อา - กอ จาก จ + า + ด = จาด สะกดวา่ จอ - อา - ดอ จาด จ + า + บ = จาบ สะกดว่า จอ - อา - บอ จาบ ๒.๒ พยัญชนะต้นเป็นอักษรกลาง + สระเสยี งสนั้ + ตวั สะกดแม่กก กด กบ เป็นเสียงเอก เชน่ ต + ะ + ก = ตกั สะกดวา่ ตอ - อะ - กอ ตกั ต + ะ + ด = ตดั สะกดวา่ ตอ - อะ - ดอ ตดั ต + ะ + บ = ตบั สะกดว่า ตอ - อะ - บอ ตบั ๒.๓ พยญั ชนะต้นเป็นอักษรต่า + สระเสียงยาว + ตัวสะกดแม่กก กด กบ เป็นเสียงโท เช่น ร + า + ก = ราก สะกดวา่ รอ - อา - กอ ราก ร + า + ด = ราด สะกดวา่ รอ - อา - ดอ ราด ร + า + บ = ราบ สะกดวา่ รอ - อา - บอ ราบ ๒.๔ พยัญชนะตน้ เป็นอักษรต่า + สระเสยี งสน้ั + ตัวสะกดแมก่ ก กด กบ เป็นเสียงตรี เชน่ ร + ะ + ก = รัก สะกดวา่ รอ - อะ - กอ รัก ร + ะ + ด = รดั สะกดว่า รอ - อะ - ดอ รดั ร + ะ + บ = รบั สะกดวา่ รอ - อะ - บอ รับ ๒.๕ พยัญชนะตน้ เปน็ อักษรสูง + สระเสยี งยาว + ตัวสะกดแมก่ ก กด กบ เป็นเสียงเอก เช่น ส + า + ก = สาก สะกดว่า สอ - อา - กอ สาก ส + า + ด = สาด สะกดว่า สอ - อา - ดอ สาด ส + า + บ = สาบ สะกดวา่ สอ - อา - บอ สาบ ๒.๖ พยญั ชนะต้นเปน็ อักษรสูง + สระเสยี งสั้น + ตวั สะกดแม่กก กด กบ เป็นเสียงเอก เช่น ส + ะ + ก = สกั สะกดวา่ สอ - อะ - กอ สัก ส + ะ + ด = สดั สะกดว่า สอ - อะ - ดอ สัด ส + ะ + บ = สบั สะกดว่า สอ - อะ - บอ สับ

สระบางตัวเปลยี่ นรูปและลดรูป เม่อื ประสมในคาท่ีมตี ัวสะกด สระเปล่ียนรปู คือ สระท่ีมีการเปล่ียนแปลงรปู เม่อื ประสมอักษร สระลดรูป คือ สระทเี่ ขียนลดรปู เม่อื ประสมอกั ษร โดยไมต่ อ้ งเขียนรปู สระใหป้ รากฏ หรือปรากฏ แตเ่ พียงบางส่วน แต่ต้องออกเสียงให้ตรงกับรูปสระทล่ี ดนน้ั การลดรูปมี ๒ อย่าง คือ ลดรูปทั้งหมด ได้แก่ สระโอะ (โ-ะ) สระออ (-อ) และลดรูปบางส่วน ได้แก่ สระท่ีลดรูปไม่หมด เหลือไว้เพียงบางส่วนของรูป พอเปน็ เครื่องสังเกตให้รวู้ ่าไม่ซ้ากบั รูปอน่ื ในหน่วยน้ี นาเสนอคาทีป่ ระสมสระเม่ือมตี ัวสะกดจะลดรปู และเปล่ยี นรปู ดงั น้ี ๑. คาประสมสระอะ (-ะ) มตี วั สะกด เมื่อเขยี นคาจะเปลย่ี นรูป -ะ (วสิ รรชนีย์) เป็น - ั (ไมห้ ันอากาศ) แต่ยังคงอ่านออกเสียงสระอะ เช่น ผกั รัก ขงั ดัง จัด วัด ฉัน คนั ขบั จับ ฯลฯ ผกั สะกดวา่ ผอ - อะ - กอ อา่ นวา่ ผกั ฉัน สะกดว่า ฉอ - อะ - นอ อ่านวา่ ฉนั จดั สะกดวา่ จอ - อะ - ดอ อ่านวา่ จัด ๒. คาประสมสระเอะ (เ-ะ) สระแอะ (แ-ะ) มีตวั สะกด เมื่อเขียนคาจะเปลี่ยนรปู -ะ (วสิ รรชนยี ์) เป็น -็ (ไมไ้ ต่คู้) แต่ยังคงอา่ นออกเสียง สระเอะ สระแอะ เชน่ เดก็ เขน็ เจ็บ เลง็ เค็ม เตม็ เป็ด แข็ง เปน็ ต้น เด็ก สะกดวา่ ดอ - เอะ - กอ อา่ นว่า เดก็ แข็ง สะกดวา่ ขอ - แอะ - งอ อ่านว่า แขง็ ๓. คาประสมสระโอะ (โ-ะ) มตี ัวสะกด เมอื่ เขยี นคาจะลดรูป สระ โ-ะ หายไป แตย่ งั คงอ่านออก เสยี ง สระโอะ เช่น นม คน ธง กบ ฝน นก มด ฯลฯ นม สะกดว่า นอ - โอะ - มอ อ่านว่า นม คน สะกดว่า คอ - โอะ - นอ อา่ นว่า คน ๔. คาประสมสระอัว (- ัว) ลดรูปเม่ือมีตวั สะกด การลดรปู ของ สระ - ัว ทาให้ - ั (ไม้หันอากาศ) หายไป เหลือแตต่ ัว ว แต่ยังคงอา่ นออกเสียง สระ - ัว เชน่ ขวด นวด สวย รวย บวก ขวด สะกดวา่ ขอ - อัว - ดอ อา่ นว่า ขวด สวย สะกดวา่ สอ - อัว - ยอ อ่านว่า สวย ๕. คาประสมสระเออ (เ-อ) มีตวั สะกด เมื่อเขียนคาจะเปลี่ยนรปู อ เป็น -ิ (อ)ิ แตย่ ังคงอ่าน ออกเสียง สระ เ-อ เช่น เดนิ เกดิ เพงิ เนิน เดิม เบิก เดนิ สะกดว่า ดอ - เออ - นอ อา่ นว่า เดนิ เกดิ สะกดว่า กอ - เออ - ดอ อ่านวา่ เกดิ คาประสมสระ เ-อ มีตัวสะกด ย เมื่อเขยี นคาจะลดรูปทาให้รูป อ หายไป แตย่ ังคงอ่านออก เสียง สระ เ-อ เชน่ เขย เงย เฉย เตย เนย เอย เลย เชย เนย สะกดว่า นอ - เออ - ยอ อ่านว่า เนย เตย สะกดวา่ ตอ - เออ - ยอ อา่ นวา่ เตย

๖. คาประสมสระ ออ เมื่อมสี ะกด ร เมื่อเขยี นคาจะทาให้รูป อ หายไป แต่ยังคงอ่านออกเสียง สระ ออ เชน่ ถาวร วงจร ลูกศร วานร ๗. คาประสมสระเอาะ (เ-าะ) มสี ะกด เปลย่ี นรปู เป็น -็ อ เชน่ ก็อก นอ็ ก ม็อบ การสอนอา่ นแจกลูกสะกดคาท่ีมพี ยญั ชนะตน้ สระ และมีตัวสะกดตรงตามมาตรา ควรจัดลาดับ เน้ือหา โดยเร่ิมจากการเปล่ียนพยัญชนะต้นเพียงอย่างเดียวก่อน แล้วจึงเปล่ียนพยัญชนะต้นและสระ เมอ่ื นักเรียนอา่ นคาทมี่ ตี ัวสะกดท้งั ๘ มาตราได้คล่องแลว้ จงึ ฝกึ ใหน้ กั เรยี นอ่านชดุ คาท่ีคงพยัญชนะต้นและ สระเดมิ แลว้ เปลี่ยนตวั สะกดเป็นชุด ๆ การอา่ นแจกลูกจะเปลี่ยนไปตามเสียงตัวสะกด

สว่ นท่ี ๒ แนวทางการจดั การเรยี นรู้ การแจกลูกสะกดคาที่มีตัวสะกดตรงตามมาตรา มีข้นั ตอนการจดั การเรียนรู้ ดงั นี้ ข้ันที่ ๑ การจัดการเรียนรู้คาท่ีมีตัวสะกดตรงตามมาตราในแม่กง กน ควรทบทวนการอ่านและเขียน สะกดคาในแม่ ก กา โดยเน้นเร่ืองพยัญชนะต้นตามหมู่อักษรไตรยางศ์ และการประสมสระเสียงสั้นและ ยาว โดยฝึกอ่านคาในแม่ ก กา ก่อน แล้วจึงสอนเขียนโดยสอนการสะกดคาก่อน แล้วแจกลูกต่อ เพ่ือให้ เกิดความแม่นยาในเน้ือหา แล้วสอนอ่านสะกดคาท่ีสะกดด้วยตัวสะกดในแม่กง กน ควบคู่กับการสอน เขยี น พยญั ชนะตน้ หมู่ละ ๔ - ๕ ตัว สระสนั้ ยาว ๑ คู่ เช่น สระ -ิ -า โดยยังไม่สอนสระทเ่ี มือ่ มีตัวสะกด แลว้ เปล่ียนแปลงหรือลดรูป การสอนใหน้ ักเรยี นฝึกแจกลกู สะกดคาในแม่กง แม่กน นี้ ครูสามารถใช้แผนภูมิการแจกลูกที่ สระและตวั สะกดคงทไ่ี ด้ ดงั นี้ ๑. ฝึกการอา่ นโดยการแจกลกู สะกดคาที่สะกดด้วยอักษรในแม่กง ๑.๑ พยญั ชนะตน้ อักษรกลาง + สระเสียงยาว + ตัวสะกดแม่กง ก กาง จ จาง บ -าง บาง ป ปาง อ อาง ให้นกั เรียนฝกึ อา่ นและเขียนสะกดคาในแม่กง เช่น กาง กอ - อา - งอ อา่ นว่า กาง เขยี นสะกดเรยี งตามลาดับตัวอักษรเป็น กอ ไก่ - สระอา - งอ งู จาง จอ - อา - งอ อ่านว่า จาง เขยี นสะกดเรียงตามลาดบั ตวั อักษรเป็น จอ จาน - สระอา - งอ งู บาง บอ - อา - งอ อ่านว่า บาง เขียนสะกดเรียงตามลาดบั ตวั อักษรเปน็ บอ ใบไม้ - สระอา - งอ งู ปาง ปอ - อา - งอ อ่านวา่ ปาง เขยี นสะกดเรยี งตามลาดบั ตัวอกั ษรเป็น ปอ ปลา - สระอา - งอ งู อาง ออ - อา - งอ อา่ นว่า อาง เขียนสะกดเรยี งตามลาดบั ตวั อักษรเป็น ออ อ่าง - สระอา - งอ งู

๑.๒ พยัญชนะต้นอกั ษรกลาง + สระเสยี งสนั้ + ตัวสะกดแมก่ ง กงิ ก จงิ จ ดงิ ปงิ ด -ิ ง องิ ป อ ใหน้ ักเรยี นฝกึ อา่ นและเขยี นสะกดคาในแม่กง เช่น ปิง ปอ - อิ - งอ อ่านวา่ ปิง เขียนสะกดเรยี งตามลาดับตัวอกั ษรเป็น ปอ ปลา - สระอิ - งอ งู อิง ออ - อิ - งอ อ่านวา่ อิง เขยี นสะกดเรียงตามลาดบั ตัวอกั ษรเปน็ ออ อา่ ง - สระอิ - งอ งู ๑.๓ พยญั ชนะตน้ เป็นอักษรสูง + สระเสียงยาว + ตัวสะกดแมก่ ง ข ขาง ผ ผาง ฝ -าง ฝาง ส สาง ห หาง ใหน้ กั เรียนฝกึ อา่ นและเขียนสะกดคาในแมก่ ง เช่น ฝาง สะกดว่า ฝอ - อา - งอ ฝาง เขียนสะกดเรยี งตามลาดบั ตัวอักษรเปน็ ฝอ ฝา - สระอา - งอ งู สาง สะกดวา่ สอ - อา - งอ สาง เขียนสะกดเรียงตามลาดบั ตัวอกั ษรเปน็ สอ เสือ - สระอา - งอ งู หาง สะกดวา่ หอ - อา - งอ หาง เขยี นสะกดเรียงตามลาดับตวั อกั ษรเปน็ หอ หบี - สระอา - งอ งู

๑.๔ พยญั ชนะต้นอกั ษรสูง + สระเสยี งสน้ั + ตวั สะกดแม่กง ข ขิง ผงิ ผ ฝงิ สงิ ฝ -ิ ง หิง ส ห ให้นกั เรียนฝกึ อา่ นและเขียนสะกดคาในแมก่ ง เชน่ ขงิ สะกดว่า ขอ - อิ - งอ ขิง เขยี นเรยี งลาดบั ตัวอักษรเปน็ ขอ ไข่ - สระอิ - งอ งู ผงิ สะกดว่า ผอ - อิ - งอ ผงิ เขยี นเรยี งลาดบั ตวั อักษรเป็น ผอ ผึ้ง - สระอิ - งอ งู สิง สะกดวา่ สอ - อิ - งอ สงิ เขยี นเรียงลาดบั ตวั อักษรเปน็ สอ เสือ - สระอิ - งอ งู ๑.๕ พยัญชนะต้นเปน็ อักษรต่า + สระเสียงยาว + ตวั สะกดแม่กง ว วาง น นาง ค -าง คาง ท ทาง ร ราง

ให้นักเรยี นฝกึ อา่ นและเขียนสะกดคาในแม่กง เชน่ วิง วาง สะกดว่า วอ - อา - งอ วาง นงิ เขยี นเรียงลาดบั ตัวอักษรเป็น วอ แหวน - สระอา - งอ งู ชิง นาง สะกดว่า นอ - อา - งอ นาง ยงิ เขียนเรียงลาดบั ตวั อักษรเปน็ นอ หนู - สระอา - งอ งู ลงิ คาง สะกดว่า คอ - อา - งอ คาง เขยี นเรียงลาดับตวั อักษรเปน็ คอ ควาย - สระอา - งอ งู ทาง สะกดวา่ ทอ - อา - งอ ทาง เขียนเรยี งลาดับตัวอักษรเป็น ทอ ทหาร - สระอา - งอ งู ราง สะกดวา่ รอ - อา - งอ ราง เขียนเรยี งลาดับตวั อักษรเปน็ รอ เรือ - สระอา - งอ งู ๑.๖ พยัญชนะตน้ อกั ษรตา่ + สระเสียงสัน้ + ตัวสะกดแม่กง ว น ช -ิ ง ย ล ใหน้ กั เรียนฝึกอ่านและเขียนสะกดคาในแมก่ ง เช่น ชิง สะกดว่า ชอ - อิ - งอ ชิง เขียนเรยี งลาดบั ตวั อักษรเปน็ ชอ ชา้ ง - สระอิ - งอ งู ยิง สะกดว่า ยอ - อิ - งอ ยงิ เขียนเรียงลาดับตัวอักษรเปน็ ยอ ยักษ์ - สระอิ - งอ งู ลิง สะกดวา่ ลอ - อิ - งอ ลิง เขียนเรยี งลาดบั ตัวอักษรเปน็ ลอ ลงิ - สระอิ - งอ งู

๒. ฝกึ แจกลกู คาในแมก่ น ๒.๑ พยัญชนะตน้ อกั ษรกลาง + สระเสียงยาว + ตวั สะกดแม่กน ก กาน จาน จ บาน ปาน บ -าน อาน ป อ ให้นักเรยี นฝึกอา่ นและเขยี นสะกดคาในแมก่ น เช่น จาน สะกดว่า จอ - อา - นอ จาน เขียนเรยี งลาดับตวั อักษรเปน็ จอ จาน - สระอา - นอ หนู บาน สะกดว่า บอ - อา - นอ บาน เขยี นเรยี งลาดบั ตวั อักษรเป็น บอ ใบไม้ - สระอา - นอ หนู ปาน สะกดว่า ปอ - อา - นอ ปาน เขียนเรียงลาดับตวั อักษรเปน็ ปอ ปลา - สระอา - นอ หนู ๒.๒ พยัญชนะต้นอกั ษรกลาง + สระเสียงสนั้ + ตัวสะกดแมก่ น ก กนิ จนิ จ ดิน ปนิ ด -ิ น อนิ ป อ ให้นกั เรียนฝกึ อ่านและเขียนสะกดคาในแม่กน เช่น กนิ สะกดวา่ กอ - อิ - นอ กนิ เขยี นเรียงลาดบั ตวั อักษรเป็น กอ ไก่ - สระอิ - นอ หนู ดนิ สะกดวา่ ดอ - อิ - นอ ดนิ เขียนเรียงลาดบั ตัวอักษรเป็น ดอ เดก็ - สระอิ - นอ หนู ปิน สะกดว่า ปอ - อิ - นอ ปิน เขยี นเรยี งลาดบั ตวั อักษรเป็น ปอ ปลา - สระอิ - นอ หนู