คำทใ่ี ช้เขยี น ๑. ไกร ๖. กรู ๒. ขรัว ๗. ขรขุ ระ ๓. ไตร่ ๘. ตรา ๔. ครู ๙. ใคร ๕. พระ ๑๐ ตระ แบบบนั ทกึ การเขียนคาควบกล้าทม่ี ีพยัญชนะ ก ข ค ต ป พ ควบกบั ร ท่ีไมม่ ีตัวสะกด ท่ี ชื่อ - สกลุ ขอ้ ท่ี รวม ผลการประเมิน ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ คะแนน* ผ่าน ไม่ผา่ น
คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ใหบ้ ันทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายขอ้ เพอ่ื ใหร้ ู้วา่ นกั เรยี นมขี อ้ บกพร่องใด สาหรบั นาไปใชใ้ นการปรับปรุงและพัฒนา นกั เรียน ๒. วิธีการบันทกึ ถ้าทาถูกตอ้ งให้ใสเ่ ครื่องหมาย ถ้าทาผิดให้ใหใ้ สเ่ ครื่องหมาย X (เครื่องหมาย เทา่ กบั ๑ คะแนน เครอื่ งหมาย X เท่ากบั ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพอื่ ประโยชนใ์ นการวนิ ิจฉยั ขอ้ บกพรอ่ งของนักเรยี นเปน็ รายบคุ คล และนาไปใช้ในการปรบั ปรุงและพัฒนา นกั เรยี นเป็นรายบุคคล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพ่อื ประโยชน์ในการวินจิ ฉัยวา่ ข้อบกพร่องของนกั เรยี นในภาพรวมของชั้นเรยี น เพ่ือนาไปใชใ้ นการ ปรับปรงุ และพฒั นาการจดั การเรยี นการสอน ๕. นกั เรยี นตอ้ งได้คะแนนรอ้ ยละ ๘๐ ข้นึ ไป จึงจะผา่ นเกณฑ์ กรณที ีน่ ักเรยี นไม่ผ่านเกณฑ์ ครูผสู้ อนตอ้ งฝกึ จนนักเรยี นเขยี นได้ ส่วนท่ี ๓ แนวทางการวัดและประเมนิ ผลประจาหนว่ ย ช ฉบับที่ ๑ การอ่านสะกดคา คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนอา่ นสะกดคาท่ีกาหนดให้ ภายในเวลา ๕ นาที
ตวั อย่าง เกวยี น สะกดว่า กอ - วอ - เอีย - นอ - เกวียน ๑. กรอบ ๒. แขวน ๓. คลอง ๔. ตรง ๕. กลุ่ม ๖. แตงกวา ๗. เกรงกลัว ๘. กระโปรง ๙. ปลอดโปร่ง ๑๐. เพลดิ เพลิน เฉลยคาตอบ อา่ นสะกดคา กอ - รอ - ออ - บอ - กรอบ ข้อ คา ขอ - วอ - แอ - นอ - แขวน ๑ กรอบ คอ - ลอ - ออ - งอ - คลอง ๒ แขวน ตอ - รอ - โอะ - งอ - ตรง ๓ คลอง กอ - ลอ - อุ - มอ - กลุม - กลุม - ไมเ้ อก - กลุ่ม ๔ ตรง ตอ - แอ - งอ - แตง - กอ - วอ - อา - กวา - แตง - กวา ๕ กล่มุ ๖ แตงกวา
๗ เกรงกลัว กอ - รอ - เอ - งอ - เกรง - กอ - ลอ - อัว - กลัว - เกรง - กลวั ๘ กระโปรง กอ - รอ - อะ - กระ - ปอ - รอ - โอ - งอ - โปรง - กระ - โปรง ๙ ปลอดโปรง่ ปอ - ลอ - ออ - ดอ - ปลอด - ปอ - รอ - โอ - งอ - โปรง - โปรง - ไมเ้ อก - โปรง่ - ปลอด - โปร่ง ๑๐ เพลดิ เพลนิ พอ - ลอ - เออ - ดอ - เพลดิ - พอ - ลอ - เออ - นอ - เพลนิ - เพลดิ - เพลิน วธิ ีการประเมิน อ่านสะกดคาถูกต้องทุกพยางค์ (คาควบกล้าต้องอ่านออกเสียงให้ชดั เจน) ใหข้ อ้ ละ ๑ คะแนน อา่ นสะกดคาผดิ พยางค์ใดพยางค์หนง่ึ ให้ข้อละ ๐ คะแนน
แบบบนั ทกึ ฉบับท่ี ๑ การอ่านสะกดคา ที่ ช่อื - สกุล ขอ้ ที่ รวม ผลการประเมิน ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ คะแนน* ผ่าน ไมผ่ า่ น คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ใหบ้ ันทกึ คะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพื่อให้รวู้ ่านักเรยี นมีขอ้ บกพร่องใด สาหรบั นาไปใชใ้ นการปรับปรงุ และพัฒนา นักเรยี น ๒. วิธีการบนั ทึก ถ้าทาถูกต้องให้ใส่เครื่องหมาย ถา้ ทาผิดใหใ้ หใ้ สเ่ ครอื่ งหมาย X (เครื่องหมาย เท่ากับ ๑ คะแนน เคร่อื งหมาย X เทา่ กับ ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพ่ือประโยชนใ์ นการวนิ จิ ฉัยขอ้ บกพร่องของนกั เรียนเปน็ รายบุคคล และนาไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ และพัฒนา นักเรียนเปน็ รายบคุ คล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉยั วา่ ขอ้ บกพรอ่ งของนกั เรยี นในภาพรวมของช้ันเรยี น เพอื่ นาไปใชใ้ นการ ปรับปรุงและพฒั นาการจดั การเรียนการสอน ๕. นักเรียนตอ้ งได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป จึงจะผา่ นเกณฑ์ กรณที น่ี ักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูผสู้ อนต้องฝึกจนนักเรยี นอ่านได้
ฉบับท่ี ๒ การอา่ นคา คาช้แี จง ๑. ใหน้ กั เรียนอ่านคาที่กาหนดให้ ภายในเวลา ๕ นาที ๒. ครยู กตัวอยา่ งการสะกดคาเพื่ออา่ น คาวา่ ”กล่อมเกลา” ก่อน ตัวอยา่ ง ๑๑. ค้นคว้า ๑๒. กลว้ ยหอม กลอ่ มเกลา อ่านว่า กลอ่ ม - เกลา ๑๓. เปลยี่ นแปลง ๑. กลอ่ ง ๑๔. กว้างขวาง ๒. กลม ๑๕. ไม้กวาด ๓. ครก ๑๖. ทะเลทราย ๔. กลุ่ม ๑๗. ครบครัน ๕. คลาน ๑๘. โปรดปราน ๖. กวาง ๑๙. ทรุดโทรม ๗. เพลนิ ๒๐. พรอ้ มเพรียง ๘. ทรวง ๙. เกล้ยี ง ๑๐. เคลด็ วิธกี ารประเมนิ อ่านคาถูกต้องทุกพยางค์ (คาควบกล้าตอ้ งอ่านออกเสียงให้ชดั เจน
นจับเวลา น) ให้ข้อละ ๑ คะแนน อา่ นผดิ พยางคใ์ ดพยางคห์ นึ่ง ใหข้ ้อละ ๐ คะแนน
เฉลยคาตอบ กลอ่ ง อา่ นว่า ขอ้ คา กลม แบบบนั ทกึ ฉบ ๑. กลอ่ ง ครก ๒. กลม กลุ่ม ๓. ครก คลาน ๔. กลุม่ กวาง ๕. คลาน เพลิน ๖. กวาง ทรวง ๗. เพลนิ เกลยี้ ง ๘. ทรวง เคลด็ ๙. เกลยี้ ง ค้น - ควา้ ๑๐. เคล็ด กลว้ ย - หอม ๑๑. ค้นควา้ เปล่ยี น - แปลง ๑๒. กล้วยหอม กว้าง - ขวาง ๑๓. เปลี่ยนแปลง ไม้ - กวาด ๑๔. กว้างขวาง ทะ- เล - ซาย ๑๕. ไมก้ วาด ครบ - ครัน ๑๖. ทะเลทราย โปรด - ปราน ๑๗. ครบครนั ซดุ - โซม ๑๘. โปรดปราน พรอ้ ม - เพรียง ๑๙. ทรุดโทรม ๒๐. พรอ้ มเพรยี ง
บับท่ี ๒ การอา่ นคา
ท่ี ช่อื – สกลุ ๑๒๓๔๕๖๗๘๙ คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ใหบ้ นั ทกึ คะแนนของนกั เรียนเป็นรายข้อ เพ่อื ใหร้ ู้วา่ นักเรยี นมขี อ้ บกพรอ่ งใด สาหร ๒. วิธีการบันทึก ถ้าทาถูกต้องให้ใส่เคร่ืองหมาย ถา้ ทาผิดใหใ้ หใ้ สเ่ คร่อื งหมาย X (เค ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพื่อประโยชนใ์ นการวนิ จิ ฉยั ขอ้ บกพร่องของนักเรียนเปน็ รายบคุ คล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพื่อประโยชน์ในการวินจิ ฉยั ว่าขอ้ บกพร่องของนักเรยี นในภาพรว ๕. นกั เรียนตอ้ งได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ขนึ้ ไป จึงจะผา่ นเกณฑ์ กรณที นี่ กั เรียนไมผ่ า่ นเก
ข้อท่ี รวม ผลการประเมนิ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ คะแนน* ผ่าน ไมผ่ ่าน รับนาไปใช้ในการปรบั ปรุงและพฒั นานกั เรียน ครอ่ื งหมาย เท่ากบั ๑ คะแนน เครอ่ื งหมาย X เทา่ กบั ๐ คะแนน) ล และนาไปใช้ในการปรับปรงุ และพัฒนานักเรยี นเป็นรายบุคคล วมของชัน้ เรียน เพือ่ นาไปใช้ในการปรับปรงุ และพฒั นาการจัดการเรยี นการสอน กณฑ์ ครผู สู้ อนต้องฝกึ จนนกั เรยี นอ่านได้
หน่วยท่ี 10 กำรแจกลูกสะกดคำทม่ี ีอกั ษรนำ สว่ นท่ี ๑ ความรสู้ าหรบั ครู อักษรนา คือ พยัญชนะต้น ๒ ตัวเรียงกัน ประสมสระเดียว แต่ออกเสียงเป็น ๒ พยางค์ คือพยางค์ต้น เหมือนมีสระประสมอยู่ พยางค์ท่ี ๒ ออกเสียงตามสระประสมอยู่ และพยางค์ที่ ๒ น้ี ถ้าเป็นอักษรเด่ียว ต้องออกเสียงวรรณยุกต์และผันตามตัวหน้าด้วย เช่น แสม อ่าน สะ - แหม เว้นแต่ตัว ห นา อักษรเดี่ยว หรอื ตวั อ นา ตวั ย ไม่ต้องออกเสียง ห และ อ เป็นแตอ่ อกเสียงและผันตัวหลังตามตัว ห และ ตัว อ เท่านั้น เช่น หงอ หญ้า ไหน อย่า อยู่ เป็นต้น ถ้าตัวหน้าเป็นอักษรต่าก็ดี หรือตัวหลังไม่ใช่อักษรเดี่ยวก็ดี กไ็ มเ่ ปลีย่ นแปลงเสยี งวรรณยกุ ต์ ปรากฏแต่รูปเป็นอักษรนาเท่าน้ัน แต่อ่านอย่างเดียวกับคาเรียงพยางค์ เช่น พยาธิ อ่าน พะ - ยา - ธิ มธั ยม อ่าน มัด - ธะ - ยม เปน็ ต้น (พระยาอปุ กิตศลิ ปสาร, ๒๕๒๒: ๒๐) นอกจากน้ัน หนังสือหลักภาษาไทย: เร่ืองที่ครูภาษาไทยต้องรู้ (สถาบันภาษาไทย. ๒๕๕๘: ๔๑) อธิบายว่า อักษรนา คือ พยัญชนะตัวท่ีหนึ่งมีอิทธิพลนาเสียงวรรณยุกต์ของพยัญชนะตัวที่ตามมา พยัญชนะ ตวั ท่หี นง่ึ จะเปน็ อกั ษรสงู หรืออกั ษรกลาง ส่วนพยัญชนะตวั ที่ตามมาเปน็ อักษรตา่ เด่ยี วเทา่ นน้ั การอ่านออกเสียงคาที่มีอักษรนาทาได้ ๒ แบบ คือ อ่านออกเสียงเป็นพยางค์เดียว และอ่านออกเสียง เป็นคา ๒ พยางค์ ประเภทของคาท่ีมีอกั ษรนา คาที่มอี กั ษรนา แบง่ ตามหลักการอ่านออกเสียงได้ ดังน้ี ๑. คาที่มีอักษรนาท่ีอ่านออกเสียงเป็นพยางค์เดียว เมื่อ ห นา อักษรต่าเด่ียว หรือ อ นา ย เสียงวรรณยุกต์ของพยางค์ ตามเสียง ตัว ห หรือ อ ท่ีนา แต่ไม่ออกเสียงตัว ห หรือ อ (สถาบันภาษาไทย, ๒๕๕๘: ๔๑) ดังน้ี ๑.๑ อ นา ย มี ๔ คา คอื อยา่ อยู่ อย่าง อยาก ๑.๒ ห นาอักษรตา่ เดยี่ ว อกั ษรตา่ เดีย่ ว ได้แก่ ง ญ น ม ย ร ล ว
คาที่มี ห นาอกั ษรตา่ เดี่ยว ได้แก่ ห นา ง เชน่ เหงา หงอน หงอก หงกิ แหงน ห นา ญ เช่น หญงิ หญ้า ใหญ่ ห นา น เชน่ หนู แหน หนี หนา หนา้ เหนอื ไหน หนอน หนอง หนาว หนาม หน่อย หนัก ห นา ม เชน่ หมู หมู่ หมา หมี หมวก หมอ หมอ้ เหม็น หมอน หมอก หมอบ แหม หมาย ห นา ย เชน่ หยดุ แหย แหย่ หยอก หยอด เหย่ียว หยิก หยัก หยาม หยี ห นา ร เชน่ หรหู รา หร่ี หรอก ห นา ล เชน่ ไหล แหละ โหล หลาย หลา หลวง หลอ หลอ่ หลับ หลาน หลอก หลุด หลงใหล ห นา ว เชน่ หวี หวาน หวา่ น ไหว ไหว้ หวงั หวัด แหวน แหวก ๒. คาที่มอี ักษรนาที่อ่านออกเสียงเป็น ๒ พยางค์ พยางค์แรกออกเสียงพยัญชนะตัวที่ ๑ ประสมกับ สระอะ ครึ่งเสียง พยางค์หลังออกเสียงพยัญชนะตัวที่ ๒ ประสมกับสระ และพยัญชนะสะกด ตามที่ปรากฏ ส่วนวรรณยุกต์ ออกเสียงตามพยัญชนะตัวท่ี ๑ ลักษณะคล้ายกับมี ห นาอยู่ และออกเสียงเหมือน ห นา (สถาบันภาษาไทย. ๒๕๕๘: ๔๑) ดังนี้ ๒.๑ อกั ษรสงู นาอกั ษรต่าเด่ยี ว อักษรสูง ได้แก่ ข ฉ ถ ผ ฝ ส นาอักษรต่าเดี่ยว ได้แก่ ง ณ น มยรลว คาอกั ษรสูงนาอักษรต่าเดยี่ ว ไดแ้ ก่ ข นา ณ เช่น ขณะ ข นา น เชน่ ขนม ขนุน ข นา ม เช่น ขมวด เขมง็ ขมขี มัน ข นา ย เชน่ ขยะ ขยับ ขยนั ขยา ขย้า ขยี้ เขยิบ เขยื้อน โขยง ฉ นา ง เชน่ ฉงน ฉ นา น เชน่ ไฉน ฉนวน ฉ นา ม เช่น ฉมวก ฉมัง ฉ นา ล เช่น ฉลาด ฉลาม ฉลอง เฉลย ฉลู ฉลาก ถ นา น เชน่ ถนน ถนัด ถวาย เถลไถล
ผ นา ง เชน่ ผงก ผงะ ผงาด ผ นา น เช่น ผนัง ผนกึ แผนก ผ นา ย เชน่ ผยอง เผยอ ผ นา ล เชน่ ผลิต ผ นา ว เชน่ ผวา ฝ นา ร เชน่ ฝรัง่ หญ้าฝรน่ั ส นา ง เช่น สง่า สงบ สงวน ส นา น เช่น สนกุ สนาน สนาม เสนอ ส นา ม เช่น สมดุ สมาน เสมอ สมอง สมุย สมอ ส นา ย เช่น สยาย แสยะ สยาม ส นา ร เชน่ สระ ส นา ล เชน่ สลาย สลับ สลาก สลวั สลดิ ส นา ว เช่น สวาย สวิง ๒.๒ อักษรกลาง นาอักษรต่าเด่ียว อักษรกลาง ได้แก่ ก จ ต บ ป อ นาอักษรต่าเดี่ยว ได้แก่ ง นรลว คาอกั ษรกลางนาอักษรต่าเด่ียว ได้แก่ ก นา น เชน่ กนก จ นา ม เช่น จมูก จ นา ร เชน่ จรวด จ นา ว เชน่ จวัก ต นา น เชน่ ตนุ โตนด ต นา ล เชน่ ตลก ตลบั ตลาด ตล่งิ เตลดิ ต นา ว เช่น ตวาด ป นา ร เช่น ปรอด ปรอท ป นา ล เชน่ ปลัด อ นา ง เช่น องุน่ อ นา น เชน่ อนาถ อ นา ร เช่น อรอ่ ย
ส่วนท่ี ๒ แนวทางการจดั การเรยี นรู้ ในการจดั การเรียนรคู้ าทม่ี อี ักษรนา ควรจัดสาระการเรียนรู้ตามลาดบั ดงั นี้ ๑. คา อ นา ย มี ๔ คา ไดแ้ ก่ อยา่ อยู่ อยา่ ง อยาก ๒. คา ทีม่ ี ห เปน็ อักษรนา แบ่งเป็น ๒.๑ คา ที่มี ห เป็นอักษรนา ในแม่ ก กา ได้แก่ หนา หมา หลา หนี หมี หยี หวี หนู หมู หรู แหม แหย แหน แหละ แหล โหล หงอ หนอ หมอ หรอ หลอ หวอ ไหน ไหม ไหว ไหล เหงา เหมา เหลา เหนือ เหลอื ๒.๒ คา ทม่ี ี ห เปน็ อกั ษรนา ในแม่ ก กา ทม่ี ีรูปวรรณยุกต์ ได้แก่ หน้า หญ้า หร่ี หมู่ แหย่ หม้อ หลอ่ ไหว้ ใหญ่ ๒.๓ คา ท่ีมี ห เป็นอักษรนา ท่ีมีตัวสะกด ได้แก่ หนัก หลับ หวัง หวัด หนาว หนาม หลาย หมาย หลาน หวาน หว่าน หยิก หญิง หวีด หยุด หลุด เหม็น แหวน แหวก หลง เหยี่ยว หมอน หมอก หมอบ หยอก หยอด หรอก หลอก หนอน หมวก หลวง ๓. คาอักษรสูงนาอกั ษรต่าเด่ียว แบ่งเป็น ๓.๑ คาอักษรสงู นาอกั ษรตา่ เด่ียว ในแม่ ก กา ไดแ้ ก่ ขณะ ขยะ ขยา ขยา้ ขย้ี ไฉน ฉลู สง่า เถลไถล ผวา เสนอ เสมอ สมอ แสยะ สระ สลัว ๓.๒ คาอักษรสูงนาอักษรต่าเดี่ยว ที่มีตัวสะกด ได้แก่ ขนม ขนุน ขมวด เขม็ง ขมีขมัน ขยับ ขยัน เขยบิ เขย้อื น โขยง ฉงน ฉนวน ฉมวก ฉมัง ฉลาด ฉลาม ฉลอง เฉลย ฉลาก สงบ สงวน ถนน ถนัด ถวาย ผงก ผงาด ผนัง ผนึก แผนก ผยอง ผลิต ฝรั่ง สนุก สนาน สมุด สมัย สมาน สมอง สมุย สยาย สยาม สลาย สลับ สลาก สลิด สว่าง สวาย สวงิ ๔. คาอักษรกลางนาอักษรต่าเด่ียว ได้แก่ กนก จมูก จรวด จวัก ตนุ โตนด ตลก ตลับ ตลาด ตลิ่ง ตวาด ปรอด ปรอท ปลัด อรอ่ ย ครูอาจเลือกสอนคาอกั ษรนาใหเ้ หมาะสมกับระดับช้ันและความพรอ้ มของนกั เรยี น
การสอนอ่านสะกดคาที่มอี กั ษรนา การอ่านสะกดคาเป็นการอ่านออกเสียงตัวอักษรที่ประกอบกันเป็นคา โดยอ่านออกเสียงพยัญชนะต้น สระ ตวั สะกด และวรรณยุกต์ ตามลาดับ เชน่ ๑. คาที่มี อ นา ย อย่า แบบท่ี ๑ ออ - ยอ - อา - ยา - ยา - เอก - หยา่ แบบท่ี ๒ อย - อา - ยา - ยา - เอก - หย่า ๒. คาที่มี ห เปน็ อกั ษรนา หมา แบบที่ ๑ หอ - มอ - อา - หมา แบบท่ี ๒ หมอ - อา - หมา หน้า แบบที่ ๑ หอ - นอ - อา - หนา - หนา - โท - หนา้ แบบท่ี ๒ หนอ - อา - หนา - หนา - โท -หน้า หลับ แบบที่ ๑ หอ - ลอ - อะ - บอ - หลับ แบบท่ี ๒ หลอ - อะ - บอ - หลับ ๓. คาทีม่ ีอกั ษรสูงนา อกั ษรตา่ เด่ียว สมอง แบบที่ ๑ สอ - มอ - ออ - งอ - สะ - หมอง แบบที่ ๒ สะ - หมอ - ออ - งอ - สะ - หมอง สว่าง แบบท่ี ๑ สอ - วอ - อา - งอ - สะ - หวาง - สะ - หวาง - เอก - สะ - หวา่ ง แบบท่ี ๒ สะ - หวอ - อา - งอ - สะ - หวาง - สะ - หวาง - เอก - สะ - หวา่ ง ๔. คาทม่ี ีอกั ษรกลางนา อักษรต่าเดีย่ ว ตลก แบบท่ี ๑ ตอ - ลอ - โอะ - กอ - ตะ - หลก แบบท่ี ๒ ตะ - ลอ - โอะ - กอ - ตะ - หลก ตลง่ิ แบบท่ี ๑ ตอ - ลอ - อิ - งอ - ตะ - ลิง - ตลงิ - เอก - ตะ - หลงิ่ แบบท่ี ๒ ตะ - ลอ - อิ - งอ - ตะ - ลิง - ตลิง - เอก - ตะ - หลิ่ง
การสอนเขยี นสะกดคา เป็นการสะกดเพื่อเขียนคาให้ถูกต้อง จะสะกดคาตามรูปตัวอักษรท่ีประกอบกันเป็นคาโดยสะกด เรียงลาดบั ตามรูปตัวอกั ษรที่ปรากฏอย่ใู นคานั้น ๆ เชน่ ๑. คาที่มี อ นา ย อยาก เขยี นเรียงลาดับตวั อกั ษรเปน็ ออ อ่าง - ยอ ยักษ์ - สระ อา - กอ ไก่ - อยาก ๒. คาท่ีมี ห เป็นอักษรนา เหลา เขียนเรยี งลาดบั ตัวอักษรเป็น สระ เอ - หอ หีบ - ลอ ลงิ - สระ อา - เหลา หมอ้ เขียนเรยี งลาดบั ตัวอักษรเป็น หอ หีบ - มอ มา้ - ไม้ โท - ออ อา่ ง - หม้อ หลาน เขยี นเรยี งลาดับตัวอกั ษรเป็น หอ หีบ - ลอ ลิง - สระ อา - นอ หนู - หลาน ๓. คาท่มี อี กั ษรสูงนา อักษรตา่ เดีย่ ว ขย้ี เขียนเรยี งลาดบั ตัวอกั ษรเปน็ ขอ ไข่ - ยอ ยักษ์ - สระ อี - ไมโ้ ท - ขย้ี ถวาย เขียนเรียงลาดบั ตวั อักษรเปน็ ถอ ถุง - วอ แหวน - สระ อา - ยอ ยักษ์ - ถวาย ๔. คาท่ีมีอักษรกลางนา อักษรต่าเดยี่ ว จมูก เขียนเรียงลาดับตวั อกั ษรเปน็ จอ จาน - มอ ม้า - สระ อู - กอ ไก่ - จมูก อรอ่ ย เขยี นเรยี งลาดบั ตวั อักษรเป็น ออ อ่าง - รอ เรือ - ไม้ เอก - ออ อ่าง - ยอ ยกั ษ์ -อร่อย
ตวั อยา่ งการนาแนวทางการจัดการเรยี นรู้ไปใช้ในห้องเรยี น หน่วยท่ี ๑๐ การแจกลกู สะกดคาทีม่ ีอกั ษรนา จดุ ประสงคข์ องการจัดการเรียนรู้ (๗ ชว่ั โมง) ๑. เพ่ือให้นักเรียนอา่ นและเขียนแจกลกู สะกดคาท่มี ีอกั ษรนาได้ ๒. เพ่อื ให้นกั เรยี นอ่านและเขยี นคาที่มีอักษรนาได้ แนวการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๑ คา อ นา ย (๑ ชัว่ โมง) แนวการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๒ คา ทม่ี ี ห เป็นอักษรนาในแม่ ก กา (๑ ช่วั โมง) แนวการจัดการเรยี นรู้ที่ ๓ คา ที่มี ห เป็นอกั ษรนาในแม่ ก กา ท่มี รี ูปวรรณยุกต์ (๑ ช่วั โมง) แนวการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๔ คา ท่มี ี ห เปน็ อกั ษรนาที่มตี ัวสะกด (๑ ชั่วโมง) แนวการจดั การเรยี นรู้ที่ ๕ คาอักษรสูงนาอักษรตา่ เด่ียวในแม่ ก กา (๑ ชั่วโมง) แนวการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๖ คาอักษรสงู นาอกั ษรตา่ เดยี่ วท่มี ตี ัวสะกด (๑ ช่ัวโมง) แนวการจัดการเรียนรู้ท่ี ๗ คาอักษรกลางนาอักษรต่าเดย่ี ว (๑ ชวั่ โมง)
แนวการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๑ คา อ นา ย (๑ ช่ัวโมง) จุดประสงคข์ องการจดั การเรยี นรู้ ๑. อา่ นสะกดคา อ นา ย ได้ ๒. อ่านและเขยี นคา อ นา ย ได้ ขัน้ ตอนการจดั การเรยี นรู้ ๑. ขนั้ นา ๑.๑ ครรู ้องเพลงท่มี ีคาอกั ษรนา เชน่ เพลงในหมูล่ กู เสือ โดยติดเนือ้ เพลงบนกระดานหรือป้ายสาลี เพลงในหมลู่ กู เสือ คาร้อง ทานอง ไมท่ ราบนามผูแ้ ต่ง ในหมลู่ กู เสอื เมื่อมารว่ มอยู่ ต่างคนต่างรู้กันดวี ่าหนา้ ท่ที ุกอย่าง ต้องช่วยกันทากนั ไม่เว้นว่าง งานทกุ อยา่ ง งานทุกอย่าง จะเสร็จโดยง่ายดาย ๑.๒ ครูอ่านเนื้อเพลงให้นักเรียนฟัง นักเรียนอ่านตามครู หลังจากน้ันร่วมกันร้องเพลงและนาสนทนา ถงึ ความหมายของเพลง ๑.๓ ให้นักเรียนสังเกตคาจากเนื้อเพลง และหาว่ามีคาใดบ้างที่มีพยัญชนะต้นสองตัว ครูเขียน คาทน่ี ักเรยี นตอบบนกระดาน เช่น หมู่ อยู่ หน้า อยา่ ง แล้วเช่ือมโยงสกู่ ารเรยี นเร่ืองการอา่ นคาทม่ี อี ักษรนา ๒. ขัน้ สอน ๒.๑ ครแู ยกส่วนประกอบของคา ท่ีขนึ้ กระดานไว้ ดงั น้ี หมู่ ประกอบด้วย หม + –ู + –่ อ่านว่า หมู่ ครนู าสนทนาว่า หม เป็นพยญั ชนะตน้ สองตัว ไม่อ่านออกเสียง ห แต่อ่านออกเสียง ม ตัวเดียว แตอ่ อกเสยี งวรรณยกุ ต์เป็นเสียงเอกตามกฎการผันวรรณยกุ ตข์ องพยัญชนะ ห ครอู ธบิ ายเพิ่มเตมิ ว่า คาลักษณะน้ี เรยี กวา่ คาท่มี ี ห เป็นอักษรนา ๒.๒ ครูนา คา อ นา ย เชน่ อยู่ อยา่ ง มาสอนด้วยวิธีตามข้อ ๑.๓ แล้วสรุปว่า อยู่ อย่า มีอักษร อ นา ย เปน็ คาอกั ษรนา ๒.๓ ครูทบทวนไตรยางศ์ โดยติดเนื้อหาสาระ อักษรกลาง อักษรสูง อักษรต่า และอักษรต่าเด่ียว บนกระดาน ให้นักเรียนอ่าน และชี้ให้นักเรียนดูว่า อักษรสูงที่เป็นอักษรนา ได้แก่ ข ฉ ถ ผ ฝ ส อักษรกลาง ท่ีเปน็ อกั ษรนา ไดแ้ ก่ ก จ ต บ ป อ สว่ นอกั ษรต่าเดย่ี ว ได้แก่ ง ณ น ม ย ร ล ว
๒.๔ ครสู รปุ เขียนบนกระดานดาให้นกั เรียนอา่ น ดังน้ี อักษรสงู ที่เปน็ อักษรนา ได้แก่ ข ฉ ถ ผ ฝ ส อักษรกลาง ท่เี ปน็ อกั ษรนา ได้แก่ ก จ ต บ ป อ ส่วนอกั ษรตา่ เดยี่ วทีเ่ ปน็ ตัวตาม ไดแ้ ก่ ง ณ น ม ย ร ล ว ให้นักเรียนเขียนข้อความบนกระดานดาลงในสมุด ครูดูแลการเขียนให้คาแนะนาและตรวจ แกไ้ ขใหถ้ ูกต้อง ๒.๕ ครนู าสรุปความหมายของอกั ษรนา อกั ษรนา หมายถึง พยัญชนะต้น ๒ ตัวเรียงกัน และตัวหน้า เป็นตวั นาเสียงวรรณยุกตข์ องตวั ตาม ตวั หน้าเป็นอักษรสูงหรืออักษรกลาง ตวั ทต่ี ามมาเปน็ อกั ษรต่าเดย่ี วเทา่ น้ัน ๒.๖ ครูนาบัตรคา อยาก ติดบนกระเป๋าผนัง คาว่า อยาก ประกอบด้วย พยัญชนะสองตัว ได้แก่ อย สระ อา ตัวสะกด ก ครูอ่านคา อยาก ให้นักเรียนฟัง เปรียบเทียบกับ คาว่า ยาก เช่น อยาก ยาก คาว่า อยาก อ่านตามเสยี ง อ ท่ีเป็นตัวนา สรุปว่า อ นา ย เป็น อักษรนา โดย อ เป็นพยัญชนะ ตัวหน้า จะมีอิทธิพลนาเสียงวรรณยุกต์ ของตวั ย ท่ีตามมา เมื่อ โดยอา่ นออกเสยี งเป็นพยางคเ์ ดยี ว โดยเสียงวรรณยุกต์ ของ ย จะตามเสียง อ ที่นา แตไ่ มอ่ อกเสียงตัว อ คา อ นา ย มี ๔ คา ไดแ้ ก่ อย่า อยู่ อยา่ ง อยาก ๒.๗ ครเู ขยี นข้อความบนกระดานดา ดงั นี้ วนั นพ้ี ่อไปทางาน มานะอยบู่ า้ นกับแม่ มานะอยากกินข้าวสวย แมห่ ุงข้าวสวยและทากับขา้ วสองอย่าง แม่บอกมานะวา่ ให้กินช้า ๆ อย่าทาอาหารหกเลอะเทอะ ครูอ่านข้อความให้นักเรียนฟัง นักเรียนอ่านตาม ให้นักเรียน หาคา อ นา ย จากข้อความ ไดแ้ ก่ อยู่ อยาก อยา่ ง อย่า แลว้ เขยี นในสมดุ เม่ือนักเรียนเขียนคาเสร็จแล้ว ครูและเพื่อนตรวจผลงานการเขียน เมื่อเขียนไม่ถูกต้องให้ แกไ้ ขจนถกู ตอ้ ง ๒.๘ ครูอ่านออกเสียงสะกดคาทีละคาให้นักเรียนฟังให้นักเรียนอ่านตามครูด้วยเสียงดัง ชัดเจน พรอ้ มกัน โดยครูอาจสุ่มให้นกั เรียนอ่านรายบุคคล คาวา่ “อย่า” สะกดวา่ ออ - ยอ - อา - ไมเ้ อก - หย่า คาว่า “อยู่” สะกดวา่ ออ - ยอ - อู - ไมเ้ อก - หยู่ คาวา่ “อยา่ ง” สะกดว่า ออ - ยอ - อา - งอ - ไมเ้ อก - หย่าง คาวา่ “อยาก” สะกดวา่ ออ - ยอ - อา - กอ - หยาก เมื่อนักเรียนอ่านสะกดคาคล่องแล้ว ให้นักเรียนฝึกเขียนสะกดคา อ นา ย แบบฝึกที่ ๑ เป็น รายบุคคล โดยครคู อยดูแลให้คาแนะนา
๒.๙ เม่ือนักเรียนอ่านสะกดคาได้คล่องแล้ว ครูฝึกทักษะการอ่านเป็นคา ประโยค ข้อความ หรือบทร้อยกรอง โดยเลือกคา อ นา ย มาให้อ่านทบทวน ซึ่งสามารถหาบทร้อยกรองหรือข้อความอื่น ๆ ทม่ี ีคา อ นา ย (เลือกเพียง ๑ เพลง) ดงั น้ี อย่า อยา่ วิง่ อย่าไป อยู่ อยบู่ ้าน นา่ อยู่ อย่าง ตวั อยา่ ง อย่างดี อยาก อยากเลน่ อยากกิน ตา ห้าม ว่า อย่า วิ่ง เล่น บน สะพาน เด็ก ๆ อยาก เลน่ ฟตุ บอล อยากอยอู่ ย่างสบาย อยากอยู่อยา่ งสบาย สขุ กายสุขใจ อย่าเกเรใคร เพือ่ น ๆ ของเรา อยู่อยา่ งเป็นสขุ เล่นสนุกกับเขา ทั้งเพ่ือนและเรา ไม่รังแกกัน จากหนงั สือชดุ พ้ืนฐานภาษา ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๒ ๒.๑๐ ครูฝึกทกั ษะการสะกดคาเพื่อเขียนควบคกู่ ับการสะกดคาเพือ่ อ่าน ดงั ตัวอย่างต่อไปนี้ คาวา่ “อยา่ ” สะกดว่า ออ - ยอ - อา - ไมเ้ อก - หยา่ แตเ่ ขียนเรียงลาดับตัวอกั ษรเปน็ ออ อ่าง - ยอ ยกั ษ์ - สระ อา - ไมเ้ อก - อย่า คาวา่ “อยู่” สะกดวา่ ออ - ยอ - อู - ไมเ้ อก - หยู่ แตเ่ ขียนเรียงลาดบั ตัวอักษรเปน็ ออ อา่ ง - ยอ ยกั ษ์ - สระ อู - ไม้เอก - อยู่ คาว่า “อยา่ ง” สะกดวา่ ออ - ยอ - อา - งอ - ไมเ้ อก - หยา่ ง แตเ่ ขียนเรยี งลาดบั ตวั อักษรเป็น ออ อา่ ง - ยอ ยกั ษ์ - ไม้ เอก - สระ อา - งอ งู - อย่าง คาวา่ “อยาก” สะกดว่า ออ - ยอ - อา - กอ - หยาก แตเ่ ขียนเรยี งลาดบั ตัวอักษรเป็น ออ อ่าง - ยอ ยกั ษ์ - สระ อา - กอ ไก่ - อยาก ๒.๑๑ ให้นกั เรยี นฝึกเขียนสะกดคา แบบฝึกที่ ๒ ครูดูแล สังเกตการเขียนให้คาแนะนา ถ้านักเรียน เขยี นไมถ่ กู ตอ้ ง ให้แกไ้ ขจนถกู ต้อง ครบู ันทึกคะแนนการเขียน ในแบบบันทึกคะแนน
๓. ข้นั สรปุ ครูนาสรุปสาระสาคัญของคา อ นา ย ว่ามี ๔ คา ได้แก่ อย่า อยู่ อย่าง อยาก ออกเสียงวรรณยุกต์เอก ท้ังหมด โดยครูสามารถใชเ้ พลง อย่า อยู่ อย่าง อยาก ได้ อย่า อยู่ อยา่ ง อยาก เนือ้ ร้อง ไมท่ ราบนามผู้แต่ง ทานอง Are you sleeping? อย่า อยู่ อย่าง อยาก อย่า อยู่ อยา่ ง อยาก อ นา ยอ อ นา ยอ จาไวห้ นอมสี ี่คา (ซา้ ) จาให้ดี มีสคี่ า สือ่ การสอน ๑. เพลง ๒. แบบฝึก การวัดและประเมนิ ผล ๑. การสงั เกตจากการตอบคาถามของนกั เรยี น ๒ การตรวจแบบฝกึ
แบบฝกึ ที่ ๑ การอ่านสะกดคา คาช้ีแจง ๑. ครูยกตัวอยา่ งการอา่ นสะกดคาท่ีมอี กั ษรนา ๒. ให้นักเรยี นอา่ นสะกดคา ภายในเวลา ๕ นาที ตัวอย่าง อยู่ สะกดวา่ ออ - ยอ - อู - ไมเ้ อก - หยู่ ข้อท่ี คา ๑. อยาก ๒. อย่า ๓. อย่าง เฉลยคาตอบ สะกดวา่ ออ - ยอ - อา - กอ - หยาก ๑. อยาก สะกดวา่ ออ - ยอ - อา - ไมเ้ อก - หย่า ๒. อย่า สะกดวา่ ออ - ยอ - อา - งอ - ไมเ้ อก - หยา่ ง ๓. อย่าง
ท่ี ช่ือ - สกลุ แบบบนั ทกึ การอา่ นสะกดคา รวม ผลการประเมนิ คะแนน* ผ่าน ไม่ผา่ น คาที่ ๑๒๓ คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรยี นเป็นรายข้อ เพือ่ ให้รู้ว่านกั เรยี นมีขอ้ บกพร่องใด สาหรับนาไปใชใ้ นการปรบั ปรุงและพัฒนา นกั เรยี น ๒. วิธีการบันทึก ถา้ ทาถกู ต้องใหใ้ สเ่ ครื่องหมาย ถ้าทาผดิ ให้ให้ใสเ่ ครื่องหมาย X (เครอื่ งหมาย เท่ากบั ๑ คะแนน เคร่ืองหมาย X เท่ากับ ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพ่ือประโยชนใ์ นการวนิ จิ ฉัยขอ้ บกพรอ่ งของนักเรยี นเป็นรายบคุ คล และนาไปใช้ในการปรบั ปรงุ และพัฒนา นักเรยี นเปน็ รายบุคคล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพอ่ื ประโยชนใ์ นการวนิ จิ ฉยั ว่าข้อบกพรอ่ งของนักเรยี นในภาพรวมของชน้ั เรยี น เพ่อื นาไปใชใ้ นการ ปรับปรงุ และพฒั นาการจดั การเรยี นการสอน ๕. นกั เรยี นต้องได้คะแนนรอ้ ยละ ๘๐ ขึน้ ไป จงึ จะผ่านเกณฑ์ กรณที น่ี กั เรียนไมผ่ ่านเกณฑ์ ครูผสู้ อนต้องฝกึ จนนกั เรยี นอ่านได้ แบบฝกึ ท่ี ๒ การเขยี นคาท่ีมี อ นา ย
คาช้ีแจง ๑. ใหน้ กั เรียนเขยี นตามคาบอก ใช้เวลา ๓ นาที ๒. ให้ครูอ่านคาใหน้ ักเรียนฟังคาละ ๒ ครั้ง โดยเวน้ เวลาให้นักเรยี นเขียนก่อนบอกคาในข้อตอ่ ไป คำทใี่ ช้เขียน ๑. อย่าง ๒. อยาก ๓. อยู่ ๔. อย่า แบบบันทึกการเขยี นคาที่มี อ นา ย
ที่ ชือ่ - สกุล คาท่ี รวม ผลการประเมนิ ๑ ๒ ๓ ๔ คะแนน* ผ่าน ไม่ผ่าน คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ใหบ้ นั ทึกคะแนนของนกั เรยี นเป็นรายข้อ เพอ่ื ให้รวู้ า่ นกั เรียนมีขอ้ บกพรอ่ งใด สาหรับนาไปใชใ้ นการปรับปรงุ และพัฒนา นักเรียน ๒. วิธีการบนั ทึก ถา้ ทาถกู ตอ้ งให้ใสเ่ ครื่องหมาย ถา้ ทาผิดใหใ้ ห้ใสเ่ ครอื่ งหมาย X (เคร่อื งหมาย เทา่ กับ ๑ คะแนน เคร่อื งหมาย X เท่ากบั ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพอ่ื ประโยชนใ์ นการวินจิ ฉัยข้อบกพร่องของนักเรยี นเป็นรายบุคคล และนาไปใชใ้ นการปรับปรุงและพัฒนา นักเรยี นเป็นรายบคุ คล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพื่อประโยชน์ในการวนิ จิ ฉยั วา่ ขอ้ บกพร่องของนกั เรยี นในภาพรวมของชนั้ เรียน เพอื่ นาไปใชใ้ นการ ปรับปรุงและพัฒนาการจดั การเรียนการสอน ๕. นักเรียนต้องได้คะแนนรอ้ ยละ ๘๐ ขนึ้ ไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณที น่ี กั เรียนไมผ่ า่ นเกณฑ์ ครผู สู้ อนตอ้ งฝึกจนนกั เรยี นอา่ นได้
สว่ นท่ี ๓ แนวทางการวัดและประเมินผลประจาหน่วย ฉบบั ที่ ๑ การสะกดคาเพ่อื อา่ นคาท่ีมีอกั ษรนา คาช้แี จง ๑. ครูยกตวั อยา่ งการสะกดคาเพื่ออ่านทมี่ อี กั ษรนา ๒. ให้นกั เรยี นสะกดคาเพ่อื อา่ น ภายในเวลา ๑๐ นาที ตัวอย่าง หลับ อ่านสะกดคาวา่ หอ - ลอ - อะ - บอ – หลับ หรือ หลอ - อะ - บอ - หลับ ๑. หมู ๒. หนา้ ๓. แหวน ๔. หมอน ๕. อย่า ๖. ผวา ๗. ถนน ๘. สมยั ๙. ฝรง่ั ๑๐. อง่นุ -๑๖-
เฉลยคาตอบ อ่านสะกดคา ข้อท่ี คา หอ - มอ - อู - หมู ๑. หมู หอ - นอ - อา - หนา - ไมโ้ ท - หนา้ ๒. หนา้ หอ - วอ - แอ - นอ - แหวน ๓. แหวน หอ - มอ - ออ - นอ - หมอน ๔. หมอน ออ - ยอ - อา - ยา - ไมเ้ อก - หยา่ ๕. อย่า ผอ - วอ - อา - ผะ - หวา ๖. ผวา ถอ - นอ - โอะ - นอ - ถะ - หนน ๗. ถนน สอ - มอ - อะ - ยอ - สะ - หมยั ๘. สมัย ฝอ - รอ - อะ - งอ - ฝะ - หรงั - ไมเ้ อก - ฝะ - หร่งั ๙. ฝรัง่ ออ - งอ - อุ - นอ - ไมเ้ อก - อะ - หงนุ่ ๑๐. องนุ่ -๑๗-
แบบบันทึกฉบับท่ี ๑ การสะกดคาเพอื่ อา่ นคาท่ีมีอักษรนา ที่ ชอื่ - สกุล ขอ้ ท่ี รวม ผลการประเมนิ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ คะแนน* ผา่ น ไมผ่ ่าน คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บันทึกคะแนนของนกั เรียนเปน็ รายข้อ เพอ่ื ให้ร้วู า่ นกั เรยี นมีขอ้ บกพร่องใด สาหรบั นาไปใช้ในการปรับปรงุ และพัฒนา นักเรยี น ๒. วธิ ีการบันทกึ ถา้ ทาถูกตอ้ งให้ใสเ่ ครื่องหมาย ถ้าทาผดิ ใหใ้ หใ้ สเ่ คร่อื งหมาย X (เครือ่ งหมาย เทา่ กับ ๑ คะแนน เครือ่ งหมาย X เท่ากบั ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพอื่ ประโยชนใ์ นการวินิจฉัยขอ้ บกพร่องของนักเรยี นเป็นรายบุคคล และนาไปใช้ในการปรับปรงุ และพัฒนา นักเรียนเปน็ รายบุคคล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพอ่ื ประโยชนใ์ นการวนิ จิ ฉัยว่าข้อบกพรอ่ งของนักเรียนในภาพรวมของชั้นเรียน เพื่อนาไปใช้ในการ ปรบั ปรงุ และพฒั นาการจดั การเรยี นการสอน ๕. นกั เรยี นตอ้ งไดค้ ะแนนร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป จึงจะผา่ นเกณฑ์ กรณที ี่นักเรยี นไมผ่ ่านเกณฑ์ ครูผสู้ อนต้องฝึกจนนักเรยี นอา่ นได้ -๑๘-
ฉบบั ที่ ๒ การอา่ นคาท่มี ีอักษรนา คาช้ีแจง ๑. ครูยกตัวอยา่ งการอา่ นคา คาวา่ “ฉลอง” ก่อนจบั เวลา ๒. ให้นกั เรยี นอา่ นออกเสียงเปน็ คา ภายในเวลา ๕ นาที ตัวอย่าง ฉลอง อา่ นวา่ ฉะ - หลอง ๑. โหล ๒. ใหญ่ ๓. หยดุ ๔. หนาว ๕. ขนม ๖. สมุด ๗. ฉลาม ๘. อร่อย ๙. ตลาด ๑๐. อยาก
เฉลยคาตอบ คา อา่ นว่า ข้อ โหล ๑. ใหญ่ โหล ๒. หยดุ ใหญ่ ๓. หนาว หยุด ๔. ขนม หนาว ๕. สมดุ ขะ - หนม ๖. ฉลาม สะ - หมดุ ๗. อรอ่ ย ฉะ - หลาม ๘. ตลาด อะ - หรอ่ ย ๙. อยาก ตะ - หลาด ๑๐. หยาก
แบบบันทึกฉบับที่ ๒ การอ่านคาทม่ี อี ักษรนา ที่ ช่อื - สกลุ ๑ ๒ ๓ ๔ ขอ้ ที่ ๗ ๘ รวม ผลการประเมิน ๕๖ ๙ ๑๐ คะแนน* ผา่ น ไม่ผา่ น คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ใหบ้ นั ทึกคะแนนของนกั เรียนเป็นรายขอ้ เพ่ือให้รวู้ ่านักเรียนมขี อ้ บกพร่องใด สาหรบั นาไปใชใ้ นการปรับปรุงและพฒั นา นักเรยี น ๒. วิธกี ารบนั ทกึ ถ้าทาถกู ตอ้ งให้ใส่เคร่ืองหมาย ถ้าทาผิดให้ใหใ้ สเ่ ครอ่ื งหมาย X (เครอื่ งหมาย เทา่ กับ ๑ คะแนน เครื่องหมาย X เทา่ กบั ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพ่อื ประโยชนใ์ นการวนิ จิ ฉยั ขอ้ บกพรอ่ งของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนาไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ และ พัฒนานกั เรียนเป็นรายบคุ คล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพ่ือประโยชนใ์ นการวนิ ิจฉัยวา่ ขอ้ บกพร่องของนักเรยี นในภาพรวมของชน้ั เรยี น เพื่อนาไปใชใ้ นการ ปรับปรุงและพัฒนาการจดั การเรียนการสอน ๕. นกั เรยี นต้องไดค้ ะแนนร้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณที นี่ ักเรยี นไมผ่ า่ นเกณฑ์ ครผู สู้ อนต้องฝึกจนนกั เรยี นอา่ น ได้ ฉบับท่ี ๓ การสะกดคาเพ่ือเขียนคาที่มีอกั ษรนา
คาช้แี จง ๑. ครูยกตวั อย่างการสะกดคาเพือ่ เขยี นทมี่ อี ักษรนา ๒. ให้นกั เรยี นสะกดคาเพ่อื เขยี น ภายในเวลา ๒๐ นาที ตัวอย่าง สยาย สะกดว่า สอ เสือ ยอ ยกั ษ์ สระอา ยอ ยกั ษ์ ข้อท่ี คา เขียนสะกดคา ๑. หมอ ............................................................................................................................. .............................................................................................................................. ๒. ไหว้ ............................................................................................................................. .............................................................................................................................. ๓. หนอน ............................................................................................................................. .............................................................................................................................. ๔. หมาย ............................................................................................................................. .............................................................................................................................. ๕. หลาน ............................................................................................................................. .............................................................................................................................. ๖. ฉลู ............................................................................................................................. .............................................................................................................................. ๗. ขยา ............................................................................................................................. .............................................................................................................................. ๘. ขยนั ............................................................................................................................. .............................................................................................................................. ๙. สนาม .............................................................................................................................. .............................................................................................................................. ๑๐. ปลัด ............................................................................................................................. .............................................................................................................................. เฉลยคาตอบ
ข้อ คา อ่านสะกดคา ๑. หมอ หอ หีบ มอ ม้า อ อ่าง ๒. ไหว้ สระไอไม้มลาย หอ หีบ วอ แหวน ไมโ้ ท ๓. หนอน หอ หีบ นอ หนู ออ อ่าง นอ หนู ๔. หมาย หอ หีบ มอ ม้า สระอา ยอ ยักษ์ ๕. หลาน หอ หบี ลอ ลงิ สระอา นอ หนู ๖. ฉลู ฉอ ฉ่งิ ลอ ลงิ สระ อู ๗. ขยา ขอ ไข่ ยอ ยักษ์ สระอา ๘. ถนดั ถอ ถุง นอ หนู ไมห้ ันอากาศ ดอ เดก็ ๙. สนาม สอ เสอื นอ หนู สระอา มอ ม้า ๑๐. ปลัด ปอ ปลา ลอ ลิง ไม้หนั อากาศ ดอ เดก็
แบบบันทกึ ฉบับท่ี ๓ การสะกดคาเพอ่ื เขียนที่มอี กั ษรนา ที่ ชอ่ื - สกลุ ๑ ๒ ๓ ๔ ขอ้ ที่ ๗ ๘ รวม ผลการประเมนิ ๕๖ ๙ ๑๐ คะแนน* ผา่ น ไม่ผา่ น คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ใหบ้ นั ทึกคะแนนของนักเรยี นเปน็ รายข้อ เพอื่ ให้ร้วู า่ นกั เรยี นมขี อ้ บกพรอ่ งใด สาหรบั นาไปใชใ้ นการปรับปรุงและพัฒนา นักเรยี น ๒. วิธกี ารบนั ทึก ถ้าทาถูกตอ้ งให้ใส่เครื่องหมาย ถ้าทาผิดใหใ้ ห้ใสเ่ คร่ืองหมาย X (เครอ่ื งหมาย เท่ากับ ๑ คะแนน เครื่องหมาย X เทา่ กับ ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพ่ือประโยชนใ์ นการวินิจฉยั ข้อบกพร่องของนักเรยี นเป็นรายบคุ คล และนาไปใชใ้ นการปรบั ปรุงและ พฒั นานกั เรียนเปน็ รายบุคคล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพ่ือประโยชน์ในการวินจิ ฉัยวา่ ขอ้ บกพร่องของนกั เรียนในภาพรวมของชน้ั เรียน เพอื่ นาไปใชใ้ นการ ปรบั ปรุงและพฒั นาการจดั การเรยี นการสอน ๕. นกั เรยี นตอ้ งไดค้ ะแนนรอ้ ยละ ๘๐ ข้ึนไป จงึ จะผ่านเกณฑ์ กรณที ่ีนักเรียนไมผ่ า่ นเกณฑ์ ครผู สู้ อนต้องฝึกจนนักเรยี น เขยี นได้
ฉบับที่ ๔ การเขียนคาท่มี อี กั ษรนา คาชีแ้ จง ๑. ใหน้ กั เรยี นเขียนตามคาบอกใช้เวลา ๒๐ นาที ๒. ให้ครูอ่านคาให้นักเรยี นฟังคาละ ๒ ครั้ง โดยเว้นเวลาใหน้ ักเรยี นเขยี นก่อนบอกคาในขอ้ ตอ่ ไป คำทใ่ี ช้เขียน ๑. หวี ๒. หม้อ ๓. หวาน ๔. หลอก ๕. ขยะ ๖. ถนน ๗. สมดุ ๘. จมูก ๙. ตลก ๑๐. อยู่
แบบบันทึกฉบับที่ ๔ การเขียนคาทม่ี อี ักษรนา ที่ ชอื่ - สกุล ๑ ๒ ๓ ๔ ข้อท่ี ๗ ๘ รวม ผลการประเมิน ๕๖ ๙ ๑๐ คะแนน* ผา่ น ไมผ่ า่ น คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ใหบ้ ันทึกคะแนนของนักเรยี นเป็นรายข้อ เพ่ือใหร้ ู้วา่ นักเรียนมีขอ้ บกพร่องใด สาหรับนาไปใชใ้ นการปรบั ปรุงและพฒั นา นักเรยี น ๒. วิธกี ารบนั ทกึ ถา้ ทาถกู ตอ้ งใหใ้ สเ่ ครอื่ งหมาย ถ้าทาผดิ ให้ให้ใสเ่ ครอื่ งหมาย X (เครือ่ งหมาย เทา่ กับ ๑ คะแนน เครอ่ื งหมาย X เทา่ กบั ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพื่อประโยชนใ์ นการวินิจฉัยขอ้ บกพรอ่ งของนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล และนาไปใช้ในการปรบั ปรงุ และ พัฒนานักเรยี นเป็นรายบุคคล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพอื่ ประโยชน์ในการวนิ จิ ฉัยว่าขอ้ บกพรอ่ งของนักเรยี นในภาพรวมของชน้ั เรียน เพื่อนาไปใชใ้ นการ ปรบั ปรงุ และพฒั นาการจดั การเรียนการสอน ๕. นกั เรียนต้องไดค้ ะแนนรอ้ ยละ ๘๐ ข้ึนไป จึงจะผา่ นเกณฑ์ กรณที ่ีนกั เรยี นไม่ผ่านเกณฑ์ ครผู สู้ อนตอ้ งฝึกจนนกั เรยี น เขยี นได้
บรรณำนกุ รม ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๕๖). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั เน่ืองในโอกาสพระราชพิธมี หามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธนั วาคม ๒๕๕๔. (พิมพค์ ร้งั ท่ี ๑). กรุงเทพฯ: ศิรวิ ฒั นาอนิ เตอร์พร้ินท์. สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (๒๕๕๕). บรรทัดฐานภาษาไทย เล่ม ๑: ระบบเสียง อักษรไทย การอ่าน คาและการเขียนสะกดคา. พมิ พ์ครัง้ ที่ ๒. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพรา้ ว. . (๒๕๕๘). หนังสือคู่มือการดาเนินงาน อ่านออก เขียนได้ อ่านคล่อง เขียนคล่อง และสื่อสารได้. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย. . (๒๕๕๘). หนังสืออุเทศภาษาไทย หลักภาษาไทย: เร่ืองที่ครูภาษาไทยต้องรู้. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว. คณะผู้จดั ทำ ทป่ี รึกษำ สกุลประเดษิ ฐ์ เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ยอดเพชร ผู้ชว่ ยเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน นายการุณ งามบรรจง ผูอ้ านวยการสานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา นายบุญรกั ษ์ อภินันทาภรณ์ รองผูอ้ านวยการสานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา นางสกุ ญั ญา นางสาวนจิ สุดา
ผ้ทู รงคุณวุฒิ รองศาสตราจารยป์ ติ นิ ันธ์ สทุ ธสาร ข้าราชการบานาญ ข้าราชการบานาญ ผู้ชว่ ยศาสตรจารย์สนุ นั ท์ ศลโกสมุ ขา้ ราชการบานาญ ข้าราชการบานาญ นางสาวสุวพร เซ็มเฮง คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั นางศริ พิ ร สวุ รรณศรี คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ผู้ช่วยศาสตราจารย์สรอ้ ยสน สกลรกั ษ์ นายยศวีร์ สายฟ้า นางสาวฉัตรวรรณ์ ลญั ฉวรรธนะกร นายทรงฤทธิ์ ฉิมโหมด คณะทำงำนจดั ทำคู่มือกำรสอนอ่ำนเขียนโดยกำรแจกลกู สะกดคำ นางวรรณิดา โกมุทสกณุ ี ข้าราชการบานาญ นางกาญจนา นริ ัตศิ ัย ขา้ ราชการบานาญ นางไพเราะ มบี างยาง ข้าราชการบานาญ นายทศพล พูลพฒุ ศึกษานิเทศก์ สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาพจิ ติ ร เขต 2 นางศุกลรัตน์ มิง่ สมร ศึกษานิเทศก์ สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาสโุ ขทัย เขต 2 นางจริ าพร ไกรพล ศกึ ษานเิ ทศก์ สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาลาพูน เขต 2 นางกรณั ฑา อัมพชุ ศกึ ษานิเทศก์ สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลาพนู เขต 2 นางสาวเตม็ สริ ิ อินทรชนื่ ศึกษานเิ ทศก์ สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต ๒ นางสายรุ้ง น้อยนาจารย์ ศกึ ษานิเทศก์ สานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษากาฬสินธ์ุ เขต ๑ นายเทดิ ศกั ด์ิ โพธิสาขา ศกึ ษานเิ ทศก์ สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาร้อยเอด็ เขต ๒ นางสาวสุกัญญา ศรีนนทร์ ศกึ ษานิเทศก์ สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาร้อยเอ็ด เขต ๒ นายสามารถ ผ่องศรี ศกึ ษานิเทศก์ สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษายโสธร เขต ๑ นางกฤษณา เสมหิรญั ศกึ ษานเิ ทศก์ สานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาขอนแกน่ เขต 4 คณะทำงำนจัดทำคู่มือกำรสอนอำ่ นเขยี นโดยกำรแจกลูกสะกดคำ (ต่อ) นายวบิ ูลย์ ศรีโสภณ ศึกษานเิ ทศก์ สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลพบุรี เขต ๑ นางเพ็ญจา เสมอเหมอื น ศึกษานิเทศก์ สานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษานนทบรุ ี เขต ๒ นางสาวพชั รี ยันตรีสงิ ห์ ศึกษานิเทศก์
นางนงค์นชุ อุทยั ศรี สานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษานครปฐม เขต ๒ นางอภิวันทน์ พนิ ทอง ศกึ ษานิเทศก์ นายบญุ เสรมิ แก้วพรหม สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาระยอง เขต ๒ นางวธั นพี ร นิยมพานชิ ศึกษานิเทศก์ นายธเนศร์ ชาญเชาว์ สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาประจวบคีรขี ันธ์ เขต ๑ นางสาวปรดี า ชมู ณี ศกึ ษานิเทศก์ นางสาวนวพร จินดาชืน่ สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต ๔ นางสาวธนกิ านต์ ทาอ้าย ศกึ ษานเิ ทศก์ นางมุกดา วิชา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๒ นางพิเชษฐ์ อยเู่ มือง ศึกษานิเทศก์ นางวราภรณ์ พรหมมาศ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาชุมพร เขต ๑ นางสาวขวัญใจ อนุกูลพลู ลาภ ศึกษานเิ ทศก์ นางศิรพิ ร พุ่มนวล สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสงขลา เขต ๓ นางอนิ ทร์ตอง แสงสุทธิ ศกึ ษานเิ ทศก์ นางเพลนิ พิศ สวุ รรณศรี สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาชมุ พร เขต ๒ นางอารมย์ เหลืองแดง โรงเรียนวดั งิ้วเฒ่า นางวลยั พร พงษ์ศิลป์ สานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต ๒ โรงเรียนบ้านปางถา้ สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต ๒ โรงเรยี นอนบุ าลศรีสาโรง สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสโุ ขทัย เขต 2 โรงเรยี นบ้านเขาดนิ ไพรวัน สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุโขทัย เขต 2 โรงเรยี นบา้ นกา้ นเหลอื ง สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสรุ นิ ทร์ เขต 1 โรงเรยี นบา้ นเผอื สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาหนองคาย เขต 2 โรงเรียนบา้ นโนนสาทร สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาชัยภมู ิ เขต ๒ โรงเรียนบา้ นบอ่ โนนมะคา้ วทิ ยาคาร สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษากาฬสินธ์ุ เขต 1 โรงเรยี นบา้ นวังตะเคยี น สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๑ โรงเรียนชุมชนไมตรอี ทุ ศิ สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษานนทบุรี เขต ๒ คณะทำงำนจดั ทำคูม่ ือกำรสอนอ่ำนเขยี นโดยกำรแจกลกู สะกดคำ (ตอ่ ) นางภาวนา มีกลน่ิ หอม โรงเรียนบ้านวัดราษฎร์บรู ณะ สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสมทุ รปราการ เขต ๒ นายเกรียงศักดิ์ ศรรี ุ่งเรอื ง ผอู้ านวยการโรงเรยี นบา้ นวงั ธน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต ๒ นางประพมิ พ์พันธุ์ พรหมสุวรรณ โรงเรียนประชาเอื้ออารี
นางจุไรภรณ์ จนั ทรจ์ ติ ตะการ สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาชมุ พร เขต ๒ โรงเรยี นบ้านควนนา นางสาวดวงใจ บุญยะภาส สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสงขลา เขต ๒ นางสาวพชั รา ตระกูลสิริพนั ธุ์ สถาบันภาษาไทย สานักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา นายศราวุธ นิรุตตินานนท์ สถาบนั ภาษาไทย สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สถาบนั ภาษาไทย สานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา คณะบรรณำธกิ ำร รองศาสตรจารยส์ นุ นั ท์ ศลโกสุม ขา้ ราชการบานาญ ข้าราชการบานาญ นางสาวสุวพร เซม็ เฮง ข้าราชการบานาญ คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั นางศริ พิ ร สุวรรณศรี ข้าราชการบานาญ ขา้ ราชการบานาญ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยส์ รอ้ ยสน สกลรกั ษ์ ขา้ ราชการบานาญ ศึกษานิเทศก์ นางวรรณดิ า โกมทุ สกุณี สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต ๑ ศกึ ษานเิ ทศก์ นางกาญจนา นริ ัติศัย สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาสโุ ขทัย เขต 2 ศึกษานิเทศก์ นางไพเราะ มบี างยาง สานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาลาพูน เขต 2 ศึกษานิเทศก์ ว่าที่ พ.ต.กรณฐั รัตนยรรยง สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษายโสธร เขต ๑ ศึกษานเิ ทศก์ นางศกุ ลรตั น์ มงิ่ สมร สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาประจวบครี ขี นั ธ์ เขต ๑ ศึกษานิเทศก์ นางจิราพร ไกรพล สานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต ๔ ศกึ ษานิเทศก์ นายสามารถ ผอ่ งศรี สานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษายะลา เขต ๒ สถาบันภาษาไทย สานกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา นางอภิวนั ทน์ พนิ ทอง สถาบันภาษาไทย สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สถาบนั ภาษาไทย สานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา นายบญุ เสริม แกว้ พรหม คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย นางวธั นพี ร นยิ มพานชิ นางสาวดวงใจ บุญยะภาส นางสาวพัชรา ตระกูลสิรพิ นั ธ์ุ นายศราวุธ นิรตุ ตนิ านนท์ นางสาวจุฬาลักษณ์ พฒั นมาศ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294