Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือสอนอ่านเขียนโดยการแจกลูกสะกดคำ

คู่มือสอนอ่านเขียนโดยการแจกลูกสะกดคำ

Description: คู่มือสอนอ่านเขียนโดยการแจกลูกสะกดคำ

Search

Read the Text Version

สระเด่ียว คอื สระที่ออกเสียงโดยอวยั วะในชอ่ งปากอยใู่ นตาแหน่งเดยี วตลอดเสียง หน่วยเสียงสระเดี่ยว สระเสียงสั้น สระเสยี งยำว /อะ/ /อา/ /อ/ิ /อ/ี /อ/ึ /ออื / /อ/ุ /อ/ู /เอะ/ /เอ/ /แอะ/ /แอ/ /โอะ/ /โอ/ /เอาะ/ /ออ/ /เออะ/ /เออ/ สระประสม คือ สระท่ีออกเสียงโดยอวัยวะที่ใช้ออกเสียงอยู่ในตาแหน่งมากกว่า ๑ ตาแหน่ง ถา้ อวยั วะอยใู่ นตาแหนง่ หนง่ึ แล้วเปลี่ยนไปอยใู่ นอีกตาแหน่งหนึ่ง สระน้นั จะเปน็ สระประสม ๒ เสียง สระ/อ/ิ + /อะ/ เป็น /เอียะ/ สระ/อ/ี + /อะ/ เป็น /เอยี / สระ/อ/ึ + /อะ/ เป็น /เออื ะ/ สระ/อ/ื + /อะ/ เป็น /เอือ/ สระ/อ/ุ + /อะ/ เป็น /อัวะ/ สระ/อ/ู + /อะ/ เป็น /อัว/ เสียงสระประสมในภาษาไทย ๖ เสยี ง จดั เปน็ ๓ หน่วย ไดแ้ ก่ /เอีย/เอือ/อัว สาหรับการสอนแจกลูกสะกดคาเพื่อการอ่านการเขียน ครูควรสอนสระเพ่ือมิให้ซับซ้อน โดยสอนให้นักเรียนร้จู ักสระบางตัว ดังนี้ ๑. รูปสระแทนเสียงสระเดี่ยว ได้แก่ อะ/ อา/ อิ/ อี/ อึ/ อื/ อุ/ อู/ เอะ/ เอ/ แอะ/ แอ/ โอะ/ โอ/ เอาะ/ ออ/ เออะ/ เออ ๒. รูปสระแทนเสียงสระประสมเสียงส้ัน ได้แก่ เอียะ (พบน้อยมาก) เอือะ (ไม่พบคาท่ีใช้) อัวะ (พบท่ีใช้น้อยมาก) จึงควรสอน เอีย เอือ อัว เพราะมีคาท่ีใช้มาก ส่วนสระประสมเสียงส้ันอีก ๓ รูป ไม่ต้องเนน้ อาจสอนเมื่อพบคาใช้สระเหล่าน้ี ๓. รปู สระแทนเสียง สระอะ ท่มี ีเสียงพยญั ชนะทา้ ย อา ใอ ไอ ไอย เอา อาจสอนโดยให้นักเรียน สังเกตการอ่านออกเสียงคาที่ใช้สระเหล่านี้ และมีตัวอย่างคาท่ีใช้สระและมีตัวสะกดมาเทียบเคียงให้เห็น ความแตกตา่ งและนา่ จะสอนในช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๒ เป็นต้นไป เช่น สา - สมั / ไว - วัย/ ไท - ทัย - ไทย/ ยวิ - เยา/ หวิ - เหา

๔. สระบางรูปเม่ือมีตัวสะกดจะเปล่ียนรูป ควรให้นักเรียนเข้าใจท่ีมาและการเปล่ียนแปลงน้ัน เชน่ สระอะ ไม่มีตัวสะกด เชน่ กะ จะ ปะ ขะ ผะ สะ คะ นะ ระ สระอะ มตี วั สะกดเปลยี่ นรปู เป็นไมห้ ันอากาศ เชน่ กัน จบั ปัด ขงั ผนั สัก คนั นกั รบั สระออื ไมม่ ีตัวสะกด เช่น จือ ดือ อือ ถอื ผอื สือ คอื มอื ลอื สระออื มีตัวสะกด เช่น จดื ตดื ปนื ฝืน ฝดื สบื คืน มืด ยืน สระเอะ ไมม่ ตี ัวสะกด เชน่ เกะ เตะ เปะ เขะ เผะ เสะ เคะ เมะ เละ สระเอะ มตี วั สะกด ใช้รูป เ -็ เช่น เกง็ เต็ง เปน็ เข็ม เหน็ เล็ง เลก็ เม็ด เล็บ สระแอะ ไม่มตี ัวสะกด เชน่ แกะ แตะ แปะ แขะ แผะ แสะ แมะ แยะ และ สระแอะ มตี ัวสะกด ใชร้ ูป เเ -็ เช่น แกร็น แข็ง แผล็บ แผลว็ แยบ็ สระเออะ ไม่มีตวั สะกด เชน่ เจอะ เดอะ เฉอะ เถอะ เทอะ เยอะ เลอะ สระเออ ไมม่ ีตัวสะกด เช่น เจอ เดอ เปอ เขอ เผอ เหอ เมอ เรอ เลอ สระเออ มตี วั สะกด เชน่ เจิม เดมิ เปงิ เขนิ เถนิ เหิม เทดิ เลิก เชดิ สระเออ มีตวั สะกด และเปล่ยี นเป็น เอ เม่ือมี ย สะกด เช่น เกย เตย เอย เขย เฉย เผย สระเอาะ ไมม่ ตี วั สะกด เช่น เกาะ เดาะ เบาะ เฉาะ เผาะ เสาะ เคาะ เงาะ เลาะ สระเอาะ มีตัวสะกด ใชร้ ูป -็อ เช่น ชอ็ ก ล็อก (คาว่าก็เป็นคาพิเศษ เสียงสระ คอื /เอาะ/) สระโอะ ไมม่ ีตัวสะกด เชน่ โกะ โจะ โดะ โขะ โถะ โผะ โงะ โชะ โนะ สระโอะ มีตวั สะกด เชน่ ไม่มรี ูปสระปรากฏ เชน่ กบ จง อม ขด สม ถก งก คด นบ สระอัว ไมม่ ตี ัวสะกด เช่น กวั ตัว บวั ถวั สวั หวั งวั มัว รวั สระอวั มตี วั สะกด ใช้รปู ตัว -ัว เชน่ กวน ตวง บวม ขวบ สวม หวด งวง มวน รวย ๕. การพิจารณารูปสระท่ีใช้เป็นเรื่องสาคัญ และต้องสังเกตเสียงของคาว่า เป็นสระเสียงส้ัน หรือเสียงยาว จึงจะแยกได้ว่า คานั้นใช้รูปสระใด ออกเสียงเป็นเสียงสระใด รูปสระต้องใช้ตามที่กาหนด สว่ นเสียงสระตอ้ งฟังใหช้ ดั เน่อื งจากไม่ตรงตามรูปสระกไ็ ด้ เชน่ เล็น รูปเป็น เอ กบั ไม้ไต่คู้ เสียงเป็น เอะ (เสยี งส้ัน) เลน รปู เปน็ เอ เสยี งเป็น เอ (เสยี งยาว) แต่ง รูปเปน็ แอ เสยี งเป็น แอะ (เสียงส้ัน) แตง รปู เป็น แอ เสยี งเป็น แอ (เสียงยาว)

๖. การสอนอ่านเขียนสระสามารถสอนโดยวิธีการจัดลาดบั ในการสอนดังนี้ ๖.๑ สอนสระเรยี งลาดับกอ่ น - หลงั เป็นชุด ๆดงั นี้ (สานักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา. 2558: ๒๗) ชดุ ที่ ๑ -ะ -า -ิ - ี - ึ - ื -ุ - ู ชดุ ที่ ๒ เ-ะ เ- แ-ะ แ- โ-ะ โ- เ-าะ -อ ชุดท่ี ๓ - ัวะ -วั -ำ ใ- ไ- เ-า ชุดที่ ๔ เ-อะ เ-อ เ- ียะ เ- ีย เ- ือะ เ- อ ชดุ ท่ี ๕ ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ๖.๒ สอนจากการวางตาแหนง่ ของสระ เป็นกล่มุ ๆ ดังนี้ กลมุ่ ท่ี ๑ สระท่มี ตี าแหน่งอยูข่ ้างหลัง มี ๓ ตัว คอื -ะ -า -อ กลุ่มท่ี ๒ สระทีม่ ีตาแหน่งอยขู่ ้างหน้า มี ๕ ตวั คอื เ- แ- โ- ใ- ไ- กลุ่มท่ี ๓ สระท่มี ีตาแหนง่ อยู่ขา้ งบน มี ๔ ตัว คือ -ิ - ี - ึ - ื กลุ่มท่ี ๔ สระทมี่ ีตาแหนง่ อยู่ข้างลา่ ง มี ๒ ตวั คอื -ุ - ู กลมุ่ ท่ี ๕ สระที่มตี าแหนง่ อยู่ขา้ งหน้าและข้างหลัง มี ๑๑ ตวั คอื เ-ะ แ-ะ โ-ะ เ-าะ เ-า เ-อะ เ-อ เ- ียะ เ- ีย เ- ือะ เ- ือ กลมุ่ ท่ี ๖ สระทมี่ ีตาแหนง่ อยขู่ า้ งบนและข้างหลงั มี ๓ ตัว คอื -วั ะ -วั -ำ ๖.๓ สอนตามเสยี งสระเสียงยาว - สั้น โดยสอนสระเสยี งยาวกอ่ นแล้วจงึ สอนสระเสยี งส้นั สระเสียงยาว สระเสยี งสน้ั -า -ะ -ี -ิ - -ึ -ู -ุ เ- เ-ะ แ- แ-ะ โ- โ-ะ -อ เ-าะ เ-อ เ-อะ เ- ยี เ- ยี ะ เ-อื เ- อื ะ -วั - วั ะ ใ- ( ไ- ) -ำ เ-า

ส่วนที่ ๒ แนวทำงกำรจดั กำรเรยี นรู้ การสอนแจกรูปสะกดคาเพื่อการอ่านออกเขียนได้นั้น ครูต้องสอนนักเรียนให้รู้จัก “รูป” และ “เสียง” ของสระแต่ละตัว เพื่อการเตรียมไปสู่การอ่านและการเขียนสะกดคา ขั้นตอนการสอนที่สาคัญ มี ๓ ขัน้ ตอน ได้แก่ ข้ันท่ี ๑ สอนให้เห็นรูปสระ ขั้นที่ ๒ สอนให้รู้จักเสียงสระ และข้ันที่ ๓ สอนให้เขียนรูปสระ รายละเอยี ดดังน้ี ข้ันท่ี ๑ สอนให้เหน็ รปู สระ ครใู ช้บัตรสระเปน็ รายตวั ใหน้ กั เรียนไดเ้ หน็ รปู ร่างลักษณะของพยญั ชนะแต่ละตวั ข้นั ท่ี ๒ สอนใหร้ ูจ้ ักเสียงสระ ขณะที่นาบัตรสระให้เด็กดูหรือเขียนรูปสระในกระดานทีละตัว ต้องให้นักเรียนได้รู้จักเสียง ของสระตัวนั้น ๆ โดย ๒.๑ ครูออกเสียงสระให้ฟังอยา่ งชัดเจน -ะ ออกเสยี งว่า “อะ” อยา่ ออกเสียงวา่ “สระอะ” -า ออกเสียงวา่ “อา” อย่าออกเสียงว่า “สระอา” เ- ออกเสยี งว่า “เอ” อย่าออกเสยี งวา่ “สระเอ” ๒.๒ ใหน้ ักเรยี นดูรปู สระทีละตวั แล้วอ่านออกเสียงตามครโู ดยออกเสียงดัง ๆ และชดั เจน ๒.๓ ให้นักเรียนดูรูปแล้วอ่านออกเสียงเอง โดยเร่ิมจากอ่านออกเสียงพร้อมกันทั้งชั้น อ่านออกเสียง พร้อมกันเป็นรายกลุ่ม และอ่านออกเสยี งรายบุคคล ๒.๔ ครูต้องสังเกต ตรวจสอบ หรือทดสอบการอ่านออกเสียงสระของนักเรียนเป็นรายคน หากพบว่านักเรียนคนใดยังอ่านออกเสียงไม่ได้หรือไม่ชัดเจน ต้องแก้ไขทันที (ต้องแก้ไขก่อนท่ีจะให้อ่าน สระตัวต่อไป) ข้ันท่ี ๓ สอนให้เขยี นรูปสระ การสอนเขียนรูปสระหลังจากที่นกั เรียนอา่ นออกเสียงสระไดแ้ ลว้ สอนเขยี นสระ มีขั้นตอนดงั นี้ ๓.๑ ครูเขยี นรูปสระในกระดาน โดยคดั ตวั บรรจงเตม็ บรรทดั และลากเสน้ ใหถ้ กู ตอ้ งตามหลักการ เขยี นสระ ครลู ากเสน้ ช้า ๆ ใหน้ กั เรียนดแู ละอ่านออกเสียงสระตวั นน้ั ไปพร้อมกัน ๓.๒ ให้นักเรียนเขียนรูปสระตามครู โดยเขียนในกระดานหรือเขียนลงในสมุดของแต่ละคน ขณะเขียนให้อ่านออกเสียงสระไปด้วย ๓.๓ ให้นักเรียนคัดรูปสระแต่ละตัวด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดให้สวยงาม คัดลงในสมุดหลาย ๆ ครั้งหลาย ๆ เท่ียว ๓.๔ ครูต้องสังเกต ตรวจสอบ หรือทดสอบการเขียนรูปสระของนักเรียนเป็นรายบุคคล หากพบว่า นักเรียนคนใดยังอา่ นไมไ่ ดห้ รอื เขยี นไม่ถกู ตอ้ ง ตอ้ งแกไ้ ขในทันที (ตอ้ งแก้ไขก่อนทจี่ ะให้เขยี นสระตัวตอ่ ไป)

ตวั อย่างการนาแนวทางการจัดการเรยี นร้ไู ปใช้ในห้องเรยี น หนว่ ยท่ี ๒ รูปและเสยี งสระ จดุ ประสงค์การเรียนรขู้ องหน่วย (๖ ช่วั โมง) ๑. เพอื่ ใหน้ กั เรียนอ่านและเขียนรปู สระเบื้องต้นได้ ๒. เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นคัดลายมอื ตวั บรรจงเตม็ บรรทัดตามรูปแบบการเขียนสระได้ แนวทำงกำรจดั กำรเรียนรทู้ ี่ ๑ (๑ ชว่ั โมง) สระที่มตี าแหน่งอยู่ข้างบน (๑ ชวั่ โมง) แนวทำงกำรจัดกำรเรียนรู้ท่ี ๒ (๑ ชว่ั โมง) สระทม่ี ตี าแหน่งอยู่ข้างลา่ ง (๑ ชวั่ โมง) (๑ ช่วั โมง) แนวทำงกำรจัดกำรเรยี นรู้ท่ี ๓ (๑ ชัว่ โมง) สระทมี่ ตี าแหน่งอยู่ขา้ งหลงั -ะ -า -อ และสระทม่ี ีตาแหน่งอยขู่ ้างหนา้ เ- แ- โ- ใ- ไ- แนวทำงกำรจัดกำรเรียนร้ทู ่ี ๔ สระทม่ี ีตาแหน่งอยู่ข้างบนและข้างหลัง -ัวะ -วั -ำ แนวทำงกำรจดั กำรเรยี นร้ทู ี่ ๕ สระท่ีมตี าแหนง่ อยู่ข้างหน้าและขา้ งหลงั เ-ะ แ-ะ โ-ะ เ-าะ เ-า แนวทำงกำรจดั กำรเรียนรู้ที่ ๖ สระท่มี ีตาแหน่งอยู่ข้างหน้าและข้างหลงั เ-อะ เ-อ เ-ียะ เ-ีย เ- ือะ เ- ือ

แนวทำงกำรจัดกำรเรียนรทู้ ่ี ๑ สระที่มีตาแหน่งอยขู่ ้างบน -ิ - ี - ึ - ื (๑ ชวั่ โมง) จุดประสงคก์ ำรเรยี นรู้ ๑. บอกรูปและอา่ นออกเสียงสระ -ิ - ี - ึ - ื ๒. บอกตาแหน่งสระและเขยี นสระ -ิ - ี - ึ - ื ข้ันตอนกำรจดั กำรเรยี นรู้ ๑. ขน้ั นำ ๑.๑ ครนู าบัตรคาตดิ บนกระดานใหน้ ักเรยี นดแู ละสนทนาดงั นี้ ติ ดี อึ มือ ๑.๒ ครูให้นักเรียนสังเกตและสนทนาเก่ียวกับตัวอักษรในบัตรคาท่ีติดไว้โดยครูต้ังคาถาม เช่น จากบตั รคาน้ีนกั เรียนเหน็ อะไรบา้ ง (ต ด อ ม อ -ิ - ี - ึ - ื) ๑.๓ ครบู อกใหน้ ักเรยี นรู้ว่าจะอา่ นและเขยี นสระทอ่ี ยู่บนพยญั ชนะ ๒. ขั้นสอน ๒.๑ ครนู านกั เรยี นดูภาพประกอบ ซ่งึ ครสู ามารถหาภาพประกอบที่สอื่ ความหมายเรอื่ งสระ ใหน้ กั เรียนไดด้ ู อาจใชเ้ กม เพลง หรือใชบ้ ทรอ้ งเล่น ก็ได้ ๒.๒ ให้นักเรียนสังเกตรูปร่างของสระจากภาพ เพื่อให้เห็นความแตกต่างของสระท้ังส่ีตัว โดย ตั้งคาถาม เช่น สระอิ กับ สระอี สระอึ สระอือ มีสิ่งใดที่เหมือนและแตกต่างกันบ้าง ครูอธิบายเพิ่มเติม ตามลักษณะของรูปสระท่ีแตกต่างกัน เช่น สระอิ มีรูปสระ เรียก ฝนทอง มาประสมเป็นสระอี สระอิ มีรูปสระ \" เรียก ฟันหนู มาประสมเป็นสระอื สระอิ มี รูปสระ เรียก นิคหิต หรือ นฤคหิต อยู่ข้างบน สระอิ เป็น สระอึ เป็นต้น นักเรียนจะจดจาส่ิงที่เพ่ิมเติมจากสระเดิมและเปรียบเทียบความแตกต่าง ของรปู สระ

๒.๓ ครูแนะนาช่ือสระให้นักเรียนรู้จักพร้อมทั้งการออกเสียงท่ีถูกต้อง และนาบัตรสระมาให้ นกั เรยี นดู ประกอบการแนะนาดังนี้ คอื สระ - ิ ออกเสยี งว่า อิ คือ สระ - ี ออกเสียงวา่ อี คอื สระ - ึ ออกเสียงว่า อึ คอื สระ - ื ออกเสยี งวา่ อือ จากนนั้ ให้นักเรียนทาแบบฝกึ ที่ ๑ การอ่านสระ -ิ - ี - ึ - ื ๒.๔ ครูแจกบัตรสระ -ิ - ี - ึ - ื ให้นักเรียนคนละหน่ึงสระ (บัตรสระคละกัน) จัดกิจกรรม หรือเล่นเกมเพ่ือให้นักเรียนรู้ว่าบัตรสระที่ได้รับเป็นสระใด ให้นักเรียนที่มีสระนั้นออกมายืนหน้าช้ันเรียน เพือ่ น ๆ ช่วยกนั ตรวจสอบความถกู ต้อง เช่น ครูใช้ทอ่ งบทรอ้ งเล่น เจ้าอือ เจา้ อือ ฮอื ฮือ รอ้ งไห้ สองขีด อันใหญ่ หลน่ ใส่ ท้ายร่ม นักเรียนท่ีถือบัตรสระอือ ออกมายืนหน้าชั้นเรียน ชูบัตรข้ึนให้เพื่อน ๆ ช่วยตรวจสอบ ความถูกต้อง ครูใหค้ วามร้วู ่าสระ -ิ - ี - ึ - ื จะวางอย่บู นพยัญชนะ ๒.๕ นาบตั รสระตดิ บนกระดาน ครเู ขยี นรูปสระให้นักเรียนสังเกตวธิ เี ขยี นดังนี้ ๒.๖ ครูแจกกระดาษฝึกให้นักเรียนเขียนสระตามขั้นตอน โดยใช้ดินสอลากบนกระดาษ เริ่มทีละสระ -ิ - ี - ึ - ื ตามครูฝกึ ปฏบิ ตั ิหลายครั้ง ครูคอยดผู ลงานของนักเรียน และแก้ไขทนั ทีเม่ือนักเรยี นเขียนผดิ ๒.๗ นักเรียนฝกึ เขียนสระในแบบฝกึ ที่ ๒ การเขียนสระ -ิ - ี - ึ - ื

๓. ขน้ั สรุป ๓.๑ นกั เรียนและครรู ่วมกนั สรปุ ดงั นี้ ๑) รูปรา่ งของสระ -ิ - ี - ึ - ื ๒) การออกเสยี งของสระ -ิ - ี - ึ - ื ๓) การเขียนสระ -ิ - ี - ึ - ื ๔) ตาแหน่งทอ่ี ยขู่ องสระ -ิ - ี - ึ - ื ๓.๒ นักเรียนที่อา่ นออกเสยี งและเขียนสระ -ิ - ี - ึ - ื ไดถ้ กู ต้องกอ่ นเพอ่ื น ครอู าจให้ทา กิจกรรมวาดรปู หรอื ระบายสรี ูปสระตามจนิ ตนาการ และระบายสใี นรูปสระไดต้ ามความต้องการ สือ่ กำรสอน ๑. บทรอ้ งเล่นสระ ๒. บัตรคา ๓. บตั รสระ ๔. แบบฝึก ๕. สไี ม/้ สีเทียน กำรวดั และประเมนิ ผล ๑. การตรวจแบบฝกึ ๒. การสงั เกตการรว่ มกจิ กรรมของนกั เรียนรายบคุ คล

แบบฝกึ ที่ ๑ การอ่านสระ -ิ - ี - ึ - ื คำชี้แจง ใหน้ กั เรียนอา่ นสระท่ีกาหนดให้ ๑. ๒. ๓. ๔.

แบบบันทึกแบบฝกึ ท่ี ๑ การอา่ นสระ -ิ - ี - ึ - ื ที่ ชื่อ - สกลุ ข้อท่ี รวมคะแนน* ๑๒๓๔ คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บนั ทกึ คะแนนของนกั เรยี นเปน็ รายข้อ เพอื่ ใหร้ ้วู ่านักเรียนมีขอ้ บกพรอ่ งใด สาหรับนาไปใชใ้ นการปรบั ปรุงและพัฒนา นักเรยี น ๒. วิธกี ารบันทกึ ถ้าทาถกู ตอ้ งให้ใสเ่ คร่อื งหมาย  ถ้าทาผิดให้ใหใ้ สเ่ คร่ืองหมาย X (เครื่องหมาย  เท่ากบั ๑ คะแนน เครื่องหมาย X เทา่ กับ ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพือ่ ประโยชนใ์ นการวินจิ ฉยั ขอ้ บกพรอ่ งของนกั เรยี นเปน็ รายบุคคล และนาไปใช้ในการปรบั ปรงุ และพฒั นานกั เรยี นเปน็ รายบุคคล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพื่อประโยชนใ์ นการวนิ จิ ฉัยวา่ ขอ้ บกพรอ่ งของนกั เรียนในภาพรวมของชน้ั เรยี น เพื่อนาไปใช้ใน การปรบั ปรงุ และพัฒนาการจดั การเรียนการสอน ๕. นักเรยี นอา่ นได้ถกู ตอ้ งทุกข้อ จึงจะผา่ นเกณฑ์ กรณที น่ี ักเรยี นไมผ่ ่านเกณฑ์ ครผู ูส้ อนต้องฝึกจนนกั เรียนอ่านได้

แบบฝกึ ที่ ๒ การเขียนสระ -ิ - ี - ึ - ื คำชี้แจง ใหน้ กั เรียนเขยี นสระทีก่ าหนดให้ ๑. ๒. ๓. ๔.

แบบบันทึกแบบฝึกที่ ๒ การเขียนสระ -ิ - ี - ึ - ื ที่ ชือ่ - สกุล ข้อที่ รวมคะแนน* ๑๒๓๔ คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บันทกึ คะแนนของนกั เรยี นเป็นรายขอ้ เพอื่ ให้รู้ว่านักเรยี นมขี อ้ บกพรอ่ งใด สาหรับนาไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนา นักเรียน ๒. วธิ กี ารบนั ทึก ถา้ ทาถกู ตอ้ งให้ใสเ่ คร่อื งหมาย  ถา้ ทาผิดให้ใหใ้ สเ่ ครื่องหมาย X (เครอื่ งหมาย  เท่ากบั ๑ คะแนน เครอ่ื งหมาย X เทา่ กบั ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพ่อื ประโยชนใ์ นการวินจิ ฉยั ข้อบกพรอ่ งของนกั เรียนเป็นรายบุคคล และนาไปใช้ในการปรบั ปรงุ และพฒั นานักเรียนเป็นรายบุคคล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพ่ือประโยชนใ์ นการวินจิ ฉยั ว่าขอ้ บกพรอ่ งของนักเรียนในภาพรวมของช้ันเรยี น เพ่อื นาไปใชใ้ น การปรบั ปรงุ และพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ๕. นกั เรยี นเขียนไดถ้ กู ตอ้ งทุกข้อ จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีทน่ี กั เรียนไมผ่ ่านเกณฑ์ ครผู ูส้ อนตอ้ งฝกึ จนนักเรียนเขียนได้

สว่ นท่ี ๓ แนวทำงกำรวดั และประเมินผลประจำหน่วย ฉบับที่ ๑ การอา่ นสระ คำชีแ้ จง ให้นกั เรยี นอา่ นสระท่ีกาหนดให้ ขอ้ ที่ รูปสระ ขอ้ ท่ี รปู สระ ๑. 15. -ัวะ 2. 16. -ัว 3. 17. -ำ 4. 18. เ-ะ 5. 19. แ-ะ 6. 20. โ-ะ ๗. -ะ 21. เ-ำะ ๘. -ำ 22. เ-ำ ๙. -อ 23. เ-อะ ๑๐. เ- 24. เ-อ 11. แ- 25. เ- ยี ะ 12. โ- 26. เ- ีย 13. ใ- 27. เ- อื ะ 14. ไ- 28. เ- อื

เฉลยคำตอบ รูปสระ อ่ำนวำ่ ข้อท่ี รปู สระ อำ่ นวำ่ ข้อที่ อิ ๑๕. อวั ะ ๑. -ะ อี ๑๖. -ัวะ อัว ๒. -ำ อึ ๑๗. -วั อา ๓. -อ ออื ๑๘. -ำ เอะ ๔. เ- อุ ๑๙. เ-ะ แอะ ๕. แ- อู ๒๐. แ-ะ โอะ ๖. โ- อะ ๒๑. โ-ะ เอาะ ๗. ใ- อา ๒๒. เ-ำะ เอา ๘. ไ- ออ ๒๓. เ-ำ เออะ ๙. เอ ๒๔. เ-อะ เออ ๑๐. แอ ๒๕. เ-อ เอียะ ๑๑. โอ ๒๖. เ- ยี ะ เอยี ๑๒. ใอ ๒๗. เ- ยี เอือะ ๑๓. ไอ ๒๘. เ- อื ะ เอือ ๑๔. เ- อื

แบบบันทกึ ฉบับท่ี ๑ ที่ ชือ่ - สกลุ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ใหบ้ นั ทกึ คะแนนของนักเรยี นเปน็ รายข้อ เพ่อื ใหร้ วู้ า่ นกั เรยี นมีขอ้ บกพร่องใด สาหรับนาไ ๒. วธิ ีการบนั ทึก ถ้าทาถูกตอ้ งให้ใส่เครอื่ งหมาย  ถา้ ทาผดิ ใหใ้ ห้ใสเ่ ครื่องหมาย X (เครือ่ งห ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพอ่ื ประโยชนใ์ นการวนิ ิจฉยั ข้อบกพรอ่ งของนักเรยี นเปน็ รายบุคคล แล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพื่อประโยชนใ์ นการวนิ จิ ฉยั ว่าข้อบกพรอ่ งของนกั เรียนในภาพรวมของ ๕. นกั เรียนอา่ นถกู ต้องทกุ ข้อ จงึ ผ่านเกณฑ์ กรณีทีน่ ักเรยี นไมผ่ า่ นเกณฑ์ ครผู ้สู อนตอ้ งฝึกจ

๑ กำรอำ่ นสระ ข้อท่ี รวม คะแนน* ๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ และพัฒนานกั เรียน หมาย  เทา่ กบั ๑ คะแนน เคร่อื งหมาย X เท่ากับ ๐ คะแนน) ละนาไปใช้ในการปรับปรงุ และพฒั นานักเรยี นเป็นรายบคุ คล งช้นั เรยี น เพอ่ื นาไปใช้ในการปรบั ปรงุ และพฒั นาการจัดการเรยี นการสอน จนนักเรยี นอา่ นได้

ฉบบั ท่ี ๒ กำรเขียนสระ คำชแ้ี จง ๑. ให้นักเรียนเขียนสระตามคาบอก ใชเ้ วลา ๒๐ นาที (เขยี นสระ ๒๘ ตวั ตามฉบบั ท่ี ๑) ๒. ใหค้ รอู า่ นสระใหน้ ักเรยี นฟงั สระละ ๒ ครั้ง โดยเว้นเวลาใหน้ กั เรียนเขียนกอ่ นบอกสระในข้อตอ่ ไป ขอ้ ที่ รปู สระ ข้อท่ี รูปสระ ๑ ............................................. ๑๕ ............................................. .............................................. .............................................. ๒ ............................................. ๑๖ ............................................. .............................................. .............................................. ๓ ............................................. ๑๗ ............................................. .............................................. .............................................. ๔ ............................................. ๑๘ ............................................. .............................................. .............................................. ๕ ............................................. ๑๙ ............................................. .............................................. .............................................. ๖ ............................................. ๒๐ ............................................. .............................................. .............................................. ๗ ............................................. ๒๑ ............................................. .............................................. .............................................. ๘ ............................................. ๒๒ ............................................. .............................................. .............................................. ๙ ............................................. ๒๓ ............................................. .............................................. .............................................. ๑๐ ............................................. ๒๔ ............................................. .............................................. .............................................. ๑๑ ............................................. ๒๕ ............................................. .............................................. .............................................. ๑๒ ............................................. ๒๖ ............................................. .............................................. .............................................. ๑๓ ............................................. ๒๗ ............................................. .............................................. .............................................. ๑๔ ............................................. ๒๘ ............................................. .............................................. ..............................................

เฉลยคำตอบ รูปสระ อ่ำนวำ่ ข้อท่ี รปู สระ อำ่ นวำ่ ข้อที่ อิ ๑๕. อวั ะ ๑. -ะ อี ๑๖. -ัวะ อัว ๒. -ำ อึ ๑๗. -วั อา ๓. -อ ออื ๑๘. -ำ เอะ ๔. เ- อุ ๑๙. เ-ะ แอะ ๕. แ- อู ๒๐. แ-ะ โอะ ๖. โ- อะ ๒๑. โ-ะ เอาะ ๗. ใ- อา ๒๒. เ-ำะ เอา ๘. ไ- ออ ๒๓. เ-ำ เออะ ๙. เอ ๒๔. เ-อะ เออ ๑๐. แอ ๒๕. เ-อ เอียะ ๑๑. โอ ๒๖. เ- ยี ะ เอยี ๑๒. ใอ ๒๗. เ- ีย เอือะ ๑๓. ไอ ๒๘. เ- อื ะ เอือ ๑๔. เ- อื

แบบบันทกึ ฉบับที่ 2 ท่ี ชอื่ – สกุล ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ใหบ้ ันทกึ คะแนนของนกั เรยี นเป็นรายข้อ เพ่อื ใหร้ ู้ว่านกั เรียนมีขอ้ บกพร่องใด สาหรบั นาไ ๒. วิธีการบนั ทกึ ถา้ ทาถกู ตอ้ งให้ใสเ่ คร่ืองหมาย  ถา้ ทาผิดใหใ้ ห้ใสเ่ คร่ืองหมาย X (เคร่อื งห ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพือ่ ประโยชนใ์ นการวินิจฉยั ข้อบกพรอ่ งของนกั เรียนเป็นรายบุคคล แล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพือ่ ประโยชน์ในการวินิจฉยั ว่าขอ้ บกพร่องของนกั เรยี นในภาพรวมของ ๕. นกั เรยี นเขียนถกู ต้องทุกข้อ จึงผ่านเกณฑ์ กรณที ีน่ กั เรียนไมผ่ า่ นเกณฑ์ ครผู ู้สอนตอ้ งฝกึ จ

2 กำรเขียนสระ รวม คะแนน* ข้อที่ ๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ไปใชใ้ นการปรับปรุงและพฒั นานักเรียน หมาย  เท่ากับ ๑ คะแนน เครอื่ งหมาย X เท่ากบั ๐ คะแนน) ละนาไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ และพฒั นานักเรียนเปน็ รายบุคคล งชั้นเรยี น เพอื่ นาไปใชใ้ นการปรับปรงุ และพฒั นาการจัดการเรยี นการสอน จนนกั เรยี นเขยี นได้

ภำคผนวก

ภำคผนวก ก ตารางเปรยี บเทยี บชื่อรูปสระในหนงั สอื ภาษาไทย หนังสือหลกั ภำษำไทย หนงั สือบรรทัดฐำนทำงภำษำไทย เลม่ ๑ หนังสือหลกั ภำษำไทย: เรือ่ งทีค่ รูภำษำไทยตอ้ งรู้ ของพระยำอปุ กติ ศิลปสำร (พมิ พ์คร้ังท่ี ๒ พ.ศ. ๒๕๕๔) (พ.ศ. ๒๕๕๘) (นม่ิ กำญจนำชวี ะ พ.ศ. ๒๕๔๓ ) ๑. ะ เรียกวา่ วสิ รรชนยี ์ ๑. เรียกว่า ไม้ไตค่ ู้ ๒๐. โ- เรยี กว่า สระโอ ๑. ะ เรียกวา่ สระอะ ๒๔. โ- เรยี กวา่ สระโอ ๒. เรยี กวา่ ไมผ้ ัด ๒. -ะ เรียกว่า สระอะ ๒๑. เ-าะ เรียกวา่ สระเอาะ ๒. –ั เรยี กวา่ ไม้หันอากาศ ๒๕. เ-าะ เรยี กวา่ สระเอาะ หรอื หนั อากาศ ๓. –ั เรยี กว่า ไมห้ ันอากาศ ๒๒. -อ เรยี กวา่ สระออ ๓. -ำ เรยี กว่าสระอา ๒๖. อ เรยี กวา่ ไม้ไต่คู้ ๓. เรยี กวา่ ไมไ้ ตค่ ู้ ๔. -า เรยี กวา่ สระอา ๒๓. อ เรยี กวา่ สระออ ๔. ไ- เรียกวา่ สระไอไมม้ ลาย กบั สระออ ๔. า เรียกวา่ ลากขา้ ง ๕. –ำ เรยี กวา่ สระอา กับไมไ้ ตค่ ู้ ๕. ไ-ย เรียกวา่ สระไอ ๒๗. ็ เรยี กวา่ ไม้ไตค่ ู้ ๕. ิ เรยี กวา่ พินท์ุอิ ๖. ิ เรยี กวา่ สระอิ ๒๔. เ-อะ เรยี กวา่ สระเออะ ไมม้ ลายกบั ตัว ย ๒๘. -อ เรยี กวา่ สระออ ๖. ' เรยี กวา่ ฝนทอง ๗. เรยี กวา่ สระอี ๒๕. เ-อ เรียกวา่ สระเออ หรอื สระไอ - ยอ ๒๙. เ-อะ เรยี กวา่ สระเออะ ๗. เรียกว่า นฤหหติ ๘. เรยี กวา่ สระอึ (เอ-ออ) ๖. ใ- เรยี กวา่ สระใอไม้มว้ น ๓๐.เ เรียกวา่ สระเออ (เอ-อิ) หรอื หยาดนา้ คา้ ง ๙. เรียกวา่ สระออื ๒๖. เ ิ เรยี กว่าสระเออ (เอ-อิ) ๗. เ–า เรยี กว่า สระเอา ๓๑. เ-อ เรยี กว่า สระเออ ๘. \" เรียกว่า ฟนั หนู ๑๐. อ เรยี กวา่ สระอือ - ออ ๒๗. เ ยะ เรยี กวา่ สระเอียะ ๘. รร เรียกวา่ รอหนั (เอ-ออ) ๙. ุ เรยี กวา่ ตนี เหยยี ด ๑๑. ุ เรยี กวา่ สระอุ ๒๘. เ ย เรียกวา่ สระเอยี ๙. -า เรยี กวา่ สระอา ๓๒. เ ยะ เรยี กวา่ สระเอยี ะ ๑๐. ู เรยี กวา่ ตนี คู้ ๑๒ ู เรียกวา่ สระอู ๒๙. เ อะ เรียกวา่ สระเออื ะ ๑๐. ิ เรียกว่า สระอิ ๓๓. เ ย เรียกวา่ สระเอยี ๑๑. เ เรียกวา่ ไมห้ นา้ ๑๓. เ– ะ เรียกว่า สระเอะ ๓๐. เ อ เรยี กวา่ สระเอือ ๑๑. ี เรยี กวา่ สระอี ๓๔. เ อะ เรียกวา่ สระเออื ะ ๑๒. ใ เรยี กวา่ ไมม้ ว้ น ๑๔. เ- เรียกวา่ สระเอ ๓๑. ั วะ เรียกว่า สระอวั ะ ๑๒. ึ เรยี กวา่ สระอึ สระออื - ออ ๑๓. ไ เรยี กว่า ไมม้ ลาย ๑๕. เ เรียกว่า สระเอ ๓๒. ั ว เรียกวา่ สระอวั ๑๓. ือ เรยี กวา่ สระอือ - ออ ๓๕. เ อ เรยี กวา่ สระเออื ๑๔. โ เรยี กวา่ ไม้โอ กบั ไม้ไต่คู้ ๓๓. - ว เรยี กวา่ ตวั วอ ๑๔. เรียกวา่ สระออื ๓๖. ั วะ เรียกว่า สระอัวะ ๑๕. อ เรยี กวา่ ตวั ออ ๑๖. แ-ะ เรียกวา่ สระแอะ ๓๔. ใ- เรยี กวา่ สระใอไมม้ ้วน ๑๕. ุ เรยี กว่า สระอุ ๓๗. ั ว เรียกวา่ สระอัว ๑๖. ย เรยี กวา่ ตวั ยอ ๑๗. แ- เรยี กวา่ สระแอ ๓๕. ไ- เรียกวา่ สระไอ ๑๖. ู เรยี กวา่ สระอู ๓๘. - ว เรยี กวา่ ตวั วอ ๑๗. ว เรียกวา่ ตวั วอ ๑๘. แ เรยี กว่า สระแอ ไม้มลาย ๑๗. เ-ะ เรยี กวา่ สระเอะ ๑๘. ฤ เรยี กวา่ ตัวรึ กบั ไม้ไตค่ ู้ ๓๖. ไ-ย เรยี กวา่ สระไอ – ยอ ๑๘. เ เรยี กวา่ สระเอ ๑๙. เรียกวา่ ตวั รอื ๑๙. โ-ะ เรยี กว่า.สระโอะ ๓๗. เ–า เรยี กวา่ สระเอ กบั ไม้ไต่คู้ ๒๐. ฦ เรยี กว่า ตัวลึ ๑๙. เ- เรยี กว่า สระเอ ๒๑. เรียกวา่ ตวั ลือ ๒๐. แ-ะ เรียกวา่ สระแอะ ๒๑. แ เรยี กวา่ สระแอ กบั ไมไ้ ต่คู้ ๒๒. แ- เรยี กวา่ สระแอ ๒๓. โ-ะ เรียกว่า สระโอะ จานวน ๒๑ รูป จานวน ๓๗ รปู จานวน ๓๘ รูป

ตำรำงเปรยี บเทียบชือ่ เสยี งสระในหนังสอื เรยี นภำษำไทย หนงั สือหลกั ภำษำไทย หนังสอื บรรทัดฐำนทำงภำษำไทย เลม่ ๑ หนังสอื หลกั ภำษำไทย: เร่ืองที่ครภู ำษำไทยต้องรู้ ของพระยำอุปกิตศิลปสำร (พิมพ์คร้ังที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๔) (พ.ศ. ๒๕๕๘) (นิม่ กำญจนำชีวะ พ.ศ. ๑. อิ แทนเสยี งสระอิ ๑. อะ ไมห้ ันอากาศ อา อัย ไอ ไอย เอา รร แทนเสยี งสระ /อะ/ ๒๕๔๓ ) ๒. อา แทนเสียงสระ /อา/ ๒. อี แทนเสยี งสระอี ๓. อิ แทนเสยี งสระ /อิ/ ๑. อะ ๔. อี แทนเสยี งสระ /อี/ ๒๔. อัว ๓. เอะ แทนเสียงสระเอะ ๕. อึ แทนเสยี งสระ /อึ/ ๒. อา ๖. ออื แทนเสยี งสระ /อี/ ๒๕. ฤ เ สระเอกบั ไม่ไต่คู้ แทนเสยี ง สระเอะ เช่น คาว่า เตะ เละ ๗. อุ แทนเสยี งสระ /อุ/ ๓. อิ ๘. อู แทนเสียงสระ /อู/ ๒๖. เ –สระเอะ แทนเสยี ง สระเอะ เชน่ คาวา่ เพ่ง เดง้ ๙. เอะ เ สระเอ กบั ไม่ไต่คู้ เอ แทนเสยี งสระ /เอะ/ ๔. อี ๑๐. เอ แทนเสียงสระ /เอ/ ๒๗. ฦ ๔. เอ แทนเสยี ง สระเอ ๑๑. แอะ แ สระแอ กับไมไ้ ต่คู้ แอ แทนเสียงสระ /เอะ/ ๕. อึ ๑๒. แอ แทนเสยี งสระ /แอ/ ๒๘. ๕. แอะ แทนเสียง สระแอะ ๑๓. โอะ แทนเสียงสระ /โอะ/ ๖. อื ๑๔. โอ แทนเสยี งสระ /โอ/ ๒๙. อา แ สระแอ กับไมไ้ ตค่ ู้ แทนเสยี ง สระแอะ ๑๕. เอาะ เรยี กวา่ แทนเสยี งสระ /เอาะ/ ๗. อุ ๑๖. ออ แทนเสยี งสระ /ออ/ ๓๐. ไอ แอ แทนเสยี ง สระแอะ เช่นคาวา่ แกร่ง แบ่ง ๑๗. เออะ เอ - อิ แทนเสียงสระ /เออะ/ ๘. อู ๑๘. เอ - อิ เออ เอ แทนเสยี งสระ /เออ/ ๓๑. ใอ ๖. แอ แทนเสียง สระแอ เชน่ คาวา่ แต่ แก้ ๑๙. เอยี ะ เอยี แทนเสยี งสระ /เอยี / ๙. เอะ ๒๐. เออื ะ เออื แทนเสยี งสระ /เออื / ๓๒. เอา ๗. อึ แทนเสยี ง สระอึ ๒๑. อวั ะ อวั ตวั วอ แทนเสยี งสระ /อวั / ๑๐. เอ ๑๑. แอะ ๘. อื ออื แทนเสยี ง สระอือ เชน่ คาว่า ยืน /มือ ๑๒. แอ ๑๓. โอะ ๙. เ-อะ เอ –อิ แทนเสยี ง สระเอะ เชน่ คาวา่ เยอะ /เปนิ ๑๔. โอ ๑๕. เอาะ ๑๐. เอ –อิ เออ แทนเสยี ง สระเออ ๑๖. ออ ๑๗. เออะ ๑๑. อะอยั อา ไอ ใอไอย เอา แทนเสยี ง สระอะ ๑๘. เออ ๑๙. เอยี ะ ๑๒. อา แทนเสียง สระอา ๒๐. เอีย ๒๑. เออื ะ ๑๓. อุ แทนเสยี ง สระอุ ๒๒. เออื ๒๓. อวั ะ ๑๔. อู แทนเสียง สระอู ๒๔. อัว ๑๕. โอะ แทนเสยี ง สระโอะ ๑๖. โอ แทนเสยี งสระโอ จานวน 24 เสยี ง ๑๗. เอาะ แทนเสียง สระเอาะ อ เรียกว่า สระออ กับไมไ้ ต่คู้ แทนเสยี ง สระเอาะ เรียกวา่ ไมไ้ ต่คู้ แทนเสียง สระเอาะ ๑๘. ออ แทนเสียง สระออ ๑๙. เอยี ะ เอยี แทนเสยี ง สระเอยี ๒๐. เออื ะ เออื แทนเสียง สระเออื ๒๑. อวั ะ อวั ตวั วอ แทนเสยี งสระอวั จานวน ๒๑ เสียง จานวน ๒๑ เสยี ง

หน่วยท่ี 3 รูปและเสยี งวรรณยุกต์ ส่วนท่ี ๑ ความรูส้ าหรับครู วรรณยุกตป์ ระกอบดว้ ย รปู วรรณยุกต์ และ เสยี งวรรณยกุ ต์ รูปวรรณยุกต์ ใช้เขียนบนพยัญชนะ เพื่อบอกระดับเสียงของคา ทาให้เกิดคาท่ีมีความหมายต่าง ๆ กัน ๑. วรรณยกุ ต์มี ๔ รูป คือ -่ เรียกว่า ไม้เอก -้ เรียกวา่ ไมโ้ ท -๊ เรียกวา่ ไมต้ รี - เรยี กวา่ ไมจ้ ตั วา คาบางคามีรปู วรรณยุกต์ และคาบางคาไมม่ รี ูปวรรณยุกต์ ๒. วิธีเขยี นรปู วรรณยุกต์ ๔ รปู ไม้เอก ไม้โท ไม้ตรี ไม้จตั วา ๓. ลกั ษณะการเขยี นวรรณยกุ ต์ วรรณยุกต์ทุกตัวจะเขียนอยู่ส่วนท่ี ๒ และ ๓ บน เส้นบรรทัด ๔ ส่วน วรรณยุกต์ จะมขี นาด ๑ สว่ น ่๔ ้ ๋ บน ๓ ๒ ๑ ๑ ๒ ๓ ๔ -๖๒-

๓. การวางตาแหนง่ รปู วรรณยกุ ต์ ๓.๑ เขียนบนตัวพยัญชนะ โดยใหต้ รงกับเสน้ หลัง หรือค่อนไปทางด้านท้ายของตัวพยัญชนะ โดยส่วนขวาสุดของวรรณยุกต์อยู่ตรงกับเส้นขวาสุดของพยัญชนะที่เกาะ ยกเว้นท่ีอยู่กับพยัญชนะที่มีหาง ไดแ้ ก่ ป ฝ ฟ ใหเ้ ขียนวรรณยุกตเ์ ย้ืองมาข้างหน้าไม่ทบั หางพยัญชนะ เช่น กา เขา แม ยา๓่ ่ ๔ ่่ บน ๓ ๒ ๑ ๑ ๒ ๔ ๔ นา๓ ข้อ ท้ อ ผ้ า ้๒ บน ๓ ๒ ๑ ๑ ๔ ๔กา๓ โตะ จอ บน ๓ ๒ ๑ ๑ ๒ ๔ ๔เก จา เตา๓๋ ๋ ๋ บน ๓ ๒ ๑ ๑ ๒ ๔ เพ่ิมวรรณยกุ ต์ พยญั ชนะทมี่ ีหาง ได้แก่ ป ฝ ฟ ให้เขียนวรรณยุกตเ์ ยื้องมาข้างหน้าไม่ทับหางพยัญชนะเชน่ ป่ า๓๔ ปา ปา ปา บน ๓ ๒ ๑ ๑ ๒ ๔ ฝ่า ฝา ฟา๓๔ ฟา บน ๓ ๒ ๑ ๑ ๒ ๔ -๖๓-

๓.๒ พยัญชนะต้นมตี ัวอักษร ๒ ตัว รปู วรรณยกุ ต์จะวางอย่บู นตวั ท่ี ๒ เช่น ๔กล่อง กรอ ปรอ๓ บน ๓ ๒ ๑ ๑ ๒ ๔ ๓.๓ พยางค์ใดมีรูปสระอยู่บนตัวพยญั ชนะแล้ว รปู วรรณยุกตก์ ็จะวางอยู่บนรูปสระอีกชนั้ หน่ึง ตามตาแหน่งทีเ่ หมาะสม เช่น ๔กลนั่ ครัน กริก๓ บน ๓ ๒ ๑ ๑ ๒ ๔ เสียงวรรณยุกต์ หมายถึง ระดับสูงต่าของเสียงท่ีปรากฏในพยางค์หรือคา และทาให้คา มคี วามหมายแตกต่างกนั เสียงวรรณยกุ ต์ มีท้งั หมด ๕ เสยี ง คอื รปู ่ ้ ๊ เสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา ข้อสังเกต คาทุกคาจะมีเสียงวรรณยุกต์ คาบางคามีรูปวรรณยุกต์ตรงกับเสียงวรรณยุกต์ คาบางคา มรี ูปวรรณยกุ ต์ไม่ตรงกบั เสียงวรรณยุกต์ พยางค์ทุกพยางค์มีพื้นเสียงวรรณยุกต์อยู่แล้ว คือมีเสียงวรรณยุกต์อยู่โดยไม่ต้องมีรูปวรรณยุกต์ เช่น กา มีเสยี งวรรณยุกต์สามัญ กัด มเี สยี งวรรณยกุ ตเ์ อก คาด มีเสียงวรรณยกุ ต์โท คัด มีเสยี งวรรณยุกต์ตรี ขา มเี สียงวรรณยกุ ตจ์ ตั วา -๖๔-

เสียงวรรณยุกต์สามัญ เป็นเสียงวรรณยุกต์ระดับกลาง เช่น เสียงวรรณยุกต์ในคาว่า มา ดู ปลี นาง พลาง เรอื น จาน ลืม ดาว พราย เดียว เป็นตน้ เสยี งวรรณยกุ ตเ์ อก เปน็ เสยี งวรรณยุกต์ระดับต่า เช่น เสียงวรรณยุกต์ในคาว่า ป่า ข่า ปู่ ข่าย อย่า ปะ ขาด เหยอื ก ปัก เปยี ก ผัด บีบ เปน็ ตน้ เสยี งวรรณยุกต์โท เป็นเสยี งวรรณยกุ ต์เปล่ียนระดับจากสูงลงมาต่า เช่น เสียงวรรณยุกต์ในคาว่า ป้า ก้อน ขา้ ค่า ใคร่ นาบ ทาก ชาติ เลือด เรียบ เป็นต้น เสียงวรรณยุกต์ตรี เป็นวรรณยุกต์ระดับสูง เช่น วรรณยุกต์ในคาว่า ก๊ง กุ๊ย น้า น้อง ค้าง นึก รัก ริบ วับ เป็นต้น เสียงวรรณยุกต์จัตวา เป็นเสียงวรรณยุกต์เปลี่ยนระดับจากต่าขึ้นไปสูง เช่น เสียงวรรณยุกต์ ในคาว่า ปา๋ ขา เดยี๋ ว ผง ขน ผม ขัน สาว หวิ หนาม เปน็ ต้น ข้อเสนอแนะในการสอนเรอ่ื งวรรณยกุ ต์ ๑. ควรอธิบายวา่ วรรณยุกตท์ ่ใี ช้มาก คอื -่ - ้ วรรณยกุ ต์ - ๊ - ใชน้ ้อย ส่วนใหญ่มาจากคาเลียนเสยี งและคายมื จากภาษาจีน เชน่ เก๊ เจง กวยจบ๊ั ๒. สอนคาที่ใช้บอ่ ย ๆ ทง้ั ฝึกออกเสียงและฝกึ เขยี น เช่น คะ นะ ยะ ละ (เสียงวรรณยุกต์ตรี) ค่ะ น่ะ ย่ะ ล่ะ (เสยี งวรรณยกุ ตเ์ อก) ๓. การสอนผันเสียงวรรณยกุ ตจ์ ะเรียนในลาดบั ตอ่ ไป -๖๕-

ส่วนที่ ๒ แนวทางการจัดการเรียนรู้ สอนให้รู้จักรปู และเสียงวรรณยกุ ต์ ๑. สอนให้รู้จักรปู วรรณยกุ ต์ โดยใช้บตั รคารูปวรรณยุกต์ หรือแผนภมู ิรปู วรรณยกุ ต์ ๒. ฝึกเขียนและอา่ นรูปวรรณยกุ ต์ -๖๖-

ตวั อยา่ งการนาแนวทางการจดั การเรยี นรไู้ ปใช้ในห้องเรยี น (๑ ชั่วโมง) หนว่ ยท่ี ๓ รปู และเสยี งวรรณยุกต์ จดุ ประสงค์การเรียนรขู้ องหนว่ ย (๑ ชั่วโมง) เพือ่ ให้นกั เรียนอ่านและเขยี นรปู วรรณยกุ ตไ์ ด้ แนวทำงกำรจดั กำรเรยี นรู้ การอา่ นและเขยี นวรรณยกุ ต์ แนวทำงกำรจัดกำรเรียนรู้ การอา่ นและเขยี นวรรณยุกต์ (1 ช่วั โมง) จุดประสงค์การเรียนรู้ อา่ นและเขียนรปู วรรณยุกตไ์ ด้ ขัน้ ตอนการจดั การเรยี นรู้ ๑. ขนั้ นา เตรยี มความพร้อมของสมองของเดก็ ๑.๑ ครูและนกั เรียนรว่ มกันร้องเพลงกระต่ายน้อย และทาท่าประกอบบทเพลง (ครูอาจหาหรือ แต่งเพลงที่มรี ูปวรรณยุกตอ์ ่ืนได)้ เพลง กระตา่ ยนอ้ ย (ไมท่ ราบนามผ้แู ต่ง) ฉนั เป็นกระตา่ ยตัวนอ้ ยมหี างเดยี ว สองหยู าว ส่ันกระดุ๊ก กระดกุ๊ กระด๊ิก กระโดดสี่ขา ทาทา่ กระตุ๊ก กระต๊ิก เพ่ือนทรี่ ัก ของฉันนั้นคอื เธอ ๑.๒ ครูทาเคร่ืองหมายวงกลมรอบวรรณยุกต์บนพยัญชนะในแผนภูมิเพลงกระต่ายน้อย หรอื ถ้าครูเขียนแผนภูมิ อาจใช้สเี น้นรปู วรรณยุกตบ์ นตัวพยัญชนะทป่ี รากฏในเพลงนั้น ๑.๓ ครูบอกจุดประสงค์การเรียนรู้การอ่านและเขียนรูปวรรณยุกต์ให้นักเรียนทราบ เพ่ือให้ นักเรียนรเู้ ป้าหมายในการเรียน -๖๗-

๒. ขน้ั สอน ๒.๑ ครูใช้ “บัตรวรรณยุกต์” ๔ รูป เป็นรายตัว ติดบนกระดาน ให้นักเรียนได้เห็นรูปร่าง ลักษณะของวรรณยุกต์แต่ละตัว พร้อมอธิบายว่า วรรณยุกต์มี ๔ รูป คือ ไม้เอก ( -่ ) ไม้โท ( -้ ) ไมต้ รี ( -๊ ) และไมจ้ ตั วา ( - ) ครูอธบิ ายว่า รปู วรรณยุกต์จะวางอยบู่ นพยัญชนะ ตวั อยา่ งบัตรรูปวรรณยกุ ต์ ่้๊ ไม้เอก ไมโ้ ท ไมต้ รี ไมจ้ ัตวา ๒.๒ ครนู าแผนภูมวิ ธิ ีการเขยี นรปู วรรณยุกตบ์ นกระดาน และอธิบายวธิ เี ขียนรปู วรรณยุกต์ ทถี่ กู ต้องบนกระดาน ครเู ขียนรูปวรรณยกุ ตบ์ นกระดานโดยลากเส้นชา้ ๆ ใหน้ กั เรยี นดูและอ่านออกเสยี ง วรรณยกุ ตต์ ัวน้นั ไปพรอ้ ม ๆ กัน และให้นักเรียนอา่ นออกเสยี งตามครู ตวั อยา่ งแผนภูมวิ ิธกี ารเขยี นรูปวรรณยกุ ต์ ๑๒ ไม้เอก ไมโ้ ท ไม้ตรี ไม้จัตวา ๒.๓ ครูให้นักเรียนฝึกเขียนรูปวรรณยุกต์ (ขณะที่นักเรียนเขียนวรรณยุกต์แต่ละตัวให้ออกเสียง วรรณยุกต์ตามไปด้วย ครูอาจเดินสังเกตการเขียนรูปวรรณยุกต์ของนักเรียน และตรวจการเขียน) หากพบว่า นักเรียนคนใดยงั เขียนไมไ่ ดห้ รอื เขียนไมถ่ กู ต้อง ให้แก้ไขทันที โดยให้ฝึกซ้า ๆ หรือถ้านักเรียนคนใดเข้าใจดีแล้ว ให้นักเรียนทาแบบฝกึ เสรมิ อ่ืน ๆ ซงึ่ ครสู ามารถนามาเพ่มิ เตมิ ได้ ๒.๔ ครูนาเสนอบัตรคาท่ีมีรูปวรรณยุกต์จากบทเพลงท่ีร้องในขั้นนา เช่น เพลงกระต่ายน้อย ใหน้ ักเรียนดู พรอ้ มชแ้ี จงและอธบิ ายตาแหน่งทถี่ กู ตอ้ งของการเขียนวรรณยกุ ตแ์ ตล่ ะตวั กระต่าย น้อย สน่ั กระดุก๊ กระดก๊ิ สี่ ท่า กระตุ๊ก กระติ๊ก เพือ่ น ท่ี น้ัน -๖๘-

ครยู กตัวอยา่ งคาอื่น ๆ และชี้แจงการเขยี นและการวางรูปวรรณยกุ ตใ์ หน้ ักเรียนดูอกี ครั้ง เช่น กา กา่ ก้า กา๊ กา จา จา่ จา้ จา๊ จา ๒.๕ ครูนาบัตรรูปวรรณยุกต์ชูขึ้นทีละใบ แล้วให้นักเรียนบอกเสียงวรรณยุกต์ตามบัตรรูป วรรณยกุ ตท์ ค่ี รชู ขู นึ้ ในขนั้ ตอนนีค้ รูให้นักเรยี นตอบพรอ้ มกัน ตอบเป็นรายกลุ่ม และตอบเป็นรายบคุ คล ตวั อย่างบัตรรปู วรรณยุกต์ ่ ้ ๊ไม่มรี ปู ๒.๖ ครูอธิบายวิธีการเขียนรูปวรรณยุกต์บนพยัญชนะต้นท่ีถูกต้อง พร้อมยกตัวอย่างการเขียน รปู วรรณยกุ ตบ์ นพยญั ชนะ คา หรือพยางค์ ท่ีถกู ต้องให้นกั เรียนดู ๒.๗ ครูให้นักเรียนฝึกเขียนรูปวรรณยุกต์บนพยัญชนะ ครูต้องสังเกตตรวจสอบการเขียน วรรณยุกต์และการอ่านออกเสียงตามรูปภาพของนักเรียนเป็นรายคน หากพบว่านักเรียนคนใดยังเขียน ไม่ได้หรือเขียนไม่ถูกต้อง ต้องแก้ไขทันที โดยให้ทาแบบฝึกซ้า ๆ หรือถ้านักเรียนคนใดเข้าใจดีแล้ว ให้ นักเรียนทาแบบฝกึ เสริมอนื่ ๆ ๓. ขั้นสรุป ครูและนกั เรยี นร่วมกนั สรุป การอ่านและเขยี นรูปวรรณยกุ ต์ สอ่ื การสอน ๑. บัตรรปู วรรณยุกต์ และบัตรเสียงวรรณยกุ ต์ ๒. แผนภมู ริ ูปและเสยี งวรรณยกุ ต์ ๓. แผนภูมิวธิ กี ารเขียนรปู วรรณยกุ ต์ ๔. บตั รคา ๕. สมดุ บรรทดั ๕ เสน้ หรอื ครทู าบรรทัด ๕ เส้นลงในกระดาษ การวดั และประเมนิ ผล การตรวจแบบประเมินประจาหนว่ ย -๖๙-

ส่วนที่ ๓ แนวทำงกำรวัดและประเมินผลประจำหนว่ ย ฉบบั ท่ี ๑ การอา่ นรูปวรรณยุกต์ คาชีแ้ จง ใหน้ ักเรียนอ่านรปู วรรณยุกต์ท่ีกาหนดให้ ๑. ( -่ ) ๒. ( -้ ) ๓. ( -๊ ) ๔. ( - ) เฉลยคาตอบ ๑. ( -่ ) อ่านว่า ไม้เอก ๒. ( -้ ) อ่านว่า ไม้โท ๓. ( -๊ ) อ่านวา่ ไม้ตรี ๔. ( - ) อ่านว่า ไมจ้ ัตวา -๗๐-

แบบบนั ทกึ ฉบับที่ ๑ การอา่ นรปู วรรณยุกต์ ท่ี ชื่อ - สกลุ ข้อที่ รวมคะแนน* ๑๒๓๔ คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ใหบ้ ันทกึ คะแนนของนกั เรียนเป็นรายข้อ เพื่อใหร้ ูว้ ่านักเรยี นมขี อ้ บกพรอ่ งใด สาหรับนาไปใชใ้ นการปรับปรงุ และพัฒนา นกั เรียน ๒. วธิ ีการบันทึก ถ้าทาถกู ตอ้ งให้ใสเ่ ครื่องหมาย  ถา้ ทาผิดให้ใหใ้ สเ่ ครอ่ื งหมาย X (เครอื่ งหมาย  เทา่ กับ ๑ คะแนน เคร่อื งหมาย X เท่ากับ ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพื่อประโยชนใ์ นการวนิ ิจฉยั ขอ้ บกพรอ่ งของนักเรียนเป็นรายบคุ คล และนาไปใช้ในการปรับปรงุ และพฒั นานกั เรียนเป็นรายบคุ คล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพ่ือประโยชน์ในการวนิ ิจฉัยวา่ ข้อบกพรอ่ งของนกั เรียนในภาพรวมของชน้ั เรียน เพื่อนาไปใช้ใน การปรบั ปรงุ และพฒั นาการจดั การเรยี นการสอน ๕. นักเรียนอ่านไดถ้ กู ตอ้ งทุกข้อ จงึ จะผ่านเกณฑ์ กรณีทน่ี กั เรยี นไมผ่ า่ นเกณฑ์ ครผู ู้สอนตอ้ งฝึกจนนกั เรยี นอ่านได้ -๗๑-

ฉบับที่ ๒ การเขียนรปู วรรณยกุ ต์ คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรยี นเขยี นรูปวรรณยุกต์ ไม้เอก ( -่ ) ไม้โท ( -้ ) ไม้ตรี ( -๊ ) และ ไม้จัตวา ( - ) ลงในช่องท่ี กาหนด ๔ บน ๓ ๒ ๑ ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ บน ๓ ๒ ๑ ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ ๓ บน ๒ ๑ ๑ ๒ ๓ ้ ้ ้ ้ ้๔ ๔ บน ๓ ๒ ๑ ๑ ๒ ๓ ๔ -๗๒-

๔ บน ๓ ๒ ๑ ๑ ๒ ้ ้ ้ ้ ้๓ ๔ ๔ บน ๓ ๒ ๑ ๑ ๒ ๓ ๔ ๔ บน ๓ ๒ ๑ ๑ ๒ ๓ ้ ้ ้ ้ ้๔ ๔ ๓ บน ๒ ๑ ๑ ๒ ๓ ๔ -๗๓-

แบบบนั ทกึ ฉบับที่ ๒ การเขียนรปู วรรณยุกต์ ที่ ชื่อ - สกุล ขอ้ ที่ รวมคะแนน* ๑๒๓๔ คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรยี นเปน็ รายข้อ เพอ่ื ใหร้ วู้ ่านักเรยี นมขี อ้ บกพร่องใด สาหรบั นาไปใชใ้ นการปรับปรงุ และพฒั นา นักเรียน ๒. วิธกี ารบนั ทกึ ถ้าทาถูกตอ้ งให้ใส่เคร่อื งหมาย  ถ้าทาผิดให้ให้ใสเ่ คร่อื งหมาย X (เคร่ืองหมาย  เทา่ กับ ๑ คะแนน เครื่องหมาย X เท่ากับ ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพ่ือประโยชนใ์ นการวินิจฉัยข้อบกพรอ่ งของนกั เรียนเป็นรายบคุ คล และนาไปใชใ้ นการปรับปรงุ และพฒั นานกั เรยี นเปน็ รายบุคคล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพอ่ื ประโยชน์ในการวินิจฉยั วา่ ข้อบกพร่องของนกั เรียนในภาพรวมของชน้ั เรียน เพ่ือนาไปใชใ้ น การปรบั ปรงุ และพัฒนาการจดั การเรียนการสอน ๕. นกั เรียนเขยี นได้ถกู ต้องทกุ ขอ้ จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณีทน่ี ักเรียนไมผ่ ่านเกณฑ์ ครผู ู้สอนตอ้ งฝึกจนนกั เรยี นเขยี นได้ -๗๔-

หนว่ ยท่ี 4 กำรแจกลูกสะกดคำในแม่ ก กำ ส่วนท่ี ๑ ความรสู้ าหรบั ครู หน่วยการเรียนรู้นี้ เสนอเน้ือหาสาระ แนวการจัดการเรียนการเรียนรู้ และตัวอย่างการจัด การเรียนรู้การอ่านเขียนโดยการแจกลูกสะกดคาในแม่ ก กา ท่ีไม่มีรูปวรรณยุกต์ โดยนาเสนอการจัด การเรียนรู้จากการเลือกสระบางกลุ่ม พยัญชนะไตรยางศ์บางตัว เพ่ือเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้แก่ ครใู นขนั้ การสอนคาอ่นื ๆ ต่อไป คาในแม่ ก กา ประกอบด้วยพยัญชนะต้น สระ และรูปวรรณยุกต์ แต่ในหน่วยนี้ยังไม่นาเสนอ คาท่ีมีรูปวรรณยุกต์ อย่างไรก็ตาม คาในแม่ ก กา แม้จะไม่มีรูปวรรณยุกต์ปรากฏ ก็มีเสียงวรรณยุกต์ ที่แตกต่างกนั เนอื่ งจากพยัญชนะต้นตามไตรยางศเ์ กย่ี วขอ้ งกับวรรณยุกต์ กลา่ วคือ พยัญชนะต้นอักษรกลางและอักษรต่าประสมสระเสียงยาว เสียงวรรณยุกต์ของคาเป็นเสียงสามัญ ในขณะทพี่ ยญั ชนะต้นอักษรกลางประสมสระเสียงสั้น เสียงวรรณยุกต์ของคาเป็นเสียงเอกและอักษรต่าประสม สระเสยี งสั้น เสยี งวรรณยกุ ต์ของคาเป็นเสยี งตรี พยัญชนะต้นอกั ษรสูงประสมสระเสียงยาวเสียงวรรณยุกต์ ของคาเป็นเสียงจตั วา แต่ถา้ ประสมสระเสียงสนั้ จะไดเ้ สยี งวรรณยุกต์เปน็ เสียงเอก การสอนแจกลูกสะกดคาในแม่ ก กา ท่ีไม่มรี ูปวรรณยุกต์เพื่อใหน้ ักเรียนประสบผลสาเรจ็ ในการอ่าน ออกเขยี นภาษาไทยได้ ควรมลี าดับขน้ั ตอนในการสอน ดังน้ี (สานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา. ๒๕๕๘: ๒๔) ๑) สอนใหร้ ูจ้ ักไตรยางศ์ ๒) สอนให้ร้จู กั สระเสียงสนั้ - ยาว ๓) สอนให้สะกดคาแจกลูกในแม่ ก กา ดังน้นั ครจู งึ ควรนาไตรยางศม์ าใช้ในการจดั การเรยี นร้เู รอื่ งนี้ ๑. ไตรยางศ์ ไตรยางศ์ แปลว่า ๓ ส่วน … แบ่งพยัญชนะออกเป็น ๓ พวก ตามวิธวี รรณยุกต์ เพราะวรรณยุกต์ เกี่ยวข้องกับพยัญชนะ จึงเขียนรูปวรรณยุกต์ไว้บนพยัญชนะ ถึงสระจะเป็นต้นเสียง เสียงสระก็ต้องสูงต่า ไปตามรปู วรรณยกุ ตท์ ่อี ยู่บนพยัญชนะไตรยางศ์ (อักษร ๓ หมู่) ลาดับพยัญชนะที่ควรสอนก่อนหลัง มีระดับความยากง่ายในการการอ่านออกเสียงและเขียนรูป พยัญชนะ โดยควรเสนอลาดับพยัญชนะที่สอนก่อนหลังเป็นชุด (สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. ๒๕๕๘. ๒๔) -๗๕-

ชดุ ท่ี ๑ อักษรกลาง ก จ ด ต บ ป อ ชุดที่ ๒ อกั ษรตา่ ค ง ช ซ ท น ชดุ ท่ี ๓ อักษรต่า พ ฟ ม ย ร ล ว ฮ ชุดท่ี ๔ อกั ษรสูง ข ฉ ถ ผ ฝ ส ห ชดุ ท่ี ๕ ฃ* ฅ* ฆ ฑ ธ ภ ศ ษ ชดุ ที่ ๖ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฒ ณ อกั ษรชดุ ท่ี ๕ และ ๖ เป็นอักษรท่ใี ช้ในคายืมจากภาษาตา่ งประเทศ จงึ นามาสอนหลังจาก นักเรยี นได้เรยี นรแู้ ละฝึกอา่ นเขียนคาทีส่ ะกดโดยมีพยญั ชนะต้นในชุดท่ี ๑ - ๓ คล่องแล้ว * ในกรณีนี้ ไมจ่ าเป็นต้องนา ฃ และ ฅ มาสอน เน่ืองจากไม่มีทีใ่ ช้ในภาษาไทย ๒. รปู และเสยี งสระ ครูจาเป็นต้องรู้จักรูปและเสียงของสระ เนื่องจากพยางค์และคาในภาษาไทยถือว่าพยัญชนะ จาเป็นต้องอาศัยสระจึงจะออกเสียงพยางค์และคา และสระมีผลต่อความหมายของคาด้วย ครูสามารถ ศกึ ษาเรอ่ื งดงั กลา่ วไดจ้ ากหนว่ ยที่ ๒ รูปและเสยี งสระ คาในแม่ ก กา เป็นคาที่ประกอบด้วยพยัญชนะประสมกับสระ โดยมีการวางตาแหน่งของสระ ท่ีสมั พนั ธ์กบั พยญั ชนะในคาตา่ งๆ ดงั นี้ ๑. สระที่อยหู่ นา้ พยญั ชนะ คอื สระ เ- แ- และท่ีอยู่หลังพยัญชนะ คือ สระ -ะ -า -อ มีขนาด สูงเท่าตวั พยัญชนะ และมชี อ่ งไฟห่างจากตัวพยญั ชนะเชน่ เดยี วกบั ชอ่ งไฟระหว่างตัวพยัญชนะดว้ ยกัน ๒. สระ โ- ใ- ไ- อยู่หน้าตัวพยัญชนะ มีขนาดสูงกว่าตัวพยัญชนะ และมีช่องไฟห่างจาก ตวั พยญั ชนะเช่นเดยี วกับชอ่ งไฟระหว่างตวั พยญั ชนะดว้ ยกัน ๓. สระที่อยู่เหนือตัวพยัญชนะ มีข้อกาหนดว่า สระ - - - - ต้องมีส่วนท้ายตรงกับ เส้นหลังของตัวพยัญชนะ และมีความกว้างเท่ากับความกว้างของตัวพยัญชนะขนาดกลาง หรือแคบกว่า เล็กนอ้ ย ๔. สระท่ีอยู่ใต้ตัวพยัญชนะ มี ๒ ตัว คือ สระ -ุ -ู จะมีเส้นหลังตรงกับเส้นหลังของ ตวั พยัญชนะ ๕. สระทป่ี ระกอบดว้ ยสระหลายรปู จะวางไวข้ า้ งหนา้ ขา้ งหลัง ขา้ งบน ตามลักษณะของตัวสระนั้น ๆ ดังน้ี -ัว -ำ - อ เ- เ-อ เ-อะ แ-ะ เ-ะ เ- ย เ- ยะ เ- อ โ-ะ เ-า เ-าะ -๗๖-

การวางตาแหน่งของสระ* จัดเป็นกลมุ่ ดังน้ี กลมุ่ ท่ี ๑ สระท่มี ีตาแหนง่ อยู่ขา้ งหลงั มี ๓ ตัว คือ -ะ -า -อ กลุ่มที่ ๒ สระท่มี ีตาแหน่งอยู่ข้างหน้า มี ๕ ตวั คอื เ- แ- โ- ใ- ไ- กลมุ่ ท่ี ๓ สระท่มี ตี าแหนง่ อยู่ขา้ งบน มี ๔ ตวั คือ - ิ - ี - ึ - ื กลมุ่ ท่ี ๔ สระทม่ี ตี าแหน่งอยู่ขา้ งลา่ ง มี ๒ ตวั คือ -ุ - ู กลุ่มที่ ๕ สระท่มี ีตาแหนง่ อยู่ขา้ งหนา้ และข้างหลัง มี ๑๑ ตัว คือ เ-ะ แ-ะ โ-ะ เ-าะ เ-า เ-อะ เ-อ เ - ียะ เ - ีย เ - ือะ เ - ือ กลมุ่ ท่ี ๖ สระท่มี ตี าแหนง่ อยู่ข้างบนและขา้ งหลงั มี ๓ ตวั คือ -วั ะ -ัว -ำ * การสอนในหน่วยนี้ สอนสระเพยี ง ๒๘ ตัว เป็นเบ้อื งตน้ ก่อน และการจดั กล่มุ ดังกล่าวช่วยให้ นกั เรยี นจดจาตาแหนง่ ของสระในคาไดง้ ่ายขึ้น ซ่ึงมีส่วนช่วยในการฝกึ สะกดคาเพื่อการอา่ นและเขยี น เสยี งสนั้ - ยาวของสระ เสียงส้ัน - ยาว ของสระ เป็นอีกหนึ่งองค์ประกอบของคาที่กาหนดเสียงวรรณยุกต์ของคา ดังน้ัน จงึ ควรสอนให้นกั เรียนเขา้ ใจดว้ ยว่า พยัญชนะต้นตัวหนึ่ง ๆ เม่ือประสมกับสระเสียงยาวจะออกเสียงวรรณยุกต์หน่ึง และเม่ือประสมกับสระเสียงสั้นก็จะออกเสียงวรรณยุกต์หน่ึง การสอนรูปและเสียงสระจึงควรสอนคู่กัน โดยสอนสระเสยี งสนั้ - ยาวคกู่ นั เป็นคู่ ๆ ดงั น้ี สระเสยี งส้ัน สระเสยี งยาว /อะ/ /อา/ /อ/ิ /อ/ี /อ/ึ /อ/ื /อ/ุ /อ/ู /เอะ/ /เอ/ /แอะ/ /แอ/ /โอะ/ /โอ/ /เอาะ/ /ออ/ /เออะ/ /เออ/ /เ-ียะ/ /เ- ีย/ /เ- ือะ/ /เ- ือ/ /- ัวะ/ /- ัว/ /ใ-/ /ไ-/ /-ำ/ /เ-า/ สระ ใ- ไ- -ำ และ เ-า เป็นสระเกิน คือ มเี สยี งตวั สะกดอยู่แล้ว ดงั นน้ั คาที่ประสมด้วยสระ ๔ ตัวน้ี จงึ ไมม่ ีตวั สะกดอีก ยกเวน้ คาว่า ไทย -๗๗-

๓. คาในแม่ ก กา พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้อธิบายความหมายของ ก กา ไว้ว่า น. เรยี กแม่บทแจกลูกพยัญชนะต้นกับสระโดยไม่มีตัวสะกดว่ามาตรา ก กา หรือ แม่ ก กา (ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๕๖: ๑) ดังนั้น คาในแม่ ก กา คือ คาที่มีพยัญชนะต้นประสมสระโดยไม่มีตัวสะกด ซ่ึงอาจมีรูปวรรณยุกต์ กากับหรอื ไม่มีกไ็ ด้ ดงั คาในบทรอ้ ยกรองต่อไปน้ี แมไ่ ก่อยใู่ นตะกรา้ ไข่ไขม่ าสห่ี า้ ใบ อแี ม่กาก็มาไล่ อีแม่ไก่ไลต่ ีกา หมาใหญ่ก็ไลเ่ หา่ หมูในเลา้ แลดหู มา ปูแสมแลปูนา กะปมู ้าปูทะเล เตา่ นาแลเต่าดา อยูใ่ นน้ากะจระเข้ ปลาทูอยู่ทะเล ปลาข้ีเหรไ่ ม่สดู้ ี (ประถม ก กา ฉบับหอสมดุ แหง่ ชาติ) -๗๘-

สว่ นท่ี ๒ แนวทางการจัดการเรยี นรู้ ในหนว่ ยนี้ นาเสนอแนวทางการจัดการเรียนรู้ตามขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ ๑ ทบทวนรปู และเสยี งพยญั ชนะ จดุ ประสงคก์ ารเรียน เพือ่ ให้นกั เรียนจดจารูปและออกเสยี งของพยญั ชนะได้ถูกต้อง กิจกรรม ๑. ครูใหน้ กั เรยี นดบู ตั รพยญั ชนะไทย และอ่านบัตรพยัญชนะ ครบทั้ง ๔๔ ตัว โดยอา่ นพร้อมกัน ท้ังหอ้ งและอ่านเปน็ รายบคุ คล เช่น ง อา่ นว่า งอ ๒. ครแู นะนาให้นักเรยี นบอกช่ือพยัญชนะ รูปพยญั ชนะ และเสียงพยัญชนะตามตาราง ดังตวั อย่าง รูปพยญั ชนะ เสยี งพยญั ชนะ ก กอ ต ตอ บ บอ ข ขอ ส สอ ถ ถอ ง งอ ม มอ ย ยอ ๓. ครูนาเสนอวิธกี ารเขียนพยญั ชนะทถ่ี ูกตอ้ งทลี ะตัว โดยเลอื กเอากลุ่มพยญั ชนะชุดท่ี ๑ อักษรกลาง ๗ ตวั คอื ก จ ด ต บ ป อ (ฎ และ ฏ ปรากฏใช้ในคายมื เท่านนั้ จงึ ยังไมน่ ามาสอนในขั้นน้ี) การนาพยัญชนะชุดที่ ๑ มาสอนก่อน เพราะพยัญชนะชุดที่ ๑ เป็นอักษรกลาง เสียงของ อักษรกลางมีพ้ืนเสียงเป็นเสียงสามัญซ่ึงง่ายต่อการออกเสียง เมื่อครูฝึกนักเรียนอ่านออกเสียงพยัญชนะ ท่ีกาหนดให้จนชานาญแลว้ ต่อจากน้นั จงึ สอนวธิ ีเขียนพยัญชนะในชดุ ที่ ๒ - ๔ ตอ่ ไป ตามลาดบั -๗๙-

ขัน้ ที่ ๒ ทบทวนรูปและเสียงสระ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เพ่ือให้นักเรยี นจดจารูปและออกเสียงของสระได้ถูกต้อง กิจกรรม ๑. ครูควรนาเสนอรปู และเสียงสระท่ปี ระกอบด้วยสระเสียงสน้ั และสระเสยี งยาว ดงั น้ี -ะ -า - ิ - ี - ึ - ื -ุ - ู เพ่ือให้นักเรียนได้ฝึกการอ่านคา แม่ ก กา ที่ประสมทั้งสระเสียงสั้นและ สระเสียงยาว ซึ่งเมื่อนักเรียนได้ฝึกอ่านมาก ๆ จนชานาญนักเรียนจะสามารถสังเกตเสียงส้ันยาว ของเสียงสระได้ แล้วให้บอกช่ือและออกเสียงสระทีละตัว โดยครูควรใช้บัตรคาเสนอสระทีละตัว แล้วตดิ บนกระดาน ดังน้ี ตวั อย่าง ๑. สระอะ ๒. - ะ ๓. อะ ชื่อสระ รปู สระ เสยี งสระ สระ อะ -ะ อะ สระ อา สระ อิ -า อา สระ อี -ิ อิ สระ อึ -ี อี สระ อื -ึ อึ สระ อุ -ื อื สระ อู -ุ อุ -ู อู ๒. เม่ือนักเรียนได้ทบทวนเรื่องรูปและเสียงของสระแล้ว ครูจึงสอนให้นักเรียนได้ฝึกอ่านสะกด คาทปี่ ระสมสระทไี่ ดท้ บทวนนัน้ โดยแบ่งกล่มุ สระเสยี งส้ัน และสระเสียงยาว เพ่ือให้นักเรียนให้ฝึกการอ่าน คาสระเสียงยาวและสนั้ ครูควรอธบิ ายเพิม่ เติมวา่ เสียงสั้นยาวของสระทาให้คาออกเสียงวรรณยุกต์ต่างกัน ท้ัง ๆ ที่ไม่มี รูปวรรณยุกต์ และให้นักเรียนสังเกตเสียงวรรณยุกต์ของคาด้วย การสอนให้นักเรียนสะกดคาเพ่ือการอ่าน ควรสอนคาที่ประสมสระเสียงยาวก่อน แล้วจึงสอนสระเสียงส้ัน เมื่ออ่านได้แล้ว จะฝึกอ่านสระเป็นคู่ ตามเสียงสั้นยาวอกี ก็จะเปน็ ทาใหน้ ักเรียนอา่ นคาได้คล่อง -๘๐-

ครสู ามารถใช้ตารางการแจกลูกคาท่ีใช้สระเป็นลูกประกอบการอธบิ าย สระ -ะ -า -ิ -ี - ึ - ื -ุ -ู พยญั ชนะ กะ กา กิ กี กึ กือ กุ กู ก ตะ ตา ติ ตี ตึ ตือ ตุ ตู บะ บา บิ บี บึ บือ บุ บู ต บ ๓. ครูนาอักษร ง ม ย ข ส ถ ซึ่งเป็นอักษรต่าและอักษรสูงมาฝึกเช่นเดียวกับอักษรกลาง จากนั้นจึงแบ่งกลุ่มเสียงสระส้ันยาว โดยครูและนักเรียนร่วมกันสังเกตและสรุปว่าเสียงสระใดเสียงสั้น เสยี งสระใดเสยี งยาว และออกเสียงวรรณยุกตใ์ ด จากนน้ั จึงให้นักเรยี นฝึกอ่านคาทีป่ ระสมสระเสยี งยาว เสยี งสั้น อกั ษรกลาง เสียงยาว กา กี กือ กู เสยี งสามัญ อักษรตา่ เสียงส้นั กะ กิ กึ กุ เสียงเอก อกั ษรสูง เสียงยาว ตา ตี ตอื ตู เสียงสามญั เสยี งสนั้ ตะ ติ ตึ ตุ เสียงเอก เสียงยาว บา บี บอื บู เสยี งสามัญ เสยี งสน้ั บะ บิ บึ บุ เสยี งเอก เสยี งยาว งา งี งอื งู เสยี งสามญั เสยี งส้นั งะ งิ งึ งุ เสยี งตรี เสยี งยาว มา มี มอื มู เสียงสามญั เสียงสนั้ มะ มิ มึ มุ เสยี งตรี เสยี งยาว ยา ยี ยือ ยู เสยี งสามญั เสยี งสนั้ ยะ ยิ ยึ ยุ เสยี งตรี เสยี งยาว ขา ขี ขือ ขู เสียงจัตวา เสยี งสั้น ขะ ขิ ขึ ขุ เสียงเอก เสยี งยาว สา สี สอื สู เสียงตรี เสยี งสน้ั สะ สิ สึ สุ เสียงเอก เสียงยาว ถา ถี ถอื ถู เสียงตรี เสยี งส้ัน ถะ ถิ ถึ ถุ เสียงเอก ข้อเสนอแนะ คาที่ประสมสระอือ เมื่อไมม่ ีตัวสะกด ให้ใสพ่ ยัญชนะ อ ไวห้ ลังพยัญชนะต้น และอธบิ าย เพมิ่ เติมวา่ อ ตวั นไี้ ม่ใช่ตัวสะกด แต่เรียกวา่ อ เคียง เพื่อสร้างความเขา้ ใจเบ้ืองตน้ วา่ คาท่ีประสม สระอือคาน้นั ไมม่ ีตัวสะกด -๘๑-

ครูให้นักเรียนสังเกตขณะอ่านคาที่สะกดด้วยพยัญชนะต้นตามไตรยางศ์ทาให้เกิดเสียง วรรณยกุ ต์ของคาทีแ่ ตกตา่ งกัน ขอ้ เสนอแนะ สาหรับการทบทวนรปู และเสียงสระอ่ืน ๆ อาจใชว้ ิธีเดยี วกันจนครบทุกสระท่ีต้องการสอนก็ได้ ให้อยู่ ในดุลยพนิ จิ ของครูผสู้ อน ๔. เม่ือสอนรปู และเสียงสระจนนกั เรยี นสามารถอา่ นคาไดแ้ ลว้ ใหน้ าคาท่คี รสู อน เชน่ กะ กา กิ กี กึ กือ กุ กู เขียนไว้บนกระดาน จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันสังเกตตาแหน่งของสระในแต่ละคาว่า อยใู่ นตาแหน่งใด จากนนั้ ครูและนกั เรียนร่วมกันสรปุ ตาแหนง่ ของสระว่าอยู่ในตาแหนง่ ใดบา้ ง เช่นคาว่า กะ อา่ นว่า กะ มสี ว่ นประกอบอะไรบ้าง (ครูแนะนาวา่ พยัญชนะตัวแรก เราเรยี กว่า พยัญชนะต้น) พยญั ชนะต้น คือ ก ประสมสระ -ะ อา่ นวา่ กะ สระ -ะ อย.ู่ .....(หลงั )....พยญั ชนะ กะ อา่ นวา่ กะ พยัญชนะตน้ คือ ก ประสมสระ -า อา่ นว่า กา สระ -า อย.ู่ .....(หลัง)....พยัญชนะ กา อ่านวา่ กา พยญั ชนะต้น คือ ก ประสมสระ -ี อ่านว่า กี สระ -ี อยู่......(บน)....พยัญชนะ กี อา่ นว่า กี พยญั ชนะตน้ คือ ก ประสมสระ -ึ อ่านวา่ กึ สระ -ึ อยู่......(บน)....พยัญชนะ กึ อา่ นวา่ กึ (รว่ มกนั บอกตาแหน่งของสระจนครบทุกคา) จากน้ันนาสระท่มี ตี าแหน่งตา่ ง ๆ กันมาจัดหมวดหมู่ ดังน้ี กล่มุ สระท่ีมีตาแหน่งอยู่ข้างหลงั คอื -ะ -า กลมุ่ สระที่มตี าแหนง่ อย่ขู ้างบน คอื - ิ - ี - ึ - ื กล่มุ สระที่มีตาแหนง่ อย่ขู ้างล่าง คอื -ุ - ู ครูควรจัดกิจกรรมจัดหมวดหมู่สระในรูปสระอ่ืน ๆ เพ่ือให้นักเรียนได้รู้จักตาแหน่งของสระ ครบทุกตาแหน่ง โดยใช้วิธีการจัดกิจกรรมในลักษณะดังกล่าวข้างต้น หรือวิธีอื่นท่ีเห็นว่าสามารถ จัดหมวดหมู่ตาแหน่งของสระได้ การสอนให้นักเรียนรู้จัก และจาตาแหน่งของสระ จะทาให้นักเรียน สามารถเขียนสะกดคาไดง้ ่าย เมอ่ื ถึงขนั้ ตอนการเขียนสะกดคา ๕. เมื่อสอนรูป เสยี ง และการวางตาแหน่งของสระ จนนักเรยี นสามารถจารูปสระ อ่านเสียงสระ และตาแหน่งของสระไดแ้ ลว้ ใหค้ รนู าคาทส่ี อนมาแยกแยะส่วนประกอบตามโครงสร้างของคา โดยครนู าคา ที่ไดส้ อนไปแลว้ เชน่ คาวา่ ตา มสี ่วนประกอบอะไรบ้าง พยญั ชนะตน้ คือ ต และ สระ -า ตี มสี ว่ นประกอบ คือ พยญั ชนะตน้ คือ ต และ สระ - ี งู มีส่วนประกอบ คอื พยัญชนะตน้ คือ ง และ สระ - ู -๘๒-

๖. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปส่วนประกอบของคา ประกอบด้วย พยัญชนะต้น + สระ ครูอาจนาคาอื่น ๆ ที่มีอยู่ในแบบเรียนหรือคาที่นักเรียนคุ้นเคย แต่ควรเป็นคาท่ีไม่มีวรรณยุกต์และ ตัวสะกดมาให้นกั เรียนฝกึ ทักษะแยกส่วนประกอบของคา ขนั้ ท่ี ๓ การอ่านสะกดคา ในแม่ ก กา จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เพ่ือให้นักเรียนอ่านสะกดคาในแม่ ก กา ได้ กจิ กรรม ๑. ใหน้ กั เรยี นดูบัตรคาในแม่ ก กา เชน่ กา ตา แลว้ ให้บอกว่า ในบัตรคานี้ ประกอบด้วยพยญั ชนะ และสระอะไร และใหน้ ักเรียนออกเสยี งพยญั ชนะ และเสียงสระตามครู เสยี งดงั และชดั เจน เช่น คาวา่ พยัญชนะตน้ อักษรกลาง + สระเสยี งยาว เสียงวรรณยุกต์สามญั กา ตา ก ออกเสียงว่า กอ ต ออกเสยี งว่า ตอ า ออกเสียงว่า อา า ออกเสยี งวา่ อา พยัญชนะตน้ อักษรต่า + สระเสียงยาว เสียงวรรณยุกต์สามญั คา มา ค ออกเสียงวา่ คอ ม ออกเสียงวา่ มอ า ออกเสียงว่า อา า ออกเสียงว่า อา พยญั ชนะต้นอักษรสูง + สระเสียงยาว เสยี งวรรณยกุ ต์จตั วา สา ขา ส ออกเสยี งว่า สอ ข ออกเสยี งวา่ ขอ า ออกเสียงวา่ อา า ออกเสียงวา่ อา พยญั ชนะตน้ อักษรกลาง + สระเสยี งสน้ั เสยี งวรรณยุกต์เอก กะ ตะ ก ออกเสยี งวา่ กอ ต ออกเสยี งวา่ ตอ ะ ออกเสยี งวา่ อะ ะ ออกเสยี งวา่ อะ พยัญชนะตน้ อักษรตา่ + สระเสียงสั้น เสียงวรรณยุกตต์ รี คะ มะ ค ออกเสียงวา่ คอ ม ออกเสยี งว่า มอ ะ ออกเสยี งว่า อะ ะ ออกเสยี งวา่ อะ -๘๓-

พยัญชนะต้นอักษรสูง + สระเสียงสั้น เสยี งวรรณยกุ ต์เอก สะ ขะ ส ออกเสยี งวา่ สอ ข ออกเสียงว่า ขอ ะ ออกเสียงวา่ อะ ะ ออกเสยี งวา่ อะ ข้อเสนอแนะ ข้นั ตอนน้ี ครูสามารถนาคาท่ีสะกดด้วยพยัญชนะต้นไตรยางศ์ทป่ี ระสมกับสระอน่ื ๆ ที่นักเรยี น ได้เรียนมาแลว้ มาฝึกเพิ่มอีก เพ่อื ให้นักเรียนอ่านสะกดคาได้คลอ่ งขน้ึ ๒. เม่ือนักเรียนอ่านออกเสียงสระและเสียงพยัญชนะคล่องแล้ว ครูจึงจะนาเสนอหลักการอ่าน สะกดคา โดยครูทบทวนว่า คาประกอบด้วย พยญั ชนะต้น + สระ เชน่ คาว่า กา พยญั ชนะต้น ก ออกเสยี งว่า กอ สระ -า ออกเสียง อา (ในหน่วยการจัดการเรียนรู้นี้จะยังไม่มีส่วนประกอบของคาท่ีมีรูปวรรณยุกต์ ซ่ึงจะเรียนรู้ในเร่ืองการผันวรรณยุกต์) ครูสามารถนาเสนอคาอ่ืน ๆ แบบคละคาท่ีสะกดด้วยพยัญชนะต้น ตามไตรยางศ์และสระเสียงส้ัน - ยาว เพอ่ื ใหน้ กั เรียนไดฝ้ กึ อ่านคาตา่ ง ๆ อย่างเป็นธรรมชาติข้ึน การสะกดคาทป่ี ระสมด้วยสระอะ และ สระ อา กา กอ - อา กา ตา ตอ - อา ตา บา บอ - อา บา งา งอ - อา งา คา คอ - อา คา มา มอ - อา มา ยาา ยอ - อา ยา บะ บอ - อะ บะ ขา ขอ - อา ขา สาา สอ - อา สา กะ กอ - อะ กะ ตะ ตอ - อะ ตะ คะ คอ - อะ คะ มาะ มอ - อะ มะ งะ งอ - อะ งะ ขะ ขอ - อะ ขะ สะ สอ - อะ สะ ยะ ยอ - อะ ยะ การสะกดคาทป่ี ระสมด้วยสระอิ และ สระ อี กิ กอ - อิ กิ ติ ตอ - อิ ติ บิ บอ - อิ บิ งิ งอ - อิ งิ คิ คอ - อิ คิ มิ มอ - อิ มิ ายิ ยอ - อิ ยิ ขิ ขอ - อิ ขิ าสิ สอ - อิ สิ -๘๔-

กี กอ - อี กี ตี ตอ - อี ตี บี บอ – อี บี คี คอ - อี คี มาี มอ - อี มี งี งอ - อี งี ขี ขอ - อี ขี สี สอ - อี สี ยี ยอ - อี ยี การสอนอ่านสะกดคาที่นาเสนอในคร้ังน้ี นาเสนอ สระอะ สระอา สระอิ สระอี ส่วนสระอื่น ๆ ใชร้ ูปแบบเดยี วกัน และควรนาคาท่ีมาจากอกั ษรไตรยางศท์ ง้ั สามหมมู่ าสร้างคาใหห้ ลากหลาย เพื่อนักเรียน จะได้ออกเสียงพยัญชนะครบทุกหมู่ เมื่อนักเรียนอ่านสะกดคาท่ีครูกาหนดให้ได้แล้ว ครูอาจนาคาท่ีใช้ ในชีวิตประจาวันและประสมกับสระอ่ืน เช่น ตา หู ดู ดี เก เร เข หา ยา ทา นา แพ แล เสือ เรือ เป็นต้น แต่ควรเปน็ คาท่ีประสมกับสระทีน่ กั เรยี นได้เรยี นรไู้ ปแล้ว ขั้นท่ี ๔ การอา่ นแจกลูกคา ในแม่ ก กา จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ เพื่อใหน้ กั เรยี นอ่านแจกลูกคาในแม่ ก กา ได้ กจิ กรรม ๑. ครสู ามารถให้นกั เรยี นฝึกอ่านโดยการแจกลูก หลังจากอ่านสะกดคาได้แล้ว หรือควบคู่ไปกับ การอ่านสะกดคา เพ่ือให้นักเรียนฝึกประสมคา ให้เกิดความคล่องในการอ่าน การอ่านแจกลูกคาในแม่ ก กา อ่านได้ ๒ แบบ แบบที่ ๑ การอ่านแจกลูกคาแบบสระคงท่ี พยัญชนะต้นเปลี่ยนไป โดยใช้สระเป็นแม่ และแจกใหล้ กู ซงึ่ เปน็ พยญั ชนะ การจัดกิจกรรมการอ่านแจกลูกที่จะขอนาเสนอเป็นตัวอย่างครั้งน้ี กาหนดให้สระอา เป็นแม่ และกาหนดให้พยัญชนะ ก ต บ ค ม ง ข ส ย เป็นลูก โดยดาเนินการ ดังน้ี ๒. ครูเขียนพยัญชนะที่ต้องการแจกลูกบนกระดาน ในที่น้ีขอนาเสนอพยัญชนะ ก ต บ ค ม ข ส ย ให้นักเรียนดูซึ่งพยัญชนะบนกระดาน (พยัญชนะที่นาเสนอนี้เป็นอักษรจากไตรยางศ์สามหมู่) และนกั เรยี นฝึกอา่ นออกเสียงพยัญชนะทกุ ตัว ๓. จากนน้ั ครเู ขยี นสระอา และให้นักเรียนออกเสยี งสระอา ๔. เมื่อนักเรียนอ่านเสียงพยัญชนะครบทุกตัวและอ่านเสียงสระแล้ว ครูให้นักเรียนอ่าน แบบสะกดคา ตามลูกศร ดังภาพ และอ่านดังน้ี กอ - อา กา ตอ - อา ตา เปน็ ตน้ ๕. เม่อื นักเรียนอ่านเปน็ คาครบแล้ว ครจู ะเขยี นคานนั้ ไวบ้ นกระดาน กา ตา บา คา มา งา ขา สา ยา ๖. ให้นักเรยี นอ่านเป็นคา เรียงจากคาท่ีอ่านคาแรกจนถึงคาสุดท้าย กา ตา บา คา มา งา ขา สา ยา -๘๕-

การอ่านแจกลูกโดยยดึ สระเป็นแม่ แจกไปยงั ลกู ทเี่ ปน็ พยัญชนะ ก กา ต ตา บ บา ค -า คา ม มา ง งา ข ขา ส สา ย ยา เมือ่ อา่ นสะกดคาแลว้ จึงอ่านเปน็ คาดังนี้ กา ตา บา คา มา งา ขา สา ยา แบบที่ ๒ การอ่านแจกลูกคาแบบพยัญชนะต้นคงที่ สระเปล่ียนไป โดยใช้พยัญชนะเป็นแม่ และแจกให้ลูกซ่ึงเป็นสระ การจัดกิจกรรมการอ่านแจกลูกแบบที่ ๒ น้ี กาหนดให้พยัญชนะ ก เป็นแม่ และกาหนดใหส้ ระ -ะ -า - ิ - ี - ึ - ื -ุ - ู เปน็ ลกู โดยดาเนินการ ดังน้ี ๑. ครเู ขยี นสระที่ต้องการแจกลกู บนกระดานเรยี งตามลาดับ ๒. ให้นักเรยี นอ่านออกเสียงสระทค่ี รูเขยี นบนกระดานทุกตัว ๓. จากน้ันครเู ขยี นพยญั ชนะ ก และใหน้ ักเรียนออกเสยี งพยัญชนะ ๔. เมอื่ นักเรียนอ่านเสียงสระครบทกุ ตัวและอา่ นเสยี งพยญั ชนะแล้ว ครใู หน้ ักเรยี นอ่าน แบบสะกดคา เรยี งตามรูปสระ และอา่ นดังนี้ กอ - อะ กะ กอ - อา กา กอ - อิ กิ กอ - อี กี กอ - อุ กุ กอ - อู กู สระ -ะ -า -ิ -ี - ึ - ื -ุ -ู พยัญชนะ กะ กา กิ กี กึ กือ กุ กู ก ตะ ตา ติ ตี ตึ ตือ ตุ ตู ต บะ บา บิ บี บึ บือ บุ บู บ ๕. อา่ นเป็นคาแจกลูกสระ ดังน้ี กะ กา กิ กี กึ กือ กุ กู ตะ ตา ติ ตี ตึ ตือ ตุ ตู บะ บา บิ บี บึ บือ บุ บู (ครใู ห้ความรเู้ รื่อง อ เคียง ในคาสระอือ) -๘๖-

ขน้ั ที่ ๕ การเขียนสะกดคา ในแม่ ก กา จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นสามารถเขียนคาในแม่ ก กา ได้ กจิ กรรม ๑. การสะกดคาเพ่ือเขียน เป็นการสะกดคาเพื่อเขยี นคาให้ถูกต้อง โดยบอกตวั อกั ษรเรียงตาม รปู ตัวอกั ษรทีป่ ระกอบกนั เปน็ คานนั้ เช่น คาวา่ ฉายา เขยี นสะกดคา (บอกเรียงตวั อักษรเพอ่ื การเขียน) วา่ ฉอฉง่ิ สระอา ยอยักษ์ สระอา มะเขือ เขียนสะกดคา มอมา้ สระอะ สระเอ ขอไข่ สระอือ อออา่ ง ดเู บา เขียนสะกดคา ดอเด็ก สระอู สระเอ ขอไข่ สระอา การสอนสะกดคาเพ่ือเขียนสาหรับนักเรียนที่อายุ ๖ - ๗ ปี หรือประถมศึกษาตอนต้นน้ี ครูสามารถสอนให้นักเรียนเขียน “ตัวอักษร” ทีละตัว เรียงตามลาดับไปได้ เพื่อไม่ให้เกิดความสับสน และเมือ่ เขียนคาเสร็จแล้ว ใหน้ กั เรยี นอา่ นคาดงั กลา่ วอีกทีหนงึ่ กรณที น่ี กั เรียนจดจารูปและตาแหน่งของสระในคาได้แมน่ ยาแล้ว ครูสามารถสอนให้นักเรียน เขยี นสะกดคาแบบเดยี วกับการสะกดคาเพ่ืออา่ นได้ ๒. ครูนาเสนอคาท่ีหลากหลายหรือคาท่ีเห็นในชีวิตประจาวันมาฝึกเขียนสะกดคา เพ่ือให้ นักเรียนคนุ้ เคยกับสว่ นประกอบของคาและสามารถอ่านเรียงตัวอักษรของคาได้ถูกต้อง และนาไปสู่การเขียนคา ท่ีถูกต้อง การเขียนสะกดคาจะเป็นประโยชน์สาหรับนักเรียนในเร่ืองการวางตาแหน่งของพยัญชนะต้น และการวางตาแหนง่ สระ เปน็ การทบทวนการวางตาแหนง่ ของตัวอักษรของคาอีกวิธีหนึ่ง การจัดกิจกรรม การเขยี นสะกดคาควรจดั ทกุ ครัง้ หลงั จากฝกึ การอ่านสะกดคาและแจกลูกคาเปน็ การย้า ซ้า ทวน การอ่านคา ข้ันที่ ๖ การฝกึ อ่านและเขียนโดยใชก้ ารแจกลูกสะกดคา จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ เพอ่ื ให้นกั เรยี นเกิดความเขา้ ใจและเกิดทักษะในการอา่ นคา ในแม่ ก กา กจิ กรรม การสอนแจกลูกสะกดคา และการเขยี นสะกดคาเพ่ิมเติมในขั้นนี้ เป็นการฝึกเพื่อให้นักเรียนอ่าน และเขียนคาท่ีสะกดด้วยสระที่มีตัวอักษรมากกว่า ๑ ตัว เช่น สระ เ-ะ สระ เ- ยี เพ่ือให้อ่านและเขียน ไดค้ ลอ่ งข้นึ ๑. ครูใช้บัตรสระ เช่น เ - ะ แล้วให้บอกว่า ในบัตรคาน้ีประกอบด้วยสระอะไรบ้าง เม่ือบอกรูปสระทุกตัวแล้ว ครูแนะนาว่าสระรูปน้ีประกอบด้วยรูปสระหลายรูปออกเสียงว่า สระเอะ ให้นักเรยี นออกเสียงสระตามครู เสยี งดงั และชัดเจน ๒. ครูนาพยญั ชนะต้นมาประสมกบั สระเอะ แล้วให้นักเรียนฝึกอา่ น พยญั ชนะต้น ก ต จ ข ส ผ ช พ ฟ เกะ เตะ เจะ เขะ เสะ เผะ เชะ เพะ เฟะ -๘๗-

๓. เมือ่ ครูเห็นวา่ นกั เรียนอ่านไดแ้ ล้ว ใหน้ ักเรยี นชว่ ยกนั แยกส่วนประกอบของโครงสร้างคา และสะกดคา พรอ้ มอา่ นแจกลูก เช่น เกะ พยญั ชนะตน้ กอ สระเอะ สะกดว่า กอ - เอะ เกะ เตะ พยัญชนะตน้ ตอ สระเอะ สะกดว่า ตอ - เอะ เตะ เจะ พยัญชนะต้น จอ สระเอะ สะกดวา่ จอ - เอะ เจะ เขะ พยญั ชนะต้น ขอ สระเอะ สะกดวา่ ขอ - เอะ เขะ เสะ พยญั ชนะตน้ สอ สระเอะ สะกดว่า สอ - เอะ เสะ เผะ พยัญชนะต้น ผอ สระเอะ สะกดวา่ ผอ - เอะ เผะ เชะ พยัญชนะต้น ชอ สระเอะ สะกดวา่ ชอ - เอะ เชะ เพะ พยัญชนะตน้ ออ สระเอะ สะกดว่า พอ - เอะ เพะ เฟะ พยญั ชนะต้น ฟอ สระเอะ สะกดว่า ฟอ - เอะ เฟะ ๔. เมื่อนักเรียนสะกดคาเพ่ืออ่านได้แล้ว ให้นักเรียนอ่านคาโดยใช้การแจกลูกแบบสระคงท่ี พยัญชนะต้นเปล่ียนไป (สระเป็นแม่ แจกไปลูกพยัญชนะ) ดังนี้ เกะ เตะ เจะ เขะ เสะ เผะ เชะ เพะ เฟะ ๕. เมื่อนักเรียนอ่านแจกลูกสะกดคาได้แล้ว ครูให้นักเรียนสังเกตคาท่ีกาหนดว่าแต่ละคาประกอบด้วย อกั ษรใดบ้าง โดยให้อ่านเรียงตัวอักษร ดงั น้ี มะระ เขียนสะกดคา มอม้า สระอะ รอเรือ สระอะ ฝาชี เขียนสะกดคา ฝอฝา สระอา ชอช้าง สระอี มชี า เขยี นสะกดคา มอมา้ สระอี ชอช้าง สระอา -๘๘-