การอา่ นสะกดคาทม่ี ีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา เป็นการอ่านออกเสียงตัวอักษรท่ีประกอบกันเป็นคา โดยให้เด็กรู้จักเสียงตัวสะกดของคา ซึ่งออกเสยี งพยัญชนะต้น สระ ตวั สะกด และวรรณยกุ ต์ ตามลาดบั เช่น กรณีเป็นคาพยางคเ์ ดยี วใหอ้ ่านสะกดคา ดงั นี้ เขต แบบท่ี ๑ ขอ - เอ - ตอ เขด แบบที่ ๒ ขอ - เอ - เข - เข - ตอ เขด บาป แบบท่ี ๑ บอ - อา - ปอ บาบ แบบที่ ๒ บอ - อา - บา - บา - ปอ บาบ เลข แบบที่ ๑ ลอ - เอ - ขอ เลก แบบท่ี ๒ ลอ - เอ - เล - เล - ขอ เลก ถ้าใช้ ย แทน ญ ในการอ่านสะกดคา จะทาให้สบั สนกบั แมเ่ กยได้ จงึ คงรปู พยัญชนะ ญ ไว้ เชิญ แบบที่ ๑ ชอ - เออ - ญอ เชนิ แบบที่ ๒ ชอ - เออ - เชอ - เชอ - ญอ เชนิ กรณเี ปน็ คาที่มมี ากกวา่ ๑ พยางค์ให้อา่ นสะกดคา ดังน้ี สุนัข แบบที่ ๑ สอ - อุ สุ นอ - อะ - ขอ นกั / สุ - นกั แบบที่ ๒ สอ - อุ สุ นอ - อะ - นะ - นะ - ขอ นัก / สุ - นัก เคารพ แบบท่ี ๑ คอ - เอา เคา รอ - โอะ - พอ รบ / เคา - รบ แบบที่ ๒ คอ - เอา เคา รอ - โอะ - โระ - โระ - พอ รบ / เคา - รบ อาหาร แบบที่ ๑ ออ - อา อา หอ - อา - รอ หาน / อา - หาน แบบที่ ๒ ออ - อา อา หอ - อา - หา - หา - รอ หาน /อา - หาน โอกาส แบบท่ี ๑ ออ - โอ โอ กอ - อา - สอ กาด / โอ - กาด แบบท่ี ๒ ออ - โอ โอ กอ - อา - กา - กา - สอ กาด / โอ - กาด การเขียนสะกดคาทม่ี ีตวั สะกดไม่ตรงตามมาตรา เป็นการเขียนสะกดคาให้ถูกต้อง จะสะกดคาตามรูปตัวอักษรท่ีประกอบกันเป็นคา โดยสะกด เรยี งจากรูปตัวอกั ษรท่ีปรากฏอยู่ในคานนั้ ๆ ซงึ่ แตกตา่ งจากการอ่านสะกดคา เช่น กรณเี ปน็ คาพยางค์เดียวให้เขียนสะกดคา ดังน้ี เลข เขียนสะกดว่า สระเอ - ลอ ลงิ - ขอ ไข่ บาป เขยี นสะกดวา่ บอ ใบไม้ - สระอา - ปอ ปลา เชิญ เขยี นสะกดวา่ สระเอ - ชอ ชา้ ง - สระอิ - ญอ หญงิ เขต เขยี นสะกดว่า สระเอ - ขอ ไข่ - ตอ เต่า
กรณเี ป็นคาทม่ี มี ากกว่า ๑ พยางค์ใหเ้ ขยี นสะกดคา ดังนี้ สุนัข เขยี นสะกดวา่ สอ เสือ สระอุ นอ หนู ไม้หนั อากาศ ขอ ไข่ เคารพ เขียนสะกดว่า สระเอ คอ ควาย สระอา รอ เรือ พอ พาน อาหาร เขยี นสะกดวา่ ออ อา่ ง สระอา หอ หบี สระอา รอ เรือ โอกาส เขียนสะกดว่า สระโอ ออ อา่ ง กอ ไก่ สระอา สอ เสอื หมายเหตุ ความแตกต่างระหว่างการอ่านสะกดคากบั การเขียนสะกดคา มดี งั ตอ่ ไปนี้ การอา่ นสะกดคา เนน้ ท่ีเสยี งตัวอักษรของพยัญชนะ สระ ตัวสะกด และวรรณยุกต์ ที่ประกอบกัน เป็นคา การเขยี นสะกดคา เน้นเรียงตามรปู ตัวอกั ษรของพยญั ชนะ สระ ตัวสะกด และวรรณยุกต์ ท่ีประกอบกัน เป็นคานั้น
ส่วนที่ ๒ แนวทางการจดั การเรียนรู้ การแจกลูกสะกดคาท่ีมีตวั สะกดไม่ตรงตามมาตรา มขี ัน้ ตอนการจดั การเรียนรู้ ดังน้ี ขัน้ ที่ ๑ ขน้ั นา (แนะนาตัวสะกด) ๑. เชื่อมโยงความรู้คาท่ีมีตัวสะกดตรงตามมาตรากับคาท่ีมีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา โดยครู เขียนคาที่มีตัวสะกดตรงตามมาตรา โดยให้นักเรียนอ่านออกเสียงคาพร้อมกันเป็นการทบทวนเสียง ตัวสะกดท่ีตรงมาตรา เชื่อมโยงไปยังตัวสะกดที่ไม่ตรงมาตรา โดยอธิบายกับนักเรียนว่า นอกจาก พยัญชนะทเี่ ป็นตัวสะกดแล้ว ยังมีพยัญชนะอื่นทน่ี ามาสะกดแล้วออกเสยี งเหมือนตัวสะกดเดียวกนั ๒. ครูนาคาในมาตราทมี่ ตี ัวสะกดไม่ตรงตามมาตราใหน้ กั เรียนเหน็ รูปคาและอา่ นออกเสียง โดยอธิบายเสียงพยัญชนะทเี่ ปน็ ตวั สะกด ๓. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจถึงตัวสะกดท่ีออกเสียงเหมือนพยัญชนะที่สะกดตรงตามมาตรา เช่น มาตราในแม่กด มี “ด” สะกด จากคาต่าง ๆ โดยใช้คาที่นักเรียนพบเห็นในชีวิตประจาวัน เช่น รถ รส ตรวจ เปน็ ตน้ หลังจากนน้ั ครูอาจใหน้ ักเรยี นช่วยกนั คน้ หาคาท่มี ีอา่ นออกเสยี งเหมอื น “ด” สะกด มาให้ไดม้ ากทส่ี ดุ แลว้ นามาจัดหมวดหมู่ตามตัวสะกด ๔. ครูตรวจสอบจนแน่ใจว่านักเรียนรู้จักคาตัวสะกดท่ีไม่ตรงตามมาตราถูกต้องหรือไม่ ทั้งนี้ อาจไมจ่ าเป็นต้องครบถว้ นทุกตัว แต่อาจเป็นตัวสะกดทใ่ี ช้บอ่ ย พบในคาจานวนมาก หรอื คาในบญั ชคี าพืน้ ฐาน เชน่ จ ช ต ท ธ เป็นต้น เนือ่ งจากตวั สะกดบางตวั มีคาทพ่ี บน้อยมาก เชน่ ซ ฐ เปน็ ตน้ ขนั้ ที่ ๒ ข้ันสอนกำรสะกดเพื่ออำ่ นคำ ๑. ครูเขียนคาในมาตราท่ีมีตัวสะกดไม่ตรงมาตราลงบนกระดานดา แล้วอ่านออกเสียงจนแน่ใจ วา่ นักเรียนอ่านถูกต้อง ๒. ครูเขียนคาอ่านของคาที่มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตราให้นักเรียนอ่านสะกดคาและอ่านคา พร้อมอธบิ ายให้เห็นการเชือ่ มโยงระหว่างตัวสะกดและคาอา่ น เชน่ เลข สะกดว่า ลอ เอ ขอ เลก ภาพ สะกดว่า ภอ อา พอ พาบ ๓. ครนู าคาทม่ี ีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตราให้นักเรียนอ่านออกเสียงคา จนแน่ใจว่านักเรียนอ่าน ถกู ตอ้ งทกุ คา เมือ่ พบว่ามนี กั เรยี นอ่านสะกดคาไม่ถกู ต้อง ครูตอ้ งแก้ไขทนั ที ขน้ั ท่ี ๓ ขั้นสอนสะกดเพ่ือเขยี นคา ๑. ให้นักเรียนเขียนสะกดคาที่มีตัวสะกดไม่ตรงมาตรา อาจแข่งขันเป็นกลุ่มหรือเด่ียว โดยใช้คา ตามระดับชั้นโดยตรวจสอบจากบญั ชคี าพืน้ ฐาน หรือหนังสือเรยี น ๒. ครูตรวจสอบความถูกต้องจนแน่ใจว่านักเรียนเขียนสะกดคาได้ถูกต้องทุกคน เมื่อพบว่ามี นกั เรียนเขยี นสะกดคาไม่ถูกตอ้ งครูต้องแกไ้ ขทนั ที
ขนั้ ท่ี ๔ ขนั้ สรปุ (ฝึกทกั ษะ) ขั้นตอนนี้ครูอาจใช้กิจกรรม แบบฝึกทักษะ โดยให้อ่านเป็นประโยคและเรื่องราวที่เหมาะสมกับ วัยและความสามารถของนักเรียนอย่างหลากหลาย เพ่ือฝึกทักษะการอ่านและเขียนคาจนแน่ใจว่า นกั เรยี นอา่ นและเขียนคาไดอ้ ยา่ งถกู ต้องคล่องแคล่ว ขอ้ เสนอแนะ ๑. ครูควรจัดกิจกรรมตามลาดับข้ันตอน ได้แก่ ข้ันรู้จักตัวสะกด ข้ันเช่ือมโยงเสียงตัวสะกด ข้ันอ่านสะกดคาและอ่านคา ข้ันเขียนสะกดคาและเขียนคา โดยไม่รีบร้อนและไม่ข้ามขั้นตอน จนแน่ใจว่า นกั เรียนประสบผลสาเรจ็ ตามขน้ั ตอน แลว้ จึงฝกึ ทักษะใหเ้ กดิ ความคลอ่ งแคล่วในการอา่ นและเขยี นคา ๒. การสอนแต่ละขั้นตอนครูควรหากิจกรรมที่สนุกสนาน ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรม สร้างแรงจูงใจให้นักเรียนอยากเรียน เหมาะสมกับวัยและสถานการณ์ของการเรียนรู้ เช่น การใช้เกม เพลง กิจกรรมตา่ ง ๆ ควรหลีกเลย่ี งการสอนทใี่ หน้ กั เรียนเปน็ ผูฟ้ ังหรอื ผรู้ บั ความรู้เพียงฝา่ ยเดียว ๓. ครูควรจัดกิจกรรมที่ทาให้นักเรียนเกิดความชัดเจนระหว่างเสียงตัวสะกดกับรูปตัวสะกด เช่น การทาซ้า การเขียนคาอ่าน การใช้รูปคา เป็นต้น เน่ืองจากคาที่มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตราเป็น คาที่ไม่ใช่คาไทยแท้ แต่เป็นคาท่ีมาจากภาษาอ่ืน จึงมีความแตกต่างระหว่างเสียงท้ายคากับรูปคา เช่น คาวา่ “สขุ ” อา่ นออกเสยี ง “ก” เปน็ ตวั สะกด แต่ใช้ “ข” ในการเขียนเปน็ ตวั สะกด หากพบว่านักเรียน บางคนยงั ไมเ่ ข้าใจ ครคู วรใส่ใจดูแลเปน็ พิเศษและตอ้ งทาให้นกั เรียนเขา้ ใจความหมายของคาน้นั ๆ ๔. การใช้แบบฝึกทักษะหรือกิจกรรมฝึกทักษะท่ีมีอยู่อย่างหลากหลาย ครูควรเลือกและประยุกต์ใช้ อย่างเหมาะสม โดยเลอื กให้สอดคลอ้ งกับขน้ั ตอนการสอน สภาพปัญหาและความตอ้ งการในการฝกึ ทกั ษะ ๕. ครูควรตรวจงานที่ครูมอบหมายให้นักเรียนได้ฝึกทักษะ และมีการแก้ไขให้นักเรียนปฏิบัติได้ ถูกตอ้ งทกุ คร้ังเมือ่ พบวา่ นักเรียนปฏิบตั ไิ ม่ถกู ตอ้ ง ๖. สาหรับเวลาในการจัดกิจกรรมแตล่ ะข้นั ตอน ครูผ้สู อนอาจปรับเปล่ยี นเวลาตามความเหมาะสม
ตัวอยา่ งการนาแนวทางการจัดการเรยี นรไู้ ปใช้ในหอ้ งเรียน หน่วยท่ี ๘ การแจกลูกสะกดคาทมี่ ตี วั สะกดไม่ตรงมาตรา จดุ ประสงค์ของการจดั การเรียนรู้ (๔ ช่ัวโมง) เพอ่ื ใหน้ ักเรียนอ่านและเขยี นคาที่มตี วั สะกดไมต่ รงตามมาตราได้ แนวการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๑ การอา่ นเขียนสะกดคาที่มตี วั สะกดไม่ตรงตามมาตราในแมก่ ก (๑ ชว่ั โมง) แนวการจัดการเรียนรู้ท่ี ๒ การอ่านเขียนสะกดคาที่มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตราในแม่กบ (๑ ชั่วโมง) แนวการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๓ การอา่ นเขียนสะกดคาท่ีมีตัวสะกดไมต่ รงตามมาตราในแมก่ บ (๑ ช่วั โมง) แนวการจดั การเรยี นรูท้ ี่ ๔ การอ่านเขยี นสะกดคาท่มี ตี วั สะกดไม่ตรงตามมาตราในแมก่ น (๑ ชว่ั โมง) แนวกำรจดั กำรเรียนรู้ ที่ ๑ (๑ ช่ัวโมง) การอ่านเขียนสะกดคาที่มตี ัวสะกดไมต่ รงตามมาตราในแม่กก จดุ ประสงค์กำรเรียนรู้ อ่านและเขียนคาท่ีมตี ัวสะกดไมต่ รงมาตราในแมก่ ก ได้ ขนั้ ตอนกำรจดั กำรเรยี นรู้ ๑. ข้ันนำ (แนะนำตวั สะกด) ๑.๑ เชื่อมโยงความรู้เร่ืองคาที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราตัวสะกดในแม่กก โดยครูเขียนคา แผนภูมิ หรือบัตรคา คาที่มีตัวสะกดแม่กกตรงมาตรา เช่น สุก นาก จิก เสก บนกระดานดา ให้นักเรียนอ่านออกเสียงคาพร้อมกัน เป็นการทบทวนเสียงตัวสะกดในแม่กก เช่ือมโยงไปยังตัวสะกด ท่ีไม่ตรงมาตรา โดยอธิบายว่า พยัญชนะตัว ก เป็นตัวสะกดแล้ว ยังมีพยัญชนะอีก ๓ ตัว ท่ีออกเสียง เหมอื น ก เป็นตัวสะกด ไดแ้ ก่ ข ค ฆ ๑.๒ ครูเขยี นคาท่มี ี ข ค ฆ เปน็ ตัวสะกดบนกระดานดา เช่น สขุ นาค เลข โชค ภาค เมฆ ครู อ่านให้นักเรียนฟัง และใหน้ ักเรียนอา่ นออกเสยี งพรอ้ มกนั ๒. ข้ันสอนกำรสะกดเพ่ืออ่ำนคำ ๒.๑ ครูนาบัตรคาหรือเขียนคาว่า นาก และ นาค ให้นักเรียนสังเกตและบอกความแตกต่าง โดยครใู ชค้ าถามนา เพื่อใหน้ กั เรียนตอบคาถาม เช่น นาก และ นาค เขยี นเหมือนกันหรือไม่ แตกต่างกันอย่างไร นาก และ นาค อา่ นออกเสียงเหมอื นกนั หรือไม่ เพราะอะไร นาก หมายถงึ อะไร และ นาค หมายถงึ อะไร ๒.๒ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความแตกต่างของคาท้ังสองคา เช่น ตัวอย่างการสรุป คือ “นาก” หมายถึง โลหะผสมชนิดหนงึ่ โดยเอาทองคา เงิน กบั ทองแดงผสมเข้าด้วยกัน นิยมใช้ทารูปพรรณต่าง ๆ หรือชื่อสัตว์เล้ียงลูกด้วยนม ขนลาตัวสีน้าตาลอมเทามี ๒ ชั้น ชั้นในละเอียด ชั้นนอกหยาบ หัวกว้าง และแบน ระหว่างนิ้วมีแผ่นพังผืดขึงอยู่คล้ายตีนเป็ดหางแบน ขาหลังใหญ่และแข็งแรงกว่า ขาหน้า
ใช้ว่ายน้าร่วมกับหาง ไล่จับปลาและสัตว์น้าเล็ก ๆ ครูอาจนาของจริงมาให้นักเรียนดู และ “นาค” หมายถงึ คนที่เตรียมบวช ๒.3 ครูนาบัตรคา คาว่า “สุข” ให้นักเรียนอ่านออกเสียงและอ่านสะกดคา และยกตัวอย่างคาอื่น ๆ เพมิ่ เติมอกี เช่น มาก เลข นาค เมฆ แล้วให้นกั เรยี นอา่ นและสะกดคา สุข สะกดว่า สอ - อุ - ขอ สกุ เลข สะกดวา่ ลอ - เอ - ขอ เลก มาก สะกดวา่ มอ - อา - กอ มาก นาค สะกดว่า นอ - อา - คอ นาก เมฆ สะกดว่า มอ - เอ - ฆอ เมก ๒.4 ให้นักเรียนสังเกตคาท่ีอ่านว่า แต่ละคามีพยัญชนะตัวใดเป็นตัวสะกด เช่น สุข เลข มี ข เป็นตวั สะกด มาก มี ก เป็นตัวสะกด นาค มี ค เป็นตัวสะกด และเมฆ มี ฆ เป็นตวั สะกด 2.๕ ร่วมกันสรุป “คาที่มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตราในแม่กก” คือ คาท่ีมี ข ค ฆ เป็นตัวสะกด แตอ่ อกเสยี ง ก ๒.๖ ครใู ห้นกั เรียนฝึกอ่านและเขียนคาทีม่ ตี ัวสะกดไมต่ รงตามมาตราในแม่กกจากแบบฝกึ ที่ ๑ ๓. ข้ันสอนกำรสะกดเพ่ือเขียนคำ ครใู ห้นักเรยี นเขยี นตามคาบอกคาที่มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตราในแม่กก ลงในสมุดงานของนักเรียน โดยครูอ่านออกเสียงคาให้ถูกต้องและชัดเจน คาละ 2 คร้ัง แล้วให้นักเรียนเขียนลงในสมุด จานวน 10 คา คือ สขุ เลข ประมุข โชค ภาค เทคนคิ วิหค นาค บรจิ าค เมฆ ๔. ขัน้ สรุป (ฝึกทกั ษะ) ครูให้นักเรียนฝึกอ่านคาจากแบบฝึกหัดที่ ๒ หลังจากนั้น ให้นักเรียนอ่านให้ครูฟังเป็น รายบุคคล โดยเลือกอ่านคาคร้ังละ ๕ คา ขณะท่ีนักเรียนอ่าน ครูบันทึกข้อมูลการอ่านลงในแบบบันทึก นอกจากนี้ครูอาจใชแ้ บบฝกึ หดั ทเี่ หมาะสมกบั วัยและความสามารถของนกั เรียนได้อย่างหลากหลายเพื่อฝึก ทักษะ การอ่านและเขียนคา จนแน่ใจว่านักเรียนอ่านและเขียนคาได้อย่างถูกต้องคล่องแคล่วตามแบบฝึกท่ี ๒ สอื่ กำรสอน ๑. บัตรคา ๒. แบบฝึก กำรวดั และประเมนิ ผล ๑. การสังเกตการรว่ มกิจกรรม ๒. การตรวจแบบฝึก
แบบฝึกท่ี ๑ กำรอ่ำนคำท่มี ีตวั สะกดไมต่ รงตำมมำตรำในแมก่ ก คำชีแ้ จง ให้นักเรียนอา่ นคาที่มีตวั สะกดไม่ตรงมาตราในแมก่ ก 1. เลข 2. นาค 3. สนุ ัข 4. สุข 5. โชค 6. โรค 7. ภาค 8. วหิ ค 9. เมฆ 10. โชค
แบบบันทึกผลการอา่ นคาที่มีตวั สะกดไม่ตรงตามมาตราในแม่กก ข้อที่ ผลการ รวม ประเมิน ที่ ช่อื -สกลุ คะแนน* ไม่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ผา่ น ผ่าน คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บนั ทึกคะแนนของนักเรียนเปน็ รายขอ้ เพื่อให้รู้ว่านกั เรียนมีขอ้ บกพรอ่ งใด สาหรบั นาไปใช้ในการปรับปรุงและพฒั นา นักเรียน ๒. วธิ กี ารบันทึก ถา้ ทาถูกตอ้ งให้ใสเ่ คร่ืองหมาย ถ้าทาผิดให้ใหใ้ สเ่ ครอื่ งหมาย X (เครอื่ งหมาย เทา่ กับ ๑ คะแนน เคร่ืองหมาย X เท่ากับ ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพ่อื ประโยชนใ์ นการวินจิ ฉัยขอ้ บกพร่องของนกั เรียนเป็นรายบคุ คล และนาไปใช้ในการปรบั ปรุงและ พัฒนานักเรียนเป็นรายบคุ คล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพอื่ ประโยชน์ในการวินิจฉยั วา่ ข้อบกพรอ่ งของนกั เรยี นในภาพรวมของชัน้ เรยี น เพื่อนาไปใชใ้ นการ ปรับปรุงและพฒั นาการจดั การเรียนการสอน ๕. นักเรียนตอ้ งได้คะแนนรอ้ ยละ ๘๐ ข้ึนไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณที ่ีนกั เรียนไมผ่ า่ นเกณฑ์ ครผู สู้ อนต้องฝึกจนนักเรยี นอา่ น ได้
แบบฝึกท่ี ๒ กำรเขยี นคำท่ีมีตัวสะกดไมต่ รงตำมมำตรำในแม่กก คำชแ้ี จง ให้นกั เรยี นฟังคาท่ีครูบอก คาละ ๒ ครัง้ แล้วเขียนสะกดคาโดยใชก้ ารเขียนแบบเรียงตัวอักษร คำที่ให้เขยี น ๑. เลข 2. นาค 3. สนุ ขั 4. สขุ 5. โชค 6. โรค 7. ภาค 8. วิหค 9. เมฆ 10. ประมขุ เฉลยคำตอบ คำว่ำ ข้อที่ เขยี นสะกดว่ำ 1. สระเอ ลอ ลิง ขอ ไข่ ๒. นอ หนู สระอา คอ ควาย ๓. สอ เสอื สระอุ นอ หนู ไมห้ ันอากาศ ขอ ไข่ ๔. สอ เสอื สระอุ ขอ ไข่ ๕. สระโอ ชอ ช้าง คอ ควาย ๖. สระโอ รอ เรือ คอ ควาย ๗. ภอ สาเภา - สระอา - คอ ควาย ๘. วอ แหวน - สระอิ - หอ หบี - คอ ควาย ๙. สระเอ - มอ ม้า - ฆอ ระฆัง ๑๐. ปอ ปลา - รอ เรือ - สระอะ - มอ ม้า - สระอุ - ขอ ไข่
แบบบนั ทกึ กำรเขียนคำท ท่ี ช่อื – สกุล ๑๒๓๔๕๖๗ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บันทกึ คะแนนของนักเรยี นเป็นรายขอ้ เพ่ือใหร้ ูว้ า่ นักเรยี นมขี อ้ บกพร่องใด สาหรับนาไปใช้ใน ๒. วิธีการบนั ทึก ถา้ ทาถกู ตอ้ งให้ใส่เคร่อื งหมาย ถ้าทาผิดให้ให้ใสเ่ คร่ืองหมาย X (เครื่องหมาย ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพอื่ ประโยชนใ์ นการวินิจฉัยขอ้ บกพรอ่ งของนักเรยี นเป็นรายบคุ คล และนาไปใ ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพือ่ ประโยชน์ในการวินจิ ฉัยว่าข้อบกพร่องของนักเรยี นในภาพรวมของชั้นเรีย ๕. นักเรียนตอ้ งไดค้ ะแนนร้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป จงึ จะผ่านเกณฑ์ กรณที ี่นกั เรียนไม่ผา่ นเกณฑ์ ครูผสู้ อ
ที่มตี ัวสะกดในแม่กก ขอ้ ท่ี รวม ผลการประเมนิ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ คะแนน* ผ่าน ไม่ผ่าน นการปรับปรุงและพฒั นานักเรยี น เท่ากับ ๑ คะแนน เคร่อื งหมาย X เท่ากับ ๐ คะแนน) ใช้ในการปรบั ปรงุ และพัฒนานักเรียนเปน็ รายบุคคล ยน เพอ่ื นาไปใช้ในการปรับปรงุ และพฒั นาการจดั การเรยี นการสอน อนตอ้ งฝึกจนนักเรยี นอ่านได้
แนวกำรจดั กำรเรยี นร้ทู ่ี 2 (๑ ช่ัวโมง) การอ่านเขยี นสะกดคาท่ีมตี วั สะกดไมต่ รงตามมาตราในแม่ กบ จดุ ประสงค์กำรเรยี นรู้ อา่ นและเขยี นคาท่มี ตี วั สะกดไมต่ รงมาตราในแม่ กบ ได้ ข้นั ตอนกำรจดั กำรเรียนรู้ ๑. ขั้นนำ (แนะนำตัวสะกด ) ๑.๑ เชื่อมโยงและทบทวนก่อนเร่ิมต้นจัดกิจกรรมเรียนรู้เรื่องใหม่ เสนอแนะให้ครูมีการตรวจ แก้ไขผลงานนักเรียนของนักเรียนจากชั่วโมงที่ผ่านมา เพราะการตรวจแก้ไขผลงานหรือการบ้านของ นักเรียน เป็นส่ิงสาคัญและจาเป็นอย่างย่ิงในการปลูกฝังอุปนิสัยที่ดีแก่นักเรียนในด้านความรับผิดชอบ และความใส่ใจตอ่ สิ่งทนี่ ักเรยี นได้เรยี นรูไ้ ปแล้ว รวมทั้งเป็นการตรวจสอบว่า นักเรียนเข้าใจเน้ือหาหรือส่ิงที่ เรียนรู้หรือไม่ อยา่ งไร ๑.๒ เช่ือมโยงความรู้คาที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราในแม่กบ โดยครูเขียนคาท่ีมีตัวสะกดตรงมาตรา เช่น ทาบ แบบ โอบ บนกระดานดา ให้นักเรียนอ่านออกเสียงคาพร้อมกัน เป็นการทบทวนเสียงตัวสะกด ในแม่กบ เช่ือมโยงไปยังตัวสะกดที่ไม่ตรงมาตรา โดยอธิบายให้กับนักเรียนว่านอกจากพยัญชนะตัว บ เป็นตวั สะกดแล้ว ยังมพี ยัญชนะอีก ๔ ตัว ทอี่ อกเสียงเหมอื น บ เปน็ ตวั สะกด ได้แก่ ป พ ฟ ภ ๑.๓ ครูเขยี นคา/บตั รคา ท่ีมี ป พ ฟ ภ เป็นตัวสะกดบนกระดานดา เช่น สรุป ยุโรป ภาพ เคารพ ยรี าฟ ลาภ ครอู ่านใหน้ ักเรียนฟงั และใหน้ กั เรยี นอ่านออกเสียงพรอ้ มกนั ๒. ขั้นสอนกำรสะกดเพ่ืออำ่ นคำ ๒.1 ครนู าบัตรคา คาวา่ “ลาภ” ให้นกั เรียนอา่ นออกเสยี งและอา่ นสะกดคา และยกตัวอย่างคาอ่ืน ๆ เพม่ิ เติมอกี เช่น ธปู ภาพ กาบ แล้วใหน้ ักเรียนอ่านและสะกดคา ลาภ สะกดว่า ลอ - อา - ภอ ลาบ ธูป สะกดว่า ธอ - อู - ปอ ทบู กาบ สะกดว่า กอ - อา - บอ กาบ ๒.๒ ให้นักเรียนสังเกตคาท่ีอ่าน ว่าแต่ละคามีพยัญชนะตัวใดเป็นตัวสะกด เช่น ลาภ มี ภ เปน็ ตัวสะกด ธูป มี ป เปน็ ตัวสะกด และกาบ มี บ เป็นตวั สะกด 2.๓ ร่วมกันสรุป “คาท่ีมีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตราในแม่กบ” คือ คาท่ีมี พ ฟ ภ ป เป็น ตัวสะกดแตอ่ อกเสียง บ ๒.๔ ครูให้นักเรียนฝึกอ่านและเขียนคาท่ีมีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตราในแม่กบ แล้วเลือกและ เขยี นคา โดยแยกตามตวั สะกด ป พ ฟ ภ ตามแบบฝึกหัดท่ี 1
๓. ข้นั สอนสะกดเพ่อื เขียนคำ ให้นักเรียนฝึกเขียนคาท่ีมีตัวสะกดไม่ตรงมาตรา โดยครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม ตามความเหมาะสม หลังจากนั้นครูให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมาคร้ังละ ๑ คน เพ่ือเขียนคาที่มี ตัวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรงมาตราในแม่ กบ ตามที่ครูบอก เมื่อนักเรียนเขียนเสร็จ ๑ คา ครู ตรวจสอบความถกู ต้องและใหค้ ะแนนทันที ถา้ พบว่ากลมุ่ ไหนเขียนผดิ ใหแ้ ก้ไขทันที ๔. ข้นั สรปุ (ฝกึ ทักษะ) ครูให้นักเรียนฝึกอ่านคาจากแบบฝึกหัดท่ี ๒ หลังจากน้ัน ให้นักเรียนอ่านให้ครูฟัง เป็นรายบุคคล เลือกอ่านคาครั้งละ ๕ คา ขณะที่นักเรียนอ่านครูบันทึกข้อมูลการอ่านลงในแบบบันทึก นอกจากน้ี ครูอาจใช้แบบฝึกหัดที่เหมาะสมกับวัยและความสามารถของนักเรียนได้อย่างหลากหลาย เพ่ือฝึกทกั ษะการอ่านและเขยี นคา จนแนใ่ จวา่ นักเรียนอ่านและเขียนคาได้อย่างถกู ต้องคล่องแคล่ว สอ่ื กำรสอน ๑. แผนภมู กิ ารอ่านคาทม่ี ตี ัวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรงมาตราในแม่ กบ ( ป พ ฟ ภ) ๒. บัตรคา ๓. แบบฝกึ กำรวดั และประเมนิ ผล ๑. การสงั เกตการรว่ มกิจกรรม ๒. การตรวจแบบฝกึ
แบบฝกึ ที่ 1 กำรอำ่ นคำทีม่ ตี ัวสะกดไม่ตรงตำมมำตรำในแม่กบ คำชีแ้ จง ใหน้ ักเรยี นอา่ นสะกดคาทมี่ ีตัวสะกดไมต่ รงตามมาตราในแมก่ บ 1. ภาพ 2. รูป ๓. บาป ๔. ธูป ๕. โลภ เฉลยคำตอบ สะกดวำ่ ข้อท่ี 1. ภอ - อา - ภอ ภาพ 2. รอ - อู - ปอ รูป 3. บอ - อา - บอ บาป 4. ธอ - อู - ปอ ทปู 5. ลอ – โอ - ภอ โลบ
แบบบนั ทึกแบบฝึกที่ ๑ กำรอ่ำนคำทีม่ ตี วั สะกดไมต่ รงตำมมำตรำในแม่กบ ท่ี ชือ่ -สกุล ข้อท่ี รวม ผลการประเมิน คะแนน* ผ่าน ไมผ่ า่ น คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรยี นเป็นรายข้อ เพ่ือใหร้ ้วู า่ นักเรียนมีขอ้ บกพรอ่ งใด สาหรับนาไปใชใ้ นการปรบั ปรุงและพฒั นา นกั เรียน ๒. วธิ กี ารบนั ทึก ถ้าทาถกู ต้องใหใ้ ส่เครือ่ งหมาย ถา้ ทาผิดใหใ้ ห้ใสเ่ ครื่องหมาย X (เครอ่ื งหมาย เทา่ กบั ๑ คะแนน เคร่อื งหมาย X เท่ากบั ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพอ่ื ประโยชนใ์ นการวนิ จิ ฉยั ขอ้ บกพรอ่ งของนักเรยี นเปน็ รายบุคคล และนาไปใชใ้ นการปรบั ปรุงและ พัฒนานกั เรียนเป็นรายบคุ คล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพื่อประโยชน์ในการวนิ จิ ฉยั วา่ ข้อบกพร่องของนักเรยี นในภาพรวมของชนั้ เรียน เพื่อนาไปใชใ้ นการ ปรับปรงุ และพฒั นาการจดั การเรยี นการสอน ๕. นักเรยี นต้องได้คะแนนรอ้ ยละ ๘๐ ขนึ้ ไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณที ่ีนกั เรยี นไมผ่ า่ นเกณฑ์ ครูผสู้ อนต้องฝึกจนนกั เรยี นอา่ น ได้
แบบฝึกท่ี ๒ กำรเขียนคำที่มีตัวสะกดไมต่ รงตำมมำตรำในแม่กบ คาชแ้ี จง ๑. ใหน้ ักเรียนเขยี นตามคาบอก ใช้เวลา ๕ นาที ๒. ให้ครูอ่านคาให้นักเรียนฟังคาละ ๒ คร้ัง โดยเวน้ เวลาให้นักเรยี นเขียนก่อนบอกคาในข้อตอ่ ไป คำทีใ่ ชเ้ ขียน ๑. บาป ๒. รปู ๓. สุภาพ ๔. ลาภ ๕. เคารพ ๖. อาชพี ๗. โลภ ๘. ยีราฟ ๙. รปู ร่าง ๑๐. ธูป
แบบบนั ทึกแบบฝกึ ที่ ๒ กำรเขยี นคำทมี่ ตี วั สะกดไม่ตรงตำมมำตรำในแม่กบ ข้อที่ ผลการ รวม ประเมิน ท่ี ชือ่ -สกุล คะแนน* ไม่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ผ่าน ผา่ น คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ใหบ้ ันทึกคะแนนของนักเรยี นเป็นรายขอ้ เพื่อใหร้ วู้ ่านกั เรยี นมขี อ้ บกพร่องใด สาหรบั นาไปใช้ในการปรบั ปรงุ และพฒั นา นักเรยี น ๒. วิธีการบันทึก ถ้าทาถกู ต้องให้ใสเ่ ครื่องหมาย ถ้าทาผดิ ให้ให้ใสเ่ ครื่องหมาย X (เครอ่ื งหมาย เท่ากับ ๑ คะแนน เคร่ืองหมาย X เท่ากับ ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพื่อประโยชนใ์ นการวนิ จิ ฉัยขอ้ บกพรอ่ งของนักเรียนเป็นรายบุคคล และนาไปใชใ้ นการปรับปรุงและ พัฒนานกั เรียนเปน็ รายบคุ คล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพอื่ ประโยชนใ์ นการวินิจฉยั วา่ ข้อบกพร่องของนักเรยี นในภาพรวมของชั้นเรยี น เพื่อนาไปใชใ้ นการ ปรับปรงุ และพัฒนาการจดั การเรยี นการสอน ๕. นักเรยี นตอ้ งไดค้ ะแนนรอ้ ยละ ๘๐ ขนึ้ ไป จงึ จะผา่ นเกณฑ์ กรณที น่ี กั เรยี นไม่ผ่านเกณฑ์ ครูผสู้ อนต้องฝกึ จนนักเรยี น เขยี นได้
แนวกำรจดั กำรเรยี นรู้ที่ ๓ (๑ ชั่วโมง) การอา่ นเขยี นสะกดคาท่ีมตี วั สะกดไม่ตรงตามมาตราในแมก่ ด จดุ ประสงคก์ ำรเรยี นรู้ อ่านและเขียนคาทม่ี ตี วั สะกดไมต่ รงมาตราในแมก่ ดได้ ขัน้ ตอนกำรจดั กำรเรียนรู้ ๑. ข้นั นำ (แนะนำตวั สะกด ) ๑.๑ เช่ือมโยงทบทวนก่อนเร่ิมต้นจัดกิจกรรมเรียนรู้เร่ืองใหม่ เสนอแนะให้ครูมีการตรวจแก้ไข ผลงานของนักเรียนจากช่ัวโมงที่ผ่านมา เพราะการตรวจแก้ไขผลงานหรือการบ้านของนักเรียน เป็นส่ิงสาคัญ และจาเป็นอย่างย่ิงในการปลูกฝังอุปนิสัยที่ดีแก่นักเรียนในด้านความรับผิดชอบและความใส่ใจ ต่อสิง่ ที่นกั เรียนได้เรยี นรู้ไปแล้ว รวมทง้ั เป็นการตรวจสอบว่า นักเรียนเข้าใจเนื้อหาหรือสิ่งท่ีเรียนรู้หรือไม่ อย่างไร และครูผู้สอนควรให้การบ้านแต่พอดี และตรวจการบ้านก่อนท่ีจะเรียนรู้เนื้อหาใหม่ เพื่อให้ได้ ขอ้ มูลความสามารถในการอา่ นและเขียนของนักเรยี น สาหรบั การทบทวนในขัน้ น้ี โดยครูเขียนคาท่ีถูกต้อง บนกระดานดา และใหน้ กั เรยี นได้เรยี นรู้ขอ้ บกพร่องพรอ้ มกัน เปน็ การสรุปสิง่ ที่ถูกต้องอกี ครัง้ หน่ึง ๑.๒ เชื่อมโยงความรู้คาที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราในแม่กด โดยครูเขียนคา หรือนาบัตรคาที่มี ตัวสะกดแม่กดตรงมาตรา เช่น กัด ราด สด ติดบนกระดานดา ให้นักเรียนอ่านออกเสียงคาพร้อมกัน เป็นการทบทวนเสียงตัวสะกดในแม่กด เช่ือมโยงไปยังตัวสะกดที่ไม่ตรงมาตราโดยอธิบายกับนักเรียนว่า นอกจากพยัญชนะตวั ด เป็นตัวสะกดแลว้ ยังมพี ยัญชนะอกี ๑๔ ตวั ที่ออกเสียง /ด/ เมื่อเปน็ ตัวสะกด ได้แก่ จ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ต ถ ท ธ ศ ษ ส ๑.๓ ครูนาแผนภูมิคา หรือเขียนคาที่มี จ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ต ถ ท ธ ศ ษ ส เปน็ ตัวสะกด ตดิ บนกระดานดาและอา่ นออกเสยี งพรอ้ มกัน ตวั สะกด คำ ตวั สะกด คำ จ ตารวจ ถ รถ ช เวช ท อุทยาน ซ กาซ ธ ปฏิเสธ ฎ กฎหมาย ศ อากาศ ฏ ปรากฏ ต สงั เกต ฐ ประเสรฐิ * ษ เศษ ฑ ครุฑ* ส โอกาส หมำยเหตุ ให้นักเรียนได้เห็นคาทั้ง ๒ คาน้ี และครูอ่านให้ฟัง โดยยังไม่ต้องสอนการอ่านสะกดคาอักษรนา และคาควบกลา้
๒. ข้นั สอนกำรสะกดเพ่ืออำ่ นคำ ๒.๑ ครูนาคาท่ีนักเรียนเขียนบนกระดานมาแสดงตัวอย่างการอา่ นสะกดคาและอา่ นคา เชน่ โอกาส สะกดวา่ ออ - โอ โอ กอ - อา - สอ กาด โอ - กาด ตารวจ สะกดวา่ ตอ - อา ตา รอ - อวั - จอ หรวด ตา - หรวด อากาศ สะกดวา่ ออ - อา อา กอ - อา - ศอ กาด อา - กาด เศษ สะกดวา่ ศอ - เอ - ษอ เสด ๒.๒ ให้นักเรียนสังเกตคาท่ีอ่านว่า แต่ละคามีพยัญชนะตัวใดเป็นตัวสะกด เช่น ครุฑ มี ฑ เป็นตัวสะกด โอกาส (กาส) มี ส เป็นตัวสะกด สังเกต (เกต) มี ต เป็นตัวสะกด และตารวจ (รวจ) มี จ เป็นตัวสะกด 2.๓ ร่วมกนั สรุป “คาทมี่ ตี วั สะกดไม่ตรงตามมาตราในแม่กด” คือ คาที่มี จ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ต ถ ท ธ ศ ษ ส เป็นตวั สะกดแตอ่ อกเสียง ด ๒.4 ใหน้ ักเรียนฝึกอ่านสะกดคาทีม่ ีตวั สะกดไม่ตรงมาตราในแม่กด จากแบบฝึกหัดท่ี 1 ขณะท่ี นักเรียนทาแบบฝึก ครูควรเดินตรวจสอบความถูกต้องของคาตอบไปด้วย เม่ือพบว่ามีนักเรียนอ่านสะกด คาไม่ถูกตอ้ ง ครูต้องแกไ้ ขทนั ที ๓. ข้นั สอนสะกดเพือ่ เขยี นคำ ๓.๑ ให้นักเรียนฝึกเขียนคาที่มีตัวสะกดไม่ตรงมาตรา โดยครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม ตามความเหมาะสม หลังจากน้ัน ครูให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมาครั้งละ ๑ คน เพื่อเขียนคาตามท่ีครู บอก เมื่อนักเรียนเขียนเสร็จ ๑ คา ครูตรวจสอบความถูกต้องและให้คะแนนทันที ถ้าพบว่ากลุ่มไหน เขยี นผดิ ใหแ้ ก้ไขทนั ที ๓.๒ ครูให้นักเรียนเขียนตามคาบอกคาท่ีมีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตราในแม่กบ ลงในสมุดงาน ของนักเรียน โดยครูอ่านออกเสียงคาให้ถูกต้องและชัดเจน คาละ 2 คร้ัง แล้วให้นักเรียนเขียนลงในสมุด จานวน 10 คา ได้แก่ สัจจะ บวช กาซ กฎ ปรากฏ ประเสรฐิ ครุฑ อโุ บสถ อทุ ยาน โอกาส ๔. ข้นั สรปุ (ฝึกทักษะ) ครูให้นักเรียนฝึกอ่านคาจากแบบฝึกหัดที่ ๒ หลังจากนั้น ให้นักเรียนอ่านให้ครูฟังเป็นรายบุคคล (เลือกอ่านคา คร้ังละ ๕ คา) ขณะท่ีนักเรียนอ่าน ครูบันทึกข้อมูลการอ่านลงในแบบบันทึก นอกจากนี้ ครูอาจใช้แบบฝึกหัดที่เหมาะสมกับวัยและความสามารถของนักเรียนได้อย่างหลากหลายเพ่ือฝึกทักษะ การอ่านและเขยี นคา จนแน่ใจวา่ นักเรียนอ่านและเขียนคาไดอ้ ย่างถูกตอ้ งคลอ่ งแคลว่ สือ่ กำรสอน ๑. แผนภูมกิ ารอา่ นคาทม่ี ตี วั สะกดตรงตามมาตราและไม่ตรงมาตราในแมก่ ด ๒. บัตรคา ๓. แบบฝึกหัดท่ี ๑ - ๒ กำรวัดและประเมินผล ๑. การสังเกตการร่วมกิจกรรม ๒. การตรวจแบบฝึก
แบบฝึกท่ี 1 กำรอำ่ นสะกดคำท่ีมีตวั สะกดไมต่ รงตำมมำตรำในแม่กด คำชแ้ี จง ให้นกั เรียนอ่านสะกดคาท่ีกาหนดให้ โดยใชเ้ วลา 5 นาที ตวั อยา่ ง โอกาส สะกดว่า ออ - โอ โอ กอ - อา - สอ กาด อา่ นวา่ โอ - กาด ๑. เขต ๒. อาวุธ ๓. ปรากฏ ๔. ตารวจ ๕. วิเศษ ๖. บวชชี ๗. สาหัส ๘. อากาศ ๙. โอรส ๑๐. สงั เกต
แบบบนั ทึกท่ี ๑ กำรอำ่ นสะกดคำท่มี ตี วั สะกดไม่ตรงตำมมำตรำในแม่กด ข้อที่ ผลการ รวม ประเมิน ที่ ชือ่ -สกุล คะแนน* ไม่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ผ่าน ผา่ น คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บนั ทกึ คะแนนของนักเรียนเป็นรายข้อ เพื่อใหร้ วู้ า่ นกั เรียนมขี อ้ บกพรอ่ งใด สาหรับนาไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ และพัฒนา นักเรยี น ๒. วิธีการบนั ทกึ ถา้ ทาถกู ต้องให้ใสเ่ ครอื่ งหมาย ถ้าทาผดิ ให้ใหใ้ สเ่ ครอ่ื งหมาย X (เคร่อื งหมาย เท่ากับ ๑ คะแนน เครือ่ งหมาย X เท่ากับ ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพอ่ื ประโยชนใ์ นการวินจิ ฉัยขอ้ บกพรอ่ งของนักเรยี นเปน็ รายบุคคล และนาไปใชใ้ นการปรบั ปรุงและ พัฒนานักเรยี นเปน็ รายบุคคล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพือ่ ประโยชน์ในการวินิจฉัยวา่ ขอ้ บกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของชั้นเรียน เพ่ือนาไปใช้ในการ ปรับปรงุ และพฒั นาการจดั การเรยี นการสอน ๕. นักเรียนตอ้ งได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป จึงจะผา่ นเกณฑ์ กรณที ่นี ักเรียนไมผ่ า่ นเกณฑ์ ครูผสู้ อนต้องฝกึ จนนักเรยี นอ่าน ได้
แบบฝกึ ที่ ๒ กำรเขียนคำท่ีมีตัวสะกดไมต่ รงตำมมำตรำในแม่ กด คาช้แี จง ๑. ใหน้ กั เรยี นเขยี นตามคาบอก ใช้เวลา ๕ นาที ๒. ใหค้ รูอ่านคาใหน้ ักเรียนฟังคาละ ๒ คร้ัง โดยเวน้ เวลาให้นักเรียนเขียนก่อนบอกคาในข้อตอ่ ไป ๑. โอกาส ๒. สงั เกต ๓. ปรากฏ ๔. รถไถ ๕. ประมาท ๖. อาวุธ ๗. สาหัส ๘. บาท ๙. ประเทศ ๑๐. พิเศษ
แบบบนั ทกึ ที่ ๒ กำรเขยี นคำท่ีมีตัวสะกดไม่ตรงมำตรำในแม่กด ขอ้ ที่ ผลการ รวม ประเมนิ ที่ ชอ่ื -สกุล คะแนน* ไม่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ผา่ น ผ่าน คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรยี นเปน็ รายข้อ เพ่ือให้รู้วา่ นักเรียนมขี อ้ บกพรอ่ งใด สาหรับนาไปใช้ในการปรบั ปรุงและพัฒนา นักเรยี น ๒. วธิ กี ารบนั ทกึ ถ้าทาถกู ตอ้ งใหใ้ สเ่ ครื่องหมาย ถา้ ทาผิดใหใ้ ห้ใสเ่ คร่อื งหมาย X (เคร่อื งหมาย เท่ากบั ๑ คะแนน เคร่ืองหมาย X เท่ากับ ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพือ่ ประโยชนใ์ นการวนิ จิ ฉัยขอ้ บกพร่องของนักเรยี นเปน็ รายบุคคล และนาไปใชใ้ นการปรับปรงุ และ พฒั นานักเรยี นเป็นรายบคุ คล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพอื่ ประโยชนใ์ นการวินจิ ฉยั ว่าข้อบกพรอ่ งของนกั เรียนในภาพรวมของช้ันเรยี น เพื่อนาไปใชใ้ นการ ปรับปรงุ และพัฒนาการจดั การเรยี นการสอน ๕. นกั เรียนตอ้ งไดค้ ะแนนร้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป จงึ จะผ่านเกณฑ์ กรณที นี่ ักเรียนไม่ผา่ นเกณฑ์ ครผู สู้ อนต้องฝึกจนนกั เรยี น เขยี นได้
แนวกำรจดั กำรเรยี นรู้ท่ี ๔ (๑ ช่วั โมง) การอ่านเขยี นสะกดคาที่มตี ัวสะกดไม่ตรงตามมาตราในแมก่ น จดุ ประสงค์กำรเรยี นรู้ อา่ นและเขียนคาทม่ี ตี วั สะกดไม่ตรงมาตราในแมก่ น ได้ ขน้ั ตอนกำรจดั กำรเรียนรู้ ๑. ขัน้ นำ เช่อื มโยงความรู้คาท่ีมีตัวสะกดแม่กนตรงมาตรา โดยครูเขียนคา หรือนาแผนภูมิคาที่มีตัวสะกด แม่กนตรงมาตรา เช่น กิน จาน เต้น บนกระดานดา ให้นักเรียนอ่านออกเสียงคาพร้อมกัน เป็นการทบทวน เสียงตัวสะกดในแม่กน หลังจากน้ัน จึงเชื่อมโยงไปยังตัวสะกดที่ไม่ตรงมาตรา โดยบอกกับนักเรียนว่า นอกจากพยัญชนะตัว น เป็นตัวสะกดแล้ว ยังมีพยัญชนะอีก ๕ ตัว ที่ออกเสียงเหมือน น เป็นตัวสะกด ได้แก่ ญ ณ ร ล ฬ ๒. ขั้นสอนกำรสะกดคำเพื่ออ่ำน ๒.๑ ครูนาบัตรคาท่ีมี ญ ณ ร ล ฬ เป็นตัวสะกดบนกระดานดา ครูอ่านนาแล้วให้นักเรียน อา่ นออกเสียงพร้อมกัน เชญิ บญุ คณู คานวณ อาหาร เณร เพล ศาล วาฬ กาฬโรค ๒.๒ ครูใหน้ กั เรียนบอกคาทีม่ ี ญ ณ ร ล และ ฬ เป็นตวั สะกดตาม ๒.3 ครนู าคาทนี่ ักเรียนเขยี นบนกระดานดามาเขียนการอ่านสะกดคาและอ่านคา เชน่ บุญ สะกดวา่ บอ - อุ - ญอ บุน คูณ สะกดวา่ คอ - อู - ณอ คนู เณร สะกดวา่ ณอ - เอ - รอ เนน ศาล สะกดวา่ ศอ - อา - ลอ สาน วาฬ สะกดว่า วอ - อา - ฬอ วาน โดยครูอา่ นนาและใหน้ กั เรียนอา่ นตาม พรอ้ มบันทึกคาท่เี รียนร้ลู งในสมดุ ๒.๔ ให้นักเรยี นฝกึ เขยี นสะกดคาทีม่ ีตวั สะกดไมต่ รงมาตราตามแบบฝึกที่ 1 ขณะที่นักเรียนทา แบบฝึก ครูควรเดินตรวจสอบความถูกต้องของคาตอบไปด้วย เม่ือพบว่ามีนักเรียนเขียนสะกดคา ไม่ถูกตอ้ ง ครตู อ้ งแกไ้ ขทนั ที
๓. ข้ันสอนสะกดเพื่อเขยี นคำ ๓.๑ ให้นักเรียนฝกึ เขียนคาท่ีมีตัวสะกดไม่ตรงมาตรา โดยครแู บ่งนกั เรยี นออกเปน็ กลุม่ ตาม ความเหมาะสม หลงั จากนน้ั ครใู ห้แตล่ ะกลุ่มสง่ ตวั แทนออกมาคร้งั ละ ๑ คน เพื่อเขียนคาตามท่ีครูบอก เม่ือนักเรียนเขยี นเสรจ็ ๑ คา ครูตรวจสอบความถูกตอ้ งและให้คะแนนทันที ถา้ พบว่า กลุ่มไหนเขยี น ผิดให้แกไ้ ขทนั ที ๓.๒ ครใู ห้นกั เรยี นเขียนตามคาบอกคาท่มี ตี ัวสะกดไม่ตรงตามมาตราในแม่กน ลงในสมุดงาน ของนกั เรยี น โดยครอู า่ นออกเสียงคาใหถ้ ูกต้องและชัดเจน คาละ 2 ครง้ั ๔. ขั้นสรุป (ฝึกทกั ษะ) ครูให้นกั เรียนฝึกอ่านคาตามแบบฝกึ หัดท่ี 2 หลังจากนั้น ให้นักเรยี นอ่านให้ครูฟังเป็นรายบุคคล โดยให้อ่านคาเป็นชุด ๆ ละ ๕ คา ขณะที่นักเรียนอ่าน ครูบันทึกข้อมูลการอ่านลงในแบบบันทึก นอกจากนี้ ครูอาจใช้แบบฝึกหัดท่ีเหมาะสมกับวัยและความสามารถของนักเรียนได้อย่างหลากหลายเพ่ือฝึกทักษะ การอ่านและเขยี นคา จนแนใ่ จว่านักเรียนอา่ นและเขยี นคาไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งคลอ่ งแคล่ว สอ่ื กำรสอน ๑. แผนภมู ิการอา่ นคาท่มี ตี ัวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรงมาตราในแม่กน ๒. บตั รคา ๓. แบบฝกึ กำรวดั และประเมนิ ผล ๑. การสงั เกตการร่วมกจิ กรรม ๒. การแบบฝกึ
แบบฝกึ ที่ 1 กำรอำ่ นสะกดคำทม่ี ีตวั สะกดไม่ตรงตำมมำตรำในแมก่ น คำชี้แจง ใหน้ กั เรียนอา่ นสะกดคาท่ีกาหนดให้ โดยใช้เวลา 5 นาที ตวั อย่าง บุญ สะกดวา่ บอ - อุ - ญอ บุน ๑. เชิญ ๒. โบราณ ๓. เกสร ๔. ศาล ๕. วาฬ ๖. ปัญหา ๗. การคณู ๘. ทาเวร ๙. นา้ ตาล ๑๐. กาฬโรค
แบบบันทึกท่ี ๑ กำรอ่ำนสะกดคำท่มี ีตัวสะกดไมต่ รงตำมมำตรำในแม่กน ข้อที่ ผลการ รวม ประเมิน ที่ ชือ่ -สกุล คะแนน* ไม่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ผ่าน ผา่ น คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บนั ทกึ คะแนนของนักเรยี นเป็นรายขอ้ เพ่อื ให้รูว้ ่านกั เรยี นมขี อ้ บกพร่องใด สาหรับนาไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ และพัฒนา นักเรยี น ๒. วิธีการบนั ทกึ ถ้าทาถูกต้องใหใ้ ส่เคร่อื งหมาย ถ้าทาผิดให้ใหใ้ สเ่ ครื่องหมาย X (เคร่อื งหมาย เท่ากับ ๑ คะแนน เครือ่ งหมาย X เท่ากบั ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพือ่ ประโยชนใ์ นการวนิ จิ ฉัยขอ้ บกพร่องของนักเรยี นเปน็ รายบคุ คล และนาไปใชใ้ นการปรบั ปรุงและ พัฒนานักเรยี นเป็นรายบคุ คล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพ่อื ประโยชน์ในการวนิ ิจฉัยว่าขอ้ บกพร่องของนักเรียนในภาพรวมของชั้นเรียน เพ่ือนาไปใช้ในการ ปรับปรงุ และพฒั นาการจดั การเรียนการสอน ๕. นักเรียนตอ้ งไดค้ ะแนนรอ้ ยละ ๘๐ ข้นึ ไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณที ี่นกั เรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูผสู้ อนต้องฝกึ จนนักเรยี นอ่าน ได้
แบบฝกึ ท่ี ๒ กำรเขยี นคำท่ีมตี ัวสะกดไม่ตรงตำมมำตรำในแมก่ น คาช้แี จง ๑. ใหน้ กั เรยี นเขียนตามคาบอก ใชเ้ วลา ๕ นาที ๒. ให้ครูอ่านคาใหน้ ักเรียนฟังคาละ ๒ คร้ัง โดยเว้นเวลาใหน้ ักเรียนเขียนก่อนบอกคาในข้อตอ่ ไป ๑. การคูณ ๒. กญั ชา ๓. เกสร ๔. วาฬ ๕. รางวัล ๖. สญั จร ๗. เชิญ ๘. วันเพญ็ ๙. คานวณ ๑๐. ปญั หา
แบบบันทกึ ท่ี ๒ กำรเขียนคำท่ีมีตัวสะกดไม่ตรงมำตรำในแม่กน ขอ้ ที่ ผลการ รวม ประเมนิ ที่ ชอ่ื -สกุล คะแนน* ไม่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ผา่ น ผ่าน คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บันทึกคะแนนของนักเรยี นเปน็ รายข้อ เพ่ือให้รู้วา่ นักเรียนมขี อ้ บกพรอ่ งใด สาหรับนาไปใช้ในการปรบั ปรุงและพัฒนา นักเรยี น ๒. วธิ กี ารบนั ทกึ ถ้าทาถกู ตอ้ งให้ใสเ่ ครื่องหมาย ถา้ ทาผิดใหใ้ ห้ใสเ่ คร่ืองหมาย X (เครอ่ื งหมาย เท่ากบั ๑ คะแนน เคร่ืองหมาย X เท่ากับ ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพือ่ ประโยชนใ์ นการวนิ จิ ฉัยขอ้ บกพร่องของนักเรยี นเปน็ รายบุคคล และนาไปใชใ้ นการปรับปรงุ และ พฒั นานักเรยี นเป็นรายบุคคล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพอื่ ประโยชนใ์ นการวินจิ ฉยั ว่าข้อบกพรอ่ งของนกั เรยี นในภาพรวมของช้ันเรยี น เพื่อนาไปใชใ้ นการ ปรับปรงุ และพัฒนาการจดั การเรยี นการสอน ๕. นกั เรียนตอ้ งไดค้ ะแนนร้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป จงึ จะผ่านเกณฑ์ กรณที นี่ ักเรยี นไม่ผา่ นเกณฑ์ ครผู สู้ อนต้องฝึกจนนกั เรยี น เขยี นได้
ส่วนท่ี ๓ แนวทางการวัดและประเมนิ ผลประจาหนว่ ย ฉบบั ที่ ๑ กำรอ่ำนคำที่มีตัวสะกดไม่ตรงตำมมำตรำ คำชี้แจง ให้นักเรยี นอ่านคาทกี่ าหนดให้ โดยใชเ้ วลา 5 นาที ๑. ความสขุ ๒. ประมุข ๓. โชคดี ๔. โอกาส ๕. กฎ ๖. ฟตุ บอล ๗. ตารวจ ๘. อากาศ ๙. วิเศษ ๑๐. ครุฑ ๑๑. รปู ภาพ ๑๒. โลภมาก ๑๓. เคารพ ๑๔. คณู ๑๕. ทาส ๑๖. กญุ แจ ๑๗. อาหาร ๑๘. วาฬ ๑๙. ลูกบอล ๒๐. โบราณ
เฉลยคำตอบ คำ คำอ่ำน ข้อ ความ - สกุ ๑. ความสุข ประ - มุก ๒. ประมุข โชก - ดี ๓. โชคดี โอ - กาด ๔. โอกาส กด ๕. กฎ ฟุด - บอน ๖. ฟตุ บอล ตา - หรวด ๗. ตารวจ อา - กาด ๘. อากาศ วิ - เสด ๙. วเิ ศษ ครุด ๑๐. ครฑุ รบู - พาบ ๑๑. รปู ภาพ โลบ - มาก ๑๒. โลภมาก เคา - รบ ๑๓. เคารพ คนู ๑๔. คูณ ทาด ๑๕. ทาส กนุ - แจ ๑๖. กุญแจ อา - หาน ๑๗. อาหาร วาน ๑๘. วาฬ ลกู - บอน ๑๙. ลกู บอล โบ - ราน ๒๐. โบราณ
แบบบันทึกฉบับที่ ๑ การอา่ นคาท ที่ ชอ่ื – สกุล ๑๒๓๔๕๖๗ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บันทึกคะแนนของนกั เรยี นเป็นรายขอ้ เพอ่ื ใหร้ ู้วา่ นักเรียนมขี อ้ บกพรอ่ งใด สาหรับนาไปใชใ้ น ๒. วิธีการบันทึก ถา้ ทาถกู ตอ้ งให้ใสเ่ ครอ่ื งหมาย ถา้ ทาผิดใหใ้ ห้ใสเ่ ครื่องหมาย X (เคร่ืองหมาย ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพื่อประโยชนใ์ นการวินิจฉยั ข้อบกพรอ่ งของนกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล และนาไปใ ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพือ่ ประโยชน์ในการวินจิ ฉยั วา่ ขอ้ บกพร่องของนกั เรียนในภาพรวมของช้นั เรีย ๕. นักเรยี นต้องไดค้ ะแนนรอ้ ยละ ๘๐ ขน้ึ ไป จงึ จะผา่ นเกณฑ์ กรณที ีน่ ักเรียนไมผ่ ่านเกณฑ์ ครูผสู้ อ
ท่มี ีตวั สะกดไม่ตรงตามมาตรา ข้อที่ รวม ผลการประเมนิ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ คะแนน* ผา่ น ไม่ผา่ น นการปรบั ปรุงและพัฒนานกั เรยี น เท่ากบั ๑ คะแนน เครอื่ งหมาย X เท่ากบั ๐ คะแนน) ใช้ในการปรบั ปรงุ และพัฒนานักเรียนเป็นรายบคุ คล ยน เพื่อนาไปใช้ในการปรับปรงุ และพฒั นาการจัดการเรยี นการสอน อนต้องฝกึ จนนักเรยี นอา่ นได้
ฉบบั ท่ี ๒ กำรเขยี นคำท่ีมตี วั สะกดไมต่ รงตำมมำตรำ คำช้แี จง ๑. ให้นกั เรียนเขียนตามคาบอก ใชเ้ วลา ๕ นาที ๒. ให้ครูอ่านคาให้นักเรียนฟังคาละ ๒ คร้ัง โดยเวน้ เวลาใหน้ ักเรยี นเขียนก่อนบอกคาในข้อตอ่ ไป ๑. นาค ๑๑. ยาเสพตดิ ๒. บวช ๑๒. ถา่ ยรูป ๓. ความสขุ ๑๓. โชคลาภ ๔. ประมาท ๑๔. เชญิ ธง ๕. พิเศษ ๑๕. กันดาร ๖. โอรส ๑๖. ถือศีล ๗. สญั ญา ๑๗. ขอบคณุ ๘. ฟุตบอล ๑๘. วาฬ ๙. จิตใจ ๑๙. อทุ ิศ ๑๐. รถไฟ ๒๐. บาเพญ็
แบบบันทึกฉบับท่ี ๒ ผลการเขยี นค ที่ ชื่อ – สกุล ๑๒๓๔๕๖๗ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บันทกึ คะแนนของนักเรยี นเป็นรายข้อ เพอ่ื ให้รู้วา่ นกั เรยี นมีขอ้ บกพร่องใด สาหรับนาไปใชใ้ น ๒. วธิ กี ารบันทกึ ถ้าทาถูกต้องใหใ้ ส่เคร่อื งหมาย ถ้าทาผดิ ใหใ้ หใ้ สเ่ ครื่องหมาย X (เคร่อื งหมาย ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพ่ือประโยชนใ์ นการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล และนาไปใ ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพือ่ ประโยชนใ์ นการวนิ จิ ฉยั ว่าข้อบกพรอ่ งของนักเรยี นในภาพรวมของชน้ั เรีย ๕. นกั เรยี นต้องไดค้ ะแนนร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป จึงจะผา่ นเกณฑ์ กรณที น่ี ักเรียนไมผ่ ่านเกณฑ์ ครผู สู้ อ
คาท่มี ีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา ขอ้ ท่ี รวม ผลการประเมิน ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ คะแนน* ผ่าน ไม่ผา่ น นการปรบั ปรุงและพัฒนานักเรยี น เท่ากับ ๑ คะแนน เครือ่ งหมาย X เท่ากับ ๐ คะแนน) ใช้ในการปรบั ปรงุ และพัฒนานกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล ยน เพื่อนาไปใชใ้ นการปรับปรุงและพฒั นาการจัดการเรยี นการสอน อนตอ้ งฝกึ จนนักเรยี นเขยี นได้
หนว่ ยที่ 9 กำรแจกลูกสะกดคำทมี่ พี ยญั ชนะควบกล้ำ ส่วนท่ี ๑ ความรสู้ าหรับครู คาควบกล้า หมายถึง คาท่ีมีพยัญชนะสองตัวเขียนเรียงติดกันอยู่ต้นพยางค์ และใช้สระเดียวกัน เวลาอ่านออกเสียงกล้าเป็นพยางค์เดียวกัน เสียงวรรณยุกต์ของพยางค์น้ันจะผันไปตามเสียงพยัญชนะ ตวั หนา้ ประเภทของคาควบกลา้ คาควบกล้า แบ่งตามลกั ษณะการออกเสยี งได้ ๒ ประเภท คอื คาควบกลา้ แท้ และควบกล้าไมแ่ ท้ ๑. คาควบกล้าแท้ คือ คาที่มีเสียงพยัญชนะต้น ๒ ตัว ออกเสียงควบกล้ากัน มี ๑๕ ลักษณะ คอื พยัญชนะตน้ ตัวแรกเปน็ ก ข ค ต ป ผ พ ควบกับ ร หรอื ล หรอื ว ดงั ต่อไปนี้ พยัญชนะตน้ ตัวแรก กขคตปพผ พยญั ชนะควบ ร รรรรรร- พยัญชนะควบ ล ลลล - ลลล พยญั ชนะควบ ว ววว- - - - คาท่พี ยญั ชนะต้นควบกล้ากับ ร มี ๖ ลักษณะ คอื กร ขร คร ตร ปร พร ดงั ตวั อย่างคาตอ่ ไปน้ี กร เช่น ไกร กรอง กราย กรีด แกร่ง ขร เช่น ขรัว ขรขุ ระ ขริบ คร เช่น ใคร ครบ ครัน ครา้ ม ครวั ครอง ครอบ ตร เช่น ตรอง ตริ ตรี ตรง ตรึง ตระ ปร เชน่ ปราณ เปรม เปราะ ประปราย พร เช่น พรวน พร้งิ พรงุ่ พราย เพรง พริก คาทพ่ี ยญั ชนะต้นควบกลา้ กับ ล มี ๖ ลักษณะ คือ กล ขล คล ปล ผล พร ดังตวั อย่างคาตอ่ ไปนี้ กล เชน่ กล้า กลืน กลม กลอง กล่อม กลาด เกลา เกลยี ว เกล่อื น ขล เชน่ ขลาด เขลา โขลง โขลน ขลัง ขลิบ คล เช่น คลา้ คลาด คลาย คลอ้ ย คลงั ปล เช่น ปลา เปลี้ย ปลื้ม ปลัก ปลวก ปลอบ ผล เชน่ ผลาญ ผลุง ผลุบ เผลอ เผล่ เผล้
คาท่พี ยญั ชนะตน้ ควบกล้ากับ ว มี ๓ ลกั ษณะ คอื กว ขว คว ดังตวั อยา่ งคาตอ่ ไปนี้ กว เชน่ กวาด กวกั ไกว แกว่ง กวาง เกวยี น ขว เช่น ขวา ขวาน ขวดิ ขวักไขว่ ขวนขวาย คว เช่น ควาน ความ ควาย ควัก ควา้ ง ควัน ๒. คาควบกลา้ ไมแ่ ท้ คือ คาทีม่ ีพยญั ชนะ ร ควบกับพยัญชนะต้นตัวหน้าประสมสระตัวเดียวกัน ออกเสียงเฉพาะพยญั ชนะตน้ ตัวหน้า โดยไมอ่ อกเสียง /ร/ หรือออกเสียงเป็นเสียงอื่น ดังนี้ ๒.๑ คาควบกล้าไม่แท้ที่ควบกล้ากับ ร แต่ไม่ออกเสียง /ร/ ได้แก่ พยัญชนะ จร ซร ศร สร เชน่ จริง อา่ นว่า จงิ เศร้า อา่ นวา่ เสา้ สรอ้ ย อา่ นวา่ สอ้ ย ศรี อ่านว่า สี ศรัทธา อ่านวา่ สดั - ทา เศรษฐี อา่ นว่า เสด - ถี อาศรม อา่ นว่า อา - สม เสรมิ อา่ นวา่ เสมิ สรา้ ง อา่ นว่า สา้ ง สระ อา่ นวา่ สะ สรง อา่ นวา่ สง สรา่ ง อา่ นว่า สา่ ง เสรจ็ อ่านวา่ เส็ด ประเสริฐ อ่านวา่ ประ - เสิด กาสรวล อา่ นวา่ กา - สวน ๒.๒ คาควบกล้าไม่แท้ ที่มีพยัญชนะ ท ควบกับ ร แล้วออกเสียง /ซ/ มีทั้งหมด ๑๘ คา นอกเหนือจากน้ี คา ทร ควบกล้ากันท่ีเป็นคายืมจากภาษาบาลีสันสกฤต จะออกเสียง /ทร/ ที่ พระยา อุปกิตศิลปสาร (๒๕๒๒: ๕๓) ระบวุ ่า ควรเป็นเสียงควบแท้ เชน่ อินทรา จันทรา นิทรา เปน็ ต้น ดงั นี้ ทรง อา่ นวา่ ซง ทราบ อา่ นวา่ ซาบ ทราม อ่านวา่ ซาม ทราย อา่ นวา่ ซาย แทรก อา่ นว่า แซก ทรดุ อ่านวา่ ซดุ โทรม อ่านว่า โซม ทรวง อา่ นว่า ซวง ทรัพย์ อ่านวา่ ซบั
ไทร อ่านว่า ไซ มทั รี อ่านวา่ มดั - ซี อนิ ทรี อา่ นวา่ อนิ - ซี อินทรยี ์ อ่านวา่ อนิ - ซี นนทรี อ่านว่า นน - ซี พุทรา อ่านวา่ พุด - ซา ฉะเชิงเทรา อา่ นว่า ฉะ - เชิง - เซา เทรดิ อ่านวา่ เซิด ทรวด อา่ นว่า ซวด หรอื อาจใช้บทรอ้ ยกรอง กาพยย์ านี ๑๑ คาควบกลา้ ไมแ่ ท้ ให้นักเรยี นฝึกอ่านและเขยี น เพื่อช่วยจา ดังนี้ ทรวดทรงทราบทรามทราย ทรดุ โทรมหมายนกอินทรี มทั รอี ินทรีย์มี เทริดนนทรีพุทราเพรา ทรวงไทรทรัพยแ์ ทรกวดั โทรมนัสย์* ฉะเชิงเทรา ตัว ทร เหลา่ น้ีเรา ออกสาเนียงเป็นเสียง ซ (กาชัย ทองหล่อ. ๒๕๔๐: ๑๖๘) * คานี้ ไม่มใี ชใ้ นภาษาไทยแลว้ การสอนอ่านสะกดคา คาควบกลา้ การสอนอ่านสะกดคาควบกล้ามีหลายวิธี ครูควรเลือกใช้วิธีใดวิธีหน่ึงในการสอน เมื่อนักเรียน จดจารูปและเสียงของตัวอักษรได้แล้ว นักเรียนสามารถเรียนรู้การอ่านและการเขียนไปพร้อม ๆ กันได้ แต่ครูควรสอนให้นกั เรยี นอา่ นก่อน แล้วจึงเริม่ ฝึกการเขียนสะกดคา ๑. การสอนอ่านคาควบกล้า สอนอ่านได้ ๒ แบบ คือ อ่านเรียงตัวอักษรที่ปรากฏ และอ่าน ออกเสยี งตัวควบพรอ้ มกนั (หลกั ภาษาไทย : เรอื่ งท่คี รภู าษาไทยต้องรู้, ๒๕๕๘: ๕๗ ) ดงั น้ี ๑.๑ การสอนอ่านคาควบกลา้ แท้ สอนอ่านเรยี งตัวอักษรทป่ี รากฏ แล้วให้อ่านเป็นเสียงเดยี ว ดงั ตวั อยา่ ง ตัวอย่างที่ ๑ การอา่ นคาควบกลา้ ที่พยัญชนะตน้ มี ร ควบ ที่ไมม่ ีตัวสะกด ไกร สะกดว่า กอ - รอ - ไอ อา่ นว่า ไกร ขรวั ขรวั สะกดว่า ขอ - รอ - อัว อา่ นว่า ครู ตรี ครู สะกดว่า คอ - รอ - อู อา่ นว่า ประ พระ ตรี สะกดวา่ ตอ - รอ - อี อา่ นวา่ ประ สะกดว่า ปอ - รอ - อะ อา่ นวา่ พระ สะกดว่า พอ - รอ - อะ อา่ นวา่
ตวั อย่างที่ ๒ การอา่ นคาควบกลา้ ที่พยญั ชนะต้นมี ร ควบ ท่ีมตี วั สะกด กราบ สะกดว่า กอ - รอ - อา - บอ กราบ ขรมึ ขรมึ สะกดวา่ ขอ - รอ - อึ - มอ เครยี ด ตรวจ เครียด สะกดว่า คอ - รอ - เอยี - ดอ ตรวจ สะกดว่า ตอ - รอ - อัว - จอ ตัวอย่างที่ ๓ การอ่านคาควบกลา้ ท่ีพยญั ชนะต้นมี ล ควบ ทีไ่ มม่ ตี ัวสะกด ไกล สะกดว่า กอ - ลอ - ไอ ไกล คละ คละ สะกดวา่ คอ - ลอ - อะ ปลา พลุ ปลา สะกดวา่ ปอ - ลอ - อา พลุ สะกดวา่ พอ - ลอ - อุ ตัวอยา่ งที่ ๔ การอา่ นคาควบกลา้ ทีพ่ ยัญชนะต้นมี ล ควบ ทม่ี ตี ัวสะกด กลอง สะกดว่า กอ - ลอ - ออ - งอ กลอง โขลง โขลง สะกดว่า ขอ - ลอ - โอ - งอ คลาน ปลวก คลาน สะกดว่า คอ - ลอ - อา - นอ เพลนิ ผลกั ปลวก สะกดวา่ ปอ - ลอ - อวั - กอ เพลนิ สะกดวา่ พอ - ลอ - เออ - นอ ผลัก สะกดว่า ผอ - ลอ - อะ - กอ ตัวอยา่ งท่ี ๕ การอ่านคาควบกล้าทพ่ี ยญั ชนะต้นมี ว ควบ ท่ไี ม่มีตวั สะกด กวา สะกดว่า กอ - วอ - อา กวา ขวา ขวา สะกดวา่ ขอ - วอ - อา ตัวอยา่ งท่ี ๖ การอา่ นคาควบกล้าทพี่ ยัญชนะตน้ มี ว ควบ ทม่ี ตี ัวสะกด กวาง สะกดว่า กอ - วอ - อา - งอ กวาง แขวน แขวน สะกดว่า ขอ - วอ - แอ - นอ ควาย ขวน ควาย สะกดว่า คอ - วอ - อา - ยอ ขวาย ขวนขวาย สะกดวา่ ขอ - วอ - โอะ - นอ ขอ - วอ - อา - ยอ ๑.๒ การสอนอ่านคาควบกล้าโดยการแจกลูก เมื่อนกั เรียนฝึกอา่ นคาควบกล้าจนเขา้ ใจแล้ว ครูควรนาคาควบกล้าที่นกั เรียนไดเ้ รียน ไปแลว้ มาฝกึ อา่ น โดยการแจกลกู คา ดังนี้
ตวั อย่างท่ี ๑ การอา่ นแจกลกู คาควบกล้าท่ีไม่มตี ัวสะกด สระ อา (-า) สระ อี ( -ี ) สระอู ( -ู ) กรู กร กรา กรี ขรู ครู ขร ขรา ขรี ตรู ปรู คร ครา ครี พรู ตร ตรา ตรี ปร ปรา ปรี พร พรา พรี ตวั อยา่ งท่ี ๒ การอา่ นแจกลูกคาควบกลา้ ทม่ี ตี ัวสะกด พยัญชนะ สระ ตัวสะกด อา่ นว่า อา ง ปราง ปร อา บ ปราบ เอยี บ เปรียบ โอ ด โปรด แอ ง แปรง ๑.๓. การเขยี นสะกดคา คาควบกลา้ การสอนเขียนสะกดคา คาควบกล้า ครูจะต้องฝึกให้นักเรียนสะกดคาให้คล่องก่อน โดยใช้วิธกี ารสะกดแบบเรยี งตามลาดับตัวอักษร ดงั น้ี ตัวอยา่ งท่ี ๑ การสะกดคา คาควบกลา้ ทไ่ี มม่ ีตวั สะกด เพอ่ื นาไปสู่การเขียน ไกร เขียนสะกดวา่ สระไอไม้มลาย กอ ไก่ รอ เรอื ขรัว เขยี นสะกดวา่ ขอ ไข่ รอ เรือ สระอัว ครู เขียนสะกดว่า คอ ควาย รอ เรอื สระอู ตรี เขียนสะกดวา่ ตอ เต่า รอ เรอื สระอี ประ เขยี นสะกดวา่ ปอ ปลา รอ เรือ สระอะ พระ เขยี นสะกดว่า พอ พาน รอ เรือ สระอะ ตัวอย่างท่ี ๒ การสะกดคา คาควบกล้าทีม่ ีตัวสะกดเพอื่ นาไปส่กู ารเขียน พราว เขียนสะกดว่า พอ พาน รอ เรอื สระอา วอ แหวน กราบ เขียนสะกดวา่ กอ ไก่ รอ เรอื สระอา บอ ใบไม้ กรวย เขยี นสะกดวา่ กอ ไก่ รอ เรอื วอ แหวน ยอ ยกั ษ์ คราด เขยี นสะกดว่า คอ ควาย รอ เรือ สระอา ดอ เด็ก กรดี เขียนสะกดวา่ กอ ไก่ รอ เรอื สระอี ดอ เดก็
๑.๔ การผนั วรรณยกุ ต์ ผันเสียงวรรณยุกต์คาควบกล้า ใช้หลักเดียวกันกับการผันเสียงวรรณยุกต์ ของคาท่ีมีพยัญชนะต้นตัวเดียว โดยยึดกฎการผันวรรณยุกต์ของพยัญชนะต้นตัวแรก ไมใ่ ชต่ ัวทม่ี าควบ ดังตารางด้านล่างนี้ คา เสียงวรรณยุกต์ สามญั เอก ( -่ ) โท ( - ้) ตรี ( - ) จัตวา ( -๋ ) พยญั ชนะตน้ อกั ษรกลาง กรา กร่า กร้า กรา๊ กรา พยญั ชนะตน้ อกั ษรต่า เครอื ง - เครอ่ื ง เครือ้ ง - พยญั ชนะต้นอกั ษรสงู - ขว่าง ขวา้ ง ขวาง ๒. การสะกดคาเพือ่ อา่ นและเขียนคาควบกลา้ ไม่แท้ ๒.๑ การสะกดคาเพ่ืออ่านคาควบกลา้ ไม่แท้ ๑) การสะกดคาเพ่อื อ่านคาควบกล้าไมแ่ ท้ทคี่ วบกบั ร แตไ่ มอ่ อกเสียง ร จรงิ สะกดว่า จอ - รอ - อิ - งอ อา่ นว่า จงิ ไซร้ สะกดว่า ซอ - รอ - ไอ - ไม้โท อา่ นวา่ ไซ้ ซอ - รอ - ไอ - ไซ - ไม้โท เศร้า สะกดวา่ สอ - รอ - เอา - ไมโ้ ท อ่านว่า เส้า สอ - รอ - เอา - เสา - ไม้โท สรอ้ ย สะกดว่า สอ - รอ - ออ - ยอ - สอย - ไมโ้ ท อ่านว่า สอ้ ย ๒) การสอนอ่านและเขียนคาควบกล้าไม่แท้ ที่มีพยัญชนะ ท ควบกับ ร แล้วออกเสียง กลายเปน็ ซ ให้นักเรยี นท่องจาคาทัง้ ๑๘ คา ๒.๒ การสะกดคาเพอ่ื เขยี นคาควบกลา้ ไม่แท้ ใหส้ ะกดแบบเรียงตามลาดบั ตัวอักษร ดังนี้ จริง เขยี นสะกดว่า จอ จาน รอ เรอื สระอิ งอ งู ศรี เขยี นสะกดว่า สอ ศาลา รอ เรอื สระอี สร้าง เขยี นสะกดวา่ สอ เสอื รอ เรอื สระอา งอ งู ไมโ้ ท ตรวจถงึ หน้า 226
ส่วนที่ ๒ แนวทางการจัดการเรียนรู้ การสอนอ่านเขียนสะกดคา คาควบกล้ามีหลายวิธี ครูควรเลือกใช้วิธีใดวิธีหนึ่ง เพ่ือให้นักเรียน เรยี นรู้ ในการสอนควรแยกอธิบายคาควบกล้าแท้ที่พยัญชนะต้นมี ร ล ว ควบ และคาควบกล้าไม่แท้ เม่ือ นกั เรียนจดจารูป และเสียงของตัวอักษรได้แล้ว นักเรียนสามารถเรียนรู้การอ่านและการเขียนไปพร้อมกัน ได้ แต่ครูกค็ วรสอนให้นักเรียนอ่านออกเสยี งให้คล่องก่อน แลว้ จึงเร่มิ ฝกึ การเขยี นสะกดคา ดงั น้ี ขั้นท่ี ๑ การอา่ นเขยี นโดยการแจกลูกสะกดคาควบกล้าที่พยญั ชนะต้นควบกลา้ กับ ร แบบไมม่ ตี ัวสะกด ๑.๑ ครใู ห้นักเรียนสังเกตการออกเสยี งคาท่มี ีพยัญชนะต้น ก ข ค ต ป พ ควบกับ ร คือ กร ขร คร ตร ปร พร แล้วฝกึ ใหน้ กั เรยี นออกเสียงใหถ้ กู ต้อง ๑.๒ ให้นักเรียนฝึกอ่านคาควบกล้าท่ีมีพยัญชนะ ก ข ค ต ป พ ควบกล้ากับ ร แบบไม่มี ตวั สะกด โดยการสะกดคา เช่น คาวา่ ไกร ขรวั ครู ตรี เปน็ ต้น โดยครูอ่านนาใหน้ ักเรยี นอา่ นตามพร้อม ๆ กัน และอ่านเป็นรายบุคคล ๑.๓ ครูฝึกให้นักเรียนอ่านโดยการแจกลูกคาควบกล้าท่ีพยัญชนะ ก ข ค ต ป พ ควบกล้ากับ ร แบบไม่ตวั สะกด ๑.๔ ครูฝึกใหน้ กั เรยี นผนั วรรณยกุ ตค์ าควบกลา้ ๑.๕ ครูฝึกให้นักเรียนเขียนโดยการสะกดคาควบกล้ากับ ร แบบไม่มีตัวสะกด ให้เขียนเรียง ตามตวั อกั ษร เช่น คาว่า ไกร เขยี นสะกดคาว่า สระ ไอ ไมม้ ลาย - กอ ไก่ - รอ เรือ ข้นั ที่ ๒ การอ่านเขียนโดยการแจกลกู สะกดคาควบกลา้ ที่พยัญชนะต้นควบกล้ากบั ร แบบมตี วั สะกด ๒.๑ ให้นักเรียนฝึกอ่านคาควบกล้าที่มีพยัญชนะ ก ข ค ต ป พ ควบ ร ที่มีตัวสะกด เช่น คาว่า กราบ ขรึม แปรง คราด ตราด เปน็ ต้น โดยครอู า่ นนาใหน้ กั เรียนอา่ นตามพร้อม ๆ กัน และอา่ นเปน็ รายบคุ คล ๒.๒ ครูฝึกให้นักเรียนอ่านแจกลูกสะกดคา คาควบกล้าท่ีมีพยัญชนะ ก ข ค ต ป พ ควบกล้า กับ ร แบบมตี วั สะกด ถ้านกั เรียนอา่ นสะกดคาใดไมถ่ ูกต้องครอู ธิบายและแก้ไขทนั ที ๒.๓ ครฝู กึ ใหน้ กั เรียนผนั วรรณยกุ ตค์ าควบกล้าท่ีมตี วั สะกด ๒.๔ ครูฝึกให้นักเรียนเขียนสะกดคาควบกล้าที่พยัญชนะต้นควบกล้ากับ ร แบบไม่มีตัวสะกด โดยใหเ้ ขียนเรยี งตามตวั อกั ษร เชน่ คราด เขยี นสะกดคาว่า คอ ควาย - รอ เรอื - สระอา - ดอ เดก็ เป็นตน้ ขัน้ ที่ ๓ การอ่านเขียนโดยการแจกลูกสะกดคาควบกล้าท่ีพยญั ชนะตน้ ควบกล้ากบั ล แบบไม่มี และมีตัวสะกด ๓.๑ ครูให้นกั เรียนสงั เกตการออกเสียงคาท่ีมีพยัญชนะตน้ ก ข ค ป ผ พ ควบกับ ล ได้แก่ กล ขล คล ปล ผล พล แลว้ ฝกึ ให้นกั เรียนออกเสียงใหถ้ กู ตอ้ ง ๓.๒ ให้นักเรียนฝึกอ่านคาควบกล้าที่มีพยัญชนะ ก ข ค ป ผ พ ควบกล้ากับ ล แบบไม่มี ตวั สะกดและมีตัวสะกด เชน่ คาวา่ ไกล คลา แปลก เพลนิ ผลาญ เป็นต้น โดยครอู า่ นนา และให้นักเรียน อา่ นตามพร้อม ๆ กัน และอ่านเปน็ รายบุคคล ๓.๓ ครูให้นักเรียนฝึกอ่านโดยการแจกลูกสะกดคาควบกล้าที่มีพยัญชนะ ก ข ค ป ผ พ ควบกลา้ กับ ล แบบไมม่ ตี วั สะกดและมีตวั สะกด
๓.๔ ครูฝกึ ใหน้ กั เรียนผนั วรรณยุกต์ ๓.๕ ครูฝึกให้นักเรียนสะกดคาควบกล้าท่ีพยัญชนะต้นมี ล ควบ แบบไม่มีและมีตัวสะกด โดยให้เขียนเรยี งตามตัวอกั ษร เช่น กลว้ ย เขยี นสะกดคาว่า กอ ไก่ - ลอ ลิง - วอ แหวน - ยอ ยักษ์ ไม้โท เป็นต้น ขั้นท่ี ๔ การอ่านเขยี นโดยการแจกลูกสะกดคาควบกลา้ ที่พยญั ชนะตน้ ควบกล้ากับ ว แบบไมม่ ตี วั สะกด และมีตัวสะกด โดยใหด้ าเนินการตามแบบขน้ั ท่ี ๓ ข้ันท่ี ๕ การอ่านเขยี นสะกดคา คาควบกลา้ ไม่แท้ ๕.๑ ครูให้ความรู้เกี่ยวกับคาควบกล้าไม่แท้ว่ามี ๒ ลักษณะ คือ คาควบไม่แท้ท่ีออกเสียง พยัญชนะหน้าเพียงตัวเดียว ได้แก่ จร สร ศร ซร และคาควบกล้าไม่แท้ ที่มีพยัญชนะต้นเป็น ทร แต่อ่าน ออกเสยี งเป็น ซ ไดแ้ ก่ ทราบ ทราม ทราย พุทรา นนทรี เปน็ ต้น ๕.๒ ให้นักเรียนฝึกการอ่านเขียนสะกดคา คาควบกล้าไม่แท้ท่ีออกเสียงพยัญชนะหน้า เพียงตวั เดียว ได้แก่ จร สร ศร ซร ๕.๓ ให้นักเรียนฝึกการอ่านเขียนสะกดคา คาควบกล้าไม่แท้ท่ีมีพยัญชนะต้นเป็น ทร แต่อ่าน ออกเสียงเปน็ ซ ตัวอยา่ งการนาแนวทางการจดั การเรียนรูไ้ ปใช้ในห้องเรยี น หนว่ ยที่ ๙ การแจกลูกสะกดคาทมี่ ีพยัญชนะควบกล้า
จดุ ประสงคข์ องการจดั การเรยี นรู้ (๔ ชว่ั โมง) ๑. เพือ่ ให้นักเรียนอ่านเขยี นโดยการแจกลกู สะกดคาท่ีมีพยัญชนะควบกลา้ ได้ ๒. เพอ่ื ให้นกั เรยี นผันวรรณยุกต์คาควบกล้าได้ แนวการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๑ การอา่ นเขียนโดยการแจกลกู สะกดคาและผนั วรรณยุกต์คาควบกล้าท่ีพยัญชนะตน้ ควบกลา้ กับ ร แบบไม่มีตวั สะกด (๑ ชว่ั โมง) แนวการจดั การเรียนรูท้ ี่ ๒ การอา่ นเขียนโดยการแจกลูกสะกดคาและผันวรรณยกุ ต์คาควบกล้า ทพี่ ยัญชนะตน้ ควบกลา้ กบั ร แบบมตี วั สะกด (๑ ชวั่ โมง) แนวการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๓ การอ่านเขยี นโดยการแจกลูกสะกดคาและผันวรรณยุกตค์ าควบกลา้ ทพ่ี ยญั ชนะตน้ ควบกลา้ กับ ล ทีไ่ ม่มีตัวสะกดและมีตัวสะกด (๑ ชว่ั โมง) แนวการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๔ การอ่านเขียนโดยการแจกลกู สะกดคาและผนั วรรณยุกตค์ าควบกลา้ ทพ่ี ยญั ชนะต้นควบกลา้ กบั ว ควบ ท่ีไม่มีตัวสะกดและมีตัวสะกด (๑ ชวั่ โมง) แนวการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๕ การอ่านเขยี นสะกดคา คาทีม่ ีพยญั ชนะควบกล้าไมแ่ ท้ (๑ ชั่วโมง) แนวการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ การอ่านเขยี นแจกลูกสะกดคาที่มพี ยัญชนะตน้ ควบกล้ากับ ร แบบไม่มตี วั สะกด (๑ ชั่วโมง)
จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ๑. การอ่านและเขียนโดยการแจกลูกสะกดคาและผนั วรรณยกุ ต์คาควบกล้าท่ีพยญั ชนะต้น ควบกลา้ กับ ร แบบไมม่ ตี ัวสะกด ๒. ผันวรรณยกุ ต์คาควบกล้าที่พยัญชนะตน้ มี ร ควบ ท่ไี ม่มตี วั สะกดได้ ขัน้ ตอนการจดั การเรยี นรู้ ๑. ข้ันนา ๑.๑ ครเู ขยี นพยญั ชนะต้นที่มี ร ควบกล้า ได้แก่ กร ขร คร ตร ปร พร บนกระดาน ให้นักเรียน สงั เกตคาท่ีทค่ี รเู ขียนว่ามีพยัญชนะอะไรบ้าง ครูออกเสียงให้นักเรียนฟังพร้อมอธิบายว่าพยัญชนะที่ได้ยิน น้ันเมอ่ื อา่ นออกเสียงจะออกเสยี งท้ังสองตวั กลา้ ก่ึงกันพรอ้ มกนั เรยี กวา่ คาควบกลา้ ๑.๒ ครูให้นักเรียนฝึกออกเสียงพยัญชนะ ก ข ค ต ป พ ควบกล้ากับ ร พร้อมกัน และเป็น รายบคุ คล ๒. ขน้ั สอน ๒.๑ เม่ือนักเรียนออกเสียงพยัญชนะควบกล้าได้ถูกต้องแล้ว ครูเขียนคาควบกล้าท่ีมีพยัญชนะ ก ข ค ต ป พ ควบกับ ร แบบไม่มีตัวสะกดบนกระดานให้นักเรียนฝึกออกเสียง โดยครูอ่านนาให้นักเรียนอ่าน ตามพร้อม ๆ กนั นักเรียนอา่ นพร้อมๆ กัน และอ่านเปน็ รายบคุ คล ดงั นี้ ไกร สะกดวา่ กอ - รอ - ไอ ไกร ขรัว สะกดว่า ขอ - รอ - อวั ขรัว ครู สะกดว่า คอ - รอ - อู ครู ตรี สะกดวา่ ตอ - รอ - อี ตรี ประ สะกดวา่ ปอ - รอ - อะ ประ พระ สะกดว่า พอ - รอ - อะ พระ ๒.๒ ใหน้ กั เรียนฝกึ อ่านสะกดคาทีม่ ีพยญั ชนะ ก ข ค ต ป พ ควบกลา้ กับ ร แบบไม่มีตัวสะกด ที่ครเู ตรยี มมาประมาณ ๕- ๖ คา ถ้านกั เรียนอา่ นสะกดคาใดไม่ถูกตอ้ งครอู ธบิ ายและแกไ้ ขทนั ที ๒.๓ นกั เรยี นทาแบบฝกึ ที่ ๑ ขณะทนี่ ักเรยี นทาแบบฝึกหัดครตู รวจความถกู ต้อง และให้ ข้อเสนอแนะ หากพบว่านักเรียนคนใดอ่านผดิ ใหแ้ ก้ไขทนั ที ๒.๔ เมื่อนกั เรียนฝึกอ่านสะกดคา คาควบกล้าที่มีพยัญชนะ ก ข ค ต ป พ ควบกล้ากับ ร ได้ คลอ่ งแลว้ ครเู ขยี นผงั การแจกลกู สะกดคา คาควบกลา้ ทม่ี ีพยัญชนะ ก ข ค ต ป พ ควบกบั ร บน กระดาน แล้วครูอา่ นนาให้นักเรียนอา่ นตามพร้อม ๆ กัน และอา่ นเปน็ รายบุคคลจนคล่อง จากนัน้ ให้ฝึก เขยี นโดยการแจกลูก ดังน้ี พยัญชนะควบกล้า สระ อา (-า) สระ อี ( ) สระอู ( ) กร กรา กรี กรู ขร ขรา ขรี ขรู
คร ครา ครี ครู ตร ตรา ตรี ตรู ปร ปรา ปรี ปรู พร พรา พรี พรู ๒.๕ ครูทบทวนเรื่องการผนั วรรณยุกตท์ ี่นักเรียนเคยเรยี นมา จากนัน้ นาคาควบกลา้ มาให้ นักเรียนฝกึ ผนั วรรณยุกต์ ดงั นี้ พยญั ชนะควบกลา้ สามญั เสยี งวรรณยุกต์ เอก ( -่ ) โท ( - ้) ตรี ( - ) จตั วา ( -๋ ) (อักษรกลาง) กร กรา กร่า กรา้ กร๊า กรา (อักษรต่า) คร ครนื - คร่ืน ครื้น - (อกั ษรสูง) ขร ขรัว ขรว่ั ขร้วั - - ๒.๖ ครูให้นักเรียนฝึกผันวรรณยุกต์ ตามคาควบกล้าท่ีพยัญชนะต้นควบกล้ากับ ร และไม่มี ตัวสะกดที่ครูเตรียมมา อย่างนอ้ ย ๔ - ๕ คา ถ้านักเรียนผันไมถ่ กู ต้อง ครูอธิบายและแกไ้ ขใหถ้ กู ต้องทันที ๒.๗ ครูเขียนตัวอย่างการสะกดคาที่พยัญชนะต้นควบกล้ากับ ร แบบไม่มีตัวสะกด ให้นักเรียน ฝึกสะกดเรียงตามลาดับอักษร จากน้ันครูอ่านนาให้นักเรียนอ่านตามพร้อม ๆ กัน และอ่านเป็นรายบุคคล จนคล่อง ดังนี้ ไกร เขียนสะกดวา่ สระ ไอ ไมม้ ลาย - กอ ไก่ - รอ เรือ ขรวั เขยี นสะกดวา่ ขอ ไข่ - รอ เรือ - สระ อัว ครู เขยี นสะกดว่า คอ ควาย - รอ เรอื - สระ อู ตรี เขียนสะกดว่า ตอ เต่า - รอ เรอื - สระ อี ประ เขยี นสะกดว่า ปอ ปลา - รอ เรือ - สระ อะ พระ เขยี นสะกดวา่ พอ พาน - รอ เรือ - สระ อะ ๒.๘ ครใู ห้นักเรียนฝกึ สะกดคาเพอ่ื การเขยี นเพิ่มเตมิ ๒.๙ ให้นักเรยี นทาแบบฝึกที่ ๒ การเขยี นคาตามคาบอก จากนน้ั ครแู ละนักเรียนร่วมกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง ถา้ มีนักเรียนคนใดเขยี นสะกดผิดให้ชว่ ยกนั แกไ้ ขทนั ที ๒.๑๐ ให้นักเรียนหาคาที่มีพยัญชนะ ก ข ค ต ป พ ควบกับ ร ไม่มีตัวสะกดจากหนังสือเรียน จานวน ๕ คา ๓. ขน้ั สรปุ ครูและนกั เรียนร่วมกันสรุปวธิ ีการอ่านเขียนแจกลูกสะกดคาและผนั วรรณยกุ ต์คาควบกล้า ทพี่ ยญั ชนะตน้ ควบกล้ากับ ร แบบไม่มีตวั สะกด
สอ่ื การสอน แบบฝึก การวัดผลประเมนิ ผล ๑. การสังเกตขณะนักเรียนเข้ารว่ มกิจกรรม ๒. การตรวจแบบฝกึ
แบบฝกึ ที่ ๑ การอา่ นสะกดคาคาควบกลา้ ทม่ี พี ยัญชนะ ก ข ค ต ป พ ควบกับ ร ทีไ่ ม่มตี ัวสะกด คาชี้แจง ใหน้ ักเรยี นอ่านสะกดคาควบกล้าที่มีพยัญชนะ ก ข ค ต ป พ ควบกบั ร ท่ีไม่มตี ัวสะกด ตวั อยา่ ง ขรัว อ่านสะกดวา่ ขอ - รอ - อวั ขรวั ๑. ตรี ๒. พระ ๓. เขรอะ ๔. ครู ๕ .ใคร ๖. ครา ๗. ตรา ๘. ไตร ๙. ประ ๑๐. พรา แบบบันทกึ การอ่านสะกดคาคาควบกล้าท่ีมีพยัญชนะ ก ข ค ต ป พ ควบกับ ร ที่ไม่มีตัวสะกด ท่ี ชือ่ - สกุล ขอ้ ที่ รวม ผลการประเมิน ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ คะแนน* ผา่ น ไม่ผา่ น
คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ใหบ้ ันทกึ คะแนนของนกั เรียนเปน็ รายข้อ เพอื่ ใหร้ วู้ า่ นกั เรียนมขี อ้ บกพร่องใด สาหรบั นาไปใช้ในการปรับปรงุ และพัฒนา นกั เรียน ๒. วิธกี ารบันทึก ถา้ ทาถูกตอ้ งใหใ้ ส่เคร่อื งหมาย ถา้ ทาผดิ ให้ให้ใสเ่ คร่ืองหมาย X (เครอ่ื งหมาย เทา่ กบั ๑ คะแนน เคร่อื งหมาย X เท่ากับ ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพือ่ ประโยชนใ์ นการวนิ ิจฉัยขอ้ บกพร่องของนกั เรียนเปน็ รายบคุ คล และนาไปใช้ในการปรับปรุงและพฒั นา นกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพื่อประโยชนใ์ นการวนิ ิจฉัยวา่ ขอ้ บกพรอ่ งของนกั เรยี นในภาพรวมของชั้นเรียน เพื่อนาไปใช้ในการ ปรับปรงุ และพัฒนาการจดั การเรยี นการสอน ๕. นักเรียนต้องไดค้ ะแนนรอ้ ยละ ๘๐ ขึน้ ไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณที ่ีนกั เรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครูผสู้ อนตอ้ งฝึกจนนักเรยี นอา่ นได้ แบบฝึกที่ ๒ การเขียนคาควบกลา้ ท่ีมีพยัญชนะ ก ข ค ต ป พ ควบกบั ร ทีไ่ ม่มีตวั สะกด คาช้ีแจง ๑. ใหน้ กั เรยี นเขียนตามคาบอก ใช้เวลา ๕ นาที ๒. ใหค้ รูอ่านคาให้นักเรียนฟังคาละ ๒ ครั้ง โดยเวน้ เวลาให้นักเรยี นเขียนก่อนบอกคาในข้อตอ่ ไป
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294