๒.๓ พยญั ชนะต้นเป็นอักษรสูง + สระเสียงยาว + ตวั สะกดแม่กน ข ขาน ผาน ผ ฝาน สาน ฝ -าน หาน ส ห ให้นกั เรียนฝึกอา่ นและเขียนสะกดคาในแมก่ น เชน่ ขาน สะกดวา่ ขอ - อา - นอ ขาน เขยี นเรยี งลาดบั ตวั อักษรเปน็ ขอ ไข่ - สระอา - นอ หนู ผาน สะกดว่า ผอ - อา - นอ ผาน เขยี นเรยี งลาดับตวั อักษรเปน็ ผอ ผง้ึ - สระอา - นอ หนู ฝาน สะกดว่า ฝอ - อา - นอ ฝาน เขียนเรยี งลาดบั ตวั อักษรเปน็ ฝอ ฝา - สระอา - นอ หนู ๒.๔ พยัญชนะต้นอักษรสูง + สระเสียงส้ัน + ตัวสะกดแมก่ น ข ขิน ผ ผนิ ฝ -ิ น ฝนิ ส สนิ ห หนิ ให้นักเรยี นฝกึ อ่านและเขยี นสะกดคาในแม่กน เชน่ ผิน สะกดว่า ผอ - อิ - นอ ผิน เขยี นเรียงลาดบั ตวั อักษรเปน็ ผอ ผง้ึ - สระอิ - นอ หนู สนิ สะกดว่า สอ - อิ - นอ สนิ เขยี นเรยี งลาดับตวั อักษรเปน็ สอ เสอื - สระอิ - นอ หนู หนิ สะกดวา่ หอ - อิ - นอ หิน เขียนเรียงลาดับตัวอักษรเปน็ หอ หบี - สระอิ - นอ หนู
๒.๕ พยญั ชนะต้นเป็นอักษรต่า + สระเสยี งยาว + ตวั สะกดแมก่ น ว วาน น นาน ม -าน มาน ย ยาน ร ราน ใหน้ ักเรยี นฝกึ อ่านและเขยี นสะกดคาในแม่กน เช่น วาน สะกดวา่ วอ - อา - นอ วาน เขยี นเรยี งลาดบั ตวั อักษรเป็น วอ แหวน - สระอา - นอ หนู นาน สะกดว่า นอ - อา - นอ นาน เขยี นเรียงลาดบั ตวั อักษรเป็น นอ หนู - สระอา - นอ หนู ยาน สะกดวา่ ยอ - อา - นอ ยาน เขียนเรยี งลาดบั ตวั อักษรเปน็ ยอ ยกั ษ์ - สระอา - นอ หนู ๒.๖ พยญั ชนะตน้ อักษรตา่ + สระเสียงส้ัน + ตวั สะกดแม่กน ว วนิ นิน น มิน ยิน ม -ิน ลนิ ย ล ให้นกั เรียนฝึกอา่ นและเขยี นสะกดคาในแม่กน เชน่ วนิ สะกดวา่ วอ - อิ - นอ วนิ เขยี นเรียงลาดับตัวอักษรเปน็ วอ แหวน - สระอิ - นอ หนู นนิ สะกดวา่ นอ - อิ - นอ นนิ เขยี นเรียงลาดับตวั อักษรเป็น นอ หนู - สระอิ - นอ หนู ลนิ สะกดว่า ลอ - อิ - นอ ลนิ เขียนเรยี งลาดบั ตวั อักษรเปน็ ลอ ลิง - สระอิ - นอ หนู
ขั้นที่ ๒ สอนอา่ นและเขียนสะกดคาที่มีสระเปลี่ยนรปู และลดรปู เม่ือมตี ัวสะกด คือ สระอะ สระโอะ ข้ันท่ี ๓ สอนอา่ นและเขยี นสะกดคาท่ีมีสระเปลย่ี นรปู และลดรูปเมือ่ มีตวั สะกด คือ สระเอะ สระแอะ ขน้ั ท่ี ๔ สอนอา่ นและเขียนสะกดคาที่มีสระเปลย่ี นรปู และลดรูปเม่ือมีตัวสะกด คือ สระอัว สระเออ ขั้นท่ี ๕ การจัดการเรยี นรู้คาท่ีมีตวั สะกดตรงตามมาตราในแมก่ ม เกย เกอว โดยเริ่มจากคาในแม่ ก กา แล้วเพิม่ ตวั สะกดทลี ะมาตรา แลว้ ใช้การแจกลูกต่อ เพอ่ื ให้เกดิ ความแมน่ ยาในเน้ือหาสอนเช่นเดยี วกบั ขัน้ ท่ี ๑ และ ๒ ขั้นที่ ๖ การจัดการเรียนรู้คาท่ีมีตัวสะกดตรงตามมาตราในแม่กก กด กบ สอนอ่านสะกดคาท่ีเป็นคา ตาย ทั้ง ๓ มาตรา คือ แม่กก กด กบ โดยเริ่มจากคาในแม่ ก กา แล้วเพิ่มตัวสะกดทีละมาตรา แล้วใช้ การแจกลกู ต่อ เพื่อให้เกดิ ความแมน่ ยาในเนอ้ื หา โดยสอนเชน่ เดียวกบั ข้นั ที่ ๑ และ ๒ ข้ันท่ี ๗ การสอนสรุปทั้งมาตราตัวสะกด ๘ มาตรา โดยเริ่มจากคาในแม่ ก กา แล้วเพิ่มตัวสะกด ทีละมาตรา แล้วใช้การแจกลูกต่อ ฝึกการอ่านและเขียนให้เกิดความแม่นยา โดยให้อ่านเป็นประโยค หรือเป็นเร่ืองส้ัน ๆ (เพ่ือให้ง่ายต่อการเรียนรู้ของเด็ก) โดยแบ่งเป็นกลุ่มที่สะกดแล้วเป็นคาเป็น และสะกดแล้วเป็นคาตาย กรณีที่นาไปใช้สอนซ่อมเสริม สามารถเร่ิมใช้ข้ันท่ีนักเรียนยังไม่มีความรู้ความเข้าใจ จนเป็น สาเหตใุ หอ้ ่านและเขยี นไม่ได้
ตวั อย่างการนาแนวทางการจดั การเรยี นรู้ไปใชใ้ นหอ้ งเรยี น หนว่ ยที่ ๖ การแจกลูกสะกดคาทม่ี ีตัวสะกดตรงตามมาตรา จุดประสงค์ของการจดั การเรียนรู้ (๑๑ ชัว่ โมง) ๑. เพอ่ื ให้นักเรยี นอ่านและเขยี นสะกดคาท่ีมีตัวสะกดตรงมาตราในแมก่ ง กน กม เกย เกอว กก กด และกบ ได้ ๒. เพือ่ ให้นักเรียนอ่านและเขียนสะกดคาทม่ี ีสระเปล่ยี นรูปและลดรปู เมื่อมีตวั สะกด ได้ แนวการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑ การแจกลูกสะกดคาที่มีตวั สะกดตรงตามมาตราในแม่กง กน (๒ ชวั่ โมง) แนวการจัดการเรยี นรู้ที่ ๒ การสะกดคาเพ่อื อา่ นและเขียนคาทส่ี ระเปล่ยี นรูปและลดรูป เมอ่ื มตี วั สะกด สระอะ สระโอะ (๑ ชวั่ โมง) แนวการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๓ การสะกดคาเพอ่ื อา่ นและเขียนคาทีส่ ระเปลีย่ นรปู และลดรูป เมอ่ื มีตัวสะกด สระเอะ สระแอะ (๑ ชว่ั โมง) แนวการจดั การเรียนรู้ที่ ๔ การสะกดคาเพื่ออา่ นและเขียนคาทีม่ ีสระเปล่ยี นรปู และลดรูป เมื่อมีตัวสะกด สระอัว สระเออ (๑ ช่วั โมง) แแนนววกทาารงจกดั ากราจรดั เกรียารนเรรทู้ียี่น๕รทู้ ี่ ๑ (๒(๒ชช่ัววั่ โโมมงง)) กากราสระแกจดกคลากูเพส่ือะอก่าดนคแาลทะี่มเขีตียัวนสคะากทดี่มตีตรัวงตสะามกดมตารตงรตาาใมนมแามต่กรงากแนม่กม เกย เกอว แจนุดวปกราะรสจงัดคก์กาารรเเรรียียนนรร้ทู ู้ ี่ ๖ (๒ ช่ัวโมง) กอาร่าสนะเขกยีดนคแาจเพกื่อลอกู า่สนะแกลดะคเาขทยี ี่มนีตคัวาสทะม่ี กีตดัวตสระงกมดาตรงาตในามแมา่กตงรกานแมได่ก้ ก กด กบ แขนั้นวตกอานรกจาัดรกจาัดรกเราียรนเรรยี ูท้ นี่ ๗รู้ ๑. ขนั้ นกาารสะกดคาเพือ่ อ่านและเขยี นคาที่มตี วั สะกดตรงตามมาตราทง้ั ๘ มาตรา (๒ ชัว่ โมง) ๑.๑ ทบทวนการอ่านและเขียนสะกดคามาตราในแม่ ก กา โดยเน้นเร่ืองพยัญชนะต้นตามหมู่ อักษรไตรยางศ์ และการประสมสระเสียงส้ันและยาว โดยฝึกอ่านคาในแม่ ก กา แล้วจึงสอนเขียน โดย สอนการสะกดคากอ่ น แล้วแจกลกู ต่อ ดงั นี้
๑) พยัญชนะต้นเปน็ อักษรกลาง + สระเสยี งยาว คา พยญั ชนะตน้ สระ ตวั สะกด สะกดวา่ อา่ นว่า กอ - อา กา กา ก -า - จอ - อา จา ตอ - อา ตา จา จ -า - ปอ - อา ปา ตา ต -า - สะกดว่า อ่านว่า กอ - อะ กะ ปา ป -า - จอ - อะ จะ ตอ - อะ ตะ ๒) พยญั ชนะต้นเป็นอกั ษรกลาง + สระเสียงสัน้ ปอ - อะ ปะ คา พยญั ชนะต้น สระ ตัวสะกด สะกดว่า อา่ นว่า กะ ก -ะ - ขอ - อา ขา จะ จ -ะ - ผอ - อา ผา ตะ ต -ะ - สอ - อา สา ปะ ป -ะ - หอ - อา หา ๓) พยัญชนะต้นเปน็ อักษรสงู + สระเสยี งยาว สะกดวา่ อ่านว่า ขอ - อะ ขะ คา พยัญชนะต้น สระ ตวั สะกด ผอ - อะ ผะ ขา ข -า - สอ - อะ สะ ผา ผ -า - หอ - อะ หะ สา ส -า - หา ห -า - สะกดวา่ อ่านวา่ งอ - อา งา ๔) พยัญชนะตน้ เปน็ อักษรสูง + สระเสียงสนั้ นอ - อา นา มอ - อา มา คา พยัญชนะต้น สระ ตัวสะกด ยอ - อา ยา ขะ ข -ะ - ผะ ผ -ะ - สะ ส -ะ - หะ ห -ะ - ๕) พยญั ชนะต้นเป็นอกั ษรต่า + สระเสียงยาว คา พยญั ชนะตน้ สระ ตวั สะกด งา ง -า - นา น -า - มา ม -า - ยา ย -า -
๖) พยัญชนะตน้ เปน็ อกั ษรตา่ + สระเสียงสนั้ สะกดวา่ อา่ นว่า วอ - อิ วิ คา พยญั ชนะตน้ สระ ตัวสะกด นอ - อิ นิ วิ ว -ิ - มอ - อิ มิ นิ น -ิ - รอ - อิ ริ มิ ม -ิ - ริ ร -ิ - ๒. ขนั้ สอน ๒.๑ ครูนาบตั รภาพติดบนกระดานใหน้ กั เรียนดูจานวน ๗ ภาพ ถามนกั เรยี นว่า ภาพบนกระดาน เป็นภาพอะไรบ้าง (ภาพ ลิง ฟาง หาง จาน กิน และ ดิน หรือภาพอะไรก็ได้ที่สะกดด้วย แม่กง และแมก่ น) เมือ่ นกั เรียนตอบจนครบทุกภาพแล้วครูเฉลยคาตอบ พรอ้ มทง้ั เขียนคาไว้ใตภ้ าพ ๒.๒ ครูให้นักเรียนดูบัตรคาที่มี ง เป็นตัวสะกด และ น เป็นตัวสะกด และบอกนักเรียนว่า เปน็ ตวั สะกดแม่กง และแม่กน ตามลาดับเม่อื วางไวท้ ้ายคา จะทาให้คานั้นเปล่ียนไปตามเสียงตวั สะกดนั้น ๒.๓ นักเรยี นบอกคาใต้ภาพทง้ั ๖ คา ว่าคาแต่ละคามีส่วนประกอบอะไรบ้าง คา พยัญชนะตน้ สระ ตวั สะกด สะกดว่า อ่านวา่ ลิง ล -ิ ง ลอ - อิ – งอ ลงิ ฟาง ฟ -า ง ฟอ - อา - งอ ฟาง หาง ห า ง หอ - อา - งอ หาง จาน จ -า น จอ - อา - นอ จาน กิน ก -ิ น กอ - อิ - นอ กิน ดนิ ด -ิ น ดอ - อิ - นอ ดนิ ๒.๔ ให้นักเรียนบอกตัวสะกดท้ัง ๖ คา ว่ามีตัวสะกดใดบ้าง และออกเสียงอย่างไร ครูอธิบาย เกี่ยวกับตัวสะกดท้ัง ๖ คา และร่วมกันสรุปว่า ตัวสะกดท้ัง ๖ คามีตัวสะกด คือ ง และ น นี้ คือมาตรา ตัวสะกดแม่กง และแมก่ น ๒.๕ ครูให้นักเรียนฝึกอ่านสะกดคา และเขียนท่ีมีตัวสะกดตรงตามมาตราในแม่กง โดยเน้นการ ฝึกคาที่มีพยัญชนะตามหมู่ไตรยางศ์และสระสั้น ยาว โดยครูอ่านสะกดนา แล้วให้นักเรียนสะกดตาม พรอ้ มบนั ทกึ ลงในสมุด อ่านจากแผนภมู ิท่คี รเู ตรียมไว้ ดังน้ี ๑) พยัญชนะตน้ เปน็ อักษรกลาง + สระเสยี งยาว + ตวั สะกดแม่กง เสียงวรรณยุกต์สามญั คา พยญั ชนะต้น สระ ตัวสะกด สะกดว่า อา่ นวา่ กาง ก -า ง กอ - อา - งอ กาง จาง จ -า ง จอ - อา - งอ จาง บาง บ -า ง บอ - อา - งอ บาง
๒) พยัญชนะตน้ เป็นอักษรกลาง + สระเสยี งสนั้ + ตัวสะกดแม่กง เสียงวรรณยุกต์สามัญ คา พยัญชนะต้น สระ ตัวสะกด สะกดวา่ อ่านวา่ องิ อ -ิ ง ออ - อิ - งอ อิง ตงิ ต -ิ ง ตอ - อิ - งอ ตงิ ปิง ป -ิ ง ปอ - อิ - งอ ปิง ๓) พยญั ชนะตน้ เป็นอกั ษรสูง + สระเสยี งยาว + ตัวสะกดแม่กง เสยี งวรรณยกุ ตจ์ ตั วา คา พยัญชนะต้น สระ ตวั สะกด สะกดว่า อา่ นว่า ผาง ผ -า ง ผอ - อา - งอ ผาง สาง ส -า ง สอ - อา - งอ สาง หาง ห -า ง หอ - อา - งอ หาง ๔) พยัญชนะตน้ เปน็ อักษรสูง + สระเสียงสั้น + ตัวสะกดแม่กง เสียงวรรณยกุ ต์จัตวา คา พยัญชนะตน้ สระ ตวั สะกด สะกดว่า อ่านวา่ ขงิ ข -ิ ง ขอ - อิ - งอ ขิง ผงิ ผ -ิ ง ผอ - อิ - งอ ผิง สงิ ส -ิ ง สอ - อิ - งอ สิง ๕) พยัญชนะต้นเป็นอักษรตา่ + สระเสยี งยาว + ตวั สะกดแมก่ ง เสียงวรรณยุกต์สามญั คา พยัญชนะตน้ สระ ตัวสะกด สะกดวา่ อ่านว่า วาง ว -า ง วอ - อา - งอ วาง นาง น -า ง นอ - อา - งอ นาง ยาง ย -า ง ยอ - อา - งอ ยาง ๖) พยญั ชนะตน้ เป็นอกั ษรต่า + สระเสยี งส้นั + ตัวสะกดแม่กง เสียงวรรณยุกต์สามัญ คา พยัญชนะตน้ สระ ตัวสะกด สะกดว่า อ่านวา่ ชงิ ช -ิ ง ชอ - อิ - งอ ชิง พงิ พ -ิ ง พอ - อิ - งอ พงิ ลิง ล -ิ ง ลอ - อิ - งอ ลิง
๒.๖ ครใู ห้นกั เรยี นฝึกอ่านสะกดคา และเขยี นที่มีตวั สะกดตรงตามมาตราในแม่กน โดยเน้น การฝึกคาท่มี ีพยัญชนะตามหมูไ่ ตรยางศแ์ ละสระส้ัน ยาว โดยครูอา่ นสะกดนา ใหน้ ักเรียนสะกดตาม พรอ้ มบันทกึ ลงในสมดุ อา่ นจากแผนภมู ทิ ่ีครูเตรยี มไว้ ดงั น้ี ๑) พยัญชนะตน้ เป็นอกั ษรกลาง + สระเสียงยาว + ตวั สะกดแมก่ น คา พยัญชนะตน้ สระ ตัวสะกด สะกดวา่ อา่ นว่า จาน จ -า น จอ - อา - นอ จาน บาน บ -า น บอ - อา - นอ บาน ปาน ป -า น ปอ - อา - นอ ปาน ๒) พยญั ชนะต้นเปน็ อักษรกลาง + สระเสียงส้ัน + ตวั สะกดแมก่ น คา พยัญชนะต้น สระ ตวั สะกด สะกดวา่ อา่ นวา่ กนิ ก -ิ น กอ - อิ - นอ กิน ดนิ ด -ิ น ดอ - อิ - นอ ดนิ บิน บ -ิ น บอ - อิ - นอ บิน ๓) พยัญชนะต้นเป็นอักษรสูง + สระเสยี งยาว + ตัวสะกดแม่กน คา พยญั ชนะต้น สระ ตัวสะกด สะกดวา่ อา่ นว่า ขาน ข -า น ขอ - อา - นอ ขาน ฝาน ฝ -า น ฝอ - อา - นอ ฝาน สาน ส -า น สอ - อา - นอ สาน ๔) พยัญชนะต้นเป็นอกั ษรสูง + สระเสยี งสัน้ + ตัวสะกดแม่กน คา พยญั ชนะตน้ สระ ตวั สะกด สะกดว่า อ่านวา่ ผนิ ผ -ิ น ผอ - อิ - นอ ผิน สนิ ส -ิ น สอ - อิ - นอ สนิ หนิ ห -ิ น หอ - อิ - นอ หิน
๕) พยญั ชนะตน้ เป็นอักษรตา่ + สระเสียงยาว + ตวั สะกดแม่กน คา พยญั ชนะตน้ สระ ตัวสะกด สะกดว่า อ่านว่า วาน ว -า น วอ - อา - นอ วาน นาน น -า น นอ - อา - นอ นาน ยาน ย -า น ยอ - อา - นอ ยาน ๖) พยัญชนะต้นเปน็ อกั ษรตา่ + สระเสียงส้ัน + ตวั สะกดแม่กน คา พยญั ชนะตน้ สระ ตวั สะกด สะกดว่า อา่ นว่า ริน ร -ิ น รอ - อิ - นอ รนิ ชิน ช -ิ น ชอ - อิ - นอ ชิน ยนิ ย -ิ น ยอ - อิ - นอ ยนิ ๒.๗ ให้นักเรียนยกตัวอย่างคาทีม่ ี ง และ น สะกด จากหนังสอื เรียนให้ได้ ๑๐ คา เขียนลงใน สมุดภายในเวลาท่ีกาหนด ดงั ตารางตอ่ ไปน้ี ที่ คา สะกดวา่ อา่ นวา่ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๒.๘ ครตู รวจสอบความถูกต้องและแกไ้ ขคาผิด ๒.๙ ให้นกั เรียนทาแบบฝกึ ที่ ๑ อา่ นแจกลกู สะกดคาที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราในแม่กง และ แม่กน เปน็ รายบคุ คล เมอ่ื นกั เรยี นสะกดผดิ ใหค้ รูแนะนาและแก้ไขทันที ๒.๑๐ ให้นักเรียนทาแบบฝึกท่ี ๒ ครูตรวจให้คะแนน เน้นการเขียนท่ีถูกต้องทั้งการวางสระ ในตาแหน่งที่ถูกหลักการเขยี น ๓. ข้นั สรปุ ๓.๑ ครูและนกั เรยี นรว่ มกันสรปุ ถึงคาที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราในแม่กง และแม่กนท่ีถูกตอ้ ง ร่วมกนั อีกครง้ั ๓.๒ ครูให้นักเรยี นทาแบบทดสอบคาที่มตี ัวสะกดตรงตามมาตราในแม่กง และแม่กน
สอ่ื การสอน ๑. รูปภาพ ๒. บัตรคา ๓. สมดุ บันทกึ ๔. แบบฝกึ ๕. แบบทดสอบการอ่านเขียนสะกดคาที่มตี ัวสะกดตรงตามมาตรา ในแม่กง กน การวดั และประเมนิ ผล การตรวจแบบฝึก
แบบฝึกท่ี ๑ การอา่ นแจกลูกสะกดคาที่มตี ัวสะกด ในแม่ กน และกง นาง คาชแี้ จง ให้นกั เรยี นฝึกอา่ นแจกลูกสะกดคาท่ีสะกดตรงตามมาตรา ในแม่ กง กาง บาง คาง ยาง หาง ถาง สาง โกง โยง โมง โรง โขง โถง โพง โหง ปิง ลิง ยงิ พิง ชิง ขงิ สงิ อิง ตงุ ลุง ยุง ซุง มงุ ถงุ หงุ พุง จึง ดงึ บึง มึง ถึง หึง ขงึ ตงึ จึง จูง ยูง ตงู บูง สงู ฝูง ลูง องู กอง จอง ดอง ทอง มอง ของ ซอง ลอง แกง แตง แดง แพง แรง แสง แหง แวง เบอื ง เทอื ง เรือง เมอื ง เยือง เสอื ง เฟอื ง เนอื ง เกง เจง เลง เปง เทง เวง เหง เอง กาน ขาน คาน ยาน นาน ทาน ลาน วาน กนิ สนิ จิน ทนิ ปนิ พนิ วนิ รนิ
กนุ ทนุ จุน ขนุ สนุ หนุ วุน ตนุ เกน เลน เทน เยน เอน เขน เบน เจน แกน แขน แทน แมน แลน แวน แดน แสน . โกน โขน โทน โมน โยน โหน โพน โนน กอน จีน ขอน ทอน นอน ออน หอน พอน สอน มีน ทีน ลนี ตนี ปนี สีน วีน . เตือน เดอื น เทอื น เบอื น เจอื น เรอื น เลอื น เผอื น กูน จนู นูน พูน ปูน สนู คนู ยูน
แบบบันทึกแบบฝึกท่ี ๑ การอา่ นแจกลกู สะ ที่ ช่ือ – สกุล คาท่ีมีตวั สะกดตรงตามมาตราตัวสะกดแม คะแนนรวม** ๑๒๓๔๕๖๗ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. หมายเหตุ ๑. ให้บันทกึ คะแนนของนักเรียนเปน็ รายขอ้ เพื่อให้รวู้ ่านกั เรยี นมขี อ้ บกพรอ่ งใด สาหรบั นาไปใชใ้ นก ๒. วิธกี ารบนั ทกึ ถา้ ทาถกู ต้องให้ใสเ่ ครอ่ื งหมาย ถ้าทาผิดใหใ้ ห้ใสเ่ ครอื่ งหมาย X (เครื่องหมาย ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพื่อประโยชนใ์ นการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนักเรียนเปน็ รายบุคคล และนาไปใ ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพ่ือประโยชน์ในการวนิ ิจฉยั ว่าขอ้ บกพร่องของนกั เรียนในภาพรวมของชั้นเรยี ๕. นักเรยี นต้องไดค้ ะแนนร้อยละ ๘๐ ขึน้ ไป จงึ จะผ่านเกณฑ์ กรณที ่ีนักเรียนไมผ่ า่ นเกณฑ์ ครผู สู้ อ
ะกดคาท่มี ีตัวสะกด ในแม่ กน และกง รวม ผลการประเมิน คะแนน* ผ่าน ไม่ผา่ น ขอ้ ท่ี ม่ กง คาที่มตี ัวสะกดตรงตามมาตราตัวสะกดแม่ กน ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ นการปรบั ปรงุ และพัฒนานกั เรียน เท่ากบั ๑ คะแนน เคร่อื งหมาย X เท่ากับ ๐ คะแนน) ใช้ในการปรบั ปรงุ และพัฒนานกั เรียนเปน็ รายบคุ คล ยน เพ่อื นาไปใชใ้ นการปรับปรุงและพฒั นาการจดั การเรยี นการสอน อนตอ้ งฝึกจนนักเรยี นเขยี นได้
แบบฝกึ ที่ ๒ กำรเขยี นสะกดคำท่ีมตี วั สะกดในแม่ กง และ แม่กน คาชี้แจง วงกลมลอ้ มรอบคาท่ีสะกดดว้ ย แมก่ ง และแมก่ น จากประโยคท่กี าหนดให้ แล้วเขยี นสะกดคา ที่วงกลมลงในตารางท่กี าหนด ตวั อยา่ ง แมด่ ึงผา้ ๑. ลงุ แดงมาหาแม่ ๒. วชิ ามาโรงเรยี นสาย ๓. ลูกหมากินข้าวในจาน ๔. พ่อใส่ทองให้แม่ ๕. ตายนื มองแสงแดดยามเช้า ขอ้ ที่ สะกดวา่ อ่านว่า ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐.
เฉลยคาตอบ สะกดว่า อา่ นว่า ลงุ ข้อท่ี ลอ - อุ - งอ แดง ๑. ดอ - แอ - งอ โรง ๒. รอ - โอ - งอ เรยี น ๓. รอ - เอยี - นอ กิน ๔. กอ - อิ - นอ จาน ๕. จอ - อา - นอ ทอง ๖. ทอ - ออ - งอ ยืน ๗. ยอ - ออื - นอ มอง ๘. มอ - ออ - งอ แสง ๙. สอ - แอ - งอ ๑๐.
แบบบนั ทึกแบบฝกึ ท่ี ๒ กำรเขียนสะกดคำทีม่ ีตวั สะกดในแม่ กง และ แมก่ น ข้อท่ี ผลการ ๕๖ ที่ ช่ือ -สกลุ รวมคะแนน* ประเมิน ๑ ๒ ๓ ๔ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ผา่ น ไม่ ผ่าน คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บนั ทกึ คะแนนของนกั เรยี นเปน็ รายขอ้ เพือ่ ใหร้ ู้ว่านักเรยี นมีขอ้ บกพร่องใด สาหรบั นาไปใชใ้ นการปรบั ปรุงและพัฒนา นักเรียน ๒. วธิ กี ารบนั ทกึ ถา้ ทาถูกต้องให้ใส่เครื่องหมาย ถา้ ทาผิดใหใ้ ห้ใสเ่ ครอื่ งหมาย X (เครือ่ งหมาย เทา่ กับ ๑ คะแนน เครื่องหมาย X เทา่ กับ ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพอ่ื ประโยชนใ์ นการวนิ ิจฉยั ขอ้ บกพรอ่ งของนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล และนาไปใช้ในการปรับปรุงและ พัฒนานกั เรียนเปน็ รายบคุ คล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัยวา่ ขอ้ บกพรอ่ งของนกั เรียนในภาพรวมของช้นั เรยี น เพ่อื นาไปใชใ้ นการ ปรับปรงุ และพัฒนาการจดั การเรียนการสอน ๕. นกั เรยี นตอ้ งได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ข้นึ ไป จงึ จะผ่านเกณฑ์ กรณที ่นี ักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ ครผู สู้ อนตอ้ งฝึกจนนกั เรยี น เขียนได้
ส่วนที่ ๓ แนวทางการวัดและประเมนิ ผลประจาหนว่ ย ฉบบั ท่ี ๑ การอา่ นสะกดคาที่มตี ัวสะกดตรงตามมาตรา คาชีแ้ จง ๑. ครยู กตวั อยา่ งการอา่ นสะกดคา คาว่า “กนิ ” ก่อนจบั เวลา ๒. ใหน้ ักเรยี นอ่านสะกดคา ภายในเวลา ๕ นาที ตวั อย่าง กิน สะกดวา่ กอ - อิ - นอ กนิ ๑. ขัน ๒. เคย ๓. จม ๔. ถาม ๕. เปียก ๖. พวก ๗. เกดิ ๘. ดาว ๙. ตบ ๑๐. ทอง เฉลยคาตอบ สะกดคา อ่านวา่ ขอ - อะ - นอ ขัน ขอ้ ที่ คา คอ - เออ - ยอ เคย ๑. ขัน จอ - โอะ - มอ จม ๒. เคย ถอ - อา - มอ ถาม ๓. จม ปอ - เอีย - กอ เปียก ๔. ถาม พอ - อัว - กอ พวก ๕. เปียก กอ - เออ - ดอ เกิด ๖. พวก ดอ - อา - วอ ดาว ๗. เกิด ตอ - โอะ - บอ ตบ ๘. ดาว ทอ - ออ - งอ ทอง ๙. ตบ ๑๐. ทอง
แบบบันทกึ ฉบับท่ี ๑ การอา่ นสะกดคาท่มี ีตัวสะกดตรงตามมาตรา ข้อที่ ผลการ ๕๖ ที่ ช่อื -สกุล รวมคะแนน* ประเมนิ ๑ ๒ ๓ ๔ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ผา่ น ไม่ ผ่าน คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บนั ทึกคะแนนของนักเรียนเป็นรายขอ้ เพอื่ ให้ร้วู ่านักเรยี นมีขอ้ บกพร่องใด สาหรบั นาไปใชใ้ นการปรบั ปรุงและพัฒนา นกั เรียน ๒. วธิ ีการบันทึก ถา้ ทาถกู ตอ้ งใหใ้ สเ่ คร่ืองหมาย ถ้าทาผดิ ใหใ้ หใ้ สเ่ ครื่องหมาย X (เครือ่ งหมาย เทา่ กับ ๑ คะแนน เคร่อื งหมาย X เท่ากับ ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพอ่ื ประโยชนใ์ นการวินจิ ฉัยขอ้ บกพรอ่ งของนกั เรียนเปน็ รายบุคคล และนาไปใชใ้ นการปรบั ปรุงและ พัฒนานกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพื่อประโยชน์ในการวนิ ิจฉยั วา่ ขอ้ บกพรอ่ งของนักเรยี นในภาพรวมของชั้นเรยี น เพ่ือนาไปใช้ในการ ปรับปรงุ และพัฒนาการจดั การเรียนการสอน ๕. นักเรียนต้องไดค้ ะแนนร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป จงึ จะผา่ นเกณฑ์ กรณที ีน่ กั เรยี นไมผ่ า่ นเกณฑ์ ครูผสู้ อนต้องฝึกจนนักเรยี นอา่ น ได้
ฉบบั ที่ ๒ การอ่านคาที่มตี ัวสะกดตรงตามมาตรา คาชีแ้ จง ให้นักเรียนอา่ นออกเสยี งคาที่กาหนดให้ต่อไปน้ี ภายในเวลา ๕ นาที ๑. คานบั ๑๑. นิสยั ๒. กาเนิด ๑๒. มะนาว ๓. กระโดด ๑๓. บันได ๔. ดินสอ ๑๔. ลางสาด ๕. ตะวนั ๑๕. ละมุด ๖. แจกัน ๑๖. วิตามิน ๗. ชิงชา้ ๑๗. ลดลง ๘. นยิ าย ๑๘. ระวงั ๙. แตงโม ๑๙. แมวลาย ๑๐. ทเุ รียน ๒๐. มังคุด
เฉลยคาตอบ อ่านคา ขอ้ ที่ คา ๑. คานบั คา - นับ ๒. รักษา รกั - สา ๓. กระโดด กรฺ ะ - โดด ๔. ดนิ สอ ดิน - สอ ๕. ตะวนั ตะ - วนั ๖. แจกัน แจ - กนั ๗. ชงิ ชา้ ชิง - ช้า ๘. นยิ าย นิ - ยาย ๙. แตงโม แตง - โม ๑๐. ทเุ รยี น ทุ - เรียน ๑๑. นสิ ัย นิ – ไส ๑๒. มะนาว มะ - นาว ๑๓. บันได บัน - ได ๑๔. ลางสาด ลาง - สาด ๑๕. ละมดุ ละ - มุด ๑๖. ลิงลม ลิง - ลม ๑๗. ลดลง ลด - ลง ๑๘. ระวงั ระ - วงั ๑๙. แมวลาย แมว - ลาย ๒๐. มงั คดุ มงั - คดุ
แบบบนั ทึกฉบับที่ ๒ การอา่ นคา ข้อที่ ท่ี ชอื่ -สกุล ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ใหบ้ ันทกึ คะแนนของนกั เรยี นเป็นรายข้อ เพอ่ื ให้ร้วู ่านกั เรยี นมขี อ้ บกพร่องใด สาหรับนาไปใช้ใน ๒. วธิ กี ารบันทึก ถา้ ทาถกู ตอ้ งใหใ้ ส่เครื่องหมาย ถา้ ทาผดิ ใหใ้ ห้ใสเ่ คร่อื งหมาย X (เครอ่ื งหมาย ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพื่อประโยชนใ์ นการวินิจฉัยข้อบกพร่องของนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล และนาไปใ ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพ่อื ประโยชน์ในการวนิ จิ ฉยั วา่ ข้อบกพรอ่ งของนักเรียนในภาพรวมของช้ันเรีย ๕. นกั เรียนต้องไดค้ ะแนนรอ้ ยละ ๘๐ ขน้ึ ไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณที นี่ ักเรยี นไมผ่ ่านเกณฑ์ ครูผสู้ อ
าท่มี ตี ัวสะกดตรงตามมาตรา ๑๓ รวมคะแนน* ผลการประเมิน ๑๔ ผ่าน ไมผ่ า่ น ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ นการปรบั ปรงุ และพฒั นานักเรียน เท่ากบั ๑ คะแนน เครอื่ งหมาย X เทา่ กับ ๐ คะแนน) ใช้ในการปรบั ปรุงและพฒั นานกั เรียนเป็นรายบคุ คล ยน เพอ่ื นาไปใชใ้ นการปรบั ปรุงและพฒั นาการจัดการเรยี นการสอน อนต้องฝึกจนนกั เรยี นอา่ นได้
ฉบบั ที่ ๓ การเขียนคาท่ีมีตัวสะกดตรงตามมาตรา คาชแี้ จง ๑. ให้นกั เรียนเขียนตามคาบอก ใชเ้ วลา ๒๐ นาที ๒. ให้ครอู า่ นคาให้นักเรยี นฟังคาละ ๒ คร้งั โดยเว้นเวลาใหน้ กั เรียนเขียนก่อนบอกคาในข้อต่อไป ขอ้ ที่ คาทีเ่ ขยี น ขอ้ ท่ี คาท่เี ขียน ๑. …………………………………………………… ๑๑. ……………………………………………………… ๒. ……………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑๒. ……………………………………………………… ๓. ………. …………………………………………… ๑๓. .……………………………………………………… ๔. ๑๔. ……………………………………………………… …………………………………………………… …. …………………………………………………… ………. …………………………………………… ……………………………………………………… …………………………………………………… .……………………………………………………… ……………………………………………………… ๕. …….……………………………………………… ๑๕. .……………………………………………………… …………………………………………………… ……………………………………………………… ๖. ………. …………………………………………… ๑๖. …. …………………………………………………… …………………………………………………… ……………………………………………………… ๗. ………. …………………………………………… ๑๗. .……………………………………………………… …………………………………………………… ……………………………………………………… ๘. …….……………………………………………… ๑๘. …. …………………………………………………… …………………………………………………… ……………………………………………………… ๙. ………. …………………………………………… ๑๙. …. …………………………………………………… …………………………………………………… ……………………………………………………… ๑๐. ………….……………………………………………… ๒๐. .……………………………………………………… …………………………………………………… ……………………………………………………… ……. .
คาที่ให้เขยี น ๑๑. สาว ๑. กบั ๑๒. แมง ๒. ลบ ๑๓. แขง็ ๓. ขาย ๑๔. เกม ๔. โรย ๑๕. กบ ๕. ดกึ ๑๖. เคยี ว ๖. บอก ๑๗. แจว ๗. หิน ๑๘. เลย ๘. นอน ๑๙. กิน ๙. เลอื ด ๒๐. ยมื ๑๐. เรว็
แบบบันทึกฉบับท่ี ๓ การเขีย ข้อที่ ที่ ชือ่ -สกลุ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ใหบ้ ันทกึ คะแนนของนกั เรยี นเปน็ รายขอ้ เพอ่ื ใหร้ วู้ ่านักเรียนมีขอ้ บกพรอ่ งใด สาหรบั นาไป ๒. วธิ กี ารบันทกึ ถา้ ทาถูกต้องใหใ้ ส่เครอื่ งหมาย ถา้ ทาผดิ ให้ให้ใสเ่ ครื่องหมาย X (เคร่ืองหม ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพ่อื ประโยชนใ์ นการวินจิ ฉยั ข้อบกพรอ่ งของนกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล และน ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพือ่ ประโยชน์ในการวนิ จิ ฉัยว่าขอ้ บกพร่องของนกั เรียนในภาพรวมของช ๕. นกั เรียนต้องได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ขึน้ ไป จงึ จะผ่านเกณฑ์ กรณที ี่นักเรยี นไมผ่ า่ นเกณฑ์ คร
ยนคาทม่ี ตี วั สะกดตรงตามมาตรา ผลการประเมิน ผา่ น ไมผ่ า่ น รวมคะแนน* ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ปใช้ในการปรบั ปรงุ และพัฒนานกั เรยี น มาย เท่ากับ ๑ คะแนน เคร่อื งหมาย X เท่ากับ ๐ คะแนน) นาไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนานกั เรยี นเป็นรายบุคคล ชัน้ เรยี น เพ่ือนาไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ และพฒั นาการจัดการเรยี นการสอน รูผสู้ อนตอ้ งฝกึ จนนักเรยี นเขยี นได้ -๖๕-
หนว่ ยท่ี 7 กำรผนั วรรณยุกต์คำทม่ี ตี วั สะกดตรงตำมมำตรำ สว่ นท่ี ๑ ความรู้สาหรบั ครู การผันวรรณยุกตค์ าทม่ี ีตัวสะกดตรงตามมาตรา แบ่งได้เปน็ ๒ กลุ่ม ดงั นี้ ๑. คาที่สะกดด้วยแม่กง แม่กน แม่กม แมเ่ กย แม่เกอว ๑.๑ พยัญชนะต้นอักษรกลาง ผนั ไดค้ รบท้ัง ๕ เสียง พื้นเสยี งเปน็ เสียงสามัญ เมื่อผนั วรรณยกุ ต์ แล้ว ออกเสยี งตรงตามรปู วรรณยกุ ต์นัน้ ๆ ๑) พยญั ชนะตน้ อกั ษรกลาง + สระเสยี งยาว + ตัวสะกด + วรรณยุกต์ ตวั อย่างการผนั วรรณยุกตโ์ ดยการแจกลูก คา เสยี งวรรณยุกต์ จตั วา สามัญ เอก โท ตรี กาง กาง ก่าง กา้ ง ก๊าง กาง บาน บาน บา่ น บ้าน บ๊าน บาน จาม จาม จา่ ม จ้าม จา๊ ม จาม ปาย ปาย ป่าย ปา้ ย ปา๊ ย ปา๋ ย ดาว ดาน ดา่ น ดา้ น ดา๊ น ดาน ๒) พยัญชนะตน้ อกั ษรกลาง + สระเสียงสัน้ + ตวั สะกด + วรรณยกุ ต์ ตวั อยา่ งการผันวรรณยกุ ต์โดยการแจกลกู คา เสียงวรรณยกุ ต์ จัตวา สามัญ เอก โท ตรี อง๋ิ ดน๋ิ อิง องิ อ่ิง อง้ิ อ๊งิ กมิ๋ ปุ๋ย ดนิ ดนิ ดน่ิ ดน้ิ ดน๊ิ ตว๋ิ กมิ กิม ก่มิ กิ้ม กม๊ิ ปุย ปุย ปุ่ย ปุ้ย ปุ๊ย ตวิ ตวิ ตว่ิ ตว้ิ ตว๊ิ ๑.๒ พยัญชนะต้นอักษรสูง ผันได้ ๓ เสียง พื้นเสียงเป็นเสียงจัตวา ผันด้วยรูปเอกเป็นเสียงเอก ผนั ด้วยรูปโทเป็นเสียงโท ๑) พยญั ชนะต้นอกั ษรสงู + สระเสียงยาว + ตัวสะกด + วรรณยกุ ต์ ตวั อยา่ งการผันวรรณยกุ ต์โดยการแจกลูก
คา เสยี งวรรณยกุ ต์ จตั วา สามญั เอก โท ตรี หาง - หา่ ง หา้ ง - หาง สาน - สา่ น สา้ น - สาน ขาม - ข่าม ขา้ ม - ขาม ถาย - ถ่าย ถา้ ย - ถาย สาว - สา่ ว สา้ ว - สาว ๒) พยัญชนะตน้ อกั ษรสูง + สระเสยี งส้ัน + ตวั สะกด + วรรณยุกต์ ตวั อยา่ งการผันวรรณยุกตโ์ ดยการแจกลกู คา สามญั เสียงวรรณยกุ ต์ จัตวา เอก โท ตรี ขิง - ขิ่ง ขง้ิ - ขงิ สัน - ส่นั สั้น - สัน ขิม - ข่ิม ข้มิ - ขิม ฉุย - ฉุ่ย ฉุย้ - ฉยุ สวิ - สิ่ว สว้ิ - สวิ ในกรณีนี้ ครูสามารถสอนโดยเร่ิมจากเสียงจัตวา ซ่งึ เปน็ พ้นื เสียงของคาที่ไม่มีรปู วรรณยุกต์กไ็ ด้ ๑.๓ พยัญชนะต้นอักษรต่า ผันได้ ๓ เสียง พ้ืนเสียงเป็นเสียงสามัญ ผันด้วยรูปเอกเป็นเสียงโท ผันดว้ ยรูปโทเป็นเสียงตรี ๑) พยัญชนะต้นอักษรตา่ + สระเสียงยาว + ตวั สะกด + วรรณยุกต์ ตัวอย่างการผันวรรณยกุ ต์โดยการแจกลูก คา เสียงวรรณยุกต์ จัตวา สามัญ เอก โท ตรี คาง คาง - ค่าง ค้าง - นาน นาน - น่าน น้าน - หาม หาม - หา่ ม ห้าม - ทาย ทาย - ทา่ ย ทา้ ย - ราว ราว - ร่าว รา้ ว -
๒) พยญั ชนะตน้ อักษรตา่ + สระเสียงสน้ั + ตวั สะกด + วรรณยกุ ต์ ตวั อยา่ งการผันวรรณยกุ ตโ์ ดยการแจกลูก คา เสยี งวรรณยุกต์ จัตวา สามัญ เอก โท ตรี - - ยงั ยงั - ยัง่ ย้งั - - ชนั ชงั - ช่ัง ช้งั - รุม รุม - รุ่ม รมั้ ทุย ทยุ - ทย่ ทุ้ย คิว ควิ - คิ่ว คว้ิ หมายเหตุ คาท่ีมีตัวสะกดและมีรูปวรรณยุกต์น้ี หลายคาไม่มีความหมาย แต่การสอนนักเรียน ตอ้ งสอนให้เหน็ หลกั การผันเสียงวรรณยุกต์ แม้คาท่ีนามาผันเสยี งวรรณยุกต์นจ้ี ะไม่มีความหมายกต็ าม ๒. คาท่ีสะกดดว้ ยมาตราตวั สะกดแมก่ ก แม่กบ แม่กด ๒.๑ พยญั ชนะตน้ อักษรกลาง ผนั ได้ ๔ เสียง พนื้ เสียงเป็นเสยี งเอก เมื่อผนั รปู และเสยี ง วรรณยุกตต์ รงกัน (ไม่มีเสยี งสามญั ) ๑) พยัญชนะตน้ อกั ษรกลาง + สระเสียงยาว + ตัวสะกด + วรรณยุกต์ ตวั อย่างการผันวรรณยุกต์โดยการแจกลูก คา เสยี งวรรณยกุ ต์ จตั วา สามญั เอก โท ตรี บาก - บาก บ้าก บ๊าก บาก จาบ - จาบ จา้ บ จ๊าบ จาบ กาด - กาด ก้าด ก๊าด กาด ๒) พยญั ชนะต้นอักษรกลาง + สระเสียงส้ัน + ตวั สะกด + วรรณยกุ ต์ ตวั อย่างการผนั วรรณยุกต์โดยการแจกลกู คา เสยี งวรรณยุกต์ จตั วา สามญั เอก โท ตรี ดกุ บุบ ดกุ - ดกุ ดกุ้ ดกุ๊ ปั๋ด บบุ - บุบ บุบ้ บุ๊บ ปัด - ปัด ปั้ด ปั๊ด
๒.๒ พยัญชนะต้นอักษรสูง ผันได้ ๒ เสียง พืน้ เสยี งเป็นเสียงเอก ผนั ด้วยรูปโทเป็นเสียงโท ๑) พยญั ชนะตน้ อักษรสงู + สระเสียงยาว + ตัวสะกด + วรรณยกุ ต์ ตวั อยา่ งการผันวรรณยุกต์โดยการแจกลูก คา สามญั เสียงวรรณยุกต์ จัตวา เอก โท ตรี สาก - สาก ส้าก - - หาบ - หาบ ห้าบ - - ขาด - ขาด ข้าด - - ๒) พยัญชนะตน้ อกั ษรสูง + สระเสียงสน้ั + ตัวสะกด + วรรณยกุ ต์ ตัวอยา่ งการผนั วรรณยุกต์โดยการแจกลูก คา เสยี งวรรณยุกต์ จัตวา สามญั เอก โท ตรี - - พัก - - พก้ั พัก - รบั - - รบ้ั รับ หัด - - หั้ด หัด ๒.๓ พยัญชนะตน้ อักษรตา่ ๑) พยัญชนะต้นอักษรต่า + สระเสียงยาว + ตัวสะกด + วรรณยุกต์ ผันได้ ๒ เสียง พื้นเสียงเป็นเสียงโท ผันดว้ ยรูปโทเปน็ เสียงตรี ตัวอย่างการผนั วรรณยุกต์โดยการแจกลูก คา เสยี งวรรณยกุ ต์ จตั วา สามัญ เอก โท ตรี ชาก - - ชาก ช้าก - คาบ - - คาบ ค้าบ - ลาด - - ลาด ล้าด - ๒) พยญั ชนะตน้ อกั ษรตา่ + สระเสยี งสน้ั + ตัวสะกด + วรรณยุกต์ ผนั ได้ ๑ เสียงพื้นเสียง เป็นเสยี งตรี ขอ้ เสนอแนะ การสอนผันวรรณยุกต์ทม่ี ตี ัวสะกดตรงมาตรา ควรสอนตามลาดบั เน้อื หา ดังต่อไปนี้ ๑. สอนพยัญชนะต้นอักษรกลางเป็นกลุ่มที่ผันได้ง่ายที่สุด เพราะสามารถผันวรรณยุกต์ได้ครบ ทั้ง ๕ เสียง และมรี ปู กบั เสยี งวรรณยุกตต์ รงกนั ๒. สอนพยัญชนะต้นอักษรสูงเป็นกลุ่มที่ผันได้ง่ายลาดับถัดมา เพราะสามารถผันวรรณยุกต์ได้ ๓ เสียง และมรี ูปกบั เสยี งวรรณยุกต์ตรงกัน ๒ เสยี ง
๓. สอนพยญั ชนะตน้ อักษรต่าเป็นกลุ่มท่ีผันได้ยากท่ีสุด เพราะสามารถผันวรรณยุกต์ได้ ๓ เสียง และมรี ูปกับเสียงวรรณยกุ ต์ไม่ตรงกัน ๒ เสียง ข้อสังเกตกลุ่มนี้เสียงวรรณยุกต์จะเล่ือนจากรูปไป ๑ ระดับ คือ รปู เอก เสียงโท รปู โท เสียงตรี
สว่ นที่ ๒ แนวทางการจดั การเรียนรู้ การผันรูปวรรณยุกต์คาที่มีตวั สะกดตรงตามมาตรา มีข้ันตอนการจดั การเรยี นรู้ ดังนี้ ข้ันที่ ๑ สอนผันวรรณยกุ ตท์ ่ีมตี ัวสะกดตรงมาตราในกลุม่ พยญั ชนะต้นอักษรกลาง ๑. ครูทบทวนคาทม่ี ีสระเสยี งสัน้ และคาท่ีมสี ระเสียงยาว เพื่อให้นักเรียนเขา้ ใจในลักษณะของคา และการออกเสียงที่แตกต่างกัน โดยอาจใช้กิจกรรมเพลง เกม บตั รคา บัตรภาพ เป็นต้น ๒. ทบทวนความรู้เดิมของนักเรียนเก่ียวกับคาท่ีมีพยัญชนะต้นเป็นอักษรกลาง มี ๙ ตัว ได้แก่ ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ (ฎ ฏ ไม่ใชใ้ นการสอนสะกดคาในหน่วยนี้) ๓. ฝึกออกเสียงผันคาแจกลูก และสะกดคา กลุ่มพยัญชนะต้นอักษรกลาง ประสมสระเสียงยาว และสระเสียงสั้น ตัวสะกดตรงตามมาตรา และวรรณยุกต์ ยกตัวอย่างการผันวรรณยุกต์ที่มีตัวสะกด ตรงมาตราในแม่กง แมก่ น แม่กม แมเ่ กย แมเ่ กอว ๔. ฝึกออกเสียงผันคาแจกลูก และสะกดคา กลุ่มพยัญชนะต้นอักษรกลาง ประสมสระเสียงยาว และสระเสียงสั้น ตัวสะกดตรงตามมาตรา และวรรณยุกต์ ยกตัวอย่างการผันวรรณยุกต์ที่มีตัวสะกด ตรงมาตรา ใน แม่กก แม่กบ แม่กด โดยครูออกเสียงอ่านนา แล้วให้นักเรียนอ่านออกเสียงตามครูช้า ๆ ออกเสียงพร้อมกันเป็นกลุ่ม และออกเสียงเป็นรายคน ออกเสียงให้ชัดเจน แล้วฝึกซ้า ๆ เพื่อให้เกิดความ แมน่ ยา โดยใช้สอื่ ประกอบ ๕. นกั เรียนทาแบบฝกึ การผันวรรณยกุ ตท์ ีม่ ีตวั สะกดตรงตามมาตรา ๖. ครใู ช้สอื่ ประกอบการเรียนรู้ เชน่ ตารางการผันวรรณยกุ ต์กล่มุ พยญั ชนะต้นอักษรสูง ขนั้ ที่ ๒ สอนผนั วรรณยกุ ตท์ ี่มตี ัวสะกดตรงมาตราในกล่มุ พยญั ชนะต้นอกั ษรสูง ๑. ครูทบทวนคาที่มีสระเสยี งส้ันและคาท่ีมีสระเสยี งยาว เพื่อใหน้ กั เรยี นเข้าใจในลักษณะของคา และการออกเสยี งที่แตกต่างกัน โดยอาจใช้กจิ กรรมเพลง เกม บตั รคา บตั รภาพ เปน็ ตน้ ๒. ทบทวนความรู้เดิมของนกั เรยี นเกย่ี วกับคาทมี่ ีพยัญชนะต้นเป็นอักษรสูง มี ๑๑ ตวั ไดแ้ ก่ ข ฃฉฐถผฝศษสห ๓. ฝึกออกเสียงผันคาแจกลูก และสะกดคา กลุ่มพยัญชนะต้นอักษรสูง ประสมสระเสียงยาว และสระเสียงส้ัน ตัวสะกดตรงตามมาตรา และวรรณยุกต์ ยกตัวอย่างการผันวรรณยุกต์ท่ีมีตัวสะกด ตรงมาตราในแม่กง แมก่ น แม่กม แม่เกย แม่เกอว ๔. ฝึกออกเสียงผันคาแจกลูก และสะกดคา กลุ่มพยัญชนะต้นอักษรสูง ประสมสระเสียงยาว และสระเสียงส้ัน ตัวสะกดตรงตามมาตรา และวรรณยุกต์ ยกตัวอย่าง การผันวรรณยุกต์ที่มีตัวสะกดตรง มาตราในแม่กก แม่กบ แม่กด โดยครูออกเสียงอ่านนา แล้วให้นักเรียนอ่านออกเสียงตามครูช้า ๆ ออก เสียง พร้อมกันเป็นกลุ่ม และออกเสียงเป็นรายคน ออกเสียงให้ชัดเจน แล้วฝึกซ้า ๆ เพ่ือให้เกิดความ แม่นยา โดยใชส้ ่อื ประกอบ ๕. นักเรียนทาแบบฝกึ การผนั วรรณยกุ ตท์ ่มี ตี ัวสะกดตรงตามมาตรา ๖. ครูใชส้ ือ่ ประกอบการเรียนรู้ เชน่ ตารางการผนั วรรณยุกต์กลุ่มพยัญชนะตน้ อักษรสงู
ข้ันที่ ๓ สอนผนั วรรณยุกตท์ ่ีมีตัวสะกดตรงมาตราในกลมุ่ พยัญชนะตน้ อักษรตา่ ๑. ครูทบทวนคาทีม่ สี ระเสียงสน้ั และคาท่ีมีสระเสยี งยาว เพื่อให้นักเรียนเขา้ ใจในลักษณะของคา และการออกเสียงที่แตกต่างกัน โดยอาจใช้กจิ กรรมเพลง เกม บัตรคา บัตรภาพ เปน็ ตน้ ๒. ทบทวนความรูเ้ ดมิ ของนักเรยี นเกย่ี วกบั คาทีม่ ีพยญั ชนะต้นเป็นอักษรตา่ มี ๒๔ ตวั ได้แก่ คฅฆงชซฌญฑฒณทธนพฟภมยรลวฬฮ ๓. ฝึกออกเสียงผันคาแจกลูก และสะกดคา กลุ่มพยัญชนะต้นอักษรต่า ประสมสระเสียงยาว และสระเสียงส้ัน ตัวสะกดตรงตามมาตรา และวรรณยุกต์ ยกตัวอย่าง การผันวรรณยุกต์ท่ีมีตัวสะกด ตรงมาตราในแม่กง แมก่ น แม่กม แม่เกย แมเ่ กอว ๔. ฝึกออกเสียงผันคาแจกลูก และสะกดคา กลุ่มพยัญชนะต้นอักษรต่า ประสมสระเสียงยาว และสระเสียงสั้น ตัวสะกดตรงตามมาตรา และวรรณยุกต์ ยกตัวอย่าง การผันวรรณยุกต์ท่ีมีตัวสะกด ตรงมาตราในแม่กก แม่กบ แม่กด โดยครูออกเสียงอ่านนา แล้วให้นักเรียนอ่านออกเสียงตามครูช้า ๆ ออกเสียงพร้อมกันเป็นกลุ่มและออกเสียงเป็นรายคน ออกเสียงให้ชัดเจน แล้วฝึกซ้า ๆ เพ่ือให้เกิด ความแมน่ ยา โดยใชส้ ่ือประกอบ ๕. นักเรยี นทาแบบฝึกการผันวรรณยกุ ตท์ ่มี ตี ัวสะกดตรงตามมาตรา ๖. ครใู ช้สื่อประกอบการเรียนรู้ เช่น ตารางการผนั วรรณยุกต์กลุ่มพยัญชนะตน้ อกั ษรตา่ ขั้นที่ ๔ สอนฝึกการผันวรรณยุกต์ตรงตามมาตราตัวสะกดท่ีมีพยัญชนะต้นเป็นอักษรกลาง อักษรสูง และอกั ษรต่า ท้ังท่ปี ระสมด้วยสระเสยี งยาว และเสยี งสนั้ ๑. ครูทบทวนคาทม่ี ีสระเสียงสัน้ และคาที่มีสระเสียงยาว เพอ่ื ให้นักเรียนเข้าใจในลักษณะของคา และการออกเสียงที่แตกต่างกัน โดยอาจใชก้ จิ กรรมเพลง เกม บัตรคา บัตรภาพ เป็นตน้ ๒. ทบทวนความรู้เดิมของนักเรียนเก่ียวกับคาที่มีพยัญชนะต้นเป็นอักษรกลาง อักษรสูง และอักษรต่า ๓. ให้นักเรียนฝึกออกเสียงผันคาแจกลูก และสะกดคา กลุ่มพยัญชนะต้นอักษรกลาง อักษรสูง และอักษรต่า ประสมสระเสียงยาว และสระเสียงส้ัน ตัวสะกดตรงตามมาตรา และวรรณยุกต์ ยกตัวอย่าง การผันวรรณยุกตท์ ีม่ ีตัวสะกดตรงมาตราในแมก่ ง แม่กน แมก่ ม แม่เกย (ย) แม่เกอว ๔. ให้นักเรียนฝึกออกเสียงผันคาแจกลูก และสะกดคา กลุ่มพยัญชนะต้นกลุ่มพยัญชนะต้น อักษรกลาง อักษรสูง และอักษรต่า ประสมสระเสียงยาว และสระเสียงส้ัน ตัวสะกดตรงตามมาตรา และวรรณยุกต์ ยกตวั อย่าง การผันวรรณยุกตท์ ่มี ตี ัวสะกดตรงมาตราในแม่กก แม่กบ แม่กด โดยครูสังเกตและตรวจสอบว่า ยังมีนักเรียนคนใดที่ยังผันวรรณยุกต์ที่มีมาตราตัวสะกดตรง ตามมาตราไม่ได้ ให้ซ่อมเสริมทันที สาหรับนักเรียนทผี่ นั ได้แลว้ อาจให้ทาแบบฝกึ ทักษะเสริมต่อไป
ตวั อยา่ งการนาแนวทางการจดั การเรยี นรูไ้ ปใช้ในหอ้ งเรยี น หน่วยที่ ๗ การผันวรรณยุกต์ทมี่ ตี ัวสะกดตรงมาตรา จดุ ประสงค์ของการเรียนรู้ (๔ ชวั่ โมง) ๑. เพ่อื ให้นักเรียนออกเสยี งผันคาทีม่ ีวรรณยุกตแ์ ละตวั สะกดตรงตามมาตราได้ถูกต้อง ๒. เพอ่ื ใหน้ ักเรียนอา่ นและเขียนคาทมี่ ีวรรณยุกตแ์ ละตัวสะกดตรงตามมาตราได้ถูกตอ้ ง แนวทางการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑ (๑ ช่ัวโมง) การผนั วรรณยกุ ต์คาพยัญชนะตน้ อักษรกลางทม่ี ีตวั สะกดตรงมาตรา (๑ ช่ัวโมง) (๑ ชวั่ โมง) แนวทางการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๒ (๑ ช่วั โมง) การผันวรรณยกุ ต์คาพยัญชนะตน้ อักษรสูงท่ีมตี ัวสะกดตรงมาตรา แนวทางการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๓ การผนั วรรณยกุ ต์คาพยญั ชนะต้นอักษรตา่ ที่มีตวั สะกดตรงมาตรา แนวทางการจัดการเรยี นรู้ที่ ๔ การฝกึ และทบทวนการผันวรรณยกุ ต์คาที่มตี วั สะกดตรงตามมาตรา
แนวทางการจัดการเรยี นรู้ที่ ๑ (๑ ชั่วโมง) การผนั วรรณยุกต์คาพยญั ชนะต้นอักษรกลางท่มี ีตัวสะกดตรงมาตรา จุดประสงค์การเรียนรู้ อ่านและเขียนคาท่ีมีพยัญชนะต้นอักษรกลางที่มีตวั สะกดตรงมาตรา และมีรปู วรรณยกุ ต์ ขัน้ ตอนการจัดการเรยี นรู้ ๑. ข้นั นา ๑.๑ ครทู บทวนคาที่มีสระเสียงสั้นและคาท่ีมีสระเสียงยาว เพื่อให้นักเรียนเข้าใจในลักษณะของ คาและการออกเสยี งทีแ่ ตกต่างกนั โดยอาจใชก้ ิจกรรมเพลง เกม บตั รคา บัตรภาพ เปน็ ตน้ ๑.๒ ทบทวนความรู้เดิมของนักเรียนเก่ียวกับคาท่ีมีพยัญชนะต้นเป็นอักษรกลาง มี ๙ ตัว ได้แก่ ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ (ฎ ฏ ไม่ใชใ้ นการสอนสะกดคาในหน่วยน้ี) ๒. ขัน้ สอน ๒.๑ ครูสอนออกเสียงผันคาแจกลูก และสะกดคา กลุ่มพยัญชนะต้นอักษรกลาง ประสม สระเสยี งยาวและสระเสยี งสั้น ตัวสะกดตรงตามมาตรา และวรรณยุกต์ ยกตัวอย่าง การผันวรรณยุกต์ที่มี ตัวสะกดตรงมาตราในแม่กง แมก่ น แม่กม แมเ่ กย แม่เกอว เชน่ ๑) พยญั ชนะต้นอกั ษรกลาง + สระเสยี งยาว + ตัวสะกด + วรรณยกุ ต์ กาง ก + า + ง = กาง กาง + = ก่าง กาง + = ก้าง กาง + = กาง กาง + = ก๋าง ๒) พยญั ชนะต้นอักษรกลาง + สระเสียงส้ัน + ตวั สะกด + วรรณยกุ ต์ กิน ก + - + น = ดนิ ดิน + = ดน่ิ ดนิ + = ดน้ิ ดนิ + = ด๊ิน ดิน + = ด๋ิน
วรรณยุกต์ เชน่ จากน้ัน จึงสอนให้ผันเสียงแบบแจกลูก โดยยึดพยัญชนะต้น สระ ตัวสะกด และ กาง กา่ ง กา้ ง กาง ก๋าง จาม จ่าม จา้ ม จาม จ๋าม ดอย ด่อย ด้อย ดอย ด๋อย ตอน ต่อน ตอ้ น ตอน ตอ๋ น บิว บิ่ว บิ้ว บิ๊ว บิ๋ว อูด อูด่ อูด้ อดู อ๋ดู ครูออกเสียงอ่านนา แล้วให้นักเรียนอ่านออกเสียงตามครูช้า ๆ พร้อมกันเป็นกลุ่ม และเปน็ รายบคุ คลใหช้ ัดเจน ควรฝกึ ซ้า ๆ เพอ่ื ให้เกดิ ความแมน่ ยาโดยใชส้ อ่ื ประกอบ ๒.๒ ครยู กตัวอยา่ งฝึกออกเสยี งผนั คาโดยการแจกลูก และสะกดคาท่ีมีพยัญชนะต้นอักษรกลาง ประสมสระเสียงยาว และสระเสียงส้ัน ตัวสะกดตรงตา มมาตรา และวรรณยุกต์ ยกตัวอย่าง การผันวรรณยุกต์ทม่ี ีตัวสะกดตรงมาตราในแม่กก แม่กบ แม่กด เชน่ ๑) พยัญชนะต้นอักษรกลาง + สระเสยี งยาว + ตวั สะกด + วรรณยุกต์ จาก จ + า + ก = จาก (เสยี งเอก) จาก + - = จ้าก (เสยี งโท) จาก + - = จาก (เสียงตรี) จาก + - = จ๋าก (เสยี งจัตวา) ๒) พยญั ชนะตน้ อกั ษรกลาง+ สระเสียงส้นั + ตวั สะกด + วรรณยกุ ต์ กบ ก + โ-ะ + บ = กบ (เสยี งเอก) กบ + = ก้บ (เสียงโท) กบ + = กบ (เสยี งตรี) กบ + = ก๋บ (เสยี งจตั วา) ๒.๓ ครูสอนการผันเสียงวรรณยุกต์ แบบแจกลูกและสะกดคา โดยเร่ิมที่การสอน ผัน พยัญชนะต้นอักษรกลาง โดยครูนาตารางการผันติดไว้บนกระดานหรือกระดานเคลื่อนที่ ครูอ่านนา และให้นักเรียนอ่านตาม (ครูให้นักเรียนฝึกอ่านพร้อมกัน อ่านเป็นรายกลุ่ม และอ่านเป็นรายบุคคล) จากนนั้ ครหู าคาท่เี ปน็ เสยี งสามัญให้นักเรียนฝกึ อ่านตามตาราง
ตารางการฝกึ ผันวรรณยุกต์ ผนั เสยี งวรรณยุกต์ จัตวา เอก โท ตรี กาง คา สามัญ ก่าง ก้าง กา๊ ง จาม กาง กาง จา่ ม จา้ ม จา๊ ม ดอย จาม จาม ดอ่ ย ด้อย ด๊อย ตอน ดอย ดอย ต่อน ตอ้ น ตอ๊ น บิ๋ว ตอน ตอน บิ่ว บิ้ว บิ๊ว บิว บิว ๒.๔ ให้นักเรียนฝึกผนั ทลี ะคน ถ้าผนั ไมถ่ ูกต้อง ครแู นะนาแกไ้ ข ๒.๕ ครูแจกบตั รคาใหน้ ักเรยี นทุกคน แล้วสุ่มนักเรียนผนั คาทลี ะคนใหเ้ พ่ือนฟัง ๒.๖ ให้นักเรียนทาแบบฝึกการผันวรรณยุกต์คาที่มีตัวสะกดตรงตามมาตรา โดยให้นักเรียน ออกเสียงการผันคาใหค้ รเู ป็นรายคน (บันทึกคะแนนลงในแบบบันทึกคะแนนแบบฝึก) หากพบว่า นักเรียน คนใดยงั เขยี นไมไ่ ด้หรอื เขยี นไมถ่ ูกตอ้ ง ตอ้ งแกไ้ ขทันที โดยให้ทาแบบฝกึ ซ้า ๆ หรือถ้านักเรียนคนใดเข้าใจ ดแี ล้ว ใหน้ ักเรยี นทาแบบฝึกเสริมอนื่ ๆ หมายเหตุ ครเู ตรยี มเอกสาร หรือหนังสือไว้ให้นักเรียนได้ค้นหาคา เม่ือนักเรียนทาแบบฝึกอ่าน ได้ประมาณ ๓ ข้อ สุ่มนักเรียนนาเสนอรายบุคคล จากนั้นให้นักเรียนนาแบบฝึกไปทาเป็นการบ้าน ให้นักเรียนฝึกผันคา ๓. ขั้นสรปุ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปการผันวรรณยุกต์และเขียนแจกลูกคา ที่มีตัวสะกดตรงมาตรา ในกลุม่ พยญั ชนะตน้ อักษรกลาง สอ่ื การสอน ๑. กระดานเคลอื่ นทีห่ รอื อุปกรณอ์ น่ื ๆ ทใ่ี ช้ตดิ บตั รคาได้ ตามความเหมาะสม ๒. บัตรคา บัตรภาพ ๓. ตารางผนั วรรณยกุ ต์ ๓. แบบฝึก การวัดและประเมนิ ผล การตรวจแบบฝกึ
แบบฝึกการผันวรรณยุกต์คาทม่ี ตี ัวสะกดตรงตามมาตรา คาชี้แจง ให้นกั เรียนผันวรรณยกุ ต์คาต่อไปน้ใี ห้ครูฟังเป็นรายบคุ คล ใชเ้ วลา ๑๐ นาที ข้อท่ี คา เอก โท ตรี จัตวา 1. กาน กา่ น ก้าน กา๊ น กาน 2. ตงั ตง่ั ตง้ั ตง๊ั ตง๋ั 3. บน บ่น บ้น บ๊น บน 4. กม กม่ ก้ม ก๊ม กม 5. เดิม เดิ่ม เดิ้ม เดิ๊ม เดิ๋ม 6. ดาว ดา่ ว ดา้ ว ดา๊ ว ดาว 7. ปวย ปว่ ย ป้วย ปว๊ ย ปว๋ ย 8. ตนู ตนู่ ตนู้ ตนู๊ ตนู 9. แปง แป่ง แปง้ แปง๊ แป๋ง 10. จอง จอ่ ง จ้อง จ๊อง จอง
แบบบนั ทึกผลการผันวรรณยุกต์คาทีม่ ีตัวสะกดตรงตามมาตรา ข้อที่ ผลการ รวม ประเมิน ท่ี ช่ือ -สกุล คะแนน* ไม่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ผ่าน ผ่าน คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ใหบ้ นั ทึกคะแนนของนักเรยี นเปน็ รายขอ้ เพ่ือให้รู้วา่ นักเรียนมขี อ้ บกพร่องใด สาหรบั นาไปใช้ในการปรับปรงุ และพัฒนา นกั เรยี น ๒. วธิ ีการบันทกึ ถ้าทาถกู ตอ้ งให้ใส่เครือ่ งหมาย ถา้ ทาผิดใหใ้ หใ้ สเ่ ครือ่ งหมาย X (เครอ่ื งหมาย เทา่ กบั ๑ คะแนน เคร่อื งหมาย X เทา่ กับ ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพอ่ื ประโยชนใ์ นการวนิ ิจฉัยขอ้ บกพรอ่ งของนกั เรียนเปน็ รายบคุ คล และนาไปใช้ในการปรบั ปรุงและ พัฒนานักเรียนเปน็ รายบคุ คล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพอ่ื ประโยชน์ในการวินิจฉยั วา่ ข้อบกพรอ่ งของนักเรยี นในภาพรวมของช้นั เรยี น เพื่อนาไปใชใ้ นการ ปรบั ปรุงและพฒั นาการจดั การเรยี นการสอน ๕. นกั เรียนต้องไดค้ ะแนนร้อยละ ๘๐ ขึน้ ไป จึงจะผ่านเกณฑ์ กรณที ่นี กั เรียนไมผ่ ่านเกณฑ์ ครูผสู้ อนต้องฝึกจนนกั เรยี นผัน วรรณยกุ ตไ์ ด้
ส่วนที่ ๓ แนวทางการวดั และประเมนิ ผลประจาหนว่ ย ฉบับที่ ๑ การผนั วรรณยกุ ต์คาทม่ี ตี วั สะกดตรงตามมาตรา คาชี้แจง ใหน้ ักเรยี นเขียนเสียงและรูปวรรณยุกตข์ องคาใหถ้ ูกต้อง ขอ้ ที่ คา เสยี งวรรณยกุ ต์ รปู วรรณยุกต์ ตัวอยา่ ง บา้ น โท ไม้โท ๑ ดน้ิ ๒ ย่อง ๓ ห้อง ๔ ข้าว ๕ กอด ๖ เลย้ี ว ๗ เจย๊ี บ ๘ ซา้ ย ๙ ส้ม ๑๐ อ่าง
เฉลยคาตอบ คา เสียงวรรณยุกต์ รูปวรรณยกุ ต์ ที่ เสียงโท - ๑ ดน้ิ เสียงโท ๒ ย่อง เสยี งโท ๓ หอ้ ง เสียงโท ๔ ขา้ ว เสยี งสามญั ๕ กอด เสียงตรี ๖ เลีย้ ว เสียงตรี ๗ เจ๊ยี บ เสียงตรี ๘ ซา้ ย เสียงโท ๙ ส้ม เสียงเอก ๑๐ อา่ ง
แบบบนั ทกึ คะแนนการผันวรรณยุกต์คาที่มีตวั สะกดตรงตามมาตรา ข้อที่ ผลการ รวม ประเมิน ท่ี ช่ือ -สกลุ คะแนน* ไม่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ผา่ น ผ่าน คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บนั ทกึ คะแนนของนักเรียนเป็นรายขอ้ เพือ่ ใหร้ วู้ ่านักเรยี นมีขอ้ บกพร่องใด สาหรบั นาไปใชใ้ นการปรับปรุงและพัฒนา นักเรียน ๒. วิธีการบนั ทกึ ถา้ ทาถกู ต้องใหใ้ ส่เคร่ืองหมาย ถา้ ทาผดิ ใหใ้ ห้ใสเ่ คร่อื งหมาย X (เคร่อื งหมาย เทา่ กับ ๑ คะแนน เครอ่ื งหมาย X เท่ากับ ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพอ่ื ประโยชนใ์ นการวนิ ิจฉยั ขอ้ บกพร่องของนกั เรยี นเป็นรายบุคคล และนาไปใช้ในการปรบั ปรุงและ พฒั นานักเรียนเปน็ รายบุคคล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพอ่ื ประโยชน์ในการวนิ ิจฉัยว่าขอ้ บกพร่องของนักเรยี นในภาพรวมของชน้ั เรียน เพื่อนาไปใช้ในการ ปรับปรุงและพัฒนาการจดั การเรยี นการสอน ๕. นักเรยี นตอ้ งได้คะแนนร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป จงึ จะผา่ นเกณฑ์ กรณที นี่ ักเรยี นไม่ผ่านเกณฑ์ ครผู สู้ อนต้องฝกึ จนนักเรยี น เขยี นได้
ฉบบั ท่ี ๒ การอ่านสะกดคาที่มวี รรณยกุ ต์และมตี ัวสะกดตรงตามมาตรา คาชแ้ี จง ๑. ครูยกตวั อยา่ งการอ่านสะกดคาทม่ี ีรปู วรรณยุกต์ ๒. ให้นกั เรียนอ่านสะกดคา ภายในเวลา ๑๐ นาที ตวั อยา่ งการอ่านสะกดคา บ้าน สะกดวา่ บอ - อา - บา - บา - นอ - บาน - บาน - โท บา้ น บอ - อา - นอ - บาน - บาน - โท บ้าน หรอื บอ - อา - นอ - บาน - บาน - ไม้โท บา้ น ๑. กา้ น ๖. ออ้ ย ๒. จอม ๗. เลยี้ ง ๓. ขา้ ว ๘. เชา้ ๔. ทา้ ย ๙. จ้ิงจอก ๕. ปี๊บ ๑๐. เรอื่ งราว
เฉลยคาตอบ อ่านสะกดคา ขอ้ คา ๑. กา้ น กอ - อา - กา - กา - นอ - กาน - กาน - โท กา้ น กอ - อา - นอ - กาน - กาน - โท ก้าน ๒. จอม หรอื กอ - อา - นอ - กาน - กาน - ไม้โท ก้าน ๓. ข้าว จอ - ออ - จอ - จอ - มอ - จอม - จอม - จตั วา จอม จอ - ออ - มอ - จอม - จอม - จตั วา จอม ๔. ทา้ ย หรอื จอ - ออ - มอ - จอม - จอม - ไมจ้ ัตวา จอม ๕. ปี๊บ ขอ - อา - ขา - ขา - วอ - ขาว - ขาว - โท ขา้ ว ขอ - อา - วอ - ขาว - ขาว - โท ข้าว ๖. ออ้ ย หรอื ขอ - อา - วอ - ขาว - ขาว - ไม้โท ข้าว ๗. เล้ยี ง ทอ - อา - ทา - ทา - ยอ - ทาย - ทาย - โท ทา้ ย ทอ - อา - ยอ - ทาย - ทาย - โท ทา้ ย ๘. เชา้ หรือ ทอ - อา - ยอ - ทาย - ทาย - ไมโ้ ท ท้าย ๙. จ้งิ จอก ปอ - อี - ปี - ปี - บอ - ปีบ - ปีบ - ตรี ปบี๊ ๑๐. เรื่องราว ปอ - อี - บอ - ปีบ - ปีบ - ตรี ปี๊บ หรือ ปอ - อี - บอ - ปีบ - ปีบ - ไมต้ รี ปี๊บ ออ - ออ - ออ - ออ - ยอ - ออย - ออย - โท ออ้ ย ออ - ออ - ยอ - ออย - ออย - โท อ้อย หรอื ออ - ออ - ยอ - ออย - ออย - ไมโ้ ท ออ้ ย ลอ - เอีย - เลยี - เลีย - งอ - เลียง - เลียง - โท เล้ยี ง ลอ - เอยี - งอ - เลยี ง - เลยี ง - โท เลี้ยง หรอื ลอ - เอยี - งอ - เลียง - เลยี ง - ไมโ้ ท เลยี้ ง ชอ - เอา - เชา - เชา - โท เชา้ หรือ ชอ - เอา - เชา - ไมโ้ ท เช้า จอ - อิ - จิ - จิ - งอ - จงิ - จงิ - โท จิ้ง จอ - ออ - จอ - จอ - กอ จอก จง้ิ จอก จอ - อิ - งอ - จงิ - จงิ - โท จ้งิ จอ - ออ - กอ จอก จิง้ จอก หรอื จอ - อิ - งอ - จงิ - จิง - ไมโ้ ท จง้ิ จอ - ออ - กอ จอก จ้ิงจอก รอ - เอือ - เรอื - เรอื - งอ - เรอื ง - เรอื ง - เอก เรื่อง รอ - อา - รา - รา - วอ ราว เรอื่ งราว รอ - เอือ - งอ - เรือง - เรอื ง - เอก เรื่อง รอ - อา - วอ ราว เร่ืองราว หรือ รอ - เออื - งอ - เรอื ง - ไมเ้ อก เร่ือง รอ - อา - วอ ราว เร่ืองราว
แบบบนั ทกึ การอ่านสะกดคาท่มี ีวรรณยุกตแ์ ละมตี ัวสะกดตรงตามมาตรา ขอ้ ที่ ผลการ รวม ประเมิน ที่ ชือ่ -สกุล คะแนน* ไม่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ผ่าน ผา่ น คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บนั ทกึ คะแนนของนกั เรียนเปน็ รายขอ้ เพอ่ื ใหร้ ู้ว่านกั เรยี นมีขอ้ บกพรอ่ งใด สาหรบั นาไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ และพัฒนา นักเรยี น ๒. วิธีการบนั ทกึ ถ้าทาถูกตอ้ งให้ใส่เคร่อื งหมาย ถา้ ทาผิดใหใ้ ห้ใสเ่ ครื่องหมาย X (เคร่อื งหมาย เท่ากับ ๑ คะแนน เครือ่ งหมาย X เท่ากับ ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพ่ือประโยชนใ์ นการวินจิ ฉยั ข้อบกพรอ่ งของนกั เรียนเปน็ รายบคุ คล และนาไปใชใ้ นการปรบั ปรุงและ พัฒนานักเรยี นเปน็ รายบคุ คล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพ่อื ประโยชน์ในการวินิจฉยั ว่าข้อบกพรอ่ งของนกั เรียนในภาพรวมของชน้ั เรียน เพ่ือนาไปใช้ในการ ปรับปรงุ และพฒั นาการจดั การเรียนการสอน ๕. นักเรียนตอ้ งไดค้ ะแนนร้อยละ ๘๐ ขึน้ ไป จงึ จะผ่านเกณฑ์ กรณที ีน่ กั เรียนไมผ่ ่านเกณฑ์ ครูผสู้ อนต้องฝกึ จนนักเรยี นอ่าน ได้
ฉบับที่ ๓ การเขียนคาท่มี วี รรณยกุ ตแ์ ละตัวสะกดตรงตามมาตรา คาช้แี จง ๑. ใหน้ ักเรียนเขียนตามคาบอก โดยใช้เวลา ๒๐ นาที ๒. ให้ครูอ่านคาใหน้ ักเรียนฟังคาละ ๒ ครงั้ โดยเว้นเวลาใหน้ ักเรียนเขยี นก่อนบอกคาในข้อต่อไป ขอ้ ท่ี คาทีเ่ ขียน ขอ้ ที่ คาท่ีเขียน ๖. .................................................................... ๑. .................................................................... .................................................................... .................................................................... .................................................................... .................................................................... ๒. ๗. .................................................................... .................................................................... .................................................................... .................................................................... ๓. ๘. .................................................................... .................................................................... .................................................................... .................................................................... .................................................................... ๔. ๙. .................................................................... .................................................................... .................................................................... ๕. ๑๐. .................................................................... ....................................................................
คาท่ใี หเ้ ขยี น ๑. แมว ๒. ช้าง ๓. ฉิ่ง ๔. โอ่ง ๕. นว้ิ มอื ๖. ตกุ๊ แก ๗. กวยเตยี๋ ว ๘. ตก๊ั แตน ๙. บ้าน ๑๐. มะมว่ ง
แบบบนั ทกึ การเขยี นคาท่ีมีวรรณยกุ ตแ์ ละตวั สะกดตรงตามมาตรา ขอ้ ที่ ผลการ รวม ประเมนิ ที่ ชอ่ื -สกุล คะแนน* ไม่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ผา่ น ผา่ น คะแนนรวม** หมายเหตุ ๑. ให้บันทึกคะแนนของนกั เรยี นเป็นรายขอ้ เพือ่ ใหร้ ้วู ่านกั เรยี นมขี อ้ บกพร่องใด สาหรับนาไปใชใ้ นการปรับปรงุ และพฒั นา นักเรยี น ๒. วิธีการบันทึก ถ้าทาถกู ตอ้ งให้ใสเ่ คร่อื งหมาย ถ้าทาผิดให้ใหใ้ สเ่ ครื่องหมาย X (เคร่ืองหมาย เทา่ กับ ๑ คะแนน เครอื่ งหมาย X เท่ากบั ๐ คะแนน) ๓. ใช้ รวมคะแนน* เพือ่ ประโยชนใ์ นการวนิ จิ ฉยั ข้อบกพรอ่ งของนักเรียนเปน็ รายบุคคล และนาไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ และ พัฒนานกั เรียนเป็นรายบุคคล ๔. ใช้ คะแนนรวม** เพอ่ื ประโยชน์ในการวนิ ิจฉัยวา่ ขอ้ บกพร่องของนักเรยี นในภาพรวมของชน้ั เรยี น เพ่อื นาไปใชใ้ นการ ปรบั ปรุงและพฒั นาการจดั การเรียนการสอน ๕. นักเรยี นต้องไดค้ ะแนนรอ้ ยละ ๘๐ ข้ึนไป จงึ จะผ่านเกณฑ์ กรณที น่ี กั เรียนไม่ผา่ นเกณฑ์ ครผู สู้ อนตอ้ งฝกึ จนนักเรยี น เขียนได้
หนว่ ยที่ 8 กำรแจกลกู สะกดคำทม่ี ีตวั สะกดไม่ตรงตำมมำตรำ สว่ นท่ี ๑ ความรู้สาหรบั ครู มาตราตัวสะกด คือ พยัญชนะที่ประสมอยู่หลังคาหรือพยางค์ในแม่ ก กา ทาให้แม่ ก กา มตี วั สะกด เช่น มี เม่ือประสมกบั ด กลายเป็น มีด เป็นต้น มีทั้งหมด ๘ มาตรา คือ แม่กก แม่กด แม่กบ แม่กม แม่เกย แม่เกอว แม่กง แมก่ น แบง่ ได้เปน็ ๒ กลมุ่ ดังนี้ ๑. มาตราทมี่ ีพยญั ชนะเปน็ ตัวสะกดเพียงตัวเดยี ว ๔ มาตรา คือ แม่กง ใช้ ง สะกด เชน่ หาง ปลิง สอง แรง ฯลฯ แม่กม ใช้ ม สะกด เช่น สม แตม้ โสม สนาม งอมฯลฯ แม่เกย ใช้ ย สะกด เชน่ สาย โปรย เฉย ปยุ๋ ฯลฯ แม่เกอว ใช้ ว สะกด เชน่ แหว้ กาว เปลว เปร้ียว ฯลฯ ๒. มาตราที่มีพยัญชนะเป็นสะกดในแต่ละมาตราหลายตัว แต่ออกเสียงเพียงเสียงเดียว ตามมาตราตวั สะกด มี ๔ มาตรา คือ แมก่ ก มพี ยัญชนะ ก ข ค ฆ สะกด แล้วออกเสยี งเป็นเสยี ง /ก/ เช่น เลข โรค เมฆ ฯลฯ แมก่ ด มพี ยญั ชนะ ด จ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ต ถ ท ธ ศ ษ ส สะกด แล้วออกเสียง เป็นเสียง /ด/ เช่น กิจ ราช กฎ ปรากฏ อิฐ ครุฑ พัฒนา ทูต รถ บาท พุธ อากาศ พิษ ทาส ฯลฯ แม่กบ มีพยัญชนะ บ ป พ ฟ ภ สะกด แล้วออกเสียงเป็นเสียง /บ/ เช่น บาป ภาพ ยรี าฟ ลาภ ฯลฯ แม่กน มีพยัญชนะ น ญ ณ ร ล ฬ สะกด แล้วออกเสียงเป็นเสียง /น/ เช่น เชิญ คูณ หาร ศีล วาฬ ฯลฯ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294