บริบทสุขภาพตำบลท่าตุ้ม การออกกำลังกายช่วยลดปัญหาสุขภาพในกลุ่ม ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรค ไขมันในเสน้ เลือด อกี ทัง้ เปน็ การใช้เวลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชนต์ อ่ สุขภาพ กิจกรรมเข้าจังหวะแบบไลน์แดนซจ์ ะชว่ ยสร้างสัมพันธ์อันดีระหวา่ ง บุคคลในชุมชน ตลอดจนผ่อนคลายความตึงเครียดได้ กระบวนการก่อนเข้า ร่วมกิจกรรม ได้แก่ การจดบันทึกค่าความดันโลหิตสูงและน้ำหนักตัวเพื่อหา มวลของร่างกาย ซึ่งผลจากการดำเนินงานช่วยให้ชุมชนมีสุขภาพดีขึ้น ดังจะ เห็นได้จากค่าความดันโลหิตสูง ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมลดลง ร้อยละ 38.81 และค่าดัชนีมวลกายของผู้เข้าร่วมกิจกรรมอยู่ในเกณฑ์ปกติ (Body Mass Index :BMI) รอ้ ยละ 63.33 3.2.4 การประชาสัมพันธ์ปอ้ งกันโควดิ -19 คณะทำงานด้านสุขภาพของโครงการ U2T ได้ลงพื้นที่สำรวจความ เข้าใจของชุมชนเกี่ยวกับการป้องกันและการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด - 19 เพ่ือประเมินระดบั การรับรู้และป้องกันตนเองของชุมชน จากน้ัน จึงข้อมูล ทีจ่ ำเป็นเพอ่ื การประชาสมั พนั ธใ์ นชุมชน แผ่นป้ายประชาสัมพันธ์เพื่อการป้องกันและหยุดยั้งการระบาดของ โรคโควิด-19 ที่คณะทำงานด้านสุขภาพ U2T นำไปติดตั้งให้แก่ชุมชน 14 หมบู่ ้าน รวมจำนวนทั้งส้นิ 28 ปา้ ย กระจายอยูใ่ นบริเวณชมุ ชนต่าง ๆ จำนวน 28 จุด โดยมุ่งหวังให้เกิดการรับรู้และปฏิบัติตามมาตารการการป้องกันไวรัส และเตอื นสตใิ นการใชช้ วี ติ อย่างระมัดระวัง 93
3.2.5 การสร้างธรรมนูญสุขภาพผู้สูงอายุแบบมีส่วนร่วมของ ตำบลทา่ ตุม้ ธรรมนูญสุขภาพผู้สูงอายุ หมายถึง กฎ กติกา ข้อตกลง แสดงความ คิดเห็นและข้อเสนอแนะร่วมกันใช้เป็นกรอบและแนวการกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์และการดำเนินงานด้านสุขภาพในการสร้างระบบสุขภาพของ ตนเอง และชุมชนได้ร่วมกันกำหนดภาพอนาคตที่พึงประสงค์ของระบบ สุขภาพมีเป้าหมายหลักเพื่อตระหนักถึงปัญหาและความต้องการอีกทั้ง ร้เู ทา่ ทนั มีส่วนรว่ ม ผกู มีจิตสำนึก เพอ่ื ประโยชนแ์ ก่ชุมชนตอ่ ไป คณะทำงานด้านสุขภาพ U2T ประกอบด้วย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ณัฐกฤษฏ์ ธรรมกวินวงศ์ และอาจารย์เอกสิทธิ์ ไชยปิน จึงดำเนินการ จัดประชุมขนึ้ เมอ่ื วนั ท่ี 4 พฤศจิกายน และวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ.2564 เวลา 09.00 น. 12.00 น. ณ บริเวณหอประชุมด้านหน้าองค์การบริหารส่วนตำบล ท่าตุ้ม มีผู้เข้าร่วมเป็นตัวแทนผู้สูงอายุทั้ง 14 หมู่บ้านจำนวน ประกอบด้วย ประธานผู้สูงอายุ ผู้ใหญ่บ้านและสมาชกิ ผูส้ งู อายุ กิจกรรมในวันดังกล่าวนี้ มีการตอบแบบสอบถามธรรมนูญสุขภาพ ผู้สูงอายุอย่างมีส่วนร่วมตำบลท่าตุ้ม เพื่อประเมินปัญหาด้านสุขภาพและ ความต้องการด้านสุขภาพของชุมชน 5 ด้าน ได้แก่ สวัสดิการและคุณภาพ ชีวติ ผสู้ ูงอายุ การเตรยี มความพรอ้ มสู่การเปน็ ผู้สงู อายุ การบรกิ ารสาธารณสุข สำหรับผสู้ งู อายุ อาหารสำหรับผู้สงู อายุ และส่งิ แวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และการท่องเทีย่ ว ร่างธรรมนูญสุขภาวะผู้สูงอายุ สร้างขึ้นมาเพื่อให้ผูส้ งู อายหุ รือคนใน ชุมชนได้ปฏิบัติตามไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งประกาศ ณ วันที่ ธันวาคม พ.ศ. 2564 โดยมรี ายละเอยี ด ดงั นี้ 94
...ธรรมนูญสุขภาวะผู้สูงอายุตำบลท่าตุ้ม อำเภอป่าซาง จังหวัด ลำพูน ฉบับท่ี1 เป็นธรรมนูญท่ี เกิดจากความร่วมมือของประชาชน ในตำบลท่าตุ้ม จำนวน 14 หมู่บ้าน มีส่วนร่วมตัดสินใจลงประชามติ เห็นพ้องต้องกันให้ธรรมนูญสุขภาวะผู้สูงอายุตำบลท่าตุ้มเป็นกติกา ของชุมชนเพื่อให้ชุมชนมาช่วยกันดูแลผู้สูงวัย ให้มีคุณค่า มีความสุข อย่างยง่ั ยืนตลอดไปธรรมนูญสุขภาวะผสู้ งู อายุ ตำบลท่าตุ้ม อำเภอปา่ ซาง จังหวัดลำพูน ฉบับที่ 1 ประกอบด้วย 9 หมวดมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้… หมวดท่ี 1 ปรชั ญาแนวคิด สุขภาพเป็นสิทธิขัน้ พื้นฐานของทุกคนในชุมชน สังคมและต้องได้รบั เท่าเทียมกันอย่างเป็นธรรม ไม่มีความเหลื่อมล้ำภายใต้ศักดิ์ศรีความเป็น มนุษย์ โดยเฉพาะผู้มีภาวะเปราะบางอยา่ งผู้สูงวัยในชมุ ชนควรไดร้ ับการดูแล เอาใจใส่ เคารพ ตามวฒั นธรรมและประเพณี ให้มคี วามสุขเพ่ือเป็นเสาหลกั ให้ ครอบครัวและชุมชนของตำบลท่าตมุ้ ผู้สูงอายุเป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านสภาพร่างกายทั้งการ เจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆอยา่ งเห็นได้ชัด ผู้สูงอายุ จึงควรได้รับการดูแลเอาใจใส่ อย่างใกลช้ ดิ ทัง้ ด้านร่างกาย ด้านจติ ใจและด้านสังคมของผู้สงู อายุให้ผูส้ งู อายุ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและสืบสานดำรงรักษาวัฒนธรรมประเพณีของชุมชน สบื ไป หมวดท่ี 2 นยิ ามศัพท์ สุขภาวะชมุ ชน หมายถงึ ภาวะของชมุ ชนที่ประชาชนมีความสมบรู ณ์ ทั้งทางร่างกายและจิตใจ ทางปัญญา ทางสังคมเชื่อมโยงกันเป็นองค์รวม 95
มีความรู้ความเข้าใจที่เท่าทันสถานการณ์ แยกแยะความดี ความชั่วออกจาก กันอยา่ งมเี หตุผลบนพ้ืนฐานจติ ใจท่ีดงี ามสามารถแกไ้ ขปญั หาได้ ธรรมนูญ หมายถึง ข้อตกลงร่วมกัน กฎกติกาที่เกิดขึ้นจากการ ตัดสินใจและมีฉันทามติร่วมกัน ของกลุ่มคนชุมชนนั้น ๆ เพื่อให้เกิดแนวทาง ปฏบิ ตั ิท่เี ป็นรูปประธรรมชัดเจนและเกิดมาจากการมีส่วนร่วมของทุกภาคสว่ น เพื่อหนุนเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชน รวมทั้งจัดระบบหรือมาตรการ รองรับสังคมสูงวัย ผู้สูงอายุ หมายถึง บุคคลที่มีอายุตั้งแต่ 55 ปีขึ้นไปที่มีภูมิลำเนาอยู่ ในเขตพน้ื ทีข่ องตำบลท่าตมุ้ อำเภอป่าซาง จงั หวดั ลำพูน มาตรการรองรับสังคมสูงวัย หมายถึง สังคมที่มีประชากร 60 ปี ขึ้น ไป ท่ีมีอยู่จริงในพื้นที่ต่อประชากร ทุกช่วงอายุในพื้นที่เดียวกันราคาเท่ากัน หรอื มากกวา่ ร้อยละ 40 ขนึ้ ไป หรอื มีประชากรอายุ 65 ปขี ึน้ ไป ที่มีอยู่จริงใน พื้นที่ประชากรทุกช่วงอายุในพื้นที่เดียวกันอัตราเข้ากลับดึกมากกว่าร้อยละ 70 ขน้ึ ไป การมีส่วนร่วม หมายถึง ทุกภาคส่วนในชุมชนตำบลได้มีส่วนร่วม ในการกำหนดปัญหาความต้องการ ของส่วนรวมสาธารณชนในมิติสังคม วฒั นธรรมประเพณีสุขภาพโดยกระบวนการประชาคมประชาพจิ ารณ์ ร่วมทำ ร่วมตัดสนิ ใจรวมชอบและรับผลประโยชน์ สงู คณุ ค่า หมายถึง การดแู ลตนเองได้ ดูแลคนอ่นื ไดด้ ูแลสังคมได้เป็น แบบอยา่ งการดำเนินชวี ิตทีด่ ี แก่บุคคลอ่ืนตอ่ ชมุ ชนและประเทศชาติ ฉันทามติ หมายถึง ความเห็นพ้องต้องกันเป็นประชามติในภารกิจ ท่ีจะตอ้ งทำร่วมกันและรบั ผิดชอบรว่ มกัน 96
หมวดที่ 3 สวัสดิการละคุณภาพชวี ิตสำหรบั ผูส้ งู อายุ ข้อ 3.1 ส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุให้มีรายได้เพียงพออย่างต่อเนื่อง ในอาชีพการจักรสานและน้ำหอมไล่ยุง ภาครัฐและภาคเอกชนเข้ามามี บทบาทในการสนับสนุนและสง่ เสรมิ ในการผลิตและจัดจำหนา่ ย ข้อ 3.2 สนับสนุนและส่งเสริมให้มีอาสาสมัครและอาสาสมัคร สาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ดูแลและให้คำปรึกษาแนะนำผู้สูงอายุท่ี ถกู ทอดท้ิงให้มีคุณภาพชวี ิตท่ดี ีขนึ้ ขอ้ 3.3 ขอความรว่ มมือผู้จดั งานในงานบญุ งานขาวดำ งานประเพณี ที่สำคัญของชุมชนให้ลดการเลี้ยงสุราและห้ามเล่นการพนันโดยให้ผู้ใหญบ่ า้ น มหี นา้ ที่ควบคุมดูแล หมวดท่ี 4 เตรยี มความพรอ้ มสูว่ ัยผ้สู ูงวยั อยา่ งมคี ุณภาพ ข้อ 4.1 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสนับสนุนอุปกรณ์ช่วยเหลือผู้สูงอายุ ในสถานที่ราชการ ศาสนสถาน แหล่งท่องเที่ยว สถานที่ออกกำลังกาย โดยเฉพาะอุปกรณ์ด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหวของผู้สูงอายุเพื่อช่วยลด โอกาสในการเกดิ อุบัตเิ หตุจากการทำกจิ กรรมต่าง ๆ ข้อ 4.2 ปรับปรุงสถานที่สาธารณะและสถานบริการภาครัฐและ เอกชนในชุมชนแหล่งทอ่ งเท่ียวสนามกฬี าใหม้ ีหอ้ งนำ้ ทีม่ อี ปุ กรณอ์ ำนวยความ สะดวกไวบ้ ริการผู้สูงอายุและคนพกิ าร หมวดที่ 5 การบริการ การแพทยแ์ ละสาธารณสุข สำหรับผู้สูงอายุ ข้อ 5.1 สถานบริการสาธารณสุขร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุข ส่งเสริมและสนับสนุนดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชน ด้วยการ บริการสุขภาพแบบเชิงรุก ทงั้ การเย่ียมบา้ นการช่วยเหลอื อำนวยความสะดวก ให้ไดร้ ับการบรกิ ารสาธารณสุขอยา่ งท่ัวถึงและเทา่ เทียมกับกลมุ่ วยั อ่ืน ๆ 97
ข้อ 5.2 สถานบริการสาธารณสุขในตำบลท่าตุ้ม ส่งเสริมให้ความรู้ และสนบั สนุนการตรวจสขุ ภาพประจำปีฟรีใหก้ บั ผ้สู งู อายแุ ละผ้พู ิการเกี่ยวกับ การดูแลรักษา ป้องกันสุขภาพตนเองและส่งเสริมกิจกรรมทางกายและการ ออกกำลังกายที่เหมาะสมแก่ผสู้ งู อายุ เช่น เปตอง รำไมพ้ อง เดินเรว็ หมวดท่ี 6 อาหารปลอดภัยเพอื่ ผ้สู ูงวยั และชมุ ชนคนทา่ ตมุ้ ข้อ 6.1 สถานบริการสาธารณสุขส่งเสริม สนับสนุน ให้ความรู้หลัก โภชนาการเกย่ี วกับอาหาร และเครือ่ งดื่มให้กับผู้สงู อายุและคนในชมุ ชน ข้อ 6.2 ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สูงอายุบริโภคอาหารให้ครบหลัก 5 หมู่ ทีม่ ีคณุ ภาพ สะอาด ปลอดภัยปราศจากสารปนเปอ้ื น ข้อ 6.3 ส่งเสริม สนับสนุน ให้ผู้สูงอายุปลูกผักสวนครัว รวมทั้ง บริโภคผกั ผลไม้ ใหม้ ากขนึ้ เพอ่ื สรา้ งเสรมิ สุขภาพให้แขง็ แรง ข้อ 6.4 รณรงค์ให้ผู้สูงอายุหลีกเลี่ยงอาหาร รสหวานจัด รสเค็มจัด รสมันรวมถึงอาหารท่ีเปน็ สาเหตุของโรคเรื้อรัง ไดแ้ ก่ โรคเบาหวาน โรคความ ดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลอื ดสงู และโรคมะเรง็ หมวดที่ 7 รกั ษ์ส่งิ แวดลอ้ มทรพั ยากรธรรมชาติและการท่องเท่ียว เชงิ สุขภาพ ข้อ 7.1 ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ส่งเสริม ให้ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการใช้สารพิษต่อสิ่งแวดล้อม ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพหรือโทษต่อ สงิ่ แวดลอ้ มและคนในชุมชน ข้อ 7.2 ส่งเสริมให้มีการประกอบอาชีพแบบเกษตรอินทรีย์และลด การใช้สารเคมีในการทำสวนลำไย 98
ข้อ 7.3 องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลท่าตุ้มร่วมกบั ชมรมผสู้ ูงอายุตำบล ท่าตุ้ม รณรงค์ให้ความรู้ และบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการลดมลพิษทาง อากาศเพ่ือป้องกนั โรคทางเดินหายใจในผูส้ งู อายุ ข้อ 7.4 ส่งเสริมสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ ในตำบลท่าตุ้ม ทั้งในด้านสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวกเกี่ยวกับการ ท่องเทีย่ ว หมวดท่ี 8 ภาคี / หนว่ ยงานที่เกย่ั วข้องกบั ผสู้ งู อายุ ภาคีเครือข่าย / หน่วยงานภาครัฐ เอกชนและประชาชนในตำบล นิคมพัฒนาร่วมกันดำเนินการกิจกรรมตามภารกิจ หน้าที่ ที่กำหนดไว้ใน ธรรมนูญตง้ั แตห่ มวดที่ 1-7 ให้เกดิ เปน็ รูปธรรมและประโยชน์สูงสุดต่อตำบล ท่าตมุ้ ภาคีภาคีเครอื ขา่ ย / หน่วยงานภาครฐั เอกชน ประกอบไปดว้ ย 1. มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง คณะวิทยาศาสตร์ สาขาสาธารณสุข ศาสตร์ 2. องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลท่าตุม้ 3. โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบลบา้ นมงคลชัย 4. โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบลบา้ นทา่ ตุม้ 5. กำนนั ตำบลทา่ ต้มุ 6. ประธานอาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจำหมู่บ้าน 7. ประธานผสู้ งู อายตุ ำบลท่าตุ้ม 8. ประธานสตรีแมบ่ า้ น 9. วทิ ยากรด้านการออกกำลงั กาย (ไลน์แดนซ์) 10. วิทยากรดา้ นสขุ ภาพ 99
10. ร้านป่าซางปางแฟน 12. ผ้ใู หญ่บ้านหม่บู า้ น 14 หมูบ่ ้าน ม.1 บ้านท่าตุ้ม ม.2 บ้านหนองบัว ม.3 บา้ นหนองเกิด ม.4 บ้านรอ่ งห้า ม.5 บา้ นรอ่ งช้าง ม.6 บา้ นหนองหมู ม.7 บ้านปา่ ตอง ม.8 บา้ นป่าสีเสียด ม.9 แม่อาวน้อย ม.10 บ้านมงคลชัย ม.11 บา้ นสนั ปา่ ขาม ม.12 บา้ นสารภีชัย ม.13 บา้ นไร่ป่าคา ม.14 บ้านสนั ป่าเป้า หมวดท่ี 9 บทเฉพาะกาล ธรรมนูญสุขภาวะชุมชนของผู้สูงอายุตำบลท่าตุ้ม ตำบลท่าตุ้ม อำเภอป่าซางจังหวัดลำพูนฉบับนี้ จัดทำขึ้นให้มีผลบังคับใช้เฉพาะในพื้นท่ี ตำบลท่าตุ้ม อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน การแก้ไข ปรับปรุง ธรรมนูญ สุขภาวะชุมชน สามารถดำเนินการได้หลังจากประกาศใช้ 1 ปี และมีการ ทบทวนทุก 3 ปี โดยเสนอผา่ นคณะกรรมการผูล้ งนามประกาศใช้ จากนนั้ ใหม้ ี 100
กระบวนการรับฟังความคิดเห็นจากประชาชน และปิดประกาศ อย่างน้อย 30 วัน ก่อนดำเนินการประชาพิจารณ์ ลงมติเห็นชอบประกาศใช้และมี ผลบงั คบั 3.2.6 การจัดกจิ กรรมจติ อาสา กิจกรรมจิตอาสาของคณะทำงานดา้ นสุขภาพท่กี ำหนดขึน้ จากความ ต้องการของตัวแทนผู้สูงอายุ และผู้ใหญ่บ้าน 14 หมู่บ้าน คือ การทำความ สะอาดและพัฒนาสุสาน เพื่อปรับปรุงบริเวณรกร้างเป็นกลายเป็นพื้นที่ สาธารณประโยชน์ การปรับปรุงพื้นที่สาธารณประโยชน์จัดขึ้นในวันที่ 10 ธนั วาคม 2564 เวลา 09.00-12.00 น. ภาพที่ 34 จิตอาสาพัฒนาสุสานบ้านหนองเกิด คณะทำงานทีม U2T ร่วมกับ ผู้ใหญ่บ้านทั้ง 14 หมู่บ้านและตัวแทนประชาชนทั้ง 14 หมู่บ้าน ณ สุสานบา้ นหนองเกิด หมูท่ ่ี 3 เมื่อวันที 10 ธนั วาคม 2564 101
3.3 บทสง่ ท้าย แม้ว่าโรคระบาดโควิด -19 จะมาเยือนตำบลท่าตุ้ม อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน จนทำให้การใชช้ วี ิตลำบากข้ึน เศรษฐกิจ รายได้ ของประชาชน ถดถอยลงไป แต่การป้องกันตนเองโดยการฉีดวัคซีนของประชาชนมีจำนวน มากขึ้นและการป้องกันชุมชนให้ปลอดภัยจากโรคระบาดทำได้ดี จากการ ร่วมมือกันทั้ง 14 หมู่บ้าน และมีทีม U2T มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง มาเติมเต็ม ทำให้ตำบลท่าตุ้มในปัจจุบันเป็นตำบลน่าอยู่ มีระดับเศรษฐกิจ ที่ดีขึ้น ประชาชนมีอัธยาศัยที่ดี ต้อนรับผู้มาเยือนอย่างน่าประทับใจ ในอนาคตจะเป็นสถานทีท่ อ่ งเทยี่ วที่สำคัญของจงั หวัดลำพนู ตอ่ ไป 102
บทท่ี 4 การยกระดับเศรษฐกจิ เพ่อื พชิ ิตภยั โควดิ การยกระดับเศรษฐกิจชุมชนตำบลท่าตุ้ม อำเภอป่าซาง จังหวัด ลำพูน ของคณะทำงานดา้ น OTOP ประกอบดว้ ย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธนพร หมูคำ อาจารย์ภาณุวัฒน์ สกุลสืบ และอาจารย์ทัตพิชา สกุลสืบ ได้มุ่งเป้า พฒั นางานจากสินค้าของชมุ ชนทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการจำนวน 5 รายการ ดังน้ี 4.1 กลุ่มบ้านไรป่ ่าคา : วิสาหกจิ ชุมชนกลุม่ ผ้เู ลยี้ งโคขาวลำพูนและ กระถางมูลววั รายชอื่ สมาชกิ ของกลุ่มบา้ นไรป่ ่าคา 1. นายอยธุ ไชยยอง ประธานกลุ่ม 2. นายอุดม แก้วเล็ก รองประธาน 3. นายสมหมาย ปันดอน เลขานุการ 4. นายชาติ สุขใจ กรรมการ 5. นายณรงค์ พงศ์ดา กรรมการ 6. นางสาวอรพนิ ไชยยอง กรรมการ 7. นางรัญจวน มาปนิ ตา กรรมการ 8. นางสร้อยฟ้า สุขใจ กรรมการ 9. นางสาวดวงมณี อุปรตั น์ กรรมการ
10. นางอุไร เนยี มทาง กรรมการ 11. นางพินทอง หน่อต้ือ กรรมการ 12. นางอทุ มุ พร ปนั ยูร กรรมการ 13. นางสาวชนยิ ภคั สนุ นั ตะ๊ กรรมการ 14. นายศรีวยั สุชาติ กรรมการ 15. นายแกว้ จ๋ากา๋ ง กรรมการ 4.1.1 ความเป็นมาของกลมุ่ บ้านไรป่ า่ คา ผู้ใหญ่บ้านอยุธ ไชยยอง ร่วมกับลูกบ้านรวมตัวกันจัดตั้งกลุ่ม เกษตรกรผู้เลี้ยงโคขาวลำพูนบ้านไร่ป่าคา ขึ้นในปี พ.ศ.2546 โดยมีวัตถปุ ระสงคเ์ พื่อหารายได้เสริมใหก้ ับครอบครวั หลังการเกบ็ เก่ียวลำไย แลว้ และมแี นวคิดทจี่ ะอนรุ ักษพ์ นั ธุโ์ คขาวลำพูนไว้คูเ่ มืองลำพนู ตลอดไป การเลี้ยงโคขาวลำพูน ของกลุ่มเกษตรผู้เลี้ยงโคขาวลำพูนบ้านไร่ ป่าคา จะไม่สามารถบรรลุเป้าหมายของการรวมกลุ่มกันได้ ถ้าทางกลุ่ม ไม่บูรณาการกับงานวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น จากฐานงานวิจัยภายใต้ การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.) ซึ่งมีคณะ เกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่สนับสนุนบุคลากรเป็นที่ปรึกษา งานวิจัยดังกลา่ ว นอกจากนั้น โรงเรียนบ้านหนองบัว เป็นโรงเรียนในชุมชน มีคณะครูได้เข้าร่วมเป็นทีมงานวิจัย โดยนำการเลี้ยงโคขาวลำ พูน มาบูรณาการจัดทำเป็นหลักสูตรท้องถิ่น โดยผู้อำนวยการโรงเรียน บ้านหนองบัว คือ ผู้อำนายการสมจิต มณีชัยกุล ได้มอบหมายให้คณะครู 104
ช่วงชั้นที่ 2 นำโดยครูไพบูลย์ ปันดอนตอง ครูสอนงานเกษตรของโรงเรียน ครูสิริวรรณ ใจกระเสน ครูนภาพรรณ หย่างพานิช และครูนิเวช มะโนคำ รว่ มเปน็ ทีมงานวิจัย ได้ใช้เวลาทำงานวิจยั เพอื่ ใหน้ ักเรียนได้เรียนรู้เก่ียวกับ การเลี้ยงโคขาวลำพูน จนถึงปีที่ 3 ของการดำเนินงานวิจัย ผลงานวิจัย ดังกล่าวเป็นที่ประจักษ์ต่อสาธารณชน หลังจากที่ทางกลุ่มผู้เลี้ยงโคขาว ลำพูนบ้านไร่ป่าคา นำเสนอผลงานวิจัยเผยแพร่ต่อสาธารณชนตามสถานที่ ต่างๆ จึงเริ่มมีผู้คนรู้จักกลุ่มผู้เลี้ยงโคขาวลำพูนมากขึ้น และเกิดการ แลกเปลยี่ นเรียนรู้ระหวา่ งทีมนักวิจัยกลมุ่ อ่นื ๆ ท่ีสนใจการเลี้ยงโคขาวลำพูน โรงเรียนบ้านหนองบัว ได้จัดทำเนื้อหา เรื่อง โคขาวลำพูน เป็น หลักสูตรท้องถิ่นให้นักเรียน ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 เพื่อเรียนรู้ ร่วมกันกับกลุ่มเกษตรผู้เลี้ยงโคขาวลำพูนบ้านไร่ป่าคา นักเรียนได้เรียนรู้ และนำผลการเรยี นรู้ไปเผยแพรร่ ่วมกับกลมุ่ ผ้เู ล้ยี งโคขาวลำพนู และนำไปจัด นิทรรศการเพือ่ ใหผ้ ู้คนรจู้ กั โคขาวลำพนู มากขนึ้ จากความมุ่งม่ันต้งั ใจในการพัฒนาดงั กล่าว จนเกิดผลงานของกลุ่ม เกษตรกรผ้เู ลยี้ งโคขาวลำพนู บ้านไร่ปา่ คา ทำให้กล่มุ ประสบความสำเรจ็ เปน็ อย่างดี จากการดำเนินงานวิจัยครั้งนี้ ได้รับการคัดเลือกให้เป็นงานวิจัย ดีเด่นประจำปี 2549 ของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ภาคเหนือ ความภูมิใจนี้จึงเหมือนน้ำทิพย์ชโลมใจให้กลุ่มร่วมมือกันทำงาน มาจนถงึ ทกุ วันนี้ 105
4.1.2 ข้อมลู จำเพาะเก่ยี วกับโคขาวลำพนู โคขาวลำพูนเป็นโคพนั ธพ์ุ น้ื เมืองทเี่ กษตรกร ในเขตภาคเหนือเลอื ก เลี้ยงสืบทอดกันมาเป็นเวลานาน ไม่มีหลักฐานความเป็นมาที่ชัดเจน แต่น่าจะอยู่กับวิถีชีวิตของเกษตรกรไทยล้านนามาตั้งแต่อดีต จากการ บอกเล่าสืบตอ่ กนั มา พอสันนษิ ฐานท่ีมาของโคขาวลำพูน ได้ 3 ประการ คือ 1) โคขาวเกิดจากการกลายพันธุ์ของโคพื้นเมืองในสมัยเจ้าแม่จามเทวี ปกครองหริภุญไชย (ลำพูน) เมื่อประมาณ 1,340 ปีที่ผ่านมา เป็นสัตว์ คู่บารมีของชนชั้นปกครองในสมัยนั้น 2) บางแหล่งข้อมูลสันนิษฐาน ว่าโคขาวน่าจะเป็นต้นตระกูลของโคพื้นเมืองในภาคพื้นเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ โดยเป็นโคทางยุโรปที่ไม่มีหนอกต่อมาถูกผสมข้ามสายพันธ์ุกับ โคอินเดียที่มีหนอกทำให้เกิดโคพันธุ์ใหม่ในภูมิภาคน้ี ที่มีเหนียงคอสั้น หน้าผากแบนและหูเล็กกาง มีหนอกเล็กน้อยแบบโคอินเดีย และ 3) โคขาว ได้เข้ามาในไทยจากการเดินทางค้าขายระหว่างไทยกับพม่า และมีการ ปรบั ปรุงสายพนั ธ์ุจนกลายเปน็ โคขาวลำพนู จากข้อสันนิษฐานดังกล่าวข้างต้น สรุปได้ว่า“โคขาว” มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับจังหวัดลำพูน ผู้คนจึงเรียกขานชื่อตามแหล่ง ที่พบโคพันธุ์นี้ว่า“โคขาวลำพูน”จนติดปากมาจนถึงปัจจุบัน โคขาวลำพูน เป็นโคที่มีรูปร่างขนาดใหญ่กว่าโคพื้นเมืองทั่วไป รูปร่างสูงโปร่ง ลำตัว มีขนสีขาวเป็นมัน หางยาวเป็นพวงสีขาวและเขามีรูปทรงเสมือนรูป 106
เชิงเทียนโคง้ งามสนี ้ำตาลอมสม้ มีนยั น์ตาแจ่มใส ขอบตาสชี มพู หไู มม่ ีตำหนิ มขี วัญหน้าขวญั ทัดดอกไมซ้ ้ายขวา ขวญั หลงั ถูกตอ้ งตามตำรากีบและข้อเท้า แข็งแรงสูงประมาณ 150 เซนติเมตร ลำตัวยาว 120 เซนติเมตร นิสัย ไม่ดุร้าย จับไปฝึกสอนได้ง่าย จากการที่โคขาวลำพูนมีลักษณะครบถ้วน ของลักษณะโคพันธุ์ดี จึงได้รับการคัดเลือกให้เป็นพระโคในพระราชพิธี จรดพระนังคลั แรกนาขวญั ท่โี ปรดจดั ขึน้ เพอ่ื ความอดุ มสมบรู ณ์ของพืชพันธ์ุ ธัญญาหารเป็นขวัญกำลังใจให้กับเกษตรกรและเป็นสิริมงคลแก่บ้านเมือง เช่น พระโคเพชร-พระโคพลอย พระโอรุ่ง พระโคโรจน์ และพระโคเทิด พระโคทูน โคขาวลำพูนไม่ใช่โคเผือกเพราะมีนัยน์ตาสีดำ จึงเป็นโคที่พิเศษ ที่ควรได้รบั การอนรุ กั ษ์สายพันธุ์ไวเ้ ป็นสตั ว์คบู่ า้ นคเู่ มอื ง เพราะนับวันโคขาว ลำพูนมีแตจ่ ะเหลอื น้อยและอาจจะสญู พันธุ์ได้หากไม่ไดร้ ับการสนับสนุน ภาพท่ี 35 โคขาวลำพนู 107
4.2 ผลกระทบจากโควิด การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในปี พ.ศ.2562 ที่มีสืบเนื่องถึง ปัจจุบนั นั้น ทำให้การรวมกลุ่มเพือ่ เพาะเลี้ยงโคขาวและการดำเนินงานของ ศูนย์การเรียนรู้ด้านการเพาะเลี้ยงโคขาวได้รับผลกระทบไปด้วย เนื่องจาก การประกาศล็อกดาวน์ประเทศ ส่งผลให้สถานการณ์ของประเทศทั้งด้าน เกษตรและด้านการท่องเที่ยวเกิดผลกระทบ ดังนั้นผู้ใหญ่อยุธ ไชยยอง จงึ คิดหาหนทางเพ่ิมรายได้หลากหลายรปู แบบใหก้ ลุ่มดว้ ย จากการสอบถาม พูดคุยกันระหว่างคณะทำงาน U2T ด้าน OTOP และหัวหน้ากลุ่มเลี้ยง โคขาวลำพนู พบวา่ มูลววั ที่ได้จากการเพาะเลยี้ งโคขาวลำพนู มเี ปน็ จำนวน มาก นอกเหนือจากการแปรรูปเป็นปุ๋ยอินทรีย์แล้ว จึงน่าจะมีช่องทางอื่น ในการเพิ่มรายได้จากมูลโค วิทยากรประจำกลุ่มจึงเสนอให้กลุ่มผู้เลี้ยง โคขาวลำพูนพัฒนากระถางจากมูลวัว โดยการขึ้นรูปมูลวัวเป็นลักษณะ กระถางขนาดต่าง ๆ เมื่อนำไปปลูกต้นไม้แล้วจะลดขั้นตอนการใส่ปุ๋ย บำรุงดิน เนื่องจากมูลวัวที่ผสมขึ้นรูปอยู่ในกระถางจะค่อย ๆ ละลาย กลายเปน็ ปยุ๋ บำรุงดินไปในตวั นอกจากนี้ ผู้ใหญ่อยุธ ไชยยอง เห็นว่าแนวทางดังกล่าวนา่ จะช่วย เพิ่มรายได้ให้แก่กลุ่มผู้เลี้ยงและมีความเป็นไปได้ในการต่อยอดผลิตภัณฑ์ กระถางมูลวัวให้มีความหลากหลายและยั่งยืน อย่างไรก็ตามหลังจาก ได้กระถางมลู ววั ทีก่ ลุม่ ได้รว่ มพัฒนากบั คณะทำงาน U2T แล้ว ยงั ต้องมีการ ทดลองผลการใช้งานกระถางและความคงทนของผลิตภัณฑ์เพื่อการพัฒนา ในข้นั ต่อไป 108
4.3 กระถางมลู ววั เหตุผลในการเลือกพัฒนาผลิตภัณฑ์กระถางมูลวัวเป็นเพราะผู้นำ กลุ่มและชาวบ้านเห็นว่าเป็นวัตถุดิบที่มีอยู่แล้ว และการทำกระถาง จากมูลวัวน่าจะช่วยลดภาระการจัดเก็บ อีกทั้งเพิ่มช่องทางการค้า ใหห้ ลากหลายข้นึ กวา่ เดมิ ทมี่ เี พยี งปุ๋ยจากมูลวัวจัดจำหน่ายแต่ลักษณะเด่น ของมูลวัวของท่นี ี่ไม่มีสารเคมีในการชะลา้ ง ทำใหป้ ลอดสารพิษ วิทยากร คือ อาจารย์ ดร.นฤดี ภู่รัตนรักษ์ จากมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ได้เป็นวิทยากรเสนอแนะ กระบวนการพัฒนากระถางจากมูลวัว และรับผิดชอบผลิตต้นแบบกระถาง เพอื่ นำสง่ ใหแ้ กช่ ุมชน เพ่ือยกระดบั สินคา้ ให้ใชง้ านได้งา่ ยขน้ึ วสั ดุ-อุปกรณ์ กระถางมูลวัว ใช้วัสดุ 7 ชนิด ประกอบด้วย แม่พิมพ์หรือกระถาง พลาสติกที่แตกต่างกัน 2 ขนาด ถาดผสมกาวลาเท็กซ์ กาวแป้งเปียก กากมะพร้าวสบั มูลววั และน้ำเปลา่ ขัน้ ตอนการทำกระถางมลู วัว 1) นำส่วนประกอบทั้งหมด ได้แก่ มูลวัว 40 % กากมะพร้าว สับ 25 % กาวลาเท็กซ์หรือกาวแป้งเปียก 15 % และน้ำเปล่า 5 % ผสม ลงในถาด 2) นำสว่ นผสมทคี่ ลกุ เคล้ากนั ได้ทแ่ี ล้วเทลงในแม่พมิ พ์ 3) นำผลิตภัณฑ์ที่ได้ไปตากแดด 10 ชั่วโมงหรือจนกว่าผลิตภัณฑ์ จะเชตตวั ขนึ้ รปู 109
ผลการทดลอง กระถางประเภทที่ 1 การทำกระถางมูลววั โดยใช้กาวลาเทก็ ซ์เปน็ ตัวประสาน มวี ธิ ีทำ ดงั นี้ 1) เทกาวลาเท็กซ์กระปุกใหญ่ 1 กระปกุ ลงในถาดผสม 2) เทนำ้ เปลา่ 1.5 ลิตร ผสมกบั กาวลาเทก็ ซ์และคนจนเปน็ เนอ้ื เดียวกัน 3) นำกากมะพรา้ วจำนวน 3 กำมอื ใส่ลงไปในถาดผสม 4) นำมูลววั จำนวน 4 กำมือ ใสล่ งไปในถาด คลกุ เคลา้ ให้เขา้ กนั 5) จัดเตรียมแม่พิมพ์ โดยใช้หนังสือพิมพ์หรือพลาสติกปิดรูรั่วของ แม่พิมพ์ทั้ง 2 ชิ้น แม่พิมพ์ที่ใช้ในการทำเป็นแม่พิมพ์กระถางจะมีขนาด ทต่ี า่ งกัน คอื กระถางเล็ก 1 ชิ้น และกระถางใหญ่ 1 ชิ้น 6) นำแม่พิมพ์ทั้งสองซ้อนกัน จากนั้นนำส่วนผสมที่เตรียมไว้มาใส่ ตรงกลางชอ่ งว่างของแม่พมิ พใ์ ห้เตม็ และเกลี่ยให้เรียบ 7) นำไปตากแดดจัดให้แหง้ อยา่ งน้อย 5 ชว่ั โมง 8) นำแม่พิมพ์กระถางเล็กออก ตรวจสอบความแห้งของกระถาง มูลววั 9) นำกระถางมลู วัวไปตากแดดจดั ตอ่ จนกว่าจะแหง้ 110
กระถางประเภทที่ 2 การทำกระถางมูลวัวโดยใช้กาวแป้งเปียก เป็นตัวประสาน วิธีการทำเช่นเดียวกับประเภทที่ 1 แต่เปลี่ยนเป็นกาว แป้งเปยี ก 2.5 ลติ รแทนกาวลาแท็กซ์ อภปิ รายผล จากการทดลองทำกระถางมูลวัว กระถางที่ใช้กาวลาเท็กซ์เป็น ตัวประสาน เมือ่ นำไปตากแดดจัด พบวา่ กระถางจะแห้งเร็วแต่ผิวสัมผัสของ กระถางจะขรุขระไม่เรียบเนียน ส่วนกระถางมูลวัวที่ใช้กาวแป้งเปียกเป็น ตัวประสานเมื่อนำไปตากแดดกระถางจะแห้งช้า ใช้เวลามากกว่าการใช้กาว ลาแท็กซ์เป็นตัวประสานแต่เนื้อของกระถางค่อนข้างเรียบเนียนและแน่น กวา่ กระถางทใ่ี ชก้ าวลาเทก็ ซเ์ ป็นตวั ประสาน ในการทดลองทำกระถางมูลวัวครั้งต่อไป ให้ทดลองวิธีการ ทำกระถางมูลวัวอีกหนึ่งประเภท คือ การใช้ปูนปลาสเตอร์เป็นตัวประสาน เนื่องจากปูนปลาสเตอร์จะให้ความเรียบและมีสีสวยกว่ากาวทั้งสองชนิด ทท่ี ดลองทำในครงั้ นี้ ภาพที่ 36 กระถางมลู ววั 111
4.4 กลุ่มเทียนแมแ่ สงนวล ประธานกลุ่ม รายชอื่ สมาชกิ ในกลุ่ม สมาชกิ 1. นายบุญยงั มณกี าศ สมาชิก สมาชิก 2. นายอเุ ทน คำตา สมาชิก 3. นางยลดา คำตา สมาชิก 4. นางอารี คำตา 5. นางแสงนวล มณีกาศ 6. นางจำปา หลวงธจิ า 4.4.1 ความเป็นมาของกล่มุ เทียนแมแ่ สงนวล คณุ ตาบญุ ยงั มณีกาศ เรยี นรู้วิธกี ารทำเทียนมาจากผปู้ ระกอบการ รายหนึ่ง ซึ่งได้ว่าจ้างคุณตาบุญยังทำเทียนในลักษณะต่าง ๆ ได้แก่ เทียน โชคชะตา เปน็ เทียนโชคลาภ-เงนิ ทอง เทียนพระสวี ลี โดยเหล่าเทียนนี้มีการ นำคาถาและยันต์มาหอ่ หุม้ เพอ่ื วตั ถปุ ระสงค์ตา่ ง ๆ ตอ่ มาความนยิ มสั่งเทียน บูชาของภาคเหนือนั้นนับว่าเป็นตลาดที่มีความยั่งยืน เติบโตอย่างต่อเนื่อง เพราะสินค้าผูกโยงกับวิถีชีวิต ความเชื่อ และวัฒนธรรมการท่องเที่ยว กล่าวคือ ผู้ที่เดินทางมาสักการะพระธาตุมักได้รับการแนะนำให้บูชาเทียน เพื่อสะเดาะเคราะห์ต่อชะตาอายุ ดังนั้น ในช่วงที่มียอดสั่งทำจำนวนมาก เข้ามา คุณตาบุญยัง มณีกาศ จึงคิดค้นเครื่องมือเพื่อที่จะผลิตเทียนให้ได้ ปริมาณต่อครั้งมากขึ้นจากการผลิตแบเดิม ซึ่งบล็อกเทียนนี้ทำจากโลหะ และสามารถผลิตได้พร้อมกันรอบละ 20 เล่ม ทำให้ความสามารถในการ ผลิตของคุณตาบุญยังที่ทำได้ต่อวันสูงขึ้นถึง 200 เล่ม เครื่องมือที่ คุณตาบุญยัง มณีกาศ สั่งทำเพื่อลดเวลาและเพิ่มปริมาณสินค้าน้ี มีมูลค่า 112
รวม 17,000 บาท ซึ่งประกอบด้วยแท่นอลูมิเนียมที่มีความยาว 51.5 เซ็นติเมตร สูง 20 เซนติเมตร และทำช่องสองข้างสำหรับหล่อเทียนที่มี ขนาดเท่า ๆ กัน เพื่อใช้บรรจุน้ำแข็งให้มีความเย็นสองข้างเป็นการเชตตัว ให้คงรูป คุณตาบุญยัง มณีกาศ มีความยินดีที่จะสาธิตกระบวนการทำงาน ของเครื่องหลอ่ เทียนเพื่อเป็นวิทยาทานให้แกผ่ ู้สนใจศกึ ษาตอ่ ไป ต่อมาในช่วงปี พ.ศ.2564 มีการชะลอตัวของภาวะเศรษฐกิจและ เกิดโรคระบาดรุนแรงของโควิด-19 ทำให้ยอดการสั่งทำเทียนบูชาลดลง อย่างตอ่ เนื่อง ทำให้รายได้ของคุณตาบญุ ยังในฐานะผู้รับจา้ งผลติ ลดน้อยลง ตามไปดว้ ย โดยจากเดิมได้ค่าจา้ งผลติ เทยี น เลม่ ละ 7-15 บาท จนกลายเปน็ ขาดรายได้เพราะไม่มียอดสั่งซื้อ คณะทำงาน U2T ด้าน OTOP จึงได้ ประสานงานบัณฑิตและประชาชนผู้รับจ้างงานในโครงการ สอบถามความ ต้องการยกระดับผลิตภัณฑ์แก่คุณตาบุญยัง โดยมุ่งหวังเพิ่มยอดขายและ ส่งเสริมใหค้ ุณตาหันมาเป็นผู้ประกอบการเอง 4.4.2 การพัฒนาผลิตภณั ฑ์ สินค้าเดิมของคุณตาบุญยัง คือ เทียนบูชา ความยาว 17 เซนติเมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 2 เซนติเมตร ขายส่งเล่มละ15-29 บาท (ขึ้นอยู่กับขนาดเทียน) ต้นทุนเทียนขี้ผึ้งแผ่นกลม กล่องละ 15 กิโลกรัม ราคา 1,200 บาท ต้นทุนสินค้าประมาณ 10 บาทต่อเล่ม ดังนั้น ในการ อบรมเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ในครั้งแรกเดือนเมษายน 2564 ข้อเสนอแนะ ด้านราคาจากวิทยากร คือ ควรเพิ่มราคาขายให้สูงขึน้ ทั้งนี้ให้สอดคล้องกับ ราคากลไกของตลาด ซ่งึ ปจั จยั หนึง่ ที่ช่วยยกระดบั ราคาขายได้ง่าย คือ บรรจุ ภณั ฑ์ ดงั น้ัน วิทยากรภายนอกทคี่ ณะทำงาน U2T ด้าน OTOP ประสานงาน 113
ให้มาบรรยาย จึงนำเสนอรูปแบบบรรจุภัณฑ์ใหม่ให้น่าสนใจขึ้น และรับ หนา้ ท่ีออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ให้มีความทันสมยั เพือ่ เจาะกลุม่ ลูกค้าร่นุ ใหม่ นอกจากการปรับปรุงบรรจุภัณฑ์แล้ว วิทยากรยังแนะนำให้เพ่ิม ประเภทของสินค้า จากเดิมมีเพียงเทียนบูชา เป็นการทำเทียนหอมและ ออกแบบให้ปรากฏอัตลักษณ์ท้องถิ่น เช่น การเติมกลิ่นหอม การไล่เฉดสี การปรับปรุงผิวเทียนให้เรียบเนียน การตั้งชื่อสินค้าใหม่ การจดทะเบียน สินคา้ มาตรฐาน (มผช.หรือ OTOP) การเพิ่มช่องทางจัดจำหน่ายสนิ ค้า 4.4.3 ผลการพัฒนาผลติ ภัณฑ์ จากข้อเสนอแนะของวิทยากรในการอบรมพัฒนาผลิตภัณฑ์ ในเดือนเมษายน 2564 คุณตาบุญยังได้ตอบรับแนวคิด 2 ส่วน คือ การออกแบบบรรจุภณั ฑ์ใหมแ่ ละการผลิตเทยี นหอม 1. การปรับปรงุ รปู แบบบรรจุภณั ฑ์ เดิมเทียนบูชามีเพียงสีเดียวคือ สีเหลือง กลุ่ม U2T ด้าน OTOP ได้แลกเปล่ยี นกับคุณลงุ บุญยงั ให้เพมิ่ จำนวนสีใหค้ รบ 7 วัน คอื แดง เหลือง ชมพู เขียว ส้ม ฟ้า และม่วง และจัดสินค้าเป็นแพ็ค แพ็คละ 3 เล่ม และ 4 เล่ม เพื่อให้ลูกค้าได้เลือกซื้อตามความต้องการและใช้ชื่อสินค้าใน บรรจุภัณฑ์ใหม่นี้ว่า “เทียนหอมแม่แสงนวล” ซึ่งเป็นชื่อที่ได้มาจากคู่ชีวิต ของคณุ ตาบุญยัง นอกจากน้ี กลุ่ม U2T ด้าน OTOP ยังพบตำหนิของ ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ คือ สีของเทียนไม่สม่ำเสมอกันทั้งเล่มและผิวของเทียน ไม่เรียบเนียนเสมอกัน จึงได้มอบหมายให้บัณฑิตและประชาชนในพื้นที่ คิดหาวิธีการปรับปรุงสินค้า โดยขั้นตอนของการหารือกับคุณตาบุญยัง 114
ได้แนวทางแก้ไข 1 เรื่อง คือ การเพิ่มความเย็นขณะหล่อเทียนเพื่อให้ผิว เทยี นเรียบเนยี นเสมอกันทั้งเล่ม สว่ นสีของเทียนไมส่ ม่ำเสมอกนั เข้มเฉพาะ ส่วนปลาย กลุ่มมีข้อเสนอให้เปลี่ยนวิกฤตเปน็ โอกาสด้วยการผลิตเทียนเฉด สีขึ้นมาด้วย และปรับปรุงขั้นตอนของการผสมสี ให้ละลายทั่วถึงกันก่อน เทลงแมพ่ มิ พเ์ พือ่ ใหส้ กี ระจายตัวดแี ละไมม่ ีสว่ นตกคา้ ง สำหรับปัญหาด้านผิวของเทียนไม่เรียบเนียนเสมอกัน ได้ปรับปรุงคุณภาพในขั้นตอนการผลิต โดยการใช้น้ำแข็งประกบแม่พิมพ์ เพื่อให้เทียนแข็งตัวเร็วและหากพบว่าเทียนมีริ้วรอยจะใช้การปะเทียนเพ่ิม และขัดให้เรียบเนียน นอกจากนั้นก่อนขัน้ ตอนการบรรจุจะมีฝา่ ยตรวจสอบ คณุ ภาพของผลิตภัณฑ์ให้ตรงกับคำสงั่ ซอื้ และคำโฆษณา ภาพที่ 37 เทยี นบชู า 2. การผลติ เทียนหอม เป้าหมายของการผลิตเทียนหอม คือ เพื่อเพิ่มกลุ่มลูกค้า ให้กว้างขึ้น จากเดมิ ที่กลมุ่ เทยี นบูชามีกลุ่มลกู คา้ เป็นคนท่ไี ปวดั ทำบญุ และ เชื่อเรื่องโชคลาง การสะเดาะเคราะห์ แต่การผลิตเทียนหอมจะช่วยในการ เพ่ิมกลุ่มเปา้ หมายทต่ี อ้ งการใชเ้ ทียนเพอ่ื การผ่อนคลาย การประดับตกแต่ง 115
นอกจากนี้ ผู้แทนบัณฑิตและประชาชนของโครงการ U2T ยังได้ผลิตเทียนแฟนซีและผางประทีปเพื่อเจาะกลุ่มเป้าหมายวัยรุ่น และ สร้างจุดขายในหน้าเทศกาล เช่น วันลอยกระทง วันพ่อ ด้วย อย่างไรก็ตาม การผลิตเทียนหอมพบปัญหาเกี่ยวกับความคงทนของกลิ่น และพยายาม แต่งกลิ่นที่เป็นอัตลักษณ์ของพื้นที่ เช่น ดอกลำไย ใบชา และสร้างจุดขาย ดว้ ยกลิ่นใหมท่ ก่ี ำลังไดร้ ับความนยิ ม เชน่ พีช กุหลาบ บูลเบอร์รี ภาพที่ 38 เทียนทีไ่ ดร้ ับการยกระดบั ผลิตภัณฑ์ 4.5 กลุ่มพรมเช็ดเทา้ บา้ นแม่อาวนอ้ ยและกลุ่มตัดเยบ็ Tina แฟช่ัน รายชือ่ สมาชิกกล่มุ พรมเช็ดเท้า 1. นางวนั เพ็ญ กองอรนิ ทร์ ประธานกลุม่ 2. นางนางออ้ แช่นม่ิ รองประธาน 3. นางยุพนิ สรุ ิยะสรณ์ เลขานกุ ารกลล่มุ 116
4. นางจันทร์ฟอง แกว้ กันตี เหรญั ญกิ 5. นางลำมอญ วงศยา กรรมการ 6. นายดวงพร วงศยา กรรมการ 7. นางนงลักษณ์ ณ ลำพนู กรรมการ 8. นางรัชนก มะกอกคำ กรรมการ 9. นางไรวรรณ์ แสนยศ กรรมการ 10. นางปราณี เปยี้ สนิ ธุ กรรมการ 11. นางสพุ ิน ปาระมี กรรมการ 12. นางแสงคำ มลู กาวนิ กรรมการ 13. นางแก้ว บางวัน กรรมการ 14. นางกรณ์พงค์ อปุ รัตน์ กรรมการ รายชอ่ื สมาชกิ กล่มุ เยบ็ ผา้ TINA แฟชัน่ 1. นางสาววิไลวรรณ วงศยา ประธานกล่มุ 2. นางวนั เพ็ญ กองอรินทร์ รองประธาน 3. นางเรไร ซาวบญุ ตัน เหรัญญิก 4. นางวไิ ลวรรณ กิตตทิ รัพย์ กรรมการ 5. นางดารา ธรรมวรรณ กรรมการ 6. นายคลอื วัลย์ เป็งสินธุ กรรมการ 7. นางจารวุ รรณ กาวารี กรรมการ 8. นางนงค์คราญ ญาณพนั ธ์ กรรมการ 9. นางบัวผัน จ้มุ เขียว กรรมการ 117
10. นางชลัยรัตน์ วงคย์ า กรรมการ 11. นางขวญั ตา วงค์ตา กรรมการ 12. นางยพุ นิ สุริยสรณ์ กรรมการ 4.5.1 ความเป็นมากลมุ่ วสิ าหกจิ ชุมชน ที่มาของการรวมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเริ่มจากพี่เพ็ญ (นางวันเพ็ญ กองอรินทร์) ได้ไปรับจ้างเย็บตุ๊กตากันความร้อนจากโรงงานแห่งหน่ึง เมื่อทำงานได้สักระยะก็มีแนวความคิดว่าน่าจะเอาทักษะและเทคนิคมา ประยุกต์เป็นสินค้า เช่น พรมเช็ดเท้า จานรองแก้ว ฯลฯ จึงได้เชิญชวน ผ้สู นใจมาทำงานรว่ มกันตงั้ แต่ปี พ.ศ.2549 จนถึงปจั จบุ ันนีร้ วมเวลากวา่ 16 ปีแลว้ ส่วนช่องทางการค้าขายในระยะแรกนั้น กลุ่มวิสาหกิจชุมชนไดน้ ำ สินค้าไปฝากขายทีร่ ้านเทียมนิล แต่ต่อมามีนายหน้ารับไปจำหน่ายและเริ่ม ขายผ่านระบบออนไลน์ การตอบรับของลูกค้าดีมากบางครั้งสินค้าถึงกับ ขาดตลาด เม่ือตลาดตอบรบั ดี กลุม่ วิสาหกิจชมุ ชนแมอ่ าวน้อยต้งั กลุ่มเพ่มิ เติม 1 กลุ่ม เนื่องจากพี่เพ็ญเห็นฝีมือการออกแบบและตัดเย็บผ้าฝ้ายของ คุณวิไลวรรณ วงศยา จึงชักชวนให้มาเปน็ หลกั ในการจัดตั้งกลุม่ ใหม่เพ่ือเพิ่ม ช่องทางหารายได้ กลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้าสมัยใหม่ที่ดำเนินการโดยพี่วิไลวรรณ วงศยาน้ีมีกลุ่มเป้าหมายเป็นวัยรุ่น วัตถุดิบที่ใช้มาจากผ้าฝ้ายในท้องถิ่น นอกจากนี้ยังมีการตัดเย็บกระเป๋าและหมวกผ้าที่เน้นการออกแบบให้ ทันสมัย ใช้งานงา่ ย กลุ่มตัดเยบ็ จึงตงั้ ชอื่ ข้นึ ใหมว่ ่า Tina แฟช่นั 118
4.5.2 การพฒั นาผลติ ภัณฑ์ จากการอบรมพัฒนาผลิตภัณฑ์ระหว่างผู้ประกอบการและ วิทยากร U2T มีการไลฟส์ ดเพ่ือแสดงสินคา้ และรับฟงั ขอ้ คิดเห็นจากมุมมอง ของผู้บริโภคข้อเสนอแนะของวิทยากร คือ การปรับปรุงแพทเทิรน์ และการ วางลายผ้า เพื่อให้ทันสมัย เหมาะกับรูปร่าง ตลอดจนการนำเสนอสินค้า ต้องจดั วางภาพใหส้ วยงาม น่าสนใจ 1. การปรบั ปรงุ แพทเทิรน์ สินคา้ และการวางลายผา้ เนื่องจากสินค้าเดิมของกลุ่มตัดเย็บพรมเช็ดเท้าอาศัย เศษผ้าจากโรงงานในการวางลวดลาย ดังนั้น ชิ้นงานที่ได้จึงคล้ายคลึงกับ ท้องตลาด ขาดความโดดเด่น และทำให้ไม่สามารถตั้งราคาที่สูงกว่าเดิมได้ ขอ้ เสนอแนะในการปรับปรุงสนิ คา้ จงึ เป็นการเลอื กจับคู่เศษผ้าให้เกิดสีและ ลายที่แปลกใหม่ไปจากเดิม และหากสามารถจัดชุดให้สอดคล้องกับสินค้า ชิ้นอื่นๆ ได้จะยิ่งเป็นการเพิ่มมูลค่าสินค้า เช่น แผ่นรองจาน แผ่นรองแก้ว ผา้ ปโู ต๊ะและเฟอร์นเิ จอรอ์ น่ื ๆ ส่วนสินค้าของกลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้า Tina มีคำแนะนำ ด้านการวางแบบชุดให้มีทรวดทรวงและไม่หลวมหรือปล่อยชายมากเกินไป เพราะจะทำให้ดูมีอายุและอ้วน ดังนั้น การออกแบบจึงต้องมีสายคาดเอว หรือสม็อคด้านหลังเพื่อให้เข้ารูป จากนั้นให้เน้นการวางลายผ้าแบบ ผสมผสาน รวมถึงการเลือกใช้นางแบบและนายแบบรุ่นราวคราวเดียวกับ กล่มุ เป้าหมาย ส่วนการออกแบบหมวกและกระเป๋านั้น เน้นการเข้าคู่ ระหว่างสินค้าเพื่อให้สามารถจัดชุดจำหน่ายในคราวเดียวกันได้ เช่น หมวก 119
กระเปา๋ หน้ากากผา้ และชดุ เสื้อผา้ ท่ีสำคญั คือการวางแพทเทริ ์นสินค้าให้ได้ มาตรฐาน เชน่ ขนาดของหมวกในรูปทรงต่าง ๆ ต้องสามารถสวมใสไ่ ดจ้ ริง สำหรับการออกแบบกระเป๋านั้น นอกจากการวางลวดลาย แล้ว รูปทรงของกระเป๋าที่หลากหลายและขนาดของกระเป๋าที่แตกต่างกัน ไปตามการใชง้ านจะตอบสนองต่อกลมุ่ ลูกค้าได้กว้างขึน้ 4.5.3 การปรับปรุงรปู แบบและวิธีการนำเสนอสนิ ค้า จากเดมิ กล่มุ ตัดเย็บพรมเชด็ เทา้ มีสนิ คา้ ออกสตู่ ลาดเพียงชนิดเดียว แต่หลังจากได้รับข้อเสนอแนะจากคณะทำงาน U2T ด้าน OTOP แล้ว สามารถเพิ่มชนิดของสินค้าให้หลากหลายมากขึ้น เมื่อรวมเข้ากับการ ออกแบบสีสันและลวดลายของพรมเช็ดเท้าใหม่ให้ทันสมัย สวยงาม และ ปลอดภัยแล้ว ส่งผลให้มีสินค้าออกสู่ตลาดเพิ่มมากขึ้น ทั้งแบบออนไลน์ และการออกร้านจัดจำหน่ายในงานต่าง ๆ อีกทั้งมีการเข้าชุดสินค้าให้ตรง ตามเทศกาลเพ่ือกระตุ้นยอดขายดว้ ย เชน่ ลายครสิ ตม์ าส ภาพที่ 39 การปรบั ปรงุ ลวดลายและสสี นั สนิ ค้า 120
ส่วนกลุ่มตัดเย็บ Tina แฟชั่น ได้ปรับปรุงรูปแบบ ขนาด และการ วางลายตามตัวอย่างของวิทยากร ทำให้เห็นความแตกต่างได้อย่างชัดเจน โดยแต่เดิมสินค้าจะมีสีสันในโทนขรึมทำให้ดูสูงอายุ แต่เมื่อนำลายผ้าแบบ ต่าง ๆ มาเข้าคู่กันด้วยศิลปะแบบการต่อลาย ทำให้น่าสนใจมากข้ึน นอกจากนี้ยังปรับปรุงวิธีการนำเสนอสินค้า ทั้งการจัดองค์ประกอบศิลป์ และการเลือกนางแบบ ภาพท่ี 40 การปรบั ปรุงมาตรฐานสนิ ค้า และการปรบั กลยทุ ธก์ ระตุ้นยอดขาย 4.5.4 ผลการพฒั นาผลิตภัณฑ์ หลังจากการพัฒนาผลิตภัณฑ์เป็นไปตามเป้าหมาย บัณฑิตและ ประชาชนของคณะทำงาน U2T ด้านสุขภาพ ได้แนะนำและดำเนินการยื่น เรื่องขอการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ OTOP และมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ชุมชน (มผช.) ซง่ึ ปัจจุบนั กลุ่มตัดเย็บทัง้ สองกลมุ่ ได้รบั การรับรองมาตรฐาน ผลติ ภณั ฑเ์ รยี บรอ้ ยแล้ว 121
ภาพที่ 41 การปรบั ปรงุ รปู แบบผลตภัณฑใ์ ห้ทนั สมัยและตามเทรนด์แฟชัน่ 4.6 กลุ่มผลิตภัณฑ์ผา้ ฝา้ ยทอมือ ประธานกลุม่ รายชอ่ื สมาชกิ กล่มุ สมาชกิ กลุ่ม 1. นางกัลยา อิมัง สมาชกิ กลมุ่ 2. นางบัวลม เนตรผาบ สมาชิกกลุ่ม 3. นางอำพร ปนั ทัน 4. นายไพบูลย์ เนตรผาบ 4.6.1 ความเปน็ มา คุณป้ากัลยา อิมัง หรือป้ายา ปราชญ์ชาวบ้านด้านภูมิปัญญา การทอผ้าฝ้าย ของตำบลท่าตุ้ม อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน เล่าถึง บรรยากาศและวิถีชีวิตของชาวบ้านร่องช้างในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา ให้คณะทำงาน U2T ฟังด้วยน้ำเสียงสดใสแววตาเป็นประกายฉายแววแห่ง ความสขุ วา่ เดิมนัน้ บา้ นทุกหลังทอผา้ เปน็ อาชีพหลกั แต่ปัจจุบนั กลับลดลง 122
เหลอื เพยี งแตก่ ล่มุ ของป้ายาและสมาชกิ กลมุ่ ทอผา้ บ้านร่องช้าง อีกเพียง 10 กว่าคนที่ยังคงมุง่ มนั่ ทำผา้ ฝ้ายทอมืออยา่ งไม่ย่อทอ้ สำหรับการสืบทอดองค์ความรู้ด้านการทอผ้าของป้ายานั้นอาศัย การสังเกตและการฝึกฝนจนชำนาญ โดยมีคนเฒ่าคนแก่ช่วยแนะนำ ทุกวัน หลังกลับจากเรียนหนังสือก็ได้ฝึกฝนการทอผ้า วิถีชีวิตเช่นนี้เป็นการ สนบั สนุนให้คนทอผา้ เป็นแต่เมื่อสภาพสังคมเปลี่ยนไป เช่น การเข้าไปเรียน หนังสือในเมืองก็จะทำใหก้ ารเรยี นร้วู ิถีชวี ติ เหล่านี้เลือนหายไป กลุ่มผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายทอมือบ้านร่องช้างเริ่มก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2553 โดยมีป้ากัลยาเป็นประธานกลุ่ม และมีสมาชิกทั้งหมด 10 คน ที่ผ่าน มาการสนับสนุนจากหน่วยงานของรัฐเพื่อส่งเสริมการสืบทอดองค์ความรู้ ด้านการทอผ้านี้มีหลายรูปแบบ ทั้งในรูปของอุปกรณ์การผลิต เงินทุนและ เทคโนโลยี แรงสนับสนุนจากฝา่ ยพัฒนาชุมชนของพ้นื ท่ีทำใหเ้ กิดการยกระดบั สินค้าด้านรูปแบบและคุณภาพ จนกระทั่งได้คุณภาพตามมาตรฐาน OTOP 4 ดาว ในปี พ.ศ.2562 4.6.2 การพัฒนาผลติ ภัณฑ์ เนื่องจากกลุ่มผ้าฝ้ายทอมือป้ากัลยามีประสบการณ์ในการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐาน OTOP แล้ว จึงมีการหารือถึงความต้องการของ ผู้ประกอบการถึงแนวทางที่ต้องการรับการสนับสนุน เช่น การออกแบบ เสื้อผ้าให้ทันสมัย เจาะกลุ่มวัยรุ่นได้ วิทยากรจึงเสนอแนะให้ปรับปรุง แพทเทิร์น เนื่องจากแบบเสื้อผ้าของเดิม ไม่เน้นทรวดทรงและสีสัน ดังน้ัน 123
วิทยากรจึงส่งแพทเทิร์ทแบบชุดใหม่ให้แก่ผู้ประกอบการทดลองตัดและให้ นางแบบวยั รนุ่ ทเี่ ป็นกลุ่มเป้าหมายสวมใสเ่ พือ่ ทำสอื่ โฆษณา ภาพที่ 42 การปรบั ภาพลกั ษณส์ นิ ค้า 4.6.3 ผลการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ใหม่เพื่อเจาะกลุ่มเป้าหมายที่เป็นวัยรุ่น เริ่มทำการตลาดผ่านเพจ OTOP THATUM และ Marketplace ซึ่งยังไม่ แสดงผลที่ชัดเจนมากนัก อย่างไรก็ดีเมื่อมีการออกร้านที่ห้างสรรพสินค้า ในเดือนพฤศจิกายน 2564 ที่จัดขึ้นโดยมหาวิทยาลยั ราชภัฏลำปาง ร่วมกบั ชุมชนในพื้นที่ สินค้าจากกลุ่มผ้าฝ้ายทอมือป้ากัลยาได้รับความสนใจมาก และมลี ูกค้าอุดหนนุ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ภาพที่ 43 ลกู ค้าผา้ ฝา้ ยทอมอื ปา้ กัลยา 124
4.7 กลุ่มพรกิ ลาบสมุนไพร (กลมุ่ สตรีบา้ นไรป่ า่ คา) รายชือ่ สมาชิกในกลุ่ม 1. นางรำไพ จ๋ากา๋ ง ประธาน 2. นางกนิ ารี พรมจกั ร์ รองประธาน 3. นางณฐั พร แกว้ เลก็ เลขานกุ าร 4. นางเกศรนิ มาปนิ ตา เหรญั ญกิ 5. นางจริ นนั ท์ เกษมศรี ประชาสัมพนั ธ์ 6. นางบวั บาน วงศยา กรรมการ 7. นางพัชรา เกษมศรี กรรมการ 8. นางอตั พร พรมปัญญา กรรมการ 9. นางเครือวนั ปญั ยรู กรรมการ 10. นางอำพร ภดู อนตอง กรรมการ 11. นางราตรี บญุ กองรัตน์ กรรมการ 12. นางพวงเพรช ภดู อนตอง กรรมการ 13. นางทองพนู มหารตั น์ กรรมการ 4.7.1 ประวตั ิความเปน็ มา “หนึ่งในเครื่องปรุงของอาหารเหนือ” คือ พริกลาบหรือน้ำพริก ลาบบ้างเรียกว่า น้ำพริกดำ เพราะมี สีดำของพริกแห้งย่างไฟ “พริกลาบ” ใช้เป็นเครื่องยำลาบหรือเครื่องปรุงลาบ และสามารถนำมายำต่างๆ ได้ ซึ่งชาวเหนือจะนิยมทำสูตรพริกลาบของตน ในการนำมาปรุงอาหารเพราะ จะมีเอกลักษณ์และรสชาติที่ตนชอบ บางคนชอบแบบเผ็ดด้วยพริก 125
แต่เครื่องเทศน้อย และบางคนชอบแบบเน้นเครื่องเทศ ซึ่งรสนิยมแตกต่าง กันออกไป เป็นเวลากว่า 5 ปีแล้ว ที่กลุ่มแม่บ้านบ้านไร่ป่าคา หมู่ 13 ตำบล ท่าตุ้ม อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน ได้รวมกลุ่มกันเพื่อผลิตสมุนไพรปรุง สำเร็จพริกลาบ เพื่อใช้เป็นเครื่องปรุงอาหารชนิดต่าง ๆ ในครัวเรือน และ สร้างจุดเด่นด้วยการเพม่ิ รสเผด็ หอมเครื่องสมนุ ไพร คุณป้ารำไพ จ๋าก๋าง เล่าถึงการทำพริกลาบหรือน้ำพริกลาบ สมนุ ไพรว่าเครอ่ื งปรุงพิเศษนี้เปน็ สนิ ค้า OTOP ทท่ี ำร่วมกันกับกลุ่มแม่บ้าน มานานกว่า 5 ปแี ล้ว ซงึ่ รบั ช่วงต่อจากประธานแมบ่ า้ นชดุ เกา่ มกี ระบวนการ ฝึกฝนและเรียนรู้จนได้พริกลาบสมุนไพรที่มีรสชาติได้มาตรฐาน จากนั้น จงึ วางจำหนา่ ยตามรา้ นค้าและร้านอาหารพ้ืนเมือง เครื่องเทศและพริกแห้งที่ใช้เป็นส่วนผสมในการทำพริกลาบนั้น ผ่านการคัดสรรอย่างพิถีพิถัน เพื่อให้สามารถคงรสชาติได้ตามสูตรที่คิดค้น ขึ้น นอกจากนี้ยังมีกรรมวิธีการผลิตที่เน้นความสด สะอาด ปราศจากสาร กันบูด เพ่ือให้ดตี อ่ สขุ ภาพของผบู้ ริโภค ขั้นตอนการทำพริกลาบ ได้แก่ การนำเครื่องเทศและพืชสมุนไพร 14 รายการ ประกอบด้วย พริกแห้ง เม็ดผักชี มะแขว่น เทียนข้าวเปลือก มะแหลบ ดีปลี กานพลู โป๊ยกั๊ก เปราะหอม ลูกจันทน์อบเชย กระวาน เกลือป่น นำมาสับหรือบดตามความต้องการ แล้วนําไปทําให้แห้งหรือคั่ว ก่อนจะนำมาผสมให้เข้ากัน จากนั้นนำไปคั่วรวมกันอีกครั้งพอให้สุกจะได้ กลิ่นหอมและทำให้สามารถเก็บไว้ได้นาน บางครั้งถ้าคั่วโดยใส่น้ำมันลงไป เล็กน้อยก็จะได้รสชาติพริกลาบที่มีความเข้มข้นขึ้นหรือจะทานแบบดิ บ ก็อร่อยเช่นกัน ซึ่งน้ำพริกลาบนั้นจะเป็นตัวช่วยดับกลิ่นคาวของเน้ือในการ ปรุงลาบของภาคเหนือเป็นหลัก ส่วนอาหารอื่นๆ ที่มีพริกลาบเป็น ส่วนประกอบ ไดแ้ ก่ ยำไก่ ลาบหมู ลาบเนอื้ ยำกบ ยำหูหมู ฯลฯ 126
ภาพที่ 44 บรรจภุ ัณฑ์พริกลาบแบบดง้ั เดมิ 4.7.2 การพัฒนาผลติ ภัณฑ์ หลักการพัฒนาพริกลาบจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับวิทยากร ในเดือนเมษายน 2564 ได้มีการค้นหาจุดเด่นของพริกลาบที่ผลิตโดยกลุ่ม สตรีบ้านไร่ป่าคา ซึ่งได้ข้อสรุปว่า รสชาติของพริกลาบมีความเผ็ดมากกว่า สินค้าในประเภทเดียวกัน และมีสมุนไพรบำรุงร่างกายมากถึง 14 ชนิด คณะทำงาน U2T ด้าน OTOP จึงเสนอวิธีสร้างจุดขายและเจาะกลุ่มลูกค้า ใหม่ ได้แก่ การเพมิ่ ช่ือเรียกเพ่อื สร้างจุดขาย คือ (หมา่ ล่าเมือง) การปรบั ปรงุ รูปแบบบรรจุภัณฑ์ การยกระดับสินค้าเป็นของฝาก ของที่ระลึก การเพ่ิม ขนาดบรรจุภัณฑ์ให้หลากหลายเพื่อให้ตอบสนองความต้องการหลากหลาย ประเภท เชน่ ซองเลก็ ถงุ ซิป กระปกุ ภาพท่ี 45 พรกิ ลาบทไ่ี ดร้ บั การยกระดับด้านบรรจุภณั ฑ์ ขนาด ราคา และรสชาติ 127
บทท่ี 5 นกั ส้กู ู้วกิ ฤตชมุ ชน นักศกึ ษา บัณฑิตท่าตมุ้ ในบทนี้ เปน็ การรวบรวมบทสัมภาษณ์และความคดิ เหน็ ของชุมชน และบัณฑิตทา่ ตุ้ม ที่เข้าร่วมโครงการยกระดับเศรษฐกิจรายตำบล ในฐานะ นักสู้กู้วิกฤตโรคระบาดโควิด-19 ที่เกิดขึ้นตลอดสองปีในประเทศไทย ส่งผลให้เศรษฐกิจและสุขภาพของประชาชนในตำบลท่าตุ้มภาพรวมได้รับ ผลกระทบอย่างรนุ แรง อย่างไรก็ดี ความเสียสละและทุ่มเทเพื่อการดำเนินโครงการ U2T ให้สำเร็จลุล่วงไปในเฟสแรกนี้ คณะทำงาน U2T มหาวิทยาลัยราชภัฏ ลำปาง ขอแสดงความขอบคุณและซาบซึง้ ในความร่วมแรงรว่ มใจเพ่อื ฝา่ ฟนั ปัญหาและอุปสรรคท่เี กดิ ขน้ึ ในโครงการ บทเรียนและประสบการณ์ที่ได้รับในฐานะนักพัฒนาชุมชนจะเปน็ ดังเกราะป้องกันสำคัญที่จะช่วยให้ตำบลท่าตุ้ม ประสบความสำเร็จในการ ประกอบอาชีพอยา่ งย่งั ยืน 5.1 บทสมั ภาษณผ์ ู้ประกอบการในโครงการ U2T 5.1.1 เทยี นแมแ่ สงนวล โดยบุญยัง มณกี าศ • ต้งั แตค่ ุณลงุ ไดเ้ ข้ารว่ มโครงการ U2T รูส้ ึกอยา่ งไรบ้าง
...คุณลุงรู้สึกดีใจที่มีผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้นอีกหลายรูปแบบ และได้เกิดแนวคิด หลังจากที่ได้รับการอบรมจากวิทยากรที่ทาง โครงการได้จัดอบรมให้กับผู้ประกอบการ และคุณลุงวางเป้าหมาย ที่จะพัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑ์ให้ดีกว่าเดิม ตามที่ทางวิทยากร ไดช้ ้ีแนะให้กับคณุ ลุง… • หลังจากที่ได้รับการอบรม และได้รับคำแนะนำจาก วิทยากรจะนำความรู้นี้ ไปพัฒนาผลิตภัณฑ์ของตนเอง อยา่ งไร ...จะพัฒนาสีของเทียนให้มีความสดใส และในการทำ เทยี นจะทำให้ดีทำใหล้ ะเอยี ดขึน้ ... • หลังจากเสร็จสิ้นโครงการ U2T จะดำเนินการกับการ พัฒนาผลิตภณั ฑข์ องตนเองอยา่ งไร ...คุณลุงจะดำเนินการต่อไป และจะทำสินค้าให้พร้อม ต่อการจำหน่ายตามกำลงั ท่ีตวั เองทำไหว… • แลว้ จะมผี ลติ ภัณฑ์ใหม่ ๆ เกิดข้ึนไหมคะหลงั จากเสรจ็ สน้ิ โครงการนี้แล้ว เช่น อาจจะมีการทำผางประทีป ขึ้นมา หรือเทียนที่มีรูปแบบความหลากหลาย นอกจากนี้ที่คุณ ลงุ ไดท้ ำอยู่ 129
...จะพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ขึ้นมาอีก คุณลุงอาจจะใช้ กระบอกไม้ไผ่หรือกะลามะพร้าวเป็นบรรจุภัณฑ์ของเทียน ซึ่งมีความแปลกและสามารถเพมิ่ ราคาของผลิตภัณฑไ์ ด้… 5.1.2 กลุ่มพรกิ ลาบสมุนไพร โดยรำไพ จ๋าก๋าง • ต้งั แตเ่ ขา้ ร่วมโครงการ U2T มคี วามรสู้ ึกอยา่ งไรบา้ งคะ ...รู้สึกดีใจ ที่โครงการน้ีได้เข้ามาในหมู่บ้านของเรา และ รสู้ กึ มแี รงผลกั ดนั ในการพัฒนาผลิตภณั ฑ์ และได้จัดจำหนา่ ยสนิ ค้า ในชุมชนของเรา ทำให้สินคา้ ของเรามีทีจ่ ำหน่ายที่กว้างขวาง และ ได้ขยายการตลาดสู่ต่างจงั หวัดและรสู้ กึ ว่าสนิ ค้าขายดีขนึ้ … • หลงั จากท่ีได้รบั ความรแู้ ละคำแนะนำ จากทา่ นวิทยากร มหาวทิ ยาลยั ลาดกระบงั แลผ้ ปู้ ระกอบการจะนำความรู้ มาพัฒนาผลติ ภัณฑ์อยา่ งไร ...จะนำความรู้ท่ีไดม้ าพฒั นาโดยทำใหส้ นิ คา้ มีหลากหลาย รสชาติ แต่บางผลติ ภัณฑ์การเก็บรักษาอาจจะเก็บรักษาไดไ้ ม่นาน เพราะอาจจะมีกลิ่นฉุน และเสียได้ง่าย ซึ่งจะใช้วิธีการแก้ปัญหา โดยการจัดทำตาม Order และจะพัฒนาบรรจภุ ัณฑข์ องผลิตภัณฑ์ ใหส้ วยงามมากข้นึ ... • หลังเสร็จสิ้นโครงการ U2T ผู้ประกอบการจะดำเนินการ ต่ออย่างไร 130
...จะดำเนินการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรต่อไปเรื่อย ๆ เพราะผลติ ภณั ฑ์พรกิ ลาบสมุนไพร ไดจ้ ัดทำขนึ้ มาหลายปีแล้วและ เป็นผลิตภัณฑ์ของชุมชนที่เราสามารถต่อยอดและพัฒนารสชาติ ได้อีกเรื่อย ๆ ตามที่ได้รับการอบรมจากวิทยากรอาจารย์ มหาวิทยาลัยลาดกระบงั จะนำมาพัฒนาตอ่ ยอดใหด้ ขี น้ึ ค่ะ... 5.1.3 กลุม่ พรมเชด็ เทา้ โดยวันเพ็ญ กองอรนิ ทร์ • ตงั้ แตเ่ ขา้ รว่ มโครงการ U2T ผู้ประกอบการรู้สึกอย่างไร ...รู้สึกดใี จทไ่ี ดร้ ว่ มโครงการ เพราะโครงการนมี้ ีประโยชน์ มาก ๆ ได้มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่มให้มีความแตกต่างออก จากเดมิ ที่เคยพฒั นาอยูแ่ ล้วและมีความแปลกใหมม่ ากขึ้น… • จากการที่ได้รับคำแนะนำจากวิทยากร ผู้ประกอบการ จะนำความรทู้ ีไ่ ดร้ ับมาพฒั นาผลิตภณั ฑอ์ ย่างไรบา้ ง ...จะนำความรู้ที่ได้รับจากวิทยากร มาพัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้มีความหลายหลายมากขึ้น และมีการเพิ่มลวดลายและสีสัน ให้สวยงาม... • หลังจากที่ทราบว่าทางทีม OTOP จะนำนำผลิตภัณฑ์ ของกลุ่มพรมเช็ดเท้าไปขึ้นทะเบียน มผช. (มาตรฐาน ผลิตภัณฑช์ มุ ชน) ผปู้ ระกอบการรสู้ กึ อยา่ งไรบา้ ง 131
...รู้สึกดีใจที่ทางทีม OTOP ได้เข้ามาช่วยหนุนเสริมและ ช่วยผลักดันในการนำผลติ ภัณฑไ์ ปขึน้ ทะเบียน มผช.รสู้ กึ ภมู ิใจมาก คะ่ ... • จากที่ได้รับการขึ้นทะเบียน มผช. ผู้ประกอบการ มีความรู้สึกอย่างไร แตกต่างจากก่อนที่จะขึ้นทะเบียน หรือไม่ ...รู้สกึ ดใี จและภมู ใิ จมาก ๆ ท่ไี ด้รับการขน้ึ ทะเบยี น มผช. ขอบคุณอาจารย์และทีม OTOP ทุกคนที่ช่วยผลักดัน จะพยายาม พัฒนาผลิตภัณฑ์ตามที่ได้รับการอบรม ให้มีสีสันลวดลาย ท่ีแปลกใหม่และเพิ่มรปู แบบใหม่เรอ่ื ย ๆ... • หลังจากเสร็จสิ้นโครงการ แล้วผู้ประกอบการจะมี แนวทางในการดำเนินการต่อไปอย่างไรบ้าง ...จะสานต่อผลิตภัณฑท์ ต่ี นเองทำเป็นอาชพี ต่อไปเร่อื ย ๆ แล้วจะพัฒนารูปแบบใหม่ ๆ ใหม้ ากกว่าเดิมจากท่ีเคยทำมา... 5.1.4 กลมุ่ ตดั เย็บ Tina แฟชนั่ โดยวไิ ลวรรณ วงศยา • อยากทราบว่าตั้งแต่ผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการ ผูป้ ระกอบการรสู้ กึ อย่างไรบ้างคะ ...รู้สึกดีใจ เพราะว่าทางทีมงานของโครงการได้เข้ามา ช่วยเหลืออย่างหลากหลาย เช่น การโฆษณา การตลาดและได้มี 132
การจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์มาให้ทางกลุ่ม เพื่อให้ผู้ประกอบการอย่าง เราได้มาทำรูปแบบกระเป๋าเสื้อผ้าต่าง ๆ และทางทีมก็ได้ช่วยใน การจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของชุมชนเรา ทางเราอยากร่วมงานกับ โครงการนีต้ อ่ ไปคะ่ ถา้ ในปีถัดไปมีโครงการนอี้ ีก… • หลังจากที่ผู้ประกอบการได้รับความรู้ คำแนะนำ จาก วิทยากรจากมหาวิทยาลัยลาดกระบัง มีแนวทางการ พัฒนาผลิตภณั ฑ์อย่างไรบา้ งคะ ...หลังจากที่ได้รับความรู้ คำแนะนำ จากท่านวิทยากร ได้แนวทางในการจดั รปู แบบกระเป๋าให้อย่ทู รงและการเลอื กผา้ การ จัดเฉดสี ทำให้รูปแบบและผลิตภัณฑ์ของเราได้มาตรฐานมากขึ้น และตรงตามความต้องการของลูกค้า การจัดจำหน่ายก็ดีข้ึน กว่าเดิม… • ผู้ประกอบการนำความรู้ที่ได้รับ มาต่อยอดผลิตภัณฑ์ ยงั ไงบ้าง ...นำความรู้มาพัฒนาลวดลายผลิตภัณฑ์ ทำให้มีสีสัน ลวดลายทีส่ วยงามมากขึ้น ดูเด่นชดั ในการจัดเฉดสี มีความทนั สมยั มากกว่าเดิม ลูกค้ามีความพึงพอใจในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของเรา มากขึน้ … • หลังจากที่ทราบว่าทางทีม OTOP จะนำนำผลิตภัณฑ์ ของผูป้ ระกอบการไปข้ึนทะเบยี น มผช. รูส้ กึ ยังไงบา้ งคะ 133
...รู้สึกดีใจและภูมิใจมาก ๆ ที่ผลิตภัณฑ์ของตัวเองจะได้ ไปขึ้นทะเบียน มีความตื่นเต้นและพยายามเตรียมผลิตภัณฑ์ของ ตนเองให้ดีท่ีสดุ ... • หลังจากที่ผลิตภัณฑ์ของผู้ประกอบการได้รับการขึ้น ท ะ เบ ี ย น ม า ต ร ฐ า น ผ ล ต ภ ั ณ ฑ ์ ช ุ ม ช น ( ม ผ ช .) ผู้ประกอบการรู้สึกอย่างไร แตกต่างจากก่อนที่จะได้รับ การขน้ึ ทะเบียนอยา่ งไร ...รู้สึกภูมิใจที่สุดที่ผลิตภัณฑ์ของเราได้รับ มผช.และ มีความมั่นใจในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของตนเองให้ดียิ่งขึ้น และ สร้างผลิตภัณฑ์รูปแบบต่าง ๆ เพิ่มขึ้น และมีความมั่นใจที่จะนำ ผลิตภณั ฑ์ตนเองไปจดั จำหนา่ ยยงั ทีต่ ่าง ๆ การประสบความสำเร็จ ในครั้งนี้ ได้รับการผลักดันจากทีมงาน OTOP ท่าตุ้มของเรา ขอบคุณทีงมาน OTOP ทุกคน ที่ร่วมดำเนินการและประสานงาน ในการติดตอ่ เพื่อขึ้นทะเบียน มผช. ดว้ ยนะคะ… • หลังจากเสร็จสิ้นโครงการ U2T ผู้ประกอบการจะนำ ความรทู้ ีไ่ ด้มาพัฒนาผลิตภณั ฑ์อย่างไรบ้าง ...จะตั้งใจพัฒนาผลิตภณั ฑ์ให้ดีขึ้นเรือ่ ย ๆ ค่ะ และจะนำ ผลิตภัณฑ์รูปแบบเดิมที่เคยทำให้มีสีสันและลวดลายที่แปลกใหม่ และทนั สมัยตามทไ่ี ดร้ ับคำแนะนำจากวทิ ยากรค่ะ… 134
5.1.5 กัลยาผา้ ฝา้ ย โดยกัลยา อมิ ัง • ตัง้ แต่เข้าร่วมโครงการ U2T ผปู้ ระกอบการร้สู กึ อย่างไร ...รู้สึกดีใจ และจะนำคำแนะนำที่ได้รับจากวิทยากร มาพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ของตนเองใหด้ ขี ึ้น และมีรปู แบบท่ีทันสมัย... • หลังจากที่ได้รับความรู้จากวิทยากร จะนำความรู้นี้ไป พัฒนาผลติ ภัณฑ์ของตนเองอย่างไร ...จะนำความรู้ที่ได้รับจากวิทยากรมาพัฒนาผลิตภัณฑ์ ใหม้ ีรปู แบบใหม่ข้นึ และจะพฒั นาใหเ้ ขา้ ถงึ ทุกช่วงวัย… • หลังจากเสร็จสิ้นโครงการ U2T จะดำเนินการกับการ พฒั นาผลิตภัณฑข์ องตนเองอย่างไร ...จะพัฒนาผลิตภัณฑ์ของตนเองไปเรื่อย ๆ และจะนำ ความรู้ที่ได้รับจากการอบรมมาใช้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ดีกวา่ เดมิ ยิง่ ๆ ขน้ึ ไป... 5.1.6 กลุ่มผู้เลี้ยงโคขาวลำพูนและกระถางมูลวัว โดยอยุธ ไชยยอง • ตั้งแต่เข้ารว่ มโครงการ U2T ผ้ปู ระกอบการร้สู กึ อยา่ งไร ...รู้สึกดีใจที่ทางโครงการ U2T มองเห็นความสำคัญของ โคขาวลำพูน เพราะเปน็ สิ่งทตี่ ้องสนับสนนุ และอนรุ กั ษไ์ ว้ และทาง 135
โครงการยังได้แนะนำในการทำผลิตภัณฑ์ใหม่ขึ้นมา คือการทำ กระถางมูลวัว เพื่อตอบสนอง ให้คนในชุมชนมีรายได้เสริมเพื่อ เพิ่มรายไดใ้ นครัวเรือน… • หลังจากที่ได้รับความรู้จากวิทยากร จะนำความรู้นี้ไป พฒั นาผลิตภณั ฑ์ของตนเองอย่างไร ...จะนำความรู้ที่วิทยากรแนะนำ มาสร้างผลิตภัณฑ์หรือ แบรนด์โคขาว ให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางและจะจัดทำกระถาง มูลวัวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับคนในชุมชน และกลุม่ บุคคลทว่ี ่างงาน... • หลังจากเสร็จสิ้นโครงการ U2T จะดำเนินการกับการ พฒั นาผลิตภณั ฑ์ของตนเองอยา่ งไร ...จะดำเนินการต่อไปเรื่อย ๆ ทั้งโคขาวและการจัดทำ กระถางมูลวัว เพราะกระถางมูลวัวเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และยัง ชว่ ยทำใหค้ นในชมุ ชนมีรายไดจ้ ากการทำกระถาง และจะนำความรู้ และคำแนะนำจากวทิ ยากรมาพฒั นาใหด้ ยี งิ่ ๆ ข้ึนไป... 5.2 ประสบการณก์ ารทำงานของบัณฑิตและประชาชน 5.2.1 นายไชยวฒั น์ ปาลี (น้ำ) • ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ เปลี่ยนแปลง/พัฒนา อย่างไรบา้ ง 136
...ตลอด 11 เดือนที่ได้ทำงานมามีการแบ่งกลุ่มการ พฒั นาแต่ละทีมแบง่ ออกเป็นทีม สุขภาพ สิง่ แวดล้อม โอทอป และ ท่องเที่ยว ซึ่งแต่ละทีมจะมีการพัฒนาในด้านต่าง ๆ ของตนเอง ที่ได้รับผิดชอบ ทีมเราเป็นทีมสุขภาพที่ต้องพัฒนาเกี่ยวกับเรื่อง สุขภาพเป็นหลัก และทำให้คนในชุมชนมีสุขภาพที่เปลี่ยนแปลง ในทางทด่ี ขี ้นึ ตามเป้าหมายโครงการท่ตี ั้งไว้... ...การทีไ่ ด้ทำงานโครงการ U2T ตำบลท่าตมุ้ นั้น ทำให้ได้ เรียนรู้การทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มให้มีประสิทธิภาพนำไปสู่ ความสำเร็จ ได้แสดงความคิดเห็น กล้าแสดงออกมากข้ึน มีหลกั การและรูปคำทีใ่ ช้เปลีย่ นไปจากเดิมทีอ่ าจมีพดู ตดิ ขัดและไม่ เป็นทางจากการเข้าร่วมโครงการทำให้เกิดการพัฒนาตัวเองมาก ขึน้ และนำไปใช้ประโยชนไ์ ด้... • ความประทับใจ/ปญั หา/ขอ้ เสนอแนะ ...มีความประทบั ที่เป็นสว่ นหนึง่ ของการทำงานโครงการ U2T ท่ีตัดสนิ ใจมาสมคั รเพราะโครงการน้ชี ว่ ยเหลือประชาชนและ บัณฑิตที่ว่างงานและยังไม่มีรายได้ ที่ได้รับผลกระทบจาก สถานการณ์ Covid 19 เพราะโครงการนี้สามารถช่วยเหลือ ประชาชนและบัณฑิต ในช่วงสถานการณ์ที่มีคนในชุมชนตกงาน กันเยอะ บางคนกถ็ กู เลกิ จา้ งจากงานกระทนั หนั แบบไม่ไดต้ งั้ ตัวผม ก็เป็นหนึ่งในนั้น และพอได้เข้ามาทำงานโครงการนี้ก็ทำให้ได้ เรียนรู้ การทำงานร่วมกับองค์กรภายในของมหาวิทยาลัยและ 137
อาจารยท์ ่ีคอยสนบั สนนุ ชว่ ยเหลือ และคอยดแู ล คอยใหค้ ำปรึกษา ให้เราได้ความรู้ในการทำงานเป็นระบบ แลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกัน และกัน... ...ปัญหาที่พบก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ ในช่วง สถานการณ์ Covid ทำให้ในการลงพื้นที่อาจขัดข้องและช้าบ้าง ในการทำงานแต่บัณฑิตและประชาชนที่ได้ทำงานก็มีการดูแล ตัวเองหม่ันล้างมอื มัน่ ลา้ งเจลแอลกอฮอล์ การทำงานในกลุ่มอาจมี ปัญหาบ้างเล็กน้อยในการทำงานร่วมกันในช่วงแรกของโครงการ ก็มีการปรับเข้าหากันเมื่อลงตัวแล้วงานที่ได้รับมอบมาก็สามารถ เป็นไปตามเปา้ หมายได้... ...ข้อเสนอแนะอยากให้ทางมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง และทางกระทรวง อว. และผู้ที่เกี่ยวข้อง ให้มีโครงการนี้ต่อไป เพื่อที่ทางประชาชนและบัณฑิตที่ทำงานจะได้นำไปพัฒนาตังเอง และพฒั นาตำบลใหห้ ลุดพ้นจากความยากจนตอ่ ไป... 5.2.2 นางสาวสายธาร ทิพย์มา • ความรู้สกึ ท่ไี ดเ้ ขา้ รว่ มโครงการ ดิฉันนางสาวสายธาร ทิพย์มา บัณฑิตโครงการยกระดับ เศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ (1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย) มหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง ทำงานในเขตพื้นที่ ตำบลท่าตุ้มอำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน เริ่มทำงานวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ถงึ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2564 138
เด็กจบใหม่เกือบทุกคนประสบปัญหาการว่างงานและ ตกงานจากการระบาดของโรคโควิด-19 ส่งผลกระทบตอ่ เศรษฐกจิ ทำให้หางานยาก เด็กจบใหม่แบบเราจึงรู้สึกเคว้งคว้าง เครียดจาก การหางานทำไม่ได้ ว่างงานเกือบปีจนมีโครงการนี้ขึ้นมา ทำให้เรา มีความหวังและเกิดพลังในการทำงานมากข้ึน ต้องขอขอบคุณทาง กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) และมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางทใ่ี หโ้ อกาส และสร้างประสบการณ์ จากการทำงานร่วมกับชุมชนและการทำงานเป็นทีม ได้ทำงานด้าน สุขภาพซ่ึงเป็นสายงานที่เรียนมาโดยตรงและได้สัมผัสการทำงาน แบบจริง ๆ ไม่ใช่แค่การฝึกงานแบบที่เรียนมาทำให้เข้าใจในการ ทำงานมากขึ้นได้คำแนะนำจากทางอาจารย์และความร่วมมือเป็น อย่างดีจากเพื่อนร่วมงานและคนในชุมชนทำงานส่งเสริมสุขภาพ ประชาชนในตำบลท่าตุ้มจากที่ไม่มีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพคน ในตำบลทางทีมทำงานและอาจารย์จึงได้มีการพัฒนาสุขภาพของ คนในชุมชนให้ดีขึ้น เช่น การออกกำลังกาย (Line Dance) ธรรมนูญสุขภาพผู้สูงอายุร่วมไปถึงการสำรวจโควิดประจำเดือน และกิจกรรมอื่น ๆ อีกมากมายมาสง่ เสริมสุขภาพ หน่วยงานที่ขาด ไม่ได้เลย คือ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าตุ้มและโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านมงคลชัยที่ค่อยช่วยเหลือและสนับสนุน เป็นอย่างดี อีกทั้งยังมีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ผู้ใหญ่บ้าน กำนัน ผู้ช่วย และประชาชนตำบลท่าตุ้มทุกคนที่ทำให้ ความรว่ มมือนง้ี านสำเรจ็ ตามเป้าหมายและลุลว่ งไปด้วยดี 139
• ขอ้ เสนอแนะ อยากให้โครงการมีการจ้างงานต่อเนื่อง เนื่องจาก ต้องการพัฒนาระบบสุขภาพประชาชนตำบลท่าตุ้มอย่างต่อเนื่อง เปน็ โครงการที่ชมุ ชนใหผ้ ลตอบรบั เปน็ อย่างดี • ปญั หาอปุ สรรค 1. สถานการณ์โควดิ ทำให้เขา้ ถงึ ชมุ ชนไดไ้ ม่มากเทา่ ที่ควร 2. สภาพอากาศ เช่น ฤดูฝนยากต่อการทำงานเม่ือ ลงพนื้ ท่ี 5.2.3 นางสาวปรรณพัชร มาปนิ ตา • ความรสู้ ึกที่ได้เข้าร่วมโครงการ ต้องขอขอบคุณโครงการดี ๆ ที่ให้โอกาสแก่บัณฑิต จบใหม่ เนื่องจากดิฉันเป็นบัณฑิตจบใหม่และได้เข้ามาทำงาน ร่วมกับโครงการ U2T ในไตรมาสสุดท้าย ซึ่งเป็นโครงการที่ดีมาก และให้โอกาสทั้งบัณฑิต นักศึกษาและประชาชนได้เข้ามาเรียนรู้ และทำงานร่วมกัน ดิฉันได้เข้าไปทำงานในส่วนของทีมสุขภาพ ซึ่ง มีกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายแบบไลน์แดนซ์และมีการทำ กิจกรรมให้แก่ผู้สูงอายุในหลายกิจกรรมซึ่งได้เรียนรู้ เรื่องการ ทำงานร่วมกันและการติดต่อสื่อสารกับคนในท้องถิ่น ทำให้เรา มีมนุษย์สัมพันธท์ ่ีดีทั้งต่อชาวบ้านและทีมทำงานร่วมกัน และดิฉนั ยงั ไดร้ บั โอกาสใหท้ ำหนา้ ที่ใสส่วนของการทอ่ งเทยี่ ว ซ่ึงต้องยอมรับ เลยว่าเปน็ หัวข้อที่ยาก เพราะในท้องถิ่นมีทรัพยากรการทอ่ งเที่ยว 140
เที่ยวที่น้อยมากแต่ก็ได้รับความร่วมมือและคำแนะนำจากรุ่นพ่ี และอาจารย์ทุกท่านจึงทำให้สำเร็จลลุ ่วงไปได้ด้วยดี เป็นโครงการ ท่ีสร้างประสบการณ์ในการทำงานที่ดี และสร้างโอกาสในการ แสดงความสามารถในการทำงานเพื่อเป็นประโยชน์ต่อตัวเองและ ท้องถ่นิ ทำใหเ้ กิดผลงานไปในทางท่ีดแี ละ มีจุดเด่นมากย่งิ ข้ึน 5.2.4 นางสาวจริ าพร จอ่ จนั ทร์ • ความรู้สกึ ทไ่ี ดเ้ ขา้ ร่วมโครงการ ขอบคุณ “โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมราย ตำบลแบบบูรณาการ” ที่ทำให้ผู้ที่ว่างงานได้งานทำ ส่วนตัวเป็น บัณฑิตที่พึ่งจบการศึกษาและได้มีโอกาสสมัครเข้าร่วมโครงการ จ น ไ ด ้ รั บ ก า ร ค ั ด เล ื อก จ า ก ค ณ ะ อา จ า ร ย ์ แ ล ะ ไ ด ้ เ ข ้ า ม า ท ำ ง า น ในตำบลท่าตุ้ม ขอบคุณคณะอาจารย์ที่ช่วยเตือน ช่วยสอนในเร่อื ง ของการทำงาน ขอบคุณผู้ร่วมทำงานทกุ ท่านทช่ี ว่ ยกนั ทำงานในแต่ ละงานให้เสร็จบรรลุผลตามเป้าหมาย ทั้งนี้ต้องขอบคุณตัวเอง ที่ข้ามความกลัวทั้ง ๆ ที่เป็นบัณฑิตที่จบใหม่ ไม่มีประสบการณ์ ในการทำงาน และค่อยพัฒนาตนเอง และหลังจบโครงการนี้ก็จะ พฒั นาตนเองไปเรอ่ื ย ๆ ค่ะ ขอบคณุ คะ่ 5.2.5 วา่ ที่รอ้ ยตรหี ญงิ ดรุณี ลำพูน • ความรูส้ ึกทีไ่ ด้เข้าร่วมโครงการ ดิฉันว่าที่ร้อยตรีหญิงดรุณี ลำพูน ปฏิบัติงานภาค ประชาชนจากโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล 141
แบบบูรณาการ (1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย) มหาวิทยาลัยราชภัฏ ลำปางทำงานในเขตพื้นที่ตำบลท่าตุ้มอำเภอป่าซางจังหวัดลำพูน เรมิ่ ทำงานวันที่ 1 กมุ ภาพันธ์ถงึ วันที่ 31 ธนั วาคม 2564 จากสถานการณ์เศรษฐกิจภาวะยุคโควิชเกิดปัญหา การว่างงานตกงานเป็นจำนวนมากและมีผลกระทบต่อครอบครัว มรี ายได้ลดลง ทำให้เกดิ ภาวะเครยี ด ภาวะซึมเศร้า มีผลกระทบต่อ ครอบครัวทมี่ ีรายได้ลดลง หลังจากที่ได้รับโอกาสเข้าร่วมทีมโครงการยกระดับ เศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ (1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย) ตำบลท่าตุ้มทำให้ภาวะเศรษฐกิจในครอบครัว มีความเครียดลดลงอีกทั้งยังเสริมประสบการณ์การทำงานร่วมกับ ทีมและชุมชนได้ทำงานในด้านต่างๆที่ไม่เคยทำ ได้เข้าใจถึงบริบท ชุมชนในการทำงานจากปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อนำมาปรับเปลี่ยน แก้ไขให้มีการพัฒนาทั้งรายบุคคลและชุมชนอีกครั้งยังเป็นการนำ ขอ้ มลู ท่ไี ดจ้ ากการทำงานมาปรบั เปลีย่ นใช้กบั ตนเองและครอบครัว ในการทำงานในครั้งน้ไี ดร้ ับคำแนะนำจากอาจารยแ์ ละความร่วมมือ เปน็ อย่างดจี ากเพ่ือนร่วมงานและคนในชมุ ชนในการทำงานส่งเสริม สุขภาพประชาชนในตำบลทา่ ตุ้มจากทีไ่ ม่เคยมกี จิ กรรมส่งเสริมด้าน สุขภาพหรือกิจกรรมรวมกลุ่มในการดูแลสุขภาพของคนในตำบล ทีมทำงานและคณะอาจารย์จจึงได้มีการพัฒนาสุขภาพของคนใน ชุมชนให้ดีขึ้นเช่นการออกกำลังกายไลน์แดนซ์ การทำธรรมนูญ สุขภาพผู้สูงอายุ และการสำรวจโควิชประจำเดือนจากสถานการณ์ ในปัจจุบันและยงั มีกจิ กรรมอ่นื ๆดา้ นสุขภาพอกี มากมาย 142
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296